The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการวิจัย การบริหารราชการแผ่นดิน บนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะที่1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by SEP Action, 2022-04-18 09:28:41

รายงานผลการทำกิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัย

โครงการวิจัย การบริหารราชการแผ่นดิน บนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะที่1)

Keywords: sepaction,เศรษฐกิจพอเพียง

โครงการวจิ ัย
การบริหารราชการแผ่นดนิ บนพ้ืนฐานหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ระยะที่ ๑)

1.6 กรมส่งเสริมการเกษตร

ตารางที่ ผ 8.6
ผลการประเมินความเปน็ เศรษฐกิจพอเพียง ระดบั เขา้ ถงึ (บางมติ ิ) ของกรมกรมส่งเสริมการเกษตร

มติ ิ / ปจั จัยประเมิน แนวทางดำเนนิ การ ตวั อยา่ ง

มติ ิท่ี 1 นโยบาย การวางแผน และการจดั ทำแผนแบบมีสว่ นร่วม

มีการกำหนดนโยบาย - มีการกำหนดนโยบาย/แผนงาน - กำหนดกลยุทธ์และตัวชี้วัด โดยมีการสนับสนุนและ

และแผนยทุ ธศาสตรท์ ่ี ของกรมส่งเสรมิ การเกษตร เปน็ ส่งเสริมประชาชนดั้งนี้ ส่งเสริมเกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่น

มีสว่ นสนับสนุนหรือ การพัฒนาให้ประชาชนสามารถ ส่งเสริมเกษตรปลอดภัย ส่งเสริมเกษตรชีวภาพ โดย

ส่งเสรมิ การพฒั นาของ พึ่งพาตนเองไดอ้ ยา่ งยง่ั ยืน โครงการที่ดำเนินการในปัจจุบัน เช่น โครงการระบบ

สงั คมหรอื มวล ส่งเสริมเกษตร แบบแปลงใหญ่ เป็นตน้

มนษุ ยชาติ

ในการวางแผน - สง่ เสรมิ ให้ประชาชนรว่ มเป็น - ผลงานชุมชนบางตลาดร่วมใจ บริหารจัดการผลผลิต

ยุทธศาสตร์ มีการ ภาคีเครอื ขา่ ย เพื่อขับเคลื่อนงาน มะพร้าวอ่อนแบบบูรณาการ เป็นการพัฒนาประสิทธิภาพ

ถา่ ยทอด สร้างความ ของกรมฯ การบริหารราชการบนพื้นฐานความรับผิดชอบ และการมี

เขา้ ใจ และพฒั นาการ - สร้างการรับรู้และความเขา้ ใจ ส่วนร่วมของประชาชน โดยกระตุ้นให้เกษตรกรสามารถคิด

มสี ่วนร่วมของ รวมถึงรวบรวมความคิดเหน็ ของ วิเคราะห์ และร่วมวางแผนในการแก้ไขปัญหาในพื้นที่ของ

ประชาชนในสงั คม เกษตรกรผา่ นศูนย์เรยี นรู้การเพ่มิ ตนเอง

ประสทิ ธิภาพการผลติ สนิ ค้า - จัดงานวันถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อเริ่มต้นฤดูกาลผลิตใหม่
เกษตร (ศพก.) (Field Day) ประจำปี 2564 ณ ศูนย์เรียนรู้การเพ่ิม

ประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) 882 แห่ง และ

ศูนย์เครือข่ายทั่วประเทศ เพื่อกระตุ้นให้เกษตรกรเริ่มต้น

การผลิตในปีการเพาะปลูกใหม่ โดยใช้เทคโนโลยีที่มีความ

เหมาะสมกบั พืน้ ท่ี

มติ ทิ ่ี 2 การบริหารงานอย่างโปรง่ ใส มีธรรมาภบิ าล ไม่มีการกระทำการผิดกฎหมาย

การสร้างการมีสว่ น - มแี นวทางพัฒนาในการทำ - โครงการสร้างเครือข่ายบริการ เครื่องจักรกลทาง
รว่ มกับเครอื ข่าย ให้ การเกษตรสมยั ใหมแ่ ละการใช้ การเกษตร ร่วมกนั ของชุมชน

ประชาชน ผูม้ ีส่วนได้ เทคโนโลยี โดยองคค์ วามรไู้ ด้รบั - โครงการระบบสง่ เสรมิ เกษตรแบบแปลงใหญ่ จะมี Smart

สว่ นเสยี สามารถพง่ึ พา การถา่ ยทอดจากเครือขา่ ยในศนู ย์ Farmer / Young Smart Farmer และเครือข่ายในพื้นท่ี

ตนเอง แก้ปญั หาได้ ของโครงการ เป็นกลไกสำคัญในการกระจายเทคโนโลยีและขยายผลการ

ดว้ ยตนเอง - มกี ารสร้างเครอื ขา่ ยและพัฒนา ดำเนนิ งานสูเ่ กษตรกรรายอื่น ๆ
เครือขา่ ยจากเกษตรกรในพืน้ ที่ - โครงการของกรมส่งเสริมการเกษตรจะมีการดำเนินงาน

ผ่านเครือข่ายทั่วประเทศ โดยมีทีมปฏิบัติการของกรม

ส่งเสริมการเกษตรเชิงพื้นที่ ประกอบด้วย เจ้าหน้าท่ี

สำนกั งานเกษตรจังหวดั เจา้ หนา้ ท่สี ำนักงานเกษตรอำเภอ

578

สถาบนั บณั ฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์

ตารางท่ี ผ 8.6 (ต่อ)

มิติ / ปจั จัยประเมิน แนวทางดำเนนิ การ ตัวอยา่ ง

มติ ิท่ี 2 การบรหิ ารงานอยา่ งโปร่งใส มีธรรมาภบิ าล ไม่มีการกระทำการผิดกฎหมาย

มนี วัตกรรมการ - ใหบ้ รกิ ารประชาชนโดยนำ - ระบบ SSMAP ระบบให้บริการข้อมูลแผนที่แก่เจ้าหน้าที่
บริหารจัดการภายใน เทคโนโลยีระบบบริการ มาใช้เพ่อื กรมส่งเสรมิ การเกษตร เพอ่ื ใชเ้ ปน็ คลังข้อมูลแผนที่ และนำ
องคก์ ารที่สร้างสรรค์ เพ่ิมประสทิ ธภิ าพการปฏบิ ตั งิ าน ข้อมูลแผนที่มาประมวลผล วิเคราะห์ข้อมูล ประกอบการ
ประโยชน์แกเ่ ครอื ข่าย - พฒั นาการปฏบิ ตั งิ านโดยใช้ จดั ทำแผนพัฒนาการเกษตรและงานโครงการต่าง ๆ
และประชาชนใน เทคโนโลยีสมัยใหมต่ า่ ง ๆ - ระบบ DOAE FarmerRegist คือ คู่มือการขึ้นทะเบียน
สังคม เกษตรกร ระบบเพื่อให้เจ้าหน้าที่สามารถค้นหาวิธีการขึ้น
ทะเบียน การใช้งานโปรแกรม และ ขั้นตอนการทำงาน
ได้อยา่ งสะดวก และงา่ ยดาย
- DOAE Market ระบบบริหารจัดการตลาด ที่จะเขา้ มาชว่ ย
ในการรวบรวมข้อมูลตลาด ร้านค้า ของแต่ละสถานท่ี
พร้อมทัง้ ชว่ ยคำนวณผลรวมการจำหน่าย ของแต่ละสถานท่ี

มติ ิที่ 3 บคุ ลากรเกง่ และมคี ุณธรรม

บคุ ลากรเป็นผมู้ ี
ความสามารถในการ
คิดเชิงริเริม่ สร้างสรรค์
รวมถงึ สามารถพัฒนา
นวตั กรรมได้
บคุ ลากรเป็นผ้ทู ี่มีการ
ดำรงชวี ติ อยา่ งมี
คณุ ธรรม จรยิ ธรรม
และเปน็ แบบอยา่ งที่ดี
ให้แก่บคุ คลอืน่ ใน
สงั คม

มติ ิท่ี 4 ประโยชนแ์ ก่องค์การและสังคม

ผลการดำเนินการ
สง่ ผลกระทบตอ่ สงั คม
หรือมวลมนษุ ยชาติ
เกิดประโยชนส์ ุขแก่
ประชาชนและสังคม

579

โครงการวิจยั
การบริหารราชการแผน่ ดนิ บนพืน้ ฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ระยะท่ี ๑)

1.7 กรมสง่ เสริมสหกรณ์

ตารางที่ ผ 8.7
ผลการประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดบั เข้าถงึ (บางมิติ) ของกรมส่งเสริมสหกรณ์

มติ ิ / ปจั จยั ประเมนิ แนวทางดำเนินการ ตวั อย่าง

มิตทิ ่ี 1 นโยบาย การวางแผน และการจัดทำแผนแบบมีสว่ นร่วม

มกี ารกำหนดนโยบาย
และแผนยทุ ธศาสตรท์ ่มี ี
สว่ นสนบั สนุนหรือ
ส่งเสริมการพฒั นาของ
สงั คมหรอื มวล
มนษุ ยชาติ
ในการวางแผน
ยุทธศาสตร์ มีการ
ถา่ ยทอด สร้างความ
เขา้ ใจ และพฒั นาการมี
สว่ นรว่ มของประชาชน
ในสงั คม

มติ ทิ ่ี 2 การบริหารงานอย่างโปร่งใส มธี รรมาภบิ าล ไม่มีการกระทำการผดิ กฎหมาย

การสร้างการมสี ่วน - ฝึกอบรม สร้างอาสาสมัครเพือ่ - จัดโครงการฝึกอบรมอาสาสมัครสหกรณ์ เพื่อให้อาสาสมัคร
ร่วมกบั เครือขา่ ย ให้ สนบั สนนุ การปฏิบตั ิงาน สหกรณ์ได้รับความรู้เกี่ยวกับสหกรณ์ หลักการ อุดมการณ์
ประชาชน ผมู้ สี ว่ นได้ - สรา้ งเครือข่ายจากประชาชนใน วิธกี ารสหกรณ์ และ ช่วยเปน็ เครือข่ายในการประชาสัมพันธ์งาน
สว่ นเสยี สามารถพ่ึงพา พื้นที่ทีม่ กี ารปฏบิ ัตงิ าน ดา้ นสหกรณ์
ตนเอง แกป้ ญั หาได้ - อาสาสมัครเกษตรด้านบัญชี จัดทำบัญชีในโครงการระบบ
ด้วยตนเอง - ปรับปรุงประสิทธภิ าพในการ ส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ เป็นกำลังสำคัญในการ
ปฏบิ ตั ิงานและการใหบ้ รกิ าร ถ่ายทอดความรดู้ ้านการจัดทำบญั ชีรายบุคคล
มนี วตั กรรมการ ประชาชนโดยนำเทคโนโลยีใหม่ ๆ - แอพพลิเคชั่น Smart Coop ช่องทางการให้บริการประชาชน
บรหิ ารจัดการภายใน มาใช้ ด้านสหกรณร์ ปู แบบใหม่ ประกอบดว้ ย การเผยแพร่ความรู้ท่ัวไป
องค์การทส่ี รา้ งสรรค์ เกี่ยวกับสหกรณ์ การค้นหากฎหมายสหกรณ์ ขั้นตอนการจัดต้งั
ประโยชน์แกเ่ ครือข่าย สหกรณ์ การคน้ หาข้อมูลสหกรณ์ สนิ คา้ สหกรณ์ ศูนยก์ ารเรียนรู้
และประชาชนใน สหกรณ์ และสารสนเทศสหกรณ์ พร้อมทั้ง การเผยแพร่ส่ือ
สังคม มัลตมิ ีเดยี และประชาสัมพนั ธข์ ่าวสารดา้ นสหกรณ์ที่นา่ สนใจ
- แอพพลิเคชั่น “Coopcare” บริการข้อมูลและนำทางด้วย
ระบบ GPS ให้ข้อมูลข่าวสารด้านการสหกรณ์ สินค้าสหกรณ์
สามารถเลือกค้นหาสินค้าจากสหกรณ์ทั่วประเทศโดยสหกรณ์
สามารถลงประกาศขายสินคา้ ของตนได้

580

สถาบันบณั ฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์

ตารางที่ ผ 8.7 (ต่อ) ตวั อยา่ ง

มติ ิ / ปจั จัยประเมิน แนวทางดำเนินการ

มิตทิ ่ี 3 บุคลากรเกง่ และมคี ุณธรรม

บคุ ลากรเป็นผ้มู ี
ความสามารถในการ
คดิ เชิงริเร่มิ สร้างสรรค์
รวมถึงสามารถพฒั นา
นวตั กรรมได้
บคุ ลากรเปน็ ผูท้ ี่มกี าร
ดำรงชวี ิตอย่างมี
คณุ ธรรม จริยธรรม
และเปน็ แบบอย่างท่ดี ี
ใหแ้ กบ่ คุ คลอ่นื ใน
สังคม

มิตทิ ี่ 4 ประโยชนแ์ ก่องค์การและสังคม

ผลการดำเนินการ
ส่งผลกระทบต่อสงั คม
หรอื มวลมนษุ ยชาติ
เกดิ ประโยชน์สุขแก่
ประชาชนและสังคม

581

โครงการวิจัย
การบริหารราชการแผ่นดนิ บนพนื้ ฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะท่ี ๑)

1.8 สำนักงานปฏิรปู ท่ดี นิ เพ่ือเกษตรกรรม

ตารางท่ี ผ 8.8
ผลการประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกิจพอเพียง ระดับเขา้ ถึง (บางมิต)ิ ของสำนักงานปฏิรปู ท่ดี นิ เพื่อ
เกษตรกรรม

มติ ิ / ปัจจัยประเมิน แนวทางดำเนินการ ตัวอย่าง

มิติท่ี 1 นโยบาย การวางแผน และการจัดทำแผนแบบมีสว่ นรว่ ม

มีการกำหนดนโยบาย - กำหนดแผนปฏิบตั ิการมสี ว่ น - ร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการ (ผ่านระบบออนไลน์) รับฟัง

และแผนยุทธศาสตรท์ ่ี สนับสนนุ หรือส่งเสริมการพฒั นา ความคิดเห็น(ร่าง)แผนปฏิบัติการด้านสมุนไพรแห่งชาติ

มีสว่ นสนับสนนุ หรอื ของสังคม ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2566-2570 ให้เกิดผลลัพธ์ที่เป็นรูปธรรม

ส่งเสรมิ การพัฒนาของ อันจะนำมาสู่ความมั่นคงทางสุขภาพและความยั่งยืนของ

สงั คมหรอื มวล เศรษฐกจิ ไทย

มนษุ ยชาติ

ในการวางแผน - เผยแพร่ความรูค้ วามเขา้ ใจของ - สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม มีศูนย์การ

ยุทธศาสตร์ มกี าร ผู้ปฏิบตั ิงานผ่านศนู ยก์ ารเรยี นรู้ เรยี นรู้เพอ่ื การปฏริ ูปทีด่ ิน (ศกร.) เป็นองคก์ รในสังกัดสำนัก

ถ่ายทอด สรา้ งความ - จัดเวทีระดมความคดิ เห็นจาก พัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยี (สพท.) เป็นศูนย์กลางการ

เขา้ ใจ และพฒั นาการ เกษตรกร พัฒนาองค์ความรู้ด้านการปฏิรูปที่ดิน การดำเนินงานด้าน

มสี ว่ นรว่ มของ - จดั กจิ กรรมให้บริการดา้ นปฏิรปู การพัฒนาบุคลากรของสำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อ

ประชาชนในสังคม ท่ดี ินภายใต้โครงการศนู ย์บรกิ าร การเกษตรกรรม อยา่ งเปน็ ระบบ ตอ่ เนื่อง

ประชาชนเคลอ่ื นที่ (Mobile - ผู้ตรวจราชการ ส.ป.ก. ลงพื้นที่ร่วมกับปฏิรปู ที่ดินจังหวดั

Unit ) เพ่ือเผยแพรค่ วามรูค้ วาม แม่ฮ่องสอน เยี่ยมชมโครงการส่งเสริมเกษตรอนิ ทรียใ์ นเขต

เข้าใจของศนู ย์บริการประชน ปฏิรูปที่ดิน ณ บ้านเมืองแพม อำเภอปางมะผ้า จังหวัด

แม่ฮ่องสอน เพื่อรับฟังความคิดเห็น ปัญหาอุปสรรค พร้อม

ทัง้ ใหก้ ำลงั ใจแกเ่ กษตรกร

- ส.ป.ก. จัดกิจกรรมโครงการศูนย์บริการประชาชน

เคลื่อนที่ในเขตปฏิรูปที่ดิน (Mobile Unit) เพื่อเผยแพร่

ความรคู้ วามเข้าใจของศนู ยบ์ ริการประชน

มิตทิ ี่ 2 การบริหารงานอย่างโปรง่ ใส มธี รรมาภบิ าล ไม่มีการกระทำการผดิ กฎหมาย

การสรา้ งการมีส่วน - ฝึกอบรมอาสาสมัครปฏริ ูปทีด่ ิน - ฝึกอบรมอาสาสมัครปฏิรูปที่ดนิ เพอื่ เกษตรกรรม
ร่วมกบั เครือขา่ ย ให้ เพื่อเกษตรกรรม (อสปก.) (อสปก.) ช่วยทำหน้าที่เผยแพร่ข่าวสารความรู้และ
ประชาชน ผมู้ สี ว่ นได้ - คดั เลือกผูแ้ ทนเกษตรกรในเขต ประชาสัมพันธ์ สาระความรู้ รวมถึงนโยบายสำคัญของรัฐ
ส่วนเสียสามารถพึ่งพา ปฏิรปู ทด่ี ินจงั หวัด ใ ห ้ ค ำ แ น ะ น ำ เ บ ื ้ อ ง ต ้ น เ ก ี ่ ย ว ก ั บ ก า ร ป ฏ ิ ร ู ป ท ี ่ ด ิ น เ พื่ อ
ตนเอง แก้ปัญหาได้ - พฒั นาผูแ้ ทนเกษตรกรในเขต เกษตรกรรม
ดว้ ยตนเอง ปฏิรปู ทด่ี ินจังหวดั - โครงการพัฒนาผู้แทนเกษตรกรในเขตปฏิรูปที่ดินจังหวดั
นครพนม (อสปก.)

582

สถาบันบณั ฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์

ตารางท่ี ผ 8.8 (ต่อ)

มิติ / ปัจจัยประเมนิ แนวทางดำเนนิ การ ตวั อย่าง

มิตทิ ่ี 2 การบรหิ ารงานอย่างโปรง่ ใส มีธรรมาภบิ าล ไม่มีการกระทำการผิดกฎหมาย

มนี วัตกรรมการ - จัดทำแอพพลิเคชน่ั ส.ป.ก - แอพพลิเคชั่น ส.ป.ก มีฟังชั่นหลักคือ ข่าว สำนักงาน
บรหิ ารจัดการภายใน เพ่อื ให้เกษตรกรและประชาชน ปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม การแจ้งความประสงค์ขอ
องคก์ ารทสี่ รา้ งสรรค์ ท่วั ไป สามารถเขา้ ถึงข้อมลู ขึ้นทะเบียนผู้ไร้ที่ดินทำกิน รายงานผลการจัดที่ดิน
ประโยชน์แก่เครือข่าย ข่าวสารและบรกิ าร ตรวจสอบรายชอื่ และสถานการณ์จัดท่ีดิน ติดต่อ สำนักงาน
และประชาชนใน - พัฒนาการปฏิบตั งิ านโดยใช้ ปฏริ ูปท่ดี ินเพ่อื การเกษตรกรรม
สังคม เทคโนโลยมี าชว่ ยให้บริการท่ีเร็ว - สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม มีการพัฒนา
ขน้ึ ระบบจัดที่ดนิ (ALRO Land) สนบั สนนุ การดำเนินงานด้าน
การจัดที่ดิน เพื่อให้ส่วนภูมิภาค และส่วนกลาง
ใช้ปฏิบตั ิงานโดยจัดเกบ็ ข้อมูลการจดั ท่ีดิน ข้อมูลเกษตรกร
ในที่ดินรัฐ และท่ีดินเอกชน รวมถึงข้อมลู พื้นทีป่ ระกาศเขต
ปฏริ ูปท่ีดินเช่ือมโยงฐานขอ้ มลู แบบ Real Time

มิติท่ี 3 บคุ ลากรเกง่ และมคี ุณธรรม

บคุ ลากรเป็นผู้มี
ความสามารถในการ
คิดเชิงริเรม่ิ สร้างสรรค์
รวมถึงสามารถพัฒนา
นวตั กรรมได้
บคุ ลากรเปน็ ผ้ทู มี่ กี าร
ดำรงชวี ิตอย่างมี
คณุ ธรรม จริยธรรม
และเปน็ แบบอย่างทด่ี ี
ใหแ้ ก่บคุ คลอนื่ ใน
สงั คม

มติ ทิ ี่ 4 ประโยชน์แก่องค์การและสงั คม

ผลการดำเนนิ การ
ส่งผลกระทบต่อสังคม
หรือมวลมนุษยชาติ
เกดิ ประโยชนส์ ขุ แก่
ประชาชนและสังคม

583

โครงการวิจยั
การบรหิ ารราชการแผน่ ดินบนพื้นฐานหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะท่ี ๑)

1.9 กรมการข้าว

ตารางท่ี ผ 8.9
ผลการประเมนิ ความเป็นเศรษฐกจิ พอเพียง ระดบั เข้าถงึ (บางมิติ) ของกรมการขา้ ว

มติ ิ / ปจั จยั ประเมิน แนวทางดำเนนิ การ ตัวอยา่ ง

มิติที่ 1 นโยบาย การวางแผน และการจดั ทำแผนแบบมีส่วนรว่ ม

มีการกำหนดนโยบาย - การสรา้ งภาคเี ครือขา่ ยดา้ นการ - กรมการข้าว ร่วมกับ IRRI เชิญผู้แทน 16 ประเทศเอเชีย

และแผนยุทธศาสตรท์ ี่ วจิ ยั ขา้ วกับตา่ งประเทศ ประชมุ ติดตามความก้าวหนา้ งานวจิ ยั ขา้ วระหว่างประเทศ

มสี ่วนสนับสนนุ หรอื

ส่งเสรมิ การพฒั นาของ

สงั คมหรือมวล

มนษุ ยชาติ

มีการกำหนดนโยบาย

และแผนยุทธศาสตรท์ ี่

มสี ว่ นสนับสนุนหรือ

ส่งเสริมการพัฒนาของ

สงั คมหรือมวล

มนษุ ยชาติ

ในการวางแผน - การรบั ฟงั ความคิดเห็น - ประชุมเผยแพร่ผลการดำเนินงานและรับฟังความคิดเห็น

ยทุ ธศาสตร์ มกี าร ประชาชนตอ่ แนวทางปฏบิ ัตทิ ด่ี ีใน ต่อแนวทางปฏิบัติที่ดีในการทำนาข้าวที่สอดคล้องกับการ

ถา่ ยทอด สรา้ งความ การทำนาขา้ ว อนุรักษ์และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพและ

เข้าใจ และพัฒนาการ ตัวชี้วัดความหลากหลายทางชีวภาพในภาคการเกษตร

มีส่วนรว่ มของ (21 ก.ย. 2564)

ประชาชนในสงั คม

มิติท่ี 2 การบริหารงานอยา่ งโปร่งใส มีธรรมาภิบาล ไม่มีการกระทำการผดิ กฎหมาย

การสร้างการมีส่วน - การสรา้ งเครือขา่ ยจาก - ศูนยข์ า้ วชุมชน เป็นองคก์ รของชาวนาท่มี กี ารรวมกลมุ่ เพอื่
ร่วมกับเครือขา่ ย ประชาชนดว้ ย “ศูนยข์ า้ วชุมชน” จัดทำกิจกรรมร่วมกันในการพัฒนาข้าวของชุมชน
ใหป้ ระชาชน ผมู้ สี ว่ น ในกันยายน 2563 มีจำนวน 2,387 ศูนย์ จาก 74 จังหวัด
ไดส้ ว่ นเสยี สามารถ
พ่ึงพาตนเอง
แก้ปญั หาได้ด้วย
ตนเอง

584

สถาบันบณั ฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์

ตารางที่ ผ 8.9 (ต่อ)

มิติ / ปจั จยั ประเมิน แนวทางดำเนินการ ตวั อยา่ ง

มิติท่ี 2 การบรหิ ารงานอย่างโปร่งใส มีธรรมาภิบาล ไม่มีการกระทำการผดิ กฎหมาย

มีนวัตกรรมการ - บทบาทสำคัญของกรมการข้าว - การพัฒนาเครื่องหมายดีเอ็นเอจากฐานข้อมูลรหัส
บริหารจดั การภายใน คอื ศึกษา วิจยั ทดลอง และ พันธุกรรมข้าวเพื่อสนับสนุนงานด้านการอนรุ ักษ์พันธกุ รรม
องคก์ ารทส่ี รา้ งสรรค์ พฒั นาเกีย่ วกับพันธุ์ เทคโนโลยี และปรับปรุงพันธุ์ (ผู้นำเสนอผลงาน นางสาวพัณณ์ชิตา
ประโยชนแ์ กเ่ ครอื ขา่ ย การผลิต การอารกั ขา วิทยาการ เวชสาร ศูนยว์ ิจยั ข้าวอุบลราชธาน)ี
และประชาชนใน หลงั การเก็บเก่ียวและการแปรรูป - แอพพลเิ คชน่ั ระบบท่ีปรกึ ษาชาวนาไทยหรือ GLAS RICE
สงั คม และมาตรฐานพันธข์ุ า้ ว ช่วยให้เกษตรกรสามารถเข้าถึงองค์ความรู้ด้านข้าว การ
- แอพพลเิ คชัน่ ระบบทป่ี รึกษา วางแผนการผลิต การคัดเลือกพันธ์ุขา้ ว ที่จะช่วยในการลด
ชาวนาไทย ความเสี่ยงจากศัตรูพืชสำคัญ นอกจากนั้นยังช่วยในเรื่อง
การพยากรณอ์ ากาศ การระบาดของโรคและแมลง และการ
จัดการราคาขายท่ีสำคัญ

มิติท่ี 3 บุคลากรเก่งและมคี ุณธรรม

มีการพัฒนาบคุ ลากร - ผลงานนวัตกรรมขา้ วไทย - กรมการข้าวชนะเลิศ “นวัตกรรมข้าวไทยรองรับการ
ให้สามารถคิดเชงิ ส่งออกของตลาดโลก” Thailand Research Expo 2020
วเิ คราะห์ คิดเชิง - สง่ เสรมิ ให้ข้าราชการบำเพญ็
วพิ ากษ์ และคดิ เชงิ ประโยชน์ และจติ อาสาเพื่อสงั คม - กิจกรรมจิตอาสาเพ่ือการเกษตรและสงิ่ แวดลอ้ ม
รเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์ - กรมการข้าวเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระ
บคุ ลากรสามารถ บรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 3
ดำรงชีวติ ได้อยา่ งมี ม ิ ถ ุ น า ย น 2 5 6 3 จ ั ด ก ิ จ ก ร ร ม จ ิ ต อ า ส า บ ำ เ พ็ ญ
คุณธรรม จรยิ ธรรม สาธารณประโยชน์ “มีแลว้ แบง่ ปัน”
ท้งั ในชวี ิตการทำงาน
และชวี ิตส่วนตวั

585

โครงการวิจัย
การบรหิ ารราชการแผน่ ดินบนพนื้ ฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะที่ ๑)

ตารางที่ ผ 8.9 (ต่อ)

มิติ / ปจั จัยประเมนิ แนวทางดำเนนิ การ ตวั อยา่ ง

มิติที่ 4 ประโยชนแ์ กอ่ งคก์ ารและสังคม - ผลการดำเนินงานด้านการส่งเสริมการผลิตข้าวตาม
โครงการส่งเสริมการทำเกษตรแบบแปลงใหญ่ ประจำปี
ผลการดำเนนิ การ - การดำเนนิ การด้านวจิ ยั และ 2563 ในพ้ืนที่ 68 จังหวัด
สง่ ผลกระทบตอ่ สังคม พฒั นาขา้ วทำให้ชาวบา้ นลด - การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดี ได้ผลิตเมล็ดพันธ์ชั้น
หรือมวลมนุษยชาติ ตน้ ทุนการผลติ พันธ์คัดเลือกและพันธ์หลัก จำนวน 2,770 ตัน เพื่อนำไป
เกิดประโยชนส์ ุขแก่ - ดำเนินการโนโครงการ ผลติ พันธุ์ชนั้ พนั ธ์ขุ ยายและจำหน่วย จำนวน 64,333 ตัน
ประชาชนและสงั คม พระราชดำริและโครงการหลวง - การพัฒนาเกษตรกร ได้คักกรองเกษตร จำนวน 13,015
ราย เข้ารับการอบรมและพัฒนาสู่การเป็นเกษตรการ
ปราดเปรื่อง
- การดำเนินการโนโครงการพระราชดำริและโครงการหลวง
ได้มีการส่งเสริมการถ่ายทอดการทำนาดำแบบขั้นบันได
เพื่อให้เหมาะสมกับพื้นที่ จัดทำแปลงเรียนรู้ ปลูกข้าวเชิง
อนุรักษ์ เพื่อให้เกิดความมั่นคงด้านอาหาร ปี 2563
ดำเนนิ การจำนวน 197 โครงการ

586

สถาบนั บัณฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์

1.10 กรมประมง

ตารางท่ี ผ 8.10
ผลการประเมินความเปน็ เศรษฐกิจพอเพยี ง ระดับเขา้ ถึง (บางมติ ิ) ของ กรมประมง

มติ ิ / ปัจจัยประเมิน แนวทางดำเนนิ การ ตวั อยา่ ง

มติ ทิ ่ี 1 นโยบาย การวางแผน และการจัดทำแผนแบบมีสว่ นร่วม

มีการกำหนดนโยบาย - มีการกำหนดเป้าหมายการ - แผนงานและ แนวทางในการพฒั นาการทำประมงพน้ื บ้านอยา่ ง
และแผนยทุ ธศาสตรท์ ีม่ ี พัฒนาการประมงอย่างยง่ั ยนื ของ ยั่งยืน เพื่อส่งเสริมให้การดำเนินงานสามารถเป้าหมายการ
ส่วนสนบั สนนุ หรอื ไทยภายใตว้ าระการพฒั นาทย่ี ง่ั ยนื พัฒนาการประมงอย่างยั่งยืนของไทยภายใต้วาระการพัฒนาท่ี
ส่งเสริมการพฒั นาของ ภายในยทุ ธศาสตรข์ องกรม และการ ย่ังยนื พ.ศ. 2573
สังคมหรือมวล ออกนโยบายควบคมุ การทำประมง - การทำแผนปฏิบัติการโครงการจัดระเบียบการทำประมงที่มี
มนุษยชาติ ผดิ กฎหมายใหเ้ ปน็ ไปตามหลกั การ สนับสนุนการแก้ไขปัญหาการทำประมง IUU ในเขตน่านน้ำของ
มีการกำหนดนโยบาย อนรุ กั ษแ์ ละจัดการทรพั ยากรทาง ประเทศต่างๆ และควบคุมการทำประมงผิดกฎหมายโดยใช้
และแผนยทุ ธศาสตรท์ ี่มี ทะเล ระบบการติดตามเรือประมง VMS
สว่ นสนับสนนุ หรือ - มีการสนับสนุนเกษตรกรในพน้ื ทซ่ี ่งึ - โครงการพัฒนาผู้พ้นโทษให้เป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ใน
ส่งเสริมการพฒั นาของ เคยตอ้ งโทษมากอ่ นให้เขา้ รว่ ม ชุมชน
สงั คมหรือมวล โครงการด้านประมงและเปน็ - สนง.ประมงจังหวัดเลยลงพ้ืนที่สำรวจความต้องการของชมุ ชน
มนุษยชาติ วทิ ยากรถ่ายทอดความรู้ สนบั สนนุ ในพื้นที่เพื่อจัดทำโครงการพัฒนาอาชีพและคุณภาพชีวิตผู้มี
ให้ผู้พ้นโทษหันมาทำเกษตรตาม รายไดน้ อ้ ยเพื่อลดความเหล่อื มลำ้ ทางสงั คม
ในการวางแผน แนวทางศพ.เพอื่ ลดอตั ราการกระทำ
ยุทธศาสตร์ มีการ ผิดซำ้ ในอนาคต - กลุ่มพัฒนาและส่งเสริมฯ หารือการบูรณางานร่วมกับ
ถ่ายทอด สรา้ งความ - ให้ประชาชนหรอื ผทู้ เี่ กย่ี วขอ้ งใน บริษัทเอกชน เพื่อผลักดันกิจกรรมแปลงใหญ่ และยกระดับ
เข้าใจ และพัฒนาการมี พื้นทีไ่ ดม้ สี ว่ นรว่ มและให้ มาตรฐานฟาร์ม (27 มกราคม 2565 หัวหน้ากลุ่มพัฒนาและ
สว่ นรว่ มของประชาชน ข้อเสนอแนะในการดำเนนิ โครงการ สง่ เสรมิ อาชีพการประมง หารือรว่ มกับเจ้าหนา้ ทส่ี ง่ เสรมิ การเลย้ี ง
ในสงั คม - ลงพน้ื ทีเ่ ผยแพร่ความรู้ สรา้ งการ ปลานิล ของบริษัทเบทาโกร เพื่อหาแนวทางการจัดประชุมและ
รบั รแู้ ละความเขา้ ใจกบั ประชาชน เสวนาแนวทางการส่งเสรมิ การเล้ยี งปลานลิ เพ่อื ผลกั ดันสกู่ จิ กรรม
และเกษตรกร แปลงใหญ่ปลานิล และยกระดับมาตรฐานฟาร์มเลี้ยงปลานิล ใน
พน้ื ที่จงั หวัดอบุ ลราชธานี)
- การตรวจเยี่ยมแปลงเรียนรู้ด้านการประมง ศพก.หลัก
ในจังหวดั ต่างๆ และรับฟงั ความคิดเห็นของเกษตรกร
(วันที่ 26 มกราคม 2565 ประมงอำเภอวารินชำราบ ลงพ้ืน
พบปะและสอบถามสถานการณ์ของเกษตรกรผู้เลี้ยงปลากดคัง
ตามโครงการระบบส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่(สัตว์น้ำจืด)
โดยเกษตรกรผเู้ ข้า่ รว่ มโครงการฯไดเ้ สนอแนะทางหน่วยงานกรม
ประมง ว่าหากจะใหก้ ารสนับสนุนลูกพนั ธ์ุปลากดคังตามแผนงาน
โครงการฯ ขอเสนอให้สนับสนุนในช่วงเดือน เมษายน -
พฤษภาคม เพื่อลดปัญหาในเรื่องของคุณภาพน้ำซึ่งจะมีผลต่อ
อัตรารอดของลกู พนั ธปุ์ ลาในกระชงั )

587

โครงการวิจัย
การบริหารราชการแผน่ ดนิ บนพื้นฐานหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะที่ ๑)

ตารางที่ ผ 8.10 (ต่อ)

มติ ิ / ปัจจัยประเมิน แนวทางดำเนนิ การ ตวั อยา่ ง

มิตทิ ี่ 2 การบริหารงานอยา่ งโปร่งใส มธี รรมาภบิ าล ไม่มีการกระทำการผิดกฎหมาย

การสรา้ งการมีสว่ น - จัดต้งั ศูนยก์ ารเรยี นร้เู พ่ือ - โครงการศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินคา้
ร่วมกบั เครือขา่ ย ฝึกอบรมและเพม่ิ ประสิทธิภาพ เกษตร(ศพก.) ดา้ นประมง ในพน้ื ที่ต่าง ๆ 882 ศนู ย์
ใหป้ ระชาชน ผมู้ ีส่วน สนิ ค้าเกษตร - การจัดทำบันทึกรายชือ่ ผู้ที่ทำหน้าที่อยู่ในศูนย์การเรยี นรู้
ได้ส่วนเสียสามารถ - จดั ตั้งศูนย์เรียนรู้เครือข่ายด้าน เครอื ข่ายด้านประมงและมกี ารอัพเดทรายขือ่ เป็นรายปี
พ่ึงพาตนเอง การประมงในพ้นื ท่ตี า่ งๆ โดยมี
แกป้ ญั หาไดด้ ้วย การคดั เลอื กเกษตรกรทมี่ คี วามรู้ - การจัดทำโปรแกรมประยกุ ต์การออกหนงั สอื กำกบั การซื้อ
ตนเอง ความชำนาญและประสบ ขายสัตว์น้ำ เพื่อความสะดวกในการบริการออกหนังสือ
ความสำเรจ็ ดา้ นเพาะเลย้ี งสตั วน์ ้ำ รับรองตา่ งๆสำหรับประชาชน
มนี วัตกรรมการ ในพื้นที่เปน็ ผู้ช่วยถ่ายทอดความรู้ - การใช้ระบบวเิ คราะหพ์ ฤติกรรมเรอื ประมงมงนอกน่านน้ำ
บรหิ ารจดั การภายใน และเทคโนโลยี ใหบ้ ริการด้านการ ด้ว ย ก า รติดตามทา งอิเล็ก ทรอ นิกส์ ( Electronic
องคก์ ารที่สรา้ งสรรค์ ประมงต่างๆแกช่ ุมชน Monitoring Analysis: EMA) และระบบติดตามเรือประมง
ประโยชน์แกเ่ ครือข่าย - มกี ารสนับสนนุ การทำวจิ ยั (VMS) ซึ่งเป็นระบบที่นำเอาเทคโนโลยีของอินเทอร์เน็ต
และประชาชนใน เกยี่ วกบั ประมงด้านต่างๆ และให้ ระบบกำหนดจุดพิกัด (GPS) และเครือข่ายของดาวเทียม
สงั คม ความรใู้ นเรื่องของข่าวสาร สื่อสาร (inmasat/thuraya/iridium) หรือ เครือข่ายของ
งานวิจัยในด้านอนื่ ๆ เพ่อื เผยแพร่ โทรศัพท์มือถือ (Global Service Mobile; GSM) รวมเป็น
ใหก้ ับทง้ั บคุ ลากรและประชาชน อ ุป ก รณ์ก ำ ห นดจ ุดพ ิก ัด VPS (Vessel Positioning
ทั่วไป System) มาช่วยระบุตำแหน่งเรือประมง ร่วมกับ
การประยุกต์ใช้ระบบติดตาม (VMS)

มิติท่ี 3 บุคลากรเก่งและมีคุณธรรม

มีการพฒั นาบคุ ลากร - การนำเอางานวจิ ัยท่ีได้นำเสนอ - งานวิจัยการประยุกต์ใช้น้ำดีเกลือในการแชแ่ ข็งอารท์ ีเมีย
ใหส้ ามารถคดิ เชงิ ในการประชุมวิชาการประมงแต่ โดยกองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝ่ัง
วเิ คราะห์ คิดเชิง ละครัง้ ไปประยกุ ต์ใชจ้ รงิ ในพน้ื ท่ี (หนา้ 4)
วพิ ากษ์ และคิดเชิง ตา่ ง ๆ - เทคนคิ การผลติ อาหารสตั ว์น้ำให้มคี ณุ ภาพจากวัสดหุ าง่าย
รเิ ร่มิ สรา้ งสรรค์ ในท้องถ่นิ โดย กองวิจยั และพฒั นาอาหารสตั ว์น้ำ (หนา้ 7)
(ทงั้ สองงานวิจัยอยใู่ นรายงานสรุปหวั ขอ้ งานวจิ ยั นำไปใช้
ประโยชนป์ ระจำปี 2564)

588

สถาบนั บณั ฑติ พฒั นบริหารศาสตร์

ตารางที่ ผ 8.10 (ต่อ)

มิติ / ปจั จยั ประเมนิ แนวทางดำเนนิ การ ตัวอย่าง

มติ ิท่ี 3 บคุ ลากรเกง่ และมคี ุณธรรม

บคุ ลากรสามารถ - การมอบรางวลั ใหแ้ กบ่ คุ ลากรท่ี - ผตู้ รวจราชการกรมประมง พรอ้ มข้าราชการและเจ้าหนา้ ที่
กรมประมง เข้าร่วมกิจกรรมจิตอาสา โครงการจิตอาสา
ดำรงชีวติ ได้อยา่ งมี ดำรงตนเป็นแบบอยา่ งกบั บคุ คลที่ พัฒนาชุมชนเข้มแข็ง ประชามีสุข เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม
2563
คุณธรรม จริยธรรม เก่ยี วขอ้ งทัง้ ในหน้าท่กี ารงานและ - การพิจารณาคัดเลือกข้าราชการพลเรือนดีเด่นของกรม
ประมง ที่ประพฤติปฏิบัติงานเป็นแบบอย่าง ทั้งด้านการ
ทั้งในชวี ิตการทำงาน ในสังคม ดำรงตน การปฏบิ ตั กิ ารปฏิบตั ติ นใหเ้ ปน็ ทย่ี อมรับกับบุคคล
ทเ่ี กย่ี วข้องทั้งในหน้าทีร่ าชการและสงั คม กับการปฏบิ ัติงาน
และชวี ิตส่วนตวั - หนว่ ยงานจัดกจิ กรรมจติ อาสา ที่พร้อมด้วยจรรยาบรรณข้าราชการ มีผลงานโดดเด่น
รวมถงึ ผลการปฏบิ ตั ิตนและปฏบิ ตั ิงานสง่ ผลกับประชาชนท่ี
ใหบ้ ุคลากรสามารถเข้ารว่ มได้ เป็นผู้รับบริการเป็นสำคัญ เพื่อมอบรางวัลเป็นขวัญและ
กำลังใจ

มติ ิท่ี 4 ประโยชนแ์ ก่องค์การและสงั คม

ผลการดำเนนิ การ - ยุทธศาสตร์หลักของกรมประมง - การจัดทำโครงการธนาคารสิ นค้าเกษตร เพื่อเพ่ิม
สง่ ผลกระทบต่อสังคม ส่วนหนง่ึ คอื การพัฒนา ผลผลิตสัตว์น้ำจืดให้เป็นอาหารโปรตีนสำหรับบริโภคและ
หรือมวลมนุษยชาติ ประสิทธภิ าพการผลิตและสร้าง สรา้ งรายได้ภายในครัวเรือน
เกดิ ประโยชนส์ ุขแก่ ความเข้มแข็งใหเ้ กษตรกร และ
ประชาชนและสงั คม การพัฒนาและตรวจสอบสินค้า
ประมงให้มีมาตรฐานเพอ่ื เพ่ิม
มลู ค่าและความสามารถ
ในการแขง่ ขนั

589

โครงการวจิ ัย
การบริหารราชการแผ่นดินบนพน้ื ฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะที่ ๑)

1.11 กรมปศุสตั ว์

ตารางท่ี ผ 8.11
ผลการประเมินความเปน็ เศรษฐกิจพอเพียง ระดับเข้าถึง (บางมติ ิ) ของกรมปศุสัตว์

มิติ / ปจั จยั ประเมิน แนวทางดำเนนิ การ ตัวอย่าง

มติ ิท่ี 1 นโยบาย การวางแผน และการจัดทำแผนแบบมีส่วนรว่ ม

มีการกำหนดนโยบาย - การจดั ประชุมเพ่ือกำหนดกรอบ - กรมปศุสัตว์ร่วมกับนานาชาติจัดฝึกอบรมการวางแนว

และแผนยุทธศาสตรท์ ่ี แผนงานกิจกรรม นโยบายและ ทางการพัฒนาแผนยุทธศาสตร์ 5 ปี สําหรับโครงการ

มสี ่วนสนบั สนนุ หรอื วตั ถปุ ระสงคต์ ามแผนกลยุทธข์ อง R-FETPV ซึ่งเป็นหลักสูตรฝึกอบรมระดับภูมิภาคเพื่อ

ส่งเสริมการพฒั นาของ โครงการรว่ มกบั หนว่ ยงานจาก เสริมสร้างขีดความสามารถด้านระบาดวิทยาภาคสนามใน

สังคมหรือมวล ประเทศต่างๆ ทั้งภาคราชการ สบิ ประเทศสมาชกิ อาเซียน

มนุษยชาติ และภาคเอกชน - โครงการความร่วมมือระหว่างกรมปศุสัตว์ ประเทศไทย

มีการกำหนดนโยบาย - มีการสนบั สนุนหลกั สูตร และศูนย์ควบคุมและป้องกันโรค ประเทศสหรัฐอเมริกา

และแผนยุทธศาสตรท์ ่ี ฝึกอบรมวิชาชพี ให้กบั ผู้ตอ้ งขงั (CDC)

มีส่วนสนบั สนนุ หรอื เพื่อให้ผู้ตอ้ งขงั สามารถพ่งึ พา - โครงการฝึกอบรมและฝึกวิชาชีพผู้ต้องขัง หลักสูตร

ส่งเสริมการพฒั นาของ ตนเอง สร้างรายไดแ้ ละประกอบ การเล้ียงไก่ชน

สงั คมหรอื มวล อาชพี ไดห้ ลงั พ้นโทษ

มนุษยชาติ

ในการวางแผน - มกี ารประกวดและให้รางวลั เพอ่ื - โครงการคัดเลือกเกษตรกร สถาบัน และสหกรณ์ดีเด่น

ยทุ ธศาสตร์ มีการ พัฒนาการมสี ว่ นรว่ มของเกษตกร แหง่ ชาติ ประจำปงี บประมาณ 2564

ถ่ายทอด สร้างความ และประชาชน - การรับฟังความคิดเห็น ร่างแผนปฏิบัติการดา้ นโคนมและ

เข้าใจ และพฒั นาการ - การรับฟังความคดิ เห็น ผลิตภัณฑ์ ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2564-2570)

มีสว่ นรว่ มของ แผนปฏบิ ัตกิ ารด้านโคนมและ

ประชาชนในสงั คม ผลติ ภณั ฑ์

มิติท่ี 2 การบรหิ ารงานอยา่ งโปรง่ ใส มีธรรมาภบิ าล ไม่มีการกระทำการผดิ กฎหมาย

การสรา้ งการมสี ว่ น - การฝกึ อบรมเพ่ือสรา้ งและ - โครงการฝึกอบรมเพื่อสร้างและพัฒนาศักยภาพอาสา
ร่วมกบั เครอื ข่าย พฒั นาศักยภาพอาสาปศุสัตว์ ปศุสัตว์ด้านโรคพิษสุนัขบ้า ปีงบประมาณ 2564 ภายใต้
ให้ประชาชน ผมู้ ีสว่ น แผนยุทธศาสตร์การดำเนินโครงการสัตว์ปลอดโรค คน
ได้ส่วนเสียสามารถ ปลอดภัย จากโรคพิษสุนัขบ้า ตามพระปณิธาน
พงึ่ พาตนเอง ศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระศรีสวางควัฒน
แกป้ ญั หาไดด้ ว้ ย วรขตั ติยราชนารี
ตนเอง

590

สถาบนั บัณฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์

ตารางที่ ผ 8.11 (ตอ่ )

มิติ / ปจั จัยประเมิน แนวทางดำเนนิ การ ตัวอย่าง

มติ ทิ ่ี 2 การบรหิ ารงานอยา่ งโปรง่ ใส มีธรรมาภบิ าล ไม่มีการกระทำการผิดกฎหมาย

มีนวตั กรรมการ - การสนบั สนุนการทำวจิ ยั - งานวิจัยของกรมปศุสัตว์เรื่องผลของการจัดการโรงเรือน
ต่างกัน 3 แบบต่อการเปลี่ยนแปลงค่าทางสรีรวิทยาบาง
บริหารจัดการภายใน เกย่ี วกบั ปศุสัตวด์ า้ นต่างๆ และให้ ประการและการให้ผลผลิตนมในโคนมลูกผสมออสเตรเลียน
ฟรีเชยี น-วาฮิวาล
องคก์ ารท่สี รา้ งสรรค์ ความรู้ในเรอ่ื งของข่าวสาร - ก ร ม ป ศ ุ ส ั ต ว ์ ไ ด ้ ร ั บ ร า ง ว ั ล THAILAND DIGITAL
TRANSFORMATION AWARDS 2 0 2 ป ร ะ เ ภ ท
ประโยชน์แกเ่ ครอื ขา่ ย งานวิจยั ในด้านอ่ืนๆ เพ่อื เผยแพร่ CUSTOMER EXPERIENCEม DATA & INSIGHTS จ า ก
โครงการ “จัดทำมาตรฐานข้อมูลกลาง กรมปศุสัตว์ (DLD
และประชาชนใน ให้กบั ทง้ั บคุ ลากรและประชาชน DATA STANDARD)”

สงั คม ทว่ั ไป

- การปรบั เปล่ยี นกระบวนการ

ทำงานของหน่วยงานไปส่ยู คุ

ดจิ ทิ ลั (Digital

Transformation)

มิตทิ ี่ 3 บุคลากรเกง่ และมีคุณธรรม

มีการพัฒนาบุคลากร - ผลงานการปรบั เปลย่ี น - ก ร ม ป ศ ุ ส ั ต ว ์ ไ ด ้ ร ั บ ร า ง ว ั ล THAILAND DIGITAL
ให้สามารถคดิ เชงิ กระบวนการทำงานของ TRANSFORMATION AWARDS 2 0 2 1 ป ร ะ เ ภ ท
วิเคราะห์ คดิ เชิง หนว่ ยงานไปสยู่ ุคดิจิทลั (Digital CUSTOMER EXPERIENCEม DATA & INSIGHTS จ า ก
วพิ ากษ์ และคิดเชิง Transformation) โครงการ “จัดทำมาตรฐานข้อมูลกลาง กรมปศุสัตว์ (DLD
รเิ ร่มิ สร้างสรรค์ DATA STANDARD)”
บุคลากรสามารถ - การจดั กจิ กรรมจิคอาสาใน - การจัดกิจกรรมจิตอาสา ชีวิตใหม่ใต้ร่มพระบารมี...เรา
ดำรงชีวิตไดอ้ ย่างมี โอกาสสำคัญ สร้างไปด้วยกัน เนื่องในโอกาส วันเฉลิมพระชนมพรรษา
คณุ ธรรม จรยิ ธรรม พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั วันท่ี 28 กรกฎาคม 2563
ท้ังในชีวิตการทำงาน - การดำเนินงานกิจกรรมจิตอาสา ประจำปี พ.ศ. 2565
และชีวิตส่วนตวั ภายใต้กรอบการดำเนินงานการบูรณาการประสานการ
ปฏิบัติและสนับสนุนงานร่วมกับ ศูนย์อำนวยการใหญ่จิต
มติ ทิ ่ี 4 ประโยชนแ์ ก่องคก์ ารและสังคม อาสาพระราชทานและแนวทางการส่งเสริมให้ประชาชนมี
ส่วนร่วมขับเคลื่อนกิจกรรมจิตอาสาตามที่สำนักงานปลัด
ผลการดำเนนิ การ - ผลการประเมินการปฏบิ ัติ สำนักนายกรัฐมนตรกี ำหนด
ส่งผลกระทบต่อสังคม ราชการปี 2563 เป็นไปตาม
หรือมวลมนุษยชาติ เป้าหมายทกี่ ำหนดไว้ - สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (สป.กษ.)
ปฏิบัติภารกิจตามกรอบและแนวทางดำเนินงานภายใต้
ยทุ ธศาสตร์จัดสรร 3 ยทุ ธศาสตร์ คือ ยทุ ธศาสตรด์ ้านความ
ม่ันคง ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคและดา้ นการ
สร้างความสามารถทางการแข่งขัน 5 โครงการ/ผลผลิต 7
กิจกรรม สามารถบรรลุเป้าหมายตามตวั ช้วี ัด วดั ท่ภี าพรวม
คิดเป็นร้อยละ 97.34

591

โครงการวิจัย
การบริหารราชการแผ่นดินบนพน้ื ฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะท่ี ๑)

ตารางที่ ผ 8.11 (ต่อ)

มิติ / ปัจจัยประเมิน แนวทางดำเนินการ ตัวอย่าง

มติ ิที่ 4 ประโยชน์แก่องค์การและสังคม

เกดิ ประโยชนส์ ุขแก่ - โครงการธนาคารโค-กระบอื เพือ่ - ผลการดำเนินโครงการธนาคารโค-กระบือเพื่อเกษตรกร
ประชาชนและสงั คม เกษตรกร ตามพระราชดำริ ตามพระราชดำริประจำปี 2563 จำนวน 2,312 ราย
มอบโค-กระบือ 2,312 ตวั มูลค่า 65,546,950 บาท
- ประจำปี 2562 จำนวน 3,055 ราย มอบโค-กระบือ
3,055 ตวั มูลค่า 83,322,600 บาท

592

สถาบันบัณฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์

1.12 กรมชลประทาน

ตารางท่ี ผ 8.12
ผลการประเมินความเป็นเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดบั เขา้ ถึง (บางมติ )ิ ของกรมชลประทาน

มติ ิ / ปจั จยั ประเมิน แนวทางดำเนินการ ตัวอย่าง

มิตทิ ี่ 1 นโยบาย การวางแผน และการจดั ทำแผนแบบมีส่วนร่วม

มกี ารกำหนดนโยบาย - รับฟงั เสยี งผู้มสี ว่ นได้เสีย รว่ ม - กรมชลประทาน จัดการประชุมรับฟังความคิดเห็นคนใน

และแผนยทุ ธศาสตรท์ ี่ พฒั นาแนวทางโครงการ พื้นที่ และระบบออนไลน์เสนอผลการพิจารณารายงานการ

มสี ่วนสนับสนุนหรือ ประเมนิ ผลกระทบส่ิงแวดลอ้ มสำหรับโครงการ กิจการหรือ

สง่ เสรมิ การพัฒนาของ การดำเนินการที่อาจมีผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติ

สังคมหรือมวล คุณภาพสิ่งแวดล้อม สุขภาพ อนามัย คุณภาพชีวิต ของ

มนษุ ยชาติ ประชาชนในชุมชนอย่างรุนแรง ของโครงการอ่างเก็บน้ำ

มกี ารกำหนดนโยบาย คลองวงั โตนดจังหวดั จนั ทบรุ ี

และแผนยทุ ธศาสตรท์ ี่

มีสว่ นสนบั สนุนหรอื

ส่งเสรมิ การพัฒนาของ

สังคมหรอื มวล

มนุษยชาติ

ในการวางแผน - การต้ังงบประมาณและโครงการ - ประชุมโครงการศึกษาจัดทำแบบจำลองคณิตศาสตร์

ยุทธศาสตร์ มกี าร มาจากการรอ้ งขอของประชาชน นิเวศวิทยาทางทะเลและผลกระทบสิ่งแวดล้อม โครงการ

ถา่ ยทอด สรา้ งความ - สร้างการรบั รคู้ วามเขา้ ใจในการ บรรเทาอุกภัยลุ่มน้ำเพชรบรุ ีตอนลา่ ง ปฐมนิเทศ เพื่อรับฟัง

เขา้ ใจ และพฒั นาการ ปฏิบัติงานกบั ประชาชน ปัญหา ข้อมลู ความคดิ เหน็ ข้อเสนอแนะตอ่ การดำเนินงาน

มีส่วนร่วมของ ศึกษาและการพัฒนาโครงการฯ เป็นไปตามหลักการมีส่วน

ประชาชนในสังคม ร่วมของประชาชน

- กสช. ร่วมวางแผนการจัดเวทีการมีส่วนร่วม “การสร้าง

ความเข้าใจโครงการฯ และ สำรวจสภาพปญั หาและสาเหตุ

ของชุมชน” โครงการพัฒนาลุ่มน้ำแบบประชารัฐ ลุ่มน้ำ

ชตี อนลา่ ง จ.อบุ ลราชธานี

593

โครงการวิจัย
การบรหิ ารราชการแผน่ ดินบนพน้ื ฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะที่ ๑)

ตารางท่ี ผ 8.12 (ตอ่ )

มติ ิ / ปัจจัยประเมิน แนวทางดำเนินการ ตัวอยา่ ง

มติ ิที่ 2 การบริหารงานอย่างโปรง่ ใส มีธรรมาภิบาล ไม่มีการกระทำการผิดกฎหมาย

การสรา้ งการมีส่วน - สร้างอาสาสมัครเพ่อื สนับสนุน - กรมชลประทานจัดสัมมนาโครงการพัฒนาศักยภาพ
ร่วมกับเครือข่าย การปฏบิ ัติงานของกรม เครอื ข่ายประชาสมั พนั ธ์จากทั่วประเทศ เพ่ือสร้างโครงข่าย
ใหป้ ระชาชน ผมู้ สี ว่ น - สร้างอาสาสมัครชลประทาน ที่เข้มแข็ง ต่อยอด และพัฒนางานประชาสัมพันธ์เชิงรุก
ได้สว่ นเสยี สามารถ จากประชาชนในพ้ืนที่ที่มีการ สร้างการรับรู้สู่กลุ่มเป้าหมายตามนโยบายรัฐบาลและ
พึง่ พาตนเอง ปฏบิ ตั ิงาน กระทรวงเกษตรและสหกรณอ์ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
แกป้ ัญหาไดด้ ้วย - โครงการอาสาสมัครชลประทาน เพื่อให้มีอาสาสมัคร
ตนเอง ชลประทานมาทำหน้าที่ประสานงานกับกลุ่มผู้ใช้น้ำ
ชลประทาน และเป็นผู้ช่วยเจ้าหน้าที่ของโครงการ
มีนวัตกรรมการ - พฒั นา Application เพือ่ มา ชลประทาน ในการเก็บข้อมูลและดำเนินการในการจัดสรร
บรหิ ารจดั การภายใน ชว่ ยในการปฏิบัติงาน น้ำและบำรุงรักษา ประจำฤดูกาล เพื่อให้การส่งน้ำไปยัง
องค์การท่ีสรา้ งสรรค์ - ปรบั ปรงุ ประสทิ ธภิ าพในการ พื้นที่ทำการเกษตรในเขตชลประทานได้ตามปริมาณและ
ประโยชนแ์ กเ่ ครือขา่ ย ปฏิบตั ิงานและการใหบ้ รกิ าร เวลาทว่ี างแผนไว้ เพอ่ื ให้คูส่งน้ำ ไดร้ บั การบำรุงรักษาให้อยู่
และประชาชนใน ประชาชน ในสภาพพรอ้ มใชง้ าน และเพื่อให้องคก์ รผู้ใช้น้ำชลประทาน
สงั คม มีความเข้มแข็งสามารถบริหารจัดการน้ำในฟื้นที่ขอบเขต
ของกลมุ่ ผู้ใช้นำ้ ชลประทานไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ
- SWOC DOC ปรับปรุงระบบสนับสนุนการตัดสินใจการ
บริหารจัดการน้ำอ่างเก็บน้ำขนาดกลาง ส่วนประมวล
วเิ คราะหส์ ถานการณ์น้ำ
- Application SWOC PR แอปพลิเคชันการรายงาน
สถานการณ์น้ำแบบการมีส่วนร่วม เป็นเครื่องมือสำหรับ
รายงานสถานการณ์น้ำทั้งจากสถานีตรวจวดั เจา้ หนา้ ท่ี และ
ประชาชน
- SWOC RF การปรับปรุงระบบสนับสนุนการตัดสินใจการ
บริหารจัดการน้ำอ่างเก็บน้ำขนาดกลาง ส่วนประมวล
วเิ คราะห์สถานการณน์ ้ำ
- SWOC Monitor แอปพลิเคชัน แจ้งเตือน รายงาน และ
นำเสนอข้อมูลสถานการณ์น้ำฝน อ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่
ขนาดกลาง นำ้ ท่า คณุ ภาพน้ำ สถานการณ์ภัย

594

สถาบนั บัณฑติ พฒั นบริหารศาสตร์

ตารางท่ี ผ 8.12 (ต่อ)

มติ ิ / ปัจจยั ประเมิน แนวทางดำเนินการ ตวั อยา่ ง

มิตทิ ี่ 3 บคุ ลากรเกง่ และมีคุณธรรม - รางวัลเลิศรฐั สาขาบริการภาครัฐ ระดับดี ประเภทบรู ณา
การข้อมูลเพื่อการบริการ ได้แก่ ผลงานระบบบูรณาการ
มีการพัฒนาบคุ ลากร - ผลงานทส่ี ะท้อนถงึ ความคิด ข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการน้ำ โดยเป็นการบูรณาการ
ใหส้ ามารถคิดเชงิ รเิ รม่ิ สร้างสรรค์ ข้อมูลด้านการบริหารจัดการน้ำร่วมกันระหว่างกรม
วเิ คราะห์ คิดเชิง - ผลงานที่สะทอ้ นถึงการพฒั นา ชลประทาน กรมทรัพยากรน้ำ กรมอุตุนิยมวิทยา และ
วิพากษ์ และคิดเชงิ นวัตกรรมของบคุ ลากร สำนกั งานทรพั ยากรน้ำแห่งชาติ
รเิ รม่ิ สร้างสรรค์ - รางวัลเลิศรัฐ สาขาบริการภาครัฐ ระดับดี ประเภท
นวตั กรรมบริการ ได้แก่ ผลงานสารควบคุมกำจัดผักตบชวา
ในทางน้ำ เป็นผลงานที่สำนักวิจัยและพัฒนา
กรมชลประทานได้ทำการศึกษาวิจัยหาวิธีดำเนินการ
ควบคุมกำจัดผักตบชวาโดยการใช้สารกำจัดวัชพืชชีวภาพ
(bio herbicide) ที่นำมาใช้ควบคุมการระบาดของ
ผักตบชวาในพื้นที่ชลประทานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ประหยัดคา่ ใช้จา่ ย และปลอดภัยต่อสภาพแวดลอ้ ม

บุคลากรสามารถ
ดำรงชวี ิตได้อย่างมี
คุณธรรม จริยธรรม
ทั้งในชวี ิตการทำงาน
และชวี ติ ส่วนตวั

มติ ิท่ี 4 ประโยชนแ์ ก่องค์การและสังคม

ผลการดำเนินการ
สง่ ผลกระทบต่อสังคม
หรอื มวลมนุษยชาติ
เกิดประโยชนส์ ุขแก่
ประชาชนและสังคม

595

โครงการวิจัย
การบริหารราชการแผน่ ดินบนพืน้ ฐานหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ระยะที่ ๑)

1.13 กรมตรวจบญั ชีสหกรณ์

ตารางท่ี ผ 8.13
ผลการประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกิจพอเพยี ง ระดับเข้าถึง (บางมติ ิ) ของกรมตรวจบัญชสี หกรณ์

มติ ิ / ปัจจัยประเมนิ แนวทางดำเนินการ ตวั อยา่ ง

มติ ทิ ี่ 1 นโยบาย การวางแผน และการจัดทำแผนแบบมีส่วนร่วม

มีการกำหนดนโยบาย - การอบรมการทำบญั ชใี ห้ - การสอนทำบัญชีครวั เรอื น ให้แกผ่ ู้ต้องขังสมาชิกโครงการ
และแผนยทุ ธศาสตร์ท่ี ผตู้ ้องขัง กำลงั ใจ ในพระดำริพระเจา้ หลานเธอพระองค์เจา้ พชั รกติ ยิ า
มีส่วนสนบั สนุนหรอื ภร ในหลักสูตรการน้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมา
สง่ เสริมการพัฒนาของ - การรับฟังความคดิ เหน็ จากภาคี ปรับใช้ในการดำเนินชีวิตของผู้ต้องขัง (หลักสูตร 5 เดือน)
สังคมหรอื มวล เครอื ขา่ ย สอนแนะการจดั ทำบัญชีครวั เรอื น บัญชีต้นทนุ อาชพี ให้กับ
มนษุ ยชาติ - การลงนามบนั ทึกขอ้ ตกลงความ ผู้ต้องขัง เพอ่ื ใช้บัญชีเป็นเครือ่ งมอื ในการแก้ไขปัญหาความ
มกี ารกำหนดนโยบาย รว่ มมือ (MOU) ยากจนและสร้างวินัยทางการเงิน วางแผนการใช้จ่ายและ
และแผนยุทธศาสตรท์ ่ี การประกอบอาชพี ให้สามารถดำรงชวี ติ เองได้
มสี ่วนสนบั สนุนหรือ
ส่งเสริมการพัฒนาของ - กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ หารือ 7 หน่วยงาน บูรณาการ
สังคมหรอื มวล สร้างความเขม้ แข็งเพื่อร่วมมือกนั ในการพฒั นาบุคลากรด้าน
มนุษยชาติ บัญชีของสหกรณ์และ เสริมสร้างความเข้มแข็งของสหกรณ์
ในการวางแผน ให้จดั ทำบัญชแี ละงบการเงินได้
ยทุ ธศาสตร์ มีการ - กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ กับกรมส่งเสริมสหกรณ์ ลงนาม
ถา่ ยทอด สร้างความ บันทึกความเข้า ใจว่าด้วยการประสานความร่วมมือในการ
เข้าใจ และพฒั นาการ ป้องกันและปราบปรามการ ฟอกเงินผ่านกิจการสหกรณ์
มสี ว่ นรว่ มขององค์การ (MOU)
อื่นหรอื เครอื ข่ายตา่ ง - กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ และกรมส่งเสริมสหกรณ์ ร่วมลง
ๆ นามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) กับธนาคารเพ่ือ
การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธกส.) เรื่อง
การเชื่อมโยงการจัดการฐานข้อมูลสหกรณ์และกลุ่ม
เกษตรกร

596

สถาบันบัณฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์

ตารางท่ี ผ 8.13 (ตอ่ )

มิติ / ปัจจยั ประเมนิ แนวทางดำเนนิ การ ตวั อยา่ ง

มิติท่ี 2 การบรหิ ารงานอย่างโปร่งใส มธี รรมาภิบาล ไม่มีการกระทำการผิดกฎหมาย

การสร้างการมีสว่ น - อาสาสมคั รเกษตรดา้ นบญั ชี - โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรอบรมพัฒนา
อาสาสมัครเกษตรด้านบัญชีปีงบประมาณ 2565 ภายใต้
ร่วมกบั เครอื ขา่ ย - การสร้างเครือข่ายจาก โครงการศนู ย์เรยี นร้กู ารเพมิ่ ประสทิ ธิภาพสนิ คา้ เกษตร
- การสร้างเครือข่ายจากประชาชน จากครูบัญชีอาสานอก
ใหป้ ระชาชน ผู้มีสว่ น ประชาชน จากครบู ญั ชอี าสานอก ภาคการเกษตร

ได้สว่ นเสยี สามารถ ภาคการเกษตร - โปรแกรมระบบบญั ชีสหกรณ์ครบวงจร
- โปรแกรมระบบตรวจสอบบัญชสี หกรณเ์ ชิงลึก
พึ่งพาตนเอง - แอพพลิเคชั่น Smart Auditor เป็นเครื่องมือช่วยอำนวย
ความสะดวกในการถ่ายทอดองค์ความรู้ที่น่าสนใจเกี่ยวกับ
แกป้ ญั หาได้ด้วย การพัฒนาสถาบันเกษตรกรและการส่งเสริมและพัฒนา
ศกั ยภาพการจดั ทำบัญชแี ก่เกษตรกร
ตนเอง
- รางวัลนวตั กรรมการปฏบิ ตั ิงานเพ่อื การแบ่งปนั ความร้ขู อง
มนี วัตกรรมการ - นวตั กรรมและเทคโนโลยีดจิ ิทลั ก ร ม ต ร ว จ บ ั ญ ช ี ส ห ก ร ณ ์ ( Innovation Award for
Knowledge Sharing of CAD)
บรหิ ารจัดการภายใน เข้ามา ใช้ในการพฒั นาการ - ประเภทอำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงาน รางวัล
ชนะเลศิ โปรแกรมระบบแสดงรายการขอ้ มลู เสรมิ
องค์การทส่ี ร้างสรรค์ ใหบ้ รกิ ารของกรมตรวจบญั ชี - ประเภทเพิ่มศักยภาพและประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
รางวัลได้แก่ ระบบเชื่อมโยงธุรกรรมทางการเงินสำหรับ
ประโยชน์แกเ่ ครือขา่ ย สหกรณ์ สหกรณ์ ระบบตรวจสอบสหกรณ์ที่ใช้โปรแกรมรังสิตและ
E-Learning วธิ กี ารใช้งาน
และประชาชนใน - โครงการพระราชดำริ จิตอาสา “เราทำความดี ด้วย
หัวใจ” Big Cleaning กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ (5 ธันวาคม
สงั คม 2562)

มิตทิ ่ี 3 บคุ ลากรเก่งและมคี ุณธรรม

มีการพัฒนาบคุ ลากร - การประกวดรางวลั นวตั กรรม

ให้สามารถคดิ เชงิ การปฏบิ ตั งิ านเพอ่ื การแบ่งปนั

วเิ คราะห์ คิดเชิง ความรู้ของกรมตรวจบญั ชี

วพิ ากษ์ และคดิ เชงิ สหกรณ์ (Innovation Award

ริเร่ิมสรา้ งสรรค์ for Knowledge Sharing of

CAD)

บคุ ลากรสามารถ - โครงการพระราชดำริ จติ อาสา
ดำรงชีวติ ได้อยา่ งมี
คณุ ธรรม จริยธรรม
ทัง้ ในชวี ิตการทำงาน
และชวี ติ ส่วนตวั

597

โครงการวิจัย
การบริหารราชการแผ่นดนิ บนพ้ืนฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะที่ ๑)

ตารางท่ี ผ 8.13 (ตอ่ )

มิติ / ปัจจัยประเมิน แนวทางดำเนินการ ตัวอยา่ ง

มิติท่ี 4 ประโยชนแ์ ก่องคก์ ารและสงั คม

ผลการดำเนนิ การ - ผลการดำเนินการของกรมตาม - ได้รับรางวัลเลิศรัฐ สาขาบริการภาครัฐ ระดับดีประเภท
สง่ ผลกระทบต่อสังคม เพ่อื บรรลุวสิ ัยทศั นท์ ่วี า่ “ภายในปี พัฒนาการบริการ จากผลงาน "Smart Manage เพ่ิม
หรอื มวลมนุษยชาติ 2565 สหกรณแ์ ละเกษตรกรมี ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจัดการของสหกรณ”์
เกิดประโยชนส์ ุขแก่ ความเขม้ แข็งดา้ นการเงินการ - กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ เข้ารับรางวัลในพิธีมอบรางวัล
ประชาชนและสงั คม บญั ชที ม่ี ีคุณภาพ เช่อื ถอื ได”้ ซงึ่ องค์กรที่มีความเป็นเลิศในการบริหารจัดการด้านการเงิน
สะท้อนใหเ้ ห็นการกอ่ ใหเ้ กดิ การคลงั คร้งั ท่ี ๕ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๑ จำนวน
ประโยชน์สขุ แก่ประชาชนไทย ๒ รางวัล ได้แก่ ประกาศเกียรติคุณดา้ นการเบิกจ่าย ระดับ
ดี และประกาศเกียรติคุณดา้ นปลอดความรับผิดทางละเมิด
ระดบั ดเี ลิศ
- จากรายงานประจำปี 2563 ผลการดำเนินงานกลยทุ ธท์ ี่ 2
ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการจัดทำบัญชีเกษตร ได้แก่
โครงการเสริมสรา้ งการจัดทำบัญชคี รัวเรือนเพื่อการจัดการ
เศรษฐกิจระดับครัวเรือน ปฏิบัติได้ 74,809 ราย คิดเป็น
รอ้ ยละ 100,
- โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหม่ โดย
อบรมจัดทำบัญชีต้นทุนอาชีพแก่เกษตรในพื่นที่ระบบ
ส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหม่ ปฏิบัติงานได้ 40,006 ราย
คดิ เป็นร้อยละ 100.02
- โครงการบรหิ ารจัดการการผลิตสินคา้ เกษตรตามแผนท่ี
เกษตรเพ่อื การบรหิ ารจดั การเชิงรกุ (Agri-map) โดยอบรม
จัดทำบัญชตี น้ ทุนอาชพี แกเ่ กษตรให้มีความรู้ ปฏิบัติงานได้
3000 ราย คดิ เป็นรอ้ ยละ 100

598

สถาบันบัณฑติ พฒั นบริหารศาสตร์

1.14 สำนกั งานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ

ตารางที่ ผ 8.14
ผลการประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดับเข้าถงึ (บางมิติ) ของสำนักงานมาตรฐานสินค้า
เกษตรและอาหารแห่งชาติ

มิติ / ปจั จัยประเมิน แนวทางดำเนนิ การ ตัวอย่าง

มติ ิที่ 1 นโยบาย การวางแผน และการจัดทำแผนแบบมีส่วนร่วม

มกี ารกำหนดนโยบาย - การวางนโยบายเรื่องมาตรฐาน - มกอช. เข้าร่วมการประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณา
อาหารระหว่างประเทศ สาขาสารพิษตกค้าง ครั้งที่ 41-
และแผนยุทธศาสตร์ที่ อาหารปลอดภยั สากลรว่ มกับ 1/2565 ประชมุ ไดร้ ่วมกันพิจารณารายการสารพษิ ตกคา้ งท่ี
จะเสนอให้คณะทำงานผู้เชี่ยวชาญของประเทศสมาชิก
มสี ่วนสนับสนุนหรอื สมาชกิ อาเซยี น อาเซียน เพื่อพิจารณากำหนดร่างค่าปรมิ าณสารพิษตกคา้ ง
สูงสุดของอาเซียน
ส่งเสริมการพัฒนาของ - การวางแผนร่วมกับนานาประเทศที่เป็นสมาชิกของ OEC
และระดบั ภมู ิภาคในการออกมาตรฐานต่างๆเก่ียวกับอาหาร
สงั คมหรอื มวล - ASEAN MRA เพมิ่ โอกาสขยายตลาดสนิ คา้ เกษตรของไทย
และยกระดับในประเทศและการยอมรับความสามารถใน
มนษุ ยชาติ ระดับสากล, JTEPA ความร่วมมือด้านความปลอดภัย
อาหาร ไทย-ญีป่ นุ่
มกี ารกำหนดนโยบาย
- มกอช. สัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่องการพัฒนาผู้ตรวจ
และแผนยุทธศาสตร์ที่ ประเมินภายในของกลุ่มเกษตรกรที่ทำเกษตรอินทรีย์แบบมี
ส่วนร่วม ผู้เข้าร่วมสัมมนาในครั้งนี้ประกอบไปด้วย กลุ่ม
มสี ่วนสนบั สนนุ หรือ เกษตรกรที่ทำเกษตรอินทรีย์แบบมสี ่วนรว่ ม และเจ้าหน้าท่ี
จากหน่วยงานต่างๆ สัมมนาครั้งนี้เพื่อให้ผู้เข้าร่วมสัมมนา
ส่งเสริมการพฒั นาของ มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับกระบวนการการรับรองแบบ
มีส่วนร่วม
สงั คมหรือมวล - มกอช.เดินหน้าอบรบเครือข่าย Q อาสา ในพื้นที่เกษตร
แปลงใหญ่-ศูนย์เรยี นรู้การเพิ่มประสิทธภิ าพการผลิตสินค้า
มนุษยชาติ เกษตร (ศพก.) พัฒนายกระดับสู่ที่ปรึกษา-ผู้ตรวจประเมนิ
เกษตรกรด้านมาตรฐาน GAP พืชอาหาร ลุยขับเคลื่อนการ
ในการวางแผน - พฒั นาการมีสว่ นรว่ มของกลุ่ม ผลิตพืชอาหารปลอดภัย

ยุทธศาสตร์ มีการ เกษตรกร

ถ่ายทอด สร้างความ - สรา้ งการรบั รู้ความเขา้ ใจในการ

เข้าใจ และพัฒนาการ ปฏิบตั งิ าน Q อาสา ในพ้นื ที่

มีส่วนรว่ มของ เกษตรแปลงใหญ่-ศูนย์เรียนร้กู าร

ประชาชนในสงั คม เพิม่ ประสทิ ธิภาพการผลติ สนิ คา้

เกษตร (ศพก.)

599

โครงการวจิ ยั
การบริหารราชการแผน่ ดินบนพ้ืนฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะที่ ๑)

ตารางท่ี ผ 8.14 (ตอ่ )

มติ ิ / ปจั จัยประเมิน แนวทางดำเนนิ การ ตวั อย่าง

มติ ทิ ี่ 2 การบริหารงานอยา่ งโปร่งใส มีธรรมาภบิ าล ไม่มีการกระทำการผดิ กฎหมาย

การสร้างการมสี ่วน - ให้ประชาชนหรือผ้ทู ีเ่ กี่ยวขอ้ งใน - มกอช.เดินหน้าอบรบเครือข่าย Q อาสา ในพื้นที่เกษตร

รว่ มกับเครอื ขา่ ย พน้ื ที่ไดม้ ีสว่ นรว่ ม (อาสา) รับการ แปลงใหญ่-ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินคา้

ใหป้ ระชาชน ผ้มู สี ว่ น อบรมในการดำเนินโครงการ เกษตร (ศพก.) พัฒนายกระดับสู่ที่ปรึกษา-ผู้ตรวจประเมิน

ไดส้ ว่ นเสียสามารถ - สร้างโครงการ Q อาสา จาก เกษตรกรด้านมาตรฐาน GAP พืชอาหาร ลุยขับเคลื่อนการ

พึ่งพาตนเอง ประชาชนในพ้นื ทท่ี ่มี กี าร ผลติ พืชอาหารปลอดภัย

แกป้ ญั หาได้ดว้ ย ปฏบิ ัตงิ าน เพือ่ สรา้ งบคุ ลากรที่ - มกอช.ในฐานะหน่วยงานด้านการมาตรฐานสินค้าเกษตร

ตนเอง เป็นเสมือนตัวแทนของ มกอช. ไม่มีหน่วยงานในระดับภูมิภาค จึงทำให้เกิดช่องว่างในการ

ถ่ายทอดข้อมูลข่าวสาร ระหว่างเจ้าหน้าที่ มกอช.กับผู้ที่

เกี่ยวข้องในพื้นที่ จึงได้กำหนดให้มีโครงการ Q อาสาขึ้น

เพื่อสร้างบุคลากรที่เป็นเสมือนตัวแทนของ มกอช.เป็นท่ี

ปรึกษาด้านมาตรฐานสินค้าเกษตร มีความสามารถในการ

ตรวจประเมินเบื้องต้น (Pre auditor) และให้คำปรึกษาแก่

เกษตรกร

มีนวตั กรรมการ - ปรับปรงุ ประสทิ ธภิ าพในการ - สำนักงานมาตรฐานสินคา้ เกษตรและอาหารแห่งชาติ (มก

บรหิ ารจดั การภายใน การใหบ้ รกิ ารประชาชนโดยจดั ทำ อช.) ได้จัดทำแอพพลิเคชั่น TAS2GO เพื่อรวบรวมข้อมูล

องคก์ ารท่สี ร้างสรรค์ แอพพลเิ คช่ัน TAS2GO มาใช้ มาตรฐานสินค้าเกษตร และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผ่านสอ่ื

ประโยชน์แกเ่ ครือขา่ ย - พฒั นาการปฏบิ ตั งิ านของ ออนไลน์และสามารถเข้าถึงมาตรฐานสินค้าเกษตรได้

และประชาชนใน เจ้าหนา้ ทีโ่ ดยนำระบบ E- สะดวก รวดเรว็ และมปี ระสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน

สังคม Service มาใชเ้ พ่ือให้สามารถ - มีระบบ E-Service เช่น บริการค้นหาใบรับรองมาตรฐาน

ปฏบิ ตั ิงานได้สะดวกรวดเรว็ ข้ึน บริการค้นหามาตรฐานสินค้าเกษตร มาเป็นเครื่องมือช่วย

เจา้ หนา้ ท่ีผู้ปฏิบตั งิ านได้สะดวกรวดเร็วข้ึน

มิติท่ี 3 บุคลากรเกง่ และมีคุณธรรม

มีการพฒั นาบุคลากร - การตลาดแนวใหม่ผา่ นเครือ่ งมอื - การจัดการตลาดแนวใหม่ผ่านเครื่องมือสื่อสาร IT อาทิ
ให้สามารถคิดเชิง สื่อสาร IT อาทิ การเปิดขาย การเปิดขายสินค้าเกษตรแบบจองผล/ต้นผ่านทางออนไลน์
วิเคราะห์ คดิ เชิง สินค้าเกษตรแบบจองผล/ต้นผ่าน รวมถึงสินคา้ เกษตรท่ีตรวจสอบยอ้ นกลับได้ และจัดบรกิ าร
วิพากษ์ และคดิ เชิง ทางออนไลน์ ด้านการตลาดสนิ คา้ ออนไลนแ์ ละส่งมอบจรงิ
รเิ รม่ิ สร้างสรรค์ - ไดร้ ับรางวลั เลิศรัฐ สาขาการ - การได้รับรางวัลเลิศรัฐ สาขาการบริหารราชการแบบมี
บริหารราชการแบบมีส่วนรว่ ม มี ส่วนร่วม ประเภทเปิดใจใกล้ชิดประชาชน มีกระบวนการ
กระบวนการทำงานร่วมกับ ทำงานร่วมกบั ประชาชนและการรบั ฟังความคดิ เหน็ นำไปสู่
ประชาชนกอ่ ใหเ้ กิดความคดิ ใน การทำงานแบบมีส่วนร่วม ก่อให้เกิดความคิดในการทำงาน
การทำงานเชงิ สรา้ งสรรค์ เชงิ สรา้ งสรรค์ ท่ีเพิม่ ขดี ความสามารถในการรบั มอื กบั ความ
ท้าทายท่เี กดิ ขึ้น

600

สถาบันบัณฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์

ตารางที่ ผ 8.14 (ต่อ)

มิติ / ปจั จยั ประเมิน แนวทางดำเนนิ การ ตัวอยา่ ง

มิตทิ ่ี 3 บุคลากรเก่งและมคี ุณธรรม - ประกวดคนดีศรี มกอช.
- คัดเลอื กคนดี คนเก่ง ส่งประกวดขา้ ราชการพลเรอื นดเี ด่น
บุคลากรสามารถ - ประพฤตปิ ฏิบตั ขิ องบคุ ลากร - จัดกจิ กรรมจิตอาสา "รรู้ กั สามคั คี รักษส์ ่งิ แวดล้อม พฒั นา
คณุ ภาพชีวติ "
ดำรงชวี ิตไดอ้ ย่างมี เป็นผ้ดู ำรงตนเป็นแบบอย่างใน
- การทำงานร่วมกบั ภาคประชาชนในเรื่องกระบวนการการ
คุณธรรม จริยธรรม สงั คม จัดทำมาตรฐานบังคับทุเรียนแช่เยือกแข็งเพื่อการส่งออก
ที่เคยมีปัญหาผู้ผลิตบางรายมีการผลิตไม่ถูกสุขลักษณะทำ
ทงั้ ในชวี ติ การทำงาน - หนว่ ยงานส่งเสริมใหบ้ ุคลากร ให้ตลาดส่งออกทุเรียนแช่เยือกแข็งได้รับความเสียหาย จึง
ได้หารือร่วมกับผู้ผลิต ผู้มีส่วนได้เสียต่อการส่งออกทุเรียน
และชีวติ ส่วนตวั ทำงานจติ อาสา จัดทำมาตรฐานเรื่องการปฏิบัติที่ดีสำหรับการผลิตทุเรียน
แชเ่ ยอื กแขง็ (มกษ. 9046-2560) ผลการทำงานเปน็ ไปตาม
มิตทิ ี่ 4 ประโยชนแ์ ก่องค์การและสังคม เป้าหมายสามารถแก้ไขปัญหาได้จนได้รับรางวัลเลิศรัฐ
ประจำปี 2564
ผลการดำเนนิ การ - ผลการปฏิบัติงานทกี่ อ่ ใหเ้ กดิ
ส่งผลกระทบตอ่ สงั คม ประโยชนแ์ ก่ประชาชน
หรอื มวลมนษุ ยชาติ
เกดิ ประโยชนส์ ุขแก่
ประชาชนและสงั คม

601

โครงการวิจยั
การบริหารราชการแผ่นดนิ บนพืน้ ฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะท่ี ๑)

1.15 สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางท่ี ผ 8.15
ผลการประเมินความเปน็ เศรษฐกิจพอเพยี ง ระดบั เข้าถงึ (บางมติ ิ) ของสำนักงานเศรษฐกจิ การเกษตร

มติ ิ / ปัจจัยประเมนิ แนวทางดำเนินการ ตัวอย่าง

มิตทิ ่ี 1 นโยบาย การวางแผน และการจดั ทำแผนแบบมีสว่ นรว่ ม

มีการกำหนดนโยบาย - เลขาธกิ ารสำนกั งานเศรษฐกิจ - เลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร พร้อมด้วยคณะ
และแผนยุทธศาสตร์ที่ การเกษตรรว่ มหารอื ความรว่ มมือ ผู้บริหารระดับสูงในสังกัดกระทรวงเกษตรฯ หารือความ
มีส่วนสนบั สนนุ หรือ ดา้ นการเกษตรระหว่างไทยกับจนี รว่ มมือดา้ นการเกษตรระหวา่ งไทยกับจีนร่วมกัน
ส่งเสริมการพัฒนาของ
สังคมหรอื มวล - พัฒนาการมสี ว่ นรว่ มของ - ลงพื้นที่ติดตามสถานการณ์และระดมความคิดเห็นกับผ้มู ี
มนุษยชาติ ประชาชน บรู ณาการหนว่ ยงาน ส่วนเกี่ยวข้องในพื้นที่ ได้แก่ หน่วยงานในสังกัดกระทรวง
มกี ารกำหนดนโยบาย ในพนื้ ท่ี เตรยี มรับมอื อทุ กภัย เกษตรฯ ผู้นำทอ้ งถิ่น รวมท้งั ตัวแทนเกษตรกรและกลุ่มผู้ใช้
และแผนยทุ ธศาสตร์ท่ี พ้นื ท่ีประสบภยั พบิ ตั ิซำ้ ซาก น้ำ ในการรับฟังประเด็นปัญหาที่เกิดในปีที่ผ่านมา และ
มสี ว่ นสนับสนนุ หรอื - สรา้ งการรบั รู้ความเขา้ ใจในการ ข้อเสนอแนะต่อแนวทางบริหารจัดการเชิงพื้นที่ เพ่ือ
ส่งเสริมการพฒั นาของ ปฏบิ ัติงานของศนู ยใ์ นหมู่ วางแผนและขับเคลอ่ื นงานตามกรอบการพฒั นาอย่างยั่งยืน
สงั คมหรือมวล ประชาชน ให้เป็นรปู ธรรมและตอ่ เนอ่ื ง
มนุษยชาติ - รองเลขาธิการ สสก. เป็นประธานการอบรมกิจกรรมการ
ในการวางแผน อบรมและสาธิตการเกษตรไทยด้วยปรัชญาเศรษฐกิจ
ยทุ ธศาสตร์ มกี าร พอเพยี ง ณ ศูนยก์ ารเรียนรแู้ ละฝกึ อบรมเศรษฐกิจพอเพียง
ถ่ายทอด สรา้ งความ ตามแนวพระราชปณิธานกรมทหารราบที่ 12 รักษา
เขา้ ใจ และพัฒนาการ พระองค์ จังหวัดสระแก้วเพื่อสร้างเครือข่ายผู้ประกอบ
มีสว่ นรว่ มขององค์การ อาชีพการเกษตรแลกเปลี่ยนประสบการณ์ด้วยเทคโนโลยี
อืน่ หรือเครอื ข่ายตา่ ง และนวัตกรรมการเกษตรก้าวส่กู ารเปน็ Smart Farmer


602

สถาบนั บณั ฑติ พัฒนบริหารศาสตร์

ตารางท่ี ผ 8.15 (ตอ่ )

มติ ิ / ปัจจยั ประเมนิ แนวทางดำเนินการ ตวั อย่าง

มิติท่ี 2 การบริหารงานอยา่ งโปร่งใส มธี รรมาภบิ าล ไม่มีการกระทำการผิดกฎหมาย

บริหารจดั การโดยให้ - ฝกึ อบรม สร้างอาสาสมคั รเพ่อื - จัดฝึกอบรมและสาธิตการเกษตรไทยด้วยปรัชญา
ความสำคญั แก่ สนับสนนุ การปฏบิ ตั งิ านของกรม เศรษฐกิจพอเพียงให้กับเศรษฐกิจการเกษตรอาสา ณ ศูนย์
ผ้รู ับบรกิ ารและผู้มี - การสรา้ งเครือข่าย เศรษฐกิจ เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรบ้านทุ่ง
สว่ นไดส้ ่วนเสีย การเกษตรอาสา (ศกอ.) ทอง (ศพก.) หมู่ที่ 9 ตำบลทุ่งทอง อำเภอทรายทองวัฒนา
จงั หวดั กำแพงเพชร
ในการวางแผน - ปรับปรุงการใหบ้ รกิ ารประชาชน - เศรษฐกิจการเกษตรอาสา (ศกอ.) คือ เกษตรกรหรือ
ยุทธศาสตร์ มกี าร โดยนำเทคโนโลยีใหม่ ๆ มาใช้ บุ ค ค ล ท ี ่ ไ ด ้ ร ั บ ก า ร ค ั ด เ ล ื อ ก ห ร ื อ ส ม ั ค ร ใ จ เ ข ้ า ม า เ ป็ น
ถ่ายทอด สร้างความ อาสาสมัคร ภายใต้หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่
เข้าใจ และพัฒนาการ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรกำหนด เพอ่ื เปน็ เครือข่ายใน
มสี ่วนรว่ มของ การช่วยเหลือการปฏิบัติงานของสำนักงานเศรษฐกิจ
ประชาชนในสงั คม การเกษตร เรยี กโดยย่อ วา่ “ศกอ.”
- มีบทบาทหน้าที่สนับสนนุ การทำงานของทางราชการโดย
จัดทำ รายงานข้อมูลทางด้านเศรษฐกิจการเกษตร และทำ
หน้าที่ในการถ่ายทอดนโยบายตลอดจนมาตรการต่าง ๆ
จากส่วนกลางไปสทู่ ้องถนิ่
- สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ได้จัดทำ แอพพลิเคชั่น
(Application) ชื่อ "ฟาร์ม D" มีความหมาย กล่าวคือ
"ฟารม์ " คือ ทดี่ นิ ของเกษตรกรทป่ี ัจจุบันเกษตรกรมีอยู่แล้ว
ใช้ประโยชน์ทำการเกษตร ส่วน "D" คือ design หรือการ
ออกแบบ เมื่อรวมความหมายแล้วแอพพลิเคชั่น "ฟาร์ม D"
มีความหมาย คอื การออกแบบฟารม์ ซ่ึงตอ่ ไปเกษตรกรจะ
ส า ม า ร ถ อ อ ก แ บ บ ฟ า ร ์ ม ด ้ ว ย ต ั ว เ ก ษ ต ร ก ร เ อ ง โ ด ย ใ ช้
แอพพลเิ คช่นั "ฟารม์ D"

603

โครงการวิจัย
การบริหารราชการแผ่นดนิ บนพืน้ ฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะท่ี ๑)

ตารางท่ี ผ 8.15 (ตอ่ )

มิติ / ปจั จัยประเมิน แนวทางดำเนินการ ตวั อยา่ ง

มติ ทิ ี่ 3 บคุ ลากรเก่งและมีคุณธรรม - สศก. รว่ มจิตอาสาใหบ้ รกิ ารผูเ้ ข้ารบั การฉดี วัคซนี โควิด-
19
การสรา้ งการมีสว่ น - สง่ เสริมให้บุคลากรทำงานจติ
รว่ มกบั เครอื ขา่ ย
ให้ประชาชน ผมู้ ีสว่ นได้
สว่ นเสยี สามารถพ่ึงพา
ตนเอง แกป้ ัญหาไดด้ ว้ ย
ตนเอง
มีนวตั กรรมการ

บริหารจดั การภายใน อาสา เออื้ ประโยชนแ์ กผ่ อู้ ่นื ใน

องคก์ ารทส่ี รา้ งสรรค์ สังคม

ประโยชนแ์ ก่เครอื ข่าย

และประชาชนใน

สงั คม

มิตทิ ่ี 4 ประโยชนแ์ ก่องคก์ ารและสังคม

มกี ารพฒั นาบุคลากร

ใหส้ ามารถคดิ เชิง

วเิ คราะห์ คดิ เชงิ

วิพากษ์ และคดิ เชงิ

ริเร่มิ สร้างสรรค์

บคุ ลากรสามารถ

ดำรงชวี ิตได้อยา่ งมี

คณุ ธรรม จริยธรรม

ทั้งในชีวติ การทำงาน

และชวี ติ สว่ นตวั

604

สถาบนั บัณฑติ พัฒนบริหารศาสตร์

2. หน่วยงานในสงั กดั กระทรวงมหาดไทย

2.1 สำนกั ปลดั กระทรวงกระทรวงมหาดไทย

ตารางท่ี ผ 8.16
ผลการประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพียงทมี่ ีการสะทอ้ นระดับเขา้ ถงึ (บางมติ ิ) ของสำนัก
ปลดั กระทรวงกระทรวงมหาดไทย

มิติ / ปัจจยั ประเมนิ แนวทางดำเนนิ การ ตัวอยา่ ง

มิตทิ ่ี 1 นโยบาย การวางแผน และการจัดทำแผนแบบมีสว่ นรว่ ม

การกำหนดนโยบาย - การสร้างตน้ แบบ/จดุ ประกาย - กำหนดเปา้ หมายสำคัญของกระทรวงมหาดไทย ประจำปี
และแผนยุทธศาสตร์ท่ี ความสำเรจ็ ในพนื้ ท่ีด้วยการ งบประมาณ พ.ศ. 2565 ตัวชี้วัด “ความสำเร็จในการพฒั นา
มีส่วนสนบั สนนุ หรอื พัฒนาตามแนวพระราชดำรแิ ละ และแก้ไขปัญหาในระดับพื้นที่ตามแนวพระราชดำริและ
สง่ เสรมิ การพฒั นาของ หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ซึ่งมีการกำหนดเป้าหมาย
สังคมหรือมวล พอเพียง 1) ประชาชนกลมุ่ เป้าหมายทไ่ี ดร้ บั ประโยชนจ์ ากการพัฒนา
มนุษยชาติ และแก้ไขปัญหาในระดับพื้นที่ตามแนวพระราชดำริและ
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ 2) ร้อยละของหมู่บ้าน
ในการวางแผน - เผยแพร่ สรา้ งการรบั รคู้ วาม ที่ได้รับการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมี
ยทุ ธศาสตร์ มกี าร เขา้ ใจในการปฏบิ ัตงิ านของในหมู่ ความสุขมวลรวมเพ่ิมขึน้
ถ่ายทอด สรา้ งความ ประชาชน - รายงานข้อมูลข่าวสารเพื่อสร้างการรับรู้สู่ชุมชน เช่น
เข้าใจ และพฒั นาการ - การรับฟงั ความคดิ เห็นของ มาตรการด้านการป้องกันและการให้ความช่วยเหลือจาก
มสี ่วนรว่ มของ ประชาชน การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 เปน็ ต้น
ประชาชนในสงั คม - การปฏบิ ัตติ ามระเบยี บสำนกั นายกรฐั มนตรีวา่ ด้วยการรับ
ฟงั ความคดิ เห็นของประชาชน พ.ศ. 2548 (ท่ี มท 0814.8/
ว 1032 (18 พ.ค. 2564)

605

โครงการวจิ ยั
การบรหิ ารราชการแผ่นดินบนพน้ื ฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ระยะที่ ๑)

ตารางที่ ผ 8.16 (ตอ่ )

มิติ / ปัจจัยประเมิน แนวทางดำเนินการ ตัวอย่าง

มติ ทิ ี่ 2 การบรหิ ารงานอย่างโปร่งใส มธี รรมาภิบาล ไม่มีการกระทำการผิดกฎหมาย

นวัตกรรมการบรหิ าร - การพัฒนาองคก์ รสรู่ ะบบ - ระบบบริหารจดั การข้อมูลจากระบบการพัฒนาคนแบบชี้
จัดการภายในองคก์ าร ดจิ ิตอล ใช้ระบบบรหิ ารจัดการ เ ป ้ า ( Thai People Map and Analytics Platform:
ทสี่ ร้างสรรคป์ ระโยชน์ ขอ้ มลู จากระบบการพัฒนาคน TPMAP) โดย TPMAP มีข้อมลู 5 มิติ ได้แก่ มิติด้านสขุ ภาพ
แกเ่ ครือข่าย และ แบบชี้เปา้ (Thai People Map ดา้ นความเป็นอยู่ ด้านรายได้ ดา้ นการศกึ ษา และการเข้าถึง
ประชาชนในสังคม and Analytics Platform: บริการภาครัฐ โดยใช้เป็นแนวทางการขับเคลื่อนการขจัด
TPMAP) ความยากจนและพัฒนาคนทุกช่วงวัยอย่างยั่งยืนตามหลัก
- ระบบรายงานงบประมาณการ ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นกลไกในการแก้ไขปัญหา
แก้ไขปญั หาความเดือดร้อน ความยากจน ลดความเหลื่อมล้ำ และพัฒนาคนทุกช่วงวัย
เร่งดว่ นของประชาชน (CEBRS) อย่างบูรณาการ เป็นรูปธรรมและยั่งยืนในทุกพื้นที่ทั่ว
ประเทศ
การสร้างการมสี ว่ น - สร้างการมสี ่วนรว่ มของ - ระบบรายงานงบประมาณการแก้ไขปญั หาความเดือดร้อน
ร่วมกบั เครือข่าย ให้ ประชาชนในการแก้ไขปัญหาใน เรง่ ดว่ นของประชาชน (CEBRS) บริการขอ้ มูล จำแนกตาม
ประชาชน ผู้มีสว่ นได้ ระดบั พน้ื ทใ่ี ห้เกิดความยง่ั ยนื 21 ดา้ น
สว่ นเสียสามารถพึง่ พา - การมอบนโยบายผู้ว่าฯ 17 จังหวัดภาคเหนือ ขับเคลื่อน
ตนเอง แก้ปัญหาได้ งานตามอำนาจหนา้ ท่ี (GOOD GOVERNANCE) สรา้ งการมี
ด้วยตนเอง ส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหาในระดับพื้นที่ให้
เกิดความย่ังยืน
- กระทรวงมหาดไทยกำกับดูแล และเป็นหน่วยงาน
สนับสนุนให้การปฏิบัติราชการส่วนภูมิภาคเป็นไปยังมี
ประสิทธิภาพ มีการกำหนดยุทธศาสตร์ ทิศทางการพัฒนา
ในพื้นที่ และการแก้ไขปัญหาในพื้นที่ และเป็นหน่วยงานท่ี
เข้าถึงประชาชนได้มากสุด สามารถสร้างเครือข่ายการมี
สว่ นรว่ มของประชาชน และภาคส่วนอื่น ๆ

606

สถาบันบัณฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์

ตารางท่ี ผ 8.16 (ตอ่ )

มิติ / ปจั จัยประเมิน แนวทางดำเนนิ การ ตัวอย่าง

มิติที่ 3 บคุ ลากรเก่งและมีคุณธรรม - ปลัดกระทรวงมหาดไทย เปิดศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนา
ชุมชน เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้า
บคุ ลากรเปน็ ผมู้ ี เจ้าอยู่หัว เน้นย้ำ เป็นย่างก้าวที่จะทำให้เกิดการ
ความสามารถในการ เปลีย่ นแปลงที่ดี ทำให้ความรเู้ กิดขึ้นในสงั คมอยา่ งยง่ั ยนื
คดิ เชิงริเริ่มสรา้ งสรรค์
รวมถงึ สามารถพัฒนา
นวตั กรรมได้
บคุ ลากรเปน็ ผูท้ มี่ ีการ - หนว่ ยงานสง่ เสริมให้บคุ ลากร
ดำรงชวี ิตอย่างมี ทำงานจิตอาสา เออื้ ประโยชนแ์ ก่
คณุ ธรรม จริยธรรม ผ้อู ่นื ในสงั คม
และเป็นแบบอย่างที่ดี
ใหแ้ ก่บคุ คลอื่นใน
สงั คม

มิติท่ี 4 ประโยชนแ์ ก่องค์การและสงั คม

ผลการดำเนนิ งาน
ส่งผลกระทบตอ่ สังคม
หรือมวลมนุษยชาติ
เกิดประโยชนส์ ุขแก่
ประชาชนและสังคม

607

โครงการวิจัย
การบรหิ ารราชการแผ่นดนิ บนพน้ื ฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะท่ี ๑)

2.2 กรมโยธาธิการและผงั เมือง

ตารางท่ี ผ 8.17
ผลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพยี งที่มีการสะท้อนระดับเข้าถงึ (บางมิต)ิ ของกรมโยธาธิการ
และผงั เมือง

มติ ิ / ปัจจัยประเมิน แนวทางดำเนินการ ตัวอย่าง

มิตทิ ี่ 1 นโยบาย การวางแผน และการจัดทำแผนแบบมีสว่ นร่วม

การกำหนดนโยบาย ความรว่ มมือกบั ต่างประเทศใน - ความร่วมมือกับต่างประเทศในการได้รับฟังความรู้

และแผนยทุ ธศาสตรท์ ่ี การไดร้ บั ฟงั ความร้ทู างด้านผัง ทางด้านผังเมือง JIZ ในเรื่องการวางผังเมืองรองรับ

มสี ่วนสนบั สนุนหรอื เมือง ภูมิอากาศที่เปล่ียนแปลง JICA ได้ความรู้เรื่องผังเมือง และ

ส่งเสรมิ การพัฒนาของ TIZ จากประเทศเยอรมันความรู้ในเรื่องภูมิอากาศกับการ

สงั คมหรอื มวล วางผังเมือง

มนุษยชาติ

ในการวางแผน - การรับฟังความคิดเหน็ - การรับฟังความคิดเห็นร่างธรรมนูญว่าด้วยการผังเมือง

ยทุ ธศาสตร์ มกี าร ประชาชนเร่อื งร่างธรรมนูญวา่ จากกลุ่มเป้าหมายทั่วประเทศประมาณ 5000 คน จำนวน

ถ่ายทอด สรา้ งความ ด้วยการผังเมือง 9 ครั้ง จัดสัมมนาจังหวัดพิษณุโลก กรุงเทพฯ นครปฐม

เขา้ ใจ และพัฒนาการ นครศรีธรรมราช เชียงใหม่ ขอนแก่น ชลบุรี อุดรธานี

มสี ่วนรว่ มของ นครราชสีมา

ประชาชนในสงั คม - การรับฟังความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและภาค

ประชาชนในภาคต่างๆ ทง้ั 6 ภาคเพอ่ื การจดั ทำผงั ภาคและ

ผังอนภุ าค

มติ ิท่ี 2 การบรหิ ารงานอยา่ งโปร่งใส มีธรรมาภบิ าล ไม่มีการกระทำการผดิ กฎหมาย

นวตั กรรมการบริหาร - กรมพฒั นาระบบในการ - ระบบตรวจสอบผังการใช้ประโยชน์ที่ดินตามผังเมือง”
จดั การภายในองคก์ าร บริหารงานภายในองค์กรด้วย หรือ “Landuse Plan” ให้บริการผ่าน 3 ช่องทางใหม่
ทีส่ รา้ งสรรคป์ ระโยชน์ นวตั กรรม ได้แก่ เว็บไซต์ (Website), แอปพลิเคชัน และ LINE OA:
แกเ่ ครือข่าย และ DPT Information เพอื่ อำนวยความสะดวกใหแ้ ก่ประชาชน
ประชาชนในสังคม ภาคเอกชน และภาครัฐ ให้สามารถเข้าถึงข้อมูลผังเมืองได้
อยา่ งรวดเร็ว ถูกตอ้ ง และทนั สมัยมากขน้ึ

การสร้างการมีสว่ น
ร่วมกบั เครอื ขา่ ย ให้
ประชาชน ผู้มสี ่วนได้
สว่ นเสียสามารถพง่ึ พา
ตนเอง แก้ปัญหาได้
ด้วยตนเอง

608

สถาบนั บัณฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์

ตารางที่ ผ 8.17 (ตอ่ )

มิติ / ปจั จยั ประเมิน แนวทางดำเนนิ การ ตวั อยา่ ง

มติ ทิ ่ี 3 บุคลากรเกง่ และมคี ุณธรรม

บคุ ลากรเปน็ ผูม้ ี - ส่งเสริมใหบ้ ุคลากรเป็นกำลงั พล - อธิบดีกรมโยธาธิการและผังเมือง เปิดกิจกรรมจิตอาสา
ความสามารถในการ จติ อาสาพระราชทาน “รู้รัก สามัคคี รักษ์สิ่งแวดล้อม พัฒนาคุณภาพชีวิต”
คดิ เชงิ ริเริม่ สรา้ งสรรค์ - การคดั เลอื กเจ้าหนา้ ท่ีผ้ปู ฏบิ ตั ิ (3-12-2564) สำหรับกิจกรรมดังกล่าวประกอบด้วย
รวมถงึ สามารถพัฒนา ตามมาตรฐานทางคุณธรรม ผู้บริหาร ข้าราชการ พนักงานราชการ ลูกจ้าง จิตอาสา
นวัตกรรมได้ จริยธรรม จำนวนกวา่ 100 คน
บคุ ลากรเปน็ ผทู้ ี่มกี าร - โครงการคัดเลือกเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติตามมาตรฐานทาง
ดำรงชีวิตอยา่ งมี คุณธรรมจริยธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
คุณธรรม จริยธรรม ผู้ที่ได้รับการยกย่องให้เป็นผู้ปฏิบัติตามมาตรฐานทาง
และเป็นแบบอยา่ งท่ดี ี คณุ ธรรมจริยธรรม จำนวนท้ังส้ิน 33 ราย
ให้แก่บุคคลอื่นใน
สงั คม

มติ ิท่ี 4 ประโยชน์แกอ่ งค์การและสงั คม

ผลการดำเนนิ งาน ผลงานที่สำคัญในการขบั เคลื่อน - จากรายงานประจำปี 2563 ผลงานที่สำคัญในการ
ส่งผลกระทบต่อสงั คม นโยบายรฐั บาลปีงบประมาณ ขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลปีงบประมาณ 2563 คือ
หรอื มวลมนุษยชาติ 2563 การส่งเสริมการพัฒนาและยกระดับแหล่งท่องเที่ยวลุ่มน้ำ
เกดิ ประโยชน์สขุ แก่ โขง การปรับปรุงกฎกระทรวงกำหนดสิ่งอำนวยความ
ประชาชนและสังคม สะดวกในอาคารสำหรับผู้พิการหรือทพุ พลภาพและคนชรา
พ.ศ. 2564 ธรรมนูญว่าด้วยการผังเมือง การจำกัด
ผกั ตบชวาและวชั พืชในแม่นำ้ ทา่ จีน

609

โครงการวิจัย
การบรหิ ารราชการแผน่ ดินบนพน้ื ฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะที่ ๑)

2.3 กรมท่ดี นิ

ตารางที่ ผ 8.18
ผลการประเมินความเป็นเศรษฐกจิ พอเพยี งทม่ี ีการสะท้อนระดบั เข้าถงึ (บางมิติ) ของกรมที่ดิน

มิติ / ปัจจยั ประเมนิ แนวทางดำเนินการ ตัวอย่าง

มิตทิ ี่ 1 นโยบาย การวางแผน และการจัดทำแผนแบบมีส่วนร่วม

การกำหนดนโยบาย - การวางแผนในการรสรรจดั ที่ดนิ - โครงการบอกดิน เพื่อชว่ ยให้ประชาชนที่ไม่มีเอกสารสทิ ธ์ิ

และแผนยทุ ธศาสตร์ที่ ให้ประชาชน ทย่ี ากจนที่มีทอี่ ยู่ ใช้ท่ดี ินที่เขาทำกนิ บา้ นจดั สรร

มสี ่วนสนบั สนุนหรือ อาศัยไมเ่ พียงพอ - อนุญาตให้ใช้ที่ดินสำหรับกลุ่มเกษตรกรกลุ่มสหกรณ์

สง่ เสรมิ การพัฒนาของ มีการดำเนินงานสามโครงการได้แก่ 1) โครงการใช้

สังคมหรอื มวล ประโยชน์จากที่ดินของรัฐ 2100 แปลงทำถนนการขุดสระ

มนษุ ยชาติ น้ำ 2) จัดให้ประชาชนมีที่ดินทำกินอย่างถูกกฎหมาย

3) จดั สรรทดี่ ินใหก้ ับประชาชนที่ยากจน ในหม่บู า้ น

ในการวางแผน - การเปิดรบั ฟงั ความคดิ เห็นจาก - การเปิดรับฟังความคิดเห็นการจัดทำร่างพระราชบัญญัติ

ยุทธศาสตร์ มีการ ประชาชน ชา่ งรงั วดั เอกชน

ถ่ายทอด สรา้ งความ - การฟังความคิดเห็นต่อร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติม

เข้าใจ และพัฒนาการ พ ร ะ ร า ช บ ั ญ ญ ั ต ิ แ ก ้ ไ ข เ พ ิ ่ ม เ ติ ม ป ร ะ ม ว ล ก ฎ ห ม า ย ท ี ่ ดิ น

มีส่วนร่วมของ (ฉบับท่ี 11) พ.ศ. 2551 (ฉบบั ท่ี ..) พ.ศ. ....

ประชาชนในสงั คม

มติ ทิ ี่ 2 การบรหิ ารงานอยา่ งโปรง่ ใส มีธรรมาภบิ าล ไม่มีการกระทำการผดิ กฎหมาย

นวัตกรรมการบริหาร - การวจิ ยั ทเี่ สริมสรา้ งการ - งานวิจัย: กรมที่ดิน กระทรวงมหาดไทย. (2561).

จัดการภายในองคก์ าร ปฏิบตั ิงานใหม้ ีประสทิ ธภิ าพ แนวทางการพัฒนาบุคลากรตําแหน่งนักวิชาการที่ดิน

ทสี่ รา้ งสรรค์ประโยชน์ ยงิ่ ข้ึน ฝ่ายทะเบียนในสำนกั งานที่ดนิ กรมที่ดนิ . กรงุ เทพ: ผเู้ ขียน

แกเ่ ครอื ข่าย และ - การพัฒนาแอปพลเิ คชนั อำนวย - SmartLands Application แอปพลิเคชันอำนวยความ

ประชาชนในสังคม ความสะดวกในการปฏิบตั งิ าน สะดวกทใี่ ช้ในการตดิ ตามขา่ วสารตา่ ง ๆ ของกรมทีด่ ิน

และการใหบ้ รกิ าร - รางวัลเลิศรัฐ ประจำปี 2564 สาขาบริการภาครัฐ ได้รับ

รางวัลระดับดีเด่น จากผลงานนวัตกรรมบริการรังวัดที่ดิน

ด้วยระบบโครงข่ายดาวเทียมแบบจลน์ (RTK GNSS

Network)

การสร้างการมสี ว่ น

ร่วมกบั เครือขา่ ย ให้

ประชาชน ผมู้ สี ว่ นได้

ส่วนเสียสามารถพึ่งพา

ตนเอง แกป้ ญั หาได้

ด้วยตนเอง

610

สถาบนั บัณฑติ พฒั นบริหารศาสตร์

ตารางที่ ผ 8.18 (ตอ่ )

มติ ิ / ปัจจัยประเมนิ แนวทางดำเนินการ ตวั อยา่ ง

มติ ทิ ่ี 3 บคุ ลากรเกง่ และมีคุณธรรม

บุคลากรเป็นผมู้ ี - ผลงานที่สะทอ้ นถึงการพฒั นา - รางวัลเลิศรัฐ ประจำปี 2564 สาขาบริการภาครัฐ ได้รับ
ความสามารถในการ นวตั กรรมจากรางวัลเลศิ รัฐ รางวัลระดับดีเด่น จากผลงานนวัตกรรมบริการรังวัดที่ดิน
คดิ เชิงริเริ่มสรา้ งสรรค์ ด้วยระบบโครงข่ายดาวเทียมแบบจลน์ (RTK GNSS
รวมถึงสามารถพัฒนา Network)
นวตั กรรมได้
บุคลากรเป็นผู้ทีม่ กี าร - จัดตง้ั ศนู ย์ในการขับเคล่ือนจติ - ศูนยข์ ับเคลอื่ นงานจิตอาสา กรมทด่ี นิ
ดำรงชีวิตอย่างมี อาสา - โครงการบรรยายขยายผลโครงการจิตอาสาพระราชทาน
คุณธรรม จรยิ ธรรม - ส่งเสริมใหบ้ คุ ลากรเป็นกำลงั ตามแนวพระราชดำริ กรมทด่ี ิน
และเปน็ แบบอยา่ งที่ดี พลจิตอาสาพระราชทาน - โครงการจติ อาสา "เราทำความ ดี ดว้ ยหัวใจ
ใหแ้ ก่บคุ คลอ่นื ใน
สังคม

มติ ิที่ 4 ประโยชน์แก่องคก์ ารและสงั คม

ผลการดำเนนิ งาน - ผลการการดำเนินการของกรม - รายงานผลการดำเนินงานตามการปฏิบัติการกรมที่ดิน
สง่ ผลกระทบตอ่ สังคม ท่ีดนิ เพอื่ “ขับเคลื่อนการจดั การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
หรอื มวลมนษุ ยชาติ ที่ดินให้เกิดประโยชน์สงู สดุ แก่ - โครงการจัดทำฐานขอ้ มลู ภูมิสารสนเทศในที่ดินของรบั
เกิดประโยชนส์ ขุ แก่ ประชาชนและการพฒั นาประเทศ - โครงดารทีด่ นิ ของรัฐใหแ้ ก่ประชาชนที่ยากจน
ประชาชนและสังคม ด้วยมาตรฐานการจดั การ การ - โครงการสนับสนุน คทช. จังหวัดในการจัดที่ดินทำกินให้
บริการระดับสากล” ชมุ ชนตามนโยบายรฐั บาล
- โครงการจัดทำข้อมูลที่ดินเพื่อการจัดการที่ดินตาม
นโยบายของคณะกรรมการนโยบายท่ดี ินแห่งชาติ

611

โครงการวิจัย
การบริหารราชการแผน่ ดนิ บนพน้ื ฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะท่ี ๑)

2.4 กรมการปกครอง

ตารางที่ ผ 8.19
ผลการประเมินความเป็นเศรษฐกจิ พอเพยี งท่ีมีการสะท้อนระดบั เข้าถึง (บางมิติ) กรมการปกครอง

มติ ิ / ปจั จยั ประเมิน แนวทางดำเนนิ การ ตัวอยา่ ง

มติ ทิ ี่ 1 นโยบาย การวางแผน และการจดั ทำแผนแบบมีสว่ นรว่ ม

การกำหนดนโยบาย - การกำหนดนโยบายกรมภายใต้ - กรมการปกครองขับเคลื่อน “10 Flagships to DOPA

และแผนยทุ ธศาสตรท์ ี่ แนวคดิ “หน้าทขี่ องฝา่ ยปกครอง All Smart 2022” ซึ่งประกอบด้วย จำนวน 10 โครงการ

มีส่วนสนับสนนุ หรอื คอื ทำใหป้ ระชาชนทุกขน์ อ้ ยลง ภายใต้แนวคิด “หน้าที่ของฝ่ายปกครอง คือ ทำให้

สง่ เสริมการพฒั นาของ สขุ มากขน้ึ ” ประชาชนทกุ ขน์ ้อยลง สขุ มากขึ้น” ลงไปสู่ระดับพ้ืนที่

สงั คมหรือมวล

มนษุ ยชาติ

ในการวางแผน - การกำหนดยทุ ธศาสตร์การ - กำหนดยุทธศาสตร์กรมด้านที่ 1 “การพัฒนาและส่งเสรมิ

ยทุ ธศาสตร์ มกี าร พัฒนาและสง่ เสริมประสทิ ธภิ าพ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการแบบบูรณาการในระดับ

ถ่ายทอด สรา้ งความ การบริหารจดั การแบบบรู ณาการ พื้นที่ให้มีความเข้มแข็ง” โดยเน้นย้ำให้บุคลากรของ

เขา้ ใจ และพฒั นาการ ในระดบั พน้ื ที่ใหม้ ีความเข้มแข็ง กรมการปกครอง ซึ่งมีครอบคลุมทั่วทั้งประเทศ บูรณาการ

มีสว่ นร่วมของ การทำงานร่วมกันในพื้นที่ หลักการทำงานให้ตั้งอยู่บน

ประชาชนในสงั คม พื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกิดการมี

สว่ นรว่ มของประชาชนในพนื้ ท่ี

มติ ทิ ี่ 2 การบริหารงานอยา่ งโปรง่ ใส มีธรรมาภบิ าล ไม่มีการกระทำการผดิ กฎหมาย

นวัตกรรมการบริหาร - สว่ นวิจัยและประเมินผล กอง - งานวิจัยเรื่อง รายงานการประเมินผลการดำเนินงานตาม
จัดการภายในองค์การ วิชาการและแผนงานดำเนินการ โครงการสนับสนุนการบูรณาการและการขับเคลื่อน
ทสี่ รา้ งสรรคป์ ระโยชน์ วจิ ัยเพอื่ เพ่ิมประสิทธภิ าพในการ นโยบายในระดบั อำเภอประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
แกเ่ ครอื ข่าย และ ปฏบิ ตั งิ าน - งานวิจัย เรื่อง รายงานผลการศึกษา เรื่อง การปรับปรุง
ประชาชนในสังคม และพัฒนาบทบาทคณะกรรมการหมู่บ้าน (กม.) ในการ
- การฝึกอบรมและสรา้ งเครือข่าย ปฏบิ ตั งิ านใหม้ ปี ระสิทธิภาพ (2562)
การสร้างการมสี ว่ น จากประชาชนในพืน้ ท่ดี ้วยชดุ - ชุดรักษาความปลอดภัยหมู่บ้าน (ชรบ.) ประชาชนหรือ
ร่วมกบั เครอื ขา่ ย ให้ รกั ษาความปลอดภยั หมบู่ า้ น ราษฎรอาสาสมัครในพื้นที่ ที่ผ่านการฝึกอบรมและรักษา
ประชาชน ผมู้ สี ่วนได้ (ชรบ.) ความสงบเรียบรอ้ ยภายในหม่บู า้ น
ส่วนเสียสามารถพึง่ พา
ตนเอง แกป้ ญั หาได้
ดว้ ยตนเอง

612

สถาบนั บณั ฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์

ตารางท่ี ผ 8.19 (ต่อ)

มติ ิ / ปจั จยั ประเมิน แนวทางดำเนินการ ตัวอยา่ ง

มิตทิ ี่ 3 บุคลากรเกง่ และมีคุณธรรม - โครงการจิตอาสาพระราชทาน เป็นโครงการสำคัญของ
กรมการปกครอง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
บคุ ลากรเป็นผู้มี (10 Flagships to DOPA New Normal 2021)
ความสามารถในการ - กรมการปกครอง จดั กิจกรรมจติ อาสาบำเพญ็
คดิ เชงิ ริเร่ิมสร้างสรรค์ สาธารณประโยชน์มีแลว้ แบ่งปัน “มหาดไทยปนั สขุ สง่ ตอ่
รวมถงึ สามารถพัฒนา ความหว่ งใย สภู้ ยั โควดิ - 19"
นวตั กรรมได้
บคุ ลากรเป็นผทู้ มี่ กี าร - จัดกจิ กรรมจิตอาสาบำเพญ็ - ผลการดำเนินงานโครงการสำคัญของกรมการปกครอง
ดำรงชีวิตอยา่ งมี สาธารณประโยชน์ 2563
คณุ ธรรม จรยิ ธรรม - โครงการจิตอาสาพระราชทาน -โครงการจิตอาสาพระราชทาน โดยดำเนนิ โครงการอำเภอ
และเปน็ แบบอยา่ งทดี่ ี จิตอาสา น้อมนำพาสังคมเปน็ สขุ
ให้แกบ่ คุ คลอื่นใน รวม 1,533 โครงการ
สงั คม - ศูนย์ดำรงธรรมอำเภอ “อำเภอดำรงธรรม” เป็นการ
ยกระดับงานบริการต่อยอดและพัฒนาศูนย์ดำรงธรรม
มติ ิที่ 4 ประโยชนแ์ ก่องคก์ ารและสังคม อัจฉริยะตน้ แบบอำเภอนำร่อง ๗๖ แหง่
- สัญชาติและสถานะบุคคลในปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ได้
ผลการดำเนินงาน - การบรหิ ารราชการในระดบั ดำเนินการแก้ปัญหาสัญชาติและสถานะบุคคล จำนวน
ส่งผลกระทบต่อสังคม พนื้ ที่มีความเข้มแข็ง เพอ่ื ความ 14,672 คน
หรือมวลมนุษยชาติ มน่ั คงและการพฒั นาอยา่ งยัง่ ยนื
เกดิ ประโยชน์สุขแก่
ประชาชนและสงั คม

613

โครงการวิจัย
การบริหารราชการแผน่ ดินบนพน้ื ฐานหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะท่ี ๑)

2.5 กรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั

ตารางที่ ผ 8.20
ผลการประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกิจพอเพยี งทมี่ ีการสะทอ้ นระดับเข้าถึง (บางมิต)ิ ของกรมปอ้ งกันและ
บรรเทาสาธารณภยั

มิติ / ปจั จยั ประเมนิ แนวทางดำเนนิ การ ตวั อยา่ ง

มติ ิท่ี 1 นโยบาย การวางแผน และการจัดทำแผนแบบมีส่วนร่วม

การกำหนดนโยบาย - กรอบการดำเนินงานเซนไดเพือ่ - กรอบการดำเนินงานเซนไดเพื่อการลดความเสี่ยงจากภัย

และแผนยทุ ธศาสตรท์ ี่ การลดความเส่ียงจากภยั พบิ ตั ิ พิบัติ พ.ศ.2558-2573 เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน และ

มสี ว่ นสนบั สนุนหรอื พ.ศ.2558-2573 ความตกลงปารีส ภายใต้กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติฯ

ส่งเสริมการพัฒนาของ การเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ เพื่อลดความเสี่ยงจากสาธารณ

สังคมหรือมวล ภัยและลดการสูญเสียชีวิตทรัพย์สินของประเทศและ

มนษุ ยชาติ ประชาชน

ในการวางแผน - สรา้ งความเข้มแขง็ แก่ประชาชน - ส่งเสริมการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ยทุ ธศาสตร์ มีการ เอกชน ชมุ ชน ทอ้ งถิน่ ชุมชน ประชาชน รวมทั้งเครือข่ายภาครัฐ และเอกชน ใน

ถา่ ยทอด สรา้ งความ อาสาสมคั รและเครอื ข่ายใหม้ ี การป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย

เข้าใจ และพัฒนาการ ความรู้ ตระหนกั มีวัฒนธรรม - สนับสนุนและส่งเสริมการดำเนินงานของกิจการ

มีสว่ นร่วมของ ความปลอดภยั และมสี ่วนร่วมใน อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.) ทีมกู้ชีพกู้ภัย

ประชาชนในสงั คม การจัดการความเสยี่ งจากสา และภาคีเครือข่าย

ธารณภยั ตามแนวประชารัฐ

มิตทิ ่ี 2 การบริหารงานอย่างโปร่งใส มีธรรมาภิบาล ไม่มีการกระทำการผดิ กฎหมาย

นวตั กรรมการบรหิ าร - แอพพลเิ คช่นั สำหรับจากกรม - Application DPM Reporter เพื่อใช้รายงานข่าว และ
จัดการภายในองค์การ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั บริหารขา่ วสารด้านสาธารณภยั
ที่สรา้ งสรรค์ประโยชน์ (ปภ.)
แกเ่ ครอื ข่าย และ
ประชาชนในสังคม

การสร้างการมีส่วน
ร่วมกับเครอื ข่าย ให้
ประชาชน ผู้มีส่วนได้
ส่วนเสยี สามารถพ่งึ พา
ตนเอง แก้ปัญหาได้
ด้วยตนเอง

614

สถาบนั บณั ฑติ พัฒนบริหารศาสตร์

ตารางท่ี ผ 8.20 (ต่อ)

มติ ิ / ปจั จัยประเมนิ แนวทางดำเนินการ ตวั อยา่ ง

มิติท่ี 3 บคุ ลากรเกง่ และมีคุณธรรม

บคุ ลากรเปน็ ผู้มี - การบริหารจดั การสาธารณภยั - แอพพลิเคชัน่ DPM Reporter เพิ่มประสิทธภิ าพการแจ้ง
ความสามารถในการ กับเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมใน ข่าวสารสาธารณภัยสู่ประชาชน ซึ่งเป็นมิติใหม่ในการ
คิดเชงิ ริเริ่มสรา้ งสรรค์ โลกยคุ ดจิ ทิ ลั ติดตามข่าวสารและรับการแจ้งเตือนสาธารณภัยที่รวดเร็ว
รวมถงึ สามารถพฒั นา ทนั ตอ่ เหตกุ ารณ์
นวัตกรรมได้
บุคลากรเปน็ ผูท้ ี่มีการ - การพิจารณารับรองหลกั สตู ร - การอบรมหลักสูตรจิตรอาสา 904 หลักสูตรประจำ
ดำรงชวี ติ อยา่ งมี อบรม เน้นหนกั ด้านจติ อาสา “เป็นเบ้า เป็นแมพ่ ิมพ”์
คุณธรรม จริยธรรม - หลักสตู รจติ รอาสา 904 หลกั สตู รพืน้ ฐาน
และเป็นแบบอย่างทีด่ ี
ใหแ้ ก่บคุ คลอนื่ ใน
สงั คม

มิตทิ ี่ 4 ประโยชน์แก่องค์การและสังคม

ผลการดำเนนิ งาน - เป้าหมายของกรมคือ “ลดความ - การดำเนินงานโครงการเสริมสร้างประสิทธิภาพ
สง่ ผลกระทบตอ่ สังคม เสี่ยงเดิม และป้องกนั ความเสย่ี ง การป้องกนั และลดอุบัติเหตุทางถนนในระดบั พื้นท่ี โดยการ
หรอื มวลมนุษยชาติ ใหม่” ผา่ นมาตรการตา่ ง ๆ เพอื่ ขับเคลื่อนนโยบาย การดำเนินงานความปลอดภัยทางถนน
เกดิ ประโยชนส์ ขุ แก่ เตรยี มพร้อมรบั มอื และฟื้นฟู ไปสู่การปฏิบัติในพื้นที่ โดยใช้กลไกตามระเบียบสำนัก
ประชาชนและสังคม รวมท้ังสรา้ งความเข้มแข็งให้ นายกรัฐมนตรีว่าด้วยการป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน
ชุมชนและประชาชนเม่อื เกิดสา พ.ศ.2554 บูรณาการหน่วยงานภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน
ธารณภัย (7 ส.ค. 2563)

615

โครงการวจิ ัย
การบรหิ ารราชการแผน่ ดินบนพื้นฐานหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ระยะท่ี ๑)

2.6 กรมการพฒั นาชุมชน

ตารางที่ ผ 8.21
ผลการประเมินความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพียงทมี่ ีการสะท้อนระดบั เข้าถงึ (บางมิติ) ของกรมการพฒั นา
ชุมชน

มติ ิ / ปัจจยั ประเมิน แนวทางดำเนินการ ตวั อยา่ ง

มิตทิ ี่ 1 นโยบาย การวางแผน และการจดั ทำแผนแบบมีส่วนรว่ ม

การกำหนดนโยบาย - กรมการพฒั นาชมุ ชน มคี วาม - การฝึกอบรมนานาชาติออนไลน์หลักสูตร “การ

และแผนยทุ ธศาสตร์ท่ี รว่ มมือระหวา่ งประเทศ ในการ ประยุกต์ใชห้ ลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในการพัฒนา

มสี ่วนสนบั สนนุ หรอื จัดฝกึ อบรมนานาชาติออนไลน์ ชุมชนอยา่ งย่งั ยืนจากทฤษฎสี ู่การปฏิบตั ิ” ระหวา่ งวันท่ี 20

ส่งเสรมิ การพัฒนาของ ให้กบั เครอื ข่ายตา่ งประเทศ – 27 กันยายน 2564 ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ Zoom

สังคมหรอื มวล Application กลุ่มเป้าหมายประกอบด้วยประเทศในกลุ่ม

มนุษยชาติ ประเทศสมาชกิ CICA (Conference on Interaction and

Confidence Building Measures in Asia: CICA)

ในการวางแผน - การรับฟังความคดิ เห็นจาก - การรับฟังความคิดเห็นต่อร่างข้อกำหนดจริยธรรม

ยุทธศาสตร์ มีการ ประชาชน ขา้ ราชการกรมการพฒั นาชมุ ชน พ.ศ. 2564 จากข้าราชการ

ถ่ายทอด สรา้ งความ พนักงานราชการ และลูกจ้างในสังกัด ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง

เข้าใจ และพัฒนาการ ผ้รู บั บริการ และประชาชนร่วมพิจารณา

มสี ่วนรว่ มของ - การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาหมู่บ้าน

ประชาชนในสงั คม เศรษฐกิจพอเพยี ง

มิติที่ 2 การบรหิ ารงานอยา่ งโปร่งใส มีธรรมาภิบาล ไม่มีการกระทำการผิดกฎหมาย

นวตั กรรมการบริหาร - การศึกษาวิจัยงานและภารกิจ - งานวิจัย กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย.
จัดการภายในองคก์ าร ของกรมการพัฒนาชุมชน เพ่ือ (2564). ผลการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีเตาหลอมเหล็ก
ทสี่ ร้างสรรค์ประโยชน์ สนบั สนนุ และสรา้ งผลงานทาง ต่อโครงการพฒั นาพืน้ ทตี่ น้ แบบการพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ตาม
แกเ่ ครอื ข่าย และ วชิ าการทีเ่ ก่ยี วข้องกับกรมการ หลักทฤษฎีใหม่ ประยกุ ต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล”
ประชาชนในสังคม พฒั นาชุมชน - การใชแ้ อพพลเิ คชั่น Smart Survey ทใ่ี ช้เกบ็ ข้อมูล จปฐ.
- การพฒั นาแอพพลเิ คช่นั มาใชใ้ น
การสร้างการมสี ่วน งาน - อาสาพัฒนา (อสพ) เป็นอาสาสมคั รจากราษฎรในท้องถ่ิน
รว่ มกับเครือขา่ ย ให้ ที่มีจิตใจเสียสละ มีความสมัครใจ อาสามาปฏิบัติงานเพ่ือ
ประชาชน ผูม้ สี ่วนได้ - การสร้างอาสาสมัครพัฒนา สว่ นรวมในด้านการพฒั นาชมุ ชน
ส่วนเสยี สามารถพ่งึ พา ชมุ ชน
ตนเอง แกป้ ัญหาได้ - การสร้างเครือขา่ ยจาก
ดว้ ยตนเอง ประชาชนผ่านโครงการสัมมาชพี
ชมุ ชน

616

สถาบนั บณั ฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์

ตารางที่ ผ 8.21 (ตอ่ )

มติ ิ / ปัจจยั ประเมิน แนวทางดำเนินการ ตวั อย่าง

มติ ทิ ่ี 3 บคุ ลากรเกง่ และมคี ุณธรรม

บุคลากรเป็นผูม้ ี - การจัดกิจกรรมจิตอาสาพัฒนาปรับพื้นที่ต้นแบบ
ความสามารถในการ การพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่
คิดเชงิ ริเริ่มสรา้ งสรรค์ โคก หนอง นา โมเดล เพ่อื ขยายผลสร้างความมั่นคงในชีวิต
รวมถึงสามารถพฒั นา แกป่ ระชาชน (18 ก.ค. 63)
นวัตกรรมได้
บุคลากรเปน็ ผทู้ ่มี กี าร - การจัดกจิ กรรมจิตอาสาพฒั นา
ดำรงชวี ิตอยา่ งมี ใหก้ บั บุคลากร
คณุ ธรรม จรยิ ธรรม
และเปน็ แบบอย่างทด่ี ี
ให้แกบ่ คุ คลอ่ืนใน
สงั คม

มิติท่ี 4 ประโยชนแ์ ก่องคก์ ารและสงั คม

ผลการดำเนนิ งาน ข การดำเนนิ การงานของกรมเพอื่ - ผลงานที่ได้รับรางวัลเลิศรัฐ 2564 สาขาการบริหาร
ส่งผลกระทบตอ่ สังคม ประชาชน ชมุ ชน เกดิ “เศรษฐกิจ ราชการแบบมสี ่วนร่วม
หรือมวลมนษุ ยชาติ ฐานรากมัน่ คง และชมุ ชน - ประเภทรางวัลสัมฤทธิผลประชาชนมีส่วนร่วม ผลงาน:
เกดิ ประโยชน์สุขแก่ พึง่ ตนเองได้ภายในปี 2565” โครงการพัฒนาเส้นใยกล้วยเป็นผลิตภัณฑ์เครื่องแต่งกาย
ประชาชนและสงั คม และเคหะสิง่ ทอ (สำนกั งานพัฒนาชุมชนจังหวดั ปทุมธาน)ี
- ประเภทรางวัลสมั ฤทธิผลประชาชนมสี ่วนรว่ ม ผลงาน:
สารชั ไรซ์ แบรนด์ ขบั เคล่ือนสบู่ ุรีรมั ยโ์ มเดล (สำนกั งาน
พัฒนาชมุ ชนจงั หวัดบรุ รี ัมย)์

617

โครงการวิจยั
การบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ บนพ้ืนฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ระยะที่ ๑)

2.7 กรมส่งเสริมการปกครองทอ้ งถิ่น

ตารางท่ี ผ 8.22
ผลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพยี งท่ีมีการสะท้อนระดบั เข้าถงึ (บางมติ ิ) ของกรมสง่ เสริมการ
ปกครองท้องถ่นิ

มิติ / ปัจจยั ประเมนิ แนวทางดำเนินการ ตัวอย่าง

มิตทิ ี่ 1 นโยบาย การวางแผน และการจดั ทำแผนแบบมีส่วนรว่ ม

การกำหนดนโยบาย - การดำเนนิ การประเด็น - โครงการอาสาสมัครบริบาลท้องถิ่นเพื่อดูแลผู้สูงอายุที่มี
และแผนยทุ ธศาสตร์ท่ี ยทุ ธศาสตร์ชาติดา้ นการพฒั นา ภาวะพ่ึงพิง
มสี ่วนสนบั สนุนหรอื และเสรมิ สร้างศกั ยภาพทรพั ยกร - โครงการสรา้ งหลักประกนั ดา้ นรายได้แกผ่ ู้สงู อายุ
สง่ เสริมการพฒั นาของ มนษุ ย์ - โครงการสนับสนุนการเสริมสร้างสวัสดิการทางสังคม
สังคมหรือมวล ใหแ้ กค่ นพิการหรือทพุ พลภาพ
มนุษยชาติ - โครงการสนับสนุนการจัดสวัสดิการทางสังคมแก่
ผดู้ ้อยโอกาสทางสังคม
ในการวางแผน - การรบั ฟงั ความคดิ เห็นของ
ยุทธศาสตร์ มกี าร ประชาชน - แผนการจัดการขยะมสี ่วนร่วมในชมุ ชน ใหพ้ ง่ึ ตนเอง สรา้ ง
ถา่ ยทอด สร้างความ - สง่ เสริมการดำเนนิ งานใหม้ ีมี เครอื ขา่ ย จากกจิ กรรมธนาคารขยะ
เขา้ ใจ และพฒั นาการ ส่วนร่วมในระดับปัจเจก เกดิ การ - การปฏิบัติตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรวี า่ ด้วยการรับ
มีส่วนรว่ มของ ขับเคลอ่ื นมาจากพืน้ ท่ีชุมชน มา ฟ ั ง ค ว า ม ค ิ ด เ ห ็ น ข อ ง ป ร ะ ช า ช น พ . ศ . 2 5 64
ประชาชนในสังคม ใชใ้ นการกำหนดนโยบาย (ท่มี ท 0810.8/1032 ลงวนั ท่ี 19 พ.ค. 2564)

มติ ทิ ี่ 2 การบริหารงานอยา่ งโปรง่ ใส มีธรรมาภบิ าล ไม่มีการกระทำการผิดกฎหมาย

นวตั กรรมการบริหาร - การสรา้ งแอพพลเิ คชน่ั เพ่อื - DLA Application แอปพลิเคชั่นเพื่อการติดต่อสื่อสาร
จัดการภายในองคก์ าร อำนวยความสะดวกแก่ผ้ใู ช้งานให้ ของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ซึ่งออกแบบมาเพ่ือ

ทีส่ ร้างสรรคป์ ระโยชน์ สามารถเขา้ ถึงขอ้ มลู การตดิ ตอ่ อำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้งานให้สามารถเข้าถึงข้อมูล

แกเ่ ครอื ขา่ ย และ กบั ผู้บรหิ าร ขา่ วประชาสมั พันธ์ การติดต่อกับผู้บริหาร ข่าวประชาสัมพันธ์ต่างๆ ของกรม

ประชาชนในสงั คม ต่างๆ ส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย ได้อย่าง

สะดวก รวดเรว็

การสร้างการมีส่วน - การทำงานร่วมกบั อาสาสมัคร - ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าดว้ ยการเบิกค่าใช้จา่ ยใหแ้ ก่

รว่ มกับเครือข่าย ให้ ป้องกันภัยฝา่ ยพลเรอื น (อปพร.) อาสาสมัครป้องกันฝ่ายพลเรือนขององค์กรปกครองส่วน

ประชาชน ผมู้ ีสว่ นได้ ทอ้ งถ่ิน พ.ศ. 2560

สว่ นเสยี สามารถพ่ึงพา

ตนเอง แก้ปัญหาได้
ดว้ ยตนเอง

618

สถาบนั บณั ฑติ พัฒนบริหารศาสตร์

ตารางที่ ผ 8.22 (ต่อ)

มติ ิ / ปัจจัยประเมิน แนวทางดำเนนิ การ ตัวอยา่ ง

มติ ทิ ี่ 3 บคุ ลากรเก่งและมคี ุณธรรม

บุคลากรเปน็ ผูม้ ี - การส่งเสรมิ นวัตกรรมในการ - โครงการประกวดนวัตกรรม “ท้องถนิ่ ดิจทิ ลั 2564”
ความสามารถในการ ปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ
คดิ เชงิ ริเรม่ิ สรา้ งสรรค์ - แนวทางการปฏิบัติโครงการจิตอาสาพระราชทาน
รวมถึงสามารถพฒั นา (จิตอาสาพัฒนา และจิตอาสาภัยพิบัติ) ให้องค์กรปกครอง
นวัตกรรมได้ สว่ นทอ้ งถิน่ เปน็ แกนนำในการดำเนินการ
บุคลากรเป็นผทู้ ่มี ีการ - ส่งเสริมใหบ้ ุคลากรเป็นจิตอาสา
ดำรงชีวติ อยา่ งมี พระราชทาน
คณุ ธรรม จริยธรรม
และเปน็ แบบอยา่ งทด่ี ี
ใหแ้ ก่บคุ คลอื่นใน
สงั คม

มติ ทิ ี่ 4 ประโยชน์แกอ่ งค์การและสังคม

ผลการดำเนินงาน - ภารกิจทส่ี ำคญั ของกรมคอื - จากรายงานประจำปี 2563 ผลดำเนินการตามประเด็น
ส่งผลกระทบตอ่ สังคม การบรู ณาการรว่ มกบั องคก์ ร ยุทธศาสตร์ชาติด้านความม่ันคง
หรือมวลมนุษยชาติ ปกครองสว่ นท้องถ่ินและ ทกุ ภาค
เกดิ ประโยชน์สขุ แก่ สว่ น เพ่ือฟ้นื ฟูเศรษฐกจิ และ - โครงการจิตอาสาพระราชทาน ได้ดำเนินการจัดตั้งชุด
ประชาชนและสังคม มุ่งมั่นพัฒนาคณุ ภาพชีวิตความ ปฏบิ ตั ิการจติ อาสาภยั พบิ ตั อิ งค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ ใน
เปน็ อยู่ของประชาชน ใหด้ ีขนึ้ ตาม องค์การบรหิ ารส่วนตำบล/เทศบาลตำบลทุกแห่ง
หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ - โครงการองค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่ ตน้ แบบการจัดการ
พอเพียง นำ้ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ธนาคารนำ้ ใต้
ดิน) ในพื้นที่ 42 จังหวัด 137 อปท. จำนวน 405
โครงการ 1,696 บ่อ
- โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ดำเนินการ
278 โครงการสามารถก่อสร้าง ปรับปรุง ซ่อมแซม
ลานกีฬา/สนามกีฬา เพื่อให้เยาวชน และประชาชนกลุ่ม
เสี่ยง ให้ความสนใจในการออกกำลังกาย เพื่อเสริมสร้าง
สุขภาพ จูงใจให้หา่ งไกลยาเสพติด ทำใหป้ ริมาณผเู้ สพ/ผู้ติด
ยาเสพตดิ ลดลง

619

โครงการวิจยั
การบริหารราชการแผน่ ดินบนพ้นื ฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะที่ ๑)

620

สถาบันบัณฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์

ภาคผนวกท่ี 9
แนวทางการประเมินความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพยี งของสว่ นราชการ

621

โครงการวิจยั
การบริหารราชการแผน่ ดินบนพ้นื ฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะที่ ๑)

622

สถาบนั บัณฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์

1. แนวทางการประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกิจพอเพียงของสว่ นราชการ ระดับเข้าข่าย

ตารางที่ ผ 9.1
แนวทางการประเมนิ ความเป็นเศรษฐกจิ พอเพียงของส่วนราชการ ระดับเขา้ ขา่ ย

มติ ิ ปัจจัยประเมนิ คะแนนปจั จยั คะแนนรายประเดน็ ตวั อยา่ งแนวทางดำเนนิ การ

มิตทิ ี่ 1 การวางแผนท่ี 10 5 กำหนดเป้าหมายและผลลัพธข์ อง
นโยบาย ตอบสนองพนั ธกจิ 5 ภารกจิ ที่สอดคล้องกับเปา้ ประสงค์
การวางแผน วิสยั ทัศน์ และ 10 ของกระทรวง
และการ ยทุ ธศาสตร์ของ 5 กำหนดภารกจิ หลักในการสนบั สนุน
จดั ทำแผน องคก์ ร (กรมและ 5 นโยบายของกระทรวง รวมทงั้
แบบมสี ่วน กระทรวง) โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำริ
ต่าง ๆ
รว่ ม ในการวางแผน
ยทุ ธศาสตร์ มีการ และ/หรอื
ถ่ายทอด สรา้ ง กำหนดยุทธศาสตรท์ ่คี รอบคลุมมิติใน
ความเข้าใจ และ การพฒั นาความเข้มแขง็ ของภารกิจ
พัฒนาการมสี ่วน องค์กร
ร่วมของบคุ ลากร มีการสือ่ สารช้แี จง รายละเอยี ดตา่ ง ๆ
และมีการรว่ มกนั จัดทำแผนงาน/ มี
การรับฟงั และหรือนำเอาความคิดของ
ผปู้ ฏบิ ตั มิ าเป็นส่วนหนง่ึ ในข้ันตอนการ
วางแผน
มกี ารบูรณาการแผนงานทง้ั จากบนลง
ลา่ งและล่างขนึ้ บน และถ่ายทอดลงสู่
การปฏิบตั /ิ มีการระดมความคดิ เหน็
ในการวางแผนจากผ้เู กย่ี วขอ้ งและใช้
กลไกการส่ือสารหลายชนั้ เพอ่ื ให้เขา้ ถงึ
ผู้ปฏิบตั ใิ นระดับต่าง ๆ

623

โครงการวจิ ัย
การบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ บนพ้นื ฐานหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะที่ ๑)

ตารางที่ ผ 9.1 (ต่อ)

มติ ิ ปัจจยั ประเมนิ คะแนนปจั จยั คะแนนรายประเด็น ตัวอย่างแนวทางดำเนนิ การ

การบรหิ ารจดั การ 10 5 มกี ารจัดทำแนวทางปฏิบัตทิ ช่ี ดั เจน
อย่างเปน็ ระบบ 10 5 และสรา้ งกลไกในการติดตามการ
5 ดำเนนิ งาน / มีการแบ่งงานและ
มติ ทิ ี่ 2 การบรหิ ารงาน 5 กำหนดความรับผดิ ชอบตวั ชวี้ ดั ต่างๆ
การ อย่างโปรง่ ใส มี มีการแลกเปลย่ี นขอ้ มูลระหวา่ งผู้
บรหิ ารงาน นโยบาย มาตรการ ปฏบิ ตั ิเป็นประจำ
อย่างโปรง่ ใส ระบบการ มแี นวทางในการปฏิบัติงานโดยการใช้
มธี รรมาภิ ตรวจสอบ ในการ ขอ้ มลู เป็นพ้นื ฐานในการกำหนด
บาล ไมม่ ี กำกบั ดแู ล และ ภารกิจ/ ใชเ้ ทคโนโลยีเขา้ มาช่วยใน
การกระทำ เปดิ เผยข้อมูล การปฏบิ ตั ิงาน และมกี ารสอื่ สาร
การผิด แบง่ ปันแกผ่ เู้ กย่ี วข้องเพ่อื ใหร้ ู้เทา่ ทัน
กฎหมาย กนั
กำหนดนโยบายเกีย่ วกบั หลกั ความ
โปร่งใสเพือ่ กำกับทศิ ทางดำเนนิ งาน
ของหนว่ ยงาน มกี ารส่ือสารนโยบาย
และหรอื ระดมความคดิ เหน็ จาก
บคุ ลากร
มกี ารจัดทำแนวทางปฏบิ ัตงิ าน และใช้
เทคโนโลยเี ขา้ มาชว่ ยในการปฏิบัติงาน
มีกลไกในการกำกบั ดแู ล

และ/หรือ

มกี ารใชก้ ลไกจากหนว่ ยงานอ่นื หรือ
ภาคใี นการตรวจสอบการดำเนนิ งาน

624

สถาบันบณั ฑติ พฒั นบริหารศาสตร์

ตารางท่ี ผ 9.1 (ต่อ)

มติ ิ ปัจจัยประเมนิ คะแนนปจั จยั คะแนนรายประเดน็ ตัวอย่างแนวทางดำเนินการ

การพัฒนา 10 5 มีวธิ กี ารในการพฒั นาความรู้ ทกั ษะที่
สมรรถนะให้แก่ 5 หลากหลายทง้ั ภาคทฤษฎแี ละมกี าร
บคุ ลากร 10 5 เนน้ ภาคปฏบิ ัติ รวมท้ังการสง่ เสริมให้
5 มกี ารคน้ คว้าเรยี นรูใ้ นการวจิ ยั และ
มติ ิท่ี 3 พัฒนา
บุคลากรเก่ง มกี ารตัง้ งบประมาณ และมกี ารใช้
วิธกี ารในการพฒั นาความรู้เก่ียวกบั
และมี งาน และนอกงานหลายรูปแบบ/
คณุ ธรรม วธิ กี าร
มกี ารกำหนดค่านิยมและใช้กิจกรรมท่ี
การพัฒนา หลากหลายในการส่งเสริม
คุณธรรมและ สมั พันธภาพอนั ดใี นหมูบ่ คุ ลากร และ
จรยิ ธรรมให้แก่ ในการพฒั นาบคุ ลากรดา้ นคณุ ธรรม
บคุ ลากร จริยธรรม
มกี ารกำหนดระเบยี บ/แนวทางปฏบิ ัติ
ที่สง่ เสรมิ ความซ่อื สตั ย์สจุ รติ และความ
มคี ณุ ธรรม มีการส่งเสรมิ คณุ ธรรมที่
หลากหลายรวมท้งั การลงโทษกรณี
ทุจริตอย่างจรงิ จัง

625

โครงการวจิ ยั
การบรหิ ารราชการแผ่นดนิ บนพ้นื ฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ระยะที่ ๑)

ตารางท่ี ผ 9.1 (ต่อ)

มิติ ปัจจัยประเมนิ คะแนนปจั จยั คะแนนรายประเดน็ ตัวอย่างแนวทางดำเนินการ

ผลการดำเนินงาน 20 10 ผลการดำเนินงานบรรลุตามเปา้ หมาย
บรรลตุ ามพันธกจิ ยุทธศาสตร์ ขององค์กร
และเป้าประสงค์ 20 10 มกี ารดำเนินงานนอกเหนอื จากที่
ขององค์กร กำหนดไว้แตแ่ รก/ ผลการดำเนินงาน
10 มีการใชก้ ารอา้ งอิงจากผ้รู บั บรกิ าร
มิติที่ 4 10
ประโยชน์แก่ และ/หรอื
องคก์ ารและ มีการดำเนนิ การเพิ่มเตมิ จากการม่งุ
เฉพาะการบรรลตุ ามเปา้ หมายทว่ี างไว้
สังคม เช่น ใช้การส่งผลงานเข้าประกวดเพอ่ื
กระตนุ้ ความตื่นตวั ของบุคลากร
ความพร้อมรบั ต่อ มีการหาแนวทาง/การเตรียมการใน
การเปลีย่ นแปลง การแก้ไข รบั มอื กับปัญหา อุปสรรค
ต่างๆ ในปัจจบุ ันเพอื่ ใหบ้ รรลุภารกจิ
มีแนวทางการแก้ปัญหาเชงิ รุกใน
ภาพรวม ในภารกิจตา่ ง ๆ มีการ
บรหิ ารทรัพยากรทีม่ อี ยอู่ ยา่ งจำกัดให้
เกิดประโยชน์สูงสุดภายใต้สภาวการณ์
ท่มี คี วามขาดแคลน/ความเส่ียงต่าง ๆ

626

สถาบันบณั ฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์

2. แนวทางการประเมนิ ความเป็นเศรษฐกจิ พอเพียงของส่วนราชการ ระดบั เข้าใจ

ตารางท่ี ผ 9.2
แนวทางการประเมินความเป็นเศรษฐกจิ พอเพียงของสว่ นราชการ ระดบั เขา้ ใจ

มติ ิ ปัจจยั ประเมนิ คะแนนปจั จยั คะแนนรายประเดน็ ตัวอย่างแนวทางดำเนินการ

การจัดลำดับความสำคัญของยทุ ธศาสตร์

5 คำนึงถึงปัญหาของประเทศในสว่ นที่
เกย่ี วขอ้ งของกระทรวงเปน็ ปจั จยั

มีการกำหนด พิจารณาในการจดั ทำงบประมาณ
ยทุ ธศาสตรส์ อดรบั
เป้าประสงค์ของ การกำหนดยทุ ธศาสตรม์ คี วามเชื่อมโยง
ยุทธศาสตร์
ประเทศ 10 สอดคลอ้ งกับจังหวัด/กลุ่มจังหวัดและ
10
ในการวางแผน ประเทศ
ยทุ ธศาสตร์ มกี าร
มิตทิ ี่ 1 ถา่ ยทอด สร้าง 5 และ/หรอื
นโยบาย การ ความเขา้ ใจ และ
วางแผน และ พัฒนาการมสี ว่ น การกำหนดวสิ ยั ทัศน์ขององค์กรที่เปน็
การจัดทำแผน รว่ มขององคก์ าร
แบบมสี ่วนรว่ ม อนื่ หรือเครือขา่ ย แผนระยะยาว ทอ่ี งค์กรตอ้ งการจะบรรลุ
ต่าง ๆ
โดยมีหลกั การแนวทางที่ชดั เจน

การเชญิ บคุ ลากรจากภาคส่วนทีเ่ กี่ยวขอ้ ง

ในการดำเนนิ ภารกจิ มาร่วมในการ

วางแผนด้วย

5 และ/หรอื

การจดั ประชมุ ชแ้ี จง ร่วมทำแผนงานกับ

หน่วยงาน องคก์ ร เครอื ข่ายตา่ ง ๆ ใน

พน้ื ทท่ี ตี่ ้องประสานงานด้วย

5 การถ่ายทอดแผนงานแก่เครือขา่ ยดว้ ย
ช่องทางท่ีหลากหลาย

627


Click to View FlipBook Version