The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การพัฒนาเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพื้นฐาน
ระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) เป็นเครื่องมือในการวางแผนพัฒนาให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ และจะมีการปรับปรุงทุก ๆ 5 ปี ในปี พ.ศ. 2565 เป็นปีเริ่มต้นของแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (2565 - 2569) จึงมีความจำเป็นต้องใช้เครื่องชี้วัด เกณฑ์ชี้วัดและ
แบบสอบถามชุดใหม่สำหรับจัดเก็บข้อมูล จปฐ. และข้อมูล กชช. 2ค ให้สอดคล้องกับเป้าหมาย
การพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) และแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561 – 2580) และการควบคุม
คุณภาพการจัดเก็บข้อมูลและรูปแบบการรายงานด้วยระบบสารสนเทศที่รองรับความต้องการของทุก
ภาคส่วน การศึกษาครั้งนี้มีวิธีศึกษาจากการวิเคราะห์ประมวลผลจากการสอบถามความคิดเห็นผู้ใช้ข้อมูล
จปฐ. และข้อมูล กชช. 2ค เกี่ยวกับปัญหาและความต้องการของผู้ใช้ข้อมูล (ส่วนภูมิภาค) กระจายตาม
ภูมิภาค จำนวน 8 จังหวัด จังหวัดละ 5 หน่วยงาน รวม 40 หน่วยงาน และการวิเคราะห์ประมวลผลจาก
ประชุมรับฟังความคิดเห็นของคณะทำงานปรับปรุงเครื่องชี้วัดคุณภาพชีวิตของประชาชน และ
คณะกรรมการอำนวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน (พชช.)
ผลการศึกษา พบว่า การใช้แบบสอบถามข้อมูล จปฐ. และแบบสอบถามข้อมูล กชช. 2ค
สำหรับใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ปรับระยะเวลาการเริ่มใช้ให้สอดคล้อง
กับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 13 และแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี จึงเริ่มใช้ระหว่าง
พ.ศ.2566 – 2570 เครื่องชี้วัดข้อมูล จปฐ. ที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูลช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติฉบับที่ 13 ( พ.ศ.2566 - พ.ศ. 2570) ประกอบด้วย 5 หมวด 38 ตัวชี้วัด ได้แก่ หมวดที่ 1
สุขภาพ มี 12 ตัวชี้วัด หมวดที่ 2 มาตรฐานความเป็นอยู่ มี 9 ตัวชี้วัด หมวดที่ 3 การศึกษา มี 5 ตัวชี้วัด
หมวดที่ 4 เศรษฐกิจ มี 4 ตัวชี้วัด และหมวดที่ 5 การคุ้มครองทางสังคมและการมีส่วนร่วม มี 8 ตัวชี้วัด
และเครื่องชี้วัดข้อมูล กชช. 2ค สำหรับใช้ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13
(พ.ศ. 2566 - 2570) ประกอบด้วย 7 หมวด 44 ตัวชี้วัด ดังนี้ หมวดที่ 1 โครงสร้างพื้นฐาน มี 10
ตัวชี้วัด หมวดที่ 2 สภาพพื้นฐานทางเศรษฐกิจ มี 10 ตัวชี้วัด หมวดที่ 3 สุขภาวะและอนามัย มี 7
ตัวชี้วัด หมวดที่ 4 ความรู้และการศึกษา มี 4 ตัวชี้วัด หมวดที่ 5 การมีส่วนร่วมและความเข้มแข็ง
ของชุมชน มี 5 ตัวชี้วัด หมวดที่ 6 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มี 5 ตัวชี้วัด และหมวดที่ 7
ความเสี่ยงของชุมชนและภัยพิบัติ มี 3 ตัวชี้วัด สำหรับกลไกและกระบวนการบริหารจัดเก็บข้อมูลให้มี
คุณภาพ ต้องมีกลไกควบคุมคุณภาพในทุกระดับ ดังนี้ คณะกรรมการอำนวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิต
ของประชาชน (พชช.) คณะทำงานบริหารการจัดเก็บข้อมูลฯ ระดับจังหวัด คณะทำงานบริหารการจัดเก็บ
ข้อมูลฯ ระดับอำเภอ คณะทำงานบริหารการจัดเก็บข้อมูลฯ ระดับตำบล และคณะผู้จัดเก็บข้อมูลระดับ
หมู่บ้าน โดยมีกระบวนการที่มีคุณภาพ ดังนี้การสร้างความรู้ความเข้าใจ การออกแบบวิธีการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล การบันทึกและประมวลข้อมูล การตรวจทานข้อมูล และการนำเสนอข้อมูลเพื่อการใช้
ประโยชน์ร่วมกันในทุกระดับ ข้อเสนอแนะเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บข้อมูลควรให้คนในชุมชนและ
องค์กรหน่วนงานที่เกี่ยวข้องเห็นความสำคัญในการให้ข้อมูลและการจัดเก็บข้อมูลโดยการสร้างการมี
ส่วนร่วมในการจัดเก็บข้อมูล และควรมีการฝึกอบรมและเพิ่มองค์ความรู้ให้กับผู้จัดเก็บข้อมูลอย่างเข้มข้น
รวมทั้งการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรับทราบถึงระยะเวลาในการจัดเก็บข้อมูลรวมกันทั้งประเทศ

คำสำคัญ: คุณภาพชีวิตประชาชน,ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.),ข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by vasusamran55, 2021-07-01 09:24:14

โครงการจัดทำเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.)และข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) ฉบับที่ 13 (พ.ศ.2565-2569)

การพัฒนาเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพื้นฐาน
ระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) เป็นเครื่องมือในการวางแผนพัฒนาให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ และจะมีการปรับปรุงทุก ๆ 5 ปี ในปี พ.ศ. 2565 เป็นปีเริ่มต้นของแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (2565 - 2569) จึงมีความจำเป็นต้องใช้เครื่องชี้วัด เกณฑ์ชี้วัดและ
แบบสอบถามชุดใหม่สำหรับจัดเก็บข้อมูล จปฐ. และข้อมูล กชช. 2ค ให้สอดคล้องกับเป้าหมาย
การพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) และแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561 – 2580) และการควบคุม
คุณภาพการจัดเก็บข้อมูลและรูปแบบการรายงานด้วยระบบสารสนเทศที่รองรับความต้องการของทุก
ภาคส่วน การศึกษาครั้งนี้มีวิธีศึกษาจากการวิเคราะห์ประมวลผลจากการสอบถามความคิดเห็นผู้ใช้ข้อมูล
จปฐ. และข้อมูล กชช. 2ค เกี่ยวกับปัญหาและความต้องการของผู้ใช้ข้อมูล (ส่วนภูมิภาค) กระจายตาม
ภูมิภาค จำนวน 8 จังหวัด จังหวัดละ 5 หน่วยงาน รวม 40 หน่วยงาน และการวิเคราะห์ประมวลผลจาก
ประชุมรับฟังความคิดเห็นของคณะทำงานปรับปรุงเครื่องชี้วัดคุณภาพชีวิตของประชาชน และ
คณะกรรมการอำนวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน (พชช.)
ผลการศึกษา พบว่า การใช้แบบสอบถามข้อมูล จปฐ. และแบบสอบถามข้อมูล กชช. 2ค
สำหรับใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ปรับระยะเวลาการเริ่มใช้ให้สอดคล้อง
กับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 13 และแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี จึงเริ่มใช้ระหว่าง
พ.ศ.2566 – 2570 เครื่องชี้วัดข้อมูล จปฐ. ที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูลช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติฉบับที่ 13 ( พ.ศ.2566 - พ.ศ. 2570) ประกอบด้วย 5 หมวด 38 ตัวชี้วัด ได้แก่ หมวดที่ 1
สุขภาพ มี 12 ตัวชี้วัด หมวดที่ 2 มาตรฐานความเป็นอยู่ มี 9 ตัวชี้วัด หมวดที่ 3 การศึกษา มี 5 ตัวชี้วัด
หมวดที่ 4 เศรษฐกิจ มี 4 ตัวชี้วัด และหมวดที่ 5 การคุ้มครองทางสังคมและการมีส่วนร่วม มี 8 ตัวชี้วัด
และเครื่องชี้วัดข้อมูล กชช. 2ค สำหรับใช้ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13
(พ.ศ. 2566 - 2570) ประกอบด้วย 7 หมวด 44 ตัวชี้วัด ดังนี้ หมวดที่ 1 โครงสร้างพื้นฐาน มี 10
ตัวชี้วัด หมวดที่ 2 สภาพพื้นฐานทางเศรษฐกิจ มี 10 ตัวชี้วัด หมวดที่ 3 สุขภาวะและอนามัย มี 7
ตัวชี้วัด หมวดที่ 4 ความรู้และการศึกษา มี 4 ตัวชี้วัด หมวดที่ 5 การมีส่วนร่วมและความเข้มแข็ง
ของชุมชน มี 5 ตัวชี้วัด หมวดที่ 6 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มี 5 ตัวชี้วัด และหมวดที่ 7
ความเสี่ยงของชุมชนและภัยพิบัติ มี 3 ตัวชี้วัด สำหรับกลไกและกระบวนการบริหารจัดเก็บข้อมูลให้มี
คุณภาพ ต้องมีกลไกควบคุมคุณภาพในทุกระดับ ดังนี้ คณะกรรมการอำนวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิต
ของประชาชน (พชช.) คณะทำงานบริหารการจัดเก็บข้อมูลฯ ระดับจังหวัด คณะทำงานบริหารการจัดเก็บ
ข้อมูลฯ ระดับอำเภอ คณะทำงานบริหารการจัดเก็บข้อมูลฯ ระดับตำบล และคณะผู้จัดเก็บข้อมูลระดับ
หมู่บ้าน โดยมีกระบวนการที่มีคุณภาพ ดังนี้การสร้างความรู้ความเข้าใจ การออกแบบวิธีการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล การบันทึกและประมวลข้อมูล การตรวจทานข้อมูล และการนำเสนอข้อมูลเพื่อการใช้
ประโยชน์ร่วมกันในทุกระดับ ข้อเสนอแนะเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บข้อมูลควรให้คนในชุมชนและ
องค์กรหน่วนงานที่เกี่ยวข้องเห็นความสำคัญในการให้ข้อมูลและการจัดเก็บข้อมูลโดยการสร้างการมี
ส่วนร่วมในการจัดเก็บข้อมูล และควรมีการฝึกอบรมและเพิ่มองค์ความรู้ให้กับผู้จัดเก็บข้อมูลอย่างเข้มข้น
รวมทั้งการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรับทราบถึงระยะเวลาในการจัดเก็บข้อมูลรวมกันทั้งประเทศ

คำสำคัญ: คุณภาพชีวิตประชาชน,ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.),ข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค)

เสนอ
กรมการพัฒนาชมุ ชน
กระทรวงมหาดไทย
โดย
สํานักงานศูนยวจิ ยั และใหคําปรึกษา
แหง มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร
มิถนุ ายน 2564

รายงานฉบบั สมบรู ณ์

โครงการจดั ทำเคร่ืองช้วี ัดและแบบสอบถามข้อมลู ความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และ
ข้อมูลพนื้ ฐานระดับหม่บู า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ
และสังคมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

เสนอ
กรมการพฒั นาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

โดย
สำนักงานศนู ย์วิจัยและใหค้ ำปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

รายงานฉบบั สมบรู ณ์

โครงการจัดทำเคร่ืองชวี้ ัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และ
ขอ้ มลู พื้นฐานระดบั หมู่บ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ
และสังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

โดย หัวหน้าโครงการ
นกั วจิ ัย
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยร์ ณรงค์ จันใด ผู้ช่วยนักวิจยั
อาจารย์ ดร.กาญจนา รอดแก้ว ผูช้ ่วยนกั วิจยั
นางสาวกัญญารตั น์ สโุ กพนั ธ์
นางสาววปิ ศั ยา โพธบิ ุตร

คณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์
มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

สำนักงานศูนยว์ ิจยั และให้คำปรึกษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

เสนอ
กรมการพัฒนาชมุ ชน กระทรวงมหาดไทย

มถิ นุ ายน พ.ศ.2564

รายงานฉบับสมบูรณ์

โครงการจัดทำเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และข้อมูล
พื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) สำหรับใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

โดย หัวหน้าโครงการ
นกั วิจัย
ผู้ชว่ ยศาสตราจารยร์ ณรงค์ จันใด ผู้ชว่ ยนกั วิจยั
อาจารย์ ดร.กาญจนา รอดแกว้ ผู้ช่วยนกั วจิ ยั
นางสาวกัญญารตั น์ สโุ กพันธ์
นางสาววปิ ศั ยา โพธิบุตร

คณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

พิมพค์ รงั้ แรก มถิ ุนายน 2564

-----------------------------------------------------------------------------------------

จัดพมิ พโ์ ดย บริษทั จรลั สนทิ วงศก์ ารพิมพ์

219 ซอย 102/2 ถนนเพชรเกษม แขวงบางแคเหนอื

เขตบางแค กรุงเทพฯ 10160.

โทรศพั ท:์ 0-2809-2282-3 โทรสาร: 0-2809-2279

-----------------------------------------------------------------------------------------

พมิ พ์ที่ บรษิ ทั จรลั สนทิ วงศก์ ารพมิ พ์

จัดทำรปู เลม่ นางสาวสุธิมา วุฒิการ

รายงานฉบับสมบูรณโ์ ครงการจดั ทำเคร่อื งชี้วัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพนื้ ฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พนื้ ฐาน
ระดบั หมูบ่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

คำนำ

ตามที่กรมการพัฒนาชุมชนได้พัฒนาเครื่องชี้วัด และแบบสอบถามข้อมูล จปฐ. และข้อมูล
กชช. ๒ค สำหรับเก็บข้อมูลตามภารกิจที่ได้รับมอบหมาย โดยได้กำหนดห้วงเวลาในการปรับปรุงเครื่อง
ชี้วัดและแบบสอบถามเป็นประจำทุก ๕ ปี เพื่อให้การวางแผนพัฒนา ดำเนินได้อย่างสอดคล้องกับ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ซึ่งในปี พ.ศ. 2565 เป็นปีเริ่มตน้ ของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 13 (2565 - 2569) ดงั นั้น หว้ งเวลาดงั กล่าว จึงมีความจำเปน็ ต้องใช้เครื่องชี้วัด
เกณฑ์ช้วี ดั และแบบสอบถามชดุ ใหมส่ ำหรบั จดั เก็บข้อมูล จปฐ. และขอ้ มลู กชช. 2ค โดยกรอบแนวคิดใน
การปรับปรุงเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูล จปฐ. และข้อมูล กชช. 2ค ดังกล่าว คณะกรรมการ
อำนวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน (พชช.) มีมติเห็นชอบ ให้ดำเนินการภายใต้เป้าหมาย
การพัฒนาท่ยี ัง่ ยืน (SDGs) และแผนยุทธศาสตรช์ าติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖1 – ๒๕80)

ด้วยความสำคัญดังกล่าว กรมการพัฒนาชุมชน จึงได้จัดทำโครงการจัดทำเครื่องชี้วัดและ
แบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) สำหรับใช้
ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569) วัตถุประสงค์เพื่อศึกษา
ออกแบบเครื่องชี้วัด เกณฑ์ชี้วัดและข้อคำถามสำหรับจดั เก็บข้อมลู จปฐ. และข้อมูล กชช. ๒ค วิเคราะห์
แนวโน้มการพัฒนาคุณภาพชีวติ แนวทางควบคุมคุณภาพการจัดเก็บข้อมูล และรูปแบบการรายงานด้วย
ระบบสารสนเทศท่รี องรับความตอ้ งการของทุกภาคส่วน และในคร้ังนี้ กรมการพฒั นาชุมชน ได้มอบหมาย
ให้สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ดำเนินโครงการดังกล่าวเพื่อเป็น
แนวทางสำหรับใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)
รวมทั้งพัฒนารูปแบบควบคุมคุณภาพการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. และข้อมูล กชช. ๒ค ที่เป็นไปตามหลัก
วิชาการและมคี วามสอดคล้องกบั บรบิ ทของชมุ ชน และรองรบั ความตอ้ งการของทกุ ภาคส่วนน้ัน

รายงานฉบับนี้ เป็นผลการศึกษาฉบับสมบูรณ์ ประกอบด้วย ความเป็นมาและความสำคัญ
กรอบแนวคิด แนวทางและวิธีการศึกษา แผนการดำเนินงาน ขั้นตอนการดำเนินงาน และการบริหาร
โครงการ รวมทั้งผลวิเคราะห์ประมวลผลจากการสอบถามความคิดเห็นผู้ใช้ข้อมูล จปฐ. และ กชช. 2ค
เกี่ยวกับปัญหาและความต้องการ ของผู้ใช้ข้อมูล (ส่วนภูมิภาค) จำนวน 8 จังหวัด ผลการวิเคราะห์
ประมวลผลจากการสอบถามความคิดเห็นคณะทำงานปรับปรุงเครื่องชว้ี ดั คุณภาพชีวิตของประชาชนและ
คณะกรรมการอำนวยการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน (พชช.) และแบบสอบถามและเกณฑ์ชี้วัด
ข้อมลู จปฐ. และแบบสอบถามและเกณฑ์การจดั ระดับการพัฒนาหมูบ่ ้าน สำหรับข้อมูล กชช. 2ค เพื่อให้
กรมการพฒั นาชมุ ชนใช้ประโยชน์ในการพัฒนางานต่อไป

คณะผวู้ ิจัย
มถิ ุนายน 256๔



รายงานฉบับสมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเคร่ืองช้ีวดั และแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พนื้ ฐาน
ระดบั หมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

บทคัดย่อ

การพฒั นาเครอ่ื งชี้วดั และแบบสอบถามข้อมูลความจำเปน็ พืน้ ฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพ้ืนฐาน
ระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) เป็นเครื่องมือในการวางแผนพัฒนาให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ และจะมกี ารปรับปรุงทุก ๆ 5 ปี ในปี พ.ศ. 2565 เป็นปีเร่ิมต้นของแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (2565 - 2569) จึงมีความจำเป็นต้องใช้เครื่องชี้วัด เกณฑ์ชี้วัดและ
แบบสอบถามชุดใหม่สำหรับจัดเก็บข้อมูล จปฐ. และข้อมูล กชช. 2ค ให้สอดคล้องกับเป้าหมาย
การพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) และแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561 – 2580) และการควบคุม
คุณภาพการจัดเก็บข้อมูลและรูปแบบการรายงานด้วยระบบสารสนเทศที่รองรับความต้องการของทุก
ภาคสว่ น การศกึ ษาคร้ังนี้มวี ธิ ศี ึกษาจากการวิเคราะหป์ ระมวลผลจากการสอบถามความคดิ เห็นผู้ใช้ข้อมูล
จปฐ. และข้อมูล กชช. 2ค เกี่ยวกับปัญหาและความต้องการของผู้ใช้ข้อมูล (ส่วนภูมิภาค) กระจายตาม
ภูมภิ าค จำนวน 8 จังหวดั จังหวัดละ 5 หน่วยงาน รวม 40 หน่วยงาน และการวเิ คราะหป์ ระมวลผลจาก
ประชุมรับฟังความคิดเห็นของคณะทำงานปรับปรุงเครื่องชี้วัดคุณภาพชีวิตของประชาชน และ
คณะกรรมการอำนวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวติ ของประชาชน (พชช.)

ผลการศึกษา พบว่า การใช้แบบสอบถามข้อมูล จปฐ. และแบบสอบถามข้อมูล กชช. 2ค
สำหรับใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ปรับระยะเวลาการเริ่มใช้ให้สอดคล้อง
กับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับท่ี 13 และแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี จึงเริ่มใชร้ ะหวา่ ง
พ.ศ.2566 – 2570 เครื่องชี้วัดข้อมลู จปฐ. ที่ใช้ในการจดั เกบ็ ขอ้ มลู ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคม
แห่งชาติฉบับที่ 13 ( พ.ศ.2566 - พ.ศ. 2570) ประกอบด้วย 5 หมวด 38 ตัวชี้วัด ได้แก่ หมวดที่ 1
สขุ ภาพ มี 12 ตวั ช้ีวัด หมวดท่ี 2 มาตรฐานความเปน็ อยู่ มี 9 ตวั ช้วี ัด หมวดที่ 3 การศกึ ษา มี 5 ตวั ชี้วดั
หมวดที่ 4 เศรษฐกิจ มี 4 ตวั ชว้ี ัด และหมวดที่ 5 การคุ้มครองทางสังคมและการมีส่วนรว่ ม มี 8 ตัวชี้วัด
และเครื่องชี้วัดข้อมูล กชช. 2ค สำหรับใช้ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13
(พ.ศ. 2566 - 2570) ประกอบด้วย 7 หมวด 44 ตัวชี้วัด ดังนี้ หมวดที่ 1 โครงสร้างพื้นฐาน มี 10
ตัวชี้วัด หมวดที่ 2 สภาพพื้นฐานทางเศรษฐกิจ มี 10 ตัวชี้วัด หมวดที่ 3 สุขภาวะและอนามัย มี 7
ตัวชี้วัด หมวดที่ 4 ความรู้และการศึกษา มี 4 ตัวชี้วัด หมวดที่ 5 การมีส่วนร่วมและความเข้มแข็ง
ของชุมชน มี 5 ตัวชี้วัด หมวดที่ 6 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มี 5 ตัวชี้วัด และหมวดที่ 7
ความเสี่ยงของชุมชนและภัยพิบัติ มี 3 ตัวชี้วัด สำหรับกลไกและกระบวนการบริหารจัดเก็บข้อมูลให้มี
คุณภาพ ต้องมีกลไกควบคุมคุณภาพในทุกระดับ ดังนี้ คณะกรรมการอำนวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิต
ของประชาชน (พชช.) คณะทำงานบริหารการจดั เก็บขอ้ มูลฯ ระดับจงั หวดั คณะทำงานบริหารการจดั เก็บ
ข้อมูลฯ ระดับอำเภอ คณะทำงานบริหารการจัดเก็บข้อมูลฯ ระดับตำบล และคณะผู้จัดเก็บข้อมูลระดับ
หมบู่ า้ น โดยมีกระบวนการทีม่ คี ุณภาพ ดงั นก้ี ารสร้างความรู้ความเข้าใจ การออกแบบวิธกี ารจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล การบันทึกและประมวลข้อมูล การตรวจทานข้อมูล และการนำเสนอข้อมูลเพื่อการใช้
ประโยชนร์ ่วมกนั ในทุกระดับ ขอ้ เสนอแนะเพ่ือเพม่ิ ประสิทธภิ าพการจัดเก็บข้อมูลควรให้คนในชุมชนและ
องค์กรหน่วนงานที่เกี่ยวข้องเห็นความสำคัญในการให้ข้อมูลและการจัดเก็บข้อ มูลโดยการสร้างการมี
สว่ นร่วมในการจัดเก็บข้อมูล และควรมีการฝกึ อบรมและเพ่ิมองค์ความรู้ให้กับผู้จัดเกบ็ ข้อมูลอย่างเข้มข้น
รวมทง้ั การประชาสัมพนั ธ์ใหป้ ระชาชนรับทราบถึงระยะเวลาในการจดั เกบ็ ข้อมลู รวมกันท้ังประเทศ
คำสำคญั : คุณภาพชวี ติ ประชาชน,ขอ้ มูลความจำเป็นพน้ื ฐาน (จปฐ.),ข้อมูลพื้นฐานระดบั หมบู่ ้าน (กชช. 2ค)



รายงานฉบับสมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเครือ่ งชี้วดั และแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พื้นฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพ้นื ฐาน
ระดบั หม่บู า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ABSTRACT

The development of indicators and questionnaire on basic minimum needs
(BMN) and village database (Kor.Chor.Chor.2.Kor) as tools for development planning that
conforms with the National Economic and Social Development Plan and will be revise
every 5 years. 2022 will be the commencement year of the 13th National Economic and
Social Development Plan (2022 – 2026) hence the need for new indicators, criterions and
questionnaires for collecting BMN and Kor.Chor.Chor.2.Kor data that conforms with the
Sustainable Development Goals (SDGs) and National Strategic Plan (2018 - 2037). Quality
control on data collection and report format will use information technology system that
supports the need of all sectors. This research’s methodology uses analytical processing
obtained from questionnaires of BMN and Kor.Chor.Chor.2.Kor data users regarding their
issues and needs (regional-level) divided into 8 provinces, 5 agencies per province, a total
of 40 agencies. The analytical processing will also be obtained from comments collected
at meetings by committee members for indicator development for better quality
of life and committee on supervising people’s quality of life development tasks
(Phor.Chor.Chor).

The research has found out that the duration of BMN data questionnaires and
Kor.Chor.Chor.2.Kor data questionnaires that are used during 13th National Economic and
Social Development Plan have been adjusted to conform with 13th National Economic
and Social Development Plan and 20-Year National Strategic Plan. The date of use is
therefore between 2023 – 2026. The indicators for BMN data for collecting data during
13th National Economic and Social Development Plan (2023 – 2026) comprise of 5
categories, 38 indicators such as category 1: health (12 indicators); category 2: livelihood
standard (9 indicators); category 3: education (5 indicators); category 4: economy
(4 indicators) and category 5 (social protection and inclusion) (8 indicators) and indicators
for Kor.Chor.Chor.2.Kor data for use during 13th National Economic and Social Development
Plan (2023 – 2026) comprises of the following 7 categories, 44 indicators: category 1:
infrastructure (10 indicators); category 2: economic foundation (10 indicators); category 3:
wellbeing and sanitation (7 indicators); category 4: knowledge and education (4 indicators);
category 5: inclusion and community strength (5 indicators); category 6: natural resources
and environment (5 indicators); and category 7: community risks and disasters
(3 indicators). In order to create a quality mechanism and procedure for collecting data,
quality control mechanism is required on all level. As such, the committee on supervising
people’s quality of life development tasks (Phor.Chor.Chor), provincial committee on data
collection, district committee on data collection, sub-district committee on data
collection and village committee on data collection. The quality procedures include
creating understanding and knowledge, designing data collection method, data collection,

รายงานฉบับสมบูรณโ์ ครงการจัดทำเครือ่ งชี้วดั และแบบสอบถามข้อมลู ความจำเป็นพ้ืนฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พื้นฐาน
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

data recording and processing, data verification and utilizing data on all level. For
additional suggestions to increase data collection efficiency, community members and
concerning agencies should see the importance of providing and collecting data through
inclusion. Data collectors should also be provided with intense training and gaining
knowledge. The public should also be notified of the data collection on a nationwide
scale.
Keywords: people’s quality of life, basic minimum needs (BMN), village database

(Kor. Chor.Chor.2.Kor)



รายงานฉบับสมบูรณโ์ ครงการจัดทำเครอ่ื งช้วี ดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพ้ืนฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พน้ื ฐาน หนา้
ระดบั หมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

สารบัญ

คำนำ

บทคดั ยอ่
1
ABSTRACT
3
บทท่ี 1 บทนำ 4
4
1.1. หลักการและเหตุผล 4
1.2. วตั ถปุ ระสงค์ 5
1.3. เปา้ หมายความสำเรจ็ ของโครงการ 5
1.4. ผลทีค่ าดวา่ จะไดร้ บั 8
1.5. กรอบการดำเนนิ งาน 10
1.6. ขอบเขตการดำเนินงาน 11
1.7. วิธกี ารศกึ ษา 13
1.8. การวิเคราะห์ขอ้ มูลและการตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูล
1.9. ข้นั ตอนการศึกษาและแผนการดำเนนิ งาน 15
1.10. การบรหิ ารโครงการ
17
บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรมทีเ่ กี่ยวข้อง 17
20
2.1 นโยบายและยทุ ธศาสตร์การพฒั นาประเทศ 31
2.1.1 ยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี 35
2.1.2 ทบทวนแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติฉบับที่ 12 35
2.1.3. กรอบแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติฉบบั ที่ 13 42
46
2.2 กรอบ แนวคดิ การจัดทำตัวชว้ี ดั การพัฒนามนษุ ย์ทง้ั ในประเทศและต่างประเทศ 48
2.2.1 แนวคิดการพฒั นาทีย่ งั่ ยนื
2.2.2 แนวคดิ ความม่ันคงของมนษุ ย์ หน้า
2.2.3 แนวคิดการพัฒนามนุษย์
2.2.4 แผนยุทธศาสตร์ความม่ันคงของมนุษย์ พ.ศ. 2556-2566

รายงานฉบับสมบรู ณโ์ ครงการจดั ทำเครอ่ื งชวี้ ัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเปน็ พ้ืนฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พน้ื ฐาน
ระดับหมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

2.2.5 การจดั ทำเป้าหมายการพฒั นาท่ยี งั่ ยืน (Sustainable Development Goals) 49
2.2.6 ตวั ชวี้ ดั การพฒั นามนษุ ย์ (Human Development Index (HDI)) 66
2.2.7 ตวั ชว้ี ดั ความอย่ดู ีมสี ขุ (Well-being Composite Index) 70
2.3 หลักการและความสำคัญของการจดั เกบ็ ขอ้ มูลความจำเป็นพืน้ ฐาน (เคร่ืองช้ีวัด 75
จปฐ. ปี 2565 - 2569)
หมวดท่ี 1 สขุ ภาพ 75
หมวดที่ 2 มาตรฐานความเป็นอยู่ 78
หมวดที่ 3 การศกึ ษา 81
หมวดที่ 4 เศรษฐกิจ 83
หมวดท่ี 5 การคุม้ ครองทางสังคมและการมสี ่วนรว่ ม 85
2.4 หลกั การและความสำคัญของการจดั เกบ็ ข้อมลู พื้นฐานระดับหมูบ่ ้าน (เคร่อื งชี้วดั 87
กชช. 2ค ปี 2565 - 2569)
หมวดท่ี 1 โครงสรา้ งพื้นฐาน 11 ตัวชวี้ ดั 89
หมวดท่ี 2 สภาพพ้นื ฐานทางเศรษฐกิจ 7 ตัวช้วี ดั 90
หมวดที่ 3 สขุ ภาวะและอนามัย 6 ตวั ชว้ี ัด 90
หมวดท่ี 4 ความรู้และการศึกษา 3 ตัวช้ีวดั 90
หมวดท่ี 5 การมีส่วนรว่ มและความเขม้ แขง็ ของชมุ ชน 5 ตัวชว้ี ัด 91
หมวดที่ 6 ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม 5 ตวั ชี้วัด 91
หมวดท่ี 7 ความเส่ยี งของชุมชนและภยั พบิ ตั ิ 3 ตัวชีว้ ัด 92

บทท่ี 3 ผลการศึกษา 93

3.1 ผลการจัดทำเครื่องชว้ี ัดและแบบสอบถามข้อมลู ความจำเป็นพน้ื ฐาน (จปฐ.) และ 95
ขอ้ มูลพ้ืนฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค)
3.1.1 การจัดทำเครอื่ งช้ีวัดข้อมลู ความจำเป็นพืน้ ฐาน (จปฐ.) 95
3.1.2 การจัดทำเครอื่ งชว้ี ดั ข้อมูลพืน้ ฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) 99
105
3.2 ผลการพฒั นารปู แบบควบคมุ คุณภาพการจดั เกบ็ ข้อมูล จปฐ. และข้อมลู กชช. ๒ค
ท่ีเปน็ ไปตามหลกั วิชาการ และมีความสอดคล้องกบั บรบิ ทของชมุ ชน 105
3.2.1 กลไกและกระบวนการบรหิ ารจัดเกบ็ ข้อมลู ความจำเป็นพ้ืนฐาน (จปฐ) 111
3.2.2 กลไกและกระบวนการบริหารจดั เก็บข้อมูลพื้นฐานระดบั หมูบ่ ้าน (กชช.2ค) 117

3.3 ผลการพฒั นารูปแบบการรายงานขอ้ มลู จปฐ. และขอ้ มลู กชช.๒ ค ดว้ ยระบบ 117
สารสนเทศทีร่ องรับความต้องการของทุกภาคส่วน 146
3.3.1 รูปแบบการรายงานข้อมูลความจำเป็นพน้ื ฐาน (จปฐ.)
3.3.2 รปู แบบการรายงานขอ้ มูลพ้นื ฐานระดบั หมบู่ ้าน (กชช. 2ค)



รายงานฉบบั สมบูรณโ์ ครงการจดั ทำเครื่องชวี้ ดั และแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พ้นื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพ้ืนฐาน 210
ระดบั หมูบ่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ่วงแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

3.4 ขอ้ เสนอกลไกและกระบวนการบริหารจัดเก็บ เพื่อให้ได้รูปแบบการควบคมุ
คุณภาพการจดั เกบ็ ข้อมูลทเี่ ป็นไปตามหลกั วิชาการ และมีความสอดคล้องกับ
บริบทของชมุ ชน

บทท่ี 4 บทสรปุ และข้อเสนอแนะ 213

4.1 บทสรุป 215
4.1.1 ความเชื่อมโยงกับแผนพัฒนาและยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ 215
4.1.2 ความเชอ่ื มโยงกบั แผนพฒั นาและยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาประเทศของข้อมลู 224
พ้ืนฐานระดับหมบู่ า้ น กชช. 2ค 229
4.1.3 การเปรยี บเทยี บเครอ่ื งชวี้ ัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พ้ืนฐาน (จปฐ.)
และขอ้ มูลพนื้ ฐานระดับหมูบ่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ชว่ งแผนพฒั นา 233
เศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569) กับ 234
แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) 235
4.1.4 การนำข้อมูลไปใช้ประโยชนเ์ พ่อื การวางแผนพฒั นา 235
4.1.5 ปัญหาและอปุ สรรคการจดั เก็บข้อมลู ความจำเปน็ พื้นฐาน จปฐ. และข้อมูล 235
พื้นฐานระดบั หมู่บ้านกชช.ค ทผี่ ่านมา
236
4.2 ขอ้ เสนอแนะ
4.2.1 ข้อเสนอรปู แบบรายงานขอ้ มูลดว้ ยระบบสารสนเทศท่รี องรับความต้องการ
ทกุ ภาคส่วน
4.2.2 ขอ้ เสนอแนะต่อกลไกและกระบวนการบรหิ ารจัดเก็บเพือ่ ใหไ้ ดร้ ูปแบบการ
ควบคุมคุณภาพการจดั เก็บข้อมูลท่ีเป็นไปตามหลกั วชิ าการและมีความ
สอดคล้องกับบรบิ ทของชมุ ชน
4.2.3 ข้อเสนอแนะอน่ื ๆ

บรรณานกุ รม 237

ภาคผนวก 247

ภาคผนวก ก. แบบสอบถามข้อมลู ความจำเป็นพนื้ ฐาน 249
ภาคผนวก ข. แบบสอบถามข้อมลู พน้ื ฐานระดบั หม่บู ้าน (กชช. 2ค) 297
ภาคผนวก ค. ความสอดคล้องข้อมูลความจำเป็นพ้นื ฐานและข้อมูลพนื้ ฐานระดับหมบู่ า้ นกับ 409

ตวั ชว้ี ัดการพฒั นาทีย่ ง่ั ยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) 505
ภาคผนวก ง. ความสอดคล้องขอ้ มูลความจำเป็นพืน้ ฐานและข้อมูลพื้นฐานระดับหมบู่ ้านกับ

ยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580)

รายงานฉบบั สมบูรณโ์ ครงการจัดทำเคร่อื งชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเปน็ พน้ื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พนื้ ฐาน
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ภาคผนวก จ. รายงานการประชมุ คณะทำงานจดั ทำเคร่อื งชีว้ ัดและแบบสอบถามข้อมูลความ 553
จำเปน็ พ้นื ฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพน้ื ฐานระดับหม่บู า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ่วง 575
แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ภาคผนวก ฉ. รายงานการประชุมคณะกรรมการอำนวยการงานพฒั นาคุณภาพชวี ติ ของ
ประชาชน (พชช.) ครงั้ ที่ 2/2564

บุคลากรประจำโครงการ 621



รายงานฉบับสมบูรณโ์ ครงการจัดทำเครื่องชีว้ ดั และแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พ้นื ฐาน
ระดบั หมูบ่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

บทท่ี 1
บทนำ

1

รายงานฉบบั สมบรู ณ์โครงการจดั ทำเครื่องชี้วดั และแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพ้นื ฐาน
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ่วงแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

2

รายงานฉบับสมบูรณโ์ ครงการจดั ทำเครอื่ งช้ีวดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พน้ื ฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พ้นื ฐาน
ระดับหมูบ่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

บทท่ี 1
บทนำ

๑.1 หลกั การและเหตผุ ล

คณะรัฐมนตรี มีมติเมื่อวันที่ 22 กันยายน 2530 อนุมัติให้จัดเก็บข้อมูลพื้นฐานระดับ
หมู่บ้าน (กชช. 2ค) เป็นประจำทุก 2 ปี ตั้งแต่ปี 2533 เป็นต้นมา และคณะกรรมการพัฒนาชนบท
แห่งชาติ (กชช.) มีมติเมื่อวันที่ 15 กันยายน 2532 มอบหมายให้กรมการพัฒนาชุมชน เป็นหน่วย
ประสานการจัดเก็บข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ซึ่งเป็นข้อมูลคุณภาพชีวิตระดับครัวเรือน
โดยกำหนดให้มกี ารจัดเกบ็ เป็นประจำทุกปี ตั้งแต่ปี 2533 เป็นต้นมา ประกอบกับคณะรัฐมนตรียงั มมี ติ
เมอื่ วันท่ี 21 กนั ยายน 2536 ใหท้ กุ หน่วยทีเ่ กยี่ วขอ้ งกับการพัฒนาชนบทใช้ข้อมลู กชช. 2ค และข้อมูล
จปฐ. ในการกำหนดนโยบายและแนวทางปฏิบัติงานพัฒนาชนบท วางแผนพัฒนา อนุมัติโครงการ
และติดตามการปฏิบัติงานโครงการการพัฒนาชนบท ท้ังนี้ กรมการพัฒนาชุมชนได้พัฒนาเครื่องชี้วัด
และแบบสอบถามข้อมูล จปฐ .และข้อมูล กชช. ๒ค สำหรับเก็บข้อมูลตามภารกิจที่ได้รับมอบหมาย
โดยได้กำหนดห้วงเวลาในการปรับปรุงเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามเป็นประจำทุก ๕ ปี เพื่อให้
การวางแผนพัฒนา ดำเนินได้อย่างสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ซึ่งในปี
พ.ศ. 2565 เป็นปีเริ่มต้นของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (2565 - 2569)
ดังนั้น ห้วงเวลาดังกล่าว จึงมีความจำเป็นต้องใช้เครื่องชี้วัด เกณฑ์ชี้วัดและแบบสอบถามชุดใหม่สำหรับ
จดั เก็บข้อมลู จปฐ. และข้อมลู กชช. 2ค

กรอบแนวคิดในการปรับปรงุ เคร่ืองชี้วัดและแบบสอบถามข้อมลู จปฐ. และข้อมูล กชช. 2ค
ดังกล่าว คณะกรรมการอำนวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน (พชช.) มีมติเห็นชอบ ให้
ดำเนินการภายใต้เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) และแผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖1 –
๒๕80) โดยกระทรวงมหาดไทยได้มีคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานปรับปรุงเครื่องชี้วัดคุณภาพชีวิตของ
ประชาชน ทั้งน้ี ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กรมการพัฒนาชุมชน ได้จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพ่ือ
พิจารณาร่างเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูล จปฐ. และ กชช. 2ค กลุ่มเป้าหมายคือ คณะทำงาน
ปรับปรุงเครื่องชี้วัดคุณภาพชีวิตของประชาชน เพื่อเตรียมพร้อมต่อกระบวนการสร้างความเชื่อมั่น
(Reliability) ตามหลักวิชาการทางสถิติ และทดสอบการจัดเก็บ ด้วยความสำคญั ดังกลา่ ว กรมการพัฒนา
ชุมชน จึงได้จัดทำโครงการจัดทำเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และ
ข้อมูลพนื้ ฐานระดบั หมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 13
(พ.ศ. 2565 - 2569) วัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ออกแบบเครื่องชี้วัด เกณฑ์ชี้วัดและข้อคำถามสำหรับ
จัดเก็บข้อมูล จปฐ. และข้อมูล กชช. ๒ค วิเคราะห์แนวโน้มการพัฒนาคุณภาพชีวิต แนวทางควบคุม
คุณภาพการจัดเก็บข้อมูล และรูปแบบการรายงานด้วยระบบสารสนเทศที่รองรับความต้องการของ
ทกุ ภาคสว่ น

สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งมีภารกิจใน
การใหบ้ ริการดำเนนิ โครงการต่าง ๆ ใหส้ ำเร็จบรรลุเปา้ หมาย สรา้ งความพงึ พอใจแก่ผูร้ ับบริการ และเป็น

3

รายงานฉบบั สมบรู ณ์โครงการจัดทำเครือ่ งชี้วดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพืน้ ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พ้ืนฐาน
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ส่วนหนึ่งในการช่วยสนบั สนุนมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ไปสเู่ ป้าหมายในการสร้างผู้นำ ดว้ ยการศึกษาและ
การวิจัยระดับนานาชาติ โดยเฉพาะด้านการวางแผนพัฒนา และการบริการทางวิชาการแก่สังคมใน
ด้านการพัฒนาชุมชน อีกทั้งยังมีบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญมีความรู้ ประสบการณ์ และผลงานมี
การศึกษาวิจัยเป็นที่ยอมรับทั้งในระดับชาติและนานาชาติ รวมถึงยังมีหลักสูตรการเรียนการสอนใน
เรื่องท่ีเกี่ยวข้อง ในการนี้สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จึงขอยื่น
ข้อเสนอเทคนิคและข้อเสนอราคาพร้อมเอกสารต่อกรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
เพื่อวิเคราะห์ร่างเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูล จปฐ. และข้อมูล กชช. 2ค ของกรมการพัฒนา
ชุมชน ให้มีความสอดคลอ้ งกบั เปา้ หมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) และแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และ
จัดทำร่างแนวทางและขั้นตอนสร้างความเชือ่ มั่น (Reliability) ในการจัดทำแบบสอบถามและเกณฑ์ชี้วัด
ข้อมูล จปฐ. และแบบสอบถามและเกณฑ์การจดั ระดับการพัฒนาหมู่บ้าน สำหรับข้อมูล กชช. 2ค ต่อไป
ได้อย่างถกู ต้อง

1.๒ วัตถุประสงค์

1. จัดทำเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพื้นฐาน
ระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) และจัดทำแนวทางและขั้นตอนสร้างความเชื่อมั่น (Reliability) ตามหลัก
วิชาการทางสถิติ สำหรบั ใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

2. พัฒนารปู แบบควบคมุ คุณภาพการจัดเก็บข้อมลู จปฐ. และขอ้ มูล กชช. ๒ค ทีเ่ ปน็ ไปตาม
หลักวิชาการ และมีความสอดคลอ้ งกับบรบิ ทของชุมชน

3. พัฒนารูปแบบการรายงานข้อมูล จปฐ. และข้อมูล กชช.๒ ค ด้วยระบบสารสนเทศที่รองรับ
ความตอ้ งการของทุกภาคสว่ น

1.๓ เป้าหมายความสำเร็จของโครงการ

เครือ่ งช้ีวัด เกณฑ์ชี้วัดและข้อคำถามสำหรับจัดเกบ็ ข้อมลู จปฐ. และข้อมูล กชช. ๒ค เพ่ือใช้
ในการวิเคราะห์แนวโนม้ การพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต และข้อเสนอแนวทางควบคุมคุณภาพการจัดเก็บข้อมูล
และรูปแบบการรายงานดว้ ยระบบสารสนเทศที่รองรับความตอ้ งการของทุกภาคส่วน

1.๔ ผลทีค่ าดวา่ จะไดร้ ับ

1. กรมการพัฒนาชุมชนมีเครื่องชี้วัด เกณฑ์ช้ีวัดและข้อคำถามสำหรับจัดเก็บข้อมูล จปฐ. และ
ขอ้ มูล กชช. ๒ค เพือ่ ใช้ในการวิเคราะหแ์ นวโน้มการพฒั นาคุณภาพชีวติ

2. กรมการพัฒนาชุมชนมีแนวทางควบคุมคุณภาพการจัดเก็บข้อมูล และรูปแบบการรายงาน
ดว้ ยระบบสารสนเทศที่รองรบั ความตอ้ งการของทุกภาคส่วน

4

รายงานฉบับสมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเคร่อื งช้วี ัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พื้นฐาน
ระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) สำหรับใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

1.๕ กรอบการดำเนนิ งาน

ตามที่กรมการพัฒนาชุมชนได้พัฒนาเครื่องชี้วัด และแบบสอบถามข้อมูล จปฐ .และข้อมูล
กชช. ๒ค สำหรับเก็บข้อมูลตามภารกิจที่ได้รับมอบหมาย โดยได้กำหนดหว้ งเวลาในการปรบั ปรุงเคร่อื งช้ี
วัดและแบบสอบถามเป็นประจำทุก ๕ ปี เพื่อให้การวางแผนพัฒนา ดำเนินได้อย่างสอดคล้องกับ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ซึ่งในปี พ.ศ. 2565 เป็นปีเริ่มต้นของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (2565 - 2569) ดังนั้น เครื่องชี้วัด เกณฑ์ชี้วัดและแบบสอบถามชุดใหม่
สำหรับจัดเก็บข้อมูล จปฐ. และข้อมูล กชช. 2ค กรอบแนวคิดในการปรับปรุงเครื่องชี้วัดและ
แบบสอบถามข้อมูล จปฐ. และข้อมูล กชช. 2ค ดังกล่าว คณะกรรมการอำนวยการงานพัฒนาคุณภาพ
ชีวิตของประชาชน (พชช.) ใหด้ ำเนินการภายใต้เป้าหมายการพัฒนาที่ยง่ั ยนื (SDGs) และแผนยทุ ธศาสตร์
ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖1 – ๒๕80)

กรอบกำหนดทศิ ทาง รา่ งเคร่ืองชว้ี ดั และ
แบบสอบถามขอ้ มลู จปฐ.
เป้าหมายการพัฒนาท่ยี ่ังยืน
(SDGs) รา่ งขอ้ มูล กชช. 2ค

แผนยทุ ธศาสตรช์ าติ ๒๐ ปี
(พ.ศ. ๒๕๖1 – ๒๕80)

คณะทำงานปรบั ปรงุ เครื่องชีว้ ดั คุณภาพชีวิตของประชาชน

คณะกรรมการอำนวยการงานพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตของประชาชน (พชช.)

1.๖ ขอบเขตการดำเนินงาน

1. การบรหิ ารจัดการโครงการ
1.1 เสนอรายละเอียดแผนการดำเนินงาน ตลอดระยะเวลาตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุดโครงการ

และสามารถใช้งานได้จริงภายในระยะเวลาทก่ี ำหนด ในรูปแบบ Gantt Chart
1.2 โครงสร้างทีมงานด้านบุคลากร มีบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญและทีมงานที่มี

ประสบการณด์ ้านการศึกษาวิจัยในงานดา้ นการพัฒนาชุมชน และด้านการวิจัยประเมนิ ผล หรือดา้ นอน่ื ๆ
ที่เกย่ี วข้อง โดยระบุวุฒิการศึกษาและประสบการณท์ ำงานของบุคลากรหลัก ดังนี้

5

รายงานฉบบั สมบรู ณ์โครงการจดั ทำเครอื่ งช้ีวดั และแบบสอบถามข้อมลู ความจำเป็นพ้ืนฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พื้นฐาน
ระดับหมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

(๑) หัวหน้าโครงการ มีวุฒิการศึกษาตั้งแต่ระดับปริญญาโท ด้านการพัฒนาชุมชน และ
เปน็ ผทู้ ่มี ีความร้คู วามเชีย่ วชาญ มปี ระสบการณแ์ ละงานวจิ ยั ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง ไมน่ ้อยกวา่ 10 ปี จำนวน ๑ คน

(๒) นักวิจัย วุฒิการศึกษาตั้งแต่ระดับปริญญาโท ด้านการพัฒนาชุมชน และเป็น
ผูท้ ี่มีความรูค้ วามเช่ยี วชาญ มีประสบการณ์และงานวจิ ัยท่เี ก่ียวข้อง ไม่น้อยกวา่ ๕ ปี จำนวน ๑ คน

(3) ผู้ช่วยนักวิจัย มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป ซึ่งมีคุณสมบัติสำเร็จ
การศึกษาปริญญาตรีด้านการพัฒนาชุมชน หรือด้านสังคมศาสตร์ และมีประสบการณ์ในการศึกษา
สำรวจ วเิ คราะห์ ประเมินผล ไมน่ ้อยกว่า 3 ปี จำนวน 1 คน

1.3 รายงานความก้าวหน้าการดำเนนิ งานให้กับคณะกรรมการตรวจรับพสั ดุเดอื นละ 1 ครั้ง
2. ทบทวนร่างเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และ (กชช. 2ค)
เพือ่ การศึกษา วเิ คราะห์ และจัดทำรายงานการศึกษาเบื้องต้น (Inception Report) ดังนี้

2.1 วิเคราะห์ร่างเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูล จปฐ. และข้อมูล กชช. 2ค ของ
กรมการพัฒนาชุมชน ใหม้ คี วามสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาท่ียั่งยนื (SDGs) และแผนยทุ ธศาสตร์ชาติ
20 ปี

2.2 จดั ทำร่างแนวทางและขนั้ ตอนสรา้ งความเชอื่ มนั่ (Reliability) ในการจดั ทำ
(1) แบบสอบถามและเกณฑ์ชว้ี ัดข้อมูล จปฐ.
(2) แบบสอบถามและเกณฑ์การจัดระดบั การพฒั นาหม่บู า้ น สำหรบั ขอ้ มูล กชช. 2ค

2.๓ จดั ทำรายงานการศึกษาเบ้ืองต้น (Inception Report) เน้ือหาเอกสารต้องมีรายละเอียด
ตามข้อ 1.6.2.๑ และข้อ 1.6.2.2 จำนวนไม่น้อยกว่า ๕0 หน้า และจัดทำรูปเล่มเอกสารรายงานการศึกษา
เบื้องต้น (Inception Report) จำนวนไม่น้อยกว่า ๕ เล่ม ขนาด A4 โดยปกและเนื้อในพิมพ์ 4 สี
ใช้กระดาษปอนด์ ความหนาไม่น้อยกว่า 80 แกรม

3. สอบถามความคิดเห็นผู้ใช้ข้อมูล จปฐ. และ กชช. 2ค เกี่ยวกับปัญหาและความต้องการ
ของผู้ใช้ข้อมูล (ส่วนภูมิภาค) โดยใช้รูปแบบการการสอบถามความคิดเห็นภายใต้พระราชกำหนดการ
บริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 ด้วยการใช้การสื่อสารทางสังคมออนไลน์ หรือจดหมาย
อิเล็กทรอนิกส์ (E Mail) เพื่อลดความเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 ระลอก
ใหม่ ดังน้ี

3.1 กลมุ่ เปา้ หมายในการดำเนินงาน ครอบคลมุ ใน 4 ภาค คือ ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคใต้
และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำนวนภาคละ 2 จังหวัด ๆ ละ 5 คน (1 คนต่อ 1 หน่วยงาน) รวม 8
จงั หวดั ไมน่ อ้ ยกวา่ 40 คน

3.2 วิเคราะห์ ประมวลผล ออกแบบกลไกและกระบวนการบริหารจัดเก็บ เพื่อให้ได้
รูปแบบการควบคุมคุณภาพการจัดเก็บข้อมูลที่เป็นไปตามหลักวิชาการ และมีความสอดคล้องกับบริบท
ของชมุ ชน

3.3 พัฒนารปู แบบรายงานข้อมลู ด้วยระบบสารสนเทศท่ีรองรบั ความต้องการทุกภาคสว่ น
3.4 จัดทำรายงานความก้าวหน้าในการดำเนินงาน (Interim Report) เนื้อหาเอกสารต้องมี
รายละเอียดตามข้อ 1.6.3.๑ – 1.6.3.๔ จำนวนไม่น้อยกว่า ๘0 หน้า และจัดทำรูปเล่มเอกสารรายงาน
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน (Interim Report) จำนวนไม่น้อยกว่า ๕ เล่ม ขนาด A4 โดยปกและเน้ือ
ในพิมพ์ 4 สี ใช้กระดาษปอนด์ ความหนาไมน่ ้อยกว่า 80 แกรม

6

รายงานฉบับสมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเครือ่ งชีว้ ัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเป็นพ้นื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพนื้ ฐาน
ระดับหมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

4. จัดประชุมประมวลผลจากการสอบถามความคิดเห็นกับคณะทำงานปรับปรุงเครื่องชี้วัด
คณุ ภาพชวี ิตของประชาชน และดว้ ยรปู แบบการประชมุ ออนไลน์ เพ่ือให้ความเห็นชอบรายงานความก้าวหนา้ ใน
การดำเนินงาน (Interim Report)

4.๑ รายงานผลการศกึ ษาโดยจัดทำเปน็ รายงานตามหลักวชิ าการ
4.2 กลุ่มเป้าหมายในการดำเนินงาน จำนวนไม่น้อยกว่า 34 คน ประกอบด้วย คณะทำงาน
ปรบั ปรงุ เครอื่ งช้วี ัดคุณภาพชีวิตของประชาชนและผแู้ ทนกรมการพัฒนาชมุ ชนสงั กดั ส่วนกลาง
4.3 จัดประชุมนำรายงานผลการศึกษาเพื่อขอความเห็นชอบต่อคณะทำงานปรับปรุง
เครื่องชี้วัดคุณภาพชีวิตของประชาชน และดำเนินการปรับปรุงแก้ไขตามมติของคณะทำงาน และจัดทำ
เอกสารรายงานฉบบั สมบูรณ์ (Interim Report) ดงั น้ี

(1) ระยะเวลาจำนวน 1 คร้ัง ๆ ละ 1 วนั
(2) ผู้รับจ้างต้องรับผิดชอบบริหารจัดการประชุมและค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับ
การประชุมทั้งหมด (ค่าเบี้ยประชุม ค่าเอกสารประกอบการประชุม ค่าพาหนะ ค่าอาหารกลางวัน
ค่าอาหารวา่ งและเครอ่ื งดื่ม และค่าวสั ดุอปุ กรณ)์
5. จัดประชุมนำรายงานผลการศึกษาเพื่อขอความเห็นชอบต่อคณะกรรมการอำนวยการงาน
พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน (พชช.) ด้วยรูปแบบการประชุมออนไลน์ และดำเนินการปรับปรุงแก้ไขตาม
มติของคณะกรรมการ และจัดทำเอกสารรายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โดยมีเนื้อหาประกอบด้วย
ดังนี้
5.๑ รายงานการศึกษาโดยจัดทำเปน็ รายงานตามหลกั วิชาการ
5.๒ จัดประชุมนำรายงานผลการศึกษาเพื่อขอความเห็นชอบต่อคณะกรรมการอำนวยการ
งานพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน (พชช.) และดำเนินการปรับปรุงแก้ไขตามมติของคณะกรรมการ และ
จัดทำเอกสารรายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ดังน้ี
(1) กลุ่มเป้าหมายในการดำเนินงาน จำนวนไม่น้อยกว่า 4๐ คน ประกอบด้วย
คณะกรรมการอำนวยการงานพฒั นาคณุ ภาพชีวิตของประชาชน (พชช.) และผู้แทนกรมการพัฒนาชมุ ชนสงั กัด
ส่วนกลาง
(2) ระยะเวลาจำนวน 1 ครัง้ ๆ ละ 1 วนั
(3) ผู้รับจ้างต้องรับผิดชอบบริหารจัดการประชุมและค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับ
การประชุมทั้งหมด (ค่าเบี้ยประชุม ค่าเอกสารประกอบการประชุม ค่าพาหนะ ค่าอาหารกลางวัน
ค่าอาหารวา่ งและเครอ่ื งดมื่ และคา่ วัสดอุ ุปกรณ์)
(4) ต้องจดั หาวิทยากร และทีมงานสนบั สนุนสำหรับการประชมุ ได้อย่างเพียงพอ
(5) สรุปผลการประชมุ ในรปู แบบเอกสารและไฟล์ Word
(6) จัดทำรูปเล่มเอกสารการศึกษาเบื้องต้น (Inception Report) ตามที่คณะกรรมการ
อำนวยการงานพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของประชาชน (พชช.) เห็นชอบในรูปแบบ ระบบ e-book
6. การจัดพมิ พ์รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) และจดั ทำ QR code ใส่ไว้ในเลม่
6.1 พิมพร์ ายงานจำนวนไมน่ ้อยกวา่ ๕ เลม่
6.2 พมิ พร์ ายงาน ขนาด A4 จำนวนหนา้ ประมาณ 15๐ หนา้ (รวมปก)
6.3 เนอ้ื ในพิมพ์ 4 สี ใช้กระดาษปอนด์ ความหนาไม่น้อยกว่า 80 แกรม

7

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการจดั ทำเครือ่ งชี้วดั และแบบสอบถามข้อมลู ความจำเป็นพนื้ ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พน้ื ฐาน
ระดับหมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ่วงแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

6.4 ปกพิมพ์ 4 สี ใช้กระดาษการ์ดอาร์ตมัน ความหนาไม่น้อยกว่า 310 แกรม และ
จดั ทำ QR code ใส่ไวใ้ นเลม่

6.5 เขา้ เล่มแบบไสสนั กาว
6.6 จดั ทำในรูปแบบไฟล์ PDF และ Word สง่ ใหก้ รมการพัฒนาชมุ ชน
7. จัดทำคู่มือการจัดเก็บข้อมูล จปฐ.ปี 2565 - 2569 และคู่มือการจัดเก็บข้อมูล กชช. ๒ค
ปี 2565 - 2569 จำนวนอย่างละ 5 เล่ม รวมไม่น้อยกว่า 10 เล่ม และจดั ทำ QR code ใส่ไวใ้ นเล่ม ดังนี้
7.1 จัดทำรูปเลม่ คู่มอื ขนาด A4
7.2 จำนวนหน้า จปฐ. จำนวนไม่นอ้ ยกว่า 1๐๐ หน้า (รวมปก)
7.3 จำนวนหนา้ กชช. 2ค จำนวนไมน่ ้อยกวา่ 1๐๐ หนา้ (รวมปก)
7.4 เนอื้ ในพมิ พ์ 4 สี ใช้กระดาษปอนด์ ความหนาไม่น้อยกว่า 80 แกรม
7.5 ปกพิมพ์ 4 สี ใช้กระดาษการ์ดอาร์ตมัน ความหนาไม่น้อยกว่า 310 แกรม และ
จัดทำ QR code ใสไ่ ว้ในเลม่
7.6 เขา้ เลม่ แบบไสสันกาว
7.7 จดั ทำในรูปแบบไฟล์ PDF และ Word ส่งใหก้ รมการพฒั นาชมุ ชน

1.๗ วธิ กี ารศึกษา

เพ่ือบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ของการศึกษาทง้ั 3 ขอ้ ผวู้ จิ ัยใช้วิธีการศึกษา ดังตอ่ ไปน้ี
1. การศึกษาเชิงเอกสาร (Documentary Study) เป็นการศึกษาเชิงวิเคราะห์และ
สังเคราะห์เอกสารทางวิชาการ รายงานวิจัย รายงานสถิติ รายงานผลการดำเนินงานผ่านแผนงาน/
โครงการทเี่ ก่ียวข้องกบั เคร่ืองชวี้ ัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพื้นฐาน
ระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) และสารสำคัญของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13
(พ.ศ. 2565 - 2569)
2. การศึกษาเชิงปริมาณ (Quantitative Study) เป็นการสำรวจความคิดเห็นของ
ผู้ใช้บริการและผู้มีส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้อง โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลกลุ่มเป้าหมายใน
การดำเนินงาน ครอบคลุมใน 4 ภาค คือ ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคใต้ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
จำนวนภาคละ 2 จงั หวัด ๆ ละ 5 คน (1 คนตอ่ 1 หนว่ ยงาน) รวม 8 จงั หวดั ไมน่ อ้ ยกวา่ 40 คน ดังนี้

8

รายงานฉบบั สมบูรณโ์ ครงการจัดทำเครอ่ื งชวี้ ัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพน้ื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พื้นฐาน
ระดบั หมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ภูมภิ าค / จังหวัด รวม

ภาคกลาง ภาค

ภาคตะวันออก ภาคเหนือ ตะวนั ออก ภาคใต้

หน่วยงาน ภาคตะวนั ตก เฉยี งเหนือ

สมุทรปราการ
กาญจนบุรี
นครสวรรค์
แ ่มฮ่องสอน
นครราชสีมา
ศรีสะเกษ

ูภเก็ต
นราธิวาส

1. สำนกั งานพฒั นาชุมชนจงั หวัด ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓✓ 8

2. สำนกั งานเกษตรและสหกรณ์จงั หวัด ✓ ✓2

3. สำนกั งานสาธารณสขุ จังหวัด ✓✓ 2

4. สำนกั งานศึกษาธกิ ารจังหวดั ✓✓ 2

5. สำนักงานคลงั จงั หวดั ✓ ✓2

6. สำนักงานอุตสาหกรรมจงั หวดั ✓✓ 2

7. สำนกั งานพาณชิ ยจ์ งั หวดั ✓ ✓2

8. สำนกั งานแรงงานจงั หวัด ✓✓ 2

9. สำนักงานพัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนษุ ย์ ✓✓ 2

จงั หวัด

10. สำนักงานยตุ ธิ รรมจงั หวดั ✓ ✓2

11. สำนักงานทรพั ยากรธรรมและสิง่ แวดลอ้ มจังหวัด ✓ ✓2

12. สำนักงานพลังงานจังหวดั ✓ ✓2

13. สำนกั งานทอ่ งเที่ยวและกีฬาจงั หวดั ✓ ✓2

14. สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัด ✓ ✓2

15. สำนักงานส่งเสริมการปกครองทอ้ งถน่ิ จังหวัด ✓ ✓2

16. สำนักงานจังหวัด ✓ ✓2

17. สำนักงานป่าไมจ้ งั หวัด ✓ ✓2

รวม 5 5 5 5 5 5 5 5 40

3. การศกึ ษาเชงิ คุณภาพ (Qualitative Study)
จัดประชมุ จำนวน 2 ครง้ั ประกอบด้วย
1. จัดประชุมประมวลผลจากการสอบถามความคิดเห็นกับคณะทำงานปรับปรุงเครื่องช้ี

วัดคุณภาพชีวิตของประชาชน เพื่อให้ความเห็นชอบรายงานความก้าวหน้าในการดำเนินงาน (Interim
Report) และรายงานผลการศึกษาโดยจัดทำเป็นรายงานตามหลักวิชาการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายใน
การดำเนินงาน จำนวนไม่น้อยกว่า 34 คน ประกอบด้วย คณะทำงานปรับปรุงเครื่องชี้วัดคุณภาพชีวิต
ของประชาชนและผ้แู ทนกรมการพัฒนาชุมชนสงั กดั ส่วนกลาง

2. จัดประชุมนำรายงานผลการศึกษาเพ่ือขอความเห็นชอบต่อคณะกรรมการอำนวยการ
งานพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน (พชช.) และดำเนินการปรับปรุงแก้ไขตามมติของคณะกรรมการ
และจัดทำเอกสารรายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โดยนำเสนอรายงานการศึกษาโดยจัดทำเป็น
รายงานตามหลักวิชาการ มีกลุ่มเป้าหมายในการดำเนินงาน จำนวนไม่น้อยกว่า 4๐ คน ประกอบด้วย

9

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการจดั ทำเครอื่ งชว้ี ัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเปน็ พืน้ ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พ้นื ฐาน
ระดับหมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

คณะกรรมการอำนวยการงานพัฒนาคุณภาพชวี ิตของประชาชน (พชช.) และผแู้ ทนกรมการพัฒนาชุมชน
สงั กดั สว่ นกลาง

1.๘ การวเิ คราะหข์ อ้ มูลและการตรวจสอบความนา่ เชื่อถือของขอ้ มลู

1. การวิเคราะห์ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ใช้กับข้อมูลที่ได้จากแบบ
ประเมนิ ขอ้ มลู เชิงปรมิ าณ

2. การวเิ คราะห์เน้ือหา การวิเคราะห์ข้อมูลสำหรับการประเมนิ คร้งั น้ีใช้การวเิ คราะห์เนื้อหา
(Content Analysis) โดยทำเป็นระยะ ๆ ทุกครั้งที่สิ้นสุดการสัมภาษณ์ และการสนทนากลุ่มกับ
ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ผู้ประเมินจะทำการถอดเทป และเขียนรายละเอียดของการสนทนากลุ่มออกมาทันที
เพื่อที่จะได้นำผลการวิเคราะห์มาใช้ปรับแนวคิด ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล ได้ทราบว่าข้อมูลใน
ส่วนใดที่เพียงพอแล้วหรือยังขาดข้อมูลในส่วนไดอ้ ีกบ้าง ซึ่งนำไปสู่การปรับยุทธวิธีเก็บข้อมูลใหม่ เพื่อให้
ครอบคลุมข้อมลู ในสนามอย่างครบถว้ น ซึ่งผู้ประเมินมีแนวทางในการวิเคราะห์ขอ้ มลู ดังนี้

2.1 การจัดระบบข้อมูล จากข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาจากภาคสนามนั้นมักไม่อยู่ในรูปที่
พร้อมจะนำไปใช้วิเคราะห์ต่อไป ผู้ประเมินได้นำข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาได้มาจัดรูปให้เหมาะสมก่อน
นั่นคือ ข้อมูลที่ผู้ประเมินได้จากการสัมภาษณ์และสนทนากลุ่ม ที่ถูกจดบันทึกด้วยลายมือ และ
การบันทึกเสียงไว้นั้น ผู้ประเมินนำมาถอดคำให้สัมภาษณ์และการสนทนากลุ่มออกมาพิมพ์ไว้ในรูปแบบ
ของไฟล์ที่พร้อมสำหรับการอ่านและวิเคราะห์ จากนั้นผู้ประเมินทำการอ่านทวนข้อมูลที่ได้มาจาก
การสัมภาษณ์หรือการสนทนากลุ่มหลาย ๆ เที่ยว เพื่อให้ซึมซับ ในขณะเดียวกันก็เขียนบันทึกประกอบ
เพื่อตั้งข้อสังเกต หรือช่วยจำหลังจากอ่านแล้วทำการร่างสรุปข้อมูล สรุปย่อเรื่องไว้เมื่อกลับมาทบทวน
ใหม่ ทำใหส้ ามารถเข้าใจไดร้ วดเรว็ โดยไม่ต้องอ่านใหม่

2.2 การสร้างรหัส การแสดงขอ้ มลู และเชอื่ มโยงหาความสมั พนั ธข์ องข้อมูล เริม่ จากการ
ลงรหัสข้อมูล ซึ่งรหัสเป็นส่วนสำคัญยิ่งของการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ ผู้ประเมินสามารถสร้างรหัส
ก่อนหรือหลังเก็บข้อมูลก็ได้ โดยขั้นตอนการลงรหัสนี้หลังผู้ประเมินอ่านข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาซึ่งอยู่ใน
รูปของบทสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่มแล้ว ใช้รหัสกับข้อความที่ปรากฏ ทั้งนี้การให้รหัสดังกล่าว
สามารถพิจารณาจากขอ้ มูลที่เก็บรวบรวมมาได้ จากนั้นมีการจดั แสดงขอ้ มูล ซึ่งเครื่องมือวเิ คราะห์ขอ้ มูล
เชิงคณุ ภาพที่สำคัญอกี ประการหนึ่งคือ การจัดสร้างขอ้ มลู ในรปู ต่าง ๆ เชน่ ตาราง กราฟ หรือแผนภูมิรูป
จากนั้นทำการเชื่อมโยงหาความสัมพันธ์ของข้อมูล โดยทีมผู้ประเมินไดค้ ้นหาความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล
ทเี่ กบ็ รวบรวมมาวา่ มคี วามสัมพนั ธก์ ันอย่างไรเพ่ือใช้อา้ งองิ หรอื อธบิ ายความต่อไป

2.3 การแปลความ สร้างข้อสรุปและพิสูจน์ข้อสรุป ในขั้นตอนนี้ผู้ประเมินทำการแปล
ความหมายของข้อมูล ซึ่งผู้ประเมินต้องสามารถเข้าใจความหมายข้อมูลเหล่านั้นเพื่อให้ข้อมูลที่ผ่าน
การวิเคราะห์ในรูปแบบต่าง ๆ สามารถนำไปอธิบายหรือนำไปใช้ประโยชน์อย่างอื่นได้ โดยจากข้อมูล
ทั้งหมดที่ได้ทำการลงรหัสไว้แล้วผู้ประเมินได้นำข้อมูลที่มีรหัสเดียวกันมาทำการวิเคราะห์ตีความ และ
แปลความหมาย ซ่งึ ในการวเิ คราะห์ได้อาศัยแนวคิดทฤษฎีที่เก่ยี วขอ้ งมาเป็นพน้ื ฐานในการวิเคราะห์

10

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเคร่อื งชี้วัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพ้นื ฐาน
ระดบั หมูบ่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

นอกจากการวิเคราะห์ข้อมูลดังกล่าวที่เป็นการวิเคราะห์ด้วยมือแล้วนี้ ผู้ประเมินอาจใช้
การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Atlas. ti ช่วยในการลงรหัสและจัด
หมวดหมูข่ ้อมูลอีกดว้ ย

3. การตรวจสอบความน่าเชอื่ ถือของขอ้ มูล
ในการประเมินครั้งนี้ผู้ประเมินทำการตรวจสอบความถูกต้องและความน่าเชื่อถือไ ด้ของ

ขอ้ มลู โดยมีรายละเอยี ดดงั นี้
3.1 การตรวจสอบแบบสามเสา้ (Triangulation) ประเมนิ ทำการตรวจสอบความถูกต้อง

และความน่าเชือ่ ถือของข้อมลู โดยการตรวจสอบสามเสา้ ในประเดน็ ดงั นี้
(1) วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลมากกว่า 1 วิธี (Methodological Triangulation)

ผู้ประเมินใช้วิธีในการเก็บข้อมูลที่หลากหลายเพื่อยืนยันความสอดคล้องของข้อมูลที่ได้จากวิธีการเก็บ
รวบรวมที่แตกต่างกัน ซึ่งในการประเมินนี้ผู้ประเมินได้ใช้วิธีการเก็บรวบรวม คือ การสัมภาษณ์เชิงลึก
ประกอบกับการศกึ ษาจากเอกสาร

(2) การสะท้อนข้อมูลกลับไปยังผู้ให้ข้อมูล (Member Checking) ในขณะที่
ผปู้ ระเมินทำการเกบ็ ขอ้ มูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึก ผู้ประเมนิ ไดท้ ำการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล
เมื่อทำการพูดคุยไปได้ระยะหนึ่ง โดยจะพักการสนทนาเพื่อทบทวนคำตอบที่ผู้ให้ข้อมูลได้ตรวจสอบว่า
คำตอบที่ผู้ประเมินเข้าใจนั้นถูกต้อง และสอดคล้องกับที่ผู้ให้ข้อมูลต้องการสื่อสารหรือไม่ หากพบว่า
ไม่ถูกต้องจะได้ทำความเข้าใจให้ถูกต้องตรงกัน หรือนำกลับไปให้ผู้ให้ข้อมูลหลักตรวจสอบอีกครั้งหลัง
ถอดเทป

3.2 มกี ารตรวจสอบการดำเนินการประเมินจากผูเ้ ชยี่ วชาญ (Peer Debriefing)
3.3 ความไว้วางใจได้ (Dependability) ผู้ประเมินใช้ระเบียบวิธีประเมิน และอธิบายให้
เห็นถึงขั้นตอนการทำประเมินอย่างชัดเจน นำเสนอข้อมูลครบถ้วนและครอบคลุมการทำงานในทุก
กระบวนการในการทำประเมิน และการวเิ คราะห์ข้อมลู
3.4 การยืนยันผลการประเมิน (Confirm Ability) ผู้ประเมินทำการเก็บรวบรวมข้อมูล
อย่างเป็นระบบสามารถตรวจสอบได้ อาทิ การบันทึกภาคสนาม (Field Note) การอ้างคำพูด (Quotation)
การสรปุ ข้อมูลในขน้ั ตอนต่าง ๆ เป็นตน้

1.9 ขน้ั ตอนการศึกษาและแผนการดำเนินงาน

ระยะเวลาดำเนินการ ภายใน ๙๐ วัน นับถัดจากวันที่ลงนามในสัญญาจ้าง โดยสัญญาวันที่
19 มีนาคม 2564 และสิ้นสุดโครงการวันที่ 16 มิถุนายน 2564 และมีกำหนดส่งรายงาน ดังน้ี
รายงานงวดที่ 1 รายงานการศึกษาเบื้องต้น (Inception Report) กำหนดส่งวันที่ 2 เมษายน 2564
รายงานงวดที่ 2 รายงานความก้าวหน้าในการดำเนินงาน (Interim Report) กำหนดส่งวันที่ 18
พฤษภาคม 2564 รายงานงวดท่ี 3 รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) กำหนดส่งวนั ที่ 16 มิถุนายน
2564 คณะผู้วิจัยมีการกำหนดแผนการดำเนินงาน ดังนี้

11

รายงานฉบบั สมบูรณ์โครงการจัดทำเครอื่ งชว้ี ัดและแบบสอบถามข้อมลู ความจำเป็นพ้นื ฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พนื้ ฐาน
ระดบั หมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ลำดับ กจิ กรรม ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย.
64 64 64
64

1 พัฒนาข้อเสนอเสนอโครงการ

2 ประชมุ ทีมวจิ ยั ออกแบบการดำเนินงาน

3 ศึกษาและทบทวนร่างเครื่องช้ีวดั และ

แบบสอบถามข้อมลู ความจำเปน็ พ้ืนฐาน (จปฐ.)

และ (กชช. 2ค)

4 วเิ คราะหร์ า่ งเคร่ืองชีว้ ัดและแบบสอบถามข้อมลู

จปฐ. และขอ้ มลู กชช. 2ค ของกรมการพฒั นา

ชุมชน ใหม้ คี วามสอดคล้องกับเป้าหมายการ

พัฒนาทีย่ ัง่ ยนื (SDGs) และแผนยุทธศาสตรช์ าติ

20 ปี

5 จดั ทำร่างแนวทางและข้ันตอนสร้างความ

เชอ่ื มน่ั (Reliability) ในการจัดทำ (1)

แบบสอบถามและเกณฑ์ชวี้ ดั ขอ้ มลู จปฐ. (2)

แบบสอบถามและเกณฑก์ ารจัดระดบั การ

พัฒนาหมู่บา้ น สำหรบั ข้อมลู กชช. 2ค

6 จดั ทำรายงานการศึกษาเบื้องต้น (Inception

Report)

7 สอบถามความคดิ เห็นผู้ใชข้ ้อมูล จปฐ. และ

กชช. 2ค เกยี่ วกับปัญหาและความตอ้ งการของ

ผใู้ ช้ขอ้ มูล (ส่วนภูมิภาค) โดยใชร้ ปู แบบการ

สอบถามความคิดเห็นภายใต้พระราช

กำหนดการบรหิ ารราชการในสถานการณ์

ฉกุ เฉิน พ.ศ. 2548 ดว้ ยการใช้การสื่อสารทาง

สังคมออนไลน์ หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E

Mail) เพือ่ ลดความเสย่ี งตอ่

การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา

2019 ระลอกใหม่

8 จัดประชุมประมวลผลจากการสอบถามความ

คดิ เห็นกับคณะทำงานปรบั ปรุงเครอื่ งชวี้ ัด

คณุ ภาพชวี ิตของประชาชน เพื่อให้ความ

เหน็ ชอบ

10 จดั รายงานความก้าวหน้าในการดำเนนิ งาน

(Interim Report)

12

รายงานฉบับสมบูรณโ์ ครงการจัดทำเคร่อื งชี้วัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พ้นื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพน้ื ฐาน
ระดบั หม่บู า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ลำดบั กิจกรรม ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย.
64 64 64 64
11 ปรบั ปรงุ ร่างเคร่ืองชว้ี ดั และแบบสอบถามข้อมูล
จปฐ. และข้อมลู กชช. 2ค ตามความเหน็ ของ
คณะทำงานปรบั ปรุงเครื่องช้ีวัดคณุ ภาพชวี ติ
ของประชาชน

12 จดั ประชุมนำรายงานผลการศึกษาเพ่อื ขอความ
เหน็ ชอบตอ่ คณะกรรมการอำนวยการงาน
พัฒนาคุณภาพชีวติ ของประชาชน (พชช.)

13 ดำเนนิ การปรับปรงุ แก้ไขตามมติของ
คณะกรรมการอำนวยการงานพัฒนาคุณภาพ
ชวี ติ ของประชาชน (พชช.)

14 จัดทำรายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) จดั ทำ
คู่มือการจดั เกบ็ ขอ้ มูล จปฐ.ปี 2565 - 2569
และค่มู ือการจดั เก็บข้อมูล กชช. ๒ค ปี 2565 -
2569

1.๑0 การบรหิ ารโครงการ

บุคลากร จำนวน ช่ือ-นามสกุล วุฒกิ าร ประสบการณ์ ตำแหนง่ ปัจจุบนั
(คน) ศกึ ษา
ป.โท มากกวา่ ผ้อู ำนวยการศูนยฝ์ ึกอบรมและพฒั นา
หวั หนา้ 1 คน ผศ.รณรงค์ จันใด 1๒ ปี คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์
โครงการ ป.เอก มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
มากกว่า
นกั วิจยั 1 คน อ.ดร.กาญจนา รอดแกว้ ป.โท 10 ปี ผอู้ ำนวยการหลกั สตู รพัฒนาชุมชน
มหาบัณฑติ
ผ้ชู ่วย 2 คน น.ส. กัญญารัตน์ สโุ กพันธ์ 5 ปี มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
นกั วจิ ัย น.ส. วิปัศยา โพธิบตุ ร

บทบาทการดำเนินงาน
หัวหน้าโครงการ: หน้าที่รับผิดชอบ ได้แก่ บริหารจัดการโครงการ ประสานหน่วยงานและ
องค์กรภายนอก ออกแบบงานวิจยั วธิ กี ารศึกษา ทบทวนวรรณกรรม รวบรวมขอ้ มลู วเิ คราะหข์ ้อมลู และ
สรปุ ผลการศกึ ษา พร้อมข้อเสนอแนะ และร่วมนำเสนอผลการศกึ ษาตอ่ คณะกรรมการ
นักวิจัย: หนา้ ทีร่ ับผิดชอบ ได้แก่ ประสานหน่วยงานและองค์กรภายนอก ออกแบบงานวิจัย
วิธีการศึกษา ทบทวนวรรณกรรม รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และสรุปผลการศึกษา พร้อมข้อเสนอแนะ
และร่วมนำเสนอผลการศึกษาต่อคณะกรรมการ

13

รายงานฉบบั สมบูรณ์โครงการจัดทำเครอื่ งชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พน้ื ฐาน
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ผู้ช่วยนักวิจัย: หน้าที่รับผดิ ชอบ ได้แก่ ทบทวนวรรณกรรมและรวบรวมข้อมลู พื้นฐาน และ
รวบรวมขอ้ เสนอแนะ

14

รายงานฉบับสมบูรณโ์ ครงการจัดทำเคร่ืองชี้วดั และแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเป็นพ้นื ฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพื้นฐาน
ระดับหมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

บทท่ี 2
การทบทวนวรรณกรรมทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง

15

รายงานฉบบั สมบูรณ์โครงการจัดทำเคร่อื งชีว้ ดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พนื้ ฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พน้ื ฐาน
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ่วงแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

16

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจดั ทำเครอื่ งช้วี ดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพ้นื ฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพนื้ ฐาน
ระดบั หมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

บทท่ี 2
การทบทวนวรรณกรรมทีเ่ ก่ียวขอ้ ง

2.1 นโยบายและยุทธศาสตร์การพฒั นาประเทศ

2.1.1 ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
นับตั้งแต่ประเทศไทยได้มีการประกาศใช้รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560

เป็นต้นมา รูปแบบการจัดทำแผนเพื่อวางกรอบทิศทางการพัฒนาประเทศได้มีการปรับเปลี่ยนไปอย่างมี
นัยสำคัญ โดยมาตรา 65 ภายใต้หมวดแนวนโยบายแห่งรัฐ ได้กำหนดให้รัฐพึงจัดให้มียุทธศาสตร์ชาติ
เป็นเป้าหมายการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืนตามหลักธรรมาภิบาลเพื่อใช้เป็นกรอบในกา รจัดทำแผน
การพัฒนาประเทศในระดับต่าง ๆ ตลอดจนการจัดทำกรอบงบประมาณรายจ่ายประจำปีให้สอดคล้อง
และบูรณาการกัน ประเทศไทยจึงได้กำหนดยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ.2561 – พ.ศ.2580)
เพื่อกำหนดทิศทางการพัฒนาประเทศในระยะยาว ให้มีความต่อเนื่องและสอดคล้องกับภูมิทัศน์ใหม่ของ
โลกที่มีความยืดหยุ่นและเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561 – พ.ศ.2580)
จงึ เป็นยทุ ธศาสตรช์ าติฉบับแรกของประเทศไทยตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ซง่ึ จะต้องนำไปสู่
การปฏบิ ตั ิเพ่ือใหป้ ระเทศไทยบรรลวุ สิ ัยทัศน์ “ประเทศไทยมคี วามม่นั คง ม่งั คัง่ ยง่ั ยนื เป็นประเทศพัฒนา
แล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” เพื่อความสุขของคนไทยทุกคน (สำนักงาน
เลขานกุ ารของคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ, 2560)

ยุทธศาสตร์ชาติประกอบด้วย 6 ด้าน เนื่องจากการพัฒนาประเทศในช่วงระยะเวลา
ของยุทธศาสตร์ชาติจะมุ่งเน้นการสร้างสมดุลระหว่างการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดย
ประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้าง
ความสามารถในการแข่งขัน ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
ยุทธศาสตรช์ าตดิ ้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ยุทธศาสตร์ชาตดิ า้ นการสรา้ งการเตบิ โตบน
คุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบ
การบรหิ ารจัดการภาครัฐ (สำนกั งานเลขานุการของคณะกรรมการยทุ ธศาสตร์ชาต,ิ 2560) กลา่ วคอื

1) ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง มีเป้าหมายการพัฒนาที่สำคัญคือประเทศชาติ
มน่ั คง ประชาชนมคี วามสุข เน้นการบริหารจัดการสภาวะแวดล้อมของประเทศให้มีความมนั่ คง ปลอดภัย
เอกราช อธิปไตย และมีความสงบเรียบร้อยในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับชาติ สังคม ชุมชน มุ่งเน้นการพัฒนา
คน เคร่ืองมือ เทคโนโลยี และระบบฐานขอ้ มลู ขนาดใหญ่ให้มีความพรอ้ มสามารถรับมือกบั ภยั คกุ คามและ
ภยั พบิ ัตไิ ด้ทกุ รปู แบบ และทกุ ระดบั ความรุนแรง ควบค่ไู ปกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านความม่ันคง
ที่มีอยู่ในปัจจุบัน และที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต ใช้กลไกการแก้ไขปัญหาแบบบูรณาการทั้งกับส่วนราชการ
ภาคเอกชน ประชาสังคม และองค์กรที่ไม่ใช่รัฐรวมถึงประเทศเพื่อนบ้านและมิตรประเทศทั่วโลกบน
พื้นฐานของหลักธรรมาภิบาล ตัวชี้วัด ประกอบด้วย (1) ความสุขของประชากรไทย (2) ความมั่นคง
ปลอดภัยของประเทศ (3) ความพร้อมของกองทัพ หน่วยงานด้านความมั่นคง และการมีส่วนร่วมของ
ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนในการป้องกันและแก้ไขปัญหาความมั่นคง (4) บทบาทและ

17

รายงานฉบบั สมบรู ณ์โครงการจดั ทำเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพน้ื ฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พนื้ ฐาน
ระดับหมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรับใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

การยอมรับในด้านความมั่นคงของไทยในประชาคมระหว่างประเทศ และ (5) ประสิทธิภาพการบริหาร
จดั การความมั่นคงแบบองค์รวม

2) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน มีเป้าหมายการพฒั นา
ที่มุ่งเน้นการยกระดับศักยภาพของประเทศในหลากหลายมิติ บนพื้นฐานแนวคิด ๓ ประการ ได้แก่
(1) “ตอ่ ยอดอดตี ” โดยมองกลบั ไปทรี่ ากเหงา้ ทางเศรษฐกจิ อัตลักษณ์ วัฒนธรรม ประเพณี วิถีชวี ติ และ
จุดเด่นทางทรัพยากรธรรมชาติที่หลากหลาย รวมทั้งความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบของประเทศในด้าน
อื่น ๆ นำมาประยุกต์ผสมผสานกับเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อให้สอดรับกับบริบทของเศรษฐกิจและ
สงั คมโลกสมยั ใหม่ (2) “ปรบั ปัจจุบนั ” เพ่อื ปูทางส่อู นาคต ผา่ นการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานของประเทศ
ในมิติต่าง ๆ ทั้งโครงข่ายระบบคมนาคมและขนส่งโครงสร้างพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และดิจิทัล
และการปรับสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมและบริการอนาคต และ (3) “สร้างคุณค่า
ใหม่ในอนาคต” ด้วยการเพิ่มศักยภาพของผู้ประกอบการ พัฒนาคนรุ่นใหม่ รวมถึงปรับรูปแบบธุ รกิจ
เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของตลาด ผสมผสานกับยุทธศาสตร์ที่รองรับอนาคต บนพื้นฐานของ
การต่อยอดอดีตและปรับปัจจบุ ัน พรอ้ มทง้ั การส่งเสริมและสนับสนุนจากภาครัฐ ใหป้ ระเทศไทยสามารถ
สร้างฐานรายได้และการจ้างงานใหม่ขยายโอกาสทางการค้าและการลงทุนในเวทีโลก ควบคู่ไปกับ
การยกระดบั รายได้และการกินดีอยู่ดี รวมถึงการเพ่ิมขน้ึ ของคนช้นั กลางและลดความเหลอ่ื มล้ำของคนใน
ประเทศได้ในคราวเดียวกัน ตัวชี้วัด ประกอบด้วย (1) รายได้ประชาชาติ การขยายตัวของผลิตภัณฑ์
มวลรวมภายในประเทศ และการกระจายรายได้ (2) ผลิตภาพการผลิตของประเทศทั้งในปัจจัยการผลิต
และแรงงาน (3) การลงทุนเพื่อการวิจยั และพัฒนา และ(4) ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ โดย
ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ชาตดิ ้านการสรา้ งความสามารถในการแข่งขนั

3) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์มีเป้าหมาย
การพัฒนาที่สำคัญเพื่อพัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่งและมีคุณภาพ โดยคนไทยมี
ความพร้อมทั้งกาย ใจ สติปัญญา มีพัฒนาการทีด่ รี อบด้านและมีสขุ ภาวะที่ดีในทกุ ช่วงวยั มีจิตสาธารณะ
รับผิดชอบต่อสังคมและผู้อื่น มัธยัสถ์อดออม โอบอ้อมอารี มีวินัย รักษาศีลธรรม และเป็นพลเมืองดีของ
ชาติ มีหลักคิดที่ถูกต้อง มีทักษะท่ีจำเป็นในศตวรรษที่ 21 มีทักษะสื่อสารภาษาอังกฤษและภาษาที่ ๓
และอนุรักษ์ภาษาท้องถิ่น มีนิสัยรักการเรียนรู้และการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต สู่การเป็น
คนไทยที่มีทักษะสูง เป็นนวัตกร นักคิด ผู้ประกอบการ เกษตรกรยุคใหม่และอื่น ๆ โดยมีสัมมาชีพตาม
ความถนัดของตนเอง ตัวชี้วัด ประกอบด้วย (1) การพัฒนาคุณภาพชีวิต สุขภาวะ และความเป็นอยู่ที่ดี
ของคนไทย (2) ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และ (3) การพัฒนาสังคมและครอบครัว
ไทย

4) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม มีเป้าหมาย
การพัฒนาทีส่ ำคัญที่ให้ความสำคัญการดึงเอาพลังของภาคส่วนต่าง ๆ ทั้งภาคเอกชนประชาสังคม ชุมชน
ท้องถิ่น มาร่วมขับเคลื่อน โดยการสนับสนุนการรวมตัวของประชาชนในการร่วมคิดร่วมท่า ทันเพ่ือ
ส่วนรวม การกระจายอำนาจและความรับผิดชอบไปสู่กลไกบริหารราชการแผ่นดินในระดับท้องถิ่น
การเสรมิ สร้างความเข้มแข็งของชุมชนในการจดั การตนเอง และการเตรียมความพร้อมของประชากรไทย
ทั้งในมิติสุขภาพเศรษฐกิจ สังคม และสภาพแวดล้อมให้เป็นประชากรท่ีมีคุณภาพ สามารถพึ่งตนเองและ
ทำประโยชน์แก่ครอบครัว ชุมชน และสังคมให้นานที่สุด โดยรัฐให้หลักประกันการเข้าถึงบริการและ

18

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเครื่องชว้ี ดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พืน้ ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพนื้ ฐาน
ระดบั หมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

สวัสดิการที่มีคุณภาพอย่างเป็นธรรมและทั่วถึง ตัวชี้วัด ประกอบด้วย (1) ความแตกต่างของรายได้และ
การเข้าถึงบริการภาครัฐระหว่างกลุ่มประชากร (2) ความก้าวหน้าของการพัฒนาคน (3) ความก้าวหน้า
ในการพฒั นาจังหวดั ในการเป็นศนู ยก์ ลางความเจริญทางเศรษฐกจิ สงั คม และเทคโนโลยี และ (4) คณุ ภาพชีวติ
ของประชากรสงู อายุ

5) ยทุ ธศาสตร์ชาตดิ า้ นการสร้างการเตบิ โตบนคุณภาพชวี ติ ที่เปน็ มติ รต่อส่ิงแวดล้อม
มีเป้าหมายการพฒั นาท่สี ำคัญเพ่ือนำไปสู่การบรรลุเปา้ หมายการพัฒนาที่ย่ังยืนในทุกมิติ ท้ังมิติด้านสังคม
เศรษฐกิจสิ่งแวดล้อม ธรรมาภบิ าล และความเปน็ ห้นุ สว่ นความร่วมมือระหว่างกันทั้งภายในและภายนอก
ประเทศอย่างบูรณาการ ใช้พื้นที่เป็นตัวตั้งในการกำหนดกลยุทธ์และแผนงาน และการให้ทุกฝ่าย
ที่เกี่ยวข้องได้เข้ามามีส่วนร่วมในแบบทางตรงให้มากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ โดยเป็นการดำเนินการ
บนพื้นฐานการเติบโตร่วมกัน ไม่ว่าจะเป็นทางเศรษฐกิจ สิ่งแวดลอ้ ม และคุณภาพชีวติ โดยให้ความสำคัญ
กับการสรา้ งสมดลุ ท้ัง 3 ด้าน อนั จะนำไปสู่ความยงั่ ยนื เพื่อคนรุ่นต่อไปอย่างแทจ้ ริง ตัวชว้ี ดั ประกอบด้วย
(1) พื้นที่สีเขียวที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (2) สภาพแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติที่เสื่อมโทรมได้รับ
การฟื้นฟู (3) การเติบโตที่เปน็ มติ รกบั สิ่งแวดลอ้ ม และ (4) ปริมาณกา๊ ซเรือนกระจก มูลคา่ เศรษฐกิจฐาน
ชวี ภาพ

6) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
มีเปา้ หมายการพฒั นาทส่ี ำคญั เพอื่ ปรับเปล่ียนภาครัฐท่ียึดหลัก “ภาครัฐของประชาชนเพื่อประชาชนและ
ประโยชน์สว่ นรวม” โดยภาครฐั ต้องมีขนาดท่เี หมาะสมกับบทบาทภารกิจ แยกแยะบทบาทหน่วยงานของ
รัฐที่ท่าหน้าที่ในการกำกับหรือในการให้บริการยึดหลักธรรมาภิบาล ปรับวัฒนธรรมการทำงานให้
มงุ่ ผลสมั ฤทธ์แิ ละผลประโยชน์สว่ นรวม มีความทันสมัย และพร้อมทีจ่ ะปรบั ตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง
ของโลกอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งการนำนวัตกรรม เทคโนโลยขี ้อมูลขนาดใหญ่ ระบบการทำงาน
ที่เป็นดิจิทัลเข้ามาประยุกต์ใช้อย่างคุ้มค่าและปฏิบัติงานเทียบได้กับมาตรฐานสากล รวมทั้งมีลักษณะ
เปิดกว้าง เชื่อมโยงถึงกันและเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมเพื่อตอบสนองความตอ้ งการของ
ประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็วและโปร่งใส โดยทุกภาคส่วนในสังคมต้องร่วมกันปลูกฝังค่านิยม
ความซื่อสัตย์สุจริตความมัธยัสถ์ และสร้างจิตสำนึกในการปฏิเสธไม่ยอมรับการทุจริตประพฤติมิชอบ
อย่างสิ้นเชิง นอกจากนั้น กฎหมายต้องมีความชัดเจน มีเพียงเท่าที่จ่าเป็น มีความทันสมัยมีความเป็น
สากล มีประสทิ ธิภาพ และนำไปส่กู ารลดความเหล่ือมล้ำและเอื้อต่อการพฒั นา โดยกระบวนการยุติธรรม
มีการบริหารที่มีประสิทธิภาพ เป็นธรรม ไม่เลือกปฏิบัติและการอำนวยความยุติธรรมตามหลักนิติธรรม
ตัวชี้วัด ประกอบด้วย 1) ระดับความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการสาธารณะของภาครัฐ 2) ประสิทธิภาพ
ของการบริการภาครัฐ 3) ระดับความโปร่งใสการทุจริต ประพฤติมิชอบและ 4) ความเสมอภาคในกระบวนการ
ยุตธิ รรม

กลา่ วไดว้ ่า ทกุ หน่วยงานของรฐั มีหน้าท่ีในการดำเนนิ การตามยุทธศาสตรช์ าติ พ.ศ. 2561
- 2580 ซึ่งเป็นเป้าหมายการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืนตามหลักธรรมาธิบาลเพื่อให้การดำเนินงานของ
ภาครัฐมีความสอดคล้องบูรณาการกัน เกิดเป็นพลังผลักดันร่วมกันไปสู่เป้าหมาย “ประเทศชาติมั่นคง
ประชาชนมคี วามสขุ เศรษฐกิจพฒั นาอย่างต่อเน่ือง สงั คมเปน็ ธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติย่งั ยนื ” และ
นำไปสู่การบรรลุวิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศที่พัฒนาแล้ วด้วย
การพฒั นาตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง”โดยทุกหนว่ ยงานของรฐั ต้องถ่ายทอดยทุ ธศาสตร์ชาติ

19

รายงานฉบับสมบรู ณ์โครงการจดั ทำเครอื่ งชวี้ ัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พ้ืนฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพนื้ ฐาน
ระดับหมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ไปสู่การปฏิบัติผ่านแผนระดับที่ 2 และแผนระดับที่ 3 ให้เกิดผลอย่างเปน็ รูปธรรม ซึ่งแผนระดับที่ 2 ใน
ส่วนของแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ได้มีการกำหนดเป้าหมายการพัฒนาตลอดระยะเวลาของ
ยุทธศาสตร์ชาติโดยแบ่งเปน็ 4 หว้ งการพฒั นา ห้วงละ 5 ปี

2.1.2 แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 12
แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560–2564) ได้จัดทำ

ขึ้นในช่วงเวลาของการปฏิรูปประเทศท่ามกลางสถานการณ์โลกท่ีเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็วและเชื่อมโยง
กันใกล้ชิดกันมากขึ้นโดยได้น้อมนำหลัก “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” มาเป็นปรัชญานำทางใน
การพัฒนาประเทศตอ่ เน่ืองจากแผนพัฒนาฯ ฉบบั ท่ี 9–11 เพ่อื เสรมิ สรา้ งภูมิคุ้มกันและชว่ ยให้สังคมไทย
สามารถยืนหยัดอยู่ได้อย่างมัน่ คงเกิดภูมิคุ้มกัน และมีการบริหารจัดการความเสี่ยงอย่างเหมาะสม ส่งผล
ใหก้ ารพฒั นาประเทศสคู่ วามสมดุลและยัง่ ยนื

วัตถุประสงค์และเป้าหมายการพฒั นาในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบบั ท่ี 12
กล่าวได้ว่าแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 เป็นแผนพัฒนาประเทศในระยะ 5 ปี ซึ่งแปล
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปีสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ดังนั้น ทิศทางการพัฒนาของแผนพัฒนาฯ
ฉบับที่ 12 จึงมุ่งเตรียมความพร้อมและวางรากฐานในการยกระดับประเทศไทยให้เป็นประเทศที่พัฒนา
แล้ว มีความม่ันคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ด้วยการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีกรอบวิสัยทัศน์
และเป้าหมายอนาคตประเทศไทยในปี 2579 กำหนดไว้ในยุทธศาสตร์ชาติเป็นกรอบที่แผนพัฒนาฯ
ฉบับที่ 12 มุ่งตอบสนองวัตถุประสงค์และเป้าหมายการพัฒนา พจิ ารณาจากการประเมินสภาพแวดล้อม
การพัฒนาท้ังจากภายนอกและภายในประเทศที่บ่งชี้ถึงจุดแข็งและจุดอ่อนของประเทศและการสะท้อน
ถึงโอกาสและความเสี่ยงในการผลักดันขับเคลื่อนให้การพัฒนาด้านต่าง ๆ บรรลุผลได้ในระยะเวลา 5 ปี
แรกของยุทธศาสตร์ชาติทั้งนี้ได้คำนึงถึงการต่อยอดให้เกิดผลสัมฤทธิ์อย่างต่อเนื่องภายใต้แผนพัฒนา ฯ
ฉบับต่อ ๆ ไป ดังนั้นการพัฒนาประเทศในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 จึงกำหนดวัตถุประสงค์และ
เปา้ หมายรวมของการพัฒนาได้ (สศช.,2559) ดังน้ี
1) เพื่อวางรากฐานให้คนไทยเป็นคนที่สมบูรณ์ มีคุณธรรมจริยธรรม มีระเบียบวินยั
ค่านิยมที่ดี มีจิตสาธารณะและมีความสุข โดยมีสุขภาวะและสุขภาพทีดี ครอบครัวอบอุ่น ตลอดจนเป็น
คนเกง่ ท่ีมที ักษะความรู้ความสามารถและพฒั นาตนเองไดต้ ่อเนื่องตลอดชวี ติ
2) เพื่อให้คนไทยมีความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม ได้รับความเป็นธรรมใน
การเข้าถึงทรัพยากรและบริการทางสังคมที่มีคุณภาพ ผู้ด้อยโอกาสได้รับการพัฒนาศักยภาพ รวมท้ัง
ชุมชนมีความเข้มแขง็ พึ่งพาตนเองได้
3) เพื่อให้เศรษฐกิจเข้มแข็งแข่งขันได้ มีเสถียรภาพและมีความย่ังยืน สร้างความเข้มแข็ง
ของฐานการผลติ และบรกิ ารเดมิ และขยายฐานใหม่โดยการใชน้ วตั กรรมท่ีเขม้ ขน้ มากขึน้ สร้างความเขม้ แขง็ ของ
เศรษฐกจิ ฐานรากและสรา้ งความมัน่ คงทางพลงั งาน อาหาร และนำ้
4) เพื่อรักษาและฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและคุณภาพสิ่งแวดล้อมให้สามารถ
สนับสนุนการเตบิ โตทเี่ ปน็ มติ รกับสงิ่ แวดลอ้ มและการมคี ณุ ภาพชีวติ ทดี่ ีของประชาชน
5) เพ่อื ให้การบริหารราชการแผ่นดินมีประสิทธิภาพ โปร่งใส ทันสมยั และมีการทำงาน
เชงิ บรู ณาการของภาคีการพฒั นา

20

รายงานฉบับสมบูรณโ์ ครงการจัดทำเครือ่ งชว้ี ดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพน้ื ฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พนื้ ฐาน
ระดับหมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

6) เพื่อให้มีการกระจายความเจริญไปสู่ภูมิภาคโดยการพัฒนาภาคและเมืองเพื่อ
รองรบั การพฒั นายกระดบั ฐานการผลิตและบริการเดมิ และขยายฐานการผลิตและบริการใหม่

7) เพื่อผลักดันให้ประเทศไทยมีความเชื่อมโยง (Connectivity) กับประเทศต่าง ๆ
ท้งั ในระดบั อนุภูมิภาค ภูมิภาค และนานาชาตไิ ด้อย่างสมบรู ณ์และมีประสิทธภิ าพ รวมท้ังให้ประเทศไทย
มีบทบาทนำและสร้างสรรค์ในด้านการค้า การบริการ และการลงทุนภายใต้กรอบความร่วมมือต่าง ๆ
ท้ังในระดบั อนุภูมิภาค ภมู ภิ าค และโลก

ในด้านเป้าหมายเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ดังกล่าว ได้กำหนดเป้าหมายรวม
การพฒั นาของแผนพฒั นาฯ ฉบับท่ี 12 ประกอบดว้ ย

1) คนไทยมีคุณลักษณะเป็นคนไทยที่สมบูรณ์มีวินัย มีทัศนคติและพฤติกรรมตาม
บรรทัดฐานที่ดีของสังคม มีความเป็นพลเมืองตื่นรู้ มีความสามารถในการปรับตัว ได้อย่างรู้เท่าทัน
สถานการณ์ มีความรับผดิ ชอบและทำประโยชน์ต่อส่วนรวม มีสขุ ภาพกายและใจที่ดีมีความเจริญงอกงาม
ทางจติ วิญญาณ มีวถิ ีชีวิตที่พอเพียง และมีความเป็นไทย

2) ความเหลื่อมล้ำด้านรายได้และความยากจนลดลง เศรษฐกิจฐานรากมีความ
เข้มแข็ง ประชาชนทุกคนมีโอกาสในการเข้าถึงทรัพยากร การประกอบอาชีพ และบริการทางสังคมที่มี
คุณภาพอยา่ งทัว่ ถึงและเป็นธรรม กลุ่มทม่ี ีรายได้ตำ่ สดุ รอ้ ยละ 40 มรี ายได้เพ่มิ ขน้ึ อยา่ งน้อยร้อยละ 15

3) ระบบเศรษฐกิจมีความเข้มแข็งและแขง่ ขันไดโ้ ครงสร้างเศรษฐกจิ ปรบั สู่เศรษฐกิจ
ฐานบริการและดิจิทัล มีผู้ประกอบการรุ่นใหม่และเป็นสังคมผู้ประกอบการ ผู้ประกอบการขนาดกลาง
และขนาดเล็กที่เข้มแข็งสามารถใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลในการสร้างสรรค์คุณค่าสินค้าและ
บริการ มีระบบการผลิตและให้บริการจากฐานรายได้เดมิ ที่มีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น และมีการลงทุนในการผลติ
และบริการฐานความรู้ชนั้ สูงใหม่ ๆ ทีเ่ ป็นมิตรกบั ส่ิงแวดล้อมและชุมชน รวมท้ังกระจายฐานการผลิตและ
การใหบ้ รกิ ารสู่ภูมภิ าคเพอื่ ลดความเหล่ือมลำ้ โดยเศรษฐกจิ ไทยมเี สถยี รภาพและมอี ัตราการขยายตัวเฉลี่ย
ร้อยละ 5 ตอ่ ปี และมปี จั จัยสนับสนุน อาทิ ระบบโลจสิ ตกิ ส์ พลงั งาน และการลงทุนวิจยั และพัฒนาที่เอ้ือ
ตอ่ การขยายตัวของภาคการผลติ และบรกิ าร

4) ทุนทางธรรมชาติและคุณภาพสิ่งแวดล้อมสามารถสนับสนุนการเติบโตท่ีเป็นมิตร
กับสิ่งแวดล้อม มีความมั่นคงทางอาหาร พลังงาน และน้ำ โดยเพิ่มพื้นที่ป่าไม้ให้ได้ร้อยละ 40 ของพื้นที่
ประเทศเพื่อรักษาความสมดุลของระบบนิเวศ ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในภาคพลังงานและขนส่ง
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 7 ภายในปี 2563 เทียบกับการปล่อยในกรณีปกติ มีปริมาณหรือสัดส่วนของ
ขยะมลู ฝอยทไ่ี ด้รับการจัดการอยา่ งถูกหลักสุขาภบิ าลเพม่ิ ขึ้น และรกั ษาคณุ ภาพนำ้ และคณุ ภาพอากาศใน
พื้นที่วิกฤตให้อยใู่ นเกณฑม์ าตรฐาน

5) มีความมั่นคงในเอกราชและอธิปไตย สังคมปลอดภัย สามัคคี สร้างภาพลักษณ์ดี
และเพิ่มความเชื่อมั่นของนานาชาติต่อประเทศไทย ความขัดแย้งทางอุดมการณ์และความคิดในสังคม
ลดลง ปัญหาอาชญากรรมลดลง ปริมาณความสูญเสียจากภัยโจรสลัดและการลักลอบขนส่งสินค้าและ
ค้ามนุษย์ลดลง มีความพร้อมที่ปกป้องประชาชนจากการก่อการร้ายและภัยพิบัติทางธรรมชาติ ประเทศ
ไทยมีส่วนรว่ มในการกำหนดบรรทัดฐานระหวา่ งประเทศ เกิดความเชือ่ มโยงการขนส่ง โลจิสติกส์ ห่วงโซ่
มูลค่า เป็นหุ้นส่วนการพัฒนาที่สำคัญในอนุภูมิภาค ภูมิภาค และโลก และอัตราการเติบโตของมูลค่า
การลงทุนและการสง่ ออกของไทยในอนุภมู ภิ าค ภูมิภาค และอาเซียนสงู ข้ึน

21

รายงานฉบบั สมบรู ณ์โครงการจดั ทำเครอ่ื งชี้วดั และแบบสอบถามข้อมลู ความจำเปน็ พน้ื ฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พื้นฐาน
ระดบั หมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ่วงแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

6) มีระบบบริหารจัดการภาครัฐที่มีประสิทธิภาพ ทันสมัย โปร่งใส ตรวจสอบได้
กระจายอำนาจและมีส่วนร่วมจากประชาชน บทบาทภาครัฐในการให้บริการซึ่งภาคเอกชนดำเนินการ
แทนไดด้ ีกวา่ ลดลง เพม่ิ การใช้ระบบดิจิทัลในการใหบ้ รกิ าร ปญั หาคอร์รปั ชน่ั ลดลง และการบรหิ ารจัดการ
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีอิสระมากขึ้น โดยอันดับประสิทธิภาพภาครัฐที่จัดทำโดยสถาบัน
การจัดการนานาชาติและอันดับความยากง่ายในการดำเนินธุรกิจในประเทศดีขึ้น การใช้จ่ายภาครัฐและ
ระบบงบประมาณมปี ระสิทธิภาพสูง ฐานภาษกี วา้ งข้นึ และดัชนีการรบั ร้กู ารทุจริตดขี ึ้น รวมถึงมีบุคลากร
ภาครฐั ท่ีมีความรูค้ วามสามารถและปรบั ตัวได้ทันกบั ยุคดิจิทลั เพ่มิ ข้ึน

ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12
ประกอบดว้ ย 10 ยุทธศาสตร์ (สศช., 2559) ได้แก่

ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 การเสริมสรา้ งและพฒั นาศกั ยภาพทุนมนุษย์
การเสรมิ สร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ มีวตั ถปุ ระสงค์เพื่อปรับเปลี่ยนให้คนใน
สงั คมไทยมีค่านยิ มตามบรรทัดฐานท่ดี ที างสงั คม เตรียมคนในสังคมไทยใหม้ ที ักษะในการดำรงชวี ิตสำหรับ
โลกศตวรรษที่ 21 เพื่อส่งเสริมให้คนไทยมีสุขภาวะที่ดีตลอดช่วงชีวิต และเพื่อเสริมสร้างสถาบันท าง
สงั คมให้มคี วามเข้มแข็งเอ้ือต่อการพฒั นาคนและประเทศ มีเปา้ หมายการพัฒนาเพื่อใหค้ นไทยส่วนใหญ่มี
ทัศนคติและพฤติกรรมตามบรรทัดฐานที่ดีของสังคมเพิ่มขึ้น คนในสังคมไทยทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้
และความสามารถเพิ่มขึ้น คนไทยได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพสูงตามมาตรฐานสากล และสามารถเรียนรู้
ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง คนไทยมีสุขภาวะที่ดีขึ้น สถาบันทางสังคมมีความเข้มแข็งและมีส่วนร่วมใน
การพัฒนาประเทศเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะสถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา สถาบันทางศาสนา ชุมชน
สื่อมวลชน และภาคเอกชน
โดยได้กำหนดแนวทางการพัฒนา อันได้แก่ การปรับเปลี่ยนค่านิยมคนไทยให้มี
คุณธรรม จริยธรรม มีวินัย จิตสาธารณะ และพฤติกรรมที่พึงประสงค์ พัฒนาศักยภาพคนให้มีทักษะ
ความรู้และความสามารถในการดำรงชีวิตอย่างมีคุณค่า การยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้
ตลอดชีวิต การลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพและให้ทุกภาคส่วนคำนึงถึงผลกระทบต่อสุขภาพ การเพิ่ม
ประสิทธิภาพการบริหารจัดการระบบสุขภาพภาครัฐและปรับระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ และ
การพฒั นาระบบการดูแลและสร้างสภาพแวดล้อมทเี่ หมาะสมกับสังคมสูงวัย ผลักดนั ใหส้ ถาบันทางสังคม
มสี ่วนรว่ มพัฒนาประเทศอยา่ งเข้มแขง็
ยุทธศาสตรท์ ่ี 2 การสรา้ งความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมลำ้ ในสังคม
ยุทธศาสตร์การสร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้ำได้ให้ความสำคัญกับ
การดำเนินการยกระดับคุณภาพบริการทางสังคมให้ทั่วถึงโดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการศึกษาและ
สาธารณสุข รวมทั้งการปิดช่องว่างการคุ้มครองทางสังคมในประเทศไทยซึ่งเป็นการดำเนินงานต่อเนื่อง
จากที่ได้ขับเคลื่อนและผลักดันในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 และมุ่งเน้นมากขึ้นในเรื่องการเพิ่มทักษะ
แรงงานและการใช้นโยบายแรงงานท่ีสนับสนุนการเพิ่มผลิตภาพแรงงานและเสริมสรา้ งรายได้สงู ขึ้น และ
การสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจและสังคมโดยเฉพาะอย่างยิ่งการสนับสนุนในเรื่องการสร้างอาชีพ รายได้
และให้ความช่วยเหลือที่เชื่อมโยงการเพิ่มผลิตภาพสำหรับประชากรกลุ่มร้อยละ 40 รายได้ต่ำสุด
ผู้ด้อยโอกาส สตรี และผู้สูงอายุ อาทิ การสนับสนุนธุรกิจขนาดเล็ก ขนาดกลางและขนาดย่อม วิสาหกิจ
ชมุ ชนและวสิ าหกจิ เพื่อสังคม การพัฒนาองคก์ รการเงินฐานรากและการเขา้ ถึงเงินทนุ เพื่อสร้างอาชพี และ

22

รายงานฉบบั สมบูรณโ์ ครงการจดั ทำเคร่อื งช้ีวัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พื้นฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พืน้ ฐาน
ระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) สำหรับใช้ชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

การสนบั สนุนการเข้าถึง ปัจจัยการผลติ คุณภาพดีท่ีราคาเปน็ ธรรม เปน็ ต้น และในขณะเดียวกันก็ต้องเพิ่ม
ประสิทธภิ าพการใช้งบประมาณเชิงพนื้ ท่ีและบูรณาการเพ่ือการลดความเหลอ่ื มล้ำ

ยุทธศาสตร์ที่ 2 มีวัตถุประสงค์เพื่อขยายโอกาสทางเศรษฐกิจและสังคมให้แก่กลุ่ม
ประชากรร้อยละ 40 ที่มีรายได้ต่ำสุดให้คนไทยทุกคนเข้าถึงบริการทางสังคมที่มีคุณภาพได้อย่างทั่วถึง
และเพื่อสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน มีเป้าหมายการพัฒนาเพื่อลดปัญหาความเหลื่อมล้ำด้านรายได้
ของกลุ่มคนที่มีฐานะทางเศรษฐกิจสังคม เพิ่มโอกาสการเข้าถึงบริการพื้นฐานทางสังคมของภาครัฐ
เพม่ิ ศกั ยภาพชุมชนและเศรษฐกิจฐานรากให้มีความเข้มแข็ง เพ่อื ให้ชมุ ชนพ่ึงพาตนเองและได้รับส่วนแบ่ง
ผลประโยชน์ทางเศรษฐกจิ มากข้นึ ทแี่ ตกตา่ งกนั และแกไ้ ขปญั หาความยากจน

โดยได้กำหนดแนวทางการพัฒนา อันได้แก่ การเพิ่มโอกาสให้กับกลุ่มเป้าหมาย
ประชากรรอ้ ยละ ๔๐ ทมี่ รี ายไดต้ ำ่ สุดใหส้ ามารถเข้าถึงบรกิ ารทมี่ ีคณุ ภาพของรัฐและมีอาชีพ การกระจาย
การให้บริการภาครัฐทั้งด้านการศึกษา สาธารณสุขและสวัสดิการที่มีคุณภาพให้ครอบคลุมและทั่วถึง
การเสรมิ สร้างศักยภาพชุมชน การพัฒนาเศรษฐกจิ ชุมชนและการสร้างความเข้มแข็งการเงนิ ฐานรากตาม
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งเพื่อให้ชุมชนสามารถพึง่ พาตนเองได้ มีสิทธิในการจัดการทุนที่ดินและ
ทรัพยากรภายในชุมชม

ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสรา้ งความเข้มแข็งทางเศรษฐกจิ และแข่งขันได้อยา่ งยงั่ ยืน
การขับเคลื่อนให้เศรษฐกิจเจริญเติบโตในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 เน้นการพัฒนา
และใช้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมขั้นก้าวหน้าที่เข้มข้นมากขึ้น การพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล
การพัฒนาและยกระดับคุณภาพของกำลังคนและความคิดสร้างสรรค์ในการขยายฐานเศรษฐกิจและฐาน
รายได้ใหม่ควบคู่กับการเพิ่มผลิตภาพของฐานการผลิตและบริการเดิมรวมทั้งการต่อยอดการผลิตและ
บริการเดิมโดยใช้ดิจิทัลและเทคโนโลยีอัจฉริยะ ให้ความสำคัญกับการใช้ศักยภาพของทรัพยากรชีวภาพ
การส่งเสริมการเชื่อมโยงตลอดห่วงโซ่มูลค่าอย่างมีประสิทธิภาพ การพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจใหม่และ
การพัฒนาตามแนวระเบียงเศรษฐกิจ การผสมผสานภาคบริการเขา้ กับการคา้ และการเตรียมความพร้อม
ของภาคบริการให้สามารถรองรับการแข่งขันที่เสรีขึ้น การเสริมสร้างศักยภาพการแข่งขันให้กับวิสาหกิจ
ขนาดกลางและขนาดย่อม รวมทั้งการสรา้ งสังคมผู้ประกอบการท่ีผลติ ไดข้ ายเป็น โดยพิจารณาการเปล่ยี นแปลง
ความต้องการของผู้บรโิ ภคอยา่ งรวดเร็วและมาตรฐานสากลของสินคา้ และบริการทีส่ งู ข้ึนรวมถงึ มาตรฐาน
ด้านสิง่ แวดลอ้ ม รวมทง้ั พัฒนาระบบและกลไก ตลอดจนการพฒั นาเชิงพื้นท่ีเพื่อกระจายโอกาสเศรษฐกิจ
ใหค้ นในชุมชนและท้องถ่ินและแบง่ ปนั ผลประโยชนอ์ ย่างเปน็ ธรรมเพื่อลดความเหลอ่ื มลำ้ ทางเศรษฐกจิ
ยุทธศาสตร์ที่ 3 มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความเข็มแข็งให้เศรษฐกิจขยายตัวอย่างมี
เสถียรภาพและยั่งยืน สร้างความเข้มแข็งให้กับเศรษฐกิจรายสาขา มีเป้าหมายการพัฒนาเพื่อเศรษฐกิจ
ขยายตัวอย่างมีเสถียรภาพและยั่งยืน และการสร้างความเข้มแข็งให้เศรษฐกิจรายสาขา โดยได้กำหนด
แนวทางการพัฒนา อันได้แก่ การบริหารจัดการเศรษฐกิจส่วนรวมเพื่อสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ
และเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ จำเป็นต้องเพิ่มศักยภาพของเศรษฐกิจเพื่อให้เศรษฐกิจขยายตัวได้สูงขึ้น
โดยไม่สร้างแรงกดดันให้เกิดการขาดดุลบัญชีเดินสะพัด ภาวะเงินเฟื้อ และแรงกดดันต่อภาระการคลัง
ที่มากเกินควร มีการกระจายกิจกรรมทางเศรษฐกิจเพื่อสนับสนุนการกระจายผลประโยชน์ ตลอดจน
การพัฒนาการเสริมสร้างและพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของภาคการผลิตและบริการมุ่งเน้น
การสร้างความเชื่อมโยงของห่วงโซ่มูลค่าระหว่างภาคเกษตร อุตสาหกรรม บริการ และการค้าการลงทุน

23

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการจัดทำเครอ่ื งชีว้ ดั และแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเป็นพืน้ ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พ้ืนฐาน
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

เพือ่ ยกระดบั ศักยภาพในการแขง่ ขันของประเทศ สร้างรายไดแ้ ละกระจายรายไดส้ ู่คนในชุมชนอย่างทั่วถึง
อันจะนำมาซึ่งความเข้มแข็งของทั้งเศรษฐกิจในภาพรวมและเศรษฐกิจฐานรากตามหลักการพัฒนา
ทีย่ ัง่ ยนื

ยุทธศาสตรท์ ่ี 4 การเตบิ โตท่เี ปน็ มิตรกับส่ิงแวดล้อมเพ่ือการพฒั นาอยา่ งย่ังยนื
ประเด็นท้าทายท่ีต้องเร่งดำเนินการในชว่ งแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ได้แก่ การสร้าง
ความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละยกระดับคุณภาพสิ่งแวดล้อม เพื่อสนับสนนุ การเติบโตที่เปน็
มิตรกับสิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิตของประชาชน เร่งแก้ไขปัญหาวิกฤติสิ่งแวดล้อมเพื่อลดมลพิษที่เกิด
จากการผลิตและการบริโภค พัฒนาระบบบริหารจัดการที่โปร่งใสเป็นธรรม ส่งเสริมการผลิตและ
การบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเป็นวงกว้างมากขึ้น ต้องเร่งเตรียมความพร้อมในลดการปล่อยก๊าซ
เรือนกระจกและเพิ่มขีดความสามารถในการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ รวมทั้งบริหาร
จดั การเพ่อื ลดความเสยี่ งดา้ นภัยพิบตั ิทางธรรมชาติ
ยุทธศาสตร์ที่ 4 มีวัตถุประสงค์เพื่อรักษา ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและมีการใช้
ประโยชนอ์ ย่างยง่ั ยืนและเปน็ ธรรม สรา้ งความม่นั คงด้านน้ำของประเทศ และบรหิ ารจดั การทรัพยากรน้ำ
ทั้งระบบให้มีประสิทธิภาพ บริหารจัดการสิ่งแวดล้อม และลดมลพิษให้มีคุณภาพดีขึ้น และพัฒนา
ขีดความสามารถในการลดก๊าซเรอื นกระจกและการปรับตัวเพือ่ ลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศและการรับมือกับภัยพิบัติ มีเป้าหมายเพื่อการรักษาและฟื้นฟูฐานทรัพยากรธรรมชาติ สร้าง
ความมั่นคงด้านน้ำและบริหารจัดการทรัพยากรน้ำทั้งน้ำผิวดินและน้ำใต้ดินให้มีประสิทธิภาพ บริหาร
จัดการน้ำในระดับลุ่มน้ำให้มีความสมดุลระหว่างความต้องการใช้น้ำทุกกิจกรรมกับปริมาณน้ำต้นทุน
เพ่อื แกไ้ ขปญั หาการขาดแคลนนำ้ และลดจำนวนประชาชนทีป่ ระสบปัญหาจากการขาดแคลนนำ้ ควบคู่กับ
การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ำทั้งภาคการผลิตและการบริโภค ป้องกันและลดความเสยี หายจากอุทกภยั
และภัยแล้ง การสร้างคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ดีลดมลพิษและลดผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนและ
ระบบนิเวศ โดยให้ความสำคัญเป็นลำดับแรกกับการจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายฟื้นฟู
คุณภาพแหล่งน้ำสำคัญของประเทศ และแก้ไขปัญหาวิกฤตหมอกควัน การเพิ่มประสิทธิภาพการลดก๊าซ
เรือนกระจกและขีดความสามารถในการปรบั ตวั ต่อการเปล่ยี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ
โดยมีแนวทางการพัฒนา อันได้แก่ การรักษาฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติสร้างสมดุล
ของการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนและเป็นธรรม ใช้ประโยชน์จากทุนธรรมชาติโดยคำนึงถึง
ขีดจำกัดและศักยภาพในการฟื้นตัว รักษาความมั่นคงของฐานทรัพยากร สร้างสมดุลระหว่างการอนุรักษ์
และการใช้ประโยชน์อยา่ งยัง่ ยืนและเป็นธรรม รวมทั้งผลักดันแนวทางการประเมินมูลค่าของระบบนเิ วศ
และการสร้างรายได้จากการอนุรักษ์เพื่อใช้ในการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น การเพิ่ม
ประสทิ ธิภาพการบริหารจัดการทรัพยากรนำ้ เพ่ือให้เกิดความมน่ั คง สมดุล และยั่งยืนทงั้ ในมิติเชิงปริมาณ
และคุณภาพด้วยกระบวนการมสี ว่ นร่วมของทุกภาคส่วน โดยเฉพาะประชาชนผู้มีสว่ นได้ส่วนเสียในพื้นท่ี
ลมุ่ นำ้ เพื่อกำหนดทศิ ทางการบริหารจัดการและการใชป้ ระโยชน์ทรพั ยากรน้ำทง้ั น้ำผิวดินและน้ำใต้ดินใน
ทุกมิติ โดยคำนึงถึงศักยภาพและข้อจำกัดด้านสิ่งแวดล้อมและมิติเชิงสังคมของพื้นที่ลุ่มน้ำ การแก้ไข
ปญั หาวิกฤตสิ่งแวดล้อมดว้ ยการเร่งรัดการควบคุมมลพษิ ทั้งทางอากาศ ขยะ นำ้ เสียและของเสียอันตราย
ที่เกิดจากการผลิตและบริโภค สร้างเมืองที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมหรือเมืองสีเขียวเพื่อสร้างคุณภาพ
สิ่งแวดล้อมที่ดีให้กับประชาชน การส่งเสริมการผลิตและการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยเน้น

24

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเครอ่ื งชว้ี ัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พนื้ ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพ้นื ฐาน
ระดบั หม่บู า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

การบริหารจัดการทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืนภายใต้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
สนับสนุนการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และเพิ่มขีดความสามารถในการปรับตวั ต่อการเปลี่ยนแปลง
สภาพภูมิอากาศ การบริหารจดั การเพื่อลดความเสี่ยงดา้ นภยั พิบัติเพื่อให้เกิดความเสียหายน้อยทีส่ ุดและ
นำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาระบบการบริหารจัดการและกลไกแก้ไขปัญหาความขัดแย้งด้าน
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตลอดจนการพัฒนาความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ
โดยผลักดันการจัดทำแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของอาเซียน
แสวงหาแนวทางความร่วมมือกับอาเซียนและอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงในประเด็นการขนส่งข้ามพรมแดน
การบรหิ ารจดั การพลังงานและทรพั ยากรธรรมชาติและการแกไ้ ขปัญหาหมอกควันข้ามแดน

ยทุ ธศาสตร์ท่ี 5 การเสริมสร้างความม่ันคงแห่งชาติเพ่ือการพัฒนาประเทศสู่ความม่ังคั่ง
และยั่งยืน

แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ให้ความสำคัญต่อการฟื้นฟูพื้นฐานด้านความมั่นคงที่เป็น
ปัจจัยสำคัญต่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ โดยเฉพาะการอยู่ร่วมกันในสังคม
อยา่ งสันติของผู้มีความเห็นต่างทางความคิดและอุดมการณ์บนพ้ืนฐานของการปกครองระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข และการเตรียมการรับมือกับภัยคุกคามข้ามชาติ มีวัตถุประสงค์
เพื่อปกป้องสถาบันพระมหากษัตริย์และเสริมสร้างความมั่นคงภายใน รวมทั้งป้องกันปัญหาภัยคุกคาม
ที่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองของชาติ สร้างความพร้อมและผนึกกำลังของ
ทุกภาคส่วน ให้มีขีดความสามารถในการบริหารจดั การดา้ นความมั่นคง และมศี ักยภาพในการป้องกันและ
แก้ไขสถานการณ์ที่เกิดจากภัยคุกคามทั้งภัยทางทหารและภัยคุกคามอื่น ๆ เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือ
ด้านความมั่นคงกับมิตรประเทศในการสนับสนุนการรักษาความสงบสุขและผลประโยชน์ของชาติ และ
เพ่ือเพ่มิ ประสิทธิภาพการบรหิ ารนโยบายดา้ นความม่ันคงและนโยบายทางเศรษฐกจิ สงั คม ทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อมให้มีความเป็นเอกภาพ มีเป้าหมายภาพรวมคือผลประโยชน์ของชาติว่าด้วยความมั่นคง
มั่งคั่ง ยั่งยืน เพื่อปกป้องและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์ให้เป็นสถาบันหลักของประเทศ สังคมมี
ความสมานฉันท์ ผู้เห็นต่างทางความคิดของคนในชาติสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติ ประชาชนมี
สว่ นรว่ มปอ้ งกันแก้ไขปัญหาความมัน่ คง ประชาชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้มีความปลอดภัยในชีวิตและ
ทรัพย์สิน มีโอกาสในการศึกษาและการประกอบอาชีพที่สร้างรายได้เพิ่มขึ้น ประเทศไทยมีความสัมพันธ์
และความร่วมมือด้านความมั่นคงในกลุ่มประเทศ สมาชิกอาเซียน มิตรประเทศ และนานาประเทศใน
การป้องกันภัยคุกคามในรูปแบบต่าง ๆ ควบคู่ไปกับการรักษาผลประโยชน์ของชาติ ประเทศไทยมี
ความพร้อมต่อการรับมือภัยคุกคามทั้งภัยคุกคามทางทหารและภัยคุกคามอื่นๆ มีแผนงานด้าน
ความมั่นคงมีการบูรณาการสอดคล้องกับนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่งิ แวดล้อม

โดยมีแนวทางการพัฒนา อันได้แก่ การการรักษาความมั่นคงภายในเพื่อให้เกิด
ความสงบในสังคมและธำรงไวซ้ ่ึงสถาบันหลักของชาติ การพัฒนาเสริมสร้างศักยภาพการป้องกันประเทศ
เพ่ือเตรียมความพร้อมในการรบั มือภยั คุกคามทั้งการทหารและภัยคุกคามอื่น ๆ การสง่ เสริมความร่วมมือ
กับต่างประเทศด้านความมั่นคง เพื่อบูรณาการความร่วมมือกับมิตรประเทศเพื่อผลประโยชน์ทาง
เศรษฐกิจ สังคม และการป้องกันภัยคกุ คามข้ามชาติ การรักษาความมั่นคงและผลประโยชน์ของชาติทาง
ทะเลเพื่อคงไว้ซง่ึ อำนาจอธปิ ไตยและสทิ ธิอธปิ ไตยในเขตทางทะเล และการบริหารจดั การความมั่นคงเพ่ือ

25

รายงานฉบับสมบรู ณ์โครงการจัดทำเครือ่ งชี้วดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพน้ื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พืน้ ฐาน
ระดบั หมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

การพัฒนาเพอื่ ให้เกดิ ความสอดคล้องกนั ระหว่างแผนงานท่เี กย่ี วข้องกบั ความมนั่ คงกับแผนงานการพัฒนา
อื่น ๆ ภายใตก้ ารมสี ว่ นรว่ มของภาคประชาชน

ยุทธศาสตร์ที่ 6 การบริหารจัดการในภาครัฐ การป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบ
และธรรมาภบิ าลในสงั คมไทย

ยุทธศาสตร์ที่ 6 ให้ความสำคัญกับการปฏริ ูปการบริหารจัดการภาครัฐใหเ้ กิดผลสัมฤทธ์ิ
อย่างจริงจัง เพื่อให้เป็นปัจจัยสนับสนุนสำคัญที่จะช่วยส่งเสริมการพัฒนาประเทศในทุกด้านให้ประสบ
ผลสำเร็จบรรลุเปา้ หมายที่วางไว้ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ทั้งการบริหารจัดการภาครัฐ ให้โปร่งใส
มีประสิทธิภาพ รับผิดชอบ ตรวจสอบได้อย่างเป็นธรรม และประชาชนมีส่วนร่วม มีการกระจายอำนาจ
และแบ่งภารกิจรับผิดชอบที่เหมาะสม ระหว่างส่วนกลาง ภูมิภาค และท้องถิ่นและวางพื้นฐานเพื่อให้
บรรลตุ ามกรอบเปา้ หมายอนาคต

มีวัตถุประสงคเ์ พือ่ ให้ภาครัฐมีขนาดเล็ก มีการบรหิ ารจัดการที่ดี และได้มาตรฐานสากล
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการบริหารจัดการและให้บริการแก่ประชาชนในท้องถิ่นได้อย่างมี
ประสทิ ธิภาพ ประสทิ ธผิ ล และโปรง่ ใสตรวจสอบได้ ลดปญั หาการทจุ รติ และประพฤตมิ ิชอบของประเทศ
พัฒนาระบบและกระบวนการทางกฎหมายให้สามารถอำนวยความสะดวกด้วยความรวดเร็ว และเป็น
ธรรมแก่ประชาชน มีเป้าหมายเพื่อลดสัดส่วนค่าใช้จ่ายด้านบุคลากรและเพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร
จดั การและการให้บริการของภาครัฐ และประสทิ ธิภาพการประกอบธุรกิจของประเทศ เพม่ิ ประสิทธิภาพ
การบริหารจัดการที่ดีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพิ่มคะแนนดัชนีการรับรู้การทุจริตให้สูงขึ้น และ
ลดจำนวนการดำเนินคดีกับผมู้ ไิ ด้กระทำความผิด

โดยมีแนวทางการพัฒนา อันได้แก่ การปรับปรุงโครงสร้างหน่วยงาน บทบาท ภารกิจ
และคุณภาพบุคลากรภาครัฐ ให้มีความโปร่งใส ทันสมัย คล่องตัว มีขนาดที่เหมาะสม เกิดความคุ้มค่า
สามารถให้บริการประชาชนในรูปแบบทางเลือกที่หลากหลายและมีคุณภาพ ข้าราชการมีคุณภาพ
ประสิทธิภาพ และความรับผิดชอบต่อบทบาทหน้าที่ องค์กรมีสมรรถนะสูงและมีความทันสมัย ราชการ
บริหารส่วนกลางมีขนาดเล็กลง และราชการบริหารส่วนท้องถิ่นมีขนาดที่เหมาะสมกับพื้นที่รับผิดชอบ
การปรับปรุงกระบวนการงบประมาณและสร้างกลไกในการติดตามตรวจสอบการเงินการคลังภาครัฐ
เพื่อให้การจัดสรรและการใช้จ่ายมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับเวลา เกิดความเสมอภาค ลดความเหลื่อมล้ำ
มีกลไกและช่องทางให้ประชาชนและภาคเอกชนเข้าถึงข้อมูล สามารถตรวจสอบกระบวนการดำเนินงาน
งบประมาณและการคลังของภาครัฐได้อย่างโปร่งใสยิ่งขึ้น เพิ่มประสิทธิภาพและยกระดับการให้บริการ
สาธารณะใหไ้ ด้มาตรฐานสากลเพ่ือให้ประชาชนและภาคธุรกจิ ได้รบั บริการที่มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน และ
อำนวยความสะดวก ตรงตามความต้องการของประชาชนและภาคธุรกิจ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร
จัดการให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ เพือ่ ใหป้ ระชาชนไดร้ บั การบริการอยา่ งมปี ระสิทธิภาพและท่ัวถึง
ผู้มีส่วนได้เสียได้เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนา ลดการพึ่งพิงงบประมาณประเภทเงินอุดหนุนจากรัฐบาล
มีความคล่องตัว พึ่งตนเองทางการคลังได้ในระยะยาวและสามารถจัดบริการสาธารณะขั้นพื้นฐาน
แก่ประชาชนอย่างมีมาตรฐานและประสิทธิภาพมากขึ้น การป้องกันและปราบปรามการทุจริตและ
ประพฤติมิชอบเพื่อให้สังคมไทยมีวินัย โปร่งใส ยึดมั่นในความซื่อสัตย์สุจริต และยุติธรรม รวมท้ัง
สร้างความเข้มแข็ง เป็นภูมิคุ้มกันของสังคมไทย ให้ครอบคลุมภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรพัฒนาเอกชน
และภาคประชาชน พร้อมทั้งเพื่อสร้างพลังการขับเคลื่อนค่านิยมต่อต้านการทุจริต ตลอดจนการปฏิรูป

26

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจดั ทำเคร่ืองชี้วดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพนื้ ฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พน้ื ฐาน
ระดับหมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

กฎหมายและกระบวนการยุติธรรมให้มีความทันสมัย เป็นธรรม และสอดคล้องกับข้อบังคับสากลหรือ
ขอ้ ตกลงระหว่างประเทศ

ยุทธศาสตรท์ ี่ 7 การพฒั นาโครงสร้างพน้ื ฐานและระบบโลจิสตกิ ส์
ยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์มุ่งเน้นการขยายขีด
ความสามารถและพัฒนาคุณภาพการใหบ้ ริการ เพอ่ื รองรบั การขยายตัวของเมืองและพ้ืนท่ีเศรษฐกิจหลัก
และส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตของทุกกลุ่มในสังคม สนับสนุนให้เกิดความเชื่อมโยงในอนุภูมิภาค
และในอาเซียนอย่างเป็นระบบ โดยมีโครงข่ายเชื่อมโยงภายในประเทศที่สนับสนุนการพัฒนาพื้นที่ตาม
แนวระเบียงเศรษฐกิจต่าง ๆ การพัฒนาระบบการบริหารจัดการและการกำกับดูแลให้สอดคล้องกับ
มาตรฐานสากลเพอ่ื เพ่ิมประสิทธฺ ภิ าพการดำเนินการ สรา้ งความเปน็ ธรรมในการเขา้ ถึงบรกิ ารพืน้ ฐานและ
การคุ้มครองผู้บริโภค การพัฒนาอุตสาหกรรมต่อเนื่อง เพื่อสร้างโอกาสทางเศรษฐกจิ ให้กบั ประเทศ และ
การพัฒนาผู้ประกอบการในสาขาโลจสิ ติกสแ์ ละหน่วยงานท่ีมศี ักยภาพเพอื่ ไปทำธุรกจิ ในต่างประเทศ
ยุทธศาสตรท์ ี่ 7 มีวัตถุประสงคเ์ พือ่ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน สิ่งอำนวยความสะดวก
ด้านการขนส่งและการค้า รวมทั้งมีกลไกกำกับ ดูแล การประกอบกิจการขนส่งที่มีประสิทธิภาพและ
โปร่งใสให้สามารถสนบั สนุนการเพมิ่ ขดี ความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศและยกระดับคุณภาพชีวิต
ให้แก่ประชาชน สร้างความม่ันคงทางพลังงาน เพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานและส่งเสริมการใช้
พลังงานทดแทนและพลงั งานสะอาด ตลอดจนขยายโอกาสทางธุรกจิ ในภมู ภิ าคอาเซยี น เพม่ิ ประสทิ ธิภาพ
และขยายการให้บริการด้านโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัลอย่างทั่วถึงทัง้ ประเทศ ในราคาที่เหมาะสมเป็นธรรม
และส่งเสริมธุรกิจดิจิทัลใหม่และนวัตกรรม รวมทั้งพัฒนาระบบความปลอดภัยทางไซเบอร์ให้มี
ความมั่นคง และคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคลให้แก่ผู้ใช้บริการ พัฒนาประสิทธิภาพและขยายการให้บริการ
โครงสร้างพื้นฐานด้านน้ำประปาทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพให้ครอบคลุมทั่วประเทศ ลดอัตราน้ำ
สูญเสียในระบบประปาและสร้างกลไกการบริหารจัดการการประกอบกิจการน้ำประปาในภาพรวมของ
ประเทศและเพอ่ื พัฒนาอตุ สาหกรรมต่อเนอื่ งท่ีเกิดจากลงทนุ ดา้ นโครงสร้างพน้ื ฐาน เพ่อื ลดการนำเข้าจาก
ตา่ งประเทศและสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจใหก้ บั ประเทศ
โดยมีเป้าหมายเพื่อการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ในภาพรวม
การพฒั นาโครงสรา้ งพื้นฐานด้านระบบขนส่ง เพื่อเพ่มิ ปริมาณการขนส่งสนิ ค้าทางรางและทางน้ำและเพ่ิม
ปริมาณการเดินทางด้วยระบบขนสง่ สาธารณะในเขตเมือง รวมทั้งขยายขีดสามารถในการรองรบั ปริมาณ
ผ้โู ดยสารของทา่ อากาศยานในกรุงเทพมหานครและท่าอากาศยานในภูมิภาคให้เพียงพอกบั ความต้องการ
การพัฒนาระบบโลจิสตกิ สเ์ พ่อื ใหป้ ระเทศไทยมคี วามสามารถในการแข่งขันด้านโลจิสตกิ สแ์ ละการอำนวย
ความสะดวกทางการค้ามีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ระบบ National Single Window (NSW) สามารถ
เชื่อมโยงและแลกเปล่ียนข้อมูลกระบวนการนำเข้าสง่ ออกและโลจิสติกส์ด้วยระบบอิเลก็ ทรอนิกส์แบบไร้
กระดาษได้อย่างสมบูรณ์ บุคลากรด้านโลจิสติกส์ได้รับการพัฒนาให้มีผลิตภาพสูงขึ้นรวมทั้งการขนส่ง
สินค้าผ่านเข้า-ออก ณ ด่านการค้าชายแดนสำคัญที่เชื่อมต่อกับโครงข่ายทางหลักมีประสิทธิภาพมากข้นึ
การพัฒนาด้านพลังงานเพื่อเพิ่มสัดส่วนการใช้พลังงานทดแทนต่อปริมาณการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายและ
ลดการพึ่งพาก๊าซธรรมชาติในการผลิตไฟฟ้า การพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล เพื่อขยายโครงข่ายอินเทอร์เน็ต
ความเร็วสูงให้ครอบคลุมท่ัวทั้งประเทศและสร้างผปู้ ระกอบการธุรกิจดิจิทัลรายใหม่เพิ่มข้ึนรวมท้ังพัฒนา
ระบบความม่ันคงปลอดภัยทางไซเบอร์ให้มีประสิทธภิ าพและสอดคล้องตามมาตรฐานสากลเพ่ือรับมือภัย

27

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการจดั ทำเครือ่ งช้ีวัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเปน็ พน้ื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พนื้ ฐาน
ระดับหมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

คุกคามทางออนไลน์ ตลอดจนการพัฒนาด้านสาธารณูปการ (น้ำประปา) เพื่อขยายกำลังการผลิต
น้ำประปาและกระจายโครงข่ายการให้บริการน้ำประปาให้ครอบคลุมพื้นที่ทัว่ ประเทศและบริหารจัดการ
ลดนำ้ สญู เสยี ในระบบส่งนำ้ และระบบจำหนา่ ยน้ำ

มีแนวทางการพฒั นา อนั ได้แก่ การพัฒนาโครงสร้างพ้นื ฐานด้านขนส่ง การสนบั สนุน
การพัฒนาระบบขนส่ง การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ การพัฒนาด้านพลังงาน การพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล
การพฒั นาระบบน้ำประปาอย่างเป็นรปู ธรรม

ยุทธศาสตร์ท่ี 8 การพฒั นาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจยั และนวัตกรรม
ยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม ให้ความสำคัญ
กับการใช้องค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ผลงานวิจัยและพัฒนา ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรม
และความคดิ สรา้ งสรรค์อย่างเข้มข้นทั้งในภาคธุรกิจ ภาครฐั และภาคประชาสังคม รวมทั้งให้ความสำคัญ
กับการพัฒนาสภาวะแวดล้อมหรือปัจจัยพื้นฐานที่เอื้ออำนวยทั้งการลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนา
การพัฒนาบุคลากรวจิ ัย โครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี และการบรหิ ารจดั การ
ยุทธศาสตร์ที่ 8 มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความเข้มแข็งและยกระดับความสามารถ
ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีขั้นก้าวหน้า ให้สนับสนุนการสร้างมูลค่าของสาขาการผลิตและบริการ
เป้าหมาย สร้างโอกาสการเข้าถึงและนำเทคโนโลยีไปใช้ให้กับเกษตรกรรายย่อย วิสาหกิจชุมชน และ
วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม พฒั นานวตั กรรมท่ีมุ่งเนน้ การลดความเหล่ือมล้ำและยกระดับคุณภาพ
ชีวิตของประชาชน ผูส้ งู อายุผดู้ อ้ ยโอกาสทางสังคม และเพมิ่ คุณภาพส่ิงแวดล้อมและเพ่ือบูรณาการระบบ
บริหารจัดการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม ให้สามารถดำเนินงานไปในทิศทางเดียวกัน
ยุทธศาสตร์ที่ 9 การพัฒนาภาค เมือง และพื้นที่เศรษฐกิจ มีเป้าหมายเพื่อเพิ่มความเข้มแข็งด้าน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศ เพ่ิมความสามารถในการประยุกต์ใช้วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและ
นวัตกรรมเพื่อยกระดับความสามารถการแข่งขันของภาคการผลิตและบริการ และคุณภาพชีวิตของ
ประชาชน
โดยมีแนวทางการพัฒนา อันได้แก่ การเร่งส่งเสริมการลงทุนวิจัยและพัฒนาและ
ผลกั ดนั ส่กู ารใชป้ ระโยชนใ์ นเชงิ พาณิชย์และเชิงสงั คม การพฒั นาผปู้ ระกอบการให้เป็นผู้ประกอบการทาง
เทคโนโลยี พัฒนาสภาวะแวดลอ้ มของการพฒั นาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วจิ ยั และนวัตกรรม
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 9 การพฒั นาภาค เมอื ง และพ้นื ทีเ่ ศรษฐกจิ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาภาค เมือง และพื้นที่เศรษฐกิจ มุ่งเน้นการพัฒนาและ
เร่งดำเนินการในประเด็นท้าทาย ได้แก่ การสร้างความเข้มแข็งของฐานการผลิตและบริการเดิมและ
ขยายฐานการผลิตและบริการใหม่ที่สร้างรายได้สำหรับประชาชนในภาค การพัฒนาเมืองให้เติบโต
อย่างมีคุณภาพ การพัฒนาและฟื้นฟูพื้นที่บริเวณชายฝ่ังทะเลตะวันออกให้รองรับการขยายตัวของ
ภาคอุตสาหกรรมแห่งอนาคตอย่างมีสมดุลและการบริหารจัดการพื้นที่เศรษฐกิจชายแดนให้เจริญเติบโต
และแข่งขันได้อย่างยั่งยืน รวมทั้งการเพิ่มประสิทธิภาพกลไกการขับเคลื่อนการพัฒนาภาคและเมืองให้
เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม มีวัตถุประสงค์เพื่อกระจายความเจริญและโอกาสทางเศรษฐกิจไปสู่ภูมิภาค
อยา่ งทัว่ ถงึ มากขน้ึ เพ่อื พัฒนาเมืองศนู ย์กลางของจังหวัดให้เป็นเมืองน่าอยู่สำหรับคนทกุ กลุ่ม พัฒนาและ
ฟื้นฟูพื้นที่ฐานเศรษฐกิจหลักให้ขยายตัวอย่างเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และเพิ่มคุณภาพชีวิตของคนใน
ชุมชน ตลอดจนพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจใหม่ให้สนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันและ

28

รายงานฉบบั สมบูรณโ์ ครงการจัดทำเคร่ืองช้ีวดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพืน้ ฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พื้นฐาน
ระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) สำหรับใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

การพัฒนาในพื้นที่อย่างยั่งยืน มีเป้าหมายเพื่อลดช่องว่างรายได้ระหว่างภาคและมีการกระจายรายได้ท่ี
เป็นธรรมมากขึ้น เพิ่มจำนวนเมืองศูนย์กลางของจังหวดั เป็นเมืองน่าอยู่สำหรับคนทุกกลุม่ ในสังคม พื้นที่
ฐานเศรษฐกิจหลักมีระบบการผลติ ท่มี ีประสิทธิภาพสูงและเปน็ มิตรต่อสิ่งแวดล้อม เพิ่มมลู ค่าการลงทุนใน
พน้ื ทเ่ี ศรษฐกิจใหม่บริเวณชายแดน

โดยมีแนวทางการพัฒนา อันได้แก่ การพัฒนาภาคเพื่อสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจให้
กระจายตัวอย่างทั่วถึง ทั้งเหนือ ตะวันออกเฉียงเหนือ กลางและใต้ การพัฒนาเมือง พัฒนาเมือง
ศูนย์กลางของจังหวัดให้เป็นเมืองน่าอยู่สำหรับคนทุกกลุ่มในสังคม โดยมีความปลอดภัย สิ่งแวดล้อมดี
เศรษฐกิจดี เดินทางสะดวก ระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการมีคุณภาพและทั่วถึงและเน้นความสอดคล้อง
กับอัตลักษณ์ ความหลากหลายและศักยภาพของเมือง พื้นฐานการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคม
การพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจ พัฒนาฟื้นฟูพื้นที่บริเวณชายฝั่งทะเลตะวันออกให้เป็นฐานการผลิตอุตสาหกรรม
หลักของประเทศที่ขยายตัวอย่างมีสมดุล มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับศักยภาพของพื้นที่ บนพื้นฐาน
การมีส่วนร่วมและได้รับการยอมรับจากชุมชน มีโครงสร้างพื้นฐานด้านการขนส่ง ระบบสาธารณูปโภค
สาธารณูปการ บริการสังคม และการจัดการสิ่งแวดล้อมที่มีคุณภาพและทั่วถึงสามารถสนับสนุน
การดำรงชีวิตและการประกอบอาชีพของประชาชนควบคู่กับการพัฒนาภาคการผลิตต่าง ๆ ได้อย่าง
เกื้อกูลและยั่งยืน การพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจใหม่บริเวณชายแดนเป็นประตูเศรษฐกิจเชื่อมโยงกับประเทศ
เพื่อนบ้านให้เจริญเติบโตอย่างยั่งยืนและเกิดผลที่เป็นรูปธรรม ในพื้นที่เป้าหมายเขตพัฒนาเศรษฐกิจ
พิเศษชายแดน 10 พื้นที่ ได้แก่ ตาก สระแก้ว สงขลา หนองคาย นครพนม มุกดาหาร ตราด กาญจนบุรี
เชียงราย และนราธวิ าส

ยุทธศาสตร์ที่ 10 ความรว่ มมือระหว่างประเทศเพอ่ื การพัฒนา
แผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 12 ได้ให้ความสำคัญกบั การปรับปรุงกลไกภายในประเทศให้มี
บูรณาการ ให้ความสำคัญกับกลไกที่สร้างสรรค์และเป็นธรรมและมบี ูรณาการกันในระดับอนุภูมภิ าคและ
ภูมิภาค และขณะเดียวกันก็ให้ความสำคัญกับการดำเนินการให้เกิดความชัดเจนต่อกลุ่มประเทศ
เพ่อื นบา้ นถึงบทบาทของประเทศไทยจากมุมมองของการพัฒนาอนุภูมภิ าคและภูมิภาค
ยุทธศาสตร์ที่ 10 มีวัตถุประสงค์เพื่อเพื่อใช้ประโยชน์จากจุดเด่นของทำเลที่ตั้งของ
ประเทศไทยทเ่ี ป็นจุดเช่ือมโยงสำคัญของแนวระเบียงเศรษฐกิจต่าง ๆ ให้เกิดประโยชน์อย่างเต็มศักยภาพ
ในการพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมของไทย เพื่อขยายโอกาสดา้ นการค้าการลงทุนระหว่างประเทศ และยกระดบั
ให้ประเทศเป็นฐานการผลิตและการลงทนุ ที่มีศักยภาพและโดดเด่น และเพื่อเพิ่มบทบาทของไทยในเวที
โลกด้วยการส่งเสริมบทบาทที่สร้างสรรค์ของไทยในกรอบความร่วมมือต่าง ๆ รวมทั้งการสนับสนุน
การขับเคลื่อนการพัฒนาภายใต้กรอบเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development
Goals: SDGs) มีเป้าหมายเพื่อให้เกิดเครือข่ายการเชื่อมโยงตามแนวระเบยี งเศรษฐกิจที่ครอบคลุมและมี
การใช้ประโยชน์ได้เต็มศักยภาพ มีระบบห่วงโซ่มูลค่าในอนุภูมิภาคและภูมิภาคอาเซียนเพิ่มขึ้น ประเทศ
ไทยเป็นฐานเศรษฐกิจ การค้าและการลงทุนที่สำคัญในภูมิภาคอนุภูมิภาค อาเซียน และเอเชีย รวมทั้งมี
การพัฒนาส่วนขยายจากแนวระเบียงเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคให้ครอบคลุมภูมิภาคอาเซียน เอเชีย
ตะวันออก และเอเชียใต้ ตลอดจนประเทศไทยเป็นหุ้นสว่ นการพฒั นาทส่ี ำคญั ท้งั ในทุกระดบั

29

รายงานฉบับสมบรู ณ์โครงการจัดทำเคร่อื งช้วี ดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พนื้ ฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พื้นฐาน
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

โดยมีแนวทางการพัฒนา อันได้แก่ การขยายความร่วมมือทางการค้าและการลงทนุ
กับมิตรประเทศและแสวงหาตลาดใหม่สำหรับสินค้าและบริการของไทย โดยการผลักดันให้สามารถใช้
ประโยชน์จากความตกลงทางเศรษฐกิจที่ดำเนินการอยู่แล้วให้เกิดผลเต็มที่และขยายความร่วมมือกับ
ตลาดเกิดใหม่ที่มีศักยภาพทั้งความร่วมมือในรูปทวิภาคีและพหุภาคี ควบคู่ไปกับการดำเนินยุทธศาสตร์
เชงิ รกุ โดยความรว่ มมือรัฐและเอกชนในการแสวงหาตลาดใหม่และพันธมิตรทางการค้าใหม่ ๆ การพัฒนา
ความเชอื่ มโยงดา้ นการคมนาคมขนสง่ โลจิสติกส์และโทรคมนาคมในกรอบความรว่ มมอื อนภุ ูมภิ าคภายใต้
แผนงาน GMS, ACMECS, IMT-GT, BIMSTEC และ JDS และภูมิภาคอาเซียนเพื่ออำนวยความสะดวก
และลดต้นทุนด้านโลจิสติกส์ การพัฒนาและส่งเสริมให้ไทยเป็นฐานของการประกอบธุรกิจ การบริการ
และการลงทุนที่โดดเด่นในภูมิภาค การส่งเสริมการลงทุนไทยในต่างประเทศ (Outward investment)
ของผู้ประกอบการไทยเพื่อสร้างผลตอบแทนจากเงินทุนและองค์ความรู้และเทคโนโลยีในสาขาการผลิต
และบริการที่ไทยมีขีดความสามารถโดดเด่น เปิดประตูการค้าและพัฒนาความร่วมมือกับประเทศเพื่อน
บา้ นในลักษณะหุ้นสว่ นทางยุทธศาสตร์ทงั้ ในระดับอนภุ ูมภิ าค และภูมภิ าคท่มี ีความเสมอภาคกนั เพื่อสร้าง
ความไว้เน้ือเชือ่ ใจ ส่งผลให้เกิดประโยชน์ร่วมกัน การสร้างความเป็นหุน้ ส่วนการพัฒนากับประเทศในอนุ
ภูมิภาค ภูมิภาค และนานาประเทศทง้ั ในระดับทวภิ าคี พหุภาคี และต่อยอดความร่วมมอื การเขา้ ร่วมเป็น
ภาคีความร่วมมือระหว่างประเทศโดยมีบทบาทที่สร้างสรรค์เพื่อเป็นทางเลือกในการดำเนินนโยบาย
ระหว่างประเทศในเวทีโลก เพื่อรักษาสมดุลในปฏิสมั พันธ์ระหว่างไทยและมหาอำนาจต่าง ๆ ทั้งในระดบั
โลกและภูมิภาค การส่งเสริมความร่วมมือกับภูมิภาคและนานาชาติในการสร้างความมั่นคงในทุกด้านท่ี
เกี่ยวกับเรื่องความอยู่ดีมีสุขของประชาชน การบูรณาการภารกิจด้านความร่วมมือระหว่างประเทศและ
ด้านการต่างประเทศ โดยการปรับกลไกภายในประเทศให้สนับสนุนการดำเนินงานด้านความร่วมมือ
ระหวา่ งประเทศในทกุ ด้านและทกุ ระดับ ตลอดจนการส่งเสริมให้เกิดการปรับตวั ภายในประเทศ

การขบั เคลอ่ื นและตดิ ตามแผนพัฒนาฯ ฉบบั ท่ี 12
การขับเคลื่อนและติดตามแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 (สศช., 2559) ที่ผ่านมา พบว่า
การขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศโดยยึดแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 เป็นกรอบทิศทางหลักและแปลงสู่
การปฏิบัติในระดับต่าง ๆ ที่สอดคล้องกับสภาพภูมิสังคม โดยมีการกระจายการพัฒนาลงสู่พื้นที่โดยยึด
หลักการพัฒนาพื้นที่ ภารกิจ และการมีส่วนร่วม (Area Function Participation: AFP) ให้จังหวัดเป็น
พื้นที่ดำเนินการขับเคลื่อนการพัฒนา และเป็นจุดเชื่อมโยงการพัฒนาจากชุมชนสู่ประเทศ และประเทศ
สู่ชุมชน เพิ่มการใช้องค์ความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรม และความคิดสร้างสรรค์ให้เป็นเครื่องมือหลักใน
การขับเคลื่อนการพัฒนาในทุกภาคส่วนในระดับพื้นที่ ท้องถิ่น และชุมชน ใช้กลไกและเครื่องมือ
การพัฒนาของภาครัฐ ภาคประชาชน ภาคธุรกิจเอกชน และสื่อมวลชนอย่างบูรณาการให้การขับเคลื่อน
เกิดประสิทธิภาพโดยกระบวนการสร้างเครือข่ายหรือคลัสเตอร์ที่ตอบสนองต่อการแก้ไขปัญหาและ
การพัฒนาศักยภาพของพื้นที่ระบบการบริหารจัดการแผนสู่การปฏิบัติที่มีความเชื่อมโยงกันในระดับต่าง ๆ
ตั้งแต่ระดับยุทธศาสตร์ที่เชื่อมต่อกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนเฉพาะด้าน และ
แผนปฏิบัติการ และระบบการจัดสรรงบประมาณที่มีประสิทธิภาพที่ตอบสนองการพัฒนาเชิงบูรณาการ
การพัฒนาเชิงพื้นที่และการพัฒนาที่ต่อเนื่อง รวมทั้งระบบการติดตามประเมินผลการดำเนินงานของ
ภาครัฐทสี่ อดคล้องกบั ประเดน็ การพัฒนา แนวทางการพฒั นาและผลของการพัฒนาอย่างแทจ้ ริง

30

รายงานฉบับสมบรู ณโ์ ครงการจดั ทำเคร่ืองชวี้ ดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพน้ื ฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พืน้ ฐาน
ระดบั หมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

โดยมีแนวทางการขับเคลอื่ นแผนฯ ส่กู ารปฏิบัติ ดังนี้
1. การสร้างความรูค้ วามเขา้ ใจให้ทุกภาคสว่ นตระหนักถึงความสำคัญและพร้อมเขา้
ร่วมในการผลกั ดันแผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ 12 ไปสูก่ ารปฏิบัติ
2. การสร้างความเชื่อมโยงระหว่างแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ยุทธศาสตร์ชาติ
นโยบายรัฐบาลและแผนเฉพาะดา้ น และแผนปฏบิ ัติการ
3. เชื่อมโยงแนวคิดพื้นฐาน ยุทธศาสตร์และประเด็นการพัฒนาสำคัญ ตลอดจน
แผนพัฒนาเฉพาะด้านภายใต้แผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ 12 เขา้ กับยุทธศาสตร์ชาตแิ ผนปฏิรูป นโยบายรัฐบาล
และแผนระดับตา่ งๆ
4. จัดทำยุทธศาสตรก์ ารจัดสรรงบประมาณแบบมสี ว่ นร่วม
5. ผลักดันให้ภาคเอกชนนำประเด็นการพัฒนาสำคัญในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12
พิจารณาประกอบการจัดทำแผนการลงทนุ ทางธรุ กิจ
6. การสรา้ งสภาพแวดล้อมใหเ้ อือ้ ตอ่ การขับเคล่ือนแผนของภาคีการพัฒนาต่าง ๆ
7. การเพิ่มประสิทธิภาพกลไกรับผิดชอบการขับเคลื่อนแผนฯ ที่ชัดเจน สามารถ
ขับเคลื่อนแผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ 12 ในระดบั ประเทศและระดบั พ้ืนทไี่ ดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
8. การเสริมสร้างบทบาทของทุกภาคสว่ นใหส้ ามารถขับเคลือ่ นแผนพัฒนาฯ ฉบับที่
12 ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ
2.1.3 กรอบแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาตฉิ บับท่ี 13
การกำหนดทิศทางการพัฒนาประเทศในระยะของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 – 2570) ซึ่งสำนักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคม
แหง่ ชาติ เหน็ ว่าเป็นแผนพัฒนาฯ ฉบบั แรกท่ีเร่ิมต้นกระบวนการยกร่างกรอบแผนภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ
และจะมีผลในการใช้เป็นกรอบเพื่อกำหนดแผนระดับปฏิบัติการในช่วง 5 ปีที่สองของยุทธศาสตร์ชาติ
20 ปียังคงน้อมนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นหลักปรัชญานำทางในการขับเคลื่อนและ
วางแผนการพัฒนาประเทศ ให้เกิดประสิทธิผลในการขับเคลื่อนพลวัตการพัฒนาประเทศในมิติต่าง ๆ
ไปสู่เปา้ หมายตามยุทธศาสตรช์ าติไดอ้ ย่างเปน็ รปู ธรรม (สศช., 2564)
ทั้งนี้กรอบแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 13 ถูกจัดทำขึ้นจากการ
ระดมความเห็นเพื่อวางกรอบแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ในเดือนกุมภาพันธ์
พ.ศ. 2564 จากการระดมความเห็นของผู้เชี่ยวชาญสาขาต่าง ๆ และผลการศึกษาวิจัยโดยสำนักงาน
สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) มองว่าการวิเคราะห์โอกาสและความเสี่ยงของ
ประเทศไทยในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13 นั้นอยู่ภายใต้กระแสแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
อาทิ ความกา้ วหน้าของเทคโนโลยอี ย่างพลกิ ผนั การเปลีย่ นแปลงโครงสร้างประชากรสูง สังคมสูงวยั และ
ภาวะโลกร้อนจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ร่วมกับปัจจัยเร่งจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19
ที่ก่อให้เกิดความผันผวนของสถานการณ์ทางเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อมแก่หลายประเทศทั่วโลก
รวมถึงประเทศไทยนั้น พบว่าแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวสามารถนำมาซึ่งโอกาสและความเสี่ยง
ที่จะช่วยผลักดันให้การพัฒนาประเทศไทยในระยะต่อไปให้เกิดผลสำเร็จหรือเป็นอุปสรรคหน่วงรั้ง
การขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศให้ไม่สามารถบรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ขึ้นอยู่กับบริบทหรือศักยภาพ
และขีดความสามารถของประเทศในการรับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น โดยโอกาสที่สำคัญสำหรับ

31

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการจัดทำเครือ่ งช้วี ัดและแบบสอบถามข้อมลู ความจำเป็นพ้นื ฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พืน้ ฐาน
ระดบั หมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ประเทศไทยซ่งึ มีท่ีมาจากแนวโน้มการเปลยี่ นแปลงในระดับโลก พบว่ามีทมี่ าจากความก้าวหน้าและความ
แพร่หลายของเทคโนโลยีเป็นหลัก ซึ่งการสรรค์สร้างประโยชน์จากเทคโนโลยีให้เกิดเป็นโอกาสสำหรับ
ประเทศไทยได้นั้นต้องอาศัยการพัฒนาคนและระบบบริหารจัดการด้านดิจิทัลและข้อมูลสารสนเทศให้มี
ความพร้อมเพื่อรองรับโอกาสที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงให้กระจายลงสู่ทุกภาคส่วนอย่างทั่วถึง
ขณะเดียวกัน ความเสี่ยงที่คาดว่าจะส่งผลกระทบเชิงลบและเป็นความท้าทายท่ีสำคญั ต่อประเทศไทยใน
การที่จะต้องเร่งแสวงหาแนวทางในการแก้ไขรับมือนั้นพบว่ามาจากแนวโน้มด้านการเปลี่ยนแปลง
โครงสร้างประชากร ความเหลื่อมล้ำด้านดิจิทัล รวมถึงปัญหาสิ่งแวดล้อมและภัยธรรมชาตซิ ึ่งจะบั่นทอน
ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ รวมถึงยังอาจเป็นเง่ือนไขทา้ ทายต่อมิติการพัฒนาทรัพยากร
มนุษย์และการสร้างความเสมอภาคในสังคม ดังนั้นเพื่อให้สามารถขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศในช่วง
ระยะเวลาของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 – 2570) ให้เกิดผลสัมฤทธิ์ในทิศทางที่จะนำไปสู่
การบรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปีได้อย่างเป็นรูปธรรม ในขณะเดียวกัน การยกระดับ
สมรรถนะและศักยภาพของประเทศไทยในระยะเวลาอันใกล้จะไม่สามารถเกิดขึ้นได้อย่างเป็นรูปธรรม
หากอาศัยเพียงการมุง่ แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าหรอื การปรับเปลีย่ นแนวทางการดำเนินงานในรายละเอียด
เพียงเล็กน้อย เนื่องจากการปรับตัวแบบค่อยเป็นค่อยไปจะไม่เท่าทันต่อพลวัตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดข้ึน
อย่างรวดเรว็ ฉับพลันในยคุ ปัจจุบนั อีกทงั้ ยงั ไม่เพียงพอสำหรับการรับมือกับความเสย่ี งท่ีอาจส่งผลกระทบ
ที่รุนแรงและแผข่ ยายในวงกว้างหรือทันต่อการแสวงหาโอกาสที่จะสร้างผลประโยชน์ทผ่ี ลักดันให้ประเทศ
ไทยสามารถบรรลุเป้าหมายในการพัฒนาภายใต้กรอบยุทธศาสตร์ชาติได้ตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด
(สศช., 2564)

ดังนัน้ การวางกรอบทิศทางการพัฒนาประเทศในระยะของแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 13
จึงมีจุดประสงค์เพื่อพลิกโฉมประเทศไทยสู่เศรษฐกิจสร้างคุณค่า สังคมเดินหน้าอย่างยั่งยื น
(Transformation to Hi-Value and Sustainable Thailand) ซึ่งมีจุดมุ่งหมายในการลดความเปราะบาง
สรา้ งความพร้อมในการรับมือกับการเปล่ยี นแปลง สามารถปรบั ตวั ให้อยู่รอดได้ในสภาวะวิกฤติ โดยสร้าง
ภูมิคุ้มกันทั้งในระยะสั้นและระยะยาวเพื่อให้ประเทศสามารถเติบโตได้อย่างยั่งยืน โดยการพลิกโฉม
ประเทศไทยครอบคลุมตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงในระดับโครงสร้าง นโยบาย และกลไก ในขณะเดียวกัน
กรอบแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13 ยังมุ่งกำหนดทิศทางการพัฒนาประเทศให้สอดคล้องกับปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง ผ่านการสร้างความสมดุลในการกระจายผลประโยชน์จากการพัฒนาแก่ทุกภาคส่วน
เศรษฐกิจและสังคมอย่างเป็นธรรม รวมทั้งการสร้างความสมดุลระหว่างความสามารถในการแข่งขันกับ
ต่างประเทศกับความสามารถในการพึ่งตนเอง พรอ้ มทัง้ การปรับเปล่ียนองคาพยพในมิติต่าง ๆ ให้เท่าทัน
และสอดคล้องกับพลวัตและบริบทใหม่ของโลก โดยคำนึงถึงเงื่อนไขของสถานการณ์และทรัพยากรของ
ประเทศ (สศช., 2564)

นอกจากน้ี กรอบแผนพฒั นาฯ ฉบับท่ี 13 ยงั ใหค้ วามสำคัญกบั เป้าหมายการพัฒนา
อย่างยั่งยืน ในการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชนทุกกลุ่มและส่งต่อทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมที่ดีไปยังคนรุ่นต่อไปเพื่อให้การขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศเกิดผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมาย
ทีก่ ำหนดไว้ในยุทธศาสตร์ชาติ และสอดคล้องกบั แนวคิดการพัฒนาประเทศทัง้ หมดตามท่ีกล่าวถึงข้างต้น
การพลกิ โฉมประเทศไทย (Thailand’s Transformation) ในระยะแผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ 13 จึงมีเป้าหมายหลัก
เพื่อพลิกโฉมประเทศไปสู่“เศรษฐกิจสร้างคุณค่า สังคมเดินหน้าอย่างยั่งยืน” หรือ “Hi-Value and

32

รายงานฉบบั สมบูรณโ์ ครงการจัดทำเคร่อื งชวี้ ัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พ้นื ฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพ้ืนฐาน
ระดบั หมู่บ้าน (กชช. 2ค) สำหรับใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

Sustainable Thailand” โดยใชอ้ งค์ความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมเปน็ เคร่ืองมือ
ในการขับเคลื่อนการยกระดับศักยภาพและพัฒนาประเทศในทุกมิติ เพื่อสนับสนุน เสริมสร้างการสร้าง
มูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจและขีดความสามารถในการแข่งขัน และเพื่อส่งเสริมโอกาสและความเสมอภาค
ทางสังคมอย่างทั่วถึง ตลอดจนเพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนรูปแบบการผลิตและการบริโภคให้เป็นมิตรกับ
สิ่งแวดลอ้ ม ให้เป็นไปในทศิ ทางที่ประเทศสามารถปรับตัวและรองรับกับการเปลี่ยนแปลงไดอ้ ย่างเทา่ ทัน
ตลอดจนสามารถอยู่รอดและเติบโตได้อย่างต่อเนื่องในระยะยาวไปพร้อมกับการรักษาความยั่งยืนของ
ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม (สศช., 2564)

กรอบของแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 13 มอี งคป์ ระกอบสำคัญ
4 ประการ (สศช., 2564) ได้แก่ 1) เศรษฐกิจมูลค่าสูงที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (High Value-Added
Economy) 2) สังคมแห่งโอกาสและความเสมอภาค (High Opportunity Society) 3) วิถีชีวิตที่ยั่งยืน
(Eco-Friendly Living) และ 4) ปัจจัยสนับสนุนการพลิกโฉมประเทศ (Key Enablers for Thailand’s
Transformation) โดยรายละเอียดขององคป์ ระกอบท้งั 4 ดา้ น และหมุดหมาย มดี งั นี้

1) เศรษฐกิจมูลค่าสูงที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (High Value-Added Economy)
ไทยมีความสามารถในการแข่งขันสูงบนพื้นฐานของการสร้า งมูลค่าเพิ่มจากการพัฒนาต่อยอดและใช้
ประโยชน์จากองค์ความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม พร้อมกับการลดผลกระทบ
เชิงลบต่อสิ่งแวดล้อม และมีการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพ โดยการปรับทิศทางของ
ภาคการผลิตเดิมที่มีความสำคัญ แต่มีความเสี่ยงที่จะสูญเสียความสามารถในการแข่งขันในอนาคตและ
มีความเสี่ยงที่จะสูญเสียส่วนแบ่งทางการตลาดหรือได้รับผลกระทบเชิงลบจากกระแสการเปลี่ยนแปลง
ของโลกหากไม่มีการปรบั ตัวและส่งเสริมภาคการผลิตท่ีไทยมีศักยภาพสอดรับกับทิศทางการเปลี่ยนแปลง
ของโลก โดยหมุดหมายที่ประเทศต้องบรรลุให้ได้ภายในระยะ 5 ปีของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13 เพื่อให้
เปา้ หมายของการมเี ศรษฐกจิ มลู คา่ สงู ทเี่ ปน็ มติ รต่อสิง่ แวดลอ้ มบงั เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม ประกอบดว้ ย

หมดุ หมายท่ี 1 ไทยเปน็ ประเทศชนั้ นำด้านสนิ ค้าเกษตรและเกษตรแปรรปู มูลค่าสงู
หมดุ หมายที่ 2 ไทยเปน็ จุดหมายของการท่องเที่ยวท่เี น้นคณุ คา่ และความยง่ั ยืน
หมดุ หมายท่ี 3 ไทยเป็นฐานการผลติ ยานยนตไ์ ฟฟ้าของอาเซียน
หมุดหมายท่ี 4 ไทยเป็นศูนย์กลางทางการแพทย์และสุขภาพมลู ค่าสงู
หมุดหมายที่ 5 ไทยเป็นประตูการค้าการลงทุนและจุดยุทธศาสตร์ทางโลจิสติกส์ท่ี
สำคัญของภูมภิ าค
หมุดหมายที่ 6 ไทยเป็นฐานการผลิตอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะและบริการดิจิทัลของ
อาเซียน
2) สังคมแห่งโอกาสและความเสมอภาค (High Opportunity Society) ทุกกลุ่มคน
ในประเทศมีโอกาสในการเลื่อนสถานะทางเศรษฐกิจและสังคมอย่างเต็มศักยภาพ ประชาชนได้รับ
ความค้มุ ครองทางสังคมทเี่ พียงพอ เหมาะสม ทุกภาคส่วนในสงั คมมีสว่ นร่วมและไดร้ ับประโยชน์จากการ
เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค และประเทศมีความเหลื่อมล้ำลดลงในทุกมิติโดยการใช้
เทคโนโลยี ฐานข้อมูลสารสนเทศ และดิจิทัลแพลตฟอร์มเป็นเครื่องมือในการส่งเสริมการแข่งขันที่เปิด
กว้างและเป็นธรรมเพื่อลดความเหลื่อมล้ำในเชิงธุรกิจ และผลักดันให้เกิดการเพิ่มผลิตภาพและพัฒนา
นวตั กรรมอย่างตอ่ เนื่อง การสง่ เสริมกิจกรรมทางเศรษฐกิจและยกระดบั คณุ ภาพบริการสาธารณะในเมือง

33

รายงานฉบบั สมบูรณ์โครงการจัดทำเครื่องชว้ี ัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพ้ืนฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพื้นฐาน
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

หลักและท้องถิ่นต่างจังหวดั เพื่อลดความเหลื่อมล้ำในเชิงพื้นทีต่ ลอดจนการช่วยเหลือผู้มีรายได้น้อยด้อย
โอกาสอย่างตรงกับปัญหาความต้องการ การใช้นโยบายการเงินการคลังเพื่อสนับสนุนการกระจายรายได้
และการจัดความคุ้มครองทางสังคมอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อเพิ่มพลวัตการเลื่อนสถานะทางเศรษฐกิจ
และสังคม (socioeconomic mobility) ทั้งนี้ การมุ่งลดความเหลื่อมล้ำในเชิงธุรกิจ เชิงพื้นที่ และ
เพิ่มพลวัตการเลื่อนสถานะทางเศรษฐกิจและสังคมดังกล่าวจะนำไปสู่การลดความเหลื่อมล้ำทางรายได้
ความม่ังคัง่ และการเขา้ ถงึ การศึกษา สาธารณสุข และบริการสาธารณะอ่นื ๆ ท่มี คี ุณภาพ โดยหมุดหมาย
ที่ต้องบรรลุในห่วงระยะเวลาของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13 เพื่อผลักดันการสร้าง “สังคมแห่งโอกาสและ
ความเสมอภาค” อยา่ งเป็นรูปธรรมประกอบด้วย

หมดุ หมายที่ 7 ไทยมี SMEs ท่เี ขม้ แข็ง มศี ักยภาพสูง และสามารถแข่งขนั ได้"
หมดุ หมายที่ 8 ไทยมพี ้นื ที่และเมืองหลักของภูมภิ าคที่มคี วามเจริญทางเศรษฐกิจ
ทนั สมยั และน่าอยู่
หมุดหมายที่ 9 ไทยมีความยากจนขา้ มรุ่นลดลงและคนไทยทุกคนมคี วามคุม้ ครองทาง
สงั คมท่ีเพียงพอ เหมาะสม
3) วิถีชวี ิตที่ยง่ั ยืน (Eco-Friendly Living) ทุกภาคส่วนในสงั คมมีรูปแบบการดำเนิน
ชีวิตและกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เอื้อให้เกิดความยั่งยืนของทรัพยากรธรรมชาติ ระบบนิเวศ และสภาพ
ภูมิอากาศ พร้อมทั้งสามารถรับมือและมีภูมิคุ้มกันจากสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป โดยให้
ความสำคัญกบั การพัฒนาประสิทธิภาพของการบริหารจดั การ ทั้งการจัดการของภาครัฐและบทบาทของ
ภาคส่วนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อมุ่งจัดการกับปัญหาที่เป็นภัยคุกคาม
สำคัญทั้งในประเทศไทยและในระดับโลก ซึ่งได้แก่ ปัญหาขยะ มลพิษทางน้ำ มลพิษอากาศ ก๊าซเรือน
กระจก และความเสี่ยงของภัยธรรมชาติอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ ด้วย
การยกระดับระบบการจัดการและโครงสร้างพื้นฐานที่เกี่ยวข้อง พร้อมทั้งพัฒนากลไกที่จูงใจให้เกิด
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการผลิตและบริโภคให้มีความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม โดยหมุดหมายที่ต้อง
บรรลุในห้วงระยะเวลาของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13 เพื่อผลักดันการสร้าง “วิถีชีวิตที่ยั่งยืน” อย่างเป็น
รปู ธรรม ประกอบดว้ ย
หมุดหมายท่ี 10 ไทยมเี ศรษฐกิจหมุนเวยี นและสังคมคารบ์ อนตำ่
หมุดหมายที่ 11 ไทยสามารถลดความเสี่ยงและผลกระทบจากภัยธรรมชาติและ
การเปล่ยี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ
4) ปัจจัยสนับสนุนการพลิกโฉมประเทศ (Key Enablers for Thailand’s Transformation)
ปัจจัยขับเคลื่อนที่เอื้อต่อการเปลี่ยนผ่านประเทศไปสู่การเป็น Hi-Value and Sustainable Thailand
โดยเฉพาะกลไกการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ทั้งระบบการศึกษาและการยกระดับและปรับทักษะแรงงาน
ที่มีคุณภาพได้มาตรฐาน สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานและโลกยุคใหม่และส่งเสริม
การเคลอ่ื นยา้ ยแรงงานไปสู่ภาคการผลิตและบริการท่มี ผี ลิตภาพและมลู ค่าสูง และกลไกการบริหารจัดการ
ภาครัฐ ทั้งระเบียบกฎหมาย ระบบงบประมาณ โครงสร้างพื้นฐาน การให้บริการสาธารณะตลอดจน
การติดตามประเมินผลที่ทันสมัย เท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลง ตอบสนองความต้องการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
และสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาประเทศ โดยหมุดหมายที่ต้องบรรลุในระยะเวลาของแผนพัฒนาฯ
ฉบับที่ 13 เพื่อสร้าง “ปจั จยั สนับสนนุ การพลิกโฉมประเทศ” ประกอบดว้ ย

34

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเครอื่ งชี้วัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พืน้ ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพน้ื ฐาน
ระดับหม่บู า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

หมุดหมายที่ 12 ไทยมีกำลังคนสมรรถนะสูง มุ่งเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ตอบโจทย์
การพฒั นาแห่งอนาคต

หมดุ หมายท่ี 13 ไทยมภี าครฐั ทมี่ ีสมรรถนะสูง
ทั้งนี้ การกำหนด “หมุดหมาย” (Milestones) ในช่วงระยะเวลา 5 ปี ของแผนพัฒนาฯ
ฉบับที่ 13 เพื่อนำไปสู่การพลิกโฉมประเทศสูก่ ารเป็น Hi-Value and Sustainable Thailand ภายในปี
2570 ได้พัฒนาขึ้นจากการนำโอกาสและความเสี่ยงที่ได้จากการวิเคราะห์ผลกระทบของแนวโน้ม
การเปลี่ยนแปลงระดับโลก (Megatrends) ต่อสถานะของการพัฒนาประเทศ มาใช้เป็นกรอบใน
การจัดทำรายละเอียดและสาระสำคัญของหมุดหมายทั้ง 13 ประการ โดยความเชื่อมโยงระหว่างโอกาส
และความเส่ยี งกับ 13 หมดุ หมายดังกลา่ วมา

2.2 กรอบ แนวคิด การจัดทำตัวชีว้ ัดการพัฒนามนุษย์ทงั้ ในประเทศและต่างประเทศ

2.2.1 แนวคิดการพฒั นาที่ยงั่ ยนื
กล่าวได้ว่า “การพฒั นาที่ยงั่ ยนื ” เกดิ จากความตืน่ ตัวเรื่องผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม

ที่เกิดขึ้นอย่างกว้างขวางทัว่ โลก องค์การสหประชาชาติให้ความสนใจเร่ืองการพัฒนาอย่างยัง่ ยนื มาต้งั แต่
ช่วงปี พ.ศ. 2515 โดยมกี ารจดั การประชุมเร่ืองส่งิ แวดล้อมในระดับโลกขึน้ เป็นคร้ังแรก ท่ีกรุงสต็อคโฮม
ประเทศสวเี ดน และในปี 2526 ได้จดั ตง้ั คณะกรรมาธิการโลกในเร่ืองสิ่งแวดล้อมและการพัฒนา(World
Commission on Environment and Development) เพื่อทำการศึกษา เรื่องการสร้างความสมดุล
ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับการพัฒนา และต่อมาได้เผยแพร่เอกสารชื่อ Our Common Futureเรียกร้องให้
ชาวโลกเปลี่ยนแปลงวธิ กี ารดำเนินชีวติ ที่ฟุ่มเฟือย เพื่อให้มีการพัฒนาที่ปลอดภยั ต่อสิ่งแวดล้อม เอกสาร
ฉบับนี้มีส่วนสำคัญต่อการประชุม สุดยอดของโลก หรือ The Earth Summit ที่กรุง ริโอ เดอ จาเนโร
ประเทศบราซิล เมื่อปี พ.ศ. 2535 ซึ่งในการประชุมครั้งนั้นมีหนังสือประกอบการประชุมเล่มหน่ึง
ที่เรียกว่า Brundtland Report ได้ให้คำจำกัดความคำว่าการพัฒนาที่ยั่งยืน ไว้ว่า “การพัฒนาที่ยั่งยืน
เป็นการพัฒนาที่ตอบสนองความจำเป็นของคนยุคปัจจุบันโดยไม่ลดขีดความสามารถในการตอบสนอง
ความจำเป็นของคนยคุ ต่อไป” (Iris Borowy, 2014)

กระทั่งในปีพ.ศ. 2535 ประเทศไทยได้ร่วมลงนามรับรองแผนปฏิบัติการที่ 21
(Agenda 21) ในการประชุมระดับโลกว่าด้วยสิ่งแวดล้อมและการพัฒนา ( UN Conference on
Environment and Development: UNCED) ซึ่งถือเป็นแผนแม่บทของโลกที่ประเทศสมาชิกต้อง
ตระหนักถึงปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและเห็นความสำคัญในการร่วมกันปกป้องสิ่งแวดล้อมเพื่อสร้าง
การพัฒนาที่ยั่งยืนให้เกิดขึ้นในโลก โดยกำหนดกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาในมิติ
ทางเศรษฐกิจ ทางสังคม และทางสงิ่ แวดล้อมอย่างสมดุล พร้อมท้ังกระตุ้นใหร้ ัฐบาลประเทศต่าง ๆ สร้าง
“กลยุทธ์” หรือ “เทคนิค” ของการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยมุ่งเน้นการพัฒนาเศรษฐกิจที่รับผิดชอบต่อสังคม
ในขณะเดียวกันก็ให้ความคุ้มครองฐานทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมเพื่อผลประโยชน์ของคนในรุ่นต่อไป
ทั้งนี้โดยเปิดโอกาสให้กลุ่มต่าง ๆ ในสังคมเข้ามามีส่วนร่วมอย่างกว้างขวางที่สุด ( United Nation
Division for Sustainable Development, 1992) ต่อมาในปี 2545 ประเทศไทยได้เข้าร่วมประชุม
สุดยอดระดับโลกว่าด้วยการพัฒนาที่ยั่งยืน (World Summit on Sustainable Development: WSSD) ที่

35

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการจดั ทำเครอื่ งชว้ี ัดและแบบสอบถามข้อมลู ความจำเป็นพืน้ ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พืน้ ฐาน
ระดบั หมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรับใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

นครโจฮันเนสเบอรก์ ประเทศสาธารณรฐั แอฟริกาใต้ เพื่อตอกย้ำแนวทางในแผนปฏบิ ัตกิ ารท่ี 21 ให้มีผล
ในทางปฏบิ ัตมิ ากยิ่งขึ้น (สำนกั งานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ, 2546)

แนวคดิ การพฒั นาทยี่ ่งั ยนื ในประเทศไทย
สำหรับประเทศไทย ความเข้าใจที่มีต่อการพัฒนาที่ยั่งยืนนั้นเกิดขึ้นจากการตีความ
ที่หลากหลาย แต่ที่น่าสนใจ คือ การจัดให้มีการระดมความคิดเห็นเพื่อกำหนดคำนิยามของการพัฒนา
ที่ยั่งยืน โดย “คณะอนุกรรมการกำกับการอนุวัตตามแผนปฏิบัติการที่ 21 และการพัฒนาที่ยั่งยืน”
ร่วมกับสถาบันสง่ิ แวดลอ้ มไทย ได้นิยามการพฒั นาท่ยี ง่ั ยนื ในบรบิ ทประเทศไทยวา่ “เปน็ การพัฒนาท่ีต้อง
คำนึงถึงความเป็นองค์รวมของทุก ๆ ด้านอย่างสมดุล บนพื้นฐานของทรัพยากรธรรมชาติ ภูมิปัญญา
และวัฒนธรรมไทยด้วยการมีส่วนร่วมของประชาชนทุกกลุ่ม ด้วยความเอื้ออาทร เคารพซึ่งกันและกัน
เพ่ือความสามารถในการพ่ึงตนเอง และคุณภาพชีวติ ท่ดี อี ย่างเทา่ เทยี ม” (สศช., 2546, น. 4)
แม้ความหมายของการพัฒนาที่ยั่งยืนจะปรากฏแตกต่างกันไปในหลายรูปแบบแต่มี
การกำหนดสิ่งที่ถือเป็นหลักการเหมือนกันเพื่อขยายความในความหมายของการพัฒนาที่ยั่งยืนที่
คลุมเครือแตกต่างกันนั้นให้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น เช่น เป็นการพัฒนาที่ดำเนินไปโดยคำนึงถึงขีดจำกัดของ
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม และสนองความต้องการในปัจจบุ ันโดยไม่ส่งผลเสียต่อความต้องการ
ในอนาคตเป็นการพัฒนาที่คำนึงถึงความเป็น “องค์รวม” และเป็นการพัฒนาที่ไม่ได้ปฏิเสธ “ระบบ
เทคโนโลยี” เพียงแต่ต้องคำนึงว่าเทคโนโลยีที่นำมาใช้นั้นควรเป็นไปในทาง “สร้างสรรค์” ไม่ใช่ “ทำลาย”
(สศช., 2546) การพัฒนาแบบยั่งยืน หมายถึง การพัฒนาที่ตรงกับความต้องการตามความจำเป็นใน
ปัจจุบันโดยสามารถรองรับความ ต้องการหรือความจำเป็นที่จะเกิดแก่ชนรุ่นหลัง ๆ ด้วยทั้งนี้มาตรฐาน
การครองชีพที่เลยขีดความจำเป็นชั้นพื้นฐานต่ำสุดจะยั่งยืนต่อเมือ่ มาตรฐานการบริโภคในทุกหนทุกแห่ง
คำนึงถึงความยั่งยืนในระยะยาว (Long-term Sustainability) รวมถึงครอบคลุมมาตรการการรักษา
มรดกทางทรัพยากรท่ีจะตกกบั คนร่นุ หลังโดยอย่างน้อยใหม้ าก ๆ พอกับชนรนุ่ ปัจจุบันที่ได้รับมาและเป็น
การพัฒนาที่กระจายประโยชน์ของความก้าวหน้าเศรษฐกิจได้อย่างทั่ วถึงตลอดจนเป็นการพัฒนาที่
ปกป้องสิ่งแวดล้อมทงั้ ในระดบั ท้องถ่นิ และในระดับโลก โดยรวมเพ่อื ชนรุ่นหลงั และเปน็ การพัฒนาที่ทำให้
คุณภาพชีวิตดีขึ้นอย่างแท้จริง (สศช., 2546, น. 4) ในขณะที่กระบวนการสร้างความหมายของ
การพฒั นาเกดิ ขึ้นจากการเปล่ียนแปลงในเชิงรูปธรรมหรือไปมุ่งท่กี ารเปล่ียนแปลงเชงิ วัตถุแต่การพัฒนาที่
ยง่ั ยืนตอ้ งการเปล่ยี นแปลงในเชิงคุณค่าและคุณภาพของการบรหิ ารจดั การให้เกิดประสิทธภิ าพโดยเฉพาะ
ลักษณะของความเปน็ องค์รวม (Holistic) และความสมดุล (Balance) ของการพฒั นา (สศช., 2546)
นอกจากนี้ในการจัดทำข้อเสนอของประเทศไทยในการประชุมสุดยอดของโลกว่า
ด้วยการพัฒนาที่ยั่งยืน ณ นครโจฮันเนสเบอร์ก ประเทศแอฟริกาใต้เมื่อเดือนกันยายน 2545
คณะอนุกรรมการกำกับการอนุวัตตามแผนปฏิบัติการ 21 และการพัฒนาที่ยั่งยืน ซึ่งมีหน้าที่เป็น
คณะกรรมการเตรียมการประชุมสุดยอดฯของประเทศได้ร่วมกับสถาบันสิ่งแวดล้อมไทยจัดระดม
ความคิดเห็นจากภาคีต่าง ๆ ได้ข้อยุติด้านค่านิยามของการพัฒนาที่ยั่งยืนว่า “การพัฒนาที่ยั่งยืนใน
บริบทไทย เป็นการพัฒนาที่ต้องคำนึงถึงความเป็นองค์รวมของทุก ๆ ด้านอย่างสมดุล บนพื้นฐานของ
ทรพั ยากรธรรมชาตภิ มู ปิ ัญญาและวัฒนธรรมไทย ดว้ ยการมีส่วนรว่ มของประชาชนทุกกลมุ่ ด้วยความเอื้ออาทร
เคารพซึ่งกันและกันเพื่อความสามารถในการพึ่งตนเองและคุณภาพชีวิตที่ดีอย่างเท่าเทียม” (สศช.,
2546)

36

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเครอื่ งชวี้ ัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพ้ืนฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พ้ืนฐาน
ระดับหมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ในส่วนของนักวิชาการที่ให้ความสำคัญกับการพัฒนาที่ยั่งยืน เช่น ประเวศ วะสี
(2535, 2539, 2545) และ เสน่ห์ จามริก (2537, 2541, 2544) กล่าวคอื ประเวศ วะสี (2547)
งานเขียนจำนวนมากสะท้อนว่ากระแสการพัฒนาที่ยั่งยืนในบริบทสังคมไทยเรียกร้องให้รัฐหันมาเน้น
การพัฒนาที่สร้างความสมดุลและเป็นธรรมหรือการพัฒนาบนฐานวัฒนธรรม เพื่อต้านทานกระแส
การพัฒนาเศรษฐกิจที่ดึงทรัพยากรท้องถิ่นไปใช้อย่างรวดเร็วจนเสื่อมโทรม ความสมดุลและเป็นธรรมใน
การพัฒนาที่ยั่งยืนนั้นอาศัยการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาหรืออีกนัยหนึ่งเป็นการพัฒนาท่ี
ประชาชนเข้ามาร่วมจัดการทรัพยากรเพื่อให้เกิดการใช้ประโยชน์อย่างเป็นธรรมเพราะเชื่อว่าวัฒนธรรม
และวิถชี ีวติ ชุมชนท้องถิ่นสามารถจัดการและใชป้ ระโยชน์ในทรัพยากรธรรมชาตไิ ด้อยา่ งยัง่ ยืน

ในขณะที่ แนวคิดเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงได้รับความสนใจตั้งแต่พระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมีพระราชดำรัสในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจปี 2540 ประเวศ วะสี อธิบาย
ลักษณะของเศรษฐกิจพอเพียงว่าเป็นเศรษฐกิจทางสายกลางที่สมดุลและยั่งยืนเชื่อมโยงทุกเรื่อง
เข้าด้วยกันทั้งเศรษฐกิจ จิตใจ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม ทัศนะดังกล่าวทำให้เศรษฐกิจพอเพียงกับ
การพัฒนาที่ยั่งยืนกลายเป็นเรือ่ งเดียวกัน ส่วนการส่งเสรมิ สนับสนุนเศรษฐกิจพอเพียง ประเวศยังเหน็ ว่า
สามารถทำไดด้ ว้ ยการสง่ เสรมิ ความเข้มแข็งของชุมชน (ประเวศ, 2544)

ประเวศ วะสี เห็นว่าแนวคิดเรื่องการพัฒนาที่ยั่งยืนและเศรษฐกิจพอเพียงใน
สังคมไทยวางอยู่บนฐานคิดหลัก ๆ คือ การกระจายอำนาจและการมีส่วนร่วมในการพัฒนาของชุมชน
ท้องถิ่นด้วยเครื่องมือทางวัฒนธรรมและการรวมตัวกันของคนในชุมชนเป็นชุมชนเข้มแข็งได้อธิบาย
การพัฒนาที่ยั่งยืนว่า “การพัฒนาที่ยั่งยืนมีลักษณะที่เป็นบูรณาการ (Integrated) คือ ทำให้เกิดเป็น
องค์รวม (Holistic) หมายความว่า องค์ประกอบทั้งหลายที่เกี่ยวข้องจะต้องมาประสานกันครบองค์ และ
มีลักษณะอีกอย่างหนึ่ง คือ มีดุลยภาพ (Balance) หรือพูดอีกนัยหนึ่ง คือ การทำให้กิจกรรมของมนุษย์
สอดคลอ้ งกับกฎเกณฑ์ของธรรมชาติ” นน่ั กค็ อื การกำหนดแนวทางการพัฒนาจะต้องคำนึงถึงปัจจัยด้าน
มนุษย์โดยให้คุณค่าทางวัฒนธรรมรวมอยู่ในกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งการแก้ปัญหา
สิ่งแวดล้อมด้วย ดังนั้นตามแนวคิดของพระธรรมปิฏกจึงสามารถสรุปได้ว่า “การพัฒนาที่ยั่งยืนเป็น
การพัฒนาที่ครอบคลุมการพัฒนาในทกุ ดา้ นและทกุ มิติ กล่าวคือ ทั้งเศรษฐกิจ สังคมทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม จิตใจ วัฒนธรรม ฯลฯ โดยมีคนเป็นศูนย์กลางหรือ เป้าหมายของการพัฒนา เพื่อให้คน
อยดู่ กี นิ ดแี ละมีความสขุ ทงั้ คนในรนุ่ นแ้ี ละรนุ่ ตอ่ ๆ ไป” (ประเวศ วะสี, 2542, 2544)

สำหรับแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา
ภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ทรงมีพระราชดำรัสชี้แนะแนวทางการดำเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมา
โดยตลอดนานกว่า 30 ปีตั้งแต่ก่อนเกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังได้ทรงเน้นย้ำ
แนวทางการแก้ไขเพื่อให้รอดพ้น และสามารถดำรงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวตั น์
และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ โดยสำนักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติหน่วยงานต่าง ๆ
ได้เชิญผู้ทรงคุณวุฒิจากสาขาต่าง ๆ มาร่วมกันพิจารณากลั่นกรองพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ในโอกาสต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปออกมาเป็นนิยาม
ความหมาย ดังนี้ เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้แนวการดำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนใน
ทกุ ระดับ ต้งั แต่ระดับครอบครวั ระดบั ชุมชน จนถึงระดบั รัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนิน
ไปในทางสายกลาง 8 โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยคุ โลกาภิวัตน์ความพอเพียง

37

รายงานฉบบั สมบูรณ์โครงการจัดทำเครือ่ งชีว้ ดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พน้ื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพน้ื ฐาน
ระดบั หมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจำเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
พอสมควรต่อการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปล่ยี นแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทัง้ น้ีจะต้องอาศัย
ความรอบรู้ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่ง ในการนำวิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผน
และการดำเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติโดยเฉพาะ
เจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับให้มีสำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริตและให้มี
ความรู้ที่เหมาะสม ดำเนินชีวิตด้วยความอดทนความเพียร มีสติปัญญา และความรอบคอบเพื่อให้สมดุล
และพรอ้ มตอ่ การรองรับการเปล่ยี นแปลงอย่างรวดเรว็ และกว้างขวางทั้งดา้ น วัตถุสงั คม สงิ่ แวดลอ้ ม และ
วัฒนธรรมจากโลกภายนอกไดเ้ ปน็ อย่างดีโดยมีรายละเอียด ดังนี้

1) ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีต่อความจำเป็นและเหมาะสมกับฐานะ
ของตนเอง สังคม สิ่งแวดล้อม รวมทั้งวัฒนธรรมในแต่ละท้องถิ่นไม่มาเกินไป ไม่น้อยเกินไป และต้องไม่
เบยี ดเบียนตนเองและผูอ้ นื่

2) ความมีเหตุผล หมายถึง หมายถึงการตัดสินใจดาเนินการเรื่องต่าง ๆ อย่างมี
เหตุผลตามหลักวิชาการ หลักกฎหมาย หลักศีลธรรมจริยธรรม และวัฒนธรรมที่ดีงาม คิดถึงปัจจัยท่ี
เกยี่ วขอ้ งอย่างถ้วนถีโ่ ดยคำนงึ ถงึ ผลทคี่ าดว่าจะเกิดขนึ้ จากการกระทำนน้ั ๆ อยา่ งรอบคอบ

3) การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและ
การเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม เพื่อให้สามารถ
ปรับตัวและรับมือได้อย่างทันท่วงทีโดยมีเงื่อนไขของการตัดสินใจและดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยู่ใน
ระดับพอเพียง 2 ประการ ดังนี้ (1) เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่
เกี่ยวข้องรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนำความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบ
การวางแผนและความระมัดระวังในการปฏิบัติ (2) เงื่อนไขคุณธรรมที่จะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย
มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริตและมีความอดทน มีความเพียร ใช้ สติปัญญาใน
การดำเนินชีวิต

จึงกล่าวได้ว่า การนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปฏิบัติคือการพัฒนาที่สมดุล
และยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้งเศรษฐกิจ สังคม สภาพแวดล้อม ความรู้ และ
เทคโนโลยี เปน็ แนวทางในการพฒั นาให้สามารถพ่งึ ตนเองในระดบั ตา่ ง ๆ อย่างเปน็ ข้นั ตอน ลดความเสย่ี ง
เกี่ยวกับธรรมชาติ หรือการเปลี่ยนแปลงจากปัจจัยต่าง ๆ โดยอาศัยความพอประมาณและสร้างภูมิคุ้มกันที่ดี
มีความรู้ ความเพียร และความอดทน สติ และปัญญา การช่วยเหลือเกื้อกูล และความสามัคคี โดยภูมิปัญญา
ท้องถิ่นผสมผสานกับหลกั วิชาการ ใช้การพิจารณาวางแผนและขั้นตอนการปฏบิ ัติอย่างรอบคอบ โดยตระหนกั
ในคุณธรรม ความซื่อสัตย์ สุจริต ใช้สติปัญญาและความเพียรในการดำเนินชีวิต (ประเวศ วะสี, 2542,
2544) ซงึ่ สอดคล้องกับแนวคิดท่วี า่ การสรา้ งความเขา้ ใจต่อกรอบคิดของการพัฒนาทย่ี ่ังยนื มักจะมองกัน
ว่าความผิดพลาดจากการพัฒนาในอดีต นับตั้งแต่เริ่มต้นแผนพัฒนาประเทศในปี 2504 นั้นได้นำไปสู่
ความขัดแย้งทางสังคมอันเกิดจากการแย่งชิงทรัพยากรและโยงไปถึงความไม่เท่าเทียมกันในการครอบครอง
ทรัพยากรระหว่างคนในสังคม ตลอดจนปัญหาความเส่ือมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ที่เกิดขึ้นจากการใช้อย่างไร้ขีดจำกัด ทางออกของปัญหาเหล่านี้จะเกิดขึ้นได้ก็ด้วยการบริหารจัดการ
สิ่งแวดล้อมและการพัฒนาที่สมดุล (สศช., 2546) เช่นเดียวกับ เสน่ห์ จามริก (2536, 2546)
วเิ คราะหว์ ่าการกระจายอำนาจ (Decentralization) เป็นพื้นฐานทีส่ ำคัญของการพฒั นาที่ย่ังยืน หากมอง

38


Click to View FlipBook Version