The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการวิจัย การบริหารราชการแผ่นดิน บนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะที่1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by SEP Action, 2022-04-18 09:28:41

รายงานผลการทำกิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัย

โครงการวิจัย การบริหารราชการแผ่นดิน บนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะที่1)

Keywords: sepaction,เศรษฐกิจพอเพียง

โครงการวิจัย
การบรหิ ารราชการแผ่นดินบนพ้ืนฐานหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะท่ี ๑)

สังคมระดับโลกหรอื มวลมนุษยชาตดิ งั แสดงออกมาเป็นแผนภาพต่าง ๆ
ภาพท่ี 2.3 แสดงเกณฑ์การประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียง 3 ระดับ โดยระดับแรก

“เข้าข่าย” ที่สะท้อนความเป็นองค์การที่ยั่งยืนอยู่วงรอบนอก ระดับที่สอง “เข้าใจ” อยู่ในวงกลาง
และระดับสูงสุดคือ “เข้าถึง” อยู่วงในสุด ซึ่งในแต่ละวงทีมผู้วิจัยได้แสดงคำสำคัญของแต่ละมิติ
การประเมินที่สะท้อนถึงวิธีการ วิธีคิด และ/หรือวิถีชีวิตของการปฏิบัติราชการที่ปรับประยุกต์และ
นำมาปฏบิ ัติในแต่ละระดับของแนวความคดิ ของปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใช้
ภาพที่ 2.3
เกณฑก์ ารประเมนิ ความเป็นเศรษฐกจิ พอเพยี ง 3 ระดบั

หมายเหตุ. จาก รายงานวิจยั : การบริหารราชการบนพนื้ ฐานปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (น.47) โดย กลั ยาณี
เสนาสุ และ บงกช เจนจรสั สกลุ , 2562, สำนกั งานกองทนุ สนับสนนุ การวิจัย.

18

สถาบนั บณั ฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์

ภาพท่ี 2.4
ผลการประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพยี งระดับเขา้ ข่าย

หมายเหต.ุ จาก รายงานวจิ ยั : การบรหิ ารราชการบนพน้ื ฐานปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (น.48) โดย กัลยาณี
เสนาสุ และ บงกช เจนจรสั สกลุ , 2562, สำนักงานกองทุนสนบั สนุนการวจิ ยั .

ภาพท่ี 2.4 แสดงผลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงระดับเข้าข่าย ซึ่งสะท้อนถึง
สถานะขององค์การแห่งความยั่งยืนที่มีการบริหารจัดการโดยให้บุคลากรในองค์การมีส่วนร่วม
ในการวางแผนงาน มีการบริหารงานอย่างเป็นระบบ โปร่งใส มีการอบรมพัฒนาบุคลากรให้มี
สมรรถนะในการปฏิบัติงานและมีการปลูกฝังจริยธรรมคุณธรรมให้แก่บุคลากร รวมทั้งเป็นองค์การท่ี
ดำเนนิ การอย่างไมป่ ระมาท สร้างภูมคิ มุ้ กันตนเองและสามารถรับมือกับการเปล่ยี นแปลงได้

19

โครงการวจิ ยั
การบริหารราชการแผ่นดนิ บนพ้ืนฐานหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะที่ ๑)

ภาพที่ 2.5
ผลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงระดับเข้าใจ

หมายเหตุ. จาก รายงานวจิ ัย: การบริหารราชการบนพ้นื ฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (น.49) โดย กัลยาณี
เสนาสุ และ บงกช เจนจรสั สกลุ , 2562, สำนักงานกองทนุ สนับสนนุ การวจิ ยั .

ภาพที่ 2.5 แสดงผลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงระดับเข้าใจ ซึ่งสะท้อน
ถึงสถานะขององค์การแห่งความสุขที่มีการบรหิ ารจดั การโดยให้บุคลากรในองค์การและเครือข่ายนอก
องค์การเข้ามามีส่วนร่วมในการวางแผนงาน มีการบริหารงานอย่างเป็นระบบ โปร่งใสและ
ให้ความสำคัญแก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง มีการอบรมพัฒนาบุคลากรให้มีสมรรถนะในการปฏิบัติงานและ
มีการปลูกฝังจริยธรรมคุณธรรมให้แก่บุคลากร รวมทั้งแสดงให้เห็นผลของการฝึกอบรมว่าบุคลากร
มีสมรรถนะของความริเริ่มสร้างสรรค์ซึง่ เป็นสมรรถนะที่สำคัญของศตวรรษท่ี 21 และสะท้อนให้เห็น
ผลของการปลูกฝังด้านจริยธรรมคุณธรรมว่ามีบุคลากรที่มีจริยธรรมและคุณธรรมในการปฏิบัติงาน
และในมิติของประโยชน์สุขแก่สังคมและประชาชนได้สะท้อนให้เห็นถึงการเป็นองค์การที่ดำเนินการ
อย่างมีภูมิคุ้มกันตนเองที่สามารถรับมือกับการเปลี่ยนแปลงได้ และที่สำคัญเป็นองค์การที่มีความ
สมดุลทง้ั การดำเนินงานและคุณภาพชีวติ ของบุคลากรท่ีทำให้บุคลากรมีความสขุ ในการทำงาน
20

สถาบนั บณั ฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์

ภาพที่ 2.6
ผลการประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพยี งระดบั เข้าถึง

หมายเหต.ุ จาก รายงานวิจยั : การบริหารราชการบนพน้ื ฐานปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (น.50) โดย กลั ยาณี
เสนาสุ และ บงกช เจนจรสั สกลุ , 2562, สำนักงานกองทนุ สนับสนนุ การวิจัย.

ภาพท่ี 2.6 แสดงผลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงระดับเข้าถึง ซึ่งสะท้อนถึง
สถานะขององค์การแห่งประโยชน์สุขที่นอกจากคนในองค์การจะมีความสุขแล้วยังสามารถที่จะ
ดำเนินงานเพื่อเผื่อแผ่ความสุขให้แก่ผู้อื่นในสังคมและประเทศชาติโดยรวมได้ด้วย โดยใน
การปฏิบัติงานได้สะท้อนใหเ้ ห็นถึงการบริหารจัดการทีน่ อกจากจะให้บุคลากรในองค์การและเครือข่าย
นอกองค์การ เข้ามามีส่วนร่วมในการวางแผนงานแลว้ ยังเปิดโอกาสให้ประชาชนเขา้ มามีส่วนรว่ มด้วย
มีการบริหารงานอย่างเป็นระบบ โปร่งใส ให้ความสำคัญแก่ผู้ที่เกี่ยวข้องและสร้างประโยชนแ์ ก่สังคม
มีการอบรมพัฒนาบุคลากรให้มสี มรรถนะในการปฏิบตั ิงานและมีการปลูกฝงั จริยธรรมคุณธรรมให้แก่
บุคลากร รวมทั้งแสดงให้เห็นผลของการฝึกอบรมว่าบุคลากรมีสมรรถนะของความริเริ่มสร้างสรรค์
ซึ่งเป็นสมรรถนะที่สำคัญของศตวรรษท่ี 21 และสะท้อนให้เห็นผลของการปลูกฝังด้านจริยธรรม

21

โครงการวิจยั
การบริหารราชการแผ่นดินบนพ้ืนฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ระยะท่ี ๑)

คุณธรรมว่ามีบุคลากรที่มีจริยธรรมและคุณธรรมในการปฏิบัติงาน และดำรงตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่
สังคม และในมิติของประโยชน์สุขแก่สังคมและประชาชนได้สะท้อนให้เห็นถึงการเป็นองค์การที่
ดำเนินการอย่างมีภูมิคมุ้ กันตนเองทส่ี ามารถรบั มือกับการเปลีย่ นแปลงได้ เป็นองค์การท่ีมีความสมดุล
ทั้งการดำเนินงานและคุณภาพชีวิตของบุคลากรที่ทำให้บุคลากรมีความสุขในการทำงาน
รวมท้ังองคก์ ารสามารถสรา้ งประโยชนส์ ขุ ให้แก่ประชาชนในประเทศและหรือสังคมในโลกได้

2.3 การบริหารจัดการภาครฐั ตามแนวทาง PMQA 4.0

การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector Management Quality
Award: PMQA) เป็นกรอบการบริหารจัดการองค์การที่สำนักงาน ก.พ.ร. ได้ส่งเสริมและสนับสนุนให้
ส่วนราชการนำไปใช้ในการประเมินองค์การด้วยตนเองที่ครอบคลุมภาพรวมในทุกมิติ เพื่อยกระดับ
คุณภาพการบริหารจัดการใหเ้ ทียบเท่ามาตรฐานสากล ซึ่ง PMQA เป็นเกณฑ์ที่ประยุกตม์ าจากเกณฑ์
รางวัลคุณภาพแห่งชาติของประเทศสหรัฐอเมริกา หรือ The Malcolm Baldrige Nation Quality
Award (MBNQA) และได้กลายเป็นต้นแบบรางวัลคุณภาพแห่งชาติให้กับประเทศต่าง ๆ รวมท้ัง
ประเทศไทยโดยสำนักงาน ก.พ.ร. ได้ใช้เกณฑ์ PMQA มุ่งเน้นให้หน่วยงานราชการปรับปรุงองค์การ
อย่างรอบด้านและอยา่ งต่อเนื่องครอบคลุมทั้ง 7 ดา้ น (หมวด) ไดแ้ ก่ (สำนกั งานคณะกรรมการพัฒนา
ระบบราชการ, 2559)

(1) การนำองค์การ เป็นการประเมินการดำเนินการของผู้บริหารในเรื่องวิสัยทัศน์
เป้าประสงค์ ค่านิยม ความคาดหวังในผลการดำเนินการ การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและ
ผู้มสี ่วนไดส้ ว่ นเสีย การกระจายอำนาจการตัดสินใจ การสรา้ งนวัตกรรมและการเรียนรู้ในส่วนราชการ
การกำกบั ดแู ลตนเองท่ีดี และดำเนินการเก่ยี วกับความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คมและชุมชน

(2) การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ เป็นการประเมินวิธีการกำหนดและ ถ่ายทอดประเด็น
ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ กลยุทธ์หลัก และแผนปฏิบัติราชการ เพื่อนำไปปฏิบัติและ
วดั ผลความกา้ วหนา้ ของการดำเนนิ การ

(3) การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เป็นการประเมินการกำหนด
ความต้องการ ความคาดหวัง และความนิยมชมชอบ การสร้างความสัมพันธ์ และการกำหนดปัจจัย
สำคญั ทที่ ำใหผ้ ูร้ ับบริการและผู้มีส่วนไดส้ ่วนเสียมีความพึงพอใจ

(4) การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ เป็นการประเมินการเลือก รวบรวม
วิเคราะห์ จัดการ และปรับปรุงข้อมูลและสารสนเทศ และการจัดการความรู้ เพื่อให้เกิดประโยชน์ใน
การปรบั ปรงุ ผลการดำเนนิ การขององค์การ

22

สถาบนั บัณฑติ พัฒนบริหารศาสตร์

(5) การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล เป็นการประเมินระบบงาน ระบบการเรียนรู้ การสร้างความ
ผาสุกและแรงจูงใจของบุคลากร เพื่อให้บุคลากรพัฒนาตนเองและใช้ศกั ยภาพอย่างเต็มที่ตามทิศทาง
องค์การ

(6) การจัดการกระบวนการ เป็นการประเมินการจัดการกระบวนการ การให้บริการ และ
กระบวนการอื่นที่ช่วยสร้างคุณค่าแก่ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และกระบวนการสนับสนุน
เพือ่ ใหบ้ รรลพุ ันธกิจขององคก์ าร

(7) ผลลัพธก์ ารดำเนินการ เป็นการประเมนิ ผลการดำเนินการและแนวโนม้ ของสว่ นราชการ
ในมิติด้านประสิทธิผล มิติด้านคุณภาพการให้บริการ มิติด้านประสิทธิภาพ และมิติด้านการพัฒนา
องค์การ
ภาพที่ 2.7
กรอบแนวคดิ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจดั การภาครัฐ

หมายเหตุ. จาก การพฒั นาคณุ ภาพการบรหิ ารจดั การภาครัฐ, โดย สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ,
2559 (https://www.opdc.go.th/content/Nzc)

23

โครงการวิจัย
การบรหิ ารราชการแผน่ ดินบนพ้นื ฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะท่ี ๑)

สำนักงาน ก.พ.ร. ได้ใช้ PMQA เป็นเครื่องมือการพัฒนาองค์การตามยุทธศาสตร์หลัก
ในการยกระดับคุณภาพระบบราชการไทยให้มีศักยภาพและขีดความสามารถเทียบเท่าระดับสากล
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2551–2558 หลังจากนั้นได้ปรับประยุกต์เกณฑ์ PMQA ให้เป็น PMQA 4.0
เพื่อขับเคลื่อนสู่ระบบราชการ 4.0 ตามยุทธศาสตร์ชาติและแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับท่ี 12 (ธนาวิชญ์ จินดาประดิษฐ์, 2564)
ภาพท่ี 2.8
การขับเคลื่อนสรู่ ะบบราชการ 4.0 โดยใช้ PMQA 4.0

หมายเหตุ. จาก การพฒั นาคณุ ภาพการบรหิ ารจดั การภาครฐั PMQA 4.0 [PowerPoint slides], โดย ธนาวชิ ญ์
จินดาประดษิ ฐ์, 2564, สำนกั งานคณะกรรมการพฒั นาระบบราชการ
(https://www.opdc.go.th/file/reader/VUhpfHw0MTQ5fHxmaWxlX3VwbG9hZA)

24

สถาบนั บัณฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์

ซง่ึ ความแตกต่างระหว่าง PMQA และ PMQA 4.0 เป็นดงั นี้ (ตารางท่ี 2.1)

ตารางท่ี 2.1
ความแตกต่างระหวา่ ง PMQA และ PMQA 4.0

เกณฑ์ PMQA (2558) เกณฑ์ PMQA 4.0

ยดึ บรบิ ทของหนว่ ยงานเป็นตวั ตั้งต้นการประเมนิ ยึดเปา้ หมายการพฒั นาไปสู่ราชการ 4.0

อธิบายความท้าทายขององคก์ ารและต้งั เป้ายทุ ธศาสตร์ เข้าใจความท้ายทั้งของส่วนราชการและการพัฒนา

ประเทศเพอื่ ตั้งเปา้ ยุทธศาสตรท์ ท่ี ้าทาย

ยดึ คา่ นิยมของเกณฑแ์ ละองค์การในการปรับปรุง ยึดปัจจัยความสำเร็จ ประการของ 3Gov 4.0 เป็นตัว

ขบั เคลื่อน

ประเมินเพ่ือตอบสนองผลลัพธ์ขององคก์ าร ประเมินเพื่อตอบสนองพันธกิจตามหน้าที่ส่วนราชการ

และการเชื่อมโยงสู่ยุทธศาสตร์และผลลัพธ์ด้าน

การพัฒนาของประเทศ

หมายเหตุ. จาก การพัฒนาคณุ ภาพการบริหารจดั การภาครัฐ PMQA 4.0 [PowerPoint slides]. โดย ธนาวชิ ญ์
จนิ ดาประดิษฐ์, 2564, สำนกั งานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
(https://www.opdc.go.th/file/reader/VUhpfHw0MTQ5fHxmaWxlX3VwbG9hZA)

หากทำการวิเคราะห์เปรียบเทียบเกณฑ์การประเมิน PMQA 4.0 กับเกณฑ์การประเมิน
ความเปน็ เศรษฐกิจพอเพยี ง (SEP) จะไดผ้ ลดงั ตารางที่ 2.2

25

26 โครงการวิจัย
การบรหิ ารราชการแผน่ ดินบนพืน้ ฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ระยะท่ี ๑)

ตารางที่ 2.2
การวิเคราะหเ์ ปรียบเทียบเกณฑก์ ารประเมนิ PMQA 4.0 กับเกณฑ์การประเมนิ ความเ

เกณฑ์การประเมิน PMQA 4.0

(สำนกั งานคณะกรรมการพฒั นาระบบราชการ, 2562)

หมวด Basic Advance Significance
(A&D) (Alignment) (Integration)

หมวด 1 การนำองคก์ าร สรา้ งนวตั กรรม/วัฒนธรรมท่มี งุ่
ประโยชนส์ ุขประชาชน
1.1 ระบบการนำ วิสยั ทัศน/์ ยทุ ธศาสตร์ วิสยั ทัศน/์ ยทุ ธศาสตร์
องค์การ ตอบสนองพนั ธกิจ สอดรับกับยทุ ธศาสตร์
ท่ีสรา้ งความยงั่ ยนื ประเทศ

1.2 ปอ้ งกนั ทุจริตและ นโยบายการป้องกนั ทุจรติ และ การติดตาม ปรับปรุง และ ผลการประเมนิ ในระดบั ดี
สร้างความโปรง่ ใส ระบบกำกบั ดแู ลท่มี ี รายงานผลต่อสาธารณะและ โดยหน่วยงานภายนอก
ประสทิ ธภิ าพ หนว่ ยงานบังคับบญั ชา เปน็ แบบอย่างท่ดี ีและการสร้าง
ตน้ แบบดา้ นความโปรง่ ใส

1.3 การม่งุ เนน้ ผล สร้างสภาพแวดลอ้ มที่มุ่งเน้น การตั้งเป้าหมายทา้ ทายและ สร้างนวตั กรรมเชิงนโยบายที่มี
สมั ฤทธิ์ผา่ นการสร้าง ผลสมั ฤทธิผ์ า่ นการมสี ว่ นร่วม การสง่ เสริมใหเ้ กิด ผลกระทบสงู ที่สามารถแก้ปัญหาท่ี
การมีส่วนรว่ มจาก ของบุคลากรภายในและ นวัตกรรมของกระบวนการ ซบั ซอ้ น
เครอื ขา่ ยทั้งภายในและ การสร้างเครือข่ายภายนอก และการบรกิ าร
ภายนอก ติดตามผลดำเนินการและ
1.4 คำนึงถงึ ผลกระทบ ตดิ ตามตัวช้วี ัดและผลการ การใช้กลไกการสอ่ื สารและ ผลกระทบระยะส้นั และ
ต่อสงั คมและการม่งุ เนน้ ดำเนนิ งานอย่างต่อเน่ือง เทคโนโลยีดจิ ิทลั เพอื่ นำไปสู่ ระยะยาวท่ีมีต่อเศรษฐกิจ
ให้เกดิ ผลลัพธ์ การแก้ไขปัญหาอยา่ งทนั กาล สังคม สาธารณสขุ และ สง่ิ แวดลอ้ ม

เปน็ เศรษฐกิจพอเพยี ง (SEP)

เกณฑ์การประเมนิ ความเป็นเศรษฐกิจพอเพยี ง (SEP)

(กัลยาณี เสนาสุ และ บงกช เจนจรัสสกุล, 2562)

มิติ เข้าข่าย เขา้ ใจ เขา้ ถงึ
(Inspiration)
(Compliance) (Comprehension)
1) การปฏิบตั ริ าชการมี
มิตทิ ี่ 1 1) การปฏิบัตริ าชการมกี าร 1) การปฏบิ ตั ิราชการมกี าร การกำหนดนโยบายและ
นโยบาย การ วางแผนทต่ี อบสนองพนั ธกิจ กำหนดยทุ ธศาสตร์สอดรับ แผนยุทธศาสตร์ทม่ี สี ว่ น
วางแผน และ วสิ ยั ทศั น์ และยุทธศาสตร์ เป้าประสงคข์ องยุทธศาสตร์ สนับสนุนหรอื สง่ เสริม
การจัดทำแผน ขององคก์ าร (กรมและ ประเทศ การพฒั นาของสงั คมหรือ
แบบมีส่วนรว่ ม กระทรวง) มวลมนุษยชาติ
2) ในการวางแผน
2) ในการวางแผน 2) ในการวางแผนยทุ ธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์ มีการถ่ายทอด
ยทุ ธศาสตร์ มีการถ่ายทอด มกี ารถ่ายทอด สร้างความเขา้ ใจ สร้างความเข้าใจ และ
สรา้ งความเข้าใจ และ และพัฒนาการมีส่วนร่วมของ พัฒนาการมสี ่วนร่วมของ
พฒั นาการมีสว่ นรว่ มของ องค์การอน่ื หรอื เครือขา่ ยต่าง ๆ ประชาชนในสงั คม
บุคลากร



ตารางที่ 2.2 (ต่อ)

เกณฑ์การประเมิน PMQA 4.0

(สำนกั งานคณะกรรมการพฒั นาระบบราชการ, 2562)

หมวด Basic Advance Significance
(A&D) (Alignment) (Integration)

หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ แผนยุทธศาสตร์เพ่มิ ขีด
ความสามารถในการแข่งขนั
แผนยุทธศาสตรท์ ่ี 2.1 กระบวนการวางแผน แผนยุทธศาสตร์ตอบสนอง สรา้ งโอกาส และสง่ เสรมิ
ตอบสนองความท้าทาย ยุทธศาสตร์ที่เปน็ ระบบ ความท้าทายของส่วนราชการ การพฒั นาประเทศ
และสร้างนวัตกรรมเพื่อ ตอบสนองความตอ้ งการ มกี ารคาดการณ์
การเปลี่ยนแปลง ของประชาชนและบรรลุ กาเปลยี่ นแปลง วิเคราะห์ผลกระทบตอ่
พนั ธกิจองค์การ ท่กี ำลังจะเกิดในอนาคต เศรษฐกจิ สังคม สาธารณสขุ
2.2 เป้าหมาย กำหนดเปา้ ประสงคแ์ ละ วเิ คราะหผ์ ลกระทบของ สง่ิ แวดล้อม ทงั้ ทางตรงและ
ยทุ ธศาสตร์ ตวั ชวี้ ัดที่ตอบสนองพันธกิจ เป้าประสงคแ์ ละตวั ชว้ี ดั ทงั้ ทางออ้ ม
ทั้งระยะสั้นและระยะ ในระยะสน้ั ระยะยาวและ ระยะสน้ั และระยะยาว
ยาวสอดคลอ้ งพนั ธกจิ สรา้ งการเปลี่ยนแปลง ตอ่ ยุทธศาสตร์ประเทศ บรู ณาการกับแผนงาน
และยทุ ธศาสตรช์ าติ ดา้ นบคุ ลากร การใช้ทรพั ยากรการใ
2.3 แผนงานขบั เคลือ่ น แผนครอบคลุมทกุ ส่วน ชดั เจน แผนเน้นประสิทธิภาพ ขอ้ มูลรว่ มกัน
ลงไปทุกภาคสว่ น มกี ารสือ่ สารสู่การปฏิบัติ ทำนอ้ ยไดม้ ากและสร้าง ปรับแผนตอบสนองไดท้ นั เวลา
คุณค่าแกป่ ระชาชน เชงิ รุก มปี ระสิทธผิ ล
2.4 การติดตามผล การ การติดตามรายงานผลและ การคาดการณ์ การแก้ปัญหา
มีประสทิ ธผิ ลแกไ้ ข การบรรลเุ ป้าหมาย และการปรับแผนให้ทัน
ปัญหาและการรายงาน เชิงยทุ ธศาสตร์ ตอ่ การเปลยี่ นแปลง
ผล

27

สถาบนั บัณฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์

เกณฑก์ ารประเมินความเป็นเศรษฐกจิ พอเพียง (SEP)

(กลั ยาณี เสนาสุ และ บงกช เจนจรัสสกลุ , 2562)

มิติ เขา้ ข่าย เขา้ ใจ เขา้ ถงึ
(Inspiration)
(Compliance) (Comprehension)

ใช้

28 โครงการวิจยั
การบรหิ ารราชการแผ่นดนิ บนพ้ืนฐานหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ระยะท่ี ๑)

ตารางท่ี 2.2 (ตอ่ )

เกณฑก์ ารประเมนิ PMQA 4.0

(สำนกั งานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ, 2562)

หมวด Basic Advance Significance
(A&D) (Alignment) (Integration)

หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รบั บรกิ ารและผู้มสี ว่ นได้สว่ นเสีย ใชข้ ้อมลู ทั้งภายในและภายนอกเพือ่
วางนโยบายเชงิ รุกทงั้ ปัจจุบันและ
3.1 ระบบขอ้ มูลและ ใชข้ ้อมลู เพ่อื ตอบสนอง วเิ คราะหเ์ พ่ือคน้ หาความ อนาคต
สารสนเทศทีท่ ันสมัยเพื่อ ความตอ้ งการทีแ่ ตกตา่ ง ตอ้ งการและความคาดหวังใหม่
การบริการและการ บรู ณาการกบั ฐานขอ้ มลู แหลง่ อนื่ เพ
เขา้ ถึง การประเมินความพึงพอใจ วิเคราะห์ผลเพอื่ ตอบสนอง การวางแผนและการสรา้ งนวัตกรรม
3.2 การประเมนิ ความ และความผกู พนั ของกลุม่ ความต้องการ และแก้ปัญหา ในการใหบ้ ริการ
พงึ พอใจและความผูกพนั ผูร้ บั บรกิ ารและผมู้ สี ว่ นได้สว่ น เชงิ รกุ
เสียหลกั สร้างนวัตกรรมท่สี ามารถออกแบบ
การสร้างนวัตกรรม 3.3 การปรับปรงุ บรกิ ารที่ ปรบั ปรงุ กระบวนการและ การให้บรกิ ารเฉพาะบุคคล
การบริการและ ตอบสนองความต้องการและ สร้างนวตั กรรมที่ตอบสนอง
ตอบสนอง ความคาดหวงั ของกลุ่ม ความต้องการในภาพรวมและ ใช้เทคโนโลยีเพอื่ ตอบสนอง
ความตอ้ งการเฉพาะ ผู้รับบริการและผมู้ สี ว่ นได้สว่ น เฉพาะกลุ่ม และสร้างความพงึ่ พอใจ
กล่มุ เสยี หลัก
3.4 กระบวนการแกไ้ ข กระบวนการรับข้อร้องเรยี น กระบวนการจดั การขอ้
ข้อรอ้ งเรยี นท่รี วดเรว็ อย่างเปน็ ระบบ และมี ร้องเรียนเป็นระบบ ตอบสนอง
และสรา้ งสรรค์ มาตรฐาน รวดเรว็ ทันการณ์

เกณฑก์ ารประเมนิ ความเป็นเศรษฐกจิ พอเพยี ง (SEP)

(กัลยาณี เสนาสุ และ บงกช เจนจรัสสกลุ , 2562)

มิติ เข้าขา่ ย เข้าใจ เข้าถงึ
(Inspiration)
(Compliance) (Comprehension)



พื่อ


ตารางท่ี 2.2 (ต่อ)

เกณฑ์การประเมิน PMQA 4.0

(สำนกั งานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ, 2562)

หมวด Basic Advance Significance
(A&D) (Alignment) (Integration)

หมวด 4 การวัด การวเิ คราะห์ และการจัดการความรู้ การจัดให้มขี อ้ มูลและสารสนเทศทีม่
ประโยชน์โดยไมต่ อ้ งร้องขอ
4.1 การกำหนด ตัววัด การวางแผนและรวบรวม การวางแผนและรวบรวม
เพ่อื การติดตามงาน ขอ้ มลู และตัววัดทุกระดบั ขอ้ มลู และตัววัดทกุ ระดบั เชอ่ื มโยงผลในทกุ ระดับเพ่อื
อยา่ งมีประสิทธผิ ล โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ โดยใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ คาดการณ์ผลลัพธ์ที่อาจเกดิ ขึน้
4.2 การวิเคราะหผ์ ลจาก การวเิ คราะหผ์ ลจากข้อมูลและ เพือ่ ค้นหาสาเหตุของปญั หา
ขอ้ มลู และตัววัดในทุก ตวั วัด เพ่อื แก้ปญั หา และแก้ไขในเชงิ นโยบายและ นำองค์ความร้ไู ปใชป้ รับปรงุ
ระดบั เพื่อการแก้ปญั หา ในกระบวนการทส่ี ำคัญ การปรบั ยทุ ธศาสตร์ จนเกดิ กระบวนการทเ่ี ปน็ เลศิ บรรล
การรวบรวมองคค์ วามรู้ วิเคราะห์เช่ือมโยงกับขอ้ มลู
4.3 การใชค้ วามรู้และ อยา่ งเป็นระบบเพือ่ ใชใ้ นการ และองคค์ วามรู้จากภายนอก ใช้ดจิ ทิ ัลเพอ่ื เพิ่มประสิทธิภาพ
องค์ความรู้ของส่วน เรยี นรู้ พัฒนา และต่อยอด กระบวนการลดต้นทนุ และรวบรวม
ราชการ ในการ มรี ะบบความม่ันคงทาง ขอ้ มลู ได้อย่างมปี ระสทิ ธผิ ล
แก้ปญั หาเรียนรู้และมี วางแผนปรบั รูปแบบ ไซเบอร์ และกาเตรยี มพรอ้ ม
เหตผุ ล การทำงานและการรวบรวม ในภาวะฉกุ เฉนิ
ข้อมลู เป็นระบบดจิ ิทัลอยา่ งมี
4.4 การบริหารจัดการ ประสิทธิภาพ
ขอ้ มูล สารสนเทศ และ
การปรับระบบการ
ทำงานเปน็ ดิจทิ ลั เตม็
รูปแบบ

29

สถาบันบณั ฑติ พัฒนบริหารศาสตร์

เกณฑ์การประเมินความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพียง (SEP)

(กัลยาณี เสนาสุ และ บงกช เจนจรัสสกลุ , 2562)

มติ ิ เขา้ ขา่ ย เข้าใจ เข้าถึง
(Inspiration)
(Compliance) (Comprehension)

มี

ลุ


30 โครงการวิจัย
การบริหารราชการแผ่นดินบนพ้ืนฐานหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะท่ี ๑)

ตารางที่ 2.2 (ตอ่ )

เกณฑก์ ารประเมิน PMQA 4.0

(สำนกั งานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ, 2562)

หมวด Basic Advance Significance
(A&D) (Alignment) (Integration)

หมวด 5 การมุ่งเน้นบคุ ลากร นโยบายการจัดการบุคลากร
สนับสนุนการทำงานให้
5.1 ระบบการจัดการ การวางแผนกำลงั คน ระบบการประเมนิ ผลงาน และ มคี ล่องตวั รองรับการ
บคุ ลากรตอบสนอง ให้ตรงกับความต้องการและ ความกา้ วหน้า สร้างแรงจูงใจ เปลี่ยนแปลง
ยุทธศาสตรแ์ ละสรา้ ง เพื่อประโยชน์สูงสดุ ของ แก่บุคลากร และบรรลุ เปน็ ทีมท่มี ีสมรรถนะสงู
แรงจูงใจ ระบบงานของราชการ ยทุ ธศาสตร์ คล่องตัว ทำงานร่วมกบั
5.2 ระบบการทำงานท่ีมี สภาพแวดล้อมการทำงาน สภาพแวดลอ้ มทีส่ ร้างแรงจูงใจ เครอื ข่ายภายนอก
ประสิทธภิ าพ คลอ่ งตวั ปลอดภัย คลอ่ งตัว สนับสนนุ ให้บุคลากรมคี วามรบั ผดิ ชอบ แกป้ ัญหาท่ีซับซอ้ น
และมงุ่ เน้นผลสัมฤทธิ์ การทำงาน สร้างความรว่ มมอื กลา้ ตดั สนิ ใจ เข้าถึงข้อมูลเพ่อื
ใชท้ ำงาน

5.3 การสรา้ งวัฒนธรรม สรา้ งวัฒนธรรมทเ่ี ปน็ มืออาชีพ คน้ หาปัจจยั ทสี่ รา้ ง มีประสิทธิภาพสงู สร้างความภมู ใิ จ
การทำงานที่ดี และ เปดิ โอกาสให้คิดริเรมิ่ และ ความผูกพัน ทุ่มเท และความเป็นเจา้ ของใหแ้ กบ่ คุ ลากร
ความ รว่ มมอื สรา้ งสรรคส์ กู่ ารสร้าง มีผลการดำเนินงานทด่ี ี
นวตั กรรม พฒั นาบุคลากรและผ้นู ำให้มคี วาม
ระบบการพฒั นา 5.4 พฒั นาคณุ ธรรม จริยธรรม เพ่มิ พูน สง่ั สมทักษะ ความรู้ รอบรู้ สามารถตัดสินใจ พรอ้ มรบั
บุคลากร ทักษะ ความรู้ ในการทำงาน ความเชย่ี วชาญท่ีสำคญั ต่อ ปญั หาท่ซี บั ซอ้ น
และด้านดิจิทัล สมรรถนะหลักขององค์การ

เกณฑ์การประเมินความเป็นเศรษฐกจิ พอเพยี ง (SEP)

(กลั ยาณี เสนาสุ และ บงกช เจนจรัสสกลุ , 2562)

มิติ เขา้ ข่าย เขา้ ใจ เข้าถึง
(Inspiration)
(Compliance) (Comprehension)
1) บุคลากรเป็นผมู้ ี
มติ ทิ ่ี 3 1) การฝกึ ทักษะ ความรทู้ ี่ 1) การพัฒนาบคุ ลากรให้ ความสามารถในการคดิ เชิง
บุคลากร เก่ง เก่ียวเนอื่ งกบั การงานท่อี ยู่ สามารถคดิ เชิงวิเคราะห์ คิดเชิง รเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์ รวมถึง
และมคี ณุ ธรรม ในความรบั ผิดชอบ วิพากษ์ และคิดเชงิ ริเรมิ่ สามารถพัฒนานวัตกรรมได้
สรา้ งสรรค์

2) การพฒั นาส่งเสริมการมี 2) การสนบั สนนุ ให้บคุ ลากร 2) บคุ ลากรเปน็ ผ้ทู ม่ี กี าร

คณุ ธรรมและจรยิ ธรรม สามารถดำรงชวี ิตได้อย่างมี ดำรงชวี ิตอย่างมีคณุ ธรรม

ใหแ้ ก่บคุ ลากร คุณธรรม จรยิ ธรรม ท้ังในชีวติ จริยธรรม และเปน็

การทำงานและชวี ติ ส่วนตัว แบบอย่างท่ีดใี ห้แกบ่ คุ คล

อน่ื ในสงั คมระดบั ประเทศ





ตารางท่ี 2.2 (ตอ่ )

เกณฑก์ ารประเมนิ PMQA 4.0

(สำนกั งานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ, 2562)

หมวด Basic Advance Significance
(A&D) (Alignment) (Integration)

หมวด 6 การมงุ่ เนน้ ระบบปฏิบัตกิ าร การใช้เทคโนโลยดี ิจิทลั
ในการจัดการกระบวนการ
กระบวนการทำงาน 6.1 ออกแบบกระบวนการที่ ติดตามควบคมุ กระบวนการ และการบูรณาการ
เชื่อมโยงต้ังแตต่ ้นจนจบ เช่อื มโยงต้ังแตต่ น้ จนจบท้ังงาน โดยใช้ตวั วัดและเทคโนโลยี ทม่ี งุ่ สูค่ วามเป็นเลศิ
นำไปสู่ผลลพั ธ์ทต่ี อ้ งการ ภายในและงานทขี่ ้ามสว่ น ดจิ ทิ ลั
ราชการเพอ่ื ให้เกิดประสิทธิผล สรา้ งนวัตกรรมของกระบวนการ
6.2การสร้างนวตั กรรม สงู สดุ สร้างนวตั กรรมการปรับปรงุ ระดับองค์การจนเกิดความเป็นเลิศ
ในการปรับปรุงผลผลิต กระบวนการหลักสนบั สนนุ เพือ่ ประโยชน์แกป่ ระชาชนและ
กระบวนการ บรหิ ารจดั การและปรบั ปรุง การบริการ และการส่อื สาร ภาคธุรกจิ
การให้บริการ อยา่ งเปน็ ระบบท้งั
กระบวนการหลักและ
กระบวนการสนับสนุน

การลดต้นทุน 6.3 วเิ คราะห์ตน้ ทุน กำหนดนโยบายการลดตน้ ทุน ใช้ขอ้ มลู เทียบเคียง
การใช้ทรพั ยากรเพื่อ และลงทุนในทรัพยากร ใชเ้ ทคโนโลยี เพ่อื สรา้ งนวตั กรรม ลดตน้ ทนุ เพ่ิมข
เพมิ่ ประสทิ ธิภาพและ ที่ใชใ้ นกระบวนการหลกั และใช้ทรพั ยากรรว่ มกนั ความสามารถในการแขง่ ขนั
ความสามารถในการ และกระบวนการสนบั สนนุ
แขง่ ขัน
ตดิ ตามควบคมุ ประสทิ ธิผล การเตรยี มการเชงิ รกุ เพอ่ื ลด บรู ณาการกระบวนการ
การมงุ่ เนน้ 6.4 กระบวนการหลกั และตัววดั เชงิ ผลกระทบจากความเสย่ี ง ตา่ ง ๆ ท้งั ภายในและภายนอกเพ่ือ
ประสิทธผิ ล ทั้งองคก์ ร ยทุ ธศาสตร์ การเตรียมพรอ้ มเพอ่ื รับมอื ตอบสนองยทุ ธศาสตร์และสง่ ผลต่อ
และผลกระทบต่อ กบั เหตุการณ์ เศรษฐกิจ สงั คม สาธารณสขุ และ
ยุทธศาสตร์ประเทศ สิ่งแวดล้อม

31

สถาบนั บัณฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์

เกณฑ์การประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพยี ง (SEP)

(กลั ยาณี เสนาสุ และ บงกช เจนจรสั สกลุ , 2562)

มิติ เขา้ ข่าย เขา้ ใจ เขา้ ถึง
(Inspiration)
(Compliance) (Comprehension)
1) นวตั กรรมการบริหาร
มติ ิท่ี 2 1) การบริหารจัดการอย่าง 1) การพัฒนาการบรหิ ารจัดการ จัดการภายในองค์การท่ี
การบริหารงาน เป็นระบบช่วยใหเ้ กดิ อย่างต่อเนือ่ ง สรา้ งสรรคป์ ระโยชนแ์ ก่
อยา่ งเป็นระบบ ประสิทธภิ าพในการทำงาน เครือข่าย และประชาชนใน
สงั คม
โปรง่ ใส มธี รร
2) การสร้างการมสี ่วน
มาภบิ าล และ รว่ มกบั เครือขา่ ย
ใหป้ ระชาชน ผู้มีส่วนได้ส่วน
ไมม่ กี ารกระทำ 2) การบรหิ ารงานอยา่ ง 2) การบรหิ ารจัดการโดยให้ เสยี สามารถพ่ึงพาตนเอง
การผิดกฎหมาย โปร่งใส มนี โยบาย ความสำคัญแก่ผ้รู ับบริการและผู้ แก้ปัญหาได้ดว้ ยตนเอง
มาตรการ ระบบการ มีส่วนไดส้ ่วนเสีย
ตรวจสอบ ในการกำกับดูแล
และเปดิ เผยขอ้ มลู

ขีด

32 โครงการวจิ ัย
การบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ บนพ้ืนฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ระยะท่ี ๑)

ตารางท่ี 2.2 (ตอ่ )

เกณฑก์ ารประเมิน PMQA 4.0

(สำนกั งานคณะกรรมการพฒั นาระบบราชการ, 2562)

หมวด Basic Advance Significance
(A&D) (Alignment) (Integration)

หมวด 7 ผลลพั ธ์การดำเนินการ ตวั วัดตามนโยบายและแผน-
รฐั บาล
ด้านพันธกิจ 7.1 - ตัววัดตามภารกิจหลกั ตัววดั ตามแผนยทุ ธศาสตร์-
การบรรลตุ ามยทุ ธศาสตร์- การดำเนินการดา้ นกฎหมาย- การปรับเปล่ยี นด้านการบริการ
7.2 ด้านผ้รู ับบรกิ ารและ อื่น ๆ ท่เี กดิ ประโยชน์
ประชาชน ความพึงพอใจ- การแกไ้ ขเรอ่ื งรอ้ งเรียน-
ความผูกพนั และการให้ความ- ประชารฐั -
ร่วมมอื

ด้านการพัฒนา 7.3 จำนวนนวัตกรรมตอ่ บคุ ลากร- บคุ ลากรรว่ มในภาคีเครอื ข่าย- การเรียนรแู้ ละผลการพฒั นา-
บคุ ลากร -บุคลากรอาสาสมัครใน ความก้าวหน้า- จำนวน-Best practice
โครงการที่สนองนโยบาย
ด้านการเปน็ ต้นแบบ 7.4 หน่วยงาน การจัดอันดบั ในระดับนานาชาติ-
จำนวนรางวลั ที่ได้รับจาก-
จำนวนรางวัลท่ีได้รบั จาก- กระทรวง/หนว่ ยงานระดับกรม
ภายนอก
จำนวนบคุ ลากรท่ไี ด้รับการยก-
ย่องจากภายนอก

เกณฑก์ ารประเมินความเป็นเศรษฐกจิ พอเพยี ง (SEP)

(กัลยาณี เสนาสุ และ บงกช เจนจรัสสกลุ , 2562)

มติ ิ เขา้ ข่าย เขา้ ใจ เขา้ ถึง

(Compliance) (Comprehension) (Inspiration)

มิติที่ 4 1) ผลการดำเนนิ งานของ 1) ผลการดำเนินงานของ 1) ผลการดำเนนิ งานของ

ประโยชน์สขุ แก่ หน่วยงานบรรลุตามพนั ธกิจ หน่วยงานบรรลุตามยุทธศาสตร์ หน่วยงานส่งผลกระทบตอ่
สังคมและ และเปา้ ประสงค์ของ ประเทศ ภาคี เครอื ขา่ ย และ
ประชาชน องคก์ าร ประชาชน

ร- 2) ความสามารถในการ 2) ความสามารถในการสร้าง 2) ผลการดำเนนิ งานของ

เผชิญหรือตอบสนองตอ่ การ ความสขุ และคณุ ภาพชีวติ ทด่ี ใี น หน่วยงานสามารถกอ่ ให้เกิด

เปล่ียนแปลงได้ การทำงานให้แก่บุคลากรภายใน ประโยชนส์ ขุ แก่สงั คมระดบั

องคก์ าร โลกหรอื มวลมนษุ ยชาติ

ตารางท่ี 2.2 (ตอ่ )

เกณฑก์ ารประเมนิ PMQA 4.0

(สำนกั งานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ, 2562)

หมวด Basic Advance Significance
(A&D) (Alignment) (Integration)

หมวด 7 ผลลพั ธก์ ารดำเนนิ การ (ตอ่ ) นวัตกรรมด้านนโยบาย-
กฎระเบียบ และกฎหมาย
ด้านผลกระทบตอ่ 7.5 การบรรลผุ ลตวั วดั ร่วม- ตวั วดั ดา้ นเศรษฐกิจ สังคม-
เศรษฐกิจ สังคม สาธารณสุข และสงิ่ แวดลอ้ ม
สาธารณสุข การลดตน้ ทนุ -
สิง่ แวดลอ้ ม นวตั กรรมการปรบั ปรุง- ประสทิ ธผิ ลการบรรเทาผลกระทบ-
ด้านการลดตน้ ทนุ 7.6 กระบวนการ ดา้ นภัยพบิ ัติตา่ งๆ
สรา้ งนวตั กรรม และการ ผลการปรบั ปรุงจากการใช้-
จดั การกระบวนการ เทคโนโลยดี ิจทิ ัล

หมายเหตุ. (ตารางซ้าย: เกณฑ์การประเมนิ PMQA 4.0) จาก ค่มู อื การประเมินส่วนราชการตามมา
พ.ศ. 2562 โดย สำนกั งานคณะกรรมการพฒั นาระบบราชการ, 2562. และ (ตารางขวา: เกณฑก์ า
พนื้ ฐานปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย กัลยาณี เสนาสุ และ บงกช เจนจรสั สกลุ , 2562, สำนัก

33

สถาบันบัณฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์

เกณฑก์ ารประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพยี ง (SEP)

(กัลยาณี เสนาสุ และ บงกช เจนจรัสสกลุ , 2562)

มิติ เข้าข่าย เข้าใจ เขา้ ถงึ
(Inspiration)
(Compliance) (Comprehension)

าตรการปรบั ปรงุ ประสทิ ธิภาพในการปฏิบตั ริ าชการของสว่ นราชการ ประจำปีงบประมาณ
ารประเมินความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพียง (SEP)) จาก รายงานวิจัย: การบรหิ ารราชการบน
กงานกองทุนสนับสนนุ การวจิ ัย.

โครงการวจิ ยั
การบรหิ ารราชการแผน่ ดินบนพืน้ ฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ระยะท่ี ๑)

2.4 การบริหารจดั การภาครัฐเกี่ยวกับความโปร่งใส

2.4.1 ความหมายและความสำคญั
แนวคิดเรื่อง ความโปร่งใส (transparency) ความซื่อตรง (integrity) และ ภาระรับผิดชอบ
(accountability) ถูกระบุโดยสหประชาชาติ (United Nations: UN) (Armstrong, 2005; Dianto,
Taifur, Handra, & Febrianto, 2021) ว่าเป็นส่วนหนึ่งของหลักการในการก่อตั้งการบริหารงาน
ภาครัฐ (Armstrong, 2005) เกี่ยวข้องกับเจตจำนงของนโยบาย การวางกฎเกณฑ์ การปฎิบัติ และ
เปน็ องค์ประกอบสำคัญของหลักธรรมาภบิ าล (good governance) (OECD, 2002; Dianto, Taifur,
Handra, & Febrianto, 2021) เป็นหลักการสำคัญของขั้นตอนการบริหารและกฎหมายปกครอง
(Jashari & Pepaj, 2018) เป็นเครื่องมือที่มีความซับซ้อนของหลักธรรมาภิบาลในโครงการ นโยบาย
องค์กร และประเทศต่าง ๆ และมีความเกี่ยวพันธ์โดยตรงกับภาระรับผิดชอบของโครงการ นโยบาย
องค์กร และประเทศนั้น ๆ (Ball, 2009) โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสังคมประชาธิปไตยท่ี
ความโปร่งใสของสถาบันสาธารณะหรือหน่วยงานภาครัฐนั้นถูกให้ความสำคัญมากขึ้นเรื่อย ๆ
(Etzioni, 2014; Erkkilä, 2020; Androniceanu, 2021) ท้ังในประเทศที่พัฒนาแล้วหรือกำลังพัฒนา
ตระหนักดีว่าการเข้าถึงข้อมูลโดยเสรีเป็นพื้นฐานของประชาธิปไตย (Androniceanu, 2021)
นักวิทยาศาสตร์ทางการเมือง (political scientists) มองว่าความโปร่งใส เป็นหลักการในการทำให้
สาธารณชนได้รับข้อมูลเกี่ยวกับการดำเนินงานและโครงสร้างของหน่วยงานภาครัฐ ยิ่งไปกว่าน้ัน
สำหรับนักทฤษฎีการเมือง (political theorists) ตลอดจนปัญญาชนและผู้นำสาธารณะ (public
intellectuals and leaders) มองว่า ความโปร่งใส เป็นปัจจัยสำคัญในการทำ ให้ภาครัฐ
ต้องรับผิดชอบต่อประชาชน (Etzioni, 2014) กล่าวคือมีเกี่ยวข้องกับทั้งหลักการประชาธิปไตย
(Etzioni, 2014; Erkkilä, 2020) และประสิทธิภาพของหลักธรรมาภิบาล (Erkkilä, 2020)
สำหรับประเทศไทยความโปร่งใสเป็นหนึ่งในหลักการสำคัญของหลักการบริหารกิจก าร
บ้านเมืองและสงั คมที่ดี โดยระบไุ วใ้ นในระเบยี บสำนกั นายกรฐั มนตรวี ่าดว้ ยการสรา้ งระบบการบริหาร
กจิ การบา้ นเมืองและสังคมทดี่ ี พ.ศ. 2542 (2542) ว่า ความโปร่งใส หมายถงึ การสรา้ งความไว้วางใจ
ซึ่งกันและกันของคนในชาติโดยปรับปรุงกลไกการทำงานขององค์กรทุกวงการ ให้มีความโปร่งใสใน
ระดับประเทศ ประชาชนมีอิสระในการสื่อสารสื่อมวลชนสามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างเต็มที่และ
มีจริยธรรมมีการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมอย่างตรงไปตรงมาด้วยภาษาที่เข้าใจ
ง่ายประชาชนเข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้สะดวกและมีกระบวนการให้ประชาช นตรวจสอบความถูกต้อง
ดว้ ย

34

สถาบันบณั ฑติ พฒั นบริหารศาสตร์

เพื่อใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั ความโปร่งใสในภาครัฐ ผวู้ ิจัยได้ทบทวนวรรณกรรมในประเด็น
ทเ่ี ก่ยี วข้องกับการบริหารจดั การความโปรง่ ใสดังนำเสนอต่อไปนี้

1) เปา้ หมายและขอบเขต
ความโปร่งใสเป็นผลมาจากเจตจำนงค์สาธารณะของฉันทามติ ที่มีเป้าหมายใน
3 ระดับ ระดับ ได้แก่ 1) การตัดสินใจของสาธารณชน 2) การดำเนินการตามการตัดสินใจของ
สาธารณชน และ 3) การสื่อสารผลการดำเนินการสาธารณะ (Sandu, 2016) เป็นการเปิดเผยข้อมูล
ข่าวสารและการบริการ สาธารณะ เพื่อให้เกิดการสื่อสาร การกระจาย ความรู้ความเข้าใจระหว่าง
ภาครฐั และประชาชน การเข้าถึงบรกิ ารสาธารณะ ตลอดจนการมีส่วนรว่ มในการตรวจสอบข้อเท็จจริง
เพื่อให้เกิดการสื่อสาร การกระจาย ความรู้ความเข้าใจระหว่างภาครัฐและประชาชน (ฉายถวิล และ
โล่ห์วัชรนิ ทร์, 2561) โดยขอบเขตความโปร่งใสเป็นเงื่อนไขในการสร้างคุณค่าสาธารณะโดยมักจะถูก
กำหนดอย่างแคบ ๆ ให้เป็นเครื่องมือสำหรับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอกในการตรวจสอบการทำงาน
ภายในขององคก์ ร (Douglas & Meijer, 2016)
2) การมีสว่ นรว่ ม
ความโปร่งใสในการบริหารราชการแผ่นดินเป็นหัวข้อที่มีหลายแง่มุมแม้ว่ามักถูก
สันนิษฐานว่าเป็นสิ่งที่นำมาซึ่งความก้าวหน้า หากแต่ธรรมชาติและผลกระทบของความโปร่งใสน้ัน
มักจะขัดแย้งกันเอง นำมาซึ่งความสนใจของนักวิชาการและผู้ที่ศึกษาด้านรัฐประศาสนศาสตร์
(Erkkilä, 2020) ที่ได้ให้ความหมาย และอธิบายหลักการในแนวทางที่มุ่งเน้นที่การปฏิบัติงานหรือ
การกระทำใด ๆ ของหน่วยงานภาครัฐที่ให้ความสำคัญกับการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน
และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ทั้งในการกำหนดนโยบาย การบริหารจัดการ การดำเนินงาน (จารุวรรณ
เมณฑกา, 2546; บุญอยู่ ขอพรประเสริฐ, 2550; เอเจอร์, 2545) การติดตามประเมินผล
การดำเนินงาน (บุญอยู่ ขอพรประเสริฐ, 2550) การตรวจสอบข้อเท็จจริง (ฉายถวิล และ โล่ห์
วัชรินทร์, 2561) รวมถึงการตัดสินใจ (Jashari & Pepaj, 2018; Androniceanu, 2021) และ
ความรับผิดชอบต่าง ๆ ของภาครัฐ (Androniceanu, 2021) ความโปร่งใสจะเพิ่มการมีส่วนร่วมของ
สาธารณชนจากมุมมองของเครื่องมือ ซง่ึ จะโนม้ น้าวผู้มีอำนาจตดั สินใจ ด้วยประเดน็ สำคญั 2 ประการ
ได้แก่ ข้อมูลและการสนับสนุน (Irvin & Stansbury, 2004) ซึ่งนอกจากจะเป็นการเปิดโอกาสให้
ประชาชนเข้าไปมีส่วนร่วม ยังเป็นการเปิดโอกาสให้มีการต่อสู้แข่งขันระหว่างฝ่ายต่าง ๆ อย่างเต็มท่ี
ในการกำหนดทางเลือกของสังคม และยังเป็นการทำให้การติดตามตรวจสอบของสาธารณชนมี

35

โครงการวจิ ัย
การบริหารราชการแผน่ ดินบนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะที่ ๑)

ความถูกต้องมากขึน้ และได้มาซึ่งข้อมูลที่เกีย่ วข้องกบั สภาพ เงื่อนไขทางการเมืองเศรษฐกิจและสังคม
(จารวุ รรณ เมณฑกา, 2546)

3) การเปดิ เผยข้อมูลและการเขา้ ถึงขอ้ มูล
ในระบอบประชาธิปไตยประชาชนมีสิทธิที่จะให้เจ้าหน้าที่ของรัฐรับผิดชอบต่อ
การกระทำของตนและเพื่อประสิทธิภาพในการบริหารราชการแผ่นดิน ผ่านการเข้าถึงข้อมูล
การบริหารภาครัฐมีความโปร่งใสเมื่อข้อมูลส่วนใหญ่เกี่ยวกับกิจกรรม นโยบาย และการตัดสินใจ
สามารถเข้าถึงได้โดยสาธารณะ (Androniceanu, 2021) เป็นหลักการในการทำให้สาธารณชนได้รับ
ข้อมูลเกี่ยวกับการดำเนินงานและโครงสร้างของหน่วยงานที่กำหนด อย่างเปิดกว้างและเปิดเผย
(Etzioni, 2014) กล่าวคือเป็นความรับผิดชอบที่หน่วยงานภาครัฐจะต้องเปิดเผยข้อมูลเพื่อให้
สารธารณะชนเข้าถึงได้ (บุญอยู่ ขอพรประเสริฐ, 2554; สมศักดิ์ สามัคคีธรรม, 2561; ฉายถวิล และ
โล่ห์วัชรินทร์, 2561; Erkkilä, 2020; Agere, 2545) เพื่อให้สาธารณชนมีโอกาสรับรู้นโยบายด้าน
ต่าง ๆ ของรัฐ (จารุวรรณ เมณฑกา, 2546) เพื่อการเข้าถึงบริการสาธารณะ (ฉายถวิล และ โล่ห์
วัชรนิ ทร์, 2561) โดยเป็นการเข้าถงึ ข้อมูลท่ีไม่ถูกจำกัดโดยสาธารณะต่อขอ้ มลู ท่ีทันเวลาและเช่ือถือได้
เกี่ยวกบั การตัดสินใจและการปฏิบตั ิงานในภาครัฐ (Armstrong, 2005) ดว้ ยสทิ ธิในขอ้ มูลเป็นพื้นฐาน
สำหรับการบรรลหุ ลักการทั้งความโปร่งใส ความรับผิดชอบ การมีส่วนร่วมของสาธารณะ การปกป้อง
สิ่งแวดล้อม และเสรีภาพส่วนบุคคลอื่น ๆ (Kim & Lee, 2012) ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมสาธารณะ
ที่ประชาชนมีสิทธิรับรู้ในฐานะที่เป็นเจ้าของอํานาจอธิปไตย (sovereignty of the people)
(สมศกั ด์ิ สามคั คีธรรม, 2561) ความโปร่งใสจึงเปน็ หลักการท่ีรับประกนั การเขา้ ถึงหรอื เสรภี าพสำหรับ
ทุกคนในการได้รับข้อมูลเกี่ยวกับการบริหารราชการแผ่นดินประกอบไปด้วย ข้อมูลเกี่ยวกับนโยบาย
กระบวนการจัดทำและดำเนนิ การ และผลลพั ธ์ ขอ้ มูลท่ีเปน็ นโยบายของรฐั ในทกุ ๆ ด้านที่สาธารณชน
เข้าถึงได้ (Dianto, Taifur, Handra, & Febrianto, 2021) รวมไปถึงเอกสารและทะเบียนประเภท
ต่าง ๆ (Erkkilä, 2020) การเข้าถึงข้อมูลช่วยพัฒนาความเชื่อมั่นของประชาชนในรัฐบาลของพวกเขา
(Jaeger & Bertot, 2010) หน่วยงานภาครัฐต้องจัดให้มีข้อมูลที่เพียงพอในสื่อรูปแบบต่าง ๆ และ
เผยแพร่ให้ประชาชนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียสามารถเข้าถึงข้อมูลได้อย่างเสรี (UNESCAP, 2010)
เปิดโอกาสให้ประชาชนสามารถเข้าถึงได้โดยมีหลักประกันทางกฎหมาย (Agere, 2545) พลเมืองจะ
ค้นหาว่าฝ่ายบริหารทำอะไรเพื่อพวกเขา และสามารถชื่นชมคุณภาพของบริการและให้ข้อเสนอแนะ
เกี่ยวกับพวกเขาต่อฝ่ายบริหาร เพื่อเป็นการส่งเสริมความรับผิดชอบและให้ข้อมูลแก่ประชาชน
เกย่ี วกับสง่ิ ที่ฝ่ายบริหารทำเพอื่ ผลประโยชน์ของประชาชน (Androniceanu, 2021)

36

สถาบนั บณั ฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์

4) การส่ือสาร
ความโปร่งใสเปน็ ข้อกำหนดหนึ่งของการดำเนินการส่ือสารแต่ละคร้ัง และเป็นคุณค่า
ทางจริยธรรม ทำให้เกิดการเกิดข้ึนของหนา้ ท่ีการบริหารซึ่งอำนวยความสะดวกในการส่ือสารระหว่าง
พลเมืองกับการเมือง และการปกครองที่มีประสิทธิผล ระบบราชการทางปกครองจะใช้งานได้จริงเม่ือ
การดำเนินการทางปกครองสามารถคาดการณไ์ ด้ โดยตอบสนองความต้องการอยา่ งนอ้ ยสองข้อ ได้แก่
ข้อมูลสาธารณะและการควบคุมจากพลเมือง (Sandu, 2016) ดังนั้นการสื่อสารจึงเป็นองค์ประกอบ
ของการบรหิ ารความโปรง่ ใสและการบรหิ ารงานด้วยความโปร่งใสในเวลาเดียวกัน
5) การต่อต้านการทุจริต
ความโปร่งใสมีความหมายตรงกันข้ามหรือเกือบตรงกันข้ามกับการทุจริตคอร์รัปชัน
(สถาบันพระปกเกล้า, 2545) เป็นคุณค่าสาธารณะที่สังคมยอมรับในการต่อต้านการทุจริต (Ball,
2009) เป็นสิ่งจำเป็นในการต่อต้านการทุจริต (Jaeger & Bertot, 2010) สำหรับกลุ่มภูมิภาคเอเชีย
และแปซิฟิก 36 ประเทศที่มุ่งมั่นในแผนปฏิบัติการต่อต้านการทุจริตสำหรับเอเชียและแปซิฟิก
ซึ่งเปิดตัวในปี ค.ศ.2000 โดยได้รับการสนับสนุนจากธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย (ADB) และ
องค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ (OECD) โดยแผนงานดังกล่าวประกอบด้วย
สามเสาหลัก ได้แก่ 1) การพัฒนาระบบที่มีประสิทธิภาพและโปร่งใสสำหรับการบริการสาธารณะ
2) การเสริมสร้างการดำเนินการต่อต้านการติดสินบนและส่งเสริมความซื่อสัตย์ในการดำเนินธุรกิจ
และ 3) การสนับสนุนการมีส่วนร่วมของสาธารณะอย่างแข็งขัน (Armstrong, 2005)
สำหรับสังคมไทยได้มีการตื่นตัวในการเรียกร้องความโปร่งใสจากภาครัฐและภาคเอกชน
หากประชาชนตระหนักถึง บทบาท หน้าที่ และสิทธิแห่งตนแล้ว ย่อมสามารถใช้ข้อมูลข่าวสารของ
ภาครัฐ ตรวจสอบความโปร่งใสในการบริหารงานของรัฐได้ และทําให้การทุจริตในภาครัฐลดน้อยลง
(ภาสประภา ตระกูลอินทร์, 2550) ในขณะที่หน่วยงานภาครัฐก็จะต้องมีการวางระบบป้องกัน
การทุจริตประพฤติมชิ อบโดยชัดเจนมีประสิทธิภาพ (บุญอยู่ ขอพรประเสริฐ, 2550)
6) บทบาทผ้นู ำกับความโปร่งใส
ความโปร่งใสเป็นการตัดสนิ ใจ (ภาสประภา ตระกูลอนิ ทร์, 2550) อย่างเปิดเผยของ
รัฐและองค์การไม่แสวงหาผลกำไร โดยผู้กำหนดนโยบายในการสร้างความโปร่งใสควบคู่ไปกับ
ความรับผิดชอบ ประสิทธิภาพ และประสิทธิผล (Ball, 2009) โดยผู้นำองค์กรของรัฐต้องยึดถือ
ในความซือ่ สัตยส์ จุ รติ และมีคณุ ธรรมในตนเอง (บุญอยู่ ขอพรประเสรฐิ , 2550)

37

โครงการวิจยั
การบรหิ ารราชการแผ่นดนิ บนพนื้ ฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ระยะที่ ๑)

7) ผลกระทบเชงิ บวกและคุณคา่ ของความโปร่งใส
ความโปร่งใสในการบริหารราชการแผ่นดินมีผลกระทบอย่างมากในกระบวนการ
ปฏิรูปการบริหารราชการแผ่นดิน และส่งเสริมระดับประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และการตอบสนอง
ซึ่งเป็นองค์ประกอบหลักของแนวคิดการบริหารที่ดี (Jashari & Pepaj, 2018) ความโปร่งใสจะเพิ่ม
การมีส่วนร่วมของสาธารณชนจากมุมมองของเครื่องมือ ซึ่งนำผู้มีอำนาจตัดสินใจไปสู่ประเด็นสำคัญ
สองประการ ข้อมูลและการสนับสนุน การติดต่อโดยตรงกับพลเมืองสามารถให้ข้อมูลแก่ผู้ดูแลระบบ
ที่สนับสนุนกระบวนการนโยบาย เพื่อให้พวกเขาสามารถเรียนรู้ว่านโยบายใดดีที่สุด (Irvin &
Stansbury, 2004) รวมไปถึงมีส่วนสนับสนุนการสร้างความมั่นคงของระบอบประชาธิปไตยและ
การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (Szeiner et al., 2020; Jashari & Pepaj, 2018) องค์กรสาธารณะท่ี
โปร่งใสมากขึ้นได้รับคะแนนมูลค่าสาธารณะที่สูงขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากองค์กรเหล่านั้นเปิดเผย
ข้อมูลเกี่ยวกับการออกแบบและการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมการอนุญาต (Douglas &
Meijer, 2016) มาตรการความโปรง่ ใสชว่ ยลดผลกระทบดา้ นลบของรัฐบาล ในขณะเดียวกันก็ส่งเสริม
การมีส่วนสนับสนุนในเชิงบวกของพวกเขา และเป็นการการกำกับดูแลและการพัฒนาสาธารณะ
อย่างมีประสิทธิภาพด้วย (OECD, 2003) ความโปร่งใสเป็นข้อกำหนดพื้นฐานสำหรับความน่าเชื่อถือ
และความสมบูรณ์ของสถาบันสาธารณะ (Jashari & Pepaj, 2018) บุคลากรของรัฐมีจิตสำนึกที่ดีมี
จริยธรรมและจรรยาบรรณวชิ าชีพ ตั้งอยู่บนฐานคติของความ ซื่อสัตยส์ จุ ริต มีจิตสำานกึ ทีด่ ตี ่อหนา้ ท่ี
(บุญอยู่ ขอพรประเสริฐ, 2554) ความโปร่งใสส่งเสริมค่านิยมของ ความเท่าเทียมกันของโอกาส และ
การเคารพในศักดิ์ศรีและความเป็นอิสระของแต่ละบุคคลในกระบวนการตัดสินใจของฝ่ายบริหาร
(Sandu, 2016) นำไปสู่ความไว้วางใจของประชาชนในภาครัฐที่เพิ่มขึ้น (Jashari & Pepaj, 2018;
Erkkilä, 2020) ช่วยสร้างความ่ันใจใหก้ ับประชาชนว่า ภาครัฐ มีความตั้งใจจริงในการดำเนินงานตาม
นโยบายท่ไี ด้ประกาศตอ่ ประชาชน (จารุวรรณ เมณฑกา, 2546)
8) ผลกระทบเชิงลบและความเสยี่ ง
เนื่องจากความโปร่งใสส่งเสริมการเปิดกว้าง จึงเพิ่มความกังวลเกี่ยวกับความลับ
และความเปน็ ส่วนตวั (Ball, 2009; Erkkilä, 2020) คำอธิบายเชิงทฤษฎีสำหรับผลกระทบดา้ นลบของ
ความโปร่งใสในการตดั สินใจของสาธารณะนั้น เกิดจากจากความคาดหวังของประชาชนกับความเปน็
จริง ความสามารถในการรับรู้ที่ต่ำกว่าโดยผู้ที่เข้าถึงข้อมูลทั้งหมดอาจอธิบายได้จากช่องว่างระหว่าง
ความคาดหวังของสาธารณชนเกี่ยวกับการตัดสินใจอย่างมีเหตุมีผลกับความเป็นจริงของความสับสน

38

สถาบันบัณฑติ พัฒนบริหารศาสตร์

วนุ่ วายท่ีเก่ียวข้องกบั การตัดสนิ ใจของสาธารณชนท่ีเปดิ เผยออกมาอยา่ งโปร่งใส (Grimmelikhuijsen,
2010)

จากการทบทวนวรรณกรรมดังที่กล่าวมาข้างต้น สามารถสรุปได้ว่า การบริหารจัดการของ
ภาครัฐเกี่ยวกับความโปร่งใส หมายถึง การดำเนินงานของภาครัฐผ่านการตัดสินใจอย่างเปิดเผยของ
ผู้นำองค์กรของรัฐ ในการอำนวยการให้เกิดการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารและการส่งเสริมการมีส่วนร่วม
ของประชาชนผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ทั้งในการกำหนดนโยบาย การบริหารจัดการ การดำเนินงาน
การติดตามประเมินผลการดำเนินงานการตรวจสอบข้อเท็จจริง รวมถึงการตัดสินใจและ
ความรับผิดชอบต่าง ๆ ของภาครัฐ เพื่อให้เกิดการสื่อสาร การกระจายความรู้ความเข้าใจระหว่าง
ภาครฐั และประชาชน การเขา้ ถึงบริการสาธารณะ การตอ่ ต้านการทุจรติ จคอรปั ช่ัน นำไปสู่การปฏิรูป
การบริหารราชการแผ่นดินอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ประสิทธิผล สนองตอบต่อแนวคิดการบรหิ ารกิจการ
บา้ นเมืองท่ีดี

2.4.2 หลกั เกณฑค์ วามโปรง่ ใสในการดำเนนิ งานของรฐั
ความโปร่งใสเป็นองค์ประกอบที่สำคัญของตัวชี้วัดการมีธรรมภิบาลในการบริหารของรัฐ
(Erkkilä, 2020) ในการดำเนินงานเพื่อความโปร่งใสนั้น ภาครัฐต้องแสดงออกถึงความชัดเจน
ตรงไปตรงมา เป็นธรรม เสมอภาค ตรวจสอบได้ และน่าเชื่อถือ (บุญอยู่ ขอพรประเสริฐ, 2554)
ต้องส่งเสริมความโปร่งใสโดยการให้ข้อมูลที่ถูกต้องทันเวลา เข้าถึงได้แก่สาธารณชน (Armstrong,
2005) การดำเนินการปฏิรูปเพื่อส่งเสริมความโปร่งใสอาจเป็นงานที่ยาก แม้ว่าจะมีการยอมรับ
กว้างขวางเกี่ยวกับความสำคัญของความโปรง่ ใสด้วยเง่ือนไขที่เป็นความท้าทายสำหรบั การปฏิรูปเพ่อื
ส่งเสริมความโปร่งใส 3 ประการ ไดแ้ ก่ 1) การเอาชนะอุปสรรคทางการเมือง 2) การปรบั ปรุงสถาบัน
ท่ีจำเป็นเพือ่ สนับสนุนความโปรง่ ใส และ 3) การเขา้ ถงึ เทคโนโลยแี ละทรพั ยากรบุคคล (OECD, 2003)
โดยเตรียมความพร้อมของข้อมูลสำหรับบริการปร ะช าชนและมีการวางระบบกลไกช่องทา งให้
ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของภาครัฐได้อย่างมีข้อจำกัดน้อยที่สุด เป็นไปอย่างคุ้มค่า
สามารถสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างแทจ้ รงิ (บุญอยู่ ขอพรประเสริฐ, 2550) นอกจากน้ี
การพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญเพื่อเสริมสร้างความโปร่งใสด้วยเทคโนโลยี
สารสนเทศผา่ นระบบส่ือสารอนิ เตอร์เน็ตในการให้บรกิ ารประชาชน (Chen & Gant, 2001)

39

โครงการวิจัย
การบรหิ ารราชการแผ่นดินบนพนื้ ฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะที่ ๑)

หลักเกณฑ์ความโปร่งใสในการดำเนินงานของรัฐ ประกอบด้วยหลักการ 5 ประการ ได้แก่
1) หลักนิติธรรมหรือหลักคุณธรรม 2) หลักการมีส่วนร่วม 3) หลักความรับผิดชอบ 4) หลักความ
คมุ้ ค่า และ 5) หลักการเปิดเผย (จารวุ รรณ เมณฑกา, 2546)

1) หลักนิติธรรมหรือหลักคุณธรรม หมายถึง การยึดมั่นในความถูกต้องดีงาม
เป็นการส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชนพัฒนาตนเองไปพร้อมกันเพื่อให้มีความซื่อสัตย์ จริงใจขยัน
อดทนมีระเบียบวินัยประกอบอาชีพสุจริตเป็นนิสัย หลักนิติธรรมต้องมีกรอบกฎหมายและ
กระบวนการยุติธรรมรับรองจึงจะสำเร็จลุล่วงไปได้ (จารุวรรณ เมณฑกา, 2546) ความถูกต้องของ
กฎหมายมักขึ้นอยู่กับการตีความ วิธีการบริหารและการบังคับใช้ ความสม่ำเสมอและไม่เลือกปฏิบัติ
ดังนั้นการออกกฎหมายและการตีความหมายกฎหมายจึงมีผลอย่างมากต่อความโปร่งใสของ
การบรหิ ารงานภาครฐั (OECD, 2002)

2) หลักการมีส่วนร่วม หมายถึง การเปิดโอกาสให้ประชาชนทั้งผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
มีส่วนร่วมรับรู้และเสนอความเห็นในการตัดสินในปัญหาสำคัญของ (จารุวรรณ เมณฑกา, 2546)
ตั้งแต่การกำหนดนโยบายของภาครัฐ การบริหารจัดการของภาครัฐ การติดตาม ประเมินผล
การปฏบิ ัติงานภาครฐั (บุญอยู่ ขอพรประเสรฐิ , 2550) ดว้ ยการแจ้งความเหน็ ในการไต่สวนสาธารณะ
การประชาพิจารณ์ การแสดงประชามติหรืออื่น ๆ เป็นต้น (จารุวรรณ เมณฑกา, 2546) ประชาชน
สามารถเข้าถงึ ข้อมลู ขา่ วสารของรัฐไดอ้ ยา่ งมขี ้อจำกัดนอ้ ยท่สี ุด (บญุ อยู่ ขอพรประเสรฐิ , 2554)

3) หลักความรับผิดชอบ หมายถึง การตระหนักในสิทธิหน้าที่ความสำนึกใน
ความรับผิดชอบต่อสังคม การใส่ใจปัญหาสาธารณะของบ้านเมือง และกระตือรือร้นในการแก้ไข
ปัญหาตลอดจนการเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่างและความกล้าที่จะยอมรับผลได้ผลเสียจาก
การกระทำของตน (จารุวรรณ เมณฑกา, 2546) รวมไปถึงการวางระบบการป้องกันการทุจริต
ประพฤตมิ ิชอบที่มีประสทิ ธภิ าพ (บญุ อยู่ ขอพรประเสรฐิ , 2550)

4) หลักความคุ้มค่า หมายถึง การบริหารจัดการและใช้ทรัพยากรที่มีจำกัดเพื่อให้
เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ส่วนรวมโดยรณรงค์ให้คนไทยมีความประหยัดใช้ของอย่างคุ้มค่าสร้างสรรค์
สินค้าและบริการที่มีคุณภาพสามารถแข่งขันได้ในเวทีโลกและรักษาทรัพยากรธรรมชาติให้สมบูรณ์
ยัง่ ยนื (จารวุ รรณ เมณฑกา, 2546)

5) หลักการเปิดเผย ในการปฏิบัติงานของภาครัฐต้องเปิดเผยประชาชนมีอิสระใน
การสอื่ สารสอื่ มวลชนสามารถปฏิบัตหิ นา้ ที่ไดอ้ ยา่ งเต็มทีแ่ ละมจี รยิ ธรรมมกี าร เปิดเผยขอ้ มูลขา่ วสารที่
เป็นประโยชน์ต่อสังคมอย่างตรงไปตรงมาด้วยภาษาที่เข้าใจง่าย ประชาชนเข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้

40

สถาบันบณั ฑติ พัฒนบริหารศาสตร์

สะดวกและมกี ระบวนการให้ประชาชนตรวจสอบความถูกต้องได้ (จารวุ รรณ เมณฑกา, 2546; บุญอยู่
ขอพรประเสริฐ, 2554)

นอจากนี้องค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (OECD) ยังได้กำหนด
ประเด็นสำคัญที่ต้องนำมาพิจารณาเกี่ยวกับความโปร่งใสในการบริหารจัดการภาครัฐ ประกอบด้วย
1) ความซบั ซ้อนของนโยบายและการเลือกผฟู้ ัง 2) การออกกฎหมายและความโปรง่ ใสของการบริหาร
3) ช่อื เสียงและความน่าเชื่อถือ 4) สทิ ธิภายใตค้ วามโปรง่ ใส และ 5) การสือ่ สารภายในและภายนอก
องคก์ ร (OECD, 2002)

2.4.3 การประเมินความโปร่งใสของหนว่ ยงานภาครฐั
ในการกำหนดตัวชี้วัดเพื่อการประเมินความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
สามารถแบง่ ออกไดเ้ ป็น 4 กลมุ่ ดังน้ี

1) การประเมินความโปร่งใสด้านโครงสร้าง เกี่ยวข้องกับความโปร่งใสใน
การบริหารงานการบริหารงบประมาณและการติดตาม การตรวจสอบและการประเมินผล
(Punyusavee, 2007) ประกอบด้วย 1) มีการใช้ระบบตรวจสอบภายใน 2) สามารถมองเห็น
ระบบงานถ้วนทั่ว 3) มีการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม 4) มีการใช้ระบบคุณธรรมกับบุคลากร
5) มีการปรับปรุงกรรมการตรวจสอบให้เหมาะสมเสมอ และ 6) มีระบบบัญชีที่เข้มแข็ง (สถาบัน
พระปกเกลา้ , 2545)

2) การประเมินความโปร่งใสด้านบุคลากร เกี่ยวข้องกับความโปร่งใสใน
การบริหารงานด้านทรัพยากรมนุษย์ (Punyusavee, 2007) ทั้งการให้คุณและให้โทษ ประกอบด้วย
1) มีค่าตอบแทนงานสำเร็จ 2) มีค่าตอบแทนงานมีประสิทธิภาพ 3) มีค่าตอบแทนความซื่อสัตย์
4) มีมาตรฐานเงินเดือนสูงพอ 5) มีระดับตรวจสอบที่มีประสิทธิภาพ 6) มีวิธีลงโทษที่ยุติธรรม
7) มีการลงโทษจริงจังตามกฎ 8) มีระบบฟ้องร้องที่มีประสิทธิภาพ 9) มีหัวหน้างานที่ลงโทษลูกน้อง
อย่างจริงจัง 10) มีการปรามผู้ส่อเค้าทุจริต และ 11) มีกระบวนการยุติธรรมที่รวดเร็ว (สถาบัน
พระปกเกล้า, 2545)

3) การประเมินความโปร่งใสด้านการดำเนินงาน เกี่ยวข้องกับการเปิดเผยข้อมูล
และการเขา้ ถึงข้อมูลของผมู้ ีสว่ นได้ส่วนเสยี (Punyusavee, 2007) ประกอบด้วย 1) ประชาชนได้รับรู้
การทำงานของคณะกรรมการตรวจสอบ 2) ประชาชน สื่อมวลชน มีส่วนร่วมในการจัดซื้อจัดจ้าง

41

โครงการวจิ ัย
การบรหิ ารราชการแผ่นดินบนพืน้ ฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะท่ี ๑)

สัมปทาน 3) ประชาชน สื่อมวลชน องค์กรพัฒนาเอกชน มีโอกาสควบคุมฝ่ายบริหาร 4) กลุ่มวิชาชีพ
ภายนอกรว่ มตรวจสอบได้ (สถาบันพระปกเกล้า, 2545)

4) การประเมินความโปร่งใสด้านจิตสำนึกของผู้ปฏิบัติงาน ได้แก่
ด้านการปฏิบัติงานตามจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพของข้าราชการและเจ้าพนักงานของรัฐ
(Punyusavee, 2007)

2.4.4 การประเมนิ คุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดำเนนิ งานของหนว่ ยงานภาครฐั
(Integrity and Transparency Assessment: ITA)
ประเทศไทยมีการประเมนิ ความโปรง่ ใสในการบริหารจดั การของหนว่ ยงานภาครัฐเปน็ ประจำ
ทุกปี โดยสำนักประเมินคณุ ธรรมและความโปร่งใส คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจรติ
แห่งชาติ (ป.ป.ช.) ผ่านกระบวนการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของ
หน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment: ITA) มีวัตถุประสงค์เพื่อให้
หน่วยงานภาครัฐทั่วประเทศได้รับทราบถึงสถานะและปัญหาในการดำเนินงานด้านคุณธรรมและ
ความโปร่งใสขององค์กร ช่วยให้หน่วยงานภาครัฐสามารถปรับปรุงพัฒนาองค์การให้มีประสิทธิภาพ
ท้งั ในด้านการปฏิบตั ิงาน การให้บรกิ าร และการอำนวยความสะดวกต่อประชาชน และยังนำไปสู่แนว
ทางการกำหนดมาตรการป้องกันการทุจริตและประพฤติไม่ชอบอีกด้วย (สำนักประเมินคุณธรรมและ
ความโปร่งใส, 2564ก)

1) กระบวนการประเมนิ และตวั ชี้วดั
ในการประเมินและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity
and Transparency Assessment: ITA) กำหนดการเก็บข้อมูลใน 3 ส่วน (สำนักประเมินคุณธรรม
และความโปร่งใส, 2564ข) ไดแ้ ก่

(1) การเก็บข้อมูลจากบุคลากรในหน่วยงานภาครัฐ (Internal Integrity
and Transparency Assessment: IIT) ประกอบด้วย 5 ตัวชี้วัด ได้แก่ ด้านการปฏิบัติหน้าที่
ด้านการใช้งบประมาณ ด้านการใช้อำนาจ ด้านการใช้ทรัพย์สินของราชการ และการแก้ไขปัญหา
การทจุ ริต

(2) การเก็บข้อมูลจากผู้รับบริการหรือผู้ติดต่อหน่วยงานภาครัฐ (External
Integrity and Transparency Assessment: EIT) ประกอบด้วย 3 ตัวชี้วัด ได้แก่ ด้านคุณภาพ
การดำเนนิ งาน ด้านประสทิ ธิภาพการสอื่ สาร และดา้ นการปรบั ปรงุ ระบบการทำงาน

42

สถาบันบัณฑติ พัฒนบริหารศาสตร์

(3) การเปิดเผยขอ้ มลู ทางเว็บไซตข์ องหนว่ ยงาน (Open Data Integrity
and Transparency Assessment: OIT) ประกอบด้วย 2 ตวั ช้ีวดั ไดแ้ ก่ ดา้ นการเปิดเผยขอ้ มูล และ
ดา้ นการปอ้ งกันทจุ ริต

2) ผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงาน
ภาครฐั ประจำปี 2564

ปีงบประมาณ 2564 หน่วยงานภาครัฐของไทยมีผลการประเมิน ITA ในภาพรวมที่
ผลคะแนนเฉลี่ย 81.25 คะแนน จากคะแนนเต็ม 100 คะแนน ซึ่งสูงขึ้นกว่าปีงบประมาณ 2563
13.35 คะแนน มีหน่วยงานรัฐที่มีคะแนน 85 คะแนนขึ้นไป จำนวน 4,146 คิดเป็นร้อยละ 49.95
จากจำนวนหน่วยงานรัฐที่เข้ารับการประเมิน 8,300 หน่วยงาน ทั้งนี้หากพิจารณาตามค่าเป้าหมาย
ตัวชี้วัดของแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นการต่อต้านการทุกจริตและประพฤติมิชอบ
ได้กำหนดค่าเป้าหมายของปีงบประมาณ 2564 ไว้ว่า หน่วยงานภาครัฐจะต้องมีค่าคะแนน ITA
85 คะแนนขึ้นไป เป็นจำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 65 ของหน่วยงานภาครัฐทั้งหมด หรือราว 5,395
หนว่ ยงาน ท้งั น้ผี ลคะแนนเฉล่ียในภาพรวมมาเปรียบเทียบย้อนหลัง 3 ปี พบวา่ หน่วยงานภาครัฐของ
ไทย มีผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสและจำนวนหน่วยงานที่ผ่านเกณฑ์เพิ่มขึ้นอย่าง
ต่อเน่ือง รายละเอยี ดดังแสดงดงั ภาพที่ 2.9 (สำนักประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส, 2564ก)

43

โครงการวิจยั
การบริหารราชการแผน่ ดนิ บนพนื้ ฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะท่ี ๑)

ภาพท่ี 2.9
คะแนนเฉลยี่ และ ร้อยละของหนว่ ยงานทผ่ี ่านเกณฑก์ ารประเมิน ITA ระหวา่ งปีงบประมาณ 2561 –
2564

หมายเหต.ุ จาก สรุปผลการประเมินคุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดำเนนิ งานของหนว่ ยงานภาครฐั ประจำปี
2564 โดย สำนักประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรง่ ใส, 2564. คณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทจุ ริต
แหง่ ชาต.ิ

ทั้งนี้ผู้วิจัยได้รวบรวมข้อมูลผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสใน
การดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐประจำปี 2564 ของหน่วยงานภาครัฐที่เป็นกลุ่มเป้าหมายใน
การศึกษาวิจัยในครั้งนี้ ประกอบด้วยหน่วยงานสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์และ
กระทรวงมหาดไทย เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบในการศึกษาวิจัย รายละเอียดดังตารางที่ 2.3 และ
แสดงการเปรียบเทียบผลการประเมินรายตัวชี้วัดของหน่วยงานในสังกัดและกลุ่มภารกิจ ดังภาพท่ี
2.10 และ 2.11

44

ตารางท่ี 2.3
ผลการประเมินคุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครฐั ประจ

ตวั ชว้ี ัด ด้านการปฏิ ับ ิตหน้า ี่ท
ด้านการใ ้ชงบประมาณ
ชื่อหน่วยงาน ด้านการใ ้ชอำนาจ

สังกดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 95.48 90.77 90.65
1 สนง. ปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 90.80 85.62 84.09
2 สนง.มาตรฐานสินคา้ เกษตรและอาหารแห่งชาติ 87.04 74.68 79.79
3 สนง.เศรษฐกจิ การเกษตร 88.03 77.84 80.02
4 กรมการข้าว 89.64 81.27 84.61
5 กรมประมง 90.41 81.69 85.16
6 กรมปศุสัตว์ 88.49 76.74 80.49
7 กรมวชิ าการเกษตร 87.36 77.13 81.14
8 กรมหมอ่ นไหม 88.80 84.11 85.68
9 กรมชลประทาน 91.59 88.46 87.68
10 กรมฝนหลวงและการบินเกษตร 94.03 89.19 90.55
11 กรมพฒั นาทด่ี ิน 90.13 79.58 83.89
12 สนง.การปฏิรูปทด่ี นิ เพ่ือเกษตรกรรม 93.52 87.54 89.82
13 กรมตรวจบญั ชีสหกรณ์ 90.62 84.32 83.83
14 กรมสง่ เสรมิ การเกษตร 94.51 89.69 90.75
15 กรมส่งเสรมิ สหกรณ์

45

สถาบันบัณฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์

จำปี 2564

ด้านการใ ้ชทรัพย์สินของ
ราชการ
้ดานการแ ้กไข ัปญหา
คอร์ ัรป ่ัชน
ด้าน ุคณภาพการ
ดำเนินงาน
้ดานประสิทธิภาพการ
สื่อสาร
้ดานการป ัรบปรุงระบบการ
ทำงาน
้ดานการเ ิปดเผย ้ขอ ูมล
้ดานการป้องกัน ุทจ ิรต
คะแนนเฉล่ียรวม

91.29 91.94 89.39 87.45 85.67 100.00 100.00 93.86
83.25 83.58 93.69 89.69 90.24 100.00 100.00 93.00
77.19 75.72 91.64 87.40 85.38 84.56 100.00 87.02
77.35 74.23 88.42 84.68 81.61 100.00 93.75 88.07
80.97 80.60 87.97 81.05 82.75 100.00 100.00 90.21
81.02 81.69 89.74 90.05 86.28 100.00 100.00 91.81
76.01 74.99 95.20 94.33 93.12 100.00 100.00 92.07
77.44 74.86 91.58 83.71 87.61 94.64 100.00 89.09
81.42 82.48 97.03 97.61 95.40 100.00 93.75 93.11
86.58 87.18 88.43 87.84 81.04 100.00 100.00 92.22
89.43 89.54 93.45 89.32 90.26 100.00 100.00 94.47
80.08 80.48 89.17 84.19 85.30 97.50 100.00 90.22
85.70 89.49 88.63 85.87 84.73 100.00 100.00 92.69
80.17 78.73 87.44 84.64 83.32 100.00 100.00 90.60
88.70 89.63 90.72 88.15 87.11 100.00 100.00 93.80

46 โครงการวจิ ัย
การบรหิ ารราชการแผ่นดินบนพืน้ ฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะท่ี ๑)

เฉลย่ี (กระทรวงเกษตรและสหกรณ์) 90.70 83.24 85.21

ตารางท่ี 2.3 (ต่อ)

ตวั ช้วี ัด ด้านการปฏิบัติหน้าที่
ด้านการใช้งบประมาณ
ชอ่ื หนว่ ยงาน ด้านการใช้อำนาจ

สงั กดั กระทรวงมหาดไทย

1 สนง.ปลดั กระทรวงมหาดไทย 90.36 80.72 84.28

2 กรมการปกครอง 99.96 99.53 99.76

3 กรมโยธาธกิ ารและผังเมือง 95.49 90.53 93.34

4 กรมการพฒั นาชมุ ชน 97.84 96.23 96.12

5 กรมท่ดี นิ 99.70 99.14 99.43

6 กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย 88.94 78.43 82.47

7 กรมสง่ เสรมิ การปกครองท้องถิ่น 94.28 84.56 87.49

เฉล่ีย (กระทรวงมหาดไทย) 95.22 89.88 91.84

หมายเหต.ุ ดัดแปลงจาก ITA 2021 ผลการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการดำเนินงานขอ
ป้องกนั และปราบปรามการทุจรติ แห่งชาติ. (https://itas.nacc.go.th/)

82.44 82.34 90.83 87.73 86.65 98.45 99.17 91.48

81.44 81.82 87.06 85.64 81.29 100.00 100.00 90.52
99.28 99.85 97.53 97.37 97.24 100.00 100.00 99.12
91.67 91.68 78.07 61.50 61.87 100.00 100.00 87.91
96.16 96.95 94.15 92.88 93.49 100.00 100.00 97.05
99.23 99.28 90.01 89.07 87.89 100.00 100.00 96.51
79.52 80.98 91.40 87.44 86.71 100.00 100.00 91.17
85.72 87.97 92.87 91.92 90.31 100.00 100.00 93.91
90.43 91.22 90.16 86.55 85.54 100.00 100.00 93.74

องหน่วยงานภาครฐั โดย สำนกั ประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส, 2564. คณะกรรมการ
ด้านการใช้ทรัพย์สิน
ของราชการ
ด้านการแก้ไขปัญหา
คอ ์รรัปชัน
ด้าน ุคณภาพการ
ดำเนินงาน
ด้านประ ิสทธิภาพการ
ื่สอสาร
ด้านการปรับปรุงระบบ
การทำงาน
ด้านการเปิดเผยข้อ ูมล
ด้านการป้องกัน ุทจ ิรต
คะแนนเฉล่ียรวม

สถาบนั บัณฑติ พฒั นบริหารศาสตร์

ภาพท่ี 2.10
การเปรียบเทยี บผลการประเมนิ ITA รายตวั ชี้วดั ของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
(แยกตามกลุ่มภารกจิ )

หมายเหต.ุ ดัดแปลงจาก ITA 2021 ผลการประเมินคุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดำเนินงานของหน่วยงาน
ภาครัฐ โดย สำนกั ประเมินคณุ ธรรมและความโปร่งใส, 2564. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
แหง่ ชาติ. (https://itas.nacc.go.th/)

47

โครงการวิจยั
การบริหารราชการแผ่นดินบนพืน้ ฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ระยะท่ี ๑)

ภาพท่ี 2.11
การเปรยี บเทียบผลการประเมิน ITA รายตัวชว้ี ัด ของหนว่ ยงานในสงั กดั กระทรวงมหาดไทย

หมายเหตุ. ดัดแปลงจาก ITA 2021 ผลการประเมินคณุ ธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหนว่ ยงาน
ภาครัฐ โดย สำนกั ประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส, 2564. คณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทุจรติ
แหง่ ชาต.ิ (https://itas.nacc.go.th/)

48

สถาบนั บณั ฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์

2.5 การพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ย์

การพัฒนาคนให้เป็นคนเก่งและคนดีตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อให้มีความ
พอประมาณ ความมีเหตุผล และการมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวนั้น คนจะต้องมีความรู้ คู่คุณธรรม
ในด้านความรู้ คนต้องมีความรอบรใู้ นวชิ าการต่าง ๆ รอบด้าน เพอ่ื จะไดม้ ีความรอู้ ยา่ งพอเพยี งท่ีจะมา
วางแผนอย่างรอบคอบ และระมัดระวังในทางปฏิบัติ (คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกจิ พอเพียง,
2564) ส่วนด้านคุณธรรมนั้นพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2554 (สำนักงานราชบัณฑิตย
สภา, 2554) ให้ความหมายของคุณธรรม คือ สภาพคุณงามความดี ส่วนจริยธรรมเป็นการแสดงออก
ทางการประพฤติปฏิบัติ ซึ่งสะท้อนคุณธรรมภายในให้เห็นเป็นรูปธรรม (ทิศนา แขมมณี, 2546, 4)
ดังน้นั การสง่ เสรมิ จรยิ ธรรมทด่ี ีงามเป็นส่วนหนึง่ ของการสรา้ งใหค้ นมคี ณุ ธรรม

2.5.1 การพัฒนาทรพั ยากรมนษุ ย์ด้านความเชีย่ วชาญ
เมอื่ สรรหาคัดเลือกคนทเ่ี หมาะสมแลว้ การเพ่ิมพนู ความร้ใู ห้รอบด้าน เพอ่ื ให้มีความรอบคอบ
ในการวางแผนและระมัดระวังในการปฏิบัตินั้นเป็นเงื่อนไขสำคัญในการดำเนินการตามหลักการของ
เศรษฐกิจพอเพียง (คณะอนุกรรมการขบั เคล่ือนเศรษฐกิจพอเพยี ง, 2564) โดยสามารถใช้หลากหลาย
วิธีการในการพัฒนาคนเก่ง เช่น ใช้การฝึกอบรม สัมมนา การศึกษาดูงาน การศึก ษาต่อ
การฝึกปฏิบัติงาน การสอนงาน (coaching) การเป็นพี่เลี้ยง (mentoring) การมอบหมายงานที่มี
คุณคา่ (job enrichment) ขยายขอบเขตของงานให้มากข้ึน (job enlargement) การให้เป็นผู้สืบต่อ
ตำแหนง่ งาน (successor) รวมท้งั การให้คำปรึกษาแนะนำ (consulting) ท้ังนีก้ ารเลือกใช้วิธีการไหน
น้ันจะขึน้ อยูก่ ับวัตถปุ ระสงคท์ ่ีต้องการเพม่ิ พูนความรู้ รวมทั้งลกั ษณะงานทป่ี ฏิบตั ิ
ในปัจจบุ ันวิธีการพัฒนาคนเก่งนน้ั มีการใช้แนวคิดใหม่ ๆ เขา้ มาชว่ ยเหลือ เช่น การออกแบบ
ความคิด (design thinking) และการบริหารแบบคล่องแคลว่ (agile management) (Claus, 2019)
การออกแบบความคิดชว่ ยในการเขา้ ใจถงึ ความต้องการและปัญหาท่แี ท้จริงของพนักงานเพ่อื ออกแบบ
ประสบการณ์ของพนักงาน (employee experience) ให้ดียิ่งขึ้น ซึ่งนับว่าเป็นการธำรงรักษาคนเก่ง
อีกทางหนึ่ง ส่วนการบริหารแบบคล่องแคล่วนั้นควรพิจารณานำมาใช้ในการพัฒนาคนเก่งในสมัย
ปัจจุบันเนื่องจากสภาพในการทำงานเปลี่ยนแปลงไปต้องการความรวดเร็วและยืดหยุ่น การพัฒนา
คนเก่งโดยการให้ทำงานเป็นโครงการแบบทีม (team project) จึงต้องเปลี่ยนแปลงโดยการใช้
การบริหารแบบคล่องแคล่ว (agile) ที่เป็นลักษณะทีมแบบบริหารงานด้วยตัวเอง มีความโปร่งใสและ
หยืดยุ่น นอกจากนี้การพัฒนาคนเก่งจะประสบความสำเร็จนั้นเกี่ยวข้องโดยตรงกับความร่วมมือ

49

โครงการวิจยั
การบริหารราชการแผ่นดินบนพ้นื ฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะท่ี ๑)

ผู้บังคับบัญชาระดับต้นในการเข้าใจถึงความต้องการในการพัฒนาคนเก่ง และมีส่วนร่วมใน
ทกุ กระบวนการในการพฒั นา (Whysall, Owtram, & Brittain, 2019)

นอกจากนี้การสร้างวัฒนธรรมแห่งการเรียนรู้ยังเป็นส่วนหนึ่งที่จะพัฒนาบุ คลากรให้เป็น
คนเก่ง วัฒนธรรมองค์การแห่งการเรียนรู้ (organizational learning culture) หมายถึง บรรยากาศ
ขององค์การที่ส่งเสริมการหาวิธีใหม่ในการทำงาน และการเรียนรู้ซึ่งกันและกันระหว่างพนักงาน
ซึ่งบรรยากาศเช่นนี้นอกจากจะเป็นการเปิดโอกาสให้บุลากรได้เรียนรู้พัฒนาเป็นคนเก่งแล้วยังส่งผล
ตอ่ ผลการปฏิบัติทีด่ ขี ององค์การตอ่ ไป (Choi, 2020; Škerlavaj et al., 2011)

2.5.2 การส่งเสริมจริยธรรมในองค์การ (Ethics Reinforcement)
การส่งเสริมกฎระเบียบทางจริยธรรมนั้นองค์การต้องมีการจัดโปรแกรมที่เน้นการสื่อสาร
การควบคุมดูแลค่านิยมด้านจริยธรรม และข้อบังคับทางกฎหมายในบริบทของการทำงานนั้น ๆ
เพื่อให้บุคลากรเข้าใจถึงพฤติกรรมที่เป็นที่ยอมรับในองค์การนั้น ๆ (Ferrell, Fraedrich & Ferrell,
2011) หากองคก์ ารไม่ได้จดั โปรแกรมท่ีให้ความรู้ สร้างความเข้าใจในเรื่องจรยิ ธรรมและข้อบังคับทาง
กฎหมายที่ชัดเจน จะทำให้เมื่อพนักงานเผชิญกับการตัดสินใจที่เกี่ยวข้องกับเรื่องจริยธรรม เขาจะใช้
วธิ กี ารสงั เกตจากการกระทำของหัวหนา้ งานและเพ่ือนรว่ มงานในการตดั สนิ ใจทางจรยิ ธรรม ซึ่งหากได้
ตัวแบบท่ไี มด่ ีในการตัดสินใจ อาจนำไปสพู่ ฤตกิ รรมทอ่ี งคก์ ารไม่ต้องการให้เกิดขึ้น
การจัดฝึกอบรมเป็นวิธีการหนึ่งในการให้ความรู้ในเรื่อง กฎระเบียบ แนวทางในการปฏิบัติ
ความคาดหวัง มาตรฐานทางสังคม ค่านิยมในองค์การ ซึ่งการฝึกอบรมนั้นจะทำให้บุคลากรตระหนัก
ถึงข้อมูลความรู้ทางจริยธรรม และระบบที่สนับสนุน เช่น ทราบว่าควรรายงานพฤติกรรมที่ผิด
จริยธรรมต่อใคร และขั้นตอนในการดำเนินการเป็นอย่างไร การจัดฝึกอบรมทางด้านจริยธรรมที่ดีจะ
ทำให้บุคลากรนอกจากตระหนักถึงกฎระเบียบวิถีการปฏิบัติตนต่าง ๆ แล้ว ยังทำให้เขามั่นใจใน
การตัดสินใจเม่ือเผชิญปัญหาทางด้านจริยธรรม โดยเนื้อหาในการฝึกอบรมไม่ควรเป็นเนื้อหาบรรยาย
อย่างเดียวแต่ควรแสดงถึงกรณีศึกษาต่าง ๆ ในการตัดสินใจทางจริยธรรม การมีกรณีศึกษาให้ได้
ฝึกตัดสินใจ และมีแบบฝึกหัดให้ได้เรียนรู้กรณีจริยธรรมต่าง ๆ จะทำให้บุคลากรมีความเข้าใจใน
ความรู้ทางด้านจริยธรรมและมีความมั่นใจในการตัดสินใจทางจริยธรรมได้มากยิ่งขึ้น ในหลักสูตร
การฝึกอบรมจริยธรรมนั้นควรมีกิจกรรมที่ให้โอกาสผู้เข้าร่วมได้ฝึกปฏิบัติ ได้เรียนรู้จุดเสี่ยงที่เขา
อาจจะต้องเผชิญในสถานการณท์ เ่ี ส่ียงต่อจรยิ ธรรม มตี วั อย่างการส่อื สารในกรณีตา่ ง ๆ ทเี่ ก่ียวข้องกับ
เรื่องจริยธรรมอย่างเหมาะสม รวมทั้งมีตัวอย่างกรณีศึกษาที่ให้เรียนรู้ถึงผลของการกระทำที่ผิด
จริยธรรม ควรเน้นย้ำว่าแต่ละคนมีหน้าที่รับผิดชอบผลการกระทำของตนเอง (Ferrell, Fraedrich &
Ferrell, 2011)
นอกจากการฝึกอบรมแล้ว การใช้การจำลองทางพฤติกรรม (Behavior simulation)

50

สถาบนั บณั ฑติ พฒั นบริหารศาสตร์

โดยการแจกประเด็นปัญหาทางจริยธรรมต่าง ๆ กับผู้เข้าร่วมกิจกรรม แต่ละคนจะได้รับแจกบทบาท
ในกรณีประเด็นปัญหาทางจริยธรรมนั้น ๆ ซึ่งผู้เข้าร่วมจะต้องร่วมกันพัฒนาทางแก้ไขปัญหาทั้งใน
ระยะสั้น ระยะกลาง และในระยะยาว การใช้การจำลอง (simulation) นี้จะทำให้พนักงานตระหนัก
ถึงกฎระเบยี บทางจริยธรรม และการพฒั นาทักษะการตัดสนิ ใจในกรณีท่ีซบั ซ้อนทางจริยธรรม

เพิ่มเติมจากหลักสูตรการฝึกอบรมเรื่องจริยธรรมดังกล่าวแล้ว องค์การควรสร้างระบบใน
การควบคุมการกระทำอย่างมีจริยธรรมและวัดประสิทธิผลของโปรแกรมการฝึกอบรมนั้น ๆ โดยใช้
วิธีการสังเกตพฤติกรรมของพนักงานเมื่อเผชิญการตัดสินใจทางจริยธรรม ใช้แบบสำรวจตรวจสอบ
การรับรู้และความเข้าใจเรื่องจริยธรรม การายงานพฤติกรรมที่ผิดจริยธรรมมีประโยชน์การควบคุม
และประเมินพฤติกรรมทางจรยิ ธรรม ซงึ่ บางองค์การสร้าง “สายด่วน” ใหส้ ำหรบั เปน็ ช่องทางรายงาน
พฤติกรรมที่เสี่ยงหรือเข้าข่ายไร้จริยธรรม (Weaver & Trevino, 2001) โดยสามารถรายงาน หรือ
สอบถามประเดน็ ข้อสงสยั ทเี่ กีย่ วข้องกับจริยธรรมได้ตลอด 24 ช่ัวโมง โดยไมต่ ้องเปดิ เผยชือ่

อนึ่งการส่งเสริมจริยธรรมนั้นควรเน้นวิธีการส่งเสริมมากกว่าการลงโทษ ( Weaver &
Trevino, 2001) ดังนั้นการให้รางวัลพนักงานที่ปฏิบัติตัวดีเป็นแบบอย่างและการลงโทษเจ้าหน้าท่ี
ที่ปฏิบัติติมิชอบที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมจริยธรรมเป็นกลไกหนึ่งที่จะจูงใจให้พนักงานมีพฤติกรรมที่
ถูกต้อง และตระหนักถึงเสียหากประพฤติตัวมิชอบ และเป็นส่วนหนึ่งในการสร้างให้การเป็นคนดี
กลายเปน็ วัฒนธรรม

นอกจากนี้การสร้างวัฒนธรรมจริยธรรมเป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยให้การสร้างจริยธรรมในองค์การ
นั้นมีความยั่งยืน โดยในการสร้างวัฒนธรรมจริยธรรมนั้น สมาคมการจัดการทรัพยากรมนุษย์
(Society of Human Resource Management: SHRM) เสนอแนะวา่ ประกอบดว้ ย 4 องค์ประกอบ
คือ 1) การปฏบิ ตั ติ ามกฎระเบียบข้อบังคบั (compliance) 2) ความยตุ ิธรรมของนโยบาย/แนวปฏิบัติ
(fairness) 3) ความเชื่อใจในผู้นำ (trust) และ 4) แนวคิดของบุคลากรในการทำงานอย่างมีจริยธรรม
(ethical working self-concept) (Olson, 2013)

กล่าวโดยสรุปการส่งเสริมจริยธรรมเพื่อสร้างให้บุคลากรมีคุณธรรมควรเริ่มต้นจากการมี
ระเบียบปฏิบัติทางจริยธรรมที่ชัดเจน รวมทั้งสร้างระบบในการร้องเรียน หรือรายงานพฤติกรรมที่ไม่
เหมาะสมที่เกี่ยวข้องกับจริยธรรม โดยทั้งระเบียบปฏิบัติและระบบการร้องเรียนนี้ควรถูกถ่ายทอด
สื่อสารให้กับบุคลากรในองค์การในทุกช่องทาง รวมทั้งสื่อสารในการฝึกอบรมเรื่องจริยธรรม
ทงั้ นีก้ ารฝกึ อบรมควรเน้นทัง้ ความร้แู ละการเรียนรู้กรณีศกึ ษาต่าง ๆ ทางจรยิ ธรรม ควรมกี ารใหร้ างวัล
กับตัวแบบในการประพฤติปฏิบัติที่ดีงามและการลงโทษพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมละเมิดระเบียบทาง
จริยธรรม โดยในเรื่องการส่งเสริมจริยธรรมนี้ควรมีผู้บริหารระดับสูงเป็นผู้รับผิดชอบ และโปรแกรม
กจิ กรรมตา่ ง ๆ ทจี่ ดั ขนึ้ เพือ่ ส่งเสรมิ จริยธรรมควรมกี ารวัดผล และปรบั ปรงุ ผลอย่างตอ่ เนื่อง

51

โครงการวิจยั
การบรหิ ารราชการแผ่นดนิ บนพน้ื ฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ระยะที่ ๑)

2.5.3 การพัฒนาทรพั ยากรมนษุ ย์ในภาคราชการ
การพฒั นาบุคลากรภาคราชการในทน่ี ้ีจะกลา่ วถึงบทบาทของหนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวข้องกับการจัด
หลกั สตู รต่าง ๆ เพือ่ พฒั นาบุคลากรภาครัฐ ได้แก่ สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.)
หนว่ ยงานในสงั กดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และหนว่ ยงานในสังกดั กระทรวงมหาดไทย

1) สำนกั งานคณะกรรมการข้าราชการพลเรอื น (ก.พ.)
ได้ออกแบบหลักสูตรฝึกอบรมเพื่อการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของข้าราชการฝ่าย
พลเรือน โดยจัดหลักสูตรฝึกอบรมสำหรับนักบริหารระดับสูง หลักสูตรนักทรัพยากรบุคคลมืออาชีพ
หลักสูตรการเป็นข้าราชการที่ดี และหลักสูตรการพัฒนาข้าราชการระหว่างสิงคโปร์และไทย
นอกจากนี้ยังมีการใช้การเรียนรู้ทางไกลของเครือข่ายสำนักงาน ก.พ. (OCSC Learning Portal)
เพื่อความสะดวกในการเรียนรู้ของข้าราชการพลเรือน ซึ่งประกอบด้วยหลักสูตรเพื่อพัฒนาความรู้ใน
หมวดต่าง ๆ เช่น หมวดการพัฒนาองค์ความรู้ หมวดการพัฒนาทักษะ และหมวดการพัฒนา
สมรรถนะหลกั ของข้าราชการ (สำนกั งานคณะกรรมการข้าราชการพลเรอื น, 2564)
จากหลักสูตรแผนปฏิบัติการฝึกอบรมหลักสูตรของสำนักงานคณะกรรมการ
ข้าราชการพลเรือน ประจำปีงบประมาณ 2564 เมื่อนำมาพิจารณาจำแนกผลสัมฤทธิ์ของหลักสูตร/
โครงการฝึกอบรม ออกเป็น 2 ประเภทคือ เพื่อสร้างให้เกิดความรู้ และเพื่อสร้างให้เกิดคุณธรรมและ
เศรษฐกิจพอเพียง โดยพิจารณาจากขอบเขตเนื้อหาวิชาหลักพบว่า หลักสูตรทั้งหมดมีผลสมั ฤทธิ์เพื่อ
สร้างให้เกิดความรู้ มีเพียงบางหลักสูตรที่มีผลสัมฤทธ์ิเพ่ือสร้างใหเ้ กิดคุณธรรมและเศรษฐกิจพอเพียง
ทีป่ รากฏในเนื้อหาของการฝึกอบรม ไดแ้ ก่

(1) หลักสูตรนักบริหารระดับสูง: ผู้นำที่มีวิสัยทัศน์และคุณธรรม (นบส.1)
ตัวอย่างเช่น หมวดวิชาที่ 2 บทบาทหน้าที่ของนักบริหารระดับสูง ด้านการบริหารทิศทาง นโยบาย
และการบริหารการเปลี่ยนแปลง (visioning, managing direction and change) ที่มีวัตถุประสงค์
ของหมวดวิชา เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมพัฒนาทักษะ สมรรถนะ ด้านการสร้างวิสัยทัศน์
การกำหนดทิศทางการบริหารราชการ การสร้างธรรมาภิบาล การสร้างการเปลี่ยนแปลง การสร้าง
การมีส่วนร่วมในการเปล่ียนแปลง การบริหารจัดการและประเมินผลการเปลี่ยนแปลง ในการกำหนด
นโยบายสาธารณะและการจัดบริการสาธารณะ ตามบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ เพื่อสนองตอบ
ความต้องการของสังคมและการพัฒนาประเทศทั้งในระยะสน้ั และระยะยาว

(2) หลักสูตรนักบริหารระดับสูง: ผู้บริหารส่วนราชการ (นบส. 2)
ตัวอย่างเช่น จากองค์ประกอบเนื้อหาวิชา ด้านทักษะการเป็นผู้นำ (leadership skills) ที่เน้น
การเรยี นรู้เพ่ือเสรมิ สร้างภาวะผนู้ ำท่ีเป็นสากล ทนั ต่อการเปล่ียนแปลงของสถานการณ์ท้ังภายในและ
ภายนอกประเทศ เปน็ ผนู้ ำในการสรา้ งวฒั นธรรมองคก์ รพร้อมรองรบั การเปลย่ี นแปลงและสามารถนำ
การเปลี่ยนแปลงด้วยตนเอง เป็นผู้นำที่พร้อมด้วยคุณธรรมและจริยธรรม เป็นต้นแบบที่ดีในการ

52

สถาบนั บณั ฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์

ทำงานกับผูใ้ ตบ้ งั คับบัญชา มคี วามน่าเชอื่ ถือและไว้วางใจ
(3) หลักสูตรการเป็นข้าราชการที่ดี ตัวอย่างเช่น หัวข้อหลักธรรมาภิบาล

ของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี หัวข้อแนวคิดของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และหัวข้อ
คุณลกั ษณะท่ีดขี องข้าราชการยุคใหม่

(4) การเรียนรู้ทางไกลของเครือข่ายสำนักงาน ก.พ. (OCSC Learning
Portal) ในรายวชิ าการเรียนรูต้ ามรอยพระยุคลบาท

2) หนว่ ยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
หน่วยงานที่มีภารกิจด้านการพัฒนาและฝึกอบรมบุคลากรจำนวน 2 สถาบันคือ
1) สถาบันเกษตราธิการ สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และ 2) สถาบันพัฒนาการ
ชลประทาน กรมชลประทาน โดยสถาบันเกษตราธิการ ได้กำหนดแผนปฏิบัติหลักสูตรการฝึกอบรม
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ประกอบดว้ ยโครงการ/หลกั สตู รฝึกอบรมตามยุทธศาสตร์การพัฒนา
ทรัพยากรบุคคล จำนวน 10 โครงการ มีกลมุ่ เป้าหมาย 430 คน (สำนกั งานปลัดกระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ สถาบันเกษตราธิการ, 2564) เมื่อนำมาพิจารณาจำแนกผลสัมฤทธิ์ของหลักสูตร/โครงการ
ฝึกอบรม ออกเป็น 2 ประเภทคือ เพ่ือสรา้ งให้เกิดความรู้ความเช่ียวชาญในงานวิชาชีพ และเพื่อสร้าง
ให้เกิดคุณธรรมบนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยพิจารณาจากขอบเขตเนื้อหาวิชา
หลักพบว่า หลักสูตรทั้งหมดมีผลสัมฤทธิ์เพื่อสร้างให้เกิดความรู้ความเชี่ยวชาญในงานวิชาชีพ และ
มีเพียงบางหลักสูตรที่มีผลสัมฤทธิ์เพื่อสร้างให้เกิดคุณธรรมบนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง
สำหรับแผนปฏิบัติหลักสูตรการฝึกอบรมสถาบันพัฒนาการชลประทาน ประจำปี
งบประมาณ 2564 สถาบันพัฒนาการชลประทาน ได้จัดหลักสูตรฝึกอบรมทั้งหมด 4 หลักสูตร
เมื่อนำมาพิจารณาจำแนกผลสัมฤทธิ์ของหลักสูตร/โครงการฝึกอบรม ออกเป็น 2 ประเภทคือ
เพื่อสร้างให้เกิดความรู้ความเชี่ยวชาญในวิชาชีพ และสร้างให้เกิดคุณธรรมตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง โดยพิจารณาจากขอบเขตเนื้อหาวิชาหลักพบว่า หลักสูตรทั้งหมดมีผลสัมฤทธิ์เพอื่
สร้างให้เกิดความรู้ แต่มีเพียง หลักสูตรผู้อำนวยการโครงการ ที่มีผลสมั ฤทธ์ิเพือ่ สร้างให้เกดิ คุณธรรม
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโดยอยู่ในเนื้อหาวิชา “หัวข้อการน้อมนำแนวพระราชดำริ
ศาสตร์ของพระราชาและปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในงานชลประทาน” และระบุใน
วัตถุประสงค์ของโครงการฝึกอบรมเพื่อ “ให้เป็นผู้รอบรู้งานทุกสาขาที่เกี่ยวข้องกับงานชลประทาน
โดยเฉพาะอย่างยิ่งการน้อมนำแนวพระราชดำริศาสตร์ของพระราชาและปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี งมาใช้ในงานขลประทาน” (สถาบันพัฒนาการชลประทาน, 2564)

53

โครงการวจิ ัย
การบริหารราชการแผ่นดนิ บนพืน้ ฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะที่ ๑)

จากขอ้ มลู ท่ีกล่าวมาเร่ืองแผนปฏิบตั ิหลักสูตรการฝึกอบรมของกระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ที่ประกอบด้วยสถาบันเกษตราธิการ และสถาบันพัฒนาการชลประทาน เมื่อพิจารณาถึง
การออกแบบหลักสูตรฝึกอบรมจะเห็นว่าเป็นหลักสูตรฝึกอบรมเพื่อขับเคลื่อนพันธกิจของกระทรวง
เกษตรและสหกรณ์และภารกจิ ของกรมต่าง ๆ โดย 1) สถาบนั เกษตราธิการ เปน็ สถาบนั ฝึกอบรมหลัก
ของกระทรวงจะจัดหลักสูตรฝึกอบรมส่วนใหญ่เพื่อการพัฒนาผู้บริหารระดับต้น ระดับกลาง และ
ระดับสูงให้มีภาวะผู้นำ มีความพร้อมด้านวิชาการ มีความมืออาชีพในด้านเกษตรและสหกรณ์ และมี
ความพร้อมในการเติบโตในสายอาชีพ 2) สถาบันพัฒนาการชลประทาน ออกแบบหลักสูตรฝึกอบรม
เพื่อพัฒนาบุคลากรของกรมชลประทานโดยเฉพาะ หลักสูตรฝึกอบรมประกอบด้วยหลักสูตร
การพัฒนาผู้บริหาร ผู้อำนวยการโครงการ หลักสูตรพัฒนาด้านภาษา และหลักสูตรเทคโนโลยีด้าน
ชลประทาน

3) หนว่ ยงานในสังกัดกระทรวงมหาดไทย
หนว่ ยงานทีม่ ีภารกิจด้านการพฒั นาและฝกึ อบรมบุคลากรมจี ำนวน 6 สถาบัน ได้แก่
1) สถาบันดำรงราชานุภาพ สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย 2) วิทยาลัยการปกครอง
กรมการปกครอง 3) สถาบันการพัฒนาชุมชน กรมพัฒนาชุมชน 4) สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น
กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น 5) สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการป้องกันและบรรเทา
สาธารณภัย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และ 6) สถาบันพฒั นาบคุ ลากรด้านการพัฒนาเมือง
กรมโยธาธกิ ารและผงั เมือง
การดำเนินการฝึกอบรมของสถาบันดำรงราชานุภาพจะดำเนินการผ่านวิทยาลัย
มหาดไทยที่มีหน้าที่ฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงทุกระดับ และ
ผู้บริหารระดับกลาง ผู้บริหารระดับสูงของกระทรวงมหาดไทย ซึ่งในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
วิทยาลัยมหาดไทย ได้จัดหลักสูตรฝึกอบรมทั้งหมด 4 หลักสูตร ได้แก่ หลักสูตรนักปกครองระดับสูง
(นปส.) หลักสูตรนักบริหารระดับกลางฯ (บ.มท.) หลักสูตรการเป็นข้าราชการที่ดี และหลักสูตร
การเพิม่ ประสทิ ธภิ าพในการทำงานสำหรบั ข้าราชการระดับต้น (วทิ ยาลัยมหาดไทย, 2564)
วิทยาลัยการปกครองดำเนินการฝึกอบรมโดยผ่านโรงเรียนการปกครองและศูนย์
การเรียนรู้เพื่อรองรับการฝึกอบรม ได้แก่ โรงเรียนนายอำเภอ โรงเรียนข้าราชการฝ่ายปกครอง
โรงเรียนสืบสวนสอบสวนพนักงานฝ่ายปกครอง โรงเรียนปลัดอำเภอ โรงเรียนกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน
สถาบันพัฒนาวชิ าชีพการทะเบียน ศูนย์การเรยี นรูแ้ ละฝึกอบรมภาคเหนือ จังหวัดเชียงใหม่ ศูนย์การ
เรียนรแู้ ละฝึกอบรมภาคเหนือ จงั หวดั ลำพูน และศนู ยก์ ารเรยี นร้แู ละฝึกอบรมภาคใต้ จงั หวัดสุราษฎร์
ธานี ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564วิทยาลัยการปกครองดำเนินการฝึกอบรมบุคลากร ประกอบด้วย
หลักสูตรฝึกอบรม จำนวน 4 หลักสูตร ได้แก่ หลักสูตรกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน จำนวน 31 รุ่น หลักสูตร
ปลัดอำเภอ

54

สถาบันบณั ฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์

จำนวน 1 รนุ่ หลักสูตรนายอำเภอ 1 รนุ่ และหลกั สตู รปลัดอำเภอผู้ปฏบิ ัตงิ านด้านสัญชาติและสถานะ
บุคคล 1 รนุ่ (วิทยาลัยการปกครอง, 2564)

สถาบันการพัฒนาชุมชน มอบหมายให้วิทยาลัยการพัฒนาชุมชน มีหน้าที่ความ
รับผิดชอบเกี่ยวกับการดำเนินงานของโรงเรียนนักบริหารงานพัฒนาชุมชน โรงเรียนนักพัฒนาชุมชน
ศูนย์ส่งเสริมความเป็นเลิศ (หลักสูตรเสริมสมรรถนะและหลักสูตรพิเศษ) และปฏิบัติงานอื่น ๆ
ที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย ซึ่งในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 วิทยาลัยการพัฒนาชุมชน
ได้จัดหลักสูตรอบรมให้แก่บุคลากร จำนวน 5 หลักสูตร เช่น หลักสูตรพัฒนากรก่อนประจำการ
หลักสูตรนกั บริหารงานพฒั นาชุมชนระดับสงู (นพส.) (วทิ ยาลัยพัฒนาชมุ ชน, 2564)

สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น ได้จัดหลักสูตรฝึกอบรมให้กับบุคลากร สามารถแบ่ง
ออกเป็นกลุ่มตามประเภทของหลักสูตรได้ดังนี้ หลักสูตรนักบริหาร จำนวน 13 หลักสูตร หลักสูตร
เจา้ หนา้ ที่ จำนวน 28 หลกั สูตร หลักสูตรคอมพิวเตอร์ จำนวน 5 หลักสตู ร และหลักสูตรฝา่ ยการเมือง
จำนวน 10 หลกั สูตร (สถาบันพฒั นาบคุ ลากรท้องถิ่น, 2564)

สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ได้จัดหลักสูตร
ฝึกอบรมให้กับบุคลากร สามารถแบ่งออกเป็นกลุ่มตามประเภทของหลักสูตรได้ดังน้ี กลุ่มหลักสูตร
ผู้บริหาร จำนวน 5 หลักสูตรกลุ่มหลักสูตรเสริมสร้างศักยภาพการปฏิบัติงานด้านการป้องกันและ
บรรเทาสาธารณภัย จำนวน 7 หลักสูตร กลุ่มหลักสูตรทักษะพิเศษเฉพาะทาง จำนวน 23 หลักสูตร
(สถาบันพัฒนาบุคลากรดา้ นการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั , 2564)

สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง ได้จัดหลักสูตรฝึกอบรมให้กับบุคลากร
สามารถแบ่งออกเป็นกลุ่มตามประเภทของหลักสูตรได้ดังนี้ หลักสูตรสัมมนา และหลักสูตร
การฝกึ อบรมที่เกี่ยวขอ้ งกบั การปฏบิ ัตงิ าน (สถาบันพฒั นาบคุ ลากรดา้ นการพัฒนาเมือง, 2564)

จากข้อมูลที่กล่าวมาเรื่องแผนปฏิบัติหลักสูตรการฝึกอบรมของกระทรวงมหาดไทย
ประกอบด้วยข้อมูลของ สถาบันดำรงราชานุภาพ (สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย) วิทยาลัย
การปกครอง (กรมการปกครอง) สถาบนั การพัฒนาชุมชน (กรมพัฒนาชุมชน) สถาบนั พัฒนาบุคลากร
ท้องถิ่น (กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น) สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการป้องกันและบรรเทา
สาธารณภัย (กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย) และสถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง
(กรมโยธาธิการและผังเมือง) เมื่อพิจารณาถึงลักษณะของหลักสูตรฝึกอบรมจะออกแบบหลักสูตร
ฝึกอบรมเพื่อขับเคลื่อนพันธกิจของกระทรวงมหาดไทยและภารกิจของกรมต่าง ๆ โดยแต่ละสถาบัน
สามารถสรุปไดด้ งั นี้

1) สถาบันดำรงราชานุภาพ เป็นสถาบันฝึกอบรมกลางของกระทรวงมหาดไทยจัด
หลักสูตรฝึกอบรมเพื่อการพัฒนาทักษะของผู้บริหารและภาวะผู้นำของผู้บริหารระดับกลางและ

55

โครงการวจิ ัย
การบริหารราชการแผน่ ดินบนพื้นฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ระยะที่ ๑)

ระดับสงู
2) วิทยาลยั การปกครอง ออกแบบหลักสตู รฝกึ อบรมเฉพาะเพื่อเตรยี มบุคลากรเข้าสู่

ตำแหน่งนายอำเภอ ปลัดอำเภอ และหลกั สูตรพฒั นาทักษะการบรหิ ารใหก้ บั กำนันและผูใ้ หญบ่ ้าน
3) สถาบันการพัฒนาชุมชน ออกแบบหลักสูตรฝึกอบรมเพื่อพัฒนาบุคลากรด้าน

การพฒั นาชุมชนโดยเนน้ ฝึกอบรมเพ่ือพัฒนาเปน็ ผู้บรหิ ารงานพฒั นาชุมชน ในระดับผ้บู ริหารระดับสูง
ผ้อู ำนวยการกลมุ่ งานนักบรหิ ารงานพัฒนาชมุ ชน และพฒั นากรก่อนประจำ

4) สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น ออกแบบหลักสูตรฝึกอบรมเพื่อพัฒนาบุคลากร
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยฝึกอบรมออกเป็นหลักสูตรสำหรับนักบริหาร เช่น หลักสูตร
สำหรับนักบริหารงารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นระดับสูง นักบริหารงานคลัง นักบริหารงานช่าง
นักบริหารการศึกษา นักบริหารงานทั่วไป นักบริหารงานสาธารณสุข เป็นต้น หลักสูตรเจ้าหน้าที่เพ่อื
พัฒนาทักษะการทำงานตามตำแหน่งและภาระงาน เช่น เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล เจ้าหน้าที่ธุรการ
เจ้าหน้าที่งานทะเบียน เจ้าหน้าที่การคลัง เจ้าหน้าพัสดุ เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน เป็นต้น หลักสูตร
ฝึกอบรมคอมพิวเตอร์สำหรับงานด้านการปกครองส่วนท้องถิ่น และหลักสูตรฝ่ายการเมือง
โดยจัดหลักสูตรเพื่อพัฒนาข้าราชการทางการเมือง เช่น นายก/รองนายกองค์การบริหารส่วนจงั หวดั
นายก/รองนายกเทศมนตรี นายก/รองนายกองค์การบริหารส่วนตำบล รองนายก เลขานายก อปท.
ท่ีปรกึ ษานายก อปท. เป็นตน้

5) สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ออกแบบ
หลักสูตรฝึกอบรมเพื่อพัฒนาด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแก่บุคลากรภายในกรมป้องกัน
และบรรเทาสาธารณภัยในทุกระดับ โดยมีหลักสูตรฝึกอบรมแบ่งออกเป็น หลักสูตรผู้บริหารงาน
ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย หลักสูตรเสริมสร้างศักยภาพการปฏิบัติงานด้านการป้องกันและ
บรรเทาสาธารณภยั และหลักสตู รทกั ษะพเิ ศษเฉพาะทางด้านการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย

6) สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง ออกแบบหลักสูตรฝึกอบรมพัฒนา
ความรู้และความสามารถดา้ นการผังเมืองและโยธาธิการ โดยเน้นเปน็ หลักสตู รเฉพาะทางด้านการวาง
ผังเมือง การตรวจการจ้าง การออกแบบและคำนวณโครงสร้างอาคาร การยื่นขออนุญาตก่อสร้าง
อาคาร กฎหมายว่าด้วยการขดุ ดินและถมดิน

จากหลักสูตรแผนปฏิบัติการฝึกอบรมหลักสูตรของกระทรวงมหาดไทย ประจำปี
งบประมาณ พ.ศ. 2564 เมื่อนำมาพิจารณาจำแนกผลสัมฤทธิ์ของหลักสูตร/โครงการฝึกอบรม
ออกเป็น 2 ประเภทคือ เพื่อสร้างให้เกิดความรู้ความเชี่ยวชาญในงานวิชาชีพ และสร้างให้เกิด
คุณธรรมบนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เมื่อพิจารณาจากจัดหลักสูตรของสถาบัน
ต่าง ๆ ตามขอบเขตเนื้อหาพบว่า เกือบทุกสถาบันจัดหลักสูตรเน้นผลสัมฤทธิ์เพื่อสร้างให้เกิดความรู้
ความเชี่ยวชาญในงานวิชาชีพ และมีบางหลักสูตรที่มีผลสัมฤทธิ์เพื่อสร้างให้เกิดคุณธรรมบนพื้นฐาน

56

สถาบนั บัณฑติ พฒั นบริหารศาสตร์

หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ยกเว้นสถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมืองที่จัดหลักสูตร
โดยเน้นทางดา้ นความรูค้ วามเชย่ี วชาญในงานวชิ าชพี เท่านน้ั

ตารางท่ี 2.4 แสดงหลกั สตู รที่เกี่ยวข้องกับการสรา้ งเสริมคุณธรรมและความเข้าใจใน
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ที่จัดโดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงมหาดไทย และ
สำนักงาน ก.พ.

ตารางท่ี 2.4
หลกั สตู รฝึกอบรมท่ีสร้างเสรมิ คุณธรรมและความเข้าใจในหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงของ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงมหาดไทย และสำนักงาน ก.พ. ปี พ.ศ. 2565

หน่วยงาน หลกั สูตร
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
- นกั บรหิ ารระดบั สูงกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
สถาบนั เกษตราธกิ าร - หลักสตู รนกั บริหารการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ ระดับสงู
(สำนกั งานปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
- หลักสูตรนกั บรหิ ารการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ ระดบั กลาง
สถาบันพฒั นาการชลประทาน -หลักสูตรนกั บริหารการพฒั นาการเกษตรและสหกรณ์ ระดับตน้
(กรมชลประทาน) - หลกั สตู รการเป็นข้าราชการทดี่ สี ำหรบั ข้าราชการทอ่ี ยู่ระหว่างทดลองปฏิบตั ิ
กระทรวงมหาดไทย หน้าทร่ี าชการ
สถาบนั ดำรงราชานภุ าพ - หลักสตู รผ้อู ำนวยการโครงการ
(สำนกั งานปลัดกระทรวงมหาดไทย)
- หลกั สูตรนกั ปกครองระดับสูง (นปส.)
วิทยาลยั การปกครอง - หลักสูตรนกั บรหิ ารระดบั กลาง
(กรมการปกครอง) - หลักสูตรการเป็นข้าราชการท่ีดี
- หลักสูตรกำนัน ผ้ใู หญบ่ ้าน
สถาบันการพัฒนาชมุ ชน - หลกั สตู รปลดั อำเภอ
(กรมพฒั นาชุมชน) - หลักสตู รนายอำเภอ
สถาบันพฒั นาบุคลากรทอ้ งถนิ่ - หลักสูตรพฒั นากรกอ่ นประจำการ
(กรมสง่ เสริมการปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ) - หลกั สตู รนกั บริหารงานพัฒนาชุมชนระดับสงู (นพส.)
สถาบันพฒั นาบคุ ลากรด้านการปอ้ งกนั และบรรเทา หลักสตู รนกั วิชาการเกษตร
สาธารณภยั (กรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย)
สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพฒั นาเมอื ง หลักสตู รนกั บริหารงานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั
(กรมโยธาธกิ ารและผังเมอื ง)
(ไม่พบหลักสูตร)

57


Click to View FlipBook Version