The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการวิจัย การบริหารราชการแผ่นดิน บนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะที่1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by SEP Action, 2022-04-18 09:28:41

รายงานผลการทำกิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัย

โครงการวิจัย การบริหารราชการแผ่นดิน บนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะที่1)

Keywords: sepaction,เศรษฐกิจพอเพียง

โครงการวจิ ัย
การบริหารราชการแผน่ ดินบนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ระยะท่ี ๑)

มิติที่ 4 ประโยชน์แก่องค์การและสังคม พบว่ากรมหม่อนไหมมีการเตรียมพร้อมรับต่อ
การเปลี่ยนแปลงที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้น อาทิ การเกิดขึ้นของแผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง ในปี 2563
(ค.ศ. 2020) แม้ว่าการเกิดขึ้นของแผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องที่เกิดขึ้นนั้น เป็นการเกิดขึ้นใน
ช่วงเวลาภายหลงั จากการเริ่มของสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของ โควิด-19

4.4.3. กรมฝนหลวงและการบนิ เกษตร
การเปล่ยี นแปลงทีเ่ ป็นประเด็นเฉพาะของกรมฝนหลวงและการบนิ เกษตรนนั้ พบชดั เจนใน 2
มติ ิ ดงั น้ี
มิติที่ 1 นโยบาย การวางแผน และการจัดทำแผนแบบมีส่วนร่วมกรมฝนหลวงและการบิน
เกษตรได้มีการกำหนดตัวชี้วัดการดำเนินงานของหน่วยงานเพิ่มเติม เพื่อให้การดำเนินงานมี
ความสอดคล้องกับเป้าหมาย และ/หรือ แผนปฏิบัติการมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังมีการกำหนดและ
ปรับปรุงแผนงานใหม่ของหน่วยงานอันเป็นแผนระยะยาว (ช่วงปี พ.ศ. 2564-2580) เพื่อให้มี
ความสอดคล้องกับแผนระดับประเทศมากย่งิ ข้นึ
มติ ิท่ี 4 ประโยชน์แกอ่ งค์การและสังคม พบวา่ กรมฝนหลวงและการบนิ เกษตรนนั้ มีการจดั ตงั้
ศูนย์การปฏิบัติการเพิ่มเติมในปี พ.ศ. 2564 อันเป็นส่วนหนึ่งของการดำเนินการเพื่อรองรับ
การเปล่ียนแปลงของความตอ้ งการการให้บรกิ ารที่เกย่ี วข้องมากยง่ิ ขึน้

4.4.4. กรมพัฒนาท่ดี นิ
การเปลย่ี นแปลงทีเ่ ป็นประเดน็ เฉพาะของกรมพัฒนาทด่ี นิ พบอยา่ งชดั เจนใน 2 มิติ ดงั น้ี
มติ ิที่ 3 บคุ ลากรเกง่ และมคี ณุ ธรรม พบการเปล่ยี นแปลงท่ชี ัดเจนของกรมพัฒนาท่ดี ินใน
มิติที่ 3 คือการที่กรมพัฒนาที่ดินนั้นมกี ารเพิ่มเน้นการพัฒนาบุคลากรภายในกรมโดยมีการเน้นทักษะ
ทางดิจิทัลอย่างอย่างเป็นรูปธรรมที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้แผนพัฒนาที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาด้าน
ทักษะเทคโนโลยีถูกออกแบบให้มุ่งเน้นวัตถุประสงค์ 3 ข้อ ได้แก่ 1) เสริมสร้างศักยภาพให้มีความรู้
ทักษะทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัล 2) เพื่อให้สามารถนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
และ 3)เพ่อื สรา้ งความพร้อมให้แกบ่ ุคลากรในการเปล่ียนผ่านองค์กรไปสูร่ ัฐบาลดิจิทัล นอกจากน้ียังมี
การส่งเสริมด้านจรยิ ธรรม คุณธรรมอย่างสม่ำเสมอ ผ่านการประกาศรายนามผู้ไดร้ ับรางวัล บุคลากร
ผู้มีคุณธรรมและจรยิ ธรรมดเี ดน่ ประจำปี
มิติที่ 4 ประโยชน์แก่องค์การและสังคม พบว่ากรมพัฒนาที่ดินนั้นมีการเตรียมพร้อมรับต่อ
การเปลี่ยนแปลงที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้น อาทิ การเกิดขึ้นของแผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง ในปี 2563
(ค.ศ. 2020) แม้ว่าการเกิดขึ้นของแผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องที่เกิดขึ้นนั้น เป็นการเกิดขึ้นใน
ช่วงเวลาภายหลังจากการเริ่มของสถานการณ์การแพร่ระบาดของ โควิด-19 นอกจากนี้บุคลากรของ
246

สถาบนั บัณฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์

กรมพัฒนาที่ดินนั้น ยังสะท้อนถึงระดับความพึงพอใจของบุคลากรที่มีต่อการบริหารและพัฒนา
ทรพั ยากรบุคคลมแี นวโนม้ เพิ่มขึน้ ในชว่ ง 3 ปี (พ.ศ. 2561-2563) อีกด้วย

4.4.5. กรมวิชาการเกษตร
การเปลี่ยนแปลงที่เป็นประเด็นเฉพาะของกรมวิชาการเกษตรนั้น พบอย่างชัดเจนใน 3 มิติ
ดังน้ี
มิติที่ 2 การบริหารงานอย่างโปร่งใส มีธรรมาภิบาล ไม่มีการกระทำการผิดกฎหมาย พบว่า
กรมวิชาการเกษตรมีการกำหนดแผนปฏบิ ัติการส่งเสริมคุณธรรมและแผนการปฏิบัติการป้องกันและ
ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบขึ้นใหม่ในปี พ.ศ. 2563 อันเป็นการสะท้อนให้เห็นถึง
การดำเนินการที่ให้ความสำคัญในด้านจริยธรรม คุณธรรมที่เป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น มีการเกิดขึ้นของ
การกำหนดมาตรการที่ทำให้ผู้รับบริการหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียนั้นได้รับประโยชน์ร่วมกันในสภาวะ
การเปลย่ี นแปลงจากผลกระทบของวกิ ฤติการณ์โควดิ -19 นอกจากนีย้ งั พบการปรบั ตวั โดยเฉพาะอย่าง
ยิ่งด้านการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อให้ความรู้และการบริการแก่ผู้รับบริการภายนอกหรือเกษตรกร
ภายใตเ้ ง่อื นไขความรแู้ ละคุณธรรมเพ่ิมข้นึ
มิติท่ี 3 บคุ ลากรเกง่ และมีคณุ ธรรม พบว่าข้อมลู ท่ีผวู้ จิ ยั ได้รวบรวมมานัน้ ไดส้ ะท้อนให้เห็นถึง
ความแตกต่างในประเด็นการให้ความสำคัญในเรื่องของการพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมให้แก่
บุคลากรที่เป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น อาทิ การจัดทำร่างแผนการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและ
ประพฤติมิชอบของกรมวิชาการเกษตร แผนส่งเสริมคุณธรรมที่ผู้บริหารของหน่วยงานได้มี
การดำเนนิ การรว่ มกับศูนยป์ ฏบิ ตั ิการตอ่ ตา้ นการทุจรติ
มิติที่ 4 ประโยชน์แก่องค์การและสังคม พบว่ากรมวิชาการเกษตรยังได้มีการดำเนิน
การกำหนดแผนปฏิบัติการการพัฒนาคุณภาพชีวิต เสริมสร้างความผาสุกและความผูกพันของ
บุคลากรเพ่ิมเตมิ ในปี พ.ศ. 2563

4.4.6. กรมสง่ เสริมการเกษตร
การเปลี่ยนแปลงที่เป็นประเด็นเฉพาะของกรมส่งเสริมการเกษตรนั้น พบอย่างชัดเจนใน
3 มิติ ดังนี้
มิติที่ 1 นโยบาย การวางแผน และการจัดทำแผนแบบมีส่วนร่วม พบว่ากรมส่งเสริม
การเกษตรมีการปรับปรุงแผนปฏิบัติราชการของหน่วยงานให้มีความสอดคล้องกับแผนงานของ
กระทรวงมากยิ่งขึ้น รวมทั้งยังมีการส่งเสริมให้ประชาชนร่วมเป็นภาคเครือข่ายอย่างเป็นรูปธรรม
โดยผลของการส่งเสริมนั้นสามารถแสดงให้เห็นผ่านผลงานของหน่วยงานที่ได้รับรางวัลเลิศรัฐใน

247

โครงการวิจัย
การบริหารราชการแผน่ ดนิ บนพนื้ ฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ระยะท่ี ๑)

ปี พ.ศ. 2563
มิติที่ 2 การบริหารงานอย่างโปร่งใส มีธรรมาภิบาล ไม่มีการกระทำการผิดกฎหมาย

กรมส่งเสริมการเกษตรมีการเพิ่มการให้ความสำคัญในประเด็นของการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ
โดยมีการดำเนินการในปี พ.ศ. 2563 พร้อมทั้งยังมีการกำหนดนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคลท่ี
ม่งุ เน้นการบรหิ ารจดั การท่โี ปรง่ ใสและมคี ณุ ธรรมทีช่ ดั เจน ในปีเดยี วกนั

มิติที่ 3 บคุ ลากรเก่งและมีคณุ ธรรม พบความแตกตา่ งทช่ี ัดเจนของกรมส่งเสริมการเกษตรคือ
การเกิดขึ้นของมาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน อันเป็นมาตรการท่ี
สะท้อนให้เห็นถึงการให้ความสำคัญในการส่งเสริมด้านคุณธรรมแก่บุคลากร นอกจากนี้ใน
ด้านการส่งเสริมการพัฒนาสมรรถนะด้านความรู้ของบุคลากรนั้น พบว่ามีการเกิดขึ้นของโครงการ
อบรมใหม่ อาทิ การอบรมการเขียนวิจัย ที่เป็นส่วนของการพัฒนาใหบ้ ุคลากรนั้นมีการพัฒนาในด้าน
การคดิ วเิ คราะห์ และการคดิ ริเริ่มสรา้ งสรรคม์ ากยง่ิ ขึ้น

4.4.7. กรมส่งเสริมสหกรณ์
การเปลี่ยนแปลงที่เป็นประเด็นเฉพาะของกรมส่งเสริมสหกรณ์นั้น พบอย่างชัดเจนใน 3 มิติ
ดังน้ี
มิติที่ 2 การบริหารงานอย่างโปร่งใส มีธรรมาภิบาล ไม่มีการกระทำการผิดกฎหมาย พบว่า
กรมสง่ เสริมสหกรณ์ได้มีการกำหนดมาตรการการส่งเสรมิ คุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน
ที่เป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น โดยเห็นได้จากรายงานผลการดำเนินงานตามมาตรการข้างต้นในปี
พ.ศ. 2564 ที่มีการรายงานอย่างเป็นรูปธรรม นอกจากนี้ยังมีการนำเสนอนวัตกรรมในรูปแบบของ
แอพพลิเคชั่นเพื่อการให้บรกิ ารแก่ประชาชนด้านสหกรณใ์ นรูปแบบใหม่
มิติที่ 3 บุคลากรเก่งและมีคุณธรรม พบว่ามีการจัดโครงการปลูกฝังวิธีคิดแยกผลประโยชน์
ส่วนตัวและผลประโยชน์ส่วนรวมใหแ้ ก่บคุ ลากร อันเป็นโครงการที่มุ่งเนน้ ในประเด็นด้านการส่งเสริม
ความซื่อสัตย์สุจริตและความมีคุณธรรม ที่ยังสามารถสนับสนุนการพัฒนาการคิดวิเคราะห์ของ
บุคลากรไปพร้อมกัน
มติ ิท่ี 4 ประโยชน์แกอ่ งค์การและสังคม กรมสง่ เสรมิ สหกรณ์มีการให้ความสำคัญแก่บุคลากร
มากยิ่งข้ึนในดา้ นการพฒั นาคุณภาพชวี ิตในการทำงานของบุคลากรทเี่ ป็นรปู ธรรม พร้อมมีการกำหนด
เปน็ แผนกลยทุ ธก์ ารบรหิ ารทรพั ยากรบคุ คล

4.4.8. สำนกั งานการปฏิรปู ท่ีดินเพอ่ื การเกษตรกรรม
การเปลี่ยนแปลงที่เป็นประเด็นเฉพาะของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตรกรรมน้ัน
พบอยา่ งชดั เจนใน 3 มิติ ดังนี้
248

สถาบนั บณั ฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์

มิติที่ 1 นโยบาย การวางแผน และการจัดทำแผนแบบมีส่วนร่วม มีการกำหนดแผนปฏิบัติ
การดา้ นสมนุ ไพรแห่งชาติ อนั เปน็ แผนท่มี สี ว่ นสนบั สนนุ หรอื ส่งเสรมิ การพัฒนาของสงั คม

มิติที่ 2 การบริหารงานอย่างโปร่งใส มีธรรมาภิบาล ไม่มีการกระทำการผิดกฎหมาย พบว่า
มีการจัดทำแผนการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐตามกรอบ PMQA 4.0 ทั้งนี้ ในการวิจัย
โดย กัลยาณี เสนาสุ และบงกช เจนจรัสสกุล ในช่วงปี พ.ศ. 2561-2562 นั้น พบว่าสำนักงานปฏิรูป
ทดี่ ินเพ่อื การเกษตรได้มีความพยายามเร่ิมต้น รอ้ื ฟน้ื การนำกรอบ PMQA กลบั มาใชง้ าน การศึกษาใน
ครัง้ นีจ้ งึ เหน็ ความต่อเน่อื งของการดำเนนิ งานในประเด็นนี้อย่างชดั เจน

มิติที่ 3 บุคลากรเก่งและมีคุณธรรม พบว่ามีการให้ความสำคัญแก่การพัฒนาบุคลากร
ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรม ทั้งนี้การจัดการอบรมเพื่อพัฒนานั้นเป็นการดำเนินการบน
ความร่วมมอื ระหว่างสำนักงานการปฏริ ูปท่ดี ินเพอื่ การเกษตรกรรมและหน่วยงานภาคการศึกษา

4.5 ข้อคิดเห็นต่อการบริหารราชการบนพนื้ ฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งของ
ผ้เู ขา้ รว่ มวจิ ัย

จากการสัมภาษณ์ผู้บริหารระดับสูงและการประชุมกลุ่มผู้บริหารระดับกลาง ของกระทรวง
เกษตรและสหกรณ์และกระทรวงมหาดไทย รว่ มกบั ผทู้ รงคณุ วฒุ ทิ เี่ กี่ยวข้อง ไดข้ อ้ สรุปในความคิดเห็น
ที่เป็นประเด็นปัญหา/อุปสรรค ปัจจัยที่ส่งเสริม/สนับสนุน และข้อเสนอแนะในการบริหารราชการท่ี
ปรบั ประยุกตห์ ลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปใช้ ไดด้ งั นี้

4.5.1 ปญั หา/อุปสรรคที่ขัดขวางการปฏิบตั ิงานราชการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ
พอเพียง
ความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยที่เป็นอุปสรรคขัดขวางการดำเนินงานตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียงสรุปได้เป็น 7 ประเด็น ดงั นี้
1) สถานการณ์การแพร่ระบาดโควิด 19 ช่วงที่มีการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด 19 นั้น
สร้างผลกระทบในทั้งในแง่ลบและในแง่บวก ซึ่งในแง่บวกนั้นจะอธิบายภายใต้หัวข้อปัจจัยส่งเสริม
ผลกระทบของการแพร่ระบาดของโควิด 19 ส่วนในแง่ลบนั้นหลายกรม/สำนักงานได้กล่าวถึงใน
ประเด็นการทำให้การดำเนินการของหน่วยงานล่าช้า บางแผนงานที่เกี่ยวข้องกับการต้องเดินทางไป
ดำเนินงานในพื้นที่ไม่สามารถดำเนินการได้เนื่องจากการจำกัดการเดินทางระหว่างจังหวัดในช่วง

249

โครงการวจิ ยั
การบริหารราชการแผ่นดนิ บนพนื้ ฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ระยะที่ ๑)

การแพร่ระบาด รวมทั้งเมื่อดำเนินงานไม่ได้ตามแผนงานยังส่งผลกระทบให้ถูกตัดงบประมาณใน
ปีถัดไป

2) งบประมาณไม่เพียงพอ ในเรื่องงบประมาณนั้นเป็นประเด็นที่ถูกกล่าวถึงและอภิปราย
กันอย่างหลากหลาย บางกรม/สำนักงานกล่าวว่าการปรับลดงบประมาณสร้างผลกระทบร่วมกับ
สถานการณ์แพร่ระบาดของโควิด 19 กล่าวคือเนื่องจากสถานการณ์โควิด 19 ต้องมีการปรับวิธีการ
ทำงานและทำให้ปริมาณงานเพิ่มขึ้นแต่งบประมาณจำกัดเท่าเดิม นอกจากเรื่องงบประมาณท่ี
เกี่ยวข้องกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด 19 แล้ว หลายหน่วยงานยังกล่าวถงึ การขาดแคลน
งบประมาณในเรื่องต่าง ๆ เช่น ในด้านการเพิ่มอัตรากำลังคน ด้านการอบรมหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง ดา้ นการวิจัย ดา้ นอปุ กรณ์เคร่ืองมือเคร่ืองใช้ ด้านสง่ เสรมิ ความเป็นดิจิทัล อย่างไร
กต็ ามบางหน่วยงานก็ถือวา่ ประเด็นความจำกัดของงบประมาณน้ันเป็นความท้าทายในการประยุกต์ใช้
หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงในเร่ือง ความค้มุ ค่า ความมเี หตุมผี ล และความพอประมาณไปช่วย
ในการจดั สรรงบประมาณทจี่ ำกดั ได้

3) การโยกย้ายบคุ ลากรส่งผลให้การดำเนินการไม่ต่อเน่ือง ในประเด็นความไม่ต่อเนื่องใน
การดำเนินงาน หลายกรมได้แสดงทัศนะว่าเกิดจากการโยกย้ายบุคลากรทั้งในระดับผู้บริหาร
ระดับประเทศ ผู้บริหารระดับกระทรวง กรม และระดับปฏิบัติการล้วนส่งผลให้โครงการที่ดำเนินการ
อยู่นั้นมีความไมต่ ่อเน่ือง เกิดการเปล่ียนแปลงตามตัวบุคคล ซึ่งไม่ว่าจะเป็นการเปลีย่ นแปลงผู้บริหาร
หรือฝ่ายการเมืองในระดับประเทศหรือระดับกรมนั้น ล้วนส่งผลในเชิงนโยบายที่ขาดความต่อเน่ืองใน
การดำเนินงาน ส่วนการโยกยา้ ยบุคลากรในระดับปฏิบัติการโดยเฉพาะอย่างยิ่งในตำแหน่งที่ต้องการ
ประสบการณแ์ ละความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านก็จะส่งผลให้การดำเนนิ งานไม่ต่อเนือ่ งเช่นกนั

4) ความเข้าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงยังไม่ลึกซึ้ง ในประเด็นนี้ถือเป็น
ประเด็นที่ได้รับการกล่าวถึงแง่ของอุปสรรคมากที่สุดจากหลายๆ กรม/สำนักงานว่า ความเข้าใจใน
หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งยงั ไม่เพียงพอต่อการส่ือสาร ถา่ ยทอดต่อ หรอื การนำไปประยุกต์ใช้
จากการสัมภาษณ์สะท้อนมุมมองต่อความเข้าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของหลาย
หน่วยงานว่าเป็นเรื่องเฉพาะของเกษตรกร เรื่องของการทำมาหากินทางการเกษตร หน้าที่ของ
ข้าราชการคือเป็นผู้นำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปถ่ายทอดต่อเกษตรกร และการสร้าง
โครงการให้เกษตรกรที่เก่ียวข้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงถือเป็นการบริหารราชการโดย
ประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เช่น หลายหน่วยงานได้กล่าวถึงการกำหนดโครงการ
เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงโดยการแจกเบี้ยกล้า วัสดุอุปกรณ์ หรือเงินช่วยเหลือ ฯ ซึ่งในประเด็นน้ี
อุปสรรคขัดขวางการดำเนินการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงคือ การที่บุคลากรเพียงแค่
“รู้” แต่ไม่ “เข้าใจ” อย่างถ่องแท้ ซึ่งเมื่อนำไปประยุกต์ใช้หรือนำไปถ่ายทอดให้แก่เกษตรกรจึง
อาจเปน็ ไปในทางทผ่ี ิดหลกั การได้

250

สถาบันบณั ฑติ พฒั นบริหารศาสตร์

5) ค่านิยมในวัตถุนิยมของสังคมปัจจุบัน ค่านิยมที่เปลี่ยนแปลงไปในสังคมปัจจุบันที่เน้น
วตั ถุนิยม ความฟุง้ เฟ้อ ความไม่พอเพยี ง ซง่ึ ลักษณะค่านิยมเหล่านี้ของท้ังบุคลากรโดยเฉพาะบุคลากร
รุ่นใหม่ของกรม/สำนักงาน และประชาชนรวมทั้งเกษตรกรโดยทั่วไป ได้ถูกกล่าวถึงจากหลาย
หน่วยงานว่าเป็นปัจจัยขัดขวางให้การดำเนินงานโครงการเกีย่ วกับเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งเม่ือประกอบ
กับความเข้าใจในหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงที่ไม่ถ่องแทด้ ังที่กลา่ วในข้างตน้ ก็จะทำให้การนำ
หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ประสบกบั อุปสรรค

6) ความแตกต่างในทศั นคติของบุคลากรตา่ งรุน่ อายุ บคุ ลกิ ลักษณะและทัศนคตทิ แี่ ตกต่าง
กันของรุ่นอายขุ องบุคลากรในกรม/สำนักงานทำใหม้ ีช่องวา่ งทงั้ เรื่องของการทำงานรว่ มกนั อย่างเข้าใจ
ซึ่งกันและกัน รวมทั้งการถ่ายทอดหลักการ ความรู้จากคนรุ่นเก่าสู่คนรุ่นใหม่โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
การถ่ายทอดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งในประเด็นนี้หลายหน่วยงานกล่าวถึงว่าลักษณะ
ของคนรุ่นใหม่ท่ีรักความสะดวกสบาย และไม่ค่อยมีความอดทนนั้นทำให้กาถ่ายทอดในหลักปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพียงทำไดย้ าก

7) ตวั ชวี้ ัดการดำเนินงานเก่ียวกับเศรษฐกิจพอเพียงท่ีชัดเจน ประเดน็ นีเ้ ปน็ เรื่องที่เป็นท้ัง
ปัจจัยจูงใจและปัจจัยอุปสรรคในการดำเนินการของโครงการที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิ จพอเพียง
กล่าวคือ หลายกรม/สำนักงานให้ความเห็นว่าหากมีตัวชี้วัดการดำเนินงานตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงที่ชัดเจน มีความเป็นรูปธรรม รวมทั้งมีความสอดคล้องกับภาพสะท้อนของหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่ตรงกันทั้งส่วนของภาคเกษตรกรและภาครัฐจะทำให้การดำเนินงาน
นั้นมีความชดั เจนขึ้น

ตารางที่ 4.44 แสดงตัวอย่างการอ้างคำพูด (quotes) ของผู้ให้สัมภาษณ์และผู้เข้าร่วม
ประชุมกลุ่มในประเด็นปัญหา/อุปสรรคของการดำเนินงานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจดังกล่าว
ขา้ งตน้

251

โครงการวิจยั
การบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ บนพ้ืนฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ระยะที่ ๑)

ตารางท่ี 4.44
ตัวอยา่ งการอา้ งคำพูดในประเด็นปญั หา/อุปสรรคของการดำเนนิ งานตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ
พอเพียง

ประเด็น (themes) ตัวอยา่ งคำพดู (quotes)

1) สถานการณ์การแพร่ “ปัญหาที่ทุกหน่วยงานต้องเจอคือสถานการณ์โควิดทำให้ล่าช้าไปเป็นไปตาม
ระบาดโควดิ 19 แผน ไมว่ ่าจะเป็นงานกอ่ สร้าง การศึกษาออกแบบ การวางผงั ทีเ่ นน้ การมีส่วน
ร่วมของประชาชน ไม่ว่าจะเป็นการฝึกอบรม ทำให้งานล่าช้าไม่เป็นไป
ตามแผน” (กรมโยธาธิการและผงั เมือง)

2) งบประมาณไม่เพียงพอ “เรื่องโควดิ ทำให้ทำงานได้ไม่ตอบโจทยไ์ ดเ้ ตม็ ท่ี ทีจ่ ะทำให้เกษตรกรรายย่อยมี
ข้อมลู ไดไ้ ม่เพียงพอ ไม่สามารถเกบ็ ขอ้ มูลไดบ้ างพ้นื ที่ที่ปิด…บางการอบรมที่ไม่
สามารถออนไลน์ได้ (กับเกษตรกร) มีปัญหา” (กรมพฒั นาทดี่ ิน)
“ที่มีปัญหาอุปสรรคคือการพัฒนาข้าราชการของกรมที่ต้องอาศัยงบประมาณ
การดำเนินการของกรมแต่ละปีมีความจำกัด ทำให้ความต่อเนื่องในการพฒั นา
บุคลากรในส่วนเศรษฐกิจพอเพียงไม่ต่อเนื่อง” (กรมส่งเสริมการปกครอง
ท้องถ่ิน)

“เร่อื งข้อจำกดั ทางงบประมาณ เครอ่ื งมือเคร่อื งใชแ้ ละอัตรากำลังที่เพียงพอใน
การดแู ลเกษตรกรท่ัวประเทศ” (กรมสง่ เสรมิ การเกษตร)

“ขาดงบประมาณในเรื่องการวิจัย…งบประมาณไม่สมเหตุสมผลในการทำวิจัย
พฒั นาข้าว” (กรมการขา้ ว)

“เน้น Digital Literacy แต่ไม่ได้รับงบประมาณลงทุนในเรื่องของดิจิทัล…
นโยบายกับสิ่งที่สนับสนุนไม่ไปในทางเดียวกัน ต้องจัด priority เช่น ในเรื่อง
Big Data…ตัวอย่างเช่น การลงทะเบียนออนไลน์ของเกษตรกร ไม่มี
งบประมาณจดั การ” (สำนกั งานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์)

252

สถาบันบัณฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์

ตารางท่ี 4.44 (ต่อ)

ประเดน็ (themes) ตัวอยา่ งคำพดู (quotes)

3) การโยกย้ายบุคลากรสง่ ผล “นโยบายภาครัฐ (เปลี่ยนแปลงไป) เมื่อการเมืองเปลี่ยนแปลงไป”
ให้การดำเนินการไม่ตอ่ เนอื่ ง (กรมชลประทาน)

4) ความเขา้ ใจในหลักปรชั ญา “การโยกย้ายตำแหน่งผู้บริหาร (ทำให้) ไม่ต่อเนื่องในการสนับสนุน (โครงการ
ของเศรษฐกิจพอเพยี งยงั ไม่ ต่าง ๆ)” (กรมสง่ เสริมการปกครองท้องถ่นิ )
ลึกซงึ้ “การเปลี่ยนสายงานทำให้การสั่งสมประสบการณ์ไม่ต่อเนื่อง โดยเฉพาะ
สายวิชาการ ทำให้การส่ังสมประสบการณไ์ ม่ต่อเนอ่ื ง” (กรมพัฒนาทีด่ นิ )
“Mindset ของบุคลากรท่ีอาจจะไมเ่ ขา้ ใจหลกั ของเศรษฐกิจเพยี งพอ เขา้ ใจว่า
เปน็ การส่งเสรมิ พื้นทีช่ ุมชน ทำอย่างไรใหเ้ ขา้ ใจวา่ หลกั เศรษฐกจิ พอเพียงไมใ่ ช่
เรือ่ งของประชาชน ชุมชนแตเ่ ป็นเรอ่ื งการนำมาใชท้ ุกภาคส่วน ทำอยา่ งไรจะ
ไดถ้ กู นำมาใช้” (สำนกั งานปลดั กระทรวงมหาดไทย)

“ความเข้าใจในแง่หลักการเศรษฐกิจพอเพียง (ที่แตกต่างกัน) ทำให้มีการ
ประยกุ ต์ใช้ทแี่ ตกตา่ งกัน”
“การสร้างความเข้าใจเรื่องเศรษฐกจิ พอเพียงกับเกษตรกรบางพื้นที่ เกษตรกร
เคยชินกับการรับอย่างเดียว…เศรษฐกิจพอเพียงต้องการให้พึ่งพาตนเอง
เขม้ แขง็ (เจ้าหนา้ ท่ี) ต้องส่ือหลักการใหเ้ ขาเข้าใจ” (กรมประมง)

“เจ้าหน้าที่ของรฐั มคี วามเข้าใจเศรษฐกิจพอเพียงผิดว่าเป็นการปลูกผกั ต้องมี
Mindset (ท่ีถูกต้อง)กอ่ น” (กรมการข้าว)

“ความรู้แต่ขาดความเข้าใจในหลักเศรษฐกิจพอเพยี งของผู้ปฏิบัติ…ข้าราชการ
ไม่ตกผลึกแล้วไปถ่ายทอดให้เกษตรกร” (สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพ่ือ
เกษตรกรรม)

“ใช้หลักการเศรษฐกิจพอเพียง ผิดหลักโดยให้วัตถุ มากกว่าความรู้ให้ทำเป็น
ต่อ เชน่ ให้กู้เงินไปขุดสระ” (กรมส่งเสริมการเกษตร)

“ความท้าทายคือการทำให้ (บุคลากร) “เข้าใจ (หลักเศรษฐกิจพอเพียง)
มากกว่ารู้” การรู้ที่ไม่ถูกต้องอาจจะทำให้เป็นปัญหาอุปสรรค ให้เข้าใจอย่าง
แทจ้ รงิ ” (กรมสง่ เสริมสหกรณ์)

253

โครงการวจิ ัย
การบริหารราชการแผ่นดนิ บนพ้ืนฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะที่ ๑)

ตารางท่ี 4.44 (ต่อ)

ประเด็น (themes) ตัวอย่างคำพดู (quotes)

5) คา่ นยิ มในวัตถุนยิ มของ “ความเข้าใจผิดของเศรษฐกิจพอเพียง เข้าใจว่า (คือการอยู่อย่าง) สันโดษ”
สงั คมปัจจุบัน (สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตร)
“การร่วมกันเป็นชุมชนทำได้ยากเพราะแยกครอบครัว กิจกรรมส่วนรวม
น้อยลง คนคำนึงถึงประโยชน์ส่วนตนมากขึ้น…ค่านิยมการอวดรวย ถามหาสิง่
ตอบแทน” (กรมพัฒนาชมุ ชน)

“(ค่านิยม) การติดยึดกับวัตถุนิยมของคนในปัจจุบัน (เป็นอุปสรรคขัดขวาง
การนำหลกั เศรษฐกจิ พอเพียงไปประยุกตใ์ ช้) (กรมการขา้ ว)

“เรื่องเทคโนโลยีใช้ในการผลิต (มีค่านิยมด้าน) วัตถุนิยมมีอิทธิพลอยู่เหนือ
ความพอเพียง เช่น คอมพิวเตอร์ใช้สเปค (คุณสมบัติ) สูงมากแต่ใช้แค่ในการ
พิมพ์งาน (ใชง้ บเยอะแต่การใชง้ านไมเ่ ตม็ ศกั ยภาพ)” (กรมหมอ่ นไหม)

“ความเจริญของเทคโนโลยี (และค่านิยม) วัตถุนิยม เช่น ชาวบ้านมีโทรศัพท์
3 เครื่อง” (สำนกั งานปฏริ ูปท่ีดนิ เพอ่ื เกษตรกรรม)

6) ความแตกต่างในทศั นคติ “บุคลากรมีความหลากหลายในเรื่อง generation ความมีบุคลากรต่างวัย

ของบคุ ลากรตา่ งรนุ่ อายุ ทำให้ทำงานไดย้ าก (กรมพฒั นาที่ดิน)

“ป ั ญ ห า ร ะ หว่ า งกา รถ่ าย ทอดค วา ม รู ้ของค นเ ก่า และค นใหม ่ที ่ เข้ามา ”
(กรมฝนหลวงและการบนิ เกษตร)

“Generations มชี อ่ งวาง การส่งต่อหลักคดิ วธิ ีการไปยงั คนร่นุ ใหม่…คนรุ่นใหม่
มองแต่เป้าหมายไม่ไดม้ องถึงวิธกี ารที่สมเหตุสมผล” (กรมตรวจบญั ชสี หกรณ์)

“นักวิจัยรุ่นใหม่มีภูมิคุ้มกันต่ำ ขาดความอดทน และท้อแท้ง่าย ”
(กรมวชิ าการเกษตร)

“ไม่ได้นำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในคนรุ่นใหม่ (คนรุ่นใหม่)
ใชค้ วามสะดวกสบายเปน็ หลกั ” (กรมปศสุ ัตว์)

254

สถาบันบัณฑติ พฒั นบริหารศาสตร์

ตารางที่ 4.44 (ตอ่ )

ประเดน็ (themes) ตวั อย่างคำพดู (quotes)
“งบประมาณ (ของโครงการเศรษฐกิจพอเพียง) ต้องมีการวัดผลซึ่งทำได้ยาก”
7) ตัวช้ีวดั การดำเนนิ งาน (กรมพัฒนาชมุ ชน)
เกยี่ วกับเศรษฐกจิ พอเพยี งที่
ชดั เจน “ตัวชี้วัดของเศรษฐกิจพอเพียงยาก ประเมินออกมายากเช่นเรื่องความสุข
ความย่งั ยืนให้ออกมาเป็นรูปธรรม” (กรมหมอ่ นไหม)

“ตัวชี้วัด (ของเศรษฐกิจพอเพียง) ในทางปฏิบัติ (ไม่ชัดเจน เป็นอุปสรรค)”
(กรมชลประทาน)

“ตัวชี้วัดความต้องการของราชการกับของเกษตรกร (ในเรื่องเศรษฐกิจ
พอเพยี ง) นั้นยงั เป็น Gap” (สำนกั งานปฏริ ูปที่ดนิ เพื่อเกษตรกรรม)

4.5.2 ปจั จยั ส่งเสริม/สนับสนนุ การปฏบิ ตั งิ านราชการตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง
สำหรับประเด็นที่ความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยสนับสนุน/ส่งเสริมการปฏิบัติงานราชการตาม
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมทั้งหมด 5 ประเด็น ซึ่งมีประเด็นที่เหมือนกับปัจจัยอุปสรรค
ข้างต้นในเรื่องสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดโควิด 19 รวมทั้งประเด็นอื่นๆ ในเรื่องบุคลากรท่ีสนับสนุน
ทั้งในระดับผู้นำและความพร้อมของระดบั ปฏิบตั กิ าร และการเป็นตวั อย่างที่ดีของเกษตรกรในการนำ
หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปประยุกตใ์ ชใ้ นการดำเนินชีวิต ดังรายละเอยี ดต่อไปน้ี
1) สถานการณ์การแพร่ระบาดโควิด 19 ดังที่ได้กล่าวมาแล้วในข้างต้นว่าสถานการณ์
การแพร่ระบาดโควิด 19 นี้ถูกกล่าวถึงในสองแง่มุม คือ เป็นทั้งปัจจัยที่เป็นอุปสรรค และปัจจัย
ส่งเสริม ในแง่ของปัจจัยส่งเสริมนั้น ผลกระทบของการแพร่ระบาดของโควิด 19 ทางด้านเศรษฐกิจ
และสังคม เช่น เศรษฐกิจถดถอย การเว้นระยะห่างทางสังคม และการทำงานที่บ้าน เป็นส่วนทีท่ ำให้
ประชาชนตระหนักถึงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ในการ ดำรงชีวิตในสถานการณ์
วิกฤติมากขึ้น เช่น ความพอประมาณ ความไม่ประมาทในการใช้ชีวิต การพึ่งตัวเองได้ เป็นต้น
ยกตัวอย่างผู้บริหารบางกรม/สำนักงานกล่าวว่า คนมีความสนใจในการปลูกผักสวนครัวกินเองมาก
ย่งิ ขึ้น การประหยดั อดออมใชจ้ า่ ยเท่าทีจ่ ำเป็นซึ่งเปน็ หนทางทีจ่ ะทำให้ประชาชนอยู่รอดได้อย่างย่ังยืน
ท่ามกลางวิกฤติโรคระบาดเชน่ นี้

255

โครงการวิจัย
การบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ บนพืน้ ฐานหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ระยะที่ ๑)

2) ความพรอ้ มในเทคโนโลยี ประเด็นเร่อื งความพรอ้ มทางเทคโนโลยีนเี้ ป็นประเด็นต่อเน่ือง
จากสถานการณ์โรคระบาดโควิด 19 ซึ่งส่งผลกระทบในด้านการทำงาน เมื่อมีการเว้นระยะห่าง
การถูกจำกัดการเดินทางข้ามจังหวัดในงานที่ต้องมีการลงพื้นที่ชุมชนหรือการพบปะเกษตรกร กรม/
สำนักงานต่าง ๆ จึงมกี ารพฒั นาแอปพลิเคชันเพ่ืออำนวยความสะดวกในการดำเนนิ งานในระยะท่ีต้อง
เว้นระยะห่าง รวมทั้งการใช้เทคโนโลยีในการติดต่อสื่อสาร เช่น การประชุมผ่านโปรแกรม Zoom
ซึ่งหลายหน่วยงานสะท้อนว่าการใช้เทคโนโลยีนี้ช่วยในการลดค่าใช้จ่าย ทำให้ประหยัดทั้งในเรื่องค่า
เดนิ ทาง และคา่ ที่พักเปน็ อยา่ งมาก

3) การสนับสนุนจากผู้นำ ผู้นำถือเป็นปัจจัยสำคัญในการส่งเสริมการดำเนินโครงการตาม
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การวางนโยบายที่ชัดเจนและสนับสนุนอย่างจริงจังทั้งด้าน
การวางแผนและการติดตามประเมินผลการดำเนินงานของโครงการ รวมทั้งการเป็นแบบอย่างที่ดีใน
การนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาประยุกตใ์ ช้การดำรงตนและการบริหารราชการ

4) บุคลากรมีความพร้อม หลายกรม/สำนักงานได้กล่าวถึงบุคลากรของหน่วยงานที่สังกัด
ด้วยความชนื่ ชมวา่ ความมคี วามสามารถในการทำงาน และการปรับตวั พรอ้ มกับการเปล่ียนแปลงของ
บคุ ลากรนน้ั เป็นปจั จยั หนง่ึ ในการดำเนินงานท่ที ำใหโ้ ครงการต่างๆ ไดป้ ระสบความสำเร็จ

5) การดำเนินงานได้ผลดีของเกษตรกรตัวอย่าง ปัจจัยส่งเสริมการดำเนินการตาม
โครงการเศรษฐกิจพอเพียงให้ประสบความสำเร็จนั้นคือ การมีเกษตรกรแนวร่วมที่มีการดำเนินการ
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแลว้ ได้ผลดีจนสามารถเป็นตัวอย่างที่ดีได้ ทำให้ประชาชนเห็น
ภาพชัดเจนว่าสามารถนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ ได้จริงและเห็นผลที่เป็น
ประโยชนใ์ นทางปฏบิ ตั ิ

ตารางท่ี 4.45 แสดงตวั อยา่ งการอ้างคำพดู (quotes) ของผูใ้ ห้สมั ภาษณ์และผู้เข้ารว่ มประชุม
กลมุ่ ในประเด็นปัจจัยสง่ เสรมิ /สนบั สนนุ การดำเนินงานตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจดังกล่าวขา้ งต้น

256

สถาบันบณั ฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์

ตารางที่ 4.45
ตวั อยา่ งการอ้างคำพูดในประเด็นปจั จยั ส่งเสรมิ /สนบั สนุนการดำเนนิ งานตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี ง

ประเดน็ (themes) ตัวอยา่ งคำพูด (quotes)

1) สถานการณ์การแพร่ระบาด “คนตระหนักมากยิ่งขึ้นว่าชีวิตพอเพียงทำให้อยู่รอดในช่วงโควิด ”

โควดิ 19 (กรมการข้าว)

“หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นไปตามการใช้ชีวิตตามสถานการณ์โควิด
19 ใชช้ วี ิตอยา่ ง ระมดั ระวัง รอบคอบ พฒั นาตวั เอง…วธิ ีการเศรษฐกิจพอเพียง
ชว่ ยเหลือในการวางแผนงานเมือ่ ไมไ่ ด้ตามทคี่ ิด” (กรมวิชาการเกษตร)

“ภาวะวกิ ฤติทำใหป้ รชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งเดน่ ชดั ขึ้น” “คนทอ่ี ยู่รอดคือคนท่ี
ยึดหลักเศรษฐกจิ พอเพียง” (กรมหม่อนไหม)

“ในช่วงโควิด คนอยู่กับตัวเองมากขึ้น คนพัฒนาตัวเองมากขึ้น เรียนรู้มากขนึ้
ทำให้คนคิดในการอยอู่ ย่างพอประมาณ” (กรมชลประทาน)

“โควิดเป็นส่วนกระตุ้นให้มีการใช้จ่ายอย่างพอเพียง (ถือว่าโควิด) เป็นโอกาส
(ของการสง่ เสริมปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง)” (กรมตรวจบญั ชสี หกรณ์)

2) ความพร้อมในเทคโนโลยี “Covid เป็นปจั จยั บวกในเศรษฐกจิ พอเพยี ง ทำใหต้ ้องน้อมนำมาประยุกต์เช่น
ตระหนักว่างบประมาณการประชุมต่างประเทศสามารถประหยัดงบประมาณ
ได้” (สนง เศรษฐกจิ การเกษตร)
“ปรับปรุงการอบรมสัมมนา ฟังความคิดเห็นประชาชนจากระบบออนไลน์
ปรบั ปรุงการขออนมุ ัติสร้างอาคารดว้ ยระบบอิเลคโทนิค”

“การประชุมภายในกรมแบบออนไลน์ทำให้ไม่ตอ้ งเดินทางมาจากต่างจงั หวัด”
(กรมโยธาธกิ ารและผงั เมอื ง)

“ใชส้ ือ่ อเิ ลคโทนคิ ในการฝกึ อบรม”

257

โครงการวิจัย
การบรหิ ารราชการแผน่ ดินบนพ้ืนฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ระยะที่ ๑)

ตารางที่ 4.45 (ต่อ)

ประเด็น (themes) ตวั อยา่ งคำพูด (quotes)

2) ความพร้อมในเทคโนโลยี “มกี ารใชเ้ ทคโนโลยใี นการสำรวจ Smart Tambon ในการเก่ยี วขอ้ มูลการ
(ต่อ) เคลอื่ นไหวของประชาชน ปัญหา และความตอ้ งการของคนในหมู่บา้ น”
“การส่ือสารไวขนึ้ โดยเทคโนโลยี ใช้ DOPA help”
“พัฒนาการต่ออายุใบอนุญาตของเกา่ เป็นอเิ ลคโทรนคิ ” (กรมการปกครอง)

“กรมที่ดินเปลี่ยนแปลงใช้การเครื่องมือทำงานสื่อสาร … มี EQLand
ในการจองเรื่องการทำที่ดิน ตรวจสอบเรื่องภาษีอากรออนไลน์ ลงประกาศ
อิเล็กทรอนกิ ส์” (กรมทดี่ ิน)

“การพัฒนาบุคลากรภายใน และภาคีเครือข่ายผ่านสื่อออนไลน์ เช่น
การสร้างความร้ดู า้ นดา้ นสาธารณภัย” (กรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั )

“ปรับวิธีการในการพัฒนาบุคลากรใช้ (โปรแกรม) zoom ทำให้เกิดความ
ประหยดั ” (กรมส่งเสรมิ การปกครองทอ้ งถ่นิ )

“ปรับการอบรมเป็นรูปแบบออนไลน์ทำให้ประหยัดและสามารถทำงานได้
ในชว่ งโควิด” (กรมประมง)

“มกี ารปรับเปล่ยี นแผน เช่น เกษตรกรมกี ารประชมุ ออนไลน์” (กรมการข้าว)

“การจัดฝึกอบรม (ออนไลน์) ทำให้ประหยัดและคุ้มค่า (จากการ
เดินทาง)…DLD 4.0 ใช้ในการ report โรคทั่วประเทศ เกษตรกรสามารถใส่
รายละเอยี ดได้” (กรมปศุสตั ว์)

“ใช้เทคโนโลยีมากขึ้น ตัวอย่างเช่น การตรวจมาตรฐานปรกติต้องไปเดินดูท่ี
แปลงเกษตรกร เปลี่ยนเป็นการตรวจทางไกลด้วย smart phone”
(กรมวชิ าการเกษตร)

“ฐานข้อมูลเกษตรกร ผู้ประกอบการ ให้ไปถึงe-service เช่น การรับรอง
มาตรฐานตา่ ง ๆ” (กรมหม่อนไหม)

258

สถาบันบณั ฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์

ตารางท่ี 4.45 (ตอ่ )

ประเด็น (themes) ตวั อยา่ งคำพดู (quotes)

2) ความพรอ้ มในเทคโนโลยี “การใช้ video conference ในการประชุมรว่ มกนั แตเ่ ดิมต้องเข้ามาในท่ี
(ต่อ) ทำงาน แตห่ ลังโควดิ ไม่ต้องเข้าทท่ี ำงานประชุมไดโ้ ดย zoom” (กรมฝนหลวง
และการบนิ เกษตร)

“ประหยัดขึ้นจากการใช้เทคโนโลยี…กระบวนการระบบงานเอกสารเป็น
ดิจิตอล มีข้อดีคือเซ็นแฟ้มได้ทุกที่ E-signature มีการใช้ Scanner”
(สำนกั งานปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์)

“ข้อดีในการใช้ IT ในการอบรมสื่อสาร (แต่ก่อนรวมกันทั้งประเทศ
เสยี งบประมาณมาก)” (กรมส่งเสริมการเกษตร)

3) การสนับสนุนของผนู้ ำ “เทคโนโลยีช่วยเหลือในการทำงานลดงบประมาณ 50-60 ล้านบาท โดยได้
เป้าหมายมากกว่าเดิม เช่น การอบรมถ่ายทอดนโยบายผู้บริหารโดย Zoom”
(กรมส่งเสรมิ สหกรณ์)
“ผู้บริหาร (อธิบดี) ให้ความสำคัญ (ในหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง)”
(กรมโยธาธิการและผงั เมือง)
“นโยบายหลกั ของอธิบดี ในการดำเนินการ 3 โครงการจัดหาที่ดินทำกินใหค้ น
ยากไร้ ใหอ้ ยไู่ ดอ้ ยา่ งถกู ต้องอย่ไู ด้ดว้ ยความพอประมาณ” (กรมทด่ี ิน)

“ผู้บริหารมีการเคลื่อนเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงอย่างชัดเจน โดยมีกรมการ
พัฒนาชุมชน เป็นหน่วยงานหลัก (ในการดำเนินการ)” (กรมป้องกันและ
บรรเทาสาธารณภัย)

“การให้การสนับสนุนของอธิบดี และแผนของกระทรวงมหาดไทยมีความ
ชัดเจนในเร่ืองเศรษฐกจิ พอเพยี ง” (กรมสง่ เสรมิ การปกครองท้องถ่ิน)

“ผู้บรหิ ารใหค้ วามสำคัญในการใช้ระบบส่งเสรมิ ในการติดตาม มคี ณะกรรมการ
ขับเคลื่อนการดำเนินการของโครงการ (เศรษฐกิจพอเพียง)” (กรมส่งเสริม
การเกษตร)

259

โครงการวิจัย
การบริหารราชการแผน่ ดินบนพ้ืนฐานหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ระยะที่ ๑)

ตารางที่ 4.45 (ต่อ)

ประเดน็ (themes) ตัวอย่างคำพดู (quotes)
4) บุคลากรมคี วามพร้อม
“บุคลากรมคี วามเข้าใจในงานของตนเอง” (กรมโยธาธกิ ารและผังเมือง)
5) การดำเนนิ งานไดผ้ ลดขี อง “บคุ ลากรมคี วามสามารถปรับตวั กบั การเปล่ยี นแปลงได้” (กรมการปกครอง)
เกษตรกรตวั อย่าง “บคุ ลากรเกง่ ในการหาเครอื ขา่ ยความร่วมมอื ”
(กรมการขา้ ว)
“(ส่งิ สนับสนนุ คอื ) เกษตรกรแนวรว่ ม…ตวั อยา่ งของเกษตรกรที่ทำได้เหน็ วา่
เกิดขึ้นจริง” (กรมชลประทาน)

“มีเกษตรกรที่เป็นหมอปราญชาวบ้านแนะนำองค์ความรู้ มตี ้นแบบของหลัก
เศรษฐกิจพอเพยี ง” (กรมสง่ เสรมิ การเกษตร)

“เกษตรกรไม่ไดเ้ ชื่อข้าราชการแตเ่ ช่อื เพอื่ น (ว่าเขาทำสำเร็จ)” กรมการข้าว

4.5.3 ขอ้ เสนอแนะในการบริหารราชการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
สรปุ ขอ้ เสนอแนะท่ไี ดจ้ ากการสมั ภาษณ์ผูบ้ รหิ ารระดบั สงู และการประชมุ กลุ่มของผบู้ ริหาร
ระดับกลาง รวมท้ังการให้ความคิดเห็นของผ้ทู รงคุณวฒุ ิ สามารถแบ่งออกเปน็ 7 ประเด็นดังนี้
1) การถ่ายทอดเพื่อสร้างความเข้าใจในเรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงให้แก่ผู้บริหาร
ระดับกลางและเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติ ผู้บริหารระดับกลางถือเป็นระดับที่เชื่อมโยงระหว่างนโยบายของ
ผู้บริหารระดับสูงสู่การปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ระดับปฏิบัติการจึงต้องให้ความสำคัญในการสร้างความ
เข้าใจที่ลึกซึ้ง ในขณะที่การถ่ายทอดสร้างความเข้าใจในปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้แก่ระดับ
เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติ/คนรุ่นใหม่ ควรใช้ช่องทางการสื่อสารด้วยเทคโนโลยีและหรือวิธีการสื่อสารใหม่ๆ
เน้นการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้เป็นวิถีชีวิต ใช้ในกระบวนการทำงานอย่าง
ต่อเนื่อง รวมทั้งการให้รางวัลกับหน่วยงานที่เป็นตัวอย่างที่ดีในการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงไปประยุกต์ใช้จะเป็นการสื่อสารให้เห็นถึงการส่งเสริมและการสร้างแบบอย่างที่ดีและเป็น
รูปธรรม
2) การเป็นตัวอย่างของผู้บริหารในการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ใน
การดำรงตน จากข้อมูลทั้งในการประชุมกลุ่ม การสัมภาษณ์และคำแนะนำของผู้ทรงคุณวุฒิ มี
ความคิดเห็นตรงกันในประเด็นความสำคัญของผู้นำในการดำรงตนเป็นตัวอย่างของการประยุกต์ใช้
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทั้งนี้ประเด็นเร่ืองผูน้ ำนีถ้ ูกกล่าวถึงว่าเป็นปจั จัยส่งเสริมในการนำ
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการบริหารราชการ โดยนอกจากผู้บริหารควรนำหลัก

260

สถาบันบณั ฑติ พฒั นบริหารศาสตร์

ปรัชญามาใช้ในการบริหารราชการ เช่น เรื่องการคำนึงถึงความคุ้มค่า มีเหตุมีผล ความพอประมาณ
และความสมดุลแลว้ ในการดำรงตนใช้ชวี ิตสว่ นตัวด้วยความพอเพยี งจะทำใหเ้ กดิ ตัวอยา่ งท่ปี ฏบิ ัติตาม
ได้อยา่ งชัดเจน และเป็นแรงจูงใจใหแ้ กผ่ ู้ใตบ้ งั คบั บัญชาในการปฏิบัตติ าม

3) การเรมิ่ ต้นการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชก้ ับตนเอง การประยุกตใ์ ช้หลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงนั้นควรมองเป็นภาพใกล้ตัวโดยเริ่มจากการปรับใช้ในหน่วยที่เล็ก ๆ
ก่อน นั่นคือการเริ่มจากการนำมาใช้กับตนเองก่อน จากข้อมูลพบว่าหลายหน่วยงานเมื่อสัมภาษณ์
เรื่องการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการบริหารราชการ มักมองไปที่ภาพ
ไกลตัวหรือมุ่งเป้าไปที่การนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้กับเกษตรกร หรือนำไปให้
เกษตรกรใช้ ซึ่งแท้จริงแล้วหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ในทุก
ภาคส่วน การเร่ิมต้นในจุดเล็ก ๆ ก่อนเปน็ การเร่ิมต้นท่ีดีและไม่ทำให้เกิดความเขา้ ใจผิดในการปรับใช้
หลักการหรือการมองข้ามไปยังการส่งเสริมให้ผู้อื่นพอเพียงหากแต่เน้นที่การนำมาปรับใช้กับตนเอง
ก่อน

4) การกำหนดนโยบายระดับประเทศ กระทรวง และกรม/สำนักงานที่ชัดเจนและต่อเนื่อง
ดังที่หลายหน่วยงานได้กล่าวถึงในส่วนของปัจจัยที่ขัดขวางการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ไปใชใ้ นการบริหารราชการว่า การเปล่ยี นแปลงในส่วนของการเมอื ง การบรหิ ารประเทศ หรอื ผบู้ ริหาร
กรมนั้นส่งผลทำให้มีความไม่ต่อเนื่องในเชิงนโยบาย งบประมาณและการดำเนินการ ดังนั้นการส่งตอ่
ในเชิงนโยบายโดยไม่ได้ยึดติดกับตัวบุคคลของผู้บริหารที่อาจเกิดการเปลี่ยนแปลงนั้น จะทำให้เกิด
การดำเนินการในโครงการทเ่ี ก่ียวข้องกับเศรษฐกจิ พอเพยี งได้อยา่ งต่อเน่ือง

5) การทำงานแบบบรูณาการระหว่างหน่วยงานโดยมุ่งเป้าหมายที่ความอยู่ดีกินดีของ
ประชาชน เนื่องจากทุกหน่วยงานนั้นมีวัตถุประสงค์เดียวกันในการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงไปช่วยเหลือให้เกษตรกรมีความอยู่ดีกินดี พึ่งพาตนเองได้ ดังนั้นการทำงานแบบบรูณาการ
ระหว่างกระทรวงและกรม/สำนักงานจะช่วยให้บรรลุเป้าหมายเดียวกันและลดความซ้ำซ้อนของการ
ดำเนินงานได้ หลายหน่วยงานแสดงทัศนะในการทำงานแบบบรูณาการกับกรม/สำนักงานและ
กระทรวงอ่นื ๆ เช่น การชว่ ยประชาสมั พนั ธง์ านซงึ่ กันและกนั ของแต่ละหนว่ ยงาน โดยบางหน่วยงานที่
สามารถเข้าถึงประชาชนทีห่ ่างไกลได้มากกว่าอาจจะชว่ ยประชาสัมพันธ์งานของหนว่ ยงานอ่ืน ๆ ท่ีจะ
เป็นประโยชน์แก่ประชาชนด้วย นอกจากนี้การจัดโครงการดำเนินงานที่ไม่ซ้ำซ้อนและมุ่งสู่เป้าหมาย
เดียวกนั รวมทงั้ การใชเ้ ทคโนโลยใี นการเช่ือมโยงข้อมูลท่เี ปน็ ประโยชน์แก่สว่ นรวม การจดั ทำข้อมูลที่
ซ้ำซ้อนให้อยใู่ นระบบเดยี วกนั จะช่วยให้มีทรัพยากรข้อมลู ทเ่ี ป็นประโยชนต์ ่อส่วนรวมได้มากย่ิงขึ้น

6) การพัฒนาและเพิ่มพูนความร่วมมือกับประชาชนในโครงการต่าง ๆ ตั้งแต่การร่วม
วางแผน ร่วมดำเนินงาน และร่วมได้รับผลประโยชน์ การเน้นหลักการของการมีส่วนร่วมนี้จะช่วยให้

261

โครงการวจิ ัย
การบริหารราชการแผน่ ดนิ บนพืน้ ฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ระยะท่ี ๑)

ประชาชนรู้สึกเป็นเจ้าของในโครงการนั้น ๆ ซึ่งการมีส่วนร่วมนี้ควรเริ่มต้นตั้งแต่การร่วมคิด
ร่วมวางแผน ร่วมดำเนินการจนถึงการร่วมรับผลประโยชน์ ผู้ทรงคุณวุฒิได้เสริมแนวคิดด้านนี้ว่า
การทำให้เกษตรกรรู้สึกมีส่วนร่วมโดยเฉพาะอย่างยิ่งการร่วมได้รับผลประโยชน์นั้นมีความสำคัญ
“(ควร) อธิบายให้ชัดเจนวา่ เกษตรกรจะได้รบั อะไรบ้าง (จากการประยุกต์ใชห้ ลักเศรษฐกจิ พอเพียง)”
โดยหน่วยงานราชการควรเปน็ ผชู้ ่วยเหลอื ในการหาต้นแบบ การจดั การงาน เงิน คน

7) การประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ในส่วนของตัวชี้วัดผลการดำเนินงานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงนี้ถูกกล่าวถึงในปัจจัย
อุปสรรค ในกรณีที่ไม่มีการวัดประเมินผลอย่างชัดเจน ทั้งนี้ข้อเสนอแนะที่หลายกรม/สำนักงานได้
แสดงความคิดว่าในเรื่องการประเมินผลสัมฤทธิ์นี้ได้สะท้อนถึงแนวทางในการสร้างตัวชี้วัดให้มีเหตุ
มีผล และมคี วามสมดุลมากยิง่ ขน้ึ

“ผ้ตู รวจสอบทางภาครฐั ควรทำความเข้าใจ อาจจะไมส่ ามารถชี้ให้เห็นเป็นตวั อกั ษรไม่ได้
แต่ควรดคู วามมเี หตผุ ล” (สนง มาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแหง่ ชาติ)
“นโยบายมีความสมดลุ ไมใ่ ช่มงุ่ เนน้ (วดั ผลทาง) เศรษฐกิจอยา่ งเดียว”
(สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตร)

นอกจากนี้ผทู้ รงคุณวฒุ ใิ หค้ ำแนะนำว่า “ตัว KPI ในการกำหนดในระดับพนื้ ที่ควรจะเรียบง่าย
และสะท้อนได้ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง และมีความแตกต่างกนั ตามพืน้ ที่ ข้อเสนอแนะ
ใหภ้ าควิชาการชว่ ยออกแบบ KPI ในการทำงานในพื้นท่ีท่สี ะท้อนหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง และ
สอดคล้องตามพืน้ ที่”

ข้อคิดเห็นต่อการบริหารราชการบนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ข้างต้นท่ี
สังเคราะห์จากความคิดเห็นต่าง ๆ ของผู้เข้าร่วมวิจัยในโครงการนี้ นับว่าเป็นประโยชน์ต่อ
การพัฒนาการบริหารราชการ ซึ่งได้สะท้อนถึงประเด็นต่าง ๆ ในเนื้อหาสาระของโมเดลความเป็น
เศรษฐกิจพอเพียง รวมทั้งประเด็นที่ทีมผู้วิจัยจะได้อภิปรายต่อไปในบทที่ 6 หลังจากนำเสนอ
ผลการวิจัยตามวตั ถุประสงค์ข้อ 3 และข้อ 4 ในบทท่ี 5 แล้ว

262

สถาบันบัณฑติ พฒั นบริหารศาสตร์

บทท่ี 5
โมเดลการประเมนิ ความเป็นเศรษฐกจิ พอเพียง
และแผนที่นำทางการปฏบิ ัติราชการบนพ้ืนฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 และข้อที่ 4 ของการวิจัยในครั้งนี้คือ เพื่อปรับปรุงโมเดลการประเมิน
ความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงให้สามารถใช้ได้ในลักษณะทั่วไป (generalization) สำหรับหน่วยงาน
ราชการทุกกระทรวง และเพื่อพัฒนาร่างแผนแม่บทของการปฏิบัติราชการบนพื้นฐานปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงที่หน่วยงานบริหารราชการส่วนกลางสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ ในบทนี้เราจะ
ขยายความตามวัตถุประสงค์ทั้งสองข้อนั้น โดยมีการปรับเปลี่ยนในหัวข้อสำคัญที่เกี่ยวกับ
วตั ถปุ ระสงคข์ ้อที่ 4 เน้อื หาในบทน้มี ีหัวข้อที่จะกลา่ วถึงดังนี้

5.1 การปรับปรุงโมเดลการประเมินความเป็นเศรษฐกจิ พอเพียง
5.2 แผนทน่ี ำทางการปฏิบัตริ าชการบนพ้ืนฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โดยมรี ายละเอียดดังตอ่ ไปน้ี

5.1 การปรบั ปรุงโมเดลการประเมนิ ความเป็นเศรษฐกจิ พอเพียง

จากผลการวิจัยของกัลยาณี เสนาสุ และบงกช เจนจรัสสกุล (2562) ได้นำเสนอโมเดล
การประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพียงออกมา ซงึ่ ประกอบด้วยความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพยี ง 3 ระดับ
ไดแ้ ก่ ระดับเขา้ ข่าย เข้าใจ และเขา้ ถึง โดยในระดับเขา้ ข่าย หน่วยงานได้สะทอ้ นให้เหน็ วิธีการทำงาน
ทไี่ ด้ยึดภูมคิ มุ้ กันมาเป็นแนวทางในการดำเนนิ งานต่าง ๆ ซึง่ ทำให้สามารถสะท้อนการดำเนินการแบบ
องค์การแห่งความยั่งยืนตอ่ ไปได้ ส่วนในระดับที่สูงขึ้นไปอีก คือ ระดับเข้าใจ หน่วยงานได้สะท้อนให้
เหน็ ถึงวธิ ีคิดในการทำงานท่ีนอกจากจะได้ยดึ ภมู ิคุม้ กันมาเปน็ แนวทางในการดำเนินงานตา่ ง ๆ แล้วยัง
ได้คำนึงถึงความพอประมาณที่สร้างให้เกิดความสมดุลในทรัพยากรต่าง ๆ ที่จำเป็นต้องใช้ใน
การทำงาน รวมทัง้ ทรพั ยากรทส่ี ำคญั คือ ทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งในที่สุดแลว้ การดำเนินงานก็ยังทำให้เกิด
ความสมดุลในชีวิตของบุคลากร ทำให้องค์การสามารถแสดงสถานะองค์การแห่งความสุขได้ และ
ในความเปน็ เศรษฐกิจพอเพยี งระดบั สูงสดุ คือ ระดับเข้าถึง หนว่ ยงานได้สะทอ้ นถึงการดำเนินการ

โครงการวจิ ัย
การบริหารราชการแผน่ ดนิ บนพ้ืนฐานหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะที่ ๑)

เรื่องต่าง ๆ ที่มีความมั่นคง ได้ซึมลึกให้เห็นเป็นวิถีชีวิตหรือการดำเนินชีวิตตามปกติ มีทั้งการยึด
แนวคิดการมีภูมิคุ้มกัน การพอประมาณ และการมีเหตุผล เข้าใจถึงสาเหตุและผลที่เกิดขึ้น บุคลากร
ยกระดับจากการมองชีวิตของตนเองที่มีความสุขไปสู่การสร้างประโยชน์สุขให้แก่ประเทศชาติ สังคม
และมวลมนุษยชาติ ซึ่งสรุปได้เป็นการสะท้อนถึงสถานะของ องค์การแห่งประโยชน์สุข
(แสดงในภาพท่ี 5.1)
ภาพท่ี 5.1
ความเป็นเศรษฐกจิ พอเพยี ง 3 ระดับ

หมายเหต.ุ จาก รายงานวจิ ยั : การบรหิ ารราชการบนพ้ืนฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (น.40) โดย กัลยาณี
เสนาสุ และ บงกช เจนจรสั สกลุ , 2560, สำนกั งานกองทุนสนบั สนุนการวจิ ัย.

กัลยาณี เสนาสุ และ บงกช เจนจรัสสกุล (2562) ได้พัฒนาเกณฑ์การประเมินความเป็น
เศรษฐกิจพอเพียงของหนว่ ยงานราชการขนึ้ มา ประกอบด้วย 4 มิติ ไดแ้ ก่

มิตทิ ่ี 1 นโยบาย การวางแผน และการจดั ทำแผนแบบมีสว่ นร่วม
มติ ิท่ี 2 การบริหารงานอย่างเปน็ ระบบ โปรง่ ใส มธี รรมาภิบาล และไม่มกี ารกระทำ

การผิดกฎหมาย
มิตทิ ่ี 3 บุคลากร เกง่ และมีคุณธรรม
มติ ทิ ี่ 4 ประโยชนส์ ขุ แกส่ งั คมและประชาชน
264

สถาบนั บัณฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์

โดยในการกำหนดเกณฑ์ของแต่ละมิติได้ยกระดับความเข้มข้นลึกซึ้งของความเป็นเศรษฐกิจ
พอเพียงที่สะท้อนถึงการเป็นองค์การแห่งความยั่งยืนในระดับเข้าข่าย ซึ่งเน้นไปที่วิธีการใน
การปฏิบัติงาน และเมื่อหน่วยงานมีการดำเนินงานท่ีสะท้อนให้เห็นวิธีคิดที่คำนึงถึงทั้งภูมิคุ้มกันและ
ความสมดุลพอประมาณก็จะบรรลุถึงเกณฑ์ของระดับเข้าใจ และสุดท้ายเมื่อหน่วยงานมี
การดำเนินการต่าง ๆ ด้วยความเข้าใจถึงเหตุและผลที่เกิดขึ้น จนสามารถยึดถือปฏิบัติเป็นวิถีชีวิต
รวมถึงคำนึงถึงประโยชน์สุขของสังคมก็จะสะท้อนความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงขั้นสูงสุดคือ
ระดับเข้าถงึ

รายละเอยี ดของเกณฑป์ ระเมินในแต่ละระดับ มดี ังนี้

ระดบั เขา้ ขา่ ย
มิติที่ 1 นโยบาย การวางแผน และการจัดทำแผนแบบมีส่วนร่วม ประกอบด้วยเกณฑ์ 2 ข้อ คือ
1) การปฏิบัติราชการมีการวางแผนที่ตอบสนองพันธกิจ วิสัยทัศน์ และยุทธศาสตร์ขององค์การกรม)
และ (และกระทรวง 2) ในการวางแผนยุทธศาสตร์ มีการถ่ายทอด สรา้ งความเข้าใจ และพัฒนาการมี
สว่ นรว่ มของบคุ ลากร
มิติที่ 2 การบริหารงานอย่างเป็นระบบ โปร่งใส มีธรรมาภิบาล และไม่มีการกระทำการผิด
กฎหมาย ประกอบดว้ ยเกณฑ์ 2 ข้อ คือ 1) การบริหารจดั การอยา่ งเป็นระบบช่วยให้เกิดประสิทธิภาพ
ในการทำงาน และ 2) การบริหารงานอย่างโปร่งใส มีนโยบาย มาตรการ ระบบการตรวจสอบ
ในการกำกับดแู ล และเปิดเผยขอ้ มลู
มิติที่ 3 บุคลากรเก่งและมีคุณธรรม ประกอบด้วยเกณฑ์ 2 ข้อ คือ 1) การฝึกทักษะ ความรู้ท่ี
เก่ียวเนือ่ งกับการงานท่ีอยู่ในความรับผดิ ชอบ และ 2) การพฒั นาส่งเสริมการมีคุณธรรมและจริยธรรม
ใหแ้ กบ่ คุ ลากร
มิติที่ 4 ประโยชน์สุขแก่สังคมและประชาชน ประกอบด้วยเกณฑ์ 2 ข้อ คือ 1) ผลการดำเนินงาน
ของหนว่ ยงานบรรลุตามพันธกิจและเป้าประสงค์ขององค์การ และ 2) ความสามารถในการเผชิญหรือ
ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงได้
ระดบั เขา้ ใจ
มิติที่ 1 นโยบาย การวางแผน และการจัดทำแผนแบบมีส่วนร่วม ประกอบด้วยเกณฑ์ 2 ข้อ คือ
1) การปฏิบัติราชการมีการกำหนดยุทธศาสตร์สอดรับเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ประเทศ และ
2) ในการวางแผนยุทธศาสตร์ มกี ารถา่ ยทอด สร้างความเข้าใจ และพฒั นาการมีส่วนร่วมขององค์การ
อ่ืนหรือเครอื ขา่ ยต่าง ๆ

265

โครงการวจิ ยั
การบริหารราชการแผน่ ดินบนพ้นื ฐานหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ระยะท่ี ๑)

มิติที่ 2 การบริหารงานอย่างเป็นระบบ โปร่งใส มีธรรมาภิบาล และไม่มีการกระทำการผิด
กฎหมาย ประกอบด้วยเกณฑ์ 2 ข้อ คือ 1) การพัฒนาการบริหารจัดการอย่างต่อเนื่อง และ
2) การบริหารจดั การโดยให้ความสำคญั แกผ่ ้รู ับบรกิ ารและผู้มสี ่วนไดส้ ว่ นเสยี
มิตทิ ี่ 3 บคุ ลากร เก่งและมคี ุณธรรม ประกอบด้วยเกณฑ์ 2 ขอ้ คอื 1) การพัฒนาบุคลากรใหส้ ามารถ
คิดเชิงวิเคราะห์ คิดเชิงวิพากษ์ และคิดเชิงริเร่ิมสรา้ งสรรค์ และ 2) การสนับสนุนให้บุคลากรสามารถ
ดำรงชวี ิตไดอ้ ย่างมคี ณุ ธรรม จริยธรรม ท้งั ในชวี ิตการทำงานและชีวิตส่วนตัว
มิติที่ 4 ประโยชน์สุขแก่สังคมและประชาชน ประกอบด้วยเกณฑ์ 2 ข้อ คือ 1) ผลการดำเนินงาน
ของหน่วยงานบรรลุตามยุทธศาสตรป์ ระเทศ และ 2) ความสามารถในการสร้างความสุขและคุณภาพ
ชวี ิตทดี่ ีในการทำงานให้แก่บุคลากรภายในองค์การ
ระดบั เข้าถึง
มิติที่ 1 นโยบาย การวางแผน และการจัดทำแผนแบบมีส่วนร่วม ประกอบด้วยเกณฑ์ 2 ข้อ
คือ 1) การปฏิบัติราชการมีการกำหนดนโยบายและแผนยุทธศาสตร์ที่มีส่วนสนับสนุนหรือส่งเสริม
การพัฒนาของสังคมหรือมวลมนุษยชาติ และ 2) ในการวางแผนยุทธศาสตร์ มีการถ่ายทอด
สรา้ งความเข้าใจ และพฒั นาการมีสว่ นร่วมของประชาชนในสงั คม
มิติที่ 2 การบริหารงานอย่างเป็นระบบ โปร่งใส มีธรรมาภิบาล และไม่มีการกระทำการผิด
กฎหมาย ประกอบด้วยเกณฑ์ 2 ข้อ คือ 1) นวัตกรรมการบริหารจัดการภายในองค์การที่สร้างสรรค์
ประโยชน์แก่เครือข่าย และประชาชนในสังคม และ 2) การสร้างการมีส่วนร่วมกับเครือข่าย
ใหป้ ระชาชน ผู้มีสว่ นไดส้ ว่ นเสยี สามารถพึง่ พาตนเอง แก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง
มิตทิ ่ี 3 บคุ ลากร เกง่ และมคี ณุ ธรรม ประกอบดว้ ยเกณฑ์ 2 ขอ้ คอื 1) บคุ ลากรเปน็ ผมู้ คี วามสามารถ
ในการคิดเชิงริเริ่มสร้างสรรค์ รวมถึงสามารถพัฒนานวัตกรรมได้ และ 2) บุคลากรเป็นผู้ที่มี
การดำรงชีวติ อยา่ งมีคุณธรรม จรยิ ธรรม และเปน็ แบบอย่างที่ดใี ห้แก่บุคคลอน่ื ในสงั คมระดบั ประเทศ
มิติที่ 4 ประโยชน์สุขแก่สังคมและประชาชน ประกอบด้วยเกณฑ์ 2 ข้อ คือ 1) ผลการดำเนินงาน
ของหน่วยงานสง่ ผลกระทบตอ่ ภาคี เครอื ข่าย และประชาชน และ 2) ผลการดำเนนิ งานของหน่วยงาน
สามารถกอ่ ใหเ้ กิดประโยชนส์ ุขแก่สังคมระดับโลกหรอื มวลมนษุ ยชาติ

เพื่อให้เกิดความเข้าใจในการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงจากการดำเนินการใน
การปฏิบัติราชการของหน่วยงานราชการต่าง ๆ ได้ง่ายยิ่งขึ้น กัลยาณี เสนาสุ และ บงกช
เจนจรัสสกุล (2562) ได้ใช้ภาพที่มีคำสำคัญในแต่ละปจั จัยของมิติทง้ั สี่ของเกณฑใ์ นการประเมินความ
เปน็ เศรษฐกิจพอเพยี งทั้ง 3 ระดบั

266

สถาบันบณั ฑติ พฒั นบริหารศาสตร์

ภาพที่ 5.2 แสดงเกณฑ์การประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียง 3 ระดับ โดยระดับแรก
“เข้าข่าย” ที่สะท้อนความเป็นองค์การที่ยั่งยืนอยู่วงรอบนอก ระดับที่สอง “เข้าใจ” อยู่ในวงกลาง
และระดับสูงสุดคือ “เข้าถึง” อยู่วงในสุด ซึ่งในแต่ละวงทีมผู้วิจัยได้แสดงคำสำคัญของแต่ละมิติการ
ประเมินที่สะท้อนถึงวิธีการ วิธีคิด และ/หรือวิถีชีวิตของการปฏิบัติราชการที่ปรับประยุกต์และนำมา
ปฏิบตั ใิ นแตล่ ะระดับของแนวความคิดของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาใช้
ภาพท่ี 5.2
โมเดลความเปน็ เศรษฐกิจพอเพียง (โมเดลเดมิ )

หมายเหตุ. จาก รายงานวจิ ัย: การบริหารราชการบนพน้ื ฐานปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (น.47) โดย กัลยาณี
เสนาสุ และ บงกช เจนจรสั สกลุ , 2560, สำนกั งานกองทุนสนับสนุนการวิจยั .

267

โครงการวิจัย
การบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ บนพ้ืนฐานหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะท่ี ๑)

ภาพที่ 5.3
ผลการประเมินความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพยี งระดับเขา้ ข่าย (โมเดลเดิม)

หมายเหต.ุ จาก รายงานวจิ ัย: การบริหารราชการบนพนื้ ฐานปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (น.48) โดย กลั ยาณี
เสนาสุ และ บงกช เจนจรสั สกลุ , 2560, สำนักงานกองทนุ สนับสนุนการวิจัย.

ภาพที่ 5.3 แสดงผลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงระดับเข้าข่าย ซึ่งสะท้อนถึง
สถานะขององค์การแห่งความยั่งยืนที่มีการบริหารจัดการโดยให้บุคลากรในองค์การมีส่วนร่วมใน
การวางแผนงาน มีการบริหารงานอย่างเป็นระบบ โปร่งใส มีการอบรมพัฒนาบุคลากรให้มีสมรรถนะ
ในการปฏิบัติงานและมีการปลูกฝังจริยธรรมคุณธรรมใหแ้ ก่บุคลากร รวมทั้งเป็นองค์การทีด่ ำเนินการ
อย่างไมป่ ระมาท สรา้ งภมู ิคุ้มกันตนเองและสามารถรบั มอื กบั การเปลยี่ นแปลงได้

ภาพที่ 5.4 แสดงผลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงระดับเข้าใจ ซึ่งสะท้อนถึง
สถานะขององค์การแห่งความสุขที่มีการบริหารจัดการโดยให้บุคลากรในองค์การและเครือข่ายนอก
องค์การเข้ามามีส่วนร่วมในการวางแผนงาน มีการบริหารงานอย่างเป็นระบบ โปร่งใสและให้
ความสำคัญแก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง มีการอบรมพัฒนาบุคลากรให้มีสมรรถนะในการปฏิบัติงานและมีการ
268

สถาบนั บณั ฑติ พฒั นบริหารศาสตร์

ปลูกฝังจริยธรรมคุณธรรมให้แก่บุคลากร รวมทั้งแสดงให้เห็นผลของการฝึกอบรมว่าบุคลากร
มีสมรรถนะของความริเริ่มสร้างสรรค์ซึ่งเป็นสมรรถนะที่สำคัญของศตวรรษที่ 21 และสะท้อนให้เห็น
ผลของการปลูกฝังด้านจริยธรรมคุณธรรมว่ามีบุคลากรที่มีจริยธรรมและคุณธรรมในการปฏิบัติงาน
และในมิติของประโยชน์สุขแก่สังคมและประชาชนได้สะท้อนให้เห็นถึงการเป็นองค์การที่ดำเนินการ
อย่างมีภูมิคุ้มกันตนเองที่สามารถรับมือกับการเปลี่ยนแปลงได้ และที่สำคัญเป็นองค์การที่มีความ
สมดุลทงั้ การดำเนินงานและคุณภาพชีวติ ของบคุ ลากรท่ีทำใหบ้ ุคลากรมีความสุขในการทำงาน
ภาพที่ 5.4
ผลการประเมินความเปน็ เศรษฐกิจพอเพยี งระดับเขา้ ใจ (โมเดลเดิม)

หมายเหตุ. จาก รายงานวจิ ยั : การบรหิ ารราชการบนพ้นื ฐานปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (น.49) โดย กลั ยาณี
เสนาสุ และ บงกช เจนจรสั สกลุ , 2560, สำนกั งานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

ภาพที่ 5.5 แสดงผลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงระดับเข้าถึง ซึ่งสะท้อนถึง
สถานะขององค์การแห่งประโยชน์สุขที่นอกจากคนในองค์การจะมีความสุขแล้วยังสามารถที่จะ

269

โครงการวจิ ัย
การบริหารราชการแผน่ ดินบนพนื้ ฐานหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ระยะท่ี ๑)

ดำเนินงานเพื่อเผื่อแผ่ความสุขให้แก่ผู้อื่นในสังคมและประเทศชาติโดยรวมได้ด้วย โดยใน
การปฏบิ ตั งิ านได้สะทอ้ นให้เหน็ ถึงการบรหิ ารจดั การทน่ี อกจากจะให้บุคลากรในองค์การและเครือข่าย
นอกองค์การเข้ามามีส่วนร่วมในการวางแผนงานแล้วยังเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมด้วย
มีการบริหารงานอย่างเป็นระบบ โปร่งใส ให้ความสำคัญแก่ผู้ที่เกี่ยวข้องและสร้างประโยชน์แก่สังคม
มีการอบรมพัฒนาบุคลากรให้มสี มรรถนะในการปฏิบตั ิงานและมกี ารปลูกฝังจริยธรรมคุณธรรมให้แก่
บุคลากร รวมทั้งแสดงให้เห็นผลของการฝึกอบรมว่าบคุ ลากรมีสมรรถนะของความริเริ่มสร้างสรรค์ซ่ึง
เปน็ สมรรถนะที่สำคัญของศตวรรษท่ี 21 และสะท้อนใหเ้ ห็นผลของการปลูกฝงั ดา้ นจรยิ ธรรมคุณธรรม
วา่ มีบคุ ลากรที่มจี ริยธรรมและคุณธรรมในการปฏิบตั งิ าน และดำรงตนเปน็ แบบอยา่ งท่ีดแี ก่สังคม และ
ในมติ ขิ องประโยชน์สขุ แกส่ ังคมและประชาชนได้สะท้อนใหเ้ หน็ ถึงการเปน็ องค์การท่ีดำเนินการอย่างมี
ภมู คิ มุ้ กนั ตนเองท่ีสามารถรบั มือกับการเปล่ียนแปลงได้ เปน็ องคก์ ารที่มคี วามสมดลุ ทั้งการดำเนินงาน
และคุณภาพชีวิตของบุคลากรที่ทำให้บุคลากรมีความสุขในการทำงาน รวมทั้งองค์การสามารถสร้าง
ประโยชนส์ ุขใหแ้ กป่ ระชาชนในประเทศและหรอื สงั คมในโลกได้
ภาพที่ 5.5
ผลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงระดบั เข้าถึง (โมเดลเดิม)

หมายเหต.ุ จาก รายงานวิจัย: การบรหิ ารราชการบนพ้ืนฐานปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (น.50) โดย กลั ยาณี
เสนาสุ และ บงกช เจนจรสั สกลุ , 2560, สำนกั งานกองทุนสนบั สนนุ การวจิ ัย.

270

สถาบันบัณฑติ พัฒนบริหารศาสตร์

จากการเก็บรวบรวมข้อมูลจากหน่วยงานระดับกรม/สำนักงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์และกระทรวงมหาดไทย รวมทั้งสถานการณโ์ รคระบาดโควิด–19 ที่นับเป็นสถานการณ์วิกฤติ
ที่เกิดขึ้นในระดับโลกที่ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ สังคม รวมทั้งสภาพแวดล้อมการทำงาน
อย่างมีนัยสำคัญ (กัลยาณี เสนาสุ และบงกช เจนจรัสสกุล, 2564) ทีมผู้วิจัยได้พบประเด็นที่ยังไม่
ชัดเจนในเกณฑ์การประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงที่พัฒนาโดย กัลยาณี เสนาสุ และ
บงกช เจนจรัสสกุล (2562) บางประเด็น ที่ควรปรับปรุงเพื่อให้โมเดลสามารถใช้ในการประเมินความ
เป็นเศรษฐกิจพอเพียงของหน่วยงานภาครัฐในระดับกรม/สำนักงานได้ในลักษณะทั่วไป
ดงั รายละเอยี ดในตารางท่ี 5.1 ดงั น้ี

271

272 โครงการวจิ ัย
การบรหิ ารราชการแผ่นดนิ บนพ้ืนฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ระยะที่ ๑)

ตารางท่ี 5.1
เปรียบเทยี บเกณฑ์การประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพยี งเดิมและเกณฑ์ท่ปี รับปรงุ ให

การประเมินโดยใชเ้ กณฑ์ SEP เดมิ การ
มิติ
กลั ยาณี เสนาสุ และบงกช เจนจรสั สกุล), 2562)

มิติ เข้าข่าย เข้าใจ เขา้ ถึง

มติ ทิ ี่ 1 (Compliance) (Comprehension) (Inspiration)
นโยบาย
การ 1) การปฏบิ ัติราชการมี 1) การปฏบิ ัติราชการมี 1) การปฏบิ ตั ริ าชการมี มิติที่ 1 1
วางแผน การ เ
และการ การวางแผนท่ี การกำหนดยทุ ธศาสตร์ การกำหนดนโยบาย กำหนด ท
จัดทำ เป้าหมาย ว
แผนแบบ ตอบสนองพนั ธกจิ สอดรบั เป้าประสงคข์ อง และแผนยุทธศาสตร์ท่มี ี และ ย
มสี ว่ น นโยบาย อ
ร่วม วิสยั ทศั น์ และ ยทุ ธศาสตรป์ ระเทศ ส่วนสนบั สนุนหรือ ตามพนั ธ
กจิ และ 2
ยทุ ธศาสตร์ขององค์การ ส่งเสริมการพัฒนาของ ประโยชน์ เ
สขุ ม
(กรมและกระทรวง) สงั คมหรือมวล ส

มนษุ ยชาติ ข

2) ในการวางแผน 2) ในการวางแผน 2) ในการวางแผน

ยุทธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์ ยุทธศาสตร์

มกี ารถ่ายทอด มกี ารถา่ ยทอด มกี ารถ่ายทอด

สรา้ งความเขา้ ใจ และ สรา้ งความเขา้ ใจ และ สร้างความเข้าใจ และ

พัฒนาการมสี ว่ นรว่ ม พฒั นาการมีส่วนรว่ ม พฒั นาการมสี ่วนรว่ ม

ของบคุ ลากร ขององค์การอ่นื หรอื ของประชาชนในสังคม

เครือข่ายต่าง ๆ

หม่*

รปรบั ปรุงเกณฑก์ ารประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกิจพอเพยี งใหม่

เข้าขา่ ย เข้าใจ เข้าถงึ เหตุผลการปรับปรงุ
(Compliance) (Comprehension) (Inspiration)
1) การกำหนด 1) การกำหนด 1) การกำหนด เพ่อื ใหเ้ กดิ ความชดั เจนตาม
เป้าหมายและนโยบาย เป้าหมายและนโยบาย เป้าหมายและนโยบาย ขอบเขตพันธกิจของหนว่ ยงาน
ที่ตอบสนองพันธกจิ ทเี่ ชอ่ื มโยงและสอดรบั ทม่ี สี ่วนสนบั สนุนหรอื รวมท้งั ความพยายามในการมงุ่ สู่
วิสยั ทศั น์ และ กบั เปา้ ประสงค์ของ สง่ เสริมการพัฒนาของ การสอดรับกบั ยุทธศาสตร์ของ
ยทุ ธศาสตร์ของ ยุทธศาสตร์ชาติ สงั คมหรือมวล ประเทศและการพฒั นาสังคม
องคก์ าร มนษุ ยชาติ

2) ในการกำหนด 2) ในการกำหนด 2) ในการกำหนด เพื่อใหค้ ำนึงถึงการมีส่วนรว่ ม
เปา้ หมายและนโยบาย เปา้ หมายและนโยบาย เป้าหมายและนโยบาย ของบุคลากร เครอื ข่าย และ
มีการถา่ ยทอด มีการถา่ ยทอด มีการถา่ ยทอด ประชาชน เพื่อใหม้ สี ว่ นรว่ มใน
สรา้ งความเขา้ ใจ และ สรา้ งความเข้าใจ และ สรา้ งความเข้าใจ และ การขบั เคลอื่ นสู่เปา้ หมาย
พัฒนาการมีส่วนรว่ ม พัฒนาการมีส่วนรว่ ม พัฒนาการมสี ่วนรว่ ม ประโยชนส์ ุขในทส่ี ุด
ของบุคลากร ขององค์การอื่นหรอื ของประชาชนในสังคม
เครอื ข่ายต่าง ๆ

ตารางท่ี 5.1 (ตอ่ )

การประเมนิ โดยใชเ้ กณฑ์ SEP เดิม การ
มิติ
กลั ยาณี เสนาสุ และบงกช เจนจรัสสกุล), 2562)

มิติ เขา้ ขา่ ย เขา้ ใจ เข้าถงึ

มิติท่ี 2 (Compliance) (Comprehension) (Inspiration)
การ
บรหิ ารงา 1) การบรหิ ารจัดการ 1) การพฒั นาการ 1) นวตั กรรมการบรหิ าร มิติที่ 2 1
นอย่าง การ อ
เปน็ อย่างเปน็ ระบบชว่ ยให้ บริหารจดั การอย่าง จดั การภายในองค์การท่ี บริหารงาน เ
ระบบ อย่างเป็น ก
โปร่งใส เกิดประสทิ ธภิ าพในการ ต่อเนอ่ื ง สร้างสรรคป์ ระโยชน์แก่ ระบบ
มธี รร โปร่งใส 2
มาภิบาล ทำงาน เครือขา่ ย และ มีธรรมา อ
และไมม่ ี ภบิ าล น
การ ประชาชนในสงั คม ร
กระทำ ใ
การผิด 2) การบรหิ ารงานอยา่ ง 2) การบรหิ ารจัดการ 2) การสร้างการมสี ว่ น เ
กฎหมาย โปรง่ ใส มีนโยบาย โดยให้ความสำคญั แก่ รว่ มกบั เครือข่าย ให้
มาตรการ ระบบการ ผู้รับบรกิ ารและผ้มู ีสว่ น ประชาชน ผู้มสี ่วนได้
ตรวจสอบ ในการกำกบั ไดส้ ่วนเสยี ส่วนเสยี สามารถพ่งึ พา
ดูแล และเปดิ เผยขอ้ มลู ตนเอง แก้ปัญหาไดด้ ้วย
ตนเอง

273

สถาบันบณั ฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์

รปรับปรุงเกณฑ์การประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพียงใหม่

เข้าขา่ ย เขา้ ใจ เขา้ ถึง เหตุผลการปรับปรุง
(Compliance) (Comprehension) (Inspiration)
1) การบรหิ ารจัดการ 1) การพฒั นาการ 1) นวตั กรรมการ ตัดคำว่า ไมม่ ีการกระทำการผดิ “
อย่างเป็นระบบชว่ ยให้ บรหิ ารจัดการอย่าง บรหิ ารจดั การภายใน ออกจากมติ ิ ”กฎหมาย
เกดิ ประสิทธิภาพใน ตอ่ เนอ่ื ง องคก์ ารท่ีสร้างสรรค์ เนอ่ื งจากเปน็ เร่อื งเฉพาะบคุ คล
การทำงาน เกิดประโยชนแ์ ก่ ซึ่งมีระเบยี บข้อบงั คับวนิ ัย
2) การบริหารจดั การ เครอื ข่าย และ ข้าราชการกำหนดหา้ มไว้แลว้
2) การบรหิ ารงาน โดยให้ความสำคญั แก่ ประชาชนในสังคม
อยา่ งโปรง่ ใส มี ผู้รับบรกิ ารและผู้มี แกไ้ ขข้อความในระดับเขา้ ถงึ ให้
นโยบาย มาตรการ สว่ นไดส้ ว่ นเสีย 2) การบริหารจัดการ ชัดเจนข้ึน
ระบบการตรวจสอบ โดยการสรา้ งการมี
ในการกำกบั ดูแล และ ส่วนร่วมกับ
เปดิ เผยขอ้ มลู ประชาชนผมู้ สี ว่ นได้/
ส่วนเสียให้พวกเขา
/สามารถพึง่ พาตนเอง
แกป้ ัญหาได้ด้วย
ตนเอง

274 โครงการวจิ ัย
การบริหารราชการแผ่นดนิ บนพื้นฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะท่ี ๑)

ตารางท่ี 5.1 (ตอ่ )

การประเมินโดยใชเ้ กณฑ์ SEP เดิม การ
มิติ
กลั ยาณี เสนาสุ และบงกช เจนจรัสสกลุ ), 2562)

มิติ เขา้ ข่าย เข้าใจ เขา้ ถงึ

มติ ทิ ่ี 3 (Compliance) (Comprehension) (Inspiration)
บุคลากร
เกง่ และมี 1) การฝึกทกั ษะ ความรู้ 1) การพฒั นาบคุ ลากร 1) บุคลากรเปน็ ผ้มู ี มิติท่ี 3 1
คุณธรรม บุคลากร ก
ท่เี กย่ี วเน่ืองกับการงาน ให้สามารถคดิ เชงิ ความสามารถในการคิด มีคุณธรรม จ
และเกง่ บ
ทอี่ ยู่ในความรบั ผดิ ชอบ วิเคราะห์ คิดเชิงวิพากษ์ เชิงรเิ รม่ิ สร้างสรรค์

และคดิ เชงิ รเิ ริ่ม รวมถึงสามารถพฒั นา

สรา้ งสรรค์ นวัตกรรมได้

2) การพัฒนาส่งเสรมิ 2) การสนบั สนนุ ให้ 2) บุคลากรเปน็ ผทู้ ่มี ี 2
การมคี ณุ ธรรมและ บคุ ลากรสามารถ การดำรงชีวติ อยา่ งมี ท
จริยธรรมใหแ้ กบ่ ุคลากร ดำรงชีวติ ไดอ้ ย่างมี คณุ ธรรม จริยธรรม เ
คุณธรรม จรยิ ธรรม ทง้ั และเปน็ แบบอย่างที่ดี ท
ในชีวิตการทำงานและ ใหแ้ ก่บคุ คลอ่ืนในสงั คม ร
ชีวติ ส่วนตัว ระดบั ประเทศ ส



รปรับปรุงเกณฑ์การประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพยี งใหม่

เข้าขา่ ย เข้าใจ เขา้ ถึง เหตุผลการปรบั ปรุง
(Compliance) (Comprehension) (Inspiration)
1) การพฒั นาส่งเสรมิ 1) การสนบั สนุนให้ สลบั การใหค้ วามสำคญั กับคุณธรรม
การมคี ณุ ธรรมและ บคุ ลากรแสดง 1) บุคลากรเปน็ ผทู้ ี่มี ข้นึ มาก่อนความเก่ง เพ่อื ช้ีให้เห็นการ
จริยธรรมให้แก่ พฤติกรรมการเปน็ พฤติกรรมการเปน็ จัดลำดบั ความสำคัญของคณุ ธรรมท่ี
บุคลากร พลเมอื งท่ดี ขี อง พลเมอื งที่ดขี องสงั คม เป็นพื้นฐานสำคญั ทส่ี ดุ ดังนั้นจงึ ต้อง
องคก์ าร (Societal Citizenship สลบั เกณฑ์คณุ ธรรมขน้ึ มากอ่ น
(Organization Behavior) มกี าร แกไ้ ขให้เกณฑ์ดา้ นคณุ ธรรมแสดงออก
Citizenship ดำรงชีวติ อยา่ งมี ด้วยพฤตกิ รรมความเปน็ พลเมืองที่ดี
Behavior) คุณธรรม จริยธรรม และ ขององคก์ าร (ในระดบั เข้าใจ) และ
เป็นแบบอยา่ งทดี่ ีใหแ้ ก่ การเป็นพลเมอื งทดี่ ีของสงั คม (ในระดับ
บุคคลอ่ืนในสงั คม เข้าถึง) ซึง่ จะช่วยใหเ้ กิดความชัดเจนใน
ระดับการประเมินมากขึ้น
2) บุคลากรมีการฝกึ 2) บุคลากรได้รบั การ 2) บคุ ลากรเปน็ ผู้มี เนือ่ งจากสถานการณโ์ รคระบาดโควิด-
ทักษะ ความรทู้ ี่ พฒั นาใหส้ ามารถคดิ ความสามารถในการ 19 ทีส่ ง่ ผลกระทบใหเ้ กดิ ความ
เกย่ี วเน่อื งกบั การงาน เชิงวเิ คราะห์ คดิ เชิง ปรับตัวใหต้ อบสนอง จำเป็นตอ้ งใชเ้ ทคโนโลยี และการคดิ คน้
ที่อย่ใู นความ วพิ ากษ์ และคิดเชิง ต่อ ความกดดนั ต่าง ๆ นวัตกรรมในการทำงาน รวมท้ัง
รับผดิ ชอบ รวมทัง้ มี รเิ ร่ิมสรา้ งสรรค์ ได้ (Resilience) สภาพการณ์ทเี่ กิดความกดดันในการ
สมรรถนะดา้ น รวมถงึ สามารถพฒั นา ทำงานและชีวิตส่วนตวั หลายอยา่ ง
เทคโนโลยีทจ่ี ำเป็นใน นวัตกรรมได้ ซงึ่ ตอ้ งการสมรรถนะดา้ นความยดื หยุน่
การทำงาน ในการตอบสนองตอ่ ความกดดัน
(Resilience) จึงจะสามารถดำเนินชีวติ
อยา่ งมีคณุ ภาพทง้ั ดา้ นการงานและดา้ น
สว่ นตัวได้

ตารางท่ี 5.1 (ต่อ)

การประเมินโดยใชเ้ กณฑ์ SEP เดมิ การ
มิติ
กัลยาณี เสนาสุ และบงกช เจนจรัสสกลุ ), 2562)

มติ ิ เข้าขา่ ย เข้าใจ เข้าถงึ

มิตทิ ี่ 4 (Compliance) (Comprehension) (Inspiration)
ประโยช
นแ์ ก่ 1) ผลการดำเนนิ งาน 1) ผลการดำเนนิ งาน 1) ผลการดำเนินงาน มติ ทิ ี่ 4 1
องคก์ าร ประโยชน์ ข
และ ของหนว่ ยงานบรรลุตาม ของหนว่ ยงานบรรลุตาม ของหน่วยงานสง่ แก่ ต
สังคม องคก์ าร เ
พันธกจิ และเปา้ ประสงค์ ยุทธศาสตรป์ ระเทศ ผลกระทบตอ่ ภาคี และสังคม อ

ขององคก์ าร เครือข่าย และ

ประชาชน

2) ความสามารถในการ 2) ความสามารถในการ 2) ผลการดำเนินงาน 2
เผชญิ หรือตอบสนองตอ่ สรา้ งความสขุ และ ของหนว่ ยงานสามารถ ก
การเปลย่ี นแปลงได้ คณุ ภาพชวี ติ ท่ดี ีในการ ก่อให้เกิดประโยชนส์ ขุ ต
ทำงานใหแ้ กบ่ ุคลากร แกส่ งั คมระดับโลกหรอื เ
ภายในองค์การ มวลมนษุ ยชาติ

หมายเหตุ. (ตารางการประเมนิ โดยใชเ้ กณฑ์ SEP เดมิ ) จาก รายงานวจิ ัย: การบรหิ ารราชการบนพ
2560, สำนักงานกองทุนสนบั สนุนการวจิ ัย. และ (ตารางการปรับปรงุ เกณฑ์การประเมนิ ความเป็นเ

275

สถาบันบัณฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์

รปรับปรงุ เกณฑก์ ารประเมินความเปน็ เศรษฐกิจพอเพียงใหม่

เขา้ ข่าย เขา้ ใจ เขา้ ถงึ เหตผุ ลการปรับปรุง
(Compliance) (Comprehension) (Inspiration)
1) ผลการดำเนนิ งาน 1) ผลการดำเนินงาน แกไ้ ขในระดบั เข้าถึงเพือ่ สะท้อน
ของหน่วยงานบรรลุ ของหน่วยงานส่ง 1) ผลการดำเนินงาน ใหเ้ ห็นการดำเนินงานทีท่ ตี่ อ้ ง
ตามพันธกจิ และ ผลกระทบต่อภาคี ของหนว่ ยงานส่ง อาศัยการร่วมมอื กันในการ
เป้าประสงค์ของ เครือขา่ ย และ ผลกระทบตอ่ การพัฒนา ขับเคล่อื นสงั คมทง้ั ภาครัฐและ
องคก์ าร ยทุ ธศาสตรช์ าติ สังคมและความเป็น ประชาชน
พลเมอื งทด่ี ขี องสังคม
2) ความสามารถใน 2) ความสามารถใน (Societal Citizenship
การเผชิญหรอื การสร้างความสุขและ Behavior) ของ
ตอบสนองต่อการ คุณภาพชวี ิตท่ดี ใี นการ ประชาชน
เปลยี่ นแปลงได้ ทำงานให้แก่บคุ ลากร 2) ผลการดำเนินงาน
ภายในองค์การ ของหนว่ ยงานสามารถ
ก่อให้เกิดประโยชนส์ ขุ
แกส่ ังคมระดับโลก
หรือมวลมนษุ ยชาติ

พ้นื ฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (น.48) โดย กัลยาณี เสนาสุ และ บงกช เจนจรัสสกลุ ,
เศรษฐกิจพอเพยี งใหม่) * เกณฑ์ท่ีปรบั ปรุงใช้อักษรสี

โครงการวจิ ัย
การบรหิ ารราชการแผน่ ดินบนพ้ืนฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะท่ี ๑)

ในการปรบั ปรุงเกณฑ์การประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงตามโมเดลของกัลยาณี เสนาสุ
และบงกช เจนจรัสสกุล (2562) นอกจากการแก้ไขข้อความให้มีความชัดเจนตรงประเด็นขึ้นแล้ว
มีประเดน็ หลัก 2 ประเดน็ ท่สี ำคญั ทไี่ ด้ปรบั ปรงุ จากเดิม ดังนี้

1. การปรับเปลี่ยนในมิติที่ 3 บุคลากรมีคุณธรรมและเก่ง โดยในด้านคุณธรรมปัจจัยใน
ระดบั เขา้ ใจ ทีมผวู้ ิจัยเสนอใหบ้ คุ ลากรได้แสดงโอกาสการเป็นพลเมืองทีด่ ีขององค์การ (organization
citizenship behavior) และในระดับเขา้ ถึงทีมผ้วู จิ ัยเสนอให้บุคลากรได้แสดงโอกาสการเป็นพลเมือง
ที่ดีของสังคม (societal citizenship behavior) ซึ่งเป็นการขยายมุมมองที่ยังประโยชน์ให้กว้างขึ้น
จากมุมมองการทำประโยชน์ให้เฉพาะภายในองค์การของตนเป็นการทำประโยชน์ต่อสังคมโดยรวม
ด้วย ในด้านความเก่งของบุคลากร นอกจากสมรรถนะที่เกี่ยวข้องกับหน้าที่ความรับผิดชอบแล้ว
ทีมผวู้ จิ ัยได้ปรบั เพมิ่ สมรรถนะในการใช้เทคโนโลยีมาเป็นพ้ืนฐานข้นั ต้นในระดับเข้าขา่ ยที่องค์การและ
ตวั บุคลากรเองจะต้องฝึกทักษะให้มคี วามชำนาญสามารถที่จะรองรับรปู แบบการทำงานท่เี ปล่ียนไปได้
ในส่วนระดับเข้าใจนอกจากสมรรถนะด้านความสามารถในการคิดให้เท่าทันสำหรับศตวรรษที่ 21
แล้ว ทีมผู้วิจัยเห็นว่าควรเพิม่ การประยุกต์ความคิดที่สรา้ งสรรค์มาสู่นวัตกรรมได้ และในระดับเข้าถึง
ทีมผู้วิจัยเห็นว่าการพัฒนาขั้นสูงสุดของสมรรถนะของบุคลากรเป็นความสามารถในการปรับเปลี่ยน
ตนเอง มีความยดื หยุน่ ทนทานในการตอบสนองต่อปญั หาอุปสรรคและภยั คุกคามต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี
จึงกำหนดปัจจัยให้บุคลากรเป็นผู้มีความสามารถในการปรับตัวให้ตอบสนองต่อปัญหา ความกดดัน
ต่าง ๆ ได้ (Resilience) เป็นเกณฑ์ในการประเมินความเก่งของบุคลากรขึ้นมา ทั้งนี้จากแนวความคิด
พื้นฐานของท่มี าดังน้ี (กัลยาณี เสนาสุ และบงกช เจนจรสั สกุล, 2564)

ในช่วงปลายเดือนธันวาคม พ.ศ. 2562 องค์การอนามยั โลก (World Health Organization:
WHO) ได้มีการรายงานการเกิดโรคอุบัติใหม่ที่เกิดขึ้นจากเชื้อไวรัสอย่างเป็นทางการ สำหรับใน
ประเทศไทยนั้น ได้มีการรายงานการพบผู้ป่วยที่ติดโรคอุบัติใหม่นี้เป็นครั้งแรกในวันที่ 13 มกราคม
พ.ศ. 2563 (World Health Organization, 2020) การแพร่กระจายของโควิด-19 ไม่เพียงส่งผล
กระทบต่อประเด็นด้านสุขภาพเท่านั้น หากแต่ยังก่อให้เกิดผลกระทบในทุกภาคส่วนทั่วโลก ทั้งด้าน
เศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม ที่นำมาซึ่งการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต การทำงาน รวมท้ั ง
การจัดการบุคลากรภายในองค์การ ในด้านเศรษฐกิจและสังคม การระบาดของโควิด-19 ก่อให้เกิด
การผลกระทบในระยะยาวโดยเริ่มจากการเปลี่ยนแปลงที่มีความหลากหลายภายในระยะเวลาอันสน้ั
เพื่อให้ธุรกิจสามารถดำเนนิ การต่อไปได้ ไม่ว่าจะเป็นเรือ่ งของรูปแบบ วิธีการ และสถานที่การทำงาน
การจัดการสถานที่ทำงานและแรงงาน ความสัมพันธ์ระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง รวมทั้งการจัดการ
โครงสร้างองค์การและสถานที่ทำงานที่จะส่งผลกระทบต่อการลงทุนในด้านบุคลากรที่เป็น

276

สถาบนั บัณฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์

องค์ประกอบที่สำคัญในการขับเคลื่อนองค์การไปสู่ความสำเร็จในอนาคต (World Economic
Forum, 2020a) ผลการสำรวจการปรับตัวของภาคธุรกจิ เพื่อตอบสนองผลกระทบที่เกิดจากโควิด-19
ใน Future of Jobs 2020 โดย World Economic Forum (2020b) แสดงใหเ้ หน็ ถงึ การเปลย่ี นแปลง
ที่เกี่ยวข้องการดำเนินการขององค์การ อาทิ การปรับกระบวนการทำงานเข้าสู่การดำเนินการผ่าน
แพลตฟอร์มดิจิทัล การเปิดโอกาสให้บุคลากรสามารถทำงานในรูปแบบทางไกล การปรับเปลี่ยน
รปู แบบกระบวนงานสรู่ ปู แบบอตั โนมตั ิ และการปรบั เปล่ียนรูปแบบการเพิ่มหรือสร้างทกั ษะใหม่ให้แก่
บุคลากรในรูปแบบดิจิทัล การเปลี่ยนแปลงนี้เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับองค์การภาคธุรกิจ
ทั่วโลก อย่างไรก็ดีองค์การภาครัฐต่างก็ได้รับผลกระทบและเกิดการเปลี่ยนแปลงในรูปแบบใกล้เคียง
กับองค์การภาคเอกชน สำหรับประเทศไทย สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (2563)
ได้ประกาศหลักเกณฑ์การปฏิบัติงานภายในที่พักสำหรบั เจ้าหน้าท่ีของส่วนราชการ ที่เกิดขึ้นหลังจาก
การแพร่ระบาดของโควิด-19 เพื่อรองรับมาตรการจำกัดการเดินทางที่ประกาศอย่างเป็นทางการใน
วันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2563 (กรุงเทพธุรกิจ, 2563) ส่งผลให้บุคลากรภาครัฐจำเป็นต้องปรับเปลี่ยน
รูปแบบการทำงานและการให้บริการแก่ประชาชน อาทิ การกำหนดสัดส่วนการปฏิบัติงานนอกสถาน
ที่ตั้งโดยกำหนดใหบ้ ุคลากรสลับกันมาปฏิบัตงิ านแบบวันเว้นวนั สัปดาห์ละ 1-2 วัน หรือ สัปดาห์เวน้
สัปดาห์ ขึ้นกับปัจจัยต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นปัจจัยส่วนบุคคลของบุคลากรและปัจจัยด้านลักษณะงาน
(สำนักข่าวอิศรา, 2563) นอกจากการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการทำงานเพื่อให้องค์การสามารถ
ดำเนินการได้โดยไม่สะดุด Hite และ McDonald (2020) ยังได้นำเสนอผลกระทบจากโควิด-19
ต่อประเด็นด้านองค์การและการบริหารจัดการบุคลากรว่า ผลกระทบนั้นยังสามารถแสดงในรูปแบบ
ของการสูญหายหรือการปรับเปลี่ยนรูปแบบและขอบเขตของตำแหน่งงาน ส่งผลให้องค์การและ
บุคลากรต่างต้องพิจารณาประเด็นต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการทำงานใหม่ ไม่ว่าจะเป็นประเด็นด้าน
ความยืดหยุ่นทางอาชีพ (career resilience) ที่เน้นเรื่องของการปรับตัวให้สอดรับกับการ
เปลย่ี นแปลงท่ีเกิดข้ึนอย่างรวดเรว็

จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ดังที่ได้กล่าวในข้างต้น แสดงให้เห็นถึงการ
เปลี่ยนแปลงของรูปแบบการดำเนินงานขององค์การ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการขับเคลื่อนองค์การผ่าน
ระบบในโลกเสมือนโดยมีเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเป็นพื้นฐานสำคัญในการเชื่อมโยงส่วนต่าง ๆ
ที่เกี่ยวข้องกับองค์การเข้าด้วยกัน การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ถือเป็นปัจจัยสำคัญที่กระตุ้นให้
เกิดการเปลี่ยนแปลงเข้าสู่การเป็นองค์การดจิ ิทัลได้อย่างรวดเร็ว อันเป็นผลสืบเนื่องจากความจำเป็น

277

โครงการวิจัย
การบริหารราชการแผน่ ดนิ บนพ้ืนฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ระยะที่ ๑)

ในการปรับเปลี่ยนรูปแบบองค์การและพื้นที่ทำงานให้สามารถตอบสนองต่อมาตรการการรักษา
ระยะห่าง (Social Distancing) (Hite & McDonald, 2020) รวมทั้งมาตรการการจำกัดการเดินทาง
โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเดินทางระหว่างประเทศที่ยังคงไม่สามารถดำเนินการได้อย่างเป็นปกติ
ก่อให้เกิดการนำเทคโนโลยีดิจิทัลและระบบการสื่อสารออนไลน์มาใช้เป็นส่วนสำคัญในการดำเนิน
ธุรกิจและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ภายในองค์การสืบเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของความต้องการ
ในการทำงานจนเกดิ เป็นความต้องการในการสร้างและการพัฒนาทกั ษะใหม่ ๆ ให้แก่บุคลากรภายใน
องคก์ าร เพือ่ ใหส้ ามารถตอบสนองต่อการเปลยี่ นแปลงทเ่ี กิดขน้ึ ได้

ตั้งแต่ห้วงเวลาของการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 การพัฒนาคนในหลายมิติสำคัญอยู่บน
พื้นฐานของทรัพยากรและแอพพลิเคชั่นออนไลน์ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องความสามารถในการทำงาน
การขาย การดำรงชีวิตอย่างมีสุขภาวะ การปฏิสัมพันธ์ติดต่อกับคนอื่น ๆ แนวทางแก้ไขปัญหาที่จะ
เอาชนะผลกระทบของวิกฤตครั้งนี้คือการใช้เทคโนโลยี Gartner, Inc. (2021) ได้ทำการสำรวจผู้นำ
ด้านทรัพยากรมนุษย์ (HR leader) มากกว่า 800 คน จาก 60 ประเทศทั่วโลกเกี่ยวกับมุมมองที่มีต่อ
ความท้าทายในปี พ.ศ. 2564 และแสดงให้เห็นถงึ แนวโนม้ ของการทำงานทางไกล (remote work) ที่
ยังคงมตี ่อเนื่องไปอีกถงึ เกือบรอ้ ยละ 50 ของผู้ตอบแบบสอบถาม นอกจากนีผ้ ู้นำด้านทรัพยากรมนุษย์
ยังได้สะท้อนประเด็นของการสร้างและพัฒนาทักษะขององค์การให้แก่บุคลากรในแต่ละตำแหน่งที่มี
ความต้องการที่จะสร้างและพัฒนาทักษะที่มีความหลากหลายมากยิ่งขึ้น เช่น ทักษะ
การบริหารจัดการทีมในโลกเสมือน การสร้างช่องทางการแลกเปลี่ยนข้อมูลเกี่ยวกับทักษะที่มี
ความสำคญั ระหว่างองค์การและบุคลากร พร้อมท้ังเปดิ โอกาสให้บุคลากรมสี ว่ นร่วมในการตัดสินใจใน
การเลือกทักษะที่มีความจำเปน็ ต่อตนเองมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ผลการสำรวจความพร้อมของภาครฐั
ในการทำงานในช่วงวิกฤติ COVID-19 เพ่ือเตรียมพรอ้ มสู่ New Normal โดยสำนักงานพฒั นาธุรกรรม
ทางอิเล็กทรอนิกส์ (สพธอ.) กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทาง
อิเล็กทรอนิกส์, 2563) ได้เผยให้เห็นภาพรวมของบุคลากรในหน่วยงานภาครัฐว่าเจ้าหน้าที่รัฐนั้นมี
ความพร้อมในการทำงานจากที่บ้านในระดับปานกลาง โดยสายงานที่มีความเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี
เช่น สายงานเทคนิค/เทคโนโลยี สายงานพฒั นาธุรกจิ นวตั กรรม และสายงานวจิ ัย/วิเคราะห์/ประมวล
สถิติ นั้นจะมีความพร้อมในการทำงานจากบ้านมากกว่าสายงานอื่น อย่างไรก็ตาม ยังมีบุคลากร
ภาครัฐราว รอ้ ยละ 19 ทยี่ ังคงมคี วามพรอ้ มเลก็ นอ้ ยหรือไม่พร้อมในการทำงานจากท่บี า้ นสืบเน่ืองจาก
ขอ้ จำกดั บางประการ อาทิ ข้อจำกดั ด้านอุปกรณแ์ ละการเข้าถงึ อินเตอร์เน็ต ดงั นั้นองค์การจึงต้องเพ่ิม
การให้ความสำคัญในการพัฒนาการเข้าถึงเทคโนโลยีให้ทั่วถึง ซึ่งโดยทั่วไปก็สามารถกล่าวได้ว่า

278

สถาบันบัณฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์

บุคลากรที่ทำงานในองค์การมีความได้เปรียบในการเข้าถึงเทคโนโลยีได้สูงอยู่แล้ว ประเด็นที่ต้อง
เพิ่มเติมคือ การยกระดับความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีให้สูงยิ่งขึ้นเพื่อให้บุคลากรมีทักษะและ
ความสามารถในการปรับประยุกต์ใช้เทคโนโลยีให้เกิดประสิทธิภาพและประโยชน์แก่องค์การให้
ได้มากทส่ี ุด นอกจากนีท้ กั ษะดา้ นเทคโนโลยี โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ การใชเ้ ทคโนโลยี การตรวจสอบดูและ
การควบคมุ รวมท้งั การออกแบบและพฒั นาเทคโนโลยี ยังถือเป็น 2 กลมุ่ ทักษะ จาก 15 กลุ่มทักษะท่ี
จำเป็นต่อโลกในปี ค.ศ. 2025 อีกด้วย (World Economic Forum, 2020b) ยิ่งไปกว่านั้น World
Economic Forum (2020b, หน้า 37) ยังชี้ให้เห็นถึงกลุ่มทักษะเฉพาะด้าน (specialized skill)
ที่สะท้อนให้เห็นถึงความจำเป็นในการพัฒนาทักษะที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อให้บุคลากร
สามารถตอบรับต่อความต้องการอันเป็นผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นได้ การพัฒนาการ
เข้าถึงเทคโนโลยีและการยกระดับความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีให้สูงขึ้นจึงกลายเป็นส่วนของการ
พัฒนาที่จำเป็นต้องเพิ่มในระดับพน้ื ฐานของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์การ หรือการพัฒนาใน
ระดับเข้าข่าย (compliance) ดังแสดงในแผนภาพที่ 5.1 เพื่อให้ทักษะด้านดิจิทัลนั้นเป็นส่วนสำคัญ
ในการเพิ่มสมรรถนะด้านเทคนิคและการบริหารจัดการของบุคลากรภายในองค์การ อันจะนำมาซ่ึง
ความยั่งยืนที่เกิดจากความสามารถบรรลุในงานที่ได้รับมอบหมายหรือเป้าประสงค์ที่องค์การได้
กำหนดไว้

จากสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโควิด-19 ทเี่ กิดข้ึน แสดงใหเ้ หน็ ถึงความสำคัญของการมี
ทรัพยากรที่จะใช้เป็นทนุ ขององค์การและประเทศชาติเป็นการเพิ่มความสามารถที่จะตอบโต้กับวิกฤต
ในหลายระดับ ประการแรกคือการช่วยให้สามารถติดตามเฝ้าระวังวิกฤตเพื่อที่จะใช้ในการตัดสินใจ
ประการต่อมาคือการช่วยให้สามารถดูแลผู้ที่ต้องให้ความใส่ใจด้านการแพทย์ ประการที่สามคือ
ความสามารถในการพฒั นาผลิตภัณฑแ์ ละบริการใหมเ่ พื่อทีจ่ ะปรับเข้าสู่สภาพแวดล้อมท่ีเปลี่ยนแปลง
ไป เหลา่ นี้จะสะท้อนให้เห็นความจำเป็นในการลงทนุ ด้านการวิจัยและพัฒนาซึ่งเป็นตัวเทียบเคียงของ
ความสามารถด้านนวัตกรรม หรือเรยี กได้ว่าเป็นสว่ นสนับสนุนให้แก่สมรรถนะด้านนวตั กรรม ทง้ั นี้เมื่อ
พจิ ารณาถงึ นิยามของนวัตกรรม จะเห็นไดว้ ่านวตั กรรมนั้นเปน็ สงิ่ ทน่ี ำมาซ่ึงประโยชนแ์ ละผลลัพธ์ท่ีดีมี
คุณค่าต่อสังคม (Jenjarrussakul, 2017) เมื่อพิจารณาถึงโมเดลการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ดังแสดง
ในแผนภาพที่ 5.1 จะพบว่า สมรรถนะด้านนวัตกรรมนั้น มีความสอดรับกับการพัฒนาในระดับเข้าใจ
(comprehension) เนื่องจากในระดบั นเ้ี ป็นระดบั ของการพัฒนาท่ีมุ่งเนน้ ส่งเสริมให้บุคลากรสามารถ
ที่จะสร้างคุณค่าให้แก่องค์การ ซึ่งถือเป็นสิ่งที่ก่อให้เกิดประโยชน์และมีคุณค่า นอกจากนี้สมรรถนะ

279

โครงการวจิ ยั
การบริหารราชการแผน่ ดนิ บนพนื้ ฐานหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ระยะท่ี ๑)

ด้านนวัตกรรมนี้ยังเกิดจากกระบวนการคิด วิเคราะห์ที่มีฐานจากการใช้องค์ความรู้จากศาสตร์ที่มี
ความหลากหลายมาผสมผสานเข้าดว้ ยกัน (Atkinson & Mayo, 2010, p. 13) ดังนั้นเมอ่ื นำสมรรถนะ
ด้านการคิดในเชิงวิเคราะห์ วิจารณ์ และสร้างสรรค์ มาผนวกเข้ากับสมรรถนะด้านนวัตกรรมแล้ว
จะยิ่งส่งผลให้การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์นั้นสามารถที่จะสร้างบุคลากรที่มีความสามารถสร้างความ
แปลกใหม่ที่มีคุณค่าและสามารถตอบสนองการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นได้ให้แก่องค์การได้อย่าง
ทันท่วงที

สำหรับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในระดับเข้าถึง (inspiration) นั้น จะเห็นได้ว่าสิ่งท่ี
องคก์ ารต่างมุง่ เน้นให้ปรากฏเม่ือเกดิ วิกฤติโรคระบาดโควดิ -19 ข้ึนนน้ั ก็คือประเดน็ ด้านความยืดหยุ่น
(resilience) ขององค์การและบุคลากรภายในองค์การ และความยง่ั ยืน (sustainability) ขององค์การ
อนั เปน็ ผลจากความสามารถในการรับมอื เพื่อปรับตวั ท้ังในเหตุการณ์ทไ่ี ด้คาดการณไ์ ว้และเหตุการณ์ท่ี
อยู่นอกเหนือการคาดการณ์เพ่ือกลับเข้ามาสูก่ ารสรา้ งสมดุลอีกคร้งั หนง่ึ Rutter (2000) ไดใ้ ห้คำนิยาม
ของ ความยืดหยุ่นของบุคคล (resilience) ไว้ว่า เป็นความต้านทานสัมพัทธ์ของประสบการณ์ความ
เสี่ยงด้านจิตวิทยาสังคม ความยืดหยุ่นนี้ ไม่ใช่คุณลักษณะของบุคคลแต่เป็นกระบวนการพลวัตรท่ี
เกิดขึ้นภายใต้สถานการณ์ที่เฉพาะเจาะจง ความยืดหยุ่น (resilience) จะถูกสร้างขึ้นเมื่อปัจจัยด้าน
การป้องกนั (protective factors) เกิดขึน้ จากกระบวนการทแ่ี นน่ อนของแต่ละคน ซึ่ง Rutter ได้แบ่ง
ออกเป็น 3 กระบวนการ ได้แก่ การสร้างภาพส่วนตัว (self-image) เชิงบวก การลดผลกระทบจาก
ปัจจัยเสี่ยง และการตัดขาดวงจรด้านลบเพื่อที่จะเปิดโอกาสให้แก่ตนเอง สมรรถนะความยืดหยุ่นใน
การปรับตัวสู่สมดุลนี้ได้มาจากการสร้างเสริมทักษะจากประสบการณ์การเผชิญกับความเสี่ยง/
เหตุการณ์ด้านลบ เช่น สถานการณ์โรคระบาดโควิด-19 ในครั้งนี้ ในระดับองค์การความยืดหยุ่นจะ
สะท้อนให้เห็นถึงการสร้างแผนกลยุทธ์ขององค์การที่ต้องมีการปรับตัวให้สามารถสร้างผลกำไรที่
พอเหมาะให้แก่ผ้มู สี ว่ นได้ส่วนเสียทุกฝ่าย รวมท้ังสงั คมในภาพรวม Kropp (2021) ไดน้ ำเสนอมุมมอง
แนวโน้ม 9 ประการสำหรับผู้นำด้านการพัฒนามนุษยแ์ ละองค์การโดยอ้างอิงจากพัฒนาและวิจัยจาก
บริษัท Gartner หนึ่งในแนวโน้มนั้นเป็นการสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิต (life experience)
ซึ่งมีความหมายครอบคลุมมากกว่าการสร้างประสบการณ์ที่ดีให้แก่บุคลากร ( employee
experience) เช่น การสร้างสมดุลระหว่าง บ้าน ที่ทำงาน และสถานที่อื่น ๆ ให้แก่บุคลากรภายใน
องค์การเพือ่ สนบั สนุนการทำงานในรปู แบบทเ่ี ปลย่ี นแปลงไปสกู่ ารทำงานระยะไกล อนั เป็นผลจากการ
แพร่ระบาดของโรคโควิด-19 (Gartner, Inc., 2021) ความสมดุลทั้งสามด้านนี้จะช่วยให้บุคลากรเกิด
สมดุล ก่อให้เกิดความสุขและความแข็งแรงทั้งทางกายภาพและจิตใจ อีกทั้งยังส่งเสริมประสิทธิภาพ

280

สถาบันบัณฑติ พัฒนบริหารศาสตร์

และสมรรถนะขององค์การได้อีกด้วย ดังนั้นสมรรถนะความยืดหยุ่นในการปรับตัวสู่สมดุลจึงเป็น
สมรรถนะที่บุคลากรต้องสร้างเสริมและองค์การต้องมุ่งพัฒนาเพื่อประโยชน์สุขต่อบุคลากร องค์การ
และสังคมต่อไป

กัลยาณี เสนาสุ และ บงกช เจนจรัสสกุล (2564) ได้สรุปเป็นภาพให้เห็นถึงโมเดลการพัฒนา
ทรัพยากรมนุษยห์ ลงั สถานการณโ์ รคระบาดโควดิ -19 ท่บี คุ ลากรและองคก์ ารตอ้ งมุ่งม่นั เพื่อให้สามารถ
ขับเคล่อื นองคก์ ารสคู่ วามยั่งยืนได้ในทสี่ ุด
ภาพท่ี 5.6
โมเดลการพัฒนาทรัพยากรมนุษยห์ ลงั สถานการณ์โรคระบาดโควิด – 19

หมายเหตุ. จาก บทความวจิ ยั : การพัฒนาทรพั ยากรมนุษย์สู่ความยั่งยนื : วาดภาพหลงั สถานการณ์โรคระบาด
โดย กัลยาณี เสนาสุ และ บงกช เจนจรสั สกุล, 2564, รายงานสบื เนอื่ งการประชมุ วิชาการระดบั ชาติ สถาบนั
บัณฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์ ประจำปี 2563. สถาบนั บณั ฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร.์

281

โครงการวิจยั
การบรหิ ารราชการแผ่นดนิ บนพ้นื ฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะที่ ๑)

2. การปรับเปลี่ยนในมิติที่ 4 ประโยชน์แก่องค์การและสังคม ทีมผู้วิจัยเสนอแก้ไขปัจจัยใน
ระดับเข้าถึง เพื่อให้สะท้อนถึงการมุ่งผลลัพธ์ข้ันสูงขององค์การเป็นการมุ่งไปท่ีการสร้างผลกระทบตอ่
การพัฒนาสังคมและการส่งเสริมให้ประชาชนได้แสดงถึงความเป็นพลเมืองที่ดีของสังคม (societal
citizenship behavior) ของประชาชน ซึ่งเป็นการสะท้อนให้เห็นการดำเนินงานที่ต้องอาศัย
การร่วมมือกันในการขบั เคลื่อนสงั คมทั้งภาครัฐและประชาชน นั่นคือ ประชาชนต้องเข้ามามีส่วนรว่ ม
ในการขับเคลื่อนกิจกรรมงานต่าง ๆ ร่วมกับภาครัฐและภาคเอกชน ไม่ใช่รอเพียงการช่วยเหลือจาก
ผู้อื่น กัลยาณี เสนาสุ และ บุษยา วีรกุล (2560) ได้สรุปไว้ว่า ในการพัฒนาประเทศทีม่ ุ่งสู่ความยัง่ ยืน
ตามกรอบแนวคิดขององค์การสหประชาชาติที่ประเทศไทยรับมาปฏิบัติ รวมทั้งยังยึดมั่นในหลัก
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นทิศทางในการพัฒนา ไม่สามารถที่จะคาดหวังให้เป็นหน้าที่ของ
ภาครัฐเปน็ ผขู้ ับเคลอ่ื นแต่เพยี งฝ่ายเดียว ทัง้ องคก์ ารสหประชาชาติและผู้สร้างนโยบายพัฒนาชาติไทย
มีความเห็นตรงกันว่าผู้มีส่วนร่วมในการพัฒนาแบบยั่งยืนประกอบด้วยสามภาคส่วนที่สำคัญคือ
ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน แต่ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติของประเทศ
ไทยนั้นจะขาดรายละเอียดในการสื่อสารบทบาทของท้ังสามกลุ่มนี้อย่างชัดเจน กัลยาณี เสนาสุ และ
บุษยา วีรกุล (2560) เสนอให้มีการพัฒนาความร่วมมือจากทั้ง 3 ส่วนหลัก คือ ภาครัฐ ภาคเอกชน
และภาคประชาชน โดยที่แต่ละส่วนต่างก็ต้องมีพันธกิจที่จะต้องขับเคลื่อนไปด้วยกัน ในส่วนของ
ภาครัฐจะต้องเป็นผูก้ ำหนดนโยบายที่มปี ระสิทธผิ ล ในขณะที่ภาคเอกชนก็ต้องเปน็ ผู้ประกอบการที่มี
ความรับผิดชอบ และภาคประชาชนก็ต้องประกอบด้วยประชาชนที่มีคุณภาพ ในงานวิจัยนี้เราได้เน้น
ประเด็นการส่งเสริมให้ประชาชนได้แสดงถึงบทบาทหน้าท่ีความเป็นพลเมืองที่ดีของสังคมเพื่อให้
สามารถรว่ มกนั รับผิดชอบสรา้ งสรรค์สังคมดงี ามในทีส่ ดุ

ภาพที่ 5.7–5.10 แสดงถึงโมเดลความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงใหม่หลังการปรับปรุงดังกล่าว
ข้างต้นแลว้ ดงั นี้

282

สถาบนั บัณฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์

ภาพที่ 5.7
โมเดลความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพยี งทป่ี รบั ปรงุ ใหม่

ภาพท่ี 5.8
โมเดลความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงทป่ี รับปรุงใหม่ ระดับเข้าขา่ ย

283

โครงการวิจัย
การบรหิ ารราชการแผ่นดนิ บนพน้ื ฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะท่ี ๑)

ภาพที่ 5.9
โมเดลความเป็นเศรษฐกจิ พอเพียงทป่ี รับปรงุ ใหม่ ระดับเขา้ ใจ

ภาพที่ 5.10
โมเดลความเป็นเศรษฐกิจพอเพยี งท่ีปรบั ปรุงใหม่ ระดับเข้าถึง

284

สถาบันบณั ฑติ พฒั นบริหารศาสตร์

5.2 แผนทนี่ ำทางการปฏบิ ตั ิราชการบนพน้ื ฐานหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติเป็นเครื่องมือสำคัญในการถ่ายทอดเปา้ หมายและประเดน็
ยุทธศาสตร์ชาติ รวมทั้งช่วยขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ให้บรรลุตามเป้าหมายที่วางไว้ในปีพ.ศ. 2580
โดยแผนแม่บทประกอบด้วยสถานการณ์และแนวโน้มที่เกี่ยวข้อง เป้าหมายและตัวชี้วัดในการ
ดำเนินการ 4 ช่วงเวลา ช่วงละ 5 ปี จำนวน 23 ฉบับ ซึ่งโครงสร้างหลักของแผนแม่บทภายใต้
ยุทธศาสตร์ชาติมี 2 ส่วน ได้แก่ 1) ประเด็นแผนแม่บท (เป้าหมาย ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมายในระดับ
ประเดน็ ) ใช้เพ่อื ตดิ ตามและประเมินผลการดำเนินงานในระดบั ผลลัพธช์ ั้นกลาง 2) แผนย่อยของแผน
แม่บท (เป้าหมาย ตวั ชีว้ ัด ค่าเป้าหมายในระดับย่อย) ใชเ้ พ่อื ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานใน
ระดับผลลัพธ์ขั้นต้น (สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2562) ทั้งนี้สำนักงาน
สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้กำหนดเป้าหมายแผนแม่บทย่อย 140 เป้าหมายจาก
แผนแม่บทท้งั 23 ฉบับ

ในส่วนของแผนแม่บทที่คลา้ ยกับประเด็นการบริหารราชการแผ่นดินบนพื้นฐานหลกั ปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงมากท่ีสุดคือ ประเด็นการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการภาครฐั
ที่เป็นทั้งเป้าหมายและเครื่องมือกลไกในการรองรับการขับเคลื่อนของยุทธศาสตร์ชาติด้านอื่น ๆ
ซึ่งการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐเป็นแผนย่อยของแผนแม่บทภายใต้
ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นที่ 20 การบริการประชาชนและประสิทธิภาพภาครัฐ โดยแผนแม่บทภายใต้
ยทุ ธศาสตรช์ าติ ประเด็น การบริการประชาชนและประสิทธิภาพภาครัฐ ประกอบไปด้วย 5 แผนย่อย
ไดแ้ ก่

1) การพฒั นาบรกิ ารประชาชน เน้นการใหบ้ รกิ ารภาครฐั ที่สามารถอำนวยความสะดวกให้กับ
ประชาชนไดอ้ ย่างรวดเร็ว โปร่งใส ให้เปน็ ภาครฐั ของประชาชน เพื่อประชาชน ซง่ึ จะทำให้เกิดการนำ
เทคโนโลยีดิจิทลั และนวัตกรรมมาประยุกตใ์ ช้ในการให้บริการประชาชน

2) การบริหารจัดการการเงินการคลัง เน้นการบูรณาการเชื่อมโยงภาครัฐ เพื่อให้เกิด
ประโยชน์สูงสุดของการใช้งบประมาณ การจัดการรายได้รายจ่ายอย่างมีประสิทธิภาพ คุ้มค่าและ
ประหยัด ท่จี ะกอ่ ให้เกดิ การพฒั นาประเทศทเ่ี ปน็ ไปในทิศทางเดยี วกันอย่างมจี ดุ มุ่งหมาย

3) การปรับสมดุลภาครัฐ เน้นการให้ภาคส่วนอื่น ๆ อาทิ ภาคประชาชน ภาคเอกชน หรือ
ประชารัฐโมเดล สามารถเข้ามาแบ่งเบาภาระในการแก้ไขและตอบสนองความต้องการของตัวเองใน
พื้นที่ ส่งผลให้ภาครัฐมีขนาดที่เหมาะสม และทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจเพื่อก่อให้เกิด
บรกิ ารสาธารณะเพ่ือประชาชน

285

โครงการวิจยั
การบริหารราชการแผ่นดนิ บนพ้ืนฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ระยะที่ ๑)

4) การพัฒนาระบบบริหารงานภาครัฐ เน้นการพัฒนาระบบฐานข้อมูลภาครัฐและการนำ
เทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้เพื่อประโยชน์ในการบริหารการตัดสินใจและการบริการที่เป็นเลิศ
รวมทั้งการเปิดโอกาสให้เอกชน ประชาชน เข้าถึงข้อมูลข่าวสารภาครัฐ เพื่อเพิ่มโอกาสในการแข่งขนั
และประโยชน์ในการใช้ชวี ติ ให้วิธีการทำงานของหน่วยงานราชการเป็นไปอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ

5) การสร้างและพัฒนาบุคลากรภาครัฐ เน้นการสร้างและพัฒนาบุคลากรภาครัฐให้เป็นคนดี
มีคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสำนึก และเป็นคนเก่ง มีความรู้ความสามารถในการทำงานรับใช้
ประเทศชาติและประชาชน

เมื่อพิจารณาแผนแม่บทย่อยภายใต้ประเด็นการบริการประชาชนและประสิทธิภาพภาครัฐ
แล้ว จะเห็นว่าเราสามารถจัดคู่เทียบของเป้าหมายและตัวช้ีวัดของแม่บทย่อยทั้ง 5 แผนเข้ากับเกณฑ์
การประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงได้เกือบทั้งหมด ยกเว้นเป้าหมายของแผนย่อยแม่บทที่ 3
การปรับสมดุลภาครัฐ ที่มีเป้าหมายให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องมีสมรรถนะและสร้างความ
ทันสมัยในการจัดบริการสาธารณะและกิจกรรมสาธารณะให้กับประชาชน เนื่องจากโมเดลความเป็น
เศรษฐกิจพอเพียงไม่ได้มงุ่ เน้นลงไปในราชการองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ อย่างเฉพาะเจาะจง และจะ
เห็นว่าเป้าหมายและตัวชี้วัดของแผนแม่บทย่อยเป็นเพียงส่วนหนึ่ง ของปัจจัยที่มีในโมเดลความเป็น
เศรษฐกิจพอเพียงเท่าน้ัน ซึ่งส่วนใหญ่แล้วเป้าหมายและตัวชี้วดั ของแผนแม่บทย่อยจะสะท้อนวิธีการ
ในการปฏิบัตริ าชการทีม่ ีบางส่วนเป็นขอบเขตระดับหน่วยงาน และบางส่วนอยู่ในระดบั ชาติ รวมทั้งมี
บางเปา้ หมายสะทอ้ นถงึ ขอบเขตระดับประชาสงั คม

ดงั รายละเอียดการเปรียบเทียบแสดงในตารางท่ี 5.2 และภาพที่ 5.11 ดังนี้

286

สถาบันบณั ฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์

ตารางที่ 5. 2
เปรียบเทยี บโมเดลความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงท่ีปรบั ปรุงใหมก่ บั เปา้ หมายและตัวชี้วัดในแผนย่อย
ภายใตป้ ระเดน็ การบรกิ ารประชาชนและประสิทธภิ าพภาครฐั

โมเดลความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพยี งทีป่ รับปรงุ ใหม่ แผนยอ่ ยของแผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ
ประเด็น การบรกิ ารประชาชนและประสทิ ธภิ าพ

ภาครัฐ

มิติ ปจั จัย ปจั จัย ปัจจยั แผนยอ่ ย เป้าหมาย ตวั ชวี้ ดั
ระดับเข้าขา่ ย ระดบั เข้าใจ ระดับเขา้ ถงึ
มิตทิ ่ี 1 การ 1) การกำหนด 1) การกำหนด (2) แผนยอ่ ย (2-1) หนว่ ยงาน รอ้ ยละของ
กำหนด เปา้ หมายและ เปา้ หมายและ 1) การกำหนด การบริหาร ภาครัฐบรรลผุ ล โครงการทม่ี ี
เปา้ หมายและ นโยบายที่ นโยบายที่ เปา้ หมายและ จดั การการเงนิ สัมฤทธิ์ตาม ผลสัมฤทธต์ิ อ่
นโยบายตาม ตอบสนองพันธ เช่อื มโยงและสอด นโยบายทมี่ ีสว่ น การคลัง เปา้ หมาย เป้าหมาย
พันธกจิ และ กจิ วสิ ัยทัศน์ รับกบั เปา้ ประสงค์ สนบั สนุนหรอื ยทุ ธศาสตร์ชาติ ยทุ ธศาสตรช์ าติ
ประโยชนส์ ขุ และยทุ ธศาสตร์ ของยุทธศาสตร์ ส่งเสริมการ
ขององคก์ าร ชาติ พฒั นาของสังคม
หรือมวล (3) แผนยอ่ ย (3-1) เปดิ โอกาส (3-1) ระดบั
2) ในการกำหนด 2) ในการกำหนด มนุษยชาติ การปรับสมดลุ ใหภ้ าคสว่ นตา่ ง ๆ ความสำเรจ็ การ
เป้าหมายและ เป้าหมายและ ภาครัฐ มีสว่ นรว่ มในการ เปิดให้ภาคสว่ น
นโยบายมกี าร นโยบายมกี าร 2) ในการกำหนด จดั บริการ อ่ืนเข้ามา
ถ่ายทอด สรา้ ง ถ่ายทอด สร้าง เป้าหมายและ สาธารณะและ ดำเนนิ การบรกิ าร
ความเขา้ ใจ และ ความเขา้ ใจ และ นโยบาย มกี าร กิจกรรมสาธารณะ สาธารณะ
พฒั นาการมีสว่ น พฒั นาการมสี ว่ น ถา่ ยทอด สร้าง อย่างเหมาะสม
รว่ มของบุคลากร ร่วมขององค์การ ความเขา้ ใจ และ
อน่ื หรอื เครือขา่ ย พัฒนาการมีสว่ น
ตา่ ง ๆ รว่ มของ
ประชาชนใน
สงั คม

มิตทิ ่ี 2 การ 1) การบรหิ าร 1) การพัฒนาการ 1) นวัตกรรมการ (1) แผนยอ่ ย (1-1) งานบรกิ าร สดั ส่วน
บรหิ ารงาน จดั การอย่างเปน็ บริหารจัดการ บรหิ ารจัดการ การพฒั นา ภาครฐั ท่ี ความสำเร็จของ
อย่างเป็น ระบบชว่ ยใหเ้ กดิ อย่างตอ่ เน่ือง ภายในองคก์ ารที่ บริการ ปรบั เปลีย่ นเป็น กระบวนงานท่ี
ระบบ โปรง่ ใส ประสิทธภิ าพใน สรา้ งสรรค์ เกิด ประชาชน ดิจิทัลเพม่ิ ขน้ึ ไดร้ บั การ
มีธรรมาภิบาล การทำงาน ประโยชนแ์ ก่ ปรับเปลยี่ นให้
เครอื ข่าย และ (4) แผนยอ่ ย (4-1) ภาครฐั มีขดี เป็นดจิ ทิ ลั
ประชาชนใน การพฒั นา สมรรถนะสงู ระดับ Digital
สงั คม ระบบ เทยี บเท่า Government
บรหิ ารงาน มาตรฐานสากล Maturity
ภาครฐั และ Model
มีความคลอ่ งตวั (Gartner)

287

โครงการวิจัย
การบริหารราชการแผ่นดนิ บนพน้ื ฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะท่ี ๑)

ตารางท่ี 5. 2(ตอ่ )

โมเดลความเป็นเศรษฐกจิ พอเพียงทีป่ รบั ปรุงใหม่ แผนยอ่ ยของแผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
ประเดน็ การบริการประชาชนและประสทิ ธภิ าพ

ภาครัฐ

มติ ิ ปัจจัย ปจั จยั ปัจจัย แผนยอ่ ย เป้าหมาย ตวั ช้ีวดั
ระดบั เข้าขา่ ย ระดับเขา้ ใจ ระดับเขา้ ถึง
มิตทิ ี่ 2 การ (3) แผนย่อย (3-1) เปดิ โอกาส (3-1) ระดบั
บริหารงาน 2) การบรหิ ารงาน 2) การบรหิ าร 2) การบริหาร การปรบั สมดุล ใหภ้ าคส่วนตา่ ง ๆ ความสำเรจ็ การ
อย่างเป็น อย่างโปร่งใส มี จดั การโดยให้ จัดการโดยการ ภาครัฐ มีส่วนร่วมในการ เปิดใหภ้ าคส่วน
ระบบ โปรง่ ใส นโยบาย ความสำคญั แก่ สร้างการมสี ่วน จัดบริการ อื่นเขา้ มา
มีธรรมาภบิ าล มาตรการ ระบบ ผ้รู บั บรกิ ารและผู้ ร่วมกับประชาชน/ สาธารณะและ ดำเนนิ การ
(ต่อ) การตรวจสอบ ใน มีส่วนได้ส่วนเสยี มสี ่วนได้ส่วนเสยี ูผ้ กิจกรรม บรกิ ารสาธารณะ
การกำกับดแู ล ไดด้ ว้ ยตนเอง สาธารณะอยา่ ง
และเปิดเผยข้อมลู เหมาะสม

มติ ิที่ 3 1) การพัฒนา 1) การสนบั สนุน 1) บคุ ลากรเปน็ ผู้ 5) แผนยอ่ ย (5-1) บุคลากร สัดสว่ นเจา้ หนา้ ท่ี
บุคลากร มี ส่งเสริมการมี ใหบ้ ุคลากรแสดง ท่มี ีพฤตกิ รรมการ การสร้างและ ภาครฐั ยดึ รัฐทก่ี ระทำผดิ
คุณธรรมและ คณุ ธรรมและ พฤตกิ รรมการ เปน็ พลเมอื งทดี่ ี พัฒนาบคุ ลากร คา่ นิยมในการ กฎหมายลดลง
เก่ง จรยิ ธรรมใหแ้ ก่ เป็นพลเมอื งท่ีดี ของสังคม ภาครัฐ ทำงานเพอื่
บุคลากร ขององคก์ าร (Societal ประชาชน ดชั นีความผูกพนั
(Organization Citizenship ยดึ หลกั ของบคุ ลากร
2) บุคลากรมีการ Citizenship Behavior) มกี าร คณุ ธรรม ภาครัฐ
ฝึกทกั ษะ ความรู้ Behavior) ดำรงชวี ิตอยา่ งมี จริยธรรม
ทีเ่ ก่ียวเนอ่ื งกบั คุณธรรม มจี ิตสำนกึ
การงานทอ่ี ย่ใู น 2) บคุ ลากรได้รบั จริยธรรม และ มีความสามารถ
ความรับผิดชอบ การพัฒนาให้ เปน็ แบบอยา่ งทด่ี ี สูง มุ่งมน่ั และ
รวมทั้งมสี มรรถนะ สามารถคดิ เชิง ให้แกบ่ คุ คลอนื่ ใน เปน็ มอื อาชพี
ด้านเทคโนโลยที ่ี วิเคราะห์ คดิ เชงิ สงั คม
จำเป็นในการ วพิ ากษ์ และคดิ
ทำงาน เชงิ ริเรมิ่ 2) บคุ ลากรเปน็ ผู้
สร้างสรรค์ มคี วามสามารถใน
รวมถงึ สามารถ การปรับตวั ให้
พฒั นานวตั กรรม ตอบสนองต่อ
ได้ ความกดดันต่างๆ
ได้ (Resilience)

288

สถาบันบัณฑติ พัฒนบริหารศาสตร์

ตารางที่ 5. 2(ตอ่ )

โมเดลความเป็นเศรษฐกจิ พอเพียงทปี่ รับปรุงใหม่ แผนยอ่ ยของแผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ
ประเด็น การบรกิ ารประชาชนและประสิทธิภาพ

ภาครฐั

มิติ ปัจจัย ปัจจัย ปัจจยั แผนย่อย เป้าหมาย ตัวชว้ี ดั
ระดบั เข้าข่าย ระดบั เข้าใจ ระดบั เขา้ ถงึ
มิตทิ ี่ 4 1) ผลการ 1) ผลการ 1) ผลการ (2) แผนยอ่ ย (2-1) หน่วยงาน รอ้ ยละของ
ประโยชนแ์ ก่ ดำเนินงานของ ดำเนนิ งานของ ดำเนนิ งานของ การบริหาร ภาครฐั บรรลุผล โครงการทม่ี ี
องค์การและ หนว่ ยงานบรรลุ หนว่ ยงานสง่ หน่วยงานส่ง จัดการ สมั ฤทธ์ติ าม ผลสัมฤทธิต์ ่อ
สังคม ตามพันธกจิ และ ผลกระทบตอ่ ผลกระทบตอ่ การเงินการ เปา้ หมาย เปา้ หมาย
เปา้ ประสงค์ของ ภาคี เครอื ข่าย การพฒั นาสังคม คลัง ยุทธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตร์
องคก์ าร และยุทธศาสตร์ และความเปน็ ชาติ
ชาติ พลเมอื งทด่ี ีของ
2) สงั คม (Societal (4) แผนย่อย (4-1) ภาครัฐมขี ดี สัดส่วนของ
ความสามารถใน 2) ความสามารถ Citizenship การพัฒนา สมรรถนะสูง หน่วยงานที่
การเผชญิ หรอื ในการสร้าง Behavior) ของ ระบบ เทยี บเท่า บรรลุผล
ตอบสนองตอ่ ความสุขและ ประชาชน บรหิ ารงาน มาตรฐานสากล สมั ฤทธิ์อยา่ ง
การ คุณภาพชีวิตท่ดี ี 2) ผลการ ภาครัฐ และ สงู ตาม
เปลีย่ นแปลงได้ ในการทำงาน ดำเนินงานของ มีความคล่องตัว เป้าหมาย
ให้แกบ่ คุ ลากร หนว่ ยงาน
ภายในองคก์ าร สามารถ
ก่อใหเ้ กดิ
ประโยชนส์ ุขแก่
สังคมระดบั โลก
หรือมวล
มนษุ ยชาติ

289

โครงการวจิ ัย
การบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ บนพ้นื ฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะที่ ๑)

ภาพที่ 5.11
เปรยี บเทียบปัจจยั ในโมเดลความเปน็ เศรษฐกิจพอเพยี งกบั เป้าหมายและตัวช้วี ัดในแผนแมบ่ ทย่อย
ประเดน็ ท่ี 20

เมื่อเราวิเคราะห์เปรียบเทียบโมเดลความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงกับแผนย่อย ของแผนแม่บท
ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็น การบริการประชาชนและประสิทธิภาพภาครัฐ แล้วจะพบว่า
เป้าหมายและตัวชี้วัดต่าง ๆ ที่กำหนดในแผนย่อยโดยส่วนใหญ่แล้วจะอยู่ในเกณฑ์ระดับเข้าข่ายของ
โมเดลความเป็นเศรษฐกิจพอเพยี ง นนั่ คือการสะท้อนถงึ วธิ กี ารในการปฏิบตั ิ ส่ิงท่แี ตกตา่ งคือในโมเดล
ความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงได้กำหนดระดับการพัฒนาเป็น 3 ระดับด้วยกัน โดยระดับที่สูงขึ้นจาก
ระดับเข้าข่ายคือ ระดับเข้าใจที่จะสะท้อนวิธีคิดของบุคลากร และระดับที่สูงสุดคือ ระดับเข้าถึงที่จะ
แสดงออกใหเ้ ห็นเปน็ การปฏิบัติที่เป็นปกติในชวี ิตหรือวิถีชีวิต ซ่งึ สามารถขยายความต่อดังท่ีได้สรุปไว้
ในบทที่ 2 จากความหมายของความเป็นเศรษฐกิจพอเพียง ไว้ว่า “ความเป็นเศรษฐกิจพอเพียง
หมายถึง ระดับของการปฏิบัติราชการบนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งมีการแบ่งระดับ
ความเปน็ เศรษฐกิจพอเพยี งเป็ ระดับ ไดแ้ ก่ ระดับเข้าขา่ ย หนว่ ยงานไดส้ ะท้อนให้เห็นวธิ ีการทำงานท่ี
ได้ยึดภูมิคุ้มกันมาเป็นแนวทางในการดำเนินงานตา่ ง ๆ ซึ่งทำให้สามารถสะท้อนการดำเนินการที่เปน็
290

สถาบันบณั ฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์

องค์การแห่งความยั่งยืนต่อไปได้ ส่วนในระดับที่สูงขึ้นไปอีกคือ ระดับเข้าใจ หน่วยงานได้สะท้อนให้
เห็นถงึ วิธคี ิดในการทำงานท่นี อกจากจะได้ยึดภมู ิค้มุ กันมาเปน็ แนวทางในการดำเนนิ งานตา่ ง ๆ แล้วยัง
ได้คำนึงถึงความพอประมาณที่สร้างให้เกิดความสมดุลในทรัพยากรต่าง ๆ ที่จำเป็นต้องใช้ในการ
ทำงาน รวมทั้งทรัพยากรที่สำคัญคือ ทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งในที่สุดแล้วการดำเนินงานก็ยังทำให้เกิด
ความสมดุลในชีวิตของบุคลากร ทำให้องค์การสามารถแสดงสถานะองค์การแห่งความสุขได้ และ
หน่วยงานดังกล่าวต้องผ่านระดับเข้าข่ายมาก่อน และในความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงระดับสูงสุด คือ
ระดับเข้าถึง หน่วยงานได้สะท้อนถึงการดำเนินการในเรื่องต่างๆ ที่มีความมั่นคง ได้ซึมลึกให้เห็นเป็น
วิถีชีวิตหรือการดำเนินชีวิตตามปกติ มีทั้งการยึดแนวคิดการมีภูมิคุ้มกัน การพอประมาณ และการมี
เหตผุ ล เขา้ ใจถึงสาเหตุที่มาและผลทีเ่ กดิ ขน้ึ บคุ ลากรยกระดบั จากการมองชวี ติ ของตนเองทม่ี ีความสุข
ไปสู่การสร้างประโยชน์สุขให้แก่ประเทศชาติ สังคมและมวลมนุษยชาติ ซึ่งสรุปได้เป็นการสะท้อนถึง
สถานะขององค์การแห่งประโยชน์สขุ ซ่งึ จะตอ้ งผ่านการเป็นองคก์ ารแห่งความยั่งยืน และองคก์ ารแห่ง
ความสขุ มาแล” (กลั ยาณี เสนาสุ และบงกช เจนจรสั สกุล, 2562)

ดว้ ยเหตผุ ลดงั กลา่ วทีมผูว้ จิ ัยจึงเหน็ วา่ การกำหนดวตั ถุประสงค์ท่ี 4 ของโครงการวิจัยในคร้ังน้ี
ซึ่งเดิมกำหนดให้ร่างแผนแม่บทการบริหารราชการแผ่นดินบนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงไม่น่าจะได้ประโยชน์มากในการนำไปใช้จริง เนื่องจากได้มีการตราพระราชบัญญัติจัดทำ
ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2560 ออกมา และได้มีการจัดทำแผนแม่บท 23 ประเด็นซึ่งครอบคลุม
ยุทธศาสตร์ ซึ่งกำหนดให้หน่วยงานของรัฐทุกหน่วยงานมีหน้าที่ดำเนินการเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย
ตามที่กำหนดไว้ในยุทธศาสตร์ชาติ ได้แก่ การดำเนินการ การรายงานต่อสำนักงานคณะกรรมการ
พัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาตใิ นฐานะสำนกั งานเลขานุการฯ เป็นต้น

ดังนั้นการร่างแผนแม่บทอื่นเพิ่มเติมขึ้นมาจึงไม่น่าที่จะนำไปกำหนดให้หน่วยงานนำไป
ขับเคลื่อนให้เกิดผลขึ้นได้ ทีมผู้วิจัยจึงขอนำเสนอการจัดทำแผนที่นำทาง (roadmap) ขึ้นมาแทน
เพื่อที่หน่วยงานราชการต่าง ๆ สามารถนำไปปรับประยุกต์ใช้ให้สอดคล้องกับการบริหารราชการ
ภายในหน่วยงานของตนเองเพื่อมุ่งสู่การพัฒนาการปฏิบัติราชการบนพื้น ฐานหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียงทส่ี งู ระดับข้นึ ไป

แผนที่นำทาง (Roadmap) คือ แผนเชิงกลยุทธ์ที่ระบุเป้าหมายหรือผลลัพธ์ที่คาดหวัง
รวมท้ังขั้นตอนหลักหรือหมุดหมายทจ่ี ำเปน็ ต้องดำเนนิ การเพ่ือให้บรรลุเป้าหมาย แผนนำทางสามารถ
ใช้เป็นเครื่องมือในการสื่อสาร เป็นเอกสารมุมมองระดับสูงที่จะช่วยในการสร้างความชัดเจนใน
ก า ร ค ิ ด เ ช ิ ง ก ล ย ุ ท ธ ์ ท ี ่ เ ป ็ น เ บ ื ้ อ ง ห ล ั ง เ ป ้ า ห ม า ย แ ล ะ แ ผ น ท ี ่ จ ะ น ำ ส ู ่ ก า ร บ ร ร ล ุ ใ น จ ุ ด ท ี ่ ต ั ้ ง ไ ว้
(http://www.productplan.com/learn/roadmap-basics/)

ตารางที่ 5.3 แสดงแผนที่นำทางที่หน่วยงานราชการระดับกระทรวง กรม สำนักงาน/

291


Click to View FlipBook Version