The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการวิจัย การบริหารราชการแผ่นดิน บนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะที่1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by SEP Action, 2022-04-18 09:28:41

รายงานผลการทำกิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัย

โครงการวิจัย การบริหารราชการแผ่นดิน บนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะที่1)

Keywords: sepaction,เศรษฐกิจพอเพียง

โครงการวิจยั
การบริหารราชการแผน่ ดินบนพ้นื ฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะที่ ๑)

สามารถนำไปประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาการบริหารและปฏิบัติราชการให้สะท้อนความเป็นเศรษฐกิจ
พอเพยี งที่สูงขน้ึ ได้ โดยแผนทีน่ ำทางที่แสดงประกอบด้วยเปา้ หมายเชงิ กลยทุ ธ์ กำหนดเวลาท่ีต้องแล้ว
เสรจ็ ความคบื หนา้ ของการปฏิบัติตามเป้าหมายน้ัน ณ เวลาปจั จบุ ัน แนวทางการปฏบิ ัติ และตัวอย่าง
โครงการที่หนว่ ยงานสามารถนำไปจดั ทำเพ่ือใหบ้ รรลุตามเป้าหมายท่ีกำหนดเพ่ือการพฒั นาการปฏิบัติ
ราชการให้ประยุกต์หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่มีการพัฒนาขึ้นทั้ง 3 ระดับ ได้แก่
ระดับเข้าข่าย ที่จะสะท้อนให้เห็นถึงการเป็นองค์การที่ยั่งยืน ระดับเข้าใจ ที่ที่จะสะท้อนให้เห็นถึง
การเป็นองค์การแห่งความสุข และระดับเข้าถึง ที่จะสะท้อนให้เห็นถึงการเป็นองค์การ
แห่งประโยชนส์ ขุ ได้ ทง้ั นี้ การปรับแผนทนี่ ำทางไปใช้ของหน่วยงานก็ขึน้ อย่ทู วี่ ่าผลการประเมินความ
เป็นเศรษฐกิจพอเพียงของหน่วยงานอยู่ที่ระดับใดและยังมีปัจจัยใดที่จะต้ องพัฒนายกระดับขึ้นมา/
เพื่อนำไปสู่การสะทอ้ นความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงในระดบั ทส่ี ูงขึ้

292

ตารางที่ 5.3
แผนที่นำทาง (Roadmaps) การพัฒนาส่คู วามเปน็ เศรษฐกจิ พอเพียง 3 ระดับ

เปา้ หมายเชิงกลยทุ ธ์ กำหนด สถานะ แนวทา
สำเรจ็ ปัจจุบัน
ระดับเข้าข่าย
มิตทิ ี่ การกำหนดเป้าหมายและนโยบายตาม 1 • กำหนดเปา้ หมายและผลลพั
พนั ธกจิ และประโยชน์สขุ เป้าประสงคข์ องกระทรวง
1) การกำหนดเป้าหมายและนโยบายทต่ี อบสนอง พระราชดำรติ ่าง ๆ
พันธกจิ วสิ ยั ทศั น์ และยทุ ธศาสตรข์ ององค์การ
• กำหนดเป้าหมายที่ครอบค
2) ในการกำหนดเปา้ หมายและนโยบายมีการ ภารกจิ องค์การ
ถา่ ยทอด สรา้ งความเขา้ ใจ และพัฒนาการมี
สว่ นร่วมของบคุ ลากร • มกี ารส่อื สารชีแ้ จง รายละเ
แผนงาน/ มีการรับฟังและห
เปน็ ส่วนหน่งึ ในขนั้ ตอนการ

• มกี ารบรู ณาการแผนงานทั้ง
ถา่ ยทอดลงสู่การปฏบิ ัติ/ ม
จากผเู้ กยี่ วขอ้ งและใชก้ ลไก
ปฏิบตั ิในระดับตา่ ง ๆ

293

สถาบนั บณั ฑติ พฒั นบริหารศาสตร์

างการดำเนินการ ตัวอย่างโครงการ ผ้รู ับผดิ ชอบ

พธข์ องภารกจิ ที่สอดคลอ้ งกบั • โครงการปฏิบัตริ าชการตามคำรับรองการปฏบิ ตั ิราชการของ

โดยอาจมโี ครงการอันเนอื่ งมาจาก หน่วยงาน

คลมุ มิติในการพฒั นาความเข้มแข็งของ • โครงการพฒั นาประสิทธิผลในการปฏิบตั ริ าชการ

เอยี ดตา่ ง ๆ และมกี ารรว่ มกนั จดั ทำ • โครงการจัดการประชมุ เชงิ ปฏิบัตกิ ารในการจัดทำแผนปฏิบตั ิ
หรอื นำเอาความคิดของผู้ปฏิบตั ิมา ราชการ
รวางแผน

งจากบนลงลา่ งและลา่ งข้ึนบน และ • โครงการพัฒนาการบูรณาการ การทำงานร่วมกบั หน่วยงาน/
มกี ารระดมความคดิ เหน็ ในการวางแผน เครือขา่ ยต่าง ๆ
กการสื่อสารหลายชั้นเพื่อให้เขา้ ถึงผู้ • โครงการจัดทำส่อื ประเภทตา่ งๆ เพอ่ื ส่ือสารแผน

• โครงการพัฒนากระบวนการ ขัน้ ตอน ของการบูรณาการแผน
และกลไก/ช่องทางการสอ่ื สารแผน

294 โครงการวิจยั
การบริหารราชการแผน่ ดินบนพืน้ ฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะที่ ๑)

ตารางที่ 5.3 (ต่อ)

เป้าหมายเชงิ กลยทุ ธ์ กำหนด สถานะ แนวทา
สำเรจ็ ปัจจบุ ัน
มิตทิ ่ี 2 การบรหิ ารงานอยา่ งเปน็ ระบบ
โปร่งใส มีธรรมาภบิ าล • มีการจัดทำแนวทางปฏบิ ัต
1) การบริหารจัดการอย่างเปน็ ระบบชว่ ยให้ ตดิ ตามการดำเนนิ งาน / ม
เกดิ ประสิทธภิ าพในการทำงาน รับผิดชอบตวั ช้ีวัดต่างๆ มกี
เป็นประจำ
2) การบริหารงานอยา่ งโปรง่ ใส มนี โยบาย
มาตรการ ระบบการตรวจสอบ ในการกำกับ • มีแนวทางในการปฏบิ ัตงิ าน
ดูแล และเปดิ เผยข้อมลู กำหนดภารกจิ / ใชเ้ ทคโนโ
การสอื่ สารแบ่งปันแกผ่ ู้เกย่ี

• กำหนดนโยบายเก่ียวกบั ห
ดำเนนิ งานของหน่วยงาน
ความคิดเห็นจากบุคลากร

• มกี ารจดั ทำแนวทางปฏิบัต
การปฏบิ ตั งิ าน มีกลไกในก
จากหนว่ ยงานอ่นื หรอื ภาค

างการดำเนินการ ตัวอย่างโครงการ ผู้รับผิดชอบ

ตทิ ี่ชดั เจน และสร้างกลไกในการ • โครงการจัดทำแนวทางการปฏบิ ตั ิราชการและกลไกการ

มกี ารแบ่งงานและกำหนดความ ติดตามงาน

การแลกเปลีย่ นข้อมูลระหวา่ งผปู้ ฏบิ ตั ิ • โครงการจดั ทำการแบง่ ปันความร้แู ละขอ้ มูลสารสนเทศ

นโดยการใชข้ อั มูลเป็นพนื้ ฐานในการ • โครงการจัดระบบขอ้ มลู ขนาดใหญ่

โลยีเข้ามาช่วยในการปฏิบตั ิงาน และมี • โครงการพัฒนาการใช้ขอ้ มลู สารสนเทศและเทคโนโลยใี น

ยวข้องเพื่อใหร้ ู้เท่าทันกัน การปฏิบตั งิ าน

หลกั ความโปร่งใสเพอ่ื กำกบั ทศิ ทาง • โครงการทบทวน นโยบาย หลกั การ/แนวทางการปฏบิ ัติด้าน

มกี ารสื่อสารนโยบายและหรือระดม ความโปร่งใส และการกำกบั ดแู ลการดำเนนิ งาน

ตงิ าน และใชเ้ ทคโนโลยเี ข้ามาชว่ ยใน • โครงการพัฒนาแนวทาง/ คู่มือ/ ระบบ/ ข้ันตอน การปฏบิ ตั ิ
การกำกบั ดแู ล และหรอื มกี ารใช้กลไก ราชการ
คใี นการตรวจสอบการดำเนินงาน
• โครงการพัฒนาเทคโนโลยี หรือโปรแกรมทช่ี ่วยในการการ
ปฏบิ ตั ิงาน

ตารางท่ี 5.3 (ตอ่ )

เป้าหมายเชิงกลยทุ ธ์ กำหนด สถานะ แนวทา
สำเรจ็ ปัจจบุ ัน
มติ ิท่ี 3 บุคลากร มีคุณธรรมและเก่ง
1) การพัฒนาส่งเสริมการมคี ุณธรรมและ • มีการกำหนดค่านิยมและใ
จริยธรรมใหแ้ กบ่ คุ ลากร สมั พันธภาพอนั ดใี นหม่บู ุคลา
คณุ ธรรม จรยิ ธรรม
2) บุคลากรมกี ารฝกึ ทกั ษะ ความรทู้ ่ีเกยี่ วเน่อื ง • มีการกำหนดระเบียบแนว
กบั การงานท่ีอยูใ่ นความรับผิดชอบ รวมทัง้ มี สุจริตและความมคี ณุ ธรรม ม
สมรรถนะดา้ นเทคโนโลยที จ่ี ำเปน็ ในการ รวมท้งั การลงโทษกรณที จุ ริต
ทำงาน
• มวี ิธีการในการพัฒนาความ
และมกี ารเนน้ ภาคปฏบิ ตั ิ รวม
ทันสงั คมยคุ ดจิ ิทลั

• มีการตัง้ งบประมาณ และม
เกย่ี วกบั งาน และนอกงานหล

295

สถาบันบณั ฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์

างการดำเนนิ การ ตวั อยา่ งโครงการ ผู้รบั ผิดชอบ

ใช้กจิ กรรมทหี่ ลากหลายในการสง่ เสริม • โครงการสง่ เสริมคา่ นยิ มด้านคุณธรรมของหน่วยงาน
ากร และในการพฒั นาบุคลากรด้าน • โครงการพัฒนาบคุ ลากรด้านคณุ ธรรมและจริยธรรม

• โครงการพฒั นาความร้ดู ้านปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

วทางปฏิบตั ทิ ส่ี ง่ เสรมิ ความซื่อสัตย/์ • โครงการทบทวนแนวทางปฏบิ ัตทิ ีส่ ง่ เสริมความซ่ือสตั ยส์ ุจริต
มีการส่งเสริมคุณธรรมที่หลากหลาย และความมคี ณุ ธรรม
ตอยา่ งจริงจงั
• โครงการรางวัลการประพฤติดีเด่นดา้ นคณุ ธรรมและจริยธรรม
ของหน่วยงาน

มรู้ ทกั ษะท่หี ลากหลายทงั้ ภาคทฤษฎี • โครงการพฒั นาความร้แู ละทกั ษะเกยี่ วกบั หน้าท่ีความ
มท้งั ความรทู้ กั ษะในเทคโนโลยใี ห้เท่า รบั ผิดชอบ

• โครงการพัฒนาความรู้และทกั ษะเกย่ี วกบั เทคโนโลยใี นยุค
ดิจิทลั

มกี ารใชว้ ธิ ีการในการพัฒนาความรู้ • โครงการพฒั นาบุคลากรดา้ นเศรษฐกจิ และการเงิน
ลายรปู แบบวิธกี าร/ • โครงการพัฒนาบคุ ลากรด้านมนษุ ยสมั พนั ธ์

296 โครงการวิจัย
การบรหิ ารราชการแผน่ ดินบนพ้ืนฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ระยะที่ ๑)

ตารางท่ี 5.3 (ต่อ)

เป้าหมายเชิงกลยุทธ์ กำหนด สถานะ แนวทา
สำเรจ็ ปจั จุบัน
มติ ทิ ่ี 4 ประโยชนแ์ กอ่ งค์การและสงั คม
1) ผลการดำเนินงานของหน่วยงานบรรลตุ าม • ผลการดำเนินงานบรรลตุ า
พันธกจิ และเป้าประสงคข์ ององค์การ องคก์ าร

2) ความสามารถในการเผชิญหรือตอบสนอง • มีการดำเนินงานนอกเหนอื
ตอ่ การเปลย่ี นแปลงได้ ดำเนนิ งานมีการใชก้ ารอา้ ง
ดำเนนิ การเพมิ่ เตมิ จากกา
วางไว้ เช่ ใชก้ ารสง่ ผลงาน
ของบุคลากร

• มกี ารหาแนวทาง/การเตรยี
อุปสรรคต่างๆ ในปัจจุบันเ

• มแี นวทางการแก้ปัญหาเช

• มกี ารบรหิ ารทรพั ยากรที่ม
ภายใตส้ ภาวการณ์ที่มีควา

างการดำเนนิ การ ตัวอย่างโครงการ ผู้รบั ผดิ ชอบ

ามเปา้ หมาย ยทุ ธศาสตร์ ของ • โครงการยกระดบั ผลการปฏิบตั ริ าชการตามยุทธศาสตร์

อจากที่กำหนดไวแ้ ต่แรก/ ผลการ • โครงการพฒั นาการปฏบิ ตั ริ าชการเพอ่ื ปอ้ งกนั และแก้ไข
งองิ จากผ้รู บั บริการ และหรือมกี าร ปัญหาให้แกผ่ ู้รบั บรกิ าร
ารมงุ่ เฉพาะการบรรลตุ ามเป้าหมายท่ี
นเข้าประกวดเพ่อื กระต้นุ ความตื่นตวั • โครงการสง่ ประกวดผลงานตามมาตรฐาน PMQA

ยมการในการแก้ไข รับมือกับปัญหา • โครงการพฒั นาความยืดหยนุ่ ในการปฏบิ ตั ิงานขององคก์ าร
เพอ่ื ให้บรรลภุ ารกิจ
• โครงการถ่ายทอดบทเรยี นการบรหิ ารทรัพยากรให้เกิด
ชงิ รกุ ในภาพรวม ในภารกจิ ต่าง ๆ ประโยชนส์ ูงสุด

มอี ย่อู ยา่ งจำกดั ใหเ้ กดิ ประโยชน์สงู สดุ • โครงการยกระดับการบรหิ ารความเสีย่ งขององคก์ าร
ามขาดแคลน/ความเส่ยี งต่าง

ตารางที่ 5.3 (ต่อ)

เป้าหมายเชิงกลยทุ ธ์ กำหนด สถานะ แนวทา
สำเรจ็ ปจั จบุ นั
ระดบั เขา้ ใจ
• การจัดลำดบั ความสำคญั ข
มิติท่ี 1 การกำหนดเปา้ หมายและนโยบายตาม ประเทศในส่วนท่เี ก่ียวข้อง
พนั ธกจิ และประโยชนส์ ุข การจัดทำงบประมาณ
1) 1) การกำหนดเปา้ หมายและนโยบายท่ี
เชอื่ มโยงและสอดรบั กบั เป้าประสงค์ของ • การกำหนดเปา้ หมายและแ
ยุทธศาสตร์ชาติ หน่วยงาน/เครือข่ายท่เี ก่ยี
ของคก์ ารท่ีเปน็ แผนระยะย
2) ในการกำหนดเป้าหมายและนโยบายมกี าร หลกั การแนวทางท่ชี ัดเจน
ถ่ายทอด สรา้ งความเขา้ ใจ และพัฒนาการมี
สว่ นร่วมขององคก์ ารอืน่ หรือเครอื ขา่ ยตา่ ง ๆ • การเชิญบคุ ลากรจากหนว่
ในการดำเนินภารกจิ มารว่
ในภารกิจดว้ ย

• การถา่ ยทอดแผนงานแก่เค
ชอ่ งทางท่ีหลากหลาย

297

สถาบันบัณฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์

างการดำเนินการ ตวั อย่างโครงการ ผรู้ ับผดิ ชอบ

ของยทุ ธศาสตร์คำนงึ ถงึ ปญั หาของ • โครงการการสง่ เสรมิ ศกั ยภาพของเกษตรกรตามหลกั
งของกระทรวงเป็นปจั จัยพจิ ารณาใน ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

แผนงานทม่ี กี ารบรู ณาการกบั • โครงการดำเนนิ งานตามศาสตรพ์ ระราชา
ยวข้อง และหรอื การกำหนดวิสยั ทศั น์
ยาว ทอ่ี งคก์ ารตอ้ งการจะบรรลโุ ดยมี • โครงการดำเนนิ งานเพอื่ ตอบสนองยทุ ธศาสตรข์ องกลมุ่
จังหวดั

วยงานอืน่ หรือประชาสงั คมทเี่ กีย่ วข้อง • โครงการบรู ณาการแผนการปฏบิ ตั งิ านรว่ มกบั หนว่ ยงาน
วมในการกำหนดเป้าหมายหรือวางแผน และประชาสังคมทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง

ครอื ขา่ ยประชาสังคมทเ่ี กี่ยวขอ้ งดว้ ย • โครงการยกระดบั การมสี ว่ นร่วมกบั ประชาสังคมในการ
จดั ทำแผนงาน

298 โครงการวิจยั
การบรหิ ารราชการแผ่นดินบนพ้ืนฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ระยะที่ ๑)

ตารางท่ี 5.3 (ตอ่ )

เปา้ หมายเชงิ กลยทุ ธ์ กำหนด สถานะ แนวทา
สำเรจ็ ปจั จบุ ัน
มติ ิที่ 2 การบริหารงานอยา่ งเปน็ ระบบ
โปรง่ ใส มธี รรมาภบิ าล • การกำหนดมาตรการทท่ี ำ
1) การพฒั นาการบริหารจัดการอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ประโยชนด์ ้วยกัน และหรือ
ต้องการและผลกระทบขอ
2) การบรหิ ารจัดการโดยใหค้ วามสำคัญแก่
ผรู้ ับบรกิ ารและผ้มู ีสว่ นได้ส่วนเสีย • การคำนึงถงึ ผลลพั ธ์สดุ ท้า
โดยแนวทางการบริการทร
หรือการจดั ระบบงานหรือ
ช่วยเหลอื ผู้รบั บรกิ ารอยา่ ง

• การจดั เวทสี ื่อสารกบั เครอื
ดำเนนิ งานท่มี ีประสิทธภิ า

• การติดตามผล และปรบั ป

างการดำเนนิ การ ตวั อยา่ งโครงการ ผ้รู ับผดิ ชอบ

ำให้ผู้รบั บริการหรอื ผูม้ สี ่วนไดเ้ สยี ได้ • โครงการสำรวจความพึงพอใจของผู้รบั บรกิ าร
อการปฏิบัตงิ านทตี่ ้องคำนึงถงึ ความ • โครงการประเมินผลกระทบต่อผมู้ สี ่วนไดส้ ่วนเสยี ในการ
องประชาชนอย่างทัว่ ถึง รอบดา้ น ดำเนนิ งาน
• โครงการเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการแกป้ ญั หาของประชาสังคม
ายทปี่ ระชาชนจะไดร้ ับปน็ ปัจจยั สำคัญ • โครงการยกระดบั การดำเนินงานเพื่อประโยชน์แก่
รพั ยากรใหเ้ กดิ ความคมุ้ คา่ สูงสุด และ ประชาสังคม
อการพฒั นาบุคลากรเพื่อใหค้ วาม
งมปี ระสิทธภิ าพ • โครงการยกระดบั ความร่วมมอื กบั เครอื ข่ายและประชาสังคม

อขา่ ยสำคัญเพอื่ ให้ได้แนวทางการ • โครงการพัฒนาการติดตามผลการปฏิบตั ิงาน
าพ • โครงการยกระดับผลการปฏิบตั ิงานของหน่วยงาน

ปรุงแก้ไขการปฏบิ ัตงิ านอยา่ งสม่ำเสมอ

ตารางที่ 5.3 (ตอ่ )

เปา้ หมายเชิงกลยทุ ธ์ กำหนด สถานะ แนวทา
สำเรจ็ ปัจจบุ นั
มิตทิ ี่ 3 บคุ ลากร มีคณุ ธรรมและเกง่
• ผบู้ ริหารใช้ภาวะผู้นำในกา
1) การสนบั สนนุ ใหบ้ คุ ลากรแสดงพฤติกรรม ประสงค์ของบคุ ลากร
การเป็นพลเมอื งที่ดีขององค์การ
(organization citizenship behavior - • การส่งเสริม สรา้ งขวัญกำล
OCB) ความประพฤติทดี่ ี ทง้ั การใ
การยกยอ่ งชมเชยตา่ ง ๆ
2) บคุ ลากรได้รับการพัฒนาใหส้ ามารถคิดเชงิ
วิเคราะห์ คิดเชงิ วพิ ากษ์ และคิดเชงิ ริเริ่ม • การส่งเสริมและดำเนนิ การ
สร้างสรรค์ รวมถึงสามารถพฒั นานวตั กรรมได้ เพม่ิ ประสิทธิภาพ ประสทิ
หน่วยงาน

• การสง่ เสรมิ และดำเนินการ
สะท้อนถึงความคิดรเิ รมิ่ สร
ของบคุ ลากรได้

299

สถาบันบณั ฑติ พัฒนบริหารศาสตร์

างการดำเนนิ การ ตวั อยา่ งโครงการ ผรู้ บั ผิดชอบ

ารกระต้นุ ส่งเสรมิ พฤตกิ รรมทีพ่ ึง • โครงการสร้างกำลงั ใจจากผบู้ ริหาร
• โครงการยกย่องพฤติกรรมทีส่ ง่ เสริมคุณธรรม
ลงั ใจแกบ่ ุคลากรในหน่วยงานทีม่ ี • โครงการสง่ เสริมคนดใี ห้สามารถรบั ตำแหนง่ ท่ีสูงข้นึ
ใหร้ างวลั การเลอื่ นตำแหน่งงาน • โครงการสง่ เสรมิ พฤตกิ รรมการเปน็ พลเมอื งทด่ี ีขององคก์ าร
• โครงการโล่รางวัลหนว่ ยงานท่ีสะทอ้ น OCB ดีเด่น
รใหบ้ คุ ลากรศกึ ษาคน้ คว้าวจิ ยั เพอ่ื • โครงการสง่ เสริมทกั ษะการคดิ ในศตวรรษที่ 21 ของบุคลากร
ทธผิ ลของการปฏิบัติการของ • โครงการยกระดบั การนำเสนองานบนพน้ื ฐานการคดิ
วเิ คราะหแ์ ละการวจิ ัย
รใหบ้ ุคลากรสามารถสร้างผลงานที่ • โครงการพัฒนาการคิดอย่างรเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์
ร้างสรรคแ์ ละการพฒั นานวัตกรรม • โครงการยกระดับการประยุกตค์ วามคดิ ส่นู วตั กรรม
• โครงการพฒั นาระบบงานดว้ ยนวตั กรรมเพื่อเพิม่
ประสทิ ธภิ าพในการทำงาน

300 โครงการวจิ ัย
การบริหารราชการแผน่ ดนิ บนพ้ืนฐานหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ระยะท่ี ๑)

ตารางท่ี 5.3 (ตอ่ )

เปา้ หมายเชงิ กลยุทธ์ กำหนด สถานะ แนวทา
สำเรจ็ ปัจจุบนั
มิตทิ ี่ 4ประโยชน์แก่องค์การและสังคม
• ผลการดำเนนิ งานบรรลุต
1) ผลการดำเนนิ งานของหนว่ ยงานสง่ ประเทศ
ผลกระทบตอ่ ภาคี เครอื ข่าย และยุทธศาสตร์
ชาติ • มีการดำเนินงานนอกเหน
ประโยชน์ตอ่ ประชาชน ห
2) ความสามารถในการสรา้ งความสขุ และ การอ้างองิ จากประชาชน
คณุ ภาพชวี ิตที่ดีในการทำงานใหแ้ กบ่ คุ ลากร
ภายในองค์การ • ผูบ้ รหิ ารใหค้ วามสำคญั ใน
สนับสนุนให้บุคลากรมีคว
ทำงาน และหรอื การพัฒ
บุคลากรมคี วามสุขและค

• บุคลากรมคี วามสขุ และม
ระดับสงู

างการดำเนินการ ตวั อยา่ งโครงการ ผรู้ บั ผิดชอบ

ตามเปา้ หมาย ยทุ ธศาสตร์ ของ • โครงการพฒั นาการปฏิบตั ิราชการท่เี ชื่อมโยงกบั ยุทธศาสตร์
ชาติ
นอื จากท่ีกำหนดไว้แต่แรกทีส่ ง่ ผล
หรอื ผลการดำเนินงานมกี ารใช้ • โครงการยกระดับการปฏบิ ตั ริ าชการเพอ่ื ประโยชนแ์ ก่
น ประชาชน
นการพฒั นาระบบการทำงานทจี่ ะ
วามสุขและคุณภาพชวี ติ ในการ • โครงการพฒั นาคุณภาพชวี ติ ทีด่ ีในการทำงาน
ฒนาระบบการทำงานทีจ่ ะสนับสนุนให้ • โครงการพฒั นาระบบงานเพ่ือคุณภาพชวี ติ ท่ีสงู ขนึ้ ของ
คุณภาพชวี ติ ในการทำงาน
มีคุณภาพชวี ติ ในการทำงานใน บุคลากร

• โครงการประเมนิ ความสขุ และคุณภาพชวี ติ ของบุคลากร
• โครงการสรา้ งเสริมความสขุ แก่บุคลากร

ตารางท่ี 5.3 (ต่อ)

เปา้ หมายเชิงกลยทุ ธ์ กำหนด สถานะ แนวทา
สำเร็จ ปจั จุบนั
ระดบั เข้าถึง
มติ ิท่ี 1 การกำหนดเป้าหมายและนโยบายตาม • การกำหนดนโยบาย ยทุ ธ
พันธกจิ และประโยชนส์ ขุ สนับสนุนหรอื สง่ เสริมกา
1) การกำหนดเปา้ หมายและนโยบายทม่ี ีส่วน
สนบั สนนุ หรือส่งเสรมิ การพฒั นาของสังคม
หรือมวลมนุษยชาติ

2) ในการกำหนดเป้าหมายและนโยบาย • การดำเนนิ โครงการทช่ี ่วย
มีการถา่ ยทอด สร้างความเข้าใจ และ ผดู้ ้อยโอกาสต่าง ๆ
พัฒนาการมีส่วนรว่ มของประชาชนในสังคม
• การเผยแพร่ สรา้ งการรับร
องคก์ ารในหมปู่ ระชาชนท

• การพัฒนาการมีส่วนรว่ มข

301

สถาบันบัณฑติ พฒั นบริหารศาสตร์

างการดำเนินการ ตัวอยา่ งโครงการ ผรู้ บั ผดิ ชอบ

ธศาสตร์ของหนว่ ยงานมสี ่วน • แผนการดำเนินงานทสี่ ะทอ้ นผลประโยชนข์ องสงั คม
ารพัฒนาของสงั คม • แผนการอนรุ กั ษแ์ ละสง่ เสริมวฒั นธรรมไทยท่มี ีอัตลกั ษณ์

ยเสริมสร้างโอกาสทางอาชีพแก่ เฉพาะแตกต่างจากท่อี น่ื
• แผนการอนุรักษส์ ง่ิ แวดลอ้ ม
รู้ความเขา้ ใจในการปฏบิ ัติงานของ
ทัว่ ไป • โครงการกำลังใจแกผ่ ู้ต้องขัง
• โครงการส่งเสริมอาชพี แกผ่ ู้ด้อยโอกาส
ของประชาชน
• โครงการรบั ฟงั ขอ้ คดิ เหน็ จากประชาชน
• โครงการประชาสมั พันธก์ ิจกรรมทส่ี รา้ งประโยชนส์ ขุ ของ

หน่วยงาน

• โครงการร่วมมอื กบั ประชาสังคมเพอ่ื ยกระดับการพฒั นา
ประเทศ

302 โครงการวจิ ยั
การบริหารราชการแผ่นดินบนพืน้ ฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะที่ ๑)

ตารางท่ี 5.3 (ตอ่ )

เป้าหมายเชิงกลยุทธ์ กำหนด สถานะ แนวทา
สำเรจ็ ปจั จุบนั
มติ ทิ ี่ 2 การบริหารงานอยา่ งเปน็ ระบบ
โปรง่ ใส มีธรรมาภบิ าล • การศกึ ษาวจิ ยั เพอื่ ปรบั ปร
1) นวัตกรรมการบรหิ ารจดั การภายใน การใหบ้ ริการประชาชนโด
องคก์ ารที่สรา้ งสรรค์ เกดิ ประโยชนแ์ ก่
เครอื ขา่ ย และประชาชนในสงั คม

2) การบรหิ ารจัดการโดยการสรา้ งการมสี ่วน • การพัฒนาการปฏบิ ัตงิ านโ
ร่วมกบั ประชาชน/ผูม้ สี ่วนไดส้ ว่ นเสยี ใหพ้ วก นวตั กรรมการทำงานทเี่ กิด
เขาสามารถพึง่ พาตนเอง/แกป้ ัญหาได้ด้วย
ตนเอง • การบรู ณาการการทำงานร
มปี ระสทิ ธิภาพ

• การส่งเสริมและสนับสนนุ ก
ประชาชน/เครอื ข่ายสามา

างการดำเนนิ การ ตัวอย่างโครงการ ผูร้ ับผดิ ชอบ

รุงประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ัตงิ านและ • โครงการความร่วมมือทำวิจยั กับหน่วยอนื่ ทัง้ ในและ

ดยนำเทคโนโลยใี หม่ ๆ มาใช้ ตา่ งประเทศเพือ่ ยกระดับประสิทธิภาพในการปฏบิ ตั ิงาน

• โครงการศึกษาวิจยั นวัตกรรมเพอื่ ยกระดับในการบริหาร
จัดการ

โดยใชเ้ ทคโนโลยสี มยั ใหมแ่ ละพัฒนา • โครงการพฒั นา application บนเว็ปไซดเ์ พอื่ เปน็ ขอ้ มูลแก่

ดประโยชนแ์ กป่ ระชาสังคม หน่วยงานภาค/ี เกษตรกร

• โครงการพฒั นาเทคโนโลยเี พื่อประโยชนแ์ กป่ ระชาสงั คม

รว่ มกับประชาสังคมที่เกีย่ วขอ้ งได้อย่าง • โครงการจดั อบรมอาสาสมคั รจากประชาสงั คมเพ่อื ยกระดบั
ความรว่ มมอื ในการแกป้ ญั หา

การจัดการแกไ้ ขปญั หาโดยให้ • โครงการสร้างและพฒั นาอาสาจากประชาชนในพืน้ ท่ีเปน็
ารถพึ่งตนเองได้ เครอื ขา่ ยสรา้ งความเขา้ ใจในพนื้ ทแ่ี ละรายงานข้อมลู

• โครงการการประกวดอาสาดีเดน่ เพื่อกระตนุ้ จูงใจ

ตารางที่ 5.3 (ต่อ)

เปา้ หมายเชิงกลยุทธ์ กำหนด สถานะ แนวทา
สำเร็จ ปจั จุบัน
มิตทิ ่ี 3 บุคลากร มีคุณธรรมและเกง่
1) บุคลากรเปน็ ผทู้ ่มี พี ฤติกรรมการเปน็ • การประพฤตปิ ฏิบัติของบคุ
พลเมอื งท่ดี ีของสงั คม (societal citizenship สงั คม
behavior) มกี ารดำรงชวี ติ อย่างมีคุณธรรม
จริยธรรม และเป็นแบบอยา่ งทีด่ ีใหแ้ ก่บคุ คล • หนว่ ยงานส่งเสริมให้บคุ ลา
อน่ื ในสังคม ผ้อู นื่ ในสงั คม

2) บุคลากรเปน็ ผูม้ คี วามสามารถในการ • การสร้างเสรมิ ประสบการ
ปรบั ตวั ใหต้ อบสนองต่อ ความกดดันตา่ ง ๆ ทนทาน (resilience) ให้แ
ได้ (resilience)

• บคุ ลากรไดร้ บั การสง่ เสริม
ความกดดนั ทงั้ จากการทำ
คณุ ธรรมได้

303

สถาบันบณั ฑติ พฒั นบริหารศาสตร์

างการดำเนินการ ตัวอย่างโครงการ ผูร้ ับผิดชอบ

คลากรเปน็ ผ้ดู ำรงตนเป็นแบบอยา่ งใน • โครงการพฒั นาจติ สำนึกปิดทองหลงั พระ

ากรทำงานจิตอาสา เออ้ื ประโยชนแ์ ก่ • โครงการสร้างเสริมวถิ ๊ชีวิตบนพืน้ ฐานหลกั ปรัชญาของ
รณก์ ารทำงานที่สร้างความยดื หย่นุ เศรษฐกจิ พอเพยี ง
แกบ่ ุคลากร
• โครงการส่งเสริมการทำงานจิตอาสา เออ้ื ประโยชนแ์ กผ่ ูอ้ ืน่ ใน
มและพัฒนาจนมีความพรอ้ มรบั ต่อ สงั คมของบคุ ลากร
ำงานและการประพฤติดำรงตนอย่างมี
• โครงการพฒั นาความยดื หยุ่นทนทาน (resilience) ให้แก่
บุคลากร

• โครงการสรา้ งเสรมิ ประสบการณ์การทำงานบนความ
ยากลำบาก

• โครงการยกยอ่ งผู้ประพฤตติ นเป็นแบบอย่างด้านความพร้อม
รับต่อความกดดนั (resilience)

• โครงการยกยอ่ งผู้ประพฤตติ นเปน็ แบบอยา่ งดา้ นคณุ ธรรม
ระดบั ประเทศ/นานาชาติ

304 โครงการวิจัย
การบริหารราชการแผน่ ดนิ บนพน้ื ฐานหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะที่ ๑)

ตารางที่ 5.3 (ตอ่ )

เปา้ หมายเชงิ กลยทุ ธ์ กำหนด สถานะ แนวทา
สำเรจ็ ปัจจบุ ัน
มิติที่ 4 ประโยชนแ์ กอ่ งคก์ ารและสงั คม
1) ผลการดำเนนิ งานของหน่วยงานส่ง • ผลการดำเนินงานบรรลุตา
ผลกระทบต่อการพฒั นาสงั คมและความเปน็ เป็นผลมาจากการปฏบิ ตั ิข
พลเมอื งทีด่ ีของสงั คม (societal citizenship พลเมอื งท่ีดีของสังคม
behavior) ของประชาชน
• มกี ารดำเนนิ งานนอกเหนอื
2) ผลการดำเนนิ งานของหน่วยงานสามารถ กระทบตอ่ สงั คม/ มวลมน
กอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชน์สุขแกส่ ังคมระดับโลกหรอื
มวลมนุษยชาติ • ผลการปฏิบัติงานท่สี ะทอ้ น
ประชาชนไทย

• ผลการปฏิบตั งิ านท่สี ะทอ้ น
มวลมนษุ ยชาติ

างการดำเนินการ ตวั อยา่ งโครงการ ผรู้ บั ผิดชอบ

ามเป้าหมาย ยทุ ธศาสตร์ ของสังคมท่ี • โครงการพฒั นาการปฏบิ ัตริ าชการทสี่ ่งผลประโยชน์แก่สงั คม
ของบุคลากรทส่ี ะท้อนความเปน็ • โครงการพฒั นาการปฏิบัติราชการท่ีสะท้อนมาจาก

อจากท่ีกำหนดไว้แต่แรกทส่ี ง่ ผล พฤติกรรมความเป็นพลเมืองท่ีดีของสงั คมของบุคลากร
นษุ ยชาติ
นให้เหน็ การกอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ ขุ แก่ • โครงการยกระดบั การปฏบิ ัติราชการเพอื่ ประโยชนแ์ ก่สังคม
นานาชาติ
นใหเ้ หน็ การกอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ ขุ แก่
• โครงการพฒั นาผลการปฏิบัตริ าชการเพื่อประโยชนส์ ุขแก่
ประชาชนไทยในวงกวา้ ง

• โครงการพฒั นาผลการปฏบิ ตั ิราชการเพ่ือประโยชน์สขุ แกม่ วล
มนุษยชาติ

สถาบันบณั ฑติ พัฒนบริหารศาสตร์

บทท่ี 6
สรุปผลการวจิ ัยและอภปิ รายผล

จากการวิเคราะห์และค้นคว้าตามวัตถุประสงค์วิจัยทั้ง 5 ข้อ ในบทนี้ทีมผู้วิจัยนำเสนอ
การสรุปผลการวิจัยในประเด็นสำคัญ ๆ และอภิปรายผลการวิจัย รวมทั้งนำเสนอข้อเสนอแนะ
เชงิ นโยบายและเชิงการบริหารจดั การ โดยมหี วั ขอ้ นำเสนอดังน้ี

6.1 สรปุ ผลการวจิ ยั
6.2 อภปิ รายผลการวจิ ยั
6.3 ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบาย
6.4 ขอ้ เสนอแนะเชิงการบริหารจดั การ
6.5 ข้อจำกัดในการศึกษาและขอ้ เสนอแนะสำหรับงานวจิ ัยในอนาคต
โดยมรี ายละเอยี ดดงั น้ี

6.1 สรุปผลการวจิ ัย

งานวิจัยน้ีมวี ัตถปุ ระสงคเ์ พื่อศึกษาค้นคว้าถึงสถานะปัจจุบันของการปฏิบัติราชการตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของหน่วยงานบริหารราชการส่วนกลาง ระดับกระทรวง กรม และ
สำนักงาน รวมถึงศึกษาค้นคว้าถึงการเปลี่ยนแปลงของการปฏิบัติราชการตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง ภายหลังการเกิดวิกฤตการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) เพื่อปรับปรุงโมเดลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงให้สามารถใช้ได้ในลักษณะ
ทั่วไป (generalization) สำหรับหน่วยงานราชการทุกกระทรวงและเพื่อพัฒนาแนวทางการปฏิบัติท่ี
ชัดเจนของการปฏิบัติราชการบนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่หน่วยงานบริหาร
ราชการส่วนกลางสามารถนำไปประยุกต์ใช้อย่างเป็นรูปธรรมในแนวทางเดียวกัน การวิจัยครั้งนี้เป็น
การวิจัยแบบผสม ประกอบไปด้วยการวิจัยเชิงคุณภาพซึ่งได้ประยุกต์ใช้วิธีการสามเส้า
(triangulation) ในการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยในการเก็บข้อมูลนอกจากการค้นคว้าเอกสารต่าง ๆ
ทีเ่ ก่ยี วข้องแล้ว ผวู้ ิจัยได้เกบ็ ข้อมลู ปฐมภมู ใิ นหลายวธิ ี ท้งั วิธีการสัมภาษณ์และการประชมุ กลุ่ม

โครงการวิจัย
การบรหิ ารราชการแผ่นดินบนพื้นฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะที่ ๑)

นอกจากนั้นในการเก็บข้อมูลก็ใช้ผู้วิจัยหลายคนช่วยในการสังเกต (หัวหน้าโครงการและผู้ร่วมวิจัย)
และการวิจัยเชิงปริมาณ กำหนดใช้แบบสำรวจความคิดเห็นจากเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติ โดยเก็บรวบรวม
ขอ้ มูลจากหน่วยงานตวั อย่าง 2 กระทรวง ไดแ้ ก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และกระทรวงมหาดไทย
ในการวิจัยเชิงคุณภาพใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้บริหารระดับสูง (รองปลัดกระทรวง
ผู้ช่วยปลัดกระทรวง อธิบดีหรือรองอธิบดี ที่ปรึกษากรม และผู้เชี่ยวชาญ) และผู้บริหารระดับกลาง
(ผู้อำนวยการสำนัก/กอง/ฝ่าย ของกรม/สำนักงานของกระทรวง) ซึ่งการดำเนินการวิจัยครั้งนี้มีผู้ให้
สัมภาษณ์ รวมทั้งสิ้น 21 คน ประกอบด้วยเป็นผู้บริหารระดับสูง จำนวน18 คน และเป็นผู้บริหาร
ระดบั กลางจำนวน 3 คน สำหรับการประชมุ กลุ่ม (focus group) เรมิ่ ดำเนินการในชว่ งเดือนธันวาคม
พ.ศ. 2565 จำนวน 6 ครั้ง โดยแบ่งกลุ่มเข้าร่วมประชุมตามกระทรวงและกลุ่มภารกิจของ กระทรวง
กำหนดให้ผู้เข้าร่วมประชุมกลุ่มคือ ผู้บริหารระดับกลาง (ผู้อำนวยการสำนัก/กอง/ฝ่าย ของกรม/
สำนักงานของกระทรวง) หรือผู้บริหารระดับต้น (หัวหน้าฝ่าย/หัวหน้ากลุ่มงาน ของกรม/สำนักงาน
ของกระทรวง) มีผู้เข้าร่วมประชุมกลุ่ม รวมทั้งสิ้น 85 คน และมีผู้ทรงคุณวุฒิที่มาจากอาจารย์
มหาวิทยาลัยและผู้บริหารของหน่วยงานของรัฐที่ดำเนินการเกี่ยวข้องกับการดำเนินราชการบน
พื้นฐานของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จำนวน 7 คน สำหรับการวิจัยเชิงปริมาณได้สำรวจความ
คดิ เหน็ จากเจ้าหนา้ ทีผ่ ปู้ ฏิบัติ ได้แบบสำรวจกลับมาในกล่มุ ตวั อยา่ งเป้าหมายในสังกัดกระทรวงเกษตร
และสหกรณ์ จำนวน 1,199 ราย (คิดเป็นร้อยละ 94.26 ของเป้าหมายกลุ่มตัวอย่าง) และสังกัด
กระทรวงมหาดไทย จำนวน 429 ราย (คดิ เปน็ รอ้ ยละ 67.67 ของเป้าหมายกลุ่มตวั อย่าง)

การวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยเชิงคุณภาพได้วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการวิเคราะห์เนื้อหา
(content analysis) และสถิติเชิงพรรณนา (descriptive statistics) เช่น ค่าเฉลี่ย ความถี่ และ
ร้อยละ ส่วนการวิจัยเชิงปริมาณใช้การวิเคราะห์ด้วยสถิติเชิงพรรณนา (descriptive statistics)
เช่น ค่าเฉลี่ย ความถี่ และร้อยละ และสถิติเชิงอนุมานคือ การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ (correlation)
สำหรับเกณฑ์การประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงจากการวิจัยเชิงคุณภาพได้กำหนดคะแนนเพื่อ
ประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงของหน่วยงานออกมาเป็นคะแนนเต็ม 100 ในแต่ละระดับ
(เข้าข่าย เข้าใจ และเข้าถึง) โดยกำหนดคะแนนของมิติที่ 1- มิติที่ 2 ซึ่งเป็นมิติที่สะท้อนถึง
กระบวนการทำงานและผลผลิตบางส่วน (process and output) กำหนดคะแนนให้มิติละ 20
คะแนน มิตทิ ่ี 3 ซึง่ สะท้อนถึงปัจจยั นำเข้า (input) กำหนดคะแนนให้ 20 คะแนน และมิตทิ ี่ 4 ซึ่งเน้น
การเห็นผลที่สะท้อนถึงผลผลิต/ผลลัพธ์/ผลในที่สุด (output/ outcome/ impact) กำหนดคะแนน
ให้เป็น 40 คะแนน รวมแล้วคะแนนทั้งสิ้นเท่ากับ 100 คะแนน ในแต่ละระดับ และกำหนดเกณฑ์ใน
การประเมินที่จะพิจารณาว่าหน่วยงานผ่านการประเมินในระดับนั้น ๆ ต้องมีคะแนนโดยรวมของแต่
ละระดับอย่างน้อย 80% ขึ้นไป จึงจะถือได้ว่าผ่านเกณฑ์ในระดับนั้นได้ นอกจากนั้นการจะสามารถ
ผ่านเกณฑ์ในระดับที่สูงขึ้นได้ (ระดับเข้าใจหรือระดับเข้าถึง) จะต้องผ่านเกณฑ์ในระดับทีต่ ่ำกว่าก่อน

306

สถาบนั บัณฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์

ส่วนเกณฑ์การประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงจากการวิจัยเชิงปริมาณได้กำหนดเกณฑ์ผ่านของ
ระดับเข้าข่ายท่ีร้อยละ 80 ระดับเข้าใจที่ร้อยละ 90 และระดับเข้าถึงที่ร้อยละ 95 โดยหน่วยงานตอ้ ง
มผี ลการประเมินผา่ นเกณฑใ์ นระดบั ก่อนหนา้ ก่อนจงึ จะพิจารณาผลการประเมินในระดับถดั ไปเชน่ กนั

ดงั มีผลการวจิ ยั สรุปไดด้ ังนี้

6.1.1 ผลประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกิจพอเพียงของหนว่ ยงาน
ผลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์พบว่า กรม/
สำนักงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ทั้ง 15 หน่วยงาน ผ่านเกณฑ์การประเมินความเป็น
เศรษฐกจิ พอเพียงระดับเขา้ ข่าย และมี 4 กรม/สำนกั งาน ที่ผา่ นเกณฑ์การประเมินความเปน็ เศรษฐกิจ
พอเพียงระดับเข้าใจด้วย ได้แก่ กรมพัฒนาที่ดิน กรมวิชาการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร และ
สำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร ดังรายละเอยี ดคะแนนประเมนิ ในตารางท่ี 6.1

ตารางท่ี 6.1
ผลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงด้วยคะแนนตามเกณฑ์ ของกรม/สำนักงานในสังกัด
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ลำดับท่ี หนว่ ยงาน ผลการประเมนิ ความเป็นเศรษฐกจิ พอเพียง

1 สำนักงานปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ระดบั เขา้ ขา่ ย ระดบั เข้าใจ ระดบั เขา้ ถึง
2 กรมหมอ่ นไหม
3 กรมฝนหลวงและการบนิ เกษตร 90 65 30
4 กรมพฒั นาทดี่ นิ 85 70 40
5 กรมวชิ าการเกษตร 90 70 50
6 กรมส่งเสรมิ การเกษตร 85 80 45
7 กรมสง่ เสรมิ สหกรณ์ 80 80 35
8 สำนกั งานการปฏริ ปู ท่ีดนิ เพอ่ื เกษตรกรรม 80 65 35
9 กรมการขา้ ว 80 85 15
10 กรมประมง 80 75 30
11 กรมปศสุ ตั ว์ 90 70 55
100 70 60
100 50 50

307

โครงการวิจยั
การบริหารราชการแผ่นดนิ บนพ้นื ฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ระยะที่ ๑)

ตารางท่ี 6.1 (ต่อ)

ลำดับที่ หน่วยงาน ผลการประเมินความเป็นเศรษฐกจิ พอเพียง
ระดับเข้าขา่ ย ระดับเขา้ ใจ ระดบั เข้าถงึ
12 กรมชลประทาน
13 กรมตรวจบญั ชสี หกรณ์ 85 75 45
14 สำนักงานมาตรฐานสนิ คา้ เกษตรและอาหารแห่งชาติ 100 60 50
15 สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร 85 60 60
90 90 35

ผลการประเมินความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพยี งของกระทรวงมหาดไทยพบว่า กรม/สำนักงานใน
สังกัดกระทรวงมหาดไทยทั้ง 7 หน่วยงาน ผ่านเกณฑ์การประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงระดับ
เข้าข่าย ดงั รายละเอียดคะแนนประเมนิ ในตารางท่ี 6.2

ตารางที่ 6.2
ผลการประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกิจพอเพยี งด้วยคะแนนตามเกณฑ์ หนว่ ยงานกระทรวงมหาดไทย

ลำดับ หน่วยงาน ผลการประเมินความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพียง
ท่ี ระดับเข้าขา่ ย ระดับเขา้ ใจ ระดับเขา้ ถงึ

1 สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย 80 65 30
2 กรมโยธาธิการและผังเมอื ง 90 55 35
3 กรมท่ดี นิ 90 70 45
4 กรมการปกครอง 90 60 40
5 กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั 90 70 40
6 กรมการพฒั นาชมุ ชน 90 60 45
7 กรมสง่ เสรมิ การปกครองทอ้ งถ่ิน 90 55 40

นอกจากระเบยี บวธิ ีวิจยั เชิงคุณภาพ ในโครงการวิจัยน้ีทีมผวู้ ิจยั ไดเ้ ริ่มศึกษาโดยใช้วิธีวิจัยเชิง
ปริมาณด้วยการเก็บข้อมูลด้วยแบบสำรวจความคิดเห็นของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติเกี่ยวกับการปฏิบัติ
ราชการบนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของหน่วยงานในสังกัดอีกด้วย โดยได้แบบ
สำรวจกลับมาในกลุ่มตัวอย่างเป้าหมายเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานส่วนกลาง สังกัดกระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ จำนวน 1,199 ราย (คิดเป็นร้อยละ 94.26 ของเป้าหมายกลุ่มตัวอย่าง) และสังกัด

308

สถาบนั บณั ฑติ พฒั นบริหารศาสตร์

กระทรวงมหาดไทย จำนวน 429 ราย (คิดเป็นร้อยละ 67.67 ของเป้าหมายกลุ่มตัวอย่าง)
ผลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียง (ซ่ึงใช้เกณฑ์ผ่านระดับเข้าข่าย เข้าใจ และเข้าถึง
เป็นร้อยละ 80, 90, 95 ตามลำดับ ดังที่ได้อธิบายการตั้งเกณฑ์ไว้ในบทที่ 3) ได้ผลประเมินความเป็น
เศรษฐกิจพอเพียงตามตารางที่ 6.3 และ 6.4 ซึ่งแสดงให้เห็นถึงทุกกรม/สำนักงานในสังกัดกระทรวง
ทั้งสองมีคะแนนความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงอยู่ในระดับเข้าข่ายทั้งหมด และยังไม่มีหน่วยงานใดได้
คะแนนในระดับเข้าใจและเข้าถึงตามเกณฑ์

ตารางท่ี 6.3
ผลการประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพยี งจากมมุ มองของผ้ปู ฏิบตั ิ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ลำดบั หน่วยงาน ผลการประเมินความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพียง
ท่ี จากมมุ มองของผู้ปฏิบตั ิ

1 สำนกั งานปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ระดบั เข้าขา่ ย ระดับเขา้ ใจ ระดับเขา้ ถงึ
2 กรมหม่อนไหม* 81.53 80.94 81.06
3 กรมฝนหลวงและการบินเกษตร N/A N/A N/A
4 กรมพัฒนาท่ดี ิน 87.60 86.03 87.02
5 กรมวิชาการเกษตร 84.32 83.25 84.13
6 กรมสง่ เสรมิ การเกษตร 81.97 81.24 81.51
7 กรมส่งเสรมิ สหกรณ์ 85.23 83.88 84.23
8 สำนกั งานการปฏริ ูปท่ีดนิ เพอ่ื เกษตรกรรม 80.77 79.82 78.35
9 กรมการข้าว 81.25 79.35 78.32
10 กรมประมง 85.58 85.29 85.00

11 กรมปศุสตั ว์ 82.01 80.80 80.23
84.03 81.76 78.92
12 กรมชลประทาน
13 กรมตรวจบญั ชสี หกรณ์ 89.28 86.50 86.41

14 สำนกั งานมาตรฐานสินคา้ เกษตรและอาหารแหง่ ชาติ 83.33 82.83 82.15
87.60 86.03 87.02
15 สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตร 85.08 84.13 83.67

ภาพรวม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 83.44 82.35 82.13

หมายเหต.ุ * ไม่มผี ลการประเมนิ แยกของหน่วยงาน เนือ่ งจากผตู้ อบแบบสำรวจไมค่ รบตามเกณฑ์พิจารณา

309

โครงการวจิ ัย
การบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ บนพ้ืนฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ระยะท่ี ๑)

ตารางท่ี 6.4
ผลการประเมนิ ความเป็นเศรษฐกจิ พอเพียงจากมมุ มองของผปู้ ฏบิ ตั ิ กระทรวงมหาดไทย

ลำดบั หนว่ ยงาน ผลการประเมนิ ความเป็นเศรษฐกจิ พอเพยี งจาก
ที่ มมุ มองของผู้ปฏบิ ตั ิ

1 สำนกั งานปลัดกระทรวงมหาดไทย ระดับเข้าขา่ ย ระดับเขา้ ใจ ระดบั เขา้ ถึง
2 กรมโยธาธิการและผังเมือง 84.86 84.37 83.68
3 กรมที่ดิน 86.68 85.98 84.99
4 กรมการปกครอง 86.80 85.61 85.41
5 กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย* 84.86 84.37 83.68
6 กรมการพัฒนาชมุ ชน N/A N/A N/A
7 กรมส่งเสรมิ การปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น* 83.60 82.66 83.04
ภาพรวม กระทรวงมหาดไทย N/A N/A N/A
85.89 84.87 84.56

หมายเหตุ. * ไม่มผี ลการประเมนิ แยกของหน่วยงาน เนื่องจากผตู้ อบแบบสำรวจไม่ครบตามเกณฑ์พจิ ารณา

6.1.2 การเปล่ียนแปลงของการปฏิบตั ริ าชการตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ภายหลังการเกดิ วิกฤตการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

วัตถุประสงค์ประการหนึ่งของโครงการวิจัยนี้คือ การติดตามดูความเปลี่ยนแปลงของ
การปฏิบัติราชการของ 8 หน่วยงานสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ที่กัลยาณี เสนาสุ และบงกช
เจนจรัสสกุล ได้เคยศึกษาไว้ในปี พ.ศ. 2561 – 2562 ซึ่งหน่วยงานเหล่านั้นประกอบด้วย สำนักงาน
ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมหม่อนไหม กรมฝนหลวงและการบินเกษตร กรมพัฒนาที่ดิน
กรมวิชาการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร กรมส่งเสริมสหกรณ์ และสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ
เกษตรกรรม การเปลี่ยนแปลงได้สะท้อนให้เห็นค่อนข้างชัดเจนในประเด็นด้านที่เกี่ยวข้องกับการนำ
เทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาใช้และการปรับเปลี่ยนการกระบวนการดำเนินการที่มีความสอดคล้องกับ
สถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป อันเนื่องมาจากวิกฤตการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา
2019 (COVID-19) อาทิ การพัฒนาบุคลากรภายในหน่วยงาน รวมทั้งเครือข่ายที่เป็นประชาชนด้าน
การใช้เทคโนโลยดี ิจทิ ัล การปรับเปลี่ยนกระบวนการดำเนนิ การและการให้บริการเขา้ สู่การดำเนินการ
และการให้บริการผ่านระบบดิจิทัล เพื่อให้การขับเคลื่อนงานตามภารกิจสามารถดำเนินการได้ตาม
เป้าหมาย รวมทั้งยังเป็นการปรับตัวการทำงานภายใต้การเปลี่ยนแปลงด้านงบประมาณ
การดำเนนิ งานทล่ี ดลง แต่ยงั คงสามารถสร้างผลงานที่ตอบสนองความต้องการตามเป้าหมายที่กำหนด

310

สถาบันบณั ฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์

ไว้ได้ ซึ่งประเด็นต่าง ๆ เหล่านี้ก็ไม่ได้แตกต่างจากหน่วยงานอื่นภายใต้สังกัดทั้งกระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์และกระทรวงมหาดไทยอย่างมีนัยยะสำคัญ กล่าวคือทุกหน่วยงานต่างแสดงให้เห็น
การปรับตัวในการทำงานที่ต้องใช้เทคโนโลยีมากขึ้นและการปรับการทำงานภายใต้ข้อจำกัด
ด้านงบประมาณที่ลดลง อย่างไรก็ตามก็มีประเด็นที่สำคัญที่มีการติดตามสภาวะการณ์การปฏิบัติ
ราชการตามยาวเป็นระยะ ๆ ของหน่วยงานเหล่านี้ทำให้ได้ทราบถึงการเปลี่ยนแปลงที่มีนัยยะสำคัญ
ในด้านการปรับตัวให้มีความยืดหยุ่นในการทำงานขององค์การ ส่งผลให้แสดงให้เห็นถึงภาวะผู้นำท่ี
ต้องเก่งในการจัดลำดับของงานและสร้างทีมงานที่เหมาะสมขึ้นมา เพื่อให้สามารถดำเนินงานที่ให้
ความสำคัญกับงานที่ทำให้เกิดความคุ้มค่ามากที่สุด ทั้งนี้การปรับเปลีย่ นการดำเนินงานให้สอดคล้อง
กับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นนั้น ยังสะท้อนให้เห็นถึงความสามารถในการเปลี่ยนแปลงหรือความ
ยืดหยนุ่ ในการดำเนนิ การและการปฏิบตั หิ น้าท่ตี ามความรบั ผิดชอบของผู้นำและบคุ ลากรในหน่วยงาน
สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้หน่วยงานที่มีผลการประเมินความเป็น
เศรษฐกิจพอเพียงที่สูงกว่าเดิมคือ กรมวิชาการเกษตร ส่วนกรมพัฒนาที่ดินและกรมส่งเสริมสหกรณ์
ยังมีผลประเมินอยู่ท่ีระดับเข้าใจเช่นเดิม ในขณะที่กรมฝนหลวงและการบนิ เกษตรมีผลประเมินระดับ
เข้าข่ายแต่ไม่ผ่านระดับเข้าใจ โดยปัจจัยที่ขาดหายไปที่สำคัญคือ ประเด็นผลลัพธ์ของความสุขของ
บุคลากรที่ยังไม่พบการบริหารจัดการที่จะช่วยแก้ไขความไม่สมดุลในชีวิตการทำงานและชีวิต
ครอบครัวที่บุคลากรต้องทำงานทุกวันในระยะเวลา 8 เดือนของการทำฝนหลวง (มีนาคม–ตุลาคม)
ซงึ่ ประเด็นน้ีเป็นประเดน็ ท่ีค้างต่อเนอ่ื งมาจากการวิจยั ครั้งท่ีแล้วของงานวจิ ัยของกัลยาณี เสนาสุ และ
บงกช เจนจรสั สกุล (2562)

6.1.3 การปรับปรุงโมเดลความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพยี ง
การปรับปรุงโมเดลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงให้สามารถใช้ไดใ้ นลักษณะทั่วไป
(Generalization) สำหรับหน่วยงานราชการทุกกระทรวง ในการปรับปรุงเกณฑ์การประเมินความ
เป็นเศรษฐกิจพอเพียงตามโมเดลของกัลยาณี เสนาสุ และบงกช เจนจรัสสกุล (2562) นอกจาก
การแก้ไขข้อความให้มีความชัดเจนตรงประเด็นขึ้นแล้ว มีประเด็นหลัก 2 ประเด็นที่สำคัญที่ได้
ปรับปรุงจากเดิม คือ การปรับเปลี่ยนในมิติที่ 3 บุคลากรมีคุณธรรมและเก่ง โดยหยิบยกด้าน
คณุ ธรรมขึน้ มาพดู ถงึ ก่อน ซ่งึ ในดา้ นคุณธรรมปจั จัยในระดบั เข้าใจ ทีมผูว้ ิจัยเสนอให้บุคลากรได้แสดง
โอกาสการเป็นพลเมืองที่ดีขององค์การ (organization citizenship behavior) และในระดับเข้าถึง
ทีมผู้วิจัยเสนอให้บุคลากรได้แสดงโอกาสการเป็นพลเมืองที่ดีของสังคม (societal citizenship
behavior) ซึ่งเป็นการขยายมุมมองที่ยังประโยชน์ให้กว้างขึ้นจากมุมมองการทำประโยชน์ให้เฉพาะ
ภายในองค์การของตนเป็นการทำประโยชน์ต่อสังคมโดยรวมด้วย ในด้านความเก่งของบุคลากร

311

โครงการวจิ ยั
การบริหารราชการแผน่ ดินบนพน้ื ฐานหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะท่ี ๑)

นอกจากสมรรถนะที่เกี่ยวขอ้ งกับหน้าทีค่ วามรับผิดชอบแล้ว ทีมผู้วิจัยได้ปรับเพิ่มสมรรถนะในการใช้
เทคโนโลยีมาเป็นพื้นฐานขั้นต้นในระดับเข้าข่ายที่องค์การและตัวบุคลากรเองจะต้องฝึกทักษะให้มี
ความชำนาญสามารถที่จะรองรับรูปแบบการทำงานที่เปลี่ยนไปได้ ในส่วนระดับเข้าใจนอกจาก
สมรรถนะด้านความสามารถในการคิดให้เท่าทันสำหรับศตวรรษที่ 21 แล้ว ทีมผู้วิจัยเห็นว่าควรเพ่ิม
การประยุกต์ความคิดที่สร้างสรรค์มาสู่นวัตกรรมได้ และในระดับเข้าถึงทีมผู้วิจัยเหน็ วา่ การพัฒนาขั้น
สูงสุดของสมรรถนะของบุคลากรเป็นความสามารถในการปรับเปลี่ยนตนเอง มีความยืดหยุ่นทนทาน
ในการตอบสนองต่อปัญหาอุปสรรคและภัยคุกคามต่างๆ ได้เป็นอย่างดี จึงกำหนดปัจจัยให้บุคลากร
เป็นผู้มีความสามารถในการปรับตัวให้ตอบสนองต่อปัญหา ความกดดันต่าง ๆ ได้ (resilience)
เป็นเกณฑ์ในการประเมินความเก่งของบุคลากรขึ้นมา 2) การปรับเปลี่ยนในมิติที่ 4 ประโยชน์แก่
องค์การและสังคม ทีมผู้วิจัยเสนอแก้ไขปัจจัยในระดับเข้าถึง เพื่อให้สะท้อนถึงการมุ่งผลลัพธ์ขั้นสูง
ขององค์การเป็นการมุ่งไปที่การสร้างผลกระทบต่อการพัฒนาสังคมและการส่งเสริมให้ประชาชนได้
แสดงถึงความเป็นพลเมืองที่ดีของสังคม (societal citizenship behavior) ของประชาชน ซึ่งเป็น
การสะท้อนให้เห็นการดำเนินงานที่ต้องอาศัยการร่วมมือกันในการขับเคลื่อนสังคมทั้งภาครัฐ
ภาคเอกชน และประชาชน นัน่ คอื ประชาชนต้องเขา้ มามสี ่วนร่วมในการขับเคลื่อนกิจกรรมงานตา่ ง ๆ
รว่ มกบั ภาครฐั และภาคเอกชน ไมใ่ ชร่ อเพียงการชว่ ยเหลือจากผู้อืน่ น่ันคอื ไดเ้ นน้ ประเด็นการส่งเสริม
ให้ประชาชนได้แสดงถึงบทบาทหน้าที่ความเป็นพลเมืองที่ดีของสังคมเพื่อให้สามารถร่วมกัน
รับผิดชอบสรา้ งสรรค์สังคมดงี ามในท่สี ดุ โดยมภี าพโมเดลใหมด่ ังนี้

312

สถาบันบัณฑติ พฒั นบริหารศาสตร์

ภาพท่ี 6.1
โมเดลความเป็นเศรษฐกจิ พอเพยี งที่ปรับปรงุ ใหม่

6.1.4 แผนทน่ี ำทางของการบริหารราชการบนพน้ื ฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ เป็นแผนแม่บทเพื่อบรรลุเป้าหมายตามที่กำหนดไว้ใน
ยุทธศาสตร์ชาติมีท้ังสิ้น 23 แผนแม่บท ในส่วนของแผนแม่บทที่คล้ายกับประเด็นการบริหารราชการ
แผ่นดินบนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมากที่สุดคอื ประเด็นการปรับสมดลุ และพัฒนา
ระบบการบริหารจัดการภาครัฐซึ่งเป็นแผนย่อยของแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นที่ 20
การบรกิ ารประชาชนและประสิทธภิ าพภาครัฐ เม่ือเราวเิ คราะห์เปรยี บเทยี บโมเดลความเป็นเศรษฐกิจ
พอเพียงกับแผนย่อยของแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็น การบริการประชาชนและ
ประสทิ ธิภาพภาครฐั แล้วจะพบว่าเป้าหมายและตวั ช้ีวดั ตา่ ง ๆ ท่กี ำหนดในแผนยอ่ ยโดยส่วนใหญ่แล้ว
จะอยู่ในเกณฑร์ ะดับเข้าข่ายของโมเดลความเปน็ เศรษฐกิจพอเพยี ง นั่นคือการสะท้อนถึงวธิ ีการในการ
ปฏิบัติ สิ่งที่แตกต่างคือในโมเดลความเปน็ เศรษฐกิจพอเพียงได้กำหนดระดับการพัฒนาเป็น 3 ระดับ
ด้วยกนั โดยระดับทส่ี งู ขึ้นจากระดับเข้าข่ายคือ ระดบั เข้าใจทจ่ี ะสะท้อนวิธีคิดของบุคลากร และระดับ
ท่ีสงู สดุ คอื ระดบั เขา้ ถึงทจ่ี ะแสดงออกให้เห็นเปน็ การปฏบิ ัตทิ เี่ ปน็ ปกติในชีวิตหรอื วิถชี วี ติ

313

โครงการวิจยั
การบริหารราชการแผ่นดินบนพนื้ ฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ระยะที่ ๑)

ด้วยเหตผุ ลดังกลา่ วทีมผ้วู ิจัยจึงเห็นว่าการกำหนดวัตถุประสงค์ท่ี 4 ของโครงการวจิ ัยในครั้งน้ี
ซึ่งเดิมกำหนดให้ร่างแผนแม่บทการบริหารราชการแผ่นดินบนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงไม่น่าจะได้ประโยชน์มากในการนำไปใช้จริง เนื่องจากได้มีการตราพระราชบัญญัติจัดทำ
ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2560 ออกมา และได้มีการจัดทำแผนแม่บท 23 ประเด็น ซึ่งกำหนดให้
หน่วยงานของรัฐทุกหน่วยงานมหี นา้ ท่ดี ำเนินการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามท่ีกำหนดไว้ในยุทธศาสตร์
ชาติอยู่แล้ว ดังนั้นการร่างแผนแม่บทอื่นเพิ่มเติมขึ้นมาจึงไม่น่าที่จะนำไปกำหนดให้หน่วยงานนำไป
ขับเคลื่อนให้เกิดผลขึ้นได้ ทีมผู้วิจัยจึงได้นำเสนอการจัดทำแผนที่นำทาง (roadmap) ขึ้นมาแทน
เพื่อที่หน่วยงานราชการต่าง ๆ สามารถนำไปปรับประยุกต์ใช้ให้สอดคล้องกับการบริหารราชการ
ภายในหน่วยงานของตนเองเพื่อมุ่งสู่การพัฒนาการปฏิบัติราชการบนพื้นฐานหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี งทส่ี งู ระดบั ขนึ้ ไป

โดยแผนที่นำทางที่แสดงประกอบด้วยเป้าหมายเชิงกลยุทธ์ กำหนดเวลาที่ต้องแล้วเสร็จ
ความคืบหน้าของการปฏิบัติตามเป้าหมายนั้น ณ เวลาปัจจุบัน แนวทางการปฏิบัติ และตัวอย่าง
โครงการท่หี นว่ ยงานสามารถนำไปจัดทำเพื่อใหบ้ รรลุตามเปา้ หมายที่กำหนดเพ่ือการพฒั นาการปฏิบัติ
ราชการให้ประยุกต์หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่มีการพัฒนาขึ้นทั้ง 3 ระดับ ได้แก่
ระดับเข้าข่าย ที่จะสะท้อนให้เห็นถึงการเป็นองค์การที่ยั่งยืน ระดับเข้าใจ ที่ที่จะสะท้อนให้เห็น
ถึงการเป็นองค์การแห่งความสุข และระดับเข้าถึง ที่จะสะท้อนให้เห็นถึงการเป็นองค์การแห่ง
ประโยชน์สุขได้ ทั้งนี้การปรับแผนที่นำทางไปใช้ของหน่วยงานก็ขึ้นอยู่ที่ว่าผลการประเมินความเป็น
เศรษฐกิจพอเพียงของหน่วยงานอยู่ที่ระดับใดและยังมีปัจจัยใดที่จะต้องพัฒนา/ยกระดับขึ้นมาเพื่อ
นำไปส่กู ารสะทอ้ นความเปน็ เศรษฐกิจพอเพียงในระดับทสี่ ูงข้นึ

6.2 อภปิ รายผลการวจิ ัย

6.2.1 บทบาทของผนู้ ำในภาคราชการกับการปฏบิ ัติราชการบนพืน้ ฐานปรชั ญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง

ผลจากการเก็บรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูลในงานวิจัยครั้งน้ีพบว่า การบริหาร
ราชการของบางหน่วยงานอาจถูกแรงกดดันจากอำนาจการตัดสินใจจากภายนอก เช่น การแต่งต้ัง
โยกย้ายผู้บริหารระดับสูงที่ส่งผลต่อทั้งกำลังใจและประสิทธิภาพในการบริหารจัดการภายใน
หน่วยงาน ซึ่งประเด็นน้ีแม้จะอยู่นอกเหนือขอบเขตการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงของ
หน่วยงาน แต่ก็ส่งผลกระทบที่สำคัญต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติราชการรวมทั้งการ
ประยุกตห์ ลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาปฏบิ ตั ิในหนว่ ยงาน ซง่ึ ส่งผลตอ่ เนอื่ งต่อผลการประเมิน

314

สถาบันบณั ฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์

ระดับความเป็นเศรษฐกจิ พอเพียงของหน่วยงาน อยา่ งไรกต็ ามขอ้ มลู ท่ีได้จากการวจิ ัยพบวา่ ภาวะผู้นำ
ของผู้บริหารหนว่ ยงานราชการ ถือไดว้ า่ เปน็ กุญแจสำคญั ประการหนงึ่ ในการทจี่ ะขับเคลื่อนองค์การให้
ไปสู่เป้าหมายที่ตั้งไว้ได้ นอกจากนั้นภาวะผู้นำเป็นองค์ประกอบที่สำคัญมากประการหนึ่งของ
ธรรมาภิบาลในภาคราชการซึ่งเป็นแนวทางการดำเนินงานที่สำคัญของภาครัฐทั่วโลกในปั จจุบัน
ธรรมาภิบาลเป็นแนวทางที่แสดงถึงคุณค่าที่ชาติใดชาติหนึ่งได้ปลูกฝังไว้ มิติต่าง ๆ ของความโปร่งใส
ได้แก่ การแบ่งแยกอำนาจ การตรวจสอบและสร้างสมดุล วิธีการโอนย้ายอำนาจ ความโปร่งใส และ
ความรับผดิ ชอบ ซงึ่ การทำให้คุณค่าต่าง ๆ เหล่านเี้ ป็นจริงขึน้ มาได้กต็ ้องอาศัยปฏิบัติการของบุคลากร
ในภาครัฐดำเนนิ การอย่างเปน็ ระบบปลูกฝังให้เป็นวฒั นธรรม ในกรณนี ี้ผู้นำจะเป็นผู้ท่ีมีส่วนผลักดันที่
สำคัญและเปน็ หัวใจของหลักธรรมาภิบาล (OECD, 2001) นอกจากนน้ั Orazi, Turrini และ Valotti
(2013) ได้สรุปผลวิจัยว่าผู้นำในภาครัฐมีความแตกต่างจากผู้นำในภาคเอกชนหลายประการที่สำคัญ
ได้แก่ การทต่ี อ้ งเดนิ ตามกฏระเบียบและข้อจำกดั ในการจ้างงานและการจัดซอ้ื จัดจา้ ง การลดความพึง
พอใจที่เกิดจากความเติบโตในงานอาชีพ การจ้างงานและการจัดซื้อจัดจ้าง การมีแรงจูงใจที่สูงต่อ
ผลงานที่เกิดขึ้นมากกว่าการมีอำนาจ และการรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้เสียที่หลากหลายกว้างขวาง
ซึ่งทักษะภาวะผู้นำส่งผลกระทบต่อผลการดำเนินงานขององค์การในภาครัฐ และสไตล์ของผู้นำท่ี
เหมาะสมคือ สไตล์แบบผสมผสานกล่าวคือ เป็นผู้นำแบบแลกเปลี่ยน (transactional leadership)
ในระดบั ปานกลาง ซึง่ ตอ้ งใช้การแลกเปล่ยี นความรู้ ความคิด และผลประโยชนต์ อ่ กันระหว่างผนู้ ำและ
ผู้ตาม และเป็นผู้นำแบบเปลี่ยนแปลง (transformational leadership) ในระดับสูง ซึ่งต้องให้
ความสำคัญกับความซื่อสัตย์และจริยธรรมในการทำงาน และเป็นผู้นำทีท่ ำให้เกิดการเปล่ียนแปลงใน
องค์การและตวั บุคลากร

จากการที่ภาครัฐได้มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างมีนัยยะสำคัญนับตั้งแต่ช่วงทศวรรษที่ผ่านมา
แม้ว่าพันธกิจของหน่วยงานภาครัฐหลายแห่งจะไม่เปลี่ยนแปลง แต่สภาพแวดล้อมในการทำงานได้
เปล่ยี นไปอย่างมาก คาดการณ์กันว่าในทศวรรษหนา้ (ค.ศ. 2030) ภาครัฐยิ่งจะเปลย่ี นไปอย่างมีนัยยะ
สำคัญ โดยภาครัฐได้ถูกกระทบจากวิกฤติภาวะเศรษฐกิจ โรคระบาดโควิด-19 และภาวะวิกฤติจาก
ภาคการเงินท่ัวโลกทำให้ภาครัฐพยายามที่จะจดั การงบประมาณใหไ้ ด้สมดุล จากแนวโน้มใหญ่ทั่วโลก
คือ การใช้จ่ายภาครัฐมีแนวโน้มลดลง ซึ่งส่งผลให้ภาครฐั ท่ัวโลกจะมุง่ ควบคมุ ค่าใช้จ่าย นอกจากนั้นมี
นักวิเคราะห์หลายคนเห็นว่าโลกกำลังเข้าสู่การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4 ดูได้จากเทคโนโลยีที่
นำมาใช้อย่างมาก AI (artificial intelligence) จะทำการตัดสินใจในเรื่องต่าง ๆ เป็นประจำที่ส่งผล
กระทบต่อการดำรงชีวิตของประชาชน ระบบที่ขับเคลื่อนโดย AI สามารถพิจารณาความเร่งด่วนของ
การนัดหมายทางการแพทย์หรือการจัดบุคลากรลงสถานศึกษา (Deloitte Insight, 2019) การที่ผู้นำ
ภาครัฐจะสามารถนำองค์การได้จึงจะต้องพัฒนาตนเองให้มีคุณสมบัติดังนี้ (1) ความคิดริเริ่ม

315

โครงการวิจยั
การบรหิ ารราชการแผ่นดนิ บนพนื้ ฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะที่ ๑)

สร้างสรรค์เป็นสิ่งจำเป็นที่จะทำให้เกิดผลสัมฤทธิ์ขึ้นมา ในภาวะที่งบประมาณมีข้อจำกัด หน่วยงาน
ภาครัฐจำเป็นต้องสร้างและซ่อมแซมสิ่งต่างๆ จึงจำเป็นที่ต้องหาวิธีการใหม่และสร้างสรรค์เพื่อทำให้
ไดผ้ ลงาน หนทางทเี่ ปน็ ไปได้คือการร่วมมือกบั ภาคเอกชนและเครอื ข่ายตา่ ง ๆ รวมทั้งผู้นำจำเป็นต้อง
อาศัยเทคโนโลยสี มัยใหม่และแนวทางที่คล่องแคลว่ ที่จะทำให้เกิดการเปล่ียนแปลง อย่างน้อยที่สุดคือ
การปรับเปลีย่ นเชงิ ดิจิทัลเพือ่ ให้โครงการต่างๆ เดินหน้าไปได้ (2) ความยืดหยุ่นทนทาน (resilience)
ผู้นำมีแนวโน้มที่จะเปน็ คนเก่งซึ่งทำงานต่าง ๆ ได้ดีเยี่ยม อย่างไรก็ตามความคาดหวังต่อภาครัฐสงู ขึน้
กว่าเดิม เจ้าหน้าที่ของรัฐถูกเรียกร้องให้ทำให้ได้มากขึ้นด้วยทรัพยากรที่น้อยลงท่ามกลาง
สภาพแวดล้อมทางนโยบายที่ไม่แน่นอน ความยืดหยุ่นทนทานเป็นคุณลักษณะเชิงบวกที่สำคัญ
ผู้นำอาจเผชิญกับความเครียด หมดกำลัง หรือปัจจัยด้านลบต่างๆ ที่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิต
ซึง่ เป็นประเด็นทผี่ ู้นำต้องรวู้ ธิ ีจดั การเพือ่ เปน็ ผู้นำในการสร้างคุณภาพชีวติ ท่ดี ีทั้งต่อผู้อ่ืนและต่อตนเอง
(3) ความคลุมเครือในข้อจำกัดและขอบเขตการทำงาน ปัจจุบันขอบเขตการทำงานไม่ได้จำกัดเฉพาะ
ในองค์การแต่ขยายเข้าไปเกี่ยวข้องกับเครือข่าย ประชาสังคมต่าง ๆ ด้วย ดังนั้น ผู้นำจำเป็นต้อง
เชอื่ มต่อกบั ผรู้ ว่ มงาน เครือข่ายและประชาสังคม ซ่ึงทำให้จำเปน็ ต้องมีทกั ษะและพฤติกรรมที่แตกต่าง
ไปจากแนวทางการสั่งการและการควบคุมแบบเดิม การขยายขอบเขตระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน
และประชาสงั คมทำให้ภาวะผูน้ ำแบบการใชก้ ารรว่ มมือกนั มีความสำคัญมากขึน้ ยิ่งกว่าเดิม (4) ภาครฐั
มีความสลับซับซ้อนข้ึน ทำให้จำเป็นตอ้ งมีภาวะผู้นำที่ยอมรับความคลุมเครือ ชอบความท้าทาย และ
ไม่มองหาคำตอบที่ง่ายๆ เหล่านี้ทำให้ผู้นำจำเป็นต้องพัฒนาทักษะและวิธีคิดที่กว้างกว่าเดิม
(5) เนื่องจากสถานการณ์ที่สลับซับซ้อนขึ้นทำให้ผู้นำที่มีประสิทธิผลไม่สามารถเป็นทุกสิ่งสำหรับทุก
คนได้ เรามักคาดหวังว่าผู้นำภาครัฐจะเป็นผู้ที่เชี่ยวชาญในการนำองค์การด้วยความรู้ที่ว่าจะทำ
อย่างไรให้กฎหมายผ่านได้ การแปลงนโยบายสู่การปฏิบัติได้ในเวลาและงบประมาณที่กำหนด
เราคาดหวังว่าผู้นำจะยังคงมีความรู้ที่ยอดเยี่ยมและดำเนิ นการทุกสิ่งได้ในสภาพแวดล้อมของ
เทคโนโลยีใหม่ วิธีการหรือข้อบังคับทางการเงินแบบใหม่ แต่ในความเป็นจริงผู้นำไม่สามารถทำทุก
อย่างได้ นั่นคือเหตุผลที่ว่าทำไมผู้นำจำเป็นต้องเก่งในการจัดลำดับของงานและสร้างทีมงานท่ี
เหมาะสมขึ้นมา ผ้นู ำจำเป็นต้องระบสุ ่ิงท่ีสำคัญท่ีสุดและมุ่งเน้นในส่ิงน้ัน รวมทั้งการสร้างทักษะที่ต้อง
ใช้ในการดำเนินการให้เรื่องนั้นสำเร็จขึ้นมาให้ได้ (6) เพื่อให้สามารถรับมือกับสังคมยุคดิจิทัล
ผู้นำภาครัฐจะต้องมีความชัดเจนในความรับผิดชอบ สิทธิของพลเมืองและข้อกฎหมายเกี่ยวข้องกับ
การใช้ข้อมูล เมื่อมีการนำเทคโนโลยีมาใช้ก็จะทำให้ขนาดและคุณลักษณะการจ้างงานในภาครัฐ
เปลี่ยนไป จำนวนคนทำงานด้านธุรการจะลดลงอย่างมากในขณะที่ผู้ที่มีทักษะด้านดิจิทัลและ AI จะ
เป็นที่ต้องการ ซึ่งนอกจากภาระการจัดการกำลังคนด้านธุรการแล้ว การหาทางดึงดูดคนเก่งให้มา
ทำงานดว้ ยก็เป็นเรื่องทา้ ทายสำหรับผู้นำ นอกจากนั้นแนวทางการสร้างความผูกพนั ในหมู่บุคลากรซ่ึง
มีความหลากหลายในการจ้างงานทั้งสัญญาจ้างแบบบางเวลาและเต็มเวลา ซึ่งผู้นำต้องหาวิธีว่าจะจูง

316

สถาบันบัณฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์

ใจและสื่อสารกับบุคลากรเหล่านั้นอย่างไร ผู้นำยังต้องก้าวทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคมเพื่อที่จะ
สร้างสรรค์วัฒนธรรมองค์การที่บุคลากรสามารถทำงานเต็มกำลัง เหล่านี้แสดงให้เห็นว่าผู้นำภาครัฐ
จะต้องปรับเปลี่ยนแนวคิด (mindset) เพื่อที่จะเผชิญกับความท้าทายในอนาคต โดยจะต้องทำความ
เข้าใจกับเทคโนโลยีและสิ่งท่ีเทคโนโลยีทำได้ ลงทุนกับการสร้างเครือข่าย และสร้างความร่วมมือใน
การทำงานร่วมกันกบั องคก์ ารและประชาสงั คมทีห่ ลากหลาย

การเปน็ ผนู้ ำภาครฐั ไมใ่ ชข่ องงา่ ย แตก่ ารตระหนักว่าโลกกำลังเปล่ยี นแปลงและก้าวต่อไปด้วย
การพัฒนาภาวะผู้นำที่ถูกต้องจะช่วยให้ผู้นำสามารถเพิ่มสมรรถนะและความพร้อมสำหรับอนาคต
ขึ้นมาได้ ซึ่งผู้วิจัยสามารถสรุปเป็นข้อสังเกตได้จากการสัมภาษณ์ผู้บริหารระดับสูงของหน่วยงานที่มี
ผลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงในระดับคะแนนสูงน้ัน ทำให้เห็นถงึ ความพยายามของผู้นำ
หน่วยงานที่จะผลักดันให้การปฏิบัติราชการนั้นบรรลุผลตามเป้าประสงค์ของหน่วยงาน
ผ่านการดำเนินงานที่มีความสอดคล้องกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แม้จะมีข้อจำกัดต่าง ๆ
ในการทำงาน การที่ผู้นำในองค์การหรือหน่วยงานนั้นเข้าใจและมีการนำปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานอย่างชัดเจน พรอ้ มท้ังเป็นแบบอย่างใหแ้ กบ่ คุ ลากรในองค์การ
น้นั ยอ่ มแสดงอทิ ธพิ ลตอ่ บุคลากรในองคก์ าร รวมทั้งกระบวนการดำเนนิ งานต่างๆ ให้เป็นไปในทิศทาง
ที่มีความสอดคล้องกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อันเป็นหลกั การดำเนินการหลกั ทีผ่ ู้นำไดป้ รบั ใช้
ดังนั้นเมื่อผู้นำและบุคลากรในองค์การรวมทั้งกระบวนการดำเนินงานนั้นมีทิศทางที่สอดคล้องกับ
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งแล้ว ก็ย่อมมีแนวโนม้ ที่จะสามารถต้านทานต่อแรงกดดนั จากอำนาจการ
ตัดสินใจจากภายนอกไดม้ ากย่งิ ข้ึน

6.2.2 การบ่มเพาะคณุ ธรรมจริยธรรม และการพัฒนาทักษะบคุ ลากรในภาคราชการ
จากขอ้ มลู ผลการวจิ ัยเชิงคุณภาพพบว่าหลายกรม/สำนักงานได้ดำเนนิ การในสว่ นของการบ่ม
เพาะคุณธรรมจริยธรรม และมีการพัฒนาทักษะบุคลากรได้อย่างสอดคล้องกับหลักการของ
การส่งเสริมจริยธรรมในองค์การ และการบริหารคนเก่ง ดังนี้ในด้านการส่งเสริมจริยธรรมในองค์การ
หลายกรม/สำนักงานในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และกระทรวงมหาดไทยมีการประกาศนโยบาย
รวมทั้งระเบียบแนวปฏิบัติอย่างชัดเจนในการส่งเสริมจริยธรรมคุณธรรม ตัวอย่างในกระทรวงเกษตร
และสหกรณ์ เช่น กรมส่งเสริมสหกรณ์มีแผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและ
ประพฤติมิชอบ กรมตรวจบัญชีสหกรณ์มีการประกาศนโนบายและให้บุคลากรลงนามรับทราบ
นโยบายการสร้างคณุ ธรรมและความโปร่งใสในหน่วยงาน รวมทั้งมคี ูม่ อื การปฏิบัตติ ามขอ้ บังคับว่าด้วย
จรรยาบรรณข้าราชการ กรมประมงประกาศนโยบายการสรา้ งคุณธรรมและความโปร่งใสในหน่วยงาน
ของประจำปีงบประมาณ กรมปศุสัตว์กำหนดมาตรฐานจริยธรรม 7 ประการ สำนักงานมาตรฐาน

317

โครงการวิจัย
การบริหารราชการแผน่ ดินบนพ้นื ฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะท่ี ๑)

สินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติมีการประกาศระเบียบสำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร
แห่งชาติว่าด้วยประมวลจริยธรรมของขา้ ราชการ ส่วนกระทรวงมหาดไทยหลายกรม/สำนักงานมีการ
ประกาศนโยบายหรอื เจตจำนงที่ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม เช่น กรมการปกครองมีการประกาศเรื่อง
เจตจำนงสุจริตในการปฏิบัติราชการ กรมการปกครอง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 "กรมการ
ปกครองใสสะอาด” กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั มีการประกาศนโยบายการดำเนินงานอย่างมี
คุณธรรมและความโปร่งใส ซึ่งการประกาศเป็นนโยบาย ข้อบังคับ หรือแนวปฏิบัติในเรื่องจริยธรรม
คุณธรรมนี้จะเสริมสร้างให้บุคลากรทราบและเข้าใจถึงแนววิถีการปฏิบัติตัวที่ได้รับการยอมรับจาก
องค์การนั้น ๆ พร้อมทั้งยังเป็นแนวทางในการปฏิบัติชัดเจนเมื่อเผชิญความท้าทายทางด้านจริยธรรม
(Ferrell, Fraedrich & Ferrell, 2011)

นอกจากการประกาศเรื่องคุณธรรม จริยธรรมเป็นนโยบายแล้ว Ferrell, Fraedrich และ
Ferrell (2011) แนะนำว่าการฝึกอบรมทางด้านจริยธรรมน้ันเป็นรูปแบบหน่ึงในการส่งเสริมคุณธรรม
จริยธรรม ซึ่งมีตัวอย่างจากหลายกรมมีการฝึกอบรมเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมเช่น มีการปลูกฝัง
ความตระหนักรู้ด้านคุณธรรมจริยธรรม โดยการฝึกอบรมสำหรับบุคลากรเข้าใหม่ และบุคลากรใน
ระดับต่าง ๆ เช่น สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยมีสถาบันดำรงราชานุภาพดำเนินการพัฒนาด้าน
จริยธรรมคุณธรรมพัฒนาบุคลากรทุกระดับทั้งข้าราชการบรรจุใหม่ ระดับกลาง และระดับสูง
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นมีสถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่นเป็นหน่วยงานหลักในการส่งเสริม
และพัฒนาบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้มีศักยภาพ คุณธรรม และจริยธรรม
ทั้งนี้ผู้บริหารจากหลายกรม/สำนักงานให้ข้อมูลว่ามีหลักสูตรฝึกอบรมที่สอดแทรกเรื่องปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี งเพ่อื เป็นแนวทางส่งเสริมวถิ ีการปฏบิ ัติตัวให้อยใู่ นกรอบของจริยธรรม คณุ ธรรมอันดี
งาม ซึ่งการให้การอบรมเรื่องคุณธรรมจริยธรรมตั้งแต่ช่วงบุคลากรเข้าใหม่นี้เป็นส่วนสำคัญใน
การปลูกฝังวัฒนธรรมที่ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมตั้งแต่เริ่มต้น กล่าวได้ว่าอยู่ในช่วงของ
การกระบวนการเรียนรู้ทางสงั คม (socialization) ในองคก์ าร ซงึ่ จะทำใหบ้ คุ ลากรเขา้ ใหมเ่ ข้าใจถึงวิถี
การปฏิบัติตัว (Robbins & Judge, 2018) อย่างมีจริยธรรม คุณธรรมที่เป็นที่ยอมรับขององค์การ
โดยควรพิจารณารูปแบบการฝึกอบรมเป็นการใช้การกระตุ้นทางพฤติกรรม (behavior simulation)
รวมทั้งเน้นการปฏิบัติของผู้รับการอบรมมีตัวอย่างกรณีศึกษาที่ให้เรียนรู้ถึงผลของการกระทำที่ผิด
จรยิ ธรรม (Ferrell, Fraedrich & Ferrell, 2011)

การก่อตั้งหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรงเรื่องการคุ้มครองจริยธรรม และการปราบปราบ
ทุจริต การประพฤติมิชอบ เป็นส่วนสำคัญในการแสดงความชัดเจนในการส่งเสริมเรื่องคุณธรรม
จริยธรรม ซึ่งช่วยส่งเสริมการสร้างวัฒนธรรมจริยธรรมในสื่อสารถ่ายทอด นโยบาย กฎระเบียบ
ค่านิยมหลักขององค์การที่บุคลากรควรปฏิบัติตาม (Olson, 2013) ทั้งนี้หลายกรม/สำนักงานมีการ
ก่อตั้งหน่วยงานรับผิดชอบเรื่องนี้ ยกตัวอย่างเช่น ในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมตรวจบัญชี

318

สถาบันบัณฑติ พฒั นบริหารศาสตร์

สหกรณ์ได้ตั้งศูนย์ปฏิบัติการต่อด้านการทุจริตของกรมขึ้น กรมปศุสัตว์มีศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการ
ทุจริต กลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรม สำหรับกระทรวงมหาดไทย กรมที่ดินมีการตั้งศูนย์ปฏิบัติการ
ต่อตา้ นการทจุ ริต และกลุม่ งานค้มุ ครองจรยิ ธรรม

Weaver & Trevino (2001) เสนอแนะว่าการส่งเสริมจริยธรรมนั้นควรเน้นวิธีการส่งเสริม
มากกว่าการลงโทษ ดังนั้นการประกาศนโยบายหรือกฎระเบยี บข้อบังคบั ทางด้านคุณธรรม จริยธรรม
นั้นไม่เพียงพอ หลายหน่วยงานเน้นการส่งเสริม การสร้างวัฒนธรรมที่ส่งเสริมจริยธรรมโดยกำหนด
เป็นหลักการ ค่านิยม และการให้รางวัลตัวแบบของบุคลากรที่มีคุณธรรม จริยธรรมที่ดีงาม เช่น
กรมชลประทานมีการพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมให้แก่บุคลากรด้วยยึดหลักการ “ทุ่มเททำงาน
สืบสานพันธกิจ สุจริตโปร่งใส” สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.)
มีการกำหนดกรอบคุณธรรมให้บุคลากรมีค่านิยมองค์กรคือ “สามัคคี มีจริยธรรม ทำงานอย่างมือ
อาชีพ” และได้กำหนดวัฒนธรรมองค์การ คือ “ทำงานด้วยความโปร่งใส มีส่วนร่วม มีการสอนงาน
และปฏิบตั ิอย่างมืออาชีพ” รวมทงั้ มีการประกวด “คนดีศรี มกอช.” กรมโยธาธกิ ารและผังเมืองมีการ
คัดเลือกประกวดผู้มีคุณธรรมและจริยธรรมประจำปี เป็นต้น อย่างไรก็ตาม การประกาศนโยบาย
การสร้างวัฒนธรรม หรือการสร้างหน่วยงานที่รับผิดชอบเรื่องคุณธรรม จริยธรรมโดยตรงนั้นไม่อาจ
สำเร็จลุล่วงได้หากผู้นำองค์การไม่สนับสนุน (Robbins & Judge, 2018) ทั้งนี้สอดคล้องกับท่ี
ผบู้ รหิ ารระดบั กลางจากหลายกรม/สำนกั งานไดก้ ลา่ ววา่ ผ้นู ำของหนว่ ยงานใหก้ ารกระตุน้ และส่งเสริม
พฤติกรรมที่ดีแก่บุคลากร และเป็นแบบอย่างในการประพฤติปฏิบัตติ นสอดคล้องกับหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี ง

ในการพัฒนาทักษะบุคลากรนั้น ผู้บริหารจากหลายกรม/สำนักงานได้ชี้ให้เห็นว่ามีวิธีการท่ี
หลากหลายในการพัฒนาทักษะของบุคลากรที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงาน ทักษะที่มีความสำคัญต่อ
การเปลี่ยนแปลงองค์การ รวมทั้งการสอดแทรกหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตัวอย่างเช่น
กรมฝนหลวงและการบินเกษตรเน้นการเพิ่มทักษะด้านดิจิทัลให้แก่บุคลากรที่ชัดเจนมากยิ่งข้ึน
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์เน้นด้านการพัฒนาสมรรถนะให้แก่บุคลากรมีความชำนาญด้านมาตรฐาน
วิชาชีพ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยมีการฝึกทักษะพิเศษในการบรรเทาสาธารณภัยให้แก่
บุคลากร สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยดำเนินการพัฒนาบุคลากรเพื่อให้เกิดสมรรถนะที่
เหมาะสมต่อหน้าที่ความรับผิดชอบโดยสถาบันดำรงราชานุภาพ สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตร
และอาหารแห่งชาติ (มกอช.) มีการนำเครื่องมือการพัฒนาศกั ยภาพบคุ ลากรดว้ ยระบบพี่เลี้ยง/ระบบ
สอนงาน (mentoring/ coaching) และการฝึกอบรมแบบสาธารณะ (public training) กรมวิชาการ
เกษตรมีการสนบั สนนุ ด้านทุนการศึกษาและทุนการพัฒนาบคุ ลากรที่มีความหลากหลาย ซง่ึ สอดคล้อง
กับข้อเสนอแนะในการพัฒนาคนเก่งว่าควรใช้วิธีการที่หลากหลายเช่น ใช้การฝึกอบรม สัมมนา

319

โครงการวิจยั
การบริหารราชการแผ่นดนิ บนพื้นฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะท่ี ๑)

การศึกษาดูงาน การศึกษาต่อ การฝึกปฏิบัติงาน การสอนงาน การเป็นพี่เลี้ยง การให้เป็นผู้สืบต่อ
ตำแหน่งงาน (successor) รวมทั้งการให้คำปรึกษาแนะนำ (สานิตย์ หนูนิล, 2556) นอกจากน้ัน
ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 นี้มีผลกระทบให้หลายกรม/สำนักงานมีการใช้วิธีการพัฒนา
บุคลากรผ่านการอบรมออนไลน์ รวมทั้งมีการสร้างจัดระบบการเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์
(e – learning) ซ่งึ ทำใหส้ ามารถพัฒนาทกั ษะความรู้ ความสามารถทีจ่ ำเปน็ ได้อย่างตอ่ เน่อื ง เช่น กรม
ท่ีดินมีการจัดระบบการเรยี นรู้ผ่านสอื่ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (e – learning) เปน็ ต้น

ในมติ ทิ ่ี 3 ของโมเดลความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพยี งทเี่ กี่ยวข้องกับองคป์ ระกอบทรัพยากรมนุษย์
ที่ระบุว่าองค์การจะต้องมีบุคลากรที่เก่งและมีคุณธรรม ซึ่งในการที่จะสร้างเสริมองค์ประกอบนั้น
จะต้องมีความมุ่งมั่นในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ขององค์การ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ใน
สถานการณ์ปัจจุบันควรมุ่งเน้นไปที่ปัจจัยขับเคลื่อนที่เหมาะสมทั้งสมรรถนะพื้นฐาน (basic
competency) และสมรรถนะเพิ่มพนู (enhanced competency) ท่ีสะท้อนความสำคญั ชัดเจนมาก
ขึ้นหลังสถานการณ์โรคระบาดโควิด–19 นโยบายที่องค์การควรตระเตรยี มไวเ้ พื่อให้บุคลากรสามารถ
ใช้ชีวิตอยู่ในช่วงวิกฤตได้ในระยะก่อนการเปิดดำเนินการเต็มที่ขององค์การ คือ การสนับสนุน
สมรรถนะส่วนบุคคล เช่น การเข้าถึงอินเตอร์เน็ต ความรู้และการป้องกันสุขภาพ ความเชี่ยวชาญใน
เทคโนโลยี จากผลการสำรวจความพร้อมของภาครัฐในการทำงานในช่วงวิกฤติโรคระบาดโควิด-19
เพื่อเตรียมพร้อมสู่ความปกติใหม่ (New Normal) โดยสำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์, 2563) ได้เผย
ให้เห็นภาพรวมของบุคลากรในหนว่ ยงานภาครัฐว่าเจ้าหนา้ ท่ีรัฐมคี วามพร้อมในการทำงานจากที่บา้ น
ในระดับปานกลาง โดยสายงานที่มีความเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี เช่น สายงานเทคนิค/เทคโนโลยี
สายงานพัฒนาธุรกิจ นวัตกรรม และสายงานวิจัย/วิเคราะห์/ประมวลสถิติ จะมีความพร้อมใน
การทำงานจากบา้ นมากกวา่ สายงานอนื่ ดงั นนั้ องคก์ ารจึงตอ้ งเพ่มิ การให้ความสำคัญในการพัฒนาการ
เข้าถงึ เทคโนโลยีใหท้ ่วั ถงึ และการยกระดับความเชยี่ วชาญดา้ นเทคโนโลยใี ห้สูงยิ่งขึ้นเพ่อื ให้บุคลากรมี
ทักษะและความสามารถในการปรับประยุกต์ใช้เทคโนโลยีให้เกิดประสิทธิภาพและประโยชน์แก่
องค์การให้ได้มากที่สุด นอกจากนั้นองค์การยังต้องเตรียมการส่งเสริมสมรรถนะให้แก่บุคลากรให้
สามารถสนับสนุนการเสริมสร้างประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการดำเนินงานขององค์การด้วย
นวัตกรรม การส่งเสริมนวัตกรรมในรูปแบบต่าง ๆ อาจจะเพื่อสร้างงานใหม่ทดแทนงานเก่าที่ล้าสมัย
หรือการเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานด้วยการใช้เทคโนโลยีมากขึ้น นอกจากนั้นจากสถานการณ์โรค
ระบาดโควิด–19 ที่ก่อให้เกิดวิกฤติทั้งต่อร่างกาย ทรัพย์สิน และจิตใจ ต่อประชาชนจำนวนมาก
ทั่วโลก ทำให้เห็นว่าสมรรถนะที่สำคัญที่ต้องส่งเสริมให้พัฒนาขึ้นมาคือความยืดหยุ่นทางความคิด
(resilience) ในการปรับตัวเพอ่ื ให้สามารถเผชญิ หนา้ กบั ผลกระทบทไ่ี ม่อาจคาดการณ์ไวล้ ่วงหน้าได้อีก
และสามารถกลับเขา้ สสู่ มดลุ ได้ในท่สี ดุ

320

สถาบันบณั ฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์

การพัฒนาสมรรถนะของบุคลากรนอกจากมุ่งไปที่ความสามารถเพื่อให้สามารถบรรลุงานที่
ไดร้ บั มอบหมายแล้ว การปฏิบตั งิ านยังตอ้ งตั้งอยู่บนพ้นื ฐานของคุณธรรมและจรยิ ธรรมเพ่ือช่วยให้การ
ปฏิบัติงานของบุคลากรยังยึดมั่นอยู่ในความซื่อสัตย์สุจริต การปลูกฝังจริยธรรมในการปฏิบัติงานไม่
สามารถใชก้ ารฝึกอบรมเพียงอย่างเดยี ว Brenner (1992) ไดก้ ล่าวว่า การดำเนินจริยธรรมในองค์การ
สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ จริยธรรมที่เห็นได้ชัดแจ้ง (explicit ethics) กับจริยธรรมที่อยู่
ภายใน (implicit ethics) ตัวอย่างจริยธรรมที่เห็นได้ชัดแจ้ง เช่น ข้อกำหนดทางจริยธรรม คู่มือ
นโยบาย โปรแกรมการฝึกอบรมด้านจริยธรรม ฯ ส่วนตัวอย่างจริยธรรมที่อยู่ภายใน เ ช่น
วัฒนธรรมองค์การ ระบบการจูงใจ พฤติกรรมที่ให้คุณค่า นโยบายการประเมินผลการปฏิบัตงิ านและ
เลื่อนขั้น พฤติกรรมการบริหารงานฯ วัฒนธรรมเชิงจริยธรรมพัฒนาขึ้นมาในองค์การจากค่านิยมของ
คน นโยบาย และกิจกรรมต่าง ๆ เม่ือองค์การมีการสร้างสภาพแวดล้อมท่ีทำใหบ้ ุคลากรประพฤติหรือ
ปฏิบัติตามคุณค่าและนโยบายเชิงจริยธรรมอย่างมั่นคงก็แสดงว่าองค์การเหล่านั้นกำลังปลูกฝัง
จริยธรรมให้แก่บุคลากร จริยธรรมและวัฒนธรรมทางจริยธรรมในองค์การพัฒนาขึ้นมาจากค่านิยม
ของคน นโยบาย และกิจกรรมต่าง ๆ เมื่อองค์การสร้างสภาพแวดล้อมที่ส่งเสรมิ ให้บุคลากรประพฤติ
หรือปฏิบัติตามค่านิยมทางจริยธรรม และนโยบายขององค์การ ก็ถือได้ว่าองค์การนั้นส่งเสริมให้เกิด
จรยิ ธรรมขนึ้ ภายในองค์การ Sutamchai, Rowlands, and Rees (2019) พบวา่ การปฏิบัติสติสมาธิ
ท่ีองิ ตามพระพุทธศาสนาสามารถที่จะเสรมิ ยำ้ คุณค่าเชงิ จรยิ ธรรมและการประพฤติของผู้นำในภาครัฐ
ของไทยได้ ซึ่งจากการรวบรวมข้อมูลในการวิจัยครั้งนี้จะเห็นว่าหลายหน่วยงานได้ใช้การปฏิบัติทาง
ศาสนาเปน็ สิ่งชว่ ยในการสรา้ งเสรมิ คุณธรรมใหแ้ ก่บคุ ลากร

Graham (1991) ได้กล่าวว่า คุณธรรมสาธารณะ (civic virtue) ประกอบด้วยความ
รับผิดชอบที่บุคลากรมีในฐานะพลเมืองหรือสมาชิกขององค์การ คุณธรรมสาธารณะแสดงถึงความใส่
ใจระดับมหภาคหรือความผูกพันต่อระดับองค์การโดยรวม ในการพัฒนาบุคลากรให้แสดงพฤติกรรม
การเป็นพลเมืองที่ดีขององค์การ (organization citizenship behavior) มีงานวิจัยหลายชิ้นที่ศึกษา
ถึงปัจจัยที่จะก่อให้เกิดพฤติกรรมการเป็นพลเมืองที่ดีขององค์การ เช่น คุณลักษณะส่วนตัว
(Konovsky & Organ, 1996) ทัศนคติของพนักงาน (Organ & Ryan, 1995) มุมมองด้านความ
ยุติธรรมของพนักงาน (Niehoff & Moorman, 1993) และคุณลักษณะของงาน (Piccolo &
Colquitt, 2006) การศึกษาเหล่านี้ได้สะท้อนถึงนัยยะการพัฒนาพฤติกรรมการเป็นพลเมืองที่ดีของ
องค์การในหลายรูปแบบ เช่น การสรรหาผู้ที่มีวัฒนธรรมตรงกับองค์การ การปลูกฝังทัศนคติด้าน
พลเมืองแก่พนักงาน การปฏิบัติอย่างเป็นธรรม รวมทั้งการรังสรรค์งานที่ท้าทายและสร้างสรรค์ให้แก่
พนักงาน ยิ่งไปกว่านั้นพฤติกรรมการเป็นพลเมืองที่ดีขององค์การ (organization citizenship
behavior) ควรยกระดับถึงการเป็นพลเมืองที่ดีของสังคม (societal citizenship behavior)

321

โครงการวจิ ัย
การบริหารราชการแผน่ ดินบนพ้ืนฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะที่ ๑)

ระดบั ประเทศและระดับโลกดว้ ย การปฏิบตั ทิ ่ีระดับการเป็นพลเมืองท่ีดีของสงั คมเปน็ ผลสะสมมาจาก
การดำเนินการในระดับก่อนหน้านี้ที่บุคลากรต้องอาศัยทักษะในการคิดในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อ
ดำเนินงานให้บรรลุผลตามพันธกิจขององค์การ การสร้างความเจริญและความเป็นมิตรแก่ผู้มีส่วน
เกี่ยวข้อง รวมทั้งการรักษาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรของชุมชนไว้ให้แก่คนรุ่นต่อไป ดังน้ัน
การปฏิบัติงานให้สูงระดับสุดยอดของโมเดลความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงนี้ บุคลากรและองค์การไม่
สามารถหยุดลงที่การฝึกอบรมและปฏิบัติเพื่อผลประโยชน์ขององค์การเท่านั้น หากแต่จะต้องขยาย
ความคิดและการปฏบิ ัตเิ พอื่ ประโยชน์สุขแกส่ งั คมและมวลมนุษยชาติอีกด้วย

6.2.3 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความสขุ ของบุคลากร
เมื่อพิจารณาผลสำรวจความคิดเห็นด้านความสุขในการปฏิบัติงานในหน่วยงาน จากมุมมอง
ของผู้ปฏิบัติงานในส่วนงานที่ดำเนินการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ พบว่าโดยรวมของทั้งสองกระทรวง
บุคลากรมีความสุขในการปฏิบัติงานอยู่ในระดับมาก สอดคล้องกับนโยบายต่าง ๆ ที่ส่วนราชการได้
พยายามดำเนินการในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคลากร ดังที่ปรากฏในเกณฑ์คุณภาพ ได้แก่
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector Management Quality Award:
PMQA) ทร่ี ะบถุ งึ การมุ่งเน้นบุคลากร อนั หมายรวมถึง การบริหารจัดการให้บุคลากร ปฏิบัติงานอย่าง
เต็มสมรรถภาพและใช้ศักยภาพของบคุ ลากรเพือ่ ใหเ้ กิดประโยชนส์ ูงสุดต่อส่วนงาน ยังผลลัพธอ์ ันเป็น
ที่ต้องการขององค์การ และรวมถึงการดูแลให้บุคลากรมีสุขภาวะที่ดี มีความผาสุกและมีแรงจูงใจใน
การปฏบิ ตั งิ าน (สาํ นักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ, 2559) นอกจากน้เี ม่ือพจิ ารณาผลการ
วิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระดับความสัมพันธ์ระหว่างความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงในระดับเข้า
ข่าย กับความสุขในการปฏิบัติงานในหน่วยงาน ในภาพรวมของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พบว่า
มีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับปานกลางอย่างมีนัยสำคัญ และในภาพรวมของกระทรวงมหาดไทย
พบว่า มีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับปานกลางอย่างมีนัยสำคัญ ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยของ
กัลยาณี เสนาสุ และ บงกช เจนจรัสสกุล (2562) ที่พบว่าความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงของส่วนงาน
ราชการน้นั สามารถสะท้อนถึงสถานะความเปน็ องค์การแห่งความสขุ อันเกิดจากความเป็นองค์การท่ี
มีความสมดุลทั้งการดำเนินงานและคุณภาพชีวิตของบุคลากรที่ทำให้บุคลากรนั้นมีความสุขในการ
ทำงาน
ผลการศึกษาของกัลยาณี เสนาสุ (2560) พบว่าผลกระทบของคุณภาพชีวิตด้านการงานที่มี
ความสมดุลทั้งในชวี ิตสว่ นตัวและชีวิตการทำงานส่งผลต่อระดับความสขุ ของคนไทย ซึ่งสอดคล้องกบั
Chan & Wyatt (2007) และ Sirgy et al. (2008) ที่พบว่ามีความสัมพันธ์เชิงบวกระหว่างความพึง
พอใจในชีวิตการงานและความพึงพอใจในชีวิตส่วนตัวของพนักงาน Cho และ Tay (2015) ได้สรุป
ออกมาว่า ชาวอเมริกันที่มีประสบการณ์ด้านลบในชีวิตการงานและครอบครัวจะมีความสุขน้อยกว่า

322

สถาบนั บัณฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์

ผู้ที่มีประสบการณ์ด้านบวก และความพึงพอใจในงานที่สูงกว่าจะส่งผลให้มีความสุขมากกว่า
นอกจากนั้น Norgaard et al. (2015) ได้รายงานว่าการงานสามารถส่งผลกระทบด้านบวกต่อ
ความสุขของประชาชนเดนมารค์

ข้อสรุปที่สำคัญอย่างหนึ่งของการวิเคราะห์ถึงปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสุขของคนไทยทั้ง
ประเทศของการศึกษาของกลั ยาณี เสนาสุ ในช่วงสองปี (2560 และ 2562) พบวา่ ปจั จัยคุณภาพด้าน
เศรษฐกิจในครัวเรือนส่งผลกระทบต่อความสุขมากที่สุด ถึงแม้ว่าปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจยังถือเป็น
ปัจจัยที่สำคัญที่รัฐบาลควรให้ความสำคัญเป็นประเด็นแรกๆ สิ่งสำคัญอีกด้านหนึ่งที่ควรคำนึงถึงคือ
สงั คมไทยได้มีการน้อมนำปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเดจ็ พระมหาภูมิพลอดุลยเดช
มหาราชบรมนาถบพิตรมาเป็นแก่นของการดำเนินชีวิตอย่างมีคุณภาพ โดยรัฐบาลได้นำแนวคิดและ
หลักการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทางหลักในแผนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติต้ังแต่ ฉบับที่ 9 มาจนถึงปัจจุบัน ดังนั้นนอกจากการพยายามช่วยเหลือประชาชนให้มรี ายได้
สูงขึ้นแล้ว สิ่งสำคัญไม่แพ้กันก็คือ ภาครัฐควรให้ความสำคัญในการปลูกฝังให้ประชาชนดำเนินชีวิต
ตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อให้ประชาชนมีความพอประมาณ มีเหตุผล รวมถึงมี
ระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรเม่ือมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและ
ภายใน โดยอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ รวมทั้งการเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ
ให้มีสำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจรติ ดำเนินชีวติ ด้วยความอดทนและมีความเพียร เพื่อสามารถ
สร้างความสุขที่สมดุลและยั่งยืนในชีวิตทั้งของตนเอง สมาชิกในครอบครัว และสังคมโดยรวม ยิ่งไป
กว่านั้นบุคลากรของภาครัฐผู้ที่จะไปชี้นำประชาชนให้ดำเนินชีวิตตามแนวคิดหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี งก็ยงิ่ จะต้องประพฤติปฏบิ ตั ติ นเปน็ แบบอยา่ งให้เหน็ เสียก่อนจึงจะสามารถไปแนะนำ
ผู้อืน่ ได้

นักวิจัยคาดว่าบุคคลผู้ที่มีความเชื่อ ทัศนคติ และประพฤติปฏิบัติตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงท่ีจะสามารถยืนหยัดบนลำแข้งตนเองได้รวมทั้งสามารถช่วยเหลือผู้อื่นได้ ประกอบกับการ
แสดงพฤติกรรมการเป็นพลเมืองที่ดีขององค์กรและสังคมจะมีความสุขในการดำรงชีวิต ดังงานวิจัย
ของ Senasu (2017) ทศ่ี กึ ษาผลกระทบของตัวแปรความสมดลุ ในชวี ติ การงานและพฤติกรรมการเป็น
พลเมืองที่ดีของสังคม (Societal citizenship) ต่อความสุข พบว่า จิตใจและพฤติกรรมของความเป็น
พลเมืองที่ดีของสังคมของพนักงานไทยส่งผลกระทบทางบวกต่อความสุข ประชาชนที่มีความสุขมี
ความไดเ้ ปรยี บในหลายอย่างมากกว่าคนทีไ่ ม่มคี วามสุข ณ ระดบั สงั คมประชาชนที่มีความสุขสร้างทุน
ทางสังคมได้มากกว่า ทำงานหนักกว่า มีสุขภาพที่ดีกว่า และมีความพอเพียงในตนเองมากกว่า
(Lyubomirsky et al. 2005; Cummins et al., 2009) ซึ่งในประเด็นนี้ถือเป็นประเด็นสำคัญอย่าง
หนึ่งสำหรับผูก้ ำหนดนโยบายและผูน้ ำองคก์ ารท่ีจะต้องให้ความสำคัญต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของ

323

โครงการวจิ ัย
การบริหารราชการแผ่นดินบนพืน้ ฐานหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะท่ี ๑)

บุคลากร การสร้างสภาพแวดล้อมระบบการทำงานที่ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดคุณธรรม การปรับ
ประยุกต์หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปฏิบัติจนเป็นวิถีชีวิตที่จะทำให้บุคลากรสามารถ
ยนื หยัดบนลำแข้งตนเองไดร้ วมทง้ั สามารถชว่ ยเหลือผูอ้ ืน่ ได้ตอ่ ไป

6.2.4 ระบบเทคโนโลยแี ละการกา้ วเขา้ ส่สู ังคมดจิ ิทลั ในภาคราชการ
จากข้อมูลปฐมภูมิและข้อมูลทุติยภูมิที่ได้ดำเนินการเก็บรวบรวมของหน่วยงานตัวอย่าง
ภายใต้สังกดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์และกระทรวงมหาดไทยนนั้ สะทอ้ นให้เห็นการดำเนินงานที่
มีการนำระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาปรับใช้ รวมทั้งการก้าวสู่สังคมดิจิทัลของหน่วยงานในภาค
ราชการที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้น จากการสืบค้นข้อมูลทุติยภูมินั้นจะเห็นได้ว่า การให้บริการในรูปแบบ
ดิจิทัลของหน่วยงานตัวอย่างนั้นเริ่มมีมากขึ้นเรื่อย ๆ ตั้งแต่ช่วงประมาณปี พ.ศ. 2560 อันเป็น
ช่วงเวลาตั้งแต่ระยะเริ่มแรกของการผลักดันประเทศเข้าสู่การเป็นประเทศไทย 4.0 ภายใต้นโยบาย
ไทยแลนด์ 4.0 ที่เริ่มมีการขับเคลื่อนตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559 เป็นต้นมา (สำนักวิจัยและพัฒนาระบบงาน
บุคคล สำนักงาน ก.พ., 2560) โดยเป็นการดำเนินการที่เน้นในด้านของการให้บริการผ่านระบบการ
ให้บริการอิเล็กทรอนิกส์ หรือ e-Service ของหน่วยงาน อย่างไรก็ตามการเปลี่ยนแปลงการก้าวสู่
สังคมดิจิทัลของหน่วยงานตัวอย่างนั้น ได้มีความชัดเจนมากยิ่งภายหลังการเกิดการแพร่ระบาดของ
เชื้อไวรัสโคโรน่า (โควิด-19) ที่เป็นตัวเร่งให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในระดับที่มีการขยายขอบเขตมาก
ย่ิงข้นึ อาทิ การเปล่ียนแปลงในประเด็นด้านโครงสร้างการบรหิ ารราชการ รปู แบบการปฏสิ มั พันธ์และ
การทำงานร่วมกันของบุคลากร และการปรับตัวของบุคลากรภายในหน่วยงานที่มีความคุ้นชินกับ
การทำงานผา่ นระบบเทคโนโลยีดิจทิ ัลมากยิ่งข้ึน
ในภาพรวมของการเปลี่ยนแปลงการบริหารงานราชการเข้าสู่การดำเนินงานผ่านระบ บ
เทคโนโลยีดิจิทัลนั้น จะเป็นการเน้นการดำเนินงานที่มุ่งเน้นการให้บริการตามภารกิจของหน่วยงาน
ผา่ นระบบอิเล็กทรอนิกส์ที่ทางหน่วยงานนั้นได้พัฒนาและนำเสนอเพื่อใหผ้ มู้ ีส่วนได้ส่วนเสียทั้งภายใน
และภายนอกสามารถเข้าถึงข้อมูลและการบริการได้อย่างรวดเร็วมากยิ่งขึ้น เช่น โครงการพัฒนา
ระบบการพิสูจน์และยืนยันตัวจนทางดิจิทัล โดยกรมการปกครอง แอพพลิเคชั่นเพื่อการอำนวยความ
สะดวกด้านข่าวสารและการให้บริการ โดยกรมที่ดิน แอพพลิเคชั่นการขอการรับรองตรานกยูง
โดยกรมหม่อนไหม แอพพลิเคชั่นระบบที่ปรึกษาชาวนาไทย โดยกรมการข้าว เป็นต้น เมื่อพิจารณา
จากข้อมูลที่ได้จากการวิจัยจะพบว่า การสะท้อนมุมมองของการนำเสนอระบบการให้บริการ
อิเล็กทรอนิกส์โดยผู้ให้ข้อมูลสังกัดหน่วยงานตัวอย่างนั้น จะมีการเน้นประเด็นการให้บริการที่สำคัญ
อยู่ 2 ประการ ได้แก่ ความง่ายต่อการใช้งาน (ease of use) และ ความสามารถในการเข้าถึง
(accessibility) เนื่องจากการให้บริการส่วนใหญ่นั้น จะถูกนำเสนอในรูปแบบของแอพพลิเคชั่นผ่าน
โทรศัพท์เคลื่อนที่ (mobile application) แอพพลิเคชั่นผ่านหน้าเว็บไซต์ (web application) หรือ

324

สถาบันบัณฑติ พฒั นบริหารศาสตร์

การสื่อสารผ่านช่องทางการส่ือสารออนไลน์ อาทิ แอพพลิเคชั่น LINE อย่างไรก็ตาม หากพิจารณาถึง
การประเมินคุณภาพการให้บริการผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ของหน่วยงานภาครัฐ (electronic
government service quality) แล้วนั้น ประเด็นที่ผู้ให้ข้อมูลนำเสนอนั้น จะถูกพิจารณารวมกัน
ภายใต้มุมมองด้านการใช้งาน (ease of use/usability) (Al Balushi และ Ali, 2016) ซึ่งเป็นหนึ่งใน
มมุ มองที่ภาครัฐต้องให้ความสำคัญเม่ือให้การบริการผ่านระบบอิเล็กทรอนกิ ส์ ทั้งนี้ มุมมองท่ีสำคัญท่ี
จำเป็นต้องสร้างการตระหนักรู้ให้แก่บุคลากรเกี่ยวกับการให้บริการผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ที่
Al Balushi และ Ali (2016) ไดก้ ลา่ วไว้ ยังมีอีก 5 มมุ มองดว้ ยกัน ได้แก่ ความนา่ เชอื่ ถอื (reliability)
การตอบสนอง (responsiveness) การออกแบบเว็บไซต์/เนื้อหา (website design/content)
ประสิทธภิ าพ (efficiency) และ ความปลอดภยั /ความเป็นส่วนตัว (security/privacy)

สำหรับการระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาใช้ในการดำเนินการภา ยในของหน่วยงานน้ัน
จะพบว่าหน่วยงานตัวอย่างนั้นมีการนำเสนอระบบที่มีความคล้ายคลึงกัน กล่าวคือ มีการนำเสนอ
ระบบการบริหารจัดการโครงการ (e-Project Tracking, e-Monitoring) ระบบการติดตามงาน และ
ระบบการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (เช่น KM, ระบบที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการ KPI,
e-learning/training เป็นต้น) รวมทั้งการประยุกต์ใช้เครื่องมือดิจิทัลโดยผู้ใช้บริการภายนอก เช่น
Google Calendar มาปรับใช้เพื่อช่วยในการดำเนินงานในส่วนของงานสำนักงาน เป็นต้น
การดำเนนิ การเหลา่ น้ี ลว้ นเปน็ การดำเนนิ การทชี่ ว่ ยสนับสนุนให้การดำเนินงานภายในหน่วยงานนั้นมี
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่เป็นไปตามที่หน่วยงานต้องการ นอกจากนี้ หน่วยงานตัวอย่างหลาย
หน่วยงานนั้น ยังมีการให้ความสำคัญในเรื่องของการนำข้อมูลขนาดใหญ่ (Big data) เข้ามาใช้
สนบั สนนุ การดำเนนิ งานตามภารกิจอีกด้วย

ภาพรวมของการเปลี่ยนแปลงการบริหารงานราชการเข้าสู่การดำเนินงานผ่านระบบ
เทคโนโลยดี ิจทิ ัลตามท่ีกล่าวมาข้างตน้ น้ัน มคี วามสอดคล้องไปกับการดำเนินการภายใต้กรอบแนวคิด
ร ั ฐ บ า ล อ ิ เ ล ็ ก ท ร อ น ิ ก ส ์ ( eGovernment) (Millard, Havlíček, Tichá, & Hron, 2018)
อันประกอบด้วยมิติของกลุ่มกจิ กรรมจำนวน 3 มิติ ด้วยกนั ไดแ้ ก่ 1) มติ ิ eDemocracy ที่มุ่งเน้นการ
มีส่วนร่วมของประชาชน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของหน่วยงานภาครัฐในการเข้าถึงข้อมูลและองค์ความรู้
ต่างๆ 2) มิติ eAdministration ที่มุ่งเน้นในประเด็นการสนับสนุนการดำเนินงานของหน่วยงาน
รวมทั้งกระบวนการสื่อสารระหว่างหน่วยงานภาครัฐและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และ 3) มิติ eServices
ที่มุ่งเนน้ การจัดหาการให้บริการผ่านระบบออนไลน์แก่ผู้ใช้บริการ ทั้งที่เป็นกลุม่ ประชาชน กลุ่มธุรกิจ
องค์กรภาคเอกชน และองค์กรไม่แสวงหากำไร ทั้งนี้ Millard และคณะ (2018) ได้อธิบายเพิ่มเติมว่า
การมุ่งเน้นการให้บริการผ่านระบบออนไลน์นั้น ยังหมายรวมถึงการนำเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT)
มาใชส้ นบั สนุนการใหบ้ รกิ ารระหวา่ งประชาชนและกลมุ่ ธุรกิจ รวมทั้งการให้บรกิ ารของภาครฐั

325

โครงการวิจยั
การบริหารราชการแผน่ ดนิ บนพนื้ ฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ระยะที่ ๑)

การเกิดขึ้นของการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า (โควิด-19) ส่งผลให้การดำเนินงานของ
ภาครัฐภายใต้กรอบแนวคิดรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น กล่าวคือ ภายหลังจากที่มี
การแพรร่ ะบาดของเช้อื ไวรัสโคโรน่า (โควิด-19) นั้น หน่วยงานตัวอยา่ งทง้ั ที่สังกดั กระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์และกระทรวงมหาดไทยนั้น มีการปรับกระบวนการดำเนินงานเข้าสูก่ ารดำเนนิ งานผา่ นระบบ
เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ทมี่ ากยิ่งขนึ้ การนำระบบเทคโนโลยดี ิจิทลั เข้ามาใช้สนับสนนุ การดำเนินงาน สง่ ผลให้
หน่วยงานตัวอย่างส่วนใหญ่มีการปรับกระบวนการดำเนินงาน รวมทั้งโครงสร้างการบริหารราชการ
และการมอบหมายงานท่ีมีความกระชบั มากยิ่งขึน้ ส่งผลให้การดำเนินงานน้นั มีประสิทธภิ าพ สามารถ
ลดกระบวนการและเวลามากยิ่งขึ้น การปรับเปล่ยี นกระบวนการที่พบจากการวิจยั ครั้งน้ี อาทิ การนำ
ระบบลายเซ็นอิเลก็ ทรอนิกส์ (e-Signature) ระบบการตรวจสอบระยะไกล (remote audit) และการ
ปรับระบบเอกสารเข้าสู่ระบบดิจิทัล ทั้งนี้การปรับกระบวนการดำเนินงานและโครงสร้างการบริหาร
ราชการและการมอบหมายงานน้ัน มีการสะท้อนผ่านผู้ให้ข้อมูลสังกัดกรมส่งเสริมสหกรณ์ กรมพัฒนา
ที่ดิน และกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย อย่างชัดเจน การปรับเปลี่ยนที่สำคัญอีกประการหนึ่ง
ภายหลังจากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า (โควิด-19) คือ การปรับรูปแบบการประชุม การ
อบรม หรือการดำเนินการที่ต้องมีการรวมกลุ่ม ผ่านระบบการประชุมทางไกล (teleconference)
ผ่านช่องทางการสื่อสารที่เป็นที่นิยม อาทิ โปรแกรม Zoom และ LINE โดยมีจุดมุ่งหมายหลักอยู่
2 ประการ กลา่ วคือ การดำเนินการผา่ นช่องทางออนไลน์ เพื่อใหก้ ารดำเนนิ งานท่ีมอี ยเู่ ดิมนั้นสามารถ
ดำเนินการได้อย่างต่อเนื่อง และการดำเนินงานผ่านช่องทางออนไลน์เพื่อให้บริการแก่ผู้มีส่วนได้สว่ น
เสียภายนอกหน่วยงาน เพื่อให้เป้าหมายที่ถูกต้องไว้นั้นสามารถบรรลุได้ ทั้งนี้จุดมุ่งหมายหลังนั้น
พบว่าหลายหน่วยงานมีการขับเคลื่อนภายหลังที่เวลาได้ผ่านไประยะหนึ่ง และเริ่มตระหนักถึงความ
เสยี่ งท่จี ะไมส่ ามารถดำเนินการให้บรรลตุ ามเปา้ หมายของหน่วยงานได้

ในแง่ของการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับบุคลากรเกี่ยวกับการปรับตัวเข้าสู่สังคมดิจิทัลในภาค
ราชการนั้น พบว่า การเปลี่ยนแปลงเข้าสู่การก้าวสู่สังคมดิจิทัลภายหลังการแพร่ระบาดของเชื้อไวรสั
โคโรน่า (โควิด-19) ของบุคลากรที่สังกัดในหน่วยงานตัวอย่างนั้นมีการสะท้อนให้เห็นถึงการปรับตัว
การพัฒนาความรู้ทางดิจิทัล (digital literacy) และการยอมรับการนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้มากยิ่งขึ้น
โดยเฉพาะอย่างยิ่งความคุ้นเคยในการนำระบบการประชุมทางไกลผ่านแอพพลิเคชั่น อาทิ Zoom
ที่นอกจากจะสะท้อนให้เห็นถึงความสามารถในการดำเนินการได้อย่างรวดเร็วและสะดวกสบายมาก
ยงิ่ ข้ึน และสามารถนำมาใชเ้ พ่ือช่วยให้การดำเนินงานของหนว่ ยงานนัน้ สามารถบรรลุเป้าหมายตามที่
วางไว้แล้ว ผู้ให้ข้อมูลที่สังกัดในหน่วยงานตัวอย่างนั้น ยังสะท้อนให้เห็นถึงการตระหนักถึง
ความสามารถในการลดการใช้งบประมาณในการดำเนินงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งงบประมาณในการ
เดินทางไปยังพื้นที่และงบประมาณในการอบรม การเปลี่ยนแปลงที่สะท้อนให้เห็นการยอมรับ
เทคโนโลยีข้างต้นนั้น มีการเปลี่ยนแปลงไปในแนวทางเดียวกันกับการสำรวจเกี่ยวกับการก้าวสู่สังคม

326

สถาบนั บณั ฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์

ดิจิทัลของภาคเอกชนท่ัวโลก โดยบริษัทที่ปรึกษา McKinsey & Company (2020) ที่แสดงให้เห็นถึง
ความเร็วในการปรับเปลี่ยนสู่สังคมดิจิทัลในด้านต่างๆ โดยเฉพาะในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับ
การปรับเปลี่ยนสู่การทำงานทางไกลและการนำเทคโนโลยีมาใช้ภายในองค์กร แนวโน้มการยอมรับ
เทคโนโลยีของบุคลากรสังกัดหน่วยงานตัวอย่างนั้น เป็นไปในแนวทางเดียวกับการศึกษาของ
Davis (1989) ที่แสดงใหเ้ ห็นถึงการยอมรับเทคโนโลยขี องผูใ้ ช้งาน เมื่อผู้ใช้งานเทคโนโลยีน้ันสามารถ
รับรไู้ ด้ถึงประโยชนแ์ ละความง่ายในการใช้งาน อยา่ งไรกต็ าม ผ้ใู หข้ อ้ มูลยังมีการสะท้อนถึงข้อจำกัดท่ี
เกิดขึ้นระหว่างการเปลี่ยนแปลงนี้ กล่าวคือ ข้อจำกัดในเรื่องอุปกรณ์และเทคโนโลยีภายในองค์กรที่
ยังคงเปน็ สว่ นสำคญั ท่ที ำใหก้ ารกา้ วสูส่ งั คมดิจิทัลของหนว่ ยงานตวั อย่างนน้ั มีข้อจำกดั อยู่บา้ ง

6.2.5 ธรรมาภบิ าลและความโปร่งใสในภาคราชการ
จากผลการสำรวจความเป็นเศรษฐกิจพอเพียง ในมิติที่ 2 การบริหารงานเป็นระบบและ
โปร่งใส พบว่าในภาพรวมของทั้งกระทรวงเกษตรและสหกรณ์และกระทรวงมหาดไทย มีผลการ
ประเมินจากมุมมองของผู้ปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติงานผ่านในฉพาะในระดับเข้าข่าย ตามโมเดลการ
ประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงที่ได้ปรับปรุงขึ้นใหม่จากการวิจัยในครั้งนี้ สะท้อนให้เห็นถึงการ
รับรู้ของบุคลากรระดับปฏิบัติการ ในด้านธรรมาภิบาลและความโปร่งใสในภาคราชการ ว่าองค์การมี
การบริหารจัดการอย่างเป็นระบบช่วยให้เกิดประสิทธิภาพในการทำงาน และมีการบริหารงานอย่าง
โปรง่ ใส มีนโยบาย มาตรการ ระบบการตรวจสอบ ในการกำกับดแู ล และเปิดเผยข้อมูล สอดคล้องกับ
ผลการ ผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐประจำปี
2564 (Integrity and Transparency Assessment: ITA) ซึ่งเป็นเครื่องมือใช้ในการประเมินมุ่งเน้น
ที่ระบบการบริหารจัดการของหนว่ ยงานภาครัฐ โดยสำนักงานคณะกรรมการปอ้ งกัน และปราบปราม
การทจุ รติ แห่งชาติ (สำนักประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส, 2564b) เช่นเดียวกันกับ การประเมิน
ความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงระดับเข้าข่าย ในมิติการบริหารงานเป็นระบบและโปร่งใส โดยผลการ
ประเมิน ITA ของทั้งกระทรวงเกษตรและสหกรณ์และกระทรวงมหาดไทย ภาพรวมของกระทรวง ใน
ระดับ A (85.00 – 94.99 คะแนน) และเมอ่ื พิจารณาเปน็ รายหนว่ ยงานในสังกดั กระทรวง พบวา่ มีผล
การประเมนิ ผา่ นเกณฑ์ (เกนิ 85 คะแนน) ในทกุ หนว่ ยงานเช่นกัน ในขณะเดียวกันเกณฑ์การประเมิน
ระดับความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงในระดับ ในมิติ การบริหารงานเป็นระบบและโปร่งใส เป็นเกณฑ์ท่ี
ผู้วิจัยได้ยกระดับการประเมินนอกเหนือไปจากระบบการบริหารจัดการภายในองค์การไปสู่การเป็น
องค์กรแหง่ ความสุข (ระดบั เขา้ ใจ) และองคก์ ารแห่งประโยชน์สุข (ระดบั เขา้ ถงึ ) (กลั ยาณี เสนาสุ และ
บงกช เจนจรัสสกุล, 2562) โดยจากผลการสำรวจพบความคิดเห็นของผู้ปฏิบัติงาน พบว่าไม่มี
หน่วยงานใดที่มีผลการประเมินผ่านเกณฑ์ถึงระดับเข้าใจ กล่าวคือผู้ปฏิบัติงานอาจยังไม่รับรู้ถึงการ

327

โครงการวจิ ัย
การบริหารราชการแผ่นดนิ บนพ้ืนฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะท่ี ๑)

ดำเนินงานในมติ กิ ารบริหารงานเป็นระบบและโปรง่ ใส ในระดับเขา้ ใจ ได้แก่ การรับร้ถู ึงการพฒั นาการ
บริหารจัดการอยา่ งต่อเน่ือง และหรอื การรบั รู้การบริหารจัดการโดยให้ความสำคัญแกผ่ ู้รับบริการและ
ผู้มีสว่ นไดส้ ว่ นเสยี ซึ่งแตกตา่ งจากรายงานผลการวเิ คราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพที่เกบ็ รวบรวมข้อมูลจาก
ผู้บริหารระดับกลางเเละระดับสูง และมีผลการประเมินของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ผ่านเกณฑ์ถึงในระดับเข้าใจ จำนวน 4 หน่วยงาน ได้แก่ กรมพัฒนาที่ดิน กรมวิชาการเกษตร
กรมส่งเสริมสหกรณ์ และ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร สะท้อนให้เห็นถึงการถ่ายทอดนโยบายใน
ด้านการพัฒนาบริหารจัดการอยา่ งต่อเนื่อง และ การบริหารจัดการโดยให้ความสำคัญแกผ่ ูร้ ับบริการ
และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ไปยังกลุ่มผู้ปฏิบัติงานอาจจะยังขาดความชัดเจนและการมีส่วนร่วมของ
ผปู้ ฏิบัติงาน ด้วยหลกั การมีสว่ นร่วมน้ัน เปน็ หลกั การสำคญั และเป็นแนวทางท่ีมุ่งเน้นท่ีการปฏิบัติงาน
หรือการกระทำใด ๆ ของหน่วยงานภาครัฐที่ให้ความสำคัญกับการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ
ประชาชนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ทั้งในการกำหนดนโยบาย การบริหารจัดการ การดำเนินงาน
(จารวุ รรณ เมณฑกา, 2546; บญุ อยู่ ขอพรประเสริฐ, 2550; เอเจอร,์ 2545) อย่างไรกต็ ามผลการวิจัย
ทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ พบว่าหน่วยงานในสังกัด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และ
กระทรวงมหาดไทย ทุกหน่วยงาน มีผลการประเมินความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพียง ไมผ่ ่านในระดับเข้าถึง
ระดับเข้าถึง กล่าวคือ ในมิติด้านการบริหารงานเป็นระบบและโปร่งใสนั้น หน่วยงานอาจยังมีไม่
ครบถว้ นในด้านนวตั กรรมการบรหิ ารจัดการภายในองค์การทีส่ ร้างสรรค์ทีส่ ร้างประโยชน์แก่เครือข่าย
และประชาชนในสังคม และหรอื ขาดการบริหารจัดการโดยการสร้างการมีสว่ นรว่ มกบั ประชาชน/ผู้มี
ส่วนได้ส่วนเสียให้พวกเขาสามารถพึ่งพาตนเอง/แก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง ซึ่งเป็นหนึ่งในปัจจัยสำคัญท่ี
จะนำไปสู่การเป็นองค์การแห่งประโยชน์สุข ที่สะท้อนให้เห็นถึงวิถีชีวิต ที่มีภูมิคุ้มกัน มีความ
พอประมาณ และ ความมีเหตุผล เปน็ องค์การท่มี ีความเป็นเศรษฐกจิ พอเพยี งท่ีย่งั ยนื ต่อไป

328

สถาบันบณั ฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์

6.3 ขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบาย

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติได้กำหนดใหใ้ ช้แนวคดิ และปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงเป็นแก่นของการดำเนินชีวิตอย่างมีคุณภาพ ที่ประเทศไทยนำมาเป็นแนวทางหลัก
ในแผนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติตั้งแต่ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545-2549) จนมาถึง
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565-2570) รวมทั้งได้กำหนดวิสัยทัศน์
ประเทศไว้ในแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) ที่ว่า “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง
ยั่งยืน เป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” โดยมี
เป้าหมายการพัฒนาประเทศ คือ “ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนาอย่าง
ต่อเนื่อง สังคมเป็นธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน” (สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ, 2561) ซง่ึ การกำหนดพืน้ ฐานในการพัฒนาประเทศในแนวทางนี้ดำเนนิ มานับได้หลาย
สิบปี อย่างไรก็ตามเมื่อผูว้ ิจัยได้ทำการค้นคว้ามุ่งไปทีบ่ ุคลากรภาครัฐ นับตั้งแต่ผู้บริหารทุกระดบั และ
เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ซึ่งบุคลากรเหล่านี้เป็นกำลังสำคัญในการขับเคลื่อนเป้าหมายและนโยบายท่ี
เกี่ยวข้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้บรรลุผล ก็พบว่าความรู้ความเข้าใจในหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงยังมีความหลากหลายแตกต่างกันทั้งในด้านกว้าง (เช่น ความครอบคลุมของ
หลักปรัชญา อาทิ ครอบคลุมเฉพาะเกษตรกร) และด้านลึกซึ้ง (เช่น ความเข้าใจในคำสำคัญบางคำ
อาทิ ความมีเหตุมีผล) ย่ิงไปกว่านั้นประเด็นที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งคือ บุคลากรในภาครัฐมักมองการ
ปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปที่เรื่องนอกตัว เรื่องของการไปทำงานเกี่ยวข้องกับ
ประชาชน (เกษตรกร) โดยที่ไม่ได้หันกลับมามองภายในตนเองหรือภายในองค์การของตนเองเลย
ทงั้ ๆ ทีค่ วามหมายของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลย
เดชมหาราช บรมนาถบพิตร ได้พระราชทานความหมายของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอย่างเป็น
ทางการให้แก่ประชาชนคนไทย เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2542 ไว้ว่า “เศรษฐกิจพอเพียง
เปน็ ปรชั ญาชถ้ี งึ แนวการดำรงอยูแ่ ละปฏบิ ตั ิตนของประชาชนในทุกระดับต้ังแต่ระดับครอบครัว ระดับ
ชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะ
การพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ
ความมีเหตุผล รวมถึงความจำเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการมีผลกระทบ
ใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้ จะต้องอาศัยความรอบรู้
ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนำวิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผนและ
การดำเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะ

329


Click to View FlipBook Version