The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การพัฒนาเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพื้นฐาน
ระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) เป็นเครื่องมือในการวางแผนพัฒนาให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ และจะมีการปรับปรุงทุก ๆ 5 ปี ในปี พ.ศ. 2565 เป็นปีเริ่มต้นของแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (2565 - 2569) จึงมีความจำเป็นต้องใช้เครื่องชี้วัด เกณฑ์ชี้วัดและ
แบบสอบถามชุดใหม่สำหรับจัดเก็บข้อมูล จปฐ. และข้อมูล กชช. 2ค ให้สอดคล้องกับเป้าหมาย
การพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) และแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561 – 2580) และการควบคุม
คุณภาพการจัดเก็บข้อมูลและรูปแบบการรายงานด้วยระบบสารสนเทศที่รองรับความต้องการของทุก
ภาคส่วน การศึกษาครั้งนี้มีวิธีศึกษาจากการวิเคราะห์ประมวลผลจากการสอบถามความคิดเห็นผู้ใช้ข้อมูล
จปฐ. และข้อมูล กชช. 2ค เกี่ยวกับปัญหาและความต้องการของผู้ใช้ข้อมูล (ส่วนภูมิภาค) กระจายตาม
ภูมิภาค จำนวน 8 จังหวัด จังหวัดละ 5 หน่วยงาน รวม 40 หน่วยงาน และการวิเคราะห์ประมวลผลจาก
ประชุมรับฟังความคิดเห็นของคณะทำงานปรับปรุงเครื่องชี้วัดคุณภาพชีวิตของประชาชน และ
คณะกรรมการอำนวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน (พชช.)
ผลการศึกษา พบว่า การใช้แบบสอบถามข้อมูล จปฐ. และแบบสอบถามข้อมูล กชช. 2ค
สำหรับใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ปรับระยะเวลาการเริ่มใช้ให้สอดคล้อง
กับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 13 และแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี จึงเริ่มใช้ระหว่าง
พ.ศ.2566 – 2570 เครื่องชี้วัดข้อมูล จปฐ. ที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูลช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติฉบับที่ 13 ( พ.ศ.2566 - พ.ศ. 2570) ประกอบด้วย 5 หมวด 38 ตัวชี้วัด ได้แก่ หมวดที่ 1
สุขภาพ มี 12 ตัวชี้วัด หมวดที่ 2 มาตรฐานความเป็นอยู่ มี 9 ตัวชี้วัด หมวดที่ 3 การศึกษา มี 5 ตัวชี้วัด
หมวดที่ 4 เศรษฐกิจ มี 4 ตัวชี้วัด และหมวดที่ 5 การคุ้มครองทางสังคมและการมีส่วนร่วม มี 8 ตัวชี้วัด
และเครื่องชี้วัดข้อมูล กชช. 2ค สำหรับใช้ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13
(พ.ศ. 2566 - 2570) ประกอบด้วย 7 หมวด 44 ตัวชี้วัด ดังนี้ หมวดที่ 1 โครงสร้างพื้นฐาน มี 10
ตัวชี้วัด หมวดที่ 2 สภาพพื้นฐานทางเศรษฐกิจ มี 10 ตัวชี้วัด หมวดที่ 3 สุขภาวะและอนามัย มี 7
ตัวชี้วัด หมวดที่ 4 ความรู้และการศึกษา มี 4 ตัวชี้วัด หมวดที่ 5 การมีส่วนร่วมและความเข้มแข็ง
ของชุมชน มี 5 ตัวชี้วัด หมวดที่ 6 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มี 5 ตัวชี้วัด และหมวดที่ 7
ความเสี่ยงของชุมชนและภัยพิบัติ มี 3 ตัวชี้วัด สำหรับกลไกและกระบวนการบริหารจัดเก็บข้อมูลให้มี
คุณภาพ ต้องมีกลไกควบคุมคุณภาพในทุกระดับ ดังนี้ คณะกรรมการอำนวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิต
ของประชาชน (พชช.) คณะทำงานบริหารการจัดเก็บข้อมูลฯ ระดับจังหวัด คณะทำงานบริหารการจัดเก็บ
ข้อมูลฯ ระดับอำเภอ คณะทำงานบริหารการจัดเก็บข้อมูลฯ ระดับตำบล และคณะผู้จัดเก็บข้อมูลระดับ
หมู่บ้าน โดยมีกระบวนการที่มีคุณภาพ ดังนี้การสร้างความรู้ความเข้าใจ การออกแบบวิธีการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล การบันทึกและประมวลข้อมูล การตรวจทานข้อมูล และการนำเสนอข้อมูลเพื่อการใช้
ประโยชน์ร่วมกันในทุกระดับ ข้อเสนอแนะเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บข้อมูลควรให้คนในชุมชนและ
องค์กรหน่วนงานที่เกี่ยวข้องเห็นความสำคัญในการให้ข้อมูลและการจัดเก็บข้อมูลโดยการสร้างการมี
ส่วนร่วมในการจัดเก็บข้อมูล และควรมีการฝึกอบรมและเพิ่มองค์ความรู้ให้กับผู้จัดเก็บข้อมูลอย่างเข้มข้น
รวมทั้งการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรับทราบถึงระยะเวลาในการจัดเก็บข้อมูลรวมกันทั้งประเทศ

คำสำคัญ: คุณภาพชีวิตประชาชน,ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.),ข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by vasusamran55, 2021-07-01 09:24:14

โครงการจัดทำเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.)และข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) ฉบับที่ 13 (พ.ศ.2565-2569)

การพัฒนาเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพื้นฐาน
ระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) เป็นเครื่องมือในการวางแผนพัฒนาให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ และจะมีการปรับปรุงทุก ๆ 5 ปี ในปี พ.ศ. 2565 เป็นปีเริ่มต้นของแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (2565 - 2569) จึงมีความจำเป็นต้องใช้เครื่องชี้วัด เกณฑ์ชี้วัดและ
แบบสอบถามชุดใหม่สำหรับจัดเก็บข้อมูล จปฐ. และข้อมูล กชช. 2ค ให้สอดคล้องกับเป้าหมาย
การพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) และแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561 – 2580) และการควบคุม
คุณภาพการจัดเก็บข้อมูลและรูปแบบการรายงานด้วยระบบสารสนเทศที่รองรับความต้องการของทุก
ภาคส่วน การศึกษาครั้งนี้มีวิธีศึกษาจากการวิเคราะห์ประมวลผลจากการสอบถามความคิดเห็นผู้ใช้ข้อมูล
จปฐ. และข้อมูล กชช. 2ค เกี่ยวกับปัญหาและความต้องการของผู้ใช้ข้อมูล (ส่วนภูมิภาค) กระจายตาม
ภูมิภาค จำนวน 8 จังหวัด จังหวัดละ 5 หน่วยงาน รวม 40 หน่วยงาน และการวิเคราะห์ประมวลผลจาก
ประชุมรับฟังความคิดเห็นของคณะทำงานปรับปรุงเครื่องชี้วัดคุณภาพชีวิตของประชาชน และ
คณะกรรมการอำนวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน (พชช.)
ผลการศึกษา พบว่า การใช้แบบสอบถามข้อมูล จปฐ. และแบบสอบถามข้อมูล กชช. 2ค
สำหรับใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ปรับระยะเวลาการเริ่มใช้ให้สอดคล้อง
กับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 13 และแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี จึงเริ่มใช้ระหว่าง
พ.ศ.2566 – 2570 เครื่องชี้วัดข้อมูล จปฐ. ที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูลช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติฉบับที่ 13 ( พ.ศ.2566 - พ.ศ. 2570) ประกอบด้วย 5 หมวด 38 ตัวชี้วัด ได้แก่ หมวดที่ 1
สุขภาพ มี 12 ตัวชี้วัด หมวดที่ 2 มาตรฐานความเป็นอยู่ มี 9 ตัวชี้วัด หมวดที่ 3 การศึกษา มี 5 ตัวชี้วัด
หมวดที่ 4 เศรษฐกิจ มี 4 ตัวชี้วัด และหมวดที่ 5 การคุ้มครองทางสังคมและการมีส่วนร่วม มี 8 ตัวชี้วัด
และเครื่องชี้วัดข้อมูล กชช. 2ค สำหรับใช้ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13
(พ.ศ. 2566 - 2570) ประกอบด้วย 7 หมวด 44 ตัวชี้วัด ดังนี้ หมวดที่ 1 โครงสร้างพื้นฐาน มี 10
ตัวชี้วัด หมวดที่ 2 สภาพพื้นฐานทางเศรษฐกิจ มี 10 ตัวชี้วัด หมวดที่ 3 สุขภาวะและอนามัย มี 7
ตัวชี้วัด หมวดที่ 4 ความรู้และการศึกษา มี 4 ตัวชี้วัด หมวดที่ 5 การมีส่วนร่วมและความเข้มแข็ง
ของชุมชน มี 5 ตัวชี้วัด หมวดที่ 6 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มี 5 ตัวชี้วัด และหมวดที่ 7
ความเสี่ยงของชุมชนและภัยพิบัติ มี 3 ตัวชี้วัด สำหรับกลไกและกระบวนการบริหารจัดเก็บข้อมูลให้มี
คุณภาพ ต้องมีกลไกควบคุมคุณภาพในทุกระดับ ดังนี้ คณะกรรมการอำนวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิต
ของประชาชน (พชช.) คณะทำงานบริหารการจัดเก็บข้อมูลฯ ระดับจังหวัด คณะทำงานบริหารการจัดเก็บ
ข้อมูลฯ ระดับอำเภอ คณะทำงานบริหารการจัดเก็บข้อมูลฯ ระดับตำบล และคณะผู้จัดเก็บข้อมูลระดับ
หมู่บ้าน โดยมีกระบวนการที่มีคุณภาพ ดังนี้การสร้างความรู้ความเข้าใจ การออกแบบวิธีการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล การบันทึกและประมวลข้อมูล การตรวจทานข้อมูล และการนำเสนอข้อมูลเพื่อการใช้
ประโยชน์ร่วมกันในทุกระดับ ข้อเสนอแนะเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บข้อมูลควรให้คนในชุมชนและ
องค์กรหน่วนงานที่เกี่ยวข้องเห็นความสำคัญในการให้ข้อมูลและการจัดเก็บข้อมูลโดยการสร้างการมี
ส่วนร่วมในการจัดเก็บข้อมูล และควรมีการฝึกอบรมและเพิ่มองค์ความรู้ให้กับผู้จัดเก็บข้อมูลอย่างเข้มข้น
รวมทั้งการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรับทราบถึงระยะเวลาในการจัดเก็บข้อมูลรวมกันทั้งประเทศ

คำสำคัญ: คุณภาพชีวิตประชาชน,ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.),ข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค)

รายงานฉบับสมบรู ณโ์ ครงการจดั ทำเครือ่ งชีว้ ดั และแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พ้นื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพ้ืนฐาน
ระดับหมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

บรรณานกุ รม

กรกิต ชุม่ กรานต์ และคณะ. (2560). โครงการการสำรวจสถานะเป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืนในบรบิ ท
ประเทศไทย และทางเลือกมาตรการทางเศรษฐศาสตรส์ ังคม และกฎหมาย” เปา้ หมายท่ี 5.
สนบั สนุนโดยสำนักงานกองทุนสนบั สนุนการวจิ ยั (สกว.).

กรรณิการ์ ธรรมพานิชวงค์ และคณะ. (2560). โครงการการสำรวจสถานะเป้าหมายการพฒั นาทย่ี ่ังยืนใน
บรบิ ทประเทศไทย และทางเลือกมาตรการทางเศรษฐศาสตร์สงั คม และกฎหมาย” เป้าหมายที่ 13
ปฏบิ ัติการอย่างเร่งด่วนเพื่อต่อสู้กับการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศและผลกระทบที่เกิดข้ึน.
สนับสนุนโดยสำนักงานกองทนุ สนับสนุนการวิจยั (สกว.).

กรมการพฒั นาชุมชน, กระทรวงมหาดไทย. (2554). คูม่ ือการพฒั นาหมูบ่ ้านเศรษฐกจิ พอเพียงต้นแบบ.
กระทรวงมหาดไทย.

กรมการพัฒนาชุมชน, กระทรวงมหาดไทย. (2559). ค่มู ือการจดั เก็บข้อมูลความจำเปน็ พ้นื ฐาน ปี 2560 –
2564. กระทรวงมหาดไทย.

กรมการพฒั นาชุมชน, กระทรวงมหาดไทย. (2559). คมู่ ือการจดั เกบ็ ข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บา้ น ปี 2560 –
2564. กระทรวงมหาดไทย.

กระทรวงการพัฒนาสงคมและความมนั่ คงของมนุษย์. (2556). แผนยุทธศาสตร์ความม่ันคงของมนุษย์
พ.ศ.2556-2566. สบื ค้นจากhttp://www.bps.msociety.go.th/uploads/content/
download/539681f52ccac.pdf (เข้าถึงเม่ือ เมษายน 2564).

กุลบตุ ร โกเมนกลุ , นงนชุ ตันติสนั ตวิ งศ์ และชาริกา ชาญนันทพพิ ัฒน์. (2562). การสำรวจสถานะของ
เป้าหมายการพัฒนาท่ียั่งยนื ที่ 17 และการปรบั ใช้เป้าประสงคแ์ ละตัวช้วี ัดในบริบทประเทศไทย
เพื่อเสริมสร้างหุ้นส่วนความรว่ มมือระดับโลกในแง่การเงนิ และการค้า. สนบั สนุนโดยสำนักงาน
กองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).

คณะกรรมการอำนวยการงานพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ของประชาชน (พชช.), กรมการพัฒนาชุมชน. (2562).
รายงานคุณภาพชีวติ ของคนไทย จากข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ. 2560). กระทรวงมหาดไทย.

คณะกรรมาธิการโลกว่าด้วยวัฒนธรรมและการพฒั นา. (2541). วฒั นธรรมอันหลากสีของมนุษยชาติ:
รายงานของ คณะกรรมาธิการโลกว่าด้วยวฒั นธรรมและการพัฒนา. กรุงเทพฯ: สำนักเลขาธิการ
คณะกรรมการ แห่งชาตวิ ่าดว้ ยการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ,
กองการสมั พันธต์ า่ งประเทศ, กระทรวงศึกษาธิการ.

จริ วฒั น์ สุรยิ ะโชติชยางกูล และคณะ. (2560). โครงการการสำรวจสถานะเป้าหมายการพัฒนาทยี่ ่ังยืนใน
บริบทประเทศไทย และทางเลือกมาตรการทางเศรษฐศาสตร์สงั คม และกฎหมาย” เป้าหมายที่ 16
การส่งเสริมสังคมทส่ี งบสุขและครอบคลุมเพื่อการพัฒนาท่ีย่ังยืนให้ทุกคนเข้าถึงความยตุ ิธรรมและ
สร้างสถาบันท่ีมปี ระสทิ ธผิ ล รับผดิ ชอบและครอบคลุมในทุกระดับ. สนับสนุนโดยสำนกั งานกองทุน
สนบั สนุนการวจิ ัย (สกว.).

ชล บุนนาค และคณะ. (2561). โครงการประสานงานการวจิ ัยเพ่ือสนับสนนุ การพัฒนาท่ยี ่ังยนื (SDGs)
Research Coordination for SDGs. สนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนบั สนนุ การวิจัย (สกว.).

239

รายงานฉบับสมบรู ณ์โครงการจดั ทำเคร่ืองช้วี ดั และแบบสอบถามข้อมูลความจำเปน็ พ้นื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพน้ื ฐาน
ระดบั หมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ชล บนุ นาค. (2553). ทบทวน 5 ปี การขบั เคล่ือน SDGs ในประเทศไทย: 5 สิ่งท่ีทำได้ดี. สืบคน้ จาก
https://www.sdgmove.com/

ชโลทร แก่นสันตสิ ุขมงคล. (2563). นวตั กรรม เทคโนโลยีกับการพัฒนาเศรษฐกิจสเี ขยี ว. กรุงเทพฯ:คณะ
เศรษฐศาสตร์, มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร.์

ชาญศักด์ิ ศรีสวัสดิส์ กุล และคณะ. (2560). โครงการการสำรวจสถานะเป้าหมายการพัฒนาทีย่ ั่งยนื ในบริบท
ประเทศไทย และทางเลือกมาตรการทางเศรษฐศาสตรส์ ังคม และกฎหมาย” เปา้ หมาย
ท่ี 4. สนับสนนุ โดยสำนักงานกองทุนสนับสนนุ การวจิ ยั (สกว.)

ดวงจันทร์ วรคามิน และคณะ. (2560). โครงการการสำรวจสถานะเป้าหมายการพัฒนาท่ีย่ังยนื ในบริบท
ประเทศไทย และทางเลือกมาตรการทางเศรษฐศาสตรส์ ังคม และกฎหมาย” เปา้ หมายที่ 9.
สนับสนุนโดยสำนักงานกองทนุ สนบั สนุนการวจิ ยั (สกว.)

ดำรง ศรีพระราม และคณะ. (2556). การพฒั นาเกษตรย่ังยืนและเศรษฐกจิ สเี ขียวดว้ ยเครือข่ายวิจยั
การประเมินวัฏจักรชีวิตและพัฒนาฐานข้อมลู วัฏจักรชีวติ ด้านเกษตรและอาหาร
(การผลิตสัตว์น้ำ) ระดับชาติ. สำนักงานพฒั นาการวจิ ัยการเกษตร (สวก.).

ธีระ นุชเปี่ยม. (2561). แนวคิดทฤษฎีการพฒั นามนุษย.์ เอกสารการสอนชุดวิชาการพัฒนามนุษย์ในบรบิ ท
โลก Human development in global contexts /สาขาวิชารฐั ศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช. นนทบรุ ี: สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธิราช.

นนท์ นุชหมอน. (2562). ภาคเกษตรไทยบนเสน้ ทางของเศรษฐกจิ สีเขยี ว และการพฒั นาท่ียงั่ ยืน. กรุงเทพฯ:
คณะเศรษฐศาสตร์, มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร.์

นาฏสุดา ภูมิจำนงค์ และ อทุ ัย เจริญวงศ์. (2560). โครงการการสำรวจสถานะเป้าหมายการพัฒนาท่ียัง่ ยืนใน
บรบิ ทประเทศไทย และทางเลือกมาตรการทางเศรษฐศาสตร์สงั คม และกฎหมาย” เป้าหมายท่ี 15.
สนบั สนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).

นิศาชล ลรี ัตนากร. (2556). รูปแบบการบรโิ ภคสีเขยี วของผู้บรโิ ภคจังหวัดเชียงใหม่ Green Consumption
Pattern: Chiang Mai, Thailand. เชียงใหม่: มหาวทิ ยาลัยแม่โจ้.

นติ ยา พรมกนั ทา และคณะ. (2562). โครงการารสำรวจสถานะเป้าหมายการพฒั นาทีย่ ง่ั ยืนในบรบิ ทประเทศไทย
และทางเลือกมาตรการทางเศรษฐศาสตรส์ งั คม และกฎหมาย” เป้าหมายที่ 3 สร้างหลักประกนั ว่าคน
มีชีวิตทมี่ สี ุขภาพดีและสง่ เสริมสวสั ดภิ าพสำหรบั ทุกคนในทุกวัย. สนบั สนุนโดยสำนักงานกองทุน
สนบั สนุนการวจิ ัย (สกว.)

ประเวศ วะส.ี (2539). พทุ ธเกษตรกรรมกับศานติสุขของสังคมไทย. (พมิ พค์ รัง้ ท่ี 11). กรุงเทพฯ: หมอชาวบ้าน.
ประเวศ วะสี. และคณะ. (2535). พึ่งตนเองในชนบท: อีกบทหนึ่งของการทบทวนโลกทัศน์แห่ง

การพ่ึงตนเอง. ขอนแก่น: สถาบันวจิ ยั และพัฒนา มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ประเวศ วะส.ี (2539). บรรณาธิการ. หนทางรอดสังคมไทย: ปาฐกถาว่าด้วยเกษตรกรรมทางเลือกกับสังคม

และธรรมชาติ. กรุงเทพฯ: เครือข่ายเกษตรกรรมทางเลือก.
ประเวศ วะส.ี (2542). เศรษฐกิจพอเพียงและประชาสังคม: แนวทางพลิกฟ้ืนเศรษฐกิจสังคม. กรุงเทพฯ:

หมอชาวบ้าน.

240

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเครื่องช้ีวัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเป็นพืน้ ฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพนื้ ฐาน
ระดับหมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ประเวศ วะส.ี (2547). การพัฒนาต้องเอาวฒั นธรรมเปน็ ตวั ต้ัง. กรุงเทพฯ: หมอชาวบา้ น.
ประเวศ วะส.ี (2544). “บรรยายสรุป เศรษฐกจิ พอเพียง: ข้อเสนอสู่การปฏบิ ัติ” ใน รายงานการสัมมนา

เรื่องมติ ิทางวัฒนธรรมในยุคเศรษฐกิจพอเพยี ง. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
(องค์การมหาชน).
ไพรัช พบิ ูลยร์ ่งุ โรจน์, วรัทยา ชินกรรม และคณะ. (2560). โครงการการสำรวจสถานะเป้าหมาย
การพฒั นาทยี่ ั่งยืนในบรบิ ทประเทศไทย และทางเลือกมาตรการทางเศรษฐศาสตร์สังคม
และกฎหมาย” เป้าหมายท่ี 8. สนบั สนุนโดยสำนักงานกองทุนสนบั สนุนการวิจยั (สกว.).
ภารณี วัฒนา. (2557). การวัดความสุขของคนไทย. เอกสารประกอบ การประชุมประจำปี 2557
ของ สศช. สืบคน้ จาก https://www.nesdc.go.th/download/content/report2014
/Yearend2014G6_Palanee.pdf. (เข้าถึงเมื่อ เมษายน 2564).
มตชิ นออนไลน์. (วันท่ี 22 กันยายน 2563). ‘ยูเนสโก’ เปิดเวทสี ะท้อนปัญหา ‘โอกาส-ความท้าทาย’
ของการศึกษาไทย. สืบค้นจาก https://www.matichon.co.th/education/news_2357059
(เขา้ ถึงเม่ือ เมษายน 2564).
เย็นใจ เลาหวณชิ . (2523). การศึกษากับการพัฒนาคุณภาพชวี ิต. วารสารการศึกษาแห่งชาติ, 4(12).
รัตนาวรรณ ม่ังค่ัง และคณะ. (2556). โครงการแผนทีน่ ำทางงานวจิ ัยด้านการประเมินวัฏจักรชีวติ ผลติ ภัณฑ์
เกษตรและอาหารเพ่ือการเกษตรย่ังยนื และเศรษฐกจิ สีเขียว. สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.).
วจิ ติ รบุษบา มารมย.์ (2560). โครงการการสำรวจสถานะเป้าหมายการพัฒนาทยี่ ั่งยืนในบริบทประเทศไทย
และทางเลือกมาตรการทางเศรษฐศาสตร์สังคม และกฎหมาย” เป้าหมายที่ 11เมืองและถ่ินฐาน
มนุษย์ท่ยี ่ังยนื . สนับสนนุ โดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.).
ววิ ัฒน์ โรจนพิทยากร. (มีนาคม - เมษายน 2562). บทบรรณาธกิ าร สถานการณ์และแนวโน้มทางสุขภาพของ
ประเทศไทย ปี 2561-2563. วารสารวชิ าการสาธารณสุข, 28(2).
วฒุ ิสาร ตันไชย. (2561). การกำหนดแนวคิดและการบริหารโครงการพฒั นาทใ่ี ชป้ ัญญาเชงิ ปฏิบัติ Practical
Wisdom. วิทยาลยั พฒั นาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า.
ศนู ย์สารสนเทศยุทธศาสตร์ภาครฐั . (สิงหาคม 2562). ดชั นีการพฒั นามนุษย์ของกลุม่ ประเทศอาเซียน
(Human Development Index: HDI). สำนักงานสถิติแห่งชาติ. สืบค้นจาก
http://service.nic.go.th/index.php?file=indicators/hdi/ (เข้าถึงเม่ือ เมษายน 2564).
สมพร โกมารทัตและคณะ. (2560). โครงการการสำรวจสถานะเป้าหมายการพัฒนาท่ียั่งยืนในบริบท
ประเทศไทย และทางเลือกมาตรการทางเศรษฐศาสตรส์ ังคม และกฎหมาย”เป้าหมายท่ี 1
ขจัดความยากจน. สนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.).
สาสนิ ี เทพสุวรรณ.์ (2550). ดัชนคี วามอย่ดู มี ีสุขมวลรวมของคนไทย: ความสำคัญของภาคประชาชน.
กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลยั มหิดล.
สทิ ธิกร นิพภยะ. (2562). การค้าระหวา่ งประเทศกับส่ิงแวดลอ้ ม กรณศี ึกษาความตกลงวา่ ด้วยสนิ ค้าและ
บริการส่งิ แวดล้อม. กรงุ เทพฯ: คณะเศรษฐศาสตร์, มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์.

241

รายงานฉบบั สมบรู ณ์โครงการจดั ทำเคร่อื งช้วี ัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พืน้ ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพ้ืนฐาน
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

เสน่ห์ จามริก. (2537). สงั คมไทยกบั การพฒั นาทกี่ ่อปัญหา. กรุงเทพฯ: คบไฟ.
เสน่ห์ จามริก. (2541). เศรษฐกจิ พอเพียงในกระแสโลกาภิวตั น.์ กรุงเทพฯ: (ม.ป.พ.).
เสนห่ ์ จามริก. (2544). ฐานคิดสู่ทางเลือกใหม่ของสังคมไทย. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: โครงการวิถีทรรศน์.
เสถียร ฉนั ทะ และคณะ. (2560). โครงการการสำรวจสถานะเป้าหมายการพัฒนาทย่ี ่งั ยนื ในบรบิ ทประเทศไทย

และทางเลือกมาตรการทางเศรษฐศาสตร์สงั คม และกฎหมาย” เป้าหมายท่ี 2.สนับสนุนโดย
สำนักงานกองทนุ สนับสนนุ การวิจัย (สกว.).
เสถียร ฉนั ทะ และคณะ. (2562). โครงการการสำรวจสถานะเป้าหมายการพัฒนาทย่ี ่งั ยนื ในบริบทประเทศไทย
และทางเลือกมาตรการทางเศรษฐศาสตรส์ ังคม และกฎหมาย” เปา้ หมายท่ี 6: สร้างหลักประกนั ว่า
จะมีการจัดให้มีนำ้ และสุขอนามยั สำหรับทุกคนและมีการบริหารจัดการ
ทีย่ งั่ ยืน. สนับสนุนโดยสำนักงานกองทนุ สนับสนุนการวิจัย (สกว.).
โสภารัตน์ จารสุ มบัติ (บก.). (2562). เสน้ ทางเศรษฐกิจสีเขียว. กรุงเทพฯ: คณะเศรษฐศาสตร์,
มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร.์
สพุ จน์ ชุณหโชติอนันต์ และ ธิตา อ่อนอินทร.์ (2560). โครงการการสำรวจสถานะเป้าหมายการพัฒนาท่ี
ยัง่ ยืนในบริบทประเทศไทย และทางเลือกมาตรการทางเศรษฐศาสตรส์ ังคม และกฎหมาย”
เปา้ หมายที่ 12. สนบั สนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวจิ ัย (สกว.).
สำนักนายกรัฐมนตรี. (2559). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564).
กรุงเทพฯ: สำนักนายกรฐั มนตร.ี
สำนักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2554). รายงานคณะกรรมการพัฒนา
การเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ประชุมครั้งท่ี 11/2549 วันท่ี 6 พฤศจิกายน 2554.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาต.ิ (2562). แผนการขับเคลื่อนเป้าหมาย
การพัฒนาทย่ี งั่ ยืนสำหรับประเทศไทย (Thailand’s SDG Roadmap). สบื คน้ จาก
https://sdgs.nesdc.go.th/ (เขา้ ถึงเมื่อ เมษายน 2564).
สำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการยุทธศาสตรช์ าติ, สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และ
สงั คมแห่งชาติ (สศช.). (2560). ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐ (ฉบับย่อ).
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ. (2559). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ ฉบับท่ีสิบสอง พ.ศ. 2560 – 2564.
สำนักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาต.ิ (2562). รายงานการคาดประมาณประชากร
ของประเทศไทย พ.ศ. 2553 – 2583 (ฉบับปรับปรุง). สืบค้นจาก
https://www.dcy.go.th/webnew/ebook/pdf/interest/(เข้าถึงเม่ือ เมษายน 2564).
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ. (2563). ภาวะสังคมไทยไตรมาสส่ีและภาพรวม
ปี 2563 ปีท่ี 19 ฉบับที่ 1 เดือนกุมภาพันธ์ 2564. สืบค้นจากhttps://www.nesdc.go.th/
ewt_dl_link.php?nid=5491&filename=socialoutlook_report (เข้าถงึ เมื่อ เมษายน 2564).

242

รายงานฉบับสมบรู ณโ์ ครงการจดั ทำเคร่อื งช้ีวดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พนื้ ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พื้นฐาน
ระดับหมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (กุมภาพันธ์ 2564). กรอบแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 13“พลิกโฉมประเทศไทยส3ู่ เศรษฐกิจสร้างคุณค่า สังคม
เดินหนา้ อย่างย่งั ยืน” (Transformation to Hi-Value and Sustainable Thailand).
เอกสารประกอบการระดมความเห็นกรอบแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ 13.

สำนักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาต.ิ (2546). การพัฒนาท่ียง่ั ยืนในบริบทไทย.
กรุงเทพฯ: สำนักงานฯ.

สำนักงานส่งเสริมสงั คมแห่งการเรียนรูแ้ ละคุณภาพเยาวชน. (2559). สถานการณ์เด็ก เยาวชน และ
ผดู้ อ้ ยโอกาสทางสงั คม. สืบค้นจาก http://www.qlf.or.th/Home/Contents/147(เขา้ ถงึ เมื่อ
เมษายน 2564).

องค์การอนามัยโลก. (2560). ยุทธศาสตร์ความร่วมมือระหว่างรัฐบาลไทยและองค์การอนามัยโลก
พ.ศ. 2560 – 2564. (นวิ เดลี) องค์การอนามัยโลก ภมู ภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.

อนิณ อรุณเรืองสวัสด.์ิ (2562). ตัวชว้ี ดั เศรษฐกิจสีเขียว Green economy indicator. กรุงเทพฯ:
คณะเศรษฐศาสตร์, มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์.

อำนาจ ผดุงศิลป์ และคณะ. (2560). โครงการการสำรวจสถานะเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยนื ในบริบท
ประเทศไทย และทางเลือกมาตรการทางเศรษฐศาสตร์สังคม และกฎหมาย” เปา้ หมายที่ 7 รับรอง
การมีพลังงานที่ทุกคนเขา้ ถึงได้ เช่ือถือได้ ยัง่ ยืนทันสมัย. สนบั สนนุ โดยสำนักงานกองทนุ สนบั สนุน
การวิจัย (สกว.).

อำไพ หรคุณารักษ์ และคณะ. (2560). โครงการการสำรวจสถานะเปา้ หมายการพัฒนาทย่ี ั่งยืนในบริบท
ประเทศไทย และทางเลือกมาตรการทางเศรษฐศาสตร์สังคม และกฎหมาย” เปา้ หมายท่ี 14
ชีวิตใตน้ ้ำ (Life below Water). สนับสนุนโดยสำนักงานกองทนุ สนับสนุนการวิจยั (สกว.).

A. Stanton, Elizabeth (2007). The Human Development Index: A History. PERI Working Papers,
University of Massachusetts.

Commission on Human Security. (2003). Human Security Now. New York: Commission on
Human Security. from http://www.un.org/humansecurity/sites/www.un.org.
humansecurity/files/chs_final_report_-_english.pdf (accessed April 2021)

Iris Borowy. (2014). Defining Sustainable Development: The World Commission on Environment
and Development (Brundtland Commission). Milton Park: earthscan/Routledge.

Jon Hall and John Helliwell. (2014). Happiness and Human Development. Occasional Paper,
UNDP Human Development Report Office. from http://hdr.undp.org/
sites/default/files/happiness_and_hd.pdf (accessed April 2021).

Journal of Human Development and Capabilities. (2000). A Multi-Disciplinary Journal for
People-Centered Development. Hyman Development & Capability Association.
http://hd-ca.org/publication and-resources/journal-of-human-development-and-
capabilities.

243

รายงานฉบบั สมบรู ณ์โครงการจัดทำเครอ่ื งชี้วดั และแบบสอบถามข้อมูลความจำเปน็ พ้นื ฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพนื้ ฐาน
ระดับหมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ่วงแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

P. H. Liotta and Taylor Owen. (2006). Why Human Security?. The Whitehead Journal of
Diplomacy and International Relations, .VII,(1), pp. 37-54. From
http://www.taylorowen.com/Articles/ (accessed April 2021).

Lynn R. Kahle, Eda Gurel-Atay, Eds (2014). Communicating Sustainability for the Green
Economy. New York: M.E. Sharpe.

Ministry of Public Health, Thailand. (2011). Thailand healthy lifestyle strategic plan B.E. 2554-
2563 (2011–2020). Nonthaburi.

Richard Jolly et al. (2004). The UN and Human Development. Bloomington, IN: Indiana
University Press, p. 1

Séverine Deneulin with Lila Shahani (eds.). (2009). An Introduction to the Human
Development and Capability Approach: Freedom and Agency. London: Earth Scan,
pp. 13-14. https://www.idrc.ca/en/book/introduction-human-development-and-
capability-approach-freedom-and-agency. (accessed April 2021).

Taylor Owen. (2010). “Human Security: A Contested Contempt”, edited by J. Peter Burgess.
The Routledge Handbook of New Security Studies. New York: Routledge, p. 43.

UNDP. (2019). Human Development Report 2019: Beyond income, beyond averages, beyond
today: Inequalities in human development in the 21st century. By the United Nations
Development Programme 1 UN Plaza, New York, NY 10017 USA.

UNDP. (2020). Human Development Report 2020: The next frontier Human development and
the Anthropocene. By the United Nations Development Programme 1 UN Plaza,
New York, NY 10017 USA.

UNDP Human Development Report. (1994). New dimensions of human security. Oxford:
Oxford University Press. pp. 22-23. From http://hdr.undp.org/sites/default/files/
reports/255/hdr_1994 en complete_nostats.pdf (accessed April 2021).

UNEP (2011). Towards a Green Economy: Pathways to Sustainable Development and Poverty
Eradication. from www.unep.org/greeneconomy.

United Nations Division for Sustainable Development. (1992). United Nations Conference on
Environment and Development, Rio de Janeiro, Brazil, 3-14 June 1992. from
https://www.un.org/en/conferences/environment/rio1992. (accessed April 2021).

United Nations. (2000). Resolution adopted by the General Assembly 55/2 United Nations
Millennium Declaration. http://www.un.org/en/development/
devagenda/millennium.shtml (accessed April 2021).

United Nations. (2015ก). Millennium Development Goal 8 Taking Stock of the Global
Partnership for Development. In MDG Gap Task Force Report 2015.New York.

244

รายงานฉบบั สมบูรณโ์ ครงการจดั ทำเครอ่ื งชี้วดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพน้ื ฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพนื้ ฐาน
ระดับหม่บู ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

United Nations. (2015ข). Resolution adopted. by the General Assembly on 25 September
2015. Transforming our world: the 2030 Agenda for Sustainable Development.

United Nations. (2017). Resolution adopted. by the General Assembly on 6 July 2017. Work of
the Statistical Commission pertaining to the 2030 Agenda for Sustainable
Development.

United Nations. (2019). Sustainable Development Report 2019, The Sustainable Development
Goals Report 2019. https://unstats.un.org/sdgs/report/2019/The-Sustainable-
Development-Goals-Report-2019.pdf

United Nations Division for Global Communications. (2020). Sustainable Development Goals,
Guidelines for the Use of the SDG Logo including the colour Wheel, And 17 Icons.

Wolff, Hendrik; Chong, Howard; Auffhammer, Maximilian. (2011). Classification, Detection and
Consequences of Data Error: Evidence from the Human Development Index.
Economic Journal, 121 (553), 843–870.

World Health Organization. (2017). Non communicable diseases country profiles. Geneva,
2014. http://apps.who.int/iris/bitstream/10665/128038/1/9789241507509
_eng.pdf?ua=1 - accessed April 2021.

245

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการจดั ทำเคร่อื งชว้ี ดั และแบบสอบถามข้อมลู ความจำเปน็ พนื้ ฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพ้นื ฐาน
ระดบั หมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ช่วงแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

246

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พื้นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พนื้ ฐาน
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ภาคผนวก

247

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการจดั ทำเคร่อื งชว้ี ดั และแบบสอบถามข้อมลู ความจำเปน็ พนื้ ฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพ้นื ฐาน
ระดบั หมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ช่วงแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

248

รายงานฉบบั สมบูรณโ์ ครงการจัดทำเคร่อื งชวี้ ดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพน้ื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พื้นฐาน
ระดับหมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ภาคผนวก ก.
แบบสอบถามขอ้ มูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.)

249

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการจดั ทำเคร่อื งชว้ี ดั และแบบสอบถามข้อมลู ความจำเปน็ พนื้ ฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพ้นื ฐาน
ระดบั หมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ช่วงแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

250

รายงานฉบับสมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเครือ่ งชวี้ ดั และแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเป็นพ้ืนฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พื้นฐาน
ระดบั หมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

แบบสอบถาม

ข้อมูลความจำเปน็ พื้นฐาน (จปฐ.) ปี 2565-2569

ชอื่ หัวหน้าครัวเรอื น

เลขประจำตวั ประชาชน ----

เบอรต์ ิดต่อ 

บ้านเลขท่ี

 กรณมี บี ้านเลขท่ี บา้ นเลขท่ี

รหสั ประจำบา้ น

ซอย .......................................ถนน................................

ตำบล ......................................อำเภอ.............................

จงั หวดั ..........................รหสั ไปรษณีย.์ .............................

 กรณีไมม่ บี ้านเลขที่ บา้ นเลขท่ี

บ้าน/ชุมชน ......................................หมู่ท่ี.................................

ซอย .......................................ถนน................................

ตำบล ......................................อำเภอ.............................

จงั หวัด ..........................รหสั ไปรษณีย.์ .............................

เขตการปกครองท้องถนิ่  องค์การบริหารส่วนตำบล..............................................................

 เทศบาลตำบล.................................................................................

 เทศบาลเมือง.................................................................................

 เทศบาลนคร...................................................................................

ดำเนินการจัดเก็บ วันที่...................เดอื น.................................พ.ศ
บนั ทึกขอ้ มลู เสรจ็ ...............

วนั ที่...................เดือน.................................พ.ศ
...............

251

รายงานฉบบั สมบูรณ์โครงการจดั ทำเครอ่ื งชีว้ ดั และแบบสอบถามข้อมลู ความจำเปน็ พน้ื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พน้ื ฐาน
ระดบั หมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ประมวลสรุป
พระราชกระแสของสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี
ในวโรกาสทีท่ รงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้คณะกรรมการอำนวยการ

งานพฒั นาคุณภาพชีวิตของประชาชน (พชช.) และเจา้ หนา้ ที่
เข้าเฝ้าถวายรายงานคณุ ภาพชีวิตของคนไทย

-------------------------------------------------

การดำเนนิ งานพัฒนา แตก่ อ่ นใช้วัดด้วยสายตาบ้าง เฉลี่ยไปตามความคิดเห็น
ท่ไี มเ่ ปน็ เชิงสถติ ิบา้ ง ทำไปเรื่อย ๆ บ้าง แตต่ อนน้ีทางราชการมีการสำรวจข้อมลู จปฐ.
เป็นข้อมลู ทค่ี ดิ ว่าในขณะน้ดี ีทีส่ ดุ แล้ว ดีในการเป็นฐานให้เรมิ่ ตน้ แกไ้ ขปัญหา เปน็ ข้อมูลท่ีงา่ ย
ดูง่าย และเหน็ ด้วยท่ีมีการสำรวจข้อมลู จปฐ. มกี ารวัดเพื่อให้พบปัญหา ซ่ึงเมื่อรู้ปัญหาแลว้
จะได้มกี ารแก้ไข สำหรับการวดั น้นั จะตรงหรือไม่ตรง แนน่ อนตอ้ งมีการผดิ พลาดบา้ ง
กไ็ ม่น่าจะเป็นปัญหาใหญ่ ขอให้มีสิ่งทจ่ี ะช่วยชีใ้ ห้ฝา่ ยรัฐเขา้ ไปหาชาวบา้ น ได้ทราบปัญหา
ของชาวบ้านบา้ ง เมื่อเราทำจริง สำรวจจริงแล้ว จะทำให้พบกับบคุ คลทค่ี วรสงเคราะห์
หรือทำให้พบปัญหา และเม่ือพบปัญหาแล้วจะแก้ไขอย่างไร เป็นส่ิงซ่ึงจะตามมา

หลักการพัฒนาท่ีควรจะคำนงึ ถงึ คือ ช่วยเขาเพื่อใหเ้ ขาช่วยตัวเองได้
การให้คำแนะนำ เพื่อให้ชาวบ้านได้เรียนรู้วิธีการแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง จึงเป็นส่ิงสำคัญ

(ได้รับพระราชทานพระราชานญุ าต ตามหนังสือสำนกั ราชเลขาธิการ ที่ รล 0017/10527 ลงวนั ที่ 29 ตลุ าคม 2534)

252

รายงานฉบบั สมบูรณโ์ ครงการจดั ทำเคร่อื งชวี้ ดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพน้ื ฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพ้นื ฐาน
ระดับหมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

แนวทางการจดั เก็บขอ้ มูล

ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน เป็นข้อมูลที่แสดงถึงลักษณะของสังคมไทยที่พึงประสงค์ตาม
เกณฑ์มาตรฐานขั้นต่ำของเคร่ืองชว้ี ัด ว่าอย่างนอ้ ยคนไทยควรจะมีคุณภาพชวี ิตในเร่ืองอะไรบา้ ง ควรจะมี
ระดับความเป็นอยู่ไม่ต่ำกว่าระดับไหนในช่วงระยะเวลาหนึ่ง และทำให้ประชาชนสามารถทราบได้ด้วย
ตนเองว่าในขณะนี้คุณภาพชีวิตของตนเองและครอบครัว รวมทั้งของหมู่บ้าน / ชุมชนอยู่ในระดับใด มี
ปัญหาที่จะต้องแก้ไขในเรื่องใดบ้าง เป็นการส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาตนเอง
ครอบครวั และสงั คม

ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐานจะทำให้ทราบว่าแต่ละครัวเรือน และหมู่บ้าน / ชุมชนมีปัญหา
เร่ืองอะไรบา้ งและเมื่อทราบแล้วสมาชกิ ในครัวเรือนจะต้องชว่ ยกนั แก้ไข ส่วนใดท่ไี มส่ ามารถแก้ไขได้เองก็
ให้เป็นหน้าที่ของผู้นำชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและส่วนราชการที่เกี่ยวข้องที่จะเข้ามา
ดำเนนิ การตอ่ ไป

1. ผ้จู ัดเก็บข้อมลู ทำความเข้าใจแบบสอบถามเล่มนีโ้ ดยละเอียดตั้งแต่ปกหน้าจนถึงปกหลงั
2. ทำการสัมภาษณ์ข้อมูลจากหัวหน้าครัวเรือน คู่สมรส หรือสมาชิกของครัวเรือน ที่สามารถ
ให้คำตอบได้ โดยให้สมาชิกในครัวเรือนทุกคนที่อยู่ร่วมกันให้ข้อมูลพร้อมกันด้วย เพื่อประโยชน์ในการเรียนรู้
และรบั ทราบปัญหาต่าง ๆ รว่ มกัน และหาทางแก้ไขต่อไป (โปรดใช้ปากกาสนี ้ำเงนิ กรอกข้อมลู )
3. หลังจากสัมภาษณ์ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐานทุกข้อแล้ว ให้หัวหน้าครัวเรือนหรือผู้ที่ให้
ขอ้ มลู และผจู้ ัดเกบ็ ข้อมูล ลงลายมือช่ือรับรอง วา่ ได้มกี ารจัดเก็บข้อมูลทถี่ ูกต้องและเป็นจริง
4. ผจู้ ัดเกบ็ ขอ้ มลู และผู้ให้ข้อมูล ช่วยกันสรุปผลการจัดเก็บข้อมูลของครัวเรือนว่าผ่านเกณฑ์
และไม่ผ่านเกณฑ์ในเรื่องใดบ้าง ลงในหน้าแบบสรุปคุณภาพชีวิตของครัวเรือน แล้วมอบให้หัวหน้าครัวเรือน
เพื่อรับทราบผลการจัดเก็บข้อมูลความจำเป็นพื้นฐานของครัวเรือนตนเอง เพื่อให้ใช้ประโยชน์ในการร่วมกัน
แก้ไขปญั หาของสมาชิกในครัวเรือนต่อไป
5. ให้ผู้ตรวจสอบ / ตรวจทานข้อมูล ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล และลงลายมือชื่อ
รับรองว่าได้มีการจัดเก็บข้อมูลที่ถูกต้องและเป็นความจริง แล้วรวบรวมส่งให้ผู้บันทึกเพื่อทำการบันทึกและ
ประมวลผลข้อมลู เป็นภาพรวมของหมู่บ้าน / ชมุ ชนและองค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ นั้น ๆ ตอ่ ไป
ผู้จดั เกบ็ ขอ้ มลู และผู้ใหข้ ้อมูล
1. ผู้จัดเก็บข้อมูลคือคณะกรรมการหมู่บ้าน / ชุมชนผู้นำ อช./อช. ผู้นำชุมชนหัวหน้าคุ้ม
อสม. หรืออาสาสมัครอื่น ๆ (ควรคัดเลือกคนที่มีความสามารถในการอ่านและเขียนภาษาไทยได้คล่อง
มมี นษุ ยส์ มั พันธ์ดี เปน็ ทร่ี จู้ ักและค้นุ เคยของคนในหมบู่ ้าน / ชมุ ชน เพราะจะชว่ ยทำให้การจัดเก็บข้อมูลมี
ประสทิ ธภิ าพและไดข้ อ้ มลู ที่มคี ณุ ภาพ
2. ผู้ให้ข้อมูล คือ หัวหน้าครัวเรือน คู่สมรส หรือสมาชิกในครัวเรือน ที่สามารถให้ข้อมูล
ของครัวเรอื นไดอ้ ย่างครบถ้วน

253

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการจัดทำเคร่อื งชีว้ ดั และแบบสอบถามข้อมลู ความจำเป็นพืน้ ฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพน้ื ฐาน
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ช่วงแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

พ้ืนทก่ี ารจัดเกบ็ ข้อมูลและครัวเรือนเปา้ หมาย
1. จัดเก็บข้อมูลทุกครัวเรือนที่อาศัยอยู่จริงในหมู่บ้าน / ชุมชน ทั้งที่มีเลขที่บ้าน และไม่มี
เลขที่บ้าน (ต้องอาศัยอยู่ไม่น้อยกว่า 6 เดือน ในรอบปีที่ผ่านมา) หากอยู่มากกว่า 1 แห่งให้เลือกที่ใดท่ี
หนึ่ง
2. จัดเก็บเฉพาะครวั เรือนทม่ี คี นไทยอาศัยอยู่
การใช้แบบสอบถามและการกรอกขอ้ มูล
1. ใช้แบบสอบถาม จำนวน 1 เล่มต่อ 1 ครัวเรือน (ครัวเรือน หมายถึง ครอบครัวที่อยู่
อาศยั ในบ้านเรอื นเดยี วกัน และกนิ อยดู่ ้วยกัน ครัวเรอื นหน่งึ ๆ อาจมีหลายครอบครวั ก็ได้ ในกรณีท่ีแต่ละ
ครอบครัวไม่ได้กินอยู่ และใช้จ่ายร่วมกันให้แยกแบบสอบถาม และให้ทำเครื่องหมาย  ในช่องที่ไม่มี
บ้านเลขท่ี และกรอกบา้ นเลขที่เดมิ ในช่องบา้ นใกล้เคยี ง)
2. กรณีครัวเรือนไม่มีบ้านเลขที่ให้ทำเครื่องหมาย  ในช่องไม่มีบ้านเลขที่ และกรอก
บ้านเลขทใี่ กล้เคยี ง
3. แบบสอบถามนี้ต้องใช้เก็บข้อมูลแต่ละปี รวม 5 ครั้ง คือ ปี พ.ศ.2565 - 2569 ฉะนั้นจึง
ควรเก็บรกั ษาไวใ้ หด้ ีในทีป่ ลอดภยั ไมใ่ หฉ้ ีกขาด สญู หาย โดยเฉพาะกรณีเกิดปัญหาน้ำท่วม และปลวกกัดกิน
4. การกรอกขอ้ มลู หนา้ 1 – 5 ใหก้ รอกขอ้ มูลเฉพาะปที ่จี ดั เก็บข้อมลู เท่าน้ัน
5. คำตอบของข้อมูลแตล่ ะข้อ มีช่องใหก้ รอก 5 ชอ่ ง ให้กรอกเฉพาะชอ่ งปีทจี่ ัดเก็บข้อมูล
เท่าน้ัน
6. การตอบข้อมูล ใหท้ ำเคร่ืองหมาย  ลงใน หรอื หรอื ไดเ้ ลย
7. การตอบขอ้ มูลใน...............ใหเ้ ตมิ ขอ้ มลู ลงในช่องว่าง หรือถา้ ไม่มีให้ใส่ 0
8. การกรอกข้อมูลในแบบสรุปคุณภาพชีวิตของครัวเรือน ปี 2565 - 2569 ให้ใช้
เครอ่ื งหมาย ดังนี้

ทำเครอื่ งหมาย  ในกรณีท่ขี ้อนนั้ ผ่านเกณฑ์
ทำเครือ่ งหมาย  ในกรณที ข่ี อ้ นั้นไมผ่ า่ นเกณฑ์
ทำเครอ่ื งหมาย – ในกรณีทข่ี ้อนัน้ ไม่มขี อ้ มูล (พิจารณาควบค่กู ับเกณฑ์ตวั ช้ีวัดในคู่มือ)
เม่ือบันทึกข้อมลู เข้าเครื่องคอมพวิ เตอร์ / อปุ กรณ์อน่ื ๆ เสร็จเรยี บร้อยแลว้ ใหเ้ ก็บแบบสอบถามนี้ไว้ในที่
ปลอดภัยเพื่อใช้ในการอ้างอิงและตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนของข้อมูล รวมทั้งใช้ในการจัดเก็บ
ข้อมลู ในปีตอ่ ไป

ข้อความว่า “ในรอบปที ่ผี ่านมา” ท่ีมีอยใู่ นแบบสอบถามนี้
หมายถงึ “การนับจากวนั ทสี่ อบถามขอ้ มูลยอ้ นหลังไป 12 เดือน”

จังหวัด หรอื องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน สามารถเพมิ่ เตมิ เน้อื หาได้
ตามความเหมาะสมกับสภาพพ้นื ที่ โดยนำสว่ นทเี่ พิม่ มาแทรกไว้ในแบบสอบถามชุดนี้

254

รายงานฉบับสมบูรณโ์ ครงการจัด
ระดับหมูบ่ า้ น (กชช. 2ค) สำหร

แบบสอบถามข้อมลู ความจำเปน็ พนื้ ฐาน

สำหรับใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห

มชี ่อื ใน คนตา่ ง

ที่ ชื่อ – สกลุ เลขประจำตวั ประชาชน 13 หลัก ทะเบยี น ด้าว อายุ
 
บา้ นท่ี  เพศ 
สำรวจ 

 ปี เ

1 นายสมชาย ทรัพย์มี  - ชาย 51

2 นางสมหมาย ทรพั ยม์ ี  - หญงิ 50
3 นายสมเจต ทรพั ย์มี  - ชาย 25
4 นางสาวสมศรี ทรัพยม์ ี  - หญิง 16
5 นางสมใจ ทรพั ยม์ ี  - หญิง 80
6 นางสมหญิง ทรพั ย์มี  - หญิง 24
7 เดก็ ชายสมควร ทรัพยม์ ี  - ชาย 3

8 เดก็ ชายสมหวงั ทรัพย์มี  - ชาย 1
9 นายโรเบิร์ต เนเบิล -  ชาย 28

10

คำช้แี จง

1. สมาชิกในครัวเรอื นในปปี ัจจบุ นั หมายถึง สมาชิกทีอ่ ยู่ประจำในครวั เรอื นนี้ (คนทไี่ มไ่ ด้อย่ปู ระจำ แต่ไป ๆ มา ๆ ในรอบปีทผี่ า่ นมา ต้องมีเว
2. ครวั เรือน หมายถงึ ครอบครัวทอ่ี ยู่ในบ้านเรือนเดยี วกัน กินอยู่ ใชจ้ า่ ยร่วมกัน ครัวเรอื นหนึ่ง ๆ อาจมีหลายครอบครัวกไ็ ด้
3. มีชอื่ ในทะเบียนบา้ นที่สำรวจ ให้ระบุ 1ใช่ 2.ไมใ่ ช่ ซึง่ หมายถึงประชากรแฝง
4. ข้อมลู คนต่างดา้ ว ให้ระบุ 1.ไม่ใช่ 2.ใช่ ในกรณคี รัวเรอื นคนไทยท่ีมคี นตา่ งดา้ วรว่ มอาศัยอยู่ด้วย ให้กรอกขอ้ มลู สมาชกิ ในครัวเรอื นทเี่ ป็น

5. เพศ ใหร้ ะบุ 1.ชาย 2.หญงิ 3.ผู้แสดงออกแตกตา่ งจากเพศโดยกำเนดิ (LGBTI) Lesbian หมายถึง หญิงรักหญิง Gay หมายถึง ชายรักชาย
6. อายุ มากกว่า 2 ปขี ึ้นไป ไม่ตอ้ งใส่เศษเดือน แต่ถ้าอายุไม่ถึง 2 ปี ให้ระบุเดอื นด้วย เชน่ อายุ 1 ปี 11 เดือน หรอื 1 ปี 1 เดือน หรือ อาย
7. สถานภาพการสมรส ใหร้ ะบุ 1. โสด 2.สมรส 3.อยู่กนิ กนั ฉันสามีภริยาโดยไม่จดทะเบยี นสมรส 4.หม้าย 5.หย่าร้าง 6.แยกกนั อยู่

255

ดทำเครอ่ื งชี้วดั และแบบสอบถามข้อมลู ความจำเป็นพน้ื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พื้นฐาน
รบั ใชช้ ่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

น (จปฐ.) ปี พ.ศ.2565 – 2569
หง่ ชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

 สถานภาพ อาชพี การศึกษา ศาสนา ความ สถานะทางร่างกาย การ
เกยี่ วข้อง ชว่ ยเหลือ
เดือน การสมรส หลกั /อยู่  1 กับหัวหน้า 13 ตนเอง
1 ครัวเรือน
 ระหว่าง 14
การศึกษา 12
ปกติ ผู้ ผปู้ ่วย ได้ ไมไ่ ด้
 หัวหนา้ พิการ เรือ้ รัง
ครวั เรือน
- สมรส ทำนา ม.ตน้ พทุ ธ ภรรยา 

- สมรส ทำนา ม.ตน้ พทุ ธ ลูกชาย 

- สมรส หตั ถกรรม ม.ปลาย พุทธ ลกู สาว 

- โสด กำลงั ศกึ ษา ม.ปลาย พุทธ มารดา 

- หม้าย - - พุทธ ลูกสะไภ้ 

- สมรส หัตถกรรม ม.ปลาย พทุ ธ หลาน 

- โสด กำลงั ศึกษา อนุบาล พทุ ธ หลาน 

11 โสด - - พทุ ธ - 
- โสด
รับจา้ ง ปริญญาตรี ครสิ ต์ 
ทว่ั ไป

วลารวมกันไม่นอ้ ยกวา่ 6 เดือน)

นคนต่างด้าวเฉพาะในหนา้ ตารางข้อมลู สมาชิกนี้เท่าน้ัน แต่ไมต่ ้องสำรวจขอ้ มูลคณุ ภาพชีวติ ของคนตา่ งดา้ ว
ย Bisexual หมายถงึ คนรักสองเพศ Transgender หมายถึงคนขา้ มเพศ Intersex หมายถึง เพศกำกวม
ยุ 11 เดอื น หรือ อายุ 3 เดือน เปน็ ตน้ และในกรณีท่ีอายไุ ม่ถงึ 1 เดือน เช่น อายุ 10 วนั ใหร้ ะบุอายเุ ปน็ 1 เดอื น

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจดั ทำเครือ่ งชีว้ ดั และแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พ้ืน
ระดบั หมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ช่วงแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั

แบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพ

สำหรับใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั

มชี อ่ื ใน คน

ทะเบียน ตา่ ง อ

ที่ ชื่อ – สกลุ เลขประจำตวั ประชาชน 13 หลัก บ้านที่ ด้าว เพศ 
 
สำรวจ  
1  ปี

2

3

4

5

6

7

8

9

10

คำช้ีแจง สมาชิกในครัวเรอื นในปปี ัจจุบนั หมายถึง สมาชิกท่ีอยู่ประจำในครวั เรือนน้ี (คนทไ่ี ม่ได้อย่ปู ระจำ แต่ไป ๆ มา ๆ ในรอบปที ผ่ี า่ นมา ตอ้ ง
ครัวเรือน หมายถึง ครอบครวั ที่อยู่ในบา้ นเรือนเดยี วกัน กินอยู่ ใชจ้ ่ายรว่ มกนั ครวั เรือนหนงึ่ ๆ อาจมหี ลายครอบครัวก็ได้
1. มีชื่อในทะเบยี นบา้ นที่สำรวจ ให้ระบุ 1ใช่ 2.ไม่ใช่ ซง่ึ หมายถงึ ประชากรแฝง
2. ขอ้ มูลคนต่างด้าว ให้ระบุ 1.ไมใ่ ช่ 2.ใช่ ในกรณคี รัวเรอื นคนไทยทีม่ คี นต่างด้าวร่วมอาศัยอยู่ด้วย ให้กรอกขอ้ มูลสมาชิกในครวั เรือนที่เ
3. เพศ ให้ระบุ 1.ชาย 2.หญิง 3.ผู้แสดงออกแตกตา่ งจากเพศโดยกำเนดิ (LGBTI) Lesbian หมายถึง หญิงรักหญิง Gay หมายถึง ชายรกั ช
4. อายุ มากกวา่ 2 ปีขึน้ ไป ไม่ต้องใสเ่ ศษเดือน แต่ถา้ อายุไม่ถงึ 2 ปี ใหร้ ะบุเดอื นดว้ ย เช่น อายุ 1 ปี 11 เดือน หรอื 1 ปี 1 เดือน หรอื อ
5.
6. สถานภาพการสมรส ให้ระบุ 1. โสด 2.สมรส 3.อยู่กินกันฉนั สามีภรยิ าโดยไมจ่ ดทะเบยี นสมรส 4.หมา้ ย 5.หยา่ รา้ ง 6.แยกกนั อยู่

7.

นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พนื้ ฐาน
บที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

พน้ื ฐาน (จปฐ.) ปี พ.ศ.2565 – 2569
งคมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

อายุ อาชพี ความ สถานะทางร่างกาย การ
 เกีย่ วข้อง ช่วยเหลือ
สถานภาพ หลกั /อยู่ การศึกษา ศาสนา กบั หัวหนา้ 13 ตนเอง
ระหว่าง  ครัวเรอื น
การสมรส การศึกษา 1 14
 1 ผู้ ผูป้ ่วย
พิการ เร้อื รัง ได้ ไมไ่ ด้
เดอื น  12 ปกติ

งมเี วลารวมกนั ไมน่ อ้ ยกวา่ 6 เดือน)

เปน็ คนต่างด้าวเฉพาะในหนา้ ตารางข้อมูลสมาชกิ นีเ้ ท่านั้น แต่ไมต่ ้องสำรวจข้อมูลคณุ ภาพชวี ิตของคนต่างดา้ ว
ชาย Bisexual หมายถงึ คนรกั สองเพศ Transgender หมายถึงคนข้ามเพศ Intersex หมายถึง เพศกำกวม
อายุ 11 เดอื น หรอื อายุ 3 เดอื น เปน็ ต้น และในกรณีที่อายไุ ม่ถงึ 1 เดือน เช่น อายุ 10 วัน ให้ระบอุ ายเุ ป็น 1 เดือน

256

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจัด
ระดับหมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหร

เครอื่ งชวี้ ดั และแบบสอบถามข้อมูล
สำหรบั ใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห

หมวดท่ี 1 สุขภาพ มี 12 ตัวช้ีวัด

ตวั ช้วี ดั /คำถาม ปี 2565 ปี 256

1. การฝากครรภอ์ ยา่ งมคี ณุ ภาพ ไมม่ ี (ขา้ มไปข้อ 2) ไม่มี (ข้าม
1.1 ในช่วงเวลา 1 ปี กอ่ นการสัมภาษณ์ ครวั เรือนน้ี มีหญิง มี.............คน มี.............

ต้ังครรภ์ หรอื ไม่

1.2 ในช่วงเวลา 1 ปี กอ่ นการสมั ภาษณ์ หญงิ ต้ังครรภไ์ ด้รบั ไมไ่ ดร้ ับ ไมไ่ ดร้ ับ
การฝากครรภแ์ ละดแู ลครรภจ์ ากบุคลากรสาธารณสขุ ครบ ไดร้ ับ...................คน ได้รับ.......
5 ครง้ั การฝากครรภ์คุณภาพ

1.3 ในรอบปที ีผ่ ่านมา ครัวเรอื นนมี้ มี ารดาทเี่ สียชวี ิตจากการ ไมม่ ี ไม่มี
คลอดบุตร หรือไม่ มี.............คน ม.ี ............

1.4 ในรอบปีท่ีผา่ นมา ก่อนวนั สมั ภาษณ์ ครวั เรอื นนี้มีทารกที่ ไม่มี ไมม่ ี
เสยี ชีวิตระหวา่ งการต้งั ครรภแ์ ละการคลอดหรือไม่ ม.ี ............คน มี.............

2. เด็กแรกเกิดมีน้ำหนกั 2,500 กรมั ข้ึนไป

น้ำหนักแรกเกิดไมน่ ้อยกวา่ 2,500 กรมั ใหใ้ ชก้ ับเดก็ แรกเกิดทกุ คน รวมทง้ั เดก็ ฝาแฝด เนื่องจากอัตราการเกดิ และมีชวี ิต

2.1 ครัวเรอื นน้ี มีเด็กอายไุ มเ่ กนิ 1 ปี หรือไม่ ไมม่ ี (ขา้ มไปขอ้ 3) ไม่มี (ข้าม

มี.............คน ม.ี ............

โปรดระบวุ ันเดอื นปีเกดิ โปรดระบุวันเดอื

............................................ .........................

2.2 เดก็ อายุไม่เกนิ 1 ปี มีนำ้ หนกั แรกเกดิ ไมน่ อ้ ยกว่า 2,500 นอ้ ยกวา่ .............คน นอ้ ยกว่า....
กรัม ทกุ คน หรอื ไม่ ทกุ คน ทุกคน

257

ดทำเคร่ืองชวี้ ดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พน้ื ฐาน
รับใชช้ ่วงแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ลความจำเป็นพนื้ ฐาน (จปฐ.)
ห่งชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ.2565 - 2569)

คำตอบ (กรอกเฉพาะปีทจี่ ดั เกบ็ ข้อมลู เทา่ นน้ั )

66 ปี 2567 ปี 2568 ปี 2569

มไปข้อ 2) ไมม่ ี (ข้ามไปขอ้ 2) ไมม่ ี (ขา้ มไปข้อ 2) ไม่มี (ขา้ มไปข้อ 2)
.คน ม.ี ............คน ม.ี ............คน มี.............คน

.............คน ไมไ่ ด้รบั ไมไ่ ดร้ บั ไมไ่ ด้รับ
ได้รับ...................คน ได้รบั ...................คน ไดร้ ับ.............คน

ไม่มี ไมม่ ี ไม่มี
.คน ม.ี ............คน มี.............คน มี.............คน
ไม่มี ไมม่ ี
ไมม่ ี ม.ี ............คน มี.............คน
.คน ม.ี ............คน

ตรอดจะสงู กวา่ และยงั มผี ลตอ่ การพัฒนาทั้งทางร่างกายและสมองของเดก็ ด้วย

มไปข้อ 3) ไมม่ ี (ขา้ มไปขอ้ 3) ไม่มี (ข้ามไปขอ้ 3) ไม่มี (ข้ามไปขอ้ 3)
มี.............คน
.คน มี.............คน มี.............คน โปรดระบวุ ันเดือนปเี กดิ
อนปเี กิด โปรดระบวุ นั เดือนปเี กิด โปรดระบุวันเดอื นปเี กิด ............................................
.................... ............................................ ...........................................
น้อยกวา่ .............คน
..........คน นอ้ ยกว่า.............คน นอ้ ยกว่า.............คน ทกุ คน
ทกุ คน ทกุ คน

รายงานฉบับสมบูรณโ์ ครงการจดั ทำเครอ่ื งช้ีวดั และแบบสอบถามข้อมลู ความจำเปน็ พ้ืน
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั

ตัวช้วี ดั /คำถาม ปี 2565

3. เดก็ แรกเกิดไดก้ นิ นมแมอ่ ยา่ งเดยี วอย่างน้อย 6 เดอื นแรกตดิ ตอ่ กัน
ได้กินนมแมอ่ ย่างเดียว หมายถึง การให้เดก็ กินเฉพาะนมแมอ่ ยา่ งเดียวเท่านน้ั เพราะนมแม่มปี รมิ าณนำ้ เพียงพอสำ
น้ำหรืออาหารอ่ืนร่วมด้วยจะทำให้กินนมแม่ไดน้ อ้ ยลง เด็กจะได้รับสารอาหารไม่เพยี งพอ และนมแม่ยังมีสารป้อ
สามารถใหน้ มแม่ต่อเน่อื งจนถงึ อายุ 2 ปี
โดยกลุ่มเป้าหมายในการสำรวจมี 2 กลุม่ ดังน้ี - เดก็ ทีม่ ีอายนุ อ้ ยกวา่ 6 เดอื น มีวัตถุประสงคเ์ พื่อเป็นการเฝา้ ระว
- เดก็ ท่มี ีอายุ 6 เดือน ถึง 1 ปี มวี ัตถปุ ระสงคเ์ พือ่ การวดั ผลการเล้ยี งลูกดว้ ยนมแมต่ ามมาตรฐานสากล เพอื่ ความ

3.1 ครวั เรือนนี้ มีเดก็ อายนุ อ้ ยกว่า 6 เดอื น หรอื ไม่ ไมม่ ี (ขา้ มไปขอ้ 3.3) ไม

ม.ี ............คน ม.ี .
โปรดระบุวันเดอื นปีเกิด โปรดระบ

........................................... ..............

3.2 เด็กอายนุ ้อยกวา่ 6 เดือน ไดก้ นิ นมแมอ่ ยา่ งเดียวต้ังแต่แรกเกดิ ไมไ่ ดก้ ิน..................คน ไม่ได
เปน็ เวลาตดิ ตอ่ กนั จนถงึ วนั ที่สำรวจทกุ คน หรอื ไม่ ทุกคน ทกุ ค

3.3 ครัวเรอื นนี้ มเี ด็กอายตุ ้งั แต่ 6 เดอื น ถงึ 1 ปี หรอื ไม่ ไมม่ ี (ขา้ มไปขอ้ 4) ไม

3.4 เด็กอายตุ ัง้ แต่ 6 เดอื นถึง 1 ปี ได้กนิ นมแม่อย่างเดียว เปน็ ม.ี .......................คน ม.ี .
ระยะเวลา 6 เดอื นแรกติดตอ่ กนั ทุกคน หรอื ไม่
ไมไ่ ดก้ นิ .............คน ไม่ได
ทุกคน ทุกค

4. เด็กแรกเกดิ ถงึ 12 ปี ได้รบั วคั ซีนป้องกันโรคครบตามตารางสร้างเสริมภมู คิ มุ้ กนั โรค

4.1 ครัวเรอื นนี้ มเี ดก็ แรกเกดิ ถึง 12 ปี หรอื ไม่ ไม่มี (ขา้ มไปข้อ 6) ไม

มี........................คน มี..

4.2 เดก็ แรกเกิดถึง 12 ปี ได้รับวคั ซนี ปอ้ งกนั โรค ครบตาม ไม่ได้รับ.............คน ไม่ได
ตารางสร้างเสรมิ ภูมิคุ้มกันโรค (ท่อี ย่ดู ้านลา่ ง) ทุกคน หรอื ไม่ ไดร้ บั ทกุ คน (ข้ามไปขอ้ ได้รับ

6) 6)

4.3 ให้ระบจุ ำนวนเดก็ ที่ไม่ไดร้ ับวัคซนี ในตารางข้างลา่ งน้ี

ตวั อยา่ งเช่น ครวั เรือนทมี่ เี ด็กอายุ 1 ปี 2 คน และ ท้งั 2 คน ไมเ่ คยไดร้ บั วคั ซนี เลย กรณีน้ตี ้องกรอก "2" ทกุ ช่อง

แรก กรณนี ตี้ ้องกรอก "1" ทุกช่องตง้ั แตแ่ รกเกิดจนถงึ 4 เดอื น เปน็ ตน้

นฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพ้ืนฐาน
บที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

คำตอบ (กรอกเฉพาะปที จ่ี ดั เกบ็ ขอ้ มลู เท่านัน้ )

ปี 2566 ปี 2567 ปี 2568 ปี 2569

ำหรับทารก มีภูมิคมุ้ กนั โรคและคุณค่าทางโภชนาการครบถว้ น เหมาะสมกับการเจรญิ เติบโตสำหรับทารก ถา้ ใหท้ ารกด่ืม
องกันการเกิดเชื้อราในปาก (ฝ้าในปาก) จึงไม่ควรดืม่ น้ำตาม เมื่อครบ 6 เดือนแล้วจงึ ให้อาหารตามวัยไปพร้อมกัน และ

วังตดิ ตามในการดื่มนมแมต่ ิดต่อกนั จนถึงวันทีส่ ำรวจ
มปลอดภัยในชวี ิตและการเจริญเติบโตทมี่ คี ณุ ภาพของเดก็ ทารกตอ่ ไป

ม่มี (ขา้ มไปข้อ 3.3) ไม่มี (ขา้ มไปขอ้ 3.3) ไม่มี (ข้ามไปขอ้ 3.3) ไมม่ ี (ขา้ มไปขอ้ 3.3)
มี.............คน
............คน มี.............คน ม.ี ............คน โปรดระบุวันเดือนปเี กดิ
โปรดระบวุ ันเดือนปเี กดิ ...........................................
บุวันเดอื นปีเกดิ โปรดระบวุ นั เดือนปีเกิด ไม่ไดก้ ิน..................คน
........................................... ทกุ คน
.............................. ...........................................
ไมม่ ี (ข้ามไปขอ้ 4)
ดก้ ิน..................คน ไม่ไดก้ ิน..................คน ไม่ไดก้ ิน..................คน
มี........................คน
คน ทกุ คน ทุกคน ไมไ่ ดก้ นิ .............คน
ทุกคน
มม่ ี (ขา้ มไปข้อ 4) ไม่มี (ข้ามไปข้อ 4) ไมม่ ี (ขา้ มไปขอ้ 4)

.......................คน ม.ี .......................คน ม.ี .......................คน

ด้กิน.............คน ไม่ได้กิน.............คน ไมไ่ ดก้ นิ .............คน
คน ทุกคน ทกุ คน

มม่ ี (ขา้ มไปข้อ 6) ไมม่ ี (ข้ามไปขอ้ 6) ไมม่ ี (ขา้ มไปข้อ 6) ไมม่ ี (ข้ามไปข้อ 6)

.......................คน มี........................คน มี........................คน มี........................คน
ดร้ ับ.............คน ไมไ่ ด้รบั .............คน ไม่ไดร้ บั .............คน
บทกุ คน (ขา้ มไปขอ้ ได้รบั ทุกคน (ขา้ มไปขอ้ 6) ได้รับทกุ คน (ขา้ มไปข้อ 6) ไม่ได้รับ.............คน
ได้รับทุกคน (ข้ามไปข้อ

6)

งตง้ั แต่แรกเกิดจนถงึ 1 ปี แตถ่ า้ หากวา่ เด็กคนหนงึ่ ได้รบั วัคซีนครบถว้ น แต่เด็กอกี คนหนึ่งไม่ไดร้ บั วคั ซีนในช่วง 4 เดอื น

258

รายงานฉบบั สมบูรณโ์ ครงการจัด
ระดับหมูบ่ า้ น (กชช. 2ค) สำหร

อายุ ตารางสรา้ งเสรมิ ภูมคิ ุ้มกันโรค ของกระทรวงสาธารณสขุ ณ ปี 2559 (อาจมกี ารปรบั เปลี่ย
แรกเกิด
1 เดอื น • ฉีดวัคซนี ปอ้ งกนั วณั โรค
2 เดือน • ฉีดวคั ซีนป้องกนั ตบั อกั เสบบี (เฉพาะรายทเี่ ด็กคลอดจากมารดาทเี่ ป็นพาหะของไวรสั ตบั อักเสบบ)ี
4 เดอื น • ฉดี วคั ซีนรวมปอ้ งกันคอตบี ไอกรน บาดทะยกั ตับอกั เสบบี ครัง้ ท่ี 1
6 เดอื น • ฉดี วคั ซีนรวมปอ้ งกนั คอตีบ ไอกรน บาดทะยัก ตบั อกั เสบบี ครง้ั ท่ี 2
9-12 เดือน • ฉีดวัคซนี ปอ้ งกันโรคโปลิโอ 1 ครงั้
1 ปี • ฉดี วัคซนี รวมปอ้ งกันคอตีบ ไอกรน บาดทะยกั ตบั อกั เสบบี คร้ังท่ี 3
• ฉดี วคั ซนี ป้องกนั ไขห้ วดั ใหญ่
1 ปี 6 เดือน • ฉดี วัคซีนรวมปอ้ งกันโรคหดั หัดเยอรมนั คางทมู ครัง้ ที่ 1
2 ปี 6 เดอื น • ฉดี วคั ซีนป้องกนั ไข้หวัดใหญ่
• ฉดี วคั ซีนป้องกันโรคไข้สมองอักเสบเจอี (ชนิดเชอ้ื ตาย) คร้งั ที่ 1 และ 2 หา่ งกนั 1 เดอื น หรอื ฉีดวัค
4 ปี (ชนิดเชื้อเปน็ ) ครง้ั ที่ 1
7 ปี • ฉดี วคั ซีนป้องกนั ไข้หวัดใหญ่
• ฉีดวัคซีนรวมปอ้ งกันคอตีบ ไอกรน บาดทะยัก ครงั้ ท่ี 4
12 ปี • ฉีดวัคซีนปอ้ งกันไขห้ วัดใหญ่

• ฉีดวคั ซีนรวมปอ้ งกันโรคหดั คางทูม หดั เยอรมัน คร้ังท่ี 2
• ฉดี วคั ซนี ปอ้ งกนั โรคไข้สมองอักเสบเจอี (ชนิดเชื้อตาย) ครัง้ ที่ 3 หรอื ฉีดวคั ซนี ป้องกันโรคไขส้ มองอ
• ฉีดวคั ซนี ปอ้ งกนั ไขห้ วดั ใหญ่

• ฉดี วัคซีนรวมปอ้ งกันคอตบี ไอกรน บาดทะยกั ครั้งที่ 5
• ฉดี วคั ซนี ป้องกนั ไขห้ วัดใหญ่

• ฉดี วัคซนี ป้องกนั โรคหดั หัดเยอรมนั ครั้งที่ 2 (ตรวจสอบประวตั ิและใหใ้ นรายทีไ่ ด้รบั ไม่ครบถว้ นตาม
• ฉดี วคั ซีนป้องกันโรคคอตีบ บาดทะยกั • กนิ วัคซนี ปอ้ งกนั โรคโปลิโอ (ตรวจสอบประวตั แิ ละใหใ้ นราย
• ฉดี วัคซีนปอ้ งกันวณั โรค (ในกรณที ไี่ ม่มีหลักฐานวา่ เคยได้รับเมอ่ื แรกเกิดและไม่มแี ผลเป็น)
• ฉีดวคั ซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่

• ฉดี วัคซีนป้องกันคอตีบและบาดทะยกั (ทุกคน)
• ฉดี วัคซนี ป้องกนั ไขห้ วัดใหญ่

259

ดทำเครอ่ื งชว้ี ดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พ้ืนฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พ้นื ฐาน
รบั ใชช้ ่วงแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ยนตารางสรา้ งเสรมิ ภมู คิ มุ้ กันโรคในอนาคต) ปี ปี ปี ปี ปี
• ฉดี วคั ซีนปอ้ งกันตบั อกั เสบบี 2565 2566 2567 2568 2570

• กินวัคซีนป้องกันโรคโปลโิ อ คร้ังที่ 1
• กินวคั ซีนปอ้ งกันโรคโปลโิ อ ครง้ั ที่ 2

• กนิ วคั ซนี ป้องกันโรคโปลิโอ ครัง้ ท่ี 3

คซนี ปอ้ งกันโรคไขส้ มองอักเสบเจอี

• กนิ วัคซีนป้องกันโรคโปลิโอ ครง้ั ท่ี 4

อักเสบเจอี (ชนดิ เช้ือเปน็ ) คร้ังที่ 2
• กนิ วัคซีนป้องกันโรคโปลโิ อ ครัง้ ท่ี 5

มเกณฑ์)
ยทีไ่ ดร้ บั ไมค่ รบถ้วนตามเกณฑ)์

รายงานฉบับสมบูรณโ์ ครงการจดั ทำเครือ่ งช้ีวัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พืน้
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั

ตัวช้ีวดั /คำถาม ปี 2565

5. เดก็ ไดร้ บั การดแู ลและมพี ฒั นาการทเ่ี หมาะสม

คูม่ ือเฝา้ ระวงั และสง่ เสรมิ พัฒนาการเด็กปฐมวัย หรอื DSPM-Developmental Surveillance and Promotion

เฝา้ ระวงั การเจริญเติบโตของลูกหลานอยา่ งใกล้ชิด หากสงสยั ลา่ ชา้ ก็สามารถแกไ้ ขส่งเสริมใหเ้ ด็กมพี ัฒนาการสมวยั

5.1 เด็กใน 0-5 ปใี นครัวเรอื นไดร้ ับการตรวจคดั กรอง ไม่ได้รบั ไมไ่ ด
พัฒนาการโดยใชค้ ู่มอื DSPM ผา่ นครบ 5 ด้าน ไดร้ บั ...................คน ได้รับ
ประกอบดว้ ย

1. ดา้ นการเคลอ่ื นไหว
2. ด้านการใช้กลา้ มเนือ้ มัดเล็กและสตปิ ญั ญา
3. ดา้ นการเข้าใจภาษา

4. ดา้ นการใช้ภาษา
5. ดา้ นการชว่ ยเหลือตนเองและสังคม

5.2 ครัวเรือนนี้ มเี ด็กมีพัฒนาการลา่ ชา้ หรือไม่ ไม่มี (ข้ามไปขอ้ 6) ไม

ม.ี .......................คน ม.ี .

5.3 หากมีหรือพบเด็กในครัวเรือนที่มีพัฒนาการลา่ ช้า ต้องแจง้ ไมใ่ ช่ ไมใ่ ช
ให้บุคลากรสาธารณสุขทราบ เพื่อแก้ไขส่งเสริมให้เด็กมี ใช่ ใช่
พัฒนาการสมวัย

6. ครัวเรอื นกินอาหารถกู สขุ ลกั ษณะ ปลอดภยั และได้มาตรฐาน
ทกุ คนในครัวเรอื นได้ปฏบิ ตั เิ กี่ยวกับการกนิ อาหารทม่ี คี ณุ ภาพ ถกู สขุ ลักษณะ ปลอดภยั และได้มาตรฐานครบทั้ง 4

6.1 ครวั เรอื นมีการประกอบอาหารดว้ ยตนเอง ไมใ่ ช่ ไม

6.2 ถา้ กินอาหารบรรจสุ ำเรจ็ ต้องมีเคร่ืองหมาย อย. เชน่ เกลอื ใช่ ใช
เสรมิ ไอโอดนี นำ้ ปลา นำ้ ส้มสายชู อาหารกระปอ๋ ง นม
อาหารกลอ่ ง เป็นต้น ไมใ่ ช่ ไม่ใช
ใช่ ใช่

6.3 ถ้ากนิ เน้อื สตั วต์ ้องทำให้สกุ ดว้ ยความรอ้ น ไมใ่ ช่ ไมใ่ ช
ใช่ ใช่

นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พืน้ ฐาน
บที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

คำตอบ (กรอกเฉพาะปีที่จัดเกบ็ ข้อมูลเทา่ น้นั )

ปี 2566 ปี 2567 ปี 2568 ปี 2569

n Manual หมายถึง แบบประเมินพฒั นาการเด็กต้ังแต่แรกเกดิ ถึง 5 ปี ท่เี ป็นคูม่ ือเพ่ือใหพ้ อ่ แม่ ผปู้ กครองและอสม. ใช้
ย ตามคำแนะนำในคมู่ อื DSPM น้ีไดท้ นั ที

ดร้ บั ไม่ไดร้ บั ไมไ่ ด้รับ ไมไ่ ดร้ ับ
บ...................คน ไดร้ บั ...................คน ไดร้ บั ...................คน ได้รับ...................คน

มม่ ี (ข้ามไปข้อ 6) ไม่มี (ข้ามไปขอ้ 6) ไมม่ ี (ข้ามไปขอ้ 6) ไม่มี (ข้ามไปขอ้ 6)
.......................คน มี........................คน ม.ี .......................คน ม.ี .......................คน
ช่ ไม่ใช่ ไมใ่ ช่ ไม่ใช่
ใช่ ใช่ ใช่
4 เรอ่ื ง ดงั ต่อไปน้ี
ม่ใช่ ไมใ่ ช่ ไม่ใช่ ไมใ่ ช่
ช่ ใช่ ใช่ ใช่
ช่ ไมใ่ ช่ ไมใ่ ช่ ไมใ่ ช่
ใช่ ใช่ ใช่
ช่
ไมใ่ ช่ ไมใ่ ช่ ไม่ใช่
ใช่ ใช่ ใช่

260

รายงานฉบบั สมบูรณโ์ ครงการจัด
ระดบั หมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหร

ตวั ชี้วดั /คำถาม ปี 2565 ปี 256

6.4 ถา้ กนิ ผกั ตอ้ งเปน็ ผักปลอดสารพษิ หรอื ได้ทำการแช่ดว้ ยนำ้ ไมใ่ ช่ ไมใ่ ช่
ผสมดา่ งทับทิมหรอื น้ำยาลา้ งผกั แล้วล้างดว้ ยนำ้ สะอาด ใช่ ใช่
หลาย ๆ ครั้ง

6.5 กอ่ นกินอาหารต้องลา้ งมอื ทกุ ครัง้ และใชช้ อ้ นกลาง ไมใ่ ช่ ไมใ่ ช่

ใช่ ใช่

7. ครัวเรอื นมคี วามรแู้ ละป้องกนั ตนเองเพอื่ ควบคุมปัจจยั เสย่ี งทค่ี ุกคามสขุ ภาวะ

ความรอบรู้ดา้ นสุขภาพ หมายถึง ความสามารถหรือทักษะของบคุ คลในการเขา้ ถึง เขา้ ใจข้อมลู สุขภาพ โตต้ อบซกั ถามจ

สม และสามารถบอกตอ่ ผ้อู ่ืนได้ (ที่มา กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ )

ทกุ คนในครัวเรือนมีความรู้และปอ้ งกนั ตนเองเพอ่ื ควบคุมปจั จยั เสยี่ งท่ีคุกคามสขุ ภาวะ ดังตอ่ ไปนี้

7.1 ด่มื น้ำสะอาดประมาณ 2 ลติ รตอ่ วัน ไมใ่ ช่ ไมใ่ ช่

ใช่ ใช่

7.2 นอนหลับสนิท 7 - 8 ชั่วโมงตอ่ คืน ไม่ใช่ ไม่ใช่

ใช่ ใช่

7.3 กินอาหารหวาน มัน เค็ม กินผักผลไม้น้อย ดื่มเหล้า สูบ ไมใ่ ช่ ไม่ใช่
บุหรี่ ทำให้เกิดความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิต ใช่ ใช่
สูง หัวใจขาดเลือด หลอดเลือดสมองตีบ คอลเรสเตอรอล

ในเลอื ดสงู

7.4 ผลไม้บางชนิดที่มนี ำ้ ตาลและพลังงานสูง เช่น ทเุ รียน ลำไย ไม่ใช่ ไม่ใช่
จึงควรกนิ แตน่ ้อยโดยเฉพาะผทู้ ่ีมีโรคประจำตวั ใช่ ใช่

7.5 ดูแลสขุ ภาพช่องปากและฟนั ด้วยการแปรงฟนั ด้วยยาสีฟัน ไม่ใช่ ไมใ่ ช่
ทีม่ ฟี ลูออไรด์ คร้ังละ 2 นาทวี ันละ 2 ครัง้ ใช่ ใช่

7.6 เม่อื มีอาการไอหรอื จามมกี ารป้องกนั ตนเองและผู้อ่นื ด้วย ไม่ใช่ ไมใ่ ช่
การสวมหนา้ กากอนามัยและล้างมอื อยา่ งถกู วธิ ี ใช่ ใช่

7.7 ควรลุกขนึ้ เดนิ และเปลย่ี นทา่ ทางทกุ 1 ช่วั โมง ไมใ่ ช่ ไมใ่ ช่
ใช่ ใช่

261

ดทำเครอ่ื งชว้ี ัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พ้ืนฐาน
รบั ใชช้ ่วงแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

คำตอบ (กรอกเฉพาะปที ่จี ดั เกบ็ ขอ้ มูลเท่านั้น)

66 ปี 2567 ปี 2568 ปี 2569

ไม่ใช่ ไมใ่ ช่ ไม่ใช่
ใช่
ใช่ ใช่

ไม่ใช่ ไมใ่ ช่ ไม่ใช่
ใช่ ใช่ ใช่

จนสามารถประเมนิ ตัดสนิ ใจ ปรับเปลีย่ นพฤตกิ รรม เลอื กรับบรกิ าร เพื่อการจัดการสุขภาพตนเองไดอ้ ยา่ งหมาะ

ไม่ใช่ ไมใ่ ช่ ไมใ่ ช่
ใช่ ใช่ ใช่
ไม่ใช่ ไม่ใช่ ไมใ่ ช่
ใช่ ใช่ ใช่
ไมใ่ ช่ ไมใ่ ช่ ไมใ่ ช่
ใช่ ใช่ ใช่

ไมใ่ ช่ ไม่ใช่ ไม่ใช่
ใช่ ใช่ ใช่
ไม่ใช่ ไม่ใช่ ไมใ่ ช่
ใช่ ใช่ ใช่
ไม่ใช่ ไม่ใช่ ไม่ใช่
ใช่ ใช่ ใช่

ไมใ่ ช่ ไมใ่ ช่ ไมใ่ ช่
ใช่ ใช่ ใช่

รายงานฉบบั สมบูรณโ์ ครงการจดั ทำเคร่ืองช้ีวดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พ้ืน
ระดบั หมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั

ตวั ชวี้ ดั /คำถาม ปี 2565

7.8 พกั สายตาจากจอคอมพวิ เตอร์ / มอื ถอื ทุก 1 ชวั่ โมง อยา่ ง ไม่ใช่ ไม่ใช

น้อย 1 - 20 นาที เพื่อหลกี เลย่ี งอาการออฟฟศิ ซนิ โดรม ใช่ ใช่

7.9 หากมหี รือพบบุคคลท่ีมอี าการ ใบหนา้ และปากเบยี้ ว แขน ไมใ่ ช่ ไมใ่ ช

ขาออ่ นแรงซีกเดียว พดู ไมช่ ดั และเจ็บหนา้ อก ควรรบี ไป ใช่ ใช่

โรงพยาบาลท่ใี กลท้ สี่ ดุ ทนั ที

7.10 หากพบผปู้ ว่ ยฉุกเฉนิ ควรแจ้ง 1669 ไม่ใช่ ไมใ่ ช

ใช่ ใช่

7.11 หากพบวา่ ครวั เรือนอยู่ในพนื้ ทที่ ี่มีค่า PM. 2.5 เกนิ ค่า ไม่ใช่ ไม่ใช

มาตรฐาน ควรมีการใส่หนา้ กากอนามยั เม่ือตอ้ งออกนอกบ้าน ใช่ ใช่

7.12 ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรค Covid – 19 ควรมี ไม่ใช่ ไมใ่ ช

การปฏบิ ตั ิตวั ตามมาตรการการเฝ้าระวงั เชน่ การสวมใส่ ใช่ ใช่

หนา้ กากอนามัย การรักษาระยะหา่ งทางสงั คม การ

หลีกเลย่ี งการเข้าไปในพ้ืนทที่ ี่มีคนหนาแน่น การล้างมอื ดว้ ย

เจลแอลกอฮอล์ เปน็ ต้น

8. ครวั เรอื นสามารถดูแลตนเอง/สมาชกิ เม่อื มีอาการเจบ็ ปว่ ยเบือ้ งตน้

ยาสามญั ประจำบา้ น คอื ยาทก่ี ระทรวงสาธารณสขุ ได้พจิ ารณาคัดเลือกวา่ เป็นยาปลอดภยั เปน็ ยาที่เหมาะสมทจี่ ะ

ภาชนะบรรจจุ ะมีคำวา่ “ยาสามญั ประจำบ้าน” พมิ พ์อยู่ ซ่ึงมีทั้งยาแผนปจั จุบนั และยาแผนโบราณ

ยาสมุนไพรในงานสาธารณสขุ มลู ฐาน กำหนดตามประกาศของกรมสนับสนุนการบริการสขุ ภาพ ปจั จบุ ันมี 67 ชน

ทกุ คนในครวั เรอื น เมอื่ มีอาการเจ็บป่วยเล็กนอ้ ย ไดป้ ฏบิ ตั ดิ ังต่อไปนี้ เพื่อบำบดั รักษาหรอื บรรเทาอาการเจ็บปว่ ย

8.1 ดูแลตนเอง/สมาชิกด้วยยาสามัญประจำบ้าน ทั้งแผน ไมใ่ ช่ ไมใ่ ช

ปัจจุบัน แผนโบราณ ยาสมุนไพรในงานสาธารณสขุ มูลฐาน ใช่ ใช่

และใช้ยาเท่าทีจ่ ำเป็น

8.2 วดั ไข้ วัดความดนั โลหติ และจับชพี จร ไมใ่ ช่ ไมใ่ ช

ใช่ ใช่

8.3 ไม่กินผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่อวดอ้างสรรพคุณเกินจริง ไม่ใช่ ไมใ่ ช
โดยแสดงสรรพคุณเป็นยาเพื่อบำบัด บรรเทา รักษาโรค ใช่ ใช่
ซึ่งไมต่ รงกับทแี่ สดงในฉลาก

นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พืน้ ฐาน
บท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

คำตอบ (กรอกเฉพาะปที จ่ี ัดเกบ็ ข้อมูลเท่านัน้ )

ปี 2566 ปี 2567 ปี 2568 ปี 2569
ช่ ไม่ใช่
ไมใ่ ช่ ไม่ใช่ ใช่
ช่ ไมใ่ ช่
ใช่ ใช่ ใช่

ไมใ่ ช่ ไม่ใช่ ไมใ่ ช่
ใช่
ใช่ ใช่ ไม่ใช่
ใช่
ช่ ไม่ใช่ ไม่ใช่ ไมใ่ ช่
ใช่ ใช่ ใช่

ช่ ไม่ใช่ ไมใ่ ช่
ใช่ ใช่
ไมใ่ ช่
ช่ ไมใ่ ช่ ใช่
ใช่

ะให้ประชาชนซอื้ มาใชด้ ว้ ยตนเอง เพอ่ื การดแู ลรกั ษาอาการเจบ็ ปว่ ยเลก็ นอ้ ยที่มกั เกดิ ขน้ึ ได้ สามารถสงั เกตจากบริเวณ

นดิ
ยเบ้ืองตน้
ช่ ไมใ่ ช่ ไมใ่ ช่ ไมใ่ ช่

ใช่ ใช่ ใช่

ช่ ไม่ใช่ ไม่ใช่ ไมใ่ ช่
ใช่ ใช่ ใช่

ช่ ไม่ใช่ ไมใ่ ช่ ไมใ่ ช่
ใช่ ใช่ ใช่

262

รายงานฉบับสมบรู ณโ์ ครงการจัด
ระดบั หม่บู า้ น (กชช. 2ค) สำหร

ตวั ชีว้ ดั /คำถาม ปี 2565 ปี 256

8.4 ให้ขอ้ มูลเกยี่ วกบั การเจบ็ ปว่ ยของตนเอง โรคประจำตัว ไมใ่ ช่ ไมใ่ ช่
การแพย้ า ผลิตภณั ฑ์สขุ ภาพ/ยาที่เคยใช้ ตอ่ บคุ ลากรสาธารณสขุ ใช่ ใช่

9. คนอายุ 6 ปขี น้ึ ไป ออกกำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วนั ๆ ละ 30 นาที
การออกกำลงั กาย หมายถึง การเคลอื่ นไหวร่างกายตามรูปแบบทก่ี ำหนด โดยมวี ตั ถุประสงคเ์ พอ่ื สร้างเสรมิ สมรรถภาพอย
นำ้ กระโดดเชอื ก กรรเชยี งเรอื เลน่ กฬี าประเภทฝึกความอดทน (สมรรถภาพทางกาย) ฯลฯ วันละ 30 นาที อยา่ งนอ้ ยสัป
การออกแรง/ออกกำลงั หมายถึง การออกแรง/ออกกำลงั (ไม่ใช่ยนื หรือนั่งทำงานเฉยๆ) ทำงานประกอบอาชีพ (หาบขนม
บ้าน (เช็ดถูกระจก ลา้ งขดั พ้นื ถูบา้ น ทำสวนครัว ขนึ้ ลงบนั ได ฯลฯ) หรือเดินทาง (เดิน หรือ ป่ันจักรยานไปทำงานหรอื ท
นาทีข้ึนไป รวมกนั ทัง้ วนั 30 นาที อยา่ งน้อยสัปดาห์ละ 5 วัน
ทกุ คนในครัวเรือน ยกเวน้ ผปู้ ว่ ยติดเตยี งหรอื บคุ คลท่ีมขี ้อจำกดั ดา้ นการเคลอ่ื นไหว ทม่ี ีคนอายุ 6 ปขี นึ้ ไป มพี ฤตกิ รรม

9.1 ออกกำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน ๆ ละ 30 นาที หรือ ไมใ่ ช่ ไมใ่ ช่
ได้ออกแรง/ออกกำลังติดต่อกันอย่างน้อย 10 นาที ขึ้นไป ใช่ ใช่
รวมกนั ทงั้ วัน 30 นาที อยา่ งน้อยสัปดาหล์ ะ 5 วัน หรือไม่

10. ผู้ปว่ ยตดิ เตยี งได้รบั การดูแลจากครอบครัว ชุมชน ภาครฐั หรือภาคเอกชน
ผู้ป่วยติดเตยี ง หมายถงึ ผปู้ ว่ ยทมี่ คี วามเจบ็ ปว่ ยเรื้อรงั จนเกิดสภาวะรา่ งกายเสอ่ื มโทรม ทำใหไ้ มส่ ามารถใชช้ วี ิตประจำวนั ไ
การดแู ลจากครอบครัว ชมุ ชน ภาครัฐ หรือภาคเอกชน หมายถงึ การไดร้ ับการดูแลจากคนในครอบครัว อาสาสมัครในชุม

10.1 ครัวเรือนน้ี มีผปู้ ่วยตดิ เตียง หรอื ไม่ ไม่มี (ข้ามไปขอ้ 11) ไม่มี (ขา้ ม

10.2 ผปู้ ่วยตดิ เตยี ง ไดร้ บั การดูแลเอาใจใส่ชวี ติ ความเป็นอยู่ มี........................คน ม.ี ............
ด้านอาหาร ยา การออกกำลังฟื้นฟกู ล้ามเนือ้ และปรบั
โครงสร้างและสภาพแวดลอ้ มของบ้าน ให้เหมาะสมกับ ไมไ่ ด้รับ ไมไ่ ด้รบั
ผู้ปว่ ย จากคนในครอบครัวและชุมชน หรอื ไม่ ไดร้ บั ทุกคน ไดร้ ับทุกค

10.3 ผู้ป่วยตดิ เตยี งได้รบั สวสั ดิการจากรฐั อาทิ เบ้ียยงั ชพี ไมไ่ ดร้ บั ไมไ่ ดร้ ับ
เบ้ียผู้พิการ หรือไม่ ได้รบั ทกุ คน ไดร้ บั ทุกค

10.4 ผปู้ ่วยตดิ เตียงได้รับการดูแลและชว่ ยเหลอื จากองค์กร ไมไ่ ด้รับ ไม่ไดร้ ับ
เอกชนหรอื ไม่ ไดร้ ับ......................คน ไดร้ ับ.......

ไดร้ บั ทุกคน ได้รบั ทุกค

263

ดทำเคร่ืองช้วี ดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พื้นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพ้นื ฐาน
รบั ใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

คำตอบ (กรอกเฉพาะปที จ่ี ัดเกบ็ ข้อมูลเท่านั้น)

66 ปี 2567 ปี 2568 ปี 2569

ไมใ่ ช่ ไม่ใช่ ไมใ่ ช่
ใช่
ใช่ ใช่

ยา่ งใดอยา่ งหน่งึ หรือทั้งหมด เป็นกิจกรรมท่คี ่อนขา้ งหนัก เชน่ เดนิ จำ้ ว่งิ /วิง่ เหยาะ ปัน่ จกั รยาน เตน้ แอโรบิค ว่าย
ปดาห์ละ 3 วัน
มขาย ขนของขึน้ ลง ถบี สามล้อ เกยี่ วขา้ ว รับจา้ ง แบกหาม ฯลฯ) หรอื ทำงานบ้าน งานสวน งานสนามในบริเวณ
ทำธรุ ะ ฯลฯ) หรอื ออกกำลังกาย เล่นกฬี าอยา่ งนอ้ ยทำใหร้ ู้สึกเหนอื่ ยบา้ ง หายใจเร็วข้นึ ติดต่อกนั อย่างนอ้ ย 10

มการออกกำลังกายอย่างนอ้ ยสัปดาหล์ ะ 3 วนั ๆ ละ 30 นาที ดงั ตอ่ ไปนี้ ไมใ่ ช่
ใช่
ไม่ใช่ ไมใ่ ช่
ใช่ ใช่

ไดเ้ หมือนคนปกติ
มชน สวสั ดิการชุมชน สวัสดิการจากรัฐ หรือการชว่ ยเหลือจากองค์กรเอกชน

มไปข้อ 11) ไม่มี (ขา้ มไปขอ้ 11) ไม่มี (ขา้ มไปข้อ 11) ไมม่ ี (ขา้ มไปข้อ 11)
ม.ี .......................คน
............คน ม.ี .......................คน มี........................คน ไม่ได้รบั
ได้รบั ทุกคน
ไมไ่ ดร้ ับ ไม่ไดร้ บั

คน ไดร้ บั ทุกคน ไดร้ บั ทุกคน

คน ไมไ่ ดร้ บั ไมไ่ ดร้ บั ไมไ่ ด้รับ
ไดร้ ับทกุ คน ไดร้ ับทกุ คน ได้รบั ทกุ คน
...............คน
คน ไมไ่ ดร้ ับ ไมไ่ ด้รับ ไมไ่ ด้รบั
ได้รับ......................คน ได้รับ......................คน ได้รับ.....................คน
ไดร้ บั ทกุ คน ไดร้ ับทกุ คน ได้รบั ทกุ คน

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเคร่อื งช้วี ดั และแบบสอบถามข้อมลู ความจำเปน็ พ้นื
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั

ตวั ชว้ี ดั /คำถาม ปี 2565

11. คนในครัวเรอื นมปี ระกันสุขภาพ/สิทธิรักษาพยาบาล และทราบสถานทใ่ี ชบ้ ริการตามสทิ ธิ

11.1 ทกุ คนในครัวเรือนนี้ มปี ระกนั สขุ ภาพ/สทิ ธิรักษาพยาบาล ไมม่ ี ไมม่
หรอื ไม่ มีทกุ คน มีท

11.2 จำนวนคนในครวั เรือนทมี่ ีประกนั สุขภาพ/สิทธิรักษาพยาบาล ประกันสุขภาพเอกชน.......คน ประ
และทราบสถานทีใ่ ช้บรกิ ารตามสิทธิ (ตอบได้มากกวา่ 1 ขอ้ )
สทิ ธิข้าราชการ.................คน สทิ ธ

สทิ ธปิ ระกันสังคม..............คน สทิ ธ

สิทธิหลักประกนั สุขภาพ สทิ ธ
(สทิ ธิบัตรทอง).......................คน (สิทธบิ ตั รทอ

11.3 ในรอบปีที่ผา่ นมา จำนวนคนในครัวเรือนที่ใชบ้ ริการ อน่ื ๆ ระบ.ุ .......จำนวน......คน อน่ื
สถานพยาบาล ดังต่อไปน้ี รพสต. จำนวน................คน รพส
รพ.รฐั จำนวน.................คน รพ.ร

รพ.เอกชน จำนวน..........คน รพ.

คลินกิ จำนวน.................คน คลนิ

แพทย์แผนไทยจำนวน....คน แพท

หมอชาวบ้านจำนวน.......คน หมอ

อ่ืน ๆ ระบ.ุ .....จำนวน.....คน อ่ืน

12. คนอายุ 35 ปีข้ึนไป ได้รบั การตรวจสุขภาพประจำปี
ตรวจสขุ ภาพประจำปี หมายถงึ การตรวจสขุ ภาพหลายอยา่ งเพอื่ ประเมนิ สขุ ภาพของบคุ คล เปน็ ประจำอยา่ งนอ้ ยปีละ 1 คร

- การตรวจสขุ ภาพหลายอยา่ งเพือ่ ประเมนิ สุขภาพของบุคคล โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งคนที่มีอายุตง้ั แต่ 35 ปขี ้ึนไ
อจุ จาระ การเอกซเรยป์ อด เปน็ ต้น

- คนอายุตง้ั แต่ 35 ปีข้นึ ไป เป็นกลุ่มท่ีมีความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดนั โลหติ สงู ไขมนั ในเลอื ดสูง จงึ ค
- ผู้หญิงท่มี อี ายตุ ั้งแต่ 35 ปีขน้ึ ไป ไดร้ ับการตรวจคัดกรอกมะเร็งปากมดลูก มะเรง็ เต้านม

12.1 ครัวเรือนน้ี มีคนอายตุ ง้ั แต่ 35 ปี ขึ้นไป หรอื ไม่ ไม่มี (ขา้ มไปข้อ 13) ไม

ม.ี .......................คน ม.ี .

นฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพ้ืนฐาน
บท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

คำตอบ (กรอกเฉพาะปีทจี่ ดั เกบ็ ขอ้ มูลเทา่ นั้น)

ปี 2566 ปี 2567 ปี 2568 ปี 2569

มี ไมม่ ี ไม่มี ไม่มี
ทกุ คน มีทกุ คน มีทกุ คน มที กุ คน

ะกันสขุ ภาพเอกชน.......คน ประกนั สขุ ภาพเอกชน..........คน ประกันสขุ ภาพเอกชน..........คน ประกันสขุ ภาพเอกชน.......คน
ธขิ า้ ราชการ.................คน สิทธิขา้ ราชการ....................คน สทิ ธิข้าราชการ....................คน สิทธิขา้ ราชการ.................คน
ธิประกันสังคม..............คน สิทธปิ ระกนั สงั คม.................คน สิทธปิ ระกันสงั คม.................คน สิทธิประกนั สงั คม..............คน
ธหิ ลักประกันสขุ ภาพ สิทธหิ ลกั ประกันสุขภาพ สิทธิหลักประกนั สุขภาพ สทิ ธหิ ลักประกันสขุ ภาพ
อง).......................คน (สทิ ธบิ ตั รทอง).......................คน (สิทธบิ ตั รทอง).......................คน (สิทธบิ ัตรทอง).......................คน
ๆ ระบ.ุ ......จำนวน......คน อื่นๆ ระบุ...........จำนวน......คน อน่ื ๆ ระบุ........จำนวน......คน อน่ื ๆ ระบุ.......จำนวน......คน

สต. จำนวน................คน รพสต. จำนวน................คน รพสต. จำนวน................คน รพสต. จำนวน................คน
รัฐ จำนวน.................คน รพ.รัฐ จำนวน.................คน รพ.รฐั จำนวน.................คน รพ.รัฐ จำนวน.................คน
.เอกชน จำนวน..........คน รพ.เอกชน จำนวน..........คน รพ.เอกชน จำนวน..........คน รพ.เอกชน จำนวน..........คน
นิก จำนวน.................คน คลินิก จำนวน.................คน คลินิก จำนวน.................คน คลินิก จำนวน.................คน
ทยแ์ ผนไทยจำนวน....คน แพทย์แผนไทยจำนวน....คน แพทยแ์ ผนไทยจำนวน....คน แพทยแ์ ผนไทยจำนวน....คน
อชาวบ้านจำนวน.......คน หมอชาวบ้านจำนวน.......คน หมอชาวบ้านจำนวน.......คน หมอชาวบ้านจำนวน.......คน
ๆ ระบ.ุ .....จำนวน.....คน อน่ื ๆ ระบ.ุ .....จำนวน.....คน อ่ืน ๆ ระบุ......จำนวน.....คน อน่ื ๆ ระบ.ุ .....จำนวน.....คน

ครั้ง ได้แก่ การตรวจร่างกายทว่ั ไป การตรวจเลอื ด การตรวจปัสสาวะ การตรวจอจุ จาระ การเอกซเรยป์ อด เปน็ ตน้ ดงั น้ี
ไป เปน็ ประจำอยา่ งน้อยปีละ 1 คร้ัง ไดแ้ ก่ การตรวจรา่ งกายทว่ั ไป การตรวจเลือด การตรวจปสั สาวะ การตรวจ

ควรจะมกี ารตรวจคัดกรองความเส่ยี งต่อโรคเบาหวานและความดนั โลหิตสงู

ม่มี (ข้ามไปข้อ 13) ไม่มี (ขา้ มไปขอ้ 13) ไมม่ ี (ขา้ มไปขอ้ 13) ไม่มี (ข้ามไปขอ้ 13)
.......................คน ม.ี .......................คน ม.ี .......................คน ม.ี .......................คน

264

รายงานฉบับสมบูรณโ์ ครงการจดั
ระดับหมูบ่ า้ น (กชช. 2ค) สำหร

ตวั ช้วี ดั /คำถาม ปี 2565 ปี 256

12.2 ในรอบปที ผี่ า่ นมา คนอายตุ ง้ั แต่ 35 ปขี น้ึ ไป ไดร้ ับการตรวจ ไมไ่ ดร้ ับ ไม่ไดร้ ับ
สุขภาพประจำปี ทกุ คน หรอื ไม่ ไดร้ ับทุกคน ไดร้ บั ทุกค

12.3 คนทไี่ มไ่ ด้รับการตรวจสขุ ภาพประจำปี ตามขอ้ 12.2 ไมไ่ ด้รับ ไมไ่ ด้รับ
ไดร้ ับการตรวจคดั กรองความเส่ยี งตอ่ โรคเบาหวานและ ได้รบั ทกุ คน ได้รบั ทกุ ค
ความดันโลหติ สูง ทุกคน หรอื ไม่

หมวดท่ี 2 มาตรฐานความเป็นอยู่ มี 9 ตัวชี้วัด

ตวั ชวี้ ดั /คำถาม ปี 2565 ปี 2566

13. ครัวเรอื นมคี วามมัน่ คงในท่ีอยอู่ าศยั บ้านมีสภาพคงทนถาวร และอยใู่ นสภาพแวดลอ้ มทเ่ี หมาะสม

ความม่ันคงในทอ่ี ยอู่ าศยั หมายถงึ สามารถอยู่ได้โดยไมต่ ้องกังวลวา่ จะมปี ัญหาเร่อื งทีพ่ กั อาศยั และอยู่ในสภาพแวดลอ้ มท

อยา่ งรา้ ยแรง ดนิ โคลนถลม่ เป็นตน้

บ้านมีสภาพคงทนถาวร หมายถึง บ้านมีโครงสร้างบ้าน มีหลังคามุงกระเบื้องหรือสังกะสี และมีฝาครบทั้ง 4 ด้าน มีป

ความมน่ั คงในทอี่ ยู่อาศัย บา้ นมสี ภาพคงทนถาวร และอย่ใู นสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม ดงั ตอ่ ไปน้ี

13.1 ลกั ษณะการครอบครองท่อี ยอู่ าศยั บา้ นตนเอง บา้ นตนเอง

บา้ นเช่า บ้านเชา่

บ้านญาติ บ้านญาติ

13.2 ลกั ษณะการครอบครองกรรมสทิ ธ์ทิ ดี่ ินของทอ่ี ยู่ อืน่ ๆ ระบ.ุ ................ อนื่ ๆ ระบุ.....
อาศัย ที่ดินตนเอง ที่ดนิ ตนเอง
ทีด่ ินเชา่ ท่ดี นิ เช่า

ทีด่ นิ สาธารณะ ที่ดินสาธารณะ

13.3 ครวั เรือนมีความมั่นคงในท่ีอยอู่ าศัย หรอื ไม่ อืน่ ๆ ระบุ................. อน่ื ๆ ระบุ.....
ไมใ่ ช่ ไม่ใช่

ใช่ ใช่

265

ดทำเคร่อื งชว้ี ดั และแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พ้ืนฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพน้ื ฐาน
รบั ใชช้ ่วงแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

คำตอบ (กรอกเฉพาะปีท่จี ัดเกบ็ ข้อมูลเท่านัน้ )

66 ปี 2567 ปี 2568 ปี 2569

ไม่ได้รับ ไม่ได้รบั ไม่ได้รบั
ได้รบั ทุกคน
คน ไดร้ ับทกุ คน ได้รับทุกคน
ไมไ่ ด้รบั
ไม่ได้รบั ไม่ได้รบั ได้รบั ทกุ คน

คน ไดร้ ับทกุ คน ได้รับทกุ คน

คำตอบ (กรอกเฉพาะปที ่ีจัดเกบ็ ขอ้ มลู เทา่ นัน้ ) ปี 2569
6 ปี 2567 ปี 2568

ทม่ี ีความเหมาะสม เช่น ไม่แออดั ไมอ่ ย่ใู นทส่ี าธารณะหรอื เขตป่าสงวน ไมถ่ กู ไลท่ ี่ ไม่อยู่ในเขตที่ประสบภยั น้ำทว่ ม
ประตูหน้าต่างที่อยู่ใน สภาพดี แข็งแรง ไม่ชำรุด อยู่คงทน สามารถอยู่ต่อไปได้ไม่น้อยกว่า 5 ปี ครัวเรือนต้องมี

............. บ้านตนเอง บ้านตนเอง บ้านตนเอง
บ้านเช่า บ้านเชา่ บ้านเช่า
ะ บ้านญาติ บ้านญาติ บา้ นญาติ
............. อน่ื ๆ ระบุ................. อนื่ ๆ ระบ.ุ ................ อื่น ๆ ระบุ.................
ที่ดนิ ตนเอง ท่ีดินตนเอง ท่ดี นิ ตนเอง
ที่ดินเช่า ท่ีดินเช่า ท่ดี ินเช่า
ทด่ี นิ สาธารณะ ทด่ี นิ สาธารณะ ท่ดี นิ สาธารณะ
อ่นื ๆ ระบุ................. อ่ืน ๆ ระบุ................. อนื่ ๆ ระบุ.................
ไมใ่ ช่ ไมใ่ ช่ ไม่ใช่
ใช่ ใช่ ใช่

รายงานฉบับสมบูรณโ์ ครงการจัดทำเคร่ืองช้ีวดั และแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเป็นพน้ื
ระดบั หมู่บ้าน (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั

ตัวชี้วดั /คำถาม ปี 2565 ปี
ไมใ่ ช่
13.4 ครัวเรอื นมบี ้านทีม่ ีสภาพคงทนถาวร หรอื ไม่ ไมใ่ ช่ ใช่
ไม่ใช่
ใช่ ใช่

13.5 ครวั เรอื นอาศัยอยใู่ นสภาพแวดลอ้ มทม่ี คี วาม ไม่ใช่ ไมใ่ ช่
เหมาะสม หรอื ไม่ ใช่ ใช่
ไม่ใช่
14. ครวั เรือนมีการจดั บา้ นเรือนและได้รบั บริการจดั เก็บขยะมูลฝอยทถี่ ูกสขุ ลกั ษณะ ใช่
ไมใ่ ช่
ครัวเรอื นตอ้ งมีการจดั บ้านเรือนเป็นระเบยี บเรยี บร้อย สะอาด ถกู สขุ ลักษณะ ดงั ต่อไปนี้ ใช่
ไมใ่ ช่
14.1 มสี ภาพในบ้านสะอาด ไมร่ กรงุ รงั ไมใ่ ช่ ใช่
ไมใ่ ช่
ใช่ ใช่
ไมใ่ ช่
14.2 มีทป่ี ระกอบอาหารสะอาดและเป็นระเบยี บ ไมใ่ ช่ ใช่

ใช่ ไม่ใช่
ใช่
14.3 มีทีเ่ กบ็ น้ำสะอาดเพื่อการอปุ โภคบรโิ ภคสภาพดี ไมใ่ ช่ ไม่ใช่
ใช่
ใช่

14.4 มกี ารกำจัดสัตว์ แมลงทีเ่ ปน็ พาหะนำโรค ภายใน ไม่ใช่
บา้ นหรือบริเวณบ้าน ใช่

14.5 มีอุปกรณใ์ นการกำจัดขยะ อาทิ ไม้กวาด ถังขยะ ไมใ่ ช่
ถงุ ใสข่ ยะ ใช่

14.6 มกี ารคดั แยกขยะออกเป็น 4 ประเภท ประกอบดว้ ย ไมใ่ ช่
1.ของเสียอนั ตราย 2.ขยะรีไซเคิล 3. เศษอาหาร ใช่
4.ขยะอิเลก็ ทรอนกิ ส์ (แบตเตอร่ี มอื ถอื อปุ กรณ์

ชาร์จไฟ) 5.ขยะอ่นื ๆ

14.7 ครวั เรอื นไดร้ ับบริการจดั เกบ็ ขยะมูลฝอยเป็นประจำ ไมใ่ ช่
และการกำจัดขยะมูลฝอยทีถ่ กู สุขลกั ษณะ ใช่

14.8 มกี ารกำจัดขยะที่เหลือโดยส่งให้ อปท. กำจดั ไป ไม่ใช่
กำจัดต่อ ใช่

นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพ้นื ฐาน ปี 2569
บท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569) ไม่ใช่
ใช่
คำตอบ (กรอกเฉพาะปีที่จัดเกบ็ ขอ้ มลู เทา่ น้นั ) ไมใ่ ช่
2566 ปี 2567 ปี 2568 ใช่

ไม่ใช่ ไม่ใช่ ไม่ใช่
ใช่ ใช่ ใช่
ไม่ใช่ ไม่ใช่ ไมใ่ ช่
ใช่ ใช่ ใช่
ไมใ่ ช่
ไม่ใช่ ไม่ใช่ ใช่
ใช่ ใช่ ไม่ใช่
ไมใ่ ช่ ไมใ่ ช่ ใช่
ใช่ ใช่ ไมใ่ ช่
ไม่ใช่ ไมใ่ ช่ ใช่
ใช่ ใช่ ไมใ่ ช่
ไม่ใช่ ไม่ใช่ ใช่
ใช่ ใช่
ไมใ่ ช่ ไมใ่ ช่ ไมใ่ ช่
ใช่ ใช่ ใช่
ไม่ใช่ ไม่ใช่ ไม่ใช่
ใช่ ใช่ ใช่

ไมใ่ ช่ ไม่ใช่
ใช่ ใช่
ไม่ใช่ ไมใ่ ช่
ใช่ ใช่

266

รายงานฉบับสมบรู ณโ์ ครงการจดั
ระดับหมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหร

ตวั ช้วี ดั /คำถาม ปี 2565 ปี 2566

14.9 มีรอ่ งระบายน้ำอย่ใู นสภาพดี และไมม่ ีการปล่อยนำ้ ไมใ่ ช่ ไมใ่ ช่
เสยี ลงแหล่งน้ำสาธารณะ ใช่ ใช่

14.10 ครัวเรือนมสี ว้ มเปน็ ของตนเอง ซงึ่ ไม่ได้ใชร้ ว่ มกกบั ไม่ใช่ ไม่ใช่
ครวั เรือนอน่ื และเปน็ ที่สามารถถ่ายอจุ จาระอย่าง ใช่ ใช่
ถูกสุขลักษณะ

14.11 มีการจัดเก็บและแยกสารเคมที เี่ ปน็ อันตรายออก ไม่ใช่ ไม่ใช่
จากเครื่องใชอ้ ่นื ๆ โดยวางให้พ้นมอื เด็ก ใช่ ใช่

15. ครวั เรอื นไมถ่ กู รบกวนจากมลพิษ

การถูกรบกวน หมายถงึ เกดิ จากกจิ กรรม การกระทำ หรอื สภาพส่ิงแวดล้อมของแหลง่ ชมุ ชน แหล่งเกษตรกรรม หรือแหล

บรรจุ หรอื แปรสภาพ เปน็ ต้น โดยส่งิ ทเ่ี ปน็ ต้นเหตุรบกวนจะต้องมีลักษณะอยา่ งใดอยา่ งหน่งึ คือ

1) เกดิ ข้ึนซ้ำ ๆ ในชว่ งเวลาใดเวลาหนงึ่ หรือมีความตอ่ เน่อื งท้ังในเวลากลางวนั และกลางคนื (เวลา 18.00 น. - 06.00

2) เกดิ ข้ึนในขณะใดขณะหน่ึง ซ่ึงมีผลทำใหเ้ กิดอาการเจบ็ ปว่ ยอยา่ งเฉียบพลนั รวมทั้งกอ่ ใหเ้ กดิ ความตื่นตระหนก ความเ

ครวั เรอื นนถ้ี กู รบกวนจากมลพิษทางอากาศ เสียง ความสน่ั สะเทอื น ฝนุ่ ละออง กลน่ิ นำ้ เสยี ขยะหรือของเสยี อันตราย ท่ีอ

15.1 มเี สียงดงั ถูกรบกวน ถกู รบกวน
(อาจสังเกตจากคนที่ยืนห่างกัน 1 เมตร พูดคุยกัน ไมถ่ ูกรบกวน ไมถ่ กู รบกวน
แล้ว คนฝ่ายหนึ่งไม่ได้ยินว่าอีกฝ่ายพูดอะไร หรือ

ความรู้สึกของบุคคลว่ามีเสียงดังเกิดขึ้นจากสภาพ

ปกติของพ้ืนท่นี นั้ ๆ)

15.2 มีความส่ันสะเทือน ถูกรบกวน ถกู รบกวน
(อาจสังเกตจากความรู้สึกหรือการสั่นไหวของวัสดุ ไม่ถกู รบกวน ไมถ่ ูกรบกวน
หรอื ภาชนะ สง่ิ ของต่าง ๆ ในครวั เรือน)

15.3 มฝี ุน่ ละออง ถูกรบกวน ถูกรบกวน
(อาจสังเกตจาก ฝุ่นขนาดใหญ่ โดยการมองด้วยตา ไม่ถกู รบกวน ไมถ่ กู รบกวน
เปล่า และ ฝุ่นขนาดเล็ก สังเกตจากการสะสมของ
ฝุ่นบนพื้นผิวหน้าของภาชนะ อุปกรณ์ เครื่องใช้
ภายในบ้าน หรือ จากการหายใจลำบาก หายใจไม่
สะดวก รู้สึกระคายเคือง มีอาการคัดจมูก เป็นตน้ )

267

ดทำเคร่ืองช้ีวดั และแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพน้ื ฐาน
รับใชช้ ่วงแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

คำตอบ (กรอกเฉพาะปีทีจ่ ัดเกบ็ ขอ้ มลู เทา่ นัน้ ) ปี 2569
6 ปี 2567 ปี 2568 ไม่ใช่
ใช่
ไมใ่ ช่ ไม่ใช่ ไมใ่ ช่
ใช่ ใช่ ใช่

ไม่ใช่ ไมใ่ ช่
ใช่ ใช่

ไมใ่ ช่ ไมใ่ ช่ ไมใ่ ช่
ใช่ ใช่ ใช่

ล่งอน่ื ๆ ท่ีมีต่อคนในครัวเรือน หรอื เกดิ จากการประกอบกิจการของแหล่งอตุ สาหกรรม เช่น การผลิต ประกอบ

0 น. ของวนั รุง่ ขน้ึ ) โดยเกิดข้ึนไมน่ อ้ ยกวา่ 3 คร้ังต่อวัน หรือต่อเนอ่ื งนานกว่า 1 สปั ดาห์ข้นึ ไป
เครียด วิตกกงั วล จนไมส่ ามารถดำเนินชวี ติ ไดอ้ ย่างปกติ
อาจเปน็ อันตรายตอ่ สุขภาพ ดังต่อไปน้ี

ถูกรบกวน ถกู รบกวน ถกู รบกวน

ไมถ่ ูกรบกวน ไมถ่ กู รบกวน ไมถ่ กู รบกวน

ถูกรบกวน ถกู รบกวน ถูกรบกวน
ไม่ถกู รบกวน ไมถ่ กู รบกวน ไม่ถกู รบกวน

ถูกรบกวน ถกู รบกวน ถูกรบกวน
ไม่ถกู รบกวน ไมถ่ ูกรบกวน ไม่ถกู รบกวน

รายงานฉบบั สมบูรณโ์ ครงการจดั ทำเครือ่ งช้วี ัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พ้ืน
ระดบั หม่บู ้าน (กชช. 2ค) สำหรับใช้ชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั

ตัวชี้วดั /คำถาม ปี 2565 ปี
ถูกรบกวน ถูกรบกว
15.4 มกี ล่ินเหม็น ไม่ถกู รบกวน ไมถ่ กู รบ
(อาจสังเกตจากการก่อปัญหารบกวน จนรู้สึกเกิด
ความเดือดร้อนรำคาญ และรู้สึกไม่สบาย เช่น ถูกรบกวน ถูกรบกว
วิงเวียนศีรษะ คลื่นไส้ หายใจไม่สะดวก ทำให้เกิด ไมถ่ ูกรบกวน ไมถ่ ูกรบ
ความวิตกกังวล ร้สู ึกอึดอัด เครยี ด เป็นตน้ )
ถูกรบกวน ถกู รบกว
15.5 มนี ้ำเสยี ไม่ถกู รบกวน ไม่ถกู รบ
(อาจสงั เกตจากในบริเวณแหล่งนำ้ ทอี่ ยู่ ใกลเ้ คียงกับ
ครัวเรือน เช่น แม่น้ำ ห้วย หนอง คลอง หรือบึง แหล่งอตุ สาหกรรม แหลง่ อ
โดยการสังเกตจากกลน่ิ และสที ่ผี ดิ ไปจากธรรมชาติ) แหล่งเกษตรกรรม แหล่งเก
แหล่งสถานบันเทิง แหล่งส
15.6 มีขยะหรอื ของเสยี อันตราย เชน่ หลอดไฟ กระปอ๋ ง แหล่งก่อสร้าง แหลง่ ก
สเปรย์ ถ่านไฟฉาย ฯลฯ อ่นื ๆ ระบุ..................... อ่นื ๆ ร
(อาจสังเกตจากโดยการมองเห็นหรือสังเกต เช่น
ปริมาณขยะล้นจากภาชนะรองรับขยะ กลิ่นเหม็น
จากขยะ ของเสียอันตรายไม่มีการแยกทิ้งอย่าง
ถกู ตอ้ ง พบน้ำขยะมลู ฝอย หรือเป็นแหล่งเพาะพันธุ์
สตั วแ์ ละแมลงพาหะนำโรค)

15.7 หากครัวเรือนมปี ญั หาตามขอ้ ใดขอ้ หน่งึ ใน 6 ขอ้
ย่อยขา้ งตน้ ให้ระบวุ า่ ครัวเรือนตัง้ อยูใ่ กลแ้ หลง่ ใด

นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพ้นื ฐาน
บที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

คำตอบ (กรอกเฉพาะปที ี่จดั เกบ็ ข้อมูลเทา่ นั้น)

2566 ปี 2567 ปี 2568 ปี 2569
ถกู รบกวน
วน ถกู รบกวน ถูกรบกวน ไม่ถกู รบกวน
บกวน
ไม่ถูกรบกวน ไมถ่ กู รบกวน ถกู รบกวน
ไมถ่ กู รบกวน
วน ถูกรบกวน ถูกรบกวน
บกวน ไมถ่ กู รบกวน ไมถ่ ูกรบกวน ถกู รบกวน
ไม่ถูกรบกวน
วน ถูกรบกวน ถูกรบกวน
บกวน ไมถ่ ูกรบกวน ไมถ่ กู รบกวน

อตุ สาหกรรม แหล่งอุตสาหกรรม แหลง่ อุตสาหกรรม แหลง่ อุตสาหกรรม
กษตรกรรม แหล่งเกษตรกรรม แหล่งเกษตรกรรม แหลง่ เกษตรกรรม
สถานบนั เทิง แหลง่ สถานบนั เทงิ แหล่งสถานบันเทิง แหล่งสถานบันเทิง
กอ่ สรา้ ง แหลง่ ก่อสรา้ ง แหล่งกอ่ สรา้ ง แหล่งกอ่ สรา้ ง
ระบ.ุ .................... อื่น ๆ ระบ.ุ .................... อนื่ ๆ ระบุ..................... อื่น ๆ ระบุ...................

268

รายงานฉบับสมบรู ณโ์ ครงการจดั
ระดับหมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหร

ตัวชวี้ ดั /คำถาม ปี 2565 ปี 2566

16. ครวั เรอื นมีการป้องกนั อบุ ัตภิ ยั อยา่ งถูกวธิ ี และมกี ารเตรยี มความพร้อมรับมอื กบั ภยั พบิ ตั ิ
การปอ้ งกันอุบตั ภิ ยั อยา่ งถูกวิธี ได้แก่ 1) การปฏิบตั ติ ามกฎหมายและป้องกนั อบุ ตั ภิ ยั ในการขับขี่ยานพาหนะ เช่น สวมห
แอลกอฮอล์ 2) มีการตรวจซ่อมแซมอุปกรณเ์ ครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้านให้อยู่ในสภาพดี เช่น สายไฟฟ้า ปลั๊ก หรือสวิตซ์ไฟ พ
การใชส้ ารเคมี ใชอ้ ปุ กรณค์ มุ้ ครองความปลอดภัยสว่ นบุคคล (สวมแวน่ ตา หนา้ กากหรอื ผ้าปดิ จมูก ถุงมอื ยาง ฯลฯ)
การเตรยี มความพร้อมรบั มอื กับภัยพบิ ัติ หมายถงึ การเตรยี มการรับมือกับภยั พบิ ัติ มุ่งเนน้ กจิ กรรมตา่ ง ๆ ท่ีทำให้ครัวเรอื
ความพร้อมได้ดี จะทำให้สามารถดำเนินการต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม ท้งั ในช่วงก่อน ระหวา่ ง และหลังการเกิดภัยพิบัติ แ
ภยั พิบตั ิ หมายความว่า สาธารณภัย อันได้แก่ อคั คภี ัย วาตภัย อทุ กภัย ภยั แลง้ ภาวะฝนแลง้ ฝนทิ้งช่วง ภัยจากลกู เหบ็ ภ
ระบาดในมนุษย์ อากาศหนาวจัดผิดปกติ ภัยสงคราม และภัยอันเนื่องมาจากการกระทำของผู้ก่อการร้าย กองกำลังจาก
แก่ชีวิต ร่างกายของประชาชน หรือทำใหเ้ กดิ ความเสียหายแก่ทรัพยส์ นิ ของประชาชน

16.1 ครัวเรอื นมกี ารปอ้ งกนั อุบตั ภิ ยั อยา่ งถกู วธิ หี รือไม่ อุบตั ภิ ัยเมื่อขับขี่ยานพาหนะ อบุ ัตภิ ยั เมื่อขบั ขย่ี าน

ไม่มี มี ไมม่ ี ม

อุบตั ิภยั เมอ่ื ใช้เคร่ืองใชไ้ ฟฟา้ อบุ ตั ิภัยเมอื่ ใชเ้ ครอื่ ง

ไมม่ ี มี ไม่มี ม

อบุ ัตเิ หตจุ ากการประกอบอาชีพ อุบตั ิเหตุจากการประ

ไม่มี มี ไมม่ ี ม
อบุ ัตภิ ยั ทางน้ำ อุบัติภัยทางนำ้

ไมม่ ี มี ไมม่ ี ม

16.2 ในรอบปีที่ผา่ นมา ครัวเรอื นประสบอุบตั ภิ ัย หรือไม่ อุบัตภิ ยั เมือ่ ขบั ข่ียานพาหนะ อุบัติภยั เม่อื ขบั ขี่ยาน

ไม่มี มี ไมม่ ี

อุบตั ภิ ยั เมอ่ื ใชเ้ คร่ืองใช้ไฟฟา้ อุบตั ภิ ัยเมอ่ื ใช้เครือ่ ง

ไม่มี มี ไม่มี

อุบัติเหตุจากการประกอบอาชพี อบุ ัติเหตจุ ากการประ

ไมม่ ี มี ไม่มี
อุบัตภิ ัยทางน้ำ อุบัตภิ ัยทางน้ำ

ไมม่ ี มี ไมม่ ี

269

ดทำเครอื่ งช้ีวัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพนื้ ฐาน ปี 2569
รบั ใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

คำตอบ (กรอกเฉพาะปที ่ีจดั เกบ็ ข้อมลู เท่านน้ั )
6 ปี 2567 ปี 2568

หมวกกันนอ็ ก คาดเข็มขดั นริ ภัย ขบั รถไมเ่ กนิ ความเร็วทก่ี ำหนด ไมข่ ับรถเมื่อมีอาการเหนื่อยล้า ง่วงนอนหรือดื่ม
พัดลม หม้อหุงข้าว 3) มีการป้องกันอนั ตรายหรืออุบัติเหตุจากการประกอบอาชีพ เช่น ปฏิบัติตามคำแนะนำใน

อนมีความสามารถในการคาดการณ์ เผชิญเหตุ และจดั การกับผลกระทบจากภยั พิบัติอย่างเป็นระบบ หากเตรียม
และเพิ่มโอกาสในการรักษาชวี ติ ใหป้ ลอดภัยจากเหตุการณภ์ ยั พบิ ตั ไิ ดม้ ากขึ้น
ภัยอันเกดิ จากไฟป่า ภัยท่ีเกิดจากโรคหรือการระบาดของแมลง หรอื ศตั รูพชื ทุกชนิด ภัยอันเกดิ จากโรคท่ีแพร่หรือ
กนอกประเทศ ตลอดจนภัยอื่น ๆ ไม่ว่าเกิดจากธรรมชาติหรือมีบคุ คลหรือสัตว์ทำให้เกิดข้ึน ซึ่งก่อให้เกิดอันตราย

นพาหนะ อบุ ัติภยั เมอ่ื ขับข่ยี านพาหนะ อุบัตภิ ัยเมือ่ ขบั ขย่ี านพาหนะ อุบัตภิ ัยเมอื่ ขับขยี่ านพาหนะ

มี ไม่มี มี ไม่มี มี ไม่มี มี
งใช้ไฟฟ้า อุบตั ภิ ยั เมอ่ื ใช้เครอื่ งใช้ไฟฟ้า อุบตั ิภัยเมอื่ ใชเ้ ครอื่ งใชไ้ ฟฟ้า อุบตั ภิ ยั เม่อื ใช้เครอื่ งใชไ้ ฟฟ้า

มี ไมม่ ี มี ไม่มี มี ไมม่ ี มี
ะกอบอาชีพ อบุ ตั เิ หตจุ ากการประกอบอาชพี อุบัติเหตุจากการประกอบอาชพี อุบตั ิเหตุจากการประกอบอาชพี

มี ไม่มี มี ไมม่ ี มี ไม่มี มี

อุบัตภิ ยั ทางน้ำ อุบัติภัยทางน้ำ อบุ ัตภิ ัยทางน้ำ

มี ไมม่ ี มี ไม่มี มี ไมม่ ี มี
นพาหนะ อบุ ตั ิภัยเมื่อขับขี่ยานพาหนะ อบุ ัตภิ ยั เมอ่ื ขับข่ยี านพาหนะ อุบตั ิภยั เมอ่ื ขับข่ยี านพาหนะ

มี ไม่มี มี ไมม่ ี มี ไม่มี มี
งใชไ้ ฟฟา้ อบุ ัตภิ ัยเมอ่ื ใช้เครื่องใชไ้ ฟฟา้ อุบัตภิ ยั เมอ่ื ใชเ้ คร่อื งใชไ้ ฟฟ้า อุบัตภิ ัยเมอื่ ใชเ้ ครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้า

มี ไม่มี มี ไมม่ ี มี ไมม่ ี มี
ะกอบอาชพี อบุ ัตเิ หตุจากการประกอบอาชีพ อุบัตเิ หตุจากการประกอบอาชีพ อุบตั เิ หตจุ ากการประกอบอาชพี

มี ไม่มี มี ไม่มี มี ไม่มี มี

อุบัติภัยทางน้ำ อุบัตภิ ัยทางนำ้ อุบตั ภิ ัยทางนำ้

มี ไม่มี มี ไม่มี มี ไมม่ ี มี

รายงานฉบับสมบรู ณโ์ ครงการจดั ทำเคร่ืองช้ีวัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพืน้
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั

ตัวช้วี ดั /คำถาม ปี 2565 ปี
16.3 ในรอบปที ี่ผ่านมา มีสมาชกิ ครัวเรือนเสยี ชีวิตหรือ
อบุ ัตภิ ัยเมอ่ื ขับข่ียานพาหนะ อบุ ัตภิ ยั เมอ่ื ข
สญู หายจากอุบัตภิ ยั หรอื ไม่
ไมม่ ี มี ไม่มี
16.4 ครวั เรอื นมกี ารเตรียมความความพร้อมรบั มือกับ
ภยั พบิ ตั ิ อุบตั ิภยั เม่อื ใชเ้ ครอ่ื งใช้ไฟฟ้า อบุ ัติภัยเม่อื ใช

16.5 ในรอบปที ่ผี ่านมา ครัวเรือนประสบภยั พบิ ัติ ดา้ น ไม่มี มี ไมม่ ี
ใดบา้ ง ระบไุ ดม้ ากกว่า 1 ด้าน
อบุ ตั เิ หตจุ ากการประกอบอาชีพ อุบตั เิ หตุจากก

ไม่มี มี ไมม่ ี
อุบัติภยั ทางนำ้ อุบัตภิ ัยทางน

ไมม่ ี มี ไมม่ ี

ไม่มี ไม่มี

มี มี

อทุ กภัย/คล่ืนสึนามิ อทุ กภัย

วาตภัย วาตภัย

อัคคีภยั อคั คภี ยั

ดินโคลนถล่ม ดินโคล

แผ่นดนิ ไหว แผ่นดิน

หมอกควัน/ควนั พิษ หมอกค

ภัยแลง้ ภยั แล้ง

ภัยหนาว ภัยหนา

ภัยจากสารเคมี ภัยจาก

ภยั ทางถนน ภยั ทาง

ภยั จากการกอ่ ความไมส่ งบ ภัยจากก

ภยั ทเี่ กดิ จากโรคระบาด ภยั ทเี่ ก

ฟา้ ผ่า ฟ้าผา่

อ่ืน ๆ ระบ.ุ .................... อ่นื ๆ ร

นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพื้นฐาน
บที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

คำตอบ (กรอกเฉพาะปีที่จดั เกบ็ ข้อมลู เท่านน้ั ) ปี 2569
2566 ปี 2567 ปี 2568 อุบัติภยั เม่ือขบั ข่ยี านพาหนะ
ขบั ข่ียานพาหนะ อุบัติภยั เมอ่ื ขับขย่ี านพาหนะ อุบัติภัยเมอ่ื ขบั ขี่ยานพาหนะ

มี ไม่มี มี ไม่มี มี ไม่มี มี
ช้เครอื่ งใช้ไฟฟ้า อบุ ัติภัยเมือ่ ใชเ้ คร่ืองใช้ไฟฟ้า อุบัตภิ ยั เม่ือใช้เครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้า อุบตั ภิ ยั เมอื่ ใช้เครือ่ งใช้ไฟฟา้

มี ไม่มี มี ไมม่ ี มี ไม่มี มี
การประกอบอาชีพ อบุ ัติเหตจุ ากการประกอบอาชพี อบุ ัตเิ หตจุ ากการประกอบอาชพี อุบตั เิ หตุจากการประกอบอาชีพ

มี ไม่มี มี ไมม่ ี มี ไมม่ ี มี
นำ้ อบุ ัตภิ ัยทางน้ำ อุบตั ิภัยทางนำ้ อุบตั ภิ ยั ทางนำ้

มี ไม่มี มี ไม่มี มี ไม่มี มี

ไมม่ ี ไม่มี ไมม่ ี

มี มี มี

ย/คลนื่ สนึ ามิ อุทกภยั /คลืน่ สึนามิ อุทกภัย/คล่ืนสนึ ามิ อทุ กภัย/คลืน่ สนึ ามิ

ย วาตภยั วาตภัย วาตภัย

ย อัคคีภยั อัคคภี ัย อัคคีภัย

ลนถลม่ ดนิ โคลนถลม่ ดินโคลนถลม่ ดินโคลนถล่ม

นไหว แผน่ ดนิ ไหว แผ่นดินไหว แผน่ ดินไหว

ควัน/ควนั พษิ หมอกควัน/ควันพิษ หมอกควนั /ควนั พษิ หมอกควนั /ควนั พษิ

ง ภยั แล้ง ภยั แลง้ ภัยแลง้

าว ภยั หนาว ภยั หนาว ภยั หนาว

กสารเคมี ภัยจากสารเคมี ภยั จากสารเคมี ภัยจากสารเคมี

งถนน ภัยทางถนน ภัยทางถนน ภยั ทางถนน

การกอ่ ความไมส่ งบ ภยั จากการกอ่ ความไมส่ งบ ภยั จากการกอ่ ความไม่สงบ ภยั จากการก่อความไมส่ งบ

กิดจากโรคระบาด ภัยที่เกิดจากโรคระบาด ภยั ทเ่ี กิดจากโรคระบาด ภัยท่เี กิดจากโรคระบาด

ฟา้ ผา่ ฟา้ ผา่ ฟ้าผ่า

ระบ.ุ .................... อืน่ ๆ ระบ.ุ .................... อื่น ๆ ระบ.ุ .................... อ่ืน ๆ ระบ.ุ ..................

270

รายงานฉบับสมบรู ณโ์ ครงการจัด
ระดบั หมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหร

ตวั ชว้ี ดั /คำถาม ปี 2565 ปี 2566

16.6 ในรอบปีที่ผ่านมา มคี นในครัวเรอื นท่ีไดร้ ับ ความ ไมม่ ี ไม่มี
เจ็บปว่ ย จากการทำงานจนเปน็ เหตุใหต้ อ้ งหยุดงาน ม.ี ...................คน มี....................
หรือไม่

16.7 ในรอบปที ี่ผา่ นมา มีคนในครวั เรอื นมเี ด็กอายุต่ำกวา่ ไมม่ ี ไม่มี
12 ปี ได้รบั อบุ ัติเหตุทางน้ำจนเสียชวี ติ หรอื ไม่ ม.ี ...................คน ม.ี ...................

17. ครวั เรอื นมีความปลอดภยั ในชีวติ และทรัพย์สิน

ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน หมายถึง สภาพที่ปราศจากภัย หรือ พ้นจากสถานการณ์ที่จะก่อให้เกิดภัยอันต

(การประทุษร้ายต่อทรัพย์ เชน่ การลกั ทรัพย์ การวิง่ ราวทรพั ย์ ปลน้ ทรัพย์ และหลอกลวงใหเ้ สียทรัพย์ เป็นต้น)

อาชญากรรมอื่น ๆ (ฐานความผิดพิเศษ) ได้แก่ ความผิดเกี่ยวกับ พรบ.ป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พรบ.คุ้ม

คอมพวิ เตอร์ ความผิดเกย่ี วกับบัตรอเิ ล็กทรอนิกส์ (ป.อาญา ม.129/1-269/7) พรบ.ปา่ ไม้ พรบ.ปา่ สงวนแหง่ ชาติ พรบ

17.1 ในรอบปที ผ่ี า่ นมา ครัวเรือนนี้ มคี นถูกฆา่ ตาย ไม่มี มี ไมม่ ี ม
หรือไม่

17.2 ในรอบปีที่ผ่านมา ครัวเรือนน้ี มีคนถูกทำร้าย ไม่มี มี ไม่มี ม
ร่างกาย กระทำอนาจาร ขม่ ขนื กระทำชำเรา หรือไม่

17.3 ในรอบปที ผ่ี ่านมา ครวั เรอื นนี้ มีคนถกู ประทุษรา้ ย ไมม่ ี มี ไม่มี ม
ตอ่ ทรพั ย์ (ลักทรพั ย์ วงิ่ ราวทรัพย์ ปลน้ ทรัพย์ มูลคา่ .................บาท มลู ค่า...............
หลอกลวงให้เสยี ทรัพย์) หรือไม่

17.4 ในรอบปีที่ผ่านมา ครวั เรอื นน้ี ถูกบกุ รกุ ที่อยู่อาศยั ไมถ่ กู บุกรุก ไมถ่ ูกบกุ รุก
หรือไม่ ถูกบกุ รกุ ถูกบกุ รุก

17.5 ในรอบปที ่ผี ่านมา ครวั เรือนนี้ มีอาชญากรรมอ่ืน ๆ ไม่มี มี ไมม่ ี ม
ทีเ่ กย่ี วกบั ชวี ติ และทรัพย์สิน หรอื ไม่
ค้ามนษุ ย์................คน คา้ มนษุ ย.์ .........
ละเมดิ สิทธิเดก็ ......คน ละเมดิ สิทธเิ ด็ก

ละเมดิ ลิขสิทธิ.์ ......คน ละเมดิ ลิขสทิ ธิ์..

ละเมดิ สทิ ธบิ ตั ร.....คน ละเมดิ สทิ ธิบตั ร

ละเมดิ เครอ่ื งหมายการคา้ ละเมดิ เครอื่ งหม
...........................คน ...........................คน

271

ดทำเครื่องชว้ี ัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพ้นื ฐาน
รับใชช้ ่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

คำตอบ (กรอกเฉพาะปีทจ่ี ดั เกบ็ ข้อมลู เทา่ น้ัน) ปี 2569
6 ปี 2567 ปี 2568 ไมม่ ี
ม.ี ...................คน
ไมม่ ี ไม่มี
.คน มี....................คน ม.ี ...................คน ไมม่ ี
มี....................คน
ไม่มี ไม่มี
.คน มี....................คน มี....................คน

ตรายต่อชีวิต (เช่น การฆ่า ข่มขืน กระทำอนาจาร กระทำชำเรา กา รบุกรุกที่อยู่อาศัย เป็นต้น) และทรัพย์สิน

มครองเด็ก พรบ.คุ้มครองลิขสิทธิ์ พรบ.สิทธิบัตร พรบ.เครื่อง หมายการค้า พรบ.ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับ
บ.อุทยานแห่งชาติ และ พรบ.สงวนและคมุ้ ครองสตั วป์ ่า เปน็ ต้น

มี ไม่มี มี ไมม่ ี มี ไมม่ ี มี

มี ไมม่ ี มี ไมม่ ี มี ไมม่ ี มี

มี ไมม่ ี มี ไมม่ ี มี ไม่มี มี
...บาท มูลคา่ .................บาท มูลค่า.................บาท มลู ค่า................บาท

มี ไมถ่ ูกบุกรุก ไมถ่ ูกบกุ รุก ไม่ถกู บุกรกุ
ถกู บกุ รกุ ถกู บกุ รุก ถกู บกุ รกุ
.......คน
ก......คน ไม่มี มี ไมม่ ี มี ไมม่ ี มี
......คน คา้ มนษุ ย.์ ...............คน คา้ มนุษย.์ ...............คน ค้ามนษุ ย์................คน
ร.....คน ละเมิดสิทธเิ ดก็ ......คน ละเมดิ สทิ ธเิ ด็ก......คน ละเมดิ สทิ ธิเด็ก......คน
มายการคา้ ละเมดิ ลิขสิทธ.ิ์ ......คน ละเมิดลิขสทิ ธ์.ิ ......คน ละเมิดลิขสิทธ์ิ.......คน
น ละเมิดสทิ ธิบัตร.....คน ละเมดิ สทิ ธบิ ัตร.....คน ละเมดิ สทิ ธิบัตร.....คน
ละเมดิ เครอ่ื งหมายการคา้ ละเมิดเครื่องหมายการคา้ ละเมดิ เครือ่ งหมาย
...........................คน ...........................คน การค้า...........................คน


Click to View FlipBook Version