The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการวิจัย การบริหารราชการแผ่นดิน บนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะที่1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by SEP Action, 2022-04-18 09:28:41

รายงานผลการทำกิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัย

โครงการวิจัย การบริหารราชการแผ่นดิน บนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะที่1)

Keywords: sepaction,เศรษฐกิจพอเพียง

โครงการวิจยั
การบริหารราชการแผ่นดินบนพน้ื ฐานหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะที่ ๑)

เจ้าหนา้ ท่ขี องรัฐ นกั ทฤษฎีและนักธุรกจิ ในทุกระดับใหม้ สี ำนึกในคุณธรรม ความซอ่ื สตั ยส์ ุจริต และให้
มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ
เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สังคม
สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม จากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี” (สำนักงานคณะกรรมการพัฒนา
เศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ, 2544, หน้า ก) ซ่งึ ครอบคลมุ ถงึ การครองชวี ติ และการปฏบิ ัติงานของทุก
คนรวมทั้งเจ้าที่รัฐทุกระดับด้วย ท่ีจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของตนเองให้มีสำนึกในคุณธรรม
ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร
มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ ก่อนที่จะไปชี้นำประชาชนคนอ่ืนให้ปฏบิ ัตติ ามแนวทางหลกั ปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง การวิจัยโครงการนี้เพื่อที่จะชี้ให้เห็นความสำคัญของการปรับประยุกต์ใช้หลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการบริหารและปฏิบัติราชการ ด้วยการสะท้อนออกมาให้เห็นเป็น
วิธีการดำเนินงานในดา้ นตา่ ง ๆ สะท้อนใหเ้ ห็นในวิธีคิด ตลอดจนการดำเนินเป็นปกตใิ นวิถชี ีวติ ซ่ึงเม่ือ
เจ้าหน้าที่ภาครัฐสามารถที่จะดำเนินการได้เช่นนี้แล้วก็จะส่งผลให้การนำปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงไปปรับใช้ท้ังในการกำหนดนโยบาย การวางแผนงาน การบริหารจัดการ ตลอดจนการปฏิบตั ิ
ราชการ เป็นเอกภาพและสามารถเป็นพลังที่ขับเคลื่อนประเทศไทยแนวทางพัฒนาที่กำหนดไว้ว่ายึด
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดังนั้นรัฐบาล/ผู้มีอำนาจตัดสินใจเชิงนโยบายจึงควรที่จะ
กำหนดให้มีการดำเนินการและติดตามการปฏิบัติราชการบนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ออกมาให้ชัดเจน และมีรายละเอียดในการดำเนินการอย่างเป็นรูปธรรม โดยสามารถนำโมเดลการ
ประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงที่ทีมผู้วิจัยพัฒนาขึ้น เป็นเครื่องมือในการกำหนดเป้าหมายและ
ติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการบนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้ รวมทั้งสามารถใช้
แผนที่นำทางการบริหารราชการบนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งที่ทมี ผู้วิจัยจัดทำข้ึนไป
ชี้แนะใหห้ น่วยงานราชการดำเนินการอย่างเป็นรปู ธรรมขน้ึ มาได้

หัวใจสำคัญของโมเดลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงที่ทีมผู้วิจัยพัฒนาขึ้นมาคือ
การพัฒนาทเ่ี รม่ิ จากระดบั บุคคล องคก์ าร ไปจนถึงการพัฒนาสังคมระดับชมุ ชน ประเทศชาติ และ
นานาชาติ ดังจะเห็นได้จากมิติที่ 3 ของโมเดลคอื การให้ความสำคญั แกก่ ารพัฒนาบคุ ลากรภาครัฐโดย
ทางด้านการบม่ เพาะทางคุณธรรมจรยิ ธรรม การแสดงพฤตกิ รรมการเป็นพลเมืองทดี่ ขี ององค์การ และ
การแสดงพฤติกรรมการเป็นพลเมืองที่ดีของสังคม ทางด้านสมรรถนะให้ความสำคัญในการพัฒนา
ความเชี่ยวชาญในงานอาชีพและทักษะด้านเทคโนโลยี ทักษะการคิดให้เท่าทันกับยุคสมัยศตวรรษ
ที่ 21 จนสามารถแปรเปลยี่ นเปน็ นวตั กรรมได้ แตเ่ พยี งเท่าน้อี าจไม่พอ สถานการณโ์ รคระบาดโควิด –
19 ได้ชี้ให้เห็นถึงภัยคุกคามที่อาจเกิดขึ้นโดยไม่รู้ตัว ดังนั้นความสามารถในการเผชิญกับวิกฤติต่างๆ
ได้ มคี วามยดื หยนุ่ ทางอารมณ์ และสามารถกลับตัวสู่สมดุลได้จึงถือเปน็ ทักษะที่จำเป็นและเป็นทักษะ
ที่จะทำให้ยืนหยัดอยู่ได้ไม่ท้อถอย ในส่วนของการพัฒนาองค์การมิติที่ 1 และ 2 ได้สะท้อนให้เห็นถึง

330

สถาบันบัณฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์

การกำหนดเป้าหมายการดำเนินงานที่ต้องคำนึงถึงทั้งวิสัยทัศน์ พันธกิจ ของหน่วยงาน ประเทศชาติ
และสังคมทุกระดับ เมื่อมีทิศทางที่ถูกต้องแล้ว การนำมาบริหารจัดการดำเนินการก็มีความสำคัญไม่
แพก้ ันที่จะต้องจัดการอยา่ งเปน็ ระบบ มกี ารเชอ่ื มโยงบูรณาการกันเพื่อสรา้ งเสรมิ ให้เกิดประสิทธิภาพ
และประสิทธิผล รวมทั้งที่สำคัญคือการพัฒนาองค์การให้มีธรรมาภิบาลและดำเนินการอย่างโปร่ งใส
ตรวจสอบได้ทุกขั้นตอน ระดับสูงสุดของการดำเนินงานราชการกำหนดไว้ให้เป็นไปนอกจากจะเพื่อ
ประโยชน์ขององค์การแล้ว ยังต้องคำนึงถึงประโยชน์ของสังคมทั้งระดับชุมชน ประเทศชาติ และ
นานาชาติอีกด้วย นอกจากนั้นยังมีประเด็นที่สำคัญคือ การดำเนินไม่ได้มุ่งที่การเป็นผู้หยิบยื่ นให้แก่
ประชาชนตลอดไปแต่ยงั ต้องคำนึงถึงการพัฒนาประชาชน เครือข่าย ประชาสังคม ใหพ้ วกเขาสามารถ
ยนื หยัดบนลำแขง้ ของตนเองได้ดว้ ย ซงึ่ จะเห็นไดจ้ ากมติ ิที่ 4 และระดับสงู สุดของมติ ทิ ี่ 2 ดังน้ันภาครัฐ
ควรให้ความสำคัญในการพัฒนาตามแนวคิดปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทั้งการพัฒนาเจา้ หน้าท่รี ัฐ
เพื่อให้สามารถดำรงตนเป็นแบบอย่างได้แม้เมื่อมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงท้ัง
ภายในและภายนอกองค์การ โดยอาศยั ความรอบรู้ ความรอบคอบ รวมท้งั การเสรมิ สรา้ งพน้ื ฐานจิตใจ
ให้มีสำนึกในคุณธรรมจริยธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีจิตสาธารณะ นอกจากนั้นแล้วยังต้องให้
ความสำคัญในการพัฒนาองค์การต่าง ๆ ของรัฐให้สามารถดำเนินงานได้อย่างเป็นระบบ บูรณาการ
ทำงาน สร้างประสิทธิผลและส่งเสริมธรรมาภิบาลและความโปร่งใส เพื่อในที่สุดแล้วการบริหาร
ราชการบนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจะสามารถนำพาให้เกิดการพัฒนา ที่ยั่งยืน
ความสุขแก่ประชาชน และสงั คมทร่ี ม่ เยน็ เปน็ สุขแก่มวลมนยุ ชาตไิ ด้

6.4 ข้อเสนอแนะเชิงการบรหิ ารจดั การภาครฐั

จากผลการวิจัยของโครงการนหี้ น่วยงานภาครัฐสามารถนำไปใชใ้ นการบรหิ ารจัดการไดด้ ังนี้

6.4.1 การประยกุ ต์ใชแ้ ผนท่ีนำทางของการบรหิ ารราชการแผน่ ดินเพื่อดำเนินงานตาม
ยทุ ธศาสตรช์ าติ

ดงั ที่ได้กล่าวในบทที่ 5 หัวขอ้ 5.2 แล้วว่าภาครัฐได้กำหนดแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
เป็นเครื่องมือสำคัญในการถ่ายทอดเป้าหมายและประเด็นยุทธศาสตร์ชาติ รวมทั้งช่วยขับเคลื่อน
ยุทธศาสตร์ให้บรรลุตามเป้าหมายที่วางไว้ในปีพ.ศ. 2580 ในส่วนของแผนแม่บทที่คล้ายกับประเด็น
การบริหารราชการแผ่นดินบนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมากที่สุดคือ ประเด็น
การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐที่เป็นทั้งเป้าหมายและเครื่องมือกลไกใน

331

โครงการวิจยั
การบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ บนพ้นื ฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ระยะท่ี ๑)

การรองรบั การขบั เคลื่อนของยุทธศาสตร์ชาติดา้ นอืน่ ๆ ซึง่ การปรับสมดุลและพฒั นาระบบการบริหาร
จัดการภาครัฐเป็นแผนยอ่ ยของแผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ ประเด็นท่ี 20 การบริการประชาชน
และประสิทธิภาพภาครัฐ อย่างไรก็ตามเมื่อเราวิเคราะห์เปรียบเทียบโมเดลความเป็นเศรษฐกิจ
พอเพียงกับแผนย่อยของแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็น การบริการประชาชนและ
ประสทิ ธภิ าพภาครัฐ แลว้ จะพบวา่ เป้าหมายและตัวชว้ี ัดต่าง ๆ ท่กี ำหนดในแผนยอ่ ยโดยสว่ นใหญ่แล้ว
จะอยู่ในเกณฑ์ระดับเข้าข่ายของโมเดลความเป็นเศรษฐกิจพอเพียง นั่นคือการสะท้อนถึงวิธีการใน
การปฏบิ ัติ มีน้อยท่จี ะสะท้อนถงึ ระดบั เขา้ ใจและระดับเขา้ ถึง ในโครงการวจิ ยั นีท้ มี ผวู้ จิ ยั ไดพ้ ฒั นาแผน
ที่นำทาง (roadmap) การบริหารราชการบนพ้ืนฐานหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยแผนท่ีนำ
ทางประกอบด้วยเป้าหมายเชิงกลยุทธ์ กำหนดเวลาที่ต้องแล้วเสร็จ ความคืบหน้าของการปฏิบัติตาม
เป้าหมายนั้น ณ เวลาปัจจุบัน แนวทางการปฏิบัติ และตัวอย่างโครงการที่หน่วยงานสามารถนำไป
จัดทำเพื่อให้บรรลุตามเป้าหมายที่กำหนดเพื่อการพัฒนาการปฏิบัติราชการให้ประยุกต์หลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงที่มีการพัฒนาขึ้นทั้ง 3 ระดับ ได้แก่ ระดับเข้าข่าย ที่จะสะท้อนให้เห็นถึงการ
เป็นองค์การที่ยั่งยืน ระดับเข้าใจ ที่ที่จะสะท้อนให้เห็นถึงการเป็นองค์การแห่งความสุข และระดับ
เขา้ ถึง ทจี่ ะสะท้อนใหเ้ ห็นถึงการเปน็ องคก์ ารแห่งประโยชนส์ ขุ ได้ ดังนั้นเมอ่ื หน่วยงานภาครัฐนำแผน
ที่นำทางไปปรับประยุกต์ใช้ก็จะสามารถดำเนินการได้ทั้งเพื่อมุ่งการบรรลุเป้าหมายตามแผน
ยุทธศาสตร์ชาติและเพื่อเป็นการยกระดับการบริหารราชการให้มีการยกระดับการประยุกต์ใช้หลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปสู่ระดับที่สูงยิ่งขึ้น หน่วยงานภาครัฐจึงควรนำแผนที่นำทาง
(Roadmap) การบริหารราชการบนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับประยุกต์ใช้ให้
สอดคล้องกับการบริหารราชการภายในหน่วยงานของตนเองเพื่อมุ่งสู่การปฏิบัติราชการให้บรรลุตาม
เป้าหมายยุทธศาสตร์และพัฒนาการปฏิบัติราชการบนพ้ืนฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่สูง
ระดบั ข้ึนไป

6.4.2 การใชโ้ มเดลการประเมินความเปน็ เศรษฐกิจพอเพียงในแผนปฏิบตั กิ ารส่งเสริม
คุณธรรมแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2566-2570)

ในปี พ.ศ. 2565 กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรมเป็นเจ้าภาพในการจัดทำแผนปฏิบัติ
การด้านการส่งเสริมคุณธรรมแห่งชาติ ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2566-2570) โดยแผนนี้เปน็ แผนปฏิบัตกิ ารท่ี
ต่อเนื่องจากแผนแม่บทส่งเสริมคุณธรรมแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2559-2564) ตามมติคณะรัฐมนตรี
เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2559 ที่เป็นแผนส่งเสริมคุณธรรมฉบับแรกของประเทศไทย
โดยมคี ณะกรรมการส่งเสรมิ คณุ ธรรมแห่งชาติ และคณะอนุกรรมการจากผู้แทนหนว่ ยงานทุกภาคสว่ น
เป็นกลไกขับเคลื่อนแผนแม่บทฯ ร่วมกับภาคีเครือข่ายในภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม
แผนปฏิบตั กิ ารด้านการส่งเสริมคุณธรรมแหง่ ชาติ ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2566-2570) เป็นแผนระดับท่ี 3 ท่ี

332

สถาบนั บณั ฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์

เป็นแผนการพัฒนาเชิงประเด็น (Issue-based) และเป็นแผนสืบเนื่องการขับเคลื่อนที่คณะกรรมการ
ส่งเสริมคุณธรรมแหง่ ชาติ ไดน้ ําหลักธรรมในทุกศาสนาท่ีต่างสอนใหม้ นุษย์ทุกคนเป็นคนดี มีคุณธรรม
ในการรักษาสืบสานวิถีชีวิตวัฒนธรรมไทยที่ดีงาม พร้อมทั้งน้อมนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
กําหนดเป็นคุณธรรมที่พึงประสงค์สําหรับสังคมไทยเพื่อนําสู่ความเป็นมนุษย์สมบูรณ์แบบ
ประกอบด้วย “พอเพียง วินัย สุจริต จิตอาสา และกตัญญู” อันครอบคลุมความหมายปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง โดยในแผนปฏิบัตกิ ารด้านการส่งเสริมคุณธรรมแห่งชาติ ระยะที่ 2 นี้ ยังไดก้ ําหนด
กิจกรรมที่ตอ้ งดาํ เนินการของหน่วยงานผูร้ บั ผดิ ชอบ 11 กิจกรรม ซึ่งเมื่อพิจารณาแล้วมี 5 กิจกรรมที่
เกี่ยวข้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ได้แก่ (1) การเชื่อมโยงเครื่องมือการประเมินระดับ
ความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงในการบริหารจัดการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ประยุกต์ปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงจากชุดโครงการวิจัยเรื่องการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั่วประเทศไทย สู่ระบบการประเมนิ ประสิทธิภาพขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นประจําปี ผู้รับผิดชอบคือ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย
(2) การจัดทํามาตรการส่งเสริมให้หน่วยงานภาครัฐนําแนวทางการปฏิบัติราชการบนพื้นฐานปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นคุณค่าหลักในการบริหารองค์กร ผู้รับผิดชอบคือ สํานักงานคณะกรรมการ
พัฒนาระบบข้าราชการ (3) การจัดทํามาตรการส่งเสริมให้หน่วยงานภาครัฐนําแนวทางการปฏิบัติ
ราชการบนพ้ืนฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นคณุ ค่าหลักในการบริหารองค์กร ผู้รบั ผิดชอบคือ
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบข้าราชการ (4) การเชื่อมโยงเครื่องมือการประเมินระดับความ
เป็นเศรษฐกิจพอเพียงในการบริหารจัดการของหน่วยงานภาครัฐจากผลงานวิจัยสู่ระบบการประเมิน
คุณธรรมและความโปร่งใสในการดําเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (ITA) ผู้รับผิดชอบคือ สํานักงาน
คณะกรรมการป้องและปราบปรามการทุจริตแหง่ ชาติ (5) การจดั ทําแนวทางดําเนินการพฒั นาองค์กร
สู่การยกระดับการบริหารจัดการองค์กรไปสู่ราชการ 4.0 และน้อมนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เชิงประจักษ์ (PMQA 4.0 - SEP Roadmap) ผู้รับผิดชอบคือ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบ
ขา้ ราชการ (คณะอนุกรรมการดา้ นวิชาการการส่งเสริมคุณธรรมในสังคมไทย, 2565)

หากแผนปฏิบัติการส่งเสริมคุณธรรมแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2566-2570) สามารถนำมา
ขับเคลื่อนให้ปฏิบัติได้ตามกิจกรรมที่นำเสนอก็จะเห็นได้ว่าสามารถนำโมเดลการประเมินความเป็น
เศรษฐกิจพอเพียงและแผนทีน่ ำทางการบริหารราชการบนพืน้ ฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ไปใชใ้ หเ้ กดิ ผลได้ในกจิ กรรมดังกล่าวข้างตน้

333

โครงการวิจยั
การบริหารราชการแผน่ ดนิ บนพนื้ ฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะท่ี ๑)

6.4.3 การใชโ้ มเดลการประเมินความเปน็ เศรษฐกิจพอเพียง (SEP) ควบคไู่ ปกบั PMQA 4.0
ดังที่ได้กล่าวในบทที่ 2 หัวข้อ 2.3 แล้วว่า สำนักงาน ก.พ.ร. ได้ส่งเสริมและสนับสนุนใหส้ ่วน
ราชการนำการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector Management Quality
Award: PMQA) ซึ่งเป็นกรอบการบริหารจัดการองค์การ ไปใช้ในการประเมินองค์การด้วยตนเองท่ี
ครอบคลุมภาพรวมในทุกมิติ เพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล
โดยเมื่อทำการวิเคราะห์เปรียบเทียบเกณฑ์การประเมิน PMQA 4.0 กับเกณฑ์การประเมินความเป็น
เศรษฐกิจพอเพียงที่โครงการวิจัยนี้ได้ปรับปรุงขึ้นมาก็จะพบว่ามีความสอดคล้องกันหลายประเด็น
ในหมวด 1 การนำองค์การของ PMQA 4.0 ที่ครอบคลุมถึงระบบการนำองค์การที่สร้างความยั่งยืน
จะคล้ายกับมิติที่ 1 ของ SEP การกำหนดเป้าหมายที่ชัดเจน มีการวางแผนและจัดทำแผนแบบมีสว่ น
รว่ มกบั ผทู้ เ่ี กย่ี วขอ้ งทั้งในและนอกองค์การ หมวด 5 การม่งุ เน้นบคุ ลากร ในประเด็นระบบการจัดการ
บุคลากรตอบสนองยุทธศาสตร์ด้วยการสนับสนุนให้ทำงานอย่างคล่องแคล่วและระบบการพัฒนา
บคุ ลากรใหม้ คี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม ทักษะ ความรู้ ความเช่ยี วชาญ และสามารถตัดสนิ ใจพรอ้ มรับปัญหา
ความซบั ซ้อน จะมคี วามคล้ายกับมิติที่ 3 บคุ ลากรมคี ุณธรรมและเก่ง ท่มี งุ่ พฒั นาบุคลากรให้เป็นผู้ที่มี
คณุ ธรรมจริยธรรม แสดงออกถงึ พฤติกรรมการเป็นพลเมืองดีขององค์การและของสงั คม อีกทงั้ เป็นคน
เก่งงาน เก่งคดิ มคี วามสามารถสร้างสรรค์นวัตกรรม และมคี วามยืดหยุ่นทนทานสามารถปรับตัวกลับ
สสู่ มดุลไดเ้ ม่ือเผชิญปญั หา
อย่างไรก็ตาม PMQA 4.0 และ SEP ก็มีความแตกต่างกนั หลายประการ เริ่มจากจุดมุ่งหมาย
ของ PMQA 4.0 คือการบริหารจัดการองค์การที่ปรับประยุกต์มาจากเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ
ของประเทศสหรัฐอเมริกา หรือ The Malcolm Baldrige Nation Quality Award (MBNQA)
ในขณะที่ SEP มีจุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ องค์การ และสังคมทั้งระดับชุมชน
ประเทศชาติ และนานาชาติ โดยองิ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แม้บางส่วนท่ีเกี่ยวข้องกับ
การบริหารจัดการองค์การจะมีส่วนคล้ายกัน แต่ PMQA 4.0 ก็ยังขาดส่วนที่เป็นแก่นในของประเทศ
ไทยที่ได้ปลูกฝังกันมานับหลายสิบปีว่าทิศทางการพัฒนาประเทศอยู่บนพื้นฐานหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง ดังนั้นนอกจากการใช้ PMQA 4.0 เพ่ือใช้ยกระดับการบริหารจัดการภาครัฐแล้ว
ภาครัฐจึงควรมีการกำหนดให้ใช้โมเดลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อรับประกันถึง
ทศิ ทางในการพัฒนาประเทศให้เปน็ ไปตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงท่ีกำหนดไว้ดว้ ยเช่นกนั

334

สถาบันบัณฑติ พฒั นบริหารศาสตร์

6.5 ขอ้ จำกัดของการวจิ ัยและขอ้ เสนอแนะการวิจยั ในอนาคต

งานวิจัยนี้มีข้อจำกัดบางประการที่ควรบันทึกไว้ก่อนที่จะนำผลการวิจัยไปใช้ในการอ้างอิง
ดังนี้

(1) เนื่องจากการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงของหน่วยงานราชการส่วนกลางระดบั
กระทรวง กรม/สำนักงาน เป็นงานวิจัยเริ่มแรกที่ยังไม่มีผู้วิจัยอื่นทำมาก่อน ดังนั้นการกำหนดเกณฑ์
ในการผ่านความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงของแต่ละระดับจึงเป็นไปในลักษณะอิงตามการวินิจฉัยของ
ผู้วิจัยเป็นหลัก โดยในงานวิจัยครั้งนี้ได้กำหนดเกณฑ์การที่หน่วยงานได้สะท้อนความเป็นเศรษฐกิจ
พอเพียงในแต่ละระดับไว้ที่ร้อยละ 80 สำหรับการวิเคราะห์เชิงคุณภาพที่มีการรวบรวมความคิดเห็น
จากผู้ให้ข้อมลู (ผู้บริหารระดับสงู กลาง และเบื้องต้น) และหลักฐานจากเอกสารข้อมูลทุตยิ ภูมติ ่าง ๆ
{ซึ่งเกณฑ์นี้สูงกว่าเกณฑ์ผ่านที่กำหนดไว้ในงานวิจัยของกัลยาณี เสนาสุ และบงกช เจนจรัสสกุล
(2562) ที่กำหนดไว้ทีร่ อ้ ยละ 70 สำหรับการวิเคราะห์เชิงปริมาณที่มกี ารเก็บรวบรวมข้อมูลจากความ
คดิ เห็นของเจ้าหนา้ ท่ีผู้ปฏิบัติอย่างเดียวไดก้ ำหนดเกณฑ์ผา่ นความเป็นเศรษฐกิจพอเพยี งของระดับเข้า
ข่ายไว้ที่ร้อยละ 80 และกำหนดเกณฑ์ผ่านของระดับเข้าใจและระดับเข้าถึงไว้ที่ร้อยละ 90 และ 95
ตามลำดับ (โครงการวิจัยนี้ใช้การเก็บรวบรวมเชิงปริมาณด้วยแบบสำรวจเป็นครั้งแรก การพิจารณา
เกณฑ์ผา่ นใช้การองิ เปรยี บเทยี บกับผลการประเมนิ จากการวเิ คราะห์เชิงคุณภาพและการพจิ ารณาจาก
เกณฑ์การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินการของหน่วยงานภาครัฐ ของสำนักงาน
คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทจุ ริตแห่งชาติ ซง่ึ เก็บข้อมูลด้วยแบบสำรวจเช่นกัน) ดังน้ัน
การกำหนดเกณฑก์ ารประเมินยังต้องทำการคน้ คว้าและพัฒนาให้เป็นมาตรฐานให้เป็นที่ยอมรบั ท่วั ไป
ในอนาคต นอกจากนน้ั การพัฒนาเกณฑ์การประเมนิ โดยการใช้มุมมองของบุคลากรทุกระดับเชื่อมโยง
เข้าดว้ ยกนั ก็เปน็ ประเดน็ ท่ีทมี ผูว้ จิ ัยตอ้ งดำเนินการต่อไป

(2) ข้อจำกัดอีกประการหนึ่งในการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงของหน่วยงาน
คือการที่ผู้วิจัยไม่ได้ให้น้ำหนักในประเภทหรือความยุ่งยากซับซ้อนของการปฏิบัติงานที่แตกต่างกัน
อย่างมีนัยสำคัญ โดยสาเหตุของความแตกต่างอาจเนื่องมาจากบริบทของบทบาทภาระหน้าท่ี
เช่น ภาระหน้าที่ของบางหน่วยงานเป็นลักษณะการช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุน แก่เกษตรกร
(เช่น กรมพัฒนาที่ดิน กรมส่งเสริมการเกษตร กรมหม่อนไหม กรมการพัฒนาชุมชน) ในขณะที่
ภาระหน้าที่ของบางหน่วยงานเป็นลักษณะงานที่เน้นการกำกับดูแลให้ดำเนินการให้ถูกต้องตาม
กฎหมาย (เช่น สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม) นอกจากนั้นยังมีสาเหตุความยุ่งยากของ
การปฏิบัติงานที่แตกต่างกันเนื่องมาจากบริบทของขอบเขตงานที่เป้าหมายความสำเร็จอาจต้องใช้

335

โครงการวิจยั
การบรหิ ารราชการแผน่ ดินบนพืน้ ฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ระยะที่ ๑)

การบูรณาการจากหลายภาคส่วนรวมทั้งภาคประชาสังคมซึ่งมักมีความคิดเห็นที่แตกต่างกัน เช่น
การจัดวางผังเมืองของกรมโยธาธิการและผังเมือง การออกโฉนดในพื้นที่ป่าไม้ของกรมที่ดิน
การจัดการให้เกษตรกรออกจากพื้นที่ที่เคยเข้าไปครอบครองทำกินแต่ไม่ถูกต้องตามกฎหมาย ของ
สำนกั งานการปฏิรูปท่ีดินเพ่ือเกษตรกรรม เป็นตน้

งานวจิ ยั ในอนาคตอาจทำโดยการตรวจสอบยนื ยนั ความถูกต้องของผลการศกึ ษาในครั้งนี้ด้วย
วิธกี ารไปเก็บข้อมูลจากผู้ท่ีเกย่ี วข้องให้รอบดา้ นมากข้นึ เช่น เก็บข้อมลู จากประชาชนผู้รับบริการของ
หน่วยงาน จากประชาสังคม/เครือข่ายที่เกี่ยวข้อง หรือเก็บข้อมูลด้วยวิธีอื่น ๆ เพิ่มเติม เช่น
การสงั เกตการปฏิบัติราชการ หรอื การติดตามเก็บข้อมูลจากหน่วยงานเดิมเปน็ ระยะ ๆ (longitudinal
study) นอกจากนั้นการศึกษาจากกระทรวงอื่นเพิ่มเติมที่มีบริบทภาระหนา้ ที่แตกต่างออกไป เพื่อมา
ทดสอบว่าผลการศึกษาจะมีความแตกต่างออกไปอย่างไร และการติดตามประเมินผลการปรับ
ประยุกต์โมเดลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงและหรือการนำแผนที่นำทางในการบริหาร
ราชการบนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการปฏิบัติราชการเพื่อนำมาพัฒนา
โมเดลและแผนทน่ี ำทางใหไ้ ด้มาตรฐานยิง่ ข้นึ ต่อไป

336

โครงการวิจยั
การบริหารราชการแผน่ ดินบนพ้นื ฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะที่ ๑)

บรรณานุกรม

กรุงเทพธรุ กจิ . (2563, 12 เมษายน). ยอ้ นไทม์ไลน์ 100 วัน กับสถานการณ์ ‘โควิด-19’.
กรงุ เทพธรุ กจิ . https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/875664

กลุ่มระเบยี บวิธสี ถติ ิ สาํ นกั นโยบายและวชิ าการสถิติ (2564). เทคนิคการส่มตวั อย่างและ
การประมาณค่า.
http://service.nso.go.th/nso/nsopublish/Toneminute/files/55/A3-16.pdf

กลั ยาณี เสนาสุ. (2560). รายงานการวจิ ัย: ปจั จัยท่มี ีผลกระทบต่อความสุขของคนไทย. กรงุ เทพฯ:
สถาบนั บัณฑิตพฒั นบรหิ ารศาสตร.์

กัลยาณี เสนาสุ และ บุษยา วีรกลุ . (2560). การพฒั นาทรัพยากรมนุษย์เพ่ือการพฒั นาอย่างย่งั ยืนของ
ประเทศไทย. รายงานสืบเน่ืองการประชุมวิชาการระดบั ชาติ สถาบันบัณฑติ พฒั นบริหาร
ศาสตร์ ประจำปี 2560 (หน้า 820–852). สถาบันบัณฑติ พัฒนบริหารศาสตร.์

กลั ยาณี เสนาสุ และ บงกช เจนจรัสสกุล. (2562). รายงานวิจัย การบรหิ ารราชการบนพื้นฐานปรชั ญา
ของเศรษฐกจิ พอเพียง. สำนกั งานกองทนุ สนับสนุนการวจิ ยั .

กัลยาณี เสนาสุ และ บงกช เจนจรสั สกลุ . (2564). การพัฒนาทรพั ยากรมนษุ ยส์ ู่ความย่ังยนื : วาดภาพ
หลงั สถานการณ์โรคระบาด. รายงานสืบเนอ่ื งการประชมุ วชิ าการระดับชาติ สถาบัน
บณั ฑิตพฒั นบรหิ ารศาสตร์ ประจำปี 2563. สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.์

คณะอนกุ รรมการขบั เคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง. (2564). เศรษฐกิจพอเพยี งคืออะไร.
https://www.nesdc.go.th/ewt_w3c/ewt_dl_link.php?nid=9202

คณะอนกุ รรมการด้านวิชาการการส่งเสริมคณุ ธรรมในสงั คมไทย. (2565). รา่ งแผนปฏบิ ัตกิ ารส่งเสรมิ
คุณธรรมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2566-2570). เอกสารประกอบการประชุม
คณะอนุกรรมการด้านวชิ าการการส่งเสรมิ คณุ ธรรมในสังคมไทย ครั้งท่ี 1/2565.

จารุวรรณ เมณฑกา. (2546). ความโปร่งใสในการดำเนินการของรัฐ. วารสารผู้ตรวจการแผน่ ดินของ
รฐั สภา, 2(1), 39-47.

ทศิ นา แขมมณ.ี (2546). การพฒั นาคณุ ธรรมจริยธรรมและคา่ นิยม: จากทฤษฎสี กู่ ารปฏิบตั .ิ เสรมิ สิน
พรเี พรส ซสิ เท็ม.

ธนาวิชญ์ จนิ ดาประดษิ ฐ.์ (2564). การพฒั นาคณุ ภาพการบริหารจัดการภาครฐั PMQA 4.0
[PowerPoint slides]. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ.
https://www.opdc.go.th/file/reader/VUhpfHw0MTQ5fHxmaWxlX3VwbG9hZA

337

โครงการวจิ ัย
การบริหารราชการแผ่นดนิ บนพืน้ ฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะที่ ๑)

บังอร โสฬส. (2555). ระเบียบวิธวี ิจยั ทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และองค์การ.
คณะพัฒนาทรัพยากรมนษุ ย์ สถาบนั บณั ฑิตพฒั นาบริหารศาสตร.์

บุญอยู่ ขอพรประเสริฐ. (2554). แนวทางการพฒั นามาตรฐานความโปร่งใสของหน่วยงาน ภาครัฐ.
วารสารวทิ ยาการจดั การ, 28(1), 33-48.

บุญอยู่ ขอพรประเสรฐิ . (2550). ความโปร่งใสของหนว่ ยงานภาครฐั -บทสงั เคราะหน์ ิยาม.
สุทธิปริทศั น์, 21(65), 49-68.

ภาสประภา ตระกูลอินทร์. (2550). สังคมไทยกบั ความโปร่งใสของการเปดิ เผยข้อมูลจากภาครัฐ.
วารสารนักบริหาร, 27(3), 29-31.

ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ที่วา่ ดว้ ยการสร้างระบบการบรหิ ารกจิ การบา้ นเมืองและสงั คมท่ดี ี พ.ศ.
2542. (2542, 10 สิงหาคม). ราชกิจจานุเบกษา, เลม่ ท่ี 116 ตอนท่ี 63ง., หน้า 24-31.

วิทยาลัยการปกครอง. (2564). ขา่ วประชาสมั พันธ์ท่ัวไป. วทิ ยาลัยการปกครอง.
http://www.iadopa.org/

วิทยาลยั พัฒนาชมุ ชน. (2564). หลกั สูตรการฝึกอบรม ประชุม/สัมมนา. วิทยาลัยพฒั นาชมุ ชน.
(https://train.cdd.go.th/download/หลักสูตรการฝึกอบรม

วทิ ยาลยั มหาดไทย. (2564). หลักสตู รการฝึกอบรม.วทิ ยาลัยมหาดไทย.
http://www.stabundamrong.go.th/web/training1.html

ศิรชิ ัย กาญจนวาสี. (2547). ทฤษฎกี ารประเมนิ . โรงพิมพ์แหงจุฬาลงกรณ์.
ศภุ กร ฉายถวลิ , และ กฤชวรรธน์ โล่หว์ ัชรนิ ทร์. (2561). เคร่อื งมือชีว้ ดั ความโปรง่ ใสเว็บไซต์ของ

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. อนิ ฟอร์เมชน่ั , 25(2), 53-67.
สานติ ย์ หนูนลิ . (2556). การพฒั นาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรพั ยากรมนษุ ย์.

วารสารมหาวทิ ยาลยั ศิลปากร, 33(1), 131-148.
สถาบันพระปกเกล้า. (2545). รายงานวิจัย: โครงการศึกษาเพ่อื พัฒนาดชั นีวดั ผลการพฒั นาระบบ

บรหิ ารจัดการท่ี. สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาต.ิ
สถาบนั พัฒนาการชลประทาน. (2564). โครงการฝึกอบรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564.

สถาบนั พัฒนาการชลประทาน. http://idi.rid.go.th/course_training.html

338

โครงการวิจยั
การบริหารราชการแผ่นดินบนพื้นฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะที่ ๑)

สถาบันพฒั นาบุคลากรดา้ นการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั . (2564). ปฏทิ นิ การฝึกอบรมประจำปี
งบประมาณ พ.ศ.2564. สถาบนั พฒั นาบคุ ลากรด้านการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย.
https://idmcd.v24.org/2020/2564-2

สถาบันพัฒนาบุคลากรดา้ นการพฒั นาเมือง. (2564). แผนพฒั นาบุคลากรการฝึกอบรม/สัมมนา
ประจำปี พ.ศ.2564. สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมอื ง.
http://oldoffice.dpt.go.th/udti/images/pdf/total_plan_2564.pdf

สถาบนั พฒั นาบุคลากรท้องถ่ิน. (2564). หลกั สตู รการฝกึ อบรม. สถาบันพฒั นาบุคลากรท้องถ่นิ .
http://www.lpdi.go.th/index.php?option=com_content&view=article&id=76&It
emid=41

สมศักด์ิ สามัคคธี รรม. (2561). ธรรมาภิบาลและความรบั ผดิ ชอบทางสังคม.
สถาบนั บณั ฑิตพฒั นบรหิ ารศาสตร.์

สำนกั ข่าวอิศรา. (2563, 25 พฤษภาคม). เจาะเบอื้ งลึก! หลงั โควิดฯระบาด จนท.ราชการ ‘ทำงานที่
บา้ น’อย่างไร-สำเรจ็ แคไ่ หน?. สำนกั ขา่ วอิศรา.
https://www.isranews.org/article/isranews-scoop/89024-isranews-20.html

สำนักงานคณะกรรมการขา้ ราชการพลเรอื น. (2562). ยทุ ธศาสตร์ชาติ [PowerPoint slides].
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน.
https://www.ocsc.go.th/sites/default/files/attachment/page/99049.pdf

นกั งานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2563). หลกั เกณฑ์สำหรบั ให้ข้าราชการปฏบิ ัตงิ านภายใน
ที่พกั ตามข้อสั่งการของนายกรฐั มนตรี. https://www.ocsc.go.th/node/6011

สำนกั งานคณะกรรมการขา้ ราชการพลเรอื น. (2564). การพัฒนาข้าราชการพลเรือน. สำนักงาน
คณะกรรมการขา้ ราชการพลเรือน.
http://oldoffice.dpt.go.th/udti/images/pdf/total_plan_2564.pdf

สำนักงานคณะกรรมการพฒั นาระบบราชการ. (9 ธนั วาคม 2559). การพัฒนาคุณภาพการบริหาร
จดั การภาครัฐ. สำนักงานคณะกรรมการพฒั นาระบบราชการ:
https://www.opdc.go.th/content/Nzc

สำนกั งานคณะกรรมการพฒั นาระบบราชการ. (2562). คู่มอื การประเมินส่วนราชการตามมาตรการ
ปรับปรุงประสิทธภิ าพในการปฏิบตั ริ าชการของสว่ นราชการ ประจำปีงบประมาณ
พ.ศ. 2562. สำนักงานคณะกรรมการพฒั นาระบบราชการ.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ. (2544). แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คม
แห่งชาติฉบบั ที่ 9. หน้า ก.
https://www.nesdc.go.th/ewt_w3c/more_news.php?cid=230&filename=index

339

โครงการวิจยั
การบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ บนพืน้ ฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะท่ี ๑)

สำนักงานปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สถาบันเกษตราธิการ. (2564). ขออนุมตั ิแผนพัฒนา
บคุ ลากรกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565.
https://www.kst.go.th/uploads/files/PJgom1633338976.pdf

สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. (2564). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2554.
https://dictionary.orst.go.th/

สำนกั งานพฒั นาธุรกรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส.์ (24 มถิ ุนายน 2563). Work From Home ภาครฐั
พร้อมไหม กบั New Normal. https://www.etda.or.th/th/newsevents/pr-
news/Work-From-Home-Government-Sector-Survey.aspx

สำนักงานสภาพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาต.ิ (2561). แผนแมบ่ ทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ.
http://www.nscr.nesdb.go.th

สำนักงานสภาพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ. (2562). รายงานสรุปผลการดำเนนิ การตาม
ยุทธศาสตร์ชาติ ประจำปี 2563 .
http://nscr.nesdc.go.th/%e0%b8%a2%e0%b8%b8%e0%b8%97%e0%b8%98%
e0%b8%a8%e0%b8%b2%e0%b8%aa%e0%b8%95%e0%b8%a3%e0%b9%8c
%e0%b8%8a%e0%b8%b2%e0%b8%95%e0%b8%b4/.

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาต.ิ (2564ก). ความเกยี่ วข้องของหน่วยงานตอ่
เปา้ หมายแผนแมบ่ ทย่อย 140 เป้าหมาย (กระทรวงมหาดไทย). สำนกั งานสภาพฒั นาการ
เศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ. http://nscr.nesdc.go.th/coinstitution-moi/

สำนกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ. (2564ข). ความเกีย่ วข้องของหน่วยงานต่อ
เปา้ หมายแผนแม่บทย่อย 140 เปา้ หมาย (กระทรวงเกษตรและสหกรณ์). สำนักงานสภา
พัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ.
http://nscr.nesdc.go.th/nesdc_uat/coinstitution-moac/

สำนกั ประเมนิ คุณธรรมและความโปรง่ ใส. (2564ก). ITA 2021 ผลการประเมนิ คุณธรรมและความ
โปรง่ ใสในการดำเนินงานของหนว่ ยงานภาครัฐ ปี 2564. คณะกรรมการป้องกันและ
ปราบปรามการทจุ รติ แห่งชาต.ิ https://itas.nacc.go.th/

สำนักประเมินคณุ ธรรมและความโปร่งใส. (2564ข). คมู่ อื การประเมนิ คุณธรรมและความโปรง่ ใสใน
การดำเนินงานของหนว่ ยงานภาครัฐ. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทจุ ริต
แห่งชาต.ิ

สำนกั ประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส. (2564ค). สรปุ ผลการประเมินคณุ ธรรมและความโปร่งใสใน
การดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ประจำปี 2564. คณะกรรมการป้องกนั และปราบปราม
การทจุ รติ แห่งชาติ.

340

โครงการวจิ ยั
การบริหารราชการแผน่ ดินบนพ้ืนฐานหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะท่ี ๑)

สำนักประเมินคณุ ธรรมและความโปรง่ ใส. (2565). ผลการประเมนิ รายกระทรวง.
https://itas.nacc.go.th/report/rpt0302

สำนกั วิจยั และพัฒนาระบบงานบุคคล สำนักงาน ก.พ. (2560). ระบบราชการไทยในบรบิ ทไทยแลนด์
4.0. https://www.ocsc.go.th/sites/default/files/document/thai-gov-system-
context-thailand-4-0.pdf

อภชิ ยั พนั ธเสน. (2560ก). การวิจัยและพัฒนาเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงในภาพรวม.
(อภชิ ยั พนั ธเสน, บ.ก.) สำนกั งานกองทุนสนบั สนุนการวิจยั .

อภิชยั พนั ธเสน. (2560ข). เศรษฐกจิ พอเพียง: พระอจั ฉรยิ ภาพ และพระกรุณาธคิ ุณของในหลวง
รชั กาลท่ี 9. สาํ นกั พิมพม์ หาวิทยาลยั รงั สติ .

เอเจอร,์ แซม. (2545). Promoting Good Governance: Principles, Practices and
Perspectives [ธรรมาภบิ าล การบรหิ าร การปกครองทีโ่ ปรง่ ในด้วยจริยธรรม]. สำนักพิมพ์
นำ้ ฝน.

Al Balushi, T. H., & Ali, S. (2016). Exploring the dimensions of electronic government
service quality. In Proceedings - SEKE 2016: 28th International Conference on
Software Engineering and Knowledge Engineering (Vol. 2016-January, pp. 341-
344). Knowledge Systems Institute Graduate School.
https://doi.org/10.18293/SEKE2016-061

Androniceanu, A. (2021). Transparency in public administration as a challenge for a
good democratic governance. Revista Administratie Si Management Public,
2021(36), 149–164. https://doi.org/10.24818/amp/2021.36-09

Armstrong, E. (2005, August). Integrity, Transparency and accountability in public
administration: Recent trends, regional and international developments and
emerging issues. Economic and Social Affairs. United Nation.
https://www.insightsonindia.com/wp-content/uploads/2013/09/integrity-
transparency-un.pdf

Atkinson, R. D., & Mayo, M. (2010). Refueling the U.S. innovation economy: Fresh
approaches to science, technology, engineering, and mathematics (STEM)
education. The Information Technology & Innovation Foundation.

Ball, C. (2009). What Is transparency? Public Integrity, 11(4), 293–308.
https://doi.org/10.2753/pin1099-9922110400

341

โครงการวจิ ยั
การบริหารราชการแผ่นดนิ บนพ้นื ฐานหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะท่ี ๑)

Brenner, S. N. (1992). Ethics programs and their dimensions. Journal of Business
Ethics, 11(5-6), 391-399. https://doi.org/10.1007/BF00870551

Chan K., & Wyatt, T. A. (2007). Quality of work life: A study of employees in Shanghai,
China. Asia Pacific Business Review, 13(4), 501–517.

Chen, Y. C., & Gant, J. (2001). Transforming local e-government services: the use of
application service providers. Government Information Quarterly, 18(4), 343–
355. https://doi.org/10.1016/s0740-624x(01)00090-9

Cho, E., & Tay, L. (2015). Domain satisfaction as a mediator of the relationship
between work–family spillover and subjective well-being: a longitudinal
study. Journal of Business Psychology, 31(3), 445–457.
https://doi.org/10.1007/s10869-015-9423-8

Choi, I. (2020). Moving beyond mandates: Organizational learning culture,
empowerment, and performance. International Journal of Public
Administration, 43(8), 724–735.https://doi.org/10.1080/01900692.2019.1645690

Claus, L. (2019). HR disruption—Time already to reinvent talent management. BRQ
Business Research Quarterly, 22(3), 207–215.
https://doi.org/10.1016/j.brq.2019.04.002

Cummins, R., Lau, A., Mellor, D., & Stokes, M. (2009). Encouraging governments to
enhance the happiness of their nation: Step 1: Understand subjective
wellbeing. Social Indicator Research, 91(1), 23–36.
https://www.proquest.com/docview/197627228

Davis, F. D. (1989, September). Perceived usefulness, perceived ease of use, and user
acceptance of information technology. MIS Quarterly, 13(3), 319-340.
https://doi.org/249008

Deloitte Insight. (2019). A new mindset for public sector leadership: Take the
#TenYearChallenge.
https://www2.deloitte.com/content/dam/insights/us/articles/22682_a-new-
mindset-for-public-sector-leadership/DI_A-new-mindset-for-public-sector-
leadership.pdf

342

โครงการวิจัย
การบรหิ ารราชการแผ่นดินบนพ้นื ฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ระยะท่ี ๑)

Dianto, I., Taifur, D. W., Handra, H., & Febrianto, R. (2021). Analysis of the principles of
transparency, participation, accountability dan value for money in public
policy formulation. Turkish Journal of Computer and Mathematics Education,
12(13), 3368–3384.
https://www.turcomat.org/index.php/turkbilmat/article/view/9163/7081

Douglas, S., & Meijer, A. (2016). Transparency and public value—analyzing the
transparency practices and value creation of public utilities. International
Journal of Public Administration, 39(12), 940–951.
https://doi.org/10.1080/01900692.2015.1064133

Erkkilä, T. (2020). Transparency in public administration. In W. R. Thompson (Ed.),
Oxford Research Encyclopedia of Politics Oxford University Press.
https://doi.org/10.1093/acrefore/9780190228637.013.1404

Etzioni, A. (2014). The limits of transparency. Public Administration Review, 74(6),
687–688. https://doi.org/10.1111/puar.12276

Ferrell, O. C., Fraedrich, J., & Ferrell, L. (2011). Business ethics: Ethical decision making
& cases (8th ed.). Cengage Learning.

Gartner, Inc. (2021). Top 5 HR trends and priorities for HR leaders in 2021. Gartner.
https://www.gartner.com/en/human-resources/trends/top-priorities-for-hr-
leaders

Graham, J. W. (1991). An Essey on organizational citizenship behavior. Employee
Responsibilities and Rights Journal, 4(1), 249–270.
https://doi.org/10.1007/BF01385031

Grimmelikhuijsen, S. G. (2010). Transparency of public decision-making: Towards trust
in local government? Policy & Internet, 2(1), 4–34.
https://doi.org/10.2202/1944-2866.1024

Hinkle, D.E, William, W., & Stephen G. J. (1998). Applied statistics for the behavior
sciences (4th ed.). Houghton Mifflin.

Hite, L. M., & McDonald, K. S. (2020). Careers after COVID-19: challenges and changes.
Human Resource Development International, 23(4), 427–437.
https://doi.org/10.1080/13678868.2020.1779576

343

โครงการวจิ ยั
การบรหิ ารราชการแผน่ ดินบนพื้นฐานหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะที่ ๑)

Irvin, R. A., & Stansbury, J. (2004). Citizen participation in decision making: Is it worth
the effort? Public Administration Review, 64(1), 55–65.
https://doi.org/10.1111/j.1540-6210.2004.00346.x

Jaeger, P. T., & Bertot, J. C. (2010). Transparency and technological change: Ensuring
equal and sustained public access to government information. Government
Information Quarterly, 27(4), 371–376.
https://doi.org/10.1016/j.giq.2010.05.003

Jashari, M., & Pepaj, I. (2018). The role of the principle of transparency and
accountability in public administration. Acta Universitatis Danubius.
Administratio, 10(1), 63–69. http://journals.univ-
danubius.ro/index.php/administratio/article/download/5038/4717

Jenjarrussakul, B. (2017). A systematic literature review on the definition and
classification of innovation. HROD Journal, 9(2), 5–34. https://so01.tci-
thaijo.org/index.php/HRODJ/article/view/137691

Kim, S., & Lee, J. (2012). E-participation, transparency, and trust in local government.
Public Administration Review, 72(6), 819–828. https://doi.org/10.1111/j.1540-
6210.2012.02593.x

Konovsky, M. A., & Organ, D. W. (1996). Dispositional and contextual determinants of
organizational citizenship behavior. Journal of Organizational Behavior, 17(3),
253–266. https://doi.org/10.1002/(SICI)1099-1379(199605)17:3<253::AID-
JOB747>3.0.CO;2-Q

Kropp, B. (2021, April 26). 9 work trends that HR leaders can’t afford to ignore in
2021. Gartner. https://www.gartner.com/smarterwithgartner/9-work-trends-
that-hr-leaders-cant-ignore-in-2021

Lyubomirsky, S., King, L., & Diener, E. (2005). The benefits of frequent positive affect:
Does happiness lead to success? Psychological Bulletin, 131(6), 803–855.
https://doi.org/10.1037/0033-2909.131.6.803

344

โครงการวจิ ยั
การบรหิ ารราชการแผ่นดินบนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะที่ ๑)

McKinsey & Company. (2020, October 5). How COVID-19 has pushed companies over
the technology tipping point—and transformed business forever. Retrieved
February 10, 2022, from McKinsey & Company:
https://www.mckinsey.com/business-functions/strategy-and-corporate-
finance/our-insights/how-covid-19-has-pushed-companies-over-the-
technology-tipping-point-and-transformed-business-forever

Millard, J., Havlíček, J., Tichá, I., & Hron, J. (2018). Strategies for the future
eGovernment. Agricultural Economics (Zemědělská ekonomika), 50, 20-28.

Neuman, W. (2003). Social research methods: Qualitative and quantitative
approach, (5th ed.). Pearson Education, Inc.

Niehoff, B. P., & Moorman, R. (1993). Justice as a mediator of the relationship
between methods of monitoring and organizational citizenship behavior. The
Academy of Management Journal, 36(3), 527-556.
https://doi.org/10.2307/256591

Norgaard, K., Hundborg, M., Frank, K., Risvig, M., Joensen, R., Andsbjerg, K. & Wiking, M.
(2015). Job satisfaction index 2015 - what drives job satisfaction. Denmark:
Krifa and Happiness Research Institute in Collaboration with TNS Gallup.

Olson, S. D. (2013). Shaping an ethical workplace culture. SHRM Foundation.
Orazi, D., Turrini, A., & Valotti, G. (2013). Public sector leadership: new perspectives for

research and practice. International Review of Administrative Sciences, 79(3),
486-504.
Organ, D. W., & Ryan, K. (1995). A meta-analytic review of attitudinal and dispositional
predictors of organizational citizenship behavior. Personnel Psychology, 48(4),
775–802. https://doi.org/10.1111/j.1744-6570.1995.tb01781.x
Organization for Economic Cooperation and Development [OECD]. (2001). Public
sector leadership for the 21st century. OECD Publishing, Paris,
https://doi.org/10.1787/9789264195035-en.

345

โครงการวิจัย
การบริหารราชการแผน่ ดนิ บนพนื้ ฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ระยะที่ ๑)

Organization for Economic Cooperation and Development [OECD]. (2002). OECD best
practices for budget transparency.
https://www.oecd.org/governance/budgeting/Best%20Practices%20Budget%20
Transparency%20-%20complete%20with%20cover%20page.pdf

Organization for Economic Cooperation and Development [OECD]. (2003). Public
sector transparency and international investment policy. the committee on
international investment and multinational enterprises.
https://www.oecd.org/investment/investment-policy/18546790.pdf

Piccolo, R. F., & Colquitt, J. A. (2006). Transformational Leadership and Job Behaviors:
The mediating role of core job characteristics. Academy of Management
Journal, 49(2), 327–340. https://doi.org/10.5465/amj.2006.20786079

Punyusavee, S. (2007). The pre-evaluation for transparency standard of government
organization in Bangkok: Under the project of transparency standard
specification and evaluation criteria of government organization. King
Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang.

Robbins, S. P., & Judge, T. (2018). Organizational behavior. Pearson/Prentice Hall.
Rutter, M. (2000). Resilience re-considered: Conceptual considerations, empirical

findings, and policy implications. In J. P. Shonkoff & S. J. Meisels (Eds.),
Handbook of Early Childhood Intervention (Vol. 2, pp. 651–682). Cambridge
University Press.
Sandu, A. (2016). Openness and transparency in public administration. European
Journal of Business and Social Sciences, 5(2), 59–71. https://antonio-
sandu.ro/wp-content/uploads/2021/01/8_Openness-and-Transparency-in-
Public.pdf
Senasu, K. (2017). The effects of work-family life balance and social citizenship on
happiness of Thai employees. In Proceedings of the Academy of Human
Resource Development in Ahmedabad India, 7-10 November 2017.
Sirgy, M. J., Reilly, N. P., Wu, J., & Efraty, D. (2008). A work-life identity model of well-
being: Towards a research agenda linking quality-of-work-life (QWL) programs
with quality of life (QOL). Applied Research in Quality of Life, 3, 181-202.

346

โครงการวิจัย
การบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ บนพ้ืนฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ระยะที่ ๑)

ŠKerlavaj, M., Dimovski, V., Cerne, M., Kekenovski, L., Tevdovski, D., & Trpkova, M.
(2011). The organisational learning culture and organisational performance in
Macedonian companies. European J. of International Management, 5(6), 574–
607. https://doi.org/10.1504/ejim.2011.042733

Sutamchai, K., Rowlands, K. E., & Rees, C. J. (2019). The use of mindfulness to
promote ethical decision making and behavior: Empirical evidence from the
public sector in Thailand. Public Administration Development, 40(3). 156-167.
https://doi.org/10.1002/pad.1872

Szeiner, Z., Mura, L., Horbulák, Z., Roberson, M., & Poor, J. (2020). Management
consulting trends in Slovakia in the light of global and regional tendencies.
Journal of Eastern European and Central Asian Research (JEECAR), 7(2), 191–
204. https://doi.org/10.15549/jeecar.v7i2.390

United Nations Economic and Social Commission for Asia and the Pacific [UNESCAP].
(2010). What is good governance.
https://www.unescap.org/sites/default/files/good-governance.pdf

Weaver, G. R., & Treviño, L. K. (2001). The role of human resources in
ethics/compliance management: a fairness perspective. Human Resource
Management Review, 11(1–2), 113–134. https://doi.org/10.1016/s1053-
4822(00)00043-7

Whysall, Z., Owtram, M., & Brittain, S. (2019). The new talent management challenges
of Industry 4.0. Journal of Management Development, 38(2), 118-129.
https://doi.org/10.1108/JMD-06-2018-0181

World Economic Forum. (2020a, October). Resetting the future of work agenda:
Disruption and renewal in a post-COVID world.
http://www3.weforum.org/docs/WEF_NES_Resetting_FOW_Agenda_2020.pdf

World Economic Forum. (2020b, October). The future of jobs report 2020.
http://www3.weforum.org/docs/WEF_Future_of_Jobs_2020.pdf

World Health Organization. (2020, April 28). Archived: WHO timeline - COVID-19.
https://www.who.int/news/item/27-04-2020-who-timeline---covid-19

347

โครงการวิจยั
การบริหารราชการแผน่ ดินบนพ้นื ฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะที่ ๑)

348

สถาบันบัณฑติ พฒั นบริหารศาสตร

ภาคผนวก

ภาคผนวกท่ี 1 สรปุ ผลโครงการวิจัย
ภาคผนวกท่ี 2 บรบิ ทของกระทรวงเกษตรและสหกรณ
ภาคผนวกท่ี 3 บรบิ ทของกระทรวงมหาดไทย
ภาคผนวกท่ี 4 เครื่องมือเกบ็ ขอ มลู และตวั อยางหนงั สือตดิ ตอ หนว ยงาน
ภาคผนวกที่ 5 กำหนดการจัดประชมุ กลมุ และตำแหนง ของผเู ขา รว มประชุมกลุม
พรอ มภาพบรรยากาศการประชุม
ภาคผนวกที่ 6 เอกสารประกอบการนำเสนอโครงการวจิ ยั
ภาคผนวกที่ 7 ผลการประเมนิ ความเปน เศรษฐกจิ พอเพยี งท่ีมกี ารสะทอนระดบั
เขาใจ (บางมิต)ิ ของหนวยงานราชการตาง ๆ
ภาคผนวกท่ี 8 ผลการประเมนิ ความเปนเศรษฐกิจพอเพียงท่มี ีการสะทอนระดบั
เขาถงึ (บางมิติ) ของหนวยงานราชการตา ง ๆ
ภาคผนวกท่ี 9 แนวทางการประเมินความเปน เศรษฐกิจพอเพยี งของสว นราชการ
ภาคผนวกท่ี 10 ผลการประเมินความเปน เศรษฐกจิ พอเพียงดว ยคะแนนตามเกณฑ
ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ
ภาคผนวกที่ 11 ผลการประเมนิ ความเปนเศรษฐกจิ พอเพยี งดว ยคะแนนตามเกณฑ
ของกระทรวงมหาดไทย

349

โครงการวิจยั
การบริหารราชการแผน ดินบนพ้นื ฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะที่ ๑)

350

สถาบันบัณฑติ พัฒนบริหารศาสตร

ภาคผนวกท่ี 1
สรุปผลโครงการวิจัย

351

โครงการวิจยั
การบริหารราชการแผน ดินบนพ้นื ฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะที่ ๑)

352

สถาบนั บัณฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร

สรุปผลโครงการวจิ ยั (สำหรบั ประชาสัมพันธ)

ช่ือผลงาน/โครงการ:
การบริหารราชการแผน ดินบนพื้นฐานหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะท่ี 1)
Thai Public Administration based on the Sufficiency Economy Philosophy
(Phase1)

ชอ่ื -นามสกุล นักวจิ ัย.
ศาสตราจารย ดร.กลั ยาณี เสนาสุ (หัวหนา โครงการ)
Professor Dr. Kalayanee Senasu
ผูช ว ยศาสตราจารย ดร.ภาวณิ ี เพชรสวา ง
Assistant Professor Dr. Pawinee Petchsawang
ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.ดาวษิ า ศรีธญั รัตน
Assistant Professor Dr. Dawisa Sritanyarat
อาจารย ดร.บงกช เจนจรสั สกลุ
Dr. Bongkot Jenjarrussakul

ที่อยูทตี่ ดิ ตอได
คณะพฒั นาทรัพยากรมนุษย สถาบันบัณฑติ พัฒนบริหารศาสตร
ชนั้ 1 อาคารมาลยั หวุ ะนันทน เลขที่ 148 ถ.เสรีไทย คลองจนั่ บางกะป กรุงเทพฯ 10240
เบอรโ ทรศัพท : 02-727-3476 E-mail. [email protected]

ชอ่ื หนวยงาน .คณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันบัณฑิตพฒั นบรหิ ารศาสตร

ป พ.ศ. ท่ดี ำเนนิ การเสรจ็ 2565

คำคน หา keyword: โมเดลความเปน เศรษฐกิจพอเพยี ง การบรหิ ารราชการแผน ดนิ ความยั่งยืน
ความสขุ ประโยชนสุข

353

โครงการวจิ ยั
การบรหิ ารราชการแผนดินบนพ้ืนฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ระยะท่ี ๑)

การบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ บนพืนฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะท1ี� )

นับตังแต่แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาตฉิ บับที 9 (พ.ศ. 2545-2549) จนถงึ แผนพัฒนาฯ ฉบับที
13 (พ.ศ. 2565-2570) ไดม้ กี ารนอ้ มนํา “ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง” ตามพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระ
มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร มาเป็ นแนวทางในการพฒั นาและบรหิ ารประเทศ โครงการวจิ ยั นีมงุ่ จะชว่ ย
ใหภ้ าครัฐซงึ เป็ นกลไกขับเคลอื นหลักปรัชญาและนโยบายทีสําคัญ ไดม้ แี นวทางการทํางานบนพนื ฐานหลักปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี งอยา่ งชดั เจน รวมทังมกี ารสง่ เสรมิ ใหม้ กี ารนําปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปใชเ้ ป็ นพนื ฐานใน
การปฏบิ ัตริ าชการรวมทังการดาํ รงชวี ติ อยา่ งกวา้ งขวาง เพอื ประโยชนส์ ขุ แกป่ ระชาชนไทยและพลเมอื งโลกในทสี ดุ

งานวจิ ัยนีมวี ัตถุประสงคเ์ พือศกึ ษาคน้ ควา้ ถงึ สถานะปัจจุบันของการปฏบิ ัตริ าชการตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง ของหน่วยงานบรหิ ารราชการสว่ นกลาง ระดับกระทรวง กรม และสํานักงาน รวมถงึ ศกึ ษาคน้ ควา้ ถงึ
การเปลยี นแปลงของการปฏบิ ัตริ าชการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ภายหลังการเกดิ วกิ ฤตการณ์การแพร่
ระบาดของโรคตดิ เชอื ไวรัสโคโรนา 2019 เพอื ปรบั ปรงุ โมเดลการประเมนิ ความเป็ นเศรษฐกจิ พอเพยี งใหส้ ามารถใชไ้ ด ้
ในลักษณะทัวไปสําหรับหน่วยงานราชการทุกกระทรวง และเพือพัฒนาแนวทางการปฏบิ ัตทิ ีชัดเจนของการปฏบิ ัติ
ราชการบนพืนฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งทหี น่วยงานบรหิ ารราชการสว่ นกลางสามารถนําไประยุกตใ์ ช ้
อยา่ งเป็ นรูปธรรมในแนวทางเดยี วกัน โดยเก็บรวบรวมขอ้ มลู จากหน่วยงานตวั อย่าง 2 กระทรวง ไดแ้ ก่ กระทรวงเกษตร
และสหกรณ์ และกระทรวงมหาดไทย การวจิ ัยเป็ นแบบผสม ในการวจิ ัยเชงิ คุณภาพไดป้ ระยุกตใ์ ชว้ ธิ ีการสามเสา้
(Triangulation) โดยในการเก็บขอ้ มลู นอกจากการคน้ ควา้ เอกสารต่าง ๆ ทเี กยี วขอ้ งแลว้ ผวู ้ จิ ัยไดเ้ ก็บขอ้ มูลปฐมภูมิ
ดว้ ยวธิ ีการสัมภาษณ์เชงิ ลกึ ผูบ้ รหิ ารระดับสงู หรือผูบ้ รหิ ารระดับกลาง และการประชมุ กลุ่ม (Focus group) ผูบ้ รหิ าร
ระดับกลางและหรอื ผบู ้ รหิ ารระดบั ตน้ และการวจิ ัยเชงิ ปรมิ าณใชก้ ารสาํ รวจความคดิ เหน็ จากเจา้ หนา้ ทผี ปู ้ ฏบิ ตั ิ จากนัน
ไดว้ เิ คราะห์ขอ้ มูลดว้ ยวธิ ีการวิเคราะห์เนือหา (Content Analysis) และสถติ ิเชงิ พรรณนา (Descriptive statistics)
สาํ หรับเกณฑก์ ารประเมนิ ความเป็ นเศรษฐกจิ พอเพยี งจากการวจิ ัยเชงิ คณุ ภาพไดก้ ําหนดคะแนนเพอื ประเมนิ ความเป็ น
เศรษฐกจิ พอเพยี งของหน่วยงานออกมาเป็ นคะแนนเต็ม 100 ในแต่ละระดับ (เขา้ ข่าย เขา้ ใจ และเขา้ ถงึ หรือการ
สะทอ้ นถงึ การเป็ น องคก์ ารทยี ังยนื องคก์ ารแห่งความสุข และองคก์ ารแห่งประโยชน์สุข) และกําหนดเกณฑใ์ นการ
ประเมนิ ทจี ะพจิ ารณาวา่ หน่วยงานผา่ นการประเมนิ ในระดับนัน ๆ ตอ้ งมคี ะแนนโดยรวมของแตล่ ะระดับอยา่ งนอ้ ยรอ้ ยละ
80 ขนึ ไป สว่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ความเป็ นเศรษฐกจิ พอเพยี งจากการวจิ ัยเชงิ ปรมิ าณไดก้ ําหนดเกณฑผ์ า่ นของระดับ
เขา้ ข่ายทรี อ้ ยละ 80 ระดับเขา้ ใจทรี อ้ ยละ 90 และระดับเขา้ ถงึ ทรี อ้ ยละ 95 นอกจากนันการจะสามารถผ่านเกณฑใ์ น
ระดบั ทสี งู ขนึ ไดก้ จ็ ะตอ้ งผา่ นเกณฑใ์ นระดับทตี าํ กวา่ กอ่ น

ผลการประเมนิ ความเป็ นเศรษฐกจิ พอเพยี งของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์พบว่า กรม/สํานักงานในสังกัด
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ทัง 15 หน่วยงาน ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ความเป็ นเศรษฐกจิ พอเพยี งระดบั เขา้ ขา่ ย และมี
4 กรม/สํานักงาน ทผี ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ความเป็ นเศรษฐกจิ พอเพียงระดับเขา้ ใจดว้ ย ไดแ้ ก่ กรมพัฒนาทดี นิ กรม
วชิ าการเกษตร กรมส่งเสรมิ การเกษตร และสํานักงานเศรษฐกจิ การเกษตร สว่ นผลการประเมนิ ความเป็ นเศรษฐกจิ
พอเพยี งของกระทรวงมหาดไทยพบว่า กรม/สํานักงานในสังกัดกระทรวงมหาดไทยทัง 7 หน่วยงาน ผ่านเกณฑก์ าร
ประเมนิ ความเป็ นเศรษฐกจิ พอเพยี งระดับเขา้ ขา่ ย สําหรับการประเมนิ ความเป็ นเศรษฐกจิ พอเพยี งโดยใชก้ ารวเิ คราะห์
เชงิ ปรมิ าณพบวา่ ทกุ กรม/สาํ นักงานในสงั กดั กระทรวงทงั สองมคี ะแนนความเป็ นเศรษฐกจิ พอเพยี งอยใู่ นระดับเขา้ ขา่ ย
ทงั หมด และยงั ไมม่ หี น่วยงานใดไดค้ ะแนนในระดบั เขา้ ใจและเขา้ ถงึ ตามเกณฑ์

ผลการเปลียนแปลงของการปฏบิ ัตริ าชการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ภายหลั งการเกิด
วกิ ฤตการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) พบว่า ทุกหน่วยงานตา่ งแสดงใหเ้ ห็นถงึ
การปรับตัวในการทํางานทตี อ้ งใชเ้ ทคโนโลยมี ากขนึ และการปรับการทํางานภายใตข้ อ้ จํากัดดา้ นงบประมาณทลี ดลง
การตดิ ตามสภาวะการณ์การปฏบิ ตั ริ าชการตามยาวเป็ นระยะ ๆ ของหน่วยงานเหลา่ นีทําใหไ้ ดท้ ราบถงึ การเปลยี นแปลง
ทมี นี ัยยะสําคัญในดา้ นการปรับตัวใหม้ คี วามยดื หยนุ่ ในการทํางานขององคก์ าร สง่ ผลแสดงใหเ้ ห็นถงึ ภาวะผูน้ ําทตี อ้ ง
เก่งในการจัดลําดับของงานและสรา้ งทีมงานทีเหมาะสมขนึ มา ในการวจิ ัยครังนียังไดม้ กี ารปรับปรุงโมเดลความเป็ น
เศรษฐกจิ พอเพยี งโดยปรับเนือหาทสี ําคัญใน 2 มติ ิ ไดแ้ กม่ ติ ทิ ี 3 บุคลากรมคี ุณธรรมและเกง่ และมติ ทิ ี 4 ประโยชน์
แกอ่ งคก์ ารและสังคม นอกจากนันไดม้ กี ารนําเสนอแผนทนี ําทาง (Roadmaps) เพอื กําหนดเป้าหมายเชงิ กลยทุ ธแ์ ละ
แนวทางการปฏบิ ตั ใิ นการบรหิ ารราชการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งใหส้ งู ระดับยงิ ขนึ ตอ่ ไป

ประโยชนข์ องผลงานวจิ ัย คอื รัฐบาล/ผมู ้ อี ํานาจตดั สนิ ใจเชงิ นโยบายสามารถนําโมเดลการประเมนิ ความเป็ น
เศรษฐกจิ พอเพยี งทที มี ผวู ้ จิ ยั พัฒนาขนึ เป็ นเครอื งมอื ในการกําหนดเป้าหมายและตดิ ตามประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ริ าชการ
บนพนื ฐานปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งได ้ รวมทงั สามารถใชแ้ ผนทนี ําทางการบรหิ ารราชการบนพนื ฐานหลักปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพียงทีทีมผูว้ จิ ัยจัดทําขนึ ไปชแี นะใหห้ น่วยงานราชการดําเนินการอย่างเป็ นรูปธรรมขนึ มาได ้
นอกจากนันในดา้ นการบรหิ ารจัดการ หน่วยงานภาครัฐสามารถนําผลการวจิ ัยของโครงการนีไปประยุกตใ์ ชไ้ ดห้ ลาย
ประการ เช่น การประยุกตใ์ ชแ้ ผนทนี ําทางของการบรหิ ารราชการแผ่นดนิ เพอื ดําเนินงานตามยุทธศาสตรช์ าติ การ
ประยกุ ตใ์ ชโ้ มเดลการประเมนิ ความเป็ นเศรษฐกจิ พอเพยี งในแผนปฏบิ ัตกิ ารสง่ เสรมิ คุณธรรมแหง่ ชาติ ฉบับที 2 (พ.ศ.
2566 - 2570) และการประยุกตใ์ ชโ้ มเดลการประเมนิ ความเป็ นเศรษฐกจิ พอเพยี ง ควบคู่ไปกับการพัฒนาคุณภาพการ
บรหิ ารจดั การภาครัฐ (PMQA 4.0)

354

สถาบนั บัณฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร

สรุปผลโครงการวจิ ยั
(เผยแพรใ นระบบ EXPLORE ผา นทางเว็บไซต www.thai-explore.net)

ช่ือผลงาน/โครงการ:
การบริหารราชการแผนดนิ บนพนื้ ฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ระยะที่ 1)
Thai Public Administration based on the Sufficiency Economy Philosophy (Phase1)

ช่ือ-นามสกุล นกั วิจัย
ศาสตราจารย ดร.กลั ยาณี เสนาสุ (หัวหนา โครงการ)
Professor Dr. Kalayanee Senasu
ผูชว ยศาสตราจารย ดร.ภาวณิ ี เพชรสวา ง
Assistant Professor Dr. Pawinee Petchsawang
ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.ดาวิษา ศรีธญั รตั น
Assistant Professor Dr. Dawisa Sritanyarat
อาจารย ดร.บงกช เจนจรัสสกุล
Dr. Bongkot Jenjarrussakul

ทอ่ี ยูทีต่ ดิ ตอ ได
คณะพฒั นาทรัพยากรมนษุ ย สถาบนั บัณฑิตพัฒนบรหิ ารศาสตร
ช้ัน 1 อาคารมาลยั หุวะนนั ทน เลขท่ี 148 ถ.เสรไี ทย คลองจ่ัน บางกะป กรุงเทพฯ 10240
เบอรโทรศัพท : 02-727-3476 E-mail. [email protected]

ชื่อหนวยงาน คณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันบัณฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร
ป พ.ศ. ท่ีดำเนินการเสร็จ 2565
คำคนหา keyword โมเดลความเปนเศรษฐกิจพอเพียง การบริหารราชการแผน ดิน ความย่งั ยนื

ความสขุ ประโยชนส ขุ

การบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ บนพืนฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะท1ี� )
โครงการวจิ ัยนีไดพ้ ัฒนาโมเดลความเป็ นเศรษฐกจิ พอเพียงเพือใชป้ ระเมนิ หน่วยงานของรัฐในระดับ
กระทรวง กรม/สํานักงานของราชการสว่ นกลางว่าไดป้ รับประยุกตห์ ลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไป
ใชใ้ นการปฏบิ ัตริ าชการมากนอ้ ยเพียงใด ทังนีหน่วยงานภาครัฐสามารถนําผลการวจิ ัยของโครงการนีไป
ประยุกต์ใชไ้ ดห้ ลายประการ เช่น การประยุกต์ใชแ้ ผนทีนําทางของการบรหิ ารราชการแผ่นดนิ บนหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงเพือดําเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติ การประยุกต์ใชโ้ มเดลความเป็ น
เศรษฐกจิ พอเพยี งในแผนปฏบิ ัตกิ ารสง่ เสรมิ คณุ ธรรมแหง่ ชาติ ฉบับที 2 (พ.ศ. 2566-2570)

355

โครงการวจิ ยั
การบรหิ ารราชการแผน ดินบนพืน้ ฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ระยะที่ ๑)

สรุปผลโครงการวิจัยในรูปแบบ Infographic

ชอ่ื ผลงาน/โครงการ:
การบรหิ ารราชการแผน ดินบนพ้ืนฐานหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ระยะท่ี 1)
Thai Public Administration based on the Sufficiency Economy Philosophy
(Phase1)

ช่อื -นามสกุล นักวิจัย
ศาสตราจารย ดร.กลั ยาณี เสนาสุ (หัวหนาโครงการ)
Professor Dr. Kalayanee Senasu
ผูชว ยศาสตราจารย ดร.ภาวณิ ี เพชรสวา ง
Assistant Professor Dr. Pawinee Petchsawang
ผูช วยศาสตราจารย ดร.ดาวิษา ศรีธญั รตั น
Assistant Professor Dr. Dawisa Sritanyarat
อาจารย ดร.บงกช เจนจรสั สกลุ
Dr. Bongkot Jenjarrussakul

E-mail. [email protected]
ชื่อหนวยงาน คณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบนั บัณฑิตพฒั นบริหารศาสตร

356

357

ÿëćïîĆ ïèĆ æêĉ óĆçîïøĀĉ ćøýćÿêøŤ

358 ēÙøÜÖćøüĉÝĆ÷
ÖćøïøĉĀćøøćßÖćøĒñŠîéîĉ ïîóĚîČ åćîĀúÖĆ ðøßĆ âć×ĂÜđýøþåÖĉÝóĂđóĊ÷Üǰ øą÷ąìĊęǰĢ



สถาบนั บณั ฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์

ภาคผนวกที่ 2
บริบทของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

359

โครงการวิจยั
การบริหารราชการแผน่ ดินบนพ้นื ฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะที่ ๑)

360

โครงการวิจัย
การบรหิ ารราชการแผ่นดินบนพืน้ ฐานหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะท่ี ๑)

1. บรบิ ทของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

1.1 โครงสรา้ งและบทบาทหนา้ ท่ขี องกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มสี ่วนราชการในสงั กัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จำนวน 15
ส่วนราชการ โดยแบ่งเป็น 3 กลุ่มภารกิจ ประกอบด้วย กลุ่มภารกิจด้านพัฒนาการผลิตกลุ่มภารกิจ
ดา้ นบริหารจัดการทรพั ยากรเพื่อการผลิต และกลุ่มภารกิจด้านสง่ เสรมิ และพัฒนาเกษตรกรและระบบ
สหกรณ์ และยังมีส่วนราชการที่ไม่อยู่ภายใต้กลุ่มภารกิจตามกฎกระทรวง จำนวน 1 กลุ่ม
ตามประกาศกฎกระทรวงว่าด้วยกลุ่มภารกิจ พ.ศ. 2545 (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2546 (ฉบับที่ 3)
พ.ศ. 2546 (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2550 (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2552 และ (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2556 ซึ่งเป็น
การประกาศตามความในมาตรา 21 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
และฉบับที่แก้ไข (กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, 2564) ทั้งนี้ ส่วนราชการภายใต้กลุ่มภารกิจข้างต้น
ประกอบด้วยส่วนราชการดงั รายละเอียดต่อไปน้ี
กล่มุ ภารกจิ ด้านพัฒนาการผลิต ประกอบดว้ ย 5 หนว่ ยงาน ดงั น้ี

- กรมการขา้ ว
- กรมประมง
- กรมปศสุ ัตว์
- กรมวชิ าการเกษตร
- กรมหม่อนไหม
กล่มุ ภารกจิ ด้านบรหิ ารจัดการทรัพยากรเพ่อื การผลติ ประกอบด้วย 4 หน่วยงาน ดังนี้
- กรมชลประทาน
- กรมฝนหลวงและการบินเกษตร
- กรมพัฒนาทีด่ นิ
- สำนักงานการปฏิรูปท่ีดินเพอ่ื เกษตรกรรม
กลุ่มภารกิจด้านส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกรและระบบสหกรณ์ ประกอบด้วย 3 หน่วยงาน
ดังนี้
- กรมตรวจบัญชสี หกรณ์
- กรมสง่ เสรมิ การเกษตร
- กรมสง่ เสริมสหกรณ์
สว่ นราชการทีไ่ ม่อยูภ่ ายใต้กลุม่ ภารกจิ ประกอบดว้ ย 3 หนว่ ยงาน ดงั นี้

361

โครงการวิจัย
การบรหิ ารราชการแผ่นดินบนพืน้ ฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ระยะท่ี ๑)

- สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
- สำนักงานมาตรฐานสินคา้ เกษตรและอาหารแหง่ ชาติ
- สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
นอกจากนี้ยังมีหน่วยงานองค์กรมหาชน ได้แก่ สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร
สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง สำนักงานพิพิธภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัว และรัฐวิสาหกิจ ได้แก่ การยางแห่งประเทศไทย องค์การสะพานปลา องค์การตลาด
เพื่อเกษตรกร และองค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย ภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวง
เกษตรและสหกรณ์
ภาพท่ี ผ 2.1
โครงสร้างกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

362

สถาบนั บัณฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์

1.2 วิสัยทศั น์
" ภาคเกษตรมนั่ คง เกษตรกรมั่งคั่ง ทรัพยากรเกษตรยง่ั ยนื "

1.3 พันธกิจ
1) พัฒนาคณุ ภาพชวี ิตเกษตรกรใหม้ คี วามม่นั คง
2) พัฒนาเศรษฐกิจการเกษตรให้เตบิ โตอยา่ งมเี สถียรภาพ
3) ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรที่มีคุณภาพ ตลอดห่วงโซ่อุปทานให้สอดคล้องกับ
ความต้องการของตลาด และส่งเสริมงานวิจัย เทคโนโลยี และนวัตกรรมเพื่อ
นำมาใชป้ ระโยชน์
4) ส่งเสริมให้มีการบรหิ ารจดั การทรัพยากรการเกษตรและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุล
และยงั่ ยนื

1.4 ค่านิยมองคก์ ร (MOAC) มีคณุ ธรรม
M = Morality ตรงไปตรงมา
O = Openness ตรวจสอบได้
A = Accountability มีความสามารถในการสร้างสรรค์
C = Creativity

1.5 เปา้ ประสงค์
“เกษตรกรมีรายไดอ้ ยา่ งน้อย 97,860 บาท ภายในปี 2565”

โดยมีเปา้ หมาย ดงั นี้
1) เกษตรกรกนิ ดีอยู่ดี มีทักษะ และความเชยี่ วชาญในการประกอบอาชีพ
2) ขดี ความสามารถในการแขง่ ขันด้านการเกษตร
3) การวจิ ัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวตั กรรมภาคการเกษตร
4) การเจริญเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเปน็ มิตรกับสง่ิ แวดล้อม
5) การบริหารจดั การภาครฐั อยา่ งมปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผล

1.6 ภารกจิ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับเกษตรกรรม การจัดหาแหล่งน้ำและ
พัฒนาระบบชลประทาน สง่ เสรมิ และพฒั นาเกษตรกร ส่งเสริมและพฒั นาระบบสหกรณ์ รวมตลอดท้ัง
กระบวนการผลิตและสินค้าเกษตรกรรม และราชการอื่นที่กฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของ
กระทรวงเกษตรและสหกรณห์ รอื ส่วนราชการท่สี ังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

363

โครงการวจิ ัย
การบริหารราชการแผน่ ดินบนพ้ืนฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะที่ ๑)

2. หน่วยงานภายใตก้ ารกำกับดูแลของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

การวิจัยครั้งนี้ได้ดำเนินการศึกษา เชื่อมโยงหน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
จำนวนทั้งสิ้น 15 หน่วยงานดังน้ี สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สำนักงานมาตรฐาน
สินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมการข้าว กรมประมง
กรมปศุสัตว์ กรมวิชาการเกษตร กรมหม่อนไหม กรมชลประทาน กรมฝนหลวงและการบินเกษตร
กรมพัฒนาที่ดิน สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ กรมส่งเสริม
การเกษตร และกรมส่งเสรมิ สหกรณ์

2.1 สำนกั งานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

2.1.1 ประวัติและความเปน็ มา
กิจกรรมด้านการเกษตรในประเทศไทยสามารถสืบย้อนไปได้กว่า 700 ปี
ตามหลักฐานในศิลาจารึกสมัยสุโขทัยมีการสันนิษฐานว่า พ่อขุนรามคำแหงทรงจัดการให้มีระบบ
ชลประทาน ตลอดจนการปลูกป่า ทำสวน ต่อมาจึงเริ่มมีการจัดตั้งหน่วยงานที่รับผิดชอบ
ด้านการเกษตรขึ้นในสมัยอยุธยา เรียกว่า “กรมนา” หรือ “กรมเกษตราธิการ” จนกระทั่งยุค
กรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นรัชกาลที่ 5 ได้มีการปรับปรุงระบบบริหารราชการครั้งใหญ่ มีการจัดต้ัง
“กระทรวงเกษตรพนิชการ” ขึ้น โดยกำหนดให้มีบทบาทหน้าที่ส่งเสริมกสิกรรม ในปี พ.ศ. 2411
ได้มีการประกาศตั้งและเปลี่ยนชื่อกระทรวงเกษตรพนิชการ เป็น “กระทรวงเกษตราธิการ” โดยมี
หน้าที่หลัก คือ การชลประทาน การเพาะปลูก และการปศุสัตว์ ภายหลังกระทรวงเกษตราธิการได้มี
การรวม โอนย้าย และแยก กรมหรือหน่วยงานในสังกัดอีกหลายครั้ง โดยเฉพาะในระหว่างช่วงปี
พ.ศ. 2475 ถึง พ.ศ. 2478 จนกระทั่งปี พ.ศ. 2495 จึงได้มีการเปลี่ยนชื่อกระทรวงเป็น “กระทรวง
เกษตร” และได้มีการเปลี่ยนชื่ออีกครั้งในปี พ.ศ. 2505 เป็น “กระทรวงเกษตรและสหกรณ์” จนถึง
ปจั จุบัน (สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ,์ 2564)

2.1.2 โครงสร้างการบรหิ ารราชการ
โครงสร้างของสำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประกอบด้วย
ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต กองกลาง กองการเจ้าหน้าท่ี กองเกษตรสารสนเทศ กองคลัง
กองนโยบายเทคโนโลยีเพื่อการเกษตรและเกษตรกรรมยั่งยืน ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสาร สถาบันเกษตราธิการ สำนักกฎหมาย สำนักการเกษตรต่างประเทศ สำนักงานที่ปรึกษา

364

สถาบันบัณฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์

การเกษตรต่างประเทศ สำนกั ตรวจราชการสำนักตรวจสอบภายใน สำนกั บรหิ ารกองทนุ เพอื่ ชว่ ยเหลือ
เกษตรกรและรับเรื่องร้องเรียน สำนักแผนงานและโครงการพิเศษ และสำนักพัฒนาระบบบริหาร
นอกจากนี้ยังมีสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดกระจายอยู่ตามทุกจังหวัดของประเทศ เพื่อให้
การดำเนินภารกจิ ของสำนักงานปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณเ์ ป็นไปอยา่ งมีทศิ ทาง

2.1.3 วสิ ยั ทัศน์
“ศูนย์กลางการขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการเกษตรและสหกรณ์ของ
ประเทศภายในปีพ.ศ. 2580”

2.1.4 พนั ธกิจ
1) ผลักดันและขับเคลื่อน นโยบาย ยุทธศาสตร์ ด้านการเกษตรและสหกรณ์

สู่การปฏิบัตใิ นทุกระดับใหเ้ กิดผลสัมฤทธ์ิ
2) สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครฐั ของกระทรวง

2.1.5 ค่านยิ มองคก์ ร
ซอ่ื สตั ย์ พฒั นาตนเองอย่างต่อเนอื่ ง รับฟงั ความคิดเหน็ มุง่ ผลสมั ฤทธิ์

2.1.6 บทบาทหนา้ ที่
สำนกั งานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มภี ารกิจเก่ียวกบั การพฒั นายุทธศาสตร์
แปลงนโยบายของกระทรวงเป็นแผนปฏิบัติ จัดสรรทรัพยากรและบริหารราชการทั่วไปของกระทรวง
ที่มิได้กำหนดให้เป็นหน้าที่ของส่วนราชการใดในสังกัดกระทรวงโดยเฉพาะ รวมทั้ง กำกับ เร่งรัด
ตรวจสอบ และตดิ ตาม การปฏิบัติราชการของส่วนราชการในสังกดั กระทรวง ให้บรรลุเปา้ หมาย และ
เกิดผลสัมฤทธต์ิ ามภารกิจของกระทรวงโดยมอี ำนาจหน้าท่ี ดังน้ี
1) ศึกษา วิเคราะห์ และจัดทำข้อมูลเพื่อเสนอแนะรัฐมนตรีสำหรับใช้ใน

การกำหนดนโยบาย เป้าหมาย และผลสัมฤทธ์ิของกระทรวง
2) พฒั นายุทธศาสตรก์ ารบริหารของกระทรวง
3) แปลงนโยบายเป็นแนวทางและแผนการปฏบิ ัติราชการ โครงการ และโครงการ

พเิ ศษ
4) ดำเนินการและประสานงานกับองค์การหรือหน่วยงานที่เกี่ยวกับกิจการ

ด้านการเกษตรตา่ งประเทศ

365

โครงการวิจัย
การบริหารราชการแผน่ ดินบนพืน้ ฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ระยะที่ ๑)

5) ดำเนินการเกี่ยวกับการตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วน
ราชการในสังกัดกระทรวง

6) กำหนดยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาและพฒั นาบุคลากรของกระทรวง
7) ดำเนินการเกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบที่อยูใ่ นความรับผิดชอบของกระทรวง

และกฎหมายอน่ื ท่ีเกีย่ วข้อง
8) พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อใช้ในการบริหารงานและการบริการ

รวมทงั้ ประชาสัมพนั ธแ์ ละเผยแพร่ข้อมลู สารนิเทศด้านการเกษตร
9) ดำเนินการบริหารกองทนุ เพือ่ ช่วยเหลอื เกษตรกรและรับเร่ืองร้องเรยี น
10) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของสำนักงาน

ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์หรือตามที่รัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรี
มอบหมาย

2.2 สำนกั งานมาตรฐานสนิ คา้ เกษตรและอาหารแห่งชาติ

2.2.1 ประวตั ิและความเป็นมา
เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2537 ประเทศไทยเข้าเป็นสมาชิกองค์การการค้าโลก
(World Trade Organization: WTO) มีการบังคับใช้ความตกลงด้านสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช
(Agreement on the Application of Sanitary and Phytosanitary Measures: SPS) ที่กำหนด
กติกาใหป้ ระเทศตา่ งๆ ใชม้ าตรการด้านมาตรฐานและความปลอดภยั อาหาร ควบคมุ การส่งออกนำเข้า
สินค้าเกษตรและอาหาร ด้วยเหตนุ ้ี จงึ ได้มีการปรับโครงสรา้ งองค์กรเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง โดย
ในปี พ.ศ. 2540 ได้จดั ต้งั สำนักงานมาตรฐานและตรวจสอบสนิ คา้ เกษตร (สมก.) เปน็ หน่วยงานสงั กัด
สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เพื่อเป็นศูนย์กลางในการประสานงานและพัฒนา
มาตรฐานสินค้าเกษตรของประเทศให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากล โดยร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ
ภายในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มุ่งการให้บริการแบบเบ็ดเสร็จในการนำเข้าและส่งออกสินค้า
เกษตร ในวันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2545 สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.)
ได้รับการจัดตั้งขึ้น ตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร
แห่งชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยอาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ
แผ่นดิน (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2543 เป็นหน่วยงานระดับกรม ภายใต้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
(สำนกั งานมาตรฐานสนิ คา้ เกษตรและอาหารแห่งชาต,ิ 2564)

366

สถาบันบัณฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์

2.2.2 โครงสร้างการบริหารราชการ
สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ มีโครงสร้างบริหารราชการ
โดยมีหน่วยงานดังนี้ กลุ่มตรวจสอบภายใน (กตน.) กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร (กพร.) กลุ่มยุทธศาสตร์
และแผนงาน (กยผ.) สำนกั งานเลขานุการกรม (สลก.) กองนโยบายมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร
(กนม.) กองรับรองมาตรฐาน (กรร.) ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร (ศทส.) สำนักกำหนด
มาตรฐาน (สกม.) กองความคุมมาตรฐาน(กคม.) และกองส่งเสริมมาตรฐาน เพื่อดำเนินงานตาม
ภารกิจของสำนักงานมาตรฐานสนิ ค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ

2.2.3 วิสยั ทัศน์
“เป็นองค์กรนำดา้ นการมาตรฐานสนิ ค้าเกษตรและอาหาร ทที่ ั่วโลกยอมรบั ”

2.2.4 พนั ธกิจ
1) เสรมิ สรา้ งกำหนดมาตรฐานสนิ คา้ เกษตรและอาหาร ที่เปน็ ไปตามความต้องการ

และสอดคลอ้ งกับแนวทางสากล
2) เสริมสร้างระบบตรวจสอบ รับรองสินค้าเกษตรและอาหารที่ตรงตามความ

ต้องการ และสอดคลอ้ งกบั สากล
3) เสริมสร้างการนำมาตรฐานไปสู่การปฏิบัติ ตลอดห่วงโซ่การผลิต และ

การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ด้านอาหารและความปลอดภัยสินค้าเกษตรและ
อาหาร
4) เสริมสร้างการกำหนดท่าที และเจรจาด้านการมาตรฐาน มาตรการสุขอนามัย
และสขุ อนามัยพชื สำหรับสินคา้ เกษตรและอาหาร
5) เสรมิ สร้างการควบคุม และกำกบั ดูแล ใหเ้ ปน็ ไปตามกฎหมาย
6) เป็นศนู ย์กลางขอ้ มลู ดา้ นมาตรฐานสินคา้ เกษตรและอาหารของประเทศ

2.2.5 คา่ นิยมองคก์ ร
“สามัคคี มจี รยิ ธรรม ทำงานอยา่ งมอื อาชพี ”

2.2.6 บทบาทหน้าท่ี
เป็นหน่วยงานกลางด้านมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร โดยกำหนด ตรวจสอบ
รับรอง ควบคุม และส่งเสริมมาตรฐานสินค้าเกษตรตั้งแต่ระดับไร่นาจนถึงผู้บริโภค ตลอดจน
การเจรจาแก้ไขปัญหาทางการค้าเชิงเทคนิค เพื่อปรับปรุงและยกระดับคุณภาพสินค้าเกษตรและ

367

โครงการวจิ ัย
การบรหิ ารราชการแผ่นดินบนพน้ื ฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ระยะท่ี ๑)

อาหารของไทยให้ได้มาตรฐาน รวมทั้งเพื่อให้มีคุณภาพและความปลอดภัยตามมาตรฐานสากล
สามารถแข่งขันได้ในเวทโี ลก โดยใหม้ อี ำนาจหน้าท่ี เสนอแนะนโยบาย แนวทาง และมาตรการในการ
กำหนด การตรวจสอบรับรอง การควบคุม การวิจัย การพัฒนา การประเมินความเสี่ยง การถ่ายทอด
การส่งเสริม และการพัฒนามาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารของประเทศ กำหนดยุทธศาสตร์ด้าน
ความปลอดภัยสนิ ค้าเกษตรและอาหาร รวมทงั้ กำกับดูแล เฝ้าระวงั และเตอื นภัยประสานงาน กำหนด
ท่าที และร่วมเจรจาแก้ไขปัญหาด้านเทคนิค ด้านมาตรการที่มิใช่ภาษี และด้านการกำหนดมาตรฐาน
ระหว่างประเทศ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับสินค้าเกษตรและอาหาร เป็นหน่วยงานกลางใน
การประสานงานกับองค์การมาตรฐานระหว่างประเทศด้านคุณภาพและความปลอดภัยของสินค้า
เกษตรและอาหาร รวมทั้งการดำเนินการภายใต้ความตกลงว่าด้วยการบังคับใช้มาตรการสุขอนามัย
และสุขอนามัยพืช และในส่วนที่เกี่ยวข้องกับสินค้าเกษตรและอาหาร ภายใต้ความตกลงว่าด้วย
อุปสรรคทางเทคนิคต่อการค้า เป็นหน่วยรับรองระบบงานของหน่วยตรวจสอบรับรองและเป็นหนว่ ย
รับรองผู้ประกอบการตรวจสอบมาตรฐานด้านสินค้าเกษตรและอาหารของประเทศ และเป็น
ศูนยก์ ลางขอ้ มลู สารสนเทศดา้ นการมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร

2.3 สำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร

2.3.1 ประวัติและความเป็นมา
ในปี พ.ศ.2495 มีพระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง "กองเศรษฐกิจการเกษตรและที่ดิน"
ขึ้นในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ แบ่งงานออกเป็น 2 แผนก คือ แผนกการใช้
ที่ดิน และแผนกค้นคว้าและสถิติ ต่อมาปี พ.ศ.2497 มีพระราชกฤษฎีกาเปลี่ยนแปลงชื่อ เป็น
"กองเศรษฐกิจการเกษตร" แบ่งงานออกเป็น 3 แผนก คือ แผนกเศรษฐกิจการผลิต แผนกประมวล
สถิติการเกษตรและแผนกสำรวจค้นคว้า ในปี พ.ศ.2515 มีประกาศคณะปฏิวัติปรับปรุงส่วนราชการ
ในสำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยแยก "แผนกควบคุมโครงการ" ออกจากกอง
เศรษฐกิจการเกษตร เพ่ือยกฐานะขึ้นเป็น "กองแผนงาน" พร้อมกับมีการกำหนดการแบ่งเขตเกษตร
เศรษฐกิจของไทยออกเป็น 19 เขต ปี 2522 มีพระราชบัญญัติยกฐานะ “กองเศรษฐกิจการเกษตร”
ขน้ึ เป็น "สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตร" ในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในปีพ.ศ.2557 ปฏิรูป
ระบบราชการและปรับปรุงโครงสร้างแบ่งส่วนราชการออกเป็น สำนักงานเลขานุการ กองนโยบาย
และแผนพฒั นาการเกษตร กองเศรษฐกิจการเกษตรระหว่างประเทศ ศนู ยป์ ระเมนิ ผล ศนู ยส์ ารสนเทศ
การเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 1-9 และสำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร (สำนักงาน
เศรษฐกจิ การเกษตร, 2564)

368

สถาบนั บัณฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์

2.3.2 โครงสรา้ งการบริหารราชการ
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรแบง่ โครงสร้างบริหารราชการ ออกเป็นกลุ่มตรวจสอบ
ภายใน กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สำนักงานเลขานุการกรม กองนโยบายและแผนพัฒนาการเกษตร
กองเศรษฐกิจการเกษตรระหว่างประเทศ ศูนย์ประเมินผล ศูนย์สารสนเทศการเกษตร สำนักงาน
เศรษฐกิจการเกษตรที่ 1-12 สำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร และศูนย์ข้อมูลเกษตรแห่งชาติ เพ่ือ
การดำเนนิ ภารกจิ ของสำนกั งานเปน็ ไปอย่างมีทิศทาง

2.3.3 วสิ ัยทศั น์
“องค์กรชี้นำการพัฒนาภาคเกษตรและศูนย์กลางสารสนเทศการเกษตรแห่งชาติ
ภายในปี 2565”

2.3.4 พนั ธกจิ
1) เสนอแนะนโยบาย จัดทำแผนพัฒนา และมาตรการทางการเกษตร รวมทั้ง

จัดทำท่าที และร่วมเจรจาการค้าสินค้าเกษตรและความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ
การเกษตรระหว่างประเทศ
2) จัดทำและบริหารจัดการขอ้ มูลสารสนเทศการเกษตรด้วยเทคโนโลยีอจั ฉรยิ ะ
3) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัยด้านเศรษฐกิจการเกษตร จัดทำรายงานสถานการณ์
เศรษฐกจิ การเกษตรท้งั ภายในประเทศและตา่ งประเทศ
4) ติดตามและประเมินผลแผนงาน / โครงการที่สำคัญของกระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์

2.3.5 ค่านยิ มองค์กร (SMART OAE)

S = Specialized ความเชี่ยวชาญ หมายถึง ความสนใจใฝ่รู้ สั่งสม ความรู้

ความสามารถของตนในการ ปฏิบัติราชการดว้ ยการศึกษา

ค้นควา้ และพัฒนาตนเองอยา่ งต่อเนื่อง

M = Moral คุณธรรม หมายถึง การปฏิบัติในสิ่งทีค่ วรปฏบิ ัติ เป็นสิ่งที่

ถูกต้อง ที่สังคมยอมรับ เพื่อสนองต่อความคาดหวังของ

สังคม

369

โครงการวิจยั
การบรหิ ารราชการแผน่ ดินบนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ระยะท่ี ๑)

A = Accountable ความรับผิดชอบ หมายถึง การปฏิบัติงานอย่างมี

ความรบั ผดิ ชอบ โดยคำนงึ ถงึ ความสำเรจ็ ของงาน

R = Rational เหตุผล หมายถึง การพิจารณาที่จะดำเนินงานใด ๆ

ด้วยความถี่ถ้วนรอบคอบ

T = Targetable เป้าหมาย หมายถงึ การกำหนดส่งิ ท่ีตั้งใจจะทำในอนาคต

OAE = Office of Agricultural Economics หมายถึง สำนักงานเศรษ ฐ กิ จ

การเกษตร

2.3.6 บทบาทหนา้ ที่
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) มีภารกิจในการจัดทำและเสนอแนะ
ยุทธศาสตร์แผนพัฒนา และมาตรการทางการเกษตร เพื่อสร้างความมั่นคง มั่งคั่งและยั่งยืนแก่ภาค
เกษตรของประเทศ ด้วยการทบทวน พัฒนาแผนพัฒนาการเกษตรให้สอดคล้องกับสถานการณ์ทั้ง
ภายในและต่างประเทศ พัฒนาคุณภาพข้อมูลสารสนเทศและแบบจำลองการพยากรณ์เศรษฐกิจ
การเกษตร ให้มีความถูกต้อง แม่นยำ ผู้เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ตลอดจน
ปรับปรุงกระบวนการติดตาม ประเมินผลการใช้ ทรัพยากรเพื่อการพัฒนาภาคการเกษตรอย่างเป็น
ระบบ

2.4 กรมการขา้ ว

2.4.1 ประวัตแิ ละความเป็นมา
ข้าวในประเทศไทย เริ่มมีการดำเนินการตั้งแต่รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งกระทรวงเกษตราธิการ ซึ่งในปี พ.ศ.
2444 ได้มีการจัดตั้งกรมช่างไหม และมีการประกวดพันธุ์ข้าวขึ้นเป็นครั้งแรกในประเทศไทยที่เมือง
ธัญบุรี ในปี พ.ศ. 2450 ได้มีการเปลี่ยนชื่อกรมช่างไหม เป็น "กรมเพาะปลูก" มีหน้าที่ทำการค้นคว้า
ทดลองเกี่ยวกับพันธุ์พืช การเพาะเลี้ยงไหม ปศุสัตว์ และการเพาะปลูก จนกระทั่งมีการจัดตั้ง สถานี
ทดลองคลองรังสิต นับเป็นสถานีทดลองข้าวแห่งแรกของไทย ที่ตำบลคลองหก อำเภอธัญบุรี จังหวดั
ปทุมธานี ในปี พ.ศ. 2478 มีการจัดตั้ง "แผนกข้าว" ขึ้นในสังกัดกองขยายการกสิกรรม กรมเกษตร
และการประมง ในปี พ.ศ. 2481 ได้ยกฐานะแผนกข้าว เป็น"กองการข้าว” ต่อมาในปี พ.ศ. 2515
ได้มีการยบุ รวมกรมการข้าว เขา้ กับกรมกสิกรรมอีกครง้ั จึงทำให้กรมการขา้ ว มีฐานะเปน็ กองการข้าว
สังกัดกรมวิชาการเกษตร และเปลี่ยนชื่อเป็น "สถาบันวิจัยข้าว" ในปี พ.ศ. 2547 ได้มีการจัดตั้ง
หน่วยงานที่ทำหน้าที่กำกับดูแลข้าวไทยขึ้น มีชื่อว่า "สำนักงานข้าวแห่งชาติ" มีฐานะเทียบเท่ากรม

370

สถาบันบัณฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์

จนกระทั่งวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2549 พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรมให้จัดต้ัง
กรมการข้าว ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นผลให้เกิด "กรมการข้าว" ขึ้นจนถึงปัจจุบัน
(กรมการข้าว, 2564)

2.4.2 โครงสรา้ งการบรหิ ารราชการ
กรมการขา้ ว เป็นหนว่ ยงานระดับกรม มหี น่วยงานบริหารราชการดงั น้ี สำนกั บริหาร
กลาง สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ข้าว กองวิจัยและพัฒนาข้าว กองเมล็ดพันธุ์ข้าว กองพัฒนา
ผลิตภัณฑ์ข้าว สำนักส่งเสริมการผลิตข้าว กองตรวจสอบรับรองมาตรฐานข้าวและผลิตภัณฑ์
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กองประสานงานโครงการพระราช ดำริ
สถาบันวิทยาศาสตร์ข้าวแห่งชาติ กลุ่มพัฒนาระบบบริหารและกลุ่มตรวจสอบภายใน กรมการข้าวมี
หน่วยงานส่วนกลางที่ปฏิบัติงานอยู่ตามส่วนภูมิภาค คือ ศูนย์วิจัยข้าว 28 แห่ง และและศูนย์เมล็ด
พันธขุ์ ้าว 29 แห่ง เพ่อื ดำเนินงานกิจกรรมของกรมการข้าว

2.4.3 วิสยั ทัศน์
“เป็นองค์กรชั้นนำในการวิจยั และพัฒนาข้าว เสริมสร้างประสิทธิภาพการผลิต และ
สร้างความเข้มแขง็ ให้ชาวนาอย่างยงั่ ยนื ”

2.4.4 พนั ธกจิ
1) ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการผลติ และคุณภาพผลผลิตข้าว

2) พฒั นาศักยภาพชาวนา และองค์กรชาวนาใหเ้ ข็มแขง็
3) พัฒนาโครงสรา้ งพน้ื ฐานการผลิตข้าว และเครือ่ งจกั รกลการเกษตร
4) สง่ เสริมการเพ่มิ มลู คา่ ขา้ ว ผลผลิตภณั ฑ์แปรรูป และผลพลอยได้จากขา้ ว
5) วิจัยและพัฒนารูปแบบบูรณาการด้านการผลิต การแปรรูป และบรรจุภัณฑข์ า้ ว

2.4.5 ค่านิยมองคก์ ร (RICE)

R = Responsibility มคี วามรับผดิ ชอบต่อสังคม

I = Integrity ยดึ มน่ั คณุ ธรรม ทำในสิ่งทถ่ี ูกตอ้ ง

C = Credibility มีความน่าเช่อื ถอื

E = Excellence เป็นองคก์ รท่มี ีความเปน็ เลศิ

371

โครงการวิจัย
การบริหารราชการแผ่นดนิ บนพื้นฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะท่ี ๑)

2.4.6 บทบาทหนา้ ที่
กรมการขา้ ว มีภารกิจเก่ยี วกับขา้ วโดยครอบคลุมถึงการปรับปรุงพฒั นาการปลูกข้าว
ให้มีผลผลิตต่อพื้นที่และคุณภาพสูงขึ้น การพัฒนาพันธุ์ การอนุรักษ์และคุ้มครองพันธุ์ข้าว การผลิต
เมล็ดพันธุ์ การตรวจสอบและรับรองมาตรฐาน การส่งเสริม สนับสนุน และเผยแพร่องค์ความรู้เพ่ือ
พัฒนาคุณภาพ ชีวิตชาวนา การแปรรูป และการจัดการอื่น ๆ เพื่อเพิ่มมูลค่าข้าว รวมทั้งการตลาด
และการส่งเสริมวัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวกับข้าว โดยให้มีการ ศึกษา วิเคราะห์
เสนอแนะ และจัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์ข้าวของประเทศ รวมทั้ง ดำเนินการเกี่ยวกับความ
ร่วมมือกับต่างประเทศในเรื่องข้าว วิจัย ทดลอง และพัฒนาเกี่ยวกับพันธุ์ เทคโนโลยีการผลิต
การอารักขา วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวและการแปรรูป และมาตรฐานพันธุ์ข้าว ดำเนินการเกี่ยวกบั
การอนุรักษ์พันธุกรรมและคุ้มครองพันธุ์ข้าว ตรวจสอบและรับรองมาตรฐานข้าว ส่งเสริมและ
สนบั สนุนการสรา้ งมลู ค่าเพิ่ม การพฒั นาระบบการจดั การสินคา้ ข้าว การแปรรปู ขา้ ว สนับสนุนการค้า
ข้าวและผลิตภัณฑข์ ้าว ส่งเสรมิ สนบั สนุน และถา่ ยทอดเทคโนโลยกี ารผลติ และการจัดการผลผลิตข้าว
รวมทั้งอนุรกั ษ์และสง่ เสรมิ วฒั นธรรมและภูมิปัญญาท้องถ่นิ เกีย่ วกบั ข้าว

2.5 กรมประมง

2.5.1 ประวตั ิและความเป็นมา
งานกรมประมง เร่มิ จัดต้ังในปี พ.ศ. 2444 (ร.ศ.120) โดยรัฐบาลมุ่งหวังประโยชน์ 3
ประการคือ 1) การเก็บภาษีอากร 2) ให้มีสัตว์น้ำเพียงพอสำหรับเป็นอาหารของประชาชน และ
3) ให้มีสัตว์น้ำเป็นสินค้าแก่บ้านเมือง แต่ในช่วงปี พ.ศ. 2444-2464 นั้นมุ่งประโยชน์ในการจัดเก็บ
ภาษีอากรมากกว่าการเอาใจใส่ในการบำรุงรักษาพืชพันธุ์สัตว์น้ำ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า
เจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 6) ได้กำหนดให้กระทรวงพระคลังฯ มีหน้าเก็บเงินอากรในที่จับสัตว์น้ำ และ
การเกบ็ คา่ อากรนำ้ สว่ นกระทรวงเกษตราธิการ มหี น้าที่เพาะเลี้ยงและดูแลรักษาสัตว์น้ำ การอนุรักษ์
พันธุ์สัตว์น้ำของประเทศไทยได้เริ่มต้นดำเนินการตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา ในปี พ.ศ. 2469 ได้มีพระ
บรมราชโองการตัง้ กรมรกั ษาสัตว์น้ำขนึ้ สงั กัดอยู่ในกระทรวงเกษตราธิการโดยกำหนดให้มีหน้าที่ดูแล
แนะนำการขยายการจับสัตว์น้ำ เพื่อเป็นอาหารและสินค้าภายในภายนอกประเทศ กำหนดเขต และ
ฤดูที่อนุญาตให้จับสัตว์น้ำ ในปี พ.ศ. 2475 มีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ได้มีประกาศให้รวม
กระทรวงเกษตราธิการ กระทรวงพาณิชย์ และกระทรวงคมนาคม เป็นกระทรวงเดียวกัน เรียกว่า
“กระทรวงเกษตรพาณิชยการ” และเปลี่ยนเป็นชื่อ “กระทรวงเศรษฐการ” ในปีพ.ศ. 2496 ได้มี

372

สถาบนั บณั ฑติ พฒั นบริหารศาสตร์

การประกาศใช้พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม ได้เปลี่ยนนามกรมการประมง
เปน็ “กรมประมง” จนถงึ ปจั จบุ นั (กรมประมง, 2564)

2.5.2 โครงสรา้ งการบริหารราชการ
กรมประมง มีหน่วยงาน ดังนี้ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กลุ่มตรวจสอบภายใน
สำนักงานเลชานุการกรม กองตรวจสอบเรือประมงสินค้าสัตว์น้ำและปัจจัยการผลิต กองกฎหมาย
กองโครงการอันเนื่องจากพระราชดำริและกิจกรรมพิเศษ กองตรวจการประมง กองบริหารจัดการ
ทรัพยากรและกำหนดมาตรการ กองบริหารจัดการเรือประมงและการทำการประมง กองบริหาร
ทรัพยากรบุคคล กองประมงต่างประเทศ กองตรวจสอบคุณภาพสินค้าประมง กองนโยบายและ
แผนพัฒนาการประมง กองยุทธศาสตร์และแผนงาน กองบริหารการคลัง กองวิจัยและพัฒนา
เทคโนโลยีอุตสาหกรรมสัตว์น้ำ กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด กองวิจัยและพัฒนา
ประมงทะเล กองวิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืด กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝ่ัง
กองวิจัยและพัฒนาสุขภาพสัตว์นำ้ กองวิจัยและพัฒนาอาหารสัตวน์ ้ำ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสาร สำนักงานประมงพื้นที่กรุงเทพมหานครและกองวิจัยและพัฒนาพันธุกรรมสัตว์น้ำ
นอกจากนั้นแล้วยังมี สำนักงานประมงจังหวัดทั้งหมด 76 จังหวัด และสำนักงานประมงอำเภอ 538
อำเภอ เพื่อกระจายการดำเนนิ งานของกรมได้อยา่ งครอบคลมุ

2.5.3 วิสัยทัศน์
"เป็นหน่วยงานที่มุ่งพัฒนาและบริหารการเปลี่ยนแปลง เพื่อนำไปสู่การประมงท่ี
ยง่ั ยนื "

2.5.4 พันธกิจ
1) พัฒนาประสิทธิภาพการผลิต เพิ่มมูลค่าของสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์ และ

ความสามารถ ในการประกอบอาชพี ของเกษตรกร
2) พัฒนาเทคโนโลยีการแปรรูปผลิตภัณฑ์ ตรวจสอบคุณภาพและตรวจสอบ

ยอ้ นกลับ
3) บรหิ ารจัดการประมงเพอ่ื ใหม้ ีทรพั ยากรประมงใช้อย่างย่ังยืน
4) พัฒนาการวจิ ยั เพ่อื นำเทคโนโลยีและนวัตกรรมถ่ายทอดสเู่ กษตรกร
5) ปรับบทบาทขององค์กรและพัฒนาทรัพยากรบุคคลให้มีความรู้ สมรรถนะ

ทกั ษะ ทพ่ี รอ้ มปฏิบตั ิงานเพอ่ื รองรบั การเปลย่ี นแปลง

373

โครงการวิจยั
การบริหารราชการแผน่ ดนิ บนพ้ืนฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะที่ ๑)

2.5.5 ค่านยิ มองค์กร (We are FISHERIES)

F = Friendly เตม็ ไปด้วยความเปน็ มิตร

I = Integrity มีคุณธรรม จริยธรรม

S = Smart มีความสง่างามและภาคภมู ใิ จในตนเอง

H = Happiness มีความสุข

E = Enthusiasm มีความกระตือรือรน้ ในการปฏบิ ัตงิ าน

R = Responsibility มีความรับผดิ ชอบต่อภารกิจที่ทา้

I = Intelligence มคี วามคิดทฉี่ ลาดหลักแหลม

E = Energy มีกำลังและพลงั ท่มุ เท

S = Simplicity มคี วามเปน็ อยแู่ ละวถิ ีชีวติ ทเี่ รียบงา่ ย

2.5.6 บทบาทหนา้ ที่
กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นหน่วยงานของรัฐที่ทำการศึกษา
ค้นคว้า สำรวจ วิจัย วิเคราะห์ ทดลอง ด้านวิชาการทุกสาขาวิชาการของประมง สำรวจ วิเคราะห์
วิจัย แหล่งทำการประมงในน่านน้ำต่างประเทศ และดำเนินการเกี่ยวกับการทำการประมงร่วมกับ
ประเทศอื่นๆ ตลอดจนทำการส่งเสริมสนับสนุนและพัฒนาอาชีพที่เกี่ยวกับการประมงของประเทศ
ให้เจรญิ ก้าวหน้าตอ่ ไปในอนาคต

2.6 กรมปศุสัตว์

2.6.1 ประวัติและความเป็นมา
ในปี พ.ศ.2447 ได้เริ่มกิจการทางสาขาสัตวแพทย์ขึ้นในกรมช่างไหม กระทรวงเกษ
ตราธิการ และในปี พ.ศ.2449 ได้มีการเปิดสอนวิชาสัตวแพทย์ขึ้นเป็นครั้งแรก ต่อมาในพ.ศ.2463
ไดม้ กี ารจัดตั้งกิจการผสมสัตว์ และกิจการแผนกรักษาสตั ว์ขึ้นในกรมเพาะปลูก พ.ศ.2474 ได้โอนกรม
เพาะปลูกไปร่วมกิจการของกองตรวจพันธุ์รุกขชาติ โดยจัดตั้งขึ้นเป็น "กรมตรวจกสิกรรม" สังกัด
กระทรวงพาณิชย์และคมนาคม พ.ศ. 2475 ได้แยกกระทรวงพาณิชย์และคมนาคมออกเป็นกระทรวง
คมนาคม และกระทรวงเกษตรพาณิชย์ ซึ่งต่อมากระทรวงเกษตรพาณิชย์ได้เปลี่ยนเป็นกระทรวง
เศรษฐการ พ.ศ.2477 กรมตรวจกสิกรรม ได้เปลี่ยนชื่อเป็น "กรมเกษตร" ซึ่งต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น
"กรมเกษตรและการประมง" โดยกิจการบำรุงพันธุ์สัตว์ การรักษาและป้องกันโรคสัตว์ได้รวมกันยก
ฐานะเป็น"กองอุตสาหกรรมสัตวพรรณ" พ.ศ.2481 กองอุตสาหกรรมสัตวพรรณ ขยายงานแบ่ง
ออกเป็น 2 กอง คือ กองสัตวรักษ์ และกองสัตวบาล ต่อมาได้มีพระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง "กรมปศุสัตว์

374

สถาบันบณั ฑติ พัฒนบริหารศาสตร์

และสัตว์พาหนะ สังกัดกระทรวงเกษตราธิการ ปี 2495 ได้เปลี่ยนชื่อจาก "กรมปศุสัตว์และสัตว์
พาหนะ" เป็น "กรมการปศุสัตว์" สังกัดกระทรวงเกษตร ปี 2496 กรมการปศุสัตว์ ได้เปลี่ยนชื่อเป็น
"กรมปศุสตั ว"์ ตงั้ แต่นน้ั เปน็ ต้นมา (กรมปศุสัตว์, 2564)

2.6.2 โครงสร้างการบรหิ ารราชการ
กรมปศุสัตว์แบ่งส่วนบริหารราชการออกเป็น ราชการบริหารส่วนกลางและส่วน
ภูมิภาค ในส่วนบริหารส่วนกลางมีหน่วยงานดังต่อไปนี้ สำนักงานเลขานุการกรม กองการเจ้าหน้าที่
กองคลัง กองความร่วมมือด้านการปศุสัตว์ระหว่างประเทศ กองแผนงาน กองส่งเสริมและพัฒนาการ
ปศุสัตว์ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สถาบันสุขภาพสัตว์แห่งชาติ สำนักกฎหมาย
สำนักควบคุมป้องกันและบำบัดโรคสัตว์ สำนักงานปศุสัตว์เขต 1-9 สำนักงานปศุสัตว์พื้นที่
กรุงเทพมหานคร สำนักตรวจสอบคุณภาพสินค้าปศุสัตว์ สำนั กเทคโนโลยีชีวภัณฑ์สัตว์
สำนักเทคโนโลยีชีวภาพการผลิตปศุสัตว์ สำนักพัฒนาพันธุ์สัตว์ สำนักพัฒนาระบบและรับรอง
มาตรฐานสินค้าปศุสัตว์และสำนักพัฒนาอาหารสัตว์ ส่วนราชการบริหารส่วนภูมิภาค มีสำนักงาน
ปศุสัตวจ์ ังหวดั 76 จังหวัด และสำนกั งานปศุสัตวอ์ ำเภอ 878 อำเภอ

2.6.3 วิสัยทัศน์
“เป็นองค์การที่นำและขับเคลื่อนการปศุสัตวไ์ ทย สู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืนใน

ตลาดโลก”

2.6.4 พันธกิจ
1) เสริมสร้างการพัฒนาเพิ่มศักยภาพ และสมรรถนะบุคลากรในกระบวนการปศุ

สัตว์ไทยให้ได้มาตรฐาน มีความเป็นมืออาชีพ มีความรู้ ความเข้าใจ พร้อมรับ
การเปลี่ยนแปลง เผชิญปัจจัยเสี่ยง และก้าวเข้าสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจ
อาเซียน (ASEAN Economics Community: AEC) ตลอดจน ส่งเสริมการสรา้ ง
คุณค่า ความสำคัญในอาชีพเกษตรกรด้านการปศุสัตว์ ปรับโครงสร้างการผลิต
เนน้ การพ่ึงพาตนเอง เพื่อยกระดบั คณุ ภาพอาชีพเกษตรกร
2) ปรับปรุงโครงสร้างการผลิตให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม พัฒนาพันธุ์สัตว์
พืชอาหารสัตว์ สุขภาพสัตว์ควบคู่กับการกำกับดูแลมาตรฐานการผลิตให้มี
ความน่าเชื่อถือ ตามเงื่อนไขประเทศคู่ค้า และตามหลักมาตรฐานสากล
เสริมสร้างมูลค่าเพิ่มด้วยความคิดสร้างสรรค์ เสริมสมรรถนะ ศักยภาพทาง

375

โครงการวิจัย
การบรหิ ารราชการแผน่ ดินบนพืน้ ฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะที่ ๑)

การแข่งขัน กำกับคุณภาพของผลิตภัณฑ์ และสนับสนนุ การผลติ ให้ได้ปริมาณที่
เพยี งพอต่อความต้องการของตลาด
3) พัฒนาระบบสารสนเทศให้มีความเข้มแข็ง เป็นศูนย์กลางแห่งการเรียนรู้ครบ
วงจร เข้าถงึ ง่าย สะดวกรวดเร็ว ถกู ต้องและเปน็ ธรรม โดยบคุ ลากรในเครือข่าย
ของการปศุสัตวส์ ามารถใช้ประโยชน์ไดจ้ รงิ
4) สนับสนุนการวิจัย และพัฒนา เทคโนโลยี นวัตกรรม ในเชิงบูรณาการกับ
ภูมปิ ญั ญา และความคิดสรา้ งสรรค์
5) เพอ่ื เป็นฐานแหง่ ศนู ยก์ ลางแหลง่ ความรู้ มุ่งสื่อสารถา่ ยทอดความรไู้ ปสู่เกษตรกร
ผู้ประกอบการ ให้สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ ทั้งในเชิงวิชาการ สาธารณสุข
การพาณชิ ย์ และอนื่ ๆ ได้อยา่ งยงั่ ยืน
6) กำกับ ดูแล ตรวจสอบกระบวนการปศุสัตว์ ด้วยกฎหมาย เงื่อนไข กฎระเบียบ
ให้ไดม้ าตรฐานสากลและความรว่ มมอื กับต่างประเทศ

2.6.5 คา่ นยิ มองค์กร (I2 - SMART)

I = Innovation สรา้ งนวัตกรรม

I = Integration ทำงานแบบบรู ณาการ

S = Standard สรา้ งมาตรฐานสนิ คา้ ปศสุ ตั ว์

M = Mastery การทำงานอย่างมืออาชีพ

A = Agility ความคลอ่ งตวั และพร้อมรับการเปลย่ี นแปลง

R = Responsibility มคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคมและประเทศชาติ

T = Teamwork ม่งุ ม่นั ในการทำงานร่วมกัน

2.6.6 บทบาทหน้าที่
กรมปศุสัตว์ มีภารกิจเกี่ยวกับการกำหนดทิศทางนโยบาย ควบคุม กำกับ ส่งเสริม
การวิจัย การถา่ ยทอดเทคโนโลยี และการพฒั นาเทคโนโลยีเก่ียวกบั การปศสุ ัตว์ รวมท้งั บริหารจัดการ
ทรัพยากรพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีวภาพด้านการปศุสัตว์ เพื่อให้มีปริมาณสัตว์เพียงพอ
และมีมาตรฐาน ถูกสุขอนามัย ปราศจากโรค สารตกค้าง และสารปนเปื้อน มีความปลอดภัยต่อ
ผ้บู ริโภคและสิ่งแวดลอ้ ม และสามารถแขง่ ขนั ได้ในระดับสากล โดยดำเนินการตามกฎหมายว่าดว้ ยโรค
ระบาดสัตว์ กฎหมายว่าด้วยการบำรุงพันธุ์สัตว์ กฎหมายว่าด้วยการควบคุมคุณภาพอาหารสัตว์

376

สถาบันบณั ฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์

กฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาลสัตว์ กฎหมายว่าด้วยโรคพิษสุนัขบ้า กฎหมายว่าด้วยการควบคุม
การฆา่ สตั ว์และจำหน่ายเน้อื สัตว์ และกฎหมายอนื่ ทเี่ ก่ยี วข้อง

2.7 กรมวิชาการเกษตร

2.7.1 ประวัตแิ ละความเป็นมา
กรมวิชาการเกษตรได้รบั การสถาปนาขึน้ เปน็ หนว่ ยงานในสงั กัดกระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2515 แต่ก่อนที่จะมาเป็นกรมวิชาการเกษตรในปัจจบุ ัน หน่วยงาน
นี้มีประวัติความเป็นมาที่ยาวนาน นับย้อนหลังไปเม่ือวันที่ 30 กันยายน 2446 ได้มีการจัดตั้งกรมช่าง
ไหมขึ้นในกระทรวงเกษตราธิการซึ่งถือเปน็ การกำเนดิ กรมวชิ าการเกษตร (กรมวิชาการเกษตร, 2564)
โดยมรี ายละเอียดตามลำดบั ดงั น้ี
- พ.ศ. 2449 เปล่ียนชอ่ื กรมช่างไหม เป็น กรมเพาะปลูก
- พ.ศ. 2474 เปล่ยี นชอ่ื กรมเพาะปลูก เป็น กรมตรวจกสิกรรม
- พ.ศ. 2476 เปลี่ยนชอ่ื กรมตรวจกสิกรรม เป็น กรมเกษตร
- พ.ศ. 2478 เปลย่ี นช่ือกรมเกษตร เป็น กรมเกษตรและการประมง
- พ.ศ. 2474 แยกกรมเกษตรและการประมงเป็น 2 กรม คือ กรมเกษตร และ
กรมการประมง
- พ.ศ. 2495 เปลยี่ นชือ่ กรมเกษตร เป็น กรมการกสกิ รรม
- พ.ศ. 2496 ยกฐานะกองการข้าวและการทดลอง ซึ่งอยู่ภายใต้สังกัดของกรม

การกสกิ รรม จัดตัง้ เปน็ กรมการขา้ ว แยกออกมาจาก กรมการกสกิ รรม
- พ.ศ. 2497 เปลยี่ นชื่อกรมการกสกิ รรม เป็น กรมกสกิ รรม
- พ.ศ. 2515 รวมกรมการข้าว กบั กรมกสกิ รรม สถาปนาเปน็ กรมวิชาการเกษตร

2.7.2 โครงสร้างการบริหารราชการ
โครงสร้างของกรมวิชาการเกษตร แบ่งออกเป็น 4 กลุ่มงานคือ 1) กลุ่มบริหาร มี 7
หน่วยงาน คือ สำนักงานเลขานุการกรม กองการเจ้าหน้าท่ี กองคลัง กองแผนงานและวิชาการ
ศูนย์เทคโนโลยีการสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักนิติการและกองประสานงานโครงการอัน
เนอื่ งมาจากพระราชดำริ 2) กลุ่มวิจัยและพฒั นา มี 8 หนว่ ยงาน คอื สำนักงานวจิ ยั พฒั นาอารักขาพืช
สำนักวจิ ยั พฒั นาเทคโนโลยีชวี ภาพ กองวจิ ยั พฒั นาปจั จัยการผลิตทางการเกษตร กองวิจัยและพัฒนา
วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวและแปรรูปผลิตผลเกษตร สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน
สถาบันวิจัยพชื สวน สถาบนั วจิ ยั เกษตรวิศวกรรม และกองวิจัยพัฒนาเมลด็ พันธ์พชื 3) กลุ่มมาตรฐาน

377


Click to View FlipBook Version