The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การพัฒนาเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพื้นฐาน
ระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) เป็นเครื่องมือในการวางแผนพัฒนาให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ และจะมีการปรับปรุงทุก ๆ 5 ปี ในปี พ.ศ. 2565 เป็นปีเริ่มต้นของแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (2565 - 2569) จึงมีความจำเป็นต้องใช้เครื่องชี้วัด เกณฑ์ชี้วัดและ
แบบสอบถามชุดใหม่สำหรับจัดเก็บข้อมูล จปฐ. และข้อมูล กชช. 2ค ให้สอดคล้องกับเป้าหมาย
การพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) และแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561 – 2580) และการควบคุม
คุณภาพการจัดเก็บข้อมูลและรูปแบบการรายงานด้วยระบบสารสนเทศที่รองรับความต้องการของทุก
ภาคส่วน การศึกษาครั้งนี้มีวิธีศึกษาจากการวิเคราะห์ประมวลผลจากการสอบถามความคิดเห็นผู้ใช้ข้อมูล
จปฐ. และข้อมูล กชช. 2ค เกี่ยวกับปัญหาและความต้องการของผู้ใช้ข้อมูล (ส่วนภูมิภาค) กระจายตาม
ภูมิภาค จำนวน 8 จังหวัด จังหวัดละ 5 หน่วยงาน รวม 40 หน่วยงาน และการวิเคราะห์ประมวลผลจาก
ประชุมรับฟังความคิดเห็นของคณะทำงานปรับปรุงเครื่องชี้วัดคุณภาพชีวิตของประชาชน และ
คณะกรรมการอำนวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน (พชช.)
ผลการศึกษา พบว่า การใช้แบบสอบถามข้อมูล จปฐ. และแบบสอบถามข้อมูล กชช. 2ค
สำหรับใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ปรับระยะเวลาการเริ่มใช้ให้สอดคล้อง
กับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 13 และแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี จึงเริ่มใช้ระหว่าง
พ.ศ.2566 – 2570 เครื่องชี้วัดข้อมูล จปฐ. ที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูลช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติฉบับที่ 13 ( พ.ศ.2566 - พ.ศ. 2570) ประกอบด้วย 5 หมวด 38 ตัวชี้วัด ได้แก่ หมวดที่ 1
สุขภาพ มี 12 ตัวชี้วัด หมวดที่ 2 มาตรฐานความเป็นอยู่ มี 9 ตัวชี้วัด หมวดที่ 3 การศึกษา มี 5 ตัวชี้วัด
หมวดที่ 4 เศรษฐกิจ มี 4 ตัวชี้วัด และหมวดที่ 5 การคุ้มครองทางสังคมและการมีส่วนร่วม มี 8 ตัวชี้วัด
และเครื่องชี้วัดข้อมูล กชช. 2ค สำหรับใช้ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13
(พ.ศ. 2566 - 2570) ประกอบด้วย 7 หมวด 44 ตัวชี้วัด ดังนี้ หมวดที่ 1 โครงสร้างพื้นฐาน มี 10
ตัวชี้วัด หมวดที่ 2 สภาพพื้นฐานทางเศรษฐกิจ มี 10 ตัวชี้วัด หมวดที่ 3 สุขภาวะและอนามัย มี 7
ตัวชี้วัด หมวดที่ 4 ความรู้และการศึกษา มี 4 ตัวชี้วัด หมวดที่ 5 การมีส่วนร่วมและความเข้มแข็ง
ของชุมชน มี 5 ตัวชี้วัด หมวดที่ 6 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มี 5 ตัวชี้วัด และหมวดที่ 7
ความเสี่ยงของชุมชนและภัยพิบัติ มี 3 ตัวชี้วัด สำหรับกลไกและกระบวนการบริหารจัดเก็บข้อมูลให้มี
คุณภาพ ต้องมีกลไกควบคุมคุณภาพในทุกระดับ ดังนี้ คณะกรรมการอำนวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิต
ของประชาชน (พชช.) คณะทำงานบริหารการจัดเก็บข้อมูลฯ ระดับจังหวัด คณะทำงานบริหารการจัดเก็บ
ข้อมูลฯ ระดับอำเภอ คณะทำงานบริหารการจัดเก็บข้อมูลฯ ระดับตำบล และคณะผู้จัดเก็บข้อมูลระดับ
หมู่บ้าน โดยมีกระบวนการที่มีคุณภาพ ดังนี้การสร้างความรู้ความเข้าใจ การออกแบบวิธีการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล การบันทึกและประมวลข้อมูล การตรวจทานข้อมูล และการนำเสนอข้อมูลเพื่อการใช้
ประโยชน์ร่วมกันในทุกระดับ ข้อเสนอแนะเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บข้อมูลควรให้คนในชุมชนและ
องค์กรหน่วนงานที่เกี่ยวข้องเห็นความสำคัญในการให้ข้อมูลและการจัดเก็บข้อมูลโดยการสร้างการมี
ส่วนร่วมในการจัดเก็บข้อมูล และควรมีการฝึกอบรมและเพิ่มองค์ความรู้ให้กับผู้จัดเก็บข้อมูลอย่างเข้มข้น
รวมทั้งการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรับทราบถึงระยะเวลาในการจัดเก็บข้อมูลรวมกันทั้งประเทศ

คำสำคัญ: คุณภาพชีวิตประชาชน,ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.),ข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by vasusamran55, 2021-07-01 09:24:14

โครงการจัดทำเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.)และข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) ฉบับที่ 13 (พ.ศ.2565-2569)

การพัฒนาเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพื้นฐาน
ระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) เป็นเครื่องมือในการวางแผนพัฒนาให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ และจะมีการปรับปรุงทุก ๆ 5 ปี ในปี พ.ศ. 2565 เป็นปีเริ่มต้นของแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (2565 - 2569) จึงมีความจำเป็นต้องใช้เครื่องชี้วัด เกณฑ์ชี้วัดและ
แบบสอบถามชุดใหม่สำหรับจัดเก็บข้อมูล จปฐ. และข้อมูล กชช. 2ค ให้สอดคล้องกับเป้าหมาย
การพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) และแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561 – 2580) และการควบคุม
คุณภาพการจัดเก็บข้อมูลและรูปแบบการรายงานด้วยระบบสารสนเทศที่รองรับความต้องการของทุก
ภาคส่วน การศึกษาครั้งนี้มีวิธีศึกษาจากการวิเคราะห์ประมวลผลจากการสอบถามความคิดเห็นผู้ใช้ข้อมูล
จปฐ. และข้อมูล กชช. 2ค เกี่ยวกับปัญหาและความต้องการของผู้ใช้ข้อมูล (ส่วนภูมิภาค) กระจายตาม
ภูมิภาค จำนวน 8 จังหวัด จังหวัดละ 5 หน่วยงาน รวม 40 หน่วยงาน และการวิเคราะห์ประมวลผลจาก
ประชุมรับฟังความคิดเห็นของคณะทำงานปรับปรุงเครื่องชี้วัดคุณภาพชีวิตของประชาชน และ
คณะกรรมการอำนวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน (พชช.)
ผลการศึกษา พบว่า การใช้แบบสอบถามข้อมูล จปฐ. และแบบสอบถามข้อมูล กชช. 2ค
สำหรับใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ปรับระยะเวลาการเริ่มใช้ให้สอดคล้อง
กับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 13 และแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี จึงเริ่มใช้ระหว่าง
พ.ศ.2566 – 2570 เครื่องชี้วัดข้อมูล จปฐ. ที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูลช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติฉบับที่ 13 ( พ.ศ.2566 - พ.ศ. 2570) ประกอบด้วย 5 หมวด 38 ตัวชี้วัด ได้แก่ หมวดที่ 1
สุขภาพ มี 12 ตัวชี้วัด หมวดที่ 2 มาตรฐานความเป็นอยู่ มี 9 ตัวชี้วัด หมวดที่ 3 การศึกษา มี 5 ตัวชี้วัด
หมวดที่ 4 เศรษฐกิจ มี 4 ตัวชี้วัด และหมวดที่ 5 การคุ้มครองทางสังคมและการมีส่วนร่วม มี 8 ตัวชี้วัด
และเครื่องชี้วัดข้อมูล กชช. 2ค สำหรับใช้ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13
(พ.ศ. 2566 - 2570) ประกอบด้วย 7 หมวด 44 ตัวชี้วัด ดังนี้ หมวดที่ 1 โครงสร้างพื้นฐาน มี 10
ตัวชี้วัด หมวดที่ 2 สภาพพื้นฐานทางเศรษฐกิจ มี 10 ตัวชี้วัด หมวดที่ 3 สุขภาวะและอนามัย มี 7
ตัวชี้วัด หมวดที่ 4 ความรู้และการศึกษา มี 4 ตัวชี้วัด หมวดที่ 5 การมีส่วนร่วมและความเข้มแข็ง
ของชุมชน มี 5 ตัวชี้วัด หมวดที่ 6 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มี 5 ตัวชี้วัด และหมวดที่ 7
ความเสี่ยงของชุมชนและภัยพิบัติ มี 3 ตัวชี้วัด สำหรับกลไกและกระบวนการบริหารจัดเก็บข้อมูลให้มี
คุณภาพ ต้องมีกลไกควบคุมคุณภาพในทุกระดับ ดังนี้ คณะกรรมการอำนวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิต
ของประชาชน (พชช.) คณะทำงานบริหารการจัดเก็บข้อมูลฯ ระดับจังหวัด คณะทำงานบริหารการจัดเก็บ
ข้อมูลฯ ระดับอำเภอ คณะทำงานบริหารการจัดเก็บข้อมูลฯ ระดับตำบล และคณะผู้จัดเก็บข้อมูลระดับ
หมู่บ้าน โดยมีกระบวนการที่มีคุณภาพ ดังนี้การสร้างความรู้ความเข้าใจ การออกแบบวิธีการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล การบันทึกและประมวลข้อมูล การตรวจทานข้อมูล และการนำเสนอข้อมูลเพื่อการใช้
ประโยชน์ร่วมกันในทุกระดับ ข้อเสนอแนะเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บข้อมูลควรให้คนในชุมชนและ
องค์กรหน่วนงานที่เกี่ยวข้องเห็นความสำคัญในการให้ข้อมูลและการจัดเก็บข้อมูลโดยการสร้างการมี
ส่วนร่วมในการจัดเก็บข้อมูล และควรมีการฝึกอบรมและเพิ่มองค์ความรู้ให้กับผู้จัดเก็บข้อมูลอย่างเข้มข้น
รวมทั้งการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรับทราบถึงระยะเวลาในการจัดเก็บข้อมูลรวมกันทั้งประเทศ

คำสำคัญ: คุณภาพชีวิตประชาชน,ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.),ข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค)

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเครือ่ งชวี้ ดั และแบบสอบถามข้อมลู ความจำเปน็ พ้ืน
ระดบั หมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั

Goal เป้าหมาย Target เป้าประสงค์
No.

14 อนรุ กั ษ์และใช้มหาสมทุ ร 14.3 ระบุและลดผลกระทบที่มีตอ่ ความ 14

ทะเล และทรัพยากรทาง เป็นกรดของมหาสมุทร รวมทั้ง ทะ

ทะเลอ่นื ๆ อยา่ งย่งั ยืนเพื่อ สนับสนุนการเพ่มิ ความรว่ มมอื ทาง ตัวแ

การพฒั นาทีย่ ง่ั ยืน วิทยาศาสตรใ์ น ทกุ ระดบั

14 อนรุ กั ษแ์ ละใชม้ หาสมทุ ร 14.4 มีกฎเกณฑ์ที่มีผลบังคับใช้ 14

ทะเล และทรพั ยากรทาง ควบคุมการผลิต และขจัดการ ภาย

ทะเลอื่น ๆ อย่างยัง่ ยืนเพ่อื ประมงที่เกินกำลังการผลิต การ ชวี ภ

การพัฒนาทยี่ ่งั ยนื ทำประมงที่ผิดกฎหมาย ขาด

การรายงาน และไร้การควบคุม

(IUU) และการปฏิบัติ ที่ทำลาย

การทำประมง และดำเนินการ

ตามแผนการจัดการทาง

วิทยาศาสตร์ เพ่ือฟนื้ ฟปู ระชากร

สตั วน์ ้ำใน ระยะเวลาทสี่ ้ันท่ีสุดท่ี

เป็นไปได้ อย่างน้อยที่สุดให้อยู่

ใน ระดับ ทส่ี ามารถให้ผลผลติ ได้

สูงสดุ ตามทกี่ ำหนดโดยลักษณะ

ทางชวี วิทยา ภายในปี 2020

14 อนุรกั ษ์และใช้มหาสมุทร 14.5 อนุรักษ์พื้นที่ทางทะเลและชายฝ่ัง 14

ทะเล และทรัพยากรทาง ซ ึ ่ งสอดคล้ องก ับ กฎหมาย พื้น

ทะเลอืน่ ๆ อยา่ งยัง่ ยืนเพือ่ ระดับชาติและระหว่างประเทศ

การพัฒนาทีย่ งั่ ยืน และอยู่บน พื้นฐานของข้อมูล

ทางด้านวิทยาศาสตร์ที่ดีที่สุดที่มี

อยู่ ได้อยา่ งนอ้ ยร้อยละ 10

นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พ้ืนฐาน ขอ้ มูล จปฐ. ความสอดคล้องขอ้ มลู กชช. 2ค.
บท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตวั ชว้ี ดั

4.3.1 ภาวะความเปน็ กรดใน
เลเฉลี่ย (pH) วัดที่สถานี
แทนการสมุ่ ตัวอยา่ ง

4.4.1 สัดส่วนของฝูงปลา
ยในระดับความยั่งยืนทาง
ภาพ

4.5.1 ความครอบคลุมของ
นทคี่ ุม้ ครอง

480

รายงานฉบบั สมบูรณ์โครงการจดั ท
ระดับหมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรับ

Goal เปา้ หมาย Target เป้าประสงค์
No.

14 อนรุ ักษแ์ ละใช้มหาสมุทร 14.6 ห้ามการอุดหนุนภาคการประมง 14.6.1 ม

ทะเล และทรพั ยากรทาง ในบางรูปแบบที่จะนำไปสู่ การ อุดหนุน

ทะเลอ่นื ๆ อยา่ งยั่งยืนเพือ่ ประมงที่เกินกำลังผลิต และการ เทียบกบั ฐ

การพฒั นาที่ยัง่ ยนื ประมงมากเกินไป และกำจัด

การอุดหนุนที่นำไปสู่การประมง

แบบ IUU โดย ตระหนักว่าต้อง

พิจารณาข้อยกเว้น ให้แก่

ประเทศกำลัง พัฒนา และ

ประเทศพัฒนาน้อยที่สุด ใน

ขบวนการเจรจา ตอ่ รองดา้ นการ

ประมงภายใต้ WTO ภายในปี

2020

14 อนุรกั ษ์และใชม้ หาสมุทร 14.7 เพิ่มผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ 14.7.1 ร

ทะเล และทรัพยากรทาง ให้แก่ กลุ่มประเทศที่เป็น เกาะ ประมง

ทะเลอ่นื ๆ อย่างยั่งยนื เพ่ือ และประเทศพัฒนาน้อยที่สุด

การพฒั นาท่ยี ่งั ยนื จากการใชท้ รพั ยากร อยา่ งย่งั ยนื

รวมทั้งการจัดการประมง การ

เพาะเลี้ยงสัตว์ น้ำ และการ

ทอ่ งเทย่ี วท่ีย่งั ยืน

481

ทำเครื่องช้วี ดั และแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พื้นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพ้นื ฐาน
บใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตัวช้ีวัด ข้อมลู จปฐ. ความสอดคลอ้ งขอ้ มูล กชช. 2ค.

มูลค่าดอลลาร์ของการ
นการประมงด้านลบ
ฐานปี 2015

ร้อยละของ GDP สาขา ตัวชี้วัดที่ 17 ปศุสัตว์และ
การประมง
2) ครัวเรือนมีรายได้จากการ
ทำประมงทะเลขนาดเล็กโดย
เฉลี่ย
2) ครัวเรือนมีรายได้จากการ
ทำประมงทะเลขนาดกลาง-
ใหญ่ โดยเฉลี่ย
2) ครัวเรือนมีรายได้จากการ
ทำประมงน้ำจดื โดยเฉลี่ย

รายงานฉบับสมบรู ณโ์ ครงการจดั ทำเครอ่ื งชว้ี ัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พน้ื
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั

Goal เปา้ หมาย Target เปา้ ประสงค์
No.

14 อนรุ กั ษ์และใช้มหาสมทุ ร 14.a เพิ่มความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ขีด 14

ทะเล และทรพั ยากรทาง ความสามารถในการ พัฒนาการ ให้ก

ทะเลอื่น ๆ อยา่ งยง่ั ยนื เพอ่ื วิจัย และการถ่ายทอดเทคโนโลยี สาข

การพฒั นาที่ยง่ั ยนื ทางทะเล โดย คำนึงหลักเกณฑ์ ยั่งย

และแนวทางของคณะกรรมาธิการ คน้ ค

สมุทร ศาสตร์ระหว่างประเทศว่า ทาง

ด้วยการถ่ายทอดเทคโนโลยีด้าน

มหาสมุทร (IOC) เพื่อปรับปรุง

สุขภาพของมหาสมุทรใหด้ ีขน้ึ และ

ยกระดับการอุดหนุนด้านชีวภาพ

ทางทะเลให้แก่ ประเทศกำลัง

พัฒนา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กลุ่ม

ประเทศที่ เป็นเกาะ และประเทศ

พัฒนานอ้ ยทส่ี ุด

14 อนุรกั ษ์และใชม้ หาสมทุ ร 14.b จัดเตรียมให้ชาวประมงขนาด 14

ทะเล และทรัพยากรทาง เล็ก หรือชาวประมงพื้นบ้าน น้ำท

ทะเลอน่ื ๆ อยา่ งยัง่ ยืนเพอ่ื สามารถเข้าถึงทรัพยากรทาง น ้ ำ

การพฒั นาทีย่ ัง่ ยืน ทะเล และตลาดเปา้ หมาย sch

สาม

นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พน้ื ฐาน ขอ้ มลู จปฐ. ความสอดคลอ้ งขอ้ มลู กชช. 2ค.
บท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)
2) ครัวเรือนมีรายได้จากการ
ตัวชีว้ ัด
เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำกร่อย น้ำ
4.a.1 การจัดสรรงบประมาณ
กับ การค้นคว้า วิจัย ทาง ทะเลโดยเฉลยี่
ขา เทคโนโลยีทางทะเลที่
ยืน คิดเป็นร้อยละของการ 2) ครัวเรือนมีรายได้จากการ
ควา้ วิจัยทางสาขาเทคโนโลยี
งทะเลท้ังหมด เพาะเลี้ยงสตั ว์นำ้ จดื โดยเฉลี่ย

4.b.1 รอ้ ยละของการจบั สตั ว์
ที่อยู่ภายใต้กฎการจับสัตว์
ำ (Catch documentation
heme : CDS) หรือระบบท่ี
มารถติดตามที่คล้ายคลึงกัน

482

รายงานฉบับสมบรู ณ์โครงการจัดท
ระดับหมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับ

Goal เป้าหมาย Target เปา้ ประสงค์
No.

โดยคิดเป

สัตว์น้ำ

น้อยกว่า

ตลาดขนา

14 อนรุ กั ษแ์ ละใช้มหาสมทุ ร 14.c เสริมสร้างการอนุรักษ์และการ 14.c.1 จ

ทะเล และทรัพยากรทาง ใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนของ ดำเนินก

ทะเลอืน่ ๆ อยา่ งยั่งยืนเพอ่ื มหาสมุทร และทรัพยากรทาง กฎหมาย

การพัฒนาที่ยงั่ ยนื ทะเล โดยการใช้กฎหมาย รายการข

ระหว่างประเทศที่แสดงใอนุ ข้อตกลงท

สัญญาสหประชาชาติว่าด้วย (RSP) แล

กฎหมายทางทะเล ซึ่งมีกรอบ ดำเนินกา

กฎหมายเพื่อการอนุรักษ์ และใช้ ILO ว่าด

ประโยชน์อย่างยั่งยืนของ ประมง

มหาสมุทร และทรัพยากร ทาง

ทะเล เช่นที่ได้ถูกนำกลับมา

ก ล ่ า ว ใ น The Future We

Want

15 ปกป้อง ฟน้ื ฟู และสง่ เสรมิ 15.1 ในปี ค.ศ. 2020 มั่นใจว่าการ 15.1.1 ร

การใช้ ระบบนเิ วศนบ์ นบก อนุรักษ์ การฟื้นฟู และการ ใช้ ต่อพนื้ ท่ีด

อย่างย่งั ยืน การบริหารจัด ประโยชน์พื้นดิน และระบบนิเวศ

การปา่ ไมท้ ี่ย่ังยืน การ แหล่งน้ำจืด ภายในประเทศและ

ตอ่ ต้านการแปรสภาพเปน็ การบริการที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะ

ทะเลทราย หยดุ ย้ังการ อย่างยิ่งป่าไม้ พื้นที่ชุ่มน้ำ ภูเขา

เสือ่ ม โทรมของดนิ และ และพื้นท่ีแหง้ แล้งอย่าง ยั่งยนื ให้

483

ทำเครื่องชี้วดั และแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พนื้ ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพน้ื ฐาน
บใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตัวชว้ี ดั ข้อมลู จปฐ. ความสอดคล้องข้อมูล กชช. 2ค.

ป็นร้อยละของการจับ
ทั้งหมดที่มีน้ำ หนัก
X ตัน และถูกขายใน
าดใหญ่
จ ำ น ว น ป ร ะ เ ท ศ ท่ี
การอย่างถูกต้องตาม
ย หรือถูกต้องตาม
ข้อกำหนดที่แถลงไว้ใน
ทางทะเลของภูมิภาค
ละให้สัตยาบัน และ
ารตามสนธิสัญญาของ
้วยการเดินเรือ และ

ร้อยละของพื้นที่ป่าไม้
ดนิ ทัง้ หมด

รายงานฉบบั สมบูรณโ์ ครงการจดั ทำเครอ่ื งช้วี ดั และแบบสอบถามข้อมูลความจำเปน็ พ้ืน
ระดบั หม่บู า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั

Goal เป้าหมาย Target เป้าประสงค์
No.

ฟื้นฟสู ภาพดิน และหยดุ ยัง้ สอดคล้องกับภาระผูกพันตาม

การสญู เสยี ความ สัญญาภายใต้ ข้อตกลงระหว่าง

หลากหลายทางชีวภาพ ประเทศ

15 ปกปอ้ ง ฟนื้ ฟู และส่งเสรมิ 15.2 ในปี 2020 ส่งเสริมให้มีการ 15

การใช้ ระบบนิเวศน์บนบก ดำเนินการจัด การป่าไม้ทุก (พืช

อยา่ งยัง่ ยนื การบริหารจัด ประเภทอย่างย่ังยืน หยุดการตดั เป็น

การปา่ ไม้ทย่ี ง่ั ยนื การ ไมท้ ำลายป่า ฟ้นื ฟูสภาพ ป่าไม้ท่ี Flo

ต่อต้านการแปรสภาพเป็น เสื่อมโทรมและเพิ่มพื้นที่การ ที่ม

ทะเลทราย หยดุ ย้งั การ ปลูกป่า และการปลูก ป่า ลกั ษ

เสอ่ื ม โทรมของดนิ และ ทดแทนท่ัวโลก

ฟ้ืนฟูสภาพดนิ และหยดุ ย้งั

การสญู เสยี ความ

หลากหลายทางชีวภาพ

15 ปกป้อง ฟน้ื ฟู และส่งเสรมิ 15.3 ในปี 2020 ต่อต้านการแปร 15

การใช้ ระบบนเิ วศนบ์ นบก สภาพเป็นทะเลทรายและ ความ ทด่ี นิ

อย่างยั่งยืน การบริหารจัด แห้งแล้ง และฟื้นฟูสภาพดินท่ี

การปา่ ไม้ทีย่ งั่ ยืน การ เสื่อมโทรม รวมทั้ง ที่ดินที่ได้รับ

ตอ่ ต้านการแปรสภาพเป็น ผลกระทบจากความแห้งแล้งภัย

ทะเลทราย หยดุ ยั้งการ แล้งและ อุทกภัย

เส่อื ม โทรมของดนิ และ

ฟนื้ ฟูสภาพดนิ และหยดุ ยง้ั

การสญู เสยี ความ

หลากหลายทางชวี ภาพ

นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พ้นื ฐาน ขอ้ มูล จปฐ. ความสอดคล้องข้อมลู กชช. 2ค.
บที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตวั ชี้วดั

5.2.1 จำนวนรวมของพืช
ช ผกั ผลไม้ สมนุ ไพร ฯลฯ ที่
นส่วนประกอบใน Forest
oor (Forest Floor : ชั้นดิน
ีความมั่งคั่งของอินทรีย์และ
ษณะของดนิ ทีเ่ ปน็ ป่า)

5.3.1 แนวโน้มของปัญหา ตัวชวี้ ัดที่ 38 คุณภาพดิน
นเส่ือมโทรม 38.1 หมู่บ้าน/ชุมชนนี้ มี
ปัญหาคณุ ภาพของดินในแต่ละ
484 ชนดิ หรือไม่
1) ดินตน้ื
2) หนา้ ดนิ ถกู ชะลา้ ง
3) ดนิ จดื
4) ดนิ มีกรวด
5) ดินดาน
6) ดินเคม็
7) ดนิ เปรยี้ ว

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการจดั ท
ระดับหมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั

Goal เปา้ หมาย Target เป้าประสงค์
No.

15 ปกป้อง ฟ้ืนฟู และสง่ เสรมิ 15.4 ในปี 2030 ความมน่ั ใจด้านการ 15.4.1 พ

การใช้ ระบบนเิ วศน์บนบก อนุรักษ์ระบบนิเวศภูเขา รวมทั้ง

อย่างยัง่ ยืน การบรหิ ารจัด ความหลากหลายทางชีวภาพ

การป่าไม้ทย่ี ั่งยืน การ เพื่อเสริมสร้างขีด ความสามารถ

ตอ่ ตา้ นการแปรสภาพเปน็ ให้ เกิดประโยชน์ ซึ่งเป็นเรื่อง

ทะเลทราย หยุดย้งั การ สำคัญส่าหรับ การพัฒนาอย่าง

เสอ่ื ม โทรมของดนิ และ ยงั่ ยืน

ฟื้นฟูสภาพดนิ และหยดุ ยัง้

การสญู เสยี ความ

หลากหลายทางชวี ภาพ

15 ปกป้อง ฟื้นฟู และส่งเสรมิ 15.4 ในปี 2030 ความม่ันใจด้านการ 15.4.2 ด

การใช้ ระบบนเิ วศน์บนบก อนุรักษ์ระบบนิเวศภูเขา รวมท้ัง

อยา่ งยั่งยนื การบริหารจัด ความหลากหลายทางชีวภาพ

การปา่ ไม้ท่ยี ง่ั ยนื การ เพื่อเสริมสร้างขีด ความสามารถ

ต่อต้านการแปรสภาพเป็น ให้เกิดประโยชน์ ซึ่งเป็นเรื่อง

ทะเลทราย หยุดยง้ั การ สำคัญสำหรับการพัฒนาอย่าง

เสอื่ ม โทรมของดินและ ยัง่ ยืน

ฟื้นฟสู ภาพดิน และหยดุ ย้งั

การสญู เสยี ความ

หลากหลายทางชีวภาพ

15 ปกปอ้ ง ฟ้นื ฟู และสง่ เสรมิ 15.5 จะต้องมีการดำเนินการอย่าง 15.5.1 R

การใช้ ระบบนิเวศนบ์ นบก เร่งดว่ นและมีความ สำคัญ เพ่ือ

อย่างยง่ั ยืน การบริหารจัด ลดการเสื่อมสภาพของถิ่นที่อยู่

การป่าไม้ทีย่ ง่ั ยนื การ อาศัยตามธรรมชาติหรือหยุดย้ัง

485

ทำเคร่อื งชว้ี ัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พื้นฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พน้ื ฐาน
บใช้ชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตวั ช้วี ดั ข้อมูล จปฐ. ความสอดคลอ้ งขอ้ มลู กชช. 2ค.
พืน้ ทีอ่ นรุ ักษ/์ คุม้ ครอง
ต ั ว ช ี ้ ว ั ด ท ี ่ 3 7 ก า ร ใ ช้

ทรัพยากรธรรมชาติและดูแล

ส่งิ แวดลอ้ ม

37.1 ในรอบปีที่ผ่านมา

หมู่บ้าน/ชุมชนนี้ มีการจัดทำ

แผนอนุรักษ์ ฟื้นฟู และ

แผนการดูแลระบบนิเวศอย่าง

ยัง่ ยืนหรอื ไม่

ดชั นีพ้นื ที่ภเู ขาสีเขียว

Red List Index (RLI)

รายงานฉบับสมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเครอ่ื งชวี้ ดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พื้น
ระดบั หมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรับใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั

Goal เปา้ หมาย Target เป้าประสงค์
No.

ตอ่ ตา้ นการแปรสภาพเปน็ การสูญเสียความหลากหลาย

ทะเลทราย หยดุ ยง้ั การ ทางชีวภาพ และ ในปี 2020

เส่ือม โทรมของดินและ ได้มีการป้องกันการสูญพันธุ์ของ

ฟน้ื ฟสู ภาพดนิ และหยดุ ยง้ั สายพนั ธบุ์ าง ชนิดท่ีถกู คุกคาม

การสญู เสยี ความ

หลากหลายทางชีวภาพ

15 ปกป้อง ฟื้นฟู และส่งเสริมการ 15.6 สนับสนุนความยุติธรรมและเท่า 15

ใช้ ระบบนิเวศนบ์ นบกอยา่ ง เทียมในแบ่งปันผลกำไรที่เกิดขึ้น การ

ย่ังยืน การบรหิ ารจดั การปา่ ไม้ จ า ก ก า ร ใช ้ ทร ั พยา กรทาง และ

ทย่ี ง่ั ยนื การต่อต้านการแปร พันธุกรรม และส่งเสริมการเข้าถึง ไปด

สภาพเป็นทะเลทราย หยดุ ย้ัง ทรัพยากรตามข้อตกลงระหว่าง งาน

การเสอื่ ม โทรมของดนิ และ ประเทศ เข้า

ฟื้นฟูสภาพดนิ และหยดุ ยัง้ การ

การสญู เสียความ หลากหลาย จาก

ทางชีวภาพ พัน

ยตุ ธิ

15 ปกปอ้ ง ฟ้นื ฟู และสง่ เสรมิ 15.7 มีการดำเนินการอย่างเร่งด่วน 15

การใช้ ระบบนเิ วศนบ์ นบก เพื่อยุติการรุกล้ำ และการค้า สาย

อย่างย่งั ยืน การบรหิ ารจัด สายพันธุ์ของพืชและส ัตว์

การป่าไม้ท่ียั่งยนื การ คุ้มครอง โดยเนน้ ทั้งอุปสงค์และ

ตอ่ ต้านการแปรสภาพเปน็ อุปทานของผลิตภัณฑ์ของป่าที่

ทะเลทราย หยดุ ยัง้ การ ผิดกฎหมาย

เส่อื ม โทรมของดนิ และ

ฟน้ื ฟูสภาพดนิ และหยดุ ย้งั

นฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพื้นฐาน ขอ้ มลู จปฐ. ความสอดคลอ้ งขอ้ มลู กชช. 2ค.
บที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตัวชว้ี ดั

5.6.1 จำนวนของประเทศที่มี
รนำกฎหมาย การบริหารงาน
ะนโยบายของพิธีสารนาโกย่า
ดำเนิน
น *พิธีสารนาโงยาว่าด้วยการ
าถึงทรัพยากรพันธุกรรมและ
รแบ่งปนั ผลประโยชน์ท่เี กิดขน้ึ
กการใช้ประโยชน์ ทรัพยากร
นธุกรรมอย่างเท่าเทียมและ
ธรรม

5.7.1 Red List Index ข อ ง
ยพันธทุ์ างการคา้

486

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการจัดท
ระดับหมูบ่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับ

Goal เปา้ หมาย Target เป้าประสงค์
No.

การสญู เสยี ความ

หลากหลายทางชวี ภาพ

15 ปกปอ้ ง ฟ้ืนฟู และสง่ เสรมิ 15.7 มีการดำเนินการอย่างเร่งด่วน 15.7.2 ส

การใช้ ระบบนเิ วศนบ์ นบก เพื่อยุติการรุกล้ำ และการค้า การค้าสัต

อยา่ งยงั่ ยนื การบริหารจดั สายพันธุ์ของพืชและส ัตว์ สัตว์ ป่าท

การป่าไมท้ ่ยี ่งั ยืน การ คุ้มครอง โดยเน้นทั้งอุปสงค์และ

ต่อตา้ นการแปรสภาพเป็น อุปทานของผลิตภัณฑ์ของป่าท่ี

ทะเลทราย หยุดยัง้ การ ผิดกฎหมาย

เสอ่ื ม โทรมของดินและ

ฟ้นื ฟสู ภาพดิน และหยดุ ยง้ั

การสญู เสยี ความ

หลากหลายทางชวี ภาพ

15 ปกป้อง ฟื้นฟู และส่งเสรมิ 15.8 ภายในปี 2020 มีมาตรการเพือ่ 15.8.1

การใช้ ระบบนิเวศน์บนบก ป้องกัน และลดผลกระทบ ของ ระดบั ชาต

อยา่ งยง่ั ยนื การบรหิ ารจัด สายพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานต่อ ควบคุมส

การป่าไม้ทย่ี ง่ั ยนื การ ระบบนิเวศบนบกและทางน้ำ คุกคาม

ตอ่ ตา้ นการแปรสภาพเปน็ และการควบคุมหรือกำจัดสาย

ทะเลทราย หยุดย้งั การ พันธทุ์ ่ีสำคญั

เสอ่ื ม โทรมของดนิ และ

ฟื้นฟสู ภาพดนิ และหยดุ ยั้ง

การสญู เสยี ความ

หลากหลายทางชีวภาพ

487

ทำเครื่องช้ีวดั และแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเป็นพืน้ ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพ้นื ฐาน
บใช้ชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตัวช้ีวดั ข้อมลู จปฐ. ความสอดคลอ้ งขอ้ มูล กชช. 2ค.

สัดส่วนการป้องกัน
ตว์ป่า และสินค้าจาก
ทผ่ี ดิ กฎหมาย

การใช้กฎหมาย
ตใิ นการป้องกันหรือ
สายพันธุ์ต่างถิ่นที่ถูก

รายงานฉบับสมบูรณโ์ ครงการจัดทำเครื่องชวี้ ัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพ้ืน
ระดบั หม่บู ้าน (กชช. 2ค) สำหรับใช้ชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั

Goal เปา้ หมาย Target เป้าประสงค์
No.

15 ปกป้อง ฟนื้ ฟู และส่งเสรมิ 15.9 ภายในปี 2020 มีการบูรณา 15

การใช้ ระบบนเิ วศนบ์ นบก การระบบนเิ วศและมูลค่า ความ ชาต

อย่างย่ังยนื การบรหิ ารจัด หลากหลายทางชีวภาพไปสู่การ ควา

การปา่ ไมท้ ย่ี ั่งยืน การ วางแผนระดับชาติ และท้องถ่ิน แล

ต่อตา้ นการแปรสภาพเป็น กระบวนการพัฒนาและกลยุทธ์ นิเว

ทะเลทราย หยุดยง้ั การ ลดความ ยากจนและบญั ชีตา่ ง ๆ

เสือ่ ม โทรมของดนิ และ

ฟ้นื ฟูสภาพดิน และหยดุ ย้ัง

การสญู เสยี ความ

หลากหลายทางชวี ภาพ

15 ปกปอ้ ง ฟืน้ ฟู และสง่ เสรมิ 15.a การเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญจาก 15
การใช้ ระบบนิเวศน์บนบก ทุกแหล่งทรัพยากรทาง การเงิน การ
อยา่ งยง่ั ยนื การบริหารจัด เพื่อการอนุรักษ์และใช้ความ ภาย
การปา่ ไมท้ ่ยี ง่ั ยนื การ หลากหลายทางชีวภาพและ หลา
ต่อตา้ นการแปรสภาพเปน็ ระบบนเิ วศอยา่ งยั่งยืน

นฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พ้ืนฐาน ขอ้ มูล จปฐ. ความสอดคลอ้ งข้อมูล กชช. 2ค.
บที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)
ต ั ว ช ี ้ ว ั ด ท ี ่ 3 7 ก า ร ใ ช้
ตวั ชว้ี ัด
5.9.2 จำนวนแผนพัฒนา ทรัพยากรธรรมชาติและดูแล
ติและกระบวนการบูรณาการ
ามหลากหลายทางชีวภาพ สิง่ แวดล้อม
ะมูลค่าระบบบริการทาง
วศวิทยา 37.1 ในรอบปีที่ผ่านมา

5.a.1 ความช่วยเหลือเพ่ือ หมู่บ้าน/ชุมชนนี้ มีการจัดทำ
รพัฒนาของรัฐแบบให้เปล่า
ยใต้อนุสัญญาว่าด้วยความ แผนอนุรักษ์ ฟื้นฟู และ
ากหลายทางชีวภาพ (CBD :
แผนการดูแลระบบนิเวศอย่าง

ยัง่ ยืนหรอื ไม่

37.1.1 จำนวนแผนที่ถูก

น ำ ม า ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก า ร อ ย ่ า ง เ ป็ น

รูปธรรม

37.1.2 จำนวนหน่วยงาน

ภาครัฐ ทม่ี ีส่วนรว่ มปฏิบัติการ

ตามแผน

37.1.3 จำนวนหน่วยงาน

ภาคเอกชน ที่มีส่วนร่วม

ปฏิบัตกิ ารตามแผน

37.1.4 จำนวนครัวเรือนที่มี

ส่วนรว่ มปฏบิ ตั ิการตามแผน

488

รายงานฉบับสมบรู ณ์โครงการจดั ท
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั

Goal เป้าหมาย Target เป้าประสงค์
No.

ทะเลทราย หยุดย้ังการ Convent

เส่อื ม โทรมของดนิ และ Diversity

ฟ้ืนฟสู ภาพดนิ และหยดุ ยั้ง

การสญู เสยี ความ

หลากหลายทางชีวภาพ

15 ปกปอ้ ง ฟ้ืนฟู และส่งเสรมิ 15.b การจัดสรรทรัพยากรอย่างมี 15.b.2 ก

การใช้ ระบบนิเวศนบ์ นบก นัยสำคัญจากทุกแหล่งและใน พัฒนาป

อย่างยั่งยืน การบริหารจัด ทุกระดับเพื่อเป็นเงินทุนการ ลงทุน โด

การปา่ ไมท้ ี่ยงั่ ยนื การ จัดการป่าไม้อย่างยั่งยืน และ ดา้ นปา้ ไม

ตอ่ ตา้ นการแปรสภาพเป็น เ ป ็ น แ ร ง จ ู ง ใ จ ท ี ่ เ พ ี ย ง พ อ แ ก่

ทะเลทราย หยุดยั้งการ ประเทศกำลังพัฒน า เพ่ือ

เสอ่ื ม โทรมของดนิ และ ความกา้ วหน้าของการจดั การป่า

ฟ้นื ฟสู ภาพดนิ และหยดุ ย้งั ไม้อย่างยั่งยืนในระดับ ท้องถ่ิน

การสญู เสยี ความ และการอนุรักษ์และฟื้นฟูสภาพ

หลากหลายทางชีวภาพ ป่า รวมทั้งการมีส่วนร่วมใน

ต ล า ด ค า ร ์ บ อ น เ พ ื ่ อ ใ ห ้ เ กิ ด

ประโยชน์ท่ีหลากหลาย

15 ปกป้อง ฟนื้ ฟู และสง่ เสรมิ 15.c ส่งเสริมการสนับสนุนทั่วโลกใน 15.c.1 ส

การใช้ ระบบนิเวศน์บนบก ความพยายามที่จะต่อสู้กับ การ การค้าสัต

อย่างยัง่ ยนื การบริหารจัด รุกล้ำ และการค้าสายพันธุ์ที่ สัตว์ ป่าท

การปา่ ไมท้ ่ีย่ังยนื การ คุ้มครอง รวมถึงการเพิ่ม ขีด

ต่อตา้ นการแปรสภาพเป็น ความสามารถของชุมชนท้องถ่ิน

ทะเลทราย หยุดยั้งการ เพอื่ Calibri

เสอ่ื ม โทรมของดนิ และ

489

ทำเครอื่ งชว้ี ัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พ้ืนฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พ้ืนฐาน
บใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตัวชวี้ ดั ข้อมลู จปฐ. ความสอดคลอ้ งข้อมลู กชช. 2ค.

tion on Biological
y)

การช่วยเหลือการ
่าไม้ของรัฐและการ
ดยตรงจากต่างประเทศ
ม้ (FDI)

ส ั ด ส ่ ว น ก า ร ป ้ อ ง กั น
ตว์ป่า และสินค้าจาก
ทีผ่ ดิ กฎหมาย

รายงานฉบับสมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเครือ่ งชว้ี ดั และแบบสอบถามข้อมูลความจำเปน็ พืน้
ระดบั หมูบ่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั

Goal เปา้ หมาย Target เปา้ ประสงค์
No.

ฟน้ื ฟสู ภาพดิน และหยดุ ยั้ง

การสญู เสยี ความ

หลากหลายทางชีวภาพ

16 สนบั สนนุ สังคมทส่ี งบสุข 16.1 ลดความรุนแรงทุกรูปแบบและ 16

และ ครอบคลุมสำหรับการ อัตราการตายในทุกท่ี ฆาต

พฒั นาท่ี ยั่งยืน จดั ให้มีการ เพศ

เข้าถงึ ความ ยุติธรรม เป็

สำหรับทุกคน และสรา้ ง ฆา

สถาบันมีประสทิ ธภิ าพ มี 10

ความ รับผดิ ชอบและมี

ความครอบคลมุ ในทุก

ระดับ

16 สนบั สนนุ สงั คมทส่ี งบสขุ 16.1 ลดความรุนแรงทุกรูปแบบและ 16

และ ครอบคลุมสำหรบั การ อตั ราการตายในทกุ ท่ี กับ

พัฒนาที่ ยั่งยนื จดั ให้มีการ ประ

เขา้ ถงึ ความ ยตุ ิธรรม เป็น

สำหรับทุกคน และสรา้ ง

สถาบนั มีประสทิ ธภิ าพ มี

ความ รับผดิ ชอบและมี

ความครอบคลมุ ในทุก

ระดับ

16 สนับสนุนสงั คมทส่ี งบสุข 16.2 ยุติการกระทำทารุณ การแสวงหา 16

และ ครอบคลมุ สำหรบั การ ประโยชน์ที่ไม่ถูกต้อง การค้า 1-1

พฒั นาที่ ยงั่ ยนื จดั ให้มีการ

นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพน้ื ฐาน ขอ้ มูล จปฐ. ความสอดคล้องขอ้ มลู กชช. 2ค.
บท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตัวช้วี ัด

6.1.1 จ ำ น ว น เ ห ย ื ่ อ ก า ร ตวั ชีว้ ดั ท่ี 34 ความปลอดภัย
ตกรรมโดยตั้งใจ แยกเป็นอายุ ของหมู่บา้ น / ชมุ ชน
ศ วิธีการ และที่ซึ่งมีความ 34.2.7 ในรอบที่ผ่านมา
นไปได้ในการเตรียมการ หม่บู า้ น/ชมุ ชนนี้ ไม่มคี นถกู ฆา่
ตกรรม ต่อประชากร ตาย
00,000 คน 34.2.8 ในรอบปีที่ผ่านมา
หมู่บา้ น/ชุมชนน้ี ไมม่ ีคนถูกทำ
ร้ายรา่ งกาย

6.1.2 การเสียชีวิตที่เกี่ยวข้อง ตัวชีว้ ดั ที่ 17 ครวั เรอื นมี

บการทะเลาะว ิ วาท ต่ อ ความปลอดภยั ในชีวติ และ
ะชากร 100,000 คน (จำแนก ทรพั ย์สนิ
น อายุ เพศ และคดี)
• 17.5 ในรอบปีท่ีผ่านมา

ครัวเรือนนี้ มีอาชญากรรม

อนื่ ๆ ที่เกยี่ วกบั ชีวติ และ

ทรพั ยส์ ิน หรือไม่

6.2.1 ร้อยละของเด็กที่มีอายุ
14 ปี ที่ประสบการลงโทษ ทาง

490

รายงานฉบบั สมบูรณ์โครงการจดั ท
ระดับหมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรับ

Goal เป้าหมาย Target เปา้ ประสงค์
No.

เข้าถึงความ ยตุ ธิ รรม มนุษย์ และความรุนแรง และ ร่างกายโ

สำหรบั ทุกคน และสร้าง ทารณุ เดก็ ในทกุ รปู แบบ ผา่ นมา

สถาบันมปี ระสทิ ธภิ าพ มี

ความ รบั ผดิ ชอบและมี

ความครอบคลมุ ในทุก

ระดบั

16 สนบั สนุนสงั คมทส่ี งบสขุ 16.2 ยุติการกระทำทารุณ การ 16.2.2 จ

และ ครอบคลมุ สำหรับการ แสวงหาประโยชน์ที่ไม่ถูกต้อง มนุษย์ท

พฒั นาท่ี ยัง่ ยนื จดั ใหม้ ีการ การค้ามนุษย์ และความรุนแรง จับกมุ ตอ่

เขา้ ถึงความ ยุตธิ รรม และทารณุ เดก็ ในทกุ รปู แบบ คน แยก

สำหรบั ทุกคน และสรา้ ง รปู แบบ ก

สถาบนั มีประสิทธภิ าพ มี

ความ รบั ผดิ ชอบและมี

ความครอบคลมุ ในทกุ

ระดับ

16 สนบั สนนุ สงั คมทีส่ งบสุข 16.3 สนับสนุน กฎระเบียบ กฎหมาย 16.3.1 ร

และ ครอบคลมุ สำหรับการ ทั้งในและต่างประเทศ และทำ รุนแรงใน

พัฒนาท่ี ยั่งยืน จัดให้มีการ ให้มั่นใจว่าทุกคนได้รับความ ได้ถูกรา

เขา้ ถงึ ความ ยุตธิ รรม ยุตธิ รรมทเ่ี ท่าเทยี มกนั รุนแรงนั้น

สำหรับทกุ คน และสรา้ ง หรือหน่วย

สถาบันมีประสทิ ธภิ าพ มี การยอมร

ความ รบั ผดิ ชอบและมี การแก้ปัญ

ความครอบคลุม ในทุก เรียกว่า

ระดับ อาชญากร

491

ทำเครื่องช้วี ดั และแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พ้ืนฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พนื้ ฐาน
บใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตวั ชวี้ ัด ขอ้ มูล จปฐ. ความสอดคลอ้ ง ข้อมูล กชช. 2ค.
โดยผู้ดูแลในเดือนที่

จำนวนเหยื่อการค้า ตวั ชว้ี ัดท่ี 17 ครัวเรือนมี ตวั ชี้วดั ที่ 34 ความปลอดภัย

ี่ถูกจับกุมและไม่ถูก ความปลอดภยั ในชวี ิตและ ของหมู่บา้ น / ชุมชน
อประชากร 100,000 ทรัพย์สนิ 34.2.5 ในรอบปีที่ผ่านมา

กเป็นเพศ อายุ และ • 17.2 ในรอบปีที่ผ่านมา หมู่บ้าน/ชุมชนนี้ ไม่มีคนตก
การแสวงหาประโยชน์ ครัวเรือนนี้ มีคนถูกทำร้าย เปน็ เหยื่อการคา้ มนษุ ย์

ร่างกาย กระทำอนาจาร

ข่มขนื กระทำชำเรา หรือไม่

ร้อยละของเหยื่อความ
12 เดือนที่ผ่านมา ซึ่ง
ายงานการกระทำอัน
นต่อพนักงาน เจ้าหน้าที่
ยงาน/เจ้าหน้าที่ที่ได้รบั
รับอย่าง เป็นทางการใน
ญหาเหล่านี้ (สามารถ
าอัตรา การรายงาน
รรมได้อกี ด้วย)

รายงานฉบับสมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเครอื่ งชีว้ ดั และแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเป็นพ้ืน
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ่วงแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั

Goal เป้าหมาย Target เปา้ ประสงค์
No.

16 สนบั สนนุ สงั คมท่สี งบสขุ 16.3 สนับสนุน กฎระเบียบ กฎหมาย 16

และ ครอบคลมุ สำหรับการ ทั้งในและต่างประเทศ และทำ ผู้ต

พัฒนาท่ี ยั่งยืน จัดใหม้ กี าร ให้มั่นใจว่าทุกคนได้รับความ พิพ

เขา้ ถึงความ ยตุ ธิ รรมสำหรบั ยตุ ิธรรมทีเ่ ท่าเทยี มกัน ท้งั ห

ทุกคน และสรา้ ง สถาบันมี

ประสทิ ธิภาพ มีความ

รบั ผิดชอบและมคี วาม

ครอบคลุม ในทกุ ระดบั

16 สนับสนนุ สงั คมทสี่ งบสขุ และ 16.4 ในปี 2030 มีการลดลงของ 16

ครอบคลมุ สำหรบั การพัฒนา การเงินที่ผิดกฎหมาย และ กระ

ท่ี ยง่ั ยืน จดั ใหม้ กี ารเข้าถงึ แขนงอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง สร้าง กฎ

ความ ยตุ ิธรรมสำหรบั ทุกคน ความเข้มแข็งในการสืบสวน สหร

และสรา้ ง สถาบนั มี และนำทรัพย์สินที่ถูกขโมยไป

ประสทิ ธภิ าพ มคี วาม กลับมา และต่อสู้กับการก่อ

รบั ผดิ ชอบและมคี วาม อาชญากรรมทกุ รปู แบบ

ครอบคลมุ ในทุกระดบั

16 สนบั สนุนสังคมทสี่ งบสุข 16.4 ในปี 2030 มีการลดลงของ 16

และ ครอบคลมุ สำหรบั การ การเงินที่ผิดกฎหมาย และ และ

พฒั นาท่ี ยั่งยนื จัดให้มีการ แขนงอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องสร้าง ถูกบ

เขา้ ถึงความ ยุตธิ รรมสำหรบั ความเข้มแข็งในการสืบสวน โดย

ทกุ คน และสร้าง สถาบันมี และนำทรัพย์สินที่ถูกขโมยไป ระห

ประสิทธิภาพ มีความ กลับมา และต่อสู้กับการก่อ ทาง

รบั ผดิ ชอบและมีความ อาชญากรรมทกุ รูปแบบ

ครอบคลุม ในทกุ ระดับ

นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พ้ืนฐาน ขอ้ มลู จปฐ. ความสอดคลอ้ งขอ้ มลู กชช. 2ค.
บท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตวั ชว้ี ดั

6.3.2 ร้อยละของจำนวน
ต้องหาที่ยังไม่ได้รับการ
พากษา ต่อจำนวนนักโทษ
หมด

6.4.1 มูลค่ารวมทั้งหมดของ
ะแสเข้า ออกของเงินที่ผิด
หมาย (หน่วยเป็นดอลล่าร์
รฐั )

6.4.2 ร้อยละการยึดครอง
ะเก็บอาวุธปืนขนาดเล็กที่ได้
บันทึก และถูกติดตามมาได้
ยเป็นไปตามมาตรฐาน
หว่างประเทศ และวิธีการ
งกฎหมาย

492

รายงานฉบบั สมบูรณ์โครงการจัดท
ระดับหมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรับ

Goal เป้าหมาย Target เปา้ ประสงค์
No.

16 สนับสนุนสงั คมทส่ี งบสขุ 16.5 ลดการทุจริต และติดสินบนทุก 16.5.1 ร

และ ครอบคลมุ สำหรับการ รูปแบบ สินบนเจ

พัฒนาที่ ยัง่ ยืน จัดใหม้ ีการ ครั้ง หรือ

เขา้ ถึงความ ยุตธิ รรม เจ้าหน้าท

สำหรับทกุ คน และสร้าง 12 เดือน

สถาบนั มีประสทิ ธภิ าพ มี จำแนกเป

ความ รบั ผดิ ชอบและมี และกลุ่ม

ความครอบคลุม ในทกุ ความชุกก

ระดับ ให้ชัดเจ

ตดิ ต่อกับห

16 สนบั สนนุ สังคมทส่ี งบสุข 16.6 พัฒนาสถาบันที่มีประสิทธิภาพ 16.6.1 ก

และ ครอบคลมุ สำหรับการ โปร่งใส ตรวจสอบได้ในทุก คิดเป็นร้อ

พัฒนาท่ี ย่งั ยืน จัดใหม้ ีการ ระดบั นั้นๆ ทไี่ ด

เข้าถึงความ ยุตธิ รรม

สำหรบั ทุกคน และสร้าง

สถาบนั มปี ระสิทธภิ าพ มี

ความ รับผดิ ชอบและมี

ความครอบคลุม ในทุก

ระดับ

16 สนบั สนนุ สังคมทส่ี งบสขุ 16.6 พัฒนาสถาบันที่มีประสิทธิภาพ 16.6.2 ร

และ ครอบคลมุ สำหรับการ โปร่งใส ตรวจสอบได้ในทุก การสร้า

พฒั นาท่ี ยั่งยนื จัดให้มกี าร ระดบั กรอบกา

เขา้ ถงึ ความ ยุติธรรม การคอรัป

สำหรบั ทุกคน และสรา้ ง เกี่ยวกับอ

493

ทำเครือ่ งชี้วดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พ้นื ฐาน
บใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตัวชี้วัด ข้อมลู จปฐ. ความสอดคลอ้ งข้อมูล กชช. 2ค.

ร ้ อ ย ล ะ ข อ ง ผ ู ้ ท ี ่ ติ ด
้าหน้าที่อย่างน้อย 1
อถูกร้องขอสินบนโดย
ที่รัฐ ในช่วงระยะเวลา
นทีผ่ า่ นมา
ป็นอายุ เพศ ศาสนา
มประชากร แนวคิด
การติดสินบนนี้เข้าใจ
จนว่าจะวัดจากผู้ ท่ี
หน่วยงานรฐั
การใช้จ่ายของรัฐบาล
อยละของงบประมาณ
ดร้ ับอนุมัติ

ร้อยละของข้อเสนอใน
างความเข้มแข็งของ
รทำงานเพื่อต่อต้าน
ปชั่นในระดับชาติ (ท่ี
องค์กร และการออก

รายงานฉบับสมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเครื่องชวี้ ดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พน้ื
ระดบั หมูบ่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั

Goal เปา้ หมาย Target เปา้ ประสงค์
No.

สถาบันมปี ระสิทธภิ าพ มี กฎ

ความ รับผดิ ชอบและมี ดำเ

ความครอบคลุม ในทกุ ใน

ระดับ ดำเ

16 สนับสนนุ สังคมที่สงบสขุ 16.7 สร้างความมั่นใจในการตอบรับ 16

และ ครอบคลมุ สำหรบั การ ครอบคลุม การมีส่วนร่วม องค

พัฒนาที่ ย่งั ยนื จดั ให้มกี าร รวมถึงการเข้าร่วมเป็นตัวแทน ขอ

เขา้ ถงึ ความ ยุตธิ รรม ในการตัดสนิ ใจในทุกระดับ องค

สำหรบั ทกุ คน และสร้าง และ

สถาบันมีประสิทธภิ าพ มี กับก

ความ รับผดิ ชอบและมี เป็น

ความครอบคลุม ในทุก ประ

ระดับ

16 สนับสนนุ สงั คมทีส่ งบสุข 16.7 สร้างความมั่นใจในการตอบรับ 16

และ ครอบคลุมสำหรบั การ ครอบคลุม การมีส่วนร่วม ระบ

พัฒนาท่ี ยง่ั ยนื จดั ใหม้ ีการ รวมถึงการเข้าร่วมเป็นตัวแทน หลา

เข้าถงึ ความ ยุติธรรม ในการตัดสินใจในทกุ ระดับ ชาต

สำหรับทุกคน และสรา้ ง ยุทธ

สถาบันมีประสทิ ธภิ าพ มี ประ

ความ รับผดิ ชอบและมี

ความครอบคลุม ในทกุ

ระดบั

นฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพน้ื ฐาน ข้อมูล จปฐ. ความสอดคลอ้ งข้อมลู กชช. 2ค.
บที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตัวชว้ี ัด

ฎหมายต่างๆ) ได้นำไป
เนินการ เช่นที่ได้ถูกนิยามไว้
กลไกการทบทวนการ
เนินการของ UNCAC
6.7.1 สัดส่วนตำแหน่งใน
ค์กรภาครัฐ (สภานิติบัญญัติ
งประเทศ และท้องถิ่น,
ค์กรที่ให้บริการสาธารณะ
ะ ศาลยุติธรรม) เปรียบเทียบ
การกระจายในประเทศ แยก
น เพศ ความพิการ และกลุ่ม
ะชากร

6.7.2 สัดส่วนของประเทศท่ี
บุความต้องการคนรุ่นใหม่ใน
ากหลายสาขาในแผนพัฒนา
ติของประเทศนั้น ๆ และ
ธศาสตร์ลดความยากจนใน
ะเทศ

494

รายงานฉบับสมบรู ณ์โครงการจดั ท
ระดบั หมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรบั

Goal เป้าหมาย Target เป้าประสงค์
No.

16 สนับสนนุ สงั คมทส่ี งบสุขและ 16.8 ขยายและเสริมสร้างการมีส่วน 16.8.1 ร

ครอบคลมุ สำหรบั การพฒั นา รว่ มของประเทศกำลัง พฒั นาตอ่ หรือสิทธ

ที่ ยั่งยืน จดั ให้มกี ารเข้าถึง องค์กรธรรมาภบิ าลระดบั โลก ประเทศก

ความ ยตุ ิธรรมสำหรบั ทกุ คน ระหวา่ งป

และสรา้ ง สถาบนั มี

ประสทิ ธิภาพ มคี วาม

รับผดิ ชอบและมคี วาม

ครอบคลมุ ในทกุ ระดบั

16 สนับสนุนสังคมทสี่ งบสขุ และ 16.9 ภายในปี 2030 ดำเนินการให้ 16.9.1 ร

ครอบคลมุ สำหรับการพฒั นา ทุกคนมีการระบุตัวตนตาม กว่า 5 ท

ที่ ยัง่ ยืน จดั ให้มกี ารเขา้ ถงึ กฎหมาย รวมถึงการแจง้ เกดิ หน่วยงาน

ความ ยตุ ธิ รรมสำหรบั ทุกคน

และสรา้ ง สถาบนั มี

ประสทิ ธภิ าพ มคี วาม

รับผดิ ชอบและมีความ

ครอบคลมุ ในทกุ ระดับ

16 สนบั สนุนสงั คมทส่ี งบสขุ และ 16.10 สร้างความมั่นใจว่าประชาชน 16.10.1

ครอบคลมุ สำหรับการพัฒนา สามารถเขา้ ถงึ ข้อมูลและ ลักพาตัว

ท่ี ย่ังยนื จดั ใหม้ กี ารเข้าถึง ได้รับการปกป้องเสรีภาพข้ัน กักขังหน่ว

ความ ยตุ ิธรรมสำหรบั ทกุ คน พื้นฐานตามกฎหมายชาติและ ผู้สื่อข่าว

และสรา้ ง สถาบนั มี ข้อตกลงระหว่างประเทศ กับสื่อ สห

ประสทิ ธิภาพ มคี วาม ผู้ให้ความ

รับผดิ ชอบและมีความ มนุษยชน

ครอบคลมุ ในทกุ ระดบั แลว้ ว่าเปน็

495

ทำเครื่องชวี้ ดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พืน้ ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พ้นื ฐาน
บใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตวั ชว้ี ัด ขอ้ มูล จปฐ. ความสอดคลอ้ งข้อมลู กชช. 2ค.

ร ้ อ ย ล ะ ข อ ง ส ม า ชิ ก
ธิการออกเสียงของ
กำลังพัฒนาในองค์กร
ประเทศ

ร้อยละของเด็กอายุต่ำ ตวั ชวี้ ัดที่ 36 การไดร้ บั ความ
ที่ได้ทำการแจ้งเกิดกับ คุ้มครองทางสงั คม
นรฐั ท่ีรับผดิ ชอบ 36.4 เด็กที่ไม่ได้ลงทะเบียน
เกิด (เด็กที่พ่อ-แม่ไม่ได้แจ้ง
1 จำนวนคดีฆาตกรรม เกิด)
ว การถูกพราก การ
วงเหนี่ยว การทรมาน
ว บุคลากรที่เกี่ยวข้อง
หภาพทางการค้า และ
มช่วยเหลือด้านสิทธิ
น ที่ได้รับการพิสูจน์
นความจรงิ

รายงานฉบับสมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเครอื่ งช้วี ัดและแบบสอบถามข้อมลู ความจำเปน็ พน้ื
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั

Goal เป้าหมาย Target เปา้ ประสงค์
No.

16 สนบั สนุนสงั คมท่ีสงบสุข 16.a สร้างความเข้มแข็งให้กับ ทุก 16

และ ครอบคลุมสำหรบั การ สถาบันรวมทั้งความร่วมมือ ร า ย

พฒั นาที่ ยงั่ ยืน จัดให้มีการ ระหว่างประเทศ เพื่อสร้าง ร่าง

เขา้ ถึงความ ยุติธรรม ส ม ร ร ถ น ะ ใ น ท ุ ก ร ะ ดั บ ที่ม

สำหรับทกุ คน และสรา้ ง โดยเฉพาะในประเทศกำลัง ต่า

สถาบันมีประสทิ ธภิ าพ มี พัฒนา เพื่อป้องกันความรุนแรง เดือ

ความ รับผดิ ชอบและมี และต่อสูก้ บั การก่ออาชญากรรม เพศ

ความครอบคลมุ ในทกุ และการก่อการรา้ ย

ระดับ

16 สนับสนุนสงั คมทีส่ งบสุข 16.b ส่งเสริมและบังคับใช้กฎหมายที่ 16

และ ครอบคลมุ สำหรบั การ ไม่เลือกปฏิบัติและนโยบาย การ ประ

พัฒนาท่ี ยงั่ ยืน จดั ให้มกี าร พฒั นาทย่ี ัง่ ยืน เชื้อ

เขา้ ถึงความ ยุตธิ รรม เดือ

สำหรบั ทกุ คน และสร้าง พื้น

สถาบนั มีประสทิ ธภิ าพ มี ปฏ

ความ รับผดิ ชอบและมี ภาย

ความครอบคลมุ ในทกุ ระห

ระดบั อาย

ประ

17 เสรมิ สร้างความแขง่ แกรง่ 17.1 เสริมสร้างประสิทธิภาพในการ 17

ของ กลไกการดำเนนิ งาน ระดมทรพั ยากร ภายในประเทศ ราย

และฟื้นฟหู ุ้นสว่ นความ ตลอดจนให้การสนับสนุนใน ประ

รว่ มมือระดับโลก เพื่อการ ระดับ นานาชาติแก่ประเทศ จาก

พัฒนาทีย่ ง่ั ยนื กำลังพัฒนา เพื่อปรับปรุงขีด และ

นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พนื้ ฐาน ข้อมูล จปฐ. ความสอดคล้องข้อมูล กชช. 2ค.
บที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตวั ชวี้ ดั

6.a.1 ร้อยละของเหยื่อที่
ยงานอาชญากรรมทาง
งกาย และเพศต่อหน่วยงาน
มีหน้าที่บังคับ ใช้กฎหมาย
งๆ ตลอด ระยะเวลา 12
อนท่ีผ่านมา จำแนกเป็น อายุ
ศ ศาสนา และกลมุ่ ประชากร

6.b.1 ร้อยละการรายงาน
ะชากรที่รู้สึกว่าถูกแบ่งแยก
อชาติ หรือถูกข่มขู่ใน 12
อนที่ผ่านมาตามข้อบัญญัติ
นฐานของการห้ามเลือก
ฏิบัติในการแบ่งแยกเชื้อชาติ
ยใต้กฎหมายสิทธิมนุษยชน
หว่างประเทศ จำแนกเป็น
ยุ เพศ ศาสนา และกลุ่ม
ะชากร
7.1.1 ส ่ วนป ร ะ กอบ ข อ ง
ยได้ภาษี (โดยแหล่งที่มา)
ะกอบไปด้วย รายได้ที่มา
กภาษีที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
ะเป็นร้อยละของ GDP

496

รายงานฉบบั สมบูรณ์โครงการจดั ท
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั

Goal เปา้ หมาย Target เปา้ ประสงค์
No.
17 เสรมิ สรา้ งความแข่งแกร่ง
ของ กลไกการดำเนนิ งาน ความสามารถในการจัดเก็บภาษี
และฟ้ืนฟหู ุน้ ส่วนความ
ร่วมมือระดบั โลก เพื่อการ และรายได้อื่น ๆ ของ ประเทศ
พฒั นาทยี่ ัง่ ยืน
เหล่านนั้ ใหด้ ยี ่ิงขน้ึ
17 เสรมิ สร้างความแข่งแกร่ง
ของ กลไกการดำเนินงาน 17.2 ประเทศพัฒนาแล้วดำเนินการ 17.2.1 ค
และฟืน้ ฟูหนุ้ ส่วนความ
รว่ มมอื ระดับโลก เพ่อื การ อย่างเต็มที่ต่อพันธสัญญาที่ ให้ ให้เปล่า (
พฒั นาที่ยัง่ ยืน
ไว้ในการช่วยเหลืออย่างเป็น ทใ่ี ห้แกป่ ร

ทางการต่อการพัฒนา รวมถึง คิดเป็นร้อ

พันธสัญญา โดยประเทศพัฒนา ของ OE

แล้วหลายๆประเทศ ที่จะบรรลุ พัฒนาช่ว

เป้าหมาของ ODA/GNI ในการ รายได้ป

ช่วยเหลือ ประเทศกำลังพัฒนา (GNI) (OE

ร้อยละ 0.7 และประเทศด้อย

พฒั นา ร้อยละ 0.15-0.20 ผ้ใู ห้

ความร่วมมือใน ODA มีความ

ตั้งใจ อย่างเต็มที่ที่จะให้บรรลุ

เ ป ้ า ห ม า ย ใ น ก า ร ช ่ ว ย เ ห ลื อ

ประเทศด้อยพัฒนาอย่างน้อย

ร้อยละ 0.20 ของ ODA/GNI

17.3 การระดมทรัพยากรทางการเงิน 17.3.1 ก

เพิ่มเติมจากหลายแหล่ง สำหรบั รวม

ประเทศกำลงั พฒั นา

497

ทำเครือ่ งช้วี ัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พน้ื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พน้ื ฐาน
บใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตวั ชว้ี ดั ขอ้ มูล จปฐ. ความสอดคล้องข้อมลู กชช. 2ค.

ความช่วยเหลือแบบ
(ODA) สทุ ธิ, รวม และ
ระเทศด้อยพัฒนา โดย
อยละของเงินบริจาค
ECD /คณะกรรมการ
วยเหลือ (DAC) ของ
ประชาชาติมวลรวม
ECD)

กระแสเงินทุนไหลเข้า

รายงานฉบับสมบรู ณโ์ ครงการจดั ทำเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเป็นพน้ื
ระดบั หมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ่วงแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั

Goal เปา้ หมาย Target เป้าประสงค์
No.
17 เสรมิ สรา้ งความแขง่ แกร่ง
ของ กลไกการดำเนินงาน 17.4 การให้ความช่วยเหลือประเทศ 17
และฟน้ื ฟหู ุ้นสว่ นความ
รว่ มมือระดบั โลก เพ่ือการ กำลงั พัฒนาในการชำระหน้ี ร้อย
พฒั นาท่ียงั่ ยนื
ระยะยาวอย่างยั่งยืน ผ่านการ และ
17 เสรมิ สร้างความแขง่ แกร่ง
ของ กลไกการดำเนินงาน ประสานงานทางด้าน นโยบายท่ี
และฟน้ื ฟูหุน้ ส่วนความ
รว่ มมอื ระดับโลก เพอ่ื การ มีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนให้
พฒั นาทีย่ ง่ั ยืน
เกิดการชำระหน้ี, การบรรเทา
17 เสรมิ สร้างความแข่งแกรง่
ของ กลไกการดำเนินงาน หน้ี และการปรับโครงสร้างหน้ี
และฟน้ื ฟหู นุ้ สว่ นความ
ร่วมมือระดบั โลก เพ่อื การ อ ย ่ า ง เ ห ม า ะ ส ม แ ล ะ ร ะ บุ
พฒั นาทยี่ ่งั ยืน
ป ร ะ เ ทศ ที ่ ย า ก จ นที ่ ม ี ห น้ี

ต่างประเทศสูงเพื่อที่จะ ลดหนี้

ด้อยคุณภาพ

17.5 การนำระบบสนบั สนุนการลงทุน 17

ไปปรบั ใช้และปฏบิ ัติตามสำหรับ การ

ประเทศที่พฒั นานอ้ ยทส่ี ดุ การ

พัฒ

Xป

17.6 ยกระดับความร่วมมือระหว่าง 17

ประเทศพัฒนาแล้วกับ ประเทศ บัติ

กำลังพัฒนา และประเทศกำลัง แ ล

พัฒนากับประเทศ ด้อยพัฒนา ประ

ประเทศในภูมิภาคสามเหลี่ยม Pro

และนานาชาติ ให้ดีขึ้น และการ WIP

เข้าถึงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี Pro

และนวัตกรรม และส่งเสริมการ

นฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พน้ื ฐาน ขอ้ มูล จปฐ. ความสอดคล้องข้อมลู กชช. 2ค.
บท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตัวชว้ี ดั

7.4.1 บริการเงินกู้คิดเป็น
ยละของการส่งออกสินค้า
ะ บริการ

7.5.1 จำนวนประเทศ และ
รยอมรับการปฏิรูปนโยบาย
รลงทุนที่มีเป้าหมายการ
ฒนาที่ยั่งยืนหรือ การป้องกัน
ประเทศ
7.6.1 การเข้าถึงข้อมูลสิทธิ
(WIPO Patent Database)
ล ะ ใ ช ้ ร ะ บ บ IP ร ะ ห ว ่ า ง
ะเทศ (World Intellectual
operty Organization –
PO)(IP: Intellectual
operty)

498

รายงานฉบบั สมบูรณ์โครงการจดั ท
ระดบั หมูบ่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับ

Goal เป้าหมาย Target เป้าประสงค์
No.
17 เสรมิ สรา้ งความแขง่ แกรง่
ของ กลไกการดำเนินงาน เผยแพร่ความรู้ความเข้าใจใน
และฟน้ื ฟหู นุ้ สว่ นความ
รว่ มมือระดับโลก เพอื่ การ รายละเอยี ดขอ้ ตกลงรว่ มกันรวม
พัฒนาทีย่ ั่งยืน
ตลอดทั้งการปรับปรุง กลไก
17 เสรมิ สร้างความแขง่ แกร่ง
ของ กลไกการดำเนนิ งาน ค ว า ม ร ่ ว ม ม ื อท ี ่ ม ี ให ้ ด ี ขึ้ น
และฟื้นฟูห้นุ ส่วนความ
ร่วมมอื ระดบั โลก เพือ่ โดยเฉพาะระดับ สหประชาชาติ
การพัฒนาท่ียัง่ ยืน
และตลอดทั้งกลไกการอำนวย

ความสะดวก ทางเทคโนโลยี

ระดบั โลก

17.7 ส่งเสริมให้เกิดการพัฒนา, การ 17.7.1 ก

แลกเปลี่ยนและการเผยแพร่ เกย่ี วกบั ส

และกระจายเทคโนโลยีที่เป็น

ม ิ ต ร ต ่ อส ิ ่ งแ วด ล ้ อม ไปยัง

ประเทศกำลังพัฒนา โดยอยู่

ภายใต้ข้อกำหนดการอำนวย

ความสะดวก รวมทั้งในด้าน

การสมัปทาน และสิทธิพิเศษ

ตามท่ีตกลงร่วมกนั

17.8 ดำเนินการอย่างเต็มที่เพื่อให้มี 17.8.1 ส

Technology Bank และ กลไก อินเทอร์เน

การสร้างสมรรถนะด้าน

วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ

นวัตกรรมให้แก่ประเทศด้อย

พัฒนาภายในปี 2017 และ

ปรับปรุงการใช้ความพร้อมของ

499

ทำเครอ่ื งชวี้ ดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพน้ื ฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพนื้ ฐาน
บใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตวั ชี้วดั ขอ้ มูล จปฐ. ความสอดคลอ้ งขอ้ มูล กชช. 2ค.

ก า ร เ ร ี ย ก เ ก ็ บ ภ า ษี
สินค้าสงิ่ แวดล้อมเฉลย่ี

ส ั ด ส ่ ว น ก า ร ใ ช้ ตัวชี้วัดที่ 20 ครัวเรือนเข้าถึง ตัวช้วี ดั ท่ี 7 การตดิ ตอ่ สื่อสาร
น็ตส่วนบคุ คล
และใช้บริการโทรศพั ท์เคล่อื นท่ี 7.1.1 ครัวเรือนที่มีโทรศัพท์

และอินเทอรเ์ น็ต เคลอ่ื นที่ (โทรศัพทม์ อื ถือ)

• 20.4 ในรอบปีที่ผ่านมา 7.1.3 ครวั เรือนท่มี ีอินเทอร์เน็ต
ครัวเรือนเข้าถึงและใช้บริการ ประจำบา้ น

อนิ เทอร์เน็ต หรอื ไม่

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจดั ทำเครื่องชว้ี ัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พน้ื
ระดบั หมู่บ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั

Goal เป้าหมาย Target เป้าประสงค์
No.
17 เสรมิ สรา้ งความแข่งแกร่ง
ของ กลไกการดำเนนิ งาน เทคโนโลยีให้ดียิ่งขึ้น โดยเฉพาะ
และฟืน้ ฟหู ุ้นสว่ นความ
รว่ มมือระดบั โลก เพอ่ื การ ในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
พฒั นาทยี่ ั่งยืน
และการสอื่ สาร
17 เสรมิ สรา้ งความแขง่ แกรง่
ของ กลไกการดำเนินงาน 17.9 เพิ่มการสนับสนุนระหว่าง 17
และฟนื้ ฟูห้นุ ส่วนความ
รว่ มมอื ระดับโลก เพอ่ื การ ประเทศให้ดีขึ้นเพื่อการ ช่วย
พฒั นาท่ีย่งั ยืน
ดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ เทค

และเป้าหมายเพื่อสร้าง ปร

สมรรถนะให้แก่ประเทศกำลัง ปร

พฒั นา เพือ่ สนบั สนุนแผน ชาตทิ ่ี ปร

ดำเนินการให้เป็นไปตาม SDGs ประ

ทั้งหมด รวมตลอด ทั้งความ ควา

ร่วมมือระหว่างประเทศพัฒนา ให้

แล้วกับประเทศ กำลังพัฒนา เพื

และประเทศกำลังพัฒนากับ ผส

ประเทศดอ้ ย รวม

พัฒนา อย่

องค

เหล

ทาง

17.10 สนับสนุนการตัดสินใจโดยใช้กฎ 17

การเปิดกว้าง การไม่ แบ่งแยก ภาษ

ระบบการค้าพหุภาคีที่ยุติธรรม

ของทั่วโลก ภายใต้ข้อตกลง

WTO รวมทั้งข้อสรุปการตกลง

นฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พ้นื ฐาน ขอ้ มูล จปฐ. ความสอดคล้องข้อมูล กชช. 2ค.
บที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตวั ช้ีวัด

7.9.1 มูลค่าการให้ความ
ยเหลือทางการเงิน และทาง
คนิค (เป็นดอลลาร์) ทั้งท่ี
ะเทศพัฒนาแล้วให ้กับ
ะเทศกำลังพัฒนา และ
ะ เ ท ศ ก ำ ล ั ง พ ั ฒ น า ใ ห ้ กั บ
ะเทศด้อยพัฒนา และกลุ่ม
ามรว่ มมอื ไตรภาคี ทถ่ี ูกมอบ

่อการออกแบบ และการ
มผสานนโยบายแบบองค์
ม ที่มุ่งหวังให้เกิดการพัฒนา
างยั่งยืนใน 3 มิติ (รวมถึง
คป์ ระกอบทเ่ี ปน็ การลดความ
ลื่อมลำ้ ภายในประเทศ และ
งการปกครอง)
7.10.2 ค่าเฉลี่ยของอัตรา
ษศี ุลกากรของประเทศ

500

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการจดั ท
ระดบั หมูบ่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั

Goal เปา้ หมาย Target เปา้ ประสงค์
No.
17 เสรมิ สรา้ งความแข่งแกร่ง
ของ กลไกการดำเนนิ งาน ภายใต้ Doha Development
และฟน้ื ฟหู ้นุ ส่วนความ
ร่วมมอื ระดบั โลก เพ่อื การ Agenda
พัฒนาทย่ี ่ังยืน
17.11 การส่งออกที่เพิ่มขึ้นอย่างมี 17.11.1
17 เสรมิ สรา้ งความแข่งแกร่ง
ของ กลไกการดำเนินงาน นยั สำคัญของประเทศกำลัง พัฒนา บริการส่ง
และฟื้นฟูหุ้นสว่ นความ
ร่วมมอื ระดบั โลก เพื่อการ โดยเฉพาะสว่ นแบง่ การส่งออกของ พัฒนา แล
พฒั นาท่ยี งั่ ยนื
ประเทศด้อย พัฒนาเพิ่มขึ้นเป็น (แยกเปน็ ก
17 เสรมิ สรา้ งความแขง่ แกร่ง
ของ กลไกการดำเนินงาน สองเท่าในส่วนแบ่งการส่งออกทั่ว
และฟ้ืนฟูห้นุ ส่วนความ
ร่วมมอื ระดบั โลก เพื่อการ โลกใน ปี 2020
พัฒนาท่ยี ่งั ยืน
17.12 การผลักดันให้เกิดเขตการค้าเสรีที่ 17.12.1

ปลอดภาษีและโควตาการนำเข้าให้ ของประเ

ทั่วถึงทั้งในประเทศที่ด้อยพัฒนา ประเทศด

และทั่วโลก บนรากฐานที่ยั่งยืน สาขาหลั

เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายของ สังคม)

องค์กรการคา้ โลก รวมถึงการสร้าง

ความมั่นใจว่ากฎพิเศษ นี้จะ

อำนวยความสะดวกเพื่อการนำเขา้

จากแหลง่ ผลิต จาก ประเทศทด่ี อ้ ย

พัฒนาอย่างโปร่งใสและเรียบง่าย

ขึน้

17.13 การผลักดันให้เกิดเขตการค้าเสรีที่ 17.13.1

ปลอดภาษแี ละโควตาการนำเข้าให้ ประเทศ (G

ทั่วถึงทั้งในประเทศที่ด้อยพัฒนา

และทั่วโลก บนรากฐานที่ยั่งยืน

เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายของ

501

ทำเครอื่ งช้ีวัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพ้ืนฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพนื้ ฐาน
บใช้ชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตวั ช้วี ัด ข้อมลู จปฐ. ความสอดคล้องข้อมลู กชช. 2ค.

1 การส่งออก รวมถึงการ
งออกของประเทศ กำลัง
ละประเทศด้อยพัฒนา
กลุ่มคคู่ า้ และภาคหลกั )

1 การเผชญิ กับอตั ราภาษี
เทศกำลังพัฒนา และ
ด้อยพัฒนาจำแนกตาม
ก (ทางเศรษฐกิจและ

1 ผลิตภัณฑ์มวลรวมใน
GDP)

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเครอ่ื งช้ีวดั และแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พน้ื
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั

Goal เปา้ หมาย Target เป้าประสงค์
No.
17 เสรมิ สร้างความแขง่ แกร่ง
ของ กลไกการดำเนนิ งาน องค์กรการค้าโลก รวมถึงการสร้าง
และฟ้นื ฟูหนุ้ ส่วนความ
ร่วมมอื ระดบั โลก เพอื่ การ ความมัน่ ใจวา่ กฎพเิ ศษนีจ้ ะอำนวย
พฒั นาทีย่ ั่งยืน
ความสะดวกเพื่อการนำเข้าจาก
17 เสรมิ สรา้ งความแข่งแกร่ง
ของ กลไกการดำเนินงาน แหล่งผลิต จาก ประเทศที่ด้อย
และฟนื้ ฟหู ุน้ ส่วนความ
ร่วมมอื ระดบั โลก เพอ่ื การ พัฒนาอย่างโปร่งใสและเรียบง่าย
พฒั นาทยี่ งั่ ยืน
ขึ้น
17 เสรมิ สร้างความแขง่ แกร่ง
ของ กลไกการดำเนนิ งาน 17.14 เพิ่มการเชื่อมโยงนโยบายเพื่อ 17
และฟน้ื ฟูหุ้นส่วนความ
ร่วมมอื ระดบั โลก เพ่อื การ พฒั นาท่ีย่ังยืน หัส
พัฒนาที่ยงั่ ยนื
ระห

ทา

มนุษ

ขอ้ ต

17.15 การเคารพนโยบายของแต่ละ 17

ประเทศในการกำหนดและ สร้

ดำเนินการตามนโยบายเพื่อขจดั ด้า

ความยากจนและการ พัฒนาท่ี ทาง

ยงั่ ยืน

17.16 การเพิ่มความร่วมมือระดับโลก 17

เพือ่ การพฒั นาอยา่ งย่งั ยืน จากผู้ แบบ

มีส่วนได้ส่วนเสียทุกภาคส่วน ที่ ติด

ร่วมระดมความรู้และ แบ่งปัน ร ั บ

ความเชี่ยวชาญ เทคโนโลยี และ ผู้ด

ทรัพยากรทางการ เงิน เพื่อ พัฒ

สนับสนุนความสำเร็จของ กา

นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พน้ื ฐาน ขอ้ มูล จปฐ. ความสอดคล้องข้อมลู กชช. 2ค.
บท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตวั ชี้วัด

7.14.1 จำนวนประเทศที่
สตยาบัน และข้อบัญญัติ
หว่างประเทศที่เกี่ยวข้อง
งด้านสิ่งแวดล้อม สิทธิ
ษยชน และด้านแรงงานตาม
ตกลงการนำไปปฏิบตั ิ
7.15.1 จำนวนขอ้ จำกัดที่ถูก
างขึ้นมาในการช่วยเหลือ
านการพัฒนาอย่างเ ป็ น
งการ หรือ ข้อตกลงการกยู้ ืม

7.16.1 ตัวชี้วัดที่ 7 จาก
บทดสอบภาคีความร่วมมือ
ดตามระดับโลก : ความ
บ ผ ิ ด ชอบ ร ่ ว ม กั นในหมู่
ำเนินการความร่วมมือการ
ฒนาที่มีความเข้มแข็งผ่าน
ารทบทวนการพัฒนา

502

รายงานฉบบั สมบูรณ์โครงการจดั ท
ระดับหม่บู า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั

Goal เปา้ หมาย Target เป้าประสงค์
No.
17 เสรมิ สร้างความแขง่ แกรง่
ของ กลไกการดำเนินงาน เป้าหมายการพฒั นา อยา่ งยั่งยืน เศรษฐกิจ
และฟนื้ ฟูหนุ้ ส่วนความ
ร่วมมอื ระดับโลก เพ่ือการ ในทุกประเทศ โดยเฉพาะอย่าง สว่ น
พัฒนาท่ียง่ั ยนื
ยง่ิ ในประเทศกำลังพฒั นา
17 เสรมิ สร้างความแขง่ แกร่ง
ของ กลไกการดำเนินงาน 17.17 การส่งเสริมและสนับสนุนความ 17.17.1
และฟืน้ ฟูหุ้นส่วนความ
ร่วมมือระดับโลก เพอ่ื การ ร่วมมือภาครัฐ ภาครัฐ- เอกชน ใช้ในโคร
พัฒนาที่ย่งั ยืน
และภาคประชาสังคม ในการ ภาครัฐแล
17 เสรมิ สรา้ งความแข่งแกรง่
ของ กลไกการดำเนินงาน สร้างประสบการณ์ และกลยุทธ์
และฟน้ื ฟหู ้นุ ส่วนความ
ความร่วมมือด้านทรัพยากร

17.18 โดยในปี 2020 ได้เพิ่มการ 17.18.1

ส น ั บ ส น ุ น ก า ร ส ร ้ า ง ขี ด การพัฒน

ความสามารถในประเทศกำลัง จ ำ แ น ก

พัฒนา ประเทศพัฒนาน้อย ทส่ี ดุ ระดับชาต

และรัฐที่เป็นเกาะขนาดเล็กท่ี

กำลังพัฒนา ท่จี ะ เพม่ิ ข้ึนอย่างมี

นยั สำคญั พรอ้ มทงั้ มีคณุ ภาพสงู

ข้อมูลที่ ทันเวลาและเชื่อถือได้

โดยแยกรายได้,เพศ,อายุ,เชื้อ

ชาติ, เผ่าพันธุ์,สถานะอพยพ

,ความพิการ ที่ตั้งทางภูมิศาสตร์

และ ลักษณะอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

ในบรบิ ทแห่งชาติ

17.19 โดยในปี 2030 สร้างความคิด 17.19.1

ริเริ่มเพื่อการพัฒนาความ คืบหน้า และทรัพ

ในการพัฒนาอย่างยั่งยืน ที่เสริม

503

ทำเคร่ืองชวี้ ัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พนื้ ฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พนื้ ฐาน
บใช้ชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตัวช้วี ัด ข้อมลู จปฐ. ความสอดคล้องข้อมูล กชช. 2ค.
จโดยคำนึงถึงทุกภาค

1 จำนวนเงิน US$ ท่ี
รงการความร่วมมือ
ละเอกชน

1 สัดส่วนของตัวชี้วัด
นาที่ยั่งยืนด้วยการ
ข้อมูลทุกมิติใน
ติ

1 ความพร้อมทางการเงนิ ตวั ชวี้ ัดที่ 29 ความรอบรู้
พยากรต่อการสร้าง 29.4 ความรอบรเู้ รื่องการเงนิ

รายงานฉบับสมบูรณโ์ ครงการจดั ทำเคร่อื งช้ีวัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพ้นื
ระดบั หมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั

Goal เป้าหมาย Target เปา้ ประสงค์
No.
รว่ มมอื ระดบั โลก เพือ่ การ
พฒั นาทีย่ ัง่ ยนื ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ สมร

และการสนับสนุนการเสริมสร้าง กำล

ศักยภาพทางสถิติในประเทศกำลงั

พัฒนา

17 เสรมิ สร้างความแข่งแกร่ง 17.19 โดยในปี 2030 สร้างความคิด 17

ของ กลไกการดำเนินงาน ริเริ่มเพื่อการพัฒนาความ เศร

และฟ้นื ฟูหนุ้ สว่ นความ คืบหน้า ในการพัฒนาอย่าง ทุก

รว่ มมือระดับโลก เพอ่ื การ ยั่งยืน ที่เสริมผลิตภัณฑ์มวลรวม We

พฒั นาท่ยี งั่ ยนื ภายในประเทศและการ

สนับสนนุ การเสรมิ สร้าง

ศักยภาพทางสถิติในประเทศ

กำลงั พฒั นา

นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พนื้ ฐาน ขอ้ มูล จปฐ. ความสอดคล้องขอ้ มลู กชช. 2ค.
บที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)
29.4.1 คนในหมู่บ้าน/ชุมชน
ตวั ช้วี ดั
รรถนะทางสถิติในประเทศ ส่วนใหญ่มีความสามารถในการ
ลงั พฒั นาให้เขม้ แขง็
ค้นหาและเข้าถึงแหล่งข้อมูล
7.19.2 ตัวชี้วัดสถานะทาง
รษฐกจิ ท่มี ีการคำนงึ ถงึ ทางการเงินได้
ก ภ า ค ส ่ ว น (Inclusive
ealth Index) 29.4.2 คนในหมู่บ้าน/ชุมชน

ส่วนใหญ่ มีความรู้และ

ความสามารถในการจัดทำบัญชี

รายรับ-รายจ่าย วางแผนการใช้

จ่ายเงินตามความจำเป็น และ

รจู้ กั การออมเงนิ

29.4.3 คนในหมู่บ้าน/ชุมชน

สว่ นใหญม่ ีความรแู้ ละมีการสรา้ ง

ความมัน่ คงทางการเงิน ด้วยการ

นำเงินไปลงทุนเพือ่ สร้างรายได้

504


Click to View FlipBook Version