The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการวิจัย การบริหารราชการแผ่นดิน บนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะที่1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by SEP Action, 2022-04-18 09:28:41

รายงานผลการทำกิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัย

โครงการวิจัย การบริหารราชการแผ่นดิน บนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะที่1)

Keywords: sepaction,เศรษฐกิจพอเพียง

โครงการวิจัย
การบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ บนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ระยะที่ ๑)

ตารางท่ี 2.4 (ตอ่ )

หน่วยงาน หลกั สูตร
สำนกั งาน ก.พ.
- หลักสูตรนกั บรหิ ารระดบั สูง: ผูน้ ำทมี่ วี สิ ัยทัศน์และคณุ ธรรม (นบส.1)
สำนกั งาน ก.พ. - หลกั สตู รนกั บริหารระดบั สูง: ผู้บริหารส่วนราชการ (นบส. 2)

หมายเหตุ. (ตารางสถาบันเกษตราธิการ) ดัดแปลงจาก ขออนุมัติแผนพัฒนาบุคลากรกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ประจำปีงบประมาณ พ .ศ.2565 โดย สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สถาบันเกษตราธิการ, 2564
(https://www.kst.go.th/uploads/files/PJgom1633338976.pdf); (ตารางสถาบันพัฒนาการชลประทาน)
ดัดแปลงจาก โครงการฝึกอบรม ประจำปีงบประมาณ พ .ศ. 2564 โดย สถาบันพัฒนาการชลประทาน, 2564
(http://idi.rid.go.th/course_training.html) ;(ตารางสถาบันดำรงราชานุภาพ) ดัดแปลงจาก หลักสูตรการ
ฝึกอบรม โดย วิทยาลัยมหาดไทย, 2564 (http://www.stabundamrong.go.th/web/training1.html); (ตาราง
วิทยาลัยการปกครอง) ดัดแปลงจาก ข่าวประชาสัมพันธ์ทั่วไป โดย วิทยาลัยการปกครอง, 2564
(http://www.iadopa.org/); (ตารางสถาบันการพัฒนาชุมชน) ดัดแปลงจาก หลักสูตรการฝึกอบรม ประชุม/
มมนาสั โดย วิทยาลัยพัฒนาชุมชน, 2564 (https://train.cdd.go.th/download/หลักสูตรการฝึกอบรม); (ตาราง
สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น) ดัดแปลงจาก หลักสูตรการฝึกอบรม โดย สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น, 2564
(http://www.lpdi.go.th/index.php?option=com_content&view=article&id=76&Itemid=41); ( ต า ร า ง
สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย) ดัดแปลงจาก ปฏิทินการฝึกอบรมประจำปี
งบประมาณ พ2564 .ศ . โดย สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย, 2564
(https://idmcd.v24.org/2020/2564-2); (ตารางสถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง) ดัดแปลงจาก
แผนพัฒนาบุคลากรการฝึกอบรม/สัมมนา ประจำปี พ2564.ศ. โดย สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง,
2564 (http://oldoffice.dpt.go.th/udti/images/pdf/total_plan_2564.pdf); (ตารางสำนักงาน ก.พ.) ดัดแปลง
จาก การพัฒนาข้าราชการพลเรือน โดย สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน , 2564
(http://oldoffice.dpt.go.th/udti/images/pdf/total_plan_2564.pdf)

2.6 ยุทธศาสตร์ชาตแิ ละแผนแมบ่ ทในการพฒั นาประเทศ

ทิศทางของการพัฒนาประเทศในระยะยาวเพื่อมุ่งไปสู่เป้าหมายอย่างยั่ง ยืนบนหลักแห่ง
ธรรมาภิบาล ได้ถูกกำกับโดยยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ซึ่งครอบคลุมช่วงระยะเวลาตั้งแต่ พ.ศ.2561 ถึง
พ.ศ.2580 เพอ่ื ใช้เปน็ กรอบแนวทางในการกำหนดนโยบายการบริหารราชการแผ่นดินของรัฐบาลให้มี
ความต่อเนื่อง ตลอดจนเพื่อให้ภาคส่วนต่าง ๆ ใช้เป็นกรอบในการจัดทำแผนงาน โครงการให้
สอดคล้องและบูรณาการกัน การจัดทำยุทธศาสตร์ชาติจึงได้ถูกกำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 มาตรา 65 ให้มียุทธศาสตร์ชาติเป็นเป้าหมายการพัฒนาประเทศ

58

สถาบนั บัณฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์

อย่างยงั่ ยนื เพอ่ื เป็นกรอบในการจดั ทำแผนต่าง ๆ เกิดการผลักดนั ไปส่เู ป้าหมายเดียวกัน นอกจากนั้น
ยังได้กำหนดใหก้ ารเสนอร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี และการแถลงนโยบายของ
คณะรัฐมนตรี ต้องมีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติดังกล่าวไว้ในบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ
ในมาตรา 162 และมาตรา 270 ตามลำดับอีกด้วย และเพื่อให้การกำหนดจัดทำยุทธศาสตร์ชาติ
มีความเป็นรูปธรรมชัดเจน จึงได้มีการตราพระราชบัญญัติจัดทำยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2560
ซึ่งกำหนดให้หน่วยงานของรัฐทุกหน่วยงานมีหน้าที่ดำเนินการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามที่กำหนดไว้
ในยุทธศาสตรช์ าติ ได้แก่ การดำเนินการ การรายงานต่อสำนกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจ
และสงั คมแห่งชาตใิ นฐานะสำนกั งานเลขานุการฯ เป็นตน้ มกี ารระบอุ งคป์ ระกอบของยุทธศาสตร์ชาติ
อันได้แก่ วิสัยทัศน์พัฒนาประเทศ เป้าหมายการพัฒนาระยะยาว กำหนดเวลาและตัวชี้วัด และ
ยุทธศาสตร์ต่าง ๆ ตลอดจนการกำหนดให้มีคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ 6 คณะเป็นผู้รับผิดชอบ
ในการจัดทำร่าง ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลยุทธศาสตร์ชาติซึ่งประกอบไปด้วย 6 ประเด็น
ยุทธศาสตร์ ได้แก่ ดา้ นความมนั่ คง ดา้ นขีดความสามารถในการแข่งขนั ด้านการพัฒนาและเสริมสร้าง
ทรัพยากรมนุษย์ ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ด้านการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ี
เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารภาครัฐ ยุทธศาสตรท์ ัง้ 6
ด้านดังกล่าวถือเป็นกลไกขับเคลื่อนสำคัญต่อการบรรลุวิสั ยทัศน์ประเทศไทย 2580 ที่ว่า
“ประเทศมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง” โดยมีเปา้ หมายการพฒั นาประเทศในภาพรวม คือ “ประเทศชาตมิ ่นั คง ประชาชน
มีความสขุ เศรษฐกิจพัฒนาอยา่ งต่อเนื่อง สังคมเป็นธรรม ฐานทรพั ยากรธรรมชาติยัง่ ยืน”

ในการขับเคลื่อนประเด็นยุทธศาสตร์ 6 ด้านดังกล่าว ได้มีการจัดทำร่างแผนแม่บท 23
ประเด็นซึ่งครอบคลุมยุทธศาสตร์ทุกด้าน แผนแม่บทเหล่าน้ี ได้แก่ ความมั่นคง การต่างประเทศ
การเกษตร อุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต การท่องเที่ยว พื้นที่และเมืองน่าอยู่อัจฉริยะ
โครงสร้างพื้นฐานระบบโลจิสติกส์และดิจิทัล ผู้ประกอบการและวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
ยุคใหม่ เขตเศรษฐกิจพิเศษ การปรับเปลี่ยนค่านิยมและวัฒนธรรม ศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต
การพัฒนาการเรยี นรู้ การเสรมิ สรา้ งคนไทยใหม้ ีสขุ ภาวะทด่ี ี ศักยภาพการกฬี า การเสรมิ สร้างพลงั ทาง
สังคม เศรษฐกิจฐานราก ความเสมอภาคและหลกั ประกนั ทางสงั คม การเติบโตอย่างย่งั ยนื การบริหาร
จดั การน้ำทัง้ ระบบ การบริการประชาชนและประสิทธภิ าพภาครัฐ การต่อตา้ นการทจุ ริตและประพฤติ
มิชอบ กฎหมายและกระบวนการยุติธรรม การวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ทั้งนี้ในแผนแม่บท 23
ประเด็นดังกล่าว ยังได้มีการกำหนดเป้าหมายรวม ตัวชี้วัดโดยการกำหนดค่าเป้าหมายทุก 5 ปี
สำหรับระดับย่อยลงมาก็มีการจัดทำแผนย่อย โครงการ ซึ่งเป็นแผนงานของหน่วยงานผู้ปฏิบัติ
นอกจากนั้นยังได้มีการกำหนดประเด็นเร่งด่วนในช่วง 5 ปีแรกของแผน (พ.ศ. 2561-พ.ศ. 2565)

59

โครงการวจิ ยั
การบริหารราชการแผน่ ดินบนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ระยะท่ี ๑)

ประกอบด้วย 15 ประเด็น ได้แก่ ตำบลมั่นคง มั่งคั่งยั่งยืน แก้ไขปัญหาความมั่นคงเร่งด่วน แก้ปัญหา
ทุจริต บริหารจัดการน้ำและมลพิษ การทำงานภาครัฐ สภาพแวดล้อม สังคมสูงวัย คนและการศึกษา
เศรษฐกิจฐานราก บริการสาธารณสุข กระจายศูนย์กลางความเจริญ EEC+SEC การพัฒนาระบบ
โลจิสติกส์ การท่องเที่ยว อุตสาหกรรมที่มีศักยภาพ (สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน,
2562; สำนักงานสภาพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ, 2561)

ดังกล่าวแล้วว่าแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติเป็นเครื่องมือสำคัญในการถ่ายทอด
เป้าหมายและประเด็นยุทธศาสตร์ชาติ รวมทั้งช่วยขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ใหบ้ รรลุตามเป้าหมายที่วาง
ไว้ในปีพ.ศ. 2580 โดยแผนแม่บทประกอบด้วยสถานการณ์และแนวโน้มที่เกี่ยวข้อง เป้าหมายและ
ตัวชี้วัดในการดำเนินการ 4 ช่วงเวลา ช่วงละ 5 ปี จำนวน 23 ฉบับ ซึ่งโครงสร้างหลักของแผนแม่บท
ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติมี 2 ส่วน ได้แก่ 1) ประเด็นแผนแม่บท (เป้าหมาย ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมายใน
ระดับประเด็น) ใช้เพื่อติดตามและประเมินผลการดำเนินงานในระดับผลลัพธ์ชั้นกลาง 2) แผนย่อย
ของแผนแม่บท (เป้าหมาย ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมายในระดับย่อย) ใช้เพื่อติดตามและประเมินผล
การดำเนินงานในระดับผลลัพธ์ขั้นต้น โดยสามารถสรุปแผนแม่บททั้ง 23 ฉบับได้ตามประเด็น
ดงั ตอ่ ไปนี้ (สำนกั งานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ, 2562 )

ประมวลผลความเก่ียวข้องของหนว่ ยงานในสงั กัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ต่อเป้าหมาย
แผนแม่บทย่อย 140 เป้าหมาย ตารางที่ 2.5 ยกมาเป็นตัวอย่างให้ดูบางส่วนที่หน่วยงานในสังกัด
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์มีความเกี่ยวข้องหลักหรือสนับสนุนต่อเป้าหมายแผนแม่บทย่อย ซึ่งจะ
เห็นได้ว่าหน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์มีความเกี่ยวข้องในแผนแม่บทที่ 03
ด้านการเกษตร

คำอธิบายหมายเลข 1 หมายถึง หน่วยงานมีความเกี่ยวข้องหลักกับเป้าหมายแผน
แม่บทยอ่ ย

2 หมายถงึ หน่วยงานมคี วามเกี่ยวข้องสนับสนุนกบั เปา้ หมายแผนแมบ่ ทย่อย
* หมายถึง กรณีที่หน่วยงานเจ้าภาพฯพิจารณาเพิ่มเติมหน่วยงาดังกล่าวเป็นหน่วยงานท่ี
เกีย่ วข้องหลกั หรอื สนบั สนนุ กบั เป้าหมายแผนแมบ่ ทยอ่ ย

60

คำอธิบายอกั ษรย่อ สถาบนั บัณฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์

สป.กษ: สำนกั งานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กวก. : กรมวชิ าการเกษตร
กปม. : กรมประมง
กปศ. : กรมปศสุ ตั ว์
กชป. : กรมชลประทาน
กพท. : กรมพัฒนาทีด่ ิน
กสก. : กรมส่งเสริมการเกษตร
กสส. : กรมส่งเสริมสหกรณ์
กตส. : กรมตรวจบญั ชีสหกรณ์
สศก. : สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตร
สปก. : สำนักงานการปฏริ ูปท่ีดินเพอ่ื เกษตรกรรม
มกอช. : สำนักงานมาตรฐานสนิ ค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ
กฝล. : กรมฝนหลวงและการบินเกษตร
กกข. : กรมการข้าว
กมม. : กรมหม่อนไหม

61

62 โครงการวิจยั
การบริหารราชการแผน่ ดินบนพน้ื ฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ระยะที่ ๑)

ตารางที่ 2.5
ความเกยี่ วข้องของหน่วยงานในสังกดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ต่อเปา้ หมายแผนแ

แผนแม่บท หนว่ ยงานระดบั กรมหรอื เทยี บเทา่ สป.กษ
ในสังกดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กวก.
กปม.
23 แผนแมบ่ ท /140 เปา้ หมายแผนแม่บทยอ่ ย

03 การเกษตร

สินคา้ เกษตรอตั ลกั ษณพ์ นื้ ถิน่ มีมูลคา่ เพมิ่ ขึ้น 2 1*

สินคา้ เกษตรปลอดภัยมมี ูลค่าเพ่ิมขน้ึ 2 1 1*

ผลิตภณั ฑเ์ กษตรปลอดภัยของไทยไดร้ บั การยอมรับดา้ นคุณภาพ 1 1*
ความปลอดภยั และคณุ คา่ ทางโภชนาการสงู ขน้ึ

สนิ ค้าเกษตรชวี ภาพมีมูลค่าเพมิ่ ข้ึน 2 1 1*

วิสาหกจิ การเกษตรจากฐานชีวภาพและภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ มี 2
การจัดต้งั ในทกุ ตำบลเพ่มิ ขน้ึ

สินคา้ เกษตรแปรรปู และผลติ ภัณฑ์มมี ูลค่าเพ่มิ ขึ้น 1

สินค้าทไ่ี ด้จากเทคโนโลยสี มัยใหม่/อัจฉริยะมีมลู คา่ เพิ่มข้นึ 1 1*

ผลผลติ ตอ่ หนว่ ยของฟาร์มหรือแปลงทม่ี ีการใช้เทคโนโลยี 1 1*

สมยั ใหม/่ อัจฉรยิ ะเพมิ่ ขึ้น

ประสทิ ธิภาพการผลิตสนิ คา้ เกษตรตอ่ หน่วยมีการปรับตวั เพ่ิมขึ้น 2 1 1*

สถาบันเกษตรกร (สหกรณ์ วิสาหกจิ ชุมชน และกลุ่มเปา้ หมาย)

ท่ีขึ้นทะเบียนกบั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีความเขม้ แข็งใน

ระดับมาตรฐานเพิม่ ขึ้น

แม่บทยอ่ ย

กปศ.
กชป.
กพท.
กสก.
กสส.
กตส.
สศก.
สปก.
มกอช.
กฝล.
กกข.
กมม.

1 2* 1 2 2* 2 2* 1* 1

1 122221 11

1* 1 1 2 1 1 1*

1 1* 1 222 1* 1*

11 2

1 11 2 1
1 2* 1 1 22 1 1*
1* 2* 1 1 2 2* 2 1 1*

1 2* 1 2 2 2 2 2 11
1122 2

ตารางท่ี 2.5 (ตอ่ )

แผนแม่บท หน่วยงานระดบั กรมหรอื เทยี บเทา่ สป.กษ
ในสงั กัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กวก.
23 แผนแมบ่ ท /140 เปา้ หมายแผนแม่บทยอ่ ย กปม.

09 เขตเศรษฐกิจพเิ ศษ

การขยายตวั ของผลติ ภัณฑม์ วลรวมของพื้นทเี่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาค 2* 2 1*
ตะวนั ออกเพ่ิมขนึ้

การลงทนุ ในเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก 2* 2* 1*

15 พลงั ทางสงั คม

ภาคีการพฒั นามีบทบาทในการพัฒนาสงั คมมากขึน้ อย่างต่อเนื่อง 2 2

ผู้สูงอายุมคี วามเปน็ อยู่ที่ดีขน้ึ อย่างต่อเนอื่ ง

16 เศรษฐกิจฐานราก

ศกั ยภาพและขีดความสามารถของเศรษฐกิจฐานรากเพ่ิมขนึ้ 212
ผู้ประกอบการเศรษฐกจิ ฐานรากมรี ายได้เพ่ิมขึ้นอย่างต่อเนือ่ ง 1*

กลุ่มประชากรรายไดต้ ่ำสุดร้อยละ 40 มคี วามสามารถใน
การบริหารจดั การหนีส้ ินไดม้ ปี ระสทิ ธภิ าพเพ่มิ ข้นึ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง

18 การเติบโตอยา่ งยั่งยืน

การบรโิ ภคและการผลติ ของประเทศมีความยัง่ ยืนสงู ขึ้น 2

พนื้ ท่ีสีเขียวทุกประเภทเพมิ่ ข้ึน

63

สถาบันบัณฑติ พัฒนบริหารศาสตร์

กปศ.
กชป.
กพท.
กสก.
กสส.
กตส.
สศก.
สปก.
มกอช.
กฝล.
กกข.
กมม.

1* 2* 2* 1* 2* 1* 2*
1* 2* 2* 1* 2* 1* 2*

2 2222 2 22
2
22
2 2 222 2
2* 2
2 22

2

64 โครงการวจิ ัย
การบริหารราชการแผ่นดินบนพืน้ ฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะที่ ๑)

ตารางท่ี 2.5 (ตอ่ )

แผนแม่บท หน่วยงานระดบั กรมหรือเทยี บเทา่ สป.กษ
ในสังกดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กวก.
18 23 แผนแมบ่ ท /140 เปา้ หมายแผนแมบ่ ทย่อย กปม.

19 การเติบโตอย่างย่ังยนื (ต่อ) 1
2
ความสมบูรณ์ของระบบนิเวศทางทะเลเพ่ิมข้ึน
การปลอ่ ยก๊าซเรอื นกระจกของประเทศไทยลดลง 2*
คุณภาพน้ำในแหลง่ นำ้ ผวิ ดิน แหล่งนำ้ ใต้ดินและแหล่งน้ำทะเลมี
คณุ ภาพเหมาะสมกบั ประเภทการใชป้ ระโยชน์
คุณภาพอากาศ เสียง และความสั่นสะเทอื นอยรู่ ะดบั มาตรฐานของ
ประเทศไทย
การจดั การขยะมูลฝอย มูลฝอยตดิ เช้อื ของเสียอนั ตราย สารเคมี
ในภาคการเกษตรและการอตุ สาหกรรมมปี ระสิทธภิ าพมากขนึ้
คนไทยมีคุณลักษณะและพฤตกิ รรมทีพ่ งึ ประสงคด์ ้านส่งิ แวดลอ้ ม
และคุณภาพชวี ิตที่ดี

การบริหารจดั การนำ้ ทงั้ ระบบ

ระดับความมั่นคงดา้ นนำ้ อุปโภคบรโิ ภคเพิม่ ขน้ึ จากระดับ 3 ให้เป็น
ระดบั 4 (สูงสุดที่ระดับ5)
ระดับการรับมือกบั พิบตั ภิ ยั ดา้ นนำ้ เพ่มิ ขน้ึ
ระดับความมั่นคงด้านน้ำเพอ่ื การพฒั นาเศรษฐกจิ เพิม่ ข้นึ
ผลิตภาพจากการใชน้ ้ำเพ่มิ ขน้ึ

21 2 กปศ.
2 กชป.
2 กพท.
21 2 กสก.
กสส.
2 กตส.
สศก.
2 สปก.
มกอช.
2 กฝล.
กกข.
กมม.

ตารางท่ี 2.5 (ตอ่ )

แผนแมบ่ ท หน่วยงานระดบั กรมหรอื เทยี บเท่า สป.กษ
ในสังกดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กวก.
20 23 แผนแมบ่ ท /140 เป้าหมายแผนแมบ่ ทย่อย กปม.

การบริการประชาชน และประสทิ ธภิ าพภาครฐั

งานบริการภาครัฐท่ปี รับเปลย่ี นเปน็ ดจิ ทิ ัลเพ่ิมข้ึน

เปิดโอกาสใหภ้ าคสว่ นตา่ ง ๆ มีสว่ นรว่ มในการจัดบริการสาธารณะ

และกิจกรรมสาธารณะอย่างเหมาะสม

ภาครฐั มขี ดี สมรรถนะสงู เทียบเท่ามาตรฐานสากลและมคี วาม 2

คล่องตัว

บคุ ลากรภาครฐั ยึดคา่ นยิ มในการทำงานเพอ่ื ประชาชน ยดึ หลกั 2

คณุ ธรรม จริยธรรม มจี ติ สำนกึ มคี วามสามารถสงู มุ่งมนั่ และเปน็

มอื อาชีพ

21 การต่อตา้ นการทจุ ริตและประพฤตมิ ิชอบ

ประชาชนมวี ัฒนธรรมและพฤติกรรม 2
ซอื่ สตั ยส์ ุจรติ 2
คดที จุ ริตและประพฤตมิ ิชอบลดลง

65

สถาบันบณั ฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์

กปศ.
กชป.
กพท.
กสก.
กสส.
กตส.
สศก.
สปก.
มกอช.
กฝล.
กกข.
กมม.

22 2
1* 2* 2*

2 22

2 2 22222 22

22 2 2
22

66 โครงการวจิ ยั
การบริหารราชการแผ่นดินบนพน้ื ฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ระยะท่ี ๑)

ตารางที่ 2.5 (ต่อ)

แผนแม่บท หน่วยงานระดบั กรมหรือเทยี บเท่า สป.กษ
ในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กวก.
23 23 แผนแมบ่ ท /140 เปา้ หมายแผนแมบ่ ทย่อย กปม.

การวิจัยและพัฒนานวตั กรรม 2

คณุ ภาพชีวิต ศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย์ และความเสมอภาคทาง 2*
สงั คมได้รับการยกระดับเพิ่มขึน้ จากผลการวิจยั และพัฒนา 1*
นวตั กรรมเชงิ สังคม
ประเทศไทยมขี ีดความสามารถของเทคโนโลยีฐานทงั้ 4 ด้าน
ทัดเทียมประเทศทีก่ า้ วหนา้ ในเอเชีย
จำนวนโครงสร้างพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีสมัยใหม่ท่ี
จำเป็นตอ่ การพัฒนาประเทศเพม่ิ ขน้ึ

หมายเหต.ุ ดัดแปลงจาก ความเกยี่ วข้องของหน่วยงานต่อเปา้ หมายแผนแม่บทยอ่ ย 140 เปา้ หมา

2564 (http://nscr.nesdc.go.th/nesdc_uat/coinstitution-moac/)

กปศ.
กชป.
กพท.
กสก.
กสส.
กตส.
สศก.
สปก.
มกอช.
กฝล.
กกข.
กมม.

2* 1

าย (กระทรวงเกษตรและสหกรณ)์ โดย สำนกั งานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ,

สถาบนั บณั ฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์

ประมวลผลความเกี่ยวข้องของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงมหาดไทย ต่อเป้าหมายแผน
แม่บทย่อย 140 เป้าหมาย ตารางที่ 2.6 ยกมาเป็นตัวอย่างให้ดูบางส่วนที่หน่วยงานในสังกัด
กระทรวงมหาดไทยมีความเกี่ยวข้องหลักหรือสนับสนุนต่อเป้าหมายแผนแม่บทย่อย ซึ่งจะเห็นได้ว่า
หน่วยงานในสงั กัดกระทรวงมหาดไทยมีความเกี่ยวข้องในแผนแมบ่ ทหลาย ๆ ด้าน รวมทั้งแผนแม่บท
ที่ 01 ดา้ นความม่ันคง

คำอธบิ ายหมายเลข 1 หมายถึง หนว่ ยงานมคี วามเก่ยี วข้องหลกั กับเป้าหมายแผนแมบ่ ทยอ่ ย
2 หมายถึง หน่วยงานมีความเกีย่ วข้องสนับสนนุ กับเป้าหมายแผนแมบ่ ทย่อย
* หมายถึง กรณีที่หน่วยงานเจ้าภาพฯพิจารณาเพิ่มเติมหน่วยงานดังกล่าวเป็นหน่วยงานท่ี
เก่ียวขอ้ งหลกั หรอื สนับสนุนกบั เป้าหมายแผนแม่บทย่อย

คำอธบิ ายอักษรย่อ กพช. : กรมการพัฒนาชมุ ชน
กปค. : กรมการปกครอง
กปภ. : กรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย
กสถ. : กรมส่งเสรมิ การปกครองท้องถ่นิ
กยผ. : กรมโยธาธิการและผังเมือง
สป.มท. : สำนักงานปลดั กระทรวงมหาดไทย
กทด. : กรมท่ดี นิ

67

68 โครงการวจิ ยั
การบรหิ ารราชการแผ่นดินบนพน้ื ฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะท่ี ๑)

ตารางที่ 2.6
ความเก่ียวข้องของหนว่ ยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ตอ่ เปา้ หมายแผนแ

แผนแม่บท หนว่ ยงานระดบั กรมหรอื เทยี บเทา่
ในสงั กัดกระทรวงมหาดไทย
01
เป้าหมายแผนแม่บทยอ่ ย 140 เปา้ หมาย

ความมั่นคง

ประชาชนมีความมั่นคง ปลอดภัยในชวี ติ และทรพั ยส์ นิ เพม่ิ ขนึ้

คนไทยมีความจงรกั ภกั ดี ซือ่ สตั ย์ พร้อมธำรงรักษาไว้ซึ่งสถาบนั หลกั ของชาติ สถาบันศาสนาเป
ยดึ เหน่ียวจติ ใจของคนไทยสูงขึน้

การเมืองมเี สถียรภาพ และธรรมาภบิ าลสูงข้ึน

ปัญหาความมน่ั คงที่มีอยู่ในปจั จบุ ัน (เชน่ ปญั หายาเสพตดิ ความมั่นคงทางไซเบอร์ การค้ามนษุ
ไดร้ บั การแก้ไขดขี น้ึ จนไมส่ ง่ ผลกระทบต่อการบรหิ ารและพฒั นาประเทศ

ภาคใตม้ คี วามสงบสขุ รม่ เย็นมากข้ึน

หนว่ ยงานดา้ นการขา่ วและประชาคมขา่ วกรองทำงานอย่างมีประสทิ ธภิ าพเพิม่ ขน้ึ และแผนเตรยี
แห่งชาตมิ ีความทันสมยั และปฏิบตั ไิ ด้จริง

ประเทศไทยมีความม่นั คงและสามารถรบั มอื กับความทา้ ทายจากภายนอกไดท้ กุ รูปแบบสูงขนึ้

ประเทศไทยมบี ทบาทเพมิ่ ขน้ึ ในการกำหนดทิศทางและสง่ เสรมิ เสถียรภาพของภูมภิ าคเอเชีย ร
ประเทศแนวหนา้ ในภมู ภิ าคอาเซียน

กลไกการบริหารจดั การความมน่ั คงมีประสทิ ธิภาพสูงขน้ึ

แม่บทย่อย
กพช. กปค กปภ. กสถ. กยผ. สป.มท. กทด.

2 2 2* 2* 2*

ป็นทีเ่ คารพ 22
2
ษย์ ฯลฯ)
2
2 22

22 2
2
ยมพรอ้ ม
2
รวมทัง้ เป็น 2*

ตารางที่ 2.6 (ต่อ)

แผนแม่บท หน่วยงานระดบั กรมหรอื เทยี บเทา่
ในสงั กัดกระทรวงมหาดไทย
05
เป้าหมายแผนแมบ่ ทยอ่ ย 140 เปา้ หมาย
06
ท่องเท่ียว

รายไดจ้ ากการท่องเท่ยี วเชงิ สร้างสรรคแ์ ละวัฒนธรรมเพ่มิ ขนึ้

สนิ คา้ ทอ่ งเท่ยี วเชงิ สร้างสรรค์และวัฒนธรรมได้รับการขึ้นทะเบยี นทรพั ย์สนิ ทางปัญญาเพมิ่ ขึ้น

การเปน็ จุดหมายปลายทางในการจัดการประชมุ นานาชาตขิ องไทย

รายได้จากการทอ่ งเท่ียวเชงิ สขุ ภาพ ความงาม และแพทยแ์ ผนไทย เพมิ่ ขึ้น

การขยายตวั ของท่าเรอื ท่องเท่ียวในประเทศไทยเพ่มิ ขน้ึ

โครงสรา้ งพืน้ ฐานเพ่ือสนับสนุนการทอ่ งเทย่ี วมีคุณภาพและมาตรฐานดขี ้นึ

พื้นทแ่ี ละเมืองน่าอยู่อัจฉรยิ ะ

เมอื งในพ้นื ที่เปา้ หมายทไี่ ดร้ ับการพฒั นา เพื่อกระจายความเจรญิ และลดความเหลื่อมลำ้ ในทกุ ม

ความย่ังยนื ทางภมู นิ ิเวศ ภมู ิสังคม และภูมวิ ัฒนธรรม

69

สถาบนั บณั ฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์

กพช. กปค กปภ. กสถ. กยผ. สป.มท. กทด.

2 2*
2*
2*
มิติ 2 2*
2* 2

2* 2
2* 2*

70 โครงการวิจยั
การบริหารราชการแผน่ ดนิ บนพืน้ ฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ระยะท่ี ๑)

ตารางที่ 2.6 (ต่อ)

แผนแม่บท หนว่ ยงานระดบั กรมหรือเทยี บเทา่
ในสงั กดั กระทรวงมหาดไทย
07
เปา้ หมายแผนแม่บทย่อย 140 เปา้ หมาย
09
โครงสรา้ งพนื้ ฐาน ระบบโลจิสตกิ ส์ และดจิ ิทัล
11
ผเู้ สยี ชีวิตจากอุบตั เิ หตทุ างถนนลดลง
การใช้พลังงานทดแทนท่ผี ลิตภายในประเทศเพ่ิมมากขนึ้
ประสิทธิภาพการใชพ้ ลงั งานของประเทศเพม่ิ ขน้ึ
ประชาชนมคี วามสามารถในการเขา้ ถงึ อนิ เทอร์เน็ตมากขึ้น

เขตเศรษฐกจิ พิเศษ

การขยายตวั ของผลติ ภณั ฑม์ วลรวมของพ้ืนทเี่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออกเพมิ่ ขน้ึ
การลงทนุ ในเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก
การลงทุนในเขตพฒั นาเศรษฐกิจพเิ ศษชายแดนเพิม่ ขึ้น
เมอื งในพื้นทีเ่ ขตพฒั นาเศรษฐกิจพเิ ศษชายแดนทไี่ ดร้ ับการพัฒนาใหเ้ ปน็ เมอื งนา่ อย่มู ากขึน้

ศักยภาพคนตลอดชว่ งชีวิต

ครอบครัวไทยมคี วามเขม้ แขง็ และมีจติ สำนึกความเปน็ ไทย ดำรงชวี ติ แบบพอเพียงมากขึน้
เด็กเกิดอย่างมีคณุ ภาพ มพี ฒั นาการสมวยั สามารถเขา้ ถงึ บรกิ ารที่มคี ุณภาพมากขึ้น

กพช. กปค กปภ. กสถ. กยผ. สป.มท. กทด.

1* 1 1* 1*
2* 2*
2*
2*

2* 1 2*
2* 1*

2
2

1* 1*
2* 1*

ตารางท่ี 2.6 (ต่อ)

แผนแมบ่ ท หน่วยงานระดบั กรมหรอื เทยี บเทา่
ในสังกัดกระทรวงมหาดไทย
13 เปา้ หมายแผนแมบ่ ทยอ่ ย 140 เปา้ หมาย

15 การเสรมิ สรา้ งให้คนไทยมีสขุ ภาวะทีด่ ี

16 จำนวนชมุ ชนสุขภาพดเี พิ่มขึ้น

19 ประชาชนมคี วามรู้สขุ ภาพ เรอ่ื งโรคอบุ ัติใหม่และโรคอบุ ัติซำ้ ท่เี กิดจากการเปลย่ี นแปลงภูมิอาก

พลังทางสังคม

ภาคกี ารพัฒนามบี ทบาทในการพัฒนาสงั คมมากขึ้นอยา่ งตอ่ เน่ือง

ผู้สงู อายมุ คี วามเป็นอยทู่ ่ดี ีขึน้ อย่างต่อเนอ่ื ง

เศรษฐกิจฐานราก

ผปู้ ระกอบการเศรษฐกจิ ฐานรากมรี ายได้เพม่ิ ขึน้ อย่างตอ่ เนอื่ ง
กลุ่มประชากรรายไดต้ ่ำสดุ ร้อยละ 40 มคี วามสามารถในการบริหารจดั การหน้ีสนิ ได้มปี ระสทิ ธ
เพ่ิมขน้ึ อยา่ งตอ่ เนื่อง

การบรหิ ารจดั การน้ำท้งั ระบบ

ระดับการรับมอื กบั พิบัตภิ ัยด้านนำ้ เพ่ิมขน้ึ

71

สถาบนั บัณฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์

กพช. กปค กปภ. กสถ. กยผ. สป.มท. กทด.

2* 2*
2* 2*
กาศมากขนึ้ 2*
1* 1
1
2

1
ธภิ าพ 1

1 2* 2

72 โครงการวิจยั
การบริหารราชการแผ่นดนิ บนพืน้ ฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะท่ี ๑)

ตารางที่ 2.6 (ต่อ)

แผนแมบ่ ท หน่วยงานระดบั กรมหรือเทยี บเทา่
ในสงั กดั กระทรวงมหาดไทย
20
เปา้ หมายแผนแม่บทย่อย 140 เปา้ หมาย
21
การบริการประชาชน และประสทิ ธภิ าพภาครัฐ

งานบริการภาครฐั ทป่ี รบั เปลย่ี นเป็นดจิ ทิ ัลเพม่ิ ข้ึน

หนว่ ยงานภาครัฐบรรลุผลสัมฤทธ์ติ ามเป้าหมายยุทธศาสตรช์ าติ

เปดิ โอกาสใหภ้ าคสว่ นต่าง ๆ มสี ่วนรว่ มในการจัดบรกิ ารสาธารณะและกจิ กรรมสาธารณะอยา่ ง

องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่นต้องมสี มรรถนะและสร้างความทนั สมยั ในการจดั บรกิ ารสาธารณะแ
กิจกรรมสาธารณะให้กบั ประชาชน
บุคลากรภาครัฐยดึ คา่ นยิ มในการทำงานเพอื่ ประชาชน ยดึ หลกั คุณธรรม จรยิ ธรรม
มีจิตสำนึก มีความสามารถสงู มุ่งมน่ั และเป็นมืออาชพี

การต่อตา้ นการทุจริตและประพฤตมิ ิชอบ

ประชาชนมวี ัฒนธรรมและพฤติกรรม
ซ่อื สตั ยส์ จุ รติ

คดีทุจรติ และประพฤตมิ ิชอบลดลง

หมายเหตุ. ดัดแปลงจาก ความเกยี่ วขอ้ งของหนว่ ยงานตอ่ เปา้ หมายแผนแมบ่ ทย่อย 140 เป้าหมา

(http://nscr.nesdc.go.th/coinstitution-moi/)

กพช. กปค กปภ. กสถ. กยผ. สป.มท. กทด.

งเหมาะสม 1* 1* 1
และ 2
1 2* 1*
1

1

2 2* 22

22

าย (กระทรวงมหาดไทย) โดย สำนกั งานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ, 2564

สถาบันบณั ฑติ พฒั นบริหารศาสตร์

ในบทท่ี 2 ทมี ผู้วจิ ยั ได้ทบทวนวรรณกรรมตา่ ง ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั โครงการวจิ ยั ทั้งแนวความคิด
ทฤษฎีที่เกี่ยวขอ้ งกับเศรษฐกจิ พอเพยี ง การบริหารจัดการภาครัฐด้วยเครือ่ งมือสมัยใหม่ การประเมิน
ระดับคุณธรรมในการบริหารจดั การภาครัฐ รวมทั้งการพัฒนาทรพั ยากรมนษุ ย์ท้ังในเชงิ วิชาการทั่วไป
และเฉพาะในภาครัฐ รวมทั้งยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ที่มีการกำหนดไว้เพื่อเป็นทิศทางในการพัฒนา
ประเทศ ทัง้ หมดนเี้ พ่ือเปน็ พืน้ ฐานในการวจิ ยั ตามวตั ถปุ ระสงค์ของโครงการวิจยั นต้ี อ่ ไป

73

โครงการวจิ ยั
การบรหิ ารราชการแผน่ ดินบนพ้นื ฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะท่ี ๑)

74

สถาบนั บัณฑติ พัฒนบริหารศาสตร์

บทท่ี 3
ระเบียบวธิ ีวจิ ัย

ในบทนี้จะพูดถึงกรอบแนวคิดการวิจัย นิยามศัพท์เฉพาะ กลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือในการเก็บ
ขอ้ มูล และวธิ กี ารวเิ คราะห์ขอ้ มูล โดยมหี ัวขอ้ การนำเสนอดังน้ี

3.1 กรอบแนวคดิ การวิจัย
3.2 นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ
3.3 กลุ่มตัวอย่าง
3.4 เครอื่ งมือการเกบ็ ขอ้ มลู
3.5 วธิ กี ารวเิ คราะห์ขอ้ มูล
3.6 เกณฑก์ ารประเมินความเป็นเศรษฐกจิ พอเพยี ง
โดยมีรายละเอยี ดดังน้ี

3.1 กรอบแนวคดิ การวจิ ยั

กรอบแนวคิดของการศึกษาถึงการบริหารราชการแผ่นดินบนพื้นฐานหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงในการวิจัยครั้งนี้ ใช้โมเดลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงของ กัลยาณี
เสนาสุ และ บงกช เจนจรสั สกุล (2562) เปน็ พ้นื ฐาน ดงั นี้

โครงการวจิ ยั
การบริหารราชการแผ่นดินบนพื้นฐานหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ระยะที่ ๑)

ภาพที่ 3.1
โมเดลการประเมินความเป็นเศรษฐกจิ พอเพยี ง 3 ระดับ

หมายเหต.ุ จาก รายงานวิจัย: การบรหิ ารราชการบนพื้นฐานปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (น.47) โดย กลั ยาณี
เสนาสุ และ บงกช เจนจรสั สกลุ , 2562, สำนกั งานกองทนุ สนับสนนุ การวิจยั .

3.2 นิยามศัพทเ์ ฉพาะ

งานวิจยั น้ไี ด้กำหนดนยิ ามตวั แปรตา่ ง ๆ ท่ใี ชด้ งั น้ี
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชน
ในทุกระดบั ตั้งแต่ระดับครอบครวั ระดับชุมชน จนถงึ ระดบั รัฐ ท้ังในการพัฒนาและบริหารประเทศให้
ดำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์
ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจำเป็นที่จะต้องมีระบบ
ภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและ
ภายใน ทั้งนี้จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนำวิชาการ
ต่าง ๆ มาใชใ้ นการวางแผนและการดำเนินการทกุ ขัน้ ตอน และขณะเดยี วกันจะต้องเสริมสร้างพ้ืนฐาน
76

สถาบันบัณฑติ พฒั นบริหารศาสตร์

จิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับให้มีสำนึก
ในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน
ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลง
อย่างรวดเร็วและกว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม จากโลกภายนอกได้เป็น
อยา่ งด”ี (สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ, 2544, หนา้ ก)

ความเป็นเศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง ระดับของการปฏิบัติงานบนพื้นฐานปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งมีการแบ่งระดับความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงเป็น 3 ระดับ ได้แก่ ระดับเข้าข่าย
หน่วยงานได้สะท้อนให้เห็นวิธีการทำงานที่ได้ยึดภูมิคุ้มกันมาเป็นแนวทางในการดำเนินงานต่าง ๆ
ซ่งึ ทำให้สามารถสะท้อนการดำเนนิ การที่เป็นองค์การแห่งความย่ังยืนต่อไปได้ ส่วนในระดับท่ีสูงขึ้นไป
อีก คือ ระดบั เขา้ ใจ หนว่ ยงานไดส้ ะท้อนให้เห็นถงึ วธิ ีคิดในการทำงานที่นอกจากจะได้ยึดภูมิคุ้มกันมา
เป็นแนวทางในการดำเนนิ งานต่าง ๆ แลว้ ยังไดค้ ำนึงถงึ ความพอประมาณท่สี ร้างให้เกิดความสมดุลใน
ทรัพยากรต่าง ๆ ที่จำเป็นต้องใช้ในการทำงาน รวมทั้งทรัพยากรที่สำคัญคือ ทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งใน
ที่สุดแล้วการดำเนินงานก็ยังทำให้เกิดความสมดุลในชีวิตของบุคลากร ทำให้องค์การสามารถแสดง
สถานะองค์การแหง่ ความสุขได้ และหนว่ ยงานดงั กล่าวต้องผา่ นระดับเขา้ ขา่ ยมาก่อน และในความเป็น
เศรษฐกิจพอเพียงระดับสูงสุด คือ ระดับเข้าถึง หน่วยงานได้สะท้อนถึงการดำเนินการในเรื่องต่าง ๆ
ที่มีความมั่นคง ได้ซึมลึกให้เห็นเป็นวิถีชีวิตหรือการดำเนินชีวิตตามปกติ มีทั้งการยึดแนวคิดการมี
ภูมิคุ้มกัน การพอประมาณ และการมีเหตุผล เข้าใจถึงสาเหตุที่มาและผลที่เกิดขึ้น บุคลากรยกระดับ
จากการมองชีวิตของตนเองที่มีความสุขไปสู่การสร้างประโยชน์สุขให้แก่ประเทศชาติ สังคมและ
มวลมนุษยชาติ ซึ่งสรุปได้เป็นการสะท้อนถึงสถานะขององค์การแห่งประโยชน์สุข ซึ่งจะต้องผ่าน
การเปน็ องคก์ ารแหง่ ความย่งั ยนื และองค์การแห่งความสุขมาแลว้

แนวทางการบริหารราชการแผ่นดิน เป็นแนวทางในการบริหารราชการแผ่นดินของประเทศ
ไทยที่มีการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการที่มีกรอบกติการ่วม ตั้งแต่การกำหนดภารกิจ
ยุทธศาสตร์ของหน่วย แผนงาน เป้าหมาย จนถึงการติดตามและประเมินผล เมื่อถึงกำหนด
สิ้นปีงบประมาณ โดยมีแนวทางการขับเคลื่อนประเทศ แผนยุทธศาสตร์และเป้าหมายระดับประเทศ
นโยบายสำคญั เร่งดว่ นของรัฐบาล และเป้าประสงค์ของการบรหิ ารราชการเปน็ เขม็ ทิศนำทาง

การบริหารงานราชการส่วนกลาง เป็นการบริหารราชการภายใต้หลักการรวมอำนาจ
กล่าวคือ อำนาจการบังคับบัญชาและการวินิจฉัยสั่งการสูงสุดนั้น อยู่ที่หน่วยงานหลักที่ตั้งอยู่ภายใน
กรุงเทพมหานคร การบริหารราชการส่วนกลางนั้น แบ่งออกเป็น 4 ระดับ ได้แก่ 1) สำนัก
นายกรัฐมนตรี 2) กระทรวงหรอื ทบวงที่มีฐานะเทยี บเทา่ กระทรวง 3) ทบวงสังกัดสำนักนายกรฐั มนตรี
หรือกระทรวง 4) กรมหรอื ส่วนราชการอืน่ ทมี่ ฐี านะเปน็ กรม

77

โครงการวิจัย
การบรหิ ารราชการแผน่ ดินบนพนื้ ฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะท่ี ๑)

3.3 กลมุ่ ตวั อยา่ ง

ในการเก็บรวบรวมข้อมูล นอกจากการรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิแล้ว จะทำการเก็บข้อมูล
ปฐมภูมิด้วยการสัมภาษณ์ผู้บริหารระดับสูงของกระทรวงและกรม/สำนักงาน การประชุมกลุ่มของ
ผู้บริหารระดับกลาง/ระดบั ตน้ และการสำรวจความคิดเหน็ ของเจา้ หนา้ ท่ีผ้ปู ฏบิ ัติ ท่สี ังกดั ในหน่วยงาน
ราชการส่วนกลาง โดยกลุ่มตัวอย่างเป็นบุคลากรในหน่วยงานตัวอย่าง ระดับกระทรวง
กรม/สำนักงาน ภายใต้การดำเนินงานของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และกระทรวงมหาดไทย
ที่เป็นหน่วยงานการบริหารราชการส่วนกลางทุกหน่วยงาน ดังมีรายละเอียดของหน่วยงานภายใต้
การกำกับดแู ลของท้ัง 2 กระทรวงขา้ งต้นต่อไปนี้

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จำนวน 15 หน่วยงาน ได้แก่ สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตร
และสหกรณ์ สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
กรมการข้าว กรมประมง กรมปศุสัตว์ กรมวิชาการเกษตร กรมหม่อนไหม กรมชลประทาน
กรมฝนหลวงและการบินเกษตร กรมพัฒนาที่ดิน สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
กรมตรวจบัญชสี หกรณ์ กรมสง่ เสรมิ การเกษตร และกรมส่งเสริมสหกรณ์

กระทรวงมหาดไทย จำนวน 7 หน่วยงาน ได้แก่ สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย
กรมการปกครอง กรมการพัฒนาชุมชน กรมที่ดิน การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
กรมโยธาธกิ ารและผังเมือง และกรมสง่ เสรมิ การปกครองท้องถิ่น

วิธกี ารเก็บรวบรวมข้อมูลปฐมภมู ิ ประกอบด้วย 3 วธิ ีการ มีรายละเอียด ดังน้ี
1) การสมั ภาษณ์ (In-depth Interview)

กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารระดับสูง ปลัดกระทรวงหรือผู้แทนที่ได้รับมอบหมาย
จำนวน 2 คน (กระทรวงละ 1 คน) อธิบดีหรือรองอธิบดี ซึ่งประกอบด้วยอธิบดีหรือรองอธิบดีจาก
หน่วยงานในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 15 หน่วยงาน และอธิบดีหรือรองอธิบดีจากหน่วยงานใน
กระทรวงมหาดไทย 7 หน่วยงาน รวมท้ังส้นิ 24 คน

2) การจดั ประชุมกลุ่ม (focus group) มีการดำเนนิ การดังนี้
(1) การจดั ประชมุ กลุ่มรอบท่ี 1
การจัดประชุมกลุ่มรอบที่ 1 มีวัตถุประสงค์เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล

จากผ้บู ริหารระดับกลางและผู้ทรงคุณวุฒิ/เครือข่ายที่เก่ียวข้อง โดยมีรายละเอียดการจัดประชุมกลุ่ม
ในกลุม่ ตวั อย่างดังน้ี

78

สถาบันบณั ฑติ พัฒนบริหารศาสตร์

สำหรับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์: ดำเนินการ 3 ครั้ง ๆ ละ 5 หน่วยงาน
(รวมทั้งหมด 15 หน่วยงาน) ผู้เข้าร่วมประชุมเป็นผู้บริหารระดับกลางจากแต่ละหน่วยงาน จำนวน
4 คน และผทู้ รงคุณวุฒ/ิ เครอื ขา่ ยที่เกย่ี วข้อง รวมประมาณ 25 คนต่อครัง้ รวมท้งั หมด 75 คน

สำหรับกระทรวงมหาดไทย: ดำเนินการ 2 ครั้ง ๆ ละ 3-4 หน่วยงาน
(รวมทงั้ หมด 7 หนว่ ยงาน) ผูเ้ ข้ารว่ มประชมุ เปน็ ผู้บริหารระดบั กลางจากแตล่ ะหนว่ ยงานจำนวน 5 คน
และผ้ทู รงคณุ วุฒิ/เครือข่ายทเ่ี กีย่ วขอ้ ง รวมประมาณ 20-25 คนต่อคร้งั รวมทง้ั หมด 45 คน

(2) การจัดประชมุ กลุม่ รอบท่ี 2
การจัดประชุมกลุ่มรอบที่ 2 มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอผลการวิเคราะห์และ

รบั ฟงั ขอ้ คดิ เหน็ เพิ่มเติมจากผู้บริหารระดับกลางและผู้ทรงคุณวฒุ ิ/เครือขา่ ยทเี่ ก่ียวขอ้ ง ท่ีได้มาร่วมให้
ข้อมูลในการประชุมกลุ่มรอบท่ี 1 โดยการดำเนินการและจำนวนครั้งจะเปน็ ไปเหมือนการจัดในรอบที่
1 กล่าวคือ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จัดประชุม 3 ครั้ง ผู้เข้าร่วมประชุมประมาณ 75 คน และ
กระทรวงมหาดไทยจดั ประชุม 2 ครัง้ ผเู้ ข้าร่วมประชมุ ประมาณ 45 คน

3) การสำรวจความคิดเห็นด้วยแบบสำรวจ (qestionnaires) จากบุคลากรระดับ
ปฏิบัตกิ าร

ในการเก็บข้อมูลด้วยแบบสำรวจนั้น ผู้วิจัยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน
(Multi-Stage Sampling) โดยมีขัน้ ตอนดังน้ี

(1) ผูว้ จิ ยั จำแนกหนว่ ยงานของแตล่ ะกระทรวง ซึ่งประกอบดว้ ย กระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ จำนวน 15 หน่วยงาน และกระทรวงมหาดไทย จำนวน 7 หน่วยงาน (ยกเว้นสำนักงาน
รัฐมนตรี ซง่ึ มจี ำนวนบุคลากรไม่มากพอ)

(2) ในแต่ละกระทรวงผู้วิจัยแบ่งจำนวนประชากร (บุคลากร) ตามพื้นที่ กล่าวคือ
หนว่ ยงานราชการส่วนกลาง หน่วยงานราชการสว่ นภูมิภาค และภาพรวม

(3) ผู้วิจัยหาจำนวนตัวอย่างด้วยวิธีการเปิดตารางกำหนดขนาดจำนวนตัวอย่างท่ี
ความเชื่อมั่น 95% ความคลาดเคลื่อน 10% โดยอ้างอิงจากตารางของ ศิริชัย กาญจนวาสี (2547)
ซึ่งวิธีการใช้หน่วยตัวอย่างนี้เหมาะสมกับการใช้กับงานวิจัยหรือการศึกษาเกี่ยวข้องกับข้อเท็จจริง
(exploration research) และข้อจำกัดเรื่องเวลาในการดำเนินการวิจัยและงบประมาณค่าใช้จ่าย
(กลมุ่ ระเบียบวิธีสถติ สิ ำนักนโยบายและวิชาการสถิติ, 2564) รายละเอียดจำนวนบุคลากรและตัวอย่าง
ของแตล่ ะกระทรวง กรม/สำนกั งาน แสดงดังตารางที่ 3.1 และตารางท่ี 3.2

79

80 โครงการวิจัย
การบรหิ ารราชการแผน่ ดินบนพื้นฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะที่ ๑)

ตารางที่ 3.1
จำนวนบคุ ลากรและจำนวนตัวอย่างจากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (แบ่งตามกลุม่ ภา

กลุ่มภารกิจ หน่วยงาน จำนวนบุคลากร (คน)

ส่วนกลาง สว่ นภมู ิภาค

ส่วนราชการทไ่ี มอ่ ยู่ 1. สำนกั งานปลดั กระทรวง 687 1,235

ภายใต้กลุ่มภารกจิ 2. สำนกั งานมาตรฐานสินค้า*

3. สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตร*

กลุ่มภารกจิ ดา้ น 4. กรมการข้าว*

พฒั นาการผลติ 5. กรมประมง 6,231 1,559

6. กรมปศุสัตว*์

7. กรมวิชาการเกษตร 2,242 6,145

8. กรมหมอ่ นไหม*

กล่มุ ภารกจิ ดา้ นบรกิ าร 9. กรมชลประทาน*

จัดการทรัพยากรเพอื่ 10. กรมฝนหลวงและการบนิ เกษตร*

การผลติ 11. กรมพฒั นาที่ดิน*

12. สำนักงานปฏริ ูปที่ดนิ เพือ่ เกษตรกรรม 655 1,919

กลุ่มภารกจิ ดา้ นส่งเสริม 13. กรมตรวจบัญชสี หกรณ์ 284 2,200

และพฒั นาเกษตรกร 14. กรมส่งเสรมิ การเกษตร 1,942 10,171
และระบบสหกรณ์ 15. กรมสง่ เสรมิ สหกรณ์ 1,029 4,264

รวม

หมายเหต:ุ ขอ้ มลู ได้จากเวบ็ ไซต์ของหนว่ ยงานต่าง ๆ ท่เี ผยแพรใ่ นชว่ งปี พ.ศ. 2563 – 2564 สำหรบั หน่วยงานทไี่ มส่ ามารถคน้ หาข้อมูลบ
ประชากรตามสดั สว่ นที่ได้จากการคำนวณสัดสว่ นเฉล่ยี ของกระทรวง ซง่ึ ในท่ีน้สี ดั สว่ นบคุ ลากรท่ีสังกดั ราชการสว่ นกลาง ตอ่ ราชการสว่ นภ

ารกิจ)

จำนวนตัวอยา่ ง (คน) จำนวนผูต้ อบ สัดส่วนผู้ตอบ
ท่คี วามเช่ือมั่น 95% แบบสอบถาม แบบสอบถามจรงิ ตอ่
ความคลาดเคลื่อน 10% จำนวนตัวอยา่ งท่ี
รวม สว่ นกลาง (คน) กำหนด (รอ้ ยละ)
1,922 88
266 50 88 100.00
1,030 75 52 104.00
2,028 88 80 106.67
89 101.14

7,790 98 46 46.94
9,706 97 99 102.06

8,387 95 143 150.53
1,033 75 2 2.67
20,554 99 77 77.78

497 67 86 128.36
3,185 91 93 102.20

2,574 88 146 165.91
2,484 75 24 32.00
12,113 95 95 100.00
5,293 91 79 86.81
1,272 1,199 94.26
78,862

บคุ ลากรท่แี ยกตามราชการส่วนกลางและส่วนภมู ิภาคได้ ผู้วจิ ัยใชเ้ ครอ่ื งหมาย (*) กำกบั ไว้และจะใชก้ ารประมาณการจำนวน
ภูมิภาค ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ คือ 1:2 จากนัน้ จึงนำข้อมลู ประมาณการของบคุ ลากรไปเปดิ ตารางหาจำนวนตวั อยา่ ง

ตารางที่ 3.2
จำนวนบคุ ลากรและจำนวนตัวอยา่ งจากกระทรวงมหาดไทย (แบ่งตามกล่มุ ภารกจิ )

จำนวนบคุ ล

กลมุ่ ภารกจิ หน่วยงาน

สว่ นราชการไม่อยู่ภายใต้กลุ่ม 1. สำนักงานรฐั มนตรี สว่ นกลาง สว่ นภมู ิภ
ภารกิจ
2. สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย 20 -
กลุ่มภารกจิ ดา้ นกจิ การความ 3. กรมการปกครอง
ม่นั คงภายใน 4. กรมทดี่ นิ 812 2,401
กลุ่มภารกจิ ดา้ นพฒั นาชุมชมและ 5. กรมพัฒนาชุมชน 2,034 14,239
สง่ เสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น 6. กรมสง่ เสรมิ การปกครองส่วนท้องถิ่น 3,054 8,937
กลุม่ ภารกจิ ด้านสาธารณภยั และ 7. กรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั * 569 6,232
พฒั นาเมือง 8. กรมโยธาธกิ ารและผงั เมอื ง 510 2,745
รวม
1,463 1,954

หมายเหตุ: ข้อมูลได้จากเว็บไซท์ของหน่วยงานต่าง ๆ ที่เผยแพร่ในช่วงปี พ.ศ. 2563-2564 สำ
ผู้วิจัยใช้เครื่องหมาย (*) กำกับไวแ้ ละจะใช้การประมาณการจำนวนประชากรตามสัดส่วนที่ได้จาก
ต่อ ราชการส่วนภมู ภิ าค ของกระทรวงมหาดไทย คอื 1:3 จากนั้นจึงนำขอ้ มลู ประมาณการของบุคล

81

สถาบนั บัณฑติ พัฒนบริหารศาสตร์

ลากร จำนวนตัวอย่าง ความ จำนวนผู้ สดั ส่วนผตู้ อบ
เช่ือมน่ั 95% ตอบแบบ แบบสอบถามจรงิ ต่อ
ภาค รวม สอบถาม จำนวนตัวอย่างที่
20 คลาดเคล่อื น 10% กำหนด (ร้อยละ)
ส่วนกลาง (คน)
1 3,213 -
9 16,273 0 -
7 11,991 102.20
2 6,801 91 93 66.32
5 3,255 95 63 103.10
97 100 60.24
3,839 83 50 18.07
4 3,417 83 15 13.19
91 12 102.13
48,809 94 96 67.67
634 429

ำหรับหน่วยงานที่ไม่สามารถค้นหาข้อมูลบุคลากรที่แยกตามราชการส่วนและส่วนภูมิภาคได้
กการคำนวณสัดสว่ นเฉลีย่ ของ กระทรวง ซึ่งในที่นี้สัดส่วนบคุ ลากรที่สังกัดราชการส่วนกลาง
ลากรเปิดตารางหา จำนวนตัวอยา่ ง 3.4 เครอื่ งมอื การเกบ็ ขอ้ มูล

โครงการวิจัย
การบรหิ ารราชการแผ่นดนิ บนพ้นื ฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะที่ ๑)

3.4 เครอื่ งมือการเกบ็ ขอ้ มูล

การวิจัยครั้งนี้เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์ผู้บริหารระดับสูง (ปลัดกระทรวง หรือ
ผู้ที่ได้รับมอบหมาย อธิบดีและหรือรองอธิบดี) การจัดประชุมกลุ่มผู้บริหารระดับกลาง (ผู้อำนวยการ
สำนัก/ฝา่ ย ของกรม/สำนักงาน ของกระทรวง) และการสำรวจความคิดเห็นของเจา้ หน้าทีผ่ ูป้ ฏบิ ตั ิงาน

ผู้วิจัยได้ดำเนินการรวบรวมข้อมูลมาวิเคราะห์และสังเคราะห์เพื่อนำมาใช้ในการประเมิน
ความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงของหน่วยงาน เพื่อให้ได้คำตอบตามวัตถุประสงค์การวิจัย และเพื่อ
ความถูกต้องชัดเจนของผลการวเิ คราะห์เบ้อื งต้น ผู้วิจยั จะสัมภาษณแ์ ละหรือจดั ประชุมกลุม่ เป็นรอบท่ี
2 เพอ่ื ชีแ้ จงผลการวเิ คราะหเ์ บื้องต้นให้แกผ่ ู้ที่เคยให้สมั ภาษณ์หรือเคยเขา้ ประชมุ กลุ่ม ดังรายละเอียด
ประเด็นคำถามสัมภาษณ์ การประชุมกลุ่มในกลุ่มผู้บริหาร รอบที่ 1 และ 2 และแบบสำรวจ
ความคดิ เห็นของเจา้ หน้าที่ผู้ปฏิบตั ิงาน ดังน้ี

3.4.1 ประเด็นคำถามในการสมั ภาษณ์ และการประชุมกลุ่มรอบที่ 1
1. หน่วยงานของทา่ นมีการกำหนด/ดำเนินการตามหวั ข้อต่าง ๆ ต่อไปนต้ี ามแนวคิดปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงหรอื ไม่? มากน้อยเพยี งใด? อยา่ งไร?

1) ด้านการต้งั เปา้ หมาย นโยบายและการบรหิ ารองค์กร
2) ด้านงบประมาณ
3) ดา้ นการพฒั นาบุคลากรอยา่ งต่อเนอ่ื ง
4) ดา้ นผลสัมฤทธ์ิ (ผลผลติ และผลลพั ธ)์ จากการดำเนินงาน
2. ปัญหา/อุปสรรคทีข่ ัดขวางและปัจจัยท่ีส่งเสริม/สนับสนุน การดำเนินการปฏิบัตริ าชการ
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงของหน่วยงานของท่านคืออะไร?
• ปญั หา/อุปสรรคท่ีขดั ขวาง
• ปจั จยั ทส่ี ง่ เสริม/สนับสนุน
3. แนวทางที่จะส่งเสริมและสนับสนุนให้หน่วยงานของท่านปฏิบัติราชการโดยอิงตามหลัก
ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงใหม้ ากย่ิงขึน้ และเปน็ ไปอย่างทัว่ ถงึ
1) เพอ่ื ใหเ้ กิดการวางแผนอย่างมสี ว่ นรว่ ม

จากงานดำเนินการ/บริการของแต่ละหน่วยงานตามอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานนน้ั
จะสามารถทำได้อยา่ งไร?

82

สถาบันบณั ฑติ พัฒนบริหารศาสตร์

2) เพ่ือให้เกดิ การบรหิ ารงานอย่างโปรง่ ใสและเพิ่มประสิทธภิ าพในการทำงาน
จากงานดำเนินการ/บริการของแต่ละหน่วยงานตามอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานน้นั

จะสามารถทำได้อย่างไร?
3) เพอ่ื ความสขุ ในการทำงานของคนในองค์กร
จากงานดำเนินการ/บริการของแต่ละหน่วยงานตามอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานนั้น

จะสามารถทำได้อยา่ งไร?
4) เพอื่ ประโยชน์สุขของประชาชนและประเทศชาติ
จากงานดำเนินการ/บริการของแต่ละหน่วยงานตามอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานนั้น
จะสามารถทำไดอ้ ยา่ งไร?

4. ข้อเสนอแนะต่อแนวทางที่จะส่งเสริมและสนับสนุนให้หน่วยงานบริหารราชการ
ส่วนกลางระดับกระทรวง/กรมของกระทรวงที่ท่านสังกัดปฏิบัติราชการโดยอิงตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี งให้มากย่ิงขน้ึ และเปน็ ไปอยา่ งทัว่ ถึง

1) เพ่อื เพ่มิ ประสิทธภิ าพในการทำงาน
จากงานดำเนินการ/บริการของแต่ละหน่วยงานตามอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานนัน้
จะสามารถทำไดอ้ ยา่ งไร?

2) เพ่อื ความสุขในการทำงานของคนในองคก์ ร
จากงานดำเนินการ/บริการของแต่ละหน่วยงานตามอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานน้นั
จะสามารถทำได้อยา่ งไร?

3) เพ่อื ประโยชนส์ ขุ ของประชาชนและประเทศชาติ
จากงานดำเนินการ/บริการของแต่ละหน่วยงานตามอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานนนั้
จะสามารถทำได้อยา่ งไร?

5. ข้อเสนอแนะต่อแนวทางที่จะส่งเสริมและสนับสนุนให้หน่วยงานบริหารราชการ
ส่วนกลางระดับกระทรวง/กรมของกระทรวงอื่น ๆ ปฏิบัติราชการโดยอิงตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงให้มากยิ่งขึ้นและเป็นไปอย่างทั่วถึง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน
เพอื่ ความสขุ ในการทำงานของคนในองค์กร เพื่อประโยชนส์ ขุ ของประชาชนและประเทศชาติ

จากงานดำเนินการ/บริการของแต่ละหน่วยงานตามอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานนั้น
จะสามารถทำไดอ้ ย่างไร?

83

โครงการวจิ ัย
การบรหิ ารราชการแผ่นดนิ บนพ้นื ฐานหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ระยะท่ี ๑)

6. ภายหลังการเกิดวิกฤตการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19)

1) การบริหารราชการและการปฏิบัติราชการในหน่วยงานของท่านมีการเปลี่ยนแปลง
ไปหรอื ไม?่ อย่างไร?

2) ประเด็นที่ควรคำนึงถึงเพิ่มเติมเพื่อที่จะส่งเสริมและสนับสนุนให้การปฏิบัติราชการ
โดยอิงตามหลักของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้มากยิ่งขึ้น เป็นไปอย่างทั่วถึง และยั่งยืนต่อไป
มอี ะไรบ้าง?

3.4.2 ประเด็นคำถามในการประชุมกลุ่ม รอบที่ 2
1. ท่านมีความคิดเห็นเกี่ยวกับผลการวิเคราะห์ความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงของหน่วยงาน
ทา่ นอยา่ งไร?

1) จุดเด่นที่สุดที่สะท้อนการปฏิบัติราชการโดยอิงตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงของหน่วยงานของท่านคืออะไร?

2) ข้อมูล/ข้อเสนอแนะที่ควรเพิ่มเติมในผลการวิเคราะห์ความเป็นเศรษฐกิจพอเพียง
ของหนว่ ยงานท่านมหี รือไม่? อะไรบ้าง?

2. แนวทางที่จะส่งเสริมและสนับสนุนให้หน่วยงานของท่านปฏิบัติราชการโดยอิงตาม
หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงใหม้ ากย่ิงข้ึนและเปน็ ไปอย่างทัว่ ถึง

1) เพือ่ ใหเ้ กิดการวางแผนอย่างมีส่วนรว่ ม
จากงานดำเนินการ/บริการของแต่ละหน่วยงานตามอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานน้นั
จะสามารถทำได้อย่างไร?

2) เพ่ือให้เกิดการบรหิ ารงานอย่างโปร่งใสและเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน
จากงานดำเนินการ/บริการของแต่ละหน่วยงานตามอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานนน้ั
จะสามารถทำไดอ้ ย่างไร?

3) เพื่อความสขุ ในการทำงานของคนในองคก์ ร
จากงานดำเนินการ/บริการของแต่ละหน่วยงานตามอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานนัน้
จะสามารถทำไดอ้ ย่างไร?

4) เพอ่ื ประโยชนส์ ขุ ของประชาชนและประเทศชาติ
จากงานดำเนินการ/บริการของแต่ละหน่วยงานตามอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานนัน้
จะสามารถทำได้อยา่ งไร?

84

สถาบันบัณฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์

3. ข้อเสนอแนะต่อแนวทางที่จะสง่ เสริมและสนบั สนนุ ให้หน่วยงานบรหิ ารราชการส่วนกลาง
และส่วนภูมิภาคระดบั กระทรวง/กรมของกระทรวงท่ีทา่ นสังกดั ปฏิบตั ริ าชการโดยอิงตามหลกั ปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี งให้มากย่ิงข้ึนและเปน็ ไปอย่างทว่ั ถึง

1) เพือ่ เพ่ิมประสิทธิภาพในการทำงาน
จากงานดำเนินการ/บริการของแต่ละหน่วยงานตามอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานนั้น
จะสามารถทำได้อยา่ งไร?

2) เพ่อื ความสขุ ในการทำงานของคนในองค์กร
จากงานดำเนินการ/บริการของแต่ละหน่วยงานตามอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานน้นั
จะสามารถทำได้อยา่ งไร?

3) เพอื่ ประโยชน์สขุ ของประชาชนและประเทศชาติ
จากงานดำเนินการ/บริการของแต่ละหน่วยงานตามอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานนนั้
จะสามารถทำได้อยา่ งไร?

4. ข้อเสนอแนะต่อแนวทางที่จะส่งเสริมและสนับสนุนให้หน่วยงานบริหารราชการสว่ นกลาง
ระดบั กระทรวง/กรมของกระทรวงอ่ืน ๆ ปฏบิ ตั ริ าชการโดยองิ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ให้มากยิ่งขึ้นและเป็นไปอย่างทั่วถึง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน เพื่อความสุขในการทำงาน
ของคนในองค์กร เพื่อประโยชน์สุขของประชาชนและประเทศชาติ จากงานดำเนินการ/บริการของ
แต่ละหนว่ ยงานตามอำนาจหนา้ ทข่ี องหน่วยงานน้ัน จะสามารถทำไดอ้ ย่างไร?

5. ภายหลังการเกิดวิกฤตการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19)

1) การบริหารราชการและการปฏิบัติราชการในหน่วยงานของท่านมีการเปลี่ยนแปลง
ไปหรอื ไม่? อยา่ งไร?

2) ประเดน็ ที่ควรคำนงึ ถึงเพิ่มเติมเพ่ือทจี่ ะสง่ เสริมและสนบั สนุนให้การปฏิบตั ริ าชการ
โดยองิ ตามหลักของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงใหม้ ากย่ิงข้นึ เป็นไปอย่างท่วั ถงึ
และยัง่ ยนื ต่อไป มีอะไรบา้ ง?

3.4.3 แบบสำรวจความคดิ เห็นของเจ้าหน้าที่ผูป้ ฏิบตั ิ
แบบสำรวจความคิดเห็นของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานประกอบด้วยคำถาม/ข้อความ 3 ส่วน
ไดแ้ ก่

สว่ นที่ 1 ขอ้ มลู ส่วนบุคคล จำนวน 5 ข้อ

85

โครงการวิจยั
การบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ บนพืน้ ฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะท่ี ๑)

ส่วนที่ 2 ความคิดเห็นต่อการบริหารราชการและการปฏิบัติราชการของหน่วยงาน
จำนวน 50 ขอ้

สว่ นท่ี 3 ความคดิ เหน็ อ่นื ๆ เพม่ิ เติม
โดยรายละเอยี ดของข้อคำถามไดแ้ สดงรายละเอียดไว้ในภาคผนวกที่ 3

ผู้วิจัยได้ทำการวิเคราะห์ความเชื่อถือได้ของแบบสำรวจความคิดเห็นของผู้ปฏิบัติงาน
ส่วนที่ 2 ความคิดเห็นต่อการบริหารราชการและการปฏิบัติราชการของหน่วยงานทั้ง 50 ข้อ
โดยนำไปทดสอบกบั กลมุ่ ตวั อย่างทดสอบ (pilot test) ทมี่ ลี ักษะใกล้เคยี งกบั กลุ่มตัวอยา่ งเป้าหมายใน
การวจิ ัย จำนวน 75 ราย ประกอบดว้ ยเจ้าหน้าผู้ปฏิบตั ิงานสังกัดกระทรวงการพฒั นาสังคมและความ
มั่นคงของมนุษย์ส่วนกลาง จำนวน 45 ราย และเครือข่ายเจ้าหน้าท่ีสังกัดสำนักงานคณะกรรมการ
พัฒนาระบบราชการผู้ปฏิบัติงานผู้ปฏิบัติงานในกระทรวงต่าง ๆ จำนวน 30 ราย
ทำการทดสอบหาความเชื่อมั่น (reliability) โดยใช้วิธีการหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าตามวิธีของ
ครอนบาค (Cronbach Alpha’s coefficient) ได้ผลการทดสอบในภาพรวมได้ค่า α = .981 ซึ่งอยู่
ในช่วงเกณฑ์ยอมรับได้ตามแนวทางระเบียบวิธีวิจัยทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และองค์การของ
บังอร โสฬส (2555: 91-95) และมีค่าความสอดคล้องของข้อคำถามคำถามรายข้อ (Corrected
Item-Total Correlation) ไม่น้อยกว่า 0.2 ทุกข้อ รายละเอียดดังตารางที่ 3.3 สามารถสรุปได้ว่า
แบบสำรวจคความคิดเห็นของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานมีความเชื่อถือได้ และสามารถนำไปใช้ดำเนิน
การสำรวจในกลุม่ ตวั อย่างเป้าหมายได้ โดยไม่ต้องปรบั ปรงุ /แกไ้ ข ขอ้ คำถาม

86

สถาบันบัณฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์

ตารางที่ 3.3
คา่ สัมประสทิ ธิแ์ อลฟาตามวธิ ขี องครอนบาค (Cronbach’s Alpha Coefficient) รายขอ้ คำถาม

Item-Total Statistics (n=75)

Item Scale Mean if Item Scale Variance if Item Corrected Item-Total Cronbach's Alpha if
Item Deleted
Deleted Deleted Correlation
.981
นโยบาย การวางแผน และการจัดทำแผนแบบมีสว่ นร่วม .981
.981
1 193.3200 858.788 .662 .981
.981
2 193.4000 855.703 .690 .981
.981
3 193.4933 851.091 .684 .981
.980
4 193.6000 849.514 .710 .981
.981
5 193.5467 849.278 .733 .981

6 193.5200 854.442 .703 .980
.980
7 193.5867 854.084 .608 .981
.981
8 193.6533 856.959 .606 .981
.981
9 193.5333 848.009 .787 .980
.980
10 193.6667 848.874 .525 .981
.981
11 193.5067 849.524 .695 .981
.981
12 193.5600 854.034 .651

การบริหารงานอยา่ งเป็นระบบ โปรง่ ใสและมีธรรมาภบิ าล

13 193.5200 849.983 .791

14 193.6933 849.215 .797

15 193.4267 854.275 .717

16 193.6000 852.459 .726

17 193.5333 853.468 .681

18 193.6933 848.837 .693

19 193.6533 845.013 .775

20 193.6667 847.036 .789

21 193.6933 851.351 .642

22 193.6533 857.365 .488

23 193.9333 853.198 .590

24 193.4000 858.622 .656

87

โครงการวิจยั
การบริหารราชการแผ่นดนิ บนพน้ื ฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะที่ ๑)

ตารางท่ี 3.3 (ต่อ)

Item-Total Statistics (n=75)

Item Scale Mean if Item Scale Variance if Item Corrected Item-Total Cronbach's Alpha if
Item Deleted
Deleted Deleted Correlation
.981
การพัฒนาบุคลากร .981
.981
25 193.8800 849.566 .598 .981
.981
26 193.9600 847.363 .677 .981
.980
27 193.6667 853.495 .678 .981
.981
28 193.5600 852.088 .746 .980
.980
29 193.6133 851.808 .751 .981

30 193.8800 845.539 .752 .981
.980
31 193.7333 845.252 .777 .980
.980
32 193.8133 849.505 .652 .980
.981
33 193.8667 849.360 .751 .981
.981
34 193.8800 845.864 .806 .980
.980
35 193.8267 849.443 .781 .980
.980
36 193.5467 858.846 .506
.981
ผลประโยชนแ์ กอ่ งค์การและสังคม
.981
37 193.5467 848.846 .776

38 193.6000 847.351 .806

39 193.6533 842.689 .780

40 193.6800 844.085 .781

41 193.6400 848.234 .816

42 193.6400 852.909 .745

43 193.8667 842.252 .721

44 194.2133 839.224 .765

45 193.6667 848.171 .840

46 193.8400 846.488 .824

47 193.6267 845.372 .814

48 193.7200 843.096 .783

ทา่ นมีความสขุ ทีไ่ ดป้ ฏิบตั งิ านในหนว่ ยงานน้ี

49 193.6800 841.572 .741

ท่านมีความรคู้ วามเขา้ ใจในหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งเป็นอยา่ งดี

50 193.6000 853.703 .622

88

สถาบนั บัณฑติ พฒั นบริหารศาสตร์

3.5 วธิ กี ารวิเคราะหข์ ้อมูล

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสม ประกอบไปด้วยระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ กำหนดใช้
วิธีการสัมภาษณ์ และการประชุมกลุ่ม และระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณ กำหนดใช้แบบสำรวจ
ความคิดเหน็ จากเจ้าหนา้ ท่ผี ้ปู ฏิบัติ โดยมวี ธิ กี ารวเิ คราะหข์ ้อมลู ของการวิจยั ดงั ต่อไปน้ี

3.5.1 การวเิ คราะห์ขอ้ มูลในสว่ นของการวจิ ัยเชิงคณุ ภาพ
การวิจัยเชิงคุณภาพได้ประยุกต์ใช้วิธีการสามเส้า (triangulation) (Neuman, 2003,
pp. 137-139) ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ซึ่งเป็นการใช้มุมมองหลากหลายในการวิเคราะห์และเป็น
ที่นิยมวิธีหนึ่งในงานวิจัยด้านสังคมศาสตร์เพื่อที่จะสามารถเพิ่มความน่าเชื่อถือในผลการวิจัย
โดยในการเก็บข้อมูลนอกจากการค้นคว้าเอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องแล้ว ผู้วิจัยได้เก็บข้อมูลปฐมภูมิ
ในหลายวิธี ทั้งวิธีการสมั ภาษณ์และการประชุมกลุ่ม นอกจากนั้นในการเก็บข้อมลู ก็ใช้ผูว้ ิจัยหลายคน
ช่วยในการสังเกต (หัวหน้าโครงการและผู้ร่วมวิจัย) จากนั้นได้วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการวิเคราะห์
เนื้อหา (content analysis) และสถิติเชิงพรรณนา (descriptive statistics) เช่น ค่าเฉลี่ย ความถี่
และร้อยละ

3.5.2 การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ในสว่ นของการวิจัยเชิงปริมาณ

การวิจัยเชิงปริมาณได้สำรวจความคิดเห็นจากเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติ และนำข้อมูลมาวิเคราะห์

ด้วยสถิติเชิงพรรณนา (descriptive statistics) เช่น ค่าเฉลี่ย ความถี่ และร้อยละ และสถิติ

เชงิ อนมุ าน คอื การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ (correlation) มีรายละเอียดดังต่อไปน้ี

1) การวิเคราะห์ข้อมูลผู้ตอบแบบสำรวจ เพื่อทราบถึงลักษณะตัวอย่างโดยการ

วิเคราะห์ค่าความถี่ของข้อมูล (frequency) และ ค่าร้อยละ (percentage) ในการพรรณนาลักษณะ

สว่ นบคุ คล ขอ้ มลู ท่ัวไป และเพอื่ แสดงการกระจายของข้อมูล

2) การวิเคราะห์ผลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงจากมุมมองผู้ปฏิบัติ

ประกอบด้วยการวิเคราะห์ความเป็นเศรษฐกิจพอเพียง 3 ระดับ ได้แก่ ระดับเข้าข่าย ระดับเข้าใจ

และระดับเข้าถึง นอกจากนั้นยังมีการวิเคราะห์เพิ่มเติมแยกรายมิติ กำหนดการวิเคราะห์ด้วยค่าสถิติ

รอ้ ยละของผลสำรวจ ขอ้ คำถามแยกรายมิติ ไดแ้ ก่

มติ ิที่ 1 การจดั ทำแผนแบบมีสว่ นร่วม ข้อ 1 -12

มติ ิที่ 2 การบรหิ ารงานเปน็ ระบบและโปร่งใส ขอ้ 13-24

มิติท่ี 3 บคุ ลากรเกง่ และมีคุณธรรม ข้อ 25-36

89

โครงการวิจัย
การบริหารราชการแผ่นดินบนพื้นฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะท่ี ๑)

มติ ิท่ี 4 ประโยชน์แก่องค์การและสังคม ขอ้ 37-48

3) การวิเคราะห์และแปลผลการสำรวจด้านความสุขในการปฏิบัติงานใน

หน่วยงาน กำหนดใช้การวิเคราะห์แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง (measures of central tendency)

ประกอบไปด้วยค่าเฉล่ยี (Mean) และคา่ เบีย่ งเบนมาตรฐาน (Std. Deviation) โดยกำหนดหลกั เกณฑ์

ในการแบ่งระดบั ค่าเฉลย่ี ออกเปน็ 5 ระดบั ท่ีช่วงคะแนนเทา่ ๆ กันจากการคำนวณดงั ตอ่ ไปน้ี

ชว่ งคะแนน = คา่ พิสัย

จำนวนช้ัน

=5–1

5

= 0.8

ที่ค่าช่วงคะแนน 0.8 ผู้วิจัยกำหนดระดับความสุขในการปฏิบัติงานในหน่วยงานของผู้ปฎิบัติ

งานได้ดังนี้

1.00 – 1.80 หมายถึง มีความสุขในการปฏิบตั งิ านในหนว่ ยงานในระดับตำ่ มาก

1.81 – 2.60 หมายถึง มคี วามสุขในการปฏบิ ตั ิงานในหน่วยงานในระดับตำ่

2.61 – 3.40 หมายถึง มคี วามสุขในการปฏบิ ัติงานในหนว่ ยงานในระดับปานกลาง

3.41 – 4.20 หมายถงึ มคี วามสุขในการปฏิบตั ิงานในหน่วยงานในระดับสงู

4.21 – 5.00 หมายถงึ มคี วามสุขในการปฏิบตั ิงานในหน่วยงานในระดับสูงมาก

4) การวิเคราะห์และแปลผลการสำรวจด้านความรู้ความเข้าใจในหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกำหนดใช้การวิเคราะห์แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง (measures of
central tendency) ประกอบไปด้วยค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard
Deviation) โดยกำหนดหลักเกณฑ์ในการแบง่ ระดบั คา่ เฉลยี่ ออกเปน็ 5 ระดับ ท่ชี ว่ งคะแนนเท่า ๆ กนั
จากการคำนวณดังต่อไปนี้

ชว่ งคะแนน = คา่ พสิ ัย
จำนวนช้นั
=5–1
5
= 0.8

ที่ค่าช่วงคะแนน 0.8 ผู้วิจัยกำหนดระดับความรู้ความเข้าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงของผ้ปู ฎิบตั ิงานได้ดังน้ี

90

สถาบันบณั ฑติ พัฒนบริหารศาสตร์

1.00 – 1.80 หมายถงึ มีความรู้ความเข้าใจในหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งใน
1.81 – 2.60 ระดบั ต่ำมาก
2.61 – 3.40
3.41 – 4.20 หมายถงึ มีความรู้ความเข้าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งใน
4.21 – 5.00 ระดับตำ่

หมายถงึ มีความรู้ความเข้าใจในหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งใน
ระดบั ปานกลาง

หมายถึง มีความรู้ความเข้าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงใน
ระดับสูง

หมายถึง มีความรู้ความเข้าใจในหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งใน
ระดับสงู มาก

5) ความสัมพันธ์ระหว่างระดับความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงของหน่วยงานกับความสุข
ในการปฏิบัติงานในหน่วยงาน (happy work) และความรู้ความเข้าใจในหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียง (SEP knowledge) กำหนดใช้วธิ ีการวิเคราะหส์ ัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์ระหว่างตัว
แปร โดยใช้สถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธแ์ บบเพียร์สัน (Pearson’s Correlation) โดยมีค่าอยู่ระหว่าง
-1 กับ 1 (-1.00 < r < 1.00) (บังอร โสฬส, 2555: 108) โดยผวู้ จิ ัยเลอื กใช้เกณฑ์สาหรับการพิจารณา
ค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์ตามแนวคิดของฮิงเกิล (Hinkle, 1998) ซึ่งได้กาหนดระดับความสัมพันธ์
ระหวา่ งตัวแปร ดังน้ี

คา่ r ระดบั ของความสัมพนั ธ์มีคา่ .09 – 1 คอื มีความสัมพันธ์กันในระดบั สูงมาก
ค่า r ระดบั ของความสัมพนั ธ์มคี า่ .70 – .90 คือ มีความสัมพันธ์กนั ในระดบั สงู
ค่า r ระดับของความสัมพนั ธ์มีคา่ .50 – .70 คือ มีความสัมพนั ธ์กนั ในระดับปานกลาง
ค่า r ระดบั ของความสัมพันธ์มีคา่ .30 – .50 คอื มคี วามสัมพันธ์กนั ในระดบั ต่ำ
ค่า r ระดับของความสัมพันธ์มคี ่า .00 – .30 คือ มีความสัมพันธ์กนั ในระดับต่ำมาก

91

โครงการวจิ ยั
การบรหิ ารราชการแผ่นดนิ บนพ้นื ฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะท่ี ๑)

3.6 เกณฑก์ ารประเมนิ ความเป็นเศรษฐกิจพอเพียง

3.6.1 การประเมนิ ความเป็นเศรษฐกจิ พอเพียงจากการวิจัยเชิงคณุ ภาพ
การวิจัยเชิงคุณภาพเก็บรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้บริหารระดับสูง การประชุมกลุ่ม
ผู้บริหารระดับกลาง/ระดับต้น และการเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสารหลักฐานต่าง ๆ เชิงทุติยภูมิ
ตามเกณฑ์การประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียง 3 ระดับ สำหรับเกณฑ์การประเมินความเป็น
เศรษฐกิจพอเพียงของหน่วยงานได้กำหนดเป็นคะแนนเต็ม 100 ในแต่ละระดับ (เข้าข่าย เข้าใจ และ
เข้าถงึ ) โดยกำหนดคะแนนของมิตทิ ่ี 1- มิติท่ี 2 ซ่งึ เป็นมิตทิ ่ีสะท้อนถงึ กระบวนการทำงานและผลผลิต
บางส่วน (process and output) กำหนดคะแนนให้มิติละ 20 คะแนน (แต่ละมิติมี 2 ปัจจัย ๆ ละ
10 คะแนน) มติ ิท่ี 3 ซึ่งสะทอ้ นถงึ ปัจจยั นำเขา้ (รnput) กำหนดคะแนนให้ 20 คะแนน (มี 2 ปัจจัย ๆ
ละ 10 คะแนน) และมิติที่ 4 ซึ่งเน้นการเห็นผลที่สะท้อนถึงผลผลิต/ผลลัพธ์/ผลในที่สุด ( output/
outcome/ impact) กำหนดคะแนนให้เป็น 40 คะแนน (มี 2 ปัจจัยๆ ละ 20 คะแนน) รวมแล้ว
คะแนนทั้งสิ้นเท่ากับ 100 คะแนน ในแต่ละระดับ สำหรับเกณฑ์ในการประเมินที่จะพิจารณาว่า
หน่วยงานผ่านการประเมินในระดับนั้น ๆ กำหนดเกณฑ์ให้ได้คะแนนในแต่ละระดับในทุกมิติ
ทุกปัจจัยอย่างน้อยปัจจัยละ 1 แนวทาง และมีคะแนนโดยรวมของแต่ละระดับอย่างน้อยร้อยละ 80
จึงจะถือได้ว่าผ่านเกณฑ์ในระดับนั้นได้ นอกจากนั้นการจะสามารถผ่านเกณฑ์ในระดับที่สูงขึ้นได้
(ระดับเข้าใจหรอื ระดบั เข้าถึง) จะตอ้ งผ่านเกณฑใ์ นระดบั ที่ตำ่ กว่าก่อน
ในการกำหนดเกณฑ์ในการประเมนิ ความเป็นเศรษฐกจิ พอเพยี งนี้ใช้แนวทางการประเมินตาม
แนวทางดุลยพินิจ (judgement approach) ของผู้วิจัยเป็นหลัก โดยพิจารณาในเชิงคุณภาพจาก
ภาพรวมการดำเนินงานของแต่ละองค์การก่อนแล้วจงึ พยายามมากำหนดคะแนนในแต่ละปัจจยั เพ่ือให้
ภาพผลการประเมินชัดเจนขึ้น ทั้งนี้เนื่องจากโมเดลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงนี้เป็น
โมเดลที่ทีมผู้วิจัยพัฒนาขึ้นมาจึงยังไม่มีเกณฑ์อื่นที่จะนำมาเทียบเคียงได้ อนึ่งเกณฑ์การผ่านระดับ
ความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงทั้ง 3 ระดับในการวิจัยครั้งนี้ ได้ยกระดับความเข้มข้นขึ้นจากเกณฑ์ของ
กัลยาณี เสนาสุ และ บงกช เจนจรัสสกุล (2562) ซึ่งในครัง้ นัน้ ไดก้ ำหนดเกณฑ์การประเมินความเป็น
เศรษฐกิจพอเพียงของแต่ละระดับไว้ที่ร้อยละ 70 ด้วยเหตุผลที่ว่าการเก็บรวบรวมข้อมูลการบริหาร
และการปฏิบัติราชการในโครงการวิจัยนี้ได้ทำอย่างรอบด้านและเก็บข้อมูลจากผู้ที่เก่ียวข้องและ
รับผิดชอบกับงานด้านต่าง ๆ โดยตรงมากกว่า ซึ่งถือว่าเป็นข้อดีของการใช้วิธีการเก็บข้อมูลแบบ
ออนไลน์ และงานวิจัยครั้งนี้ได้แก้ไขข้อจำกัดที่ กัลยาณี เสนาสุ และ บงกช เจนจรัสสกุล (2562)
ได้ระบุไว้ในข้อจำกัดของการวิจัยครั้งนั้นในข้อที่ 2 “ในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์หรือ
การประชุมกลุ่ม กลุ่มตัวอย่างที่ผู้วิจัยกำหนดอาจไม่สะดวก/ไม่สามารถมาให้ข้อมูลตามที่นัดหมายได้

92

สถาบนั บณั ฑติ พัฒนบริหารศาสตร์

จงึ มีการสง่ ผู้แทนมาแทน ดงั นัน้ ขอ้ มลู สารสนเทศที่ได้อาจเป็นการสะท้อนภาพทไ่ี มค่ รอบคลมุ ครบถ้วน
หรือแตกตา่ งไป”

3.6.2 การประเมนิ ความเป็นเศรษฐกจิ พอเพียงจากการวิจยั เชงิ ปริมาณ
การวจิ ัยเชงิ ปรมิ าณเกบ็ รวบรวมข้อมูลด้วยแบบสำรวจจากมุมมองของผู้ปฏิบัติ ผู้วิจัยเห็นว่า
ควรกำหนดเกณฑ์การประเมินที่สูงกว่าเกณฑ์การประเมินด้วยการวิเคราะห์จากข้อมูลเชิงคุณภาพ
ด้วยเหตุผล 2 ประการ ประการแรกข้อมูลจากแบบสำรวจเป็นการแสดงความคิดเห็นของผู้ตอบแบบ
สำรวจในระดับผู้ปฏิบัติระดับเดียวซึ่งไม่ได้แสดงตัวอย่างหรือหลักฐานเชิงประจักษ์ที่ลึกซึ้งเหมือน
การรวบรวมข้อมูลเชิงคณุ ภาพทีใ่ ช้ทั้งการสมั ภาษณ์ การประชุมกลุ่ม และการใช้หลักฐานจากเอกสาร
ข้อมูลสารสนเทศต่าง ๆ มาประกอบ ประการที่ 2 การกำหนดเกณฑ์การประเมินของประเด็นท่ี
ใกล้เคียงกัน คือ การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดําเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
ของสำนักงานคณะกรรมการป้องกัน และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ซึ่งใช้การเก็บรวบรวมข้อมลู
เชิงสำรวจเช่นกันและได้กำหนดเกณฑ์ผ่านคือ ร้อยละ 85 ขึ้นไป ดังนั้นทีมผู้วิจัยจึงกำหนดเกณฑ์
การประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพยี งที่มาจากข้อมูลการสำรวจความคิดเห็นจากเจ้าหน้าท่ีผู้ปฏิบัติ
เป็นดังนี้ เกณฑ์การประเมินแบ่งออกเป็น 3 ระดับ ได้แก่ 1) ระดับเข้าข่าย พิจารณาการผ่านเกณฑ์ท่ี
ร้อยละ 80 2) ระดับเข้าใจ พิจารณาการผ่านเกณฑ์ที่ร้อยละ 90 และ 3) ระดับเข้าถึง พิจารณา
การผ่านเกณฑ์ที่ร้อยละ 95 โดยหน่วยงานต้องมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์ในระดับก่อนหน้าก่อน
ถึงจะพจิ ารณาผลการประเมนิ ในระดับถัดไปเช่นเดยี วกับการวจิ ยั เชิงคุณภาพ

93

โครงการวจิ ยั
การบรหิ ารราชการแผน่ ดินบนพ้นื ฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะท่ี ๑)

94

สถาบันบณั ฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์

บทท่ี 4
ผลการวจิ ยั

ในบทน้ีเปน็ การนำเสนอผลการศึกษาในประเดน็ ต่าง ๆ ซ่ึงไดต้ อบคำถามวิจัย คอื การค้นคว้า
ถึงสถานะปัจจุบันของการปฏิบัติราชการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การเปลี่ยนแปลง
การปฏิบัติราชการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงก่อนและหลังการเกิดวิกฤตการณ์การแพร่
ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 รวมท้ังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะในการบริหารราชการ
บนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของผู้บรหิ ารที่เข้าร่วมการวิจยั เนื้อหาในบทน้ีมีหวั ข้อสำคัญ
ท่จี ะกลา่ วถึงดงั น้ี

4.1 ข้อมูลผใู้ ห้สัมภาษณ์และผู้เขา้ ร่วมการประชมุ กลุ่ม
4.2 ผลการประเมนิ ความเป็นเศรษฐกจิ พอเพียงของหน่วยงานตวั อย่าง
4.3 ผลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพยี งด้วยแบบสำรวจ
4.4 การเปลี่ยนแปลงการปฏิบัติราชการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงหลังการแพร่

ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
4.5 ข้อคดิ เหน็ ต่อการบรหิ ารราชการบนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของผเู้ ขา้ รว่ ม

การวิจัย
โดยมรี ายละเอยี ด ดังนี้

4.1 ข้อมลู ผู้ใหส้ มั ภาษณแ์ ละผูเ้ ข้ารว่ มการประชุมกลมุ่

ก า ร ว ิ จ ั ย เ ช ิ ง ค ุ ณ ภ า พ เ ก ็ บ ร ว บ ร ว ม ด ้ ว ย ว ิ ธ ี ก า ร ส ั ม ภ า ษ ณ ์ เ ช ิ ง ล ึ ก ผ ู ้ บ ร ิ ห า ร ร ะ ด ั บ สู ง
(รองปลัดกระทรวง ผู้ช่วยปลัดกระทรวง อธิบดีหรือรองอธิบดี ที่ปรึกษากรม และผู้เชี่ยวชาญ) และ
ผู้บรหิ ารระดับกลาง (ผ้อู ำนวยการสำนัก/กอง/ฝ่าย ของกรม/สำนักงาน) โดยการดำเนนิ การวิจัยคร้ังน้ี
มีผู้ให้สัมภาษณ์ รวมทั้งสิ้น 21 คน ประกอบด้วยผู้บริหารระดับสูง จำนวน 18 คน และผู้บริหาร
ระดบั กลางจำนวน 3 คน รายละเอียดตำแหน่งแสดงในตารางที่ 4.1


Click to View FlipBook Version