The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการวิจัย การบริหารราชการแผ่นดิน บนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะที่1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by SEP Action, 2022-04-18 09:28:41

รายงานผลการทำกิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัย

โครงการวิจัย การบริหารราชการแผ่นดิน บนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะที่1)

Keywords: sepaction,เศรษฐกิจพอเพียง

โครงการวจิ ัย
การบริหารราชการแผน่ ดินบนพ้นื ฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะท่ี ๑)

ตารางท่ี 4.22 (ต่อ)

มิติ / ปจั จัยประเมิน แนวทางดำเนินการ ตวั อยา่ ง

มติ ทิ ่ี 4 ประโยชนแ์ ก่องคก์ ารและสังคม ผลการดำเนนิ งานปี 2564 เป็นไปตามเปา้ หมาย
- โครงการพฒั นาและแก้ไขปัญหาแหล่งน้ำเพื่อการ
ผลการดำเนนิ งาน - ผลการดำเนินงานปี 2564 อุปโภคบรโิ ภค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
บรรลตุ ามพันธกิจ เปน็ ไปตามเป้าหมาย จำนวน 13 โครงการ เม่อื ดำเนินโครงการแล้วเสรจ็
และเปา้ หมายของ มปี ระชาชนที่ไดร้ ับประโยชนจ์ ำนวน 14,166 คน
องค์การ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 105.44 ของกลุ่มเปา้ หมาย
- โครงการสรา้ งงาน สรา้ งอาชพี เพือ่ เพิ่มรายได้
ความสามารถใน - มีการหาแนวทาง/การ ลดรายจ่ายตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การเผชญิ หรอื เตรียมการในการแก้ไข ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 จำนวน
สนองต่อการ รบั มือกับปญั หา อปุ สรรค 45 โครงการ เมื่อดำเนนิ โครงการแล้วเสรจ็
เปลยี่ นแปลงได้ ต่าง ๆ มีประชาชนที่ไดร้ บั ประโยชน์จำนวน 22,675 คน
คิดเป็นรอ้ ยละ 104.26 ของกลุ่มเป้าหมาย
- จดั ทำแผนบริหารความเสย่ี งของสำนกั งาน
ปลัดกระทรวงมหาดไทย
- การปฏบิ ัตติ ามพระราชกฤษฎีกาวา่ ด้วยหลักเกณฑ์
และวธิ ีการบรหิ ารกจิ การบ้านเมืองที่ดี
- การปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บคณะกรรมการตรวจเงิน
แผ่นดินว่าด้วยมาตรฐานการควบคมุ ภายใน

4.2.2.2 กรมโยธาธิการและผงั เมือง
กรมโยธาธิการและผังเมืองได้สะท้อนความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงในระดับเข้าข่าย
ดงั แสดงสรุปผลการประเมินดว้ ยภาพที่ 4.17 และรายละเอียดของประเด็นสำคัญทส่ี ำคัญในมิติต่าง ๆ
ของหน่วยงานที่สะท้อนในระดับเข้าข่ายในตารางที่ 4.23 จากผลการเก็บรวบรวมข้อมูลของ
กรมโยธาธิการนั้นสะท้อนให้เห็นถึงการดำเนินงานของหน่วยงานที่มีการวางแผนและการกำหนด
นโยบายมหาดไทยใสสะอาดของกระทรวงแปลงมาสู่ปฏิบัติโดยมุ่งครอบคลุมทุกภารกิจด้าน
การผังเมือง อีกทั้งยังมีการกำหนดแนวทางการนำยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ โดยการถ่ายทอดตัวชี้วัด
และค่าเป้าหมายระดับองค์การลงสู่ระดับหน่วยงานในกรม รวมทั้งมีการจัดสรรงบประมาณร่วมกับ
ส่วนกลางในการแก้ปัญหาในพื้นที่ และตั้งงบประมาณโดยคำนึงถึงความประหยัด มีเหตุมีผล

196

สถาบันบณั ฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์

ความจำเป็น ความซื่อสัตย์ เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชนในการก่อสร้าง รวมทั้งมีการให้
ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบการดำเนินงาน ในด้านการพัฒนาบุคลากรน้ัน
กรมโยธาธิการและผังเมืองมีแผนพัฒนาบุคลากร 5 ปี (พ.ศ.2566-2570) มีหลักสูตรฝึกอบรมท่ี
สอดแทรกเรื่องปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พอประมาณ มีเหตุผล ภูมิคุ้มกัน รวมทั้งมีการคัดเลือก
ประกวดผู้มีคุณธรรมและจริยธรรมประจำปี จากผลการเก็บรวบรวมข้อมูลของกรมโยธาธิการและ
ผังเมืองนั้นสะท้อนให้เห็นถึงการดำเนินงานของหน่วยงานที่มีการวางแผนและการกำหนดนโยบายท่ี
สอดคล้องเป้าประสงค์ของกระทรวง นอกจากนั้นอาจมีการสะท้อนในระดับเข้าใจและหรือระดับ
เข้าถงึ ในบางมติ ิ (ซ่ึงยังไม่ถือว่าหนว่ ยงานมีความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพียงในระดบั นัน้ แล้ว)
ภาพที่ 4.17
ผลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงของกรมโยธาธกิ ารและผังเมือง

197

โครงการวิจยั
การบริหารราชการแผน่ ดนิ บนพ้นื ฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ระยะท่ี ๑)

ตารางที่ 4.23
ผลการประเมินความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพียง ระดบั เขา้ ขา่ ย ของกรมโยธาธิการและผงั เมือง

มิติ / ปัจจัยประเมนิ แนวทางดำเนินการ ตัวอยา่ ง

มติ ทิ ี่ 1 นโยบาย การวางแผน และการจัดทำแผนแบบมีสว่ นรว่ ม

การวางแผนท่ี การวางยทุ ธศาสตร์ของกรม - กำหนดแผนแม่บท ภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี
ตอบสนองพันธกจิ เชอ่ื มโยงกับ ยทุ ธศาสตร์ ของกรมโยธาธกิ ารและผังเมือง ประกอบดว้ ยแผน
วสิ ัยทัศน์ และ กระทรวงมหาดไทย และ แม่บทความมั่นคง แผนแม่บทการทอ่ งเทีย่ ง
ยทุ ธศาสตรข์ อง แผนปฏบิ ตั ริ าชการของ แผนแมบ่ ทเฉพาะกจิ แผนแม่บทพนื้ ทีแ่ ละเมืองนา่
องค์กร (กรมและ กระทรวงมหาดไทย อย่อู จั ฉรยิ ะ แผนแม่บทเศรษฐกิจพิเศษ
กระทรวง) และแผนแมบ่ ทการบริหารจัดการนำ้ ทง้ั ระบบ
- การเข้ารว่ มประชุมขับเคลื่อนและตดิ ตามนโยบาย
ของรฐั บาล และภารกิจสำคญั ของ
กระทรวงมหาดไทย ประจำปงี บประมาณ 2565
- นโยบายมหาดไทยใสสะอาด ของกระทรวงแปลง
มาสูป่ ฏบิ ตั ิโดยมุง่ ครอบคลมุ ทุกภารกจิ ด้าน
การผังเมอื ง

ในการวางแผน การดำเนนิ การจัดประชุม - การประชุมมอบนโยบายแกค่ ณะทำงานสือ่ สาร
ยทุ ธศาสตร์ มกี าร มอบนโยบายให้กบั บุคลากร สร้างความเขา้ ใจสังคมเชงิ รุกและผปู้ ฏิบัติงานด้าน
ถ่ายทอด สรา้ ง ภายในกรม ประชาสมั พนั ธข์ องกระทรวงมหาดไทย
ความเข้าใจ และ - แนวการนำยทุ ธศาสตรส์ ่กู ารปฏบิ ตั ิ โดย
พฒั นาการมีส่วน การถา่ ยทอดตัวชวี้ ัดและคา่ เป้าหมายระดับองคก์ าร
ร่วมของบคุ ลากร ลงสู่หน่วยงาน กรมโยธาธิการและผงั เมือง
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

มติ ิท่ี 2 การบริหารงานอยา่ งโปรง่ ใส มีธรรมาภิบาล ไม่มีการกระทำการผิดกฎหมาย

การบรหิ ารจดั การ - กำหนดแนวทางการปฏบิ ัติ - การจัดทำแผนปฏบิ ัตริ าชการ 5 ปี กรมโยธาธิการ
อย่างเป็นระบบ ราชการอย่างชดั เจน และผงั เมือง (พ.ศ. 2566-2570)
- คมู่ อื การตรวจสอบความพรอ้ มสำหรับการ
ดำเนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0 (PMQA 4.0
Checklist)

198

สถาบนั บณั ฑติ พัฒนบริหารศาสตร์

ตารางที่ 4.23 (ต่อ)

มติ ิ / ปัจจัยประเมิน แนวทางดำเนินการ ตวั อยา่ ง

มิตทิ ่ี 2 การบรหิ ารงานอยา่ งโปร่งใส มีธรรมาภิบาล ไม่มีการกระทำการผดิ กฎหมาย

การบรหิ ารงาน - กำหนดแนวทางการปฏบิ ตั ิ - แผนปฏบิ ัตกิ ารด้านการปอ้ งกัน ปราบปราม
อยา่ งโปร่งใส มี ราชการอย่างโปร่งใสไวอ้ ยา่ ง การทจุ ริตมชิ อบ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
นโยบาย มาตรการ ชดั เจน - กิจกรรมประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรง่ ใสใน
ระบบการ การดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (ITA) ประจำปี
ตรวจสอบ 2564 มีคะแนน 87.91 ผา่ นระดับ A (+0.31)
ในการกำกบั ดูแล
และเปดิ เผยข้อมูล

มิตทิ ่ี 3 บคุ ลากรเกง่ และมคี ุณธรรม - แผนพฒั นาบุคลากรกรมโยธาธิการและผังเมือง
5 ปี (พ.ศ.2566-2570)
การฝึกทกั ษะ การพฒั นทกั ษะด้วยการ - การจดั ทำแผน Training roadmap ระยะ 1 ปี
ความรู้ท่ีเกีย่ วข้อง ฝึกอบรม การสมั มนา และ 5 ปี เพ่อื การออกแบบการอบรมให้เหมาะสม
กบั งานทอ่ี ยใู่ น ทง้ั ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ กบั แตล่ ะสายงาน
ความรบั ผดิ ชอบ และการศึกษาดูงาน - การเรียนรผู้ า่ นระบบ M-learning, E-learning
และ Application
การพัฒนาสง่ เสรมิ - จดั ทำข้อกำหนดจริยธรรม - ข้อกำหนดจรยิ ธรรมขา้ ราชการกรมโยธาธกิ ารและ
การมีคณุ ธรรมและ ข้าราชการ ผงั เมอื ง พ.ศ. 2564
จริยธรรมให้แก่ - การกำหนดคา่ นิยมร่วม - แผนปฏบิ ัตกิ ารส่งเสริมคณุ ธรรม กรมโยธาธิการ
บุคลากร ของกรม และผงั เมืองประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
- DPT MOTTO คือ พอเพยี ง วินัย สุจรติ
จติ สาธารณะ

199

โครงการวิจยั
การบริหารราชการแผ่นดินบนพืน้ ฐานหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ระยะท่ี ๑)

ตารางท่ี 4.23 (ตอ่ )

มติ ิ / ปัจจัยประเมิน แนวทางดำเนนิ การ ตัวอยา่ ง

มิติท่ี 4 ประโยชน์แก่องคก์ ารและสังคม - ปี พ.ศ. 2563 ไดร้ ับรางวัลเลิศรฐั สาขาการบริการ
ภาครฐั ประเภทบรู ณาการขอ้ มลู เพ่ือการบรกิ าร
ผลการดำเนนิ งาน ผลการดำเนินงานมุง่ ให้ จากระบบให้บรกิ ารค้นหาตำแหนง่ แปลงที่ดนิ ดว้ ย
บรรลตุ ามพนั ธกจิ ประชาชนมคี วามพอใจใน ระบบภมู ิสารสนเทศทางอินเตอรเ์ นต็
และเปา้ หมายของ การรบั บรกิ าร และมคี วาม (Landsmaps)
องคก์ าร ปลอดภยั ในชวี ติ และ - การทบทวนผงั นโยบายการใช้ประโยขน์พนื้ ท่ีทุก 5
ทรัพย์สิน ปีตามพระราชบัญญัติการผงั เมือง พ.ศ.2562
ความสามารถใน - การทบทวนและปรับปรงุ - รายงานผลการดำเนนิ การ ตามแผนการบรหิ าร
การเผชญิ หรือ การดำเนนิ งานอยา่ งมีแบบ ความเสยี่ ง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
สนองต่อการ แผนและมีรายงานความ
เปลี่ยนแปลงได้ เสีย่ งจากการดำเนินงาน

4.2.2.3 กรมท่ดี ิน
กรมที่ดินได้สะท้อนความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงในระดับเข้าข่าย ดังแสดงสรุปผล
การประเมนิ ดว้ ยภาพที่ 4.18 และรายละเอียดของประเด็นสำคัญท่ีสำคัญในมิตติ ่าง ๆ ของหนว่ ยงานที่
สะท้อนในระดับเข้าข่ายในตารางที่ 4.24 จากผลการเก็บรวบรวมข้อมูลของกรมที่ดินนั้นสะท้อนให้
เห็นถึงการดำเนินงานของหน่วยงานทีม่ ีการวางแผนและการกำหนดนโยบายท่ีสอดคล้องเป้าประสงค์
ของกระทรวง รวมทั้งมีการกำหนดภารกิจที่เชื่อมโยงสอดคล้องในระดับประเทศ มีการถ่ายทอด
นโยบายจากกระทรวงมาสู่กรม และกำหนดตัวชี้วัดในส่วนกลางและภูมิภาคผ่านโครงการที่เกี่ยวข้อง
ทุกปี ในด้านการพัฒนาบุคลากรนั้นมีแผนกลยุทธ์พัฒนาบุคลากรกรมที่ดิน พ.ศ.2560-2564
มีการจัดการความรู้ (Knowledge Management: KM) และการจัดระบบการเรียนรู้ผ่านสื่อ
อิเล็กทรอนิกส์ (e–learning) นอกจากนี้กรมที่ดินมีการตั้งศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริตกรมที่ดิน
และกลมุ่ งานคมุ้ ครองจริยธรรมกรมที่ดิน การดำเนินการข้างต้นส่งผลให้การดำเนินงานของหน่วยงาน
นั้น สามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ รวมทั้งมีการเตรียมความพร้อมขององค์กรเพ่ือ
รองรับกับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยีในปัจจุบัน (digital transformation)
นอกจากน้นั อาจมีการสะท้อนในระดับเข้าใจและหรอื ระดับเข้าถึงในบางมิติ (ซงึ่ ยงั ไม่ถอื ว่าหน่วยงานมี
ความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพียงในระดับนน้ั แล้ว)

200

สถาบนั บัณฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์

ภาพที่ 4.18
ผลการประเมินความเปน็ เศรษฐกิจพอเพยี งของกรมท่ดี นิ

201

โครงการวจิ ัย
การบริหารราชการแผ่นดินบนพนื้ ฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ระยะที่ ๑)

ตารางท่ี 4.24
ผลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพยี ง ระดบั เข้าข่าย ของกรมท่ีดิน

มิติ / ปจั จยั ประเมิน แนวทางดำเนินการ ตวั อยา่ ง

มิติท่ี 1 นโยบาย การวางแผน และการจดั ทำแผนแบบมีสว่ นรว่ ม

การวางแผนที่ -กรมการตั้งเปา้ หมายตง้ั ตาม - การวางแผนเช่อื มโยงระหวา่ งร่างกรอบ
ตอบสนองพันธกิจ ความต้องการของประชาชน ยทุ ธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี แผนพฒั นาเศรษฐกิจ
วสิ ัยทศั น์ และ ตามภารกจิ หน้าทข่ี อง และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 12 กับรา่ งยทุ ธศาสตร์
ยทุ ธศาสตรข์ อง กระทรวง กระทรวงมหาดไทยระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579)
องค์กร (กรมและ
กระทรวง)

ในการวางแผน - การมอบนโยบายของ - การมอบนโยบายของผ้บู รหิ ารกรมที่ดนิ ผ่าน
ยุทธศาสตร์ ผูบ้ รหิ ารกรมท่ีดนิ โครงการสมั มนาขบั เคลื่อนนโยบายเพอ่ื ตดิ ตามและ
มกี ารถา่ ยทอด - การถา่ ยทอดนโยบายจาก ประเมินผลการปฎบิ ัติราชการ ระหว่างวันที่ 14-15
สรา้ งความเข้าใจ กระทรวงมาสกู่ รม และ ธ.ค. 2562
และพฒั นาการมี นำมากำหนดตัวชว้ี ัดใน - โครงการสมั มนามอบนโยบายและตรวจติดตาม
ส่วนร่วมของ ส่วนกลางและภูมภิ าคผา่ น การปฏบิ ตั งิ านของขา้ ราชการกรมที่ดนิ
บคุ ลากร โครงการท่เี กยี่ วขอ้ ง จำนวน 4 ภาค ประจำปี 2563 มบี ุคลากรเข้าร่วม
จำนวน 476 คน

มติ ิท่ี 2 การบรหิ ารงานอยา่ งโปรง่ ใส มีธรรมาภิบาล ไม่มีการกระทำการผดิ กฎหมาย

การบรหิ ารจดั การ - กำหนดกรอบการประเมนิ - ตวั ชี้วัดตามกรอบการประเมินผลการพฒั นา
อยา่ งเป็นระบบ ตวั ชีวดั ในการพัฒนา คุณภาพการปฏบิ ตั งิ าน และการใหบ้ ริการตาม
คณุ ภาพการปฏิบตั งิ าน โครงการสำนกั งานท่ีดนิ บรหิ ารจดั การดเี ดน่ ประจำปี
การบริหารงาน - กำหนดแนวทางและคูม่ อื งบประมาณ พ.ศ. 2564
อย่างโปร่งใส มี ในการปฏิบตั งิ าน - แนวทางการพจิ ารณาปญั หาขอ้ กฎหมายเกีย่ วกับ
นโยบาย มาตรการ การออกหนงั สือแสดงสทิ ธิในที่ดนิ ในเขตทดี่ ินของรฐั
ระบบการ - การประเมินคุณธรรมและ - กิจกรรมประเมินคณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการ
ตรวจสอบ ในการ ความโปรง่ ใสในการ ดำเนินงานของหนว่ ยงานภาครัฐ (ITA) ประจำปี
กำกบั ดแู ล และ ดำเนนิ งานของหน่วยงาน 2564 มีคะแนน 96.51 ผ่านระดับ AA (+3.61)
เปิดเผยข้อมลู จาก ปปช. - ช่องทางการ้องเรยี นรอ้ งทกุ ขผ์ า่ นศูนยด์ ำรงธรรม
- มีช่องทางการอ้ งเรียนรอ้ ง กรมท่ีดนิ และระบบ E-contact DC
ทุกข์

202

สถาบนั บณั ฑติ พัฒนบริหารศาสตร์

ตารางที่ 4.24 (ต่อ)

มติ ิ / ปัจจยั ประเมนิ แนวทางดำเนินการ ตัวอย่าง

มิตทิ ี่ 3 บคุ ลากรเก่งและมีคุณธรรม

การฝกึ ทกั ษะ - การฝกึ อบรมความรทู้ ี่ - แผนพฒั นาบุคลากรกรมทดี่ ิน ประจำปี
ความรูท้ ีเ่ กี่ยวขอ้ ง จำเปน็ ในการปฏบิ ตั งิ าน งบประมาณ พ.ศ. 2565 งบประมาณท่ไี ดร้ บั การ
กบั งานท่อี ยูใ่ น ใหแ้ กบ่ ุคลากร จดั สรรเป็นคา่ ใช้จ่ายในการสมั มนาและฝึกอบรม
ความรับผดิ ชอบ - กำหนดเสน้ ทางการพัฒนา จำนวน 1,860,000 บาท จำนวน 16 หลักสตู ร
บคุ ลากรกรมทดี่ นิ (Training มเี ปา้ หมาย 2,490 คน
Roadmap) - แผนกลยุทธพ์ ัฒนาบคุ ลากรกรมที่ดนิ พ.ศ.2560-
- กำหนดแผนพัฒนาบคุ คล 2564
และจัดสรรงบประมาณ - เส้นทางการพฒั นาบคุ ลากรกรมทีด่ ิน (Training
Roadmap)

การพฒั นาสง่ เสรมิ - กำหนดยุทธศาสตรแ์ ละ - แผนยุทธศาสตร์สง่ เสรมิ คุณธรรมจรยิ ธรรมกรม
การมคี ณุ ธรรมและ แนวปฏบิ ัตใิ นการสง่ เสริม ท่ดี ิน ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2560–2564
จรยิ ธรรมให้แก่ คุณธรรมจริยธรรม - ศนู ย์ปฏิบตั ิการต่อต้านการทุจรติ กรมทีด่ นิ
บคุ ลากร - กำหนดกลุ่มงานค้มุ ครอง (ศปท.)/กล่มุ งานคุ้มครองจรยิ ธรรมกรมทด่ี นิ
จริยธรรมเป็นหนว่ ยงาน โครงการสง่ เสริมธรรมาภบิ าลและตอ่ ตา้ นการทุจรติ
ภายในมีหน้าท่คี วาม ประพฤติมิชอบ
รับผดิ ชอบภารกจิ ด้าน
คุม้ ครองจริยธรรม

มติ ทิ ่ี 4 ประโยชนแ์ กอ่ งค์การและสงั คม

ผลการดำเนนิ งาน - การดำเนนิ การการจดั ทีด่ ิน - ผลการดำเนินโครงการในการจดั การท่ดี ินไดร้ บั
บรรลตุ ามพนั ธกจิ ทำกนิ ใหป้ ระชาชนไดต้ าม รางวัลเลิศรฐั ประจำปี 2564 จำนวน 4 รางวลั
และเปา้ หมายของ วตั ถุประสงค์ - โครงการบริหารจดั การการใชป้ ระโยชนใ์ นท่ดี ิน
องค์การ สาธารณประโยชน์ (ปีงบประมาณ 2547–2564)
จำนวน 125,074 แปลง 107,261 ครวั เรอื น
464,457 ไร่
- โครงการสนบั สนุน คทช. จงั หวดั ในการจดั ที่ดนิ
ทำกนั ใหช้ มุ ชน (ปงี บประมาณ 2558–2564)
สามารถจดั ให้ราษฎรได้ 68,707 ราย 84,314
แปลง และ 465,790 ไร่

203

โครงการวิจยั
การบริหารราชการแผ่นดินบนพืน้ ฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะท่ี ๑)

ตารางที่ 4.24 (ต่อ)

มติ ิ / ปัจจยั ประเมนิ แนวทางดำเนนิ การ ตวั อยา่ ง

มิติที่ 4 ประโยชน์แก่องค์การและสังคม

ความสามารถใน - การปรบั กระบวนการ - นำเข้าข้อมลู ประกาศทต่ี อ้ งปิด ณ สำนกั งานท่ีดิน
การเผชญิ หรือ ทำงานตามสถานการณ์ เช่น เพื่อเผยแพร่ ใหป้ ระชาชนสามารถตรวจสอบ
สนองต่อการ การแพรร่ ะบาดของโควดิ 19 ประกาศสำนักงานทด่ี ินทั่วประเทศ ไดท้ าง
เปลย่ี นแปลงได้ - แผนการบรหิ ารความเสยี่ ง e-LandsAnnoucement
ขององคก์ าร - การใหบ้ รกิ ารประชาชนผ่านช่องทาง
อิเลก็ ทรอนกิ สต์ ่าง ๆ ใหเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพ
เช่น การนดั จดทะเบยี นล่วงหน้า การนัดรงั วดั ดว้ ย
Applicatione Q-Lands
- การประเมนิ ความเสี่ยงการทุจรติ ประจำปี
งบประมาณ พ.ศ. 2564

4.2.2.4 กรมการปกครอง
กรมการปกครองสะท้อนความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงในระดับเข้าข่าย ดังแสดง
สรุปผลการประเมินด้วยภาพที่ 4.19 และรายละเอียดของประเด็นสำคัญที่สำคัญในมิติต่าง ๆ ของ
หน่วยงานที่สะท้อนในระดับเข้าข่ายในตารางที่ 4.25 ทั้งนี้จากผลการเก็บรวบรวมข้อมูลแสดงให้เห็น
ถึงการดำเนินงานของหน่วยงานที่มีการวางแผนและการกำหนดนโยบายที่สอดคล้องเป้าประสงคข์ อง
กระทรวง และเป็นไปตามวิสัยทัศน์ของกรม ภายใต้แนวคิด หน้าที่ของฝ่ายปกครอง คือ
“ทำให้ประชาชน ทุกข์น้อยลง สุขมากขึ้น” มีการสื่อสารชี้แจง รายละเอียดต่าง ๆ และมีการร่วมกัน
จัดทำแผนงาน รวมทั้งการสร้างคู่มือประกอบการปฏิบัติราชการ นอกจากนี้ทางกรมการปกครองมี
การประกาศ เรื่อง เจตจำนงสุจริตในการปฏิบัติราชการกรมการปกครอง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.
2564 "กรมการปกครองใสสะอาด" การดำเนินการพัฒนาบุคลากรเพื่อพัฒนาเสริมสร้างภาพลักษณ์
การปฏิบัติงานของบุคลากรให้มีความรู้คู่คุณธรรมโดยวิทยาลัยการปกครอง ทั้งนี้การดำเนินงานของ
หน่วยงานนั้น สามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ อีกทั้งยังมีความพร้อมรับต่อ
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น โดยมีแผนบริหารความเสี่ยงของกรมการปกครอง ประจำปีงบประมาณ
พ.ศ. 2564 นอกจากนัน้ อาจมกี ารสะท้อนในระดบั เข้าใจและหรือระดับเข้าถึงในบางมิติ (ซ่ึงยงั ไม่ถือว่า
หน่วยงานมคี วามเปน็ เศรษฐกจิ พอเพยี งในระดับน้นั แล้ว)

204

สถาบนั บัณฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์

ภาพท่ี 4.19
ผลการประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพยี งของกรมการปกครอง

205

โครงการวจิ ัย
การบริหารราชการแผน่ ดินบนพน้ื ฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ระยะท่ี ๑)

ตารางท่ี 4.25
ผลการประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกิจพอเพียง ระดับเข้าข่าย ของกรมการปกครอง

มติ ิ / ปัจจัยประเมิน แนวทางดำเนินการ ตัวอยา่ ง

มิติท่ี 1 นโยบาย การวางแผน และการจัดทำแผนแบบมีสว่ นรว่ ม

การวางแผนท่ี - นโยบายเปน็ ไปตาม - 10 โครงการสำคัญ ส่กู ารเปน็ กรมการปกครอง
ตอบสนองพันธกิจ วสิ ยั ทัศนข์ องกรม ภายใต้ วถิ ใี หม่ (10 Flagships to DOPA New Normal
วิสยั ทศั น์ และ แนวคดิ หน้าทขี่ องฝ่าย 2021
ยทุ ธศาสตรข์ อง ปกครอง คือ “ทำให้
องคก์ ร (กรมและ ประชาชน ทกุ ข์น้อยลง - อธิบดมี อบนโยบายแนวทางปฏบิ ัตริ าชการ
กระทรวง) สุขมากขน้ึ ” ในวนั ท่ี 1 ต.ค. 2562 เน้นยำ้ การฝา่ ยปกครอง
ในการวางแผน - ผู้บรหิ ารมอบนโยบายและ ทำใหป้ ระชาชน ทุกขน์ อ้ ยลง สุขมากข้ึน
ยทุ ธศาสตร์ แนวทางปฏิบัติราชการ - การประชมุ ระดมความเห็นแนวทางการปฏิรูป
มกี ารถา่ ยทอด ความก้าวหนา้ ของบุคลากรกรมการปกครอง
สร้างความเข้าใจ ปงี บประมาณ พ.ศ.2560 และรวบรวมข้อเสนอและ
และพฒั นาการมี แนวคดิ จากการบรหิ ารราชการแนวใหม่
สว่ นร่วมของ
บคุ ลากร

มิตทิ ี่ 2 การบรหิ ารงานอยา่ งโปร่งใส มธี รรมาภบิ าล ไม่มีการกระทำการผิดกฎหมาย

การบริหารจดั การ - การกำหนดแนวทางปฏบิ ัติ - แผนปฏิบตั ริ าชการกรมการปกครอง พ.ศ. 2563–
อยา่ งเป็นระบบ ราชการ เพ่อื ใหก้ ารฏบิ ตั งิ าน 2565
ของกรมการปกครอง - แผนปฏบิ ัตริ าชการรายปี (พ.ศ. 2565)
สามารถขบั เคล่ือนไปใน ของกรมการปกครอง
ทศิ ทางเดยี วกับนโยบายที่ - คมู่ อื การปฏิบตั งิ านตามกฎหมายว่าดว้ ยการทวง
สำคัญของรัฐบาล ถามหน้ี (ปรบั ปรงุ คร้ังท่ี 2)
กระทรวงมหาดไทย และ
ยุทธศาสตร์ระดับชาติ

การบริหารงานอยา่ ง - การประเมินคณุ ธรรมและ - การประเมนิ คุณธรรมและความโปรง่ ใส (ITA)
โปรง่ ใส ความโปรง่ ใส (ITA) ประจำปี ประจำปี 2564 ได้ 99.12 ผา่ นระดับ AA (+8.17)
มีนโยบายมาตรการ 2564 จาก ปปช. - ประกาศกรมการปกครอง เร่ือง เจตจำนงสจุ รติ ใน
ระบบการตรวจสอบ - การประกาศเจตจำนง การปฏิบัตริ าชการกรมการปกครอง ประจำปี
ในการกำกับดแู ล และ สจุ รติ งบประมาณ พ.ศ.2564 "กรมการปกครองใส
เปิดเผยข้อมลู สะอาด"

206

สถาบนั บณั ฑติ พฒั นบริหารศาสตร์

ตารางท่ี 4.25 (ตอ่ )

มติ ิ / ปัจจยั ประเมนิ แนวทางดำเนนิ การ ตัวอยา่ ง

มิตทิ ี่ 3 บคุ ลากรเกง่ และมีคุณธรรม - โครงการ DOPA All Smart โดยในสว่ นของ
บคุ ลากรกำหนดใหม้ ี E-DOPA Smart Human
การฝึกทกั ษะ - การจดั ฝึกอบรมเลือกใช้ ขับเคลอื่ นและผลกั ดันใหม้ ี
ความรู้ทเ่ี ก่ยี วข้อง เทคโนโลยี ระบบสอื่ สาร การบรหิ ารงานบคุ คลและพฒั นาทรัพยากรมนุษย์
กับงานทอ่ี ยู่ใน สนเทศท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพ ดว้ ยหลกั การ คอื Talent Management,
ความรับผดิ ชอบ ประหยดั และคุม้ ค่า HRM/HRD/Rotation และ E-Learning โดยในทุก
เหมาะสมกบั การใช้งานและ การฝึกอบรม
ศกั ยภาพของคนในองคก์ ร - คำส่งั การปกครอง ท่ี 829/2563 เรอ่ื ง จดั ตง้ั ศนู ย์
ปฏบิ ตั กิ ารต่อต้านการทจุ รติ กรมการปกครอง
การพฒั นาสง่ เสรมิ - จัดตง้ั ศูนย์ปฏิบตั กิ าร - ประกาศเจตนารมณ์ของบคุ ลากรกรมทกุ ภาคส่วน
การมคี ณุ ธรรมและ ต่อต้านการทจุ ริต ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 “กรมการ
จรยิ ธรรมให้แก่ กรมการปกครอง ปกครอง ใสสะอาด” ทจ่ี ะรว่ มกนั สง่ เสริมและ
บคุ ลากร - ประกาศเจตนารมณ์ของ พฒั นากรมการปกครองให้เปน็ “องคก์ รคุณธรรม”
บุคลากรกรมทุกภาคส่วน
- รางวัลเลิศรฐั ประจำปี พ.ศ. 2564
มิตทิ ี่ 4 ประโยชน์สขุ แกอ่ งค์การและสังคม กรมการปกครอง ไดร้ บั รางวัล จำนวน 2 รางวลั
ไดแ้ ก่ 1) รางวัลบรกิ ารภาครฐั ระดับดีเดน่ : ประเภท
ผลการดำเนินงาน - การบริหารราชการใน ยกระดบั การอำนวยความสะดวกในการใหบ้ ริการ
2) รางวัลคุณภาพการบรหิ ารจดั การภาครฐั
บรรลตุ ามพันธกิจ ระดบั พ้นื ที่มีความเขม้ แขง็ ดา้ นการนำองคก์ ารและความรบั ผดิ ชอบต่อสังคม
- ผลการดำเนนิ งานโครงการสำคญั ของกรมการ
และเป้าหมายของ เพอ่ื ความมัน่ คงและการ ปกครอง 2563 -โครงการจิตอาสาพระราชทาน
โดยดำเนนิ โครงการอำเภอจติ อาสา นอ้ มนำพา
องคก์ าร พัฒนาอยา่ งย่ังยนื สงั คมเปน็ สขุ รวม 1,533 โครงการ
- ศนู ยด์ ำรงธรรมอำเภอ “อำเภอดำรงธรรม”
เปน็ การยกระดบั งานบรกิ ารต่อยอดและพัฒนาศูนย์
ดำรงธรรมอัจฉริยะต้นแบบอำเภอนำรอ่ ง 76 แหง่

207

โครงการวจิ ัย
การบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ บนพน้ื ฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะท่ี ๑)

ตารางท่ี 4.25 (ต่อ)

มิติ / ปัจจยั ประเมิน แนวทางดำเนินการ ตวั อย่าง

มิตทิ ี่ 4 ประโยชนแ์ กอ่ งค์การและสงั คม - แผนบริหารความเสย่ี งของกรมการปกครอง
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
ความสามารถใน - การบริหารความเสย่ี ง
การเผชญิ หรือ ในกรม
สนองต่อการ
เปลี่ยนแปลงได้

4.2.2.5 กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยสะท้อนความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงใน ระดับ
เข้าข่าย ดังแสดงสรปุ ผลการประเมนิ ด้วยภาพที่ 4.20 และรายละเอียดของประเด็นสำคัญที่สำคัญใน
มิติต่าง ๆ ของหน่วยงานที่สะท้อนในระดับเข้าข่ายในตารางที่ 4.26 ทั้งนี้จากผลการเก็บรวบรวม
ข้อมูลแสดงให้เห็นถึงการดำเนินงานของหน่วยงานที่มีการวางแผนและการกำหนดนโยบายท่ี
สอดคล้องเป้าประสงค์ของกระทรวง มีการสื่อสารชี้แจงมอบนโยบายและแนวทางการดำเนินงานแก่
บุคลากร และมีการร่วมกันจัดทำแผนงาน รวมทั้งการสร้างคู่มือประกอบการปฏิบัติราชการ
นอกจากนี้ทางกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยมีการประกาศ นโยบายการดำเนินงานอย่างมี
คุณธรรมและความโปร่งใสตรวจสอบได้ ในส่วนการดำเนินการพัฒนาบุคลากรนั้นมีสถาบันพัฒนา
บุคลากรด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยดำเนินการในการพัฒนาความรู้และทักษะจำเป็นใน
การปฏิบัติงาน รวมทั้งการพัฒนาทักษะพิเศษเฉพาะด้านสาธารณภัยให้แก้เจ้าหน้าที่ความปลอดภัย
นอกจากนี้ทางกรมมีนโยบายเรื่องจริยธรรม ค่านิยมองค์กร อยู่ในหมวดหนึ่งในแผนการดำเนินงาน
แผนเรื่องธรรมาภิบาลจากกระทรวงมหาดไทย เช่น การช่วยเหลือผู้ประสบภัย อย่างทั่วถึง เป็นธรรม
ดว้ ยการดำเนินงานของหน่วยงานน้นั สามารถดำเนินการไดต้ ามเป้าหมายที่กำหนดไว้ อีกท้งั ยังมีความ
พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น โดยมีแผนบริหารความเสี่ยงกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณ
ภัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 นอกจากนั้นอาจมีการสะท้อนในระดับเข้าใจและหรือระดับ
เขา้ ถึงในบางมิติ (ซ่งึ ยังไม่ถอื ว่าหนว่ ยงานมีความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงในระดับนั้นแล้ว)

208

สถาบนั บัณฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์

ภาพที่ 4.20
ผลการประเมินความเป็นเศรษฐกจิ พอเพยี งของกรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั

209

โครงการวิจัย
การบรหิ ารราชการแผ่นดนิ บนพ้นื ฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะท่ี ๑)

ตารางที่ 4.26
ผลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียง ระดับเข้าข่าย ของกรมป้องกันและบรรเทา
สาธารณภัย

มติ ิ / ปัจจัยประเมนิ แนวทางดำเนินการ ตัวอยา่ ง

มิตทิ ี่ 1 นโยบาย การวางแผน และการจัดทำแผนแบบมีส่วนร่วม

การวางแผนที่ - เช่อื มโยงยุทธศาสตร์ และ - ปรับวิสยั ทศั นใ์ หม้ คี วามพอประมาณ
ตอบสนองพนั ธกิจ แผนทีเ่ กยี่ วขอ้ งกบั การ มเี หตมุ ผี ล จากความเป็นสากล ใหเ้ ป็น
วิสยั ทัศน์ และ ปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณ ระดบั ประเทศ (แผนยทุ ธศาสตร์ ปี 2565-
ยทุ ธศาสตร์ขององคก์ ร ภัยกบั กรอบการดำเนนิ งาน 2570) และมาตรฐานมเี กย่ี วขอ้ งกบั ความเปน็
(กรมและกระทรวง) และยุทธศาสตร์มหาดไทย สากล ความรว่ มมือกบั ประเทศอาเซียน

ในการวางแผน - การมอบนโยบายของผ้บู ริหาร - การมอบนโยบายการจัดทำงบประมาณ

ยทุ ธศาสตร์ มีการ ระดับสูง รายจา่ ยประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565

ถา่ ยทอด สรา้ ง - การมอบนโยบายและแนวทางการดำเนินงาน

ความเขา้ ใจ และ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ผา่ นระบบ

พฒั นาการมสี ่วน ZOOM (17 พ.ย. 2564)

ร่วมของบคุ ลากร

มติ ทิ ่ี 2 การบริหารงานอยา่ งโปร่งใส มธี รรมาภบิ าล ไม่มีการกระทำการผิดกฎหมาย

การบริหารจัดการ - การบริหารงานตามแผนปฏิบตั ิ - แผนปฏิบตั ริ าชการรายปี (พ.ศ.2563) ของ
อย่างเปน็ ระบบ ราชการรายปี กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย
- การบรหิ ารจัดการตามคมู่ ือการ ที่สอดคลอ้ งกับแผนปฏบิ ัตริ าชการรายปี
ปฏิบตั ิงาน (พ.ศ.2563) ของกระทรวงมหาดไทย
- คู่มือปฏบิ ตั งิ านกรมปอ้ งกันและบรรเทา
สาธารณภยั ปี 2563

การบริหารงาน - การประเมนิ คุณธรรมและความ - การประเมนิ คุณธรรมและความโปรง่ ใสใน
อย่างโปร่งใส มี โปรง่ ใสในการดำเนนิ งาน การดำเนินงาน ของกรมป้องกนั และบรรเทา
นโยบาย มาตรการ ของกรมปอ้ งกันและบรรเทา สาธารณภัย (Integrity and Transparency
ระบบการ สาธารณภัย Assessment: ITA) ประจำปี 2564 ไดค้ ะแนน
ตรวจสอบ ในการ - นโยบายการดำเนนิ งานอยา่ งมี 91.17% ผ่านระดับ A (+15.23)
กำกับดูแล และ คณุ ธรรมและความโปร่งใส - ประกาศกรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั
เปดิ เผยขอ้ มลู เรอ่ื งนโยบายการดำเนนิ งานอย่างมคี ุณธรรม
และความโปรง่ ใสตรวจสอบได้

210

สถาบันบัณฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์

ตารางที่ 4.26 (ต่อ)

มติ ิ / ปจั จัยประเมิน แนวทางดำเนนิ การ ตวั อย่าง

มิตทิ ่ี 3 บุคลากรเกง่ และมคี ุณธรรม

การฝกึ ทักษะ - การดำเนนิ การดา้ นการพัฒนา - สถาบันพฒั นาบคุ ลากรดา้ นการป้องกันและ

ความร้ทู เี่ กี่ยวขอ้ ง บุคลากรอยา่ งตอ่ เน่อื ง ทั้ง บรรเทาสาธารณภยั

กบั งานทอี่ ยู่ใน บุคลากรภายในสงั กัดและ - แผนการฝกึ อบรม ประจำปงี บประมาณ

ความรับผดิ ชอบ หนว่ ยงานอ่นื ๆ และภาค พ.ศ. 2563

ประชาชน - การพัฒนาทักษะพิเศษเฉพาะดา้ นสาธารณ

ภยั ให้แก่เจ้าหนา้ ท่ี ปภ. (ERT, Medium

USAR Teams, Air Rescue)

การพัฒนาส่งเสริม - การฝึกอบรมเพื่อพฒั นา - การฝกึ อบรมเพ่ือพฒั นาบคุ ลากรโดยสอดแทรก

การมีคณุ ธรรมและ บุคลากรด้านคณุ ธรรมและ เนื้อหาแนวคดิ ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งใน

จรยิ ธรรมให้แก่ จรยิ ธรรม โครงการฝึกอบรม เชน่ หลักสตู รนกั บรหิ ารระดับ

บคุ ลากร - ย่องเชิดชเู กยี รติบคุ ลากร ต้น/ระดบั กลาง หลักสตู รปฐมนเิ ทศขา้ ราชการ/

กรมป้องกนั และบรรเทาสา พนักงานราชการบรรจุใหม่ เปน็ ตน้

ธารณภัย ผูป้ ระพฤติตนเป็น - การคัดเลือก "คนดี ศรี ปภ." ประจำปี พ.ศ. 2564

ข้าราชการต้นแบบของการมี ให้คดั เลือกบุคลากรทเี่ ปน็ แบบอยา่ งท่ดี ี

คณุ ธรรม จรยิ ธรรม

ขา้ ราชการพลเรือน

มิตทิ ่ี 4 ประโยชน์แก่องคก์ ารและสังคม

ผลการดำเนินงาน - การดำเนินการให้ - โครงการชุมชนตน้ แบบบา้ นน้ำเค็ม: เครอื ข่าย
บรรลตุ ามพนั ธกจิ ประชาชนสามารถ เตรียมพรอ้ มรับมือภยั พบิ ตั โิ ดยชมุ ชน รางวลั
และเป้าหมายของ เตรยี มพรอ้ มกับมอื กับภัย การบรหิ ารราชการแบบมสี ่วนร่วม ประเภท
องค์การ พิบตั โิ ดยชมุ ชน สัมฤทธิผลประชาชนมสี ่วนร่วม (Effective
Change) และผู้นำหุ้นส่วนความรว่ มมือ
(Engaged Citizen) ในระดับดีเดน่ ประจำปี 2564

ความสามารถใน - การจัดทำแผนบรหิ ารความ - แผนบริหารความเสี่ยงกรมปอ้ งกนั และบรรเทา
การเผชญิ หรอื เสยี่ งของกรมป้องกันและ สาธารณภัย ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
สนองตอ่ การ บรรเทาสาธารณภยั
เปลยี่ นแปลงได้

211

โครงการวิจยั
การบริหารราชการแผ่นดินบนพื้นฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะท่ี ๑)

4.2.2.6 กรมการพัฒนาชมุ ชน
กรมการพัฒนาชุมชนได้สะท้อนความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงในระดับเข้าข่าย
ดงั แสดงสรุปผลการประเมนิ ดว้ ยภาพที่ 4.21 และรายละเอียดของประเด็นสำคัญที่สำคัญในมิติต่าง ๆ
ของหน่วยงานที่สะท้อนในระดับเข้าข่ายในตาราง 4.27 จากผลการเก็บรวบรวมข้อมูลของกรมการ
พัฒนาชุมชนนั้นสะท้อนให้เห็นถึงการดำเนินงานของหน่วยงานที่มีการวางแผนและการกำหนด
นโยบายที่สอดคล้องเป้าประสงค์ของกระทรวง โดยกรมการการพัฒนาชุมชนได้กำหนดวาระ
ขับเคลื่อนเพื่อสัมมาชีพชุมชนเข้มแข็งภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อก้าวไปสู่
“เศรษฐกิจครัวเรือนมีความมั่นคง ประชาชนใช้ชีวิตอยู่ในชุมชน อย่างมีความสุข” โดยการถ่ายทอด
นโยบายสู่บุคลากรทุกระดับเพื่อมีความรู้ความเข้าใจในทิศทางการขับเคลื่อนของกรมฯ มีการจัดทำ
คู่มือการปฏิบัติราชการ และกำหนดตัวชี้วัดในการปฏิบัติราชการ เพื่อประเมินผลความสำเร็จของ
การปฏิบัติงานทั้งระดับหน่วยงานและระดับบุคคล สำหรับการพัฒนาบุคลากร กรมพัฒนาชุมชนมี
สถาบันการพัฒนาชุมชน ทำหน้าที่ดำเนินการเกี่ยวกับการฝึกอบรมและพัฒนาข้าราชการและ
เจ้าหน้าที่ท่ีเก่ยี วขอ้ งกับกรม ผลการดำเนินงานของกรมบรรลตุ ามเป้าหมาย ยุทธศาสตร์ ขององค์การ
รวมทั้งมคี วามพรอ้ มรับการเปลย่ี นแปลงโดยจัดทำแผนการบริหารความเส่ียงองค์กร (enterprise risk
management) นอกจากนน้ั อาจมกี ารสะท้อนในระดบั เข้าใจและหรือระดบั เข้าถึงในบางมิติ (ซ่ึงยังไม่
ถือวา่ หนว่ ยงานมคี วามเปน็ เศรษฐกิจพอเพียงในระดบั นัน้ แลว้ )

212

สถาบนั บัณฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์

ภาพที่ 4.21
ผลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพยี งของกรมการพัฒนาชมุ ชน

213

โครงการวิจยั
การบริหารราชการแผน่ ดนิ บนพน้ื ฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะที่ ๑)

ตารางที่ 4.27
ผลการประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกิจพอเพยี ง ระดบั เข้าข่าย ของกรมการพัฒนาชุมชน

มิติ / ปัจจัยประเมนิ แนวทางดำเนนิ การ ตวั อยา่ ง

มิตทิ ่ี 1 นโยบาย การวางแผน และการจัดทำแผนแบบมีสว่ นร่วม

การวางแผนที่ - กรมการพฒั นาชมุ ชนได้ - กรมการพฒั นาชุมชนได้กำหนดให้ปี 2560

ตอบสนองพนั ธกจิ น้อมนำหลักปรชั ญาของ ขบั เคลื่อนวาระกรมการพฒั นาชมุ ชน (agenda)

วสิ ัยทศั น์ และ เศรษฐกจิ พอเพียงและแนว เพื่อมุง่ ม่นั ว่ากรมการพฒั นาชุมชน พร้อมขับเคลอ่ื น

ยุทธศาสตร์ของ พระราชดำรติ า่ ง ๆ มาใช้ สมั มาชพี ชมุ ชนเข้มแข็งภายใต้หลกั ปรัชญาของ

องคก์ ร (กรมและ กำหนดแผนปฏบิ ัตริ าชการ เศรษฐกิจพอเพยี ง เพ่อื ก้าวไปสู่ “เศรษฐกจิ

กระทรวง) ระยะ 5 ปี แผนประจำปี ครัวเรอื นมคี วามม่ันคง ประชาชนใช้ชีวิตอยใู่ น

และนโยบายการดำเนนิ งาน ชมุ ชน อย่างมีความสขุ ”

ในการวางแผน - หน่วยงานได้มีการถ่ายทอด - การประชมุ มอบนโยบายและแนวทางการ

ยุทธศาสตร์ นโยบายสูบ่ คุ ลากรทกุ ระดับ ดำเนินงานพัฒนาชุมชน ประจำปงี บประมาณ

มกี ารถ่ายทอด เพอื่ มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจใน พ.ศ.2565 ณ หอ้ งประชุมกรมการพฒั นาชุมชน

สรา้ งความเขา้ ใจ ทศิ ทางการขับเคลื่อนของ กระทรวงมหาดไทย ผ่านระบบวดี ทิ ศั น์ทางไกล

และพัฒนาการมี กรมฯ Video Conference (20 ต.ค. 2564)

ส่วนรว่ มของ - ประชุมการจดั ทำแผนปฏบิ ตั ริ าชการระยะ 5 ปี

บคุ ลากร (พ.ศ. 2566-2570) ของกรมการพฒั นาชมุ ชน

คร้งั ที่ 1 ผา่ นระบบ Zoom Cloud Meeting (10–

11 ส.ค. 2564)

มติ ิที่ 2 การบริหารงานอยา่ งโปรง่ ใส มธี รรมาภบิ าล ไม่มีการกระทำการผิดกฎหมาย

การบรหิ ารจดั การ - การจัดทำคมู่ อื เพ่อื ให้ - คมู่ อื ปฏบิ ตั งิ านกรมปอ้ งกนั และบรรเทา
อยา่ งเป็นระบบ บุคลากรสามารถนำไปใช้ สาธารณภัย ปี 2563
ประโยชนไ์ ดอ้ ยา่ งทว่ั ถงึ - แผนปฏบิ ตั ริ าชการ ระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2563 –
- การกำหนดตัวชีว้ ดั การ 2565) ของกรมการพฒั นาชุมชน
ปฏบิ ตั ิราชการ - ตัวชวี้ ัดการประเมินผลการปฏบิ ตั ริ าชการ
เพอ่ื ประเมนิ ผลความสำเรจ็ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
ของการปฏิบตั งิ าน

214

สถาบันบัณฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์

ตารางท่ี 4.27 (ต่อ)

มิติ / ปัจจยั ประเมนิ แนวทางดำเนินการ ตัวอยา่ ง

มิติที่ 2 การบริหารงานอยา่ งโปรง่ ใส มีธรรมาภบิ าล ไม่มีการกระทำการผิดกฎหมาย

การบรหิ ารงาน - การประเมนิ คุณธรรมและ - การประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการ
ดำเนินงานของหนว่ ยงานภาครฐั (ITA) ประจำปี
อย่างโปรง่ ใส มี ความโปรง่ ใสในการ 2564 ได้คะแนน 97.05 ผา่ นระดบั AA (+8.24)
- หน่วยงานได้กำหนดใหท้ ุกหน่วยในองคก์ รต้อง
นโยบาย มาตรการ ดำเนนิ งานของหน่วยงาน จัดทำโครงการ พช. ใสสะอาด

ระบบการ ภาครัฐ (ITA)

ตรวจสอบ ในการ - การสง่ เสริมใหก้ ารปฏิบตั ิ

กำกบั ดูแล และ ราชการเป็นไปด้วยความ

เปดิ เผยขอ้ มูล โปรง่ ใสตามหลกั ธรรมภบิ าล

มิตทิ ี่ 3 บคุ ลากรเก่งและมคี ุณธรรม

การฝกึ ทกั ษะ - ตัง้ หน่วยงานเก่ียวกบั การ - แผนยทุ ธศาสตร์การบรหิ ารทรัพยากรบคุ คล
ความรู้ท่ีเก่ียวขอ้ ง ฝกึ อบรมและพัฒนา กรมการพฒั นาชมุ ชน 5 ปี (พ.ศ. 2560-2564)
กับงานทอ่ี ยใู่ น - กำหนดแผนการบริหาร - สถาบันการพฒั นาชุมชน มีบทบาทหน้าที่
ความรับผดิ ชอบ บคุ ลากร ดำเนนิ การเกยี่ วกับการฝึกอบรมและพัฒนา
ขา้ ราชการและเจา้ หน้าท่ที ีเ่ กีย่ วขอ้ ง รวมทั้ง
การพัฒนาส่งเสรมิ - กำหนดแนวทางสง่ เสรมิ การให้บริการทางวิชาการดา้ นการพัฒนาชมุ ชนแก่
การมคี ณุ ธรรมและ จริยธรรมในกรม หนว่ ยงานทั้งในและตา่ งประเทศ
จรยิ ธรรมใหแ้ ก่ - กลมุ่ งานคมุ้ ครองจรยิ ธรรมขา้ ราชการ
บุคลากร กรมการพฒั นาชมุ ชน
- ประมวลจริยธรรมขา้ ราชการพลเรือน
กรมการพัฒนาชมุ ชน

215

โครงการวิจัย
การบริหารราชการแผ่นดนิ บนพนื้ ฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ระยะท่ี ๑)

ตารางท่ี 4.27 (ตอ่ )

มติ ิ / ปัจจยั ประเมนิ แนวทางดำเนนิ การ ตวั อยา่ ง

มติ ทิ ่ี 4 ประโยชนแ์ ก่องค์การและสงั คม - จากรายงานประจำปี 2563 ผลการดำเนนิ การ
โครงการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ตามหลกั ทฤษฏีใหม่
ผลการดำเนินงาน - ผลงานดำเนนิ งานประจำปี ประยุกตส์ ู่ “โคก หนอง นา โมเดล” มีพื้นท่ตี ้นแบบ
บรรลตุ ามพันธกจิ 2563 ดำเนินการปรับปรงุ จำนวน 11 แห่ง และจุดขยายผลตน้ แบบจำนวน 32
และเป้าหมายของ คณุ ภาพของประชาชนใน แหง่ สามารถพฒั นาผ้นู ำตน้ แบบ รวม 22,500 คน
องคก์ าร ชนบท - รางวัลเลิศรฐั ประจำปี 2564 จำนวน 6 รางวลั
- ประกวดรางวัลเลิศรัฐ ประกอบด้วย 1) สาขาคณุ ภาพการบริหารจัดการ
ประจำปี 2564 ภาครฐั (PMQA) จำนวน 1 รางวลั คือ
ด้านกระบวนการคณุ ภาพและนวตั กรรม
ความสามารถใน - การบริหารความเสยี่ งใน 2) สาขาบรกิ ารภาครฐั จำนวน 1 รางวัล คอื ผลงาน
การเผชญิ หรอื หนว่ ยงาน “การแกไ้ ขปญั หาหนส้ี นิ ภาคครวั เรอื น โดยศนู ย์
สนองตอ่ การ จัดการกองทุนชุมชน” และ 3) สาขาบริหารราชการ
เปลย่ี นแปลงได้ แบบมสี ว่ นรว่ ม จำนวน 4 รางวลั
- แผนการบริหารความเสยี่ งองคก์ ร (Enterprise
Risk management) กองทนุ พัฒนาบทบาทสตรี
กรมการพฒั นาชมุ ชน ประจำปีงบประมาณ
พ.ศ. 2561

4.2.2.7 กรมส่งเสรมิ การปกครองท้องถ่ิน
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นได้สะท้อนความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงใน ระดับ
เข้าข่าย ดังแสดงสรุปผลการประเมินดว้ ยภาพที่ 4.22 และรายละเอียดของประเด็นสำคัญที่สำคญั ใน
มิติต่าง ๆ ของหน่วยงานที่สะท้อนในระดับเข้าข่ายในตารางท่ี 4.28 กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
นั้นมีการกำหนดยุทธศาสตร์ของกรมเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ของประเทศและยุทธศาสตร์
กระทรวงมหาดไทย รวมทั้งการวางแนวทางในการดำเนินการเพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ไป
สู่การปฏิบัติ มีการเสริมสร้างความเข้าใจการระดมความคิดเห็นเพื่อกำหนดแนวทางใน การปฏิรูป
องค์การของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น พร้อมทั้งมีคู่มือปฏิบัติงานให้บุคลากร และมีศูนย์
ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริตกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น ในด้านการพัฒนาบุคลากรน้ัน
ส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นมีสถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่นเป็นหน่วยงานหลักในการส่ งเสริมและ

216

สถาบันบัณฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์

พัฒนาบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นให้มีศักยภาพ
คุณธรรม และจริยธรรม จากผลการเกบ็ รวบรวมข้อมูลของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่นิ นั้นสะท้อน
ให้เห็นถึงการดำเนินงานของหน่วยงานที่มีการวางแผนและการกำหนดนโยบายที่สอดคล้อง
เป้าประสงค์ของกระทรวง นอกจากนัน้ อาจมกี ารสะท้อนในระดับเข้าใจและหรือระดับเข้าถึงในบางมิติ
(ซ่ึงยังไม่ถอื วา่ หน่วยงานมคี วามเป็นเศรษฐกจิ พอเพียงในระดับนน้ั แลว้ )
ภาพท่ี 4.22
ผลการประเมินความเปน็ เศรษฐกิจพอเพียงของกรมสง่ เสรมิ การปกครองท้องถ่ิน

217

โครงการวจิ ยั
การบรหิ ารราชการแผ่นดินบนพ้นื ฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ระยะที่ ๑)

ตารางที่ 4.28
ผลการประเมนิ ความเป็นเศรษฐกจิ พอเพียง ระดบั เขา้ ข่าย ของกรมส่งเสริมการปกครองทอ้ งถ่นิ

มติ ิ / ปจั จยั ประเมิน แนวทางดำเนนิ การ ตัวอยา่ ง

มติ ทิ ี่ 1 นโยบาย การวางแผน และการจดั ทำแผนแบบมีสว่ นรว่ ม

การวางแผนที่ - การกำหนดภารกิจหลกั - ภารกิจหลกั ของกรมคือ “การเสรมิ สรา้ งความ
ตอบสนองพันธกิจ ของกรมสง่ เสรมิ ปกครอง เข้มแข็งของการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย
วสิ ยั ทัศน์ และ สว่ นท้องถนิ่ ทส่ี อดคลอ้ งกับ อนั มพี ระมหากษตั ริย์ทางเป็นประมขุ ของประเทศให้
ยุทธศาสตร์ของ เป้าประสงค์ของกระทรวง มคี วามมนั่ คง ยั่งยนื และการพัฒนาความเขม้ แขง็
องค์กร (กรมและ ของทอ้ งถนิ่ ” ท่ีสอดคล้องกบั ยุทธศาสตรข์ อง
กระทรวง) - การประชุมชแ้ี จงนโยบาย กระทรวงด้านการส่งเสรมิ ความสงบเรยี บรอ้ ยและ
โดยผบู้ ริหาร ความมนั่ คงภายใน
ในการวางแผน - การกำหนดแนวทางในการ - การมอบนโยบายและขอ้ ราชการทส่ี ำคญั ของกรม
ยุทธศาสตร์ มีการ ดำเนนิ การเพ่อื การ ส่งเสรมิ การปกครองทอ้ งถ่นิ ให้แก่ผบู้ รหิ ารท้องถ่นิ
ถา่ ยทอด สร้าง ขบั เคลอ่ื นแผนยุทธศาสตร์ (20 มิ.ย. 2561)
ความเขา้ ใจ และ ไปสู่การปฏิบตั ิ - วางแนวทางในการดำเนินการเพอื่ การขบั เคลอ่ื น
พัฒนาการมสี ว่ น แผนยทุ ธศาสตรไ์ ปส่กู ารปฏิบตั ิ ท้งั การเสรมิ สร้าง
รว่ มของบคุ ลากร ความเข้าใจในแผนยุทธศาสตร์การพฒั นา พรอ้ ม
กำหนดแนวทางในการบรหิ ารจดั การเพอ่ื แปลงแผน
ไปสูก่ ารปฏิบตั ิ

มติ ิท่ี 2 การบริหารงานอย่างโปรง่ ใส มธี รรมาภบิ าล ไม่มีการกระทำการผดิ กฎหมาย

การบริหารจัดการ - กำหนดแนวทางในการ - แผนปฏิบัตริ าชการ ประจำปีงบประมาณ 2565
อย่างเปน็ ระบบ ปฏิบตั ทิ ช่ี ัดเจนมีแบบแผน กรมสง่ เสรมิ การปกครองท้องถนิ่
- มคี มู่ ือการปฏบิ ตั ิงานให้กับ - คมู่ ือการปฏิบัติงานของศูนยช์ ว่ ยเหลือประชาชน
บคุ ลากร - แนวทางปฏบิ ัติในการบริหารงบประมาณรายจ่าย
- กำหนดแนวทางบริหาร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 แผนงาน
งบประมาณให้เกิดประโยชน์ ยุทธศาสตรส์ ง่ เสรมิ การกระจายอำนาจให้แก่องค์กร
สงู สดุ ปกครองส่วนท้องถน่ิ

218

สถาบนั บณั ฑติ พัฒนบริหารศาสตร์

ตารางที่ 4.28 (ตอ่ )

มิติ / ปจั จยั ประเมนิ แนวทางดำเนินการ ตัวอย่าง

มิติที่ 2 การบรหิ ารงานอยา่ งโปร่งใส มธี รรมาภบิ าล ไม่มีการกระทำการผดิ กฎหมาย

การบรหิ ารงาน - การประเมินคุณธรรมและ - การประเมินคณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการ
อยา่ งโปร่งใส มี ความโปรง่ ใสในการ ดำเนนิ งานของหนว่ ยงานภาครัฐ (ITA) ประจำปี
นโยบาย มาตรการ ดำเนนิ งานของหน่วยงาน 2564 ไดค้ ะแนน 93.91 ผ่านระดบั A (+9.74)
ระบบการ ภาครฐั (ITA) - ศูนย์ปฏบิ ัตกิ ารตอ่ ต้านการทุจรติ กรมส่งเสริม
ตรวจสอบ กำหนดหน่วยงานรับผิดชอบ การปกครองส่วนทอ้ งถิ่น
ในการกำกับดแู ล การตอ่ ตา้ นการทจุ รติ และ - การจัดทำแผนปฏิบัตกิ ารปอ้ งกนั การทุจรติ ของ
และเปดิ เผยขอ้ มูล กำหนดแผนงาน องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่นประจำปงี บประมาณ
พ.ศ. 2565

มิตทิ ่ี 3 บุคลากรเก่งและมคี ุณธรรม

การฝกึ ทกั ษะ - แผนปฏิบตั ริ าชการในแต่ - ภารกจิ ของสถาบันพฒั นาบุคลากรทอ้ งถนิ่ เป็น
ความรู้ทีเ่ ก่ียวข้อง ละปี จะมีการกำหนด หน่วยงานหลักในการสง่ เสริมและพฒั นาบุคลากร
กบั งานทอ่ี ยใู่ น งบประมาณทสี่ ำนกั /กองท่ี ขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น และกรมสง่ เสริม
ความรบั ผิดชอบ รบั ผดิ ชอบดำเนนิ การ โดยมี การปกครองทอ้ งถน่ิ ให้มีศักยภาพ คุณธรรม และ
รปู แบบการอบรมขา้ ราชการ จริยธรรม
การพัฒนาส่งเสริม ในสงั กดั - แผนโครงการฝกึ อบรมบคุ ลากรขององคก์ ร
การมคี ณุ ธรรมและ - การพัฒนาบคุ ลากรดว้ ย ปกครองสว่ นท้องถิ่น ประจำปีงบประมาณ 2565
จริยธรรมใหแ้ ก่ การจดั การความรู้ ระหวา่ งเดอื น มกราคม-เมษายน 2565
บุคลากร แผนการจดั การความรู้ของสถาบนั พัฒนาบุคลากร
- การกำหนดแผนปฏบิ ัตกิ าร ทอ้ งถ่นิ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ป้องกันการต่อตา้ นการทจุ รติ - แผนปฏิบัตกิ ารปอ้ งกันการตอ่ ตา้ นการทุจริต และ
และสง่ เสรมิ คณุ ธรรม ส่งเสริมคณุ ธรรม จริยธรรม (พ.ศ. 2562-2564)
จรยิ ธรรม กรมสง่ เสรมิ การปกครองส่วนท้องถิน่
- การต้ังศนู ยท์ ่บี รู ณาการ - การดำเนินการใหค้ วามรูอ้ ยา่ งตอ่ เน่ืองในการให้
การดำเนินงานดา้ นปรัชญา ความรู้เกี่ยวกบั เศรษฐกิจพอเพียง โดยดำเนินการทั้ง
ของเศรษฐกิจพอเพียงอยูใ่ น ในกลุ่มโรงเรยี นของ อปท. ชมุ ชน รวมถงึ ข้าราชการ
กรม ส่วนกลาง ภมู ภิ าค และท้องถ่นิ ทั้งฝา่ ยประจำและ
การเมือง

219

โครงการวจิ ยั
การบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ บนพ้นื ฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะที่ ๑)

ตารางท่ี 4.28 (ต่อ)

มิติ / ปัจจัยประเมิน แนวทางดำเนินการ ตัวอย่าง

มิติท่ี 4 ประโยชนแ์ กอ่ งค์การและสังคม - จากรายงานประจำปี 2563 ดำเนินการตาม
ประเดน็ ยุทธศาสตรช์ าตดิ า้ นความม่ันคง ใน
ผลการดำเนินงาน - ดำเนนิ การบรรลตุ าม โครงการจติ อาสาพระราชทาน ไดด้ ำเนนิ การจดั ตัง้
บรรลตุ ามพนั ธกจิ ประเดน็ ยุทธศาสตรข์ องกรม ชดุ ปฏิบตั กิ ารจติ อาสาภัยพิบตั ิองค์กรปกครองส่วน
และเป้าหมายของ ดำเนินการการส่งผลงานเขา้ ทอ้ งถิ่นในองค์การบรหิ ารส่วนตำบล/เทศบาลตำบล
องคก์ าร ประกวดในกรมเพื่อกระต้นุ ทกุ แห่ง
ผลงาน - การประกวดคดั เลอื กจงั หวัดทมี่ กี ารจดั การขยะมลู
ฝอยต่อชมุ ชนจงั หวัด ระดับประเทศ ประจำปี
ความสามารถใน - การบรหิ ารความเส่ยี งและ พ.ศ. 2562 ได้มอบรางวลั ณ วันท่ี 21 กันยายน
การเผชญิ หรือ การควบคุมภายใน 2565
สนองต่อการ - หนังสอื กรมสง่ เสรมิ การปกครองทอ้ งถ่ิน เรือ่ ง
เปลี่ยนแปลงได้ หลกั เกณฑ์กระทรวงการคลงั ว่าด้วยมาตรฐานและ
หลกั เกณฑ์ปฏบิ ตั ิการควบคมุ ภายในสำหรบั
หน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2561

4.3 ผลการประเมนิ ความเป็นเศรษฐกจิ พอเพยี งดว้ ยแบบสำรวจ

ดงั ทไี่ ดอ้ ธิยายไว้ในบทท่ี 3 สำหรบั การวิจยั เชิงปรมิ าณได้กำหนดเกณฑก์ ารประเมินความเป็น
เศรษฐกิจพอเพียงทมี่ าจากข้อมูลการสำรวจความคิดเหน็ จากเจา้ หน้าท่ีผู้ปฏบิ ตั ิ ได้กำหนดเป็นคะแนน
เต็ม 100 ในแต่ละระดบั (เขา้ ข่าย เข้าใจ และเข้าถึง) และกำหนดเกณฑ์การประเมินที่แตกต่างกันใน
แต่ละระดบั ดงั น้ี 1) ระดับเข้าข่าย พจิ ารณาการผา่ นเกณฑ์ท่ีรอ้ ยละ 80 2) ระดบั เขา้ ใจ พิจารณาการ
ผ่านเกณฑ์ที่ร้อยละ 90 และ 3) ระดับเข้าถึง พิจารณาการผ่านเกณฑ์ท่ีร้อยละ 95 โดยหน่วยงานต้อง
มีผลการประเมินผ่านเกณฑ์ในระดับก่อนหน้าก่อน ถึงจะพิจารณา ผลการประเมินในระดับถัดไป
เช่นเดยี วกบั การวิจัยเชิงคุณภาพ

220

สถาบนั บัณฑติ พฒั นบริหารศาสตร์

4.3.1 ขอ้ มูลผ้ตู อบแบบสำรวจ
ผู้วิจัยดำเนินการสำรวจความคิดเห็น ในระหว่างวันที่ 23 พฤศจิกายน 2564 ถึง วันที่ 10
มกราคม 2565 ได้แบบสำรวจกลับมาในกลุ่มตัวอย่างเป้าหมายเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานส่วนกลาง
สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จำนวน 1,199 ราย (คิดเป็นร้อยละ 94.26 ของเป้าหมายกลุ่ม
ตวั อยา่ ง) และ สังกดั กระทรวงมหาดไทย จำนวน 429 ราย (คิดเปน็ ร้อยละ 67.67 ของเป้าหมายกลุ่ม
ตวั อยา่ ง) มีรายละเอียดขอ้ มูลผู้ตอบแบบสำรวจแสดงดังตารางท่ี 4.29 และ 4.30

ตารางท่ี 4.29
ข้อมูลของผ้ตู อบแบบสำรวจความคดิ เห็น กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (n=1,199)

ขอ้ มูลผ้ตู อบแบบสำรวจ ความถ่ี รอ้ ยละ
1. เพศ (gender)
412 34.36
1.1 ชาย 784 65.39
1.2 หญงิ 3 0.25
1.3 อืน่ ๆ
2. อายุ (age) 199 16.60
2.1 ชว่ งอายุ ไม่เกิน 30 ปี 401 33.44
2.2 ชว่ งอายุ 31 - 40 ปี 378 31.53
2.3 ช่วงอายุ 41 - 50 ปี 217 18.10
2.4 ช่วงอายุ 51 - 60 ปี 4 0.33
2.5 ช่วงอายุ 61 ปีข้ึนไป
3. ระดบั การศกึ ษา (education levels) 3 0.25
3.1 มธั ยมศึกษาตอนตน้ 16 1.33
3.2 มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย/ปวช. 59 4.92
3.3 อนุปรญิ ญา/ปวส. 644 53.71
3.4 ปริญญาตรี 448 37.36
3.5 ปรญิ ญาโท 29 2.42
3.6 ปริญญาเอก

221

โครงการวจิ ยั ความถ่ี รอ้ ยละ
การบริหารราชการแผน่ ดินบนพ้ืนฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะที่ ๑)
833 69.47
ตารางที่ 4.29 (ต่อ) 280 23.35
295 24.60
ขอ้ มูลผู้ตอบแบบสำรวจ 243 20.27
4. ตำแหน่ง/ระดับ (positions / levels) 12 1.00
0 0.00
4.1 ประเภทวชิ าการ 3 0.25
4.1.1 ระดับปฏิบตั ิการ 203 16.93
4.1.2 ระดบั ชำนาญการ 126 10.51
4.1.3 ระดับชำนาญการพเิ ศษ 51 4.25
4.1.4 ระดบั เชยี่ วชาญ 22 1.83
4.1.5 ระดบั ผทู้ รงคุณวฒุ ิ 3 0.25
ไม่ระบุ (ระดับ) 1 0.08
144 12.01
4.2 ประเภททวั่ ไป 13 1.08
4.2.1 ระดบั ปฏบิ ัติงาน 1 0.08
4.2.2 ระดบั ชำนาญงาน 1 0.08
4.2.3 ระดบั อาวุโส 0 0.00
4.2.4 ระดับทกั ษะพเิ ศษ 0 0.00
ไมร่ ะบุ (ระดับ) 5 0.42

4.3 พนกั งานราชการ 88 7.34
4.4 จา้ งเหมาบริการ 2 0.17
4.5 ลกู จ้าง 86 7.17
93 7.76
4.5.1 ลูกจ้างประจำ
4.5.2 ลูกจา้ งช่วั คราว
4.6 เจ้าหน้าท่ีสนับสนนุ
4.7 ไมร่ ะบุ
5. หน่วยงานสังกัด (department)
5.1 สำนกั งานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
5.2 กรมหม่อนไหม
5.3 กรมฝนหลวงและการบนิ เกษตร
5.4 กรมพัฒนาท่ดี ิน

222

สถาบนั บณั ฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์

ตารางที่ 4.29 (ต่อ)

ขอ้ มูลผตู้ อบแบบสำรวจ ความถ่ี ร้อยละ
5.5 กรมวิชาการเกษตร 143 11.93
5.6 กรมส่งเสรมิ การเกษตร 95 7.92
5.7 กรมสง่ เสรมิ สหกรณ์ 79 6.59
5.8 สำนกั งานการปฏริ ูปที่ดนิ เพื่อเกษตรกรรม 146 12.18
5.9 กรมการข้าว 89 7.42
5.10 กรมประมง 46 3.84
5.11 กรมปศุสตั ว์ 99 8.26
5.12 กรมชลประทาน 77 6.42
5.13 กรมตรวจบญั ชีสหกรณ์ 24 2.00
5.15 สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตร 80 6.67
5.14 สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ 52 4.34

ตารางที่ 4.30
ข้อมลู ของผตู้ อบแบบสำรวจความคิดเหน็ กระทรวงมหาดไทย (n=429)

ขอ้ มูลผู้ตอบแบบสำรวจ ความถ่ี รอ้ ยละ
1. เพศ (gender)
167 39.14
1.1 ชาย 259 60.17
1.2 หญิง 3 0.69
1.3 อ่ืน ๆ
2. อายุ (age) 93 22.20
2.1 ชว่ งอายุ ไม่เกนิ 30 ปี 126 28.83
2.2 ช่วงอายุ 31 - 40 ปี 132 30.66
2.3 ชว่ งอายุ 41 - 50 ปี 77 18.08
2.4 ช่วงอายุ 51 - 60 ปี 1 0.23
2.5 ช่วงอายุ 61 ปขี ้นึ ไป

223

โครงการวิจยั ความถ่ี รอ้ ยละ
การบริหารราชการแผ่นดินบนพ้นื ฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะท่ี ๑)
0 0.00
ตารางท่ี 4.30 (ต่อ) 7 1.60
20 4.58
ข้อมูลผู้ตอบแบบสำรวจ 209 47.82
3. ระดบั การศึกษา (education levels) 189 44.63
4 1.37
3.1 มัธยมศึกษาตอนต้น
3.2 มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย/ปวช. 278 64.80
3.3 อนปุ ริญญา/ปวส. 78 18.18
3.4 ปริญญาตรี 147 34.27
3.5 ปริญญาโท 51 11.89
3.6 ปรญิ ญาเอก 2 0.47
4. ตำแหน่ง/ระดับ (positions / levels) 0 0.00
4.1 ประเภทวิชาการ 88 20.51
31 7.23
4.1.1 ระดบั ปฏบิ ัตกิ าร 56 13.05
4.1.2 ระดบั ชำนาญการ 1 0.23
4.1.3 ระดับชำนาญการพเิ ศษ 0 0.0
4.1.4 ระดับเชี่ยวชาญ 45 10.49
4.1.5 ระดับผทู้ รงคุณวฒุ ิ 3 0.70
4.2 ประเภทท่วั ไป 7 1.63
4.2.1 ระดับปฏบิ ัตงิ าน 1 0.23
4.2.2 ระดบั ชำนาญงาน 6 1.40
4.2.3 ระดับอาวโุ ส 6 1.40
4.2.4 ระดบั ทกั ษะพิเศษ 2 0.47
4.3 พนักงานราชการ
4.4 จ้างเหมาบริการ
4.5 ลกู จา้ ง
4.5.1 ลกู จา้ งประจำ
4.5.2 ลูกจ้างช่ัวคราว
4.6 เจ้าหน้าท่ีสนบั สนุน
4.7 ไมร่ ะบุ

224

สถาบนั บณั ฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์

ตารางท่ี 4.30 (ต่อ)

ข้อมูลผ้ตู อบแบบสำรวจ ความถ่ี รอ้ ยละ
5. หน่วยงานสงั กดั (department)
93 21.68
5.1 สำนกั งานปลดั กระทรวงมหาดไทย 96 22.38
5.2 กรมโยธาธิการและผังเมือง 100 23.31
5.3 กรมทด่ี นิ 63 14.69
5.4 กรมการปกครอง 12 2.80
5.5 กรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย 50 11.66
5.6 กรมการพฒั นาชมุ ชน 15 3.50
5.7 กรมส่งเสรมิ การปกครองสว่ นท้องถิ่น

4.3.2 ผลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงจากมมุ มองเจา้ หน้าทผี่ ปู้ ฏิบัติ
ผลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ แสดงไว้ในตารางที่ 4.31 และตารางที่ 4.32 แสดงผลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจ
พอเพยี งขอกระทรวงมหาดไทย

ตารางท่ี 4.31
ผลการประเมินความเปน็ เศรษฐกิจพอเพียงจากมุมมองของผูป้ ฏิบัติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ลำดบั หนว่ ยงาน ผลการประเมินความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพียง
ท่ี จากมุมมองของผปู้ ฏบิ ตั ิ

1 สำนกั งานปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ระดับเข้าข่าย ระดบั เขา้ ใจ ระดบั เขา้ ถงึ
2 กรมหม่อนไหม* 81.53 80.94 81.06
3 กรมฝนหลวงและการบนิ เกษตร N/A N/A N/A
4 กรมพฒั นาท่ดี ิน 87.60 86.03 87.02
5 กรมวิชาการเกษตร 84.32 83.25 84.13
6 กรมส่งเสรมิ การเกษตร 81.97 81.24 81.51
7 กรมสง่ เสรมิ สหกรณ์ 85.23 83.88 84.23
8 สำนักงานการปฏริ ปู ทีด่ ินเพือ่ เกษตรกรรม 80.77 79.82 78.35
81.25 79.35 78.32

225

โครงการวิจัย
การบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ บนพน้ื ฐานหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะท่ี ๑)

ตารางที่ 4.31 (ตอ่ )

ลำดบั หน่วยงาน ผลการประเมนิ ความเป็นเศรษฐกจิ พอเพียง
ท่ี จากมมุ มองของผปู้ ฏิบตั ิ

9 กรมการขา้ ว ระดับเข้าข่าย ระดบั เข้าใจ ระดับเข้าถงึ
10 กรมประมง 85.58 85.29 85.00
11 กรมปศุสตั ว์ 82.01 80.80 80.23
12 กรมชลประทาน 84.03 81.76 78.92
13 กรมตรวจบัญชสี หกรณ์ 89.28 86.50 86.41
14 สำนักงานมาตรฐานสนิ คา้ เกษตรและอาหารแหง่ ชาติ 83.33 82.83 82.15
15 สำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร 87.60 86.03 87.02
ภาพรวม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 85.08 84.13 83.67
83.44 82.35 82.13

หมายเหต.ุ * ไม่มผี ลการประเมินแยกของหนว่ ยงาน เนอ่ื งจากผตู้ อบแบบสำรวจไม่ครบตามเกณฑพ์ ิจารณา

ตารางท่ี 4.31 แสดงผลการประเมินความเป็นเศรษฐกจิ พอเพียงจากมมุ มองของผู้ปฏิบัติ ของ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในภาพรวม มีผลการประเมินผ่านเกณฑ์ในระดับเข้าข่าย
(83.44 คะแนน) และเมื่อพิจารณาแยกเป็นรายหน่วยงาน พบว่า มีผลการประเมินในระดับเข้าเข่าย
จำนวน 14 หน่วยงาน โดยมีผลคะแนนเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ กรมชลประทาน
(89.28 คะแนน), กรมฝนหลวงและการบนิ เกษตร (87.60 คะแนน), สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตร
และอาหารแห่งชาติ (87.60 คะแนน), กรมการข้าว (85.58 คะแนน), กรมส่งเสริมการเกษตร
(85.23 คะแนน), สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (85.08 คะแนน), กรมพฒั นาที่ดนิ (84.32 คะแนน),
กรมปศสุ ตั ว์ (84.03 คะแนน), กรมตรวจบญั ชสี หกรณ์ (83.33 คะแนน), กรมประมง (82.01 คะแนน),
กรมวิชาการเกษตร (81.97 คะแนน), สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (81.53 คะแนน),
สำนกั งานการปฏริ ูปที่ดนิ เพื่อเกษตรกรรม (81.25 คะแนน) และกรมส่งเสริมสหกรณ์ (80.77 คะแนน)
และยงั ไมม่ ีหน่วยงานใด ทมี่ ผี ลการประเมินผา่ นเกณฑใ์ นระดับเข้าใจและระดับเข้าถึง

226

สถาบันบัณฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์

ตารางที่ 4.32
ผลการประเมินความเป็นเศรษฐกจิ พอเพียงจากมมุ มองของผู้ปฏบิ ัติ กระทรวงมหาดไทย

ลำดบั หนว่ ยงาน ผลการประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพยี งจาก
ที่ มมุ มองของผปู้ ฏิบตั ิ

1 สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ระดบั เข้าข่าย ระดับเขา้ ใจ ระดับเข้าถงึ
2 กรมโยธาธกิ ารและผังเมือง 84.86 84.37 83.68
3 กรมทด่ี นิ 86.68 85.98 84.99
4 กรมการปกครอง 86.80 85.61 85.41
5 กรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั * 84.86 84.37 83.68
6 กรมการพฒั นาชมุ ชน N/A N/A N/A
7 กรมส่งเสรมิ การปกครองสว่ นท้องถ่นิ * 83.60 82.66 83.04
ภาพรวม กระทรวงมหาดไทย N/A N/A N/A
85.89 84.87 84.56

หมายเหต.ุ * ไมม่ ผี ลการประเมินแยกของหน่วยงาน เนอ่ื งจากผูต้ อบแบบสำรวจไมค่ รบตามเกณฑพ์ จิ ารณา

ตารางที่ 4.32 แสดงผลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงจากมุมมองของผู้ปฏิบัติ
ของกระทรวงมหาดไทย ในภาพรวม มีผลการประเมินผ่านเกณฑ์ในระดับเข้าข่าย (85.89 คะแนน)
และเมื่อพิจารณาแยกเป็นรายหน่วยงาน พบว่า มีผลการประเมินในระดับเข้าข่าย จำนวน
5 หน่วยงาน โดยมีผลคะแนนเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ กรมที่ดิน (86.80 คะแนน),
กรมโยธาธิการและผังเมือง (86.68 คะแนน), สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย (86.49 คะแนน),
กรมการปกครอง (84.68 คะแนน) และกรมการพัฒนาชุมชน (83.60 คะแนน) และยังไม่มี
หน่วยงานใดที่มีผลการประเมนิ ผา่ นเกณฑใ์ นระดบั เข้าใจและระดับเข้าถงึ

4.3.3 ผลการประเมินความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพียงรายมิติ
ผลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงจากมุมมองของผู้ปฏิบัติ พิจารณาแยกรายมิติ
ท้ัง 4 มิติ ประกอบด้วย
มิตทิ ี่ 1 การจัดทำแผนแบบมีส่วนร่วม
มติ ทิ ี่ 2 การบริหารงานเป็นระบบและโปรง่ ใส
มติ ิที่ 3 บุคลากรเกง่ และมคี ณุ ธรรม

227

โครงการวจิ ัย
การบริหารราชการแผน่ ดินบนพืน้ ฐานหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะที่ ๑)

มิตทิ ี่ 4 ผลประโยชนแ์ กอ่ งคก์ ารและสงั คม
โดยมีผลการประเมิน ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ แสดงดังตารางที่ 4. 33 และ
กระทรวงมหาดไทย แสดงดังตารางที่ 4.34

ตารางท่ี 4.33
ผลการประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพยี งจากมุมมองของผูป้ ฏิบตั ิ แยกรายมติ ิ กระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์

ลำดบั หนว่ ยงาน ผลการประเมินความเป็นเศรษฐกจิ พอเพียง
ท่ี จากมมุ มองของผปู้ ฏบิ ตั ิ แยกรายมิติ

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มติ ิที่ 1 มิติท่ี 2 มิติที่ 3 มติ ิที่ 4

1 สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 81.89 80.15 79.49 78.33
2 กรมหม่อนไหม* N/A N/A N/A N/A
3 กรมฝนหลวงและการบนิ เกษตร 88.66 87.89 86.38 85.76
4 กรมพฒั นาที่ดิน 85.95 84.32 83.24 82.99
5 กรมวิชาการเกษตร 83.23 81.38 82.10 80.58
6 กรมสง่ เสรมิ การเกษตร 86.16 85.23 84.30 83.28
7 กรมสง่ เสรมิ สหกรณ์ 82.91 79.03 78.80 78.76
8 สำนักงานการปฏริ ปู ทด่ี ินเพ่ือเกษตรกรรม 85.31 82.37 81.47 80.90
9 กรมการขา้ ว 82.73 80.34 80.97 80.92
10 กรมประมง 85.29 81.45 81.30 82.90
11 กรมปศุสตั ว์ 82.90 81.26 81.20 79.85
12 กรมชลประทาน 86.95 85.82 85.67 84.00
13 กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ 89.53 87.24 87.92 86.15
14 สำนกั งานมาตรฐานสนิ คา้ เกษตรและอาหารแห่งชาติ 84.65 83.94 84.74 84.07
15 สำนักงานเศรษฐกจิ การเกษตร 83.84 82.59 82.59 79.41
84.70 82.79 82.53 81.58
ภาพรวม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

หมายเหต.ุ * ไมม่ ผี ลการประเมินแยกของหนว่ ยงาน เน่ืองจากผตู้ อบแบบสำรวจไมค่ รบตามเกณฑพ์ ิจารณา

ตารางที่ 4.33 แสดงผลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงจากมุมมองของผู้ปฏิบัติ
ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ แยกรายมิติ โดยผลการประเมนิ ท้ัง 4 มิติ มีรายละเอียดดงั ต่อไปนี้

228

สถาบนั บณั ฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์

มิติที่ 1 การจัดทำแผนแบบมีส่วนร่วม มีผลการประเมินในภาพรวมของกระทรวงเกษตร
และสหกรณ์ ร้อยละ 84.70 และเม่ือพจิ ารณาแยกเป็นรายหน่วยงาน มผี ลการประเมินเรยี งลำดบั จาก
มากไปหาน้อย ได้แก่ กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ (ร้อยละ 89.53), กรมฝนหลวงและการบินเกษตร
(ร้อยละ 88.66), กรมชลประทาน (ร้อยละ 86.95), กรมส่งเสริมการเกษตร(ร้อยละ 86.16),
กรมพัฒนาที่ดิน (ร้อยละ 85.95), สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ร้อยละ 85.31),
กรมประมง (ร้อยละ 85.29), สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (ร้อยละ 84.65),
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (ร้อยละ 83.84), กรมวิชาการเกษตร (ร้อยละ 83.23), กรมส่งเสริม
สหกรณ์ (ร้อยละ 82.91), กรมปศุสัตว์ (ร้อยละ 82.90), กรมการข้าว (ร้อยละ 82.73) และสำนักงาน
ปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ร้อยละ 81.89)

มิติที่ 2 การบริหารงานเป็นระบบและโปร่งใส มีผลการประเมินในภาพรวมของกระทรวง
เกษตรและสหกรณ์ ร้อยละ 82.79 และเมื่อพิจารณาแยกเป็นรายหน่วยงาน มีผลการประเมิน
เรยี งลำดบั จากมากไปหาน้อย ไดแ้ ก่ กรมฝนหลวงและการบนิ เกษตร (ร้อยละ 87.89), กรมตรวจบัญชี
สหกรณ์ (ร้อยละ 87.24), กรมชลประทาน (ร้อยละ 85.82), กรมส่งเสริมการเกษตร(ร้อยละ 85.23),
กรมพัฒนาที่ดิน (ร้อยละ 84.32), สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ
(ร้อยละ 83.94), สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (ร้อยละ 82.59), สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ
เกษตรกรรม (ร้อยละ 82.37), กรมประมง (ร้อยละ 81.45), กรมวิชาการเกษตร (ร้อยละ 81.38),
กรมปศุสัตว์ (ร้อยละ 81.26), กรมการข้าว (ร้อยละ 80.34), สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ (ร้อยละ 80.15) และกรมสง่ เสริมสหกรณ์ (ร้อยละ 79.03)

มิติที่ 3 บุคลากรเก่งและมีคุณธรรม มีผลการประเมินในภาพรวมของกระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ ร้อยละ 82.53 และเมอ่ื พิจารณาแยกเป็นรายหน่วยงาน มีผลการประเมนิ เรียงลำดับจากมาก
ไปหาน้อย ได้แก่ กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ (ร้อยละ 87.92), กรมฝนหลวงและการบินเกษตร (ร้อยละ
86.38), กรมชลประทาน (ร้อยละ 85.67), สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ
(ร้อยละ 84.74), กรมส่งเสรมิ การเกษตร(ร้อยละ 84.30), กรมพัฒนาท่ดี นิ (รอ้ ยละ 83.24), สำนกั งาน
เศรษฐกจิ การเกษตร (ร้อยละ 82.59), กรมวิชาการเกษตร (รอ้ ยละ 82.10), สำนกั งานการปฏิรูปท่ีดิน
เพื่อเกษตรกรรม (ร้อยละ 81.47), กรมประมง (ร้อยละ 81.30), กรมปศุสัตว์ (ร้อยละ 81.20),
กรมการข้าว (ร้อยละ 80.97), สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ร้อยละ 79.49) และ
กรมส่งเสรมิ สหกรณ์ (ร้อยละ 78.80)

มิติที่ 4 ผลประโยชน์แก่องค์การและสังคม มีผลการประเมินในภาพรวมของกระทรวง
เกษตรและสหกรณ์ ร้อยละ 81.58 และเมื่อพิจารณาแยกเป็นรายหน่วยงาน มีผลการประเมิน
เรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ (ร้อยละ 86.15), กรมฝนหลวงและการ

229

โครงการวจิ ยั
การบริหารราชการแผ่นดนิ บนพน้ื ฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะที่ ๑)

บินเกษตร (ร้อยละ 85.76), สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (ร้อยละ 84.07),
กรมชลประทาน (ร้อยละ 84.00), กรมส่งเสริมการเกษตร(ร้อยละ 83.28), กรมพัฒนาที่ดิน (ร้อยละ
82.99), กรมประมง (ร้อยละ 82.90), กรมการข้าว (ร้อยละ 80.92), สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพ่ือ
เกษตรกรรม (ร้อยละ 80.90), กรมวิชาการเกษตร (ร้อยละ 80.58), กรมปศุสัตว์ (ร้อยละ 79.85),
สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตร (ร้อยละ 79.41), กรมส่งเสรมิ สหกรณ์ (ร้อยละ 78.76) และ สำนกั งาน
ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (รอ้ ยละ 78.33)

ตารางที่ 4.34
ผลการประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพยี งจากมุมมองของผปู้ ฏบิ ัติ แยกรายมติ ิ กระทรวงมหาดไทย

ลำดับ หน่วยงาน ผลการประเมินความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพยี ง
ท่ี จากมุมมองของผปู้ ฏบิ ตั ิ แยกรายมติ ิ

กระทรวงมหาดไทย มิติที่ 1 มิติท่ี 2 มติ ทิ ี่ 3 มติ ทิ ี่ 4

1 สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย 87.92 84.90 85.46 84.82
2 กรมโยธาธกิ ารและผังเมือง 87.71 86.08 85.14 85.24
3 กรมท่ีดนิ 88.00 85.93 85.77 85.00
4 กรมการปกครอง 86.08 83.54 83.47 84.21
5 กรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย* N/A N/A N/A N/A
6 กรมการพฒั นาชมุ ชน 87.73 84.20 81.50 81.03
7 กรมสง่ เสรมิ การปกครองส่วนท้องถ่ิน* N/A N/A N/A N/A
87.44 84.98 84.60 84.26
ภาพรวม กระทรวงมหาดไทย

หมายเหตุ. * ไมม่ ผี ลการประเมนิ แยกของหน่วยงาน เนอื่ งจากผู้ตอบแบบสำรวจไม่ครบตามเกณฑ์พจิ ารณา

ตารางที่ 4.34 แสดงผลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงจากมุมมองของผู้ปฏิบัติ
ของกระทรวงมหาดไทย แยกรายมติ ิ โดยผลการประเมนิ ทง้ั 4 มิติ มรี ายละเอยี ดดงั ตอ่ ไปน้ี

มิติที่ 1 การจัดทำแผนแบบมีส่วนร่วม มีผลการประเมินในภาพรวมของกระทรวงมหาดไทย ร้อย
ละ 87.44 และเมื่อพิจารณาแยกเป็นรายหน่วยงาน มีผลการประเมินเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่
กรมที่ดิน (ร้อยละ 88.00), สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย (ร้อยละ 87.92), กรมการพัฒนาชุมชน
(ร้อยละ 87.73), กรมโยธาธิการและผงั เมือง (รอ้ ยละ 87.71) และกรมการปกครอง (ร้อยละ 86.08)

230

สถาบันบณั ฑติ พฒั นบริหารศาสตร์

มิติที่ 2 การบริหารงานเป็นระบบและโปร่งใส มีผลการประเมินในภาพรวมของ
กระทรวงมหาดไทย ร้อยละ 84.98 และเมื่อพิจารณาแยกเป็นรายหน่วยงาน มีผลการประเมิน
เรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ กรมโยธาธิการและผังเมือง (ร้อยละ 86.08) , กรมที่ดิน
(ร้อยละ 85.93), สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย (ร้อยละ 84.90), กรมการพัฒนาชุมชน
(รอ้ ยละ 84.20) และกรมการปกครอง (ร้อยละ 83.54)

มิติที่ 3 บุคลากรเก่งและมีคุณธรรม มีผลการประเมินในภาพรวมของกระทรวงมหาดไทย
ร้อยละ 84.60 และเมื่อพิจารณาแยกเป็นรายหน่วยงาน มีผลการประเมินเรียงลำดับจากมากไปหา
น้อย ได้แก่ กรมที่ดิน (ร้อยละ 85.77), สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย (ร้อยละ 85.46),
กรมโยธาธิการและผังเมือง (ร้อยละ 85.14), กรมการปกครอง (ร้อยละ 83.47) และกรมการพัฒนา
ชุมชน (ร้อยละ 81.50)

มิติที่ 4 ผลประโยชน์แก่องค์การและสังคม มีผลการประเมินในภาพรวมของ
กระทรวงมหาดไทย ร้อยละ 84.26 และเมื่อพิจารณาแยกเป็นรายหน่วยงาน มีผลการประเมิน
เรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ กรมโยธาธิการและผังเมือง (ร้อยละ 85.24), กรมที่ดิน
(ร้อยละ 85.00), สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย (ร้อยละ 84.82), กรมการปกครอง
(รอ้ ยละ 84.21) และกรมการพฒั นาชุมชน (รอ้ ยละ 81.03)

4.3.4 ผลการสำรวจด้านความสุขในการปฏิบัติงานในหนว่ ยงาน
ผลสำรวจความคิดเห็นด้านความสุขในการปฏิบัติงานในหน่วยงานจากมุ มมองของ
ผู้ปฏิบัติงานในส่วนงานที่ดำเนินการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ โดยในแบบสำรวจได้ตั้งคำถามว่า
“ท่านมคี วามสุขท่ีได้ปฏบิ ัติงานในหนว่ ยงานนี้” ผลการสำรวจของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ แสดง
ดงั ตารางที่ 4.35 และกระทรวงมหาดไทย แสดงดังตารางที่ 4.36

231

โครงการวจิ ัย
การบรหิ ารราชการแผน่ ดินบนพน้ื ฐานหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ระยะที่ ๑)

ตารางท่ี 4.35
ผลสำรวจความคิดเห็นดา้ นความสุขในการปฏิบตั งิ านของหนว่ ยงานในสังกัด กระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์

ลำดบั หนว่ ยงาน n Max Min Mean Std. Dev. แปลผล
ที่

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

1 สำนกั งานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 88 5 1 4.07 0.67459 มาก

2 กรมหม่อนไหม* N/A N/A N/A N/A N/A N/A

3 กรมฝนหลวงและการบนิ เกษตร 86 5 1 4.48 0.74718 มาก

4 กรมพัฒนาท่ดี นิ 93 5 1 4.16 0.79796 มาก

5 กรมวชิ าการเกษตร 143 5 1 4.14 0.79258 มาก

6 กรมส่งเสรมิ การเกษตร 95 5 3 4.26 0.62246 มาก

7 กรมสง่ เสรมิ สหกรณ์ 79 5 3 4.10 0.70883 มาก

8 สำนกั งานการปฏริ ปู ทดี่ ินเพ่อื เกษตรกรรม 146 5 2 4.14 0.69113 มาก

9 กรมการขา้ ว 89 5 1 4.24 0.78368 มาก

10 กรมประมง 46 5 1 4.20 0.88492 มาก

11 กรมปศุสตั ว์ 99 5 2 4.08 0.75002 มาก

12 กรมชลประทาน 77 5 2 4.38 0.62910 มาก

13 กรมตรวจบญั ชสี หกรณ์ 24 5 3 4.19 0.64446 มาก

14 สำนกั งานมาตรฐานสนิ คา้ เกษตรและอาหารแห่งชาติ 52 5 3 4.17 0.61743 มาก

15 สำนักงานเศรษฐกจิ การเกษตร 80 5 1 3.94 0.84904 มาก

ภาพรวม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 1,199 5 1 4.17 0.74305 มาก

หมายเหตุ. * ไมม่ ผี ลการสำรวจแยกของหน่วยงาน เนือ่ งจากผ้ตู อบแบบสำรวจไม่ครบตามเกณฑพ์ ิจารณา

ตารางที่ 4.35 แสดงผลสำรวจความคดิ เหน็ ด้านความสุขในการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติงานใน
สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในภาพรวมพบว่ากลุ่มตัวอย่าง มีระดับความเห็นเฉลี่ย (Mean)
ที่ 4.17 (SD=0.74305) แปลผลได้ว่ากลุ่มตัวอย่างมีความสุขในการปฏิบัติงานในหน่วยงานในระดับ
มาก และ เมื่อพิจารณาแยกรายหน่วยงาน พบว่า มีหน่วยงานที่มีผลการสำรวจด้านความสุขในการ
ปฏิบัติงาน ในระดับมาก จำนวน 14 หน่วยงาน มีผลค่าเฉลี่ยเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่
กรมฝนหลวงและการบินเกษตร (Mean=4.48, SD= 0.74718), กรมชลประทาน (Mean=4.38,
SD=0.62910), กรมส่งเสริมการเกษตร (Mean=4.26, SD= 0.62246), กรมการข้าว (Mean=4.24,

232

สถาบันบณั ฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์

SD= 0.78368), กรมประมง (Mean=4.20, SD= 0.88492), กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ (Mean=4.19,
SD= 0.64446), สำนักงานมาตรฐานสนิ ค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (Mean=4.17, SD=0.61743),
กรมพัฒนาที่ดิน (Mean=4.16, SD=0.79796), กรมวิชาการเกษตร (Mean=4.14, SD=0.79258),
สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (Mean=4.14, SD=0.69113), กรมส่งเสริมสหกรณ์
(Mean=4.10, SD=0.70883), กรมปศุสัตว์ (Mean=4.08, SD=0.75002), สำนักงานปลัดกระทรวง
เกษตรและสหกรณ์ (Mean=4.07, SD=0.67459) และ สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตร (Mean=3.94,
SD=0.84904)

ตารางท่ี 4.36
ผลสำรวจความคดิ เหน็ ดา้ นความสุขในการปฏิบตั งิ านของหนว่ ยงานในสงั กัด กระทรวงมหาดไทย

ลำดบั หนว่ ยงาน n Max Min Mean Std. Dev. แปลผล
ท่ี
93 5 1 4.20 0.86046 มาก
กระทรวงมหาดไทย 96 5 2 4.27 0.71788 มาก
100 5 2 4.29 0.67112 มาก
1 สำนักงานปลดั กระทรวงมหาดไทย 63 5 3 4.27 0.62750 มาก
N/A N/A N/A N/A N/A N/A
2 กรมโยธาธกิ ารและผงั เมือง 50 5 1 4.02 0.97917 มาก
N/A N/A N/A N/A N/A N/A
3 กรมท่ีดนิ
429 5 1 4.22 0.76762 มาก
4 กรมการปกครอง

5 กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย*

6 กรมการพฒั นาชุมชน

7 กรมสง่ เสรมิ การปกครองสว่ นท้องถ่ิน*

ภาพรวม กระทรวงมหาดไทย

หมายเหต.ุ * ไมม่ ผี ลการสำรวจแยกของหนว่ ยงาน เน่ืองจากผูต้ อบแบบสำรวจไมค่ รบตามเกณฑพ์ จิ ารณา

ตารางท่ี 4.36 แสดงผลสำรวจความคดิ เหน็ ดา้ นความสุขในการปฏิบตั ิงานของผู้ปฏิบัติงานใน
สังกัดกระทรวงมหาดไทย ในภาพรวมพบว่ากลุ่มตัวอย่าง มีระดับความเห็นเฉลี่ย (Mean) ที่ 4.22
(SD=0.76762) แปลผลได้ว่ากลุ่มตัวอย่างมีความสุขในการปฏิบัติงานในหน่วยงานในระดับมาก และ
เมื่อพิจารณาแยกรายหน่วยงาน พบว่า หน่วยงานที่มีผลการสำรวจด้านความสุขในการปฏิบัติงาน
ในระดับมาก จำนวน 5 หน่วยงาน มีผลค่าเฉลี่ยเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ กรมที่ดิน
(Mean=4.29, SD= 0.67112), กรมโยธาธิการและผังเมือง (Mean=4.27, SD= 0.71788),

233

โครงการวิจัย
การบรหิ ารราชการแผน่ ดินบนพืน้ ฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ระยะที่ ๑)

กรมการปกครอง (Mean=4.27, SD= 0.62750), สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย (Mean=4.20,
SD= 0.86046) และ กรมการพัฒนาชมุ ชน (Mean=4.02, SD= 0.97917)

4.3.5 ผลการสำรวจดา้ นความรูค้ วามเขา้ ใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ผลสำรวจความคิดเห็นด้านความรู้ความเข้าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของ
ผู้ปฏิบัติงานในส่วนงานที่ดำเนินการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ โดยในแบบสำรวจได้ตั้งคำถามว่า “ท่านมี
ความรู้ความเข้าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นอย่างดี” มีผลการสำรวจของกระทรวง
เกษตรและสหกรณ์ แสดงดังตารางท่ี 4.37 และ กระทรวงมหาดไทย แสดงดังตารางท่ี 4.38

ตารางท่ี 4.37
ผลสำรวจความคดิ เหน็ ดา้ นความรคู้ วามเข้าใจในหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งของหนว่ ยงานใน
สังกัด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ลำดบั หนว่ ยงาน n Max Min Mean Std. Dev. แปลผล
ที่

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

1 สำนักงานปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 88 5 3 3.99 0.59682 มาก

2 กรมหม่อนไหม* N/A N/A N/A N/A N/A N/A

3 กรมฝนหลวงและการบินเกษตร 86 5 3 4.51 0.60865 มากที่สุด

4 กรมพฒั นาทด่ี ิน 93 5 1 4.31 0.73689 มาก

5 กรมวิชาการเกษตร 143 5 2 4.24 0.60766 มาก

6 กรมส่งเสรมิ การเกษตร 95 5 3 4.33 0.60919 มาก

7 กรมสง่ เสรมิ สหกรณ์ 79 5 1 4.24 0.77153 มาก

8 สำนักงานการปฏริ ปู ทดี่ นิ เพอื่ เกษตรกรรม 146 5 2 4.25 0.61657 มาก

9 กรมการขา้ ว 89 5 3 4.39 0.61456 มาก

10 กรมประมง 46 5 3 4.48 0.54728 มาก

11 กรมปศุสตั ว์ 99 5 1 4.11 0.69892 มาก

12 กรมชลประทาน 77 5 3 4.30 0.58636 มาก

13 กรมตรวจบญั ชีสหกรณ์ 24 5 3 4.31 0.53506 มาก

14 สำนกั งานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแหง่ ชาติ 52 5 2 4.21 0.72319 มาก

15 สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตร 80 5 1 3.99 0.71910 มาก

ภาพรวม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 1,199 5 1 4.25 0.66070 มาก

หมายเหตุ. * ไมม่ ีผลการสำรวจแยกของหนว่ ยงาน เนอื่ งจากผตู้ อบแบบสำรวจไม่ครบตามเกณฑ์พจิ ารณา

234

สถาบนั บณั ฑติ พฒั นบริหารศาสตร์

ตารางที่ 4.37 แสดงผลสำรวจความคิดเห็นด้านความรู้ความเข้าใจในหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงของผู้ปฏิบัติงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในภาพรวมพบว่ากลุ่ม
ตัวอย่าง มีระดับความเห็นเฉลี่ย (Mean) ที่ 4.25 (SD=0.66070) แปลผลได้ว่ากลุ่มตัวอย่างมีความรู้
ความเข้าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในระดับมาก และเมื่อพิจารณาแยกรายหน่วยงาน
พบว่า หน่วยงานที่มีผลการสำรวจความรู้ความเข้าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในระดับ
มากที่สุด จำนวน 1 หน่วยงาน ได้แก่ กรมฝนหลวงและการบนิ เกษตร (Mean=4.51, SD= 0.60865)
และ ในระดับมาก จำนวน 13 หน่วยงาน มีผลค่าเฉลี่ยเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่
กรมประมง (Mean=4.48, SD= 0.54728), กรมการข้าว (Mean=4.39, SD= 0.61456),
กรมส่งเสริมการเกษตร (Mean=4.33, SD= 0.60919), กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ (Mean=4.31,
SD= 0.53506), กรมพัฒนาที่ดิน (Mean=4.31, SD=0.73689), กรมชลประทาน (Mean=4.30,
SD=0.58636), สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (Mean=4.25, SD=0.61657),
กรมวิชาการเกษตร (Mean=4.24, SD=0.60766), กรมส่งเสริมสหกรณ์ (Mean=4.24,
SD=0.77153), สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (Mean=4.21, SD=0.72319),
กรมปศุสัตว์ (Mean=4.11, SD=0.69892), สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
(Mean=3.99, SD=0.59682) และ สำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร (Mean=3.99, SD=0.71910)

ตารางที่ 4.38
ผลสำรวจความคดิ เห็นดา้ นความร้คู วามเข้าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของหน่วยงานใน
สังกัด กระทรวงมหาดไทย

ลำดบั หน่วยงาน n Max Min Mean Std. Dev. แปลผล
ท่ี

กระทรวงมหาดไทย

1 สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย 93 93 5 2 4.27 มาก

2 กรมโยธาธกิ ารและผังเมือง 96 96 5 3 4.33 มาก

3 กรมที่ดนิ 100 100 5 2 4.43 มาก

4 กรมการปกครอง 63 63 5 3 4.21 มาก

5 กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย* N/A N/A N/A N/A N/A N/A

6 กรมการพัฒนาชุมชน 50 50 5 1 4.30 มาก

7 กรมส่งเสรมิ การปกครองสว่ นท้องถิ่น* N/A N/A N/A N/A N/A N/A

ภาพรวม กระทรวงมหาดไทย 429 5 1 4.31 0.62750 มาก

หมายเหตุ. * ไมม่ ีผลการสำรวจแยกของหน่วยงาน เนอื่ งจากผ้ตู อบแบบสำรวจไม่ครบตามเกณฑพ์ จิ ารณา

235

โครงการวจิ ัย
การบริหารราชการแผ่นดินบนพืน้ ฐานหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ระยะท่ี ๑)

ตารางที่ 4.38 แสดงผลสำรวจความคิดเห็นด้านความรู้ความเข้าใจในหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียงของผปู้ ฏบิ ตั งิ านในสงั กดั มหาดไทย ในภาพรวมพบวา่ กลมุ่ ตวั อยา่ ง มีระดบั ความเห็น
เฉลี่ย (Mean) ที่ 4.31 (SD=0.62750) แปลผลได้ว่ากลุ่มตัวอย่างมีความรู้ความเข้าใจในหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงในระดับมาก และเมื่อพิจารณาแยกรายหน่วยงาน พบว่า หน่วยงานที่มีผลการ
สำรวจความรู้ความเข้าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในระดับมาก จำนวน 5 หน่วยงานมี
ผลค่าเฉลี่ยเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ กรมที่ดิน ( Mean=4.43, SD=0.62369),
กรมโยธาธิการและผังเมือง (Mean=4.33, SD=0.59235), กรมการพัฒนาชุมชน (Mean=4.30,
SD=0.67763), ส ำ น ั ก ง า น ป ล ั ด ก ร ะ ท ร ว ง ม ห า ด ไ ท ย ( Mean=4.27, SD=0.67663) แ ล ะ
กรมการปกครอง (Mean=4.21, SD= 0.57245)

4.3.6 ผลการทดสอบเพ่ิมเตมิ นอกเหนือคำถามวิจัยและสมมติฐาน
ผู้วิจัยดำเนินการศึกษาเพิ่มเติมนอกเหนือคำถามวิจัยและสมมติฐาน เพื่อพิจารณา
ความสัมพันธ์ระหว่างระดับความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงของหน่วยงานในด้านที่มีคะแนนผ่านเกณฑ์
การพิจารณา กับระดบั ความสุขในการปฏิบัตงิ านในหน่วยงาน (happy work) และระดับความรู้ความ
เข้าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (SEP knowledge) กำหนดใช้วิธีการวิเคราะหส์ มั ประสิทธิ์
สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร (multiple correlation) ในการวิเคราะห์ผล ทั้งนี้ผู้วิจัยเลือกทดสอบ
เฉพาะความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงในระดับเข้าข่าย เนื่องจากหน่วยงานที่เข้าร่วมการสำรวจมีผลการ
ประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกิจพอเพยี งจากมุมมองของผ้ปู ฏิบตั ิ ผ่านเกณฑเ์ ฉพาะในระดบั เขา้ ข่ายเท่านั้น
ผลการทดสอบและการแปลผลระดับความสัมพันธ์มรี ายละเอยี ดดังต่อไปน้ี

1) ความสัมพันธ์ระหว่าง ความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงระดับเข้าข่ายกับความสุขใน
การปฏบิ ัตงิ าน (happy work)

ผลการทดสอบและการแปลผลระดบั ความสัมพนั ธ์ระหว่างความเปน็ เศรษฐกิจพอเพียงระดับ
เข้าข่าย กับความสุขในการปฏิบัติงาน (happy work) ของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์แสดงผลดงั ตารางที่ 4.39 และกระทรวงมหาดไทย แสดงผลดังตารางที่ 4.40

236

สถาบนั บณั ฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์

ตารางที่ 4.39
ผลการทดสอบสมั ประสิทธสิ์ หสัมพนั ธร์ ะหว่างความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพียงระดับเขา้ ข่าย กับความสขุ
ในการปฏบิ ตั ิงาน (happy work) ของหนว่ ยงานในสังกดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ลำดบั หนว่ ยงาน nR Sig. แปลผล
ที่
0.000 ปานกลาง
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ N/A N/A
0.000 ปานกลาง
1 สำนกั งานปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 88 0.637** 0.000 สูง
0.000 ปานกลาง
2 กรมหม่อนไหม* N/A N/A 0.000 ปานกลาง
0.000 ปานกลาง
3 กรมฝนหลวงและการบนิ เกษตร 86 0.578** 0.000 ปานกลาง
0.000 ปานกลาง
4 กรมพฒั นาทด่ี นิ 93 0.732** 0.000 ปานกลาง
0.000 ปานกลาง
5 กรมวชิ าการเกษตร 143 0.528** 0.000 ปานกลาง
0.008 ตำ่
6 กรมส่งเสรมิ การเกษตร 95 0.653** 0.000 สูง
0.000 ปานกลาง
7 กรมสง่ เสรมิ สหกรณ์ 79 0.675**
0.000 ปานกลาง
8 สำนกั งานการปฏริ ูปทีด่ ินเพ่อื เกษตรกรรม 146 0.650**

9 กรมการข้าว 89 0.695**

10 กรมประมง 46 0.577**

11 กรมปศสุ ตั ว์ 99 0.640**

12 กรมชลประทาน 77 0.542**

13 กรมตรวจบญั ชสี หกรณ์ 24 0.487**

14 สำนกั งานมาตรฐานสินคา้ เกษตรและอาหารแหง่ ชาติ 52 0.722**

15 สำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร 80 0.665**

ภาพรวม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 1,199 0.624**

หมายเหต.ุ * ไมม่ ผี ลการสำรวจแยกของหนว่ ยงาน เน่อื งจากผูต้ อบแบบสำรวจไมค่ รบตามเกณฑ์พิจารณา
** Correlation is significant at the 0.01 level (1-tailed).

ตารางที่ 4.39 แสดงผลการวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพื่อหาระดับความสัมพันธ์
ระหว่างความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงในระดับเข้าข่าย กับ ความสุขในการปฏิบัติงานในหน่วยงาน
(happy work) ในภาพรวมของกระทรวงเกษตรและสหกกรณ์ พบว่ามีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดบั
ปานกลางอย่างมีนัยสำคัญ (r=0.624, p=0.000) และเมื่อพิจารณาแยกรายหน่วยงาน พบว่า
หนว่ ยงานทม่ี คี วามสมั พนั ธ์เชงิ บวกในระดบั สูงอย่างมนี ัยสำคัญ จำนวน 2 หน่วยงาน ได้แก่ กรมพัฒนา

237

โครงการวจิ ยั
การบริหารราชการแผ่นดนิ บนพืน้ ฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะท่ี ๑)

ที่ดิน (r=0.732, p=0.000) และสำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (r=0.722,
p=0.000) หน่วยงานที่มีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับปานกลางอย่างมีนัยสำคัญ จำนวน 11
หน่วยงาน เรียงลำดับความสัมพันธ์จากมากไปหาน้อย ได้แก่ กรมการข้าว (r=0.695, p=0.000),
กรมส่งเสริมสหกรณ์ (r=0.675, p=0.000), สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (r=0.665, p=0.000),
กรมส่งเสริมการเกษตร (r=0.653, p=0.000), สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (r=0.650,
p=0.000), กรมปศสุ ตั ว์ (r=0.640, p=0.000), สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (r=0.637,
p=0.000), กรมฝนหลวงและการบินเกษตร (r=0.587, p=0.000), กรมประมง (r=0.577, p=0.000),
กรมชลประทาน (r=0.542, p=0.000) และ กรมวิชาการเกษตร (r=0.528, p=0.000) และหน่วยงาน
ที่มีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับต่ำอย่างมีนัยสำคัญ จำนวน 1 หน่วยงาน ได้แก่ กรมตรวจบัญชี
สหกรณ์ (r=0.487, p=0.008) จากผลการทดสอบดังกล่าวสามารถแปลผลได้ว่า ถ้าผลการประเมิน
ความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงในระดับเข้าข่ายของหน่วยงานสูงขึ้น ระดับความสุขในการปฏิบัติงานใน
หน่วยงานจะมีแนวโน้มสูงขึ้นเช่นกัน ทั้งในภาพรวมของกระทรวงและรายหน่วยงานในสังกัดของ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ตารางท่ี 4.40
ผลการทดสอบสัมประสิทธ์ิสหสัมพนั ธ์ระหว่างความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงระดับเขา้ ข่าย กบั ความสุข
ในการปฏิบตั งิ าน (happy work) ของหน่วยงานในสงั กัด กระทรวงมหาดไทย

ลำดับ หนว่ ยงาน nR Sig. แปลผล
ที่

กระทรวงมหาดไทย

1 สำนักงานปลดั กระทรวงมหาดไทย 93 0.713** 0.000 สูง
96 0.552** 0.000 ปานกลาง
2 กรมโยธาธิการและผงั เมือง 100 0.734** 0.000 สูง
63 0.631** 0.000 ปานกลาง
3 กรมทดี่ นิ N/A N/A N/A N/A
50 0.636** 0.000 ปานกลาง
4 กรมการปกครอง N/A N/A N/A N/A

5 กรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั * 429 0.659** 0.000 ปานกลาง

6 กรมการพัฒนาชุมชน

7 กรมส่งเสรมิ การปกครองส่วนท้องถนิ่ *

ภาพรวม กระทรวงมหาดไทย

หมายเหต.ุ * ไม่มีผลการสำรวจแยกของหน่วยงาน เน่อื งจากผู้ตอบแบบสำรวจไมค่ รบตามเกณฑพ์ ิจารณา
** Correlation is significant at the 0.01 level (1-tailed).

238

สถาบนั บัณฑติ พฒั นบริหารศาสตร์

ตารางที่ 4.40 แสดงผลการวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพื่อหาระดับความสัมพันธ์
ระหว่างความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงในระดับเข้าข่ายกับความสุขในการปฏิบัติงานในหน่วยงาน
(happy work) ในภาพรวมของกระทรวงมหาดไทย พบว่า มีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดบั ปานกลาง
อย่างมีนัยสำคัญ (r=0.659, p=0.000) และเมื่อพิจารณาแยกรายหน่วยงาน พบว่าหน่วยงานที่มี
ความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับสูงอย่างมีนัยสำคัญ จำนวน 2 หน่วยงาน ได้แก่ กรมที่ดิน (r=0.734,
p=0.000) และ สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย (r=0.713, p=0.000) หน่วยงานที่มีความสัมพันธ์
เชิงบวกในระดับปานกลางอย่างมีนัยสำคัญ จำนวน 3 หน่วยงาน เรียงลำดับความสัมพันธ์จากมากไป
หาน้อย ได้แก่ กรมการพัฒนาชุมชน (r=0.636, p=0.000), กรมการปกครอง (r=0.631, p=0.000)
และ กรมโยธาธกิ ารและผังเมือง (r=0.552, p=0.000)

2) ความสัมพันธ์ระหว่างความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงระดับเข้าข่าย กับ ความรู้ความ
เข้าใจในหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (SEP knowledge)

ผลการทดสอบและการแปลผลระดับความสัมพนั ธ์ระหว่างความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงระดับ
เข้าข่าย กับความรู้ความเข้าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (SEP knowledge) ของ
หน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์แสดงผลดังตารางที่ 4.41 และกระทรวงมหาดไทย
แสดงผลดงั ตารางที่ 4.42

239

โครงการวจิ ยั
การบริหารราชการแผ่นดนิ บนพน้ื ฐานหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ระยะที่ ๑)

ตารางท่ี 4.41
ผลการทดสอบสัมประสิทธิส์ หสมั พนั ธร์ ะหว่างความเป็นเศรษฐกจิ พอเพยี งระดบั เข้าข่ายกับความรู้
ความเข้าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (SEP knowledge) ของหน่วยงานในสังกดั
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ลำดับ หนว่ ยงาน nR Sig. แปลผล
ท่ี
0.000 ตำ่
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ N/A N/A
0.000 ปานกลาง
1 สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 88 0.410** 0.000 ปานกลาง
0.000 ตำ่ มาก
2 กรมหม่อนไหม* N/A N/A 0.000 ปานกลาง
0.000 ปานกลาง
3 กรมฝนหลวงและการบนิ เกษตร 86 0.597** 0.000 ปานกลาง
0.000 ตำ่
4 กรมพัฒนาท่ดี นิ 93 0.500** 0.000 ปานกลาง
0.000 ปานกลาง
5 กรมวชิ าการเกษตร 143 0.261** 0.000 ปานกลาง
0.005 ปานกลาง
6 กรมสง่ เสรมิ การเกษตร 95 0.601** 0.007 ตำ่
0.000 ต่ำ
7 กรมส่งเสรมิ สหกรณ์ 79 0.555**
0.000 ต่ำ
8 สำนักงานการปฏริ ปู ทดี่ ินเพือ่ เกษตรกรรม 146 0.590**

9 กรมการขา้ ว 89 0.461**

10 กรมประมง 46 0.519**

11 กรมปศุสตั ว์ 99 0.502**

12 กรมชลประทาน 77 0.578**

13 กรมตรวจบัญชสี หกรณ์ 24 0.518**

14 สำนักงานมาตรฐานสนิ คา้ เกษตรและอาหารแหง่ ชาติ 52 0.342**

15 สำนักงานเศรษฐกจิ การเกษตร 80 0.389**

ภาพรวม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 1,199 0.477**

หมายเหต.ุ * ไมม่ ผี ลการสำรวจแยกของหนว่ ยงาน เนื่องจากผู้ตอบแบบสำรวจไมค่ รบตามเกณฑพ์ ิจารณา

** Correlation is significant at the 0.01 level (1-tailed).

ตารางที่ 4.41 แสดงผลการวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพื่อหาระดับความสัมพันธ์
ระหว่างความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงในระดับเข้าข่ายกับความรู้ความเข้าใจในหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง (SEP knowledge) ในภาพรวมของกระทรวงเกษตรและสหกกรณ์ พบว่ามี
ความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับต่ำอย่างมีนัยสำคัญ (r=0.477, p=0.000) และเมื่อพิจารณาแยกราย
หน่วยงาน พบว่า หน่วยงานที่มีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับปานกลางอย่างมีนัยสำคัญ จำนวน 9

240

สถาบนั บณั ฑติ พฒั นบริหารศาสตร์

หน่วยงาน เรียงลำดับความสัมพันธ์จากมากไปหาน้อย ได้แก่ กรมส่งเสริมการเกษตร (r=0.601,
p=0.000), กรมฝนหลวงและการบินเกษตร (r=0.597, p=0.000), สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ
เกษตรกรรม (r=0.590, p=0.000), กรมชลประทาน (r=0.578, p=0.000), กรมส่งเสริมสหกรณ์
(r=0.555, p=0.000), กรมประมง (r=0.519, p=0.000), กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ (r=0.518,
p=0.005), กรมปศุสัตว์ (r=0.502, p=0.000) และ กรมพัฒนาที่ดิน (r=0.500, p=0.000) หน่วยงาน
ที่มีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับต่ำอย่างมีนัยสำคัญ จำนวน 4 หน่วยงาน เรียงลำดับความสัมพันธ์
จากมากไปหาน้อย ได้แก่ กรมการข้าว (r=0.461, p=0.000), สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ (r=0.410, p=0.000), สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (r=0.389, p=0.000) และสำนักงาน
มาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (r=0.342, p=0.000) และหน่วยงานที่มีความสัมพันธ์เชงิ
บวกในระดับต่ำมากอย่างมีนัยสำคัญ จำนวน 1 หน่วยงาน ได้แก่ กรมวิชาการเกษตร (r=0.261,
p=0.000) จากผลการทดสอบดังกล่าวสามารถแปลผลได้ว่า ถ้าผลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจ
พอเพยี งในระดับเข้าขา่ ยของหนว่ ยงานสูงข้ึน ความรูค้ วามเข้าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
จะมีแนวโน้มสูงขึ้นเช่นกัน ทั้งในภาพรวมของกระทรวงและรายหน่วยงานในสังกัดของกระทรวง
เกษตรและสหกรณ์

241

โครงการวจิ ัย
การบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ บนพืน้ ฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะท่ี ๑)

ตารางที่ 4.42

ผลการทดสอบสัมประสิทธ์ิสหสัมพนั ธ์ระหว่างความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงระดบั เข้าข่ายกับความรู้
ความเขา้ ใจในหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (SEP knowledge) ของหนว่ ยงานในสงั กดั
กระทรวงมหาดไทย

ลำดับ หนว่ ยงาน nR Sig. แปลผล
ที่

กระทรวงมหาดไทย

1 สำนกั งานปลัดกระทรวงมหาดไทย 93 0.476** 0.000 ต่ำ
96 0.556** 0.000 ปานกลาง
2 กรมโยธาธกิ ารและผังเมอื ง 100 0.537** 0.000 ปานกลาง
63 0.609** 0.000 ปานกลาง
3 กรมที่ดนิ N/A N/A N/A N/A
50 0.707** 0.000 สงู
4 กรมการปกครอง N/A N/A N/A N/A

5 กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย* 429 0.562** 0.000 ปานกลาง

6 กรมการพฒั นาชุมชน

7 กรมสง่ เสรมิ การปกครองส่วนท้องถิ่น*

ภาพรวม กระทรวงมหาดไทย

หมายเหตุ. * ไม่มีผลการสำรวจแยกของหน่วยงาน เนือ่ งจากผตู้ อบแบบสำรวจไมค่ รบตามเกณฑ์พิจารณา
** Correlation is significant at the 0.01 level (1-tailed).

ตารางที่ 4.42 แสดงผลการวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพื่อหาระดับความสัมพันธ์
ระหว่างความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงในระดับเข้าข่าย กับ ความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงระดับเข้าข่าย
กับความรู้ความเข้าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (SEP knowledge) ในภาพรวมของ
กระทรวงมหาดไทย พบว่า มีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับปานกลางอย่างมีนัยสำคัญ (r=0.562,
p=0.000) และ เมอ่ื พิจารณาแยกรายหนว่ ยงาน พบว่า หน่วยงานท่ีมีความสัมพนั ธเ์ ชงิ บวกในระดับสูง
มากอย่างมีนัยสำคัญ จำนวน 1 หน่วยงาน ได้แก่ กรมการพัฒนาชุมชน (r=0.707, p=0.000)
หน่วยงานที่มีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับปานกลางอย่างมีนัยสำคัญ จำนวน 3 หน่วยงาน
เรียงลำดับความสัมพันธ์จากมากไปหาน้อย ได้แก่ กรมการปกครอง (r=0.609, p=0.000),
กรมโยธาธิการและผังเมือง (r=0.556, p=0.000) และกรมที่ดนิ (r=0.537, p=0.000) และ หน่วยงาน
ที่มีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับต่ำอย่างมีนัยสำคัญ จำนวน 1 หน่วยงาน ได้แก่ สำนักงาน
ปลัดกระทรวงมหาดไทย (r=0.476, p=0.000) จากผลการทดสอบดังกล่าวสามารถแปลผลได้ว่า
ถา้ ผลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงในระดับเขา้ ขา่ ยของหนว่ ยงานสูงขึ้น ความรคู้ วามเข้าใจ
242

สถาบันบัณฑติ พฒั นบริหารศาสตร์

ในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจะมีแนวโน้มสูงขึ้นเช่นกนั ทั้งในภาพรวมของกระทรวงและราย
หนว่ ยงานในสงั กัดของกระทรวงมหาดไทย

4.4 การเปล่ียนแปลงการปฏบิ ัติราชการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงก่อน
และหลังการแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019

8 หน่วยงานสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประกอบด้วย สำนกั งานปลัดกระทรวงเกษตร
และสหกรณ์ กรมหม่อนไหม กรมฝนหลวงและการบินเกษตร กรมพัฒนาที่ดิน กรมวิชาการเกษตร
กรมส่งเสริมการเกษตร กรมส่งเสริมสหกรณ์ และสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
มีการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นของหน่วยงานราชการส่วนกลาง ในภาพรวมท่ีเกิดขึ้นภายหลังจาก
การวิจัยเรื่อง การบริหารราชการบนพื้นฐานปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย กัลยาณี เสนาสุ และ
บงกช เจนจรัสสกุล ในปี พ.ศ. 2561-2562 นั้น ถูกสะท้อนให้เห็นการเปลี่ยนแปลงที่ค่อนข้างชัดเจน
ในประเด็นด้านที่เกี่ยวข้องกับการนำเทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาใช้และการปรับเปลี่ยนการกระบวนการ
ดำเนินการที่มีความสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป อันเนื่องมาจากวิกฤตการณ์การแพร่
ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) อาทิ การพัฒนาบุคลากรภายในหน่วยงาน
รวมทั้งเครือข่ายที่เป็นประชาชนด้านการใช้เทคโนโลยีดิจิทลั การปรับเปลีย่ นกระบวนการดำเนนิ การ
และการให้บริการเข้าสู่การดำเนินการและการให้บริการผ่านระบบดิจิทัล เพื่อให้การขับเคลื่อนงาน
ตามภารกิจสามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมาย รวมทั้งยังเป็นการปรับตัวการทำงานภายใต้
การเปลี่ยนแปลงด้านงบประมาณการดำเนินงานที่ลดลง แต่ยังคงสามารถสร้างผลงานที่ตอบสนอง
ความต้องการตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ได้ ผ่านการดำเนินงานที่ให้ความสำคัญกับการดำเนินงาน
เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความคมุ้ ค่ามากที่สุด ทั้งน้กี ารปรับเปล่ียนการดำเนนิ งานใหส้ อดคล้องกับการเปลย่ี นแปลงท่ี
เกิดขึ้นนั้น ยังสะท้อนให้เห็นถึงความสามารถในการเปลี่ยนแปลงหรือความยืดหยุ่นในการดำเนินการ
และการปฏิบัติหน้าที่ตามความรับผิดชอบของบุคลากรในหน่วยงานสังกัดกระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ที่ชัดเจนมากย่ิงข้นึ

ในด้านคุณธรรมจริยธรรมนั้น เมื่อพิจารณาภาพรวมจากคะแนนการประเมินคุณธรรมและ
ความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (ITA) ของหน่วยงานสังกัดกระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ทั้ง 8 หน่วยงาน พบว่า ทุกหน่วยงานนั้น มีการดำเนินการด้านคุณธรรมและความโปร่งใสใน
ระดับ A ทั้ง 8 หนว่ ยงาน อย่างไรก็ตาม หากพจิ ารณาคะแนนประเมิน ITA ในช่วงปี พ.ศ. 2561-2564
ดังแสดงในตาราง 4.43 นั้น จะพบว่าคะแนนการประเมิน ITA ของกรมฝนหลวงและการบินเกษตร

243

โครงการวิจยั
การบรหิ ารราชการแผ่นดินบนพืน้ ฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ระยะท่ี ๑)

และกรมพัฒนาที่ดินนั้น มีแนวโน้มที่สูงขึ้น ทั้งนี้แนวโน้มที่สูงขึ้นของคะแนนการประเมิน ITA นี้
อาจเป็นส่วนที่สามารถสะท้อนการดำเนินงานที่มุ่งเน้นการนำปัจจัยนำเข้าด้านคุณธรรม ภายใต้
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นส่วนในการขับเคลื่อนการดำเนินงานของหน่วยงานได้อย่าง
ชัดเจนอกี ทางหนงึ่

ตาราง 4.43
คะแนนการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (ITA) ของ
8 หน่วยงาน สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

หนว่ ยงาน คะแนนการประเมนิ คุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนนิ งานของ

หนว่ ยงานภาครฐั (ITA)

พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2562 พ.ศ. 2563 พ.ศ. 2564

สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตร 87.75 (A) 87.25 (A) 82.85 (B) 93.86 (A)
และสหกรณ์

กรมหม่อนไหม 74.67 (C) 82.77 (B) 76.85 (B) 89.09 (A)

กรมฝนหลวงและการบนิ เกษตร 80.26 (B) 85.87 (A) 88.06 (A) 92.22 (A)

กรมพัฒนาท่ีดิน 79.72 (B) 87.50 (A) 87.05 (A) 94.47 (A)

กรมวชิ าการเกษตร 87.97 (A) 85.51 (A) 84.28 (B) 92.07 (A)

กรมสง่ เสรมิ การเกษตร 84.39 (B) 90.43 (A) 81.96 (B) 90.60 (A)

กรมส่งเสรมิ สหกรณ์ 90.70 (A) 88.20 (A) 69.96 (C) 93.80 (A)

สำนักงานการปฏริ ูปทดี่ ินเพ่อื 80.14 (B) 86.49 (A) 79.51 (B) 90.22 (A)
เกษตรกรรม

ท่มี า: สำนกั ประเมนิ คณุ ธรรมและความโปร่งใส. (2565). ผลการประเมินรายกระทรวง.

https://itas.nacc.go.th/report/rpt0302

ทั้งนี้ การดำเนินการของแต่ละหน่วยงานนั้น ยังพบความแตกต่างที่มีความเฉพาะเจาะจง

ดงั ตอ่ ไปน้ี

4.4.1. สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
มิติท่ี 1 นโยบาย การวางแผน และการจัดทำแผนแบบมีส่วนร่วม พบว่าสำนักงาน
ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณน์ นั้ มีการกำหนดนโยบาย รวมทั้งแผนยทุ ธศาสตร์ของหน่วยงานและ
ดำเนินการที่ขยายผลมากยิ่งขึ้น โดยมุ่งเน้นการขยายตลาดภายในประเทศสู่ตลาดตา่ งประเทศ อีกท้ัง
ยังมีการผลักดันการดำเนินการที่เน้นการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชน ภายใต้กรอบแนวทาง

244

สถาบนั บัณฑติ พัฒนบริหารศาสตร์

ระดบั นานาชาติ
มิติที่ 2 การบริหารงานอย่างโปร่งใส มีธรรมาภิบาล ไม่มีการกระทำการผิดกฎหมาย พบว่า

สำนกั งานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์นั้นมีการสะท้อนถึงการใช้ข้อมูลมาเป็นสว่ นในการกำหนด
ภารกจิ ทช่ี ัดเจนมากขนึ้

มิติที่ 3 บุคลากรเก่งและมีคุณธรรม สำหรับมิตินี้สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
มีการให้ความสำคัญแก่การสร้างเสริมแรงจงู ใจในการปฏิบตั ิงานผ่านการจัดกิจกรรมที่สามารถเห็นได้
อย่างเป็นรปู ธรรม อาทิ กิจกรรมการประกวดการสร้างนวตั กรรมการปรับปรุงการทำงานระดบั บุคคล
ของสำนกั งาน

มิติที่ 4 ประโยชน์แก่องค์การและสังคม จากการรวบรวมข้อมูลทั้งข้อมูลปฐมภูมิและข้อมูล
ทุติยภูมินั้น ผู้วิจัยไม่พบแผนความเสริมสร้างความผาสุกและความผูกพันของบุคลากรสำหรับ
การดำเนนิ การภายหลงั ปี พ.ศ. 2561

4.4.2. กรมหมอ่ นไหม
มิติที่ 1 นโยบาย การวางแผน และการจัดทำแผนแบบมีส่วนร่วม พบว่ากรมหม่อนไหมได้
มีการกำหนดแผนการปฏิบัติการเพิ่มเติม โดยเป็นแผนปฏิบัติการดิจิทัลของกรม ที่มีความสอดคล้อง
กบั แผนอื่น ๆ ในระดับประเทศและกระทรวง อย่างไรกต็ ามแผนท่ีเกิดใหม่ขา้ งตน้ นั้นจะเร่มิ ดำเนินการ
อย่างเป็นรูปธรรมในปี พ.ศ. 2566
มิติที่ 2 การบริหารงานอย่างโปร่งใส มีธรรมาภิบาล ไม่มีการกระทำการผิดกฎหมาย พบว่า
กรมหม่อนไหมมีการจัดตั้งโครงการภายหลังการเกิดวิกฤติโควิด-19 โดยมีวัตถุประสงค์ให้ผู้มีส่วนได้
ส่วนเสียและเกษตรกร สามารถพึ่งตนเองได้มากยิ่งขึ้นในด้านเศรษฐกิจ ทั้งนี้การดำเนินการที่เกิดขึ้น
นั้น เป็นไปในลักษณะของการสร้างเครือข่ายจากประชาชนในพื้นที่ที่มีการปฏิบัติการ ที่คำนึงถึง
ผูม้ ีสว่ นไดส้ ว่ นเสยี และเกษตรกรให้สามารถพง่ึ พาและแก้ปญั หาได้ด้วยตนเอง
มิติที่ 3 บุคลากรเก่งและมีคุณธรรม พบว่ากรมหม่อนไหมมีการให้ความสำคัญต่อการพัฒนา
บุคลากรด้านเทคโนโลยเี พิ่มขึ้นอย่างชัดเจน โดยจะเห็นได้จากการกำหนดแผนการพัฒนาบุคลากรใน
ด้านเทคโนโลยีดิจิทัลเพิ่มเติม เพื่อให้สอดคล้องกับแผนการพัฒนาด้านที่เกี่ยวข้องในระดับประเทศ
และกระทรวง ทั้งนี้กำหนดการดำเนินการตามแผนการพัฒนาบุคลากรข้างต้นนั้น จะถูกดำเนินการ
อย่างเป็นรูปธรรมในช่วง พ.ศ. 2566-2570 นอกจากนี้กรมหม่อนไหมยังได้แสดงให้เห็นถึงการให้
ความสำคญั ในเรื่องการพฒั นาบุคลากรด้านคุณธรรมและจริยธรรม ผา่ นโครงการที่ม่งุ เน้นการส่งเสริม
จริยธรรม คุณธรรม ตามแผนปฏิบัติการส่งเสริมคุณธรรมของกรมหม่อนไหม กระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ รวมทง้ั มกี ารกำหนดงบประมาณสำหรบั โครงการเหลา่ นอ้ี ยา่ งชดั เจน

245


Click to View FlipBook Version