The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการวิจัย การบริหารราชการแผ่นดิน บนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะที่1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by SEP Action, 2022-04-18 09:28:41

รายงานผลการทำกิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัย

โครงการวิจัย การบริหารราชการแผ่นดิน บนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะที่1)

Keywords: sepaction,เศรษฐกิจพอเพียง

รายงานผลการทำกิจกรรมสงเสริมและสนับสนนุ การวิจัย

โครงการวิจัย การบรหิ ารราชการแผน ดิน
บนพ้ืนฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

(ระยะที่ ๑)

Thai Public Administration based on
the Sufficiency Economy Philosophy (Phase1)

จัดทำโดย

ศ. ดร.กัลยาณี เสนาสุ ผศ. ดร.ภาวณิ ี เพชรสวาง

ผศ. ดร.ดาวษิ า ศรธี ัญรตั น อ. ดร.บงกช เจนจรสั สกุล

คณะพัฒนาทรัพยากรมนษุ ย สถาบนั บัณฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร

ไดร บั ทนุ อุดหนุนการทำกจิ กรรมสงเสรมิ และสนบั สนุนการวจิ ัย
และนวตั กรรมจากสำนักงานการวิจัยแหง ชาติ
ประจำปง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔



รายงานผลการทำกิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนการวจิ ัย

โครงการวิจัย การบริหารราชการแผน่ ดิน
บนพน้ื ฐานหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

(ระยะท่ี ๑)

Thai Public Administration based on
the Sufficiency Economy Philosophy (Phase1)

จดั ทำโดย

ศ. ดร.กัลยาณี เสนาสุ ผศ. ดร.ภาวิณี เพชรสวาง

ผศ. ดร.ดาวิษา ศรีธญั รัตน อ. ดร.บงกช เจนจรสั สกลุ

คณะพฒั นาทรัพยากรมนษุ ย์ สถาบันบัณฑติ พฒั นบริหารศาสตร์

ได้รบั ทนุ อุดหนนุ การทำกจิ กรรมสง่ เสรมิ และสนับสนนุ การวจิ ยั
และนวตั กรรมจากสำนกั งานการวจิ ยั แหง่ ชาติ
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

โครงการวิจัย
การบริหารราชการแผน่ ดนิ บนพ้นื ฐานหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะท่ี ๑)

สถาบนั บณั ฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์

คำนำ

รัฐบาลไทยได้น้อมนำ “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ตามพระราชดำรัสของ
พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มาเป็นแนวทางในการพัฒนาและ
บริหารประเทศ ตั้งแต่แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545-2549) จนมาถึง
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566-2570) ในปัจจุบัน โดยได้กำหนดให้
ยึดคนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา และยึดวิสัยทัศน์ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี มาเป็นกรอบใน
การกำหนดวิสัยทัศน์เป็น “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว
ด้วยการพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง” มาเป็นแนวทางในการพัฒนาและบริหารประเทศ
สถานการณ์โรคระบาดโควิด–19 ได้ก่อใหเ้ กิดความเสียหายแก่มวลมนุษยชาติท้งั ด้านเศรษฐกิจ สังคม
และสิ่งแวดล้อม ซึ่งส่งผลให้เกิดการตระหนักในความสำคัญของผลกระทบระดับโลกที่เป็นส่วนหน่ึง
มาจากการทำลายธรรมชาติของคนในสังคมมานานนับหลายสิบปี ส่งผลให้ต้องหันมาให้ความสำคัญ
กับการพัฒนาสู่ความยั่งยืนอย่างจริงจัง ประเทศไทยมีหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงซึ่งเป็น
หลักปรัชญาที่เป็นของตนเองในการชี้นำการเติบโตอย่างยั่งยืนที่จะช่วยขับเคลื่อนปฏิสัมพันธ์ระหว่าง
เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ได้อย่างกลมกลืน การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การพัฒนาองค์การ
และการพัฒนาสังคมทั้งระดับประชาชน ชุมชน ประเทศ และนานาชาติ ถือเป็นหัวใจสำคัญของ
ทิศทางการพัฒนาบนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งสอดคล้องกับการพัฒนาที่มุ่งสู่
ความยั่งยืนของนานาชาติ และในที่สุดแล้วก็จะนำมาถึงการขับเคลื่อนสังคมสู่การอยู่อาศัยอย่างเป็ น
อนั หนึง่ อันเดียวกันกับผูอ้ ื่นในสงั คมทั้งโลกและธรรมชาติอกี ยาวไกล

รัฐบาลไทยได้น้อมนำ “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ตามพระราชดำรัสของ
พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มาเป็นแนวทางในการพัฒนาและ
บริหารประเทศ ตั้งแต่แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545-2549) จนมาถึง
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566-2570) ในปัจจุบัน โดยได้กำหนดให้
ยึดคนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา และยึดวิสัยทัศน์ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี มาเป็นกรอบใน
การกำหนดวิสัยทัศน์เป็น “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งค่ัง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว
ด้วยการพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง” มาเป็นแนวทางในการพัฒนาและบริหารประเทศ
สถานการณ์โรคระบาดโควิด – 19 ได้ก่อให้เกิดความเสียหายแก่มวลมนุษยชาติทั้งด้านเศรษฐกิจ
สังคม และสิ่งแวดล้อม ซึ่งส่งผลให้เกิดการตระหนักในความสำคัญของผลกระทบระดับโลกที่เป็น
ส่วนหนึ่งมาจากการทำลายธรรมชาติของคนในสังคมมานานนับหลายสิบปี ส่งผลให้ต้องหันมาให้
ความสำคัญกับการพัฒนาสู่ความย่ังยนื อย่างจริงจงั ประเทศไทยมีหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

iii

โครงการวจิ ัย
การบริหารราชการแผ่นดินบนพ้นื ฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะท่ี ๑)

ซึ่งเป็นหลักปรัชญาที่เป็นของตนเองในการชี้นำการเติบโตอย่างยั่งยืนที่จะช่วยขับเคลื่อนปฏิสัมพันธ์
ระหว่างเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ได้อย่างกลมกลืน การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การพัฒนา
องค์การ และการพัฒนาสังคมทั้งระดับประชาชน ชุมชน ประเทศ และนานาชาติ ถือเป็นหัวใจสำคญั
ของทศิ ทางการพัฒนาบนพื้นฐานหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ซ่ึงสอดคล้องกับการพัฒนาที่มุ่งสู่
ความยั่งยืนของนานาชาติ และในที่สุดแล้วก็จะนำมาถึงการขับเคลื่อนสังคมสู่การอยู่อาศัยอย่างเป็น
อันหนง่ึ อนั เดียวกันกบั ผู้อื่นในสงั คมทงั้ โลกและธรรมชาตอิ กี ยาวไกล

ขอขอบคุณสถาบันเศรษฐกิจพอเพียง ที่ได้พิจารณาและดำเนินการในการจัดสรรทุนอุดหนุน
การทำกิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยและนวัตกรรมจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ
ขอขอบคุณผู้บริหารและบุคลากรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์และกระทรวงมหาดไทยที่ได้
เสียสละเวลาให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์แก่งานวิจัย และขอขอบคุณทีมงานผู้ช่วยวิจัย
คุณปริญญา ศรีทิพย์ คุณบัวสา เหล่าอำนาจ คุณกิตติกร อ่อนไชสง และคุณรัตติมา สมประสงค์
ที่ได้ร่วมทำงานวิจัยด้วยความอดทนและหมั่นเพียร รวมทั้งขอขอบคุณคณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
สถาบนั บัณฑติ พัฒนบริหารศาสตร์ ท่อี นุญาตให้ผวู้ ิจยั ได้ใช้เวลาในการทำงานวิจัยคร้งั น้ี

หากทา่ นผอู้ า่ นมีขอ้ เสนอแนะประการใด กรุณาแจง้ ให้ผ้วู จิ ยั ทราบจะเปน็ พระคุณยิ่ง
ศ. ดร.กัลยาณี เสนาสุ ผศ. ดร.ภาวณิ ี เพชรสวา่ ง

ผศ. ดร.ดาวษิ า ศรธี ัญรัตน์ อ. ดร.บงกช เจนจรสั สกุล
คณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ สถาบันบณั ฑติ พฒั นบริหารศาสตร์

iv

สถาบันบัณฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์

บทคดั ย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาค้นคว้าถึงสถานะปัจจุบันของการปฏิบัติราชการตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง ของหน่วยงานบริหารราชการส่วนกลาง ระดับกระทรวง กรม และสำนักงาน
รวมถึงศึกษาค้นคว้าถงึ การเปลีย่ นแปลงของการปฏิบตั ริ าชการตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ภายหลังการเกิดวิกฤตการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เพื่อปรับปรุงโมเดล
การประเมินความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพยี งใหส้ ามารถใช้ได้ในลักษณะทัว่ ไปสำหรับหน่วยงานราชการทุก
กระทรวง และเพื่อพัฒนาแนวทางการปฏิบัติที่ชัดเจนของการปฏิบัติราชการบนพื้นฐานหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงทีห่ น่วยงานบริหารราชการสว่ นกลางสามารถนำไประยุกต์ใช้อย่างเป็นรปู ธรรม
ในแนวทางเดียวกัน โดยเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู จากหนว่ ยงานตวั อยา่ ง 2 กระทรวง ได้แก่ กระทรวงเกษตร
และสหกรณ์ และกระทรวงมหาดไทย การวิจัยเป็นแบบผสม ในการวิจัยเชิงคุณภาพได้ประยุกต์ใช้
วิธกี ารสามเสา้ (Triangulation) โดยในการเกบ็ ข้อมลู นอกจากการค้นคว้าเอกสารต่าง ๆ ที่เก่ียวข้อง
แล้ว ผู้วิจัยได้เก็บข้อมูลปฐมภมู ิด้วยวิธีการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้บริหารระดับสูงหรอื ผูบ้ ริหารระดับกลาง
และการประชุมกลุ่ม (Focus group) ผู้บริหารระดับกลางและหรือผู้บริหารระดับต้น และการวิจัย
เชิงปริมาณใช้การสำรวจความคิดเห็นจากเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติ จากนั้นได้วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธี
การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) และสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive statistics)
เช่น ค่าเฉลี่ย ความถี่ และร้อยละ และสถิติเชิงอนุมานคือ การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ (Correlation)
สำหรับเกณฑ์การประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงจากการวิจัยเชิงคุณภาพได้กำหนดคะแนนเพ่ือ
ประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงของหน่วยงานออกมาเป็นคะแนนเต็ม 100 ในแต่ละระดับ
(เข้าข่าย เข้าใจ และเข้าถึง) และกำหนดเกณฑ์ในการประเมินที่จะพิจารณาว่าหน่วยงานผ่าน
การประเมินในระดับนั้น ๆ ต้องมีคะแนนโดยรวมของแต่ละระดับอย่างน้อยร้อยละ 80 ขึ้นไป
ส่วนเกณฑ์การประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงจากการวิจัยเชิงปริมาณได้กำหนดเกณฑ์ผ่านของ
ระดบั เขา้ ข่ายทรี่ ้อยละ 80 ระดบั เข้าใจท่รี ้อยละ 90 และระดบั เข้าถึงที่ร้อยละ 95 นอกจากน้ันการจะ
สามารถผา่ นเกณฑใ์ นระดบั ทสี่ ูงขึน้ ไดก้ จ็ ะตอ้ งผา่ นเกณฑ์ในระดับท่ีต่ำกวา่ ก่อน

ผลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์พบว่า กรม/
สำนักงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ทั้ง 15 หน่วยงาน ผ่านเกณฑ์การประเมินความเป็น
เศรษฐกิจพอเพียงระดับเข้าขา่ ย และมี 4 กรม/สำนกั งาน ทผี่ า่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกิจ
พอเพียงระดับเข้าใจด้วย ได้แก่ กรมพัฒนาที่ดิน กรมวิชาการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร และ
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ส่วนผลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงของ
กระทรวงมหาดไทยพบว่า กรม/สำนักงานในสังกัดกระทรวงมหาดไทยทั้ง 7 หน่วยงาน ผ่านเกณฑ์

v

โครงการวิจยั
การบริหารราชการแผ่นดนิ บนพื้นฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะที่ ๑)

การประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงระดับเข้าข่าย สำหรับการประเมินความเป็นเศรษฐกิจ
พอเพียงโดยใช้การวิเคราะห์เชิงปริมาณพบว่า ทุกกรม/สำนักงานในสังกัดกระทรวงทั้งสองมีคะแนน
ความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงอยู่ในระดับเข้าข่ายทั้งหมด และยังไม่มีหน่วยงานใดได้คะแนนในระดับ
เขา้ ใจและเข้าถึงตามเกณฑ์

ผลการเปลี่ยนแปลงของการปฏิบัติราชการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ภายหลัง
การเกิดวิกฤตการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ( COVID-19) พบว่า
ทุกหน่วยงานต่างแสดงให้เห็นถึงการปรับตัวในการทำงานที่ต้องใช้เทคโนโลยีมากขึ้นและการปรับ
การทำงานภายใต้ข้อจำกัดด้านงบประมาณที่ลดลง การติดตามสภาวะการณ์การปฏิบัติราชการ
ตามยาวเป็นระยะ ๆ ของหน่วยงานเหล่านี้ทำให้ได้ทราบถึงการเปลี่ยนแปลงที่มีนัยยะสำคัญในด้าน
การปรับตัวให้มีความยืดหยุ่นในการทำงานขององค์การ ส่งผลแสดงให้เห็นถึงภาวะผู้นำที่ต้องเก่งใน
การจัดลำดับของงานและสร้างทีมงานที่เหมาะสมขึ้นมา ในการวิจัยครั้งนี้ยังได้มีการปรับปรุงโมเดล
ความเปน็ เศรษฐกิจพอเพยี งโดยปรบั เน้ือหาทสี่ ำคัญใน 2 มิติ ไดแ้ กม่ ติ ิท่ี 3 บุคลากรมีคณุ ธรรมและเก่ง
และมติ ิท่ี 4 ประโยชน์แกอ่ งค์การและสังคม นอกจากนั้นได้มกี ารนำเสนอแผนท่ีนำทาง (Roadmaps)
เพื่อกำหนดเป้าหมายเชิงกลยุทธ์และแนวทางการปฏิบัติในการบริหารราชการตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงให้สงู ระดบั ยงิ่ ขนึ้ ตอ่ ไป

คำสำคญั : โมเดลความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพยี ง การบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ ความย่ังยืน ความสขุ
ประโยชน์สขุ

vi

สถาบนั บณั ฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์

Abstract

This research investigates the status of administration based on the Sufficiency
Economy Philosophy (SEP) in public organizations in central agencies at the
department level. The research explores changes in public administration after the
COVID – 19 pandemic. Additionally, the research aims to generalize the Sufficiency
Economy (SE) Model for all public agencies and to develop roadmaps for public
agencies to enhance their administration based on the SEP. Data were collected from
two ministries, i.e., Ministry of Agriculture and Cooperatives (MOAC) and Ministry of
Interior (MOI). A mix-methods were adopted. Collection of qualitative data involved
triangulation to collect both secondary documents and primary data. Primary data was
obtained from in-depth interviews of top and middle management and from focus-
group discussions among middle and/or primary management. Quantitative data was
obtained from self-administered questionnaires of staff. Systematic analysis was
conducted using content analysis, descriptive statistics, and inferential statistics
(Correlation).

To appraise levels of adoption of the Sufficiency Economy (SE), 100 percent
scoring was used to assess SE adoption in the performance of public agencies.
An agency’s achievement at each level of the SE is shown as a score out of 100.
For qualitative research, the cutoff score for achievement of each level is set at 80.
For quantitative research, the cutoff score for achievement is set at 80 for the Partial
Practice level, 90 for the Comprehension level, and 95 for the Inspiration level.
To pass to a higher level of achievement, an agency needs to achieve success at the
previous level.

The results obtained from 15 departments under the MOAC reveal that all
agencies performed at the basic level of SE (Partial Practice). Additionally, four
departments also performed at the Comprehension level, i.e., Land Development
Department, Department of Agriculture, Department of Agricultural Extension, and
Offices of Agricultural Economics. The results obtained from seven agencies under the
MOI reveal that all agencies performed at the basic level of SE (Partial Practice).

vii

โครงการวิจัย
การบริหารราชการแผน่ ดนิ บนพ้ืนฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะท่ี ๑)

Additional analysis of quantitative research results reveals that all agencies under the
MOAC and the MOI performed at the basic level of SE (Partial Practice).

In regard to changes in public administration after the COVID–19 pandemic,
the results of this study found that public administration departments are utilizing
more technological tools and are working more efficiently with a smaller budget.
Results also indicate that leadership needs to prioritize and form effective teams.
Longitudinal studies that monitor public administration over longer periods will help
in determining organizational resilience to changes. In this research the SE model is
significantly adjusted in two dimensions, i.e., the 3rd dimension (competent and
virtuous staff), and the 4th dimension (benefit to organization and society). Additionally,
the researchers propose roadmaps to formalize strategic goals and guidelines for public
administration based on the SEP in all three levels.

Key Words: Sufficiency Economy Model, Thai Public Administration, Sustainability,
Happiness, Mutual Benefit.

viii

สถาบันบัณฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์

กิตติกรรมประกาศ

โครงการวิจยั นี้ได้รบั ทุนอุดหนุนการทำกิจกรรมส่งเสริมและสนบั สนุนการวิจัยและนวัตกรรม
จากสำนักงานการวจิ ัยแห่งชาติ ประจำปงี บประมาณ 2564 คณะผูว้ จิ ยั จงึ ขอขอขอบคุณมา ณ โอกาส
น้ี ขอขอบคุณสถาบันเศรษฐกิจพอเพยี ง ในสังกัดวิทยสถานสงั คมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และศิลปกรรม
ศาสตร์ที่ได้ให้การพิจารณาและดำเนินการในการจัดสรรทุนอุดหนุนในครั้งนี้ ขอขอบคุณ
ศาสตราจารย์ ดร. อภิชัย พันธเสน และศาสตราจารย์ ดร. ชาติชาย ณ เชียงใหม่ ที่ได้ให้คำปรึกษา
แนะนำอันเป็นประโยชน์แก่โครงการวิจัยนี้ และขอขอบคุณผู้บริหารและบุคลากรในสังกัดกระทรวง
เกษตรและสหกรณ์ และกระทรวงมหาดไทยทุกทา่ นทไ่ี ด้ให้เวลาในการเข้าร่วมการวิจยั ในครั้งนี้

ix

โครงการวจิ ัย
การบริหารราชการแผน่ ดินบนพน้ื ฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะท่ี ๑)

x

สถาบันบัณฑติ พฒั นบริหารศาสตร์

บทสรุปสำหรับผบู้ รหิ าร

ต้ังแตแ่ ผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติฉบับท่ี 9 (พ.ศ. 2545-2549) จนถึงแผนพัฒนา
ฯ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565-2570) ไดม้ ีการน้อมนำ “ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง” ตามพระราชดำรัส
ของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มาเป็นแนวทางในการพัฒนา
และบริหารประเทศ โดยยึดทางสายกลาง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการมีภูมิคุ้มกันที่ดี
เพอื่ ให้ประเทศรอดพน้ วิกฤตแิ ละนำไปสู่การพฒั นาท่ียงั่ ยืน ท่ีผ่านมามีนักวิชาการจำนวนมากท่ีได้ผลิต
งานวิจัยเกี่ยวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงขึ้นมาอย่างมากมายและหลากหลาย อย่างไรก็ตาม
การนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปขับเคลื่อนเป็นลักษณะกระจัดกระจาย ต่างคนต่างทำ
รวมทั้งความเข้าใจในการนำไปปรับประยุกต์ปฏิบัติก็มีความแตกต่างกันมาก (กัลยาณี เสนาสุ และ
บงกช เจนจรัสสกลุ , 2562) จงึ เป็นท่ีมาของโครงการวิจัยนีท้ ่ีมุ่งจะทำใหภ้ าคราชการมีทิศทางนโยบาย
การทำงานบนพน้ื ฐานหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งอยา่ งชัดเจน รวมทง้ั มีการส่งเสริมให้มีการนำ
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปใช้เป็นพื้นฐานในการปฏบิ ัติราชการอยา่ งกว้างขวาง เพอ่ื ประโยชน์สุข
แก่ประชาชนไทยและพลเมืองโลกในที่สุด โดยวัตถุประสงค์ในการวิจัยเพื่อศึกษาค้นคว้าถึง
สถานะปัจจุบันของการปฏิบัติราชการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของหน่วยงานบริหาร
ราชการส่วนกลาง ระดับกระทรวง กรม และสำนักงาน รวมถึงศึกษาค้นคว้าถึงการเปลี่ยนแปลงของ
การปฏิบัติราชการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ภายหลังการเกิดวิกฤตการณ์การแพร่
ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพื่อปรับปรุงโมเดลการประเมินความเป็น
เศรษฐกิจพอเพียงให้สามารถใช้ได้ในลักษณะทั่วไปสำหรับหน่วยงานราชการทุกกระทรวง และเพ่ือ
พัฒนาแนวทางการปฏิบัติที่ชัดเจนของการปฏิบัติราชการบนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงที่หน่วยงานบริหารราชการส่วนกลางสามารถนำไปประยุกต์ใช้อย่างเป็นรูปธรรมในแนวทาง
เดียวกัน ระเบียบวิธีการวิจัยเป็นการวิจัยแบบผสม ประกอบไปด้วยการวิจัยเชิงคุณภาพซึ่งได้
ประยุกต์ใช้วิธีการสามเส้า (Triangulation) ในการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยในการเก็บข้อมูลนอกจาก
การค้นคว้าเอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องแล้ว ผู้วิจัยได้เก็บข้อมูลปฐมภมู ิในหลายวิธี ทั้งวิธีการสมั ภาษณ์
ผู้บริหารระดับสูงและการประชมุ กลุ่มผู้บรหิ ารระดับกลาง/เบ้ืองต้น นอกจากนั้นในการเก็บข้อมลู ก็ใช้
ผู้วิจัยหลายคนช่วยในการสังเกต (หัวหน้าโครงการและผู้ร่วมวิจัย) และการวิจัยเชิงปริมาณที่ใช้แบบ
สำรวจความคิดเห็นจากเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติ โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลจากหน่วยงานตัวอย่าง
2 กระทรวง ไดแ้ ก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และกระทรวงมหาดไทย ซง่ึ การดำเนินการวิจัยคร้ังน้ี
มีผู้ให้สัมภาษณ์ รวมทั้งสิ้น 21 คน การประชุมกลุ่มมีผู้เข้าร่วมประชุมรวมทั้งสิ้น 85 คน
สำหรับการวิจยั เชิงปรมิ าณจากการสำรวจความคิดเหน็ ของเจ้าหนา้ ท่ีผูป้ ฏิบัติ ไดแ้ บบสำรวจกลับมาใน

xi

โครงการวจิ ยั
การบริหารราชการแผ่นดินบนพ้ืนฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะท่ี ๑)

กลุ่มตัวอย่างเป้าหมายในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จำนวน 1,199 ราย (คิดเป็นร้อยละ
94.26 ของเป้าหมายกลุ่มตัวอย่าง) และสังกัดกระทรวงมหาดไทย จำนวน 429 ราย (คิดเป็นร้อยละ
67.67 ของเป้าหมายกลุ่มตวั อยา่ ง) การวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีการวิเคราะห์เนือ้ หา (Content Analysis)
และสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) เช่น ค่าเฉลี่ย ความถี่ และร้อยละ และสถิติเชิง
อนุมานคือ การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ (Correlation) สำหรับเกณฑ์การประเมินความเป็นเศรษฐกิจ
พอเพียงจากการวิจัยเชิงคุณภาพได้กำหนดคะแนนเพื่อประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงของ
หน่วยงานออกมาเป็นคะแนนเต็ม 100 ในแต่ละระดับ (เขา้ ข่าย เข้าใจ และเข้าถึง หรือการสะท้อนถึง
การเป็น องค์การที่ยั่งยืน องค์การแห่งความสุข และองค์การแห่งประโยชน์สุข) และกำหนดเกณฑ์ใน
การประเมินที่จะพิจารณาว่าหน่วยงานผ่านการประเมินในระดับนั้น ๆ ต้องมีคะแนนโดยรวมของแต่
ละระดับอย่างน้อยร้อยละ 80 ขึ้นไป จึงจะถือได้ว่าผ่านเกณฑ์ในระดับนั้นได้ และการจะสามารถผ่าน
เกณฑ์ในระดับที่สูงขึ้นได้จะต้องผ่านเกณฑ์ในระดับที่ต่ำกว่าก่อน ส่วนเกณฑ์การประเมินความเป็น
เศรษฐกิจพอเพียงจากการวิจัยเชิงปริมาณได้กำหนดเกณฑ์ผ่านของระดับเข้าข่ายที่ร้อยละ 80 ระดับ
เข้าใจที่ร้อยละ 90 และระดับเข้าถึงที่ร้อยละ 95 โดยหน่วยงานต้องมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์ใน
ระดบั ก่อนหนา้ กอ่ นจึงจะพจิ ารณาผลการประเมนิ ในระดบั ถัดไปเชน่ กัน

ผลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์พบว่า
กรม/สำนักงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ทั้ง 15 หน่วยงาน ผ่านเกณฑ์การประเมินความ
เป็นเศรษฐกิจพอเพียงระดับเข้าข่าย และมี 4 กรม/สำนักงาน ที่ผ่านเกณฑ์การประเมินความเป็น
เศรษฐกิจพอเพียงระดบั เข้าใจด้วย ได้แก่ กรมพัฒนาทีด่ นิ กรมวชิ าการเกษตร กรมส่งเสรมิ การเกษตร
และสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร สำหรับผลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงของ
กระทรวงมหาดไทยพบว่า กรม/สำนักงานในสังกัดกระทรวงมหาดไทยทั้ง 7 หน่วยงาน ผ่านเกณฑ์
การประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงระดับเข้าข่าย ส่วนผลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจ
พอเพียงจากการวิเคราะห์ดว้ ยแบบสำรวจพบว่า ทกุ กรม/สำนักงานในสังกัดกระทรวงท้ังสองมีคะแนน
ความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงอยู่ในระดับเข้าข่ายทั้งหมด และยังไม่มีหน่วยงานใดได้คะแนนในระดับ
เข้าใจและเขา้ ถึงตามเกณฑ์

ผลการเปลี่ยนแปลงของการปฏิบัติราชการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ภายหลัง
การเกิดวิกฤตการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ( COVID-19) พบว่า
ทุกหน่วยงานต่างแสดงให้เห็นถึงการปรับตัวในการทำงานที่ต้องใช้เทคโนโลยีมากขึ้นและการปรับ
การทำงานภายใต้ข้อจำกัดด้านงบประมาณที่ลดลง การติดตามสภาวะการณ์การปฏิบัติราชการ
ตามยาวเป็นระยะ ๆ ของหน่วยงานเหล่านี้ทำให้ได้ทราบถึงการเปลี่ยนแปลงที่มีนัยยะสำคัญในด้าน
การปรับตัวให้มีความยืดหยุ่นในการทำงานขององค์การ ส่งผลแสดงให้เห็นถึงภาวะผู้นำที่ต้องเก่งใน
การจัดลำดับของงานและสร้างทีมงานที่เหมาะสมขึ้นมา ในการวิจัยครั้งนี้ยังได้มีการปรับปรุงโมเดล

xii

สถาบันบัณฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์

ความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงโดยปรับเนื้อหาที่สำคัญใน 2 มิติ ได้แก่ มิติที่ 3 บุคลากรมีคุณธรรมและ
เก่ง และมิติที่ 4 ประโยชน์แก่องค์การและสังคม นอกจากนั้นได้มีการนำเสนอแผนที่นำทาง
(Roadmaps) เพอ่ื กำหนดเปา้ หมายเชิงกลยทุ ธ์และแนวทางการปฏิบัตใิ นการบริหารราชการตามหลัก
ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงใหส้ งู ระดบั ย่ิงข้นึ ต่อไป

ภาพโมเดลความเปน็ เศรษฐกิจพอเพยี งท่ปี รบั ปรุงแลว้
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายคือรัฐบาล/ผู้มีอำนาจตัดสินใจเชิงนโยบายควรกำหนดให้มี
การดำเนินการและติดตามการปฏิบัติราชการบนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงออกมาให้
ชดั เจน และมรี ายละเอยี ดในการดำเนินการอย่างเปน็ รปู ธรรม โดยสามารถนำโมเดลการประเมินความ
เป็นเศรษฐกิจพอเพียงที่ทีมผู้วิจัยพัฒนาขึ้น เป็นเครื่องมือในการกำหนดเป้าหมายและติดตาม
ประเมนิ ผลการปฏบิ ัตริ าชการบนพ้ืนฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งได้ รวมท้ังสามารถใช้แผนท่ีนำ
ทางการบริหารราชการบนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่ทีมผู้วิจัยจัดทำขึ้นไปชี้แนะให้
หน่วยงานราชการดำเนินการอย่างเป็นรูปธรรมขึ้นมาได้ นอกจากนั้นภาครัฐควรให้ความสำคัญใน
การพัฒนาตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทั้งการพัฒนาเจ้าหน้าที่ของรัฐให้สามารถดำรง

xiii

โครงการวิจยั
การบรหิ ารราชการแผ่นดินบนพื้นฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ระยะที่ ๑)

ตนเป็นแบบอย่างได้แม้เมื่อมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในและภายนอก
องค์การ โดยอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ รวมทั้งการเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจให้มีสำนึกใน
คุณธรรมจริยธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีจิตสาธารณะ นอกจากนั้นแล้วยงั ตอ้ งใหค้ วามสำคัญ
ในการพัฒนาองค์การต่าง ๆ ของรัฐให้สามารถดำเนินงานได้อยา่ งเป็นระบบ บูรณาการในการทำงาน
สร้างประสิทธิผลและส่งเสริมธรรมาภิบาลและความโปร่งใส เพื่อในที่สุดแล้วการบริหารราชการบน
พื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจะสามารถนำพาให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน ความสุขแก่
ประชาชน และสังคมที่ร่มเย็นเป็นสุขแก่มวลมนุยชาติได้ นอกจากนี้ข้อเสนอแนะด้านการบริหาร
จัดการ คือ หน่วยงานภาครัฐสามารถนำผลการวิจัยของโครงการนี้ไปประยุกต์ใช้ได้หลายประการ
เช่น การประยุกต์ใช้แผนที่นำทางของการบริหารราชการแผ่นดินเพื่อดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติ
การประยุกต์ใช้โมเดลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงในแผนปฏิบัติการส่งเสริมคุณธรรม
แห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2566 - 2570) และการประยุกต์ใช้โมเดลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจ
พอเพยี ง (SEP) ควบคู่ไปกบั การพฒั นาคุณภาพการบรหิ ารจดั การภาครฐั (PMQA 4.0)

งานวิจัยนี้มีข้อจำกัดบางประการที่ควรบันทึกไว้ก่อนที่จะนำผลการวิจัยไปใช้ในการอ้างอิง
ดังนี้ เนื่องจากการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงของหน่วยงานราชการส่วนกลางระดับ
กระทรวง กรม/สำนักงาน เป็นงานวิจัยเริ่มแรกที่ยังไม่มีผู้วิจัยอื่นทำมาก่อน ดังนั้นการกำหนดเกณฑ์
ในการผ่านความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงของแต่ละระดับจึงเป็นไปในลักษณะอิงตามการวินิจฉัยของ
ผู้วิจัยเป็นหลัก ซึ่งจะต้องมีการพฒั นาให้ได้มาตรฐานที่สูงยิ่งขึน้ และเป็นที่ยอมรับตอ่ ไป โดยอาจมีการ
พิจารณาเพิ่มเติมในรายละเอียดของการให้น้ำหนักในประเภทและความยุ่งยากซับซ้อนของ
การปฏิบัติงานที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ อาจต้องมีการเก็บข้อมูลจากผู้ที่เกี่ยวข้องให้รอบด้ าน
มากขึ้น เช่น เก็บข้อมูลจากประชาชนผู้รับบริการของหน่วยงาน จากประชาสังคม/เครือข่ายที่
เก่ียวขอ้ ง หรือเกบ็ ข้อมลู ด้วยวิธอี ่นื ๆ เพม่ิ เตมิ เช่น การสงั เกตการปฏบิ ัติราชการ หรือการตดิ ตามเก็บ
ข้อมูลจากหน่วยงานเดิมเป็นระยะ ๆ ซึ่งหากมีการติดตามประเมินผลการปรับประยุกต์โมเดล
การประเมินความเป็นเศรษฐกจิ พอเพียงและการนำแผนที่นำทางไปประยุกต์ใช้ในการบริหารราชการ
ก็จะช่วยใหส้ ามารถพฒั นาโมเดลและแผนทีน่ ำทางให้ได้มาตรฐานและเกิดประโยชนย์ งิ่ ขนึ้ ตอ่ ไป

xiv

สถาบันบณั ฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์

สารบญั หน้า
iii
คำนำ v
บทคดั ย่อ vii
ABSTRACT ix
กิตตกิ รรมประกาศ xi
บทสรุปสำหรับผบู้ ริหาร xv
สารบัญ
สารบญั ตาราง xviii
สารบญั ภาพ xxviii
บทที่ 1 บทนำ
1
1.1 ความสำคัญและที่มาของปัญหา 1
1.2 วัตถุประสงค์ของการวิจัย 2
1.3 ขอบเขตของโครงการวจิ ยั 3
1.4 แนวทางการดำเนนิ งาน 7
1.5 ระยะเวลาทำการวิจัยและแผนการดำเนินงาน 8
1.6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะไดร้ ับ 9
บทท่ี 2 ทบทวนวรรณกรรม 11
2.1 หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 11
2.2 การประเมนิ ความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงในภาคราชการ 13
2.3 การบริหารจดั การภาครัฐตามแนวทาง PMQA 4.0 22
2.4 การบริหารจัดการภาครัฐเกย่ี วกับความโปรง่ ใส 34
2.5 การพฒั นาทรพั ยากรมนุษย์ 49
2.6 ยทุ ธศาสตรช์ าติและแผนแมบ่ ทในการพัฒนาประเทศ 58
บทท่ี 3 ระเบียบวธิ ีวิจยั 75
3.1 กรอบแนวคิดการวิจยั 75
3.2 นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ 76
3.3 กลมุ่ ตัวอย่าง 78
3.4 เครือ่ งมือการเก็บข้อมลู 82

xv

โครงการวิจัย
การบริหารราชการแผ่นดินบนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ระยะท่ี ๑)

สารบัญ หน้า
89
3.5 วิธีการวเิ คราะห์ข้อมูล 92
3.6 เกณฑ์การประเมินความเปน็ เศรษฐกิจพอเพยี ง 95
บทที่ 4 ผลการวจิ ัย 95
4.1 ข้อมูลผใู้ ห้สัมภาษณ์และผูเ้ ขา้ ร่วมการประชุมกลุม่ 98
4.2 ผลการประเมนิ ความเป็นเศรษฐกจิ พอเพยี งของหนว่ ยงานตวั อยา่ ง 220
4.3 ผลการประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพยี งดว้ ยแบบสำรวจ 243
4.4 การเปลย่ี นแปลงการปฏิบตั ิราชการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
249
ก่อนและหลงั การแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019
4.5 ข้อคดิ เห็นต่อการบรหิ ารราชการบนพนื้ ฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ 263

พอเพียงของผเู้ ขา้ ร่วมวจิ ยั 263
บทที่ 5 โมเดลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงและแผนท่ีนำทางการปฏิบัติ 285

ราชการบนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 305
5.1 การปรบั ปรงุ โมเดลการประเมินความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพยี ง 305
5.2 แผนทีน่ ำทางการปฏบิ ัติราชการบนพ้นื ฐานหลักปรัชญาของ 314
329
เศรษฐกจิ พอเพยี ง 331
บทท่ี 6 สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผล 335
337
6.1 สรปุ ผลการวจิ ยั 349
6.2 อภิปรายผลการวจิ ยั 351
6.3 ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย 359
6.4 ข้อเสนอแนะเชิงการบรหิ ารจดั การภาครัฐ 397
6.5 ข้อจำกัดของการวจิ ัยและข้อเสนอแนะการวจิ ัยในอนาคต 427
บรรณานกุ รม
ภาคผนวก
ภาคผนวกท่ี 1 สรุปผลโครงการวจิ ยั
ภาคผนวกที่ 2 บรบิ ทของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ภาคผนวกท่ี 3 บรบิ ทของกระทรวงมหาดไทย
ภาคผนวกท่ี 4 เครอ่ื งมือเก็บข้อมูลและตวั อย่างหนงั สือตดิ ต่อหน่วยงาน

xvi

สถาบนั บณั ฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์

สารบญั หนา้
469
ภาคผนวกท่ี 5 กำหนดการจัดประชุมกลุ่มและตำแหน่งของผเู้ ขา้ ร่วม
ประชมุ กล่มุ พรอ้ มภาพบรรยากาศการประชมุ 481
503
ภาคผนวกที่ 6 เอกสารประกอบการนำเสนอโครงการวจิ ยั
ภาคผนวกท่ี 7 ผลการประเมินความเป็นเศรษฐกจิ พอเพียงที่มีการสะท้อน 563

ระดบั เข้าใจ (บางมิติ) ของหนว่ ยงานราชการต่าง ๆ 621
ภาคผนวกที่ 8 ผลการประเมินความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพียงที่มีการสะท้อน
633
ระดับเขา้ ถึง (บางมิติ) ของหน่วยงานราชการต่าง ๆ
ภาคผนวกที่ 9 แนวทางการประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพยี งของ 639

สว่ นราชการ
ภาคผนวกท่ี 10 ผลการประเมนิ ความเป็นเศรษฐกจิ พอเพียงด้วยคะแนน

ตามเกณฑ์ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ภาคผนวกที่ 11 ผลการประเมินความเปน็ เศรษฐกิจพอเพียงด้วยคะแนน

ตามเกณฑ์ ของกระทรวงมหาดไทย

xvii

โครงการวิจยั
การบริหารราชการแผน่ ดินบนพน้ื ฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะท่ี ๑)

สารบญั ตาราง

หนา้

บทที่ 1 บทนำ

ตารางที่ 1.1 จำนวนบุคลากรและจำนวนตัวอย่างจากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 5

(แบง่ ตามกลุม่ ภารกจิ )

ตารางที่ 1.2 จำนวนบคุ ลากรและจำนวนตัวอย่างจากกระทรวงมหาดไทย (แบ่งตาม 6

กล่มุ ภารกจิ )

ตารางที่ 1.3 แผนการดำเนนิ งานโครงการวิจัยการบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ บนพ้นื ฐาน 8

ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะที่ 1)

บทท่ี 2 ทบทวนวรรณกรรม

ตารางท่ี 2.1 ความแตกต่างระหวา่ ง PMQA และ PMQA 4.0 25

ตารางที่ 2.2 การวเิ คราะหเ์ ปรยี บเทยี บเกณฑ์การประเมนิ PMQA 4.0 กบั เกณฑ์ 26

การประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพยี ง (SEP)

ตารางที่ 2.3 ผลการประเมนิ คุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดำเนนิ งานของหน่วยงาน 45

ภาครฐั ประจำปี 2564

ตารางท่ี 2.4 หลกั สูตรฝกึ อบรมทีส่ รา้ งเสริมคุณธรรมและความเข้าใจในหลกั ปรัชญาของ 57

เศรษฐกจิ พอเพยี งของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงมหาดไทย

และสำนกั งาน ก.พ. ปี พ.ศ. 2465

ตารางท่ี 2.5 ความเก่ยี วข้องของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 62

ต่อเป้าหมายแผนแม่บทยอ่ ย

ตารางที่ 2.6 ความเกยี่ วข้องของหนว่ ยงานในสงั กดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 68

ตอ่ เปา้ หมายแผนแม่บทยอ่ ย

บทที่ 3 ระเบียบวิธีวจิ ัย

ตารางที่ 3.1 จำนวนบคุ ลากรและจำนวนตัวอย่างจากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 80

(แบง่ ตามกลมุ่ ภารกิจ)

ตารางท่ี 3.2 จำนวนบคุ ลากรและจำนวนตัวอย่างจากกระทรวงมหาดไทย 81

(แบง่ ตามกลมุ่ ภารกิจ)

xviii

สถาบนั บณั ฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์

สารบญั ตาราง หนา้
87
บทท่ี 3 ระเบยี บวธิ ีวจิ ยั
ตารางท่ี 3.3 คา่ สมั ประสทิ ธแ์ิ อลฟาตามวิธีของครอนบาค (Cronbach’s Alpha 96
97
Coefficient) รายข้อคำถาม 101
บทท่ี 4 ผลการวิจยั 106
ตารางท่ี 4.1 ตำแหนง่ ผูใ้ ห้สมั ภาษณ์ 112
ตารางท่ี 4.2 รายละเอยี ดผเู้ ข้ารว่ มประชมุ กลุ่มครง้ั ที่ 1 117
ตารางที่ 4.3 ผลการประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดับเข้าขา่ ย ของสำนักงาน 121
126
ปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 130
ตารางที่ 4.4 ผลการประเมนิ ความเป็นเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดับเขา้ ขา่ ย 135
140
ของกรมหม่อนไหม 144
ตารางท่ี 4.5 ผลการประเมินความเป็นเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดบั เขา้ ขา่ ย

ของกรมฝนหลวงและการบนิ เกษตร
ตารางท่ี 4.6 ผลการประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกิจพอเพยี ง ระดบั เขา้ ข่าย

ของกรมพฒั นาที่ดนิ
ตารางที่ 4.7 ผลการประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดับเข้าใจ

ของกรมพฒั นาทดี่ นิ
ตารางที่ 4.8 ผลการประเมินความเปน็ เศรษฐกิจพอเพียง ระดับเข้าขา่ ย

ของกรมวิชาการเกษตร
ตารางท่ี 4.9 ผลการประเมินความเป็นเศรษฐกจิ พอเพียง ระดบั เข้าใจ

ของกรมวชิ าการเกษตร
ตารางท่ี 4.10 ผลการประเมนิ ความเป็นเศรษฐกิจพอเพียง ระดบั เขา้ ขา่ ย

ของกรมสง่ เสรมิ การเกษตร
ตารางที่ 4.11 ผลการประเมนิ ความเป็นเศรษฐกจิ พอเพียง ระดับเขา้ ข่าย

ของกรมสง่ เสรมิ สหกรณ์
ตารางที่ 4.12 ผลการประเมินความเปน็ เศรษฐกิจพอเพยี ง ระดับเข้าใจ

ของกรมสง่ เสรมิ สหกรณ์

xix

โครงการวิจยั หน้า
การบรหิ ารราชการแผน่ ดินบนพื้นฐานหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ระยะท่ี ๑) 149
154
สารบญั ตาราง 159
165
บทที่ 4 ผลการวจิ ัย 170
ตารางที่ 4.13 ผลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพยี ง ระดับเข้าข่าย 175
181
ของสำนักงานการปฏริ ูปทีด่ นิ เพอื่ เกษตรกรรม 186
ตารางท่ี 4.14 ผลการประเมนิ ความเป็นเศรษฐกิจพอเพียง ระดบั เข้าขา่ ย 189
194
ของกรมการขา้ ว 198
ตารางที่ 4.15 ผลการประเมินความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดับเข้าข่าย 202
206
ของกรมประมง
ตารางที่ 4.16 ผลการประเมนิ ความเป็นเศรษฐกจิ พอเพียง ระดับเข้าขา่ ย

ของกรมปศุสัตว์
ตารางที่ 4.17 ผลการประเมนิ ความเป็นเศรษฐกจิ พอเพียง ระดบั เข้าขา่ ย

ของกรมชลประทาน
ตารางท่ี 4.18 ผลการประเมนิ ความเป็นเศรษฐกิจพอเพียง ระดบั เข้าขา่ ย

ของกรมตรวจบัญชสี หกรณ์
ตารางท่ี 4.19 ผลการประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกิจพอเพยี ง ระดบั เขา้ ข่าย

ของสำนักงานมาตรฐานสนิ คา้ เกษตรและอาหารแห่งชาติ
ตารางท่ี 4.20 ผลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพยี ง ระดับเข้าข่าย

ของสำนักงานเศรษฐกจิ การเกษตร
ตารางที่ 4.21 ผลการประเมินความเปน็ เศรษฐกิจพอเพียง ระดบั เข้าใจ

ของสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
ตารางที่ 4.22 ผลการประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพียง ระดบั เขา้ ขา่ ย

ของสำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย
ตารางที่ 4.23 ผลการประเมินความเป็นเศรษฐกจิ พอเพียง ระดบั เข้าขา่ ย

ของกรมโยธาธกิ ารและผงั เมือง
ตารางที่ 4.24 ผลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียง ระดบั เขา้ ขา่ ย

ของกรมท่ีดนิ
ตารางที่ 4.25 ผลการประเมินความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพียง ระดับเข้าข่าย

ของกรมการปกครอง

xx

สถาบันบัณฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์

สารบัญตาราง

หนา้

บทที่ 4 ผลการวจิ ยั

ตารางท่ี 4.26 ผลการประเมนิ ความเป็นเศรษฐกจิ พอเพียง ระดบั เขา้ ข่าย 210

ของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

ตารางท่ี 4.27 ผลการประเมินความเปน็ เศรษฐกิจพอเพียง ระดับเขา้ ข่าย 214

ของกรมการพัฒนาชุมชน

ตารางท่ี 4.28 ผลการประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกิจพอเพียง ระดบั เข้าข่าย 218

ของกรมส่งเสริมการปกครองทอ้ งถน่ิ

ตารางที่ 4.29 ขอ้ มลู ของผ้ตู อบแบบสำรวจความคิดเหน็ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 221

ตารางท่ี 4.30 ขอ้ มูลของผ้ตู อบแบบสำรวจความคดิ เหน็ กระทรวงมหาดไทย 223

ตารางท่ี 4.31 ผลการประเมินความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพียงจากมมุ มองของผู้ปฏบิ ัติ 225

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ตารางท่ี 4.32 ผลการประเมินความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพยี งจากมมุ มองของผู้ปฏิบัติ 227

กระทรวงมหาดไทย

ตารางที่ 4.33 ผลการประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกิจพอเพียงจากมมุ มองของผปู้ ฏิบัติ 228

แยกรายมติ ิ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ตารางที่ 4.34 ผลการประเมินความเป็นเศรษฐกจิ พอเพียงจากมุมมองของผู้ปฏิบัติ 230

แยกรายมติ ิ กระทรวงมหาดไทย

ตารางท่ี 4.35 ผลสำรวจความคดิ เหน็ ดา้ นความสขุ ในการปฏิบตั งิ านของหนว่ ยงานใน 232

สังกัด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ตารางท่ี 4.36 ผลสำรวจความคดิ เห็นด้านความสุขในการปฏิบัติงานของหนว่ ยงานใน 233

สังกดั กระทรวงมหาดไทย

ตารางที่ 4.37 ผลสำรวจความคิดเหน็ ด้านความรู้ความเข้าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ 234

พอเพียงของหนว่ ยงานในสงั กัด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ตารางที่ 4.38 ผลสำรวจความคดิ เห็นด้านความรู้ความเข้าใจในหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ 235

พอเพยี งของหนว่ ยงานในสงั กัด กระทรวงมหาดไทย

xxi

โครงการวจิ ยั
การบรหิ ารราชการแผน่ ดินบนพนื้ ฐานหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะที่ ๑)

สารบัญตาราง

หนา้

บทท่ี 4 ผลการวิจยั

ตารางที่ 4.39 ผลการทดสอบสมั ประสทิ ธิ์สหสัมพันธ์ ระหวา่ ง ความเปน็ เศรษฐกจิ 237

พอเพียงระดบั เข้าขา่ ย กับ ความสุขในการปฏบิ ตั งิ าน (Happy Work)

ของหน่วยงานในสงั กัด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ตารางที่ 4.40 ผลการทดสอบสัมประสทิ ธิส์ หสมั พันธ์ ระหวา่ ง ความเปน็ เศรษฐกจิ 238

พอเพยี งระดับเขา้ ข่าย กบั ความสุขในการปฏบิ ตั งิ าน (Happy Work)

ของหนว่ ยงานในสงั กัด กระทรวงมหาดไทย

ตารางที่ 4.41 ผลการทดสอบสัมประสิทธ์สิ หสัมพนั ธ์ ระหว่าง ความเป็นเศรษฐกิจ 240

พอเพยี งระดบั เข้าขา่ ยกับความรู้ความเขา้ ใจในหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ

พอเพียง (SEP Knowledge) ของหน่วยงานในสังกดั กระทรวงเกษตรและ

สหกรณ์

ตารางท่ี 4.42 ผลการทดสอบสมั ประสิทธิส์ หสัมพันธ์ ระหวา่ ง ความเปน็ เศรษฐกิจ 242

พอเพียงระดบั เขา้ ขา่ ยกับความรูค้ วามเข้าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ

พอเพียง (SEP Knowledge) ของหนว่ ยงานในสงั กดั กระทรวงมหาดไทย

ตารางท่ี 4.43 คะแนนการประเมนิ คุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดำเนินงานของ 244

หน่วยงานภาครัฐ (ITA) ของ 8 หนว่ ยงาน สังกัดกระทรวงเกษตรและ

สหกรณ์

ตารางที่ 4.44 ตวั อยา่ งการอา้ งคำพูดในประเด็นปัญหา/อปุ สรรคของการดำเนินงานตาม 252

หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ตารางที่ 4.45 ตัวอยา่ งการอา้ งคำพูดในประเดน็ ปจั จัยสง่ เสริม/สนบั สนนุ การดำเนนิ งาน 257

ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

บทท่ี 5 โมเดลการประเมินความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพียงและแผนที่นำทางการปฏบิ ัติ

ราชการบนพ้ืนฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

ตารางท่ี 5.1 เปรียบเทียบเกณฑ์การประเมินความเปน็ เศรษฐกิจพอเพียงเดมิ และเกณฑ์ 272

ท่ปี รบั ปรงุ ใหม่

xxii

สถาบันบัณฑติ พฒั นบริหารศาสตร์

สารบญั ตาราง

หน้า

บทที่ 5 โมเดลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงและแผนท่ีนำทางการปฏบิ ัติ

ราชการบนพ้ืนฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

ตารางที่ 5.2 เปรียบเทยี บโมเดลความเปน็ เศรษฐกิจพอเพยี งทปี่ รบั ปรุงใหม่กบั เป้าหมาย 287

และตัวชวี้ ดั ในแผนย่อยภายใต้ประเด็นการบริการประชาชนและ

ประสทิ ธิภาพภาครัฐ

ตารางที่ 5.3 แผนทนี่ ำทาง(Roadmaps)การพฒั นาส่คู วามเปน็ เศรษฐกิจพอเพยี ง3ระดับ 293

บทที่ 6 สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผล

ตารางที่ 6.1 ผลการประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพยี งด้วยคะแนนตามเกณฑ์ 307

ของกรม/สำนักงานในสงั กัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ตารางท่ี 6.2 ผลการประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกิจพอเพยี งด้วยคะแนนตามเกณฑ์ 308

หนว่ ยงานกระทรวงมหาดไทย

ตารางที่ 6.3 ผลการประเมินความเปน็ เศรษฐกิจพอเพยี งจากมุมมองของผู้ปฏิบตั ิ 309

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ตารางที่ 6.4 ผลการประเมนิ ความเป็นเศรษฐกิจพอเพยี งจากมุมมองของผู้ปฏบิ ตั ิ 310

กระทรวงมหาดไทย

ภาคผนวก

ตารางที่ ผ 3.1 นยิ ามวสิ ยั ทศั น์กระทรวงมหาดไทย 402

ตารางที่ ผ 3.2 ประวัตกิ ารยา้ ยสังกัดของกรมท่ีดนิ 414

ตารางที่ ผ 5.1 กำหนดการการจัดประชมุ กลุ่มรอบท่ี 1 471

ตารางท่ี ผ 5.2 ตำแหนง่ ของผ้เู ข้าร่วมประชมุ กลุ่มรอบที่ 1 472

ตารางที่ ผ 5.3 ตำแหน่งของผู้ทรงคุณวุฒิทีเ่ ข้ารว่ มประชุมกลมุ่ รอบที่ 1 476

ตารางที่ ผ 7.1 ผลการประเมินความเป็นเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดับเขา้ ใจ ของสำนักงาน 505

ปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ตารางที่ ผ 7.2 ผลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียง ระดับเข้าใจ (บางมติ ิ) 508

ของกรมหม่อนไหม

ตารางท่ี ผ 7.3 ผลการประเมินความเปน็ เศรษฐกิจพอเพียง ระดับเข้าใจ (บางมิติ) 511

ของกรมฝนหลวงและการบินเกษตร

xxiii

โครงการวิจัย
การบริหารราชการแผ่นดนิ บนพน้ื ฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะท่ี ๑)

สารบัญตาราง

ภาคผนวก ผลการประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพียง ระดบั เขา้ ใจ (บางมิต)ิ หน้า
ตารางที่ ผ 7.4 ของกรมพัฒนาท่ีดิน 514
ตารางท่ี ผ 7.5 ผลการประเมินความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพียง ระดับเขา้ ใจ (บางมติ ิ) 517
ตารางที่ ผ 7.6 ของกรมวชิ าการเกษตร 520
ตารางท่ี ผ 7.7 ผลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียง ระดับเขา้ ใจ (บางมติ )ิ 523
ตารางที่ ผ 7.8 ของกรมกรมสง่ เสริมการเกษตร 526
ตารางท่ี ผ 7.9 ผลการประเมนิ ความเป็นเศรษฐกิจพอเพยี ง ระดับเขา้ ใจ (บางมิต)ิ 529
ตารางที่ ผ 7.10 ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ 531
ตารางท่ี ผ 7.11 ผลการประเมินความเป็นเศรษฐกจิ พอเพียง ระดบั เข้าใจ (บางมิต)ิ 534
ตารางที่ ผ 7.12 ของสำนักงานปฏริ ปู ท่ดี นิ เพ่อื เกษตรกรรม 536
ตารางท่ี ผ 7.13 ผลการประเมนิ ความเป็นเศรษฐกิจพอเพยี ง ระดับเขา้ ใจ (บางมติ )ิ 539
ตารางที่ ผ 7.14 ของกรมการขา้ ว 542
ตารางท่ี ผ 7.15 ผลการประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกิจพอเพียง ระดบั เขา้ ใจ (บางมิต)ิ 545
ของ กรมประมง
ผลการประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพียง ระดบั เขา้ ใจ (บางมติ ิ)
ของกรมปศุสตั ว์
ผลการประเมนิ ความเป็นเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดบั เข้าใจ(บางมิติ)
ของกรมชลประทาน
ผลการประเมนิ ความเป็นเศรษฐกจิ พอเพียง ระดับเขา้ ใจ (บางมติ ิ)
ของกรมตรวจบญั ชีสหกรณ์
ผลการประเมนิ ความเป็นเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดับเขา้ ใจ (บางมิติ)
ของสำนักงานมาตรฐานสนิ ค้าเกษตรและอาหารแหง่ ชาติ
ผลการประเมนิ ความเป็นเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดับเขา้ ใจ (บางมิต)ิ
ของสำนักงานเศรษฐกจิ การเกษตร

xxiv

สถาบันบณั ฑติ พัฒนบริหารศาสตร์

สารบญั ตาราง

หน้า

ภาคผนวก ผลการประเมินความเป็นเศรษฐกจิ พอเพยี งท่ีมีการสะท้อนระดับเข้าใจ 548
ตารางที่ ผ 7.16 (บางมติ ิ) ของสำนักปลัดกระทรวงกระทรวงมหาดไทย 550
ตารางที่ ผ 7.17 ผลการประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกิจพอเพียงท่ีมีการสะท้อนระดับเข้าใจ 552
ตารางท่ี ผ 7.18 (บางมติ ิ) ของกรมโยธาธิการและผงั เมือง 554
ตารางท่ี ผ 7.19 ผลการประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกิจพอเพยี งที่มีการสะทอ้ นระดับเข้าใจ 557
ตารางที่ ผ 7.20 (บางมิติ) ของกรมท่ดี นิ 559
ตารางที่ ผ 7.21 ผลการประเมินความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพียงทม่ี ีการสะทอ้ นระดับเขา้ ใจ 561
ตารางที่ ผ 7.22 (บางมิติ) กรมการปกครอง 565
ตารางท่ี ผ 8.1 ผลการประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกิจพอเพียงทีม่ ีการสะท้อนระดับเข้าใจ 567
ตารางที่ ผ 8.2 (บางมติ ิ) ของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั 570
ตารางท่ี ผ 8.3 ผลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงท่มี ีการสะท้อนระดบั เขา้ ใจ 572
ตารางท่ี ผ 8.4 (บางมติ ิ) ของกรมการพัฒนาชมุ ชน 575
ตารางท่ี ผ 8.5 ผลการประเมนิ ความเป็นเศรษฐกจิ พอเพียงทม่ี ีการสะท้อนระดับเข้าใจ
(บางมติ ิ) ของกรมส่งเสรมิ การปกครองท้องถ่ิน
ผลการประเมนิ ความเป็นเศรษฐกิจพอเพยี ง ระดับเขา้ ถึง
ของสำนักงานปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ผลการประเมนิ ความเป็นเศรษฐกิจพอเพียง ระดบั เขา้ ถงึ (บางมิติ)
ของกรมหม่อนไหม
ผลการประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกิจพอเพียง ระดับเขา้ ถงึ (บางมิติ)
ของกรมฝนหลวงและการบินเกษตร
ผลการประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกิจพอเพียง ระดบั เขา้ ถึง (บางมิต)ิ
ของกรมพัฒนาท่ดี ิน
ผลการประเมนิ ความเป็นเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดบั เข้าถึง (บางมติ ิ)
ของกรมวิชาการเกษตร

xxv

โครงการวจิ ยั
การบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ บนพื้นฐานหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ระยะท่ี ๑)

สารบัญตาราง

หนา้

ภาคผนวก ผลการประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกิจพอเพยี ง ระดบั เขา้ ถงึ (บางมิต)ิ 578
ตารางที่ ผ 8.6 ของกรมกรมส่งเสริมการเกษตร 580
ตารางท่ี ผ 8.7 ผลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียง ระดับเข้าถึง (บางมิต)ิ 582
ตารางท่ี ผ 8.8 ของกรมสง่ เสริมสหกรณ์ 584
ตารางท่ี ผ 8.9 ผลการประเมนิ ความเป็นเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดับเข้าถงึ (บางมิติ) 587
ตารางที่ ผ 8.10 ของสำนักงานปฏริ ปู ที่ดนิ เพอ่ื เกษตรกรรม 590
ตารางที่ ผ 8.11 ผลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียง ระดับเขา้ ถึง (บางมิติ) 593
ตารางที่ ผ 8.12 ของกรมการข้าว 596
ตารางที่ ผ 8.13 ผลการประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพียง ระดับเข้าถึง (บางมิต)ิ 599
ตารางที่ ผ 8.14 ของกรมประมง 602
ตารางท่ี ผ 8.15 ผลการประเมินความเป็นเศรษฐกจิ พอเพียง ระดบั เข้าถงึ (บางมิติ) 605
ตารางที่ ผ 8.16 ของกรมปศุสัตว์ 608
ตารางท่ี ผ 8.17 ผลการประเมินความเปน็ เศรษฐกิจพอเพยี ง ระดบั เขา้ ถงึ (บางมติ ิ)
ของกรมชลประทาน
ผลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียง ระดับเข้าถงึ (บางมิติ)
ของกรมตรวจบญั ชีสหกรณ์
ผลการประเมนิ ความเป็นเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดบั เข้าถงึ (บางมิติ)
ของสำนักงานมาตรฐานสนิ คา้ เกษตรและอาหารแห่งชาติ
ผลการประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกิจพอเพียง ระดบั เขา้ ถงึ (บางมติ )ิ
ของสำนักงานเศรษฐกจิ การเกษตร
ผลการประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพียงที่มีการสะท้อนระดับเขา้ ถงึ
(บางมติ ิ) ของสำนกั ปลดั กระทรวงกระทรวงมหาดไทย
ผลการประเมนิ ความเป็นเศรษฐกจิ พอเพียงท่ีมีการสะทอ้ นระดบั เขา้ ถึง
(บางมิติ) ของกรมโยธาธกิ ารและผงั เมือง

xxvi

สถาบันบณั ฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์

สารบัญตาราง

หน้า

ภาคผนวก ผลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพยี งทมี่ ีการสะท้อนระดบั เข้าถงึ 610
ตารางท่ี ผ 8.18 (บางมิติ) ของกรมที่ดิน 612
ตารางที่ ผ 8.19 ผลการประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกิจพอเพยี งทม่ี ีการสะทอ้ นระดับเข้าถงึ 614
ตารางท่ี ผ 8.20 (บางมติ ิ) กรมการปกครอง 616
ตารางท่ี ผ 8.21 ผลการประเมินความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพียงทม่ี ีการสะทอ้ นระดบั เขา้ ถึง 618
ตารางที่ ผ 8.22 (บางมติ ิ) ของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 623
ตารางที่ ผ 9.1 ผลการประเมินความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพยี งที่มีการสะท้อนระดบั เข้าถงึ 627
ตารางท่ี ผ 9.2 (บางมิติ) ของกรมการพัฒนาชุมชน 630
ตารางที่ ผ 9.3 ผลการประเมินความเป็นเศรษฐกจิ พอเพยี งท่ีมีการสะทอ้ นระดบั เขา้ ถึง 635
ตารางที่ ผ 10.1 (บางมติ ิ) ของกรมส่งเสรมิ การปกครองท้องถนิ่ 641
ตารางที่ ผ 11.1 แนวทางการประเมินความเป็นเศรษฐกจิ พอเพียงของส่วนราชการ
ระดบั เขา้ ขา่ ย
แนวทางการประเมนิ ความเป็นเศรษฐกจิ พอเพียงของส่วนราชการ
ระดับเขา้ ใจ
แนวทางการประเมนิ ความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงของส่วนราชการ
ระดบั เข้าถึง
ผลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงดว้ ยคะแนนตามเกณฑข์ อง
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ผลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงดว้ ยคะแนนตามเกณฑ์ของ
กระทรวงมหาดไทย

xxvii

โครงการวิจยั
การบริหารราชการแผ่นดนิ บนพื้นฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ระยะที่ ๑)

สารบญั ภาพ หนา้

บทที่ 2 ทบทวนวรรณกรรม 13
ภาพที่ 2.1 การวิเคราะหเ์ ชงิ ระบบของปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง 15
ภาพที่ 2.2 ความเป็นเศรษฐกิจพอเพียง 3 ระดับ 18
ภาพที่ 2.3 เกณฑ์การประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพยี ง 3 ระดับ 19
ภาพท่ี 2.4 ผลการประเมนิ ความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงระดับเขา้ ข่าย 20
ภาพที่ 2.5 ผลการประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกิจพอเพยี งระดบั เข้าใจ 21
ภาพท่ี 2.6 ผลการประเมินความเปน็ เศรษฐกิจพอเพยี งระดบั เขา้ ถึง 23
ภาพที่ 2.7 กรอบแนวคิดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 24
ภาพท่ี 2.8 การขับเคลื่อนสูร่ ะบบราชการ 4.0 โดยใช้ PMQA 4.0 44
ภาพที่ 2.9 คะแนนเฉลยี่ และ ร้อยละของหนว่ ยงานทผ่ี า่ นเกณฑ์การประเมนิ ITA
47
ระหวา่ งปงี บประมาณ 2561 – 2564
ภาพท่ี 2.10 การเปรียบเทยี บผลการประเมนิ ITA รายตัวช้ีวดั ของหนว่ ยงานในสงั กดั 48

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (แยกตามกลุ่มภารกิจ) 76
ภาพที่ 2.11 การเปรียบเทียบผลการประเมิน ITA รายตัวช้วี ดั ของหน่วยงานในสงั กัด
100
กระทรวงมหาดไทย
บทที่ 3 ระเบียบวธิ ีวจิ ยั 105
ภาพท่ี 3.1 โมเดลการประเมินความเปน็ เศรษฐกิจพอเพียง 3 ระดับ 111
บทที่ 4 ผลการวิจัย
ภาพที่ 4.1 ผลการประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพยี งของสำนกั งานปลดั กระทรวง 116
125
เกษตรและสหกรณ์
ภาพที่ 4.2 ผลการประเมินความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพียงของกรมหม่อนไหม
ภาพที่ 4.3 ผลการประเมนิ ความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงของกรมฝนหลวงและ

การบนิ เกษตร
ภาพที่ 4.4 ผลการประเมินความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพียงของกรมพฒั นาที่ดิน
ภาพท่ี 4.5 ผลการประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกิจพอเพียงของกรมวิชาการเกษตร

xxviii

สถาบนั บัณฑติ พัฒนบริหารศาสตร์

สารบญั ภาพ

หนา้

บทท่ี 4 ผลการวจิ ยั

ภาพท่ี 4.6 ผลการประเมนิ ความเป็นเศรษฐกิจพอเพยี งของกรมสง่ เสริมการเกษตร 134

ภาพท่ี 4.7 ผลการประเมนิ ความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงของกรมส่งเสริมสหกรณ์ 139

ภาพที่ 4.8 ผลการประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพยี งของสำนักงานการปฏิรูปทด่ี ิน 148

เพือ่ เกษตรกรรม

ภาพที่ 4.9 ผลการประเมินความเปน็ เศรษฐกิจพอเพียงของกรมการขา้ ว 153

ภาพท่ี 4.10 ผลการประเมินความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพยี งของกรมประมง 158

ภาพที่ 4.11 ผลการประเมนิ ความเป็นเศรษฐกจิ พอเพียงของกรมปศุสัตว์ 164

ภาพที่ 4.12 ผลการประเมินความเป็นเศรษฐกจิ พอเพียงของกรมชลประทาน 169

ภาพท่ี 4.13 ผลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงของกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ 174

ภาพที่ 4.14 ผลการประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกิจพอเพียงของสำนกั งานมาตรฐานสินค้า 180

เกษตรและอาหารแห่งชาติ

ภาพที่ 4.15 ผลการประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกิจพอเพยี งของสำนักงานเศรษฐกจิ 185

การเกษตร

ภาพท่ี 4.16 ผลการประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพยี งของสำนักงานปลัดกระทรวง 193

มหาดไทย

ภาพท่ี 4.17 ผลการประเมินความเป็นเศรษฐกจิ พอเพียงของกรมโยธาธิการและผงั เมือง 197

ภาพที่ 4.18 ผลการประเมนิ ความเป็นเศรษฐกจิ พอเพียงของกรมท่ดี ิน 201

ภาพที่ 4.19 ผลการประเมินความเปน็ เศรษฐกิจพอเพียงของกรมการปกครอง 205

ภาพที่ 4.20 ผลการประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกิจพอเพยี งของกรมปอ้ งกันและ 209
ภาพท่ี 4.21 บรรเทาสาธารณภัย 213
ผลการประเมินความเปน็ เศรษฐกิจพอเพยี งของกรมการพัฒนาชุมชน

ภาพที่ 4.22 ผลการประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพียงของกรมส่งเสริมการปกครอง 217
ท้องถ่ิน 264

บทท่ี 5 โมเดลการประเมินความเป็นเศรษฐกจิ พอเพียงและแผนท่ีนำทางการปฏิบตั ิ
ราชการบนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ภาพที่ 5.1 ความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพียง 3 ระดับ

xxix

โครงการวจิ ัย
การบรหิ ารราชการแผ่นดนิ บนพน้ื ฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะท่ี ๑)

สารบญั ภาพ หน้า

บทท่ี 5 โมเดลการประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพียงและแผนที่นำทางการปฏบิ ตั ิ 267
ราชการบนพนื้ ฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 268
269
ภาพท่ี 5.2 โมเดลความเปน็ เศรษฐกิจพอเพยี ง (โมเดลเดมิ ) 270
ภาพที่ 5.3 ผลการประเมินความเปน็ เศรษฐกิจพอเพยี งระดับเขา้ ข่าย (โมเดลเดิม) 281
ภาพท่ี 5.4 ผลการประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกิจพอเพียงระดบั เขา้ ใจ (โมเดลเดิม) 283
ภาพที่ 5.5 ผลการประเมินความเป็นเศรษฐกจิ พอเพยี งระดับเขา้ ถึง (โมเดลเดมิ ) 283
ภาพที่ 5.6 โมเดลการพฒั นาทรัพยากรมนุษย์หลงั สถานการณ์โรคระบาดโควิด – 19 284
ภาพท่ี 5.7 โมเดลความเปน็ เศรษฐกิจพอเพยี งทปี่ รบั ปรุงใหม่ 284
ภาพท่ี 5.8 โมเดลความเปน็ เศรษฐกิจพอเพียงท่ปี รบั ปรุงใหม่ ระดับเขา้ ขา่ ย 290
ภาพท่ี 5.8 โมเดลความเป็นเศรษฐกจิ พอเพียงท่ีปรบั ปรุงใหม่ ระดับเข้าใจ
ภาพท่ี 5.10 โมเดลความเป็นเศรษฐกจิ พอเพยี งทีป่ รบั ปรุงใหม่ ระดับเขา้ ถึง 313
ภาพท่ี 5.11 เปรยี บเทียบปจั จยั ในโมเดลความเปน็ เศรษฐกิจพอเพียงกบั เป้าหมายและ
362
ตัวช้วี ดั ในแผนแม่บทยอ่ ย ประเด็นท่ี 20 400
บทท่ี 6 สรปุ ผลการวิจัยและอภิปรายผล 477
ภาพที่ 6.1 โมเดลความเปน็ เศรษฐกิจพอเพยี งท่ีปรบั ปรุงใหม่ 477
ภาคผนวก 478
ภาพที่ ผ 1.1 โครงสร้างกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 478
ภาพท่ี ผ 2.1 โครงสร้างกระทรวงมหาดไทย 479
ภาพที่ ผ 5.1 ภาพบรรยากาศการประชมุ กลมุ่ กระทรวงมเกษตรและสหกรณ์ (กลุ่มที่1)
ภาพที่ ผ 5.2 ภาพบรรยากาศการประชมุ กลุ่ม กระทรวงมเกษตรและสหกรณ์ (กลุ่มท2่ี )
ภาพท่ี ผ 5.3 ภาพบรรยากาศการประชุมกลมุ่ กระทรวงมเกษตรและสหกรณ์ (กลุ่มที3่ )
ภาพท่ี ผ 5.4 ภาพบรรยากาศการประชุมกล่มุ กระทรวงมหาดไทย (กล่มุ ท1ี่ )
ภาพที่ ผ 5.5 ภาพบรรยากาศการประชุมกล่มุ กระทรวงมหาดไทย (กลมุ่ ท่ี2)

xxx

ภาคผนวก สารบัญภาพ สถาบนั บัณฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์
ภาพท่ี ผ 5.6
ภาพบรรยากาศ การประชมุ กลมุ่ รอบพเิ ศษ 479

xxxi

สถาบนั บัณฑติ พัฒนบริหารศาสตร์

บทท่ี 1
บทนำ

เนื้อหาในบทนี้ประกอบด้วยความสำคัญและที่มาของปัญหาที่ทำการวิจัย วัตถุประสงค์ของ
การวิจัย แนวทางการดำเนินงานและวิธีการบริหารแผนงานตามขอบเขตการดำเนินงาน ขอบเขตของ
โครงการวิจัย ระยะเวลาทำการวิจัย และแผนการดำเนินงานตลอดโครงการวิจัย ตลอดจนประโยชน์
ทคี่ าดวา่ จะไดร้ บั หวั ข้อการนำเสนอมดี ังน้ี

1.1 ความสำคัญและท่ีมาของปญั หา
1.2 วตั ถปุ ระสงค์ของการวิจยั
1.3 ขอบเขตของโครงการวจิ ัย
1.4 แนวทางการดำเนินงาน
1.5 ระยะเวลาทำการวจิ ยั และแผนการดำเนินงาน
1.6 ประโยชน์ทีค่ าดวา่ จะไดร้ ับ
โดยมีรายละเอียดดังน้ี

1.1 ความสำคัญและทีม่ าของปญั หา

ตั้งแต่แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545-2549) จนถึงแผน
พัฒนาฯ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565-2570) ได้มีการน้อมนำ “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”
ตามพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มาเป็น
แนวทางในการพัฒนาและบริหารประเทศ โดยยึดทางสายกลาง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล
และการมีภูมิคุ้มกันที่ดี เพื่อให้ประเทศรอดพ้นวิกฤติและนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน และที่ผ่านมามี
นักวิชาการจำนวนมากที่ได้ผลิตงานวิจัยเกี่ยวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงขึ้นมาอย่างมากมาย
และหลากหลาย อย่างไรก็ตาม การนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปขับเคลื่อนเป็นลักษณะ
กระจัดกระจาย ต่างคนต่างทำ รวมทั้งความเข้าใจในการนำไปปรับประยุกต์ปฏิบัติก็มีความแตกต่าง
กันมาก จากผลการวิจัยของ กัลยาณี เสนาสุ และ บงกช เจนจรัสสกุล (2562) ที่ได้ดำเนินการศึกษา
การบริหารราชการบนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีหน่วยงาน 8 กรม/สำนักงาน
ภายใต้สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์เป็นหน่วยงานตัวอย่าง ได้ข้อสรุปที่สำคัญอย่างหนึ่งว่า
หน่วยงานต่าง ๆ ทั้งราชการส่วนกลางและส่วนภูมิภาค นำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ไปขับเคลื่อนตามความเข้าใจของหน่วยงานที่แตกต่างกัน ผู้บริหารและบุคลากรของหน่วยงานได้มี

โครงการวิจยั
การบริหารราชการแผ่นดนิ บนพนื้ ฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ระยะที่ ๑)

ข้อเสนอแนะวา่ รัฐบาลควรมีการกำหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ รวมทั้งการสนับสนุนด้านเศรษฐกจิ
พอเพียงให้ชัดเจนและต่อเนื่อง ซึ่งถ้าหากมีการกำหนดเป็นแผนแม่บทให้เป็นรูปธรรม มีการกำหนด
ตัวชี้วัดและการติดตามประเมินผลเป็นระยะ ก็จะสามารถช่วยให้การปฏิบัติราชการอิงพื้นฐาน
หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างเป็นรูปธรรม สอดคล้องไปในแนวทางเดียวกันและสามารถ
ทีจ่ ะสรา้ งพลังในการขับเคลอ่ื นภาคราชการไปสู่การดำเนนิ การที่มีประสิทธิผล เป็นระบบ และโปร่งใส
บุคลากรเป็นทั้งคนเก่งและมีคุณธรรม ซึ่งสามารถเอื้อประโยชน์ทั้งแก่องค์กรและสังคมที่ดีงามได้
ในที่สุด นั่นจึงเป็นที่มาของโครงการวิจัยนี้ที่มุ่งจะทำให้ภาคราชการมีทิศทางนโยบายการทำงาน
บนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอย่างชัดเจน รวมทั้งมีการส่งเสริมให้มีการนำปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้เป็นพื้นฐานในการปฏิบัติราชการอย่างกว้างขวาง เพื่อประโยชน์สุขแก่
ประชาชนไทยและพลเมืองโลกในทส่ี ดุ

1.2 วตั ถุประสงคข์ องการวจิ ัย

งานวจิ ัยนปี้ ระกอบดว้ ยวัตถปุ ระสงค์ในการวิจัยที่สำคญั ดงั นี้
1) เพื่อศึกษาค้นคว้าถึงสถานะปัจจุบันของการปฏิบัติราชการตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง ของหน่วยงานบริหารราชการส่วนกลาง ระดับกระทรวง กรม
และสำนักงาน โดยใช้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และกระทรวงมหาดไทยเป็น
หนว่ ยงานตัวอยา่ ง
2) เพื่อศึกษาค้นคว้าถึงการเปลี่ยนแปลงของการปฏิบัติราชการตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง ของหน่วยงานบริหารราชการส่วนกลาง ระดับกระทรวง กรม
และสำนักงานของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ภายหลังการเกิดวิกฤตการณ์
การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ในลกั ษณะการศึกษา
ตามยาว (Longitudinal Study)
3) เพื่อปรับปรุงโมเดลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงให้สามารถใช้ได้ใน
ลกั ษณะทั่วไป (Generalization) สำหรบั หน่วยงานราชการทุกกระทรวง
4) เพื่อพัฒนาร่างแผนแม่บทของการปฏิบัติราชการบนพื้นฐานหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงที่หน่วยงานบริหารราชการส่วนกลาง ระดับกระทรวง กรม และ
สำนักงาน สามารถนำไปประยุกต์ใช้อย่างเป็นรูปธรรมในแนวทางเดียวกัน รวมทั้ง
สามารถดำเนินการต่อเน่ืองและยกระดับขนึ้ ได้

2

สถาบันบณั ฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์

5) เพื่อเผยแพร่แนวทางการปฏิบัติราชการบนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ออกไปให้กวา้ งขวาง

1.3 ขอบเขตของโครงการวิจัย

1.3.1 ขอบเขตดา้ นเนื้อหา การวิจยั นีเ้ ปน็ การศึกษาคน้ คว้าถึงสถานะปัจจุบันของการปฏิบัติ
ราชการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของหน่วยงานบริหารราชการส่วนกลาง
ระดับกระทรวง กรม และสำนักงาน ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และกระทรวงมหาดไทย
แล้วนำสารสนเทศเหล่านั้นมาประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงของหน่วยงานราชการในสังกัด
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และกระทรวงมหาดไทยด้วยโมเดลที่ กัลยาณี เสนาสุ และ บงกช
เจนจรัสสกุล (2562) พัฒนาขึ้น ทำการปรับปรุงโมเดลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงให้
สามารถใช้ได้ในลักษณะทั่วไป (generalization) สำหรับหน่วยงานราชการทุกกระทรวง และพัฒนา
ร่างแผนแม่บทของการปฏิบัติราชการบนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อให้หน่วยงาน
บริหารราชการส่วนกลาง ระดับกระทรวง กรม และสำนักงาน สามารถนำไปประยุกต์ใช้อย่างเป็น
รูปธรรมในแนวทางเดยี วกนั รวมท้ังสามารถดำเนนิ การตอ่ เนอื่ งและยกระดับขึน้ ได้

1.3.2 ขอบเขตด้านข้อมูล การวิจัยนี้เก็บข้อมูลทั้งข้อมูลปฐมภูมิและข้อมูลทุติยภูมิ
โดยข้อมูลปฐมภูมิจะเก็บจากบุคลากร (ข้าราชการและพนักงานราชการ) ใน 3 ระดับ ด้วยวิธี
การสัมภาษณ์ผู้บริหารระดับสูง การประชุมกลุ่ม (focus group) ผู้บริหารระดับกลางและหรือ
ผู้บริหารระดบั ตน้ รวมทงั้ การตอบแบบสำรวจของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติ นอกจากนนั้ จะมกี ารเกบ็ รวบรวม
ข้อมลู ทุติยภูมิทเี่ กยี่ วข้องตา่ ง ๆ เชน่ งานวจิ ัย เอกสารหลักฐานการปฏิบัติราชการของหน่วยงาน

กลุ่มตัวอย่างเป็นบุคลากรในหน่วยงานตัวอย่าง ระดับกระทรวง กรม/สำนักงาน ภายใต้
การดำเนนิ งานของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และกระทรวงมหาดไทย ที่เป็นหนว่ ยงานการบริหาร
ราชการส่วนกลางทุกหน่วยงาน โดยมีรายละเอียดของหน่วยงานภายใต้การกำกับดูแลของทั้ง
2 กระทรวงข้างต้นดังต่อไปนี้

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จำนวน 15 หน่วยงาน ได้แก่ สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตร
และสหกรณ์ สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
กรมการข้าว กรมประมง กรมปศุสัตว์ กรมวิชาการเกษตร กรมหม่อนไหม กรมชลประทาน
กรมฝนหลวงและการบินเกษตร กรมพัฒนาที่ดิน สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

3

โครงการวจิ ัย
การบริหารราชการแผน่ ดินบนพื้นฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ระยะท่ี ๑)

กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ กรมส่งเสริมการเกษตร และกรมสง่ เสริมสหกรณ์
กระทรวงมหาดไทย จำนวน 7 หน่วยงาน ได้แก่ สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย

กรมการปกครอง กรมการพัฒนาชุมชน กรมที่ดิน การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
กรมโยธาธกิ ารและผังเมือง และกรมส่งเสรมิ การปกครองท้องถิ่น

วธิ ีการเก็บรวบรวมข้อมูลปฐมภมู ิ ประกอบด้วย 3 วธิ ีการ มรี ายละเอียด ดงั น้ี
1) การสมั ภาษณ์ (In-depth Interview)
กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารระดับสูง ปลัดกระทรวงหรือผู้แทนที่ได้รับมอบหมาย

จำนวน 2 คน (กระทรวงละ 1 คน) อธิบดีหรือรองอธิบดี ซึ่งประกอบด้วยอธิบดีหรือรองอธิบดีจาก
หน่วยงานในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 15 หน่วยงาน และอธิบดีหรือรองอธิบดีจากหน่วยงานใน
กระทรวงมหาดไทย 7 หนว่ ยงาน รวมท้งั ส้นิ 24 คน

2) การจดั ประชุมกลุ่ม (focus group) มีการดำเนนิ การดังน้ี
(1) การจัดประชมุ กลุ่มรอบที่ 1
การจัดประชุมกลุ่มรอบที่ 1 มีวัตถุประสงค์เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล

จากผ้บู ริหารระดับกลางและผู้ทรงคุณวุฒิ/เครือข่ายท่ีเก่ียวข้อง โดยมีรายละเอียดการจัดประชุมกลุ่ม
สำหรบั กลุ่มตัวอย่างดงั นี้

สำหรับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์: ดำเนินการ 3 ครั้ง ๆ ละ 5 หน่วยงาน
(รวมทั้งหมด 15 หน่วยงาน) ผู้เข้าร่วมประชุมเป็นผู้บริหารระดับกลางจากแต่ละหน่วยงานจำนวน
4 คน และผ้ทู รงคุณวุฒ/ิ เครือขา่ ยทเ่ี กยี่ วข้อง รวมประมาณ 25 คนตอ่ ครง้ั รวมทั้งหมด 75 คน

สำหรับกระทรวงมหาดไทย: ดำเนินการ 2 ครั้ง ๆ ละ 3-4 หน่วยงาน
(รวมทัง้ หมด 7 หนว่ ยงาน) ผเู้ ขา้ รว่ มประชมุ เป็นผูบ้ ริหารระดับกลางจากแต่ละหน่วยงานจำนวน 5 คน
และผ้ทู รงคณุ วฒุ ิ/เครือขา่ ยทเ่ี ก่ียวข้อง รวมประมาณ 20-25 คนตอ่ ครงั้ รวมทงั้ หมด 45 คน

(2) การจดั ประชุมยอ่ ยรอบที่ 2
การจัดประชุมย่อยรอบที่ 2 มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอผลการวิเคราะห์และ

รับฟังข้อคิดเหน็ เพิ่มเติมจากผู้บรหิ ารระดบั กลางและผู้ทรงคุณวฒุ ิ/เครือข่ายท่ีเกี่ยวขอ้ ง ที่ได้มาร่วมให้
ข้อมูลในการประชุมกลุ่มรอบที่ 1 โดยการดำเนินการและจำนวนครั้งจะเป็นไปเหมือนการจั ด
ในรอบที่ 1 กล่าวคือ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จัดประชุม 3 ครั้ง ผู้เข้าร่วมประชุมประมาณ
75 คน และกระทรวงมหาดไทยจดั ประชุม 2 ครง้ั ผเู้ ข้าร่วมประชมุ ประมาณ 45 คน

3) การสำรวจความคิดเห็นด้วยแบบสำรวจ (questionnaires) จากบุคลากรระดับ
ปฏิบตั ิการ
ในการเก็บข้อมูลด้วยแบบสำรวจนั้น ผู้วิจัยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน

(Multi-Stage Sampling) โดยมีขัน้ ตอนดังนี้

4

สถาบนั บัณฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์

(1) ผูว้ จิ ัยจำแนกหน่วยงานของแต่ละกระทรวง ซ่ึงประกอบดว้ ย กระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ จำนวน 15 หน่วยงาน และกระทรวงมหาดไทย จำนวน 7 หน่วยงาน (ยกเว้นสำนักงาน
รฐั มนตรี ซึ่งมีจำนวนบคุ ลากรไมม่ ากพอ)

(2) ในแต่ละกระทรวงผู้วิจัยแบ่งจำนวนประชากร (บุคลากร) ตามพื้นที่ กล่าวคือ
หนว่ ยงานราชการสว่ นกลาง หน่วยงานราชการสว่ นภูมภิ าค และภาพรวม

(3) ผู้วิจัยหาจำนวนตัวอย่างด้วยวิธีการเปิดตารางกำหนดขนาดจำนวนตัวอย่างท่ี
ความเชื่อมั่น 95% ความคลาดเคลื่อน 10% โดยอ้างอิงจากตารางของ ศิริชัย กาญจนวาสี (2547)
ซึ่งวิธีการใช้หน่วยตัวอย่างนี้เหมาะสมกับการใช้กับงานวิจัยหรือการศึกษาเกี่ยวข้องกับข้อเท็จจริง
(Exploration Research) และข้อจำกัดเรื่องเวลาในการดำเนินการวิจัยและงบประมาณค่าใช้จ่าย
(กลุ่มระเบยี บวธิ สี ถติ สิ ำนกั นโยบายและวิชาการสถิติ, 2564) รายละเอียดจำนวนบุคลากรและตัวอย่าง
ของแตล่ ะกระทรวง กรม/สำนกั งาน แสดงดังตารางที่ 1.1 และ ตารางที่ 1.2

ตารางท่ี 1.1
จำนวนบุคลากรและจำนวนตัวอยา่ งจากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (แบ่งตามกลุ่มภารกจิ )

จำนวนตัวอย่าง (คน)

กลุม่ ภารกจิ หน่วยงาน จำนวนบคุ ลากร (คน) ท่คี วามเชอ่ื มนั่ 95%

ความคลาดเคลอ่ื น 10%

สว่ นกลาง ส่วนภูมิภาค รวม สว่ นกลาง

ส่วนราชการท่ีไมอ่ ยู่ 1. สำนักงานปลัดกระทรวง 687 1,235 1,922 88
ภายใตก้ ลมุ่ ภารกจิ 2. สำนกั งานมาตรฐานสินคา้ *
3. สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร* 266 50
กล่มุ ภารกจิ ดา้ น 4. กรมการขา้ ว*
พัฒนาการผลิต 5. กรมประมง 1,030 75
6. กรมปศสุ ัตว*์
7. กรมวชิ าการเกษตร 2,028 88
8. กรมหมอ่ นไหม*
6,231 1,559 7,790 98

9,706 97

2,242 6,145 8,387 95

1,033 75

5

โครงการวจิ ัย
การบรหิ ารราชการแผน่ ดินบนพน้ื ฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะที่ ๑)

ตารางท่ี 1.1 (ต่อ)

จำนวนตวั อยา่ ง (คน)

กลมุ่ ภารกิจ หน่วยงาน จำนวนบคุ ลากร (คน) ที่ความเชื่อม่นั 95%
ความคลาดเคล่อื น 10%

สว่ นกลาง สว่ นภมู ภิ าค รวม ส่วนกลาง

กลมุ่ ภารกจิ ดา้ นบริการ 9. กรมชลประทาน* 20,554 99

จัดการทรพั ยากรเพ่อื 10. กรมฝนหลวงและการบนิ เกษตร* 497 67
3,185 91
การผลิต 11. กรมพัฒนาท่ดี นิ *

12. สำนักงานปฏริ ปู ทีด่ ินเพอื่ เกษตรกรรม 655 1,919 2,574 88

กล่มุ ภารกจิ ด้านส่งเสริม 13. กรมตรวจบญั ชสี หกรณ์ 284 2,200 2,484 75

และพัฒนาเกษตรกร 14. กรมสง่ เสรมิ การเกษตร 1,942 10,171 12,113 95

และระบบสหกรณ์ 15. กรมสง่ เสริมสหกรณ์ 1,029 4,264 5,293 91

รวม 78,862 1,272

หมายเหตุ: ข้อมูลได้จากเว็บไซต์ของหน่วยงานต่าง ๆ ที่เผยแพร่ในช่วงปี พ.ศ. 2563–2564 สำหรับหน่วยงานที่ไม่
สามารถคน้ หาข้อมลู บุคลากรที่แยกตามราชการส่วนกลางและส่วนภูมภิ าคได้ ผู้วิจยั ใชเ้ ครื่องหมาย (*) กำกับไว้และ
จะใชก้ ารประมาณการจำนวนประชากรตามสัดส่วนท่ไี ด้จากการคำนวณสดั สว่ นเฉล่ียของกระทรวง ซง่ึ ในท่ีนี้สัดส่วน
บคุ ลากรที่สงั กัดราชการส่วนกลาง ตอ่ ราชการสว่ นภมู ิภาค ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ คือ 1:2 จากน้ันจึงนำ
ขอ้ มูลประมาณการของบคุ ลากรไปเปิดตารางหาจำนวนตัวอย่าง

ตารางท่ี 1.2
จำนวนบคุ ลากรและจำนวนตัวอย่างจากกระทรวงมหาดไทย (แบง่ ตามกลุม่ ภารกจิ )

จำนวนบุคลากร จำนวนตวั อยา่ ง
ความเชอ่ื ม่ัน 95%
กลุม่ ภารกจิ หน่วยงาน คลาดเคลอ่ื น 10%

ส่วนราชการไม่อยู่ 1. สำนกั งานรัฐมนตรี ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค รวม ส่วนกลาง
ภายใต้กลมุ่ ภารกจิ 2. สำนกั งานปลดั กระทรวง 20 - 20 0
มหาดไทย 812 3,213 91
กลมุ่ ภารกจิ ดา้ นกจิ การ 3. กรมการปกครอง 2,401
ความม่นั คงภายใน 4. กรมที่ดิน
กลุม่ ภารกจิ ด้านพฒั นา 5. กรมพฒั นาชุมชน 2,034 14,239 16,273 95
ชมุ ชมและส่งเสรมิ การ 6. กรมส่งเสรมิ การปกครอง 3,054 8,937 11,991 97
ปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ สว่ นท้องถน่ิ 569 6,232 6,801 83
510 2,745 3,255 83

6

สถาบนั บณั ฑติ พัฒนบริหารศาสตร์

ตารางท่ี 1.2 (ตอ่ )

กล่มุ ภารกิจ หน่วยงาน จำนวนบุคลากร จำนวนตัวอยา่ ง
ความเช่ือม่นั 95%
กลุ่มภารกจิ ดา้ นสา 1. กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสา ส่วนกลาง ส่วนภูมภิ าค รวม คลาดเคล่ือน 10%
ธารณภยั และพฒั นา ธารณภยั * 3,839
เมือง ส่วนกลาง
2. กรมโยธาธกิ ารและผงั เมือง 91

รวม 1,463 1,954 3,417 94
48,809 634

หมายเหตุ: ข้อมูลได้จากเว็บไซท์ของหน่วยงานต่าง ๆ ที่เผยแพร่ในช่วงปี พ.ศ. 2563–2564 สำหรับหน่วยงานที่ไม่
สามารถค้นหาขอ้ มูลบุคลากรที่แยกตามราชการส่วนและส่วนภูมิภาคได้ ผู้วิจัยใช้เคร่ืองหมาย (*) กำกับไว้และจะใช้
การประมาณการจำนวนประชากรตามสัดส่วนที่ได้จากการคำนวณสัดส่วนเฉลี่ยของ กระทรวง ซึ่งในที่นี้สัดส่วน
บุคลากรที่สังกัดราชการส่วนกลาง ต่อ ราชการส่วนภูมิภาค ของกระทรวงมหาดไทย คือ 1:3 จากนั้นจึงนำข้อมูล
ประมาณการของบคุ ลากรเปดิ ตารางหาจำนวนตวั อย่าง

1.4 แนวทางการดำเนนิ งาน

แนวทางการดำเนนิ การวิจัยดงั ต่อไปนี้
1) เก็บรวบรวมข้อมูลการปฏิบัติราชการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงใน
ปัจจุบัน ของหน่วยงานบริหารราชการสว่ นกลางระดบั กระทรวง กรม และสำนักงาน
โดยใชก้ ระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และกระทรวงมหาดไทยเปน็ หน่วยงานศึกษา
2) ทำการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียง (การปฏิบัติราชการตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง) ของหน่วยงานราชการบรหิ ารส่วนกลางระดบั กระทรวง กรม
และสำนกั งาน ในสงั กดั ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และกระทรวงมหาดไทย
3) ปรับปรุงโมเดลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงให้สามารถใช้ได้ในลักษณะ
ทัว่ ไป (generalization) สำหรับหนว่ ยงานราชการทกุ กระทรวง
4) พฒั นารา่ งแผนแมบ่ ทการบริหารราชการบนพน้ื ฐานหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ที่สามารถใช้เป็นทิศทางและแนวทางการปฏิบัติราชการที่ชัดเจนและสอดคล้องกันทั้ง
ภาคราชการเพอ่ื ชว่ ยเปน็ พลังขบั เคลื่อนสังคมสู่ความร่มเยน็ เป็นสุขต่อไป

7

โครงการวจิ ัย
การบริหารราชการแผน่ ดินบนพ้นื ฐานหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะที่ ๑)

5) ดำเนินการเผยแพร่ผลงานวิจัยด้วยช่องทางต่าง ๆ เช่น การนำเสนอในงานประชุม
วิชาการ การเขียนบทความเผยแพร่ในวารสารทั้งในประเทศและต่างประเทศ
การพยายามผลกั ดนั ให้หน่วยงานทีเ่ ก่ียวข้องนำผลการศกึ ษาไปใชป้ ระโยชน์

1.5 ระยะเวลาทำการวจิ ัยและแผนการดำเนินงาน

โครงการวิจยั ระยะท่ี 1 น้ี มกี ำหนดระยะเวลา 7 เดอื น โดยเรม่ิ ตั้งแต่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2564
จนถงึ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ซง่ึ มีรายละเอียดแผนการดำเนินการแสดงดังตารางที่ 1.3

ตารางท่ี 1.3

แผนการดำเนินงานโครงการวิจยั การบรหิ ารราชการแผ่นดินบนพน้ื ฐานปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

(ระยะที่ 1)

ระยะเวลาการดำเนนิ งาน ปี พ.ศ. 2564 - 2565

กิจกรรม ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ.

1. ศึกษาขอ้ มลู สารสนเทศทจ่ี ำเปน็ และทบทวนกรอบแนวคิดและทฤษฎีทเี่ กยี่ วขอ้ ง
รวมทง้ั พฒั นากรอบแนวทางการเก็บขอ้ มลู ด้วยวธิ ีการสมั ภาษณแ์ ละการจัดประชุม
กลมุ่

2. รวบรวมข้อมลู การปฏบิ ัตริ าชการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงใน
ปัจจุบันของหนว่ ยงานราชการสว่ นกลางระดับกระทรวง/กรม ของหนว่ ยงานทเ่ี ปน็
กลมุ่ ตวั อยา่ ง

3. เกบ็ รวบรวมขอ้ มูลด้วยวธิ กี ารสัมภาษณเ์ ชิงลกึ (In-depth Interview) ผู้บรหิ าร
ระดบั สงู ระดบั กระทรวง กรม และสำนกั งาน ของหนว่ ยงานที่เป็นกลุ่มตวั อย่าง

4. จัดประชุมระดมสมอง (Focus Group) ในกลุ่มผบู้ รหิ ารระดับกลางและ
ผูท้ รงคุณวุฒ/ิ เครอื ข่ายทเี่ กยี่ วขอ้ งในประเดน็ ของแนวทางการบริหารราชการบน
พื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งของหนว่ ยงานราชการสว่ นกลางของ
หน่วยงานทเ่ี ป็นกลุม่ ตัวอย่าง

5. รวบรวมขอ้ มูลดว้ ยวธิ กี ารสำรวจความคดิ เหน็ ด้วยแบบสำรวจ (Questionnaires)
จากบคุ ลากรระดับปฏบิ ัติการของหน่วยงานท่ีเป็นกลุม่ ตัวอยา่ ง

6. ประมวลขอ้ มลู ทไ่ี ด้รวบรวมมา เพือ่ ทำการวเิ คราะหใ์ หไ้ ดข้ อ้ สรุปถึงระดบั และ
แนวทางในการบรหิ ารราชการบนพน้ื ฐานปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งของ
หน่วยงานที่เปน็ กลุม่ ตัวอยา่ ง

8

สถาบนั บัณฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์

ตารางท่ี 1.3 (ต่อ)

ระยะเวลาการดำเนนิ งาน ปี พ.ศ. 2564 - 2565

กจิ กรรม ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ.

8. พฒั นาโมเดลการประเมนิ ความเป็นเศรษฐกจิ พอเพยี งใหส้ ามารถใชไ้ ดใ้ นลกั ษณะ

ท่วั ไปสำหรบั หนว่ ยงานราชการ

9. รา่ งแผนแมบ่ ทการบริหารราชการบนพืน้ ฐานหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
สำหรับหนว่ ยงานราชการ

10. จัดประชุมนำเสนอแนวทางในการบริหารราชการบนพื้นฐานปรชั ญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงใหแ้ ก่ผบู้ รหิ ารและเจา้ หนา้ ทข่ี องหนว่ ยงานทีเ่ ป็นกลุ่มตวั อยา่ ง
พรอ้ มเก็บรวบรวมข้อเสนอแนะเพอ่ื การปรบั ปรงุ รา่ งแผนแม่บทการบริหารราชการ
บนพืน้ ฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสำหรบั หนว่ ยงานราชการ

11. จดั ทำรายงานการวิจยั และนำเสนอการวจิ ยั ในงานสัมมนา รวมทงั้ เผยแพรแ่ ก่
หน่วยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง

1.6 ประโยชน์ที่คาดวา่ จะไดร้ บั

1) ได้ข้อสรุปและผลประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงของหน่วยงานบริหารราชการ
ส่วนกลาง ในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และกระทรวงมหาดไทย
รวม 24 หน่วยงานในระดบั กระทรวง กรม และสำนกั งาน

2) ได้ข้อสรุปและผลประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงของหน่วยงานบริหารราชการ
ส่วนกลาง ระดับกระทรวง กรม และสำนักงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ใน
ลักษณะของการศึกษาตามยาวที่สะท้อนการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นภายหลังการเกิด
วิกฤตการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จำนวน
8 หนว่ ยงาน

3) โมเดลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงให้สามารถใช้ได้ในลักษณะทั่วไป
(Generalization) สำหรบั หน่วยงานราชการทุกกระทรวง จำนวน 1 โมเดล

4) แผนแม่บท (ฉบับร่าง) การบริหารราชการบนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ที่สามารถใช้เป็นทิศทางและแนวทางการปฏิบัติราชการที่ชัดเจนและสอดคล้องกัน
ทั้งภาคราชการ จำนวน 1 ฉบับ

5) ได้รายงานวิจัย 1 ฉบับ และบทความวิจัยที่สามารถเผยแพร่ทั้งในประเทศและ
ต่างประเทศ อย่างนอ้ ย 2 ช้ิน

9

โครงการวจิ ยั
การบรหิ ารราชการแผน่ ดินบนพ้นื ฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะท่ี ๑)

10

สถาบันบณั ฑติ พฒั นบริหารศาสตร์

บทที่ 2
ทบทวนวรรณกรรม

เนื้อหาในบทนี้ประกอบด้วยการทบทวนแนวความคิดทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับ
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โมเดลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงในภาคราชการ
การบริหารจัดการของภาครัฐเกี่ยวกับความโปร่งใส และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ซึ่งเป็นปัจจัย
นำเข้าที่เปน็ พนื้ ฐานสำคญั ในการสรา้ งสรรคค์ วามสุขอยา่ งยั่งยืน หวั ข้อในการนำเสนอมีดังนี้

2.1 หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2.2 การประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพยี งในภาคราชการ
2.3 การบริหารจดั การภาครฐั ตามแนวทาง PMQA 4.0
2.4 การบริหารจัดการภาครฐั เก่ยี วกับความโปร่งใส
2.5 การพฒั นาทรพั ยากรมนุษย์
2.6 แผนแม่บทในการพัฒนาประเทศ
โดยมีรายละเอียดดงั นี้

2.1 หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ได้พระราชทาน
ความหมายของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอย่างเป็นทางการให้แก่ประชาชนคนไทย เมื่อวันท่ี 29
พฤศจิกายน 2542 ไว้ว่า “เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดำรงอยู่และปฏิบัติตนของ
ประชาชนในทุกระดับต้ังแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบรหิ าร
ประเทศให้ดำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลก
ยุคโลกาภิวตั น์ ความพอเพยี ง หมายถงึ ความพอประมาณ ความมีเหตผุ ล รวมถึงความจำเปน็ ที่จะต้อง
มรี ะบบภูมคิ ุ้มกันในตวั ที่ดีพอสมควรต่อการมีผลกระทบใด ๆ อนั เกิดจากการเปล่ยี นแปลงทั้งภายนอก
และภายใน ทั้งน้ี จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งใน
การนำวิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผนและการดำเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้อง
เสรมิ สรา้ งพนื้ ฐานจติ ใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าท่ีของรฐั นักทฤษฎแี ละนักธุรกิจในทุกระดับ
ให้มีสำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดำเนินชีวิตด้วยความ

11

โครงการวิจยั
การบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ บนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะท่ี ๑)

อดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการ
เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม จากโลก
ภายนอกไดเ้ ป็นอย่างด”ี (สำนักงานคณะกรรมการพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ, 2544, หน้า ก)

จากนิยามดังกล่าว สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ได้นำมา
จัดทำเป็นแผนภาพเพื่อให้สามารถเข้าใจความหมายของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้ง่ายยิ่งข้ึน
โดยแผนภาพประกอบด้วย 3 ห่วง 2 เงื่อนไข คือ ความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง) และคุณธรรม
(ซื่อสัตย์สุจริต ขยันอดทน แบ่งปัน) เป็นเงื่อนไขสำคัญที่ทำให้บุคคลพอประมาณ มีภูมิคุ้มกัน
และมีเหตุผล ซึ่งนำไปสู่ เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม ที่สมดุล มั่นคง และยั่งยืน
(อภิชัย พันธเสน, 2560ก)

ต่อมา อภิชัย พันธเสน (2560ก, น.23-31) ได้วิเคราะห์เชิงระบบปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ดังแสดงไว้ในแผนภาพท่ี 2.1 โดยมีปัจจยั นำเขา้ (input) ได้แก่ คุณธรรมและความรู้ สว่ นกระบวนการ
(process) คือ การดำเนินทางสายกลาง ซึ่งได้แก่ การมีภูมิคุ้มกันและการพึ่งพาตนเองเปรียบเสมือน
วิธีการ ความพอประมาณซึ่งเปรียบเสมือนวิธีคิด และความมีเหตุผล ซึ่งคือวิถีชีวิตของผู้ดำเนินการ
ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ออกมาเป็นผลผลิต (output) คอื เศรษฐกิจ สงั คม วัฒนธรรม และ
สิ่งแวดล้อม มีความยั่งยืน สมดุล และมั่นคง ส่วนในด้านของผลลัพธ์ (outcome) คือ ความสุขของ
ตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม ประเทศชาติ และโลก และผลในที่สุด/ผลกระทบ (impact)
ที่ได้จากปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คือ ความร่มเย็นเป็นสุข ซึ่งเกิดจากการทำประโยชน์สุขให้แก่
ผู้อ่ืน

12

สถาบนั บัณฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์

ภาพท่ี 2.1
การวิเคราะห์เชิงระบบของปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง

หมายเหตุ. ดัดแปลงจาก เศรษฐกจิ พอเพยี ง: พระอจั ฉริยภาพ และพระกรณุ าธิคณุ ของในหลวง รชั กาลที่ 9 (น.31)
โดย อภชิ ยั พันธเสน, 2560, สำนกั พมิ พม์ หาวิทยาลยั รังสติ

2.2 การประเมินความเป็นเศรษฐกจิ พอเพียงในภาคราชการ

งานวิจัยของกัลยาณี เสนาสุ และบงกช เจนจรัสสกุล (2562) ได้กำหนดความหมายของ
ความเป็นเศรษฐกิจพอเพียง ไว้ว่า “ความเป็นเศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง ระดับของการปฏิบัติ
ราชการบนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งมีการแบ่งระดับความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงเป็น
3 ระดับ ได้แก่ ระดับเข้าข่าย หน่วยงานได้สะท้อนให้เห็นวิธีการทำงานที่ได้ยึดภูมิคุ้มกันมาเป็น
แนวทางในการดำเนินงานต่าง ๆ ซึ่งทำให้สามารถสะท้อนการดำเนินการที่เป็นองค์การแห่ง
ความยั่งยืนต่อไปได้ ส่วนในระดับที่สูงขึ้นไปอีกคือ ระดับเข้าใจ หน่วยงานได้สะท้อนให้เห็นถึงวิธีคิด
ในการทำงานที่นอกจากจะได้ยึดภูมิคุ้มกันมาเป็นแนวทางในการดำเนินงานต่าง ๆ แล้วยังได้คำนึงถึง
ความพอประมาณที่สร้างให้เกิดความสมดุลในทรัพยากรต่าง ๆ ที่จำเป็นต้องใช้ในการทำงาน

13

โครงการวิจยั
การบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ บนพืน้ ฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะที่ ๑)

รวมทั้งทรพั ยากรทสี่ ำคญั คือ ทรพั ยากรมนุษย์ ซึง่ ในทส่ี ดุ แลว้ การดำเนินงานกย็ ังทำให้เกิดความสมดุล
ในชีวิตของบุคลากร ทำให้องค์การสามารถแสดงสถานะองค์การแห่งความสุขได้ และหน่วยงาน
ดังกล่าวต้องผ่านระดับเข้าข่ายมาก่อน และในความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงระดับสูงสุด คือ
ระดบั เข้าถึง หน่วยงานได้สะท้อนถงึ การดำเนินการในเร่ืองต่าง ๆ ทม่ี ีความมั่นคง ได้ซึมลึกให้เห็นเป็น
วิถีชีวิตหรือการดำเนินชีวิตตามปกติ มีทั้งการยึดแนวคิดการมีภูมิคุ้มกัน การพอประมาณ และการมี
เหตผุ ล เขา้ ใจถงึ สาเหตุท่มี าและผลท่ีเกิดขนึ้ บุคลากรยกระดับจากการมองชีวิตของตนเองทมี่ ีความสุข
ไปสู่การสร้างประโยชน์สุขให้แก่ประเทศชาติ สังคมและมวลมนุษยชาติ ซ่ึงสรุปได้เป็นการสะท้อนถึง
สถานะขององค์การแห่งประโยชน์สุข ซึ่งจะต้องผ่านการเป็นองค์การแห่งความยั่งยืน และองค์การ
แห่งความสขุ มาแล้ว”

โดยกัลยาณี เสนาสุ และบงกช เจนจรัสสกุล (2562) ได้พัฒนาโมเดลการประเมินความเป็น
เศรษฐกิจพอเพียงที่อิงมาจากการวิเคราะห์เชิงระบบปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของ ศ.ดร.อภิชัย
พนั ธเสน (2560) เป็นหลกั ซึง่ ไดป้ ระมวลมาเป็นการประเมนิ ความเป็นเศรษฐกิจพอเพยี ง 3 ระดับ คือ
เข้าข่าย เข้าใจ และเข้าถึง โดยในระดับเข้าข่าย หน่วยงานได้สะท้อนให้เห็นวิธีการทำงานที่ได้
ยึดภูมิคุ้มกันมาเป็นแนวทางในการดำเนินงานต่าง ๆ ซึ่งทำให้สามารถสะท้อนการดำเนินการแบบ
องค์การแห่งความยั่งยืนต่อไปได้ ส่วนในระดับท่ีสูงข้ึนไปอีกคือ ระดับเข้าใจ หน่วยงานได้สะท้อนให้
เห็นถึงวิธีคิดในการทำงานที่นอกจากจะได้ยึดภูมิคุ้มกันมาเป็นแนวทางในการดำเนินงานต่าง ๆ
แล้วยังได้คำนึงถึงความพอประมาณที่สร้างให้เกิดความสมดุลในทรัพยากรต่าง ๆ ที่จำเป็นต้องใช้ใน
การทำงาน รวมทงั้ ทรพั ยากรทส่ี ำคัญคือ ทรพั ยากรมนุษย์ ซงึ่ ในท่ีสุดแลว้ การดำเนนิ งานก็ยังทำให้เกิด
ความสมดุลในชีวิตของบุคลากร ทำให้องค์การสามารถแสดงสถานะองค์การแห่งความสุขได้
และในความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงระดับสูงสุด คือ ระดับเข้าถึง หน่วยงานได้สะท้อนถึง
การดำเนินการในเรื่องต่าง ๆ ที่มีความม่ันคง ได้ซึมลึกให้เหน็ เป็นวิถชี ีวิตหรอื การดำเนนิ ชีวิตตามปกติ
มีท้งั การยดึ แนวคิดการมภี ูมิคุ้มกัน การพอประมาณ และการมเี หตผุ ล เขา้ ใจถึงสาเหตุและผลท่ีเกิดข้ึน
บุคลากรยกระดบั จากการมองชวี ติ ของตนเองท่ีมคี วามสุขไปสู่การสรา้ งประโยชน์สขุ ให้แก่ประเทศชาติ
สังคมและมวลมนุษยชาติ ซึ่งสรุปได้เป็นการสะท้อนถึงสถานะขององค์การแห่งประโยชน์สุข
(แสดงในภาพท่ี 2.2)

14

สถาบันบณั ฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์

ภาพที่ 2.2
ความเป็นเศรษฐกิจพอเพยี ง 3 ระดับ

หมายเหตุ. จาก รายงานวิจัย: การบรหิ ารราชการบนพ้นื ฐานปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (น.40) โดย กลั ยาณี
เสนาสุ และ บงกช เจนจรสั สกลุ , 2562, สำนกั งานกองทนุ สนับสนนุ การวิจัย.

โดยเกณฑ์การประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพียงของหน่วยงานราชการขึ้นมา ประกอบด้วย
4 มติ ิ ไดแ้ ก่

มติ ทิ ี่ 1 นโยบาย การวางแผน และการจดั ทำแผนแบบมีสว่ นรว่ ม
มิติที่ 2 การบริหารงานอย่างเป็นระบบ โปร่งใส มีธรรมาภิบาล และไม่มีการกระทำการผิด

กฎหมาย
มิตทิ ่ี 3 บุคลากร เกง่ และมคี ณุ ธรรม
มติ ทิ ี่ 4 ประโยชน์แก่องคก์ ารและสงั คม

15

โครงการวจิ ัย
การบริหารราชการแผ่นดนิ บนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะที่ ๑)

ทั้งน้ีในการกำหนดเกณฑ์ของแต่ละมิติได้ยกระดบั ความเข้มข้นลึกซึ้งของความเป็นเศรษฐกจิ
พอเพียงที่สะท้อนถึงการเป็นองค์การแห่งความยั่งยืนในระดับเข้าข่าย ซึ่งเน้นไปที่วิธีการใน
การปฏิบัติงาน และเมื่อหน่วยงานมีการดำเนินงานที่สะท้อนให้เห็นวิธีคิดที่คำนึงถึงทั้งภูมิคุ้มกันและ
ความสมดุลพอประมาณก็จะบรรลุถึงเกณฑ์ของระดับเข้าใจ สุดท้ายเมื่อหน่วยงานมีการดำเนินการ
ตา่ ง ๆ อยา่ งมีเหตผุ ลมีความเขา้ ใจถงึ เหตุและผลท่ีเกิดขึ้น คำนึงถงึ ประโยชนส์ ุขของสังคมก็จะสะท้อน
ความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพียงข้ันสูงสดุ คอื ระดบั เขา้ ถึง

รายละเอยี ดของเกณฑป์ ระเมินในแต่ละระดบั มีดงั นี้
ระดับเข้าขา่ ย
มติ ทิ ่ี 1 นโยบาย การวางแผน และการจัดทำแผนแบบมสี ่วนร่วม

ประกอบด้วยเกณฑ์ 2 ข้อ คือ 1) การปฏิบัติราชการมีการวางแผนที่ตอบสนอง
พันธกิจ วิสัยทัศน์ และยุทธศาสตร์ขององค์การ (กรมและกระทรวง) และ 2) ในการวางแผน
ยทุ ธศาสตร์ มีการถา่ ยทอด สรา้ งความเข้าใจ และพัฒนาการมสี ่วนร่วมของบุคลากร

มิติที่ 2 การบริหารงานอย่างเป็นระบบ โปร่งใส มีธรรมาภิบาล และไม่มีการกระทำการผิด
กฎหมาย

ประกอบด้วยเกณฑ์ 2 ข้อ คือ 1) การบริหารจัดการอย่างเป็นระบบช่วยให้เกิด
ประสิทธิภาพในการทำงาน และ 2) การบริหารงานอย่างโปร่งใส มีนโยบาย มาตรการ
ระบบการตรวจสอบ ในการกำกบั ดแู ล และเปิดเผยข้อมูล

มติ ทิ ่ี 3 บุคลากรเกง่ และมีคุณธรรม
ประกอบด้วยเกณฑ์ 2 ข้อ คือ 1) การฝึกทักษะ ความรู้ที่เกี่ยวเนือ่ งกับการงานที่อยู่

ในความรบั ผดิ ชอบ และ 2) การพฒั นาส่งเสริมการมีคณุ ธรรมและจรยิ ธรรมให้แก่บคุ ลากร
มติ ทิ ี่ 4 ประโยชน์แก่องคก์ ารและสังคม
ประกอบด้วยเกณฑ์ 2 ข้อ คือ 1) ผลการดำเนนิ งานของหนว่ ยงานบรรลุตามพันธกิจ

และเป้าประสงค์ขององค์การ และ 2) ความสามารถในการเผชิญหรือตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง
ได้

ระดับเข้าใจ
มิตทิ ่ี 1 นโยบาย การวางแผน และการจัดทำแผนแบบมีสว่ นรว่ ม

ประกอบด้วยเกณฑ์ 2 ข้อ คือ 1) การปฏิบัติราชการมีการกำหนดยุทธศาสตร์
สอดรับเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ประเทศ และ 2) ในการวางแผนยุทธศาสตร์ มีการถ่ายทอด
สรา้ งความเขา้ ใจ และพฒั นาการมสี ว่ นรว่ มขององค์การอนื่ หรือเครือขา่ ยต่าง ๆ

16

สถาบนั บณั ฑติ พัฒนบริหารศาสตร์

มิติที่ 2 การบริหารงานอย่างเป็นระบบ โปร่งใส มีธรรมาภิบาล และไม่มีการกระทำการผิด
กฎหมาย

ประกอบด้วยเกณฑ์ 2 ข้อ คือ 1) การพัฒนาการบริหารจัดการอย่างต่อเนื่อง และ
2) การบริหารจดั การโดยให้ความสำคญั แก่ผรู้ บั บริการและผมู้ สี ว่ นไดส้ ่วนเสยี

มติ ิท่ี 3 บุคลากร เกง่ และมีคุณธรรม
ประกอบด้วยเกณฑ์ 2 ข้อ คือ 1) การพัฒนาบุคลากรให้สามารถคิดเชิงวิเคราะห์

คดิ เชงิ วพิ ากษ์ และคดิ เชิงรเิ ริม่ สร้างสรรค์ และ 2) การสนับสนนุ ให้บุคลากรสามารถดำรงชีวิตได้อย่าง
มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ท้งั ในชีวติ การทำงานและชีวติ สว่ นตัว

มิติที่ 4 ประโยชนแ์ ก่องคก์ ารและสังคม
ประกอบด้วยเกณฑ์ 2 ข้อ คือ 1) ผลการดำเนินงานของหน่วยงานบรรลุตาม

ยุทธศาสตร์ประเทศ และ 2) ความสามารถในการสร้างความสุขและคุณภาพชีวิตที่ดีในการทำงาน
ให้แก่บคุ ลากรภายในองค์การ

ระดับเขา้ ถงึ
มติ ิที่ 1 นโยบาย การวางแผน และการจดั ทำแผนแบบมสี ว่ นร่วม

ประกอบด้วยเกณฑ์ 2 ข้อ คือ 1) การปฏิบัติราชการมีการกำหนดนโยบายและ
แผนยุทธศาสตร์ที่มีส่วนสนับสนุนหรือส่งเสริมการพัฒนาของสังคมหรือมวลมนุษยชาติ และ
2) ในการวางแผนยุทธศาสตร์ มีการถ่ายทอด สร้างความเข้าใจ และพัฒนาการมีส่วนร่วมของ
ประชาชนในสงั คม

มิติที่ 2 การบริหารงานอย่างเป็นระบบ โปร่งใส มีธรรมาภิบาล และไม่มีการกระทำการผิด
กฎหมาย

ประกอบด้วยเกณฑ์ 2 ข้อ คือ 1) นวัตกรรมการบริหารจัดการภายในองค์การที่
สร้างสรรค์ประโยชน์แกเ่ ครือข่าย และประชาชนในสังคม และ 2) การสรา้ งการมสี ่วนรว่ มกับเครือข่าย
ใหป้ ระชาชน ผมู้ ีสว่ นไดส้ ว่ นเสยี สามารถพงึ่ พาตนเอง แกป้ ญั หาได้ดว้ ยตนเอง

มิติที่ 3 บุคลากร เก่งและมีคุณธรรม
ประกอบด้วยเกณฑ์ 2 ข้อ คือ 1) บุคลากรเป็นผู้มีความสามารถในการคิดเชิงริเร่ิม

สร้างสรรค์ รวมถึงสามารถพัฒนานวัตกรรมได้ และ 2) บุคลากรเป็นผู้ที่มีการดำรงชีวิตอย่าง
มีคุณธรรม จริยธรรม และเปน็ แบบอย่างที่ดีใหแ้ ก่บคุ คลอนื่ ในสังคมระดบั ประเทศ

มิติที่ 4 ประโยชนแ์ ก่องค์การและสังคม
ประกอบด้วยเกณฑ์ 2 ข้อ คือ 1) ผลการดำเนินงานของหน่วยงานส่งผลกระทบต่อภาคี
เครือข่าย และประชาชน และ 2) ผลการดำเนินงานของหน่วยงานสามารถก่อให้เกิดประโยชน์สุขแก่

17


Click to View FlipBook Version