The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการวิจัย การบริหารราชการแผ่นดิน บนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะที่1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by SEP Action, 2022-04-18 09:28:41

รายงานผลการทำกิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัย

โครงการวิจัย การบริหารราชการแผ่นดิน บนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะที่1)

Keywords: sepaction,เศรษฐกิจพอเพียง

โครงการวิจยั
การบรหิ ารราชการแผน่ ดินบนพ้ืนฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะที่ ๑)

ตารางที่ 4.1
ตำแหน่งผ้ใู หส้ ัมภาษณ์

ลำดับ ตำแหน่ง
ผู้บรหิ ารระดบั สูง 18 คน

1 รองปลดั กระทรวงมหาดไทย
2 รองปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
3 ผู้ชว่ ยปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
4 อธบิ ดกี รมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั
5 อธบิ ดีกรมชลประทาน
6 อธบิ ดีกรมตรวจบัญชสี หกรณ์
7 เลขาธกิ ารสำนกั งานการปฏิรูปทีด่ ินเพื่อเกษตรกรรม (สปก.)
8 เลขาธกิ ารสำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตร
9 รองอธบิ ดีกรมการปกครอง
10 รองอธิบดีกรมทด่ี นิ
11 รองอธบิ ดีกรมพฒั นาทดี่ ิน
12 รองอธิบดีกรมสง่ เสริมการเกษตร
13 รองอธบิ ดีกรมการข้าว
14 รองอธบิ ดีกรมปศุสัตว์
15 รองอธิบดีกรมส่งเสริมสหกรณ์
16 รองอธิบดีกรมวิชาการเกษตร
17 รองเลขาธกิ ารสำนักงานมาตรฐานสินคา้ เกษตรและอาหารแห่งชาติ
18 ท่ปี รึกษาด้านการผงั เมอื ง กรมโยธาธกิ ารและผังเมือง
ผูบ้ ริหารระดับกลาง 3 คน
1 ผู้อำนวยการสำนักพฒั นาและถ่ายทอดเทคโนโลยีหม่อนไหม กรมหมอ่ นไหม
2 ผู้เช่ียวชาญดา้ นสัตว์นำ้ และพรรณไมน้ ำ้ สวยงาม กรมประมง
3 ผู้อำนวยการกล่มุ พฒั นาระบบบริหารกรมฝนหลวงและการบินเกษตร

กรมฝนหลวงและการบินเกษตร

96

สถาบนั บัณฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์

สำหรับการประชุมกล่มุ (Focus group) ในรอบท่ี 1 ดำเนนิ การในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2565
จำนวน 6 ครั้ง โดยแบ่งกลุ่มเข้าร่วมประชุมตามกระทรวงและกลุ่มภารกิจของกระทรวง กำหนดให้
ผู้เข้าร่วมประชุมกลุ่มคือ ผู้บริหารระดบั กลาง (ผู้อำนวยการสำนัก/กอง/ฝ่าย ของกรม/สำนักงานของ
กระทรวง) หรือผู้บริหารระดับต้น (หัวหน้าฝ่าย/หัวหน้ากลุ่มงาน ของกรม/สำนักงานของกระทรวง)
จากการประชุมกลุ่มรอบที่ 1 มีผู้เข้าร่วมประชุมกลุ่ม รวมทั้งสิ้น 85 คน (รายละเอียดตำแหน่ง
ผู้เข้าร่วมประชุมกลุ่มอยู่ในภาคผนวก 4) และมีผู้ทรงคุณวุฒิที่มาจากอาจารย์มหาวิทยาลัยและ
ผ้บู ริหารของหน่วยงานของรฐั ที่ดำเนนิ การเก่ียวข้องกับการดำเนินราชการบนพื้นฐานของปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียง จำนวน 7 คน (รายละเอยี ดตำแหน่งของผู้ทรงคุณวฒุ ิที่เข้าร่วมประชุมกลมุ่ คร้ังที่ 1
ภาคผนวก 4) รายละเอียดตำแหน่งของผ้เู ข้าร่วมประชมุ กลุ่มครงั้ ท่ี 1 แสดงในตารางที่ 4.2

ตารางที่ 4.2
รายละเอยี ดผูเ้ ข้ารว่ มประชุมกลมุ่ ครัง้ ที่ 1

กรม การประชมุ กลุ่มครัง้ ที่ 1

ผู้บรหิ าร ผบู้ ริหาร ผทู้ รง

ระดับกลาง ระดับตน้ คุณวฒุ ิ

วันจดั ประชุมกลุ่ม: 2 ธนั วาคม 2564 เวลา 09.00-12.00น.

สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย 313

กรมทดี่ นิ 5-

กรมโยธาธิการและผังเมือง 5-

วนั จัดประชุมกลุ่ม: 2 ธนั วาคม 2564 เวลา 13.00-16.00น

กรมการปกครอง 141

กรมการพฒั นาชุมชน 12

กรมสง่ เสริมการปกครองสว่ นท้องถน่ิ -4

วันจัดประชุมกลุ่ม: 8 ธนั วาคม 2564 เวลา 09.00-12.00น.

กรมการขา้ ว 131

กรมประมง 31

กรมปศสุ ัตว์ 31

กรมวชิ าการเกษตร 3-

กรมหม่อนไหม 31

97

โครงการวจิ ัย
การบรหิ ารราชการแผน่ ดินบนพ้นื ฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะที่ ๑)

ตารางที่ 4.2 (ต่อ)

กรม การประชมุ กล่มุ ครงั้ ท่ี 1

ผ้บู ริหาร ผู้บริหาร ผู้ทรง

ระดับกลาง ระดบั ตน้ คุณวุฒิ

วนั จัดประชุมกลุ่ม: 9 ธันวาคม 2564 เวลา 09.00-12.00น.

กรมชลประทาน 4-1

กรมฝนหลวงและการบนิ เกษตร 31

กรมพฒั นาทดี่ นิ 3-

สำนักงานปฏิรูปทีด่ นิ เพอ่ื เกษตรกรรม 3-

สำนักงานปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 1 2

วนั จัดประชุมกลุ่ม: 9 ธันวาคม 2564 เวลา 13.00-16.00น

กรมตรวจบัญชสี หกรณ์ 3-1

กรมส่งเสรมิ การเกษตร 4-

กรมส่งเสริมสหกรณ์ 4-

สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร 31

วนั จัดประชุมกลุ่ม: 29 ธันวาคม 2564 เวลา 09.00-12.00น.

กรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย 31 -

สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร 4 -

แหง่ ชาติ

รวม 63 22 7

4.2 ผลการประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพียงของหน่วยงานตวั อยา่ ง

ดังที่ได้อธิบายไว้ในบทที่ 3 แล้วว่าเกณฑ์การประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงของ
หน่วยงานได้กำหนดเป็นคะแนนเต็ม 100 ในแต่ละระดับ (เข้าข่าย เข้าใจ และเข้าถึง) โดยเกณฑ์
ในการประเมินท่ีจะพจิ ารณาวา่ หนว่ ยงานผา่ นการประเมนิ ในระดับน้ัน ๆ สำหรบั การวจิ ัยเชิงคุณภาพ
กำหนดให้ได้คะแนนรวมของแตล่ ะระดับอยา่ งนอ้ ยร้อยละ 80 จึงจะถือไดว้ า่ ผ่านเกณฑ์ในระดับน้นั ได้
นอกจากนั้นการจะสามารถผ่านเกณฑ์ในระดับที่สูงขึ้นได้ (ระดับเข้าใจหรือระดับเข้าถึง) จะต้องผ่าน
เกณฑใ์ นระดบั ท่ีตำ่ กวา่ ก่อน สำหรบั ผลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพยี งของกรม/สำนกั งาน

98

สถาบันบณั ฑติ พัฒนบริหารศาสตร์

4.2.1 ผลการประเมินความเปน็ เศรษฐกิจพอเพียงของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ผู้วิจัยได้ดำเนินการรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ และสังเคราะห์ข้อมูลอิงตามแบบประเมิน
ความเป็นเศรษฐกิจพอเพียง 3 ระดับ ได้แก่ ระดับเข้าข่าย เข้าใจ และเข้าถึง เพื่อให้ได้คำตอบตาม
วัตถุประสงค์การวิจัย ได้ผลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงของหน่วยงานตัวอย่าง
ซึ่งประกอบด้วย 15 หนว่ ยงานของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ดงั นี้

4.2.1.1 สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้สะท้อนความเป็นเศรษฐกิจพอเพียง
ในระดับเข้าข่าย ดังแสดงสรุปผลการประเมินด้วยภาพที่ 4.1 และรายละเอียดของประเด็นสำคัญท่ี
สำคัญในมิติต่าง ๆ ของหน่วยงานที่สะท้อนในระดับเข้าข่ายในตารางที่ 4.3 ทั้งนี้จากผลการเก็บ
รวบรวมข้อมูลแสดงใหเ้ ห็นถงึ การดำเนินงานของหนว่ ยงานทีม่ ีการวางแผนและการกำหนดนโยบายที่
สอดคล้องเป้าประสงค์ของกระทรวงและการให้ความสำคัญในเรื่องของการน้อมนำปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในส่วนของการขับเคลื่อนหน่วยงานอย่างเป็นระบบ พร้อมทั้งยังมี
การจัดตั้งงบประมาณและการดำเนินการพัฒนาบุคลากรเพื่อให้เกิดสมรรถนะที่เหมาะสมต่อหน้าท่ี
ความรบั ผิดชอบและการพฒั นาดา้ นจริยธรรม คณุ ธรรม การดำเนนิ การขา้ งต้นส่งผลให้การดำเนินงาน
ของหน่วยงานนั้นสามารถปรับตัวและดำเนินการได้ตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ นอกจากนั้นอาจมี
การสะท้อนในระดับเข้าใจและหรือระดับเข้าถึงในบางมิติ (ซึ่งยังไม่ถือว่าหน่วยงานมีความเป็น
เศรษฐกจิ พอเพียงในระดบั นั้นแลว้ )

99

โครงการวจิ ัย
การบรหิ ารราชการแผ่นดินบนพ้นื ฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะที่ ๑)

ภาพที่ 4.1
ผลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพยี งของสำนักงานปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

100

สถาบันบณั ฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์

ตารางที่ 4.3
ผลการประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพียง ระดบั เข้าข่าย ของสำนักงานปลดั กระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์

มติ ิ / ปจั จัยประเมิน แนวทางดำเนินการ ตวั อยา่ ง

มติ ิที่ 1 นโยบาย การวางแผน และการจัดทำแผนแบบมีส่วนร่วม

การวางแผนท่ี - กำหนดพันธกจิ และ - พันธกจิ หลัก ประกอบดว้ ย 1) ผลกั ดนั และ
ตอบสนองพันธกจิ
วิสัยทัศน์ และ เปา้ หมายทเี่ ป็นศนู ย์กลาง ขบั เคล่ือนนโยบายและยุทธศาสตรข์ องกระทรวงสู่
ยุทธศาสตรข์ อง
องค์กร (กรมและ การขับเคล่ือนนโยบายและ การปฏบิ ตั ิในทุกระดบั ให้เกดิ ผลสมั ฤทธแ์ิ ละ
กระทรวง)
ยุทธศาสตร์ด้านการเกษตร 2) สง่ เสรมิ สนบั สนุนการพัฒนาระบบการบรหิ าร
ในการวางแผน
ยทุ ธศาสตร์ และสหกรณ์ จัดการภาครฐั ของกระทรวง มี 2 ประเดน็
มกี ารถ่ายทอด
สร้างความเข้าใจ - ตัง้ เปา้ หมายและวาง ยทุ ธศาสตร์ คอื 1) ผลกั ดนั ภารกิจ นโยบาย
และพัฒนาการมี
สว่ นร่วมของ นโยบายโดยใหค้ วามสำคญั และยุทธศาสตรข์ องกระทรวงใหเ้ กดิ ผลสัมฤทธ์ิ
บุคลากร
กบั หลักปรชั ญาเศรษฐกจิ และ 2) เร่งรดั พฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการ

พอเพียง ภาครัฐของกระทรวง

- ยุทธศาสตรส์ ่งเสรมิ การดำเนินงานขบั เคล่อื น

เกษตรกรรมยง่ั ยืน และโครงการพระราชดำริ

- มีประชุม ชแี้ จง นโยบาย - มกี ารประชมุ ชแ้ี จง นโยบาย งบประมาณ

งบประมาณ ผลสมั ฤทธ์ิ ผลสมั ฤทธ์ิ ตวั ชี้วดั แผนปฏบิ ัตกิ ารต่าง ๆ

ตวั ช้ีวัด แผนปฏิบตั ิการตา่ ง ๆ แผนประจำปี และโครงการอนั เนอ่ื งมาจาก

- กำหนดแนวทางถ่ายทอดคา่ พระราชดำริ

เป้าหมายและตัวชว้ี ัด - มีแนวทางการถา่ ยทอดคา่ เปา้ หมาย ตวั ชี้วัด

- วางแผนงาน มีการหารอื ส่กู อง และบคุ คล

จดั ทำข้อเสนอ และปรับปรงุ - จดั ทำแผนทน่ี ำทางการพฒั นา (road map) การ

ระบบฐานขอ้ มลู รวมท้งั การ บรหิ ารจดั การการผลติ สินคา้ เกษตรตามแนว

เช่ือมโยงข้อมลู ระหว่าง ทางการบรหิ ารจดั การพื้นทเี่ กษตรกรรม

หนว่ ยงาน - จัดทำแผนปฏิบตั กิ ารระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561-

2580) โดยอาศัยกระบวนการมสี ่วนร่วมจาก

ทกุ ภาคสว่ นที่เก่ยี วขอ้ ง

101

โครงการวิจยั
การบรหิ ารราชการแผ่นดนิ บนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ระยะที่ ๑)

ตารางที่ 4.3 (ต่อ)

มิติ / ปจั จยั ประเมนิ แนวทางดำเนนิ การ ตวั อย่าง

มติ ทิ ี่ 2 การบริหารงานอยา่ งโปรง่ ใส มีธรรมาภบิ าล ไม่มีการกระทำการผิดกฎหมาย

การบรหิ ารจัดการ - จดั ทำคู่มอื ปฏบิ ัตงิ าน - คมู่ อื ปฏบิ ัติงานของหนว่ ยงานสงั กดั กระทรวง
อย่างเป็นระบบ - นำเกณฑก์ ารพัฒนา เกษตรและสหกรณ์
คุณภาพการบรหิ ารจดั การ - จัดทำคมู่ ือการพฒั นาระบบการถา่ ยทอดแผนสู่
ภาครฐั (PMQA) มาจดั ทำ การปฏิบตั ิและการประเมนิ ผลการปฏิบัติราชการ
ค่มู อื การพฒั นาระบบ ในภาพรวม
การถา่ ยทอดแผนแผนงาน - การขน้ึ ทะเบยี นอาหารของเกษตรกร ก็จะมี
- กำหนดแนวทางและคู่มือ แนวทางและคูม่ อื การขนึ้ ทะเบยี นผ้ผู ลิตอาหาร
การขึ้นทะเบยี นผูผ้ ลติ อาหาร - มบี ริการ E-service เพือ่ ช่วยในการปฏบิ ตั ิงาน
- ใช้เทคโนโลยเี ข้ามาชว่ ยใน เชน่ ระบบฐานข้อมูลด้านเกษตรและสหกรณ์
การปฏิบัตงิ าน จงั หวดั ระบบรายงานผลการดำเนนิ งาน 5
ประสาน สืบสานเกษตรทฤษฎีใหม่ ระบบตดิ ตาม
แผนงานและงบประมาณ เปน็ ตน้

การบรหิ ารงาน - กำหนดนโยบายคณุ ธรรม - มนี โยบายคณุ ธรรมและความโปรง่ ใสใน
อย่างโปรง่ ใส และความโปรง่ ใสในการ การดำเนินงาน
มนี โยบาย ดำเนินงาน - ประกาศเจตนารมณไ์ มร่ ับของขวญั และของกำนลั
มาตรการ ระบบ - ประกาศไมร่ ับของขวัญ ทกุ ชนดิ จากการปฏิบตั ิหน้าที่ (No Gift Policy)
การตรวจสอบ และของกำนัลทกุ ชนิด - ระบบรบั เร่ืองรอ้ งเรยี นร้องทุกข์มขี นั้ ตอนการแจง้
ในการกำกบั ดแู ล - มีระบบรับเรอื่ งร้องเรยี น เรื่องร้องเรียน/รอ้ งทุกขแ์ ละการตดิ ตามขอ้
และเปดิ เผยขอ้ มูล ร้องทุกข์ ร้องเรียน
- มีหนว่ ยงานภาครฐั มา - คะแนนประเมนิ ความโปร่งใส (Integrity &
ประเมนิ คณุ ธรรมและความ Transparency Assessment-ITA) ประจำปี
โปร่งใสในการดำเนนิ งาน 2564 = 93.86 ระดับการประเมนิ = A

102

สถาบันบณั ฑติ พฒั นบริหารศาสตร์

ตารางท่ี 4.3 (ต่อ)

มิติ / ปจั จัยประเมนิ แนวทางดำเนนิ การ ตัวอยา่ ง

มิตทิ ี่ 3 บุคลากรเก่งและมีคุณธรรม

การฝึกทกั ษะ - กำหนดแผนปฏบิ ตั ิการดา้ น - มแี ผนปฏิบัตกิ ารดา้ นการบรหิ ารและพัฒนา
ความรูท้ ่ีเก่ยี วเนอ่ื ง การบรหิ ารและพัฒนา ทรพั ยากรบคุ คลประจำปี ของสำนกั งาน
กบั การงานที่อย่ใู น ทรัพยากรบุคคล ปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ความรบั ผดิ ชอบ - จัดทำเสน้ ทาง ตามแนวทาง HR scorecard
ความกา้ วหน้าในอาชพี - การดำเนินการจัดทำเส้นทางความกา้ วหนา้ ใน
(career path) อาชีพ (career path)
- ฝกึ อบรมบคุ ลากรให้เป็น - โครงการ Young Smart Officer
Young Smart Officer - รับสมคั รคดั เลือกขา้ ราชการกระทรวงเกษตรและ
- มกี ารตั้งงบประมาณให้ทนุ สหกรณ์ เพ่อื รับทนุ ศึกษาต่อ ระดบั ปริญญาโท และ
ศึกษาของบุคลากร ปรญิ ญาเอก

การพัฒนา - กำหนดคา่ นยิ มหลักและ - ค่านิยมหลกั คอื “ซอ่ื สตั ย์ พัฒนาตนเองอยา่ ง
คณุ ธรรมและ กำหนดกรอบคณุ ธรรมเปน็ ตอ่ เน่อื ง รับฟังความคดิ เหน็ มุง่ ผลสัมฤทธ”์ิ
จรยิ ธรรมใหแ้ ก่ ประจำทกุ ปี ซ่งึ ใช้กำหนดกรอบคุณธรรมประจำปี
บุคลากร - กำหนดกจิ กรรมให้ความรู้ - กจิ กรรมใหค้ วามรใู้ นหัวข้อคุณธรรม จริยธรรม
ในหัวขอ้ คณุ ธรรม จริยธรรม ในหลักสูตรการฝกึ อบรมบุคลากร
หลกั สตู รฝึกอบรม - มีการกำหนดระเบยี บ/แนวทางปฏบิ ัติท่สี ่งเสรมิ
- กำหนดระเบยี บ/แนวทาง ความซื่อสตั ยส์ ุจรติ
ปฏิบตั ทิ ีส่ ง่ เสรมิ ความ - การออกคู่มอื นโยบายการกำกับดูแลองค์การท่ดี ี
ซื่อสัตยส์ จุ รติ และความมี - มกี ารประกาศเจตนารมณไ์ ม่รบั ของขวัญและของ
คณุ ธรรมของขา้ ราชการ กำนลั ทกุ ชนดิ จากการปฏิบัตหิ นา้ ทอี่ ย่างชัดเจน
- นโยบายการกำกับดแู ล
องคก์ ารทดี่ ี
- ประกาศเจตนารมณไ์ มร่ บั
ของขวญั และของกำนลั ทุก
ชนดิ

103

โครงการวิจยั
การบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ บนพ้ืนฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะที่ ๑)

ตารางที่ 4.3 (ต่อ)

มติ ิ / ปัจจัยประเมนิ แนวทางดำเนินการ ตวั อยา่ ง

มติ ทิ ี่ 4 ประโยชนแ์ กอ่ งคก์ ารและสงั คม - ศักยภาพในการขบั เคล่อื นภารกจิ ด้านการเกษตร
และสหกรณเ์ พมิ่ ข้ึน ผลการดำเนนิ งานเป็นไปตาม
ผลการดำเนนิ งาน - ผลการดำเนนิ งานประจำปี เป้าหมาย
บรรลตุ ามพันธกจิ 2564 เป็นไปตามเป้าหมาย - เกษตรกรในจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ไดร้ บั
และเป้าประสงค์ การพฒั นาและส่งเสรมิ อาชีพดา้ นการเกษตร
ขององคก์ าร ผลการดำเนนิ งานเปน็ ไปตามเปา้ หมาย
- ศกั ยภาพในการขบั เคลอื่ นภารกจิ ด้านการเกษตร
ความสามารถใน - จัดทำแผนบรหิ ารความ และสหกรณ์เพ่ิมขนึ้ ผลการดำเนนิ งานเปน็ ไปตาม
การเผชญิ หรือ เสี่ยงประจำปี เป้าหมาย
ตอบสนองต่อการ - จัดทำโครงการ ศกึ ษา - เกษตรกรสามารถพงึ่ ตนเองได้ ผลการดำเนนิ งาน
เปลีย่ นแปลงได้ วเิ คราะห์ ขดี ความสามารถ เป็นไปตามเปา้ หมาย
ให้กับเกษตรกรและชุมชนใน - มีการจดั ทำแผนบรหิ ารความเสี่ยงประจำปี:
การรบั มือกับความเสยี่ งจาก ซง่ึ จะมีการวเิ คราะหค์ วามเสีย่ งแตล่ ะโครงการตาม
ภัยพบิ ตั ิดา้ นการเกษตร กลยุทธ์ทีว่ างไว้
- จดั ทำโครงการศึกษา วิเคราะห์ และจดั ทำ
ข้อเสนอในการสร้างขีดความสามารถให้กับ
เกษตรกรและชุมชนในการรับมอื กบั ความเสยี่ งจาก
ภัยพิบตั ิดา้ นการเกษตร

4.2.1.2 กรมหม่อนไหม
กรมหม่อนไหมได้สะท้อนความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงในระดับเข้าข่าย ดังแสดง
สรุปผลการประเมินด้วยภาพที่ 4.2 และรายละเอียดของประเด็นสำคัญที่สำคัญในมิติต่าง ๆ ของ
หน่วยงานทีส่ ะท้อนในระดับเข้าข่ายในตารางท่ี 4.4 ท้งั นจี้ ากผลการเก็บรวบรวมข้อมลู แสดงให้เห็นถึง
การดำเนินงานของหน่วยงานที่มีการวางแผนและการกำหนดนโยบายที่สอดคล้องเป้าประสงค์ของ
กระทรวง มีการถ่ายทอดนโยบาย รวมทั้งการจัดทำคู่มือการปฏิบัติงานของกองงานต่าง ๆ ภายใต้
การกำกับดูแลของกรม นอกจากนี้ทางกรมหม่อนไหมยังมีการจัดตั้งงบประมาณและการดำเนินการ
พัฒนาบุคลากรเพื่อพัฒนาความรู้ทั้งที่เกี่ยวกับงานและนอกงานของบุคลากรภายในกรมหม่อนไหม
โดยเฉพาะอย่างยิ่งการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรด้านเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีความชัดเจน

104

สถาบันบณั ฑติ พัฒนบริหารศาสตร์

การดำเนินการข้างตน้ ส่งผลให้การดำเนินงานของหนว่ ยงานน้นั สามารถดำเนนิ การได้ตามเป้าหมายท่ี
กำหนดไว้ อีกทั้งยังมีความพร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น โดยแสดงให้เห็นจากการมี
การดำเนินการเกี่ยวกับการบริหารจัดการความเสี่ยงและการรับมือกับปัญหาและอุปสรรคที่เกิดข้ึนใน
โครงการต่าง ๆ ของกรมหม่อนไหม นอกจากนั้นได้มีการสะท้อนในระดับเข้าใจและหรือระดับเข้าถึง
ในบางมิติ (ซึง่ ยงั ไมถ่ ือว่าหน่วยงานมคี วามเปน็ เศรษฐกิจพอเพียงในระดับนน้ั แล้ว)
ภาพท่ี 4.2
ผลการประเมนิ ความเป็นเศรษฐกจิ พอเพยี งของกรมหมอ่ นไหม

105

โครงการวิจัย
การบรหิ ารราชการแผ่นดนิ บนพืน้ ฐานหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ระยะที่ ๑)

ตารางท่ี 4.4
ผลการประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดบั เขา้ ข่าย ของกรมหม่อนไหม

มติ ิ / ปจั จยั ประเมิน แนวทางดำเนนิ การ ตัวอยา่ ง

มติ ทิ ่ี 1 นโยบาย การวางแผน และการจัดทำแผนแบบมีสว่ นรว่ ม

การวางแผนที่ - กำหนดเป้าหมายและ - แผนปฏบิ ัตริ าชการกรมหมอ่ นไหมมีแนวทางการ
ตอบสนองพันธกจิ ผลลพั ธข์ องภารกิจท่ี พฒั นา และโครงการทส่ี อดคล้องและส่งผลสมั ฤทธิ์
วสิ ัยทัศน์ และ สอดคลอ้ งกับเปา้ ประสงค์ ตอ่ เปา้ ประสงค์ของกระทรวง โดยพนั ธกจิ หลกั ของ
ยทุ ธศาสตร์ของ ของกระทรวง กรมหม่อนไหม คือ 1) อนุรกั ษแ์ ละสบื สาน
องคก์ ร (กรมและ - รบั นโยบายจากกระทรวง ภูมิปญั ญาดา้ นหมอ่ นไหม 2) พฒั นากระบวนการ
กระทรวง) และดำเนนิ ภารกจิ หลกั เพอ่ื ผลิตดา้ นหมอ่ นไหมใหม้ ีคณุ ภาพและได้มาตรฐาน
พัฒนาการช่วยเหลือ 3) พัฒนาสินค้าหม่อนไหมเพ่ือเพม่ิ มลู คา่ และ
เกษตรกรด้านการปลกู แสวงหาชอ่ งทางดา้ นการตลาดท้งั ในประเทศและ
หม่อนเล้ยี งไหม ตา่ งประเทศ 4) พัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การงาน
และบคุ ลากรใหส้ ามารถปฏบิ ตั ิงานไดอ้ ย่างมี
ประสิทธภิ าพ
- ยทุ ธศาสตรก์ รมหมอ่ นไหม ระยะ 20 ปี
1) สร้างความเข้มแขง็ ใหเ้ กษตรกร
2) เพม่ิ ประสิทธิภาพการบรหิ ารจดั การ
3) เพิม่ ศกั ยภาพการพฒั นาหมอ่ นไหมดว้ ย
เทคโนโลยีและนวัตกรรม
4) การอนุรักษ์ คมุ้ ครองหม่อนไหมอย่างย่ังยืน
5) พัฒนาองค์กรและบุคลากร

ในการวางแผน - มกี ารรบั ฟังขอ้ คดิ เห็นจาก - กรมหม่อนไหมมชี อ่ งทางให้บคุ ลากรสามารถ
ยุทธศาสตร์ มกี าร บุคคลากรในการจัดทำแผน เสนอข้อคดิ เห็นและขอ้ เสนอแนะผา่ นเวที
ถ่ายทอด สรา้ ง - กำหนดเป้าหมายการ การประชุม/สมั มนาผลการดำเนินการประจำปี
ความเขา้ ใจ และ ดำเนนิ งานรว่ มกนั กบั เพอ่ื เปน็ ข้อมลู ในการทำแผนปฏิบตั ิการในปถี ัดไป
พฒั นาการมสี ว่ น ผู้ปฏิบัตงิ าน - มีการถ่ายทอดตัวชี้วดั และเปา้ หมายระดบั กองสู่
ร่วมของบคุ ลากร การปฏิบตั ใิ นระดบั กล่มุ งานและบคุ คล

106

สถาบันบณั ฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์

ตารางท่ี 4.4 (ต่อ)

มิติ / ปัจจยั ประเมิน แนวทางดำเนินการ ตวั อย่าง

มติ ทิ ่ี 2 การบรหิ ารงานอยา่ งโปร่งใส มีธรรมาภบิ าล ไม่มีการกระทำการผดิ กฎหมาย

การบริหารจดั การ - จดั ทำคู่มอื ปฏิบตั งิ านของ - กำหนดอำนาจหนา้ ทีข่ องหน่วยงานยอ่ ยภายใน

อย่างเป็นระบบ แต่ละกองงาน กรมฯ อย่างชัดเจน และจดั ทำคู่มอื ปฏบิ ัตงิ านของ

- จัดทำระเบยี บกรมหม่อน แต่ละกองงาน

ไหม วา่ ด้วยหลักเกณฑ์ - ระเบียบกรมหมอ่ นไหม วา่ ด้วยหลักเกณฑต์ า่ ง ๆ

ตา่ ง ๆ ของการผลติ ไหม ของการผลติ ไหม ผลติ ภณั ฑต์ า่ ง ๆ เป็นตน้

ผลิตภณั ฑ์ตา่ ง ๆ - ข้อบังคบั ว่าดว้ ยการใชเ้ ครือ่ งหมายรบั รอง

- ข้อบงั คับวา่ ด้วยการใช้ ผลติ ภณั ฑผ์ า้ ไหมไทย ข้อบงั คับว่าดว้ ยการใช้

เครื่องหมายรับรอง เคร่อื งหมายรับรองผลติ ภณั ฑผ์ ้าไหมไทย

- มีแนวทางในการปฏบิ ัตงิ าน (ตรานกยงู พระราชทาน)

โดยการใช้ขอ้ มูลเป็นพนื้ ฐาน - ประชมุ เจา้ หน้าทผ่ี ู้ปฏบิ ตั ิงานดา้ นการตรวจสอบ

ในการกำหนดภารกจิ รับรองมาตรฐานผลติ ภณั ฑ์ผา้ ไหมไทยมกี ารจัดทำ

คู่มอื การใหบ้ รกิ ารการตรวจสอบรบั รองมาตรฐาน

ผลิตภณั ฑ์ผา้ ไหมไทยฯ และพจิ ารณาการปรับปรงุ

พัฒนาระบบใหบ้ รกิ ารด้านหมอ่ นไหม

การบรหิ ารงาน - กำหนด กฎ ระเบยี บ - มี กฎ ระเบียบ ขอ้ บังคับต่าง ๆ และมตี ัวชี้วัดตาม

อยา่ งโปรง่ ใส มี ข้อบังคบั ต่างๆ ตามแนวทาง แนวทางของสำนักงานคณะกรรมการพฒั นาระบบ

นโยบาย มาตรการ ของสำนักงานคณะกรรมการ ราชการ (ก.พ.ร.)

ระบบการ พฒั นาระบบราชการ - คะแนนประเมินความโปรง่ ใส (Integrity &

ตรวจสอบ (ก.พ.ร.) Transparency Assessment-ITA) ประจำปี

ในการกำกบั ดแู ล - มหี นว่ ยงานภาครฐั มา 2564 = 89.09 ระดับการประเมนิ = A

และเปดิ เผยข้อมลู ประเมนิ คุณธรรมและความ

โปร่งใสในการดำเนนิ งาน

107

โครงการวิจยั
การบรหิ ารราชการแผ่นดนิ บนพน้ื ฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ระยะท่ี ๑)

ตารางท่ี 4.4 (ต่อ)

มติ ิ / ปจั จยั ประเมิน แนวทางดำเนินการ ตวั อย่าง

มิตทิ ่ี 3 บุคลากรเก่งและมีคุณธรรม - โครงการขับเคล่ือนระบบอัจฉรยิ ะหม่อนไหม
(Smart Thai Silk) สนับสนุน อบรมภายใตแ้ ผน
การฝกึ ทกั ษะ - มีการฝกึ อบรมและวธิ ี Smart Officer
ความรู้ทเ่ี กี่ยวเนอ่ื ง พัฒนาความรูผ้ า่ นระบบท่ี - มีระบบการสอนงาน (coaching หรือ On-the-
กบั การงานท่ีอยใู่ น หลากหลาย job training)
ความรบั ผิดชอบ - มกี ารตั้งงบประมาณและมี - ฝึกอบรมโครงการพัฒนาบุคลากรของกรมหม่อน
การพัฒนาความรเู้ กยี่ วกับ ไหม “หลักสตู ร การเพมิ่ ทกั ษะการทอผา้ กะเหรีย่ ง
งาน และนอกงานเพิม่ เตมิ โปว์” เพอ่ื ให้บุคลากรสามารถถา่ ยทอดการทอผ้า
จกให้กบั เยาวชน
- อบรมหลกั สูตรการประยกุ ต์ใชว้ สั ดุรงั ไหมเพม่ิ
ทักษะใหก้ ับบุคลากรกรมหม่อนไหมในการ
ประยกุ ตใ์ ชว้ ัสดรุ งั ไหม เพอื่ เพมิ่ มลู คา่ ผลติ ภณั ฑ์
- มีการต้ังงบประมาณกำหนดการพฒั นาบุคลากร
ดา้ นเทคโนโลยดี ิจิทัลเพม่ิ เตมิ ภายใน “แผนปฏบิ ตั ิ
ราชการ กรมหมอ่ นไหม ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566-
2570)” โดยมกี ารระบุกลยทุ ธก์ ารพัฒนา 2
กลยุทธ์หลกั ได้แก่ การจดั ทำหลักสูตรดา้ น
เทคโนโลยีดิจทิ ลั สำหรับบคุ ลากรทกุ ระดับในกรม
และการจัดแหล่งเรียนรู้และจดั การองค์ความรู้ดา้ น
เทคโนโลยีดิจทิ ลั

108

สถาบนั บณั ฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์

ตารางท่ี 4.4 (ต่อ)

มติ ิ / ปัจจัยประเมิน แนวทางดำเนนิ การ ตวั อย่าง

มติ ทิ ่ี 3 บุคลากรเก่งและมคี ณุ ธรรม

การพฒั นา - กำหนดค่านิยมของกรม - คา่ นยิ ม = SILK S = social responsibility

คณุ ธรรมและ หมอ่ นไหมทเ่ี ปน็ การสง่ เสริม หมายถงึ มีความรับผดิ ชอบต่อสงั คม I = integrity

จรยิ ธรรมใหแ้ ก่ ให้ยดึ ม่นั ในคณุ ธรรม หมายถึง ยดึ มนั่ คณุ ธรรม L = leadership

บคุ ลากร จริยธรรม หมายถึง ความเป็นผู้นำ K = knowledge

- จดั กจิ กรรมเสริมสรา้ ง หมายถงึ มอี งคค์ วาม

ความรู้ สกู่ ารป้องกนั การ - สัมมนาเชงิ ปฏิบตั กิ ารเสรมิ สร้างความรู้

ทจุ รติ สกู่ ารป้องกนั การทุจริตของกรมหมอ่ นไหม
- มีกำหนดแผนการ - หนว่ ยงานกำหนด กฎระเบยี บ และข้อมลู ที่

ดำเนินงานด้านการเสรมิ สร้าง เก่ยี วข้อง เช่น คู่มอื การปฏิบัติงานเพือ่ เปน็ แนว

วัฒนธรรมองคก์ รทชี่ ดั เจน ทางการดำเนินงานในหนว่ ยงาน มกี ารติดตามและ

- มีการเสรมิ สร้างวฒั นธรรม ประเมินผลการดำเนินการและวเิ คราะหส์ รปุ ข้อมลู

องค์กรดา้ นจรยิ ธรรมคณุ ธรรม รายงานเสนอแนวทางตามแผนการดำเนนิ การในปี

ตอ่ ไปเสนอผูบ้ ริหาร

- การจดั กิจกรรมทางศาสนา เช่น กฐินสามัคคี
กจิ กรรมใส่บาตรทกุ วนั พธุ รกั ษาศลี 5 กจิ กรรม
ตู้ปนั สุข กจิ กรรมเกยี่ วกบั นา สถาบนั

พระมหากษตั รยิ ์

109

โครงการวิจยั
การบรหิ ารราชการแผ่นดินบนพน้ื ฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ระยะที่ ๑)

ตารางที่ 4.4 (ต่อ)

มติ ิ / ปัจจยั ประเมนิ แนวทางดำเนินการ ตวั อย่าง

มิติที่ 4 ประโยชนแ์ ก่องคก์ ารและสงั คม - ผลประเมินการปฏบิ ตั ิราชการปี 2563
ในโครงการตา่ ง ๆ เป็นไปตามเปา้ หมายท่กี ำหนดไว้
ผลการดำเนินงาน - ผลการดำเนนิ งานปี 2563
บรรลตุ ามพนั ธกจิ บรรลตุ ามเปา้ หมายของ - มีการประชุมและจดั ทำแผนบรหิ ารความเสีย่ ง
และเปา้ ประสงค์ องค์กร - มแี ผนรองรับกบั ปัญหาและอุปสรรคทเ่ี กดิ ขน้ึ
ขององค์การ เช่น โครงการพัฒนาประสิทธิภาพการผลติ หมอ่ น
ไหมระบบแปลงใหญ่
ความสามารถใน - มีการประชมุ และจดั ทำแผน - มีการจดั ทำ “แผนบริหารความตอ่ เนื่อง (BCP)
การเผชญิ หรือ บริหารความเสีย่ ง ภายใต้สถานการณร์ ะบาดโรคตดิ เชื่อไวรสั โคโรนา
ตอบสนองตอ่ การ - มีแผนรองรบั กับปญั หาและ 2019 (COVID-19)” จดั ทำในปี 2564
เปลย่ี นแปลงได้ อุปสรรคทเี่ กิดขน้ึ
- จัดทำแผนบริหารความ
ตอ่ เนอ่ื ง Business
continuity plan (BCP)

4.2.1.3 กรมฝนหลวงและการบนิ เกษตร
กรมฝนหลวงและการบินเกษตรไดส้ ะท้อนความเป็นเศรษฐกจิ พอเพยี งในระดับเข้าข่าย
ดงั แสดงสรปุ ผลการประเมนิ ด้วยภาพที่ 4.3 และรายละเอียดของประเด็นสำคัญท่สี ำคัญในมิติต่าง ๆ ของ
หน่วยงานที่สะท้อนในระดับเข้าข่ายในตารางที่ 4.5 จากผลการเก็บรวบรวมข้อมูลของกรมฝนหลวงและ
การบินเกษตรนั้นสะท้อนให้เห็นถึงการดำเนินงานของหน่วยงานท่ีมีการวางแผนและการกำหนดนโยบาย
ทส่ี อดคลอ้ งเป้าประสงค์ของกระทรวง อีกทัง้ ยงั มีการปรับเปลี่ยนแผนการดำเนินงานให้มีความสอดคล้อง
กบั แผนการดำเนนิ งานท่ีเกี่ยวข้องในระดับประเทศมากยง่ิ ขน้ึ มีการถา่ ยทอดนโยบาย รวมทง้ั การใช้ข้อมูล
ประกอบการตัดสินใจในการปฏิบัติงาน กรมฝนหลวงและการบินเกษตรนั้น มีการกำหนดหลักเกณฑ์
การพัฒนาบุคลากรในด้านความรู้ที่เกีย่ วเนื่องกับการปฏิบัติงานตามหนา้ ที่ความรับผิดชอบที่ชดั เจนผ่าน
คู่มือแผนพัฒนาบุคลากร สำหรับการพัฒนาด้านคุณธรรม จริยธรรมนั้น จะเป็นการดำเนินการผ่าน
โครงการและกจิ กรรมทม่ี ุ่งเนน้ ในประเด็นที่เกย่ี วข้อง จากผลการเก็บรวบรวมข้อมูลของกรมฝนหลวงและ
การบนิ เกษตรนั้นสะท้อนให้เห็นถึงการดำเนินงานของหน่วยงานที่มีการวางแผนและการกำหนดนโยบาย
ทีส่ อดคล้องเป้าประสงค์ของกระทรวง นอกจากน้ันอาจมีการสะท้อนในระดับเข้าใจและหรือระดับเข้าถึง
ในบางมติ ิ (ซ่ึงยังไม่ถอื วา่ หน่วยงานมีความเปน็ เศรษฐกิจพอเพียงในระดับนน้ั แล้ว)

110

สถาบันบณั ฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์

ภาพท่ี 4.3
ผลการประเมินความเปน็ เศรษฐกิจพอเพยี งของกรมฝนหลวงและการบินเกษตร

111

โครงการวจิ ยั
การบรหิ ารราชการแผน่ ดินบนพืน้ ฐานหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะท่ี ๑)

ตารางที่ 4.5
ผลการประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกิจพอเพียง ระดับเขา้ ข่าย ของกรมฝนหลวงและการบนิ เกษตร

มิติ / ปจั จยั ประเมนิ แนวทางดำเนินการ ตัวอยา่ ง

มติ ิที่ 1 นโยบาย การวางแผน และการจดั ทำแผนแบบมีส่วนรว่ ม

การวางแผนท่ี - กำหนดเป้าหมายและ - ภารกจิ หลักของกรมคือ 1) บริหารจัดการน้ำในชั้น
ตอบสนองพนั ธกิจ ผลลัพธ์ของภารกจิ ท่ี บรรยากาศใหเ้ กดิ ฝนในปรมิ าณทีเ่ หมาะสม
วิสัยทศั น์ และ สอดคลอ้ งกับเปา้ ประสงค์ 2) การบรหิ ารจดั การทรพั ยากรน้ำ การอนุรักษแ์ ละ
ยทุ ธศาสตร์ของ ของกระทรวง ฟนื้ ฟูทรพั ยากรป่าไม้ และการบรรเทาภยั พบิ ตั ทิ าง
องคก์ ร (กรมและ - กำหนดตวั ชว้ี ดั ดา้ นของ ธรรมชาติ 3) วจิ ัยและพัฒนาเทคโนโลยีการทำฝน
กระทรวง) เปา้ หมายสอดคล้องกับ เพื่อเพมิ่ ประสิทธิภาพการบรหิ ารจดั การนำ้ ในชั้น
เป้าประสงค์กระทรวง บรรยากาศ เพอ่ื รองรบั การแกไ้ ขปญั หาภยั พิบตั อิ นั
เนื่องมาจากความผันแปรของภมู ิอากาศและสภาวะ
โลกรอ้ น 4) บรหิ ารจัดการด้านการบินในภารกจิ การ
ทำฝน การวจิ ัยและพฒั นาเทคโนโลยี และภารกจิ
ด้านการเกษตร กำหนดตวั ชี้วัดดังน้ี
ตวั ชีว้ ดั 1: รอ้ ยละของจำนวนพ้ืนท่ปี ระสบภยั แลง้ ท่ี
ไดร้ ับการช่วยเหลือ
ตวั ชีว้ ดั 2: ร้อยละความสำเรจ็ ของการปฏิบตั กิ ารฝน
หลวงเติมน้ำในเข่ือนตามที่รอ้ งขอ
ตวั ชว้ี ัด 3: รอ้ ยละความสำเร็จของการบรรเทา
ปญั หาหมอกควนั และไฟป่า
ตัวชวี้ ดั 4: รอ้ ยละความสำเรจ็ ของการบรรเทาการ
เกดิ พายลุ กู เหบ็

ในการวางแผน - จัดทำแผนปฏบิ ตั กิ ารโดยมี - จัดทำแผนปฏิบตั กิ ารด้านการดดั แปรสภาพอากาศ
ยทุ ธศาสตร์ มีการ เจ้าหนา้ ท่ที ่ีเกีย่ วข้องเขารว่ ม ระยะ 20 ปี โดยมีบรหิ าร ผอู้ ำนวยการสำนกั /กอง/
ถา่ ยทอด สร้าง ประชมุ จดั ทำแผน กลุ่ม และทีมเจา้ หน้าท่หี ลักจากทกุ สำนกั /กอง
ความเขา้ ใจ และ - บูรณาการแผนงานในการ ร่วมประชมุ จัดทำแผนปฏิบตั กิ าร
พฒั นาการมสี ว่ น ถ่ายทอดตัวชว้ี ดั โดย - มกี ารถา่ ยทอดตวั ชว้ี ดั และเป้าหมายระดบั กองสู่
ร่วมของบุคลากร พิจารณาใหส้ อดคล้องกับ การปฏิบัติในระดับกลมุ่ งานและบคุ คลโดยพจิ ารณา
อำนาจหน้าท่ีของกล่มุ งาน/ ให้สอดคลอ้ งกับอำนาจหนา้ ที่ของกลมุ่ งาน/ฝา่ ย
ฝา่ ย

112

สถาบนั บณั ฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์

ตารางที่ 4.5 (ต่อ)

มิติ / ปัจจยั ประเมนิ แนวทางดำเนินการ ตัวอย่าง

มิตทิ ี่ 2 การบริหารงานอยา่ งโปร่งใส มีธรรมาภบิ าล ไม่มีการกระทำการผิดกฎหมาย

การบรหิ ารจัดการ - มแี นวทางในการปฏิบัตงิ าน - มีกระบวนการวางแผนตัดสนิ ใจปฏิบัติการ

อยา่ งเปน็ ระบบ ประจำวัน ฝนหลวงประจำวัน

- มีแนวทางในการใชข้ อ้ มูล - มีกระบวนการวางแผนและการตดั สินใจ

เปน็ พนื้ ฐานในการกำหนด การปฏบิ ัติการฝนหลวงช่วงชิงสภาพอากาศ

ภารกจิ - กำหนดลำดับความสำคญั เร่งด่วนประจำวัน

- มกี ารกำหนดอำนาจหน้าท่ขี องหนว่ ยงานย่อย

ภายในกรมฯ อยา่ งชัดเจน

การบรหิ ารงาน - พจิ ารณางบประมาณ ใช้ - ต้ังงบประมาณโดยพิจารณาปัจจยั ภายในและ

อย่างโปรง่ ใส มี คุ้มค่าตรงกับวตั ถุประสงค์ท่ี ภายนอก วเิ คราะหค์ วามคุม้ ค่าของแต่ละโครงการ

นโยบาย มาตรการ ดำเนนิ การใหม้ ากท่สี ดุ - ประกาศกรมฝนหลวงและการบนิ เกษตร เร่ือง

ระบบการ - กำหนดโยบายเก่ียวกบั หลัก เจตจำนงสจุ ริตในการบรหิ ารงานดว้ ยความซื่อสตั ย์

ตรวจสอบ ความโปร่งใส เพอ่ื เปน็ สจุ รติ มีคณุ ธรรมและโปร่งใสตามหลกั ธรรมาภบิ าล

ในการกำกบั ดแู ล แนวทางดำเนนิ งานให้กับ - เปดิ ชอ่ งทางร้องเรยี น/ร้องทกุ ข์ และแผนผัง

และเปดิ เผยข้อมลู บคุ ลากร การจดั การเรอ่ื งรอ้ งเรียน/ร้องทกุ ข์

- มชี อ่ งทางทางรบั เร่อื ง - คะแนนประเมินความโปรง่ ใส (Integrity &

รอ้ งเรียนเก่ยี วกบั การ Transparency Assessment-ITA)

ประพฤติมิชอบ ประจำปี 2564 = 92 ระดบั การประเมิน = A

- มีหนว่ ยงานภาครฐั มา

ประเมินคุณธรรมและความ

โปรง่ ใสในการดำเนนิ งาน

113

โครงการวิจยั
การบรหิ ารราชการแผน่ ดินบนพืน้ ฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะท่ี ๑)

ตารางที่ 4.5 (ต่อ)

มติ ิ / ปัจจัยประเมิน แนวทางดำเนนิ การ ตัวอย่าง

มิติท่ี 3 บคุ ลากรเกง่ และมีคุณธรรม

การฝึกทกั ษะ - กำหนดหลกั เกณฑก์ าร - จดั ทำคู่มอื แผนพฒั นาบคุ ลากร
ความรทู้ ่เี ก่ียวเน่อื ง พฒั นาบุคลากร - โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารจิตอาสาชว่ ย
กบั การงานทีอ่ ย่ใู น - มกี ารพัฒนาความรู้ ทกั ษะ พระบิดาปฏิบัตกิ ารฝนหลวง
ความรบั ผดิ ชอบ และเสรมิ สรา้ งสมรรถนะของ - โครงการฝกึ อบรมสมั มนานาการจดั ทำ After
บุคลากรผา่ นโครงการตา่ ง ๆ Action Review ถอดบทเรยี นจากการปฏบิ ัติ
- มีการต้งั งบประมาณในการ การฝนหลวง
จดั ทำแผนพัฒนาทรพั ยากร - การจดั ทำแผนพฒั นาบุคลากร จะมีการกำหนด
บุคคล งบประมาณแตล่ ะโครงการ

การพัฒนา - มกี ารจัดกจิ กรรมพัฒนา - กจิ กรรมจติ อาสา "รรู้ ักสามคั คี รกั ษส์ ิง่ แวดลอ้ ม
คณุ ธรรมและ บุคลากรดา้ นคณุ ธรรม พัฒนาคุณภาพชวี ิต"
จริยธรรมให้แก่ จริยธรรม - โครงการอบรมหลกั สตู ร “ขา้ ราชการทีด่ ี รว่ มปลกู
บคุ ลากร - มีการประกาศหลักเกณฑ์ จิตสำนกึ ในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต”
การให้คณุ ใหโ้ ทษ เสรมิ สร้าง - โครงการบรรยายธรรมแกบ่ คุ ลากรกรม กรมฝน
วัฒนธรรมซ่อื สตั ยส์ จุ รติ หลวงและการบนิ เกษตร น้อมเกลา้ ๆ "การทำงาน
ภายในกรม อย่างมีความสขุ ดว้ ยธรรมะ" ประจำปี 2564
- โครงการฝกึ อบรมหลกั สตู ร การป้องกนั และ
ปราบปรามการทุจริตในหน่วยงานภาครัฐ
- ประกาศกรมฝนหลวงและการบนิ เกษตร
เรื่อง เจตจำนงสจุ รติ ในการบริหารงานด้วยความ
ซ่อื สัตยส์ ุจรติ มีคณุ ธรรมและโปรง่ ใสตาม
หลกั ธรรมาภิบาล

114

สถาบนั บณั ฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์

ตารางที่ 4.5 (ต่อ)

มติ ิ / ปจั จัยประเมิน แนวทางดำเนนิ การ ตวั อยา่ ง

มติ ทิ ี่ 4 ประโยชน์แกอ่ งค์การและสงั คม - แผนงานบูรณาการบริหารจดั การนำ้ (แผน 230
ลา้ นไร่ ผลทำได้ 230 ลา้ นไร่ ทำได้ 100%
ผลการดำเนินงาน - มผี ลลพั ธ์การปฏบิ ตั ิงาน ตามแผน)
บรรลตุ ามพันธกจิ ปีงบประมาณ 2563 ตาม/ - แผนงานยุทธศาสตรก์ ารวจิ ยั และพัฒนานวตั กรรม
และเปา้ ประสงค์ สูงกว่าเปา้ หมาย (ผลการดำเนินงานเปน็ ไปตามเป้าหมาย)
ขององค์การ - แผนงานพน้ื ฐานด้านการสร้างการเติบโตบน
คณุ ภาพชวี ติ ทเี่ ปน็ มิตรตอ่ สิ่งแวดลอ้ ม
ความสามารถใน - จดั ทำแผนบรหิ ารความ (ผลการดำเนนิ งานเปน็ ไปตามเปา้ หมาย)
การเผชญิ หรอื เสย่ี ง - การแกไ้ ขปัญหาภยั แลง้ และบรรเทาภยั พิบัติ ยังไม่
ตอบสนองตอ่ การ - จัดทำแผนปฏบิ ตั กิ ารดา้ น สามารถแก้ไขปัญหาไดท้ ันตอ่ ความต้องการจึงได้มี
เปล่ยี นแปลงได้ การดดั แปรสภาพฯ เป็นการ การแก้ไขโดยจัดตัง้ ศนู ย/์ หน่วยปฏบิ ัติการให้
วางแนวทางขบั เคลอื่ น ครอบคลมุ พ้นื ที่ มกี ารเปดิ ศนู ย์ปฏบิ ตั ิการฝนหลวง
ภารกิจต่าง ๆ ทเ่ี ป็นการ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ตอนลา่ งเพ่ิมเตมิ
บริหารทรัพยากรทีม่ ีอยใู่ ห้ - แผนปฏิบตั ิการด้านการดัดแปรสภาพฯ
เกิดประโยชน์สงู สุดภายใต้ วางแนวทางการขับเคล่อื นงานท่สี ำคญั เพื่อให้
สภาวการณท์ ่ีมีความขาด สามารถรับมอื กับการเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึนได้
แคลน จำนวน 19 เรือ่ งหลกั ครอบคลมุ ทงั้ ดา้ นบคุ ลากร
การศึกษาวิจัย การปฏบิ ัติงานภาคสนาม การบรู ณา
การและการมสี ่วนรว่ ม เปน็ ต้น

4.2.1.4 กรมพัฒนาทีด่ ิน
กรมพัฒนาที่ดินได้สะท้อนความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงในระดับเข้าข่ายและระดับ
เข้าใจ ดังแสดงสรุปผลการประเมินด้วยภาพที่ 4.4 และรายละเอียดของประเด็นสำคัญที่สำคัญในมิติ
ต่าง ๆ ของหน่วยงานที่สะท้อนในระดับเข้าข่ายในตารางที่ 4.6 และระดับเข้าใจในตารางที่ 4.7
จากผลการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ของกรมพฒั นาท่ีดนิ น้ันสะท้อนให้เหน็ ถึงการดำเนินงานของหน่วยงานที่
มีการวางแผนและการกำหนดนโยบายที่สอดคล้องเป้าประสงค์ของกระทรวง รวมทั้งเป้าหมายใน
ระดับประเทศที่มีการกำหนดเป้าหมายการดำเนินการบนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ที่เน้นคนเป็นศูนย์กลางในการพัฒนา พร้อมให้ความสำคัญกับความต้องการของเกษตรกรเพื่อให้

115

โครงการวจิ ัย
การบริหารราชการแผน่ ดินบนพ้ืนฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะที่ ๑)

สอดคล้องกับการการแก้ไขปัญหาของพื้นที่ท่ีแตกต่างกัน มีการแนวทางการดำเนินงานของหนว่ ยงาน
ต่าง ๆ ภายใต้สังกัดกรมพัฒนาที่ดินที่มีความชัดเจน พร้อมทั้งมีการนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยใน
การปฏิบตั งิ านทช่ี ัดเจน สำหรับการพัฒนาบุคลากร กรมพัฒนาท่ีดินมีการจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล
พร้อมทั้งมีการออกแผนพัฒนาที่เน้นการเพิ่มทักษะด้านดิจิทัลให้แก่บุคลากรที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้น
จากผลการเก็บรวบรวมข้อมลู ของกรมพฒั นาท่ีดนิ นั้นสะท้อนให้เหน็ ถึงการดำเนินงานของหน่วยงานที่
มีการวางแผนและการกำหนดนโยบายที่สอดคล้องเป้าประสงค์ของกระทรวงและยุทธศาสตร์ของ
ประเทศ และบุคลากรยังได้สะท้อนถึงระดับความพึงพอใจที่มีต่อการบริหารและพัฒนาทรัพยากร
บุคคลที่เพิ่มขึ้นตลอดระยะเวลา 3 ปี (พ.ศ. 2561 - 2563) นอกจากนั้นอาจมีการสะท้อนในระดับ
เขา้ ถงึ ในบางมติ ิ (ซึ่งยังไม่ถือว่าหนว่ ยงานมีความเป็นเศรษฐกจิ พอเพียงในระดับน้นั แล้ว)
ภาพท่ี 4.4
ผลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงของกรมพัฒนาทดี่ นิ

116

สถาบันบัณฑติ พฒั นบริหารศาสตร์

ตารางท่ี 4.6
ผลการประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดับเข้าขา่ ย ของกรมพัฒนาทด่ี นิ

มติ ิ / ปจั จัยประเมนิ แนวทางดำเนินการ ตวั อยา่ ง

มติ ทิ ี่ 1 นโยบาย การวางแผน และการจัดทำแผนแบบมีสว่ นร่วม

การวางแผนที่ - แผนยุทธศาสตรส์ อดคลอ้ ง - แผนยุทธศาสตร์กรมพัฒนาท่ดี นิ คอื พัฒนาท่ีดินให้
ตอบสนองพนั ธกจิ กบั เปา้ ประสงค์ของ สมบูรณ์ เพิ่มพูนผลผลติ ในทศิ ทางการใชป้ ระโยชน์
วิสยั ทศั น์ และ กระทรวง อยา่ งยง่ั ยืน ซ่งึ สอดคล้องกับเป้าประสงค์ของ
ยุทธศาสตร์ของ - ภารกิจหลกั สนับสนุน กระทรวง ท้งั 5 ขอ้
องคก์ ร (กรมและ นโยบายของกระทรวง - กรมพัฒนาที่ดนิ มี ภารกิจหลกั คอื 1) สนบั สนนุ
กระทรวง) รวมทั้งโครงการอนั โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ 2) เสรมิ สร้าง
เนือ่ งมาจากพระราชดำริ พฒั นางานวิจยั และสง่ เสรมิ เทคโนโลยใี หเ้ กดิ เปน็
รปู ธรรม 3) พัฒนาฐานขอ้ มลู ดิน โดยการสำรวจ
วิเคราะห์ และจำแนกดิน เพือ่ กำหนดแผนการใช้
ทด่ี ินและกำหนดเขตการใชท้ ี่ดนิ ทเ่ี หมาะสม
4) พัฒนาโครงสรา้ งพน้ื ฐานการพฒั นาทด่ี ิน
โดยการอนุรักษ์ดนิ และนำ้ ฟน้ื ฟปู รับปรุงบำรงุ ดิน
ลดตน้ ทนุ เพิม่ ผลผลิต 5) พฒั นาหมอดินอาสา
เกษตรกร ยุวเกษตรกร หมอดินนอ้ ย และกลมุ่
เครอื ขา่ ยเกษตรกรใหม้ คี วามร้คู วามเข้าใจด้าน
การพฒั นาทด่ี นิ สามารถประยุกตใ์ ช้ได้ตามแนว
เศรษฐกจิ พอเพยี ง 6) พัฒนาองค์กรเพือ่ ใหเ้ ปน็
องค์กรท่ีเป็นเลศิ ดา้ นการพัฒนาทดี่ ิน

ในการวางแผน - เชญิ หน่วยงานมาแสดง - เชิญหนว่ ยงานมาแสดงความคดิ เห็นในขน้ั ตอนการ
ยุทธศาสตร์ มกี าร ความคิดเหน็ ในข้นั ตอนการ วางแผน พจิ ารณาจากประเด็นสำคญั ที่ตอ้ งปรับปรุง
ถ่ายทอด สร้าง วางแผน (issue driven)
ความเข้าใจ และ
พฒั นาการมีสว่ น
รว่ มของบคุ ลากร

117

โครงการวิจัย
การบริหารราชการแผ่นดินบนพืน้ ฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะที่ ๑)

ตารางท่ี 4.6 (ต่อ)

มิติ / ปัจจัยประเมนิ แนวทางดำเนินการ ตวั อย่าง

มติ ทิ ่ี 2 การบริหารงานอย่างโปรง่ ใส มธี รรมาภบิ าล ไม่มีการกระทำการผิดกฎหมาย

การบริหารจัดการ - จดั ทำคู่มอื ปฏิบตั งิ านของ - จดั ทำคมู่ อื ปฏบิ ัติงานของแตล่ ะกองงาน
อย่างเป็นระบบ แตล่ ะกองงาน - กำหนดอำนาจหนา้ ท่ีของหน่วยงานย่อยภายใน
- กำหนดอำนาจหน้าท่ขี อง กรมฯ อย่างชดั เจน
การบริหารงาน หน่วยงานย่อยภายในกรม - ใช้ระบบแผนทท่ี างเลอื กพชื เศรษฐกิจ (LDD
อย่างโปรง่ ใส - ใช้เทคโนโลยเี ข้ามาช่วยใน zoning) เป็นระบบท่ีพัฒนาขึน้ เพอื่ ให้บุคลากรของ
มีนโยบาย การปฏิบตั ิงาน และมีการ กรมพัฒนาทีด่ ิน เกษตรกรหรอื บคุ คลท่ัวไป สามารถ
มาตรการ ระบบ สอื่ สารแบง่ ปนั ข้อมูลแก่ เข้าถงึ ชั้นข้อมูลเขตความเหมาะสมพืชเศรษฐกจิ
การตรวจสอบ ผู้เก่ียวข้อง (zoning) จำนวน 13 ชนิดพืช
ในการกำกับดแู ล - กำหนดนโยบายเกีย่ วกับ - มีนโยบายเกี่ยวกับความโปร่งใส และเสรมิ สร้าง
และเปดิ เผยข้อมูล ความโปร่งใส และเสรมิ สรา้ ง คณุ ธรรม จรยิ ธรรมเพอ่ื เป็นมาตรฐานและเป็น
คุณธรรม จรยิ ธรรม แนวทางปฏบิ ัติของ กรมฯ
- ส่อื สารและเปดิ เผยขอ้ มลู สู่ การจัดการเรื่องร้องเรียนการทจุ รติ
สาธารณะ - การเปิดโอกาสให้เกิดการมสี ว่ นรว่ ม
- จดั ทำแผนปฏบิ ตั ิการ - เจตจำนงสุจริตของผู้บริหาร
ปอ้ งกนั การทุจรติ - การเสรมิ สรา้ งวัฒนธรรมองค์กร
- มหี นว่ ยงานภาครัฐมา - จดั ทำแผนปฏิบตั กิ ารป้องกันการทจุ ริต
ประเมินคณุ ธรรมและความ - มาตรการส่งเสริมความโปรง่ ใสและป้องกนั การ
โปรง่ ใสในการดำเนนิ งาน ทจุ รติ ในหนว่ ยงาน
- กจิ กรรมประเมินคุณธรรมและความโปรง่ ใสในการ
ดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (ITA) คะแนน
ประเมินความโปรง่ ใส (Integrity & Transparency
Assessment-ITA) ประจำปี 2564 = 94.47 ระดบั
การประเมนิ = A

118

สถาบันบัณฑติ พัฒนบริหารศาสตร์

ตารางท่ี 4.6 (ต่อ)

มิติ / ปจั จัยประเมิน แนวทางดำเนินการ ตัวอย่าง

มิติท่ี 3 บคุ ลากรเกง่ และมคี ุณธรรม

การฝกึ ทักษะ - จดั ทำแผนพัฒนาบุคลากร - กรมพัฒนาท่ีดิน ไดม้ กี ารจดั ทำแผนพฒั นา
ความรทู้ ่เี ก่ียวเนอ่ื ง - จัดทำหลกั เกณฑก์ าร บุคลากรประจำปี พ.ศ. 2564 โดยเชือ่ มโยงกบั
กบั การงานท่ีอยู่ใน พัฒนาบคุ ลากรของกรม สมรรถนะหลกั ของบุคลากรและสมรรถนะประจำ
ความรบั ผดิ ชอบ พฒั นาที่ดนิ ตำแหน่ง
- ออกแบบ training - หลักสตู รฝกึ อบรมมากกว่า 20 หลักสูตร
roadmap ตัวอย่างเชน่ โครงการฝึกอบรมหลกั สตู ร "การจดั ทำ
- จดั ทำแผนพัฒนาทกั ษะ แผนการใช้ที่ดินระดับตำบลมุง่ สเู่ กษตร 4.0"
ดา้ นดจิ ิทัลสำหรบั ขา้ ราชการ - ออกแผนพฒั นาทกั ษะด้านดจิ ทิ ลั สำหรบั
และบุคลากรกรมพฒั นาทีด่ นิ ขา้ ราชการและบคุ ลากร กรมพฒั นาท่ีดนิ ระยะ 3 ปี
- การตั้งงบประมาณและ (พ.ศ. 2564-2566) และการใชง้ บประมาณ
จดั ทำแผนพัฒนาทกั ษะดา้ น การฝึกอบรม
ดิจทิ ลั สำหรบั ขา้ ราชการและ - กรมฯ มกี ารวางแผนพัฒนาบุคลากรทช่ี ดั เจน
บคุ ลากร โดยมกี ารประกาศเกณฑ์การพัฒนาสำหรับบคุ ลากร
ในระดบั ตา่ ง ๆ ประกอบดว้ ย 4 เกณฑ์ ไดแ้ ก่
1) การพฒั นาบคุ ลากรด้วยการฝึกอบรม
2) การพัฒนาบคุ ลากรระหว่างปฏบิ ัติงาน
(Coaching and Mentoring, OJT)
3) การพัฒนาบุคลากรด้วยการแลกเปลย่ี นเรียนรู้
4) การพฒั นาบคุ ลากรด้วยการศกึ ษาตอ่

119

โครงการวิจัย
การบริหารราชการแผน่ ดินบนพ้นื ฐานหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ระยะท่ี ๑)

ตารางท่ี 4.6 (ต่อ)

มติ ิ / ปัจจยั ประเมนิ แนวทางดำเนนิ การ ตัวอยา่ ง

มติ ิที่ 3 บคุ ลากรเก่งและมีคุณธรรม - ค่านิยมกรมพฒั นาทด่ี นิ คือ THAI LDD = T
เช่ือมัน่ H สขุ สนั ต์ A สำเรจ็ I บูรณาการ L เรยี นรู้
การพัฒนา - กำหนดค่านยิ มและมีการ D พฒั นา D ปิติ ยนิ ดีระดบั บุคคล (individual)
คุณธรรมและ ส่งเสรมิ พฒั นาบุคลากรใน - กรมฯ มกี ารสง่ เสริมการพัฒนาบคุ ลากรให้มีการ
จรยิ ธรรมให้แก่ ด้านจริยธรรม ปฏิบตั ิงานโดยยดึ หลักธรรมาภิบาล มีความโปร่งใส
บคุ ลากร - จัดกจิ กรรมต่อต้านการ และจัดกจิ กรรมตอ่ ตา้ นการทุจรติ เป็นประจำอยา่ ง
ทจุ รติ เปน็ ประจำอยา่ ง ตอ่ เนือ่ ง
ต่อเน่อื ง - มกี ารดำเนนิ โครงการภายใตง้ บจริยธรรม
- มกี ิจกรรมการพฒั นา (221,915 บาท) จำนวน 2 โครงการ โดยมี
บุคลากรกรมพัฒนาที่ดิน ท่ี เปา้ หมาย 1) ฝกี อบรม หลกั สูตร “การเสรมิ สร้าง
ถูกดำเนนิ การภายใต้หมวด การปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ ในการ
“งบจริยธรรม” ที่ชดั เจน ปฏิบัติงานของกรมพฒั นาท่ดี ิน” รนุ่ ท่ี 4
2) ฝกี อบรม หลักสูตร “โครงการฟังธรรมเพ่อื
มติ ิที่ 4 ประโยชนแ์ ก่องค์การและสังคม พัฒนาคณุ ภาพชีวิต”

ผลการดำเนนิ งาน - ผลการดำเนินงานบรรลุ - ผลการดำเนนิ ดา้ น 1) ทรัพยากรดินไดร้ ับการ
บรรลตุ ามพนั ธกจิ ตามเปา้ หมาย ยทุ ธศาสตร์ สำรวจและจดั ทำฐานข้อมูลเพ่อื นำไปใช้ประโยชน์
และเป้าประสงค์ ขององคก์ ร ในการพัฒนาที่ดนิ ผลการดำเนินงานเปน็ ไปตาม
ขององค์การ เปา้ หมาย 2) จำนวนพืน้ ที่เกษตรกรรมไดร้ บั
การพัฒนาใหส้ ามารถเพ่มิ ศกั ยภาพการผลติ ได้
ผลการดำเนินงานเปน็ ไปตามเปา้ หมาย
3) เกษตรกร หมอดนิ อาสา สามารถนำเทคโนโลยี
ดา้ นการพฒั นาที่ดนิ ไปใช้ เพ่มิ ศกั ยภาพการผลติ
ผลการดำเนินงานเปน็ ไปตามเปา้ หมาย

120

สถาบันบัณฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์

ตารางที่ 4.6 (ต่อ)
ผลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียง ระดบั เขา้ ข่าย ของกรมพฒั นาทด่ี นิ

มติ ิท่ี 4 ประโยชน์แก่องคก์ ารและสงั คม - มีแผนบริหารรบั ความเส่ียงในแตล่ ะปี สำหรบั เปน็
เคร่ืองมือในการบรหิ ารองคก์ ารและควบคมุ ความ
ความสามารถใน - จดั ทำแผนบรหิ ารรับความ เส่ยี งในด้านตา่ ง ๆ จากสถานการณท์ ่ไี ม่แนน่ อน
การเผชญิ หรือ เส่ียงในแตล่ ะปี เพ่อื ให้ผบู้ รหิ ารและเจ้าหนา้ ท่ีมแี นวทางในการ
ตอบสนองตอ่ การ - แผนดำเนินธุรกิจอย่าง วางแผนปอ้ งกนั รบั มอื กบั ปัญหาอปุ สรรคตา่ งๆ
เปลี่ยนแปลงได้ ตอ่ เนื่อง สำหรับการบรหิ าร - มกี ารจดั ทำ “แผนดำเนนิ ธรุ กจิ อย่างต่อเนือ่ ง
สำหรับการบรหิ ารความพรอ้ มต่อสภาวะวิกฤต
ความพร้อมตอ่ สภาวะวกิ ฤต (Business continuity plan : BCP)” จัดทำใน
ปงี บประมาณ 2563

ตารางท่ี 4.7
ผลการประเมนิ ความเป็นเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดบั เข้าใจ ของกรมพฒั นาท่ดี นิ

มติ ิ / ปจั จยั ประเมนิ แนวทางดำเนินการ ตวั อย่าง

มติ ทิ ี่ 1 นโยบาย การวางแผน และการจดั ทำแผนแบบมีสว่ นร่วม

มีการกำหนด - จดั ทำแผนปฏบิ ตั ริ าชการของ - วิสัยทศั นค์ ือ "พฒั นาทีด่ นิ ให้สมบูรณ์ เพ่ิมพนู
ยุทธศาสตรส์ อด
รบั เปา้ ประสงค์ กรมโดยยึดเป้าหมายตาม ผลผลติ ในทศิ ทางการใช้ประโยชนอ์ ยา่ งยงั่ ยนื
ของยทุ ธศาสตร์
ประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาตแิ ละ บนพื้นฐานการมีส่วนรว่ ม"

แผนพฒั นาเศรษฐกิจฯ - เป้าหมายการพัฒนาคอื “เศรษฐกจิ สร้างคณุ คา่

ฉบับท่ี 13 สงั คมเดนิ หนา้ อยา่ งยงั่ ยนื ” บนพ้ืนฐานปรชั ญาของ

- กำหนดเปา้ หมายการพฒั นา เศรษฐกิจพอเพียงท่ีเนน้ “คน” เปน็ ศูนย์กลางแห่ง

ใหค้ วามสำคญั กับความ การพฒั นา และนำนโยบายระดบั ประเทศ

ตอ้ งการของเกษตรกร ระดับกระทรวง มาใช้ในการกำหนดกรอบ แผนงาน

สอดคล้องกับคณุ ภาพชวี ติ โครงการ โดยให้ความสำคญั กับความต้องการของ

การแก้ไขปัญหาของพน้ื ท่ี เกษตรกร สอดคล้องกับคณุ ภาพชวี ิต การแกไ้ ข

- การกำหนดวสิ ัยทศั น์ของ ปญั หาของพืน้ ท่ี

องค์กรท่เี ปน็ แผนระยะยาว - รายงานแผนยทุ ธศาสตรก์ รมพัฒนาทีด่ ิน

โดยมหี ลักการแนวทางทีช่ ดั เจน ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579)

121

โครงการวจิ ยั
การบรหิ ารราชการแผน่ ดินบนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ระยะที่ ๑)

ตารางที่ 4.7 (ต่อ)

มิติ / ปจั จยั ประเมิน แนวทางดำเนนิ การ ตัวอย่าง

มิตทิ ่ี 1 นโยบาย การวางแผน และการจดั ทำแผนแบบมีส่วนรว่ ม

ในการวางแผน - เชญิ บคุ ลากรจากภาค - กรมพัฒนาที่ดนิ ร่วมกับมหาวิทยาลยั มหาสารคาม
ยุทธศาสตร์ ส่วนทีเ่ กี่ยวข้องในการ พัฒนาและวิจัยแก้ปญั หาดนิ เคม็ ภาค
มีการถา่ ยทอด ดำเนินภารกจิ ตะวนั ออกเฉียงเหนือ โดยรว่ มมอื ประสานงาน แผนงาน
สรา้ งความเข้าใจ - ประชมุ ถา่ ยทอดแผนงาน และบรหิ ารจดั การโครงการให้บรรลุตามวตั ถุประสงค์
และพฒั นาการมี แก่เครือข่าย - ผู้อำนวยการสำนักวศิ วกรรมเพ่อื การพฒั นาทีด่ ินและผู้
สว่ นร่วมของ มีส่วนเก่ียวขอ้ ง ประชมุ หารอื ถึงโครงการป้องการชะล้าง
องคก์ ารอ่ืนหรอื พงั ทลาย และฟื้นฟพู น้ื ทีเ่ กษตรกรรม พูดคยุ ถงึ แบบ
เครอื ข่ายตา่ ง ๆ ก่อสรา้ ง วธิ ีการจดั ซ้อื จัดจา้ ง และการตดิ ตาม
ประเมนิ ผลงาน

มติ ทิ ี่ 2 การบริหารงานอยา่ งโปรง่ ใส มธี รรมาภิบาล ไม่มีการกระทำการผดิ กฎหมาย

บรหิ ารจดั การ - กำหนดแผนงาน/ - กำหนดแผนงาน/งบประมาณจากหลกั เกณฑ์การ
โดยให้ งบประมาณจาก บริหารงบประมาณ บนพื้นฐานผมู้ สี ่วนไดส้ ว่ นเสียไดร้ บั
ความสำคญั แก่ หลกั เกณฑก์ ารบรหิ าร ผลประโยชนส์ ูงสุด ตัวอยา่ งเช่น โครงการพฒั นาหมอดนิ
ผู้รบั บรกิ ารและ งบประมาณ บนพน้ื ฐาน อาสาสเู่ กษตรกรมืออาชพี (smart farmer)
ผมู้ สี ่วนไดส้ ว่ น ผมู้ สี ว่ นไดส้ ่วนเสียไดร้ ับ - บรู ณาการความร้รู ะหวา่ งหมอดนิ อาสาและนกั วชิ าการ
เสีย ผลประโยชน์สงู สุด เพ่อื ให้เกิดนวตั กรรม ขยายผลการทำการเกษตรตาม
- มีระบบ E-Service หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
บริการประชาชน - ระบบ E-Service บรกิ ารวสั ดุการเกษตร กรมพฒั นา
- มกี ารใหค้ วามสำคญั การ ท่ีดิน เป็นบริการเพื่ออำนวยความสะดวกแกผ่ รู้ บั บริการ
มสี ่วนร่วมของผมู้ สี ่วนได้ ในการขอรับผลติ ภณั ฑส์ ารเร่ง พด. กล้าหญ้าแฝก
สว่ นเสยี เมลด็ พนั ธพุ์ ืช
- บริการตรวจสอบดนิ เพอ่ื การเกษตร
- เผยแพร่แนวทางการดำเนินงานด้านการสง่ เสริมการมี
ส่วนรว่ มของผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสยี โดยประกอบด้วย 4
แนวทางสำคญั ได้แก่ 1) การสื่อสารถา่ ยทอดนโยบาย
2) การสร้างวฒั นธรรม 3) การกำหนดผรู้ ับผดิ ชอบ
4) การจดั สรรทรัพยากรท่ีสำคญั อยา่ งเพยี งพอให้
สอดคลอ้ งกับภารกิจ

122

สถาบนั บัณฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์

ตารางท่ี 4.7 (ต่อ)

มติ ิ / ปจั จยั ประเมนิ แนวทางดำเนนิ การ ตัวอย่าง

มิติที่ 2 การบรหิ ารงานอย่างโปรง่ ใส มธี รรมาภบิ าล ไม่มีการกระทำการผิดกฎหมาย

มกี ารพฒั นาการ - จดั เวทีสือ่ สาร ผา่ น LDD - KM LDD Blog ไดจ้ ัดทำขนึ้ โดยมวี ัตถุประสงคใ์ น
บรหิ ารจดั การ Blog เพ่ือเป็นส่อื กลางใน การเพ่มิ ความสะดวกในการเผยแพรข่ ้อมูล องค์ความรูท้ ่ี
อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง การใหค้ วามรู้ เปน็ ประโยชน์ สนับสนุนการมสี ่วนร่วมและแบ่งปนั
- มกี ารประชมุ เพือ่ รายงาน ความรสู้ ามารถแสดงความคดิ เห็นต่อท้ายข้อความที่
ตดิ ตาม กำกับทศิ ทางการ เจ้าของบลอ็ กเป็นคนเขียนต่อได้
ดำเนินงาน - ประชุมคณะอนกุ รรมการขับเคลอ่ื นการติดตาม
การดำเนินงาน โครงการการประชมุ ติดตามผล
การดำเนินงาน และการปฏิบตั ิงานของ กล่มุ ฯ/ฝา่ ยฯ
การลงพนื้ ท่เี พ่อื ตรวจตดิ ตามงานของสถานีพัฒนาที่ดนิ

มิติท่ี 3 บุคลากรเก่งและมคี ุณธรรม

มกี ารพัฒนา - ส่งเสริมใหบ้ คุ ลากรมี - โครงการประกวดออกแบบสอื่ Info graphic

บคุ ลากรให้ ความสามารถดา้ น “สร้างสรรคส์ ่ือประชาสัมพนั ธ์เชญิ ชวนใหใ้ ช้บรกิ ารของ

สามารถคดิ เชงิ ออกแบบและการนำเสนอ พด.”

วเิ คราะห์ คดิ เชงิ บรกิ ารหรือผลิตภณั ฑข์ อง - โครงการ LDD Star Service AWARD’s เป็น

วิพากษ์ และ กรม โครงการจดั ประกวดเพือ่ เปน็ ขวัญและกำลงั ใจแก่

คิดเชิงริเรม่ิ - จดั กจิ กรรมการประกวด หนว่ ยงานในการปฏบิ ตั งิ านรวมทงั้ เป็นการกระตนุ้ ให้

สร้างสรรค์ และใหร้ างวลั เพือ่ ส่งเสริม หนว่ ยงาน มงุ่ มัน่ ตัง้ ใจในการทำหนา้ ทีใ่ ห้ดียง่ิ ขนึ้ ทุก

ขวญั กำลังใจ ใหส้ ร้าง โครงการ

ผลงานท่ีดี - โครงการ ชาวดินอวด (ของ) ดี

บุคลากรสามารถ - ผูบ้ ริหารกระตุ้น สง่ เสรมิ - อธิบดกี รมพัฒนาทีด่ ิน เปน็ ประธานเปดิ โครงการ

ดำรงชวี ิตได้ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม รณรงค์เนือ่ งในวนั ต่อตา้ น คอรร์ ปั ชน่ั สากล

อย่างมีคุณธรรม บคุ ลากรกรมพฒั นาทดี่ นิ (International Anti-Corruption Day) ภายใตแ้ นวคดิ

จริยธรรม ทั้งใน - คดั เลือกบคุ ลากรผมู้ ี "กรมพฒั นาทดี่ ินไมท่ นตอ่ การทุจรติ ทุกรูปแบบ"

ชวี ติ การทำงาน คณุ ธรรมและจรยิ ธรรม - คัดเลือกบคุ ลากรผู้มีคณุ ธรรมและจรยิ ธรรมดีเด่นของ

และชีวติ ส่วนตวั ดีเด่น กรมพฒั นาทีด่ ิน

- สง่ ประกวดขา้ ราชการพล - ส่งประกวดขา้ ราชการพลเรือนดเี ด่นกรมพัฒนาทด่ี ิน

เรือนดเี ดน่ ครองตน ครองคน ครองงาน การปฏิบตั ิตามมาตรฐาน

ทางจรยิ ธรรม

123

โครงการวจิ ยั
การบริหารราชการแผ่นดินบนพ้ืนฐานหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะที่ ๑)

ตารางท่ี 4.7 (ต่อ)

มิติ / ปจั จยั ประเมนิ แนวทางดำเนนิ การ ตวั อยา่ ง

มิติที่ 4 ประโยชน์แกอ่ งค์การและสังคม - ผลการดำเนนิ งานตามยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1) เพ่ิม
ประสิทธภิ าพการบริหารจดั การทรัพยากรดนิ ด้วย
ผลการดำเนินงาน - ผลการประเมินการปฏบิ ตั ิ การสำรวจ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2) เพิ่มความสามารถใน
บรรลยุ ทุ ธศาสตร์ ราชการ เป็นไปตาม การแขง่ ขันภาคการเกษตรด้วยงานวจิ ัยและ
ประเทศ เป้าหมายทีก่ ำหนดไว้ เทคโนโลยีด้านการพฒั นาท่ดี นิ
เชงิ นวัตกรรม ยทุ ธศาสตร์ที่ 3) บรหิ ารจดั การ
สามารถสรา้ ง - มีการสำรวจความพึงพอใจ ทรพั ยากรดินอยา่ งสมดลุ และย่งั ยนื ยทุ ธศาสตร์ท่ี 4)
ความสุขและมี ของบคุ ลากรทีม่ ตี ่อการ สรา้ งและพัฒนาความเขม้ แขง็ ให้กบั หมอดินอาสา
คณุ ภาพชีวติ ทดี่ ีใน บริหารและพัฒนาทรพั ยากร เกษตรกร และภาคี ยุทธศาสตรท์ ี่ 5) พฒั นาและ
การทำงานให้แก่ บุคคล ถ่ายทอดเทคโนโลยีดา้ นการพฒั นาทดี่ นิ บนพน้ื ฐาน
บคุ ลากรภายใน การมสี ่วน ยุทธศาสตร์ที่ 6) พฒั นาองคก์ รสู่ความ
องค์กร เป็นเลศิ ดา้ นการพฒั นาทด่ี นิ ทง้ั 6 ยทุ ธศาสตร์
ผลงานดำเนนิ งานบรรลตุ ามเป้าหมาย
- ระดับคะแนนเฉลี่ยจากผลจากการสำรวจความพงึ
พอใจของบุคลากรทีม่ ตี ่อการบริหารและพัฒนา
ทรัพยากรบคุ คลไดค้ ะแนนเฉล่ยี ในรอบ 3 ปี 2561-
2563 ดงั นี้คือ 3.89 3.93 และ 3.84 ตามลำดบั
ซึง่ อย่ใู นระดบั มาก

4.2.1.5 กรมวชิ าการเกษตร
กรมวิชาการเกษตร ได้สะท้อนความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงในระดับเข้าข่ายและ
ระดับเข้าใจ ดังแสดงสรุปผลการประเมินด้วยภาพท่ี 4.5 และรายละเอียดของประเด็นสำคัญที่สำคญั
ในมิติต่าง ๆ ของหน่วยงานที่สะท้อนในระดับเข้าข่ายในตาราง 4.8 และระดับเข้าใจในตารางที่ 4.9
จากผลการเก็บรวบรวมข้อมูลของกรมวิชาการเกษตรนั้นสะท้อนให้เห็นถึงการดำเนินงานของ
หน่วยงานที่มีการวางแผนและ การกำหนดนโยบายที่สอดคล้องเป้าประสงค์ของกระทรวง รวมท้ัง
เปา้ หมายในระดับประเทศ รวมท้งั มีการให้ความสำคัญกับการมสี ่วนร่วมของผู้มีสว่ นได้ส่วนเสียเข้ามา
มีส่วนในการกำหนดแผนการดำเนินงานเพื่อผลักดันภารกิจของหน่วยงาน มีการกำหนดแนวทาง
การดำเนินการและการกำกับตดิ ตามการดำเนนิ งานของหนว่ ยงานท่ชี ดั เจน รวมทง้ั มีการนำเทคโนโลยี

124

สถาบนั บัณฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์

มาปรบั ใช้เพื่อกำกบั และติดตามผลการดำเนินการของหน่วยงานภายในและมีการนำเทคโนโลยีมาปรับ
ใช้เพื่อให้บริการแก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอกองค์กรที่ชัดเจน สำหรับการพัฒนาบุคลากร
กรมวิชาการเกษตรมีการจดั ทำแผนพัฒนารายบุคคล มีการให้การสนับสนุนด้านทุนการศึกษาและทนุ
การพัฒนาบุคลากรที่มีความหลากหลาย รวมทั้งการดำเนินกิจกรรมด้านจริยธรรมคุณธรรม โดยมี
ผ้บู รหิ ารหนว่ ยงานให้การกระต้นุ และส่งเสริมพฤติกรรมที่ดแี ต่บุคลากร จากผลการเก็บรวบรวมข้อมูล
ของกรมวิชาการเกษตรนั้นสะท้อนให้เห็นถึงการดำเนินงานของหน่วยงานที่มีการวางแผนและการ
กำหนดนโยบายที่สอดคล้องเป้าประสงค์ของกระทรวงและยุทธศาสตร์ของประเทศ นอกจากนี้การ
ดำเนินงานของกรมวิชาการเกษตรนั้นยังสะท้อนให้เห็นถึงการให้ความสำคัญในการพัฒนาคุณภาพ
ชีวติ การเสริมสร้างความผาสุกและการสร้างความผูกพนั ของบุคลากรภายในหนว่ ยงานผ่านกิจกรรมท่ี
มีความหลากหลายอย่างชดั เจน นอกจากนัน้ อาจมีการสะทอ้ นในระดบั เขา้ ถึงในบางมิติ (ซึ่งยังไม่ถือว่า
หน่วยงานมีความเป็นเศรษฐกจิ พอเพียงในระดบั น้นั แลว้ )
ภาพที่ 4.5
ผลการประเมนิ ความเป็นเศรษฐกิจพอเพยี งของกรมวิชาการเกษตร

125

โครงการวจิ ยั
การบริหารราชการแผ่นดินบนพน้ื ฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะที่ ๑)

ตารางที่ 4.8
ผลการประเมนิ ความเปน็ เศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดบั เข้าขา่ ย ของกรมวชิ าการเกษตร

มติ ิ / ปจั จยั ประเมนิ แนวทางดำเนนิ การ ตัวอย่าง

มติ ิท่ี 1 นโยบาย การวางแผน และการจดั ทำแผนแบบมีสว่ นรว่ ม

การวางแผนท่ี - รบั นโยบายจากกระทรวง - พันธกจิ หลักของกรมวิชาการเกษตร คือ
ตอบสนองพันธกิจ และจดั ทำแผนปฏบิ ัติ 1) สร้างและถา่ ยทอดองค์ความรจู้ ากงานวิจัย
วิสัยทัศน์ และ ราชการ 5 ปี เพื่อให้ ดา้ นพืช และเครอ่ื งจกั รกลการเกษตร
ยทุ ธศาสตรข์ อง สอดคลอ้ งกบั กระทรวง สู่กลมุ่ เป้าหมาย 2) กำหนดและกำกับดแู ลมาตรฐาน
องค์กร (กรมและ - เชอื่ มโยงแผนปฏบิ ตั ิ ระบบการผลติ และผลติ พันธุพ์ ชื และปจั จัยการผลิต
กระทรวง) ราชการของกรมวิชาการ พัฒนาระบบตรวจรบั รองสินคา้ การเกษตรดา้ นพชื
เกษตร กับยทุ ธศาสตรช์ าติ ให้เป็นท่ียอมรบั ในระดบั สากล 3) อนุรกั ษ์และ
20 ปี พฒั นาการใชป้ ระโยชนจ์ ากความหลากหลาย
- กำหนดแนวทางขับเคลือ่ น - กำหนดมาตรการขบั เคล่อื นเพือ่ บรรลุพันธกิจ ดงั นี้
แผนปฏบิ ัตริ าชการของกรม 1) การสรา้ งและพฒั นางานวจิ ัย เทคโนโลยแี ละ
วิชาการเกษตรสู่การปฏบิ ัติ นวตั กรรมทางการเกษตรทเี่ ป็นเลศิ เพื่อ
แผนงาน/โครงการ การพฒั นาการผลติ ทมี่ ่นั คงและย่งั ยนื
2) การขบั เคลือ่ นงานวจิ ยั เทคโนโลยีและนวัตกรรม
เพ่อื พฒั นาภาคการเกษตร
3) การยกระดับมาตรฐานการผลติ พชื และผลติ ภณั ฑ์
สูเ่ กษตรปลอดภัย
4) การสรา้ งความเป็นเลศิ ในการเปน็ ศนู ย์กลาง
ความหลากหลายทางชวี ภาพทเี่ ปน็ ประโยชน์ในการ
พฒั นาเศรษฐกจิ ชวี ภาพ
5) การพฒั นาองค์การส่คู วามเป็นเลศิ ในด้านการ
บรหิ ารจดั การองคก์ าร

126

สถาบันบณั ฑติ พัฒนบริหารศาสตร์

ตารางท่ี 4.8 (ตอ่ )

มิติ / ปัจจัยประเมนิ แนวทางดำเนินการ ตัวอยา่ ง

มิตทิ ี่ 1 นโยบาย การวางแผน และการจดั ทำแผนแบบมีส่วนรว่ ม

ในการวางแผน - จัดทำแผนการติดตามและ - ประชุมรว่ มพิจารณาตัวช้วี ดั ค่านำ้ หนกั
ยุทธศาสตร์
มกี ารถา่ ยทอด ประเมนิ ผลพรอ้ ม แผนดำเนินการและปฏทิ นิ การจัดทำคำรบั รองการ
สร้างความเข้าใจ
และพฒั นาการมี งบประมาณเสนอกรม ปฏบิ ัตริ าชการและการประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิ
สว่ นรว่ มของ
บคุ ลากร เหน็ ชอบ ราชการของหน่วยงานระดบั สำนัก/สถาบนั กอง

- ขีแ้ จงแนวทางการตดิ ตาม กรมวชิ าการเกษตร

และประเมนิ ผลให้ - ประชุมเพอื่ นำเสนอผลการพิจารณาแผนงาน/

ผูเ้ กีย่ วข้องทราบ โครงการ ภายใตแ้ ผนปฏิบัติการเพอื่ พัฒนาการ

- ดำเนินการตดิ ตามและ เกษตรในเขตพฒั นาพิเศษ

ประเมินผลตามแผนงาน/ - นกั วิจยั ร่วมเสวนาเกษตรกร เพอ่ื หาประเดน็

โครงการภายใต้ ปัญหาขอ้ เสนอแนะ แนวทางการทดสอบ และ

แผนปฏบิ ัติการ นำเสนอข้อมลู ผลการทดสอบให้เกษตรกรท่ีสนใจได้

- นำเสนอรายงานผลการ ทราบและตัดสินใจในการดำเนนิ การผลิตตอ่ ไป

ตดิ ตามและประเมินผล/

เผยแพร่ข้อมลู ใหห้ นว่ ยงานท่ี

เก่ยี วขอ้ ง ตามรอบเวลา

มิติท่ี 2 การบรหิ ารงานอยา่ งโปร่งใส มธี รรมาภบิ าล ไม่มีการกระทำการผิดกฎหมาย

การบริหารจัดการ - จดั ทำคู่มอื การปฏบิ ัตงิ าน - มคี ู่มือการปฏบิ ตั งิ านของหน่วยงานภายในกรม
อยา่ งเป็นระบบ
- กำกบั ติดตามผลการปฏิบตั ิ - มกี ารกำกบั ติดตามผลการปฏบิ ตั ริ าชการกลมุ่

ราชการและประเมนิ ผล ตดิ ตามและประเมินผล กองแผนงานและวิชาการ

- จดั ทำค่มู ือเพอื่ ใช้เปน็ - ค่มู อื การประเมนิ ผลการปฏิบตั ริ าชการประจำปี

แนวทางในการปฏบิ ตั ิงาน - คมู่ อื ข้ันตอนการปฏิบัติงานการตรวจสอบสินค้า

- ใช้ Application มาช่วยใน เกษตรและพืชทางการเกษตร

การปฏบิ ตั ิงาน - มี Mobile Application กรมวชิ าการเกษตรเพื่อ

ชว่ ยถ่ายทอดความรใู้ หแ้ กเ่ กษตรกร และช่วย

เกษตรกรในการค้นหาพืช แหล่งผลิตพชื เปน็ ตน้

127

โครงการวิจยั
การบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ บนพนื้ ฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะท่ี ๑)

ตารางที่ 4.8 (ตอ่ )

มติ ิ / ปัจจัยประเมนิ แนวทางดำเนินการ ตัวอยา่ ง

มติ ทิ ี่ 2 การบรหิ ารงานอยา่ งโปร่งใส มีธรรมาภบิ าล ไม่มีการกระทำการผิดกฎหมาย

การบริหารงาน - จัดทำแผนปฏิบตั กิ าร - มกี ารจัดทำแผนปฏบิ ตั ิการส่งเสรมิ คณุ ธรรม และ
อยา่ งโปรง่ ใส สง่ เสริมคณุ ธรรม และ แผนปฏบิ ตั กิ ารปอ้ งกันและปราบปรามการทุจรติ
มนี โยบาย แผนปฏิบตั ิการป้องกนั และ และประพฤตมิ ิชอบ
มาตรการ ระบบ ปราบปรามการทุจรติ และ - มีการประกาศแนวการปฏบิ ัตงิ านอย่างมีจรยิ ธรรม
การตรวจสอบ ประพฤตมิ ิชอบ คุณธรรม ในหลากหลายดา้ น อาทิ การบริหารงาน
ในการกำกบั ดแู ล - ประกาศเจตจำนงการ ดว้ ยความซื่อสัตย์ สจุ รติ มาตรการปอ้ งกันการรับ
และเปดิ เผยข้อมลู บริหารด้วยความซ่อื สัตย์ สินบน เปน็ ต้น
สจุ รติ โปรง่ ใส - กิจกรรมประเมินคณุ ธรรมและความโปร่งใสในการ
- มหี น่วยงานภาครฐั มา ดำเนินงานของหน่วยงานภาครฐั (ITA) คะแนน
ประเมินคณุ ธรรมและความ ประเมินความโปรง่ ใส ประจำปี 2564 = 92.07
โปร่งใสในการดำเนนิ งาน ระดบั การเมิน = A

มิติท่ี 3 บุคลากรเก่งและมคี ุณธรรม

การฝกึ ทักษะ - จดั ทำแผนกลยทุ ธก์ าร - อบรมข้าราชการรุน่ ใหม่และ Smart office
ความรู้ท่เี กี่ยวเน่อื ง บรหิ ารทรพั ยากรบุคคลกรม - การจดั ทำแผนพฒั นาบคุ ลากรรายบคุ คล
กบั การงานที่อยู่ใน วชิ าการเกษตร - ทนุ พฒั นานกั วิจยั ระดับนานาชาติ
ความรบั ผิดชอบ - จดั ทำแผนพัฒนา - ทุนศึกษาต่อระดับปริญญาโท
รายบุคคล เป็นเครอ่ื งมอื ที่ - ทุนการศกึ ษาของสำนกั งานพัฒนาการวจิ ัย
สำคัญทสี่ ง่ เสรมิ ให้ การเกษตร (องค์การมหาชน)
ขา้ ราชการมีความรู้ - ทนุ พัฒนาบคุ ลากรภาครัฐ ศกึ ษาปริญญาเอก
ความสามารถ สาขาวชิ า Food Science and Technology
ทกั ษะและสมรรถนะท่ี - จดั ทำคำขอต้ังงบประมาณการฝกึ อบรม
เหมาะสม ประชุม สมั มนา เพ่อื พฒั นาบคุ ลากร
- มีการกำหนดงบประมาณ
ในการฝกึ อบรม ประชุม
สัมมนา เพื่อพฒั นาบุคลากร

128

สถาบนั บัณฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์

ตารางที่ 4.8 (ต่อ)

มิติ / ปัจจัยประเมิน แนวทางดำเนินการ ตัวอยา่ ง

มิตทิ ี่ 3 บุคลากรเก่งและมีคุณธรรม - ค่านิยมองคก์ รคอื “ซอื่ สัตย์ โปรง่ ใส งานวิจัยมี
คณุ ภาพ”
การพัฒนา -กำหนดคา่ นิยมองคก์ ร - กจิ กรรมฝกึ อบรม “นักบรหิ ารวชิ าการเกษตร
คณุ ธรรมและ ที่เน้นย้ำ ความซือ่ สตั ย์ รุ่นท่ี 19” จะมอี บรม คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และมี
จรยิ ธรรมให้แก่ โปรง่ ใส การแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ดา้ นการ
บคุ ลากร - จดั กจิ กรรมการสง่ เสรมิ บริหาร
คุณธรรม จรยิ ธรรมท้งั ดา้ น - จัดทำร่างแผนการปอ้ งกันและปราบปราม
ความรแู้ ละแนวทางปฏิบัติ การทจุ ริตและประพฤตมิ ิชอบกรมฯ ปงี บประมาณ
- จัดทำแผนปฏิบตั กิ าร 2564 เพือ่ เสนอให้ กรมฯ นำมาประกาศใช้
ปอ้ งกันและปราบปรามการ - มกี ารติดตามและประเมินผลการดำเนินการและ
ทุจริตและประพฤติมิชอบ เสนอแนวทางตามแผนการดำเนนิ การในปีต่อไปแก่
- เปิดชอ่ งทางรบั ฟังความ ผู้บริหาร
คดิ เห็น/แจง้ เร่ืองร้องเรยี น - รบั ฟังความคิดเหน็ /แจ้งเร่อื งรอ้ งเรียนการทุจริต
การทุจรติ ของเจ้าหน้าที่ ของเจา้ หนา้ ที่

มติ ทิ ่ี 4 ประโยชนแ์ ก่องคก์ ารและสงั คม - ผลการประเมินการปฏบิ ตั ริ าชการปี 2563 เปน็ ไป
ตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ เชน่ แผนงานยุทธศาสตร์
ผลการดำเนินงาน - ผลการดำเนินงานประจำปี เกษตรสรา้ งมลู คา่
บรรลตุ ามพันธกจิ 2563 เปน็ ไปตามเปา้ หมาย
และเปา้ ประสงค์ - ฝกึ อบรมการพฒั นาคณุ ภาพการบริหารจดั การ
ขององค์การ ภาครัฐ (PMQA 4.0) กรมวิชาการเกษตร
ความสามารถใน - ประเมนิ ความเสย่ี งอย่าง (การบริหารความเสีย่ งและการจัดวางระบบควบคมุ
การเผชญิ หรอื ต่อเนื่อง ภายใน)
ตอบสนองต่อการ - วเิ คราะห์และกำหนด - การบริหารความเสยี่ งและการควบคุมภายใน
เปลี่ยนแปลงได้ วธิ กี ารจดั การความเส่ยี ง กองทุนคุม้ ครองพนั ธุ์พชื

- พฒั นากลไกทชี่ ้ใี หเ้ ห็นถงึ
ความเสย่ี งท่เี กิดจากการ
เปล่ียนแปลง และกำหนด
วิธกี ารควบคมุ

129

โครงการวจิ ัย
การบริหารราชการแผน่ ดินบนพ้ืนฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ระยะที่ ๑)

ตารางท่ี 4.9
ผลการประเมินความเปน็ เศรษฐกิจพอเพียง ระดับเขา้ ใจ ของกรมวิชาการเกษตร

มติ ิ / ปัจจยั ประเมนิ แนวทางดำเนินการ ตัวอย่าง

มติ ทิ ี่ 1 นโยบาย การวางแผน และการจัดทำแผนแบบมีสว่ นรว่ ม

มกี ารกำหนด - กำหนดวสิ ยั ทศั นท์ ่สี อดรับ - กรมวิชาการเกษตรวิสยั ทศั น์คอื “เปน็ องคก์ รที่
เปน็ เลศิ ด้านการวจิ ยั และพัฒนาดา้ นพชื
ยทุ ธศาสตร์สอดรบั กบั ยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี เครือ่ งจักรกลการเกษตร และเป็นศูนยก์ ลางรับรอง
มาตรฐานสนิ ค้าเกษตรดา้ นพชื ในระดับสากล
เป้าประสงคข์ อง - กำหนดมาตรการการ บนพืน้ ฐานการอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละ
ส่ิงแวดล้อม” โดยสอดรับกบั ยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี
ยทุ ธศาสตร์ ขบั เคลือ่ นภารกิจ มคี วาม - มีกำหนดกลยุทธใ์ นการดำเนินงานไวว้ า่
“เร่งรดั การถา่ ยทอดผลงานวิจัยและนวตั กรรมสู่
ประเทศ เชือ่ มโยง สอดคล้องกบั การ เกษตรกร เอกชน และหน่วยงานทเ่ี ก่ียวข้อง
ยกระดับคุณภาพสนิ ค้าเกษตรใหไ้ ดม้ าตรฐาน
ดำเนนิ ตามแนวคิดปรัชญา บนพ้นื ฐานหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง”

ของเศรษฐกจิ พอเพียง

ซึ่งเป็นแนวทางการ

ขบั เคลอื่ นนโยบายใน

ระดบั ประเทศ

ในการวางแผน - เชญิ บุคลากรและภาคส่วน - ผลกั ดันให้ประเทศไทยเป็นศูนยก์ ลาง (hub)
ยทุ ธศาสตร์ ที่เกีย่ วข้องในการดำเนนิ งาน เมลด็ พันธ์เุ ขตรอ้ นของเอเชีย และเป็นศูนย์กลาง
มีการถา่ ยทอด มาร่วมในการวางแผน การวจิ ัยและพัฒนาเทคโนโลยเี กีย่ วกบั เมลด็ พนั ธุ์
สร้างความเขา้ ใจ ผลกั ดนั ภารกจิ ทัง้ ระบบ ซ่ึงไดเ้ ชิญผทู้ ี่เกีย่ วข้องมาเข้ารว่ มด้วย
และพัฒนาการมี - จัดสัมมนาเชิงปฏิบตั ิการ - จัดสมั มนาเชิงปฏบิ ัติการ เรื่อง การจัดทำ
สว่ นรว่ มของ เร่อื ง การจัดทำแผนปฏิบตั ิ แผนปฏิบตั ิการ (action plan) แผนบูรณาการเมลด็
องคก์ ารอ่นื หรือ การ (action plan) พนั ธพุ์ ชื แหง่ ชาติ ประจำปี 2564–2569 ระหวา่ ง
เครือขา่ ยตา่ ง ๆ ผบู้ ริหารกรม เจา้ หน้าที่ ประชาชน เกษตรและ
เอกชน
- ประชุมแนวทางการถา่ ยทอดตัวชวี้ ดั จากกรมฯ
สูร่ ะดบั หน่วยงานประจำปงี บประมาณ 2565

130

สถาบนั บัณฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์

ตารางที่ 4.9 (ตอ่ )

มิติ / ปัจจยั ประเมิน แนวทางดำเนนิ การ ตวั อย่าง

มิติท่ี 2 การบริหารงานอยา่ งโปรง่ ใส มีธรรมาภิบาล ไม่มีการกระทำการผดิ กฎหมาย

บรหิ ารจดั การโดย - กำหนดมาตรการที่ทำให้ - ลงนามว่าด้วยข้อกำหนดในการกกั กันโรคและ
ให้ความสำคญั แก่ ผู้รบั บรกิ ารหรอื ผมู้ สี ่วนได้ ตรวจสอบสำหรบั การสง่ ออก และนำเข้าผลไมไ้ ทย
ผ้รู บั บริการและผู้มี เสยี ได้ประโยชนด์ ้วยกัน ผา่ นประเทศท่สี ามเข้าสู่สาธารณรฐั ประชาชนจนี
สว่ นไดส้ ว่ นเสีย - ปรับแผนการปฏบิ ัติงาน เนน้ ย้ำถึงความม่งุ มนั่ ท่ีจะส่งเสริมความร่วมมอื
โดยกำหนดโครงการสำคัญไว้ ระหว่างกัน เพอ่ื อำนวยความสะดวกในการขนส่ง
เพื่อประชาชนไดร้ บั สนิ ค้าเกษตรและอาหารข้ามพรมแดน ในช่วง
ประโยชนส์ ูงสุดและคมุ้ ค่า การระบาดของโรคโควดิ -19
ทีส่ ดุ - กรมวิชาการเกษตรปรบั แผนงานใหม่ หลงั ถกู ห่ัน
งบฯ 2563 ลดลงกวา่ รอ้ ยละ 50 แต่กจิ กรรมและ
โครงการวจิ ยั หลกั ยงั ต้องดำเนนิ งานใหเ้ หมือนเดมิ
เพื่อให้เกิดความคมุ้ ค่ามากทสี่ ดุ

มีการพัฒนาการ - มีการสื่อสารกบั เครอื ขา่ ย - ขับเคลอ่ื นผลงานวจิ ัยในการแกไ้ ขปัญหาให้กบั

บรหิ ารจดั การอยา่ ง เพอื่ ใหไ้ ดแ้ นวทางการ เกษตรกรในพ้นื ท่ีและโครงการอนั เน่ืองมาจาก

ตอ่ เนื่อง ดำเนินงานทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพ พระราชดำริ

- สง่ เสรมิ ความร่วมมือกับ - “ศูนยช์ ีวภัณฑช์ ุมชน (ศชช.)” ความรว่ มมอื

หน่วยงานทีเ่ กี่ยวข้อง ระหว่างกรมส่งเสรมิ การเกษตรกบั กรมวิชาการ

เพอ่ื ร่วมกันวางแผนพฒั นา เกษตรระดับเขตภาคใต้ เรอ่ื ง การวจิ ัยและส่งเสรมิ

โครงการ ให้ประสบ เกษตรเชิงพ้นื ท่ี จ.สงขลา

ความสำเร็จโดยมกี ารตดิ ตาม - มีติดตามผลการปฏิบตั ริ าชการ ของกลุม่ ติดตาม

งานอยา่ งตอ่ เนือ่ ง และประเมินผล กองแผนงานและวชิ าการ ซึ่งจะใช้

- ใช้เทคโนโลยใี นเพ่อื กำหนด โปรแกรม Scorecards Cockpit Enterprise

แผนงานและติดตามผล (SCE) เพ่ือรายงานแผน/และผลการตดิ ตาม

ซงึ่ จะมกี ารติดตามการ

ปฏบิ ตั งิ านอย่างสม่ำเสมอ

131

โครงการวจิ ัย
การบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ บนพืน้ ฐานหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะที่ ๑)

ตารางท่ี 4.9 (ต่อ)

มติ ิ / ปัจจยั ประเมนิ แนวทางดำเนินการ ตัวอยา่ ง

มิติท่ี 3 บคุ ลากรเกง่ และมคี ุณธรรม

มกี ารพัฒนา - มีการจัดประชมุ นำเสนอ - ประชมุ วชิ าการ ในหัวข้อ “พชื ไร่ยุคใหมส่ ไตล์

บคุ ลากรให้ ผลงานวิชาการ NEW NOMAL”

สามารถคิดเชงิ - ผบู้ ริหารใหค้ วามสำคญั และ มกี ารนำเสนอผลงานวิจัยดเี ดน่ โดยทมี วชิ าการของ

วเิ คราะห์ คดิ เชงิ สนบั สนนุ ในการพฒั นา สถาบันวิจัยพชื ไรแ่ ละพชื ทดแทนพลงั งาน

วิพากษ์ และคดิ เชงิ บคุ ลากร - กำหนด Career path และระบกุ ารฝึกอบรมไว้

ริเรม่ิ สรา้ งสรรค์ - มีหลกั เกณฑ์การคดั เลอื ก ต้องผ่าน ระดับ ต่ำ กลาง สงู อะไรบ้าง

ขา้ ราชการดีเด่น และ - มอบทุนพฒั นานักวิจัยระดับนานาชาติ

หลกั เกณฑ์การคัดเลือก - มอบรางวัลนักเรยี นทุนรัฐบาลไทย

นักวจิ ัยดีเด่น - นักวจิ ยั ดเี ดน่ กรมวชิ าการเกษตร จัดมาตอ่ เนอ่ื ง

ต้งั แต่ 2562 ถึงปจั จุบนั

บคุ ลากรสามารถ - ผู้บริหารกำหนดแผนงานที่ - ผู้บรหิ ารกำหนดแผนส่งเสรมิ คุณธรรม และ

ดำรงชวี ติ ไดอ้ ยา่ งมี กระตุน้ และสง่ เสริม สง่ เสรมิ วฒั นธรรมองค์กร รกั องคก์ ร ทำงานอยา่ งมี

คุณธรรม จรยิ ธรรม พฤติกรรมทด่ี ีของบคุ ลากร เปา้ หมาย และมงุ่ ผลสัมฤทธ์ิ

ท้ังในชีวติ การ - เปิดชอ่ งทางแจง้ เร่ือง - แผนสง่ เสรมิ คณุ ธรรม พจิ ารณาแผนโดยผู้บริหาร

ทำงานและชีวิต รอ้ งเรยี นการทจุ รติ และ ของกรมร่วมกับศูนยป์ ฏิบตั ติ อ่ ต้านการทจุ ริต

สว่ นตวั ประพฤตมิ ชิ อบ - รับฟังความคดิ เหน็ /แจง้ เรอื่ งร้องเรยี นการทจุ รติ

- กำหนดกจิ กรรมทส่ี ่งเสรมิ ของเจ้าหน้าที่ กรมวชิ าการเกษตร ได้ทาง Email

สรา้ งขวัญกำลังใจแก่ หรือ โทรศัพท์ ทไ่ี ด้ประกาศแจง้ ไวท้ างเวบ็ ไซต์

บคุ ลากรในหนว่ ยงานมคี วาม - บคุ ลากรได้รบั รางวัลขา้ ราชการพลเรือนดเี ดน่

ประพฤติที่ดี ประจำปี 2562

มเี กณฑ์พจิ ารณาเร่ืองคุณธรรม จรยิ ธรรม อทุ ิศตวั

(ครองตน ครองคน ครองงาน การปฏบิ ัติตาม

มาตรฐานจริยธรรม ผลงานดเี ด่น)

- กจิ กรรมของกรมมีนกั วจิ ยั ดเี ดน่ พจิ ารณาจาก

ผลงานเปน็ สำคญั สรา้ งแรงจูงใจ โดยการใหร้ างวัล

พจิ ารณาเพิ่มเงนิ เดือนประจำปีเปน็ พิเศษ

132

สถาบนั บณั ฑติ พัฒนบริหารศาสตร์

ตารางท่ี 4.9 (ตอ่ )

มติ ิ / ปัจจยั ประเมนิ แนวทางดำเนนิ การ ตัวอย่าง

มิติที่ 4 ประโยชน์แก่องคก์ ารและสังคม

ผลการดำเนนิ งาน - ผลการประเมนิ การปฏิบตั ิ - แผนงานบูรณาการขบั เคล่ือนการแก้ไขปัญหา
บรรลยุ ทุ ธศาสตร์ ราชการปี 2563 เป็นไปตาม จงั หวัดชายแดนภาคใต้ เปน็ ไปตามเป้าหมาย
ประเทศ เปา้ หมายที่กำหนดไว้ - แผนงานยุทธศาสตรเ์ กษตรสรา้ งมลู ค่า พฒั นา
ศักยภาพกระบวนการผลติ สินคา้ เกษตร เป็นไปตาม
สามารถสรา้ ง - กำหนดแผนปฏบิ ตั ิการการ เปา้ หมาย
ความสุขและมี พัฒนาคณุ ภาพชีวติ / - แผนงานยุทธศาสตรเ์ สรมิ สรา้ งพลงั ทางสงั คมและ
คุณภาพชีวติ ทีด่ ีใน เสรมิ สร้างความผาสกุ และ แผนงานบรู ณาการพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกจิ
การทำงานให้แก่ ความผกู พนั ของบุคลากรกรม ฐานราก เป็นไปตามเป้าหมาย
บคุ ลากรภายใน วชิ าการเกษตร - จดั ส่งิ แวดลอ้ มในการทำงาน เชน่ จดั หาเครอื่ งมือ
องค์กร และอุปกรณ์เพอ่ื อำนวยความสะดวกใน
การปฏิบัติงานใหเ้ พยี งพอ
- กิจกรรมส่งเสรมิ สำนกั งานสเี ขยี ว (green office)
- กิจกรรม Big Cleaning Day
- กิจกรรมเสรมิ สรา้ งสขุ ภาพทดี่ แี ละการตรวจ
สุขภาพประจำปี
- การจัดให้มีตยู้ าสามัญประจำหนว่ ยงานเพ่อื ให้
บคุ ลากรทุกระดับเข้าถงึ ได้
- จดั ใหม้ โี ครงการใหค้ วามรเู้ รือ่ งสขุ ภาพ

4.2.1.6 กรมส่งเสริมการเกษตร
กรมส่งเสริมการเกษตรได้สะท้อนความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงในระดับเข้าข่าย
ดังแสดงสรุปผลการประเมินด้วยภาพที่ 4.6 และรายละเอียดของประเด็นสำคัญที่สำคัญในมิติต่าง ๆ
ของหน่วยงานที่สะท้อนในระดับเข้าข่ายในตารางที่ 4.10 จากผลการเก็บรวบรวมข้อมูลของกรม
ส่งเสริมการเกษตรนั้นสะท้อนให้เห็นถึงการดำเนินงานของหน่วยงานที่มีการวางแผนและการกำหนด
นโยบายที่สอดคล้องเป้าประสงค์ของกระทรวง ทั้งนี้แผนของหน่วยงานนั้นได้ถูกสื่อสาร พร้อมเปิด
โอกาสในการแสดงความคิดเห็นในการแปลงนโยบายสู่การปฏิบัติ มีการจัดทำคู่มือและการกำหนด
แนวทางการปฏิบัติงานที่มีความชัดเจนและเป็นระบบ มีการนำเทคโนโลยีมาช่วยสนับสนุน
การดำเนินการ รวมทั้งมีการกำหนดมาตรการที่รองรับความต้องการของผู้ รับบริการภายใต้

133

โครงการวจิ ัย
การบรหิ ารราชการแผ่นดนิ บนพนื้ ฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะที่ ๑)

สถานการณ์ท่เี ปลี่ยนแปลงไป ในดา้ นบุคลากรนั้น กรมส่งเสริมการเกษตรมีการใช้แผนพัฒนาบุคลากร
ตามแนวทาง HR Scorecard คู่กับรูปแบบการพฒั นาสมรรถนะของบุคลากรท่หี ลากหลาย มีแนวทาง
การส่งเสริมด้านคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของบุคลากร ผ่านแผนการปฏิบัติงาน
และกิจกรรม ชัดเจน การดำเนินการข้างต้นส่งผลให้การดำเนินงานของหน่วยงานนั้น สามารถ
ดำเนินการได้ตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ นอกจากนั้นอาจมีการสะท้อนในระดับเข้าใจและหรือระดับ
เขา้ ถงึ ในบางมติ ิ (ซึง่ ยงั ไมถ่ ือว่าหนว่ ยงานมคี วามเปน็ เศรษฐกิจพอเพียงในระดบั นั้นแล้ว)
ภาพที่ 4.6
ผลการประเมินความเปน็ เศรษฐกิจพอเพียงของกรมส่งเสริมการเกษตร

134

สถาบันบณั ฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์

ตารางท่ี 4.10
ผลการประเมนิ ความเป็นเศรษฐกิจพอเพียง ระดับเขา้ ขา่ ย ของกรมส่งเสริมการเกษตร

มติ ิ / ปัจจัยประเมิน แนวทางดำเนินการ ตวั อย่าง

มติ ิท่ี 1 นโยบาย การวางแผน และการจดั ทำแผนแบบมีสว่ นรว่ ม

การวางแผนที่ - กรมรบั นโยบายจาก - แผนปฏบิ ัตริ าชการ 5 ปี (พ.ศ. 2566-2570)
ตอบสนองพันธกจิ กระทรวงและดำเนนิ ภาร มีความสอดคล้องกับแผน 3 ระดับ ไดแ้ ก่
วสิ ยั ทศั น์ และ จัดทำแผนปฏิบตั ิราชการ 1) ยุทธศาสตร์ชาติ 2) แผนแมบ่ ทภายใต้ยทุ ธศาสตร์
ยุทธศาสตร์ของ 5 ปี เพือ่ ใหส้ อดคลอ้ งกบั ชาติ และแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
องค์กร (กรมและ กระทรวง 3) แผนปฏบิ ตั ริ าชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวง) - กำหนดเป้าหมาย และ ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566–2570)
ภารกิจหลกั ในการสนบั สนนุ - ตั้งเปา้ หมายสอดคล้องกบั แนวปฏิบัติของรัฐบาล
นโยบายของกระทรวง แผน 20 ปี
มีการกำหนดตวั ชี้วัดและค่าเปา้ หมาย สนับสนนุ
นโยบายของกระทรวง เช่น เกษตรกรมรี ายได้
เพม่ิ ขึน้ ไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 10 ผลติ สนิ คา้ เกษตรมี
ประสทิ ธภิ าพและมีมลู คา่ เพิ่มสงู ขน้ึ ไม่นอ้ ยกวา่
รอ้ ยละ 5 เป็นตน้

ในการวางแผน - ส่อื สารชแี้ จงรายละเอียด - สอ่ื สารชี้แจงคณะทำงานร่วมขบั เคลือ่ นพัฒนาคน
ยทุ ธศาสตร์ มกี าร
ถา่ ยทอด สร้าง และแตง่ ตง้ั คณะทำงาน และผลติ ภณั ฑส์ นิ คา้ ผลไม้ และร่วมจดั ทำแผน
ความเขา้ ใจ และ
พฒั นาการมสี ว่ น จดั ทำแผนปฏบิ ัตกิ าร รว่ มกบั คณะอนุกรรมการย่อย 4 คณะ
รว่ มของบคุ ลากร
ขับเคลอ่ื นการพัฒนาคนและ - ระดมความคดิ เห็นโดยประชมุ ภายในหนว่ ยงาน

ผลติ ภณั ฑส์ นิ คา้ และร่วมกบั หนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วข้อง

- มกี ารระดมความคดิ เห็นใน - แปลงนโยบายสกู่ ารปฏบิ ตั ิโดยการประชมุ ภายใน

การแปลงนโยบายสู่ หนว่ ยงานจัดทำคู่มือวิธกี ารดำเนินงาน แลว้ ส่งตอ่ ให้

การปฏบิ ตั ิ สำนกั งานเกษตรจังหวดั เป็นผดู้ ำเนินงาน

- สื่อสารกับสำนักงานเกษตร

จงั หวดั ในการแปลงนโยบาย

สู่การปฏิบัติ

135

โครงการวจิ ัย
การบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ บนพนื้ ฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ระยะท่ี ๑)

ตารางท่ี 4.10 (ตอ่ )

มิติ / ปจั จัยประเมนิ แนวทางดำเนนิ การ ตวั อย่าง

มิติท่ี 2 การบริหารงานอย่างโปร่งใส มธี รรมาภบิ าล ไม่มีการกระทำการผิดกฎหมาย

การบรหิ ารจดั การ - จัดทำคมู่ ือเพ่อื เปน็ แนวทาง - คูม่ ือการขน้ึ ทะเบียนและปรับปรงุ ทะเบยี น
อยา่ งเป็นระบบ
ปฏบิ ัตงิ านทีช่ ัดเจนใหแ้ ก่ เกษตรกร

บุคลากรในแตล่ ะหน่วยงาน - ค่มู ือและวธิ กี ารปฏิบัตงิ านระบบส่งเสริม

- กำหนดแนวทางปฏิบตั ิโดย การเกษตร

ใชเ้ ทคโนโลยมี าช่วย - มรี ะบบ Training & Visiting System (T&V

ปฏิบตั งิ านและสอ่ื สาร System) เปน็ ระบบที่พฒั นาขึ้นมาเพ่ือเป็นตวั ชว่ ย

แบง่ ปนั ขอ้ มลู การถ่ายทอดความรู้ เยี่ยมเยยี น สนับสนุน

การนเิ ทศงาน และจัดการข้อมูล

- มีการใช้ระบบบรกิ ารข้อมลู เช่น (SSMAP)

ระบบฐานขอ้ มลู การจำหนา่ ยพชื พนั ธด์ุ ี (e-Catalog)

สมุดทะเบียนเกษตรกรดิจิทัล (farmbook)

แอปพลิเคชันร้ดู นิ รู้ปุ๋ย ระบบตรวจติดตาม

การระบาดศัตรูพชื (DOAE Pest Forecast)

และเวบ็ ไซตต์ ลาดเกษตรกรออนไลน์ เป็นต้น

การบริหารงาน - กำหนดโยบาย แนวทาง - นโยบายการบริหารทรัพยากรบคุ คล เก่ยี วข้องกบั
อยา่ งโปรง่ ใส ดำเนินงาน เกีย่ วกบั หลัก ความโปรง่ ใสและมีคุณธรรมเปน็ นโยบายทย่ี งั ใช้
มีนโยบาย ความโปรง่ ใส บงั คับในหน่วยงานในปี พ.ศ. 2563
มาตรการ ระบบ - ส่อื สารและเปดิ เผยข้อมลู สู่ - เปิดเผยขอ้ มลู สาธารณะ (Open Data Integrity
การตรวจสอบ สาธารณะ and Transparency Assessment : OIT) ปี 2563
ในการกำกับดูแล - มีชอ่ งทางรับเรือ่ งร้องเรียน - แนวปฏิบตั ิการจดั การเรอื่ งรอ้ งเรยี นการทจุ ริตและ
และเปดิ เผยข้อมลู เกีย่ วกบั การประพฤตมิ ชิ อบ ประพฤติมิชอบ แสดงชอ่ งทางทบ่ี ุคคลภายนอก
- มีหน่วยงานภาครัฐมา สามารถแจ้งเรอ่ื งรอ้ งเรยี นทเี่ ก่ยี วกับการทจุ ริตและ
ประเมินคณุ ธรรมและความ ประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่
โปรง่ ใสใน - กจิ กรรมประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการ
การดำเนนิ งาน ดำเนินงานของหนว่ ยงานภาครฐั (ITA) คะแนน
ปี 2564 = 90.60 ระดับการประเมนิ = A

136

สถาบันบณั ฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์

ตารางที่ 4.10 (ต่อ)

มติ ิ / ปจั จัยประเมนิ แนวทางดำเนินการ ตวั อยา่ ง

มติ ทิ ี่ 3 บุคลากรเกง่ และมีคุณธรรม

การฝกึ ทกั ษะ - จดั ทำแผนกลยทุ ธก์ าร - รายงานแผนกลยุทธก์ ารบรหิ ารทรัพยากรบคุ คล
ความรทู้ เี่ กี่ยวเนอ่ื ง บรหิ ารทรัพยากรบุคคล กรมส่งเสรมิ การเกษตร พ.ศ. 2561–2565
กบั การงานทอี่ ย่ใู น - จดั ทำแนวทางการพัฒนา - กระบวนการพฒั นาบุคลากรกรมส่งเสริม
ความรบั ผิดชอบ บุคลากรโดยมีวธิ ีการในการ การเกษตรมีรูปแบบท้ัง e-Learning, online
พัฒนาความรู้ ทกั ษะท่ี classroom, on the job training, mentor และ
หลากหลายทัง้ ภาคทฤษฎี study trip โดยมกี ารออกแบบและพัฒนาหลกั สตู ร
และภาคปฏิบตั ิ ใหส้ อดคลอ้ งกับกลมุ่ เปา้ หมายในแต่ละพื้นที่
- มกี ารตัง้ งบประมาณในการ - การบรหิ ารทรัพยากรบุคคล มีการปรบั ปรงุ
จดั ทำแผนพัฒนาทรพั ยากร กระบวนการงบประมาณ และสร้างกลไกใน
บคุ คล การตดิ ตามตรวจสอบการเงินการคลงั ภาครฐั
เพื่อใหก้ ารจัดสรรและการใชจ้ ่ายงบการพฒั นา
บุคลากรอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

การพฒั นา - กำหนดมาตรการสง่ เสริม - กจิ กรรมส่งเสรมิ และสนับสนนุ ใหบ้ คุ ลากรใน
คณุ ธรรมและ คณุ ธรรมและความโปรง่ ใส หน่วยงานเขา้ รว่ มฝกึ อบรมประชุมสัมมนา
จรยิ ธรรมใหแ้ ก่ ในการดำเนนิ งาน เกีย่ วกับคุณธรรม จริยธรรม ท้ังหนว่ ยงานภายใน
บุคลากร - ใชก้ ิจกรรมที่หลากหลายใน และหน่วยงานภายนอก
การสง่ เสริมและใน - กจิ กรรมการปฐมนเิ ทศขา้ ราชการบรรจุใหม่
การพัฒนาบุคลากร เกยี่ วกบั วนิ ยั และการรกั ษาวนิ ยั
ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม ตามพระราชบัญญัตริ ะเบียบขา้ ราชการพลเรอื น
พ.ศ. 2551
- กิจกรรม "เผยแพร่ ประชาสัมพนั ธ์ ความรู้
คุณธรรม จรยิ ธรรม และการ ป้องกนั และ
ปราบปรามการทุจริต"

137

โครงการวจิ ัย
การบริหารราชการแผ่นดนิ บนพื้นฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ระยะที่ ๑)

ตารางท่ี 4.10 (ต่อ)

มิติ / ปัจจยั ประเมนิ แนวทางดำเนินการ ตัวอย่าง

มติ ทิ ่ี 4 ประโยชน์แก่องค์การและสงั คม

ผลการดำเนนิ งาน - ผลการดำเนนิ งานประจำปี - ผลการดำเนนิ งานตามแนวทางสง่ เสรมิ เกษตร
บรรลตุ ามพันธกจิ 2563 เป็นไปตามเปา้ หมาย แปลงใหญ่
และเปา้ ประสงค์ ทัง้ ตน้ ทุนการผลติ ทลี่ ดลง สินค้าเกษตรทเ่ี พิม่ ขนึ้
ขององค์การ ราคาผลผลติ เพิ่มขึ้น 6 (ผลการดำเนนิ งานสูงกว่า
เปา้ หมายท้งั หมด)
- วสิ าหกจิ ชมุ ชนท่ีมกี ารพัฒนาศกั ยภาพและไดร้ บั
การยกระดับตามแผนพฒั นากิจการ เป้าหมาย
ร้อยละ 72.5 ผลการดำเนินงาน รอ้ ยละ 98.07
(สงู กวา่ เปา้ หมาย)

ความสามารถใน - มีการดำเนนิ การ/มาตรการ - การแก้ปญั หาผลไม้เศรษฐกิจล่วงหน้า รบั มอื ทกุ
การเผชญิ หรือ แกไ้ ขปญั หาไวล้ ว่ งหนา้ ใหแ้ ก่ เหตกุ ารณไ์ ม่ปกติ การแก้ไขปญั หาจะมีการประชุม
ตอบสนองต่อการ เกษตรกร กบั หน่วยงานทเี่ ก่ียวขอ้ งเพ่อื ปรกึ ษาหารอื
เปลี่ยนแปลงได้ สำหรับแนวทางแก้ไขปญั หาลว่ งหนา้ ไว้

4.2.1.7 กรมส่งเสริมสหกรณ์
กรมส่งเสริมสหกรณ์ได้สะท้อนความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงในระดับเข้าข่ายและ
ระดับเข้าใจ ดังแสดงสรปุ ผลการประเมนิ ด้วยภาพที่ 4.7 และรายละเอียดของประเด็นสำคัญที่สำคัญ
ในมิติต่าง ๆ ของหน่วยงานที่สะท้อนในระดับเข้าข่ายในตารางที่ 4.11 และในระดับเข้าใจในตารางท่ี
4.12 จากผลการเก็บรวบรวมข้อมูลของกรมส่งเสริมสหกรณ์นั้นสะท้อนให้เห็นถึงการดำเนินงานของ
หน่วยงานที่มีการวางแผนและการกำหนดนโยบายที่สอดคล้องเป้าประสงค์ของกระทรวง พร้อมทั้ง
มีการกำหนดภารกิจหลักโดยใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการตั้งเป้าหมายการทำงานของ
หนว่ ยงาน มีการกำหนดวสิ ัยทศั น์ของหน่วยงานและหลักการแนวทางการดำเนินการท่ีชดั เจน มีการให้
ความสำคญั แกเ่ ครอื ขา่ ยในการเข้ามามีส่วนร่วมในการกำหนดแผนการดำเนนิ งานรวมท้ังการให้ความรู้
แก่เครือข่ายเพื่อให้สามารถพึ่งตนเองได้ และมีการปรับปรุงประสิทธิภาพในการดำเนินงานและการ
ให้บริการแก่ประชาชน ในด้านการพัฒนาบุคลากร กรมส่งเสริมสหกรณ์นั้น มีการจัดทำแผนพัฒนา
สมรรถนะรายบุคคล มีการอบรมพัฒนาบุคลากรที่หลากหลาย ในด้านการพัฒนาจริยธรรม
คุณธรรมนั้น กรมส่งเสริมสหกรณ์ได้มีการกำหนดระเบียบและแนวทางที่ส่งเสริมความซื่อสัตย์สุจริต
พร้อมแผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ การดำเนินการข้างต้น

138

สถาบันบณั ฑติ พฒั นบริหารศาสตร์

ส่งผลให้การดำเนินงานของหน่วยงานนั้น สามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ อีกท้ัง
ยังแสดงให้เห็นถึงความให้ความสำคัญกับคุณภาพชีวิตที่ดีของบุคลากรอีกด้วย นอกจากนั้นอาจมี
การสะท้อนในระดับเข้าถึงในบางมิติ (ซึ่งยังไม่ถือว่าหน่วยงานมีความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงในระดับ
น้นั แล้ว)
ภาพที่ 4.7
ผลการประเมินความเปน็ เศรษฐกิจพอเพยี งของกรมสง่ เสรมิ สหกรณ์

139

โครงการวจิ ยั
การบริหารราชการแผ่นดนิ บนพืน้ ฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ระยะที่ ๑)

ตารางท่ี 4.11
ผลการประเมินความเป็นเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดับเขา้ ข่าย ของกรมสง่ เสรมิ สหกรณ์

มิติ / ปจั จัยประเมิน แนวทางดำเนินการ ตวั อย่าง

มิติที่ 1 นโยบาย การวางแผน และการจดั ทำแผนแบบมีสว่ นรว่ ม

การวางแผนท่ี - กำหนดแผนยทุ ธศาสตร์ - กรมส่งเสริมสหกรณ์ได้กำหนดเปา้ หมาย
ตอบสนองพันธกจิ
วิสัยทศั น์ และ กรมส่งเสรมิ สหกรณ์ 20 ปี การบรกิ ารคอื ระบบสหกรณไ์ ด้รบั การส่งเสรมิ และ
ยุทธศาสตรข์ อง
องค์กร (กรมและ (พ.ศ.2560-2579) พฒั นาให้เปน็ กลไกการพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคม
กระทรวง)
สอดคล้องกบั เปา้ ประสงค์ ในระดับชมุ ชน ซึง่ สอดคล้องกบั เปา้ ประสงค์ของ
ในการวางแผน
ยุทธศาสตร์ ของกระทรวง กระทรวงที่ให้เกษตรกรกนิ ดอี ยดู่ ี
มีการถา่ ยทอด
สร้างความเข้าใจ - กำหนดภารกจิ หลกั โดยใช้ มีทักษะ เช่ยี วชาญในการประกอบอาชพี
และพฒั นาการมี
สว่ นร่วมของ หลักปรชั ญาเศรษฐกจิ - กำหนดภารกิจหลัก คือ
บุคลากร
พอเพยี ง 1) สง่ เสรมิ ใหม้ คี วามกนิ ดี อยดู่ ี ตามปรัชญาของ

ในการต้ังเป้าหมายใน เศรษฐกิจพอเพยี ง

การทำงาน 2) เสรมิ สร้างสหกรณ์ ให้มีประสิทธิภาพใน

การบรหิ ารจัดการโดยยึดหลกั ธรรมาภิบาล

3) ผลักดนั ให้มีบทบาทสำคญั ในการพฒั นาดา้ น

การผลติ การตลาดและบริการ ตลอดหว่ งโซม่ ลู ค่า

4) พฒั นาคณุ ภาพการบรหิ ารจดั การ สนับสนุน

กลไกการพฒั นาสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร

5) ใชห้ ลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ใน

การตั้งเปา้ หมายในการทำงาน

- ประชุมหารอื การจดั ทำ - ประชุมหารือการจดั ทำแผนปฏบิ ตั งิ านและ

แผนปฏิบัตงิ านและ งบประมาณรายจ่ายประจำปี โดยมี ผู้เช่ียวชาญ

งบประมาณรายจา่ ยประจำปี ผู้อำนวยการกอง/สำนกั ผูอ้ ำนวยการกลมุ่ และ

- ประชุมหารือทบทวน เจ้าหนา้ ที่ท่เี กยี่ วข้อง เข้าร่วมประชมุ

วิสยั ทศั น์ พันธกจิ ผลสัมฤทธ์ิ - ประชุมหารอื ทบทวนวิสยั ทัศน์ พันธกิจ ผลสมั ฤทธิ์

และประโยชนท์ คี่ าดวา่ จะ เป้าหมายการให้บริการ ตัวชวี้ ัดและคา่ เป้าหมาย

ไดร้ ับ เปา้ หมายการ เพือ่ ประกอบการจดั ทำงบประมาณรายจ่าย

ให้บริการ ตัวช้ีวัดและค่า ประจำปี พ.ศ.2566

เปา้ หมาย แก่บุคลากร

140

สถาบันบณั ฑติ พัฒนบริหารศาสตร์

ตารางท่ี 4.11 (ต่อ)

มติ ิ / ปัจจยั ประเมนิ แนวทางดำเนินการ ตวั อยา่ ง

มติ ิท่ี 2 การบริหารงานอยา่ งโปรง่ ใส มธี รรมาภบิ าล ไม่มีการกระทำการผดิ กฎหมาย

การบริหารจัดการ - จัดทำคมู่ ือเป็นแนวทาง - จดั ทำคมู่ ือหรอื มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านและ

อยา่ งเปน็ ระบบ ปฏิบตั ิ การใหบ้ รกิ าร

- จัดทำแผนปฏบิ ตั ิราชการ - คมู่ อื การใช้งานระบบงานบรหิ ารและจดั การ

กรมสง่ เสรมิ สหกรณ์ ระยะ 3 โครงการ

ปี (พ.ศ. 2563 – 2565) - แผนปฏิบัตริ าชการกรมสง่ เสริมสหกรณ์

- จดั ทำแนวทางการติดตาม ระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2563–2565)

ผลการปฏบิ ตั งิ านผ่านระบบ - ค่มู ือติดตามผลการปฏิบัตงิ านของโครงการ

(e-project)

การบริหารงาน - กำหนดมาตรการส่งเสรมิ - กำหนดมาตรการส่งเสริมคณุ ธรรมและความ

อยา่ งโปรง่ ใส มี คุณธรรมและความโปร่งใส โปรง่ ใส ของหนว่ ยงาน

นโยบาย มาตรการ ภายในหนว่ ยงาน - โครงการสหกรณ์สีขาวด้วยธรรมาภบิ าล

ระบบการ - มหี นว่ ยงานภาครฐั มา มกี ารปฏิบตั ติ ามเกณฑ์สหกรณ์สขี าวมีหลกั

ตรวจสอบ ในการ ประเมนิ คณุ ธรรมและความ ธรรมาภบิ าล ตรวจสอบไดผ้ ลกั ดนั ใหม้ กี ารใช้

กำกบั ดูแล และ โปร่งใสในการดำเนนิ งาน ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง

เปดิ เผยข้อมลู - รายงานผลการดำเนนิ การมาตรการส่งเสริม

คณุ ธรรมและความโปร่งใสของกรมสง่ เสริมสหกรณ์

ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

- กิจกรรมประเมินคณุ ธรรมและความโปรง่ ใส (ITA)

คะแนนประเมินความโปรง่ ใส ประจำปี

2564 = 92.69 ระดับการประเมิน = A

141

โครงการวจิ ัย
การบรหิ ารราชการแผน่ ดินบนพืน้ ฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะท่ี ๑)

ตารางที่ 4.11 (ต่อ)

มิติ / ปัจจยั ประเมนิ แนวทางดำเนินการ ตัวอย่าง

มติ ทิ ่ี 3 บคุ ลากรเกง่ และมคี ุณธรรม

การฝกึ ทักษะ - จัดทำแผนพัฒนาสมรรถนะ - จัดทำแผนพัฒนาสมรรถนะรายบคุ คล (IDP)

ความรู้ท่เี ก่ียวเนอ่ื ง รายบุคคล - โครงการฝึกอบรมผา่ นระบบสอื่ สารออนไลน์

กบั การงานทีอ่ ยใู่ น - ดำเนนิ การอบรมพฒั นา หลักสตู ร

ความรับผดิ ชอบ ตามแผนปฏิบตั งิ านประจำปี "การพฒั นาศักยภาพนกั ส่งเสรมิ สหกรณ์"

งบประมาณพ.ศ. 2564 - โครงการฝึกอบรม หลกั สตู ร "การพฒั นาศกั ยภาพ

- มีการจดั ตงั้ งบประมาณใน ผบู้ รหิ ารงาน สหกรณจ์ ังหวดั ”

แผนปฏบิ ัตกิ ารและใชจ้ า่ ย - อบรมออนไลน์ ระบบ MIS สำหรับการกำกบั

งบประมาณ ในส่วนกจิ กรรม ตรวจสอบสหกรณ์ทางการเงนิ ผ่าน Microsoft

การพฒั นาบคุ ลากร Teams สำหรบั นกั การเงนิ หรือเจา้ หนา้ ทที่ ่สี หกรณ์

จงั หวัด

- จดั ต้งั งบประมาณ แผนปฏิบตั ิการและใชจ้ ่าย

งบประมาณ 2564 ในส่วนกจิ กรรมการพฒั นา

บุคลากร

การพัฒนา - กำหนด Motto คุณธรรม - คา่ นิยมองค์กร “ริเรมิ่ สร้างสรรค์ มุ่งม่นั ฟันฝ่า
คณุ ธรรมและ และความโปรง่ ใสของกรมฯ พฒั นาสหกรณ์ Creative thinking Proactive
จริยธรรมให้แก่ - จัดกิจกรรมสง่ เสรมิ working Develop (CPD)” โดยมี Motto
บุคลากร คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คอื ซ่อื ตรงตอ่ หน้าที่ มีวนิ ยั โปร่งใส ไรท้ ุจรติ
บคุ ลากร - กจิ กรรม การคดั เลอื กขา้ ราชการพลเรือนดเี ด่น
- กำหนดระเบยี บ/แนวทาง และกิจกรรมคดั เลือกนักสง่ เสรมิ สหกรณด์ เี ด่น
ปฏบิ ตั ทิ ี่สง่ เสรมิ ความ - มาตรการส่งเสรมิ คณุ ธรรมและความโปร่งใส
ซือ่ สตั ยส์ จุ รติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
- แผนปฏบิ ัติการปอ้ งกันและ - แผนปฏบิ ัตกิ ารป้องกันและปราบปรามการทจุ รติ
ปราบปรามการทุจริตและ และประพฤตมิ ิชอบ ประจำปี 2564
ประพฤติมชิ อบ

142

สถาบนั บัณฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์

ตารางที่ 4.11 (ต่อ)

มติ ิ / ปัจจัยประเมิน แนวทางดำเนินการ ตวั อยา่ ง

มิตทิ ี่ 4 ประโยชน์แกอ่ งค์การและสังคม

ผลการดำเนนิ งาน - ผลการดำเนินงานประจำปี - สหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกรมีทนุ ดำเนินงานรวม 3.51
บรรลตุ ามพนั ธกจิ 2563 เป็นไปตามเปา้ หมายท่ี ลา้ นล้านบาท เพม่ิ จากปี 2562 รอ้ ยละ 6.69
และเป้าประสงค์ กำหนดไว้ รายไดร้ วม 0.35 ล้านลา้ นบาท เพมิ่ จากปี 2562
ขององคก์ าร รอ้ ยละ 6.06
- สมาชกิ ไดร้ บั ประโยชนจ์ ากบรกิ ารของสหกรณ์
ด้านสนิ เช่ือ รับฝากเงนิ รับซื้อผลผลิต และบรกิ าร
อ่นื ๆ จำนวน 10.03 ลา้ นคน (ร้อยละ 81.68 ของ
สมาชกิ ท้ังหมด 1-8 ลา้ นคน) มูลคา่ ธรุ กจิ รวม 1.92
ล้านลา้ นบาท

ความสามารถใน - พฒั นาระบบงานและ - ทบทวนระบบงานและกระบวนการทำงานของ
การเผชญิ หรือ กระบวนการทำงานของกรม กรม (SIPOC Model) วา่ มอี ปุ สรรคตอ่ การบรรลุ
ตอบสนองตอ่ การ เพ่อื นำปัญหาและอุปสรรค พนั ธกิจและเปา้ ประสงค์ และนำปญั หาและ
เปล่ยี นแปลงได้ มาปรับปรงุ การทำงาน ขอ้ คิดเห็นมาปรบั ปรุงการทำงาน
- ปรับเปล่ียนรูปแบบการ - สถานการณก์ ารระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019
ทำงานรองรบั สถานการณโ์ ค (COVID–19) กิจกรรมในบางพนื้ ทไี่ ม่สามารถ
วดิ -19 เพ่ือให้การบรกิ ารมี ดำเนนิ งานไดต้ ามแผนที่กำหนด กรมไดป้ รบั เปล่ยี น
ความต่อเนื่อง รวดเรว็ วธิ กี ารดำเนินงานใหเ้ หมาะสม ผา่ นระบบออนไลน์
มปี ระสิทธิภาพ หรอื ในบางโครงการทต่ี อ้ งเลือ่ นการดำเนินงาน
ออกไป

143

โครงการวิจยั
การบรหิ ารราชการแผน่ ดินบนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ระยะที่ ๑)

ตารางที่ 4.12
ผลการประเมินความเป็นเศรษฐกิจพอเพียง ระดบั เขา้ ใจ ของกรมสง่ เสริมสหกรณ์

มิติ / ปจั จยั ประเมิน แนวทางดำเนินการ ตัวอยา่ ง

มิตทิ ่ี 1 นโยบาย การวางแผน และการจดั ทำแผนแบบมีสว่ นรว่ ม

มีการกำหนด - จัดลำดบั ความสำคัญของ - กรมได้จดั ลำดบั ความสำคญั โดยคำนงึ ถงึ ปญั หา
ยทุ ธศาสตร์สอดรบั ยทุ ธศาสตร์ คำนงึ ถงึ ปญั หา ของประเทศ คือ
เปา้ ประสงคข์ อง ของประเทศ 1) สรา้ งความม่นั คงในอาชพี แกเ่ กษตรกร
ยทุ ธศาสตร์ - กำหนดวิสยั ทศั นแ์ ละ 2) สง่ เสรมิ การผลิตและจดั การสนิ ค้าเกษตรตลอด
ประเทศ เปา้ หมายทม่ี คี วามเชือ่ มโยง ห่วงโซก่ ารผลติ 3) เสริมสร้างความเขม้ แขง็ ของ
สอดคล้องกับประเทศ เกษตรกร องค์กรเกษตรกร และชมุ ชนเกษตร
ส่งเสริมผลติ ที่เปน็ มิตรกับสง่ิ แวดลอ้ ม และ
4) พัฒนาศกั ยภาพองคก์ รและการบริหารจดั การ
- วสิ ยั ทัศน์คอื เกษตรกรมคี วามเขม้ แขง็ มีคณุ ภาพ
ชวี ิตทด่ี ี และ
มีรายไดเ้ พม่ิ ขึน้ โดยเปา้ หมายในภาพรวมของ
แผนปฏบิ ัตริ าชการกรมส่งเสรมิ การเกษตร ระยะ
5 ปี (พ.ศ. 2566–2570) ประกอบดว้ ย 3 เปา้ หมาย
ไดแ้ ก่ (1) เกษตรกรมีคณุ ภาพชีวติ ที่ดีและมรี ายได้
เพม่ิ ข้ึน (2) การผลิตสนิ ค้าเกษตรมีประสทิ ธิภาพ
และมมี ลู ค่าเพิม่ สูงขึน้ และ (3) เกษตรกร องคก์ ร
เกษตรกร และวสิ าหกจิ ชมุ ชน มคี วามเข้มแข็ง
ซ่งึ มีความเชอ่ื มโยง สอดคล้องกบั เป้าหมายของ
ประเทศ

ในการวางแผน - ร่วมกบั ภาคีเครอื ข่ายท้งั - กรมสง่ เสริมการเกษตรจบั มอื ภาคี จัดอบรมการใช้
ยุทธศาสตร์ ภาครัฐและเอกชน บรู ณา โดรนในภาคเกษตร มงุ่ สเู่ กษตรอัจฉรยิ ะ
มีการถา่ ยทอด การแผนงานร่วมกัน - โครงการพฒั นาเครอื ขา่ ยงานสง่ เสรมิ การเกษตร
สรา้ งความเข้าใจ - ใชร้ ะบบประสานงานกบั ขบั เคล่ือน
และพัฒนาการมี เครือข่ายเพอ่ื บรู ณาการ การทำงานสง่ เสริมการเกษตรในพ้ืนที่ ผ่านระบบ
สว่ นรว่ มของ โครงการ ส่งเสรมิ การเกษตร Training & Visiting System
องคก์ ารอื่นหรอื (T&V System) เปน็ กลไกหลกั ในการขับเคลอ่ื นงาน
เครือขา่ ยตา่ ง ๆ สง่ เสริมการเกษตรตา่ ง ๆ ในพ้นื ท่ี

144

สถาบนั บัณฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์

ตารางท่ี 4.12 (ต่อ)

มติ ิ / ปจั จยั ประเมนิ แนวทางดำเนนิ การ ตัวอย่าง

มิตทิ ่ี 2 การบริหารงานอย่างโปร่งใส มธี รรมาภบิ าล ไม่มีการกระทำการผิดกฎหมาย

บริหารจดั การโดย - กำหนดมาตรการตา่ งๆ ที่ - ระบบสง่ เสรมิ การเกษตรภายใตส้ ถานการณ์
ให้ความสำคญั แก่ ใหป้ ระชาชนไดร้ บั ประโยชน์ การแพร่ระบาดของเช้ือไวรสั โคโรนา 2019
ผู้รับบรกิ ารและผูม้ ี - จัดระบบงาน ระบบบริการ - DOAE Farmcheck Application บนมือถอื
สว่ นไดส้ ่วนเสยี ของกรมฯ ให้ความช่วยเหลือ ทีก่ รมส่งเสรมิ การเกษตรจดั ทำข้นึ เพ่ือชว่ ยให้
ผรู้ ับบรกิ ารอยา่ งมี เกษตรกรสามารถตดิ ตามข่าวสารทางการเกษตร
ประสิทธภิ าพ ไดอ้ ย่างรวดเรว็ รลู้ ึก รู้จรงิ
- ระบบท่องเที่ยวเชงิ เกษตร เป็นการยกระดับฟารม์
เกษตรกร เปน็ แหลง่ ศกึ ษาดงู าน ดา้ นการเกษตรท่มี ี
ศักยภาพ ให้เปน็ แหล่งท่องเทย่ี วเชิงเกษตรที่มีความ
พร้อมในการรองรบั นกั ท่องเทีย่ ว ซึ่งเป็นการช่วย
สรา้ งงานสรา้ งรายได้แกเ่ กษตรกร

มีการพัฒนาการ - จัดเวทีสื่อสารกบั เครอื ข่าย - จัดประชุมคณะกรรมการเครือข่ายศนู ย์เรยี นรู้

บริหารจดั การอยา่ ง เพือ่ ใหไ้ ด้แนวทางดำเนินงาน เพม่ิ ประสทิ ธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรระดับจงั หวดั

ตอ่ เน่อื ง ท่ีมีประสทิ ธิภาพ และคณะกรรมการเครอื ขา่ ยแปลงใหญ่

- ติดตามงาน ปรับปรงุ แกไ้ ข ระดบั จังหวดั เพอ่ื เตรียมความพรอ้ มในการ

การทำงานของเครือข่ายและ ใหบ้ ริการและเผยแพรข่ ้อมลู ขา่ วสารในพนื้ ท่ี

เจา้ หน้าทใี่ นพ้นื ทอี่ ย่าง - การถา่ ยทอดองคค์ วามรู้และตดิ ตามงานของกรม

สม่ำเสมอ สง่ เสริมการเกษตรได้นำ T & V System (Training

& Visit System) ซึง่ จะมกี ารตดิ ตามงานแตล่ ะ

โครงการผ่านระบบอย่างสมำ่ เสมอ

145


Click to View FlipBook Version