The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การพัฒนาเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพื้นฐาน
ระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) เป็นเครื่องมือในการวางแผนพัฒนาให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ และจะมีการปรับปรุงทุก ๆ 5 ปี ในปี พ.ศ. 2565 เป็นปีเริ่มต้นของแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (2565 - 2569) จึงมีความจำเป็นต้องใช้เครื่องชี้วัด เกณฑ์ชี้วัดและ
แบบสอบถามชุดใหม่สำหรับจัดเก็บข้อมูล จปฐ. และข้อมูล กชช. 2ค ให้สอดคล้องกับเป้าหมาย
การพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) และแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561 – 2580) และการควบคุม
คุณภาพการจัดเก็บข้อมูลและรูปแบบการรายงานด้วยระบบสารสนเทศที่รองรับความต้องการของทุก
ภาคส่วน การศึกษาครั้งนี้มีวิธีศึกษาจากการวิเคราะห์ประมวลผลจากการสอบถามความคิดเห็นผู้ใช้ข้อมูล
จปฐ. และข้อมูล กชช. 2ค เกี่ยวกับปัญหาและความต้องการของผู้ใช้ข้อมูล (ส่วนภูมิภาค) กระจายตาม
ภูมิภาค จำนวน 8 จังหวัด จังหวัดละ 5 หน่วยงาน รวม 40 หน่วยงาน และการวิเคราะห์ประมวลผลจาก
ประชุมรับฟังความคิดเห็นของคณะทำงานปรับปรุงเครื่องชี้วัดคุณภาพชีวิตของประชาชน และ
คณะกรรมการอำนวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน (พชช.)
ผลการศึกษา พบว่า การใช้แบบสอบถามข้อมูล จปฐ. และแบบสอบถามข้อมูล กชช. 2ค
สำหรับใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ปรับระยะเวลาการเริ่มใช้ให้สอดคล้อง
กับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 13 และแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี จึงเริ่มใช้ระหว่าง
พ.ศ.2566 – 2570 เครื่องชี้วัดข้อมูล จปฐ. ที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูลช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติฉบับที่ 13 ( พ.ศ.2566 - พ.ศ. 2570) ประกอบด้วย 5 หมวด 38 ตัวชี้วัด ได้แก่ หมวดที่ 1
สุขภาพ มี 12 ตัวชี้วัด หมวดที่ 2 มาตรฐานความเป็นอยู่ มี 9 ตัวชี้วัด หมวดที่ 3 การศึกษา มี 5 ตัวชี้วัด
หมวดที่ 4 เศรษฐกิจ มี 4 ตัวชี้วัด และหมวดที่ 5 การคุ้มครองทางสังคมและการมีส่วนร่วม มี 8 ตัวชี้วัด
และเครื่องชี้วัดข้อมูล กชช. 2ค สำหรับใช้ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13
(พ.ศ. 2566 - 2570) ประกอบด้วย 7 หมวด 44 ตัวชี้วัด ดังนี้ หมวดที่ 1 โครงสร้างพื้นฐาน มี 10
ตัวชี้วัด หมวดที่ 2 สภาพพื้นฐานทางเศรษฐกิจ มี 10 ตัวชี้วัด หมวดที่ 3 สุขภาวะและอนามัย มี 7
ตัวชี้วัด หมวดที่ 4 ความรู้และการศึกษา มี 4 ตัวชี้วัด หมวดที่ 5 การมีส่วนร่วมและความเข้มแข็ง
ของชุมชน มี 5 ตัวชี้วัด หมวดที่ 6 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มี 5 ตัวชี้วัด และหมวดที่ 7
ความเสี่ยงของชุมชนและภัยพิบัติ มี 3 ตัวชี้วัด สำหรับกลไกและกระบวนการบริหารจัดเก็บข้อมูลให้มี
คุณภาพ ต้องมีกลไกควบคุมคุณภาพในทุกระดับ ดังนี้ คณะกรรมการอำนวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิต
ของประชาชน (พชช.) คณะทำงานบริหารการจัดเก็บข้อมูลฯ ระดับจังหวัด คณะทำงานบริหารการจัดเก็บ
ข้อมูลฯ ระดับอำเภอ คณะทำงานบริหารการจัดเก็บข้อมูลฯ ระดับตำบล และคณะผู้จัดเก็บข้อมูลระดับ
หมู่บ้าน โดยมีกระบวนการที่มีคุณภาพ ดังนี้การสร้างความรู้ความเข้าใจ การออกแบบวิธีการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล การบันทึกและประมวลข้อมูล การตรวจทานข้อมูล และการนำเสนอข้อมูลเพื่อการใช้
ประโยชน์ร่วมกันในทุกระดับ ข้อเสนอแนะเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บข้อมูลควรให้คนในชุมชนและ
องค์กรหน่วนงานที่เกี่ยวข้องเห็นความสำคัญในการให้ข้อมูลและการจัดเก็บข้อมูลโดยการสร้างการมี
ส่วนร่วมในการจัดเก็บข้อมูล และควรมีการฝึกอบรมและเพิ่มองค์ความรู้ให้กับผู้จัดเก็บข้อมูลอย่างเข้มข้น
รวมทั้งการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรับทราบถึงระยะเวลาในการจัดเก็บข้อมูลรวมกันทั้งประเทศ

คำสำคัญ: คุณภาพชีวิตประชาชน,ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.),ข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by vasusamran55, 2021-07-01 09:24:14

โครงการจัดทำเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.)และข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) ฉบับที่ 13 (พ.ศ.2565-2569)

การพัฒนาเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพื้นฐาน
ระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) เป็นเครื่องมือในการวางแผนพัฒนาให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ และจะมีการปรับปรุงทุก ๆ 5 ปี ในปี พ.ศ. 2565 เป็นปีเริ่มต้นของแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (2565 - 2569) จึงมีความจำเป็นต้องใช้เครื่องชี้วัด เกณฑ์ชี้วัดและ
แบบสอบถามชุดใหม่สำหรับจัดเก็บข้อมูล จปฐ. และข้อมูล กชช. 2ค ให้สอดคล้องกับเป้าหมาย
การพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) และแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561 – 2580) และการควบคุม
คุณภาพการจัดเก็บข้อมูลและรูปแบบการรายงานด้วยระบบสารสนเทศที่รองรับความต้องการของทุก
ภาคส่วน การศึกษาครั้งนี้มีวิธีศึกษาจากการวิเคราะห์ประมวลผลจากการสอบถามความคิดเห็นผู้ใช้ข้อมูล
จปฐ. และข้อมูล กชช. 2ค เกี่ยวกับปัญหาและความต้องการของผู้ใช้ข้อมูล (ส่วนภูมิภาค) กระจายตาม
ภูมิภาค จำนวน 8 จังหวัด จังหวัดละ 5 หน่วยงาน รวม 40 หน่วยงาน และการวิเคราะห์ประมวลผลจาก
ประชุมรับฟังความคิดเห็นของคณะทำงานปรับปรุงเครื่องชี้วัดคุณภาพชีวิตของประชาชน และ
คณะกรรมการอำนวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน (พชช.)
ผลการศึกษา พบว่า การใช้แบบสอบถามข้อมูล จปฐ. และแบบสอบถามข้อมูล กชช. 2ค
สำหรับใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ปรับระยะเวลาการเริ่มใช้ให้สอดคล้อง
กับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 13 และแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี จึงเริ่มใช้ระหว่าง
พ.ศ.2566 – 2570 เครื่องชี้วัดข้อมูล จปฐ. ที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูลช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติฉบับที่ 13 ( พ.ศ.2566 - พ.ศ. 2570) ประกอบด้วย 5 หมวด 38 ตัวชี้วัด ได้แก่ หมวดที่ 1
สุขภาพ มี 12 ตัวชี้วัด หมวดที่ 2 มาตรฐานความเป็นอยู่ มี 9 ตัวชี้วัด หมวดที่ 3 การศึกษา มี 5 ตัวชี้วัด
หมวดที่ 4 เศรษฐกิจ มี 4 ตัวชี้วัด และหมวดที่ 5 การคุ้มครองทางสังคมและการมีส่วนร่วม มี 8 ตัวชี้วัด
และเครื่องชี้วัดข้อมูล กชช. 2ค สำหรับใช้ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13
(พ.ศ. 2566 - 2570) ประกอบด้วย 7 หมวด 44 ตัวชี้วัด ดังนี้ หมวดที่ 1 โครงสร้างพื้นฐาน มี 10
ตัวชี้วัด หมวดที่ 2 สภาพพื้นฐานทางเศรษฐกิจ มี 10 ตัวชี้วัด หมวดที่ 3 สุขภาวะและอนามัย มี 7
ตัวชี้วัด หมวดที่ 4 ความรู้และการศึกษา มี 4 ตัวชี้วัด หมวดที่ 5 การมีส่วนร่วมและความเข้มแข็ง
ของชุมชน มี 5 ตัวชี้วัด หมวดที่ 6 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มี 5 ตัวชี้วัด และหมวดที่ 7
ความเสี่ยงของชุมชนและภัยพิบัติ มี 3 ตัวชี้วัด สำหรับกลไกและกระบวนการบริหารจัดเก็บข้อมูลให้มี
คุณภาพ ต้องมีกลไกควบคุมคุณภาพในทุกระดับ ดังนี้ คณะกรรมการอำนวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิต
ของประชาชน (พชช.) คณะทำงานบริหารการจัดเก็บข้อมูลฯ ระดับจังหวัด คณะทำงานบริหารการจัดเก็บ
ข้อมูลฯ ระดับอำเภอ คณะทำงานบริหารการจัดเก็บข้อมูลฯ ระดับตำบล และคณะผู้จัดเก็บข้อมูลระดับ
หมู่บ้าน โดยมีกระบวนการที่มีคุณภาพ ดังนี้การสร้างความรู้ความเข้าใจ การออกแบบวิธีการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล การบันทึกและประมวลข้อมูล การตรวจทานข้อมูล และการนำเสนอข้อมูลเพื่อการใช้
ประโยชน์ร่วมกันในทุกระดับ ข้อเสนอแนะเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บข้อมูลควรให้คนในชุมชนและ
องค์กรหน่วนงานที่เกี่ยวข้องเห็นความสำคัญในการให้ข้อมูลและการจัดเก็บข้อมูลโดยการสร้างการมี
ส่วนร่วมในการจัดเก็บข้อมูล และควรมีการฝึกอบรมและเพิ่มองค์ความรู้ให้กับผู้จัดเก็บข้อมูลอย่างเข้มข้น
รวมทั้งการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรับทราบถึงระยะเวลาในการจัดเก็บข้อมูลรวมกันทั้งประเทศ

คำสำคัญ: คุณภาพชีวิตประชาชน,ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.),ข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค)

รายงานฉบบั สมบูรณโ์ ครงการจดั ทำเครอื่ งชีว้ ัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พน้ื ฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พ้นื ฐาน
ระดบั หมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ช่วยให้ อบต. /สภาตำบล อำเภอ / กิ่งอำเภอ จังหวัด และส่วนกลาง กำหนดทิศทางในการพัฒนาพื้นท่ี
เป้าหมายได้อย่างเหมาะสม

9) ผลการวิเคราะห์ตัวชี้วัดระดับตำบล ระดับอำเภอ จังหวัด ภาค และภาพรวมทั้งประเทศ
จะทำให้ทราบว่าในแต่ละตำบล อำเภอ /กิ่งอำเภอ จังหวัด ภาค และภาพรวมทั้งประเทศ มีปัญหามาก
(1 คะแนน) มีปัญหาปานกลาง (2 คะแนน) และมีปัญหาน้อย/ไม่มีปัญหา (3 คะแนน) ในแต่ละตัวชี้วัด
กีห่ มบู่ ้าน ซึง่ จะช่วยให้ อบต. /สภาตำบล อำเภอ/ก่งิ อำเภอ จังหวัด และสว่ นกลาง สามารถวางแผนแก้ไข
ปัญหาในแตล่ ะเรื่อง (ตวั ชี้วัด) ไดอ้ ย่างครอบคลมุ ทุกหมู่บา้ น เช่น เร่อื งนำ้ เพ่ือการเกษตรของระดับอำเภอ
มีปัญหามาก 70 หมู่บ้าน (70.0%) มีปัญหาปานกลาง 20 หมู่บ้าน (20.%) และมีปัญหาน้อย/ไม่มี
ปัญหา 10 หมู่บา้ น (10.0%) ซึ่งจะทำให้เห็นภาพรวมด้านนำ้ เพ่อื การเกษตรของอำเภอว่ามปี ัญหาระดับ
ใดมากนอ้ ยแค่ไหน เป็นตน้

10) รายงานผลข้อมูลเฉพาะเรื่องที่เลือกในระดับหมู่บา้ น ตำบล อำเภอ /กิ่งอำเภอ จังหวัด
ภาคและภาพรวมทั้งประเทศทำให้ทราบข้อมูลในเร่ืองต่าง ๆ ตามแบบสอบถาม เฉพาะเรื่องท่ีเราต้องการ
ทราบเท่าน้นั เช่น ตอ้ งการทราบว่าในตำบลมีกี่ครวั เรือน กี่คน มีครวั เรอื นทำนากค่ี รัวเรือน เป็นต้น

11) เปรียบเทียบข้อมูลของแต่ละหมู่บ้านเฉพาะที่เลือกทำให้ทราบว่าแต่ละหมู่บ้านของ
ตำบล มีข้อมูลในด้านต่าง ๆ ที่เราต้องการทราบเป็นอย่างไรบ้าง เช่น ต้องการเปรียบเทียบเรื่องจำนวน
ครวั เรอื น เพศชาย เพศหญิง เปน็ ตน้

12) ข้อมูลตามแบบสอบถามทั้งหมดของแต่ละหมู่บ้านทำให้ทราบว่าหมู่บ้านมีข้อมูลใน
แบบสอบถามทุกข้อทุกด้านเป็นอย่างไรซึ่งทำให้ทราบสภาพ ของหมู่บ้านว่ามีศักยภาพในด้านต่าง ๆ
เป็นอย่างไร นอกจากนั้นยังสามารถใช้ตรวจสอบกับเล่มแบบสอบถามต้นฉบับได้ด้วยว่าบันทึกเข้าเครื่อง
คอมพิวเตอร์ไดถ้ กู ตอ้ งหรือไม่

ตัวชี้วัดข้อมูลพื้นฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ปี พ.ศ. 2565 – 2569 สำหรับใช้ในช่วง
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาตฉิ บับที่ 13 (ปี 2566 – 2570) จากการศึกษาปรับปรุงเครื่องช้ี
วัดขอ้ มูลพืน้ ฐานระดบั หมบู่ ้าน (กชช. 2ค) มตี ัวชวี้ ัด 7 หมวด 40 ตัวชี้วัด ดังน้ี

หมวดที่ 1 โครงสร้างพื้นฐาน 11 ตัวชี้วัด ได้แก่ ถนน น้ำดื่ม น้ำใช้ น้ำเพื่อการเกษตร
ไฟฟา้ การมีทีด่ นิ ทำกนิ การตดิ ตอ่ ส่อื สาร ศูนย์พฒั นาเด็กเลก็ ร้านอาหาร สิง่ อำนวยความสะดวกคนพิการ
และพ้นื ทส่ี าธารณะสเี ขียว

ตัวชี้วัดดังกล่าวในหมวดที่ 1 โครงสร้างพื้นฐาน มีหลักการที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ
ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ซึ่งมีเป้าหมายการพัฒนาที่มุ่งเน้นการยกระดับศักยภาพของ
ประเทศในหลากหลายมิติ บนพื้นฐานแนวคิด 3 ประการ โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับตัวชี้วัดนี้ คือ แนวคิด
“ปรับปัจจุบัน” เพื่อปูทางสู่อนาคต ผ่านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของประเทศในมิติต่าง ๆ ท้ัง
โครงข่ายระบบคมนาคมและขนส่ง โครงสร้างพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและดิจิทัลและการปรับ
สภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมและบริการอนาคต ในประเด็นสำคัญคือการพัฒนา
โครงสร้างพื้นฐาน เชื่อมไทย เชื่อมโลก ครอบคลุมถึงโครงสร้างพื้นฐานทางกายภาพในด้านโครงข่าย
คมนาคม พื้นที่และเมือง รวมถึงเทคโนโลยี ตลอดจนโครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจ โดยเชื่อมโยง
โครงข่ายคมนาคมไร้รอยต่อ สร้างและพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ เพิ่มพื้นที่และเมืองเศรษฐกิจ พัฒนา
โครงสร้างพนื้ ฐานเทคโนโลยสี มัยใหมแ่ ละรักษาและเสรมิ สร้างเสถยี รภาพทางเศรษฐกจิ มหภาค

89

รายงานฉบบั สมบรู ณ์โครงการจัดทำเครือ่ งชี้วดั และแบบสอบถามข้อมูลความจำเปน็ พ้ืนฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพน้ื ฐาน
ระดับหมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ่วงแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

หมวดท่ี 2 สภาพพ้ืนฐานทางเศรษฐกจิ 7 ตัวชีว้ ัด ไดแ้ ก่ การมีงานทำ การทำงานในสถาน
ประกอบการ ผลผลิตจากการทำนา ผลผลิตจากการทำไร่ ผลผลิตจากการทำเกษตรอื่น ๆ การประกอบ
อุตสาหกรรมในครัวเรอื น และการไดร้ บั ประโยชนจ์ ากการมสี ถานทท่ี ่องเท่ียว

ตัวชี้วัดดังกล่าวในหมวดที่ 2 สภาพพื้นฐานทางเศรษฐกิจ มีหลักการที่สอดคล้อง
กับยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขันโดยเฉพาะที่เกี่ยวกับตัวชี้วัดนี้ คือ (1) ใน
ประเด็นการเกษตรสร้างมูลค่า ให้ความสำคัญกับการเพิ่มผลิตภาพการผลิตทั้งเชงิ ปริมาณและมูลค่าและ
ความหลากหลายของสนิ ค้าเกษตร ประกอบด้วยเกษตรอัตลกั ษณ์พ้ืนถิ่น เกษตรปลอดภัย เกษตรชีวภาพ
เกษตรแปรรปู และเกษตรอัจฉรยิ ะอุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต โดยสรา้ งอุตสาหกรรมและบริการ
แห่งอนาคตที่ขับเคลื่อนประเทศไทยไปสู่ประเทศที่พัฒนาแล้วด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยีแห่งอนาคต
ประกอบดว้ ยอุตสาหกรรมชวี ภาพ อตุ สาหกรรมและบริการการแพทย์ครบวงจร อุตสาหกรรมและบริการ
ดิจิทัล ข้อมูล และปัญญาประดิษฐ์ อุตสาหกรรมและบริการขนส่งและโลจิสติกส์และอุตสาหกรรม
ความม่ันคงของประเทศ และ(2) ประเดน็ การพัฒนาเศรษฐกจิ บนพน้ื ฐานผู้ประกอบการยุคใหม่ สร้างและ
พัฒนาผู้ประกอบการยุคใหม่ที่มีทักษะและจิตวิญญาณของการเป็นผู้ประกอบการที่มีความสามารถใน
การแข่งขนั และมีอัตลักษณ์ชดั เจน โดย สรา้ งผ้ปู ระกอบการอจั ฉริยะสรา้ งโอกาสเข้าถึงบริการทางการเงิน
สร้างโอกาสเขา้ ถึงตลาด สรา้ งโอกาสเขา้ ถึงขอ้ มลู และปรบั บทบาทและโอกาสการเขา้ ถึงบรกิ ารภาครฐั

หมวดที่ 3 สุขภาวะและอนามัย 6 ตัวชี้วัด ได้แก่ การป้องกันโรคติดต่อ การได้รับความรู้
เกี่ยวกับโรคภัย การได้รับบริการและดูแลสุขภาพอนามัย อนามัยสิ่งแวดล้อม ความปลอดภัยใน
การทำงานและการกีฬา

ตัวชวี้ ดั ดังกลา่ วในหมวดที่ 3 สุขภาวะและอนามยั มหี ลกั การที่สอดคล้องกบั ยุทธศาสตร์ชาติ
ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับตัวชี้วัดนี้ คือ (1) ประเด็น
ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างให้คนไทยมีสุขภาวะที่ดี ครอบคลุมทั้งด้านกาย ใจ สติปัญญาและสังคม โดย
การสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาวะ การป้องกันและควบคุมปัจจัยเสี่ยงที่คุกคามสุขภาวะ การสร้าง
สภาพแวดลอ้ มทเ่ี อ้ือต่อการมสี ุขภาวะที่ดี การพัฒนาระบบบรกิ ารสุขภาพทีท่ ันสมัยสนับสนุนการสร้างสุข
ภาวะที่ดีและการส่งเสริมให้ชุมชนเป็นฐานในการสร้างสุขภาวะที่ดีในทุกพื้นที และ (2) ประเด็น
ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างศักยภาพการกีฬาในการสร้างคุณค่าทางสังคมและพัฒนาประเทศ โดย
การส่งเสรมิ การออกกำลังกายและกีฬาขั้นพน้ื ฐานให้กลายเป็นวิถีชีวิตการส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วม
ในกิจกรรมออกกำลังกาย กีฬาและนันทนาการ การส่งเสริมการกีฬาเพ่ือพัฒนาสู่ระดับอาชีพและ
การพัฒนาบุคลากรด้านการกีฬาและนันทนาการเพ่ือรองรับการเตบิ โตของอุตสาหกรรมกีฬา

หมวดที่ 4 ความรู้และการศกึ ษา 3 ตัวชี้วัด ได้แก่ การให้บริการด้านการศกึ ษา การได้รับ
การฝึกอบรมด้านตา่ ง ๆ และโอกาสเขา้ ถึงระบบการศกึ ษาของคนพิการ

ตัวชี้วัดดังกล่าวในหมวดที่ 4 ความรู้และการศึกษา มีหลักการที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์
ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับตัวชี้วัดนี้คือ ( 1) ใน
ประเด็นการพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต มุ่งเน้นการพัฒนาคนเชิงคุณภาพในทุกช่วงวัย
ประกอบด้วย ช่วงการตั้งครรภ์/ปฐมวัย เน้นการเตรียมความพร้อมให้แก่พ่อแม่ก่อนการตั้งครรภ์ ช่วงวยั
เรียน/วัยรุ่น ปลูกฝังความเป็นคนดี มีวินัย พัฒนาทักษะการเรียนรู้ที่สอดรับกับศตวรรษที่ 21 ช่วงวัย
แรงงาน ยกระดับศักยภาพ ทักษะและสมรรถนะแรงงานสอดคล้องกับความต้องการของตลาด และช่วง

90

รายงานฉบบั สมบูรณโ์ ครงการจัดทำเคร่อื งชว้ี ดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพน้ื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พนื้ ฐาน
ระดับหมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

วัยผู้สูงอายุ ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุเป็นพลังในการขบั เคล่ือนประเทศ (2) ในประเด็นการปฏิรปู กระบวนการ
เรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 มุ่งเน้นผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้และมีใจ
ใฝ่เรยี นรู้ตลอดเวลา โดยการปรบั เปลยี่ นระบบการเรยี นรู้ใหเ้ อื้อต่อการพฒั นาทักษะสา่ หรับศตวรรษที่ 21
การเปลี่ยนโฉมบทบาท “ครู” ให้เป็นครูยุคใหม่ การเพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการศึกษาใน
ทุกระดับทุกประเภท การพัฒนาระบบการเรียนรู้ตลอดชีวิต การสร้างความตื่นตัวให้คนไทยตระหนักถึง
บทบาท ความรับผิดชอบ และการวางตำแหน่งของประเทศไทยในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์และประชาคม
โลก การวางพื้นฐานระบบรองรับการเรียนรู้โดยใช้ดิจิทัลแพลตฟอร์ม และการสร้างระบบการศึกษา
เพื่อเป็นเลิศทางวิชาการระดับนานาชาติ และ (3) ประเด็นการตระหนักถึงพหุปัญญาของมนุษย์
ที่หลากหลาย โดย การพัฒนาและส่งเสริมพหุปัญญาผ่านครอบครัว ระบบสถานศึกษา สภาพแวดล้อม
รวมทั้งสื่อตั้งแต่ระดับปฐมวัย การสร้างเส้นทางอาชีพ สภาพแวดล้อมการทำงานและระบบสนับสนุน
ที่เหมาะสมสำหรับผมู้ ีความสามารถพเิ ศษผา่ นกลไกต่าง ๆ

หมวดที่ 5 การมสี ว่ นรว่ มและความเข้มแขง็ ของชุมชน 5 ตัวชีว้ ัด ไดแ้ ก่ การรวมกลุ่มของ
ประชาชน การมีส่วนร่วมของชุมชน ความปลอดภัยของหมู่บ้าน/ชุมชน การเรียนรู้โดยชุมชน และ
การไดร้ ับความคมุ้ ครองทางสังคม

ตัวชี้วัดดังกล่าวในหมวดที่ 5 การมีส่วนร่วมและความเข้มแข็งของชุมชน มีหลักการ
ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ โดยเฉพาะ
ที่เกี่ยวกับตัวชี้วัดน้ี คือ ประเด็นยุทธศาสตร์การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาและเสริมสร้าง
ศักยภาพทรัพยากรมนุษย์โดย การสร้างความอยู่ดีมีสุขของครอบครัวไทย การส่งเสริมบทบาทการมี
ส่วนร่วมของภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ครอบครัวและชุมชนในการพัฒนา
ทรัพยากรมนุษย์ การปลูกฝังและพัฒนาทักษะนอกห้องเรียนและการพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อ
การพัฒนาทรพั ยากรมนษุ ย์

ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม (1) ในประเด็น
การเสริมสร้างพลังทางสังคม โดยสร้างสังคมเข้มแข็งที่แบ่งปัน ไม่ทอดทิ้งกัน และมีคุณธรรม โดย
สนับสนุนการรวมตัวและดึงพลังของภาคส่วนต่าง ๆ การรองรับสังคมสูงวัยอย่างมีคุณภาพ สนับสนุน
ความร่วมมือระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน ภาควิชาการ ภาคประชาสังคมและภาคประชาชน ส่งเสริม
ความเสมอภาคทางเพศและบทบาทของสตรีในการสร้างสรรค์สังคม สนับสนุนการพัฒนาบนฐานทุนทาง
สังคมและวัฒนธรรม (2) ประเด็นยุทธศาสตร์การเพิ่มขีดความสามารถของชุมชนท้องถิ่นใน
การพฒั นาการพ่งึ ตนเองและการจัดการตนเอง โดย สง่ เสริมการปรับพฤติกรรมในระดบั ครัวเรือน ให้มีขีด
ความสามารถในการจัดการวางแผนชีวิต สุขภาพ ครอบครัว การเงินและอาชีพ (3) เสริมสร้างศักยภาพ
ของชุมชนในการพึ่งตนเองและการพึ่งพากันเอง สร้างการมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่าง ๆ เพื่อสร้าง
ประชาธิปไตยชุมชน และสร้างภูมิคุ้มกันทางปัญญาให้กับชุมชน และยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้าง
การเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ในประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่เมือง ชนบท
เกษตรกรรมและอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ มุ่งเน้นความเป็นเมืองที่เติบโตอย่างต่อเนื่อง พัฒนาเครือข่าย
องคก์ รพัฒนาเมืองและชมุ ชน รวมทั้งกลุ่มอาสาสมคั ร ดว้ ยกลไกการมสี ่วนร่วมของทุกภาคสว่ นในท้องถิ่น

91

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการจดั ทำเครื่องชวี้ ดั และแบบสอบถามข้อมูลความจำเปน็ พืน้ ฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พื้นฐาน
ระดับหมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ่วงแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

หมวดที่ 6 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 5 ตัวชี้วัด ได้แก่ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
และดูแลสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน คุณภาพดิน คุณภาพน้ำ การจัดการสภาพสิ่งแวดล้อมและการจัดการ
มลพิษ

ตัวชี้วัดดงั กล่าวในหมวดที่ 6 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมีหลักการทีส่ อดคล้องกับ
ยุทธศาสตรช์ าตดิ ้านการสร้างการเตบิ โตบนคณุ ภาพชวี ติ ทีเ่ ป็นมติ รต่อส่ิงแวดล้อม มเี ปา้ หมายการพัฒนาที่
สำคัญเพื่อนำไปสูก่ ารบรรลุเปา้ หมายการพัฒนาที่ยั่งยนื ในทุกมติ ิ ทั้งมิติด้านสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม
ธรรมาภิบาล และความเป็นหุ้นส่วนความร่วมมือระหว่างกันทั้งภายในและภายนอกประเทศอย่าง
บูรณาการ ใช้พื้นที่เป็นตัวตั้งในการกำหนดกลยุทธ์และแผนงานและการให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องได้เข้ามามี
ส่วนร่วมในแบบทางตรงให้มากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ โดยเป็นการดำเนินการบนพื้นฐานการเติบโต
ร่วมกันไม่ว่าจะเป็นทางเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิต โดยให้ความสำคัญกับการสร้างสมดุลทั้ง
3 ด้าน อนั จะนำไปส่คู วามยั่งยนื เพ่ือคนร่นุ ต่อไปอย่างแทจ้ ริง ตัวชี้วัด ประกอบด้วย พน้ื ทส่ี ีเขียวทเี่ ปน็ มิตร
กับสิ่งแวดล้อม สภาพแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติที่เสื่อมโทรมได้รับการฟื้นฟูการเติบโตที่เป็นมิตร
กับสิง่ แวดลอ้ มและปรมิ าณก๊าซเรอื นกระจก มูลคา่ เศรษฐกจิ ฐานชีวภาพ

หมวดที่ 7 ความเสี่ยงของชุมชนและภัยพิบัติ 3 ตัวชี้วัด ได้แก่ ความปลอดภัยจาก
ยาเสพตดิ ความปลอดภยั จากภยั พบิ ัติ และความปลอดภยั จากความเสี่ยงในชุมชน

ตัวชี้วัดดังกล่าวในหมวดที่ 7 ความเสี่ยงของชุมชนและภัยพิบัติ มีหลักการที่สอดคล้องกับ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับตัวชี้วัดน้ี คือ
ประเดน็ ยุทธศาสตรก์ ารเพ่ิมขดี ความสามารถของชมุ ชนท้องถิน่ ในการพฒั นาการพึ่งตนเองและการจัดการ
ตนเอง โดยสง่ เสริมการปรบั พฤตกิ รรมในระดบั ครวั เรือน ใหม้ ีขีดความสามารถในการจัดการวางแผนชีวิต
สุขภาพ ครอบครัว การเงินและอาชพี เสรมิ สรา้ งศกั ยภาพของชมุ ชนในการพ่ึงตนเองและการพึ่งพากันเอง
สร้างการมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่าง ๆ เพื่อสร้างประชาธิปไตยชุมชน และสร้างภูมิคุ้มกันทางปัญญา
ให้กับชุมชน และยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
ประเด็นยุทธศาสตร์การสร้างการเติบโตอย่างยั่งยืนบนสังคมที่เป็นมิตรต่อสภาพภูมิอากาศ โดยลด
การปล่อยกา๊ ซเรือนกระจก มกี ารปรบั ตัวเพ่ือลดความสูญเสียและเสยี หายจากภยั ธรรมชาติและผลกระทบ
ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและพัฒนาและสร้างระบบรับมือปรับตัวต่อโรคอุบัติใหม่
และโรคอบุ ตั ซิ ำ้ ที่เกิดจากการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

92

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจดั ทำเคร่อื งช้วี ดั และแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเป็นพนื้ ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พน้ื ฐาน
ระดบั หม่บู า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

บทที่ 3
ผลการศึกษา

93

รายงานฉบบั สมบูรณ์โครงการจัดทำเคร่อื งชีว้ ดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พนื้ ฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พน้ื ฐาน
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ่วงแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

94

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจดั ทำเคร่ืองชว้ี ดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พ้นื ฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพ้ืนฐาน
ระดับหมูบ่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

บทท่ี 3
ผลการศึกษา

3.1 ผลการจัดทำเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามข้อมลู ความจำเปน็ พื้นฐาน (จปฐ.) และ
ขอ้ มูลพืน้ ฐานระดับหมบู่ า้ น (กชช. 2ค)

3.1.1 การจดั ทำเครอ่ื งชีว้ ดั ขอ้ มูลความจำเปน็ พน้ื ฐาน (จปฐ.)

ผลจากออกแบบเครื่องชี้วัด เกณฑ์ชี้วัดและข้อคำถามสำหรับการจัดเก็บข้อมูล

ความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) แนวทางควบคุมคุณภาพการจัดเกบ็ ข้อมูลและรูปแบบการรายงานด้วยระบบ

สารสนเทศที่รองรับความต้องการของทุกภาคส่วน และในครั้งนี้ กรมการพัฒนาชุมชน ได้มอบหมายให้

สำนักงานศูนย์วิจยั และใหค้ ำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งได้ดำเนินการวเิ คราะห์ประมวลผล

จากการสอบถามความคิดเห็นผูใ้ ช้ข้อมูล จปฐ. และ กชช. 2ค เกี่ยวกับปัญหาและความตอ้ งการของผู้ใช้

ข้อมูล (ส่วนภูมิภาค) จำนวน 8 จังหวัด กระจายตามภูมิภาค รวมทั้งการวิเคราะห์ประมวลผลจาก

การสอบถามความคิดเห็นคณะทำงานปรับปรุงเครื่องชี้วัดคุณภาพชีวิตของประชาชน และจัดทำ

แบบสอบถามและเกณฑช์ ้วี ดั ข้อมูล จปฐ โดยสรุปสาระสำคัญ ดงั น้ี

เครือ่ งชวี้ ดั ข้อมลู ความจำเปน็ พื้นฐาน (จปฐ.) ทใ่ี ช้ในการจดั เกบ็ ข้อมูลช่วงแผนพัฒนา

เศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติฉบับที่ 13 (พ.ศ.2566 - พ.ศ. 2570) ประกอบดว้ ย 5 หมวด 38 ตวั ชี้วัด

ดังนี้

หมวดที่ 1 สุขภาพ มี 12 ตัวช้วี ดั

หมวดท่ี 2 มาตรฐานความเปน็ อยู่ มี 9 ตวั ช้วี ดั

หมวดท่ี 3 การศึกษา มี 5 ตัวชว้ี ัด

หมวดที่ 4 เศรษฐกจิ มี 4 ตัวชี้วัด

หมวดท่ี 5 การคุม้ ครองทางสังคมและการมีสว่ นร่วม มี 8 ตวั ชี้วัด

ลำดบั ตัวชีว้ ดั หน่วยงานรบั ผดิ ชอบ

หมวดท่ี 1 สขุ ภาพ มี 12 ตัวชว้ี ัด หนว่ ยงานหลกั หน่วยงานร่วม
ตัวชว้ี ัดที่ 1 การฝากครรภ์อย่างมคี ณุ ภาพ
ตวั ช้ีวดั ที่ 2 เดก็ แรกเกิดมนี ำ้ หนัก 2,500 - กระทรวงสาธารณสุข -สถาบนั พฒั นาการ
- กระทรวงสาธารณสขุ สาธารณสุขอาเซยี น
กรัม ขึน้ ไป - กระทรวงเกษตรและ
ตวั ชี้วดั ที่ 3 เด็กแรกเกิดได้กินนมแม่อยา่ ง - กระทรวงสาธารณสุข สหกรณ์
- กระทรวงมหาดไทย
เดียวอย่างน้อย 6 เดอื นแรก
ตดิ ตอ่ กนั - กระทรวงสาธารณสขุ
ตัวชว้ี ดั ท่ี 4 เด็กแรกเกดิ ถงึ 12 ปี ไดร้ ับ
วคั ซนี ปอ้ งกันโรคครบตาม
ตารางสรา้ งเสรมิ ภมู คิ ุ้มกนั โรค

95

รายงานฉบบั สมบรู ณ์โครงการจัดทำเคร่ืองช้ีวัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเปน็ พื้นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พื้นฐาน
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ลำดบั ตัวช้วี ดั หนว่ ยงานรับผิดชอบ

หนว่ ยงานหลกั หน่วยงานร่วม

ตัวช้วี ดั ที่ 5 เดก็ ไดร้ ับการดแู ลและมี - กระทรวงสาธารณสขุ

พฒั นาการท่เี หมาะสม

ตวั ชว้ี ัดที่ 6 ครวั เรอื นกนิ อาหารถกู - กระทรวงสาธารณสุข

สขุ ลักษณะ ปลอดภัย และได้

มาตรฐาน

ตัวชว้ี ัดที่ 7 ครัวเรอื นมีความร้แู ละป้องกนั - กระทรวงสาธารณสุข

ตนเองเพื่อควบคมุ ปจั จยั เสย่ี งท่ี

คุกคามสขุ ภาวะ

ตวั ชี้วดั ท่ี 8 ครวั เรือนสามารถดูแลตนเอง/ - กระทรวงสาธารณสขุ

สมาชกิ เมอื่ มีอาการเจบ็ ปว่ ย

เบอื้ งตน้

ตัวชว้ี ัดที่ 9 คนอายุ 6 ปขี ึ้นไป ออกกำลัง - กระทรวงสาธารณสุข - กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

กายอย่างนอ้ ยสปั ดาห์ละ 3 - กระทรวงการทอ่ งเท่ียวและ

วนั ๆ ละ 30 นาที กฬี า

ตวั ชี้วดั ที่ 10 ผปู้ ่วยตดิ เตยี งได้รบั การดูแล - กระทรวงสาธารณสขุ - สถาบนั พฒั นาการ

จากครอบครัว ชุมชน ภาครฐั สาธารณสขุ อาเซียน

หรอื ภาคเอกชน - กระทรวงเกษตรและ

ตัวชี้วัดท่ี 11 คนในครวั เรือนมีประกนั สขุ ภาพ - กระทรวงสาธารณสุข สหกรณ์

/สทิ ธริ กั ษาพยาบาลและทราบ - กระทรวงมหาดไทย

สถานทใี่ ช้บริการตามสทิ ธิ - กระทรวงการคลัง

ตัวชว้ี ัดที่ 12 คนอายุ 35 ปีข้ึนไป ได้รบั การ - กระทรวงสาธารณสขุ

ตรวจสขุ ภาพประจำปี

หมวดท่ี 2 มาตรฐานความเป็นอยู่ มี 9 ตัวชวี้ ัด

ตัวช้ีวัดท่ี 13 ครัวเรอื นมีความมนั่ คงในทอี่ ยู่ - กระทรวงการพฒั นาสงั คม -กระทรวงทรัพยากร

อาศยั บ้านมีสภาพคงทนถาวร และความมน่ั คงของมนษุ ย์ ธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม

และอยู่ในสภาพแวดลอ้ มที่ - กระทรวงมหาดไทย

เหมาะสม - กระทรวงเกษตรและ

สหกรณ์

ตัวชว้ี ัดที่ 14 ครัวเรอื นมกี ารจัดบา้ นเรอื น - กระทรวงสาธารณสขุ -กระทรวงทรพั ยากร

และได้รับบริการจดั เกบ็ ขยะมลู ธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม

ฝอยท่ีถกู สขุ ลักษณะ - กระทรวงมหาดไทย

ตวั ชี้วัดที่ 15 ครัวเรอื นไม่ถูกรบกวนจาก - กระทรวงทรพั ยากร - กระทรวงมหาดไทย

มลพษิ ธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม -กระทรวงเกษตรและ

สหกรณ์

- กระทรวงสาธารณสขุ

-กระทรวงอตุ สาหกรรม

96

รายงานฉบับสมบรู ณโ์ ครงการจดั ทำเครอื่ งชวี้ ัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเป็นพนื้ ฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พ้นื ฐาน
ระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ลำดับ ตวั ชี้วดั หนว่ ยงานรับผดิ ชอบ

หน่วยงานหลัก หน่วยงานร่วม

ตวั ชี้วัดที่ 16 ครวั เรือนมกี ารป้องกันอุบตั ภิ ยั - สำนักนายกรฐั มนตรี - กระทรวงสาธารณสุข

อยา่ งถกู วธิ ี และมีการเตรยี ม - กระทรวงมหาดไทย (ปภ.) - กระทรวงคมนาคม

ความพรอ้ มรบั มือกับภัยพบิ ตั ิ - กระทรวงเกษตรและ

สหกรณ์

- สำนักงานตำรวจแหง่ ชาติ

ตัวชว้ี ดั ที่ 17 ครวั เรอื นมีความปลอดภยั ใน - สำนกั งานตำรวจแหง่ ชาติ - กระทรวงยตุ ธิ รรม

ชวี ิตและทรัพย์สิน

ตัวชี้วดั ท่ี 18 ครัวเรือนมีนำ้ สำหรบั บรโิ ภค - กระทรวงทรพั ยากร - กระทรวงมหาดไทย

และอปุ โภคเพยี งพอตลอดปี ธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม - กระทรวงเกษตรและ

- สำนกั งานทรพั ยากรนำ้ สหกรณ์

แหง่ ชาติ - กระทรวงคมนาคม

- หนว่ ยบัญชาการทหาร

พฒั นา

ตวั ชว้ี ดั ที่ 19 ครัวเรือนเข้าถึงไฟฟา้ และใช้ - กระทรวงพลงั งาน - กระทรวงมหาดไทย

บรกิ ารไฟฟา้

ตวั ชี้วัดที่ 20 ครัวเรือนเขา้ ถงึ และใชบ้ รกิ าร - กระทรวงดจิ ิทัลเพ่ือ - กระทรวงมหาดไทย

โทรศัพทเ์ คล่อื นท่ีและ เศรษฐกิจและสังคม - สำนกั งานคณะกรรมการ

อินเทอรเ์ นต็ กิจการกระจายเสียง

ตวั ช้ีวดั ที่ 21 ครวั เรอื นเข้าถงึ บรกิ ารขนส่ง - กระทรวงคมนาคม - กระทรวงมหาดไทย

สาธารณะ

หมวดท่ี 3 การศกึ ษา มี 5 ตัวช้วี ดั

ตัวช้วี ัดท่ี 22 เด็กอายุต่ำกวา่ 6 ปี มีการ - กระทรวงการพฒั นาสงั คม - กระทรวงมหาดไทย

เรียนรู้และพฒั นาการทาง และความมน่ั คงของมนษุ ย์ (สถ.)

บคุ ลกิ ภาพตามวยั - กระทรวงศึกษาธกิ าร

ตัวชี้วดั ท่ี 23 เดก็ อายุ 6 - 15 ปี ได้รบั - กระทรวงศึกษาธิการ - กระทรวงมหาดไทย

การศกึ ษาภาคบังคบั 9 ปี

ตัวชว้ี ดั ท่ี 24 เด็กจบช้นั ม.3 ไดเ้ รยี นตอ่ ชั้น - กระทรวงศึกษาธิการ - กระทรวงมหาดไทย

ม.4 และเดก็ ทีจ่ บการศึกษา - กระทรวงอุตสาหกรรม

ภาคบงั คบั 9 ปี ทไี่ มไ่ ดเ้ รยี นตอ่ - กระทรวงแรงงาน

และยังไม่มงี านทำ ไดร้ ับการ

ฝึกอบรมดา้ นอาชีพ

ตัวชี้วดั ที่ 25 คนอายุ 15 - 59 ปี อ่าน - กระทรวงศกึ ษาธกิ าร - กระทรวงมหาดไทย

เขยี นภาษาไทย ภาษาองั กฤษ

หรอื ภาษาทีส่ าม และคิดเลข

อย่างงา่ ยได้

97

รายงานฉบบั สมบูรณ์โครงการจัดทำเครื่องชวี้ ดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพ้ืนฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพน้ื ฐาน
ระดับหมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ลำดับ ตัวช้วี ัด หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบ

หนว่ ยงานหลัก หน่วยงานร่วม

ตัวชว้ี ัดที่ 26 ครวั เรอื นได้รบั การศึกษา - กระทรวงศกึ ษาธกิ าร - สำนักงานคณะกรรมการ

ต่อเนือ่ งและมีทกั ษะการเรียนรู้ - กระทรวงดจิ ิทัลเพอ่ื กิจการกระจายเสยี ง

ทจี่ ำเป็นในศตวรรษท่ี 21 เศรษฐกิจและสงั คม

หมวดที่ 4 เศรษฐกจิ มี 4 ตวั ชวี้ ัด

ตวั ชี้วดั ท่ี 27 คนอายุ 15 - 59 ปี มอี าชพี - กระทรวงแรงงาน - กระทรวงมหาดไทย

และรายได้ - กระทรวงอตุ สาหกรรม

ตัวชี้วดั ที่ 28 คนอายุ 60 ปี ขนึ้ ไป มอี าชพี - กระทรวงแรงงาน - กระทรวงพาณชิ ย์

และรายได้ - กระทรวงการพัฒนาสงั คม - กระทรวงเกษตรและ
และความมน่ั คงของมนษุ ย์ สหกรณ์
- หนว่ ยบญั ชาการทหาร

พัฒนา

ตวั ชว้ี ดั ท่ี 29 รายไดเ้ ฉล่ยี ของคนในครัวเรือน - กระทรวงมหาดไทย (พช.) - หนว่ ยบัญชาการทหาร

ต่อปี - กระทรวงอุตสาหกรรม พฒั นา

- กระทรวงพาณิชย์

- กระทรวงเกษตรและ

สหกรณ์

- กระทรวงแรงงาน

- กระทรวงการพัฒนาสงั คม

และความมนั่ คงของมนุษย์

ตัวชี้วดั ที่ 30 ครวั เรือนมกี ารเกบ็ ออมเงิน - กระทรวงมหาดไทย (พช.) - กระทรวงวัฒนธรรม

- กระทรวงการคลัง - กระทรวงศึกษาธิการ

- กระทรวงเกษตรและ

สหกรณ์

- กระทรวงการพฒั นาสังคม

และความมน่ั คงของมนษุ ย์

หมวดท่ี 5 การคมุ้ ครองทางสังคมและการมีส่วนร่วม มี 8 ตวั ชว้ี ัด

ตัวชี้วดั ท่ี 31 เด็กแรกเกดิ - 6 ปีท่ีครัวเรอื นมี - กระทรวงการพฒั นาสังคม - กระทรวงมหาดไทย

รายได้เฉลีย่ ไม่เกิน 100,000 และความมนั่ คงของมนุษย์

บาทต่อคนต่อปี ได้รับเงนิ - กระทรวงการคลัง

อดุ หนุนจากภาครฐั

ตวั ชว้ี ัดท่ี 32 ครัวเรอื นที่มีรายไดไ้ มเ่ กนิ - กระทรวงการพัฒนาสังคม

100,000 บาทต่อปี และมี และความมนั่ คงของมนุษย์

สมาชิกมคี ุณสมบัติอื่นครบตาม - กระทรวงการคลัง

เกณฑ์บัตรสวสั ดิการแห่งรฐั

ได้รับเงินสวัสดกิ ารจากรฐั

98

รายงานฉบับสมบูรณโ์ ครงการจัดทำเครอ่ื งช้ีวัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พ้ืนฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพ้นื ฐาน
ระดบั หม่บู ้าน (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ลำดบั ตัวชี้วัด หนว่ ยงานรับผดิ ชอบ

หนว่ ยงานหลกั หนว่ ยงานร่วม

ตัวชวี้ ัดท่ี 33 ครัวเรอื นไดร้ ับการคมุ้ ครองตาม - กระทรวงการพัฒนาสงั คม - กระทรวงแรงงาน

ระบบและมาตรการคุ้มครอง และความมน่ั คงของมนษุ ย์ - กระทรวงพาณชิ ย์

ทางสงั คม จากภาครฐั และหรือ - กระทรวงมหาดไทย

ชมุ ชน ภาคเอกชน - กระทรวงการคลัง

ตัวชว้ี ัดท่ี 34 ผ้สู งู อายไุ ด้รับการดแู ลจาก - กระทรวงการพฒั นาสังคม - กระทรวงมหาดไทย

ครอบครัว ชุมชน ภาครัฐ หรอื และความมน่ั คงของมนุษย์ - กระทรวงวฒั นธรรม

ภาคเอกชน - กระทรวงสาธารณสุข

ตวั ชี้วดั ท่ี 35 ผู้พกิ ารไดร้ บั การดแู ลจาก

ครอบครวั ชมุ ชน ภาครัฐ หรอื

ภาคเอกชน

ตัวชว้ี ดั ท่ี 36 ครอบครัวมีความอบอุ่น - กระทรวงการพฒั นาสังคม - กระทรวงวัฒนธรรม

และความมน่ั คงของมนษุ ย์ - กระทรวงมหาดไทย

- กระทรวงสาธารณสุข

ตัวชีว้ ัดท่ี 37 คนอายุ 6 ปีขนึ้ ไป ปฏิบตั ิ - กระทรวงวฒั นธรรม - กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

กิจกรรมทางศาสนาอย่างนอ้ ย

สัปดาห์ละ 1 ครง้ั

ตัวชี้วดั ที่ 38 ครวั เรือนมสี ว่ นร่วมทำกิจกรรม - กระทรวงมหาดไทย (พช.) - กระทรวงเกษตรและ

สาธารณะเพื่อประโยชนข์ อง - กระทรวง สหกรณ์

ชมุ ชนหรอื ท้องถ่นิ ทรพั ยากรธรรมชาติและ - หนว่ ยบัญชาการทหาร

สิง่ แวดล้อม พัฒนา

- กระทรวงศกึ ษาธกิ าร - กระทรวงสาธารณสุข

- สถาบนั พัฒนาองคก์ ร

ชุมชน(องคก์ ารมหาชน)

3.1.2 การจดั ทำเคร่อื งช้วี ัดข้อมลู พ้ืนฐานระดับหมบู่ า้ น (กชช. 2ค)
ผลจากการออกแบบเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูล กชช. 2ค แนวทางควบคุม

คุณภาพการจัดเก็บข้อมูลและรูปแบบการรายงานด้วยระบบสารสนเทศที่รองรับความต้องการของ
ทุกภาคส่วน และในครั้งนี้ กรมการพัฒนาชุมชน ได้มอบหมายให้สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษา
แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งได้ดำเนินการวิเคราะห์ประมวลผลจากการสอบถามความคิ ดเห็น
ผู้ใช้เครื่องชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูล กชช. 2ค เกี่ยวกับปัญหาและความต้องการของผู้ใช้ข้อมูล (ส่วน
ภูมิภาค) จำนวน 8 จังหวัด กระจายตามภูมิภาค รวมทั้งการวิเคราะห์ประมวลผลจากการสอบถามความ
คิดเห็นคณะทำงานปรับปรุงเครื่องชี้วัดคุณภาพชีวิตของประชาชน และจัดทำแบบสอบถามและเกณฑ์ช้ี
วดั ขอ้ มูล จปฐ

ตัวชีว้ ัดขอ้ มลู พ้นื ฐานระดับหมูบ่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ในชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

99

รายงานฉบบั สมบูรณ์โครงการจัดทำเครอื่ งชวี้ ดั และแบบสอบถามข้อมลู ความจำเป็นพนื้ ฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พน้ื ฐาน
ระดับหมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรับใช้ช่วงแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

จากการศึกษาและปรับปรุงเครื่องชี้วัดข้อมูล กชช. 2ค ที่จะนำมาใช้ในการจัดเก็บ

ขอ้ มลู ในชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาตฉิ บับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569) ประกอบด้วย 7

หมวด 44 ตวั ช้วี ดั ดงั นี้

หมวดท่ี 1 โครงสรา้ งพนื้ ฐาน มี 10 ตวั ชีว้ ดั

หมวดที่ 2 สภาพพนื้ ฐานทางเศรษฐกจิ มี 10 ตัวชี้วัด

หมวดท่ี 3 สขุ ภาวะและอนามยั มี 7 ตัวชี้วัด

หมวดท่ี 4 ความรู้และการศกึ ษา มี 4 ตัวชว้ี ดั

หมวดที่ 5 การมีสว่ นร่วมและความเขม้ แข็งของชมุ ชน มี 5 ตวั ชี้วดั

หมวดที่ 6 ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม มี 5 ตวั ชว้ี ดั

หมวดที่ 7 ความเสยี่ งของชมุ ชนและภัยพบิ ัติ มี 3 ตัวชวี้ ัด

ลำดับ ตวั ชี้วัด หน่วยงานรับผิดชอบ

หนว่ ยงานหลัก หนว่ ยงานร่วม

สว่ นท่ี 1 ข้อมูลพนื้ ฐานหมบู่ ้าน / ชุมชน

ตวั ชว้ี ดั ท่ี 1 ข้อมูลดา้ นประชากร

ส่วนที่ 2 ข้อมลู พื้นฐานระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) 7 หมวด 44 ตวั ชวี้ ดั

หมวดที่ 1 โครงสรา้ งพน้ื ฐาน (10 ตวั ชี้วดั )

ตวั ช้ีวดั ที่ 1 ถนน - กระทรวงคมนาคม - หน่วยบญั ชาการทหารพฒั นา

- กระทรวงมหาดไทย

ตัวชว้ี ดั ที่ 2 นำ้ ดมื่ - กระทรวงมหาดไทย - กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติ

และส่งิ แวดลอ้ ม

- หน่วยบญั ชาการทหารพฒั นา

- กระทรวงสาธารณสขุ

- กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ตัวชี้วดั ที่ 3 น้ำใช้ - กระทรวงมหาดไทย - กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ

และส่งิ แวดลอ้ ม

- หน่วยบญั ชาการทหารพฒั นา

- กระทรวงสาธารณสุข

- กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

- กระทรวงคมนาคม

ตวั ช้ีวัดที่ 4 น้ำเพอ่ื การเกษตร - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ - กระทรวงมหาดไทย

- หน่วยบัญชาการทหารพฒั นา

- กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติ

และสิ่งแวดลอ้ ม

ตวั ชี้วัดที่ 5 ไฟฟ้าและเชอื้ เพลิงใน - กระทรวงมหาดไทย -

การหงุ ต้ม - กระทรวงพลงั งาน

100

รายงานฉบับสมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเครอื่ งชว้ี ดั และแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พืน้ ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พ้ืนฐาน
ระดบั หมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ลำดบั ตวั ชว้ี ัด หนว่ ยงานรับผิดชอบ

หนว่ ยงานหลกั หน่วยงานรว่ ม

ตวั ชี้วดั ที่ 6 การมที ดี่ นิ ทำกนิ - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ - กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ

- กระทรวงมหาดไทย และสงิ่ แวดล้อม

- สำนักนายกรัฐมนตรี

ตัวชวี้ ัดท่ี 7 การตดิ ต่อสื่อสาร - กระทรวงดจิ ิทลั เพอื่ - สำนักงานคณะกรรมการกจิ การ

เศรษฐกิจและสังคม กระจายเสียง กิจการโทรทศั น์

และกจิ การโทรคมนาคม

แห่งชาติ

ตัวช้ีวัดที่ 8 ศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เล็ก - กระทรวงมหาดไทย - กระทรวงศกึ ษาธิการ

- กระทรวงสาธารณสขุ

ตวั ชี้วดั ที่ 9 สิ่งอำนวยความสะดวก - กระทรวงการพฒั นาสงั คม

คนพิการและผสู้ งู อายุ และความมนั่ คงของมนุษย์

- กระทรวงสาธารณสุข

ตัวชว้ี ัดที่ 10 พื้นทีส่ าธารณะสีเขยี ว - กระทรวง - กระทรวงการทอ่ งเทย่ี วและ

และพน้ื ทสี่ าธารณะ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ กีฬา

ประโยชน์ ส่งิ แวดล้อม - กระทรวงมหาดไทย

หมวดที่ 2 สภาพพื้นฐานทางเศรษฐกิจ (10 ตัวช้ีวดั )

ตวั ชว้ี ัดที่ 11 การมีงานทำ - กระทรวงแรงงาน - กระทรวงอุตสาหกรรม

- กระทรวงพาณิชย์

- กระทรวงมหาดไทย

- กระทรวงการพฒั นาสงั คมและ

ความมนั่ คงของมนษุ ย์

- กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

- กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

- หน่วยบัญชาการทหารพฒั นา

ตัวช้ีวัดที่ 12 การทำงานในสถาน - กระทรวงแรงงาน - กระทรวงอตุ สาหกรรม

ประกอบการ - กระทรวงพาณิชย์

- กระทรวงการพฒั นาสงั คมและ

ความม่ันคงของมนษุ ย์

- กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

- กระทรวงศึกษาธิการ

- หนว่ ยบญั ชาการทหารพฒั นา

ตวั ชี้วดั ที่ 13 รา้ นอาหารและรา้ นคา้ - กระทรวงพาณชิ ย์ - กระทรวงสาธารณสุข

- กระทรวงมหาดไทย

ตวั ชว้ี ัดที่ 14 ผลผลติ จากการทำนา - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ - หนว่ ยบญั ชาการทหารพฒั นา

ตัวชว้ี ดั ที่ 15 ผลผลติ จากการทำไร่ - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ - หนว่ ยบัญชาการทหารพฒั นา

ตัวชี้วดั ที่ 16 ผลผลติ จากการทำสวน - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ - หน่วยบญั ชาการทหารพฒั นา

101

รายงานฉบบั สมบูรณ์โครงการจัดทำเครื่องชวี้ ดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พื้นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พ้นื ฐาน
ระดับหมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ลำดบั ตวั ชี้วดั หน่วยงานรับผิดชอบ

หน่วยงานหลกั หน่วยงานรว่ ม

ตวั ชี้วดั ท่ี 17 ปศสุ ตั ว์และการประมง - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ - หนว่ ยบัญชาการทหารพฒั นา

ตวั ชี้วัดที่ 18 ผลผลติ จากการทำ - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ - หน่วยบัญชาการทหารพฒั นา

เกษตรอนื่ ๆ

ตวั ชี้วัดที่ 19 การประกอบ - กระทรวงอตุ สาหกรรม - หน่วยบัญชาการทหารพฒั นา

อตุ สาหกรรมใน - กระทรวงมหาดไทย

ครัวเรอื น

ตวั ชีว้ ดั ท่ี 20 การทอ่ งเท่ยี ว - กระทรวงการทอ่ งเทยี่ วและ - กระทรวงมหาดไทย

กฬี า - กระทรวงวฒั นธรรม

หมวดที่ 3 สขุ ภาวะและอนามัย (7 ตัวช้วี ัด)

ตัวชว้ี ดั ที่ 21 การปอ้ งกันโรคตดิ ต่อ - กระทรวงสาธารณสขุ - กระทรวงมหาดไทย

- กระทรวงแรงงาน

ตัวช้วี ดั ท่ี 22 การได้รับบรกิ ารและ - กระทรวงสาธารณสุข -

ดูแลสุขภาพอนามยั

ตัวชว้ี ดั ที่ 23 อนามยั แม่และเดก็ - กระทรวงสาธารณสุข -

ตัวช้ีวดั ที่ 24 สขุ ภาวะคนพกิ ารและ - กระทรวงสาธารณสุข - กระทรวงการพฒั นาสงั คมและ

ผู้สูงอายุ ความมนั่ คงของมนษุ ย์

ตวั ช้วี ดั ที่ 25 อนามยั สง่ิ แวดล้อม - กระทรวงสาธารณสุข -

ตัวชี้วัดท่ี 26 ความปลอดภัยในการ - กระทรวงแรงงาน - กระทรวงสาธารณสขุ

ทำงาน - กระทรวงอตุ สาหกรรม

ตัวช้ีวัดท่ี 27 การกฬี าและการออก - กระทรวงการท่องเทย่ี วและ - กระทรวงมหาดไทย

กำลังกาย กีฬา - กระทรวงศึกษาธกิ าร

หมวดท่ี 4 ความรู้และการศึกษา (4 ตัวชีว้ ดั )

ตวั ชีว้ ดั ที่ 28 การให้บรกิ ารด้าน - กระทรวงศกึ ษาธิการ - กระทรวงมหาดไทย

การศกึ ษา

ตัวชว้ี ดั ท่ี 29 ความรอบรู้ - กระทรวงดิจทิ ัลเพ่ือ - สำนกั งานคณะกรรมการกจิ การ

เศรษฐกจิ และสังคม กระจายเสยี ง กจิ การโทรทัศน์

- กระทรวงสาธารณสขุ และกจิ การโทรคมนาคม

- กระทรวงการคลัง แห่งชาติ

ตัวชี้วัดท่ี 30 การได้รับการ - กระทรวงแรงงาน - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ฝกึ อบรมดา้ นตา่ ง ๆ - กระทรวงศกึ ษาธิการ - กระทรวงมหาดไทย

- กระทรวงดิจิทัลเพือ่ เศรษฐกจิ

และสังคม

ตวั ชว้ี ดั ที่ 31 โอกาสเขา้ ถงึ ระบบ - กระทรวงศึกษาธิการ - กระทรวงการพัฒนาสังคมและ

การศึกษาของคนพิการ ความม่นั คงของมนษุ ย์

- กระทรวงดจิ ิทัลเพื่อเศรษฐกจิ

และสังคม

102

รายงานฉบับสมบรู ณโ์ ครงการจดั ทำเครือ่ งช้ีวัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พน้ื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพ้นื ฐาน
ระดบั หมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ลำดบั ตวั ชี้วัด หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบ

หน่วยงานหลกั หนว่ ยงานรว่ ม

หมวดท่ี 5 การมสี ว่ นร่วมและความเข้มแข็งของชุมชน (5 ตวั ชว้ี ดั )

ตัวช้วี ัดท่ี 32 การรวมกล่มุ ของ - กระทรวงมหาดไทย - กระทรวงการพฒั นาสังคมและ

ประชาชน ความมน่ั คงของมนษุ ย์

- กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

- กระทรวงสาธารณสุข

- กระทรวงศกึ ษาธิการ

- หนว่ ยบัญชาการทหารพฒั นา

- สถาบนั พฒั นาองค์กรชมุ ชน

(พอช.)

ตัวชี้วัดท่ี 33 การมสี ่วนรว่ มของ - กระทรวงมหาดไทย - กระทรวงการพฒั นาสังคมและ

ชมุ ชน ความม่ันคงของมนุษย์

- กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

- กระทรวงสาธารณสุข

- กระทรวงศึกษาธิการ

- กระทรวงดจิ ิทลั เพอื่ เศรษฐกจิ

และสงั คม

หน่วยบญั ชาการทหารพฒั นา

- สถาบนั พัฒนาองคก์ รชมุ ชน

(พอช.)

ตัวชว้ี ดั ท่ี 34 ความปลอดภัยของ - สำนกั งานตำรวจแหง่ ชาติ - กระทรวงยุติธรรม

หมู่บา้ น / ชมุ ชน - กระทรวงการพัฒนาสงั คมและ

ความมน่ั คงของมนุษย์

- กระทรวงมหาดไทย

ตวั ชวี้ ดั ที่ 35 ศาสนสถาน - กระทรวงวัฒนธรรม - กระทรวงมหาดไทย

ศนู ย์เรยี นรู้ชมุ ชนและ - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ภูมิปัญญาชมุ ชน - กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ

และสง่ิ แวดล้อม

ตัวชว้ี ดั ท่ี 36 การได้รบั ความ - กระทรวงการพัฒนาสังคม - สำนักงานตำรวจแหง่ ชาติ

คุม้ ครองทางสังคม และความมนั่ คงของมนุษย์ - กระทรวงยตุ ิธรรม

- กระทรวงมหาดไทย

หมวดท่ี 6 ทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม (5 ตัวชวี้ ดั )

ตัวช้วี ัดท่ี 37 การใช้ - กระทรวง - กระทรวงการท่องเทยี่ วและ

ทรพั ยากรธรรมชาติ ทรพั ยากรธรรมชาติและ กีฬา

และดูแลสง่ิ แวดลอ้ ม ส่ิงแวดล้อม - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ตวั ช้วี ดั ท่ี 38 คณุ ภาพดนิ - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ -

103

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการจดั ทำเครื่องชวี้ ัดและแบบสอบถามข้อมลู ความจำเป็นพ้นื ฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พน้ื ฐาน
ระดับหมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรับใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ลำดบั ตวั ช้ีวดั หน่วยงานรับผดิ ชอบ

หน่วยงานหลกั หนว่ ยงานร่วม

ตวั ชีว้ ัดท่ี 39 คณุ ภาพนำ้ - กระทรวง - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ทรัพยากรธรรมชาติและ - กระทรวงสาธารณสขุ

สิง่ แวดล้อม - กระทรวงมหาดไทย

- หนว่ ยบญั ชาการทหารพฒั นา

ตัวชว้ี ัดท่ี 40 การจัดการสภาพ - กระทรวง - กระทรวงมหาดไทย

สิ่งแวดล้อมอยา่ ง ทรพั ยากรธรรมชาติและ

ยงั่ ยนื สงิ่ แวดลอ้ ม

ตัวช้ีวดั ท่ี 41 การจัดการมลพษิ - กระทรวง - กระทรวงอตุ สาหกรรม

ทรพั ยากรธรรมชาติและ - กระทรวงสาธารณสุข

สิ่งแวดลอ้ ม - กระทรวงมหาดไทย

หมวดที่ 7 ความเส่ียงของชุมชนและภัยพบิ ตั ิ (3 ตัวชีว้ ัด)

ตัวชี้วดั ที่ 42 ความปลอดภยั จากยา - สำนักงานคณะกรรมการ - กระทรวงสาธารณสขุ

เสพติด ปอ้ งกันและปราบปรามยา - กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

เสพตดิ - กระทรวงมหาดไทย

- สำนักงานตำรวจแห่งชาติ

- หนว่ ยบญั ชาการทหารพฒั นา

ตวั ชี้วัดท่ี 43 ความปลอดภยั จาก - กระทรวงมหาดไทย - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ภัยพิบัติ - กระทรวงสาธารณสขุ

- กระทรวงศกึ ษาธิการ

- กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ

และส่งิ แวดล้อม

- กระทรวงการพัฒนาสังคมและ

ความม่นั คงของมนุษย์

- สำนักงานตำรวจแห่งชาติ

- หนว่ ยบญั ชาการทหารพฒั นา

ตวั ชี้วดั ที่ 44 ความปลอดภยั จาก - สำนักงานตำรวจแหง่ ชาติ - กระทรวงวัฒนธรรม

ความเสย่ี งในชุมชน - กระทรวงศึกษาธกิ าร

- กระทรวงมหาดไทย

- กระทรวงการพฒั นาสังคมและ

ความม่นั คงของมนษุ ย์

- กระทรวงดจิ ทิ ัลเพือ่ เศรษฐกิจ

และสงั คม

104

รายงานฉบบั สมบูรณโ์ ครงการจดั ทำเครอ่ื งชว้ี ัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พนื้ ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพื้นฐาน
ระดบั หมูบ่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

3.2 ผลการพัฒนารูปแบบควบคุมคุณภาพการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. และข้อมูล กชช. ๒ค
ที่เปน็ ไปตามหลักวชิ าการ และมีความสอดคล้องกับบริบทของชุมชน

3.2.1 กลไกและกระบวนการบรหิ ารจัดเกบ็ ข้อมูลความจำเป็นพ้นื ฐาน (จปฐ)

ระดับชาติ คณะกรรมการอำนวยการงานพฒั นาคุณภาพชวี ิตของประชาชน กลไกสนับสนนุ /เลขานกุ าร
ปลัดกระทรวง (พชช.)
มหาดไทย: ประธานฯ กรมการพฒั นาชุมชน
คณะทำงานปรับปรงุ เครอ่ื งชีว้ ดั ฯ
ระดบั จังหวัด สำนักงานพฒั นา
ผู้ว่าฯ หรือ รองผวู้ า่ 1 14 ชุมชนจังหวัด

: ประธานฯ คณะทำงานบริหารการจัดเก็บขอ้ มลู ฯ ระดบั จังหวัด

ระดับอำเภอ 2 13 สำนกั งานพฒั นา
นายอำเภอ ชุมชนอำเภอ
คณะทำงานบรหิ ารการจัดเกบ็ ข้อมูลฯ ระดับอำเภอ
: ประธานฯ

ระดบั ตำบล 3 12 พัฒนากรประจำตำบลและ
ผู้บรหิ ารท้องถ่นิ องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิน่
คณะทำงานบรหิ ารการจัดเกบ็ ขอ้ มูลฯ ระดบั ตำบล
: ประธานฯ
4 11

คณะผจู้ ัดเกบ็ ขอ้ มลู ระดบั ครวั เรือน

5 การไดร้ ับความรู้ นำเสนอข้อมูลระดบั 10
ความเข้าใจ ตำบล

การออกแบบวธิ กี าร ตรวจทานขอ้ มูล 9

6 จดั เกบ็ ข้อมลู

7 การจัดเกบ็ ข้อมูล บันทึกและประมวล 8
ข้อมลู

105

รายงานฉบบั สมบูรณ์โครงการจดั ทำเครื่องช้ีวัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พ้นื ฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พ้ืนฐาน
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ขั้นตอนท่ี กลไกขบั เคล่ือน ข้อเสนอกระบวนการ กลไก ระยะเวลา1
สนับสนุน กันยายน
1 คณะกรรมการอำนวยการ 1. ประชมุ ชีแ้ จงทำความเขา้ ใจ กรมการ
พฒั นาชมุ ชน ตุลาคม
งานพัฒนาคุณภาพชวี ติ เครอื่ งช้วี ัด จปฐ. ในแตล่ ะหมวด
สำนักงาน พฤศจกิ ายน
ของประชาชน (พชช.) 2. ระดมความคดิ ความคาดหวงั และ พฒั นาชมุ ชน
จังหวัด
โดยมปี ลดั กระทรวง ตวั ช้วี ดั ของแต่ละกระทรวง /
สำนักงาน
มหาดไทย เปน็ ประธาน หน่วยงานที่เกีย่ วข้อง พฒั นาชมุ ชน
อำเภอ
และมผี ูแ้ ทนกระทรวง/ 3. ออกแบบวธิ กี ารควบคมุ และ

หน่วยงานตา่ งๆ เป็น บรู ณาการการจัดเกบ็ ข้อมลู และ

กรรมการและมกี รมการ การใชป้ ระโยชน์ขอ้ มูล จปฐ.

พฒั นาชุมชนเปน็ ฝา่ ย รว่ มกนั ระหวา่ งหน่วยงาน

เลขานุการ 4. กำหนดการประชาสัมพนั ธ์ให้เกดิ

การตระหนักและรับรถู้ ึง

ความสำคญั ของขอ้ มลู และ

การนำข้อมูลไปใชป้ ระโยชนใ์ น

การพฒั นาประเทศร่วมกัน

5. แตง่ ต้งั คณะทำงานบรหิ าร

การจดั เก็บข้อมลู ฯ ระดับจังหวดั

2 คณะทำงานบรหิ ารการ 1. ประชุมชีแ้ จงทำความเขา้ ใจเคร่อื งชี้

จดั เก็บข้อมลู ฯ ระดบั จังหวัด วัด จปฐ. ในแตล่ ะหมวดกบั

โดยมผี ู้วา่ ราชการจังหวดั หนว่ ยงานทเี่ ก่ียวขอ้ งระดบั จงั หวดั

หรอื รองผู้ว่าราชการ 2. ออกแบบวธิ กี ารควบคุมและบรู ณา

จงั หวดั ทีผ่ ้วู ่าราชการ การการจดั เก็บขอ้ มลู

จงั หวัดมอบหมายเป็น และการใชป้ ระโยชนข์ อ้ มลู จปฐ.

ประธาน และมผี ู้แทนจาก ร่วมกนั ระหวา่ งหน่วยงานในจงั หวดั

หน่วยงานต่างๆ ในจังหวดั 3. กำหนดการประชาสมั พนั ธใ์ หเ้ กิด

เป็นกรรมการ และให้ การตระหนักและรบั รู้ถึง

สำนักงานพฒั นาชมุ ชน ความสำคญั ของขอ้ มลู และ

จงั หวัดเป็นเลขานุการ การนำขอ้ มลู ไปใช้ประโยชน์

4. แต่งตง้ั คณะคณะทำงานบริหาร

การจัดเก็บข้อมลู ฯ ระดบั อำเภอ

3 คณะทำงานบริหารการ 1. ประชุมชีแ้ จงทำความเข้าใจ
จดั เก็บข้อมูลฯ ระดบั อำเภอ เคร่ืองชี้วดั จปฐ. ในแตล่ ะหมวด
โดยมีนายอำเภอ เป็น กบั หนว่ ยงานที่เกย่ี วขอ้ งระดับ
ประธาน และมผี ูแ้ ทนจาก อำเภอและองค์กรปกครองส่วน
หน่วยงานต่างๆ ระดับ ทอ้ งถิน่ ในอำเภอ
อำเภอเปน็ กรรมการ ท้งั น้ี

1 เปน็ ขอ้ มูลทีต่ ้องดำเนนิ การจดั เกบ็ ทกุ ปี

106

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจดั ทำเคร่อื งชี้วัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พ้ืนฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พนื้ ฐาน
ระดบั หมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ขน้ั ตอนที่ กลไกขับเคลื่อน ข้อเสนอกระบวนการ กลไก ระยะเวลา1

สนับสนนุ

อาจจะใหผ้ ้บู รหิ ารองคก์ ร 2. ออกแบบวธิ กี ารควบคมุ และ
ปกครองส่วนท้องถนิ่ ทุก บรู ณาการการจดั เก็บขอ้ มลู และ
ทอ้ งถิน่ รว่ มเป็นกรรมการ การใชป้ ระโยชน์ขอ้ มูล จปฐ.
ดว้ ย และใหส้ ำนักงาน ร่วมกันระหวา่ งหนว่ ยงานใน
พฒั นาชุมชนอำเภอ อำเภอ
เป็นเลขานกุ าร 3. กำหนดการประชาสมั พนั ธใ์ ห้เกิด
การตระหนกั และรับร้ถู ึง
ความสำคัญของข้อมูลและการนำ
ขอ้ มูลไปใช้ประโยชน์
4. คณะทำงานบรหิ ารการจดั เก็บ
ขอ้ มูลฯ ระดับตำบล
4 คณะทำงานบริหารการ 1. ประชุมชแ้ี จงทำความเขา้ ใจ พัฒนากร พฤศจิกายน
จัดเกบ็ ข้อมลู ฯ ระดับตำบล เครอื่ งช้ีวัด จปฐ. ในแต่ละหมวด ประจำตำบล –กุมภาพันธ์
โดยมีนายกเทศมนตรี / กบั หนว่ ยงานทเี่ กีย่ วข้องระดับ และองค์กร
นายกองค์องค์การบริหาร ตำบล ปกครองสว่ น
สว่ นตำบล หรือปลดั องค์กร 2. แตง่ ตั้งคณะผจู้ ดั เกบ็ ขอ้ มูลระดบั ทอ้ งถิ่น
ปกครองสว่ นท้องถน่ิ เปน็ ครัวเรือน
ประธาน และมผี ูแ้ ทนจาก 3. ออกแบบวธิ ีการควบคุมและ
หนว่ ยงานตา่ ง ๆ ในตำบล การบรู ณาการการจดั เกบ็ ขอ้ มูล
เป็นกรรมการ ทั้งนี้อาจจะ และการใช้ประโยชน์ขอ้ มลู จปฐ.
แตง่ ตงั้ ผู้แทนจากคณะ ร่วมกนั ระหว่างหนว่ ยงานใน
ผจู้ ดั เกบ็ ข้อมลู ระดบั ตำบล
ครวั เรือนรว่ มเป็นกรรมการ 4. กำหนดการประชาสมั พันธ์ใหเ้ กดิ
ดว้ ย และใหพ้ ฒั นากรประจำ การตระหนักและรับรถู้ งึ
ตำบลและนักพัฒนาชมุ ชน ความสำคัญของข้อมูลและการนำ
ของ อปท. เป็นเลขานุการ ข้อมลู ไปใชป้ ระโยชน์
และผู้ช่วยเลขานกุ ารของ
คณะทำงาน

5 คณะผู้จดั เกบ็ ข้อมูลระดับ การไดร้ บั ความรู้ความเขา้ ใจ พัฒนากร
ครวั เรอื น 1. ทำความเขา้ ใจแบบสอบถามทุก ประจำตำบล
โดยพจิ ารณาความเหมาะสม ขอ้ อย่างละเอียด และองค์กร
ในแต่ละพน้ื ที่ ทงั้ นีอ้ าจจะ 2. อบรมเสริมสรา้ งความรคู้ วาม ปกครองส่วน
ประกอบด้วย กำนนั เขา้ ใจแบบสอบถาม เทคนิคและ ทอ้ งถิ่น
ผู้ใหญบ่ ้าน สมาชิกสภา ทกั ษะทส่ี ำคญั ในการจดั เก็บ
องคก์ ารบริหารส่วนตำบล ขอ้ มลู โดยวทิ ยากรท่มี คี วามรู้
(ส.อบต.) สมาชกิ สภา และความเชย่ี วชาญ
เทศบาล (สท.) อสม. อพม. 3. เสรมิ สรา้ งทัศนคตทิ ด่ี แี ละถกู ต้อง
กรรมการหมู่บ้าน หวั หน้า เกีย่ วกบั เกณฑแ์ ละตัวช้ีวดั ของ
คมุ้ /โซน เปน็ ตน้ โดยให้ จปฐ. เพ่อื ใหไ้ ด้ข้อมลู ท่ีเปน็

107

รายงานฉบบั สมบูรณ์โครงการจัดทำเครื่องช้วี ดั และแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พนื้ ฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พน้ื ฐาน
ระดับหมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ข้นั ตอนที่ กลไกขับเคลื่อน ขอ้ เสนอกระบวนการ กลไก ระยะเวลา1

สนบั สนุน

ประธานคณะทำงานบรหิ าร ประโยชน์ในการพัฒนาและ
การจัดเกบ็ ขอ้ มลู ฯ ระดับ กำหนดแนวทางการพฒั นา
ตำบลเปน็ ผ้แู ตง่ ตั้ง คณุ ภาพชีวิตได้อยา่ งถูกตอ้ ง
4. ควรให้คนในชมุ ชนมสี ่วนรว่ มใน
การจัดเก็บ เนอ่ื งจากการจดั เกบ็
ข้อมลู จปฐ. เปน็ เรอื่ งของ
กระบวนการเรียนรขู้ องคนใน
พืน้ ท่ี เพื่อเรยี นรวู้ ิถชี วี ติ ของ
ตนเอง และในขณะเดยี วกันก็เปน็
การสำรวจตนเองวา่ ไดร้ ับสิทธิ
สวสั ดกิ ารดา้ นตา่ ง ๆ ของรฐั
หรอื ไม่ ซ่งึ ผจู้ ดั เกบ็ ควรเป็นผู้ท่ีมี
ความใกลช้ ิดกับชุมชน หรือผูน้ ำ
หม่บู า้ น ซ่งึ จะไดข้ อ้ มูลที่มคี วาม
เป็นจรงิ มากทสี่ ุด และเข้าใจใน
บริบทของชุมชนตนเองมากทีส่ ดุ

6 คณะผู้จัดเก็บข้อมลู ระดบั การออกแบบวิธกี ารจดั เกบ็ ขอ้ มูล พฒั นากร
ครวั เรอื น 1. แบง่ การจัดเกบ็ ข้อมูลของแต่ละคน ประจำตำบล
ให้เหมาะสมกบั จำนวนครวั เรือน และองคก์ ร
ท่ีรับผดิ ชอบ เพ่ือให้การเก็บข้อมูล ปกครองสว่ น
แลว้ เสรจ็ ตามเวลาทีก่ ำหนด
2. การกำหนดแรงจูงใจเพมิ่ เตมิ ใน ทอ้ งถนิ่

การจดั เก็บข้อมูล นอกเหนอื จาก
คา่ ตอบแทนในการจดั เก็บข้อมูล
3. การจดั เกบ็ ข้อมลู จปฐ. อาจจะเปน็
แบบผสมผสานระหวา่ งแบบ
ออนไลน์ผา่ นเครื่องมืออิเล็กทรอนกิ ส์
และสมดุ คู่มือการจดั เกบ็ แบบเดมิ
ตามความเหมาะสมของบรบิ ทพน้ื ท่ี
7 คณะผ้จู ัดเก็บขอ้ มลู ระดับ การจัดเก็บข้อมลู
ครวั เรอื น พัฒนากร
1. ลงพน้ื ทเ่ี กบ็ ข้อมลู โดยการสมั ภาษณ์ ประจำตำบล
ข้อมูล จากหัวหนา้ ครวั เรือน หรอื และองคก์ ร
บุคคลในครวั เรือนทีส่ ามารถให้ ปกครองส่วน
ขอ้ มูลไดอ้ ยา่ งครบถว้ น ท้งั นี้ตอ้ งขอ
อนุญาตกอ่ นทุกครงั้ และอาจจะเชญิ ทอ้ งถนิ่

ชวนสมาชกิ ในครวั เรอื นรว่ มรับฟัง
และให้ข้อมลู ประกอบดว้ ย เพือ่
ความสมบรู ณแ์ ละถูกตอ้ งของขอ้ มลู
เพมิ่ มากข้นึ

108

รายงานฉบบั สมบูรณโ์ ครงการจดั ทำเครือ่ งชว้ี ัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พื้นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพ้ืนฐาน
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ข้ันตอนที่ กลไกขับเคลือ่ น ขอ้ เสนอกระบวนการ กลไก ระยะเวลา1
8 คณะผจู้ ัดเกบ็ ข้อมลู ระดับ
ครวั เรอื น สนบั สนุน

9 คณะผจู้ ัดเกบ็ ข้อมูลระดับ 2. หลงั จากการจดั เก็บข้อมลู ฯ ทกุ
ครวั เรือน ข้อครบเปน็ ทเ่ี รยี บรอ้ ยแล้วให้
หัวหน้าครวั เรอื นหรอื สมาชกิ ทใี่ ห้
10 คณะผู้จดั เกบ็ ขอ้ มูลระดับ ข้อมูลลงรายชอ่ื รบั รองความ
ครัวเรือน ถูกต้องของข้อมูล
บนั ทกึ และประมวลข้อมูล
11 คณะทำงานบรหิ ารการ พัฒนากร
จัดเก็บข้อมูลฯ ระดบั 1. การบนั ทกึ ขอ้ มูล ผจู้ ดั เก็บขอ้ มลู ประจำตำบล
ตำบล และผู้ให้ขอ้ มลู ชว่ ยกันสรปุ ผล และองคก์ ร
การจัดเก็บข้อมลู ของครัวเรือน ปกครองส่วน
ว่าผา่ นเกณฑแ์ ละไมผ่ า่ นเกณฑ์ใน ท้องถิน่
เรอ่ื งใดบ้าง
2. มอบหมายให้ผนู้ ำครอบครวั หรอื
สมาชิกในครอบครัวเพือ่ รบั ทราบ
และผลการจัดเก็บขอ้ มูลของ
ครัวเรือนตนเองและใชป้ ระโยชน์
จากข้อมูลรว่ มกนั ในการแก้ไขปญั หา
ของสมาชกิ ในครวั เรือนต่อไป
ตรวจทานขอ้ มูล
พฒั นากร
1. สอบทานข้อมลู ท่ีถกู ตอ้ งและ ประจำตำบล
เขม้ งวด ทงั้ นอ้ี าจจะผกู พันธก์ บั และองคก์ ร
คา่ ตอบแทนท่เี หมาะสม
2. จดั ให้มรี ะบบพีเ่ ลย้ี งในการตรวจทาน ปกครองส่วน
ขอ้ มลู
ท้องถนิ่

นำเสนอข้อมลู ระดับตำบล พฒั นากร
1. ประชมุ คณะผจู้ ัดเกบ็ ขอ้ มูลระดบั ประจำตำบล
ครวั เรอื นเพือ่ นำเสนอขอ้ มูลและ และองคก์ ร
เตรยี มนำเสนอใหค้ ณะทำงาน ปกครองส่วน
บริหารการจดั เกบ็ ขอ้ มลู ฯ ระดบั
ตำบลรบั รอง ท้องถิ่น

2. ร่วมกนั สรปุ และถอดบทเรียน
การจดั เกบ็ ขอ้ มูลท่ผี ่านมา
1. จดั เวทีนำเสนอขอ้ มลู จปฐ. พัฒนากร
ประจำปี
ประจำตำบล
2. จัดกระบวนการรับรองขอ้ มลู และองค์กร
ระดบั ตำบล
3. จดั ทำรายงานการพฒั นาคุณภาพ ปกครองส่วน
ชีวติ ระดับตำบล
ทอ้ งถิ่น

4. สอ่ื สารและประชาสัมพนั ธ์ผา่ น
ชอ่ งทางตา่ งๆ ในระดบั ตำบล

109

รายงานฉบับสมบรู ณ์โครงการจัดทำเครอ่ื งช้ีวัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พน้ื ฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พ้นื ฐาน
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ข้ันตอนท่ี กลไกขับเคลือ่ น ขอ้ เสนอกระบวนการ กลไก ระยะเวลา1
12 คณะทำงานบริหาร สนบั สนุน มีนาคม
การจดั เกบ็ ข้อมลู ฯ 5. วางแผนการพัฒนาคุณภาพชวี ิต สำนกั งาน เมษายน
ระดบั อำเภอ ในตวั ชีว้ ัดทต่ี กเกณฑร์ ะดบั ตำบล พฒั นาชมุ ชน
อำเภอ
13 คณะทำงานบรหิ าร 1. จัดเวทนี ำเสนอข้อมูล จปฐ.
การจัดเกบ็ ขอ้ มูลฯ ประจำปี ระดบั อำเภอ สำนกั งาน
ระดับจงั หวดั พฒั นาชุมชน
2. จัดกระบวนการรบั รองข้อมลู จังหวดั
14 คณะกรรมการอำนวยการ ระดับอำเภอ
งานพฒั นาคุณภาพชวี ติ กรมการ
ของประชาชน (พชช.) 3. จดั ทำรายงานการพัฒนาคณุ ภาพ พฒั นาชุมชน
ชวี ติ ระดบั อำเภอ

4. สื่อสารและประชาสมั พนั ธ์ผา่ น
ชอ่ งทางตา่ งๆ

5. วางแผนการพัฒนาคณุ ภาพชีวิต
ในตัวชว้ี ัดทตี่ กเกณฑ์ระดับอำเภอ

1. จดั เวทีนำเสนอขอ้ มูล จปฐ.
ประจำปี ระดับจงั หวัด

2. จดั กระบวนการรับรองขอ้ มลู
ระดับจังหวดั

3. จดั ทำรายงานการพัฒนาคุณภาพ
ชีวติ ระดบั จังหวดั

4. สอื่ สารและประชาสัมพนั ธผ์ า่ น
ชอ่ งทางตา่ งๆ

5. วางแผนการพฒั นาคุณภาพชีวิต
ในตัวชีว้ ดั ทต่ี กเกณฑ์ระดับจังหวัด

1. ใหค้ วามคดิ เหน็ และรับรองขอ้ มูล
จปฐ.

2. จัดทำรายงานการพัฒนาคณุ ภาพ
ชวี ติ คนไทยประจำปี

3. ส่ือสารและประชาสมั พนั ธผ์ า่ น
ช่องทางตา่ ง ๆ

4. วางแผนการพัฒนาคุณภาพชวี ิต
ในตัวชี้วัดทตี่ กเกณฑ์

110

รายงานฉบบั สมบูรณโ์ ครงการจัดทำเคร่ืองช้ีวัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พื้นฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพื้นฐาน
ระดับหมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

3.2.2 กลไกและกระบวนการบริหารจัดเก็บขอ้ มูลพน้ื ฐานระดบั หมู่บ้าน (กชช.2ค)

ระดับชาติ คณะกรรมการอำนวยการงานพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของประชาชน กลไกสนบั สนนุ /เลขานุการ
ปลดั กระทรวง (พชช.)
มหาดไทย: ประธานฯ กรมการพัฒนาชุมชน
คณะทำงานปรับปรุงเครื่องชวี้ ัดฯ
ระดบั จงั หวัด สำนกั งานพฒั นา
ผู้ว่าฯ หรอื รองผวู้ ่า 1 14 ชมุ ชนจงั หวัด

: ประธานฯ คณะทำงานบริหารการจดั เก็บข้อมลู ฯ ระดับจังหวดั

ระดับอำเภอ 2 13 สำนกั งานพฒั นา
นายอำเภอ ชมุ ชนอำเภอ
: ประธานฯ คณะทำงานบริหารการจดั เกบ็ ขอ้ มูลฯ ระดับอำเภอ

ระดับตำบล 3 12 พัฒนากรประจำตำบลและ
ผู้บริหารท้องถิ่น องค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ
คณะทำงานบรหิ ารการจัดเก็บขอ้ มูลฯ ระดับตำบล
: ประธานฯ
4 11

คณะผูจ้ ดั เก็บขอ้ มลู ระดับครัวเรือน

5 การได้รบั ความรู้ นำเสนอข้อมลู ระดบั 10
ความเขา้ ใจ ตำบล

6 การออกแบบวธิ กี าร ตรวจทานข้อมลู 9
จัดเกบ็ ขอ้ มลู

7 การจดั เกบ็ ขอ้ มูล บันทึกและประมวล 8
ข้อมูล

111

รายงานฉบบั สมบรู ณ์โครงการจัดทำเครอ่ื งชี้วดั และแบบสอบถามข้อมลู ความจำเปน็ พืน้ ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พื้นฐาน
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ขั้นตอนท่ี กลไกขับเคล่ือน ข้อเสนอกระบวนการ กลไก ระยะเวลา2
1 สนบั สนนุ กนั ยายน
คณะกรรมการ 1. ประชุมชี้แจงทำความเขา้ ใจ กรมการ
2 อำนวยการงานพฒั นา เครอื่ งชวี้ ัดข้อมูลพน้ื ฐานระดบั พฒั นาชุมชน ตลุ าคม
คณุ ภาพชวี ติ ของ หมู่บ้าน (กชช.2ค) ในแต่ละ
ประชาชน (พชช.) หมวด สำนกั งาน
โดยมีปลดั กระทรวง พัฒนาชุมชน
มหาดไทย เปน็ ประธาน 2. ระดมความคิดความคาดหวงั และ จงั หวดั
และมผี แู้ ทนกระทรวง/ ตัวชีว้ ดั ของแตล่ ะกระทรวง /
หน่วยงานตา่ ง ๆ เป็น หน่วยงานท่เี กย่ี วข้อง
กรรมการ และมีกรมการ
พัฒนาชมุ ชนเปน็ ฝา่ ย 3. ออกแบบวิธกี ารควบคุมและ
เลขานุการ บรู ณาการการจดั เกบ็ ข้อมลู และ
การใช้ประโยชนข์ ้อมลู พนื้ ฐาน
คณะทำงานบริหาร ระดับหม่บู า้ น (กชช.2ค) ร่วมกนั
การจัดเกบ็ ขอ้ มูลฯ ระหวา่ งหนว่ ยงาน
ระดับจงั หวดั
โดยมผี วู้ า่ ราชการ หรอื 4. กำหนดการประชาสมั พันธ์ให้เกิด
รองผู้วา่ ราชการทผี่ ู้วา่ การตระหนกั และรบั รู้ถงึ
ราชการมอบหมายเปน็ ความสำคญั ของข้อมูลและการนำ
ประธาน และมผี ู้แทน ขอ้ มูลไปใชป้ ระโยชนใ์ นการ
จากหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ใน พัฒนาประเทศรว่ มกนั
จังหวดั เป็นกรรมการ
และให้ สำนกั งานพฒั นา 5. แต่งตงั้ คณะทำงานบริหารการ
ชมุ ชนจังหวดั เป็น จัดเกบ็ ขอ้ มูลฯ ระดับจังหวดั
เลขานกุ าร
1. ประชุมช้แี จงทำความเข้าใจ
เคร่อื งช้ีวดั ขอ้ มลู พ้นื ฐานระดบั
หมูบ่ ้าน (กชช.2ค) ในแต่ละ
หมวดกบั หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง
ระดับจงั หวดั

2. ออกแบบวิธกี ารควบคุมและ
บรู ณาการการจัดเก็บข้อมลู และ
การใช้ประโยชน์ข้อมลู พนื้ ฐาน
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช.2ค) รว่ มกัน
ระหว่างหน่วยงานในจังหวัด

3. กำหนดการประชาสัมพันธ์ใหเ้ กิด
การตระหนกั และรับรูถ้ งึ
ความสำคญั ของขอ้ มลู และการนำ
ข้อมูลไปใช้ประโยชน์

4. แตง่ ต้งั คณะคณะทำงานบริหาร
การจัดเกบ็ ข้อมูลฯ ระดับอำเภอ

2 เป็นขอ้ มูลท่ีตอ้ งดำเนนิ การจัดเกบ็ ทุก 2 ปี

112

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเครอื่ งช้วี ัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พนื้ ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พน้ื ฐาน
ระดับหม่บู ้าน (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ขน้ั ตอนที่ กลไกขบั เคลอื่ น ขอ้ เสนอกระบวนการ กลไก ระยะเวลา2
สนบั สนนุ

3 คณะทำงานบริหารการ 1. ประชุมชี้แจงทำความเข้าใจ สำนักงาน พฤศจิกายน

จดั เกบ็ ข้อมลู ฯ ระดับ เครอ่ื งชว้ี ดั ในแต่ละหมวดกับ พฒั นาชุมชน

อำเภอ หน่วยงานที่เก่ียวขอ้ งระดับอำเภอ อำเภอ

โดยมีนายอำเภอ เป็น และองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ใน

ประธาน และมผี ู้แทน อำเภอ

จากหน่วยงานตา่ ง ๆ 2. ออกแบบวิธกี ารควบคมุ และ

ระดับอำเภอเป็น บรู ณาการการจัดเก็บข้อมูลและ

กรรมการ ทั้งนอี้ าจจะให้ การใช้ประโยชนข์ ้อมลู พนื้ ฐาน

ผบู้ ริหารองค์กรปกครอง ระดับหมู่บ้าน (กชช.2ค) ร่วมกนั

สว่ นท้องถน่ิ ทุกแห่งร่วม ระหว่างหน่วยงานในอำเภอ

เป็นกรรมการดว้ ย และ 3. กำหนดการประชาสัมพันธใ์ ห้เกดิ

ใหส้ ำนักงานพัฒนา การตระหนักและรบั ร้ถู งึ

ชมุ ชน เปน็ เลขานกุ าร ความสำคัญของข้อมลู และการนำ

ขอ้ มูลไปใช้ประโยชน์

4. คณะทำงานบริหารการจดั เก็บ

ข้อมลู ฯ ระดับตำบล

4 คณะทำงานบรหิ ารการ 1. ประชมุ ชีแ้ จงทำความเข้าใจ พฒั นากร พฤศจิกายน

จัดเก็บขอ้ มลู ฯ ระดับ เครือ่ งชว้ี ัดขอ้ มลู พืน้ ฐานระดบั ประจำตำบล –กุมภาพันธ์

ตำบล หม่บู ้าน (กชช.2ค) ในแต่ละหมวด และองคก์ ร

โดยมีนายกเทศมนตรี / กับหนว่ ยงานทีเ่ กี่ยวขอ้ งระดบั ปกครองส่วน

นายกองคก์ ารบรหิ าร ตำบล ทอ้ งถ่ิน

สว่ นตำบล หรือปลดั 2. แต่งตง้ั คณะผ้จู ดั เกบ็ ข้อมลู ระดบั

องคก์ รปกครองส่วน ครวั เรือน

ทอ้ งถิน่ เป็นประธานและ 3. ออกแบบวธิ ีการควบคมุ และ

มีผแู้ ทนจากหน่วยงาน การบูรณาการการจดั เกบ็ ข้อมูล

ตา่ งๆ ในตำบลเป็น และการใชป้ ระโยชนข์ อ้ มลู

กรรมการ ทงั้ นีอ้ าจจะ กชช.2ค. ร่วมกนั ระหวา่ ง

แตง่ ตัง้ ผู้แทนจากคณะ หน่วยงานในตำบล

ผจู้ ดั เก็บข้อมลู ระดบั 4. กำหนดการประชาสัมพนั ธ์ใหเ้ กิด

ครวั เรอื นรว่ มเปน็ การตระหนักและรบั ร้ถู ึง

กรรมการด้วย และให้ ความสำคัญของข้อมูลและการนำ

พัฒนากรประจำตำบล ข้อมลู ไปใชป้ ระโยชน์

และนกั พัฒนาชุมชนของ

อปท.เปน็ เลขานกุ ารและ

ผู้ชว่ ยเลขานุการของ

คณะทำงาน

113

รายงานฉบบั สมบูรณ์โครงการจดั ทำเครอ่ื งชว้ี ดั และแบบสอบถามข้อมูลความจำเปน็ พื้นฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพน้ื ฐาน
ระดับหมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ขน้ั ตอนที่ กลไกขบั เคลือ่ น ข้อเสนอกระบวนการ กลไก ระยะเวลา2
5 คณะผ้จู ดั เกบ็ ขอ้ มลู สนบั สนนุ
ระดบั หมบู่ ้าน การได้รบั ความรู้ความเข้าใจ พัฒนากร
6 โดยพจิ ารณาความ 1. ทำความเขา้ ใจแบบสอบถาม ประจำตำบล
เหมาะสมในแตล่ ะพน้ื ท่ี และองคก์ ร
ทงั้ น้ีอาจจะประกอบด้วย ทุกขอ้ อย่างละเอียด ปกครองส่วน
กำนนั ผูใ้ หญ่บ้าน 2. อบรมเสริมสรา้ งความรคู้ วาม ทอ้ งถ่ิน
สมาชกิ สภาองค์การ
บริหารส่วนตำบล เขา้ ใจแบบสอบถาม เทคนคิ และ พฒั นากร
(ส.อบต.) สมาชิกสภา ทักษะที่สำคัญในการจัดเก็บ ประจำตำบล
เทศบาล (สท.) อสม. ขอ้ มูล โดยวทิ ยากรที่มคี วามรู้ และองค์กร
อพม. กรรมการหม่บู ้าน และความเชยี่ วชาญ ปกครองสว่ น
หวั หน้าค้มุ /โซน เปน็ ตน้ 3. เสริมสรา้ งทัศนคติทดี่ แี ละถกู ต้อง ท้องถนิ่
โดยใหป้ ระธาน เกยี่ วกับเกณฑ์และตวั ชีว้ ดั ของ
คณะทำงานบริหาร ข้อมลู พืน้ ฐานระดบั หมบู่ า้ น
การจดั เกบ็ ข้อมลู ฯ (กชช.2ค) เพอื่ ใหไ้ ด้ขอ้ มูลทเี่ ปน็
ระดบั ตำบลเปน็ ผูแ้ ตง่ ต้งั ประโยชน์ในการพฒั นาและ
กำหนดแนวทางการพฒั นา
คณะผจู้ ัดเก็บขอ้ มลู คณุ ภาพชีวิตได้อยา่ งถกู ตอ้ ง
ระดับหม่บู ้าน 4. ควรให้คนในชมุ ชนมสี ว่ นร่วมใน
การจดั เก็บ เน่ืองจากการจดั เกบ็
ขอ้ มลู ขอ้ มูลพน้ื ฐานระดบั หม่บู า้ น
(กชช.2ค) เป็นเร่อื งของ
กระบวนการเรยี นรู้ของคนใน
พ้นื ท่ี เพอ่ื เรียนรู้วิถีชีวติ ของ
ตนเอง และในขณะเดยี วกันก็เปน็
การสำรวจตนเองวา่ ไดร้ บั สทิ ธิ
สวัสดิการดา้ นตา่ ง ๆ ของรัฐ
หรือไม่ ซง่ึ ผจู้ ัดเกบ็ ควรเป็น
ผ้ทู ่ีมีความใกลช้ ดิ กบั ชมุ ชน หรือ
ผนู้ ำหมบู่ า้ น ซง่ึ จะไดข้ ้อมลู ทมี่ ี
ความเปน็ จรงิ มากท่ีสดุ และ
เขา้ ใจในบรบิ ทของชุมชนตนเอง
มากท่ีสดุ

การออกแบบวธิ กี ารจดั เกบ็ ข้อมลู
1. การจัดเก็บขอ้ มูลพ้นื ฐานระดับ

หม่บู ้าน (กชช.2ค) ตามความ
เหมาะสมของบริบทพนื้ ที่

114

รายงานฉบบั สมบูรณโ์ ครงการจัดทำเคร่อื งชี้วดั และแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเป็นพืน้ ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพน้ื ฐาน
ระดบั หม่บู า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ขนั้ ตอนท่ี กลไกขบั เคล่อื น ข้อเสนอกระบวนการ กลไก ระยะเวลา2
7 คณะผจู้ ดั เก็บขอ้ มลู สนับสนนุ
ระดบั หมู่บา้ น การจดั เกบ็ ข้อมลู พฒั นากร
1. ลงพื้นท่ีเก็บข้อมูลโดยการ ประจำตำบล
8 คณะผู้จัดเกบ็ ขอ้ มลู และองค์กร
ระดับหมบู่ ้าน สัมภาษณ์ หรือสนทนากลุม่ กบั ปกครองสว่ น
ผนู้ ำชมุ ชน และอาจจะเชิญชวน ท้องถ่ิน
9 คณะผจู้ ัดเกบ็ ข้อมลู สมาชิกในชุมชนร่วมรบั ฟงั และให้
ระดับหมูบ่ า้ น ข้อมูลประกอบด้วย เพอ่ื ความ พฒั นากร
สมบูรณแ์ ละถกู ต้องของข้อมูล ประจำตำบล
10 คณะผู้จดั เกบ็ ข้อมลู เพิ่มมากขนึ้ และองค์กร
ระดบั หมบู่ ้าน 2. หลงั จากการจดั เกบ็ ขอ้ มูลฯ ปกครองสว่ น
ทกุ ขอ้ ครบเปน็ ทเ่ี รยี บรอ้ ยแล้ว ทอ้ งถิ่น
ผนู้ ำชมุ ชนลงรายชื่อรับรอง
ความถกู ต้องของข้อมูล พัฒนากร
บันทกึ และประมวลข้อมูล ประจำตำบล
1. การบนั ทกึ ขอ้ มูล ผจู้ ัดเกบ็ ข้อมลู และองคก์ ร
และผู้ใหข้ อ้ มลู ว่าผา่ นเกณฑ์และ ปกครองสว่ น
ไมผ่ ่านเกณฑใ์ นเรอื่ งใดบา้ ง ทอ้ งถิ่น
2. มอบหมายใหผ้ ู้นำชมุ ชนเพื่อ พฒั นากร
รบั ทราบและผลการจดั เกบ็ ข้อมูล ประจำตำบล
ของครวั เรือนตนเองและใช้ และองคก์ ร
ประโยชนจ์ ากขอ้ มูลรว่ มกันใน ปกครองส่วน
การแก้ไขปัญหาของสมาชิกใน ท้องถิ่น
ครวั เรอื นตอ่ ไป
ตรวจทานข้อมลู
1. สอบทานขอ้ มลู ท่ีถกู ตอ้ งและ
เขม้ งวด ทั้งนี้อาจจะผกู พันธก์ บั
คา่ ตอบแทนทีเ่ หมาะสม

นำเสนอข้อมลู ระดบั ตำบล
1. ประชมุ คณะผจู้ ดั เก็บขอ้ มูลระดบั

ครัวเรือนเพอ่ื นำเสนอขอ้ มลู และ
เตรียมนำเสนอให้คณะทำงาน
บรหิ ารการจดั เกบ็ ขอ้ มูลฯ ระดับ
ตำบลรบั รอง
2. รว่ มกนั สรุปและถอดบทเรยี น
การจดั เกบ็ ขอ้ มูลท่ผี ่านมา

115

รายงานฉบับสมบรู ณ์โครงการจดั ทำเคร่ืองชว้ี ดั และแบบสอบถามข้อมลู ความจำเปน็ พ้ืนฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พืน้ ฐาน
ระดับหมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ข้นั ตอนท่ี กลไกขบั เคล่อื น ขอ้ เสนอกระบวนการ กลไก ระยะเวลา2
11 คณะทำงานบริหาร สนบั สนนุ
การจดั เกบ็ ขอ้ มูลฯ
ระดับตำบล 1. จัดเวทนี ำเสนอข้อมูลพื้นฐาน พฒั นากร

12 คณะทำงานบริหาร ระดบั หม่บู า้ น (กชช.2ค) ประจำตำบล
การจัดเกบ็ ข้อมูลฯ
ระดบั อำเภอ ประจำปี และองคก์ ร

13 คณะทำงานบรหิ ารการ 2. จดั กระบวนการรบั รองข้อมูล ปกครองส่วน
จัดเกบ็ ขอ้ มูลฯ ระดบั
จงั หวดั ระดับตำบล ท้องถ่ิน

3. จดั ทำรายงานการพฒั นาหมู่บา้ น

ชนบทไทยระดับตำบล

4. สอื่ สารและประชาสมั พนั ธ์ผา่ น

ช่องทางตา่ ง ๆ ในระดับตำบล

5. วางแผนการพฒั นาหมู่บา้ นชนบท

ในตวั ชวี้ ัดทตี่ กเกณฑ์ระดับตำบล

1. จดั เวทีนำเสนอข้อมลู พื้นฐาน สำนักงาน

ระดบั หมบู่ ้าน (กชช.2ค) พฒั นาชุมชน

ประจำปี ระดับอำเภอ อำเภอ

2. จัดกระบวนการรบั รองขอ้ มูล

ระดับอำเภอ

3. จดั ทำรายงานการพัฒนาหมบู่ า้ น

ชนบทไทยระดับอำเภอ

4. สอ่ื สารและประชาสัมพนั ธผ์ า่ น

ช่องทางตา่ งๆ

5. วางแผนการพฒั นาหมบู่ า้ นชนบท

ไทยในตวั ช้วี ัดท่ตี กเกณฑร์ ะดบั

อำเภอ

1. จดั เวทนี ำเสนอขอ้ มลู พนื้ ฐาน สำนักงาน มีนาคม

ระดบั หมบู่ า้ น (กชช.2ค) พฒั นาชมุ ชน

ประจำปี ระดบั จังหวัด จงั หวดั

2. จดั กระบวนการรบั รองขอ้ มูล

ระดับจังหวดั

3. จดั ทำรายงานการพฒั นาหม่บู า้ น

ชนบทไทยระดับจงั หวดั

4. สอ่ื สารและประชาสัมพนั ธผ์ า่ น

ช่องทางตา่ ง ๆ

5. วางแผนการพัฒนาหม่บู า้ นชนบท

ไทยในตัวชวี้ ัดทตี่ กเกณฑร์ ะดบั

จงั หวดั

116

รายงานฉบับสมบูรณโ์ ครงการจัดทำเครือ่ งชี้วดั และแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเป็นพนื้ ฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพ้ืนฐาน
ระดับหมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ขน้ั ตอนที่ กลไกขบั เคลื่อน ขอ้ เสนอกระบวนการ กลไก ระยะเวลา2
สนบั สนุน เมษายน
14 คณะกรรมการ 1. ให้ความคดิ เห็นและรบั รองข้อมูล
อำนวยการงานพฒั นา พ้ืนฐานระดับหมบู่ ้าน (กชช.2ค) กรมการ
คุณภาพชีวติ ของ พัฒนาชมุ ชน
ประชาชน (พชช.) 2. จัดทำรายงานการพัฒนาหม่บู า้ น
ชนบทไทยประจำปี

3. ส่ือสารและประชาสัมพนั ธ์ผา่ น
ชอ่ งทางตา่ ง ๆ

4. วางแผนการพฒั นาหมบู่ า้ นชนบท
ไทยในตัวชี้วดั ทีต่ กเกณฑ์

3.3 ผลการพัฒนารปู แบบการรายงานขอ้ มูล จปฐ. และข้อมูล กชช.๒ ค ด้วยระบบ
สารสนเทศที่รองรบั ความต้องการของทกุ ภาคส่วน

3.3.1 รปู แบบการรายงานขอ้ มลู ความจำเปน็ พ้นื ฐาน (จปฐ.)
1. คำอธบิ ายตัวช้ีวดั ข้อมูลความจำเปน็ พื้นฐาน (จปฐ.)
การจัดเก็บข้อมูลและผู้จัดเก็บข้อมูลความจำเป็นพื้นฐานทุกท่านจะต้องทำ

ความเข้าใจกับวัตถุประสงค์ จุดมุ่งหมาย และความหมายของแต่ละตัวชี้วัดให้ชัดเจน จึงจะสามารถ
ดำเนินการจดั เกบ็ ขอ้ มูลได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ ซ่ึงความหมายและคำอธบิ ายเพ่ิมเติมสำหรบั ตวั ช้ีวัดข้อมูล
ความจำเปน็ พืน้ ฐาน ปี 2565 - 2569 มี 5 หมวด 38 ตัวชี้วดั ดงั นี้

หมวดที่ 1 สุขภาพ มี 12 ตัวชวี้ ัด

ตัวชว้ี ดั ความหมายตวั ชว้ี ดั คำอธิบายเพม่ิ เติม

1. การฝาก • ในช่วงเวลา 1 ปี ก่อนการสัมภาษณ์ หญิง • การฝากครรภ์คุณภาพ หมายถึง การบริการ
ครรภ์อยา่ งมี ตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์และดูแลครรภ์จาก ฝากครรภ์ในหญิงตั้งครรภ์รายปกติที่ไม่มี
คุณภาพ บุคลากรสาธารณสุข ครบ 5 ครั้ง การฝากครรภ์ ความเสี่ยง โดยผ่านการคัดกรองและประเมิน
คณุ ภาพ ความเสี่ยงจากสถานบริการสาธารณสุข พร้อม
ได้รับการใหค้ วามรู้ตามมาตรฐานโรงเรยี นพอ่ แม่
ซักประวตั ิ ตรวจรา่ งกาย ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ได้รับวิตามินฯลฯ ตามสิทธิประโยชน์ และหญิง
ตั้งครรภ์ที่ได้รับการประเมินไม่อยู่ในกลุ่มเสี่ยง
ได้มาฝากครรภ์ตามนัด จำนวน 5 คร้ังดังนี้
การนดั ครง้ั ที่ 1 เมื่ออายุครรภ์ ≤ 12 สัปดาห์
การนดั คร้งั ที่ 2 เมอ่ื อายคุ รรภ์ 13 - < 20 สปั ดาห์
การนัดครง้ั ที่ 3 เมื่ออายคุ รรภ์ 20 - < 26 สปั ดาห์
การนัดครั้งท่ี 4 เมือ่ อายคุ รรภ์ 26 - < 32 สัปดาห์
การนัดครง้ั ที่ 5 เมอ่ื อายคุ รรภ์ 32 - 40 สปั ดาห์

117

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการจดั ทำเครื่องช้ีวัดและแบบสอบถามข้อมลู ความจำเปน็ พื้นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพ้ืนฐาน
ระดับหมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตัวช้วี ัด ความหมายตวั ช้วี ดั คำอธิบายเพ่ิมเตมิ
2. เด็กแรกเกิด • เด็กแรกเกิดที่สมบูรณ์แข็งแรงจะต้องมี
มนี ำ้ หนกั น้ำหนกั ตวั เมือ่ แรกเกิด 2,500 กรมั ข้นึ ไป • ปกติเด็กทารกที่มีน้ำหนักไม่น้อยกว่า
2,500 กรัม 2,500 กรัม อัตราการเกิดและมีชีวิตรอดจะสงู
ข้นึ ไป • เดก็ แรกเกดิ ถงึ 6 เดือน ได้กนิ นมแมอ่ ย่าง กว่าเด็กทารกที่มีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
เดียวเป็นเวลาติดต่อกัน อย่างน้อย 6 เดือน นอกจากนี้ยงั มีผลต่อการพัฒนาทางร่างกายและ
3. เดก็ แรกเกิด แรก โดยไม่ใหก้ นิ อาหารอย่างอื่นเลยแม้แตน่ ำ้ สมองของเดก็ ทารกดว้ ย
ไดก้ นิ นมแม่ กลว้ ยหรือขา้ วบด
อย่างเดยี ว • หากเด็กทารกที่เกิดเป็นฝาแฝดก็ให้ใช้เกณฑ์
อยา่ งนอ้ ย น้ำหนักเดียวกันนี้ โดยไม่สามารถยกเว้นได้
6 เดอื นแรก เพราะน้ำหนักของเด็กแรกเกิดทุกคนเป็นนำ้ หนัก
ติดต่อกนั เฉพาะตัวเด็กแรกเกิดแต่ละคน ดังนั้นเด็ก
แรกเกิดจึงต้องใช้เกณฑ์น้ำหนักมาตรฐาน
เดียวกันคือไมน่ อ้ ยกวา่ 2,500 กรัม

• เด็กคนใดที่มีน้ำหนักแรกเกดิ น้อยกวา่ 2,500
กรมั ถือว่า “ไมผ่ า่ นเกณฑ์”

• กินนมแมอ่ ย่างเดียว หมายถึง การให้เด็กกนิ
เฉพาะนมแม่อย่างเดียวเท่านั้น โดยไม่ให้กิน
อยา่ งอืน่ เลย แม้กระทง่ั น้ำเพราะนมแมม่ ีปริมาณ
น้ำเพียงพอสำหรับทารก มีภูมิคุ้มกันโรคและ
คุณค่าทางโภชนาการครบถ้วนเหมาะสมกับการ
เจริญเติบโตสำหรับทารก ถ้าให้ทารกดื่มน้ำหรือ
อาหารอื่นร่วมด้วยจะทำให้เด็กกินนมแม่ได้
น้อยลง เด็กจะได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ และ
นมแม่ยังมีสารป้องกันการเกิดเชื้อราในปาก (ฝ้า
ในปาก) จึงไม่ควรดื่มน้ำตามหลังกินนม (ที่ไม่ใช่
นมแม่) กินกลว้ ยบด ข้าวบด หรอื น้ำขา้ วก็ไม่ได้
กลุ่มเป้าหมายในการสำรวจมี 2 กลุม่ ดงั น้ี

1. เด็กที่มีอายุน้อยกว่า 6 เดือน มี
วัตถุประสงค์เพื่อเน้นการเฝ้าระวังติดตามใน
การดม่ื นมแม่ติดต่อกนั จนถงึ วันทสี่ ำรวจ

2. เด็กที่มีอายุ 6 เดือนถึง 1 ปี มี
วัตถุประสงค์เพื่อการวัดผลการเลี้ยงลูกด้วยนม
แม่ตามมาตรฐานสากลเพื่อความปลอดภัยใน
ชีวิตและการเจริญเติบโตที่มีคุณภาพของเด็ก
ทารกต่อไป

• เด็กอายนุ อ้ ยกว่า 6 เดือนทุกคน ได้กินนมแม่
อย่างเดยี วตง้ั แตแ่ รกเกิดเป็นเวลาติดต่อกันจนถึง
วันท่สี ำรวจ

• เด็กอายุตั้งแต่ 6 เดือนถึง 1 ปีทุกคน ได้กิน
นมแม่อย่างเดียวเป็นระยะเวลา 6 เดือนแรก
ติดตอ่ กัน

118

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจดั ทำเคร่ืองช้ีวดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พน้ื ฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พน้ื ฐาน
ระดบั หม่บู า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตัวช้วี ัด ความหมายตวั ชีว้ ัด คำอธบิ ายเพ่มิ เตมิ
• การได้รับวัคซีนป้องกันโรคครบตามตาราง
4. เดก็ แรกเกดิ • การได้รับวัคซีนครบตามชนิด จำนวน สร้างเสริมภูมิคุ้มกันครบ หมายถึง การได้รับ
ถงึ 12 ปี ไดร้ ับ และช่วงอายุ ตามที่กำหนดไว้ในตารางสร้าง วัคซีนครบตามจำนวน ชนิด และช่วงอายุที่
วคั ซนี ป้องกัน เสริมภูมิคุ้มกันโรคจากสมุดบันทึกสุขภาพดี กำหนดไวใ้ นตารางสร้างเสริมภมู คิ มุ้ กันโรค
โรคครบตาม (สมุดสชี มพ)ู
ตารางสรา้ ง • สำหรับการประเมินเด็กอายุ 1 ปีถึง 2 ปี • คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการ
เสริมภมู คิ ุม้ กัน เต็ม ให้ประเมินเด็กที่เกิดในวัน/เดือน/ปี ที่ เ ด ็ ก ปฐมว ั ย หร ื อ DSPM-Developmental
โรค สำรวจยอ้ นหลัง 1-2 ปีที่ผ่านมา เช่น สำรวจ Surveillance and Promotion Manual หมายถึง
แบบประเมินพัฒนาการเด็กตั้งแต่แรกเกิดถึง 5
วนั ที่ 25 มกราคม 2566 เด็กอายุ 1 ปถี งึ 2 ปี ที่เป็นคู่มือเพื่อให้พ่อ แม่ ผู้ปกครองและอสม.
ใช้เฝ้าระวังการเจริญเติบโตของลูกหลานอย่าง
ปเี ต็ม คือเดก็ ท่เี กดิ ระหว่างวันท่ี 25 มกราคม ใกล้ชิด หากสงสัยล่าช้าก็สามารถแก้ไขส่งเสริม
ให้เด็กมีพัฒนาการสมวัย ตามคำแนะนำในคู่มือ
2558 ถึงวันที่ 25 มกราคม 2559 DSPM นไี้ ด้ทนั ที มี 5 ดา้ น ประกอบดว้ ย

(ถ้าครัวเรือนไม่สามารถตอบคำถามได้ให้ 1.ดา้ นการเคลือ่ นไหว
2.ด้านการใชก้ ล้ามเนอ้ื มดั เลก็ และสติปัญญา
ต ร ว จ ส อ บ จ า ก ท ะ เ บ ี ย น ข อ ง เ จ ้ า ห น ้ า ท่ี 3.ด้านการเขา้ ใจภาษา
4.ด้านการใชภ้ าษา
สาธารณสุข หรือ อสม.) 5.ดา้ นการช่วยเหลือตนเองและสังคม
• ถ้ากินอาหารตามข้อ (1) – (3) ต้องปฏิบตั ใิ ห้
5. เด็กได้รบั • เด็กใน 0-5 ปีในครัวเรอื นไดร้ ับการตรวจ ครบตามท่ีกำหนด (ถ้าไมไ่ ด้กินใหถ้ ือว่าปฏิบตั )ิ
การดูแลและมี คัดกรองพัฒนาการโดยใช้คู่มือ DSPM ผ่าน • สำหรับขอ้ (4) ทุกคนตอ้ งปฏบิ ัติ
พัฒนาการที่ ครบ 5 ด้าน ประกอบด้วย • ถ้าทุกคนในครัวเรือนปฏิบัติตามข้อ (4) และ
เหมาะสม ปฏิบัติตามข้อ (1) – (3) เฉพาะข้อที่กินก็ถือว่า
1. ดา้ นการเคล่ือนไหว ปฏิบัตคิ รบทกุ ข้อ แตถ่ ้าปฏบิ ัติไม่ครบทุกคนและ
หรอื ปฏิบตั ไิ ม่ครบทกุ ข้อก็ถือว่า “ไม่ผา่ นเกณฑ์”
2. ด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กและ

สตปิ ญั ญา

3. ดา้ นการเขา้ ใจภาษา

4. ด้านการใชภ้ าษา

5. ด้านการช่วยเหลือตนเองและสังคม

6. ครัวเรอื น • ทุกคนในครัวเรือนได้ปฏิบัติเกี่ยวกับ
กินอาหาร
ถกู สขุ ลกั ษณะ การกินอาหารที่มีคุณภาพ ถูกสุขลักษณะ
ปลอดภัย และ ปลอดภัย และได้มาตรฐานครบทั้ง 4 เรื่อง
ไดม้ าตรฐาน ดังต่อไปนี้

1. ถ้ากินอาหารบรรจุสำเร็จต้องมี
เครื่องหมาย อย. เช่น เกลือเสริมไอโอดีน
น้ำปลา น้ำส้มสายชู อาหารกระป๋อง นม
อาหารกล่อง เปน็ ต้น

2. ถ้ากินเนื้อสัตว์ต้องทำให้สุกด้วย
ความรอ้ น

3. ถ้ากินผักต้องเป็นผักที่ปลอดสารพิษ
หรือได้ทำการแช่ด้วยน้ำผสมด่างทับทิมหรือ
นำ้ ยาล้างผกั แลว้ ลา้ งด้วยน้ำสะอาดหลาย ๆ ครงั้

119

รายงานฉบบั สมบรู ณ์โครงการจดั ทำเครื่องชวี้ ดั และแบบสอบถามข้อมลู ความจำเป็นพน้ื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพน้ื ฐาน
ระดับหมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตวั ช้ีวดั ความหมายตัวช้ีวดั คำอธบิ ายเพ่มิ เติม

7. ครวั เรือนมี 4. ก่อนกินอาหารทุกครั้งต้องล้างมือให้ • ความรอบรู้ด้านสุขภาพ หมายถึง ความ
ความรู้และ สะอาด และในการกินอาหารร่วมกันต้องใช้ สามารถหรือทักษะของบุคคลในการเข้าถึง เข้าใจ
ปอ้ งกนั ตนเอง ช้อนกลางในการตกั ทุกครงั้ ข้อมูลสุขภาพ โต้ตอบซักถามจนสามารถประเมิน
เพอื่ ควบคุม ตัดสินใจ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เลือกรับบริการ
ปัจจยั เสยี่ งที่ • ทุกคนในครัวเรือนมีความรู้และป้องกัน เพื่อการจดั การสุขภาพตนเองไดอ้ ย่างหมาะสม และ
คกุ คามสขุ ตนเองเพ่ือควบคุมปัจจัยเสย่ี งที่คุกคามสุขภาวะ สามารถบอกต่อผู้อื่นได้ (ที่มา กรมอนามัย
ภาวะ ดงั ตอ่ ไปนี้ กระทรวงสาธารณสขุ )
• ทุกคนในครัวเรือนต้องมีความรู้และสามารถ
8. ครัวเรือน 1. ดื่มน้ำสะอาดประมาณ 2 ลิตรต่อวัน ป้องกันตนเองเพื่อควบคุมปัจจัยเสี่ยงที่คุกคามสุข
สามารถดูแล 2. นอนหลบั สนทิ 7 - 8 ชั่วโมงต่อคนื ภาวะดังกล่าวได้ หากทุกคนในครัวเรือนไม่มี
ตนเอง/สมาชิก 3. กินอาหารหวาน มัน เค็ม กินผักผลไม้ ความรู้และไม่สามารถป้องกนั ตนเองเพือ่ ควบคมุ
เมื่อมอี าการ น้อย ดื่มเหล้า สูบบุหรี่ ทำให้เกิดความเสี่ยงต่อ ปัจจัยเสี่ยงที่คุกคามสุขภาวะไม่ครบทุกข้อ
เจ็บป่วย โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจขาดเลือด ก็ถอื วา่ “ไมผ่ า่ นเกณฑ์”
เบ้อื งต้น หลอดเลือดสมองตีบ คอลเรสเตอรอลในเลอื ดสงู
4. ผลไม้บางชนิดที่มีน้ำตาลและพลังงานสูง • ยาสามัญประจำบ้าน คือ ยาที่กระทรวง
เชน่ ทเุ รียน ลำไย จงึ ควรกินแตน่ ้อยดยเฉพาะผู้ สาธารณสุขได้พิจารณาคัดเลือกว่าเป็นยา
ทีมโี รคประจำตวั ปลอดภัย เป็นยาที่เหมาะสมที่จะให้ประชาชน
5. ดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน ด้วยการ ซื้อมาใช้ด้วยตนเอง เพื่อการดูแลรักษาอาการ
แปรงฟันด้วยยาสีฟันที่มีฟลูออไรด์ ครั้งละ 2 เจ็บป่วยเล็กน้อยที่มักเกิดขึ้นได้ สามารถสังเกต
นาทีวนั ละ 2 ครัง้ จากบริเวณภาชนะบรรจุจะมีคำว่า “ยาสามัญ
6. เมื่อมีอาการไอหรือจามมีการป้องกัน ประจำบ้าน” พิมพ์อยู่ ซ่ึงมีทั้งยาแผนปัจจุบัน
ตนเองและผู้อื่น ด้วยการสวมหน้ากากอนามัย และยาแผนโบราณ
และล้างมืออยา่ งถูกวธิ ี
7. ควรลุกขึ้นเดินและเปลี่ยนท่าทางทุก 1
ชว่ั โมง
8. พักสายตาจากจอคอมพิวเตอร์/มือถือทุก
1 ชว่ั โมง อย่างน้อย 1 - 20 นาที เพ่อื หลกี เลยี่ ง
อาการออฟฟศิ ซินโดรม
9. หากมีหรือพบบุคคลที่มีอาการ ใบหน้า
และปากเบี้ยว แขนขาอ่อนแรงซีกเดียว พูด
ไม่ชัดและเจ็บหน้าอก ควรรีบไปโรงพยาบาลท่ี
ใกล้ท่ีสดุ ทนั ที
10. หากพบผปู้ ว่ ยฉุกเฉินควรแจ้ง 1669

• ทุกคนในครัวเรือนเมื่อมีอาการเจ็บป่วย
เล็กน้อย ได้ปฏิบัติดังต่อไปนี้ เพื่อบำบัด
รักษาหรือบรรเทาอาการเจ็บป่วยเบื้องต้น

1. ดูแลตนเอง/สมาชิกด้วยยาสามัญ
ประจำบ้าน ทั้งแผนปัจจุบัน แผนโบราณ
ยาสมนุ ไพรในงานสาธารณสุข มลู ฐาน และใช้
ยาเทา่ ที่จำเปน็

2. วัดไข้ วดั ความดนั โลหติ และจับชีพจร

120

รายงานฉบับสมบรู ณโ์ ครงการจดั ทำเคร่อื งชว้ี ดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พ้ืนฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พื้นฐาน
ระดบั หมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตวั ชวี้ ดั ความหมายตัวช้วี ัด คำอธิบายเพม่ิ เตมิ

3. ไม่กินผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่อวดอ้าง • ยาสมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐาน
สรรพคุณเกินจริง โดยแสดงสรรพคุณเป็นยา กำหนดตามประกาศของกรมสนับสนุนการบริการ
เพื่อบำบัด บรรเทา รักษาโรค ซึ่งไม่ตรงกับท่ี สขุ ภาพ ปจั จบุ ันมี 67 ชนดิ
แสดงในฉลาก
• หากทุกคนในครัวเรือนปฏิบัติไม่ครบทุกข้อ
4. ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการเจ็บป่วยของ ก็ถอื ว่า “ไมผ่ า่ นเกณฑ์”
ตนเอง โรคประจำตัว การแพ้ยา ผลิตภัณฑ์

สขุ ภาพ/ยาทีเ่ คยใช้ ต่อบุคลากรสาธารณสขุ

9. คนอายุ • ทุกคนในครัวเรือน ยกเว้นผู้ป่วยติดเตียง • การออกกำลังกาย หมายถึง การเคลื่อนไหว
6 ปีขึน้ ไป หรือบุคคลที่มีข้อจำกัดด้านการเคล่ือนไหว ท่ี รา่ งกายตามรปู แบบทกี่ ำหนด โดยมีวตั ถปุ ระสงค์
ออกกำลงั กาย มีคนอายุ 6 ปีขึ้นไป มีพฤติกรรมการออก เพอื่ สร้างเสริมสมรรถภาพอยา่ งใดอยา่ งหน่ึงหรือ
อย่างนอ้ ย กำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน ๆ ละ ทั้งหมด เปน็ กิจกรรมที่คอ่ นขา้ งหนกั เชน่ เดินจ้ำ
สัปดาห์ละ 3 30 นาที วิ่ง/วิ่งเหยาะ ปั่นจักรยาน เต้นแอโรบิค ว่ายน้ำ
วนั ๆ ละ 30 กระโดดเชือก กรรเชียงเรือ เล่นกีฬาประเภทฝึก
นาที ความอดทน (สมรรถภาพทางกาย) ฯลฯ วันละ

30 นาที อย่างนอ้ ยสัปดาห์ละ 3 วนั

• การออกแรง/ออกกำลัง หมายถึง การออก

แรง/ออกกำลัง (ไม่ใช่ยืนหรือนั่งทำงานเฉยๆ)

ทำงานประกอบอาชีพ (หาบขนมขาย ขนของขึ้น

ลง ถีบสามลอ้ เกี่ยวข้าว รับจ้าง แบกหาม ฯลฯ)

หรือทำงานบ้าน งานสวน งานสนามในบริเวณ

บ้าน (เช็ดถูกระจก ล้างขัดพ้ืน ถูบ้าน ทำสวน

ครัว ขึ้นลงบันได ฯลฯ) หรือเดินทาง (เดิน หรือ

ปั่นจักรยานไปทำงานหรือทำธุระ ฯลฯ) หรือ

ออกกำลังกาย เล่นกีฬาอย่างน้อยทำให้รู้สึก

เหนื่อยบ้าง หายใจเร็วขึ้น ติดต่อกันอย่างน้อย

10 นาทีขึ้นไป รวมกันทั้งวัน 30 นาที อย่าง

น้อยสัปดาหล์ ะ 5 วัน

10. ผปู้ ว่ ยตดิ • ผปู้ ่วยติดเตียง ไดร้ บั การดูแลเอาใจใส่ชีวิต • ผู้ป่วยติดเตียง หมายถึง ผู้ป่วยที่มีความ
เตยี งได้รบั ความเป็นอยู่ ด้านอาหาร ยา การออกกำลัง เจ็บป่วยเรื้อรังจนเกิดสภาวะร่างกายเสื่อมโทรม
การดแู ลจาก ฟื้นฟูกล้ามเนื้อ และปรับโครงสร้างและ ทำให้ไม่สามารถใช้ชีวิตประจำวันได้เหมือนคน
ครอบครวั สภาพแวดล้อมของบ้าน ให้เหมาะสมกับ ปกติ
ชมุ ชน ภาครัฐ ผูป้ ว่ ย จากคนในครอบครัวและชุมชน
• การดูแลจากครอบครัว ชุมชน ภาครัฐ หรือ
หรอื ภาคเอกชน • ผปู้ ว่ ยตดิ เตยี งไดร้ ับสวสั ดิการจากรัฐ อาทิ ภาคเอกชน หมายถึง การได้รับการดูแลจากคน

เบ้ียยังชพี เบ้ียผพู้ ิการ ในครอบครัว อาสาสมัครในชุมชน สวัสดิการ

ชุมชน สวัสดิการจากรัฐ หรือการช่วยเหลือจาก

องค์กรเอกชน

11. คนใน • คนในครัวเรือนมีประกันสุขภาพและสิทธิ • คนในครัวเรือนมีประกันสุขภาพหรือสิทธิ
ครวั เรือนมี รักษาพยาบาล รักษาพยาบาล เช่น ประกันสุขภาพ สิทธิ
ประกนั ข้าราชการ สิทธิประกันสังคม บัตรทอง เป็นต้น
สขุ ภาพ/สิทธิ • สถานพยาบาลที่คนในครวั เรือนใช้บรกิ าร (ข้อน้ตี อบได้มากกว่า 1 ขอ้ )

121

รายงานฉบับสมบรู ณ์โครงการจัดทำเคร่ืองชีว้ ัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพ้นื ฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพ้นื ฐาน
ระดับหมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรับใช้ชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตัวชว้ี ดั ความหมายตวั ชวี้ ดั คำอธิบายเพมิ่ เติม

รักษาพยาบาล • เมื่อต้องการใช้บริการสถานพยาบาล คนใน
และทราบ ครัวเรือนจะไปใช้บริการสถานพยาบาลประเภทใด
สถานท่ีใช้ เช่น สถานีอนามัย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
บรกิ ารตาม ตำบล (รพ.สต.) โรงพยาบาลของรฐั โรงพยาบาลของ
สิทธิ เอกชน เป็นต้น โดยสมาชิกในครัวเรือนแต่ละคน

สามารถใช้บรกิ ารสถานพยาบาลได้หลายประเภท

12. คนอายุ • คนอายุ 35 ปีขึ้นไป ทุกคนในครัวเรือน • ตรวจสุขภาพประจำปี หมายถึง การตรวจ
35 ปขี ึน้ ไป ทั้งเพศชายและเพศหญิงได้รับการตรวจ
ไดร้ ับการตรวจ สุขภาพประจำปี สุขภาพหลายอย่างเพื่อประเมินสุขภาพของ
สขุ ภาพ บุคคลเป็นประจำ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ได้แก่
ประจำปี การตรวจร่างกายทั่วไป การตรวจเลือด การตรวจ
ปัสสาวะ การตรวจอุจจาระ การเอกซเรย์ปอด

เป็นตน้ ดังนี้

• กลมุ่ เปา้ หมายในการสำรวจมี 2 กล่มุ ดงั น้ี

1. การตรวจสุขภาพหลายอย่างเพ่ือ

ประเมินสุขภาพของบุคคล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง

คนที่มีอายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป เป็นประจำอย่าง

น้อยปีละ 1 ครั้ง ได้แก่ การตรวจร่างกายท่ัวไป

การตรวจเลือด การตรวจปัสสาวะ การตรวจ

อจุ จาระ การเอกซเรยป์ อด เปน็ ต้น

2. การตรวจคัดกรองความเสี่ยงต่อ

โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เนื่องจาก

คนอายตุ ้งั แต่ 35 ปขี ้นึ ไป เป็นกลุม่ ทีม่ คี วามเส่ียง

ต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหติ สูง ไขมนั ในเลอื ดสงู

• ผูห้ ญิงทม่ี ีอายตุ ้ังแต่ 35 ปีข้ึนไป ได้รับการตรวจ

คดั กรอกมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม

• ถ้าไม่ได้ตรวจตามที่กำหนดนี้ถือว่า “ไม่ผ่าน

เกณฑ์”

หมวดที่ 2 มาตรฐานความเป็นอยู่ มี 9 ตวั ชวี้ ดั

ตวั ช้ีวัด ความหมายตวั ช้วี ดั คำอธิบายเพ่มิ เตมิ

13. ครวั เรือนมี • ครัวเรือนต้องมีความมั่นคงในที่อยู่อาศัย • ความมน่ั คงในทอี่ ยู่อาศัย หมายถงึ สามารถ

ความมั่นคงใน บ้านมีสภาพคงทนถาวรและอยู่ในสภาพ อยู่ได้โดยไม่ต้องกังวลว่าจะมีปัญหาเรื่องที่พัก

ทีอ่ ยอู่ าศยั บ้าน แวดล้อมท่ีเหมาะสม คอื อยู่ไดโ้ ดยไม่ตอ้ งกงั วล อาศัย และอยู่ในสภาพแวดล้อมที่มีความ

มีสภาพคงทน ว่ า จ ะ ม ี ป ั ญ ห า เ ร ื ่ องที ่ พั ก อา ศ ั ย เ ช่ น เหมาะสม เช่น ไม่แออัด ไม่อยู่ในที่สาธารณะ

ถาวร และอยู่ การถูกไล่ที่ ที่อยู่อาศัยชำรุด มีโครงสร้าง หรือเขตป่าสงวน ไม่ถูกไล่ที่ ไม่อยู่ในเขตท่ี

ใ น ไมแ่ ข็งแรง เป็นตน้ ประสบภัยน้ำท่วมอย่างร้ายแรง ดินโคลนถล่ม

สภาพแวดล้อม เปน็ ตน้

ท่เี หมาะสม

122

รายงานฉบบั สมบูรณโ์ ครงการจัดทำเครอื่ งชวี้ ดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพ้นื ฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พนื้ ฐาน
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตวั ช้วี ดั ความหมายตวั ชว้ี ดั คำอธิบายเพิม่ เตมิ

• บ้านมีสภาพคงทนถาวร หมายถึง บ้านมี

โครงสร้างบ้าน มีหลังคามุงกระเบื้องหรือ

สังกะสี และมีฝาครบทั้ง 4 ด้าน มีประตู

หน้าต่างที่อยู่ในสภาพดี แข็งแรง ไม่ชำรุด อยู่

คงทน สามารถอยู่ตอ่ ไปได้ไม่น้อยกวา่ 5 ปี

14. ครัวเรือนมี • ครัวเรือนมีการจัดบริเวณบ้านและภายใน • การจัดบริเวณบ้านและภายในบ้านเป็น

การจดั บ้านเรอื น บ้าน โดยมีที่ประกอบอาหาร ที่เก็บน้ำสะอาด ระเบยี บสะอาดและถกู สขุ ลักษณะ ได้แก่

และได้รับบริการ ไม่มีแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์/ แมลงนำโรค 1. สภาพในบ้านสะอาด ห้องนอนลมพัดผ่าน

จัดเก็บขยะมูล มีอุปกรณ์กำจัดขยะมูลฝอย สภาพในบ้าน สะดวก ไม่มีฝุ่นละอองและกลิ่นเหม็นอับชื้น

ฝ อ ย ท ี ่ ถู ก สะอาด ไม่มแี หลง่ น้ำเสียขัง มีส้วมถูกสุขลกั ษณะ ท่ีหลับนอนข้าวของเครื่องใช้สะอาด มีการจัดเกบ็

สขุ ลักษณะ เป็นระเบยี บ ครบทุกเรอ่ื ง เปน็ ระเบียบ ไม่รกรุงรงั

2. ที่ประกอบอาหารสะอาดเป็นระเบียบ มีตู้

กับข้าวหรือฝาชี มีอุปกรณ์ล้างมือที่ใช้งานได้ดี

(สบู่หรือน้ำยาล้างจาน) และมีการกำจัดไขมัน

ก่อนลา้ ง

3. ที่เก็บน้ำสะอาด เพื่อการอุปโภคบริโภค

สภาพดี มฝี าปดิ

4. มีการกำจัดแมลงที่เป็นพาหะนำโรค ได้แก่

ยุงลาย หนู แมลงวัน แมลงสาบ ไม่พบแหล่ง

เพาะพันธุ์ และที่หลบซ่อนอาศัยภายในบ้าน

หรอื บรเิ วณบา้ น

5. มกี ารกำจดั ขยะดังน้ี

- มีอุปกรณ์ อาทิ ไมก้ วาด ถงั ขยะ ถุงใสข่ ยะ

- มีการคัดแยกขยะแบ่งออกเป็น 4 ประเภท

ได้แก่ ของเสียอันตราย ขยะรีไซเคิล เศษอาหาร

ขยะอเิ ล็กทรอนิกส์ และขยะอ่ืน ๆ

- มีการกำจัดขยะ เช่น ส่งให้องค์กรปกครอง

ส่วนท้องถ่ินในพนื้ ทกี่ ำจัด หรือฝงั หลมุ

6. มีร่องระบายน้ำอยใู่ นสภาพดี ไม่มีแหลง่ นำ้

เสยี ขงั บริเวณในบา้ น และไม่มีการปลอ่ ยน้ำเสีย

ลงแหล่งน้ำสาธารณะ

7. มีสว้ มใชท้ ่มี สี ภาพแขง็ แรงใชง้ านได้สะอาด

มีการระบายอากาศที่ดี ไม่มีรอยแตกร้าวที่หัว

ส้วม พื้นที่ถังส้วม และฝาปิด และมีอุปกรณท์ ำ

ความสะอาด

8. มีการจัดเก็บและแยกสารเคมีที่เป็น

อันตรายออกจากเครื่องใช้อื่น ๆ โดยจัดให้เปน็

ระเบียบและวางใหพ้ ้นมือเด็ก

123

รายงานฉบบั สมบรู ณ์โครงการจดั ทำเครอ่ื งชี้วดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พ้นื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพืน้ ฐาน
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตวั ชว้ี ดั ความหมายตวั ช้วี ัด คำอธิบายเพิม่ เตมิ

15. ครัวเรือน • ครัวเรือนไม่ถูกรบกวนจากเสียงดัง การ • การถูกรบกวน หมายถึง เกิดจากกิจกรรม
ไม่ถูกรบกวน สั่นสะเทือน ฝุ่นละออง กลิ่น ความเหม็น การกระทำ หรือสภาพสิ่งแวดล้อมของแหล่ง
จากมลพิษ มลพิษทางอากาศ น้ำเสีย ขยะ หรือของเสีย ชุมชน แหล่งเกษตรกรรม หรือแหล่งอื่น ๆ ที่มี
อันตราย ท่ีอาจเปน็ อันตรายต่อสขุ ภาพอยา่ งใด ต่อคนในครัวเรือน หรือเกิดจากการประกอบ
อย่างหนง่ึ หรอื หลายอยา่ ง กิจการของแหล่งอุตสาหกรรม เช่น การผลิต
ประกอบ บรรจุ หรือ แปรสภาพ เปน็ ตน้ โดยสง่ิ
ที่เป็นต้นเหตุรบกวนจะต้องมีลักษณะอย่างใด
อยา่ งหนึง่ คอื

1. เกิดขึ้นซ้ำ ๆ ในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง หรือ
มีความต่อเน่อื งทัง้ ในเวลากลางวันและกลางคืน
(เวลา 18.00 น. - 06.00 น. ของวันรุ่งขึ้น)
โดยเกิดขึ้นไม่น้อยกว่า 3 ครั้งต่อวัน หรือ
ตอ่ เนอ่ื งนานกว่า 1 สปั ดาห์ขน้ึ ไป

2. เกิดขึ้นในขณะใดขณะหนึ่ง ซึ่งมีผลทำให้
เกิดอาการเจ็บป่วยอย่างเฉียบพลัน รวมทั้ง
ก่อให้เกิดความตื่นตระหนก ความเครียด วิตก
กังวล จนไม่สามารถดำเนินชีวติ ได้อยา่ งปกติ
• วิธีการสังเกตเบื้องต้นว่าครัวเรือนถูก
รบกวน คือ

1. มีเสยี งดัง อาจสังเกตจากคนทยี่ นื หา่ งกนั 1
เมตร พูดคุยกันแล้ว คนฝ่ายหนึ่งไม่ได้ยินวา่ อกี
ฝ่ายพูดอะไร หรือ ความรู้สึกของบุคคลว่ามี
เสยี งดังเกิดข้นึ จากสภาพปกติของพืน้ ทนี่ นั้ ๆ

2. มคี วามสั่นสะเทอื น โดยจากความร้สู ึกหรือ
การสั่นไหวของวัสดุ หรือภาชนะ สิ่งของต่าง ๆ
ในครัวเรอื น

3. มีฝุ่นละออง (1) ฝุ่นขนาดใหญ่ โดยการ
มองด้วยตาเปล่า (2) ฝุ่นขนาดเล็ก สังเกตจาก
การสะสมของฝุ่นบนพื้นผิวหน้าของภาชนะ
อุปกรณ์ เครื่องใช้ภายในบ้าน หรือ จากการ
หายใจลำบาก หายใจไม่สะดวก รู้สึกระคาย
เคอื ง มีอาการคัดจมกู เป็นต้น

4. มกี ลิน่ เหม็น ก่อปัญหารบกวน จนรสู้ กึ เกิด
ความเดือดร้อนรำคาญ และรู้สึกไม่สบาย (โดย
สอบถามจากความรู้สึกสัมผัสของบุคคลตั้งแต่
3 คนข้นึ ไป) เช่น วิงเวียนศีรษะ คลื่นไส้ หายใจ
ไมส่ ะดวก ทำให้เกิดความวิตกกังวล รสู้ ึกอึดอัด
เครยี ด เป็นตน้

5. มีน้ำเสีย ในบริเวณแหล่งน้ำที่อยู่ ใกล้เคยี ง
กับครัวเรอื น เช่น แมน่ ้ำ หว้ ย หนอง คลอง หรือ

124

รายงานฉบบั สมบูรณโ์ ครงการจดั ทำเครอ่ื งชีว้ ัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพ้นื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พ้นื ฐาน
ระดับหม่บู ้าน (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตัวชีว้ ดั ความหมายตวั ชี้วดั คำอธบิ ายเพิ่มเตมิ

บึง โดยการสังเกตจากกลิ่นและสีที่ผิดไปจาก

ธรรมชาติ

6. มีขยะหรือของเสียอันตราย (หลอดไฟ

กระป๋องสเปรย์ ถ่านไฟฉาย ฯลฯ) โดยการ

มองเห็นหรือสังเกต เช่น ปริมาณขยะล้นจาก

ภาชนะรองรับขยะ กล่ินเหม็นจากขยะ ของเสีย

อันตรายไม่มกี ารแยกทง้ิ อย่างถกู ต้อง พบน้ำชะ

ขยะมูลฝอย หรือเป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์และ

แมลงพาหะนำโรค

• หากครัวเรอื นมีปัญหาตามข้อใดขอ้ หนงึ่ ใน 6

ข้อย่อยข้างต้น ให้ระบุว่าครัวเรือนตั้งอยู่ใกล้

แหล่งอุตสาหกรรม แหลง่ เกษตรกรรมหรืออนื่ ๆ

16. ครัวเรือนมี • ครัวเรือนมีการป้องกันอุบัติภัยเมื่อขับข่ี • การป้องกันอบุ ัตภิ ยั อยา่ งถูกวิธี ได้แก่

การป้องกันอุบัติ ยานพาหนะ อุบัติภัยเมื่อใช้เครื่องใช้ไฟฟ้า 1. การปฏิบัตติ ามกฎหมายและป้องกันอุบัติภยั

ภัยอย่างถูกวิธี อุบัติเหตุจากการประกอบอาชีพ และอุบัติภัย ในการขับขี่ยานพาหนะ เช่น สวมหมวกกันน็อก

และมีการเตรียม ทางน้ำอยา่ งถกู วธิ ี คาดเข็มขัดนิรภัย ขับรถไม่เกนิ ความเร็วที่กำหนด

ค ว า ม พ ร ้ อ ม • ครัวเรือนมีการเตรียมความความพร้อม ไม่ขับรถเมื่อมีอาการเหนื่อยล้า ง่วงนอนหรือด่ืม

ร ั บม ื อก ั บภั ย รับมือกับภัยพิบตั ิ แอลกอฮอล์

พิบตั ิ 2. มีการตรวจซ่อมแซมอุปกรณเ์ ครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ ใน

บ้านให้อยู่ในสภาพดี เช่น สายไฟฟ้า ปลั๊ก หรือ

สวิตซไ์ ฟ พัดลม หม้อหงุ ข้าว

3. มีการป้องกันอันตรายหรืออุบัติเหตุจากการ

ประกอบอาชีพ เช่น ปฏิบัติตามคำแนะนำใน

การใช้สารเคมี ใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภยั

ส่วนบุคคล (สวมแวน่ ตา หน้ากากหรือผ้าปดิ จมูก

ถุงมือยาง ฯลฯ)

• การเตรียมความพร้อมรับมือกับภัยพิบัติ

หมายถึง การเตรียมการรับมือกับภัยพิบัติ

มุ่งเน้นกิจกรรมต่าง ๆ ที่ทำให้ครัวเรือนมี

ความสามารถในการคาดการณ์ เผชญิ เหตุ และ

จัดการกับผลกระทบจากภัยพิบัติอย่างเป็น

ระบบ หากเตรียมความพร้อมได้ดี จะทำให้

สามารถดำเนนิ การต่างๆ ไดอ้ ย่างเหมาะสม ท้ัง

ในช่วงก่อน ระหว่าง และหลังการเกิดภัยพิบัติ

และเพิ่มโอกาสในการรักษาชีวิตให้ปลอดภัย

จากเหตกุ ารณ์ภยั พิบัตไิ ด้มากขน้ึ

• ภัยพิบัติ หมายความว่า สาธารณภัย อัน

ได้แก่ อัคคีภัย วาตภัย อุทกภัย ภัยแล้ง ภาวะ

ฝนแล้ง ฝนทิ้งช่วง ภัยจากลูกเห็บ ภัยอันเกิด

จากไฟปา่ ภยั ท่ีเกิดจากโรคหรือการระบาดของ

125

รายงานฉบับสมบรู ณ์โครงการจัดทำเคร่อื งชี้วดั และแบบสอบถามข้อมูลความจำเปน็ พน้ื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพื้นฐาน
ระดับหมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ่วงแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตวั ชว้ี ัด ความหมายตวั ชี้วัด คำอธิบายเพ่มิ เตมิ

แมลง หรือศตั รูพชื ทกุ ชนิด ภัยอนั เกิดจากโรคท่ี

แพร่หรือระบาดในมนุษย์ อากาศหนาวจัด

ผิดปกติ ภัยสงคราม และภัยอันเนื่องมาจาก

การกระทำของผกู้ ่อการร้าย กองกำลงั จากนอก

ประเทศ ตลอดจนภัยอื่น ๆ ไม่ว่าเกิดจาก

ธรรมชาตหิ รอื มีบุคคลหรอื สตั วท์ ำใหเ้ กดิ ขน้ึ ซึ่ง

ก่อให้เกิดอันตรายแก่ชีวิต ร่างกายของ

ประชาชน หรือทำให้เกิดความเสียหายแก่

ทรพั ย์สินของประชาชน

17. ครัวเรือนมี • ในรอบปีที่ผ่านมา ครัวเรือนนี้ ไม่มีคน • ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

ความปลอดภัย ประสบเหตุ ดงั ตอ่ ไปนี้ หมายถึง สภาพที่ปราศจากภัย หรือ พ้นจาก

ใ น ช ี ว ิ ต แ ล ะ 1) ถูกฆา่ ตาย สถานการณ์ที่จะก่อให้เกิดภัยอันตรายต่อชีวิต

ทรัพยส์ ิน 2) ถูกทำร้ายร่างกาย กระทำอนาจาร ข่มขืน (เช่น การฆ่า ข่มขืน กระทำอนาจาร กระทำ

กระทำชำเรา ชำเรา การบุกรุกที่อยู่อาศัย เป็นต้น) และ

3) คนถูกประทุษร้ายต่อทรัพย์ (ลักทรัพย์ ทรัพย์สิน (การประทุษร้ายต่อทรัพย์ เช่น

วิ่งราวทรัพย์ ปล้นทรัพย์ หลอกลวงให้เสีย การลักทรัพย์ การวิ่งราวทรัพย์ ปล้นทรัพย์

ทรพั ย์) และหลอกลวงใหเ้ สยี ทรพั ย์ เปน็ ตน้ )

4) ถกู บกุ รุกทอี่ ย่อู าศัย • อาชญากรรมอื่น ๆ (ฐานความผิดพิเศษ)

5) อาชญากรรมอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับชีวิตและ ได้แก่ ความผิดเกี่ยวกับ พรบ.ป้องกันและ

ทรพั ยส์ ิน ปราบปรามการค้ามนุษย์ พรบ.คุ้มครองเด็ก

พรบ.คุ้มครองลิขสิทธิ์ พรบ.สิทธิบัตร พรบ.

เครื่องหมายการค้า พรบ.ว่าด้วยการกระทำผดิ

เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ความผิดเกี่ยวกับบัตร

อิเล็กทรอนิกส์ (ป.อาญา ม.129/1-269/7)

พรบ.ป่าไม้ พรบ.ป่าสงวนแห่งชาติ พรบ.

อุทยานแห่งชาติ และ พรบ.สงวนและคุ้มครอง

สัตว์ปา่ เป็นต้น

18. ครัวเรือนมี • ครัวเรือนมีน้ำสะอาดสำหรับดื่มและบริโภค • น้ำสะอาดสำหรับดื่มและบริโภค หมายถึง

น ้ ำ ส ำ ห รั บ เพียงพอตลอดปี อยา่ งนอ้ ยคนละ 5 ลติ รต่อวัน น้ำฝน น้ำประปา และน้ำบาดาล ที่ผ่านเกณฑ์

บ ร ิ โ ภ ค แ ล ะ • ครัวเรือนมีน้ำใช้เพียงพอตลอดปี อย่างน้อย มาตรฐานของกรมอนามัย ที่สาธารณสุขตำบล

อุปโภคเพียง พอ คนละ 45 ลติ รต่อวนั (ประมาณ 2 ปบี๊ ) ตรวจสอบแล้วว่าใช้ดื่มได้ ถ้าเป็นน้ำจากแหลง่

ตลอดปี ธรรมชาติต้องนำมาต้มเสียก่อน หรือแกว่ง

สารส้มแล้วเติมคลอรีน จึงจะจัดว่าเป็นน้ำสะอาด

หรือน้ำที่ผ่านเครื่องกรองน้ำที่ได้มาตรฐาน หรือ

น้ำบรรจขุ วด (ต้องมเี ครอ่ื งหมาย อย.)

• คนละ 5 ลิตรต่อวัน หมายถึง ใช้สำหรับดื่ม 2

ลิตรและอนื่ ๆ อกี จำนวน 3 ลติ ร เชน่ ใชป้ ระกอบ

อาหาร ลา้ งหนา้ บ้วนปาก แปรงฟนั เป็นตน้

• น้ำใช้ หมายถึง น้ำที่ใช้ในครัวเรือน เช่น

อาบน้ำ ซักผา้ ทำความสะอาด เปน็ ตน้

126

รายงานฉบับสมบรู ณโ์ ครงการจดั ทำเคร่ืองช้วี ัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพ้ืนฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพนื้ ฐาน
ระดับหมูบ่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรับใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตัวชีว้ ดั ความหมายตวั ช้ีวัด คำอธิบายเพม่ิ เติม

19. ครัวเรือน • ครัวเรือนเขา้ ถึงเข้าถงึ บรกิ ารไฟฟา้ ระบบสาย • ไฟฟ้าระบบสายส่งของรฐั คอื ระบบไฟฟ้าที่

เข้าถึงไฟฟ้าและ ส่งของรัฐ และมไี ฟฟา้ ใชเ้ พียงพอตลอดปี หน่วยงานภายใต้สังกัดของรัฐฯเปน็ ผู้ให้บริการ

ใชบ้ ริการไฟฟ้า เชน่ การไฟฟ้าสว่ นภมู ภิ าค การไฟฟ้านครหลวง

เป็นต้น

20. ครัวเรือน • ครัวเรือนเข้าถึงบริการโทรศัพท์และได้รับบริการ •โทรศัพท์เคลื่อนท่ี หรือ โทรศัพท์เคลื่อนที่

เข้าถึงและใช้ สญั ญาณโทรศพั ท์เคลือ่ นทีท่ ี่มปี ระสิทธิภาพ คือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ในการสื่อสาร

บริการโทรศัพท์ • ครัวเรอื นเข้าถึงและได้ใช้บริการอินเทอร์เนต็ สองทางผา่ นโทรศพั ท์มือถอื ใชค้ ลื่นวิทยุในการ

เคลื่อนที่และ ติดต่อกับเครือข่ายโทรศัพท์มือถือโดย ผ่าน

อินเทอร์เน็ต สถานีฐาน โดยเครอื ขา่ ยของโทรศพั ท์มือถอื แตล่ ะ

ผู้ให้บริการจะเชื่อมต่อกับเครอื ข่ายของโทรศัพท์

บ้านและเครือข่ายโทรศัพท์มือถือของ

ผู้ให้บริการอื่นโทรศัพท์มือถือที่มีความสามารถ

เพิ่มขึ้นในลักษณะคอมพิวเตอร์พกพาจะถูก

กลา่ วถึงในชอื่ สมารท์ โฟน

• โทรศัพท์เคลื่อนที่แบบ 2G คือ โทรศัพท์

เคลื่อนที่ ที่สามารถโทรออก รับสายและส่ง

ข้อความได้ (SMS) เท่านั้น (บางรุ่นสามารถใช้

อินเทอร์เน็ต ส่งข้อความ MMS และดาวน์โหลด

เพลง MP 3 ได)้

• โทรศัพท์เคลื่อนที่แบบ 3G – 5G คือ โทรศัพท์

เคลื่อนที่แบบสมาร์ทโฟน (Smart phone) ท่ี

สามารถใช้งานอินเทอร์เน็ตได้อย่างมีประสิทธิภาพ

และสามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้ตลอดเวลา

สามารถโทรทางไกลผ่านอินเทอร์เน็ต คุยแบบ

เห็นหน้า ประชุมทางไกล ดูทีวีและวีดีโอออนไลน์

เล่นเกมส์ออนไลน์ โทรออก รับสาย ส่งข้อความ

(SMS) ได้

• การเข้าถึงอินเทอร์เน็ต (Internet Access)

หมายถึง การเชื่อมต่อผู้ใช้คอมพิวเตอร์ส่วน

บุคคล หรือคอมพิวเตอร์ใด ๆ หรืออุปกรณ์มือ

ถือ หรือเครือข่ายคอมพิวเตอร์เข้ากับระบบ

อินเทอร์เนต็ ที่ชว่ ยใหผ้ ู้ใชส้ ามารถเข้าถึงบริการ

ต่าง ๆ ในอินเทอร์เน็ตได้ (เช่น อีเมลและ

เวิลด์ไวด์เว็บ www.) ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต

(Internet Service Provider, ISP) เสนอการเข้าถึง

อ ิ น เ ท อ ร ์ เ น ็ ต ใ ห ้ ป ร ะ ช า ช น ทั่ ว ไ ป ผ ่ า น ท า ง

เทคโนโลยีต่าง ๆ ที่มีความหลากหลายของ

อัตราการสง่ สญั ญาณขอ้ มลู (ความเร็ว)

127

รายงานฉบบั สมบรู ณ์โครงการจัดทำเคร่ืองชว้ี ดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพน้ื ฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พืน้ ฐาน
ระดับหมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตวั ชวี้ ัด ความหมายตวั ช้วี ดั คำอธบิ ายเพม่ิ เตมิ

21. ครัวเรือน • ครัวเรอื นเข้าถึงบริการขนส่งสาธารณะอย่าง • บริการขนส่งสาธารณะ คือ การคมนาคม

เข้าถึงบริการ ใดอย่างหนงึ่ หรือหลายอย่าง ขนส่งที่ให้บริการกับผู้โดยสารทั่วไป เช่น รถ

ขนสง่ สาธารณะ โดยสารประจำทาง รถไฟ รถไฟฟา้ เรือโดยสาร

เครอ่ื งบนิ โดยสาร เป็นต้น

หมวดที่ 3 การศกึ ษา มี 5 ตวั ชี้วดั

ตัวชี้วัด ความหมายตวั ชี้วัด คำอธิบายเพ่ิมเตมิ

22. เด็กอายุ • เด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี ได้รับการส่งเสริมการ • เดก็ ก่อนวัยเรยี น คือ เด็กท่มี อี ายรุ ะหว่าง 2-6 ปี

ต่ำกว่า 6 ปี มี เรยี นรจู้ ากการทำกจิ กรรมร่วมกนั ในครวั เรอื น • พัฒนาการ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงด้าน

การเรียนรู้และ • เด็กอายุ 3 - 6 ปี ได้รับการบริการเลี้ยงดู การทำหน้าที่และวุฒิภาวะของอวัยวะระบบ

พัฒนาการทาง เตรียมความพร้อมก่อนวัยเรียน ในสถานพัฒนา ต่าง ๆ รวมทั้งตัวบุคคล ทำให้สามารถทำหน้าท่ี

บุคลิกภาพตาม เด็กปฐมวัย หรือได้เข้าร่วมกจิ กรรมเกีย่ วกบั การ อย่างมีประสิทธิภาพทำสิ่งที่ยาก สลับซับซ้อน

วยั เตรียมความพรอ้ มของเดก็ ก่อนวยั เรียน ทกุ คน มากขึ้น ตลอดจนการเพิ่มทักษะใหม่ ๆ และ

ความสามารถในการปรับตัวต่อสภาพแวดล้อม

หรือภาวะใหม่ขึ้นอยู่กับบริบทของครอบครัว

และสังคม

• สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ได้แก่ ศูนย์พัฒนา

เด็กเลก็ ศนู ย์พัฒนาเดก็ เล็กเคลอื่ นท่ี ศูนยพ์ ฒั นา

เด็กเล็กก่อนเกณฑ์ขององค์กรปกครองส่วน

ท้องถิ่น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเอกชน สถาบัน

ศาสนา อนบุ าลชนบท โรงเรยี นอนุบาล เป็นตน้

23. เด็กอายุ 6 • เด็กอายุ 6 - 15 ปี ได้เข้าเรียน ชั้น ป.1 - • การออกกลางคัน หมายถึง การที่นักเรียน

- 15 ป ี ได้ รั บ ม.3 (การศึกษาภาคบงั คับ 9 ปี) ทกุ คน ถูกนำชื่อออกจากสถานศึกษาในขณะที่ยังไม่

การศึกษาภาค สำเร็จการศกึ ษา โดยไมไ่ ดม้ สี าเหตุจากการยา้ ย

บังคับ 9 ปี สถานศกึ ษา

• การศึกษาภาคบงั คบั 9 ปี หมายถึง การศกึ ษา

ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยม

ศึกษาปีที่ 3

24. เด็กจบชั้น • เด็กจบชั้น ม.3 ได้เรียนต่อชั้น ม.4 หรือ • เด็กจบชั้น ม.3 หมายถึง เด็กที่จบการศึกษา

ม.3 ได้เรียนต่อ เทียบเทา่ ทุกคน ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 (ม.3) ในสถานศึกษา

ชั้น ม.4 และเด็ก • คนในครัวเรือนที่จบการศึกษาภาคบังคับ • มัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า

ที่จบการศึกษา 9 ปี ที่ไม่ได้เรียนต่อชั้น ม.4 หรือเทียบเท่า หมายถึง การศึกษาในระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีที่

ภาคบังคับ 9 ปี ซึ่งยังไม่มีงานทำ ได้รับการฝึกอบรมดา้ นอาชีพ 4 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สำหรับสายสามัญ

ที่ไม่ได้เรียนต่อ ทุกคน และการศึกษาในระดับชั้นประกาศนียบัตร

และยังไม่มีงาน วิชาชพี หรอื ปวช. สำหรับสายอาชพี

ทำ ได้รับการฝึก • การออกกลางคัน หมายถึง การที่นักเรียน

อบรมดา้ นอาชพี ถูกนำชื่อออกจากสถานศึกษาในขณะที่ยังไม่

สำเรจ็ การศึกษา โดยไม่ไดม้ ีสาเหตุจากการยา้ ย

สถานศกึ ษา

128

รายงานฉบบั สมบูรณโ์ ครงการจดั ทำเครื่องชีว้ ัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเป็นพ้ืนฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พื้นฐาน
ระดบั หมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรับใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตวั ชีว้ ดั ความหมายตวั ช้ีวัด คำอธิบายเพม่ิ เติม

• การฝึกอบรมด้านอาชีพ หมายถึง การ

ฝึกอบรมด้านอาชีพต่าง ๆ ที่หน่วยงานของรัฐ

รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชนจัดขึ้น อย่างน้อย 1

อาชีพ จะนับรวมทั้งหมดไม่ว่าจะเป็นหลักสูตร

ระยะสั้น เช่น 3 ชั่วโมง หรือ 1 วัน เป็นต้น

หรือหลกั สตู รระยะยาว เช่น 3 เดอื น หรือ 1 ปี

เป็นต้น

25. คนอายุ 15 • คนอายุ 15-59 ปี (ยกเว้นคนพิการ) • อ่าน เขียนภาษาไทย เช่น การอ่านฉลากยา

- 59 ปีอ่าน เขียน สามารถ อา่ น เขยี นภาษาไทย ทุกคน สญั ญากู้ยมื เงิน สญั ญาซอ้ื ขาย ปา้ ยจราจร ป้าย

ภาษาไทย ภาษา • คนอายุ 15-59 ปี (ยกเว้นคนพิการ) โฆษณา เป็นตน้

อ ั งกฤษ หรื อ สามารถสามารถคิดเลขอย่างงา่ ยได้ ทกุ คน • คิดเลขอย่างง่าย เช่น สามารถบวก ลบ

ภาษาที่สาม และ จำนวนนับที่มีผลลัพธ์และตัวตั้งไม่เกินแสน

คิดเลขอย่างง่าย และสามารถคูณ หาร เลขไม่เกิน 2 หลักได้

ได้ เป็นต้น

• อ่าน เขียนภาษาอังกฤษ เช่น การอ่าน การ

เขียน การสื่อความ ในระดับเบื้องต้น เช่น

ประโยคสนทนาทักทาย การใช้ประโยคบอก

เลา่ คำถามในชวี ติ ประจำวนั ได้

26. ครัวเรือน • ครัวเรือน มีบุคคลที่มีทักษะการเรียนรู้ด้าน • ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 คือ

ได้รับการศึกษา นวัตกรรม ประกอบด้วย คิดสร้างสรรค์ ใส่ใจ ทักษะการเรียนร้ตู ลอดชวี ติ ประกอบด้วย

ต่อเนื่องและ นวัตกรรม มีวิจารณญาณ แก้ไขปัญหาเป็น 1. ทักษะพ้ืนฐานในการรูห้ นงั สือ ไดแ้ ก่ สามารถ

ม ี ท ั ก ษ ะ ก า ร สอ่ื สารดี เต็มใจรว่ มมือ ค้นคว้า ใฝ่หาความรู้จากทรัพยากรการเรียนรู้

เรียนรู้ที่จำเป็น • ครัวเรือน มีบุคคลที่มีทักษะสารสนเทศ สื่อ และแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายผ่านการอ่าน

ในศตวรรษที่ เทคโนโลยีประกอบด้วย อัพเดทข้อมูลข่าวสาร ออกเขียนได้ การคิดคำนวณ การใช้เหตุผลทาง

21 รู้ทันสื่อ รอบรู้เทคโนโลยีสารสนเทศ ฉลาด วิทยาศาสตร์ การเงิน สังคมและวัฒนธรรม

สื่อสาร เป็นต้น

• ครัวเรือน มีบุคคลที่มีทักษะชีวิตและอาชีพ 2. ทักษะการคิด ได้แก่ สามารถใช้เหตุผลและ

ประกอบดว้ ย มคี วามยืดหยนุ่ รจู้ ักปรบั ตวั ริเรมิ่ ความคิดในการวิเคราะห์และสังเคราะห์ ประเมิน

สิ่งใหม่ ใส่ใจดูแลตัวเอง รู้จักเข้าสังคม เรียนรู้ ค่า คิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจและแก้ปัญหาได้

วฒั นธรรม มีความเปน็ ผนู้ ำรบั ผิดชอบตอ่ หน้าที่ อยา่ งดี เปน็ ต้น

หมัน่ หาความรู้รอบด้าน 3. ทักษะการทำงาน ได้แก่ สามารถประยุกต์ใช้

ความรู้และทักษะในการทำงาน การติดต่อสื่อสาร

การทำงานเป็นทีม แสดงภาวะผู้นำและความ

รับผิดชอบ มีความยืดหยุ่นและปรับตัวได้ดี ริเร่มิ

งานและดูแลตนเองได้อดทนและขยันทำงานหนกั

สร้างหุ้นส่วนธรุ กิจ เป็นตน้

4. ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ได้แก่

สามารถรับรู้ เข้าใจการใช้และการจัดการ

สื่อสารสนเทศ เปิดใจรับสารและเทคโนโลยี

สมัยใหม่อย่างเท่าทัน สามารถบริหารจัดการ

129

รายงานฉบบั สมบูรณ์โครงการจัดทำเคร่ืองชวี้ ดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพื้นฐาน
ระดับหมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรับใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตวั ชวี้ ดั ความหมายตัวชีว้ ัด คำอธิบายเพมิ่ เตมิ

เทคโนโลยี เรียนรเู้ ทคนิควิทยาการตา่ ง ๆ อยา่ ง
มีวิจารณญาณ และสามารถนำข้อมูลเหล่านั้น
มาใช้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และเป็น
ประโยชนท์ ้งั ต่อตนเองและผู้อื่น เปน็ ต้น
5. ทักษะการใช้ชีวิต ได้แก่ สามารถแสวงหา
ความรู้ นำตนเองในการเรียนรู้ได้ มีความมั่นใจ
ในตัวเอง กระตือรอื รน้ ในความรู้ เป็นผู้ผลิต มุ่ง
ความเป็นเลิศ สามารถดำรงชีวิตด้วยความ
รับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น เป็นพลเมืองที่ดี
รู้และเคารพกติกา มีระเบียบวินัย คำนึงถึง
สังคม คิดถึงภาพรวมโลก มีคุณธรรม ยึดมั่นใน
สันติธรรม มีความเป็นไทย เข้าใจความหลาย
หลายทางวฒั นธรรม และแบง่ ปันประสบการณ์
เป็นตน้
• การศึกษาต่อเนื่อง (Continuing Education)
หมายถึง การศึกษาที่จัดขึ้นเพื่อสนองความ
ต้องการและความจำเป็นของบุคคลต่อเนื่องไป
จากการศึกษาขั้นพื้นฐานและการศึกษา
อุดมศึกษาในรูปของกิจกรรมการเรียนรู้หรือ
หลักสูตรการเรียนรู้ ประเภทมีหน่วยกติ และไม่
มีหน่วยกิตซึ่งมิใช่การศึกษาตามระบบปกติ
การศึกษาต่อเนื่องเป็นได้ทั้งการฝึกอบรมด้าน
อาชีพการยกระดับฝีมือในการทำงาน รวมทั้ง
หลักสูตรการพัฒนาตนเองเพื่อการทำงานการ
เรียนรู้เพื่อการแก้ไขปัญหา และการศึกษา
ออนไลน์ E – Learning

หมวดท่ี 4 เศรษฐกจิ มี 4 ตวั ช้วี ัด

ตัวชว้ี ัด ความหมายตวั ชวี้ ัด คำอธิบายเพมิ่ เตมิ

2 7 . คนอายุ • คนอายุ 15 - 59 ปี มีอาชีพและมีรายได้ • การประกอบอาชีพและมีรายได้ หมายถึง
1 5 - 5 9 ป ี มี ทุกคน ยกเว้นผู้ที่กำลังศึกษาอย่างเดียว โดย การทำงานที่เป็นงานประจำ ทั้งที่อยู่ในหรือ
อาชีพและรายได้ ไม่ประกอบอาชีพ และคนพิการที่ไม่สามารถ นอกครัวเรือน โดยมีรายได้ที่เกิดจากการ
ชว่ ยเหลือตนเองได้ ทำงานดังกล่าว ทั้งในลักษณะรายวัน ราย
สัปดาห์ รายเดือน รายชิ้นงาน หรือ งานเหมา
เปน็ ต้น
• แรงงานในระบบ หมายถงึ แรงงานที่ทำงาน
ในระบบการจ้างงานที่มีรายได้ประจำ มี
เงินเดอื นทแ่ี นน่ อน เป็นผ้มู งี านทำที่ได้รับความ

130

รายงานฉบับสมบูรณโ์ ครงการจดั ทำเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พน้ื ฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพ้นื ฐาน
ระดบั หมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตวั ช้วี ัด ความหมายตวั ชว้ี ดั คำอธิบายเพ่มิ เติม

ค้มุ ครองตามกฎหมายแรงงานหรือหลักประกัน

ทางสังคมจากการทำงาน

• แรงงานนอกระบบ หมายถึง ผู้มีงานทำท่ี

ไม่ได้รับความคุ้มครอง หรือไม่มีหลักประกัน

ทางสังคมจากการทำงานเหมือนกับแรงงานใน

ระบบ สถานภาพการทำงานแรงงานนอกระบบ

ส่วนใหญ่ คือ ประกอบธุรกิจส่วนตัวโดยไม่มี

ลูกจ้าง ธุรกิจครัวเรือน ลูกจ้างเอกชน (ไม่

ประกันตนและทำงานไม่ถึง 3 เดือน) นายจ้าง

(ไม่ประกันตน) ลูกจ้างรัฐบาล (ผู้รับจ้างเหมา

ไม่ประกันตน) และการรวมกลุ่มของแรงงาน

นอกระบบ* (อ้างจากแบบสอบถาม กชช. 2ค

หมวด2)

28. คนอายุ 60 • คนอายุ 60 ปี ขึ้นไป มีอาชีพและมีรายได้ • การประกอบอาชีพและมีรายได้ หมายถึง

ปี ขนึ้ ไป มอี าชพี ทุกคน ยกเว้นคนพิการที่ไม่สามารถช่วยเหลือ การทำงานที่เป็นงานประจำ ทั้งที่อยู่ในหรือนอก

และรายได้ ตนเองได้ ครัวเรือน โดยมีรายได้ที่เกิดจากการทำงาน

ดังกล่าว ทั้งในลักษณะรายวัน รายสัปดาห์

รายเดือน รายชนิ้ งาน หรอื งานเหมา เป็นต้น

29. รายได้เฉลยี่ • รายได้ทั้งหมดนี้เป็นรายได้ทั้งที่เป็นตัวเงิน • อาชีพหลัก คือ อาชีพที่มีชั่วโมงการทำงาน

ของคนในครัว และรายได้ท่เี กิดจากการทำ การปลกู การเลยี้ ง มากกว่า หรืออาชพี ท่ีให้รายได้มากกว่าในกรณี

เรอื นต่อปี สัตว์ และการหาไว้กินเอง แล้วมีการคำนวณ ทีช่ ่ัวโมงการทำงานเท่ากัน

เป็นจำนวนเงิน • อาชีพรอง/อาชีพเสริม อาชีพที่เพิ่มช่อง

• คนในครัวเรือนสามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุน ทางการทำเงนิ หรอื เพ่ิมรายได้ให้กบั ผู้ทีม่ อี าชพี

ได้ อยู่แล้ว หรืออาชีพเสริมที่มาจากการเข้าร่วม

กลมุ่ กิจกรรมในชมุ ชน

• รายได้อื่น ๆ เช่น ลูกหลานส่งเงินให้ ค่าเช่า

ดอกเบ้ียเงนิ ฝาก บำนาญ/เบยี้ ยงั ชีพ เงินปันผล

ห้นุ /สหกรณ์ ฯลฯ

• รายไดท้ ่ีเกิดจากการทำ/การปลกู การเลี้ยง

สัตว์และการหาไว้กินเอง เช่น การทำนาปี

การทำนาปลัง การเลี้ยงวัว การทำฟาร์มไก่

เปน็ ต้น

1. รายได้ที่เกิดจากการใช้สื่อสังคมออนไลน์

(เฟสบุ๊ค ยูทูป แอปพริเคชั่นออนไลน์ ต่าง ๆ )

ได้แก่ การขายของออนไลน์ เช่น การขาย

เส้อื ผา้ ของใช้ ผา่ นสอ่ื เฟสบคุ๊

2. ยูทูบเบอร์ คือ นักสร้างเรื่องราวในสื่อยูทูปใน

การผลิตคลิปวีดโี อเพื่อความบันเทงิ

131

รายงานฉบบั สมบูรณ์โครงการจัดทำเคร่ืองชวี้ ดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พื้นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพื้นฐาน
ระดับหมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตัวชี้วดั ความหมายตวั ชี้วัด คำอธบิ ายเพิ่มเติม

3. บล็อกเกอร์ คือ นักสร้างเรื่องราวเชิงสร้างสรรค์
เช่น การแนะนำและให้ความรู้เรื่องการแต่งหน้า
ทำผม เป็นต้น

4. นักรีวิว คือ นักสร้างเรื่องราวในการแนะนำ
ร้านอาหาร โรงแรม สถานที่ท่องเที่ยวเพื่อเป็น
การบอกตอ่ ถึงขอ้ ดแี ละขอ้ จำกัดในสถานทน่ี ั้น ๆ

5. นักเทรดหนุ้ คือ คนทีม่ ีความร้แู ละเชย่ี วชาญใน
การซ้ือขายหุน้ เพื่อสร้างรายได้
• รายจ่ายที่เป็นต้นทุนการผลิต ได้แก่ ค่าพันธุ์
พืช/สัตว์ ค่าปุ๋ย/ยาฆ่าแมลง ค่าจ้าง/แรงงาน
คา่ เชา่ ทด่ี ิน ค่าเครือ่ งจักร ค่านำ้ มัน ฯลฯ
• รายจ่ายในการอุปโภคบริโภคที่จำเป็น
ได้แก่ ค่าอาหาร เสื้อผ้า ที่อยู่อาศัย ค่าเช่า
บ้าน/ค่าผ่อนบ้าน ค่าผ่อนรถ ค่าน้ำมันรถ/ค่า
เดินทาง ค่ายา/รักษาพยาบาล ค่าใช้จ่ายด้าน
การศึกษา คา่ เดนิ ทาง คา่ น้ำ ค่าไฟ ค่าโทรศพั ท์
ค่าคอมพิวเตอร์ ค่าอินเทอรเ์ น็ต และค่าใช้จ่าย
สว่ นบคุ คล (สบู่ ยาสฟี นั ฯลฯ)
• รายจา่ ยคา่ โทรศัพท์ / คา่ อินเทอรเ์ น็ต เป็น
รายจ่ายค่าโทร ค่าส่งข้อความ (SMS) และ
ค่าบริการอินเทอร์เน็ตในแต่ละเดือน (กรณีคิด
เปน็ รายปใี ห้นำรายจา่ ยตอ่ เดอื นคณู ด้วย 12)
• รายจ่ายในการอุปโภคบริโภคที่ไม่จำเป็น
ไดแ้ ก่ ค่าบนั เทิง หวย การพนนั บหุ ร่ี เหลา้ ยาดอง
น้ำอัดลม ขนมกนิ เล่น และสนิ ค้าฟุม่ เฟอื ย ฯลฯ
• รายจ่ายในการชำระหนี้สิน คือ การชำระ
ดอกเบย้ี รวมถึงการชำระเงินต้นในรอบปีทผี่ า่ นมา
• การเข้าถึงแหล่งเงินทุน คือ สามารถขอกู้
เงินและได้รับเงินทุนในแหล่งเงินทุนต่าง ๆ
ต่อไปนี้ กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต สหกรณ์
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ ธนาคาร
ออมสิน ธนาคารกรุงไทย ธนาคารอิสลาม
ธนาคาร SME ธนาคารพาณชิ ย์อื่นๆ สถาบันการเงนิ
ที่ให้การสนับสนุนสินเชื่อภาคอุตสาหกรรม
ร้านค้า พ่อค้า แม่ค้า นายทุน เงินทุนหมุนเวียน
จากทางราชการ เป็นต้น
• เงินทุนหมุนเวียนจากทางราชการ เช่น
กองทุนหมู่บ้าน/ชุมชน 1 ล้านบาท กองทุน
ฟื้นฟูเกษตรกร เงินกระตุ้นเศรษฐกิจ 1 แสน

132

รายงานฉบับสมบูรณโ์ ครงการจัดทำเครอื่ งชี้วดั และแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พ้ืนฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพื้นฐาน
ระดบั หมูบ่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตวั ชีว้ ัด ความหมายตวั ชวี้ ดั คำอธบิ ายเพิ่มเติม

30. ครัวเรอื นมี • ครวั เรือนมกี ารเกบ็ ออมเงนิ บาท โครงการ กข.คจ. กองทุนพัฒนาบทบาท
การเก็บออมเงิน สตรี กองทนุ แมข่ องแผ่นดิน ฯลฯ
• หน้นี อกระบบ หมายถงึ หนที้ ่กี ู้ยืมจากบุคคล
และสถาบันต่าง ๆ ที่ไม่ใช่ธนาคารหรือสถาบัน
การเงินที่ถูกต้องตามกฎหมาย เช่น นายทุน
พ่อค้า หรือกลุม่ บุคคลท่ีปล่อยเงนิ กู้ดอกเบีย้ สูง
กวา่ ทีก่ ฎหมายกำหนด

• การเก็บออมเงิน หมายถึง การนำรายได้ท่ี
เหลือจากการใชจ้ า่ ยในการอปุ โภคบริโภค หรือ
การกันรายได้ส่วนหนึ่งมาเก็บไว้เพื่อใช้จ่ายใน
ยามเจบ็ ปว่ ย หรอื มีเหตุฉุกเฉินเกดิ ข้ึน หรอื เมื่อ
แก่ชรา หรือเพื่อใช้จ่ายในกิจกรรมอื่นใดท่ี
สมควร ทั้งในรูปแบบที่เป็นเงินสดหรือ
ทรัพย์สินต่าง ๆ เช่น เงินสดที่เก็บออมไว้เอง
เงินฝากธนาคาร เงินฝากสหกรณ์ เงินฝากกลุ่ม
ออมทรัพย์เพ่ือการผลิต เงินฝากกลมุ่ สัจจะ เงิน
ฝากกองทนุ หมูบ่ ้าน เงนิ ฝากกองทนุ ต่าง ๆ การ
ทำประกันชีวิต การซ้อื พนั ธบัตร การซื้อทองคำ
การซื้อบา้ นหรือที่ดิน เปน็ ตน้

หมวดที่ 5 การคุม้ ครองทางสังคมและการมสี ว่ นรว่ ม มี 8 ตัวชีว้ ดั

ตัวชีว้ ัด ความหมายตวั ชวี้ ัด คำอธบิ ายเพิม่ เตมิ

31. เด็กแรกเกดิ - • เด็กแรกเกิด-6 ปีที่ครัว เรือนมีรายได้เฉลี่ย • เงินอุดหนุนเด็กแรกเกิดหรือเงินอุดหนุน

6 ปีที่ครัวเรือนมี ไม่เกิน 100,000 บาทต่อคนต่อปี ได้รับเงิน บุตร คือ โครงการของรัฐบาลที่มีการจัด

ร า ย ไ ด ้ เ ฉ ล่ี ย อดุ หนนุ จากภาครฐั สวัสดิการเงินอุดหนุนให้แก่เด็กแรกเกิดใน

ไมเ่ กิน 100,000 ครัวเรือนยากจนหรือครัวเรือนที่เสี่ยงตอ่ ความ

บาทต่อคนต่อปี ยากจน เป็นการช่วยเหลือภาระค่าใช้จ่าย

ได้รับเงินอุดหนุน เกยี่ วกับเด็กแรกเกิด โดยรัฐจะชว่ ยออกค่าเลี้ยง

จากภาครฐั ดูบุตรให้คนละ 600 บาทต่อเดือน จนเด็กมี

อายุถงึ 6 ปี

คุณสมบตั ิของเดก็ แรกเกดิ ทีม่ ีสิทธิ ไดแ้ ก่

1. เด็กตอ้ งมสี ัญชาติไทย

2. ครอบครัวเด็กต้องมีรายได้น้อยเมื่อหาร

จำนวนคนทั้งหมด รายได้เฉลี่ยไม่เกิน

100,000 บาทต่อคนตอ่ ปี

3. ผู้ปกครองที่รับอุปการะมาก็สามารถ

ลงทะเบียนรบั สทิ ธิ์ได้

133

รายงานฉบบั สมบรู ณ์โครงการจดั ทำเครื่องชีว้ ัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเป็นพ้ืนฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพ้นื ฐาน
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ่วงแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตวั ชว้ี ดั ความหมายตัวชี้วัด คำอธิบายเพมิ่ เตมิ

4. บุคลากร เจ้าหน้าที่รัฐ รายได้ไม่เกิน

100,000 บาท ต่อคนตอ่ ปี กส็ ามารถลงทะเบยี น

รบั สทิ ธิไ์ ด้

5. เด็กต้องอาศยั อยกู่ ับผ้รู ับสทิ ธิ์เท่าน้นั

6. ระหว่างต้งั ครรภ์จะไม่สามารถลงทะเบยี นได้

ตอ้ งรอคลอดก่อนเท่านน้ั

32. ครัวเรือนท่ี • สมาชิกครัวเรือนที่มีรายได้ไม่เกิน 100,000 • เกณฑบ์ ตั รสวัสดิการแหง่ รัฐ

มีรายได้ไม่เกิน บาทต่อปี และมีคุณสมบัติอื่นครบตามเกณฑ์บัตร 1. มีสญั ชาติไทย อายุ 18 ปีข้นึ ไป

100,000 บาท สวัสดกิ ารแห่งรัฐ ไดร้ ับเงนิ สวสั ดกิ ารจากรฐั 2. ว่างงาน หรือมีรายได้ส่วนตัวไม่เกิน

ต ่ อ ป ี แ ล ะ มี 100,000 บาทต่อปี

สมาช ิ กมี คุ ณ 3. ไม่มีทรัพย์สินทางการเงิน (เงินฝาก

สมบัติอื่นครบ ธนาคาร, สลากออมสิน, สลาก ธ.ก.ส., พันธบตั ร

ตามเกณฑ์บัตร รัฐบาล และตราสารหนี้ หรือถ้ามีทรัพย์สิน

สวัสดิการแห่ง ดังกล่าว จะต้องมีรวมกันไม่เกิน 100,000

รัฐ ได้รับเงิน บาท

สวัสดิการจากรัฐ 4. รายได้ต่อครัวเรือน เป็นตัวประกอบการ

พจิ ารณา

5. ถ้ามรี ถยนต์ จะถูกนำมาพจิ ารณา แต่ถ้ามี

2-3 คันจะไม่ได้รับสิทธิบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ

ถามีการถือบัตรเครดิต ก็จะถูกนำมาพิจารณา

เชน่ กัน

33. ครัวเรือน • สมาชิกครัวเรือนที่ประกอบอาชีพและ • ก า ร ค ุ ้ ม ค ร อ ง ท า ง ส ั ง ค ม ( Social
ได้รับการคุ้มครอง มีรายได้ เกษียณ หรือออกจากงาน ได้รับ Protection) หมายถึง การจัดระบบหรือ
ตามระบบและ การคุ้มครองตามระบบ จากภาครัฐ และหรือ มาตรการในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อคุ้มครองสิทธิ
มาตรการคุ้มครอง ชุมชน ภาคเอกชน เช่น กองทุนประกันสังคม ขั้นพื้นฐานของประชาชนทุกคนตามที่
ทางส ั งคมจาก กองทุนบำเหน็จบำนาญ กองทุนชมุ ชน ประกัน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยบัญญัติไว้
ภาครัฐ และหรือ ชวี ิต/ประกนั ภัย หรอื อ่ืน ๆ เปน็ ต้น
ไม่ว่าจะเป็นบริการสังคม การประกันสังคม
ชุมชน ภาคเอกชน
การช่วยเหลอื ทางสังคม การคุ้มครองอย่างเป็น

ทางการและไม่เป็นทางการ ซึ่งครอบคลุมถึง

การจัดโครงขา่ ยการคมุ้ ครองทางสงั คม (Social

Safety Nets) สำหรับผู้ด้อยโอกาสและคน

ยากจน และการจดั การกบั ความเสยี่ งทางสงั คม

(Social Risk Management) ที่เกิดขึ้นจาก

วิกฤตทางเศรษฐกจิ สังคม และภัยพบิ ัตติ ่าง ๆ

34. ผู้สูงอายุ • ผู้สูงอายุ ได้รับการดูแลเอาใจใส่ชีวิตความ • กิจกรรมทางสังคมของผู้สูงอายุ เป็น

ได้รับการดูแล เปน็ อยู่ ดา้ นอาหาร เครื่องนงุ่ ห่ม สนับสนุนให้ กิจกรรมที่มีประโยชน์ทั้งต่อร่างกาย จิตใจ

จากครอบครัว เข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม ดูแลเมื่อยามเจ็บไข้ อารมณ์ และสังคมของ สามารถพัฒนาระบบ

ชุมชน ภาครัฐ ได้ป่วยและปรับโครงสร้างและภาพแวดล้อม ภมู คิ ุ้มกนั ปอ้ งกนั ภาวะซึมเศรา้ ไปจนถึงพัฒนา

หรือภาคเอกชน ของบ้านให้เหมาะสมกับผู้สูงวัย จากคนใน ความจำ และพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ

ครอบครวั หมู่บา้ นหรอื ชุมชน ที่มีภาวะนอนไม่หลับ ลดความรู้สึกว้าเหว่และ

134

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเครื่องชว้ี ัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พื้นฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พ้ืนฐาน
ระดับหม่บู ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตวั ช้ีวดั ความหมายตวั ชี้วดั คำอธิบายเพ่ิมเติม

• ผู้สูงอายุ ได้รับสวัสดิการชุมชนหรือเบี้ยยังชีพ การแยกตัวจากสังคม นอกจากนี้กิจกรรมทาง

จากภาครัฐ หรือภาคเอกชน สังคมของผู้สูงอายุยังช่วยรักษาความสมบูรณ์ท้ัง

รา่ งกาย จิตใจ และอารมณ์ กอ่ ใหเ้ กดิ แรงจูงใจใน

ชีวิต มีความคิดสร้างสรรค์ หรือกระตุ้นความคิด

ใหม่ ๆ เปิดโอกาสแก่ผู้สูงอายุในการมีบทบาทใน

สังคม ได้ช่วยเหลือสังคมของตน เกิดความ

ภาคภูมิใจ และปรับตัวเข้ากับสังคมได้ดี (ที่มา

สมบัติ กาญจนกิจ, 2533 อ้างถึงใน กาพย์

ประภา สง่าใจ, กิจกรรมนันทนาการกลวิธีหนึ่งสู่

การสูงวัยอย่างมีพลัง)

•เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ คือ สวัสดิการที่รัฐมีไว้

เพือ่ ช่วยเหลอื ผ้สู ูงอายุ เบ้ยี ยังชพี ผสู้ งู อายนุ บั ว่า

เป็นอีกสวัสดิการขั้นพื้นฐานที่ภาครัฐจัดสรรไว้

ให้กับผู้สูงอายุ คือ บุคคลที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป

เพื่อเป็นเงินช่วยเหลือและแบ่งเบาภาระ

ค่าใชจ้ า่ ยการดำรงชวี ิตในแต่ละเดอื น

35. ผู้พิการ • ผู้พิการมีบัตรประจำตัวคนพิการ และได้รับ • ผู้พิการตาม พรบ. ส่งเสริมคุณภาพชีวิต

ได้รับการดูแล การดูแลเอาใจใส่ในชีวิตความเป็นอยู่ ด้าน คนพิการ พ.ศ.2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม

จากครอบครัว อาหารการกิน เสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่ม และได้รับ ฉบบั ท่ี 2 พ.ศ. 2556

ชุมชน ภาครัฐ การดูแลเมื่อยามเจ็บไข้ได้ป่วย การดูแลเอาใจ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง

หรือภาคเอกชน ใสด่ า้ นสภาพจิตใจจากคนในครอบครัว หมูบ่ า้ น ของมนุษย์ กำหนดประเภทและหลักเกณฑ์

หรือชุมชน รวมทั้งได้รับสวัสดิการชุมชนหรือ ความพิการ ไว้ 7 ประเภท ดังนี้ (ประกาศ

เบ้ยี ยงั ชีพจากภาครัฐ หรอื ภาคเอกชน กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ

มนุษย์ เรื่อง ประเภทและหลักเกณฑ์ความ

พิการ ฉบบั ที่ 2 พ.ศ. 2555)

1. ความพิการทางการเห็น ได้แก่ ตาบอด

ตาเหน็ เลอื นราง

2. ความพิการทางการได้ยินหรือส่ือ

ความหมาย ได้แก่ หูหนวก หูตึง พูดไม่ได้ พูด

หรอื ฟังแลว้ ผู้อืน่ ไม่เข้าใจ

3. ความพิการทางการเคลื่อนไหวหรือทาง

ร่างกาย ได้แก่ การมีความบกพร่องหรือ

ความผิดปกติของศีรษะ ใบหน้า ลำตัว และ

ภาพลักษณ์ภายนอกของร่างกาย หรือการมี

ความบกพร่องหรือการสูญเสียความสามารถ

ของอวัยวะในการเคลื่อนไหว ซึ่งอาจมีสาเหตุ

จากอัมพาต หรอื ภาวะเจ็บปว่ ยเร้อื รงั

4. ความพกิ ารทางจติ ใจหรอื พฤติกรรม

5. ความพิการทางสติปัญญา

6. ความพกิ ารทางการเรียนรู้

135

รายงานฉบับสมบรู ณ์โครงการจัดทำเครอ่ื งช้วี ัดและแบบสอบถามข้อมลู ความจำเปน็ พื้นฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพืน้ ฐาน
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ่วงแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตัวชว้ี ดั ความหมายตัวช้วี ดั คำอธิบายเพ่มิ เติม

7. ความพิการทางออทิสตกิ

• บัตรประจำตัวคนพิการ พระราชบัญญัติ

ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ

พ.ศ. 2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2)

พ.ศ. 2556 กำหนดให้คนพิการมสี ิทธิได้รับส่งิ

อำนวยความสะดวกอันเป็นสาธารณะ

ตลอดจนสวัสดิการและความช่วยเหลืออื่นจาก

รฐั เพ่ือการฟนื้ ฟูสมรรถภาพ และพัฒนาตนเอง

ได้เต็มศักยภาพ ให้มีขีดความสามารถที่พร้อม

ในการปรับตัวอยู่ในสังคมอย่างมีคุณค่า และมี

ความสุข สำหรับผู้พิการที่มีบัตรคนพิการ (ใน

กรณีที่คนพิการยังไม่มีบัตรประจำตัวคนพิการ

ควรมีการไปลงทะเบียนคนพิการเพื่อให้ได้รับ

สทิ ธสิ วัสดกิ ารชว่ ยเหลือจากภาครัฐ)

36. ครอบครัว • สมาชิกในครอบครัวมเี วลาอยพู่ ร้อมหน้าและ • ลกั ษณะของครอบครัวอบอ่นุ ไดแ้ ก่

มคี วามอบอุ่น ได้ทำกิจกรรมร่วมกัน มีความเคารพนับถือกัน กรณีมีสมาชิก 2 คนขึ้นไป อยู่ในครัวเรือน

มีการปรกึ ษาหารือและช่วยเหลอื ซ่ึงกันและกนั เดียวกัน

• คนท่ีอาศัยอยคู่ นเดียวอยไู่ ดอ้ ยา่ งมีความสขุ 1) สมาชิกในครอบครัวมีเวลาอยู่พร้อมหน้า

และได้ทำกิจกรรมรว่ มกันอย่างนอ้ ยสปั ดาห์ละ

1 ครงั้ หรอื อย่างนอ้ ยเดอื นละ 4 คร้งั

2) สมาชิกในครอบครัวมีความเคารพนับถือ

กนั และไมม่ ีการทะเลาะเบาะแว้งรนุ แรง

3) สมาชิกในครอบครัว เมื่อมีปัญหาจะ

ปรึกษาหารือและชว่ ยเหลอื ซง่ึ กันและกัน

กรณีอย่คู นเดยี ว

1) หากมีบิดา มารดา ลูกหลานและญาติพี่

น้อง ต้องมีการเดินทางเยี่ยมเยือนระหว่างกัน

อย่างน้อยปลี ะ 1 ครั้ง

2) หากไม่มีบิดามารดา ลูกหลาน และญาติ

พ่ีนอ้ ง ถ้าสามารถดำรงชีวิตไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ ก็

ถือว่าเปน็ ครอบครวั อบอ่นุ

37. คนอายุ 6 ปี • ในรอบปีที่ผ่านมา คนในครัวเรือนที่อายุ • กิจกรรมทางศาสนา หมายถงึ การได้ปฏิบัติ

ขึ้นไป ปฏิบัติ ตั้งแต่ 6 ปีขึ้นไปทุกคนได้ปฏิบัติกิจกรรมทาง กิจกรรมทางศาสนาตามแต่ละศาสนาท่ี

ก ิ จกรรมทาง ศาสนาอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่าง ครัวเรือนนับถือ เช่น การร่วมพิธีกรรมทาง

ศาสนาอยา่ งน้อย อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง (เช่น การร่วม ศาสนา ทำบุญตักบาตร ทำสมาธิ สวดมนต์

ส ั ปดาห์ ล ะ 1 พิธีกรรมทางศาสนา ทำบุญ ตักบาตร ฟังเทศน์ ฟังธรรม หรือการทำละหมาด หรือ

ครงั้ ทำภาวนา/สมาธิ สวดมนต์ ฟังเทศน์ ฟังธรรม การเขา้ โบสถค์ รสิ ต์ เป็นต้น

หรือ การทำละหมาด และการเข้าโบสถ์คริสต์

เป็นต้น)

136

รายงานฉบับสมบูรณโ์ ครงการจัดทำเครื่องช้ีวดั และแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พน้ื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพื้นฐาน
ระดับหมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตวั ชวี้ ดั ความหมายตวั ชว้ี ัด คำอธิบายเพิม่ เตมิ

38. ครัวเรือน • ในรอบปีที่ผ่านมา คนในครัวเรือนมีส่วนรว่ ม • การมีส่วนร่วมทำกิจกรรมสาธารณะเพ่ือ

ม ี ส ่ วนร่ วมทำ ทำกิจกรรมสาธารณะเพื่อประโยชน์ของชุมชน ประโยชน์ของชุมชนหรือท้องถิ่น สามารถ

กิจกรรมสาธารณะ หรือทอ้ งถนิ่ กระทำได้โดยการแสดงความคิดเห็น การออก

เพื่อประโยชน์ของ แรงงาน การบริจาค/สมทบเงนิ และการบริจาค

ชุมชนหรอื ท้องถน่ิ สมทบวสั ดอุ ปุ กรณ์ต่าง ๆ เปน็ ต้น

2. วิธีวิเคราะห์คำตอบแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน จปฐ เพ่ือ
นำเสนอดว้ ยระบบสารสนเทศที่รองรบั ความต้องการของทกุ ภาคสว่ น

ลำดบั ตวั ชว้ี ัด วิธวี ิเคราะหค์ ำตอบ

หมวดที่ 1 สขุ ภาพ มี 12 ตัวชี้วัด

ข้อที่ 1 การฝากครรภอ์ ย่างมคี ณุ ภาพ พิจารณาเฉพาะข้อ 1.2 ในช่วงเวลา 1 ปี ก่อนการสัมภาษณ์ หญิง

ตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์และดแู ลครรภ์จากบุคลากรสาธารณสุข

ครบ 5 คร้ัง การฝากครรภ์คุณภาพ

หากตอบ ได้รับ................คน ถอื ว่าผา่ นเกณฑใ์ นข้อนี้

หากตอบ ไมไ่ ด้รบั ถือวา่ ไมผ่ า่ นเกณฑใ์ นขอ้ น้ี

ข้อที่ 2 เด็กแรกเกิดมนี ้ำหนกั 2,500 กรมั พิจารณาเฉพาะข้อ 2.2 เด็กอายุไม่เกิน 1 ปี มีน้ำหนักแรกเกิด

ขนึ้ ไป ไมน่ อ้ ยกว่า 2,500 กรัม ทกุ คน หรอื ไม่

หากตอบ ทกุ คน ถอื ว่าผา่ นเกณฑใ์ นข้อน้ี

หากตอบ นอ้ ยกว่า..........คน ถอื วา่ ไม่ผา่ นเกณฑ์ในข้อนี้

ข้อท่ี 3 เด็กแรกเกิดไดก้ ินนมแม่อยา่ งเดยี ว พจิ ารณาขอ้ 3.2 เด็กอายุน้อยกว่า 6 เดือน ได้กนิ นมแม่อย่างเดียว

อย่างน้อย 6 เดือนแรกตดิ ตอ่ กัน ตัง้ แตแ่ รกเกิดเป็นเวลาตดิ ตอ่ กนั จนถงึ วันที่สำรวจทกุ คน หรอื ไม่

พิจารณาข้อ 3.4 เด็กอายุตั้งแต่ 6 เดือนถึง 1 ปี ได้กินนมแม่

อย่างเดียว เปน็ ระยะเวลา 6 เดอื นแรกติดต่อกัน ทุกคน หรอื ไม่

หากตอบ ทุกคน ท้งั สองขอ้ ถอื วา่ ผ่านเกณฑใ์ นขอ้ น้ี

หากมขี ้อใดขอ้ หน่งึ ตอบ น้อยกว่า.......คน ถอื ว่าไมผ่ ่านเกณฑใ์ นขอ้ น้ี

ขอ้ ที่ 4 เด็กแรกเกิดถงึ 12 ปี ได้รับวคั ซนี พิจารณาเฉพาะขอ้ 4.2 เด็กแรกเกดิ ถึง 12 ปี ไดร้ ับวัคซีนปอ้ งกันโรค

ป้องกันโรคครบตามตารางสร้าง ครบตามตารางสรา้ งเสริมภมู ิคมุ้ กนั โรค (ทอ่ี ยู่ดา้ นลา่ ง) ทกุ คน หรอื ไม่

เสริมภมู ิคมุ้ กนั โรค หากตอบ ไดร้ ับทุกคน ถือว่าผ่านเกณฑใ์ นข้อน้ี

หากตอบ ไม่ได้รับ........คน ถือว่าไมผ่ า่ นเกณฑ์ในขอ้ นี้

ข้อท่ี 5 เด็กได้รับการดูแลและมีพัฒนา พิจารณาเฉพาะข้อ 5.1 เด็กใน 0-5 ปีในครัวเรือนได้รับการตรวจ

การที่เหมาะสม คัดกรองพฒั นาการโดยใชค้ มู่ ือ DSPM ผา่ นครบ 5 ดา้ น ประกอบด้วย

1. ด้านการเคลอ่ื นไหว

2. ดา้ นการใชก้ ลา้ มเนือ้ มดั เล็กและสติปญั ญา

3. ด้านการเข้าใจภาษา

4. ดา้ นการใช้ภาษา

5. ดา้ นการช่วยเหลอื ตนเองและสงั คม

หากตอบ ได้รบั ................คน ถอื วา่ ผา่ นเกณฑใ์ นข้อนี้

หากตอบ ไมไ่ ด้รับ ถือวา่ ไมผ่ า่ นเกณฑ์ในข้อน้ี

137

รายงานฉบับสมบรู ณ์โครงการจัดทำเครื่องช้ีวดั และแบบสอบถามข้อมลู ความจำเป็นพ้นื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพ้ืนฐาน
ระดับหมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ลำดบั ตัวช้ีวดั วิธวี เิ คราะหค์ ำตอบ

ข้อท่ี 6 ครัวเรือนกินอาหารถูกสุขลักษณะ พิจารณาข้อ 6.2 ถ้ากินอาหารบรรจุสำเร็จ ต้องมีเครื่องหมาย อย.

ปลอดภัย และไดม้ าตรฐาน เช่น เกลือเสริมไอโอดีน น้ำปลา น้ำส้มสายชู อาหารกระป๋อง นม

อาหารกลอ่ ง เป็นตน้

พิจารณาข้อ 6.3 ถา้ กนิ เนอ้ื สตั วต์ ้องทำให้สกุ ดว้ ยความรอ้ น

พิจารณาข้อ 6.4 ถ้ากินผักต้องเป็นผักปลอดสารพิษหรือได้ทำ

การแช่ด้วยน้ำผสมด่างทับทิมหรือน้ำยาล้างผักแล้วล้างด้วยน้ำ

สะอาดหลาย ๆ ครงั้

พิจารณาข้อ 6.5 ก่อนกินอาหารต้องล้างมือทุกครั้งและใช้

ช้อนกลาง

หากตอบ ใช่ ทง้ั 4 ขอ้ ข้างต้น ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์ในขอ้ นี้

หากมีข้อใดข้อหนงึ่ ตอบ ไมใ่ ช่ ถอื ว่าไม่ผ่านเกณฑใ์ นขอ้ นี้

ขอ้ ที่ 7 ครัวเรือนมีความรู้และป้องกัน พจิ ารณาขอ้ 7.1 ดม่ื นำ้ สะอาดประมาณ 2 ลติ รตอ่ วนั

ตนเองเพื่อควบคุมปัจจัยเสี่ยงท่ี พิจารณาข้อ 7.2 นอนหลบั สนทิ 7 - 8 ชว่ั โมงต่อคืน

คุกคามสุขภาวะ พิจารณาข้อ 7.3 กินอาหารหวาน มัน เค็ม กินผักผลไม้น้อย

ดื่มเหล้า สูบบุหรี่ ทำให้เกิดความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดัน

โลหิตสูง หัวใจขาดเลือด หลอดเลือดสมองตีบ คอลเรสเตอรอลใน

เลอื ดสูง

พิจารณาข้อข้อ 7.4 ผลไม้บางชนิดท่ีมีน้ำตาลและพลังงานสูง เช่น

ทุเรยี น ลำไย จึงควรกนิ แตน่ ้อยโดยเฉพาะผทู้ ีมีโรคประจำตวั

พิจารณาข้อ 7.5 ดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน ด้วยการแปรงฟัน

ด้วยยาสีฟนั ที่มฟี ลูออไรด์ ครง้ั ละ 2 นาทวี นั ละ 2 คร้งั

พิจารณาข้อ 7.6 เมื่อมีอาการไอหรือจามมีการป้องกันตนเองและ

ผอู้ ่ืน ดว้ ยการสวมหน้ากากอนามัยและล้างมืออย่างถูกวิธี

พจิ ารณาขอ้ 7.7 ควรลุกขน้ึ เดินและเปลี่ยนท่าทางทกุ 1 ชัว่ โมง

พิจารณาข้อ 7.8 พักสายตาจากจอคอมพิวเตอร์/มือถือทุก 1

ชัว่ โมง อย่างนอ้ ย 1-20 นาที เพ่อื หลีกเลยี่ งอาการออฟฟศิ ซินโดรม

พิจารณาข้อ 7.9 หากมีหรือพบบุคคลที่มีอาการ ใบหน้าและ

ปากเบีย้ ว แขนขาอ่อนแรงซกี เดยี ว พดู ไมช่ ดั และเจบ็ หน้าอก ควรรีบ

ไปโรงพยาบาลทีใ่ กลท้ สี่ ดุ ทนั ที

พิจารณาข้อ 7.10 หากพบผูป้ ่วยฉุกเฉนิ ควรแจ้ง 1669

พิจารณาข้อ 7.11 หากพบว่าครัวเรือนอยู่ในพ้ืนที่ท่ีมคี ่า PM. 2.5

เกินค่ามาตรฐาน ควรมีการใสหน้ากากอนามัยเมื่อต้องออก

นอกบา้ น

พจิ ารณาข้อ 7.12 ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรค Covid –

19 ควรมีการปฏิบัติตัวตามมาตรการการเฝ้าระวัง เช่น การสวมใส่

หน้ากากอนามยั การรักษาระยะหา่ งทางสงั คม การหลีกเลย่ี งการเขา้

ไปในพืน้ ท่ที ีม่ คี นหนาแนน่ การลา้ งมอื ด้วยเจลแอลกอฮอล์ เป็นต้น

หากตอบ ใช่ ทง้ั 12 ข้อข้างตน้ ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์ในขอ้ น้ี

หากมีข้อใดข้อหนึ่งตอบ ไม่ใช่ ถอื ว่าไม่ผา่ นเกณฑใ์ นข้อนี้

138


Click to View FlipBook Version