The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การพัฒนาเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพื้นฐาน
ระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) เป็นเครื่องมือในการวางแผนพัฒนาให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ และจะมีการปรับปรุงทุก ๆ 5 ปี ในปี พ.ศ. 2565 เป็นปีเริ่มต้นของแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (2565 - 2569) จึงมีความจำเป็นต้องใช้เครื่องชี้วัด เกณฑ์ชี้วัดและ
แบบสอบถามชุดใหม่สำหรับจัดเก็บข้อมูล จปฐ. และข้อมูล กชช. 2ค ให้สอดคล้องกับเป้าหมาย
การพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) และแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561 – 2580) และการควบคุม
คุณภาพการจัดเก็บข้อมูลและรูปแบบการรายงานด้วยระบบสารสนเทศที่รองรับความต้องการของทุก
ภาคส่วน การศึกษาครั้งนี้มีวิธีศึกษาจากการวิเคราะห์ประมวลผลจากการสอบถามความคิดเห็นผู้ใช้ข้อมูล
จปฐ. และข้อมูล กชช. 2ค เกี่ยวกับปัญหาและความต้องการของผู้ใช้ข้อมูล (ส่วนภูมิภาค) กระจายตาม
ภูมิภาค จำนวน 8 จังหวัด จังหวัดละ 5 หน่วยงาน รวม 40 หน่วยงาน และการวิเคราะห์ประมวลผลจาก
ประชุมรับฟังความคิดเห็นของคณะทำงานปรับปรุงเครื่องชี้วัดคุณภาพชีวิตของประชาชน และ
คณะกรรมการอำนวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน (พชช.)
ผลการศึกษา พบว่า การใช้แบบสอบถามข้อมูล จปฐ. และแบบสอบถามข้อมูล กชช. 2ค
สำหรับใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ปรับระยะเวลาการเริ่มใช้ให้สอดคล้อง
กับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 13 และแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี จึงเริ่มใช้ระหว่าง
พ.ศ.2566 – 2570 เครื่องชี้วัดข้อมูล จปฐ. ที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูลช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติฉบับที่ 13 ( พ.ศ.2566 - พ.ศ. 2570) ประกอบด้วย 5 หมวด 38 ตัวชี้วัด ได้แก่ หมวดที่ 1
สุขภาพ มี 12 ตัวชี้วัด หมวดที่ 2 มาตรฐานความเป็นอยู่ มี 9 ตัวชี้วัด หมวดที่ 3 การศึกษา มี 5 ตัวชี้วัด
หมวดที่ 4 เศรษฐกิจ มี 4 ตัวชี้วัด และหมวดที่ 5 การคุ้มครองทางสังคมและการมีส่วนร่วม มี 8 ตัวชี้วัด
และเครื่องชี้วัดข้อมูล กชช. 2ค สำหรับใช้ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13
(พ.ศ. 2566 - 2570) ประกอบด้วย 7 หมวด 44 ตัวชี้วัด ดังนี้ หมวดที่ 1 โครงสร้างพื้นฐาน มี 10
ตัวชี้วัด หมวดที่ 2 สภาพพื้นฐานทางเศรษฐกิจ มี 10 ตัวชี้วัด หมวดที่ 3 สุขภาวะและอนามัย มี 7
ตัวชี้วัด หมวดที่ 4 ความรู้และการศึกษา มี 4 ตัวชี้วัด หมวดที่ 5 การมีส่วนร่วมและความเข้มแข็ง
ของชุมชน มี 5 ตัวชี้วัด หมวดที่ 6 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มี 5 ตัวชี้วัด และหมวดที่ 7
ความเสี่ยงของชุมชนและภัยพิบัติ มี 3 ตัวชี้วัด สำหรับกลไกและกระบวนการบริหารจัดเก็บข้อมูลให้มี
คุณภาพ ต้องมีกลไกควบคุมคุณภาพในทุกระดับ ดังนี้ คณะกรรมการอำนวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิต
ของประชาชน (พชช.) คณะทำงานบริหารการจัดเก็บข้อมูลฯ ระดับจังหวัด คณะทำงานบริหารการจัดเก็บ
ข้อมูลฯ ระดับอำเภอ คณะทำงานบริหารการจัดเก็บข้อมูลฯ ระดับตำบล และคณะผู้จัดเก็บข้อมูลระดับ
หมู่บ้าน โดยมีกระบวนการที่มีคุณภาพ ดังนี้การสร้างความรู้ความเข้าใจ การออกแบบวิธีการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล การบันทึกและประมวลข้อมูล การตรวจทานข้อมูล และการนำเสนอข้อมูลเพื่อการใช้
ประโยชน์ร่วมกันในทุกระดับ ข้อเสนอแนะเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บข้อมูลควรให้คนในชุมชนและ
องค์กรหน่วนงานที่เกี่ยวข้องเห็นความสำคัญในการให้ข้อมูลและการจัดเก็บข้อมูลโดยการสร้างการมี
ส่วนร่วมในการจัดเก็บข้อมูล และควรมีการฝึกอบรมและเพิ่มองค์ความรู้ให้กับผู้จัดเก็บข้อมูลอย่างเข้มข้น
รวมทั้งการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรับทราบถึงระยะเวลาในการจัดเก็บข้อมูลรวมกันทั้งประเทศ

คำสำคัญ: คุณภาพชีวิตประชาชน,ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.),ข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by vasusamran55, 2021-07-01 09:24:14

โครงการจัดทำเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.)และข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) ฉบับที่ 13 (พ.ศ.2565-2569)

การพัฒนาเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพื้นฐาน
ระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) เป็นเครื่องมือในการวางแผนพัฒนาให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ และจะมีการปรับปรุงทุก ๆ 5 ปี ในปี พ.ศ. 2565 เป็นปีเริ่มต้นของแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (2565 - 2569) จึงมีความจำเป็นต้องใช้เครื่องชี้วัด เกณฑ์ชี้วัดและ
แบบสอบถามชุดใหม่สำหรับจัดเก็บข้อมูล จปฐ. และข้อมูล กชช. 2ค ให้สอดคล้องกับเป้าหมาย
การพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) และแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561 – 2580) และการควบคุม
คุณภาพการจัดเก็บข้อมูลและรูปแบบการรายงานด้วยระบบสารสนเทศที่รองรับความต้องการของทุก
ภาคส่วน การศึกษาครั้งนี้มีวิธีศึกษาจากการวิเคราะห์ประมวลผลจากการสอบถามความคิดเห็นผู้ใช้ข้อมูล
จปฐ. และข้อมูล กชช. 2ค เกี่ยวกับปัญหาและความต้องการของผู้ใช้ข้อมูล (ส่วนภูมิภาค) กระจายตาม
ภูมิภาค จำนวน 8 จังหวัด จังหวัดละ 5 หน่วยงาน รวม 40 หน่วยงาน และการวิเคราะห์ประมวลผลจาก
ประชุมรับฟังความคิดเห็นของคณะทำงานปรับปรุงเครื่องชี้วัดคุณภาพชีวิตของประชาชน และ
คณะกรรมการอำนวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน (พชช.)
ผลการศึกษา พบว่า การใช้แบบสอบถามข้อมูล จปฐ. และแบบสอบถามข้อมูล กชช. 2ค
สำหรับใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ปรับระยะเวลาการเริ่มใช้ให้สอดคล้อง
กับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 13 และแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี จึงเริ่มใช้ระหว่าง
พ.ศ.2566 – 2570 เครื่องชี้วัดข้อมูล จปฐ. ที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูลช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติฉบับที่ 13 ( พ.ศ.2566 - พ.ศ. 2570) ประกอบด้วย 5 หมวด 38 ตัวชี้วัด ได้แก่ หมวดที่ 1
สุขภาพ มี 12 ตัวชี้วัด หมวดที่ 2 มาตรฐานความเป็นอยู่ มี 9 ตัวชี้วัด หมวดที่ 3 การศึกษา มี 5 ตัวชี้วัด
หมวดที่ 4 เศรษฐกิจ มี 4 ตัวชี้วัด และหมวดที่ 5 การคุ้มครองทางสังคมและการมีส่วนร่วม มี 8 ตัวชี้วัด
และเครื่องชี้วัดข้อมูล กชช. 2ค สำหรับใช้ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13
(พ.ศ. 2566 - 2570) ประกอบด้วย 7 หมวด 44 ตัวชี้วัด ดังนี้ หมวดที่ 1 โครงสร้างพื้นฐาน มี 10
ตัวชี้วัด หมวดที่ 2 สภาพพื้นฐานทางเศรษฐกิจ มี 10 ตัวชี้วัด หมวดที่ 3 สุขภาวะและอนามัย มี 7
ตัวชี้วัด หมวดที่ 4 ความรู้และการศึกษา มี 4 ตัวชี้วัด หมวดที่ 5 การมีส่วนร่วมและความเข้มแข็ง
ของชุมชน มี 5 ตัวชี้วัด หมวดที่ 6 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มี 5 ตัวชี้วัด และหมวดที่ 7
ความเสี่ยงของชุมชนและภัยพิบัติ มี 3 ตัวชี้วัด สำหรับกลไกและกระบวนการบริหารจัดเก็บข้อมูลให้มี
คุณภาพ ต้องมีกลไกควบคุมคุณภาพในทุกระดับ ดังนี้ คณะกรรมการอำนวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิต
ของประชาชน (พชช.) คณะทำงานบริหารการจัดเก็บข้อมูลฯ ระดับจังหวัด คณะทำงานบริหารการจัดเก็บ
ข้อมูลฯ ระดับอำเภอ คณะทำงานบริหารการจัดเก็บข้อมูลฯ ระดับตำบล และคณะผู้จัดเก็บข้อมูลระดับ
หมู่บ้าน โดยมีกระบวนการที่มีคุณภาพ ดังนี้การสร้างความรู้ความเข้าใจ การออกแบบวิธีการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล การบันทึกและประมวลข้อมูล การตรวจทานข้อมูล และการนำเสนอข้อมูลเพื่อการใช้
ประโยชน์ร่วมกันในทุกระดับ ข้อเสนอแนะเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บข้อมูลควรให้คนในชุมชนและ
องค์กรหน่วนงานที่เกี่ยวข้องเห็นความสำคัญในการให้ข้อมูลและการจัดเก็บข้อมูลโดยการสร้างการมี
ส่วนร่วมในการจัดเก็บข้อมูล และควรมีการฝึกอบรมและเพิ่มองค์ความรู้ให้กับผู้จัดเก็บข้อมูลอย่างเข้มข้น
รวมทั้งการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรับทราบถึงระยะเวลาในการจัดเก็บข้อมูลรวมกันทั้งประเทศ

คำสำคัญ: คุณภาพชีวิตประชาชน,ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.),ข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค)

รายงานฉบบั สมบูรณโ์ ครงการจัดทำเคร่อื งช้ีวดั และแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พืน้ ฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พื้นฐาน
ระดบั หมูบ่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ลำดับ ตัวช้วี ดั ขอ้ คำถาม เกณฑก์ ารวเิ คราะห์ ผลการวิเคราะห์
เกณฑ์ช้วี ัด คะแนน (คะแนนท่ไี ด้)

ก. ประมงนำ้ จดื

ข. การเพาะเลี้ยงสตั ว์น้ำกร่อย

ทะเล

(1) ครัวเรอื นทั้งหมด

............................ครัวเรือน

(คำถามข้อ 1.1)

(2) มีครัวเรอื นทเี่ พาะเลี้ยงสตั ว์

น้ำกรอ่ ย น้ำทะเล

............................ครัวเรือน

(คำถามขอ้ 17.4.1)

หมายเหตุ จะไมม่ กี ารคำนวณเกณฑ์

การชว้ี ดั ขอ้ นี้ ถา้ มีครัวเรอื นที่

เพาะเลี้ยงสตั วน์ ำ้ กร่อย นำ้ ทะเล นอ้ ย

กว่ารอ้ ยละ 20 ของครัวเรือนทง้ั หมด

วิธคี ำนวณ

รอ้ ยละ = (2) x 100 =
(1) .............

(ถ้าคำนวณได้นอ้ ยกว่าร้อยละ 20 ให้

ขา้ มไปพิจารณาการ)

เพาะเลีย้ งสตั ว์นำ้ จดื )

(3) ครวั เรอื นที่เพาะเลย้ี งสตั ว์

น้ำกรอ่ ย นำ้ ทะเล มรี ายได้

เฉล่ีย ครวั เรือนละ

............................บาทต่อปี

(คำถามขอ้ 17.4.1 (2))

ค. การเพาะเลีย้ งสตั วน์ ้ำจืด

(1) ครวั เรือนท้งั หมด

..........................ครวั เรือน

(คำถามขอ้ 1.1)

(2) มีครวั เรอื นท่ีเพาะเลย้ี งสตั ว์

น้ำจดื ..................ครวั เรอื น

(คำถามขอ้ 17.4.4)

หมายเหตุ จะไม่มกี ารคำนวณเกณฑ์

การชีว้ ัดข้อนี้ ถา้ มคี รวั เรอื นท่ี

เพาะเลย้ี งสตั ว์นำ้ จืด น้อยกว่ารอ้ ยละ

10 ของครวั เรอื นทั้งหมด

วิธคี ำนวณ

ร้อยละ = (2) x 100 =
(1) .............

189

รายงานฉบบั สมบูรณ์โครงการจดั ทำเครอ่ื งชว้ี ัดและแบบสอบถามข้อมลู ความจำเป็นพนื้ ฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พื้นฐาน
ระดบั หมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ลำดบั ตัวชีว้ ดั ขอ้ คำถาม เกณฑ์การวเิ คราะห์ ผลการวิเคราะห์
เกณฑช์ ว้ี ัด คะแนน (คะแนนท่ไี ด้)
ตวั ชวี้ ัด ผลผลติ จาก
ที่ 18 การทำ (ถ้าคำนวณได้น้อยกวา่ รอ้ ยละ 20
เกษตรอ่นื ๆ
ให้ขา้ มไปพจิ ารณาข้อ 18)

ครวั เรอื นที่เพาะเลย้ี งสัตวน์ ้ำจดื

มีรายไดเ้ ฉลย่ี ครัวเรอื นละ

............................บาทต่อปี (คำถาม

ขอ้ 17.4.4 (2)

พชื เศรษฐกจิ อนื่ ๆ พชื เศรษฐกิจอน่ื ๆ 3 
และกจิ การเกษตร
(1) ครัวเรือนทัง้ หมด อนื่ ๆ ให้คำนวณ 2
เกณฑ์การชีว้ ัดแยก 1
.............................ครัวเรือน ตามประเภทของการ
ประกอบอาชีพและ
(คำถามขอ้ 1.1) เลอื กคะแนนตำ่ สดุ
เป็นคะแนน
(2) ครวั เรอื นท่ีปลกู พืช รายได้ตอ่ ครัวเรอื น
มากกว่า 42,600
เศรษฐกจิ เพื่อขาย บาท/ปี

...........................ครัวเรือน รายไดต้ ่อครวั เรอื น
21,300 -
(คำถามข้อ 18.4.3) 42,600 บาท/ปี

วธิ คี ำนวณ รายได้ต่อครัวเรอื น
น้อยกวา่ 23,000
ร้อยละ = (2) x 100 = บาท/ปี
(1) ............

(3) ครวั เรอื นทป่ี ลูกพืช
เศรษฐกจิ มรี ายได้เฉลีย่
ครวั เรอื นละ
.............................บาทต่อปี
(คำถามข้อ 18.4.5)

กิจการเกษตรอน่ื ๆ

(1) ครัวเรือนทง้ั หมด

.............................ครัวเรือน

(คำถามขอ้ 1.1)

(2) ครวั เรือนที่ทำกจิ การเกษตร

อ่นื ๆ ...................ครัวเรือน

(คำถามขอ้ 18.5.1)

วธิ คี ำนวณ

ร้อยละ = (2) x 100 =
(1) ..........

(3) ครัวเรือนทที่ ำกจิ การเกษตร
อน่ื ๆ มรี ายไดเ้ ฉลย่ี
ครัวเรือนละ........ บาทต่อปี
(คำถามข้อ 18.5.2 (3))

190

รายงานฉบับสมบูรณโ์ ครงการจดั ทำเคร่อื งชว้ี ัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพ้นื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพนื้ ฐาน
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ลำดบั ตวั ชว้ี ัด ข้อคำถาม เกณฑ์การวเิ คราะห์ ผลการวเิ คราะห์

เกณฑช์ ว้ี ัด คะแนน (คะแนนที่ได)้

ตวั ชว้ี ัด การประกอบ (1) ครวั เรือนท้งั หมด อุตสาหกรรมใน 3 

ที่ 19 อตุ สาหกรรม .............................ครัวเรือน ครัวเรอื น

ในครวั เรือน (คำถามข้อ 1.1) รายไดเ้ ฉลี่ยตอ่

(2) มีครวั เรอื นทปี่ ระกอบอาชพี ครัวเรือน มากกวา่

อตุ สาหกรรมในครัวเรอื น 63,900 บาท/ปี

.............................ครัวเรือน รายได้เฉล่ียต่อ 2
(คำถามข้อ 19.1)
ครวั เรือน 42,600
หมายเหตุ จะไมม่ ีการคำนวณเกณฑ์ - 63,900 บาท/ปี
การชวี้ ดั ข้อนี้ ถ้าจำนวนครวั เรือนที่ รายไดเ้ ฉลยี่ ตอ่
ประกอบอาชพี อตุ สาหกรรมใน 1

ครัวเรอื น นอ้ ยกว่า
ครัวเรือน และหัตถกรรมมีน้อยกวา่ 42,600 บาท/ปี
รอ้ ยละ 30 ของครวั เรอื นทั้งหมด

วธิ คี ำนวณ

ร้อยละ = (2) x 100 =
(1) .............

(ถา้ คำนวณไดน้ ้อยกวา่ ร้อยละ 30 ให้

ขา้ มไปพจิ ารณาขอ้ 20)

(3) ผลรวมของรายได้เฉล่ยี ตอ่ ปี

จากการประกอบอาชพี

อตุ สาหกรรมในครัวเรือน

และหตั ถกรรมของ

ครวั เรือนในแตล่ ะประเภท

....................................บาท

(คำถามข้อ 19.2 (2) +

19.3 (2) + 19.4 (2))

(4) จำนวนประเภท

อตุ สาหกรรมในครัวเรอื นท่ี

ทำมีทงั้ หมด

............................ประเภท

(คำถามข้อ 19.2 , 19.3

และ 19. 4 )

วิธีคำนวณ

ร้อยละ = (3) x 100 =........
(4) บาทต่อปี

.........................

ตัวช้ีวัด การท่องเทีย่ ว (1) ครัวเรอื นทง้ั หมด จำนวนครัวเรอื นที่มี 3 

ท่ี 20 .............................ครัวเรือน รายไดจ้ ากแหล่ง

(คำถามขอ้ 1.1) ทอ่ งเที่ยว มากกวา่

รอ้ ยละ 5 ของ

ครวั เรอื นทงั้ หมด

191

รายงานฉบบั สมบรู ณ์โครงการจัดทำเครอ่ื งช้วี ดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พนื้ ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพน้ื ฐาน
ระดับหมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรับใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ลำดบั ตวั ช้ีวัด ข้อคำถาม เกณฑก์ ารวิเคราะห์ ผลการวิเคราะห์

เกณฑ์ช้วี ดั คะแนน (คะแนนทไ่ี ด)้

(2) จำนวนครัวเรือนที่มรี ายได้ จำนวนครัวเรอื นท่มี ี 2

จากการมสี ถานท่ีท่องเทยี่ ว รายไดจ้ ากแหลง่

ภายในตำบล ท่องเทีย่ ว ระหว่าง

.............................ครัวเรือน รอ้ ยละ 1 - 5 ของ

(คำถามข้อ 20.1.5 + ครัวเรือนทงั้ หมด

20.1.6) ไม่มีครวั เรือนที่มี 1

(3) จำนวนครวั เรือนที่มรี ายได้ รายได้จากแหล่ง
จากการมสี ถานทีท่ อ่ งเท่ียว ทอ่ งเท่ยี ว
ภายนอกตำบล

.............................ครัวเรือน

(คำถามขอ้ 20.1.7)

วธิ คี ำนวณ

รอ้ ย ( (2) + (3) ) x =.....
ละ= 100

(1)

หมวดท่ี 3 สุขภาวะและอนามยั (7 ตัวชว้ี ัด)

ลำดบั ตวั ช้ีวดั ข้อคำถาม เกณฑ์การวิเคราะห์ ผลการวเิ คราะห์
ตัวช้ีวดั การปอ้ งกนั
ที่ 21 โรคติดต่อ (1) จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคติดต่อท่ี เกณฑช์ ีว้ ัด ค่า (คะแนนทไี่ ด้)
ปอ้ งกนั ได้ดว้ ยวคั ซนี ...............คน
ตวั ชว้ี ดั การได้รบั (คำถามขอ้ 21.1.1.2 (1) ถึง (13) คะแนน
ท่ี 22 บริการและ และ 21.1.1.3 (1) ถงึ (7))
ดูแล (2) จำนวนผู้ตายดว้ ยโรคตดิ ต่อท่ี ไมม่ ีจำนวนผู้ป่วย 3 
สขุ ภาพ ป้องกนั ได้ดว้ ยวัคซีน...............คน
อนามัย (คำถามขอ้ 21.1.1.2 (1) ถงึ (13) และตายด้วย
และ 21.1.1.3 (1) ถึง (7))
โรคตดิ ตอ่ ทปี่ ้องกนั
หม่บู ้าน/ชมุ ชนนี้ สามารถเข้าถึงบรกิ าร
และดูแลสุขภาพอนามัยภายในตำบล ได้ดว้ ยวคั ซนี
หรือไม่ (คำถามข้อ 22.1)
มจี ำนวนผปู้ ว่ ย 2

ดว้ ยโรคตดิ ตอ่

ทีป่ ้องกันไดด้ ว้ ย

วคั ซีน

มีจำนวนผูต้ ายดว้ ย 1

โรคตดิ ต่อ

ท่ปี ้องกันได้ด้วย

วัคซนี

ครวั เรอื นสามารถ 3 

เขา้ ถึงบริการและ

ดูแลสุขภาพอนามัย

ภายในตำบล

รอ้ ยละ 100 ของ

ครัวเรือนทง้ั หมด

192

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเครือ่ งชวี้ ัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พืน้ ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พน้ื ฐาน
ระดบั หมูบ่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ลำดบั ตวั ชว้ี ดั ข้อคำถาม เกณฑ์การวิเคราะห์ ผลการวเิ คราะห์
เกณฑ์ชีว้ ดั คา่ (คะแนนท่ไี ด้)
ตวั ชีว้ ัด อนามัยแม่ (1) จำนวนครัวเรอื นท้ังหมดใน
ที่ 23 และเด็ก หมูบ่ ้าน/ชุมชน ...................... คะแนน
ครวั เรอื น (คำถามขอ้ 1.1)
ครวั เรือนสามารถ 2
(2) จำนวนครัวเรอื นทส่ี ามารถ เขา้ ถึงบริการและ
เขา้ ถึงบรกิ ารและดแู ลสุขภาพ ดแู ลสุขภาพอนามยั
อนามยั ภายในตำบล ภายในตำบล
...................ครัวเรือน ระหวา่ งร้อยละ
90-99 ของ
วิธคี ำนวณ = ครัวเรอื นทงั้ หมด
..........
รอ้ ยละ (2) x 100 ครวั เรอื นสามารถ 1
= (1) เขา้ ถงึ บริการและ
ดูแลสุขภาพอนามยั
ในรอบปที ่ีผา่ นมาหมู่บ้าน/ชุมชนน้ี ภายในตำบล นอ้ ย
กว่าร้อยละ 90 ของ
(1) จำนวนมารดาเสยี ชีวิตตอ่ ครวั เรอื นทง้ั หมด
การเกิดมีชพี (คำถามขอ้ หมบู่ ้าน/ชมุ ชนน้ี ไม่ 3 
23.1.3) มมี ารดาเสยี ชวี ติ ต่อ
 ไม่มี  มี การเกิดมีชพี
ไมม่ ี มารดาเสยี ชวี ิต
(2) จำนวนมารดาเสยี ชวี ิตตอ่ ตอ่ การเกิดไร้ชีพ
การเกดิ ไร้ชพี (คำถามขอ้ และไมม่ ีทารกมีชีพ
23.1.4) ที่ไม่ได้เกดิ ใน
 ไมม่ ี  มี โรงพยาบาล หรอื
สถานพยาบาล หรือ
(3) จำนวนทารกมชี พี ที่ไมไ่ ดเ้ กดิ เกดิ โดยไมไ่ ดร้ ับการ
ในโรงพยาบาล หรอื ดแู ลอย่างถกู ตอ้ ง
สถานพยาบาล หรอื เกดิ โดย ตามหลักวชิ าการ
ไมไ่ ด้รับการดูแลอย่างถูกตอ้ ง
ตามหลกั วิชาการ (คำถามขอ้ หมู่บ้าน/ชมุ ชนนมี้ ี 2
23.1.5) มารดาเสยี ชวี ิตต่อ
 ไมม่ ี  มี การเกดิ มชี ีพ หรอื มี
มารดาเสยี ชวี ติ ตอ่
การเกดิ ไรช้ พี หรอื
มที ารกมีชีพทไี่ มไ่ ด้
เกดิ ในโรงพยาบาล
หรือสถานพยาบาล
หรือเกิดโดยไมไ่ ด้
รับการดแู ลอยา่ ง
ถูกต้องตามหลัก
วชิ าการ อย่างใด
อยา่ งหนง่ึ

193

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการจดั ทำเครือ่ งช้วี ัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพนื้ ฐาน
ระดบั หมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ่วงแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ลำดับ ตัวชีว้ ัด ข้อคำถาม เกณฑก์ ารวิเคราะห์ ผลการวิเคราะห์

ตัวช้ีวดั เกณฑ์ชว้ี ัด คา่ (คะแนนทไ่ี ด)้
ที่ 24
คะแนน

หม่บู า้ น/ชมุ ชนนี้ มี 1

มารดาเสยี ชีวิตต่อ

การเกิดมีชพี และมี

มารดาเสยี ชวี ิตตอ่

การเกิดไรช้ พี และ

มที ารกมชี พี ทไี่ มไ่ ด้

เกดิ ในโรงพยาบาล

หรือสถานพยาบาล

หรือเกิดโดยไม่ได้

รับการดูแลอยา่ ง

ถกู ต้องตามหลกั

วชิ าการ

สขุ ภาวะ หมบู่ ้าน / ชมุ ชนนีม้ คี นพิการที่ยังไม่เข้า หมูบ่ า้ น/ชุมชนน้ี ไม่ 3 
คนพกิ าร ระบบประกันสุขภาพถว้ นหนา้
และผูส้ งู อายุ (คำถามข้อที่ 24.1.4) มีคนพิการท่ียังไมเ่ ขา้

 ไมม่ ี  มี ระบบประกันสขุ ภาพ
หม่บู ้าน/ชุมชนนี้มผี ู้สงู อายุทไ่ี มส่ ามารถ
เข้าถึงระบบการดูแลสขุ ภาพและ ทว่ั หน้า และไม่มี
การคุ้มครองทางสงั คม (คำถามข้อท่ี
24.2.6) ผ้สู ูงอายทุ ไี่ มส่ ามารถ
 ไมม่ ี  มี
เขาถึงระบบการดแู ล

สุขภาพและการ

คมุ้ ครองทางสงั คม

หมู่บ้าน/ชุมชนนี้ มี 2

คนพกิ ารทีย่ งั ไม่เขา้

ระบบประกันสขุ ภาพ

ทว่ั หน้า หรอื มี

ผสู้ งู อายุทีไ่ ม่สามารถ

เขาถึงระบบการดแู ล

สขุ ภาพและการ

คมุ้ ครองทางสงั คม

อย่างใดอยา่ งหนง่ึ

หมบู่ า้ น/ชมุ ชนนี้ มี 1

คนพิการท่ยี ังไมเ่ ขา้

ระบบประกันสุขภาพ

ทวั่ หนา้ และมี

ผู้สูงอายุท่ีไมส่ ามารถ

เข้าถึงระบบการดแู ล

สขุ ภาพและการ

คมุ้ ครองทางสงั คม

194

รายงานฉบับสมบูรณโ์ ครงการจัดทำเครอื่ งชว้ี ัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พื้นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พน้ื ฐาน
ระดบั หม่บู ้าน (กชช. 2ค) สำหรับใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ลำดับ ตวั ช้ีวัด ขอ้ คำถาม เกณฑก์ ารวิเคราะห์ ผลการวเิ คราะห์

เกณฑช์ ว้ี ัด ค่า (คะแนนทไ่ี ด้)

คะแนน

ตัวชี้วัด อนามัย ก. หม่บู า้ น/ชมุ ชนน้ี ครัวเรือนมีการ ทงั้ ข้อ ก. ข. และ 3 
ท่ี 25 ส่งิ แวดลอ้ ม
จดั การขยะในครัวเรือน (คำถามขอ้ ที่ ค.ต้องมคี รวั เรอื น

25.1) มากกวา่ ร้อยละ

(1) จำนวนครัวเรอื นทงั้ หมดใน 80 ของครวั เรอื น

หมู่บา้ น/ชุมชน ...................... ท้งั หมด

ครวั เรอื น (คำถามขอ้ 1.1) ขอ้ ก. ข. และ ค. 2

(2) จำนวนครัวเรือนทมี่ ีการ มีข้อใดข้อหน่งึ ท่มี ี

จดั การขยะในครัวเรอื น ครัวเรือนน้อยกว่า

...................ครัวเรือน ร้อยละ 80 ของ

(คำถามขอ้ 25.1) ครัวเรือนทั้งหมด

วธิ คี ำนวณ ข้อ ก. ข. และ ค. 1

ร้อยละ = (2) x 100 = มี 2 ขอ้ ทม่ี ี
(1) ..................
ครวั เรอื นนอ้ ยกวา่
ข. หมู่บ้าน/ชมุ ชนน้ี ครัวเรือนทีม่ กี าร
รอ้ ยละ 80 ของ
จดั การส้วมและสิ่งปฏิกูล (คำถามขอ้ ท่ี
ครวั เรอื นทั้งหมด
25.2)

(1) จำนวนครวั เรอื นทง้ั หมดใน

หมบู่ ้าน/ชุมชน ......................

ครวั เรอื น (คำถามข้อ 1.1)

(2) จำนวนครวั เรือนท่มี ีการ

จัดการสว้ มและสิ่งปฏิกลู

.................ครัวเรือน (คำถาม

ข้อ 25.2)

วิธีคำนวณ

รอ้ ยละ (2) x 100 =

= (1) ................

ค. หม่บู า้ น/ชุมชนนี้ ครวั เรือนท่ีมที ี่อยู่

อาศยั

ถกู สุขลักษณะ (คำถามข้อที่ 25.3)

(1) จำนวนครวั เรือนทั้งหมดใน

หมูบ่ า้ น/ชมุ ชน .....................

ครวั เรอื น (คำถามขอ้ 1.1)

(2) จำนวนครัวเรอื นทีม่ ที ี่อยู่

อาศยั ถูกสุขลักษณะ

................ครัวเรือน (คำถาม

ขอ้ 25.3)

วธิ คี ำนวณ

ร้อยละ (2) x 100 =

= (1) ....................

195

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการจดั ทำเครอื่ งชว้ี ัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเปน็ พื้นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพน้ื ฐาน
ระดับหมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ลำดับ ตัวช้ีวัด ข้อคำถาม เกณฑ์การวิเคราะห์ ผลการวเิ คราะห์

ตัวชีว้ ดั ความ (1) มีการบาดเจ็บจากการทำงานใน เกณฑ์ชี้วดั คา่ (คะแนนที่ได้)
ที่ 26 ปลอดภัย สถานประกอบการ...........คน (คำถาม
ข้อ 26.2) คะแนน
ในการ (2) มกี ารเจบ็ ป่วยจากการทำงานใน
ทำงาน สถานประกอบการ............คน (คำถาม ไมบ่ าดเจบ็ จากการ 3 
ข้อ 26.3)
(3) มีการเจ็บปว่ ยจากการทำงานใน ทำงานในสถาน
กลมุ่ แรงงานนอกระบบ/กลุ่มวสิ าหกิจ
ชมุ ชน/ผรู้ ับงานไปทำท่ีบา้ น.............คน ประกอบการ และไม่
(คำถามข้อ 26.4)
(4) มกี ารเจ็บป่วยจากการใชส้ ารเคมี เจบ็ ปว่ ยจากการ
กำจัดศตั รูพชื ..............คน (คำถามขอ้
26.5) ทำงานในสถาน

ประกอบการ และไม่

เจ็บป่วยจากการ

ทำงานในกลมุ่

แรงงานนอกระบบ/

กลุ่มวสิ าหกิจชุมชน/

ผรู้ บั งานไปทำทบี่ ้าน

และไมเ่ จ็บป่วยจาก

การใช้สารเคมกี ำจัด

ศตั รูพืช

มีการบาดเจ็บจาก 2

การทำงานในสถาน

ประกอบการ หรอื

เจ็บป่วยจากการ

ทำงานในสถาน

ประกอบการหรือ

เจ็บปว่ ยจากการ

ทำงานในกลมุ่

แรงงานนอกระบบ/

กลุ่มวิสาหกจิ ชุมชน/

ผู้รบั งานไปทำทบ่ี ้าน

หรอื เจบ็ ปว่ ยจาก

การใช้สารเคมีกำจัด

ศตั รูพชื อยา่ งนอ้ ย

1 อย่าง

มีการบาดเจ็บจาก 1

การทำงานในสถาน

ประกอบการ และ

เจบ็ ป่วยจากการ

ทำงานในสถาน

ประกอบการและ

เจ็บปว่ ยจากการ

ทำงานในกลุ่ม

แรงงานนอกระบบ/

196

รายงานฉบับสมบูรณโ์ ครงการจัดทำเครอ่ื งช้วี ัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พน้ื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พ้นื ฐาน
ระดับหม่บู า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ลำดับ ตวั ช้วี ดั ข้อคำถาม เกณฑ์การวิเคราะห์ ผลการวิเคราะห์

ตวั ชี้วดั การกฬี า เกณฑ์ชวี้ ดั คา่ (คะแนนที่ได)้
ท่ี 27 และการ
คะแนน
ออกกำลงั
กาย กล่มุ วิสาหกิจ

ชุมชน/ผ้รู ับงานไป

ทำทบี่ ้านและ

เจบ็ ป่วยจากการใช้

สารเคมกี ำจัด

ศตั รูพชื

(1) มีการแขง่ ขันกีฬาภายใน มีการแขง่ ขนั กีฬา 3 

หมู่บ้าน/ชมุ ชน (คำถามข้อ 27.1.1) ภายในหมบู่ ้าน

(2) มกี ารฝกึ สอนกีฬาให้กับ หรอื ระหวา่ ง

ประชาชนในหมบู่ า้ น/ชุมชน (คำถามข้อ หมู่บา้ นและมกี าร

27.1.2) ฝึกสอนกฬี าใหก้ ับ

(3) มกี ารแข่งขนั กฬี าระหวา่ ง ประชาชน

หม่บู ้าน/ชุมชน (คำถามข้อ27.1.3) มากกวา่ 3 คร้งั

มีการแข่งขันกฬี า 2

ภายในหมบู่ ้าน

หรอื ระหว่าง

หม่บู ้านและมีการ

ฝกึ สอนกฬี าให้กับ

ประชาชนระหวา่ ง

1-3 คร้งั

มกี ารแข่งขันกีฬา 1

ภายในหมบู่ ้าน

หรอื ระหวา่ ง

หมูบ่ ้านและมกี าร

ฝกึ สอนกฬี าใหก้ ับ

ประชาชนนอ้ ย

กวา่ 1 คร้ัง

หรือไม่มีเลย

197

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการจดั ทำเครื่องช้วี ดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพน้ื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพ้ืนฐาน
ระดับหมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

หมวดที่ 4 ความร้แู ละการศกึ ษา (4 ตัวชีว้ ดั )

ลำดับ ตัวชว้ี ัด ขอ้ คำถาม เกณฑก์ ารวิเคราะห์ ผลการ
วเิ คราะห์
ตัวชีว้ ดั การใหบ้ รกิ าร หมู่บ้าน/ชุมชนนี้ สามารถเข้าถึง เกณฑช์ ี้วดั ค่า (คะแนนทีไ่ ด้)
ท่ี 28 ด้านการศึกษา การให้บริการด้านการศึกษาภายใน คะแนน
ตำบล ดงั ต่อไปน้ี หรือไม่ 
(1) สถานพฒั นาเด็กปฐมวัยหรอื หมบู่ า้ น/ชุมชนนี้ 3
สามารถเขา้ ถึงการ
สถานรบั เลยี้ งเด็กก่อนวยั ให้บริการดา้ น
เรยี น (คำถามขอ้ ที่ 28.1.1) การศกึ ษาภายใน
 เข้าไม่ถึง  เขา้ ถงึ ตำบล จำนวน 6-
(2) โรงเรยี นทเ่ี ปดิ สอนกอ่ น 9 ข้อ
ระดบั ประถมศึกษา (โรงเรยี น
อนบุ าล) (คำถามขอ้ 28.1.2) หมบู่ ้าน/ชมุ ชนนี้ 2
 เข้าไม่ถึง  เขา้ ถงึ สามารถเข้าถึงการ
(3) โรงเรยี นทเ่ี ปิดสอนระดบั ใหบ้ รกิ ารด้าน
ประถมศกึ ษา (คำถามขอ้ การศกึ ษาภายใน
28.1.3) ตำบล จำนวน 5
 เข้าไมถ่ งึ  เข้าถึง ข้อ
(4) โรงเรยี นทเ่ี ปิดสอนระดับ
มัธยมศกึ ษาตอนตน้ หมูบ่ า้ น/ชมุ ชนนี้ 1
(คำถามขอ้ 28.1.4) สามารถเขา้ ถงึ การ
 เข้าไม่ถงึ  เข้าถงึ ให้บรกิ ารดา้ น
(5) โรงเรยี นทเ่ี ปิดสอนระดบั การศึกษาภายใน
มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ตำบล จำนวน
(คำถามขอ้ 28.1.5) น้อยกว่า 5 ข้อ
 เขา้ ไม่ถึง  เขา้ ถึง
(6) การศึกษาผู้ใหญ่ (คำถาม
ข้อ 28.1.6)
 เขา้ ไมถ่ ึง  เขา้ ถงึ
(7) ทอ่ี า่ นหนังสอื ประจำหมบู่ า้ น
/ชมุ ชน (คำถามขอ้ 28.1.7)
 เข้าไม่ถงึ  เขา้ ถงึ
(8) หอ้ งสมดุ ประชาชน/หอ้ งสมดุ
โรงเรียน/หอ้ งสมดุ วดั ท่ีใช้
การได้ (คำถามข้อ 28.1.8)
 เข้าไม่ถึง  เข้าถงึ
(9) ศูนยก์ ารเรียนร้ชู ุมชน/
ศนู ยบ์ รกิ ารอินเทอร์เนต็
ตำบล (คำถามขอ้ 28.2.2)

198

รายงานฉบับสมบูรณโ์ ครงการจดั ทำเครือ่ งชี้วดั และแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พืน้ ฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพน้ื ฐาน
ระดบั หม่บู ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ลำดบั ตวั ชวี้ ดั ขอ้ คำถาม เกณฑ์การวเิ คราะห์ ผลการ
วิเคราะห์
ตวั ช้วี ดั ความรอบรู้ เกณฑ์ชวี้ ดั ค่า (คะแนนที่ได้)
ที่ 29
คะแนน 

ครัวเรือนในหมบู่ า้ น/ชมุ ชนส่วนใหญ่ ครวั เรือนใน 3

มีความรอบรู้ ในประเด็นดงั ตอ่ ไปนี้ หมู่บ้าน/ชมุ ชน

ข้อท่ี ประเด็น ผลการ มากกว่ารอ้ ยละ50

ประเมิน มคี วามรอบรู้

ความรอบรู้ดา้ นสุขภาพ จำนวน 9-12 ข้อ

1 มคี วามรู้ในการ  ใช่ ครวั เรือนใน 2

เลอื กท่จี ะเชอื่  ไม่ใช่ หมู่บ้าน/ชมุ ชน

หรือไม่เชอ่ื ความรู้ มากกว่าร้อยละ50

สุขภาพทีไ่ ด้รับมา มีความรอบรู้

(คำถามข้อ

29.1.1) จำนวน 5-8 ขอ้

2 มีความสามารถใน  ใช่ ครัวเรอื นใน 1

การตดั สนิ ใจ  ไม่ใช่ หมบู่ า้ น/ชุมชน

เลือกใช้ผลิตภัณฑ์ มากกวา่ รอ้ ยละ50

และบริการ มีความรอบรู้

เกีย่ วกบั สุขภาพ จำนวน 0-4 ขอ้

อยา่ งเหมาะสม

(คำถามข้อ หมู่บ้าน/ชุมชนนี้ 2

29.1.2) ได้รับการฝึกอบรม

3 มีความสามารถท่ี  ใช่ ด้านใดด้านหน่ึง

จะแนะนำและ  ไมใ่ ช่ หมู่บ้าน/ชมุ ชนน้ี 1

บอกตอ่ ขอ้ มลู ไม่ไดร้ ับการฝกึ

สขุ ภาพใหค้ นอ่ืน อบรมทั้ง 3 ด้าน

ได้ (คำถามข้อ

29.1.3)

ความรอบรดู้ า้ นดิจทิ ัล

4 มคี วามสามารถใน  ใช่

การใชเ้ ทคโนโลยี  ไม่ใช่

ดิจิทลั

(คำถามขอ้

29.2.1)

5 มคี วามสามารถใน  ใช่

การติดตามข้อมูล  ไมใ่ ช่

สารสนเทศอยา่ ง

เหมาะสม (คำถาม

ข้อ 29.2.2)

ความรอบรดู้ า้ นส่ือ

6 มคี วามสามารถใน  ใช่

การเข้าถงึ ส่อื  ไม่ใช่

สาธารณะท่ี

หลากหลาย

(คำถามขอ้

29.3.1)

199

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการจัดทำเครื่องช้ีวดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พ้ืนฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพ้ืนฐาน
ระดับหมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ่วงแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ลำดบั ตวั ช้วี ดั ข้อคำถาม เกณฑก์ ารวิเคราะห์ ผลการ

เกณฑ์ชว้ี ัด ค่า วิเคราะห์

คะแนน (คะแนนท่ีได้)

7 มคี วามสามารถใน  ใช่
การวเิ คราะห์  ไมใ่ ช่
แยกแยะสอ่ื ท่ีดี
และไม่ดี รวมทง้ั มี  ใช่
ความเขา้ ใจ  ไมใ่ ช่
จดุ มงุ่ หมายการ
นำเสนอเน้อื หา  ใช่
ของสอ่ื (คำถาม  ไม่ใช่
ข้อ 29.3.2)
 ใช่
8 มีความสามารถใน  ไมใ่ ช่
การประเมินคา่
และเข้าใจ  ใช่
ผลกระทบของส่อื  ไม่ใช่
(คำถามข้อ
29.3.3)  ใช่

9 มคี วามสามารถใน ไม่ใช่
การใช้สอ่ื ใหเ้ กดิ
ประโยชนไ์ ด้
(คำถามขอ้
29.3.4)

ความรอบร้เู ร่อื งการเงนิ

10 มคี วามสามารถใน
การคน้ หาและ
เข้าถงึ แหลง่ ขอ้ มลู
ทางการเงินได้
(คำถามขอ้
29.4.1)

11 มีความร้แู ละ
ความสามารถใน
การจดั ทำบัญชี
รายรับ-รายจ่าย
วางแผนการใช้
จ่ายเงินตามความ
จำเป็น และรจู้ กั
การออมเงนิ
(คำถามขอ้
29.4.2)

12 มีความรู้และมี
การสร้างความ
มั่นคงทางการเงิน
ด้วยการนำเงินไป
ลงทุนเพื่อสร้าง
รายได้(คำถามข้อ
29.4.3)

200

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเครือ่ งช้ีวดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพนื้ ฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพ้ืนฐาน
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ลำดบั ตัวชว้ี ัด ขอ้ คำถาม เกณฑ์การวเิ คราะห์ ผลการ
ตัวชว้ี ัด วเิ คราะห์
ที่ 30 การไดร้ บั การ คนในหมู่บ้าน/ชุมชนนี้ ไดร้ ับการ เกณฑช์ วี้ ดั ค่า (คะแนนที่ได้)
ฝึกอบรมดา้ น คะแนน 
ตัวช้ีวัด ตา่ ง ๆ ฝกึ อบรม ดงั ตอ่ ไปนี้ หรือไม่
ที่ 31 หมู่บ้าน/ชุมชนนี้ 3 
โอกาสเขา้ ถึง 1 ด้านอาชีพ  ได้ ได้รับการฝึกอบรม
ระบบการศกึ ษา ครบทงั้ 3 ด้าน
ของคนพกิ าร (คำถามข้อ  ไมไ่ ด้

30.1.1)

2 ดา้ นการศกึ ษา  ได้

(คำถามขอ้  ไม่ได้

30.1.2)

3 ดา้ นสุขภาวะ  ได้

(คำถามขอ้  ไม่ได้

30.1.3)

จำนวนคนพกิ ารในหมบู่ ้าน/ชุมชน คนพิการใน 3
หมู่บา้ น/ชมุ ชนท่ี
ชว่ ยเหลอื ตนเองไดท้ ีไ่ ด้รับการศึกษา ช่วยเหลอื ตนเองได้ 2
และรับการศึกษา 1
(1) จำนวนคนพกิ ารใน ภาคบังคับ 9 ปี
(ป.1-ม.3)
หม่บู ้าน/ชุมชน ที่ มากกว่ารอ้ ยละ
97 ข้นึ ไป
ชว่ ยเหลือตนเองได้
คนพกิ ารใน
.............................คน หมบู่ า้ น/ชมุ ชนที่
ช่วยเหลือตนเองได้
(คำถามข้อ 31.1.1) และรบั การศึกษา
ภาคบงั คบั 9 ปี
(2) จำนวนคนพกิ ารใน (ป.1-ม.3) รอ้ ยละ
80-97 ข้ึนไป
หมบู่ ้าน/ชมุ ชน ที่
คนพิการใน
ชว่ ยเหลอื ตนเองได้และรบั หมู่บา้ น/ชมุ ชนท่ี
ช่วยเหลอื ตนเองได้
การศกึ ษาภาคบังคบั 9 ปี และรบั การศึกษา
ภาคบังคบั 9 ปี
(ป.1-ม.3) (คำถามข้อ (ป.1-ม.3) น้อย
กวา่ รอ้ ยละ 80
31.2.1)............................

คน

วิธคี ำนวณ

รอ้ ยละ (2) x 100 =

= (1) ..........

201

รายงานฉบบั สมบูรณ์โครงการจัดทำเครื่องชวี้ ดั และแบบสอบถามข้อมลู ความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พ้ืนฐาน
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

หมวดท่ี 5 การมีส่วนรว่ มและความเข้มแข็งของชุมชน (5 ตวั ชี้วดั )

ลำดบั ตัวชว้ี ัด ข้อคำถาม เกณฑก์ ารวเิ คราะห์ ผลการ

เกณฑ์ชี้วัด คา่ วิเคราะห์

คะแนน (คะแนนท่ีได)้

ตัวชี้วดั การรวมกลุ่ม การรวมกลุม่ ของประชาชน ในรอบปีที่ หมู่บ้าน/ชุมชน 3 

ท่ี 32 ของ ผา่ นมา ครัวเรือนมสี ่วนร่วมในกิจกรรม น้ี

ประชาชน ดงั นี้ มกี ารรวมกลมุ่

มากกว่า 6 กลมุ่

ขอ้ ประเด็น ผลการ ขน้ึ ไป

ที่ ประเมิน หมูบ่ ้าน/ชมุ ชน 2

1 กลมุ่ เกี่ยวกับการบริหาร  มี น้ี

จัดการทีด่ นิ สาธารณะ  ไมม่ ี มกี ารรวมกลมุ่

เพื่อประโยชนด์ า้ นตา่ ง ๆ ระหวา่ ง -3-5

ของหม่บู ้าน/ชมุ ชน กลุ่ม

(คำถามขอ้ 32.1.1)

2 กลมุ่ เกยี่ วกับการบริหาร  มี หมบู่ า้ น/ชมุ ชน 1

จดั การด้านต่าง ๆ  ไมม่ ี น้ี

สำหรบั การมที ี่อยูอ่ าศยั มกี ารรวมกลมุ่

เพ่ือลดจำนวนผู้ไร้บ้าน/ น้อยกว่า 3 กลมุ่

ไรท้ ีพ่ ึง่ (คำถามขอ้

32.1.2)

3 กลมุ่ เกย่ี วกบั การปกปอ้ ง  มี

มรดกทางวฒั นธรรมและ  ไมม่ ี

กิจกรรมทางวัฒนธรรม

(คำถามข้อ 32.1.3)

4 กลุ่มเกยี่ วกบั การปกปอ้ ง  มี

ภยั พิบตั จิ ากธรรมชาติ  ไม่มี

(เชน่ ตดั ไมท้ ำลายป่า

ไฟป่า ฝุน่ ละอองขนาด

เล็ก ฯลฯ) (คำถามขอ้

32.1.4)

5 กลุม่ เกย่ี วกบั การกำจัด  มี

มลภาวะทางสิ่งแวดลอ้ ม  ไม่มี

(ทางนำ้ ทางอากาศ ทาง

เสียง ขยะมลู ฝอยและ

สง่ิ ปฏกิ ลู ) (คำถามขอ้

32.1.5)

6 กลมุ่ เกีย่ วกบั การทำ  มี

กจิ กรรมดา้ นพลังงาน  ไม่มี

เช่น การอนุรกั ษพ์ ลังงาน

พลงั งานทดแทน

เทคโนโลยพี ลงั งาน เปน็

ตน้ (คำถามข้อ 32.1.6)

202

รายงานฉบับสมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเคร่ืองช้วี ัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพ้นื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พื้นฐาน
ระดับหมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ลำดับ ตวั ชวี้ ัด ขอ้ คำถาม เกณฑก์ ารวเิ คราะห์ ผลการ

ตวั ชวี้ ดั การมสี ว่ น เกณฑช์ ้วี ดั ค่า วิเคราะห์
ที่ 33 รว่ มของ
คะแนน (คะแนนทไ่ี ด้)
ชมุ ชน
7 กลมุ่ เกี่ยวกบั การประชมุ  มี
ของหมบู่ ้าน / กลุ่มตา่ ง  ไมม่ ี
ๆ เช่น กลมุ่ ออมทรพั ย์
เพ่ือการผลติ กลมุ่ สตรี
สหกรณ์การเกษตร กลมุ่
อาชพี หรอื กองทนุ
หมบู่ า้ น/ชุมชน ฯลฯ
(คำถามข้อ 32.1.7)

8 กลุ่มเกยี่ วกับการทำ  มี
กจิ กรรมชุมชนในพื้นท่ี  ไม่มี
(เชน่ ปลกู ต้นไม้ ทำ
ความสะอาดสถานที่
สาธารณะ ฯลฯ)
(คำถามขอ้ 32.1.8)

9 กลุม่ อ่นื ๆ ระบุ.............  มี
(คำถามข้อ 32.1.9)  ไม่มี

ครวั เรือนท่ีมสี มาชกิ เคยร่วมทำกิจกรรม ครวั เรือนทีม่ ี 3 
ในหมู่บ้าน/ชมุ ชน (คำถามขอ้ 33.1) สมาชิกเคยร่วม 2
ทำกิจกรรมใน 1
(1) จำนวนครัวเรือนทัง้ หมดใน หมบู่ ้าน/ชมุ ชน
หมูบ่ า้ น/ชุมชน มากกว่ารอ้ ยละ
...............................ครัวเรือน 95 ของ
ครวั เรอื น
(2) จำนวนครวั เรือนทีม่ สี มาชกิ เคย ทั้งหมด
รว่ มทำกจิ กรรมในหมู่บ้าน/ชุม
ชน............................... ครวั เรอื นที่มี
ครวั เรอื น สมาชกิ เคยรว่ ม
ทำกิจกรรมใน
วิธคี ำนวณ หมบู่ า้ น/ชมุ ชน
ระหว่างร้อยละ
ร้อยละ = (2) x 100 = 70-95 ของ
(1) ....................... ครัวเรือนท้งั หมด

ครัวเรือนทม่ี ี
สมาชกิ เคยรว่ ม
ทำกิจกรรมใน
หมบู่ า้ น/ชมุ ชน
นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ
70 ของครัวเรือน
ทั้งหมด

203

รายงานฉบบั สมบรู ณ์โครงการจดั ทำเครื่องชว้ี ัดและแบบสอบถามข้อมลู ความจำเปน็ พ้ืนฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพื้นฐาน
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ลำดบั ตัวช้วี ัด ขอ้ คำถาม เกณฑก์ ารวิเคราะห์ ผลการ

เกณฑ์ช้วี ดั คา่ วิเคราะห์

คะแนน (คะแนนที่ได้)

ตวั ชว้ี ดั ความปลอดภัย ในรอบปที ผ่ี า่ นมา หมบู่ า้ น / ชมุ ชนนี้ มี หม่บู า้ น/ชมุ ชนนี้ 3
ท่ี 34
ของหมู่บ้าน / ความปลอดภัยในประเดน็ ดงั ต่อไปนี้ มีความปลอดภัย
ตัวชี้วดั
ที่ 35 ชุมชน ข้อ ประเด็น ผลการ ในทกุ ขอ้

ท่ี ประเมนิ หมบู่ ้าน/ชมุ ชนนี้ 2

1 ไม่มีจดุ ทเ่ี ปน็ ซอยลกึ  ใช่ มคี วามปลอดภัย

ซอกหลืบ เป็นที่  ไม่ใช่ ระหว่าง 6-9 ข้อ

เปลย่ี ว ไฟฟา้ ส่องไม่ หม่บู า้ น/ชุมชนน้ี 1

ถึง (คำถามข้อ มีความปลอดภยั

34.2.1)

2 ไม่มีคดอี าชญากรรมท่ี  ใช่ นอ้ ยกว่า 6 ขอ้

เกิดจากความขัดแย้ง  ไมใ่ ช่

ทางความคดิ

ทรพั ย์สนิ ชสู้ าว หรือ

ข่มขนื กระทำชำเรา

(คำถามขอ้ 34.2.2)

3 ไม่มีคนถกู ประทุษร้าย  ใช่

ต่อทรัพย์ (คำถามขอ้  ไมใ่ ช่

34.2.3)

4 ไมม่ ีคนตกเปน็ เหยื่อ  ใช่

ความรุนแรงทางรา่ งกาย  ไม่ใช่

จิตใจ หรอื ทางเพศ

(คำถามขอ้ 34.2.4)

5 ไม่มคี นตกเป็นเหย่ือ  ใช่

การคา้ มนุษย์ (คำถาม  ไม่ใช่

ข้อ 34.2.5)

6 ไมม่ ีคนถกู ลักพาตวั  ใช่

(คำถามขอ้ 34.2.6)  ไม่ใช่

7 ไมม่ ีคนถูกฆ่าตาย  ใช่

(คำถามข้อ 34.2.7)  ไมใ่ ช่

8 ไมม่ ีคนถูกทำร้าย  ใช่

ร่างกาย (คำถามขอ้  ไมใ่ ช่

34.2.8)

9 ไม่มีคนถกู กระทำ  ใช่

อนาจาร ขม่ ขืนหรอื  ไม่ใช่

กระทำชำเรา แต่ไม่

ถงึ กับชีวติ (คำถามข้อ

34.2.9)

ศาสนสถาน (1) จำนวนครัวเรือนทั้งหมดใน ครวั เรอื นที่มีการ 3 
เรยี นรูจ้ ากศูนย์
ศูนย์เรยี นรู้ หมบู่ ้าน/ชุมชน การเรียนรู้ชุมชน
หรอื ปราชญ์
ชุมชนและ ...............................ครัวเรือน ชาวบ้าน

ภูมปิ ญั ญา (คำถามข้อ 1.1)

ชุมชน

204

รายงานฉบับสมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเครอื่ งช้ีวัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพน้ื ฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพืน้ ฐาน
ระดับหมูบ่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ลำดบั ตัวช้วี ัด ขอ้ คำถาม เกณฑ์การวิเคราะห์ ผลการ

เกณฑ์ช้ีวัด ค่า วิเคราะห์

คะแนน (คะแนนทีไ่ ด้)

(2) คนในครวั เรือนอยา่ งน้อย 1 คน -มากกว่า
ได้รับการเรียนรู้จากปราชญ์
ชาวบ้าน หรือจากศูนย์เรียนรู้ รอ้ ยละ 10
ชุมชนทั้งในและนอกหมู่บ้าน/
ชุมชน.................ครัวเรือน ของครัวเรือน
(คำถามข้อ 35.3.3)
ทัง้ หมด

-ระหวา่ งร้อยละ 2

5-10 ของ

ครวั เรือนทงั้ หมด

วิธคี ำนวณ -น้อยกวา่ 1

ร้อยละ = (2) x 100 = ร้อยละ 5 ของ
(1) .......................
ครวั เรอื นทง้ั หมด

ตวั ชว้ี ัด การไดร้ บั (1) คนอายุ 60 ปีขนึ้ ไป ทีไ่ มไ่ ดร้ บั จำนวนผู้มีอายุ 3 
ที่ 36 ความ
คุ้มครองทาง การดูแล 60 ปขี ้ึนไป คน
สงั คม
จำนวน.......................คน พกิ าร เดก็

(คำถามขอ้ 36.12) กำพรา้ เดก็ ถูก

(2) คนพกิ ารท่ไี มไ่ ดร้ ับการดแู ล ทอดทิ้ง และ

จำนวน.......................คน เด็กเร่รอ่ น ท่ี

(คำถามขอ้ 36.10) ไม่ได้รบั การ

(3) เด็กกำพร้า เดก็ ถูกทอดทงิ้ และ ดูแล

เด็กเรร่ อ่ น ที่ไมไ่ ดร้ บั การดแู ล -น้อยกวา่ ร้อย

จำนวน.......................คน ละ 5 ของผู้มี

(คำถามขอ้ 36.2 + 36.3 ) อายุ 60 ปีข้ึน

(4) ในหมู่บ้านนี้มผี สู้ ูงอายุ 60 ปี ไป คนพิการ

ขน้ึ ไป เดก็ กำพรา้ เด็ก

จำนวน........................คน ถูกทอดทิง้ และ

(คำถามข้อ 36.12) เดก็ เรร่ อ่ น

(5) ในหมบู่ า้ นนม้ี ีคนพิการทัง้ หมด -ระหวา่ งรอ้ ยละ 2

จำนวน ........................คน 5-10 ของผมู้ ี

(คำถามข้อ 24.1.1) อายุ 60 ปขี ้ึน

(6) ในหมู่บ้านนี้มีเดก็ กำพรา้ เดก็ ไป คนพกิ าร

ถูกทอดทงิ้ และเด็กเร่รอ่ น เด็กกำพร้า เด็ก

จำนวน.........................คน ถูกทอดทง้ิ และ

(คำถามข้อ36.2 + 36.3 ) เดก็ เรร่ อ่ น

วธิ คี ำนวณ -มากกว่ารอ้ ยละ 1

[(1)+(2)+(3)] x = 10 ของผมู้ ีอายุ
100
ร้อยละ = 60 ปขี ึน้ ไป คน

[(4)+(5)+(6)] พกิ าร เดก็ กำพร้า

เด็กถกู ทอดทง้ิ

และเดก็ เรร่ ่อน

205

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการจดั ทำเครื่องชีว้ ดั และแบบสอบถามข้อมูลความจำเปน็ พ้ืนฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พ้นื ฐาน
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

หมวดที่ 6 ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม (5 ตวั ช้ีวัด)

ลำดบั ตัวชีว้ ดั ข้อคำถาม เกณฑก์ ารวเิ คราะห์ ผลการ

เกณฑ์ช้วี ดั ค่า วิเคราะห์

คะแนน (คะแนนท่ไี ด)้

ตัวชี้วัด การใช้ จำนวนครัวเรือนทีข่ าดโอกาสใน จำนวนครัวเรอื นท่ีขาด 3 

ที่ 37 ทรัพยากรธรรมชาติ การเขา้ ถึงทรพั ยากรธรรมชาติ โอกาสในการเข้าถงึ

และดูแล และสง่ิ ทแี่ วดล้อม ทรพั ยากรธรรมชาติ

ส่ิงแวดลอ้ ม (1) จำนวนครัวเรือนทั้งหมด และสิง่ ที่แวดล้อม

ในหมู่บ้าน/ชมุ ชน นอ้ ยกว่าร้อยละ 5

............................... ของครัวเรือนทัง้ หมด

ครวั เรือน (คำถามข้อ จำนวนครวั เรือนทข่ี าด 2

1.1) โอกาสในการเขา้ ถงึ

(2) จำนวนครัวเรือนทีข่ าด ทรพั ยากรธรรมชาติ

โอกาสในการเขา้ ถึง และส่ิงท่ีแวดลอ้ ม

ทรัพยากร ธรรมชาติ ระหว่างรอ้ ยละ 5-10

และสงิ่ ที่แวดลอ้ ม ของครัวเรือนท้ังหมด

.................ครัวเรือน จำนวนครัวเรอื นที่ขาด 1

(คำถามข้อ 37.3.2) โอกาสในการเขา้ ถึง

วธิ ีคำนวณ ทรพั ยากรธรรมชาติ

ร้อยละ (2) x 100 = และสง่ิ ท่แี วดล้อม

= (1) ....... มากกวา่ ร้อยละ 10

ของครัวเรือนทั้งหมด

ตัวช้ีวดั คณุ ภาพดนิ ทีด่ นิ สว่ นใหญ่ของหมู่บ้าน/ชมุ ชน ขอ้ น้ีใหพ้ ิจารณากอ่ น 
ท่ี 38 มีคณุ ภาพดงั น้ี (คำถามข้อ 38.1) ว่าหมู่บา้ นมปี ญั หา
 ไม่มปี ญั หาเรื่องคณุ ภาพ เรื่องดินมีกรวดทราย
ดินดาน ดินเค็ม หรือ 3
ดนิ ดนิ เปรย้ี ว หรอื ไม่ ถ้า
 มปี ัญหาเร่อื งดนิ ต้ืน มี แม้เพียงข้อเดยี ว
ให้ถอื ว่าได้ 1 คะแนน
หน้าดินถกู ชะล้าง หรือ ไมม่ ีปญั หาเรอื่ ง
ดินจดื คุณภาพดนิ
 มปี ัญหาเรื่องดินมีกรวด
ทราย ดินดาน ดนิ เค็ม มีปัญหาเรื่องดินต้ืน 2
หรอื ดนิ เปร้ียว หนา้ ดนิ ถกู ชะลา้ ง
หรือดนิ จืด

มปี ัญหาเรื่องดินมี 1
กรวดทราย ดนิ ดาน
ดินเคม็ หรอื ดินเปร้ยี ว

206

รายงานฉบับสมบูรณโ์ ครงการจดั ทำเคร่อื งชวี้ ัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พน้ื ฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พน้ื ฐาน
ระดับหมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ลำดับ ตัวช้วี ดั ขอ้ คำถาม เกณฑ์การวเิ คราะห์ ผลการ

ตวั ชว้ี ัด คุณภาพนำ้ เกณฑช์ ้วี ัด ค่า วิเคราะห์
ที่ 39
คะแนน (คะแนนทีไ่ ด้)
ในบริเวณหม่บู า้ นมี 3 
(1) ในหมบู่ า้ น/ชุมชนนี้ มี
แหล่งนำ้ ผิวดินทมี่ ี
จำนวนแหลง่ นำ้ ผิวดนิ
คุณภาพเหมาะสมดี
ทัง้ หมด จำนวน
มากกวา่ ร้อยละ 80
................แห่ง (คำถาม
ของแหล่งนำ้ ผิวดนิ
ข้อ 39.1.1)
ท้ังหมด และไม่มี
(2) แหล่งน้ำผวิ ดินทมี่ ี
แหล่งนำ้ ผวิ ดินทมี่ ี
คณุ ภาพเหมาะสมดี
คณุ ภาพไมเ่ หมาะสม
จำนวน...................แห่ง
ในบริเวณหมู่บา้ นมี 2
(คำถามขอ้ 39.1.1(1))
แหล่งนำ้ ผวิ ดินทม่ี ี
(3) แหลง่ นำ้ ผวิ ดนิ ทม่ี ี
คณุ ภาพเหมาะสมดี
คณุ ภาพเหมาะสมพอใช้
ระหว่างร้อยละ 60-
จำนวน.................แห่ง
80 ของแหลง่ น้ำผวิ
(คำถามข้อ 39.1.1(2))
ดินทั้งหมด หรอื มี
วิธคี ำนวณแบบท่ี 1
แหล่งนำ้ ผิวดนิ ทม่ี ี
ร้อยละ (2) x =
= 100 ............ คณุ ภาพเหมาะสม

(1) พอใช้มากกวา่ ร้อย

วิธีคำนวณแบบที่ 2 ละ 90 ของแหลง่ น้ำ

ร้อยละ (3) x 100 = ผิวดนิ ทง้ั หมด

= (1) .......... และไมม่ ีแหล่งน้ำผิว
หรอื
แหล่งน้ำผิวดินทมี่ ีคุณภาพไม่ ดนิ ที่มีคณุ ภาพไม่
เหมาะสม จำนวน...................
แห่ง(คำถามข้อ 39.1.1(3)) เหมาะสม

ในบรเิ วณหมูบ่ ้านมี 1

แหล่งน้ำผวิ ดนิ ทมี่ ี

คณุ ภาพเหมาะสมดี

น้อยกวา่ ร้อยละ 60

ของแหล่งน้ำผิวดนิ

ทง้ั หมด หรอื มีแหล่ง

น้ำผิวดินท่ีมคี ณุ ภาพ

เหมาะสมพอใชไ้ ม่

เกินรอ้ ยละ 90 ของ

แหล่งนำ้ ผิวดนิ

ท้ังหมด

หรือมีแหล่งนำ้ ผวิ ดนิ

ท่ีมคี ุณภาพไม่

เหมาะสม

207

รายงานฉบับสมบรู ณ์โครงการจัดทำเคร่ืองช้วี ัดและแบบสอบถามข้อมลู ความจำเปน็ พ้ืนฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพ้นื ฐาน
ระดับหมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ่วงแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ลำดบั ตวั ช้วี ัด ข้อคำถาม เกณฑก์ ารวเิ คราะห์ ผลการ

ตวั ช้วี ดั การจดั การสภาพ (1) การจัดการขยะมลู ฝอย เกณฑช์ วี้ ัด ค่า วิเคราะห์
ท่ี 40 สง่ิ แวดล้อมอย่าง (คำถามขอ้ 40.1.1)
 มปี ัญหาขยะมูล คะแนน (คะแนนทไี่ ด้)
ยง่ั ยืน ฝอย  ไม่มปี ญั หา ในบริเวณหมู่บ้าน/ 3 
หากมปี ญั หามกี าร
จดั การหรือไม่ ชุมชน ไม่มีปัญหา
(คำถามขอ้ 40.1.2)
 ไมม่ ีการจดั การ ขยะมูลฝอย ของเสีย
ขยะมูลฝอย  มี
การจัดการฯ อนั ตราย และนำ้ เสยี
หากมีการจดั การ
สามารถจดั การได้ถูก หรือมีปัญหาแต่มี
สขุ ลกั ษณะ หรอื ไม่
(คำถามข้อ 40.1.4) การจัดการและ
 ไมถ่ ูก
สขุ ลกั ษณะ  ถูก บ ำ บ ั ด ไ ด ้ ถู ก
สขุ ลกั ษณะ
สขุ ลักษณะ
(2) การจัดการขยะของเสยี
อันตราย (คำถามข้อ ในบริเวณหมู่บ้าน/ 2
40.2.1)
 มีปญั หาขยะของ ชุมชน ไม่มีปัญหา
เสียอนั ตราย ไมม่ ี
ปญั หา ขยะมูลฝอย ของเสีย
หากมีปัญหามกี าร
จดั การหรือไม่ อันตราย และน้ำเสีย
(คำถามข้อ 40.2.2)
 ไมม่ ีการจัดการ และมีการจัดการ
ขยะของเสียอันตราย
 มกี ารจดั การฯ และบำบัดแต่ไม่ถูก
หากมีการจัดการ
สามารถจัดการได้ถกู สุขลักษณะ
สุขลกั ษณะ หรือไม่
(คำถามข้อ 40.2.3) ในบริเวณหมู่บ้าน/ 1
 ไม่ถกู
สุขลกั ษณะ  ถูก ชุมชน มีปัญหาขยะ
สุขลักษณะ
ม ู ล ฝ อ ย ข อ ง เ สี ย

อันตราย และน้ำเสีย

และไม่มีการจัดการ

และบำบดั

208

รายงานฉบับสมบูรณโ์ ครงการจดั ทำเคร่ืองชว้ี ัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พื้นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พื้นฐาน
ระดบั หม่บู ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ลำดบั ตวั ช้วี ัด ข้อคำถาม เกณฑ์การวิเคราะห์ ผลการ

ตัวช้วี ัด การจดั การมลพิษ เกณฑ์ชีว้ ัด คา่ วิเคราะห์
ที่ 41
คะแนน (คะแนนทไ่ี ด้)

(3) การบำบดั นำ้ เสยี

(คำถามขอ้ 40.3.1)

 มปี ัญหาน้ำเสยี

 ไมม่ ปี ญั หา

หากมีปญั หามีการ

บำบัดหรอื ไม่

(คำถามขอ้ 40.3.4)

 ไมม่ ีการบำบดั

นำ้ เสยี  มกี าร

บำบดั

หากมีการบำบดั

สามารถบำบดั ได้ถกู

สขุ ลกั ษณะหรือไม่

(คำถามขอ้ 40.3.5)

 ไม่ถกู

สุขลักษณะ  ถูก

สขุ ลกั ษณะ

กรณีทีห่ ม่บู า้ น / ชุมชนมปี ญั หา กรณีทีห่ มู่บา้ น / 3

มลพิษทางอากาศ มีหนว่ ยงานที่ ชุมชนมีปัญหามลพษิ

ร่วมจัดการแกไ้ ขปญั หา (คำถาม ทางอากาศ และ/หรอื

ขอ้ 41.1.3) ปัญหามลพิษทางเสียง

 มี  ไมม่ ี มหี นว่ ยงานมากกว่า

กรณที ่หี ม่บู า้ น / ชุมชนมีปญั หา หนึ่งหน่วยงานที่รว่ ม

มลพิษทางเสยี ง มีหน่วยงานทรี่ ว่ ม จดั การแกไ้ ขปญั หา

จดั การแกไ้ ขปญั หา (คำถามข้อ กรณที ่หี ม่บู า้ น / 2
41.2.3)
ชมุ ชนมีปญั หามลพิษ
 มี  ไมม่ ี
ทางอากาศ และ/หรือ
หมายเหตุ: กรณีท่หี มู่บ้าน / ปญั หามลพิษทางเสยี ง
ชมุ ชนไมม่ มี ปี ญั หามลพษิ ทาง มหี นว่ ยงานใด
อากาศและปญั หามลพิษทางเสยี ง หนว่ ยงานหนง่ึ ท่ีรว่ ม
จะไมม่ ีการคำนวณเกณฑ์การชวี้ ัด จดั การแกไ้ ขปัญหา
ขอ้ นี้
กรณที ีห่ มบู่ า้ น / 1

ชุมชนมีปญั หามลพิษ

ทางอากาศ และ/หรอื

ปญั หามลพษิ ทางเสยี ง

ไม่มีหน่วยงานท่ีร่วม

จัดการแกไ้ ขปัญหา

209

รายงานฉบบั สมบูรณ์โครงการจดั ทำเคร่อื งช้ีวดั และแบบสอบถามข้อมลู ความจำเป็นพน้ื ฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพ้นื ฐาน
ระดบั หมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

หมวดท่ี 7 ความเสย่ี งของชุมชนและภัยพิบตั ิ (3 ตัวชี้วัด)

ลำดบั ตัวชว้ี ดั ขอ้ คำถาม เกณฑ์การวิเคราะห์ ผลการ
ตัวช้วี ดั ความปลอดภยั
ที่ 42 จากยาเสพติด เกณฑช์ ีว้ ดั คา่ วิเคราะห์

ตวั ช้ีวัด ความปลอดภัย คะแนน (คะแนนทีไ่ ด้)
ที่ 43 จากภยั พิบัติ
(1) การใชย้ าเสพติดของหมูบ่ ้าน หมบู่ ้าน/ชุมชนไมม่ ี 3 

(คำถามขอ้ 42.1) การใชย้ าเสพตดิ และ

 มีการใชย้ าเสพตดิ  ไมม่ ี มีการดำเนนิ กจิ กรรม

(2) การดำเนินกจิ กรรมการปอ้ งกนั การปอ้ งกนั และแกไ้ ข

และแก้ไขปญั หายาเสพติดในรอบปี ปญั หายาเสพตดิ

ทีผ่ ่านมาของหม่บู า้ น (คำถามข้อ หม่บู า้ น/ชุมชนไม่มกี าร 2
42.6) ใช้ยาเสพตดิ และไมม่ ี
 ไมม่ ีการดำเนนิ กจิ กรรมการ การดำเนินกจิ กรรมการ
ปอ้ งกนั  มี
ปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หา

ยาเสพตดิ หรอื หมู่บา้ น/

ชมุ ชนมกี ารใชย้ าเสพติด

แต่มีการดำเนนิ กิจกรรม

การปอ้ งกันและแกไ้ ข

ปัญหายาเสพตดิ

หมูบ่ า้ น/ชุมชนมกี าร 1

ใชย้ าเสพติด และไมม่ ี

การดำเนินกิจกรรม

การปอ้ งกนั และแกไ้ ข

ปัญหายาเสพตดิ

(1) หมูบ่ า้ น/ชุมชนนี้ มรี ะบบการ มีเตรยี มความพร้อม 3 

เตอื นภยั หรือไม่ (คำถามข้อ 43.4) รับมือภยั พบิ ตั ิทุกขอ้

 ไมม่ ี  มี มเี ตรยี มความพร้อม 2

(2) ในรอบปที ่ผี า่ นมา หมบู่ ้าน/ รับมอื ภัยพบิ ตั ิ2ขอ้
ชุมชนน้ี มีการดำเนนิ กจิ กรรมด้าน ไมม่ ีเตรยี มความพรอ้ ม 1
การเตรยี มพร้อมรับมอื กบั ภัยพบิ ตั ิ รับมือภัยพิบตั เิ ลย
หรือไม่ (คำถามข้อ 43.6)

 ไม่มี  มี

(3) หมบู่ า้ น/ชุมชนนี้ มีการฝึกซ้อม

อพยพประชาชน (หนีภยั ) หรอื ไม่

(คำถามขอ้ 43.8)

 ไม่มี  มี

(4) หมู่บา้ น/ชมุ ชนน้ี มศี นู ยอ์ พยพ/

ศูนย์พักพิงชว่ั คราว หรอื ไม่

(คำถามขอ้ 43.9)

 ไม่มี  มี

210

รายงานฉบับสมบูรณโ์ ครงการจัดทำเครือ่ งช้ีวัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พนื้ ฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พน้ื ฐาน
ระดบั หมู่บ้าน (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ลำดบั ตวั ช้ีวดั ขอ้ คำถาม เกณฑก์ ารวเิ คราะห์ ผลการ

ตัวชีว้ ัด ความปลอดภัย (1) มีการเลน่ การพนันในหมบู่ ้าน เกณฑช์ ี้วดั ค่า วเิ คราะห์
ท่ี 44 จากความเส่ยี ง (คำถามขอ้ 44.1.1)
 มี  ไม่มี คะแนน (คะแนนที่ได)้
ในชมุ ชน (2) มปี ญั หาเด็กวยั ร่นุ ตีกนั ใน
หมู่บา้ น (คำถามข้อ 44.2.1) ในหม่บู า้ น/ชุมชน ไม่มี 3 
 มี  ไม่มี
(3) มีปัญหาเด็กตดิ เกมจนทำใหเ้ กดิ การเลน่ การพนนั ไมม่ ี
ปัญหาในครอบครัวหรอื ชมุ ชน
(คำถามข้อ 44.3.2) ปญั หาเดก็ วัยรุ่นตกี นั
 มี  ไมม่ ี
(4) มปี ญั หาเดก็ แวน้ จนทำให้เกดิ ไม่มปี ญั หาเด็กติดเกม
ปญั หาในครอบครัว หรอื ชุมชน
(คำถามข้อ 44.3.3) ไม่มีปญั หาเดก็ แวน้ ไม่
 มี  ไม่มี
(5) ในหมูบ่ า้ น/ชุมชน มกี าร มกี ารบาดเจบ็ /ทำร้าย
บาดเจบ็ /ทำรา้ ยร่างกาย/ทะเลาะ
วิวาทอนั เน่ืองมาจากการด่ืมสรุ า รา่ งกาย/ทะเลาะวิวาท
(คำถามข้อ 44.3.4)
 มี  ไมม่ ี อันเนือ่ งมาจากการดม่ื
(6) หมู่บ้าน/ชมุ ชนนี้ มี
อาชญากรรมทางอเิ ล็กทรอนิกส์ สรุ า และไมม่ ี
(คำถามข้อ 44.4.1)
 มี  ไม่มี อาชญากรรมทาง

อเิ ล็กทรอนกิ ส์

ในหมู่บา้ น/ชมุ ชน มี 2

การเล่นการพนนั

ปญั หาเดก็ วยั รุ่นตกี ัน

ปัญหาเดก็ ติดเกม

ปญั หาเดก็ แว้น มีการ

บาดเจ็บ/ทำร้าย

ร่างกาย/ทะเลาะววิ าท

อันเน่ืองมาจากการดม่ื

สรุ า และมี

อาชญากรรมทาง

อเิ ล็กทรอนิกส์เพยี ง

อย่างใดอย่างหนึ่ง

เทา่ นั้น

ในหมู่บา้ น/ชมุ ชน มี 1

การเลน่ การพนัน

ปญั หาเด็กวัยร่นุ ตกี ัน

ปญั หาเดก็ ตดิ เกม

ปญั หาเด็กแวน้ มกี าร

บาดเจบ็ /ทำรา้ ย

ร่างกาย/ทะเลาะวิวาท

อนั เนือ่ งมาจากการดมื่

สุรา และมี

อาชญากรรมทาง

อิเลก็ ทรอนิกส์

มากกว่าหนง่ึ อยา่ ง

211

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการจดั ทำเคร่อื งชว้ี ดั และแบบสอบถามข้อมลู ความจำเปน็ พนื้ ฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพ้นื ฐาน
ระดบั หมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ช่วงแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

212

รายงานฉบบั สมบูรณโ์ ครงการจดั ทำเครอื่ งชว้ี ดั และแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พนื้ ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพ้ืนฐาน
ระดบั หมูบ่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

บทท่ี 4
บทสรปุ และขอ้ เสนอแนะ

213

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการจดั ทำเคร่อื งชว้ี ดั และแบบสอบถามข้อมลู ความจำเปน็ พนื้ ฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพ้นื ฐาน
ระดบั หมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ช่วงแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

214

รายงานฉบับสมบรู ณโ์ ครงการจดั ทำเคร่ืองชีว้ ัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พ้นื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพ้นื ฐาน
ระดับหมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

บทที่ 4
บทสรุปและข้อเสนอแนะ

4.1 บทสรุป

ตามที่กรมการพัฒนาชุมชนได้พัฒนาเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูล จปฐ .และข้อมูล
กชช. ๒ค สำหรับเก็บขอ้ มูลตามภารกิจทีไ่ ด้รับมอบหมาย โดยได้กำหนดหว้ งเวลาในการปรับปรุงเคร่อื งชี้
วัดและแบบสอบถามเป็นประจำทุก 5 ปี เพื่อให้การวางแผนพัฒนาดำเนินได้อย่างสอดคล้องกับ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ซึ่งในปี พ.ศ.2565 เป็นปีเริ่มต้นของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (2565 - 2569) ซึ่งตามมติที่ประชุมให้แก้ไขเป็น พ.ศ.2566-2570 แล้ว
นั้น อย่างไรก็ตามมีความจำเป็นต้องใช้เครื่องชี้วัด เกณฑ์ชี้วัดและแบบสอบถามชุดใหม่สำหรับจัดเก็บ
ข้อมูล จปฐ. และข้อมูล กชช. 2ค โดยกรอบแนวคิดในการปรับปรุงเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูล
จปฐ. และข้อมูล กชช. 2ค ดังกล่าว คณะกรรมการอำนวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน
(พชช.) มมี ติเห็นชอบให้ดำเนนิ การสอดคล้องกบั เป้าหมายการพฒั นาท่ยี ่งั ยนื (SDGs) และแผนยุทธศาสตร์
ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561 – 2580)

ด้วยความสำคัญดังกล่าว กรมการพัฒนาชุมชน จึงได้จัดทำโครงการจัดทำเครื่องชี้วัดและ
แบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) สำหรับใช้
ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 วัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ออกแบบเครื่องชี้วัด
เกณฑ์ชี้วัดและข้อคำถามสำหรับจัดเก็บข้อมูล จปฐ. และข้อมูล กชช. ๒ค แนวทางควบคุมคุณภาพการ
จัดเก็บข้อมูล และรูปแบบการรายงานด้วยระบบสารสนเทศที่รองรบั ความต้องการของทุกภาคส่วน และ
ในครั้งนี้ กรมการพัฒนาชุมชน ได้มอบหมายให้สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่ง
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ดำเนินโครงการดังกล่าวเพื่อเป็นแนวทางสำหรับใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 รวมทั้งพัฒนารูปแบบควบคุมคุณภาพการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. และข้อมูล
กชช. ๒ค ที่เป็นไปตามหลักวิชาการและมีความสอดคล้องกับบริบทของชุมชน และรองรับความต้องการ
ของทุกภาคส่วน โดยได้ดำเนินการศึกษาวิเคราะห์ประมวลผลจากการสอบถามความคิดเห็นผู้ใช้ข้อมูล
จปฐ. และ กชช. 2ค เกี่ยวกับปัญหาและความต้องการของผู้ใช้ข้อมูล (ส่วนภูมิภาค) จำนวน 8 จังหวัด
40 หน่วยงานที่เป็นหน่วยงานใช้ประโยชน์จากข้อมูล จปฐ. และข้อมูล กชช. 2ค กระจายตามภูมิภาค
รวมทั้งการวิเคราะห์ประมวลผลจากการสอบถามความคิดเห็นคณะทำงานปรับปรุงเครื่องชี้วัดคุณภาพ
ชีวิตของประชาชน และจัดทำแบบสอบถามและเกณฑ์ชวี้ ดั ข้อมลู จปฐ. และแบบสอบถามและเกณฑ์การ
จดั ระดับการพัฒนาหมบู่ า้ น

4.1 ความเชือ่ มโยงกับแผนพัฒนาและยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาประเทศ
4.1.1 ความเชื่อมโยงกับแผนพัฒนาและยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศของข้อมูล

ความจำเปน็ พื้นฐาน (จปฐ.
การจัดเก็บข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ประจำปี 2565 – 2569

ประกอบดว้ ย 5 หมวด ได้แก่ หมวดท่ี 1 สุขภาพ หมวดท่ี 2 มาตรฐานความเปน็ อยู่ หมวดที่ 3 การศึกษา
หมวดที่ 4 เศรษฐกจิ และหมวดที่ 5 การคุ้มครองทางสังคมและการมสี ่วนรว่ ม

215

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการจดั ทำเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเป็นพืน้ ฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พ้ืนฐาน
ระดับหมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

หมวดที่ 1 สุขภาพ
การจัดทำเครื่องชี้วัดหมวดที่ 1 สุขภาพ ในร่างเครื่องชี้วัด จปฐ.ปี 2565 –
2569 มีหลักการที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี กล่าวคือ การจัดทำแผนและยุทธศาสตร์
การพัฒนาประเทศให้ความสำคัญกับประเด็นสุขภาพในหลายมิติ ได้แก่ ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนา
และเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ในประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต
มุ่งเน้นการพัฒนาคนเชิงคุณภาพในทุกช่วงวัย ประกอบดว้ ย (1) ช่วงการตง้ั ครรภ/์ ปฐมวัย เน้นการเตรียม
ความพร้อมให้แก่พ่อแม่ก่อนการตั้งครรภ์ (2) ช่วงวัยเรียน/วัยรุ่น ปลูกฝังความเป็นคนดี มีวินัย พัฒนา
ทักษะการเรียนรู้ท่ีสอดรับกับศตวรรษที่ 21 (3) ช่วงวยั แรงงาน ยกระดับศักยภาพ ทักษะและสมรรถนะ
แรงงานสอดคล้องกับความตอ้ งการของตลาด และ (4) ชว่ งวยั ผ้สู งู อายุ สง่ เสริมให้ผู้สูงอายุเป็นพลังในการ
ขบั เคลือ่ นประเทศ
สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์การเสริมสร้างให้คนไทยมีสุขภาวะที่ดี
ครอบคลุมทั้งด้านกาย ใจ สติปัญญาและสังคม โดย (1) การสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาวะ (2) การป้องกัน
และควบคุมปัจจัยเสี่ยงที่คุกคามสุขภาวะ (3) การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะที่ดี
(4) การพัฒนาระบบบริการสุขภาพที่ทันสมัยสนับสนุนการสร้างสุขภาวะที่ดีและ (5) การส่งเสริมให้
ชมุ ชนเป็นฐานในการสร้างสุขภาวะท่ีดใี นทุกพ้ืนที่
สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนา
และเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์โดย (1) การสร้างความอยู่ดีมีสุขของครอบครัวไทย (2) การส่งเสริม
บทบาทการมีส่วนร่วมของภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ครอบครัวและชุมชนใน
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (3) การปลูกฝังและพัฒนาทักษะนอกห้องเรียน และ (4) การพัฒนาระบบ
ฐานข้อมลู เพ่อื การพฒั นาทรัพยากรมนุษย์
รวมถึงประเด็นยุทธศาสตร์การเสริมสร้างศักยภาพการกีฬาในการสร้างคุณค่า
ทางสังคมและพัฒนาประเทศ โดย (1) การส่งเสริมการออกกำลังกาย และกีฬาขั้นพื้นฐานให้กลายเป็น
วิถีชีวิต (2) การส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมออกกำลังกาย กีฬาและนันทนาการ
(3) การส่งเสริมการกีฬาเพื่อพัฒนาสู่ระดับอาชีพ และ (4) การพัฒนาบุคลากรด้านการกีฬาและ
นันทนาการเพ่อื รองรบั การเตบิ โตของอตุ สาหกรรมกีฬา
เครื่องชี้วัดดังกล่าว มีหลักการเชื่อมโยงกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แหง่ ชาตฉิ บบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560–2564) ในยุทธศาสตร์ที่ 1 เร่อื งการเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุน
มนษุ ย์เพอื่ สง่ เสรมิ ใหค้ นไทยมีสุขภาวะที่ดตี ลอดช่วงชวี ติ เปา้ หมายท่ี 2 คนในสังคมไทยทุกช่วงวัยมีทักษะ
ความรู้ และความสามารถเพ่ิมข้ึน โดยเฉพาะเด็กปฐมวัยมีพัฒนาการเต็มตามศักยภาพ เป้าหมายท่ี 4 คน
ไทยมีสุขภาวะที่ดีขึ้น โดยกำหนดตัวชี้วัด ได้แก่ ประชากรอายุ 15 – 79 ปีมีภาวะน้ำหนักเกินลดลง
การตายจากอุบัติเหตุทางถนนต่ำกว่า 18 คน ต่อประชากรแสนคน ประชาชนเล่นกีฬาและเข้าร่วม
กิจกรรมนนั ทนาการเพ่ิมข้นึ 67 อัตราการฆา่ ตวั ตายสำเร็จต่อประชากรแสนคนลดลง การคลอดในผู้หญิง
กลุ่มอายุ 15 – 19 ปี ลดลง รายจ่ายสุขภาพทัง้ หมดไมเ่ กินร้อยละ 5 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ
และผู้สงู อายุทีอ่ าศยั ในบ้านที่มสี ภาพแวดลอ้ มท่ีเหมาะสมเปน็ ร้อยละ 20

216

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจดั ทำเคร่ืองช้วี ัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเป็นพน้ื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พืน้ ฐาน
ระดบั หมู่บ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ดังที่กล่าวมา จะพบว่าหลักการจัดทำเครื่องชี้วัดข้อมูลความจำเป็นพื้นฐานใน
หมวดสุขภาพ อันได้แก่ มาตรฐานน้ำหนักเด็กแรกเกิด การได้กินนมแม่ของเด็กแรกเกิดอย่างเหมาะสม
เด็กแรกเกิดได้รับวัคซนี ครบถ้วน ครัวเรือนมีอาหารทีถ่ ูกสุขลกั ษณะและปลอดภัย ครัวเรือนมีความรูแ้ ละ
การป้องกันปัจจัยเสี่ยงที่คุกคามสุขภาวะ ครัวเรือนมีการดูแลสุขภาพเบื้องต้น มีการออกกำลังกายอย่าง
เหมาะสม มกี ารดแู ลผูป้ ว่ ยตดิ เตยี ง ได้รบั สทิ ธิในหลกั ประกันดา้ นสุขภาพ และมกี ารตรวจสขุ ภาพประจำปี
เป็นการกำหนดเครื่องชี้วัด จปฐ. ที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาและยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ
ซ่ึงสอดคล้องกบั การพฒั นามนุษยซ์ ึ่งเปน็ รากฐานสำคญั ของการพัฒนาประเทศ

หมวดที่ 2 มาตรฐานความเปน็ อยู่
การจัดทำเครื่องชี้วัด ในหมวดที่ 2 มาตรฐานความเป็นอยู่ ในร่างเครื่องชี้วัด
จปฐ.ปี 2565 – 2569 ซึ่งมีประเด็นชี้วัด ได้แก่ ครัวเรือนมีความมั่นคงในที่อยู่อาศัย ครัวเรือนมีน้ำ
สะอาดสำหรับดื่มและบริโภคเพียงพอตลอดปี ครัวเรือนมีน้ำใช้เพียงพอตลอดปี ครัวเรือนมีการจัด
บ้านเรือนเป็นระเบียบ สะอาด ถูกสุขลักษณะ ครัวเรือนไม่ถูกรบกวนจากมลพิษ ครัวเรือนมีการป้องกัน
อุบัติภัยและภยั ธรรมชาติอยา่ งถกู วิธีและการเตรยี มพร้อมรับมือกบั ภัยพิบตั ิ ครัวเรือนมีความปลอดภัยใน
ชีวิตและทรัพย์สิน ครัวเรือนเข้าถึงและใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่และอินเทอร์เน็ต การจัดเก็บขยะมูล
ฝอยทถ่ี ูกสขุ ลักษณะ และการเข้าถึงบริการขนสง่ สาธารณะ กล่าวไดว้ ่า
เครื่องชี้วัดดังกล่าว มีหลักการที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนา
และเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ โดยเฉพาะตัวชี้วัดด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิต สุขภาวะ และ
ความเป็นอยู่ที่ดีของคนไทย เชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็น
มิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะตัวชี้วัด(1) พื้นที่สีเขียวที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (2) สภาพแวดล้อมและ
ทรัพยากรธรรมชาติท่เี สื่อมโทรมไดร้ บั การฟืน้ ฟู
เครื่องชี้วัดดังกล่าว มีหลักการที่เชื่อมโยงกับเป้าหมายและตัวชี้วัดใน
ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาประเทศในแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 12 ได้แก่
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้ำในสังคม
โดยเฉพาะเป้าหมายที่ 1 ลดปัญหาความเหลื่อมล้ำด้านรายได้ของกลุ่มคนที่มีฐานะทางเศรษฐกิจสังคมที่
แตกตา่ งกันและแกไ้ ขปญั หาความยากจน
ยุทธศาสตร์ที่ 4 การเตบิ โตทีเ่ ป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
โดยเฉพาะเป้าหมายที่ 2 สร้างความมั่นคงด้านน้ำ และบริหารจัดการทรัพยากรน้ำทั้งน้ำผิวดินและน้ำใต้
ดินให้มีประสิทธิภาพบริหารจัดการน้ำในระดับลุ่มน้ำให้มีความสมดุลระหว่างความต้องการใช้น้ำ
ทุกกิจกรรมกับปริมาณน้ำต้นทุนเพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้ำและลดจำนวนประชาชนที่ประสบ
ปัญหาจากการขาดแคลนน้ำควบคู่กับการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ำทั้งภาคการผลิ ตและการบริโภค
ปอ้ งกนั และลดความเสยี หายจากอุทกภยั และภัยแลง้ เป้าหมายที่ 3 สร้างคณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ มท่ีดีลดมลพิษ
และลดผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนและระบบนิเวศ โดยให้ความสำคัญเป็นลำดับแรกกับ
การจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายฟื้นฟูคุณภาพแหล่งน้ำสำคัญของประเทศ และแก้ไขปัญหา
วิกฤตหมอกควัน และเป้าหมายที่ 5 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการเพื่อลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ
ความสูญเสียในชีวติ และทรพั ย์สินท่เี กิดจากสาธารณภัยลดลง

217

รายงานฉบับสมบรู ณ์โครงการจัดทำเครือ่ งชี้วัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพ้นื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพน้ื ฐาน
ระดบั หมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ช่วงแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ยุทธศาสตร์ที่ 7 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ โดยเฉพาะ
เป้าหมายท่ี 2 การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานดา้ นระบบขนสง่ เพอื่ เพิ่มปรมิ าณการขนส่งสินค้าทางรางและ
ทางน้ำและเพิ่มปริมาณการเดินทางด้วยระบบขนส่งสาธารณะในเขตเมือง รวมทั้งขยายขีดสามารถใน
การรองรับปริมาณผู้โดยสารของท่าอากาศยานในกรุงเทพมหานครและท่าอากาศยานในภูมิภาคให้
เพียงพอกับความต้องการ เป้าหมายที่ 5 การพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล เพื่อขยายโครงข่ายอินเทอร์เน็ต
ความเร็วสูงให้ครอบคลุมทั่วทั้งประเทศ และสร้างผู้ประกอบการธุรกิจดิจิทัลรายใหม่เพิ่มขึ้น รวมท้ัง
พัฒนาระบบความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์ให้มีประสิทธิภาพและสอดคล้องตามมาตรฐานสากลเพื่อ
รับมือภัยคุกคามทางออนไลน์ และเป้าหมายที่ 6 การพัฒนาด้านสาธารณูปการ (น้ำประปา) เพื่อขยาย
กำลังการผลิตนำ้ ประปาและกระจายโครงข่ายการให้บริการน้ำประปาให้ครอบคลุมพ้ืนทท่ี ัว่ ประเทศ และ
บรหิ ารจัดการลดนำ้ สญู เสยี ในระบบส่งนำ้ และระบบจำหนา่ ยนำ้

เครื่องชี้วัดดังกล่าว ยังมีหลักการสอดคล้องกับเป้าหมายในร่างยุทธศาสตร์
การพัฒนาประเทศในกรอบแนวทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (สศช.2564)
ได้แก่

หมุดหมายที่ 9 ไทยมีความยากจนข้ามรุ่นลดลงและคนไทยทุกคนมีความคุ้มครอง
ทางสังคมที่เพียงพอ เหมาะสม กล่าวคือ คนยากจนข้ามรุ่นลดลงจากมาตรการให้ความช่วยเหลือและ
แก้ไขปัญหาแบบมุ่งเป้า และเทคโนโลยีสารสนเทศที่สามารถระบุตัวบุคคล ปัญหาและความต้องการได้
อยา่ งแม่นยำและมีประสิทธิภาพ และทกุ กล่มุ คนสามารถเขา้ ถงึ เทคโนโลยีดิจิทลั ได้อย่างครอบคลุม ท่ัวถึง
และมีคุณภาพ โดยเฉพาะในชนบทและพืน้ ทีห่ ่างไกลเพื่อลดความเหลื่อมล้ำของโอกาสทางเศรษฐกิจและ
สังคม และระหวา่ งพนื้ ท่ี

หมุดหมายท่ี 10 ไทยมีเศรษฐกจิ หมุนเวียนและสงั คมคารบ์ อนต่ำ กลา่ วคอื ขยะ
ได้รับการหมุนเวียนกลับไปใช้ประโยชน์ในสัดส่วนที่สูงขึ้นผ่านการปรับปรุงระบบการจัดการ รวมท้ัง
การแกไ้ ขหรือกำหนดกฎระเบยี บท่จี ำเป็นเพิ่มเติม อาทิ การกำหนดมาตรการเชิงบังคับสำหรับการคัดแยก
ขยะตั้งแต่ต้นทาง การมี ข้อกำหนดด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์พลาสติกให้เอื้อต่อการรีไซเคิล
การพัฒนากลไกในการจัดการซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อย่างเป็นระบบ
รวมทั้งการแก้ไขกฎระเบียบที่เป็นอุปสรรคต่อการผลิตสินค้าจากวัสดุเหลือใช้ ประเทศไทยมีศักยภาพใน
การรไี ซเคิลน้ำทงิ้ โดยเริ่มจัดทำระบบในพ้นื ทท่ี ม่ี ีความพร้อม อาทิ นิคมอุตสาหกรรมและชมุ ชนขนาดใหญ่

และหมุดหมายที่ 11 ไทยสามารถลดความเสี่ยงและผลกระทบจากภัย
ธรรมชาตแิ ละการเปลยี่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ กลา่ วคอื พืน้ ทที่ ป่ี ระสบภัยธรรมชาติซ้ำซากและพ้ืนที่ท่ีมี
แนวโน้มจะเผชิญกับผลกระทบที่รุนแรงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ได้รับการจัดการให้มี
ความเสี่ยงที่ลดลง ผ่านการใช้มาตรการป้องกันภัยที่ยั่งยืนและมาตรการการปรับตัวทีเ่ หมาะสมกับสภาพ
พื้นที่และการดำเนนิ ชีวิตของประชาชนทรัพยากรธรรมชาตทิ ี่มีความสำคัญต่อการป้องกันความเสี่ยงและ
ผลกระทบจากภัยธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เป้าหมายด้านการลดความเสี่ยงจาก
ภัยธรรมชาติและการลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ได้รับการบูรณาการเข้ากับ
การวางแผนการพัฒนาพื้นที่ ทั้งการใช้ประโยชน์ที่ดิน และการจัดทำโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งก่อสร้าง
ระบบการจัดการภัย ทง้ั การคาดการณ์ การเตอื นภยั การเผชญิ เหตุ และการฟืน้ ฟูหลงั เกิดภัย ในทุกระดับ
ได้รับการปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพและศักยภาพที่สูงขึ้น ทุกภาคส่วนได้รับการพัฒนาขีดความสามารถ

218

รายงานฉบับสมบรู ณโ์ ครงการจดั ทำเครื่องชวี้ ดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พน้ื ฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพื้นฐาน
ระดบั หม่บู า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ในการเตรียมพร้อมรับมือกับภัยธรรมชาติและการปรับตัวเพื่อลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศโดยเฉพาะการมีมาตรการช่วยเหลือกลุ่มคนเปราะบาง อาทิ คนยากจน และเกษตรกรที่มี
แนวโน้มได้รบั ผลกระทบมากกวา่ ประชากรกลุ่มอื่น

ดังทกี่ ลา่ วมา จะพบว่าการจัดเก็บข้อมลู ความจำเปน็ พ้ืนฐานในหมวดมาตรฐาน
ความเปน็ อยแู่ ละการกำหนดเคร่ืองชว้ี ดั จปฐ. ในประเด็นเหลา่ นีส้ อดคลอ้ งกับแผนพฒั นาและยุทธศาสตร์
การพัฒนาประเทศซึง่ สอดคล้องกบั การพฒั นามนุษย์ซึ่งเปน็ รากฐานสำคัญของการพฒั นาประเทศ

หมวดท่ี 3 การศกึ ษา
การจัดทำเครื่องชี้วัดหมวดที่ 3 การศึกษา ในร่างเครื่องชี้วัด จปฐ.ปี 2565 –
2569 มีหลักการที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับปัญหาเด็กและ
เยาวชน ได้แก่ ยุทธศาสตร์การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน ประเด็นการพัฒนาศักยภาพคนตลอด
ช่วงชีวิต มุ่งเน้นการพัฒนาคนเชิงคุณภาพในทุกช่วงวัย และประเด็นการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้
ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 มุ่งเน้นผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้และมีใจใฝ่เรียนรู้
ตลอดเวลา
เครื่องชี้วัดดังกล่าว มีหลักการที่เชื่อมโยงกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ ฉบับที่ 12 ได้แก่ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ โดยเฉพาะ
เป้าหมายที่ 2 คนในสังคมไทยทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ และความสามารถเพิ่มขึ้น เด็กปฐมวัยมี
พัฒนาการเต็มตามศักยภาพ เด็กวัยเรียนและวัยรุ่นมีสติปัญญาและความฉลาดทางอารมณ์เพิ่มข้ึน
วัยแรงงานมีความรู้และทักษะเป็นไปตามความต้องการของตลาดงานและมีทักษะทางการเงินเหมาะสม
กับสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ เป้าหมายที่ 3 คนไทยมีการศึกษาที่มีคณุ ภาพตามมาตรฐานสากลและมี
ความสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างความเป็นธรรมและลดความ
เหลื่อมลำในสังคม โดยเฉพาะเป้าหมายที่ 2 เพิ่มโอกาสการเข้าถึงบริการพื้นฐานทางสังคมของภาครัฐ
มีอัตราการเข้าเรียนสุทธิ (ที่ปรับปรุง) ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานเท่ากับร้อยละ 90 โดยไม่มี
ความแตกตา่ งระหวา่ งกลุม่ นกั เรยี น/นักศกึ ษาที่ครอบครวั มฐี านะทางเศรษฐกิจสงั คมและระหวา่ งพ้ืนที่
เครื่องชี้วัดดังกล่าว ยังมีหลักการที่สอดคล้องกับเป้าหมายในร่างยุทธศาสตร์
การพัฒนาประเทศในกรอบแนวทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (สศช.2564)
ได้แก่ หมุดหมายที่ 9 ไทยมีความยากจนข้ามรุ่นลดลง และคนไทยทุกคนมีความคุ้มครองทางสังคมท่ี
เพียงพอ เหมาะสม ทุกกลุ่มคนสามารถเข้าถึงเทคโนโลยีดิจิทัลได้อย่างครอบคลุม ทั่วถึง และมีคุณภาพ
โดยเฉพาะในชนบทและพื้นที่ห่างไกล เพื่อลดความเหลื่อมล้ำของโอกาสทางเศรษฐกิจและสังคมและ
ระหว่างพื้นที่ เด็กจากครอบครัวยากจนได้รับการช่วยเหลือให้สามารถเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ
โดยเฉพาะการศึกษาในระดับท่ีสงู กว่าการศึกษาภาคบังคับได้อย่างเสมอภาค เพอื่ เพม่ิ โอกาสการเลื่อนชั้น
ทางเศรษฐกิจและสงั คมอันจะนำไปสู่การลดความเหลื่อมลำ้ ในประชากรร่นุ ถัดไป หมดุ หมายท่ี 12 ไทยมี
กำลังคนสมรรถนะสูง มงุ่ เรยี นร้อู ยา่ งต่อเนื่อง ตอบโจทยก์ ารพัฒนาแห่งอนาคตระบบการศึกษาไทยต้ังแต่
ระดับปฐมวัยมีคุณภาพมาตรฐานใกล้เคียงกันภายในประเทศและเทียบเท่าระดับสากล โดยมุ่งพัฒนาคน
ใหม้ ที ักษะท่จี ำเปน็ ในโลกยุคใหม่อย่างรอบด้าน อาทิ ทักษะด้านภาษาต่างประเทศ ทกั ษะดา้ นดิจทิ ลั และ
ทักษะการเป็นผู้ประกอบการ รวมถึงทักษะทางสังคม/พฤติกรรม (Soft Skills) อาทิ ทักษะการคิดเชิง
วิพากษ์ ความคิดสร้างสรรค์ ความสามารถในการปรับตัว การยอมรับความแตกต่าง และการสื่อสารและ

219

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการจัดทำเครือ่ งชว้ี ดั และแบบสอบถามข้อมูลความจำเปน็ พนื้ ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พนื้ ฐาน
ระดบั หมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

การทำงานร่วมกับผู้อื่น พร้อมทั้งส่งเสริมการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต ระบบการศึกษาและ
กลไกทเี่ กยี่ วเน่ืองมคี วามเหมาะสมและสอดรับกับศักยภาพของเด็กแต่ละกลุม่ ตง้ั แตก่ ลุ่มผมู้ คี วามสามารถ
พิเศษ จนถึงกลุ่มเด็กและเยาวชนอายุระหว่าง 15 – 24 ปี ที่ไม่ได้เรียน ไม่ได้ทำงาน หรือไม่ได้อยู่ใน
ระบบฝึกอบรมใด ๆ สถาบันอุดมศึกษาสามารถปรับบทบาทในการผลิตและพัฒนากำลังคนให้มีปริมาณ
และคุณภาพสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน และสนับสนุนการมงุ่ สกู่ ารเป็น Hi-Value and
Sustainable Thailand รวมถึงมีบทบาทในการพัฒนาทุนมนุษย์ในทุกช่วงวัย (นอกเหนือจากวัยเรียน)
ระบบการฝึกอบรมเพื่อปรับและยกระดับทักษะฝีมือแรงงานมีคุณภาพ ทันสมัย ได้มาตรฐาน
ตอบโจทยค์ วามต้องการอย่างตรงจุด ทกุ คนสามารถเข้าถงึ ได้โดยเฉพาะการฝึกอบรมเพื่อโยกย้ายแรงงาน
ไปสู่ภาคการผลิตและบริการเป้าหมายภายใต้การสร้างเศรษฐกิจมูลค่าสูงที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และ
สำหรับผู้มีความเสี่ยงจากการถูกทดแทนจากระบบอัตโนมัติ กลุ่มวัยแรงงานตอนปลาย และผู้สูงอายุ
นโยบายการบริหารจัดการกำลังคนภายใต้บริบทสังคมสูงวัยมีความชัดเจน และสามารถลดทอน
ความเสี่ยงในการขาดแคลนกำลงั แรงงาน อาทิ การขยายอายุเกษียณ การยกระดับผลิตภาพแรงงานไทย
และการดึงดูดแรงงานทักษะสูงจากต่างประเทศระบบการบริหารจัดการกำลังคนและฐานข้อมูล
สารสนเทศด้านกำลังคนของประเทศมีความบูรณาการ นำไปสู่การออกแบบนโยบายที่เฉพาะเจาะจงและ
มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น สถาบันทางสังคมเอื้อต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ตั้งแต่การส่งเสริมการเลี้ยงดู
บุตร การปฏริ ปู สื่อและอุตสาหกรรมบนั เทิง จนถงึ มาตรการท่ีเอื้อต่อการมีสุขภาพดี มีความตระหนักด้าน
สง่ิ แวดล้อม และมีจติ สำนกึ ที่ดตี อ่ สงั คมสว่ นรวม

ดังที่กล่าวมา จะพบว่าหลักการจัดทำเครื่องชี้วัดข้อมูลความจำเป็นพื้นฐานใน
หมวดการศึกษา อันได้แก่ เด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี มีพัฒนาการด้านสุขภาพและการเรียนรู้ พัฒนาการทาง
บุคลิกภาพตามวัย เด็ก อายุ 6-14 ปี ได้รับการศึกษาภาคบังคับ เด็กจบชั้น ม.3 ได้เรียนต่อ คนใน
ครัวเรือนที่จบการศึกษาภาคบังคับได้รับการฝึกอบรมด้านอาชีพ คนอายุ 15- 59 ปี อ่าน เขียน
ภาษาไทยและคิดเลขอย่างง่ายได้ เยาวชน/ผู้ใหญ่มีทักษะทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เป็นการกำหนดเครื่องชี้วัด จปฐ. ท่ีสอดคล้องกับแผนพัฒนาและยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศซ่ึง
สอดคล้องกับการพัฒนามนุษย์อนั เป็นรากฐานสำคัญของการพัฒนาประเทศ

หมวดที่ 4 เศรษฐกจิ
การจัดทำเครื่องชี้วัดหมวดที่ 4 เศรษฐกิจ ในร่างเครื่องชี้วัด จปฐ.ปี 2565 –
2569 มหี ลักการทสี่ อดคลอ้ งกบั ยทุ ธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี ไดแ้ ก่ ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาและเสริมสร้าง
ศกั ยภาพคน ประเดน็ การพฒั นาศกั ยภาพคนตลอดชว่ งชวี ติ มุ่งเน้นการพัฒนาคนเชงิ คุณภาพในทุกช่วงวัย
โดยช่วงวยั แรงงาน ยกระดับศกั ยภาพ ทักษะและสมรรถนะแรงงานสอดคล้องกับความต้องการของตลาด
และชว่ งวยั ผสู้ ูงอายุ สง่ เสริมใหผ้ สู้ งู อายเุ ป็นพลังในการขับเคลื่อนประเทศ ประเดน็ การลดความเหลื่อมล้ำ
สร้างความเป็นธรรมในทุกมิติ โดย ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจฐานราก ปฏิรูประบบภาษีและการคุ้มครอง
ผู้บริโภค กระจายการถือครองที่ดินและการเข้าถึงทรัพยากร เพิ่มผลิตภาพและคุ้มครองแรงงานไทยให้
เป็นแรงงานฝีมือที่มีคุณภาพและความริเริ่มสร้างสรรค์ มีความปลอดภัยในการทำงาน ประเด็น
การกระจายศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจ สังคมและเทคโนโลยี โดยพัฒนาศูนย์กลางความเจริญ
ทางเศรษฐกิจ สังคมและเทคโนโลยีในภูมิภาค กำหนดแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของแต่ละกลุ่ม
จังหวัดในมิติต่าง ๆ จัดระบบเมืองที่เอื้อต่อการสร้างชีวิตและสังคมที่มีคุณภาพและปลอดภัยให้สามารถ

220

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจดั ทำเครอื่ งช้ีวดั และแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเป็นพืน้ ฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพืน้ ฐาน
ระดับหมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตอบสนองต่อสังคมสูงวัยและแนวโน้มของการขยายตัวของเมืองในอนาคต และประเด็นการเพิ่มขีด
ความสามารถของชุมชนท้องถิ่นในการพัฒนา การพึ่งตนเองและการจัดการตนเอง โดยส่งเสริมการปรับ
พฤติกรรมในระดับครัวเรือน ใหม้ ีขีดความสามารถในการจัดการวางแผนชีวติ สขุ ภาพ ครอบครัว การเงิน
และอาชีพเสรมิ สร้างศกั ยภาพของชุมชนในการพ่ึงตนเองและการพึ่งพากนั เอง

เครื่องชี้วัดดังกล่าว มีหลักการที่เชื่อมโยงกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ ฉบับที่ 12 ได้แก่ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมลำในสังคม
โดยเฉพาะเป้าหมายที่ 2 ลดปัญหาความเหลื่อมล้ำด้านรายได้ของกลุ่มคนที่มีฐานะทางเศรษฐกิจสังคมท่ี
แตกต่างกัน และแก้ไขปัญหาความยากจน รายได้เฉลี่ยต่อหัวของกลุ่มประชากรร้อยละ 40 ที่มีรายได้
ต่ำสุดเพ่ิมขึ้นและการถือครองสินทรัพย์ทางการเงินของกลุ่มประชากรดงั กล่าวเพิ่มขน้ึ สัดสว่ นประชากรท่ี
อยู่ใตเ้ ส้นความยากจนลดลง สดั สว่ นหน้ีสนิ ต่อรายได้ทัง้ หมดของครัวเรอื นของกล่มุ ครวั เรือนท่ียากจนที่สุด
ลดลง เป้าหมายที่ 3 เพิ่มศักยภาพชุมชนและเศรษฐกิจฐานรากให้มีความเข้มแข็ง เพื่อให้ชุมชนพึ่งพา
ตนเองและได้รับส่วนแบ่งผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจมากขึ้น ครัวเรือนเข้าถึงแหล่งเงินทุนเพิ่มขึ้น ชุมชน
เข้มแขง็ เพิ่มขนึ้ ในทุกภาค มลู ค่าสินคา้ ชุมชนเพิม่ ข้นึ

เครื่องชี้วัดดังกล่าว ยังมีหลักการที่สอดคล้องกับเป้าหมายในร่างยุทธศาสตร์
การพัฒนาประเทศในกรอบแนวทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (สศช., 2564)
ได้แก่ หมุดหมายที่ 1 ไทยเป็นประเทศชั้นนำด้านสินค้าเกษตรและเกษตรแปรรูปมูลค่าสูง โดยเฉพาะ
เกษตรกรสามารถเข้าถึงช่องทางการตลาดสินค้าเกษตรที่หลากหลาย อาทิ การขายตรงให้กับผู้ค้าปลีก
หรือผู้ส่งออก การขายสินค้าผ่านช่องทางออนไลน์การท่องเที่ยวเชิงเกษตรกรรมและการทำเกษตร
พันธสัญญากับผู้แปรรูป หมุดหมายที่ 2 ไทยเป็นจุดหมายของการท่องเที่ยวที่เน้นคุณค่าและความยั่งยืน
โดยเฉพาะรายได้จากการท่องเที่ยวมีสัดส่วนการกระจายตัวสู่เมืองรองในทุกภูมิภาคและกระจายตัวสู่
ชุมชนและผู้ประกอบการรายย่อยในพื้นที่มากขึ้น ผ่านการเพิ่มมูลค่าด้วยการสร้างอัตลักษณ์ของพื้นท่ี
อย่างเต็มศักยภาพ หมุดหมายท่ี 5 ไทยเป็นประตูการค้าการลงทุนและจุดยุทธศาสตร์ทางโลจิสติกส์
ทสี่ ำคัญของภูมิภาค โดยเฉพาะผู้ประกอบการและแรงงานด้านโลจิสติกส์ของไทยมีองค์ความรู้และทักษะ
ที่เหมาะสมสำหรับการให้บริการที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพและคุณภาพสูง มีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี
สมัยใหม่ในการปรับรูปแบบธุรกิจที่สอดคล้องต่อการเปลี่ยนแปลงและมีศักยภาพในการแข่งขันทั้งใน
ระดับประเทศและระดับสากล หมุดหมายท่ี 7 ไทยมี SMEs ทเ่ี ขม้ แข็ง มีศักยภาพสงู และสามารถแข่งขัน
ได้ โดยเฉพาะวิสาหกิจชุมชนมีศักยภาพ ผลิตได้และขายเป็น สามารถนำอัตลักษณ์ วัฒนธรรมและภูมิ
ปญั ญาของชมุ ชนมาสร้างมูลค่าเพิ่มให้แกส่ นิ ค้าและบริการ และสามารถสร้างงาน สรา้ งรายได้ให้แก่คนใน
ชุมชน วิสาหกิจเพื่อสังคมขยายตัวและเติบโตอย่างต่อเนื่อง รวมถึงมีบทบาทมากขึ้นในการพัฒนาชุมชน
สังคม และสิ่งแวดล้อม อาทิ การสร้างการมีส่วนร่วมและกระจายผลประโยชน์จากการดำเนินธุรกิจไปสู่
ชุมชน การสร้างงานในกลุ่มผู้ด้อยโอกาสและการพัฒนาสินค้าและบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม หมุด
หมายที่ 9 ไทยมีความยากจนข้ามรุ่นลดลง และคนไทยทุกคนมีความคุ้มครองทางสังคมที่เพียงพอ
เหมาะสม ทุกกลุ่มคนสามารถเข้าถึงเทคโนโลยีดิจิทลั ได้อย่างครอบคลมุ ทั่วถึงและมีคุณภาพ โดยเฉพาะ
ในชนบทและพ้ืนทหี่ ่างไกลเพ่ือลดความเหล่ือมล้ำของโอกาสทางเศรษฐกจิ และสงั คมและระหวา่ งพ้ืนที่เด็ก
จากครอบครัวยากจนได้รับการช่วยเหลือให้สามารถเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ โดยเฉพาะการศึกษาใน

221

รายงานฉบับสมบรู ณ์โครงการจัดทำเครื่องช้ีวดั และแบบสอบถามข้อมลู ความจำเปน็ พนื้ ฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพืน้ ฐาน
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ระดับที่สูงกวา่ การศึกษาภาคบงั คับได้อย่างเสมอภาคเพื่อเพิม่ โอกาสการเลื่อนชัน้ ทางเศรษฐกิจและสังคม
อันจะนำไปสู่การลดความเหลื่อมล้ำในประชากรรุ่นถัดไป หมุดหมายที่ 12 ไทยมีกำลังคนสมรรถนะสูง
โดยเฉพาะการมุ่งเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ตอบโจทย์การพัฒนาแห่งอนาคต โดยเฉพาะระบบการฝึกอบรม
เพื่อปรับและยกระดับทักษะฝีมือแรงงานมีคุณภาพ ทันสมัย ได้มาตรฐาน ตอบโจทย์ความต้องการอย่าง
ตรงจุด ทุกคนสามารถเข้าถึงได้โดยเฉพาะการฝึกอบรมเพื่อโยกย้ายแรงงานไปสู่ภาคการผลติ และบริการ
เป้าหมายภายใต้การสร้างเศรษฐกิจมูลค่าสูงที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และสำหรับผู้มีความเสี่ยงจาก
การถูกทดแทนจากระบบอัตโนมัติ กลุ่มวัยแรงงานตอนปลายและผู้สูงอายุนโยบายการบริหารจัดการ
กำลังคนภายใต้บริบทสังคมสูงวัยมีความชัดเจนและสามารถลดทอนความเสี่ยงในการขาดแคลนกำลัง
แรงงาน อาทิ การขยายอายุเกษียณ การยกระดับผลิตภาพแรงงานไทยและการดึงดูดแรงงานทักษะสูง
จากต่างประเทศ

ดังที่กล่าวมา จะพบว่าหลักการจัดทำเครื่องชี้วัดข้อมูลความจำเป็นพื้นฐานใน
หมวดเศรษฐกิจ อันได้แก่ คนอายุ 15-59 ปี มีอาชีพและรายได้ คนอายุ 60 ปีขึ้นไป มีอาชีพและรายได้
รายได้เฉลีย่ ของคนในครัวเรอื นตอปี ครัวเรือนมกี ารเก็บออมเงิน เหล่านี้เป็นการกำหนดเครื่องชี้วัด จปฐ.
ที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาและยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศซึ่งสอดคล้องกับการพัฒนามนุษย์อันเป็น
รากฐานสำคญั ของการพัฒนาประเทศ

หมวดที่ 5 การคุ้มครองทางสังคมและการมสี ว่ นรว่ ม
การจัดทำเครื่องชี้วัดหมวดที่ 5 การคุ้มครองทางสังคมและการมีส่วนร่วม ใน
ร่างเครื่องชี้วัด จปฐ.ปี 2565 – 2569 มีหลักการที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี ได้แก่
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม มีเป้าหมายการพัฒนาที่สำคัญที่ให้
ความสำคัญการดึงเอาพลังของภาคส่วนต่าง ๆ ทั้งภาคเอกชนประชาสังคม ชุมชนท้องถิ่น มาร่วม
ขับเคลื่อน โดยการสนับสนุนการรวมตัวของประชาชนในการร่วมคิดร่วมท่าเพื่อส่วนรวม การกระจาย
อำนาจและความรับผดิ ชอบไปสู่กลไกบริหารราชการแผ่นดินในระดับท้องถ่ิน การเสริมสรา้ งความเข้มแข็ง
ของชุมชนในกาจัดการตนเอง และการเตรียมความพร้อมของประชากรไทยทั้งในมิติสุขภาพเศรษฐกิจ
สังคม และสภาพแวดล้อมให้เป็นประชากรที่มีคุณภาพ สามารถพึ่งตนเองและท่าประโยชน์แก่ครอบครัว
ชุมชน และสังคมให้นานที่สุด โดยรัฐใหห้ ลักประกันการเข้าถึงบริการและสวัสดิการที่มีคุณภาพอย่างเป็น
ธรรมและทัว่ ถึง ตัวชี้วัด ประกอบด้วย (1) ความแตกต่างของรายไดแ้ ละการเข้าถึงบริการภาครฐั ระหวา่ ง
กลุ่มประชากร (2) ความก้าวหน้าของการพัฒนาคน (3) ความก้าวหน้าในการพัฒนาจังหวัดในการเป็น
ศนู ย์กลางความเจริญทางเศรษฐกจิ สังคม และเทคโนโลยี และ (4) คุณภาพชวี ติ ของประชากรสูงอายุ
เครื่องชี้วัดดังกล่าว มีหลักการที่เชื่อมโยงกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ ฉบับที่ 12 ได้แก่ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้ำในสังคม
โดยเฉพาะเป้าหมายที่ 1 ลดปัญหาความเหลื่อมล้ำด้านรายได้ของกลุ่มคนที่มีฐานะทางเศรษฐกิจสังคมที่
แตกต่างกันและแก้ไขปัญหาความยากจน เป้าหมายที่ 2 เพิ่มโอกาสการเข้าถึงบริการพื้นฐานทางสังคม
ของภาครัฐ สัดส่วนแรงงานนอกระบบที่อยู่ภายใต้ประกันสังคม (ผู้ประกันตนตามมาตรา 40) และที่
เข้าร่วมกองทุนการออมแห่งชาติต่อกำลังแรงงานเพิ่มขึ้น และเป้าหมายที่ 3 เพิ่มศักยภาพชุมชนและ

222

รายงานฉบบั สมบูรณโ์ ครงการจัดทำเครื่องช้ีวดั และแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พื้นฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพน้ื ฐาน
ระดบั หมูบ่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรับใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

เศรษฐกิจฐานรากให้มีความเข้มแข็งเพื่อให้ชุมชนพึ่งพาตนเองและได้รับส่วนแบ่งผลประโยชน์ทาง
เศรษฐกิจมากขึน้ โดยการเพมิ่ โอกาสใหก้ ับกล่มุ เปา้ หมายประชากรรอ้ ยละ 40 ที่มรี ายได้ตำ่ สดุ ใหส้ ามารถ
เข้าถึงบริการที่มีคุณภาพของรัฐ และมีอาชีพ ทั้งในด้านการศึกษาในระดับที่สูงขึ้น การได้รับขยาย
การคุ้มครองทางสังคม (Social Protection) และสวัสดิการ (Welfare) ที่เหมาะสมอย่างทั่วถึงและเป็น
ธรรมและการพัฒนาทักษะฝีมือเพื่อประกอบอาชีพและยกระดับรายได้ โดยเฉพาะมีแนวทางในการเพ่ิม
การจัดสวัสดิการสังคมให้กับกลุ่มเป้าหมายประชากรร้อยละ 40 ที่มีรายได้ต่ำสุดอย่างเพียงพอและ
เหมาะสม เช่น เพิ่มเบี้ยคนพิการและเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุที่ยากจนให้เพียงพอที่จะดำรงชีพได้ สนับสนุน
การจัดหาที่อยูอ่ าศัยและระบบสาธารณปู โภคให้กับประชากรกลุ่มเป้าหมายเพื่อแก้ปัญหาชุมชนแออัดใน
เมือง สนับสนุนชุมชนให้มีการจัดบริการตามความจำเป็นสำหรับผู้สูงอายุ สนับสนุนการให้ความรู้ใน
การบริหารจัดการทางการเงินแก่ชุมชนและครัวเรือน การปรับองค์กรการเงินของชุมชนให้ทำหน้าที่เป็น
สถาบันการเงินในระดับหมู่บ้านตำบลที่ทำหน้าที่ทั้งการให้กู้ยืมและการออมและจัดตั้งโครงข่ายการเงิน
ฐานรากโดยมีธนาคารออมสินและธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์เป็นแม่ข่าย สนับสนุนชุมชนให้มี
ส่วนร่วมในการจัดสวัสดิการ บริการ และการจัดการทรัพยากรในชุมชน ในลักษณะเป็นหุ้นส่วนกับ
หน่วยงานภาครัฐ อปท. ในการดูแลคุณภาพชีวิตประชาชน โดยเปิดรับสมาชิกทุกคนในท้องถิ่นโดย
ไมเ่ ลอื กปฏิบตั ิผลักดัน พ.ร.บ. โฉนดชมุ ชนเพื่อใหช้ ุมชนมกี ารบริหารจัดการและใช้ประโยชน์จากที่ดินและ
ทรพั ยากรในพ้นื ทรี่ ่วมกัน

เครื่องชี้วัดดังกล่าว ยังมีหลักการที่สอดคล้องกับเป้าหมายในร่างยุทธศาสตร์
การพัฒนาประเทศในกรอบแนวทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (สศช., 2564)
โดยเฉพาะหมุดหมายท่ี 9 ไทยมีความยากจนขา้ มรุ่นลดลง และคนไทยทุกคนมีความคมุ้ ครองทางสังคมที่
เพียงพอเหมาะสม กล่าวคือ คนยากจนขา้ มรุ่นลดลงจากมาตรการให้ความช่วยเหลือและแก้ไขปัญหาแบบ
มุ่งเป้าและเทคโนโลยสี ารสนเทศที่สามารถระบุตัวบคุ คล ปัญหา และความต้องการได้อย่างแม่นยำและมี
ประสิทธิภาพ นโยบายการเงินการคลังและกฎหมายสามารถสนับสนุนการกระจายรายได้และสร้าง
ความเป็นธรรมในสังคมได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทุกกลุ่มคนสามารถเข้าถึงเทคโนโลยีดิจิทัลได้อย่าง
ครอบคลุม ทั่วถึง และมีคุณภาพ โดยเฉพาะในชนบทและพื้นทีห่ ่างไกลเพื่อลดความเหลื่อมล้ำของโอกาส
ทางเศรษฐกิจและสังคมและระหว่างพื้นที่ (digital divide) เด็กจากครอบครัวยากจนไดร้ บั การช่วยเหลือ
ให้สามารถเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ โดยเฉพาะการศึกษาในระดับที่สูงกว่าการศึกษาภาคบัง คับได้
อยา่ งเสมอภาคเพ่ือเพ่ิมโอกาสการเลอื่ นชั้นทางเศรษฐกจิ และสังคมอันจะนำไปสู่การลดความเหล่ือมล้ำใน
ประชากรรุ่นถัดไป คนไทยทุกคนมีความคุ้มครองทางสังคมที่เพียงพอ เหมาะสม สอดคล้องกับบริบท
ความจำเป็น บนฐานของความยั่งยืนทางการคลัง ระบบประกันสังคมได้รับการพัฒนาทั้งในด้านรูปแบบ
เงินสมทบ และสิทธิประโยชน์ให้สอดคล้องกับความต้องการและลักษณะการทำงานที่หลากหลาย
สามารถจงู ใจใหแ้ รงงานนอกระบบเข้าส่รู ะบบ และสร้างหลักประกันใหแ้ ก่แรงงานในภาวะวิกฤตได้ ระบบ
ความคุ้มครองทางสังคมของไทยมีความบูรณาการ เชื่อมโยงกันตั้งแต่ระดับนโยบาย ฐานข้อมูล ระดับ
ปฏิบัติจนถึงการติดตามประมวลผล โดยมีระบบที่สามารถระบุชุดสิทธิของความคุ้มครองทางสังคมที่
แต่ละบุคคล/ครัวเรอื นพึงได้รับ

223

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการจัดทำเครื่องชวี้ ัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พน้ื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พ้ืนฐาน
ระดบั หมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรับใช้ช่วงแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ดังที่กล่าวมา จะพบว่า หลักการจัดทำเครื่องชี้วัดข้อมูลความจำเป็นพื้นฐานใน
หมวดการคุ้มครองทางสังคมและการมีส่วนร่วม อันได้แก่ เด็กแรกเกิด – 6 ปีที่ครัวเรือนมีรายได้เฉลี่ย
ไม่เกิน 100,000 บาทต่อคนต่อปีได้รับเงินอุดหนุนจากภาครัฐ ครัวเรือที่มีรายได้เฉลี่ยไม่เกิน
100,000 บาทต่อคนต่อปีและมีสมาชิกท่ีมีคุณสมบัติตามเกณฑบ์ ัตรสวัสดิการแหง่ รฐั ไดร้ ับเงินสวัสดิการ
จากรัฐ ครัวเรือนที่สมาชิกประกอบอาชีพและมีรายได้ ออกจากงานหรือเกษียณได้รับการคุ้มครองตาม
ระบบและมาตรการคุ้มครองทางสังคม จากภาครฐั ชุมชนหรือเอกชน ผสู้ ูงอายุ ผพู้ กิ ารได้รบั การดูแลจาก
ครอบครัว ชุมชน ภาครัฐ หรือภาคเอกชน ครอบครัวมีความอบอนุ่ คนอายุ 6 ปีข้นึ ไป ปฏบิ ัติกจิ กรรมทาง
ศาสนา อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง ครัวเรือนมีส่วนร่วมทำกิจกรรมสาธารณะเพื่อประโยชน์ของชุมชน
ท้องถิ่น เหล่านี้เป็นการกำหนดเครื่องชี้วัด จปฐ. ที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาและยุทธศาสตร์การพัฒนา
ประเทศซง่ึ สอดคล้องกับการพัฒนามนุษยอ์ ันเป็นรากฐานสำคัญของการพัฒนาประเทศ

4.1.2 ความเชื่อมโยงกับแผนพัฒนาและยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศของข้อมูล
พน้ื ฐานระดับหมบู่ า้ น กชช. 2ค

สำหรับใช้ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 13 (ป 2566 –
2570) จากการศกึ ษาปรับปรงุ เครื่องชีว้ ดั ข้อมูลพน้ื ฐานระดับหมบู่ า้ น (กชช. 2ค) มีตัวชี้วัด 7 หมวด 40
ตัวช้วี ดั ดงั นี้

หมวดที่ 1 โครงสร้างพนื้ ฐาน
มีหลักการที่สอดคล้องกับกรอบแนวทางในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 – 2570) กล่าวคือ สอดคล้องกับขอบเขตหมุดหมายภายใต้เศรษฐกิจมูลค่าสูง
ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อไทยเป็นประเทศชั้นนำด้านสินค้าเกษตรและเกษตรแปรรูปมูลค่าสูง
เป็นประตูการค้าการลงทุนและจุดยุทธศาสตร์ทางโลจิสติกส์ที่สำคัญของภูมิภาคและเป็นฐานการผลิต
อิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะและบริการดิจิทัลของอาเซียน โดยเฉพาะเรื่องการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่มี
ความสำคัญต่อภาคการเกษตรและเกษตรแปรรูปได้รับการพัฒนาให้เพียงพอต่อความต้องการและมี
ประสิทธิภาพ อาทิ แหล่งน้ำเพื่อการเกษตร ระบบการตรวจรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์การเกษตร และ
โครงสรา้ งพ้ืนฐานและสง่ิ อำนวยความสะดวกด้านโลจสิ ติกส์การเกษตร มีการพัฒนาโครงสรา้ งพนื้ ฐานและ
สิ่งอำนวยความสะดวกด้านการขนส่งสินค้าและการค่าผ่านแดน ยกระดับระบบการบริหารจัดการ
โลจิสติกส์และการเชื่อมโยงโครงข่ายเส้นทางคมนาคมขนส่งในอาเซียนอย่างไร้รอยต่อและมีการพัฒนา
โครงสร้างพื้นฐาน และปจั จัยแวดล้อมทส่ี ่งเสริมการประกอบธรุ กิจด้านดจิ ิทลั อาทิ อนิ เทอร์เน็ตความเร็ว
สูง แรงงานที่มีทักษะสอดคล้องกับความต้องการ และกฎระเบียบที่เท่าทันการเปลี่ยนแปลงและมี
ประสิทธิภาพสงู
หมวดที่ 2 สภาพพื้นฐานทางเศรษฐกิจ
มีหลักการสอดคล้องกับกรอบแนวทางในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ
ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 – 2570) กล่าวคือ สอดคล้องกับขอบเขตหมุดหมายภายใต้เศรษฐกิจมูลค่าสงู
ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และขอบเขตของหมุดหมายภายใต้สังคมแห่งโอกาสและความเสมอภาค เพ่ือ
ไทยเป็นประเทศชั้นนำด้านสินค้าเกษตรและเกษตรแปรรูปมลู ค่าสูง เป็นจดุ หมายของการท่องเท่ียวท่ีเน้น
คุณค่าและความยั่งยืน ไทยเป็นฐานการผลิตยานยนต์ไฟฟ้าของอาเซียน เป็นฐานการผลิตอิเล็กทรอนิกส์
อัจฉรยิ ะและบรกิ ารดจิ ิทัลของอาเซียน ตลอดจนมี SMEs ทีเ่ ขม้ แขง็ มศี ักยภาพสงู และสามารถแข่งขันได้

224

รายงานฉบับสมบูรณโ์ ครงการจดั ทำเคร่ืองช้วี ัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พนื้ ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพืน้ ฐาน
ระดับหม่บู า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

โดยเฉพาะเรื่องการพัฒนาภาคการเกษตรของไทยได้รับการปรับโครงสร้ างให้เป็นภาคการผลิตที่มี
ผลตอบแทนสูง ผ่านการยกระดับผลิตภาพ การพัฒนาคุณภาพของผลผลิต และการปรับเปลี่ยนประเภท
ของการผลิตจากการผลิตที่มีมูลค่าเพิ่มต่ำไปสู่การผลิตที่มีมูลค่าเพิ่มสูง สอดคล้องกับศักยภาพของพื้นท่ี
และความต้องการของตลาด โดยส่งเสริมการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและภูมิปัญญาในการผลิตและ
การพัฒนาศักยภาพของเกษตรกรด้วยการสนับสนุนข้อมูลและองค์ความรู้ที่จำเป็น รวมทั้งการสนับสนุน
การดำเนนิ งานของสถาบนั เกษตรกร เกษตรกรสามารถเขา้ ถงึ ชอ่ งทางการตลาดสนิ ค้าเกษตรท่หี ลากหลาย
อาทิ การขายตรงให้กับผู้ค้าปลีกหรือผู้ส่งออก การขายสินค้าผ่านช่องทางออนไลน์การท่องเที่ยว
เชิงเกษตรกรรมและการทำเกษตรพันธ์สัญญากับผู้แปรรูป ประเทศไทยมีภาพลักษณ์ในฐานะจุดหมาย
ปลายทางของการท่องเที่ยวที่เน้นคุณค่าและใส่ใจในความยั่งยืน การท่องเที่ยวไทยมีจุดเด่นด้าน
การท่องเที่ยวรูปแบบเฉพาะ เช่น การท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ เชิงเกษตร เชิงการแพทย์และการส่งเสริม
สุขภาพ เชงิ อาหารและวัฒนธรรม เชิงธุรกจิ และเชงิ กีฬา การท่องเทยี่ วไทยมีกจิ กรรมทีห่ ลากหลายพร้อม
ทัง้ มีบรกิ ารท่ีไดม้ าตรฐานสากลสามารถเพ่ิมมลู ค่าและดึงดูดนักท่องเทย่ี วเป้าหมายท้ังไทยและต่างชาติท่ีมี
คุณภาพและมีความเต็มใจจ่ายสูง แหล่งท่องเที่ยวได้รับการดูแลรักษาให้มีความยั่งยืนและเน้นคุณค่า
อย่างเหมาะสมกับพื้นที่ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน รายได้จากการท่องเที่ยวมีสัดส่วน
การกระจายตัวสู่เมืองรองในทุกภูมิภาค และกระจายตัวสู่ชุมชนและผู้ประกอบการรายย่อยในพื้นที่มาก
ข้นึ ผ่านการเพ่ิมมูลคา่ ดว้ ยการสรา้ งอัตลักษณ์ของพ้นื ทอ่ี ยา่ งเตม็ ศักยภาพ

หมวดท่ี 3 สุขภาวะและอนามัย
มีหลักการสอดคล้องกับกรอบแนวทางในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 – 2570) กล่าวคือ สอดคล้องกับขอบเขตหมุดหมายภายใต้สังคมแห่งโอกาส
และความเสมอภาค เพอื่ ให้ไทยมีพืน้ ท่ีและเมืองหลกั ของภมู ภิ าคทีม่ ีความเจรญิ ทางเศรษฐกจิ ทันสมยั และ
น่าอยู่ มีความยากจนข้ามรุ่นลดลงและคนไทยทุกคนมีความคุ้มครองทางสังคมที่เพียงพอ เหมาะสม
มบี ริการสาธารณะ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ด้านการศึกษาและบริการสาธารณสขุ มีคณุ ภาพมาตรฐานใกล้เคียง
กันระหว่างพื้นที่ รวมถึงมีการจัดสรรงบประมาณ บุคลากร และทรัพยากรที่สำคัญอื่น ๆ อย่างเพียงพอ
และเหมาะสม
หมวดท่ี 4 ความร้แู ละการศึกษา
มีหลักการสอดคล้องกับกรอบแนวทางในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 – 2570) กล่าวคือ สอดคล้องกับขอบเขตหมุดหมายภายใต้สังคมแห่งโอกาส
และความเสมอภาค เพื่อใหไ้ ทยมีพื้นทแี่ ละเมืองหลกั ของภูมิภาคทีม่ ีความเจริญทางเศรษฐกิจ ทนั สมัยและ
น่าอยู่ มีความยากจนข้ามรุ่นลดลงและคนไทยทุกคนมีความคุ้มครองทางสังคมที่เพียงพอ เหมาะสม มี
บริการสาธารณะโดยเฉพาะอยา่ งย่ิงด้านการศึกษามีคุณภาพมาตรฐานใกล้เคยี งกนั ระหว่างพื้นท่ี รวมถึงมี
การจัดสรรงบประมาณ บุคลากร และทรัพยากรที่สำคัญอื่น ๆ อย่างเพียงพอและเหมาะสมด้านความรู้
และการศึกษา เด็กจากครอบครัวยากจนได้รับการช่วยเหลือให้สามารถเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ
โดยเฉพาะการศึกษาในระดับที่สูงกว่าการศึกษาภาคบังคับได้อย่างเสมอภาคเพื่อเพิ่มโอกาสการเลื่อนชั้น
ทางเศรษฐกิจและสงั คมอันจะนำไปสู่การลดความเหล่ือมลำ้ ในประชากรรุ่นถดั ไป

225

รายงานฉบับสมบรู ณ์โครงการจัดทำเครอ่ื งช้วี ัดและแบบสอบถามข้อมลู ความจำเป็นพ้ืนฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พ้ืนฐาน
ระดบั หมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

หมวดที่ 5 การมสี ่วนรว่ มและความเขม้ แขง็ ของชุมชน
สอดคล้องกับกรอบแนวทางในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13
(พ.ศ. 2566 – 2570) กล่าวคือ สอดคล้องกับขอบเขตหมุดหมายภายใต้สังคมแห่งโอกาสและ
ความเสมอภาค เพื่อให้ไทยมีพื้นที่และเมืองหลักของภูมิภาคที่มีความเจริญทางเศรษฐกิจ ทันสมัยและ
น่าอยู่ คนไทยมีความยากจนข้ามรุ่นลดลง และคนไทยทุกคนมีความคุ้มครองทางสังคมที่เพียงพอ
เหมาะสม โดยเฉพาคนไทยทุกคนมีความคุ้มครองทางสังคมที่เพียงพอ เหมาะสม สอดคล้องกับ
บริบทความจำเป็นบนฐานของความยั่งยืนทางการคลัง ระบบประกันสังคมได้รับการพัฒนาทั้งในด้าน
รปู แบบ เงนิ สมทบ และสทิ ธิประโยชนใ์ ห้สอดคลอ้ งกบั ความต้องการและลักษณะการทำงานทหี่ ลากหลาย
สามารถจูงใจให้แรงงานนอกระบบเข้าสู่ระบบและสร้างหลักประกันให้แก่แรงงานในภาวะวิกฤตได้ระบบ
ความคุ้มครองทางสังคมของไทยมีความบูรณาการ เชื่อมโยงกันตั้งแต่ระดับนโยบาย ฐานข้อมูล ระดับ
ปฏิบัติ จนถึงการติดตามประมวลผล โดยมีระบบที่สามารถระบุชุดสิทธขิ องความคุ้มครองทางสังคมที่แต่
ละบุคคล/ครัวเรือนพึงได้รับ และองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นมีศักยภาพในการกำกับดูแลและกำหนด
มาตรฐานการให้บริการสาธารณะ ขณะที่ชุมชน สถาบันการศึกษา และภาคเอกชนในพื้นที่ มีส่วนร่วมใน
การออกแบบและขับเคลื่อนการพัฒนาที่เหมาะสมและตอบโจทย์ความต้องการของคนในท้องที่ได้อย่าง
แทจ้ ริง
หมวดที่ 6 ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม
โดยประเด็นยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อ
สิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับตัวชี้วัดนี้คือ (1) ในประเด็นยุทธศาสตร์สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืนบน
สังคมเศรษฐกิจสีเขียว โดยเพิ่มมูลค่าของเศรษฐกิจฐานชีวภาพให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ดา้ นการสร้าง
ความสามารถในการแข่งขนั อนรุ กั ษแ์ ละฟน้ื ฟูความหลากหลายทางชวี ภาพในและนอกถนิ่ กำเนิด อนุรักษ์
และฟื้นฟูแม่น้ำลำคลองและแหล่งน้ำธรรมชาติทั่วประเทศ รักษาและเพิ่มพื้นที่สีเขียวที่เป็นมิตรกับ
สิ่งแวดล้อม และส่งเสริมการบริโภคและการผลิตที่ยั่งยืน (2) ประเด็นยุทธศาสตร์สร้างการเติบโตอย่าง
ย่งั ยืนบนสังคมเศรษฐกิจภาคทะเล โดยเพิ่มมูลค่าของเศรษฐกิจฐานชวี ภาพทางทะเล ปรบั ปรงุ ฟน้ื ฟู และ
สร้างใหม่ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งท้ังระบบ ฟื้นฟูชายหาดที่เป็นแหล่งทอ่ งเที่ยว ชายฝั่งทะเลได้รบั
การป้องกันและแก้ไขทั้งระบบและมีนโยบายการจัดการชายฝั่งแบบบูรณาการอย่างเป็นองค์รวม และ
พัฒนาและเพิ่มสัดส่วนกิจกรรมทางทะเลที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (3) ประเด็นยุทธศาสตร์สร้าง
การเติบโตอย่างยั่งยืนบนสังคมที่เป็นมิตรต่อสภาพภูมิอากาศโดยลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก มีการ
ปรับตัวเพื่อลดความสูญเสียและเสียหายจากภัยธรรมชาติและผลกระทบที่เกี่ยวข้อ งกับการเปลี่ยนแปลง
สภาพภูมอิ ากาศ ยทุ ธศาสตรช์ าติด้านการสรา้ งการเติบโตบนคุณภาพชวี ิตท่ีเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อมมุ่งเป้า
ส่กู ารลงทนุ ท่เี ป็นมิตรต่อสภาพภมู ิอากาศในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของภาครฐั และภาคเอกชน และ
พัฒนาและสร้างระบบรับมือปรับตัวต่อโรคอุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้ำที่เกดิ จากการเปล่ียนแปลงภูมอิ ากาศ
(4) ประเด็นยุทธศาสตรพ์ ฒั นาพืน้ ทเี่ มอื ง ชนบท เกษตรกรรมและอตุ สาหกรรมเชิงนิเวศ มงุ่ เนน้ ความเป็น
เมืองที่เติบโตอย่างต่อเนื่อง โดยจัดท่าแผนผังภูมินิเวศเพื่อการพัฒนาเมือง ชนบท พื้นที่เกษตรกรรมและ
อุตสาหกรรม รวมถึงพ้นื ทีอ่ นุรักษ์ตามศักยภาพและความเหมาะสมทางภูมินเิ วศอย่างเป็นเอกภาพ พัฒนา
พื้นที่เมือง ชนบท เกษตรกรรม และอุตสาหกรรมเชิงนิเวศที่มีการบริหารจัดการตามแผนผังภูมินิเวศ
อยา่ งย่ังยืน จัดการมลพษิ ทมี่ ผี ลกระทบต่อสง่ิ แวดล้อม และสารเคมีในภาคเกษตรท้งั ระบบ ให้เป็นไปตาม

226

รายงานฉบับสมบูรณโ์ ครงการจดั ทำเครื่องชวี้ ัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเป็นพ้ืนฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พ้นื ฐาน
ระดับหมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

มาตรฐานสากลและค่ามาตรฐานสากล สงวนรักษา อนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ มรดก
ทางสถาปตั ยกรรมและศลิ ปวัฒนธรรม อัตลกั ษณ์ และวถิ ีชีวิตพนื้ ถ่นิ บนฐานธรรมชาติ และฐานวัฒนธรรม
อย่างยั่งยืน พัฒนาเครือข่ายองค์กรพัฒนาเมืองและชุมชน รวมทั้งกลุ่มอาสาสมัคร ด้วยกลไกการมี
ส่วนรว่ มของทกุ ภาคสว่ นในท้องถ่นิ และเสริมสรา้ งระบบสาธารณสุขและอนามัยสิง่ แวดล้อมและยกระดับ
ความสามารถในการป้องกันโรคอุบัติใหม่และอุบัติซ้ำ (5) ประเด็นยุทธศาสตร์พัฒนาความมั่นคงน้ำ
พลังงาน และเกษตรที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมโดย พัฒนาการจัดการน้ำเชิงลุ่มน้ำทั้งระบบเพื่อเพิ่ ม
ความมั่นคงด้านน้ำของประเทศ เพิ่มผลิตภาพของน้ำทั้งระบบในการใช้น้ำอย่างประหยัด รู้คุณค่าและ
สร้างมูลค่าเพิ่มจากการใช้น้ำให้ทัดเทียมกับระดับสากล พัฒนาความมั่นคงพลังงานของประเทศและ
ส่งเสรมิ การใช้พลังงานที่เป็นมติ รต่อส่ิงแวดล้อม เพิม่ ประสิทธิภาพการใช้พลังงานโดยลดความเข้มข้นของ
การใช้พลังงานและพัฒนาความมั่นคงด้านการเกษตรและอาหารของประเทศและชุมชน ในมิติปริมาณ
คุณภาพ ราคาและการเข้าถึงอาหาร (6) ประเด็นยุทธศาสตร์ยกระดับกระบวนทัศน์เพื่อกำหนดอนาคต
ประเทศ โดยส่งเสรมิ คณุ ลกั ษณะและพฤติกรรมท่ีพึงประสงค์ด้านส่ิงแวดล้อมและคณุ ภาพชีวิตที่ดีของคน
ไทย พัฒนาเครื่องมือ กลไกและระบบยุติธรรม และระบบประชาธิปไตยสิ่งแวดล้อม จัดโครงสร้าง
เชิงสถาบันเพื่อจัดการประเด็นร่วม ด้านการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่สำคัญ
และพัฒนาและด่าเนินโครงการที่ยกระดับกระบวนทัศน์เพื่อกำหนดอนาคตประเทศ ด้านทรัพยากรธรรมชาติ
สง่ิ แวดล้อมและวัฒนธรรมบนหลักของการมีสว่ นรว่ ม และธรรมาภบิ าล

สอดคล้องกับกรอบแนวทางในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13
(พ.ศ. 2566 – 2570) กลา่ วคอื สอดคล้องกบั ขอบเขตของหมดุ หมายภายใต้วิถีชีวิตท่ียั่งยืน เพื่อให้ไทย
มีเศรษฐกิจหมุนเวียนและสังคมคาร์บอนต่ำและสามารถลดความเสี่ยงและผลกระทบจากภัยธรรมชาติ
และการเปลย่ี นแปลงสภาพภูมิอากาศ โดย ขยะได้รบั การหมุนเวยี นกลับไปใช้ประโยชน์ในสัดส่วนที่สูงข้ึน
ผา่ นการปรบั ปรุงระบบการจัดการ รวมทง้ั การแก้ไขหรือกำหนดกฎระเบียบที่จำเป็นเพม่ิ เติม ประเทศไทย
มีศักยภาพในการรีไซเคิลน้ำทิ้ง โดยเริ่มจัดทำระบบในพื้นที่ที่มีความพร้อม อาทิ นิคมอุตสาหกรรม และ
ชมุ ชนขนาดใหญ่ พลังงานหมนุ เวยี นเปน็ แหล่งพลงั งานหลักสำหรับการพฒั นากำลงั การผลติ ไฟฟา้ ใหม่ของ
ประเทศ การใช้งานยานยนต์ไฟฟ้ามีสัดส่วนที่สูงขึ้นทั้งในระบบขนส่งมวลชนและยานพาหนะส่วนบุคคล
ผลติ ภณั ฑท์ ี่มาจากวัสดุเหลือใช้และมีการปล่อยคาร์บอนในปรมิ าณต่ำตลอดวงจร ชีวิตไดร้ บั การสนับสนุน
ท้ังในดา้ นการพฒั นาเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมสำหรบั การผลติ และมาตรการทางการเงินการคลังเพ่ือจูงใจ
ผู้บริโภค พื้นที่ทีป่ ระสบภัยธรรมชาตซิ ้ำซากและพื้นทีท่ ี่มีแนวโนม้ จะเผชิญกับผลกระทบที่รุนแรงจากการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศได้รับการจัดการให้มีความเสี่ยงที่ลดลง ผ่านการใช้มาตรการป้องกันภัยที่
ยั่งยืนและมาตรการการปรับตัวที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่และการดำเนินชีวิตของประชาชน
ทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสำคัญต่อการป้องกันความเสี่ยงและผลกระทบจากภัยธรรมชาติและ
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ อาทิ ป่าต้นน้ำ ป่าชายเลนและพื้นที่ชุมน้ำ ได้รับการอนุรักษ์และฟื้นฟู
ให้อยู่ในสภาพดี เป้าหมายด้านการลดความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติและการลดผลกระทบจากการ
เปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ไดร้ ับการบรู ณาการเข้ากับการวางแผนการพฒั นาพ้นื ท่ี ทัง้ การใชป้ ระโยชน์
ดิน และการจัดทำโครงสร้างพ้ืนฐานและสิง่ ก่อสร้าง ระบบการจัดการภยั ทั้งการคาดการณ์ การเตือนภยั
การเผชิญเหตุและการฟื้นฟูหลังเกิดภัย ในทุกระดับได้รับการปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพและศักยภาพที่
สูงขึ้น ตลอดจนทุกภาคส่วนได้รับการพัฒนาขีดความสามารถในการเตรียมพร้อมรับมือกับภัยธรรมชาติ

227

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการจัดทำเคร่ืองช้วี ัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเปน็ พ้ืนฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพืน้ ฐาน
ระดับหมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

และการปรับตัวเพื่อลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโดยเฉพาะการมีมาตรการ
ชว่ ยเหลอื กลมุ่ คนเปราะบาง อาทิ คนยากจน และเกษตรกรที่มีแนวโนม้ ไดร้ ับผลกระทบมากกวา่ ประชากร
กลมุ่ อื่น

หมวดท่ี 7 ความเสีย่ งของชุมชนและภัยพิบัติ
มีหลักการสอดคล้องกับกรอบแนวทางในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 – 2570) กล่าวคือ ความเสี่ยงของชุมชนและปัญหาภัยพิบัติในกรอบ
การวิเคราะห์สำหรับการจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 จากการระดม
ความคิดเห็น (สศช., 2564) พบว่า สอดคล้องกับขอบเขตของหมุดหมายภายใต้สังคมแห่งโอกาสและ
ความเสมอภาคและหมุดหมายภายใต้วิถีชีวิตที่ยั่งยืน เพื่อให้ไทยมีพื้นที่และเมืองหลักของภูมิภาคที่มี
ความเจรญิ ทางเศรษฐกจิ ทนั สมัยและนา่ อยู่ โดยองคก์ ารปกครองสว่ นท้องถนิ่ มศี ักยภาพในการกำกับดูแล
และกำหนดมาตรฐานการให้บริการสาธารณะ ขณะที่ชุมชน สถาบันการศึกษา และภาคเอกชนในพื้นท่ี
มีส่วนร่วมในการออกแบบและขับเคลื่อนการพัฒนาที่เหมาะสมและตอบโจทย์ความต้องการของคน
ในท้องที่ได้อย่างแท้จริง รวมถึงเพื่อให้สามารถลดความเสี่ยงและผลกระทบจากภัยธรรมชาติและ
การเปล่ยี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ โดยพ้ืนทที่ ี่ประสบภัยธรรมชาตซิ ้ำซากและพน้ื ทีท่ ี่มแี นวโนม้ จะเผชิญกับ
ผลกระทบที่รุนแรงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศได้รับการจัดการให้มีความเสี่ยงที่ลดลงผ่าน
การใชม้ าตรการปอ้ งกนั ภยั ที่ยัง่ ยืนและมาตรการการปรับตวั ท่เี หมาะสมกับสภาพพื้นที่และการดำเนินชีวิต
ของประชาชน ทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสำคัญต่อการป้องกันความเสี่ยงและผลกระทบจาก
ภัยธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ อาทิ ป่าต้นน้ำ ป่าชายเลนและพื้นที่ชุมน้ำ ได้รับ
การอนุรักษ์และฟื้นฟูให้อยู่ในสภาพดี เป้าหมายด้านการลดความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติและการลด
ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ได้รับการบูรณาการเข้ากับการวางแผนการพัฒนาพื้นที่
ทั้งการใช้ประโยชน์ดิน และการจัดทำโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งก่อสร้าง ระบบการจัดการภัย ทั้ง
การคาดการณ์ การเตือนภัย การเผชิญเหตุและการฟื้นฟูหลังเกิดภัย ในทุกระดับได้รับการปรับปรุงให้ มี
ประสิทธิภาพและศักยภาพที่สูงขึ้น ตลอดจนทุกภาคส่วนได้รับการพัฒนาขีดความสามารถใน
การเตรียมพร้อมรับมือกับภัยธรรมชาติและการปรับตัวเพื่อลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศโดยเฉพาะการมีมาตรการช่วยเหลือกลุ่มคนเปราะบาง อาทิ คนยากจน และเกษตรกรที่มี
แนวโน้มได้รับผลกระทบมากกว่าประชากรกลุ่มอนื่
จากที่กล่าวมาทั้งหมด จะพบว่า หลักการในการปรับปรุงเครื่องชี้วัดข้อมูลพื้นฐาน
ระดับหมู่บ้าน หรือ กชช. 2ค ในครั้งนี้ให้ความสำคัญกับการเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ชาตแิ ละกรอบแนวทาง
ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 – 2570) เพื่อให้การจัดทำข้อมูล
กชช.2ค เป็นฐานข้อมูลระดับหมู่บ้านและเป็นประโยชน์ในการนำไปใช้วางแผนพัฒนาในระดับต่าง ๆ
ต่อไป

228

รายงานฉบับสมบูรณโ์ ครงการจดั ทำเครือ่ งชีว้ ัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พนื้ ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พ้ืนฐาน
ระดับหมูบ่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

4.1.3 การเปรียบเทียบเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และ
ข้อมลู พนื้ ฐานระดบั หม่บู า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 13
(พ.ศ. 2565 - 2569) กับ แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564)

1. ขอ้ มลู ความจำเป็นพ้ืนฐาน (จปฐ.)

ตวั ชว้ี ัดแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พ้นื ฐาน ตัวช้วี ดั แบบสอบถามข้อมลู ความจำเป็นพ้ืนฐาน
แผนฯ 12 ปี พ.ศ. 2560 – 2564 แผนฯ 13 ปี พ.ศ. 2565 - 25695
5 หมวด 31 ตัวชี้วัด 5 หมวด 38 ตัวชี้วัด
หมวดที่ 1 สุขภาพ มี 7 ตัวชีว้ ดั หมวดท่ี 1 สุขภาพ มี 12 ตัวชี้วัด
1. เด็กแรกเกดิ มีน้ำหนัก 2,500 กรมั ขึน้ ไป 1. การฝากครรภ์อย่างมีคณุ ภาพ
2. เดก็ แรกเกดิ ไดก้ ินนมแม่อยา่ งเดียวอยา่ งน้อย 6 2. เดก็ แรกเกิดมนี ้ำหนัก 2,500 กรัม ขน้ึ ไป
เดอื นแรกตดิ ต่อกัน 3. เดก็ แรกเกดิ ได้กินนมแม่อยา่ งเดยี วอยา่ งน้อย
3. เด็กแรกเกดิ ถึง 12 ปี ไดร้ บั วัคซีนปอ้ งกนั โรค 6 เดอื นแรกติดตอ่ กนั
ครบตามตารางสรา้ งเสรมิ ภมู ิคุ้มกนั โรค 4. เด็กแรกเกดิ ถึง 12 ปี ไดร้ ับวคั ซนี ปอ้ งกนั โรค
4. ครวั เรอื นกนิ อาหารถูกสุขลักษณะ ปลอดภยั ครบตามตารางสรา้ งเสรมิ ภมู ิคมุ้ กนั โรค
และได้มาตรฐาน 5. เดก็ ไดร้ ับการดแู ลและมีพฒั นาการทีเ่ หมาะสม
5. ครวั เรือนมกี ารใช้ยาเพ่ือบำบัด บรรเทาอาการ 6. ครวั เรอื นกนิ อาหารถูกสขุ ลักษณะ ปลอดภัย
เจ็บป่วยเบอ้ื งต้นอยา่ งเหมาะสม และได้มาตรฐาน
6. คนอายุ 35 ปีขน้ึ ไป ไดร้ บั การตรวจสุขภาพ 7. ครวั เรอื นมคี วามรู้และป้องกนั ตนเองเพ่ือ
ประจำปี ควบคุมปัจจัยเส่ียงที่คกุ คามสุขภาวะ
7. คนอายุ 6 ปขี น้ึ ไป ออกกำลงั กายอย่างนอ้ ย 8. ครวั เรอื นสามารถดแู ลตนเอง/สมาชิก เมอื่ มี
สปั ดาห์ละ 3 วัน ๆ ละ 30 นาที อาการเจบ็ ป่วยเบ้ืองตน้
9. คนอายุ 6 ปขี น้ึ ไป ออกกำลังกายอยา่ งนอ้ ย
สปั ดาหล์ ะ 3 วนั ๆ ละ 30 นาที
10. ผู้ปว่ ยตดิ เตยี งได้รับการดูแลจากครอบครัว
ชมุ ชน ภาครัฐ หรอื ภาคเอกชน
11. คนในครวั เรือนมปี ระกนั สุขภาพ/สทิ ธิ
รกั ษาพยาบาล และทราบสถานท่ใี ช้บรกิ าร
ตามสิทธิ
12. คนอายุ 35 ปขี นึ้ ไป ได้รับการตรวจสขุ ภาพ
ประจำปี

หมวดท่ี 2 สภาพแวดล้อม มี 7 ตวั ช้ีวัด หมวดที่ 2 มาตรฐานความเปน็ อยู่ มี 9 ตวั ชี้วัด

8. ครัวเรือนมีความม่ันคงในที่อยู่อาศัย บ้านมี 13. ครวั เรือนมีความม่นั คงในที่อยู่อาศยั บ้านมี

สภาพคงทนถาวร สภาพคงทนถาวร และอยู่ในสภาพแวดลอ้ ม

9. ครัวเรอื นมนี ำ้ สะอาดสำหรับดื่มและบริโภค ทีเ่ หมาะสม

เพียงพอตลอดท้ังปี อยา่ งน้อยคนละ 5 ลติ ร 14. ครวั เรือนมีการจัดบา้ นเรือนและได้รับบริการ

ต่อวัน จดั เกบ็ ขยะมลู ฝอยทถ่ี ูกสุขลักษณะ

229

รายงานฉบบั สมบรู ณ์โครงการจดั ทำเคร่ืองชี้วัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พนื้ ฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พน้ื ฐาน
ระดับหมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ่วงแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตวั ช้ีวัดแบบสอบถามข้อมูลความจำเปน็ พนื้ ฐาน ตัวชี้วัดแบบสอบถามข้อมลู ความจำเปน็ พ้ืนฐาน
แผนฯ 12 ปี พ.ศ. 2560 – 2564 แผนฯ 13 ปี พ.ศ. 2565 - 25695
5 หมวด 31 ตวั ชี้วัด 5 หมวด 38 ตวั ชี้วดั

10. ครัวเรือนมนี ำ้ ใชเ้ พยี งพอตลอดปี อย่างน้อย 15. ครวั เรอื นไม่ถกู รบกวนจากมลพิษ

คนละ 45 ลติ รต่อวัน 16. ครัวเรือนมกี ารป้องกันอุบตั ภิ ยั อย่างถูกวิธี

11. ครวั เรือนมีการจดั บา้ นเรือนเปน็ ระเบยี บ และมกี ารเตรยี มความพร้อมรับมือกับ

เรยี บรอ้ ย สะอาดและถกู สขุ ลักษณะ ภัยพิบัติ

12. ครวั เรอื นไม่ถูกรบกวนจากมลพิษ 17. ครวั เรือนมคี วามปลอดภัยในชีวิตและ

13. ครวั เรอื นมกี ารปอ้ งกนั อุบัติภัยและ ทรพั ย์สิน

ภยั ธรรมชาตอิ ย่างถูกวธิ ี 18. ครัวเรอื นมนี ำ้ สำหรบั บรโิ ภคและอปุ โภค

14. ครวั เรือนมคี วามปลอดภยั ในชีวติ และ เพียงพอตลอดปี

ทรพั ย์สิน 19. ครัวเรือนเขา้ ถงึ ไฟฟ้าและใช้บริการไฟฟ้า

20. ครัวเรอื นเข้าถึงและใชบ้ ริการ

โทรศัพท์เคลอื่ นท่ีและอนิ เทอร์เนต็

21. ครวั เรือนเข้าถึงบริการขนส่งสาธารณะ

หมวดที่ 3 การศึกษา มี 5 ตัวชี้วัด หมวดท่ี 3 การศกึ ษา มี 5 ตัวช้ีวัด

15. เดก็ อายุ 3 – 5 ปี ไดร้ บั การบริการเล้ยี งดู 22. เดก็ อายุต่ำกวา่ 6 ปี มพี ัฒนาการด้าน

เตรยี มความพร้อมก่อนวยั เรยี น สขุ ภาพ การเรียนร้แู ละพฒั นาการทาง

16. เด็กอายุ 6 - 15 ปี ได้รบั การศึกษาภาค บุคลกิ ภาพตามวยั

บังคบั 9 ปี 23. 23. เดก็ อายุ 6 - 15 ปี ได้รบั การศึกษา

17. เดก็ จบช้นั ม.3 ได้เรยี นตอ่ ชัน้ ม.4 หรอื ภาคบงั คับ 9 ปี

เทียบเทา่ 24. เดก็ จบช้ัน ม.3 ได้เรียนตอ่ ชั้น ม.4 หรอื

18. คนในครัวเรอื นจบการศึกษาภาคบังคบั 9 ปี เทยี บเท่า และเด็กที่จบการศึกษาภาคบงั คับ

ทไี่ ม่ได้เรยี นต่อและยังไม่มีงานทำ ได้รบั 9 ปี ทไ่ี ม่ไดเ้ รยี นตอ่ และยงั ไม่มีงานทำ ไดร้ ับ

การฝกึ อบรมดา้ นอาชีพ การฝึกอบรมด้านอาชีพ

19. คนอายุ 15 - 59 ปี อา่ น เขียนภาษาไทย 25. คนอายุ 15 - 59 ปี อ่าน เขียนภาษาไทย

และคดิ เลขอยา่ งง่ายได้ ภาษาองั กฤษ หรือภาษาท่ีสาม และคิดเลข

อยา่ งงา่ ยได้

26. เด็ก เยาวชน/ผใู้ หญ่มที ักษะการเรียนรู้ท่ี

จำเป็นในศตวรรษที่ 21

หมวดที่ 4 การมีงานทำและรายได้ มี 4 ตัวชี้วดั หมวดท่ี 4 เศรษฐกิจ มี 4 ตัวชีว้ ดั

20. คนอายุ 15 - 59 ปี มีอาชีพและรายได้ 27. คนอายุ 15 - 59 ปี มอี าชพี และรายได้

21. คนอายุ 60 ปี ขน้ึ ไป มอี าชีพและรายได้ 28. คนอายุ 60 ปี ขึน้ ไป มีอาชพี และรายได้

22. รายได้เฉลย่ี ของคนในครัวเรอื นต่อปี 29. รายไดเ้ ฉล่ียของคนในครัวเรือนต่อปี

23. ครวั เรือนมกี ารเก็บออมเงิน 30. ครวั เรอื นมีการเก็บออมเงนิ

230

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเครอ่ื งชว้ี ดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พน้ื ฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พน้ื ฐาน
ระดับหมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตวั ชวี้ ัดแบบสอบถามข้อมลู ความจำเปน็ พื้นฐาน ตวั ช้ีวัดแบบสอบถามข้อมลู ความจำเปน็ พ้ืนฐาน
แผนฯ 12 ปี พ.ศ. 2560 – 2564 แผนฯ 13 ปี พ.ศ. 2565 - 25695
5 หมวด 31 ตวั ชี้วัด 5 หมวด 38 ตวั ช้ีวดั

หมวดที่ 5 คา่ นยิ ม มี 8 ตัวชีว้ ัด หมวดท่ี 5 การคุ้มครองทางสังคมและ

การมสี ่วนร่วม มี 8 ตัวช้วี ัด

24. คนในครวั เรอื นไมด่ ื่มสรุ า 31. เดก็ แรกเกดิ - 6 ปที ีค่ รัวเรอื นมรี ายได้เฉลีย่

25. คนในครัวเรอื นไมส่ บู บุหรี่ ไม่เกนิ 100,000 บาทตอ่ คนตอ่ ปี ไดร้ บั

26. คนอายุ 6 ปขี ึ้นไป ปฏิบัตกิ จิ กรรมทาง เงินอุดหนุนจากภาครฐั

ศาสนาอยา่ งน้อยสปั ดาห์ละ 1 ครงั้ 32. ครัวเรือนทมี่ รี ายไดเ้ ฉลี่ยไมเ่ กิน 100,000

27. ผู้สูงอายุได้รบั การดูแลจากครอบครัว ชมุ ชน บาทต่อคนตอ่ ปีและมสี มาชิกท่มี คี ณุ สมบตั ิ

ภาครัฐ หรอื ภาคเอกชน ตามเกณฑ์บัตรสวัสดกิ ารแห่งรฐั ไดร้ ับเงิน

28. ผู้พกิ ารได้รับการดูแลจากครอบครวั ชุมชน สวัสดิการจากรัฐ

ภาครัฐ หรือภาคเอกชน (ตามพรบ. ส่งเสรมิ 33. ครวั เรอื นได้รบั การคุ้มครองตามระบบและ

คุณภาพชวี ติ คนพกิ าร พ.ศ.2550 และท่ี มาตรการคุ้มครองทางสงั คม จากภาครัฐ

แกไ้ ขเพ่ิมเตมิ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2556) และหรอื ชุมชน ภาคเอกชน

29. ผูป้ ว่ ยเร้ือรงั ไดร้ บั การดแู ลจากครอบครัว 34. ผู้สูงอายุไดร้ ับการดูแลจากครอบครัว ชุมชน

ชมุ ชน ภาครฐั หรือภาคเอกชน ภาครัฐ หรอื ภาคเอกชน

30. ครัวเรอื นมสี ว่ นร่วมทำกจิ กรรมสาธารณะ 35. ผพู้ ิการได้รับการดูแลจากครอบครัว ชุมชน

เพื่อประโยชนข์ องชุมชนหรือทอ้ งถน่ิ ภาครัฐ หรอื ภาคเอกชน (ตามพรบ. สง่ เสริม

31. ครอบครัวมีความอบอนุ่ คุณภาพชีวติ คนพกิ าร พ.ศ.2550 และท่ี

แกไ้ ขเพ่ิมเติม ฉบบั ที่ 2 พ.ศ. 2556)

36. ครอบครัวมีความอบอนุ่

37. คนอายุ 6 ปขี ึน้ ไป ปฏิบัตกิ ิจกรรมทาง

ศาสนาอยา่ งน้อยสัปดาห์ละ 1 ครงั้

38. ครัวเรอื นมสี ว่ นร่วมทำกิจกรรมสาธารณะ

เพ่ือประโยชน์ของชุมชนหรือท้องถ่ิน

231

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการจดั ทำเครื่องชี้วดั และแบบสอบถามข้อมลู ความจำเปน็ พ้นื ฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพน้ื ฐาน
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

2. ขอ้ มูลพืน้ ฐานระดบั หมู่บ้าน (กชช. 2ค)

ตัวช้ีวดั แบบสอบถามขอ้ มูลพืน้ ฐานระดับหมบู่ า้ น ตัวช้วี ัดแบบสอบถามข้อมูลพน้ื ฐานระดับหมู่บา้ น

(กชช. 2ค) (กชช. 2ค)

แผนฯ 12 ปี พ.ศ. 2560 – 2564 แผนฯ 13 ปี พ.ศ. 2565 – 2569

7 หมวด 33 ตวั ช้ีวัด 7 หมวด 44 ตัวชี้วดั

สว่ นที่ 1 ข้อมูลพืน้ ฐานหมู่บา้ น / ชมุ ชน

1) ขอ้ มลู ดา้ นประชากร

สว่ นที่ 2 ข้อมูลพนื้ ฐานระดับหมู่บ้าน

ส่วนท่ี 1 โครงสรา้ งพน้ื ฐาน (7 ตวั ช้ีวดั ) หมวดท1่ี โครงสรา้ งพน้ื ฐาน (10 ตวั ชี้วดั )
1) ถนน 1) ถนน
2) น้ำด่ืม 2) น้ำดืม่
3) นำ้ ใช้ 3) นำ้ ใช้
4) นำ้ เพื่อการเกษตร 4) นำ้ เพือ่ การเกษตร
5) ไฟฟ้า 5) ไฟฟา้ และเช้ือเพลิงในการหงุ ต้ม
6) การมีทด่ี ินทำกิน 6) การมีที่ดนิ ทำกนิ
7) การตดิ ต่อสื่อสาร 7) การติดต่อสื่อสาร
8) ศูนยพ์ ัฒนาเด็กเล็ก
9) ส่ิงอำนวยความสะดวกคนพิการและผ้สู ูงอายุ
10) พ้ืนท่ีสาธารณะสเี ขยี วและพืน้ ทีส่ าธารณะ
ประโยชน์
สว่ นที่ 2 สภาพพืน้ ฐานทางเศรษฐกจิ (7 ตัวช้ีวัด) หมวดท่ี 2 สภาพพื้นฐานทางเศรษฐกิจ
8) การมีงานทำ (10 ตัวช้ีวัด)
9) การทำงานในสถานประกอบการ 11) การมงี านทำ
10) ผลผลติ จากการทำนา 12) การทำงานในสถานประกอบการ
11) ผลผลติ จากการทำไร่ 13) ร้านอาหาร และรา้ นคา้
12) ผลผลิตจากการทำเกษตรอน่ื ๆ 14) ผลผลิตจากการทำนา
13) การประกอบอุตสาหกรรมในครวั เรือน 15) ผลผลิตจากการทำไร่
14) การได้รบั ประโยชนจ์ ากการมีสถานท่ที ่องเทีย่ ว 16) ผลผลติ จากการทำสวน
17) ปศุสัตวแ์ ละการประมง
18) ผลผลิตจากการทำเกษตรอืน่ ๆ
19) การประกอบอุตสาหกรรมในครัวเรือน
20) การทอ่ งเที่ยว
สว่ นที่ 3 สุขภาวะและอนามัย (3 ตัวช้ีวดั ) หมวดท่ี 3 สุขภาวะและอนามัย (7 ตวั ช้ีวัด)
15) ความปลอดภยั ในการทำงาน 21) การป้องกนั โรคตดิ ต่อ
16) การปอ้ งกันโรคติดต่อ 22) การได้รับบริการและดูแลสขุ ภาพอนามัย
17) การกีฬา 23) อนามยั แมแ่ ละเด็ก
24) สุขภาวะคนพิการและผ้สู ูงอายุ

232

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจดั ทำเครื่องชีว้ ัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พื้นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พน้ื ฐาน
ระดบั หม่บู า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตวั ชวี้ ัดแบบสอบถามข้อมลู พน้ื ฐานระดับหมู่บา้ น ตวั ชีว้ ดั แบบสอบถามข้อมลู พนื้ ฐานระดับหมบู่ า้ น

(กชช. 2ค) (กชช. 2ค)

แผนฯ 12 ปี พ.ศ. 2560 – 2564 แผนฯ 13 ปี พ.ศ. 2565 – 2569

7 หมวด 33 ตวั ช้ีวดั 7 หมวด 44 ตัวชี้วัด

25) อนามัยสงิ่ แวดล้อม
26) ความปลอดภยั ในการทำงาน
27) การกฬี าและการออกกำลังกาย
ส่วนท่ี 4 ความรูแ้ ละการศึกษา (3 ตัวชว้ี ัด) หมวดท่ี 4 ความรู้และการศกึ ษา (4 ตัวชี้วัด)
18) ระดับการศกึ ษาของประชาชน 28) การให้บรกิ ารดา้ นการศึกษา
19) อัตราการเรียนต่อของประชาชน 29) ความรอบรู้
20) การได้รบั การศึกษา 30) การได้รบั การฝกึ อบรมด้านตา่ งๆ
31) โอกาสเข้าถึงระบบการศึกษาของคนพิการ
ส่วนที่ 5 การมีสว่ นรว่ มและความเขม้ แข็งของ หมวดที่ 5 การมีส่วนร่วมและความเข้มแขง็ ของ
ชมุ ชน (5 ตัวช้วี ดั ) ชมุ ชน (5 ตัวชว้ี ัด)
21) การมีส่วนรว่ มของชุมชน 32) การรวมกลุ่มของประชาชน
22) การรวมกลุม่ ของชุมชน 33) การมสี ่วนร่วมของชมุ ชน
23) การเขา้ ถึงแหลง่ ทนุ 34) ความปลอดภัยของหม่บู ้าน / ชุมชน
24) การเรียนรู้โดยชมุ ชน 35) ศาสนสถาน ศนู ยเ์ รียนรู้ชมุ ชนและภูมิปัญญา
25) การได้รบั ความคุ้มครองทางสงั คม ชมุ ชน
36) การได้รบั ความคุ้มครองทางสังคม

ส่วนท่ี 6 ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม (5 หมวดท่ี 6 ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม

ตัวชว้ี ดั ) (5ตวั ชี้วัด)

26) คณุ ภาพดนิ 37) การใชท้ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละดแู ลสิ่งแวดล้อม

27) การใช้ประโยชนท์ ่ดี ิน 38) คุณภาพดิน

28) คุณภาพน้ำ 39) คุณภาพนำ้

29) การปลกู ปา่ หรอื ไมย้ นื ต้น 40) การจดั การสภาพสงิ่ แวดล้อมอย่างยงั่ ยืน

30) การจัดการสภาพส่ิงแวดลอ้ ม 41) การจัดการมลพษิ

ส่วนท่ี 7 ความเสี่ยงของชุมชนและภยั พิบตั ิ (3 หมวดที่ 7 ความเส่ียงของชุมชนและภยั พิบัติ

ตวั ช้ีวดั ) (3 ตวั ชี้วดั )

31) ความปลอดภัยจากยาเสพตดิ 42) ความปลอดภยั จากยาเสพตดิ

32) ความปลอดภัยจากภัยพิบตั ิ 43) ความปลอดภัยจากภัยพิบตั ิ

33) ความปลอดภยั จากความเสี่ยงในชมุ ชน 44) ความปลอดภัยจากความเสยี่ งในชมุ ชน

4.1.4 การนำขอ้ มลู ไปใชป้ ระโยชน์เพือ่ การวางแผนพัฒนา
การใช้ประโยชน์ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน

(กชช. 2ค) ถือว่าเปน็ ขอ้ มูลทม่ี ีความเป็นปจั จบุ ันมากท่ีสุดเพื่อการวางแผนพัฒนาประเทศ เนอ่ื งจากข้อมูล
มกี ารจัดเก็บเปน็ ประจำในทุก 1 และ 2 ปี ซง่ึ ข้อมลู นสี้ ามารถนำไปใช้ในการวางแผนการแกไ้ ขและพัฒนา

233

รายงานฉบบั สมบูรณ์โครงการจัดทำเคร่อื งชว้ี ดั และแบบสอบถามข้อมลู ความจำเปน็ พ้นื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พ้นื ฐาน
ระดบั หมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ในส่วนที่มีค่าคะแนนตกเกณฑ์จากตัวชี้วัดได้ เพื่อเป็นประโยชน์ในการแก้ปัญหาของแต่ละครัวเรือนและ
ชุมชนไดอ้ ยา่ งตรงจดุ นอกจากน้ีแล้วกระบวนการจดั เก็บข้อมลู ที่ใชร้ ะยะเวลาไมน่ าน ได้ข้อมลู ที่มีคุณภาพ
และสามารถนำข้อมลู ไปใชไ้ ดจ้ ริงและมีการจัดเกบ็ ข้อมูล จปฐ. เป็นประจำทกุ ปี

ขอ้ มูลความจำเป็นพนื้ ฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพน้ื ฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) ยังถือ
ว่าข้อมูลกลางในระดับชาติ ที่ทุกหน่วยงานต้องให้ความสำคัญและทุกหน่วยงานที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับ
ตัวชี้วัด เช่น ด้านสุขภาพ ผู้ป่วยติดเตียงหรือด้านอื่น ๆ ผู้มีรายได้น้อยและด้านที่เกี่ยวข้องกับชีวิต
ความเป็นอยู่ของประชาชน หน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลอย่างเป็นรูปธรรมและ
ตรงตามภารกิจหลักในหน่วยงานของตนเอง เนื่องจากบางครั้งข้อมูลมีการคลาดเคลื่อนหน่วยงานท่ี
เก่ยี วขอ้ งจำเปน็ ต้องรว่ มกันตรวจสอบกับสำนักงานพฒั นาชุมชนจงั หวัด ในเรอื่ งของข้อเท็จจริงของข้อมูล
และตอบกลับหรือแจ้งให้ทราบกลับมาถึงการรายงานหน้าที่ความรับผิดชอบ และควาดหวังว่าแต่ละ
หน่วยงาน เพราะถือว่าเป็นข้อมูลที่ได้จากการเก็บข้อมูลในชุมชนและเป็นฐานตั้งต้นเพื่อชี้ให้เห็นภาพ
ความเป็นอยู่ของชุมชนและสังคมไทย นอกจากนี้เพื่อให้สามารถนำไปเป็นตัวกำหนดแผนเพื่อให้มี
การดำเนินการเข้าไปแก้ไข และเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในขั้นตอนของการวิเคราะห์ข้อมูล ต้องการให้มี
ความรวดเร็วมากขึ้นและนำเสนอข้อมูลในแต่ละจังหวัดที่เร็วขึ้น เนื่องจากบางครั้งความล่าช้าของข้อมูล
เช่น เรื่องวัคซีนที่ผ่านมา ทำให้การจัดการรวมถึงการแก้ปัญหาของสำนักงานสาธารณะสุขได้รับการจัดการไป
ก่อนแล้ว

ในระยะทีผ่ า่ มาขอ้ มูลท้ังสองเปน็ ข้อมลู ที่ทำให้ประชาชน ทราบวา่ “ตนเองมคี ุณภาพ
ชวี ติ เปน็ อยา่ งไรผ่านเกณฑ์หรือไมผ่ ่านเกณฑ์ใดบ้าง” ดหี รือไมด่ อี ยา่ งไร ภาคราชการและภาครฐั สามารถ
ทราบถึงปัญหาที่แท้จริงของประชาชนว่า ครัวเรือน หมู่บ้าน ตำบล อำเภอ มีปัญหาเรื่องอะไร เพื่อ
สามารถวางแผนการพัฒนาในด้านต่าง ๆ ได้ตรงกับปัญหาที่ชาวบ้านต้องการ นอกจากนั้น ภาคเอกชน
สามารถนำขอ้ มลู จาก จปฐ. มาใช้ในการตัดสินใจและวางแผนในการบรหิ ารจัดการ เพอ่ื ลงทุนทางธุรกิจได้
และนอกจากนั้นในการออกแบบแบบสอบถามข้อมูล จปฐ.และ กชช.2ค. ควรมีการตั้งคำถามถึงสาเหตุ
ของปัญหาที่ประชาชนพบเจอ เช่น สาเหตุของคนที่พิการเกิดจากอะไร เพราะมันจะทำให้หน่วยงานท่ี
เกี่ยวขอ้ งสามารถนำข้อมูลตรงนี้ไปแก้ไขปัญหาไดต้ ้ังแตต่ ้นเหตุ หรอื ปัญหาเรื่องการขาดแคลนน้ำที่เกิดขึ้น
ทุกปี ท่ียังไม่สามารถแก้ไขได้ แต่ถ้าหากรู้สาเหตุและต้นตอของปัญหา ก็อาจจะแก้ไขได้ ปัญหาจึงจะ
ไม่เกิดซ้ำ ๆ และยังสามารถลดเรื่องงบประมาณของรัฐบาลได้อีกด้วย และเพื่อให้เป็นประโยชน์แต่ละ
หน่วยงานช่วยประชาสัมพนั ธ์ให้ประชาชนในพน้ื ที่ให้ความร่วมมือในการกรอกแบบฟอร์มดงั กล่าว เพื่อให้
กระบวนการจัดเกบ็ สะดวกและรวดเรว็ ขน้ึ

4.1.5 ปัญหาและอุปสรรคการจัดเก็บข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน จปฐ. และข้อมูล
พน้ื ฐานระดับหมู่บ้าน กชช.ค ท่ผี ่านมา

1. การให้ข้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพ้ืนฐาน จปฐ. ในประเด็น
เรื่องรายได้ รายจ่าย และภาระหน้ีสนิ ผู้ตอบแบบสอบถามจะไม่ให้ข้อมูลทเี่ ป็นความจริง เนื่องจากผู้ตอบ
แบบสอบถามอาจจะมีความกงั วลในการเปิดเผยรายได้ของครัวเรือน

2. ในการจัดเก็บข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน จปฐ. ในปีที่ผ่านมา (ปี 2563) พบว่า
ผู้ตอบแบบสอบถามไม่มีความเชื่อมั่นและไม่มีความเชื่อถือในตัวผู้จัดเก็บข้อมูล เนื่องจากบางพื้นที่เป็น
บคุ คลภายนอกเข้ามาดำเนินการจัดเกบ็ ผตู้ อบแบบสอบถามจึงไม่กลา้ ให้ข้อมลู ครัวเรือน

234

รายงานฉบับสมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเครื่องช้วี ดั และแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเป็นพืน้ ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พ้ืนฐาน
ระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

3. ผู้จัดเก็บข้อมูลบางราย ยังขาดความรู้ ความเข้าใจ ในประเด็นตัวช้ีวัดบางข้อของ
แบบจดั เกบ็ ข้อมูล จปฐ. และ กชช.2ค.

4. เนื่องจากในปีที่ผ่านมา (ปี 2563) กรมการพัฒนาชุมชน ได้มีการจ้างให้
หน่วยงานภายนอกเข้ามาดำเนินการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. ซึ่งได้มีการเปลี่ยนรูปแบบในการจัดเก็บข้อมูล
เป็นแบบอิเล็กทรอนิกส์ คือ การจัดเก็บข้อมูลผ่านแบบฟอร์มออนไลน์ที่ทางหน่วยงานภายนอกได้มี
การจัดทำขึ้น ทำให้การจัดเก็บข้อมูลมีความล่าช้า เพราะผู้จัดเก็บข้อมูลในบางพื้นที่ซึ่งเป็น อสม. และ
อาสาสมคั รในชมุ ชน ไม่สามารถใชแ้ บบจัดเกบ็ ข้อมลู อิเล็กทรอนิกสไ์ ด้

5. ในการจัดเก็บข้อมูล กชช.2ค. ผู้นำชุมชนในบางพื้นที่ มักจะใช้ข้อมูลเดิมที่มีอยู่
แล้วโดยไม่ได้มีการสำรวจหรือการดำเนินการจัดเก็บข้อมูลใหม่ จึงทำให้ข้อมูล กชช 2ค. ที่ได้ ไม่ตรงกับ
สภาพความเปน็ จรงิ และไม่เปน็ ข้อมูลปจั จบุ ัน

4.2 ข้อเสนอแนะ

4.2.1 ข้อเสนอรูปแบบรายงานข้อมูลด้วยระบบสารสนเทศที่รองรับความต้องการทุก
ภาคส่วน

1. กรมการพัฒนาชุมชน ควรมีการจัดทำระบบการจัดส่งข้อมูลออนไลน์ (Google
form / Email / Website) เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หรือหน่วยงานท่ีต้องการใชป้ ระโยชน์จากขอ้ มลู
จปฐ. และ ขอ้ มลู กชช2ค. สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้

2. กรมการพัฒนาชุมชน ควรทำการสรุปรายงานข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูล กชช2ค.
โดยการใช้รปู ภาพ แผนภมู ิ และกราฟ ประกอบกบั การอธบิ ายดว้ ยตัวอกั ษรเพ่อื สะดวกต่อการอ่านและทำ
ความเข้าใจของผทู้ ต่ี ้องการศกึ ษาข้อมลู

3. กรมการพัฒนาชุมชน ควรมกี ารกำหนดทุก Username ในการเข้าถงึ ข้อมลู จปฐ.
และ ขอ้ มลู กชช2ค. ให้กับหน่วยงานทเ่ี กีย่ วข้อง หรือหน่วยงานทต่ี ้องการใช้ประโยชนจ์ ากข้อมลู โดยเป็น
ข้อมลู ทอ่ี ยู่ในรปู แบบของไฟลเ์ อกสารพร้อมใช้งาน เช่น Word / Excel เป็นต้น

4. กรมการพัฒนาชุมชน ควรจัดทำเว็ปไซต์ เพื่อเผยแพร่ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูล
กชช2ค. สำหรับประชาชนทั่วไป ซึ่งอาจจะใช้เป็นการสมัครสร้างบัญชีเพื่อเข้าใช้งาน โดยเป็นข้อมูลที่
นำเสนอต่อประชาชนจะอยใู่ นรูปแบบของไฟลเ์ อกสารพร้อมใชง้ าน เช่น Word / Excel เปน็ ต้น

4.2.2 ขอ้ เสนอแนะตอ่ กลไกและกระบวนการบริหารจดั เก็บเพื่อให้ไดร้ ูปแบบการควบคุม
คณุ ภาพการจัดเก็บข้อมูลทีเ่ ป็นไปตามหลกั วิชาการและมีความสอดคล้องกบั บริบทของชมุ ชน

1. กรมการพัฒนาชุมชน ในกระบวนการจัดเก็บข้อมูลควรเน้นกระบวนการมี
ส่วนร่วมของคนในชุมชน ทั้งนี้หากมีการจัดเก็บข้อมูลโดยบุคคลภายนอก หรือนักศึกษา ควรให้คนใน
ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการเก็บข้อมูล เนื่องจากเป็นคนในท้องถิ่นซึ่งมีความคุ้นเคยกับชุมชน และเป็น
การเรยี นรู้วิถีชวี ิตความเปน็ อยู่ครวั เรือน และชุมชนของตนเอง

2. กรมการพัฒนาชุมชน ควรมีรูปแบบในการจัดเก็บข้อมูลอย่างหลากหลายตาม
ความเหมาะสมของบริบทพื้นที่ ได้แก่ 1) สมุดคู่มือการจัดเก็บแบบเดิม และ 2) แบบออนไลน์ผ่าน

235

รายงานฉบบั สมบรู ณ์โครงการจัดทำเคร่อื งชว้ี ดั และแบบสอบถามข้อมลู ความจำเปน็ พ้ืนฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพืน้ ฐาน
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

เคร่อื งมืออิเล็กทรอนิกส์ เชน่ Google Form เพ่อื ความสะดวกรวดเร็วในการเก็บขอ้ มลู และการนำข้อมูล
ไปใช้ประโยชน์

3. กรมการพัฒนาชุมชน ควรมีการจัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้จัดเก็บข้อมูลทั้งในด้าน
เนื้อหา และวิธีการจัดเก็บข้อมูล เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในประเด็นคำถามได้อย่างถูกต้อง ตลอดจน
การมีทกั ษะการใชเ้ ครอ่ื งมือในการจดั เกบ็ ข้อมูล

4. กรมการพัฒนาชุมชน ควรมีการประชาสัมพันธ์ให้คนในชุมชนทราบเกี่ยวกับ
การให้ความร่วมมือในการจัดเก็บข้อมูล และอธิบายให้เห็นถึงประโยชน์ของข้อมูล จปฐ. และ กชช. 2ค
ด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น การส่งจดหมายให้ทุกครัวเรือน การจัดประชาคมหมู่บ้าน และการประกาศผ่าน
เสยี งตามสาย เป็นต้น

4.2.3 ข้อเสนอแนะอน่ื ๆ
1. กรมการพัฒนาชุมชน ควรมีการทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือกับสถาบันการศึกษา

ในพน้ื ที่ ในการจัดเก็บข้อมลู จปฐ. และ กชช. 2ค เพ่อื ใหส้ ามารถตดิ ตามและแก้ไขปญั หาร่วมกันได้
2. กรมการพัฒนาชุมชน ควรเพิ่มค่าจัดเก็บและค่าบันทึกข้อมูลให้มีความเหมาะสม

เนอ่ื งจากปริมาณขอ้ คำถามมเี ปน็ จำนวนมาก และใช้เวลาในการจัดเก็บขอ้ มูลคอ่ นข้างนาน
3. กรมการพัฒนาชุมชน ควรมีการสรุปข้อมูล จปฐ. และ กชช 2ค. เพื่อความสะดวกใน

การนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ ซึ่งข้อมูลควรจำแนกออกเป็น 6 ประเภท ดังนี้ 1) ข้อมูลรายครัวเรือน 2) ข้อมูล
รายหมู่บ้าน 3) ข้อมูลรายตำบล 4) ข้อมูลรายอำเภอ 5) ข้อมลู รายจงั หวัด และ 6) ขอ้ มลู รายภูมิภาค

4. กรมการพัฒนาชุมชน ควรให้สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเข้าไปมีส่วนร่วมใน
การปฏิบัตงิ านตง้ั แตข่ ้ันตอนการวางแผน เพ่ือให้สามารถกำกับติดตามความกา้ วหน้าของการจัดเกบ็ ข้อมูลได้

5. กรมการพฒั นาชุมชน ควรมีแนวทางหรอื วธิ ีการ ในการจดั เกบ็ ข้อมลู ในเขตชุมชน
เมือง กทม. และเขตเทศบาล เนื่องจากชุมชนในเขตดังกล่าวก็มีความจำเป็นที่จะต้องมีการจัดเก็บข้อมูล
เพ่อื นำไปใชป้ ระโยชน์ในการพฒั นาต่อไป

6. กรมการพัฒนาชุมชน ควรชี้ให้เห็นถึงความเชื่อมโยงระหว่างตัวชี้วัดในแต่ละ
หมวดของ จปฐ. และ กชช. 2ค กับ SDGs ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แหง่ ชาติฉบบั ท่ี 13 เพอื่ ให้เห็นภาพความเช่ือมโยงท่ีชัดเจน และเปน็ ประโยชน์ต่อการนำข้อมลู ไปใช้ อาทิ
ตดิ ตามความก้าวหน้าการดำเนินงานของ SDGsยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และ แผนพัฒนาฯ การวางแผนพัฒนา
ชมุ ชน ในระดับท้องถน่ิ ชุมชน/หมบู่ า้ น ระดับหน่วยงาน/องค์กร และระดบั ประเทศ

7. กรมการพัฒนาชุมชน ควรมีการจัดทำระบบฐานข้อมูล Big Data และมี
การปรบั ปรงุ ขอ้ มลู ใหเ้ ป็นปจั จบุ นั เพ่อื ใหท้ กุ หน่วยงานสามารถนำข้อมลู ไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้

8. กรมการพัฒนาชุมชน ควรมีนโยบายและแนวทาง ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องนำ
ขอ้ มูล จปฐ. และ กชช. 2ค ไปใช้ประโยชน์ในการวางแผนการดำเนนิ งานของแตล่ ะหนว่ ยงาน เพือ่ พัฒนา
คุณภาพชวี ิตของประชาชนรว่ มกันอยา่ งเปน็ รูปธรรม

9. เนื่องจากข้อคำถามของ จปฐ. และกชช. 2ค สำหรับใช้ในช่วงแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 มีข้อคำถามเป็นจำนวนมาก กรมการพัฒนาชุมชนควรประชุม
หารือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อเลือกคำถามที่จะถามในแต่ละปี เพื่อใช้ประโยชน์ในการวางแผนของ
หน่วยงานนั้น ๆ ในแต่ละปี ท้ังนีไ้ มค่ วรใช้คำถามทั้งหมดในการจดั เกบ็ ข้อมลู

236

รายงานฉบับสมบูรณโ์ ครงการจดั ทำเคร่อื งชี้วัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พื้นฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พ้นื ฐาน
ระดบั หมู่บ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

บรรณานุกรม

237

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการจดั ทำเคร่อื งชว้ี ดั และแบบสอบถามข้อมลู ความจำเปน็ พนื้ ฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพ้นื ฐาน
ระดบั หมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ช่วงแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

238


Click to View FlipBook Version