The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การพัฒนาเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพื้นฐาน
ระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) เป็นเครื่องมือในการวางแผนพัฒนาให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ และจะมีการปรับปรุงทุก ๆ 5 ปี ในปี พ.ศ. 2565 เป็นปีเริ่มต้นของแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (2565 - 2569) จึงมีความจำเป็นต้องใช้เครื่องชี้วัด เกณฑ์ชี้วัดและ
แบบสอบถามชุดใหม่สำหรับจัดเก็บข้อมูล จปฐ. และข้อมูล กชช. 2ค ให้สอดคล้องกับเป้าหมาย
การพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) และแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561 – 2580) และการควบคุม
คุณภาพการจัดเก็บข้อมูลและรูปแบบการรายงานด้วยระบบสารสนเทศที่รองรับความต้องการของทุก
ภาคส่วน การศึกษาครั้งนี้มีวิธีศึกษาจากการวิเคราะห์ประมวลผลจากการสอบถามความคิดเห็นผู้ใช้ข้อมูล
จปฐ. และข้อมูล กชช. 2ค เกี่ยวกับปัญหาและความต้องการของผู้ใช้ข้อมูล (ส่วนภูมิภาค) กระจายตาม
ภูมิภาค จำนวน 8 จังหวัด จังหวัดละ 5 หน่วยงาน รวม 40 หน่วยงาน และการวิเคราะห์ประมวลผลจาก
ประชุมรับฟังความคิดเห็นของคณะทำงานปรับปรุงเครื่องชี้วัดคุณภาพชีวิตของประชาชน และ
คณะกรรมการอำนวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน (พชช.)
ผลการศึกษา พบว่า การใช้แบบสอบถามข้อมูล จปฐ. และแบบสอบถามข้อมูล กชช. 2ค
สำหรับใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ปรับระยะเวลาการเริ่มใช้ให้สอดคล้อง
กับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 13 และแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี จึงเริ่มใช้ระหว่าง
พ.ศ.2566 – 2570 เครื่องชี้วัดข้อมูล จปฐ. ที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูลช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติฉบับที่ 13 ( พ.ศ.2566 - พ.ศ. 2570) ประกอบด้วย 5 หมวด 38 ตัวชี้วัด ได้แก่ หมวดที่ 1
สุขภาพ มี 12 ตัวชี้วัด หมวดที่ 2 มาตรฐานความเป็นอยู่ มี 9 ตัวชี้วัด หมวดที่ 3 การศึกษา มี 5 ตัวชี้วัด
หมวดที่ 4 เศรษฐกิจ มี 4 ตัวชี้วัด และหมวดที่ 5 การคุ้มครองทางสังคมและการมีส่วนร่วม มี 8 ตัวชี้วัด
และเครื่องชี้วัดข้อมูล กชช. 2ค สำหรับใช้ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13
(พ.ศ. 2566 - 2570) ประกอบด้วย 7 หมวด 44 ตัวชี้วัด ดังนี้ หมวดที่ 1 โครงสร้างพื้นฐาน มี 10
ตัวชี้วัด หมวดที่ 2 สภาพพื้นฐานทางเศรษฐกิจ มี 10 ตัวชี้วัด หมวดที่ 3 สุขภาวะและอนามัย มี 7
ตัวชี้วัด หมวดที่ 4 ความรู้และการศึกษา มี 4 ตัวชี้วัด หมวดที่ 5 การมีส่วนร่วมและความเข้มแข็ง
ของชุมชน มี 5 ตัวชี้วัด หมวดที่ 6 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มี 5 ตัวชี้วัด และหมวดที่ 7
ความเสี่ยงของชุมชนและภัยพิบัติ มี 3 ตัวชี้วัด สำหรับกลไกและกระบวนการบริหารจัดเก็บข้อมูลให้มี
คุณภาพ ต้องมีกลไกควบคุมคุณภาพในทุกระดับ ดังนี้ คณะกรรมการอำนวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิต
ของประชาชน (พชช.) คณะทำงานบริหารการจัดเก็บข้อมูลฯ ระดับจังหวัด คณะทำงานบริหารการจัดเก็บ
ข้อมูลฯ ระดับอำเภอ คณะทำงานบริหารการจัดเก็บข้อมูลฯ ระดับตำบล และคณะผู้จัดเก็บข้อมูลระดับ
หมู่บ้าน โดยมีกระบวนการที่มีคุณภาพ ดังนี้การสร้างความรู้ความเข้าใจ การออกแบบวิธีการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล การบันทึกและประมวลข้อมูล การตรวจทานข้อมูล และการนำเสนอข้อมูลเพื่อการใช้
ประโยชน์ร่วมกันในทุกระดับ ข้อเสนอแนะเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บข้อมูลควรให้คนในชุมชนและ
องค์กรหน่วนงานที่เกี่ยวข้องเห็นความสำคัญในการให้ข้อมูลและการจัดเก็บข้อมูลโดยการสร้างการมี
ส่วนร่วมในการจัดเก็บข้อมูล และควรมีการฝึกอบรมและเพิ่มองค์ความรู้ให้กับผู้จัดเก็บข้อมูลอย่างเข้มข้น
รวมทั้งการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรับทราบถึงระยะเวลาในการจัดเก็บข้อมูลรวมกันทั้งประเทศ

คำสำคัญ: คุณภาพชีวิตประชาชน,ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.),ข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by vasusamran55, 2021-07-01 09:24:14

โครงการจัดทำเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.)และข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) ฉบับที่ 13 (พ.ศ.2565-2569)

การพัฒนาเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพื้นฐาน
ระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) เป็นเครื่องมือในการวางแผนพัฒนาให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ และจะมีการปรับปรุงทุก ๆ 5 ปี ในปี พ.ศ. 2565 เป็นปีเริ่มต้นของแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (2565 - 2569) จึงมีความจำเป็นต้องใช้เครื่องชี้วัด เกณฑ์ชี้วัดและ
แบบสอบถามชุดใหม่สำหรับจัดเก็บข้อมูล จปฐ. และข้อมูล กชช. 2ค ให้สอดคล้องกับเป้าหมาย
การพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) และแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561 – 2580) และการควบคุม
คุณภาพการจัดเก็บข้อมูลและรูปแบบการรายงานด้วยระบบสารสนเทศที่รองรับความต้องการของทุก
ภาคส่วน การศึกษาครั้งนี้มีวิธีศึกษาจากการวิเคราะห์ประมวลผลจากการสอบถามความคิดเห็นผู้ใช้ข้อมูล
จปฐ. และข้อมูล กชช. 2ค เกี่ยวกับปัญหาและความต้องการของผู้ใช้ข้อมูล (ส่วนภูมิภาค) กระจายตาม
ภูมิภาค จำนวน 8 จังหวัด จังหวัดละ 5 หน่วยงาน รวม 40 หน่วยงาน และการวิเคราะห์ประมวลผลจาก
ประชุมรับฟังความคิดเห็นของคณะทำงานปรับปรุงเครื่องชี้วัดคุณภาพชีวิตของประชาชน และ
คณะกรรมการอำนวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน (พชช.)
ผลการศึกษา พบว่า การใช้แบบสอบถามข้อมูล จปฐ. และแบบสอบถามข้อมูล กชช. 2ค
สำหรับใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ปรับระยะเวลาการเริ่มใช้ให้สอดคล้อง
กับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 13 และแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี จึงเริ่มใช้ระหว่าง
พ.ศ.2566 – 2570 เครื่องชี้วัดข้อมูล จปฐ. ที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูลช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติฉบับที่ 13 ( พ.ศ.2566 - พ.ศ. 2570) ประกอบด้วย 5 หมวด 38 ตัวชี้วัด ได้แก่ หมวดที่ 1
สุขภาพ มี 12 ตัวชี้วัด หมวดที่ 2 มาตรฐานความเป็นอยู่ มี 9 ตัวชี้วัด หมวดที่ 3 การศึกษา มี 5 ตัวชี้วัด
หมวดที่ 4 เศรษฐกิจ มี 4 ตัวชี้วัด และหมวดที่ 5 การคุ้มครองทางสังคมและการมีส่วนร่วม มี 8 ตัวชี้วัด
และเครื่องชี้วัดข้อมูล กชช. 2ค สำหรับใช้ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13
(พ.ศ. 2566 - 2570) ประกอบด้วย 7 หมวด 44 ตัวชี้วัด ดังนี้ หมวดที่ 1 โครงสร้างพื้นฐาน มี 10
ตัวชี้วัด หมวดที่ 2 สภาพพื้นฐานทางเศรษฐกิจ มี 10 ตัวชี้วัด หมวดที่ 3 สุขภาวะและอนามัย มี 7
ตัวชี้วัด หมวดที่ 4 ความรู้และการศึกษา มี 4 ตัวชี้วัด หมวดที่ 5 การมีส่วนร่วมและความเข้มแข็ง
ของชุมชน มี 5 ตัวชี้วัด หมวดที่ 6 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มี 5 ตัวชี้วัด และหมวดที่ 7
ความเสี่ยงของชุมชนและภัยพิบัติ มี 3 ตัวชี้วัด สำหรับกลไกและกระบวนการบริหารจัดเก็บข้อมูลให้มี
คุณภาพ ต้องมีกลไกควบคุมคุณภาพในทุกระดับ ดังนี้ คณะกรรมการอำนวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิต
ของประชาชน (พชช.) คณะทำงานบริหารการจัดเก็บข้อมูลฯ ระดับจังหวัด คณะทำงานบริหารการจัดเก็บ
ข้อมูลฯ ระดับอำเภอ คณะทำงานบริหารการจัดเก็บข้อมูลฯ ระดับตำบล และคณะผู้จัดเก็บข้อมูลระดับ
หมู่บ้าน โดยมีกระบวนการที่มีคุณภาพ ดังนี้การสร้างความรู้ความเข้าใจ การออกแบบวิธีการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล การบันทึกและประมวลข้อมูล การตรวจทานข้อมูล และการนำเสนอข้อมูลเพื่อการใช้
ประโยชน์ร่วมกันในทุกระดับ ข้อเสนอแนะเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บข้อมูลควรให้คนในชุมชนและ
องค์กรหน่วนงานที่เกี่ยวข้องเห็นความสำคัญในการให้ข้อมูลและการจัดเก็บข้อมูลโดยการสร้างการมี
ส่วนร่วมในการจัดเก็บข้อมูล และควรมีการฝึกอบรมและเพิ่มองค์ความรู้ให้กับผู้จัดเก็บข้อมูลอย่างเข้มข้น
รวมทั้งการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรับทราบถึงระยะเวลาในการจัดเก็บข้อมูลรวมกันทั้งประเทศ

คำสำคัญ: คุณภาพชีวิตประชาชน,ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.),ข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค)

ลำดบั ประเดน็ เป้าหมาย รายงานฉบับสมบรู ณ์โครงการจัดท
ระดบั หมูบ่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั

ตัวชี้วัด

531

ทำเครือ่ งชวี้ ัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพืน้ ฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพน้ื ฐาน
บใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ความสอดคล้อง

ขอ้ มลู จปฐ. ข้อมลู กชช. 2ค.

ร่วมกนั อย่างนอ้ ยสัปดาหล์ ะ 1 ครง้ั หรือ เก่ียวกบั การปอ้ งกนั โรคภยั ต่างๆ ดว้ ยสอ่ื

อยา่ งน้อยเดือนละ 4 ครง้ั 2. สมาชกิ ใน หรอื ไม่

ครอบครวั มีความเคารพนบั ถอื กนั และไม่มี ตวั ชว้ี ัดที่ 30 การได้รับการฝึกอบรม

การทะเลาะเบาะแวง้ รุนแรง 3. สมาชกิ ใน ดา้ นต่างๆ

ครอบครวั เม่ือมปี ัญหาจะปรึกษาหารอื และ 30.1.2 ในรอบปที ผ่ี ่านมา คนใน

ชว่ ยเหลือซงึ่ กนั และกัน หม่บู ้าน/ชุมชนนี้ ได้รับการฝกึ อบรมดา้ น

• 36.2 กรณอี ยูค่ นเดียว (1. หากมบี ดิ า การศึกษา ดังนี้ (คนทร่ี ับการอบรมหลาย
มารดา ลูกหลานและญาตพิ ่ีนอ้ ง ตอ้ งมีการ ขอ้ สามารถนับซำ้ ระหวา่ งขอ้ ได้)
เดินทางเย่ียมเยอื นระหว่างกัน อย่างน้อยปี 6) การเรยี นรตู้ ามแนวทางพระราชดำริ
(เช่น ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จติ
ละ 1 ครงั้ 2. หากไม่มีบดิ ามารดา
อาสาพระราชทาน ฯลฯ)
ลูกหลาน และญาตพิ ีน่ ้องถ้าสามารถ
ดำรงชีวิตได้อยา่ งมคี วามสขุ ก็ถอื วา่ เป็น 8) การเรียนรดู้ า้ นสวสั ดิการสังคม (เช่น
ผู้สงู อายุ คนพกิ าร เด็กและเยาวชน จิต
ครอบครัวอบอุน่
ตัวชี้วัดที่ 37 คนอายุ 6 ปขี น้ึ ไป ปฏิบัติ อาสา ฯลฯ)
กิจกรรมทางศาสนาอยา่ งนอ้ ยสปั ดาห์ละ ตวั ชีว้ ัดท่ี 43 ความปลอดภัยจากภยั
1 ครงั้ พิบัติ
43.7 หมบู่ า้ น/ชมุ ชนน้ี มีการดำเนนิ
• 37.1 ในรอบปีทผ่ี า่ นมา คนใน
ครัวเรือนทีอ่ ายตุ ัง้ แต่ 6 ปีขึน้ ไปทกุ คน ได้ กจิ กรรมดา้ นการเตรยี มพรอ้ มรับมอื ภัย
ปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาอยา่ งใดอยา่ ง พิบตั ิ ด้านใดบ้าง (ตอบไดม้ ากกว่า 1
หนงึ่ หรอื หลายอย่าง อยา่ งน้อยสปั ดาหล์ ะ ข้อ)
1 คร้ัง หรือไม่ (เชน่ การรว่ มพิธีกรรมทาง 1) คนในชุมชนสมัครเข้าร่วมเปน็
ศาสนา ทำบุญ ตกั บาตร ทำภาวนา/สมาธิ อาสาสมคั รดา้ นการปอ้ งกันและบรรเทา
สวดมนต์ ฟงั เทศน์ ฟังธรรม หรอื การทำ สาธารณภัย เช่น มิสเตอรเ์ ตือนภัย

ละหมาด และการเขา้ โบสถค์ รสิ ต์ เป็นต้น)

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเคร่ืองชี้วัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พืน้
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั

ลำดับ ประเดน็ เป้าหมาย ตวั ชว้ี ดั

การพฒั นาช่วงวยั วยั เรยี น / วยั รุ่น มีความรู้และทักษะใน
เรียน/วยั รนุ่ ศตวรรษท่ี ๒๑ ครบถว้ น รจู้ ักคดิ วิเครา
รักการเรียนรู้ มสี ำนึกพลเมอื ง มคี วามก
หาญทางจรยิ ธรรม มีความสามารถในก
แกป้ ัญหา ปรบั ตัว สือ่ สาร และทำงาน
รว่ มกบั ผู้อืน่ ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิผลตลอด

นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พ้ืนฐาน
บที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ความสอดคลอ้ ง

ขอ้ มลู จปฐ. ข้อมูล กชช. 2ค.

ตวั ชวี้ ัดที่ 38 ครัวเรือนมสี ว่ นรว่ มทำ อาสาสมัครปอ้ งกนั ภยั ฝา่ ยพลเรือน (อป

กิจกรรมสาธารณะเพือ่ ประโยชนข์ อง พร.), ทมี กชู้ ีพกู้ภยั ประจำตำบล (OTOS)

ชุมชนหรอื ท้องถิ่น

• 38.1 ในรอบปีท่ผี ่านมา คนใน

ครวั เรือนมสี ่วนร่วมทำกจิ กรรมสาธารณะ

เพอ่ื ประโยชน์ของชมุ ชนหรอื ทอ้ งถนิ่

หรือไม่

น ตัวชี้วัดท่ี 26 เดก็ เยาวชน/ผู้ใหญ่มีทกั ษะ -

าะห์ การเรยี นรู้ทจ่ี ำเป็นในศตวรรษท่ี 21

กล้า • 26.1 ครัวเรอื น มบี คุ คลท่ีมีทักษะการ
การ เรยี นรดู้ ้านนวตั กรรม ประกอบดว้ ย คิด

สรา้ งสรรค์ ใสใ่ จนวตั กรรม มีวจิ ารณญาณ
ดชวี ิต แกไ้ ขปัญหาเปน็ สื่อสารดี เตม็ ใจรว่ มมือ

• 26.2 ครวั เรือน มีบุคคลทม่ี ที ักษะ

สารสนเทศ ส่ือ เทคโนโลยปี ระกอบดว้ ย

อัพเดทขอ้ มลู ข่าวสาร ร้ทู นั สือ่ รอบรู้

เทคโนโลยสี ารสนเทศ ฉลาดส่อื สาร

• 26.3 ครวั เรอื น มีบุคคลทมี่ ีทกั ษะชวี ติ

และอาชพี ประกอบด้วย มีความยดื หยนุ่

รจู้ ักปรบั ตวั ริเรมิ่ ส่ิงใหม่ ใส่ใจดแู ลตัวเอง

รูจ้ กั เข้าสงั คม เรยี นร้วู ฒั นธรรม มคี วามเปน็

ผู้นำรบั ผิดชอบตอ่ หนา้ ที่ หม่ันหาความรู้

รอบด้าน

532

รายงานฉบบั สมบรู ณ์โครงการจดั ท
ระดบั หมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรับ

ลำดบั ประเดน็ เปา้ หมาย ตวั ชี้วัด

การพัฒนาและ แรงงานมศี ักยภาพในการเพ่ิมผลผลิต มี
ยกระดบั ศักยภาพวยั ทกั ษะอาชีพสงู ตระหนักในความสำคัญทจี่ ะ
แรงงาน พฒั นาตนเองใหเ้ ต็มศักยภาพ สามารถ
ปรบั ตวั และเรยี นรสู้ ่งิ ใหมต่ ามพลวตั ของ
การสง่ เสรมิ ศกั ยภาพ โครงสร้างอาชีพและความต้องการของ
วยั ผู้สูงอายุ ตลาดแรงงานเพ่มิ ขนึ้

มคี นไทยที่มีความสามารถและผเู้ ชย่ี วชาญ
ตา่ งประเทศ เข้ามาทำ วทิ ยาศาสตร์
เทคโนโลยี และนวตั กรรม ในอตุ สาหกรรม
เป้าหมาย

ผ้สู ูงอายุมคี ณุ ภาพชวี ิตทดี่ ี มีความมัน่ คงใน
ชวี ติ มที กั ษะการดำรงชีวติ เรยี นรพู้ ฒั นา
ตลอดชีวติ มสี ่วนรว่ มในกิจกรรมสงั คม
สร้างมลู ค่าเพิ่มใหแ้ กส่ งั คม

533

ทำเครือ่ งช้วี ัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พืน้ ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพื้นฐาน
บใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ความสอดคล้อง

ข้อมูล จปฐ. ข้อมลู กชช. 2ค.

ตวั ชีว้ ดั ที่ 33 ครวั เรอื นได้รับการคุม้ ครอง ตวั ชี้วดั ท่ี 24 สุขภาวะคนพกิ ารและ

ตามระบบและมาตรการคุ้มครองทาง ผู้สูงอายุ

สังคม จากภาครฐั และหรอื ชุมชน 24.2 สขุ ภาวะผสู้ ูงอายุ ( ผทู้ มี่ ีอายุ

ภาคเอกชน ตง้ั แต่ 60 ปี ขึ้นไป)

• 33.2 ครัวเรือนน้ี มสี มาชกิ ครัวเรอื นที่ 24.2.3 ผูส้ ูงอายทุ ม่ี ศี กั ยภาพสามารถ
ประกอบอาชีพและมรี ายได้ เกษยี ณ หรือ ประกอบอาชพี และไดร้ บั การจา้ งงานท่ี
ออกจากงาน ได้รบั การคุม้ ครองตามระบบ เหมาะสม
จากภาครัฐ และหรอื ชมุ ชน ภาคเอกชน 24.2.4 ผสู้ ูงอายุท่ีอาศยั อยู่ในบ้านทมี่ ี
หรือไม่ สภาพแวดลอมทีเ่ หมาะสม
ตวั ช้ีวดั ท่ี 34 ผู้สงู อายุได้รบั การดูแลจาก 24.2.5 ผสู้ ูงอายุเขาถึงนวัตกรรมและ
ครอบครัว ชมุ ชน ภาครฐั หรือภาคเอกชน เทคโนโลยีและสภาพแวดลอมที่
• 34.2 ผสู้ งู อายุ ไดร้ บั การดแู ลเอาใจใส่ เหมาะสม

ชวี ิตความเปน็ อยู่ ดา้ นอาหาร เครอ่ื งน่งุ ห่ม

รายงานฉบับสมบูรณโ์ ครงการจดั ทำเคร่ืองชี้วัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พื้น
ระดบั หมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั

ลำดับ ประเด็น เป้าหมาย ตวั ชี้วดั

รอ้ ยละผสู้ ูงอายุท่ีมศี ักยภาพมีงานทำ แ
รายได้เหมาะสม

12 การ การปฏิรปู คนไทยไดร้ บั การศกึ ษาทมี่ ีคณุ ภาพตาม
พัฒนาการ กระบวนการเรยี นรูท้ ี่ มาตรฐาน มีทักษะการเรียนรู้ และทกั ษ
เรียนรู้ ตอบสนองต่อการ จำเปน็ ของโลก ศตวรรษที่ ๒๑ สามารถ
เปล่ียนแปลงใน เขา้ ถึงการเรยี นร้อู ยา่ งตอ่ เนอ่ื งตลอดชีว
ศตวรรษที่ ๒๑

นฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พ้นื ฐาน
บที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ความสอดคลอ้ ง

ข้อมูล จปฐ. ขอ้ มูล กชช. 2ค.

สนับสนนุ ให้เข้ารว่ มกจิ กรรมทางสงั คม 24.2.6 ผูส้ งู อายุทไ่ี มส่ ามารถเข้าถงึ

ดแู ลเมอื่ ยามเจบ็ ไขไ้ ดป้ ่วยและปรบั ระบบการดแู ลสุขภาพและการคมุ้ ครอง

โครงสร้างและภาพแวดล้อมของบา้ นให้ ทางสังคม

เหมาะสมกบั ผู้สงู วยั จากคนในครอบครัว

หมู่บ้านหรอื ชุมชน หรอื ไม่

• 34.3 ผสู้ งู อายุ ไดร้ ับสวสั ดิการชมุ ชน

หรอื เบี้ยยงั ชีพ จากภาครัฐ หรือ

ภาคเอกชน หรอื ไม่

และ ตัวช้วี ัดท่ี 28 คนอายุ 60 ปี ขึ้นไป มี ตัวชีว้ ัดที่ 11 การมีงานทำ

อาชพี และรายได้ 11.3 คนอายุ 60 ปขี ึน้ ไป มกี าร

• 28.2 คนอายุ 60 ปี ขึ้นไป มอี าชีพ ประกอบอาชีพและมรี ายได้

ทกุ คน หรอื ไม่

• 28.3 คนอายุ 60 ปี ข้ึนไป มรี ายได้

ทุกคน หรอื ไม่

ม ตัวชว้ี ัดท่ี 23 เด็กอายุ 6 - 15 ปี ได้รับ ตัวชี้วัดที่ 8 ศนู ย์พฒั นาเด็กเล็ก

ษะที่ การศึกษาภาคบงั คบั 9 ปี 8.2 ศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เล็กท่ีหมบู่ า้ น /

ถ • 23.2 เด็กอายุ 6 - 15 ปี ไดเ้ ข้าเรียน ชมุ ชนนี้ สามารถเขา้ ถึงผ่านมาตรฐาน
วติ ช้ัน ป.1 - ม.3 (การศกึ ษาภาคบงั คับ 9 ปี) ศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เล็ก
8.2.1 ด้านการบรหิ ารจัดการศูนย์
ทกุ คน หรอื ไม่
• 23.7 เดก็ อายุ 6 - 15 ปี มีความ พัฒนาเดก็ เลก็
สนใจในการหาความร้จู ากสอ่ื ตา่ ง ๆ เช่น 8.2.2 ดา้ นบคุ ลากร
การอา่ นหนังสอื การดขู า่ วสาร สารคดี การ 8.2.3 ดา้ นอาคาร สถานท่ี สง่ิ แวดลอ้ ม
และความปลอดภัย

534

ลำดบั ประเดน็ เป้าหมาย รายงานฉบับสมบรู ณ์โครงการจัดท
ระดบั หมูบ่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั

ตัวชี้วัด

535

ทำเครือ่ งชว้ี ดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พื้นฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพนื้ ฐาน
บใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ความสอดคลอ้ ง

ขอ้ มูล จปฐ. ข้อมลู กชช. 2ค.

ใชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ เพอื่ หาความรู้ เป็นตน้ โดย 8.2.4 ด้านวิชาการ และกิจกรรมตาม

เฉลย่ี ก่ชี ว่ั โมงต่อสปั ดาห์ หลักสตู ร

ตัวชีว้ ัดท่ี 24 เด็กจบชนั้ ม.3 ได้เรยี นต่อ 8.2.5 ด้านการมสี ว่ นร่วม และสง่ เสรมิ

ชน้ั ม.4 หรือเทยี บเทา่ และเดก็ ท่ีจบ สนบั สนุน

การศกึ ษาภาคบังคับ 9 ปี ท่ไี มไ่ ด้เรยี นตอ่ 8.2.6 ดา้ นสง่ เสรมิ เครอื ข่ายการพฒั นา

และยงั ไม่มีงานทำ ได้รับการฝกึ อบรมดา้ น เดก็ ปฐมวัย

อาชีพ ตัวช้วี ัดที่ 28 การใหบ้ รกิ ารดา้ น

• 24.2 เด็กจบช้นั ม.3 ได้เรียนตอ่ ชั้น ม. การศกึ ษา
28.1 บริการสาธารณะเพือ่ การศึกษา
4 หรือเทียบเทา่ ทกุ คน หรอื ไม่
• 24.7 ครวั เรอื นน้ี มีคนในครัวเรือนที่ 1) ระบบไฟฟ้า
จบการศึกษาภาคบังคบั 9 ปี ทีไ่ มไ่ ดเ้ รียน 2) ระบบอินเทอรเ์ น็ต
ต่อช้ัน ม.4 หรือเทยี บเทา่ ซึ่งยงั ไมม่ ีงานทำ 3) คอมพวิ เตอรส์ ำหรับการเรยี นการ
ได้รับการฝกึ อบรมด้านอาชพี ทุกคน หรือไม่ สอน
4) โครงสรา้ งสำหรบั ผพู้ ิการ
• 24.9เ ดก็ อายุ 15 - 18 ปี มคี วาม 5) บริการน้ำบรโิ ภคทส่ี ะอาด
สนใจในการหาความรู้จากสอ่ื ต่าง ๆ เชน่ 6) สุขาแยก ชาย – หญงิ
การอา่ นหนงั สือ การดูขา่ วสาร สารคดี การ 7) อุปกรณส์ ่งเสรมิ การล้างมือ เชน่ เจ
ใชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ เพื่อหาความรู้ เป็นตน้ โดย ลล้างมือ สบู่ นำ้ สะอาด
เฉลี่ยกช่ี ั่วโมงต่อสัปดาห์

ตวั ช้วี ดั ที่ 25 คนอายุ 15 - 59 ปี อ่าน

เขียนภาษาไทย ภาษาอังกฤษ หรอื ภาษา

ที่สาม และคดิ เลขอยา่ งง่ายได้

รายงานฉบบั สมบูรณโ์ ครงการจัดทำเครือ่ งชว้ี ดั และแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพ้นื
ระดบั หมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั

ลำดบั ประเดน็ เปา้ หมาย ตวั ชวี้ ดั

นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพ้นื ฐาน ขอ้ มลู กชช. 2ค.
บที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ความสอดคล้อง
ข้อมลู จปฐ.

• 25.2 คนอายุ 15 - 59 ปี (ยกเวน้ คน
พิการ) สามารถ อ่าน เขยี นภาษาไทย
ทกุ คนหรือไม่

• 25.3 คนอายุ 15 - 59 ปี (ยกเว้นคน
พกิ าร) สามารถสามารถคดิ เลขอยา่ งงา่ ยได้
ทุกคนหรอื ไม่

• 25.4 คนอายุ 15 - 59 ปี (ยกเวน้ คน
พิการ) สามารถอา่ น เขียนภาษาองั กฤษได้
ทกุ คนหรือไม่

• 25.5 คนอายุ 15 - 59 ปี (ยกเวน้ คน
พกิ าร) สามารถอ่าน เขยี น ภาษาท่ีสามได้
ทกุ คนหรอื ไม่
ตวั ชว้ี ดั ท่ี 26 เด็ก เยาวชน/ผใู้ หญ่มี
ทักษะการเรียนร้ทู จี่ ำเป็นในศตวรรษที่
21

• 26.1 ครัวเรือน มีบคุ คลที่มีทักษะ
การเรยี นรดู้ า้ นนวตั กรรม ประกอบดว้ ย คิด
สร้างสรรค์ ใสใ่ จนวตั กรรม มวี จิ ารณญาณ
แกไ้ ขปญั หาเปน็ ส่อื สารดี เตม็ ใจรว่ มมือ

• 26.2 ครวั เรือน มบี คุ คลท่ีมที กั ษะ
สารสนเทศ สือ่ เทคโนโลยปี ระกอบด้วย
อพั เดทข้อมูลขา่ วสาร รูท้ นั สื่อ รอบรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศ ฉลาดส่อื สาร

536

ลำดับ ประเด็น เปา้ หมาย รายงานฉบบั สมบรู ณ์โครงการจัดท
ระดับหมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรบั

ตัวชี้วัด

การตระหนักถึงพหุ ประเทศไทยมรี ะบบขอ้ มลู เพอื่ การส่งเสรมิ

ปญั ญาของมนษุ ยท์ ี่ การพัฒนาศักยภาพตามพหปุ ญั ญา เพ่อื

หลากหลาย ประโยชนใ์ นการพฒั นาและการสง่ ต่อการ

พัฒนาใหเ้ ต็มตามศกั ยภาพ

13 การเสรมิ สรา้ ง การสรา้ งความรอบรู้ ประชาชนมคี วามรอบรู้ด้านสุขภาวะสามารถ

ใหค้ นไทยมสี ุข ด้านสขุ ภาวะและการ ดแู ลสขุ ภาพ มพี ฤติกรรมสขุ ภาพทพี่ ึง

ภาวะที่ดี ปอ้ งกันและควบคมุ ประสงค์ และสามารถปอ้ งกนั และลดโรคที่

ปัจจยั เสี่ยงที่คกุ คาม สามารถป้องกนั ได้ เกิดเป็นสังคมบม่ เพาะ

สุขภาวะ จิตสำนกึ การมสี ุขภาพดี

537

ทำเคร่ืองช้ีวัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเป็นพนื้ ฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพ้นื ฐาน
บใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ความสอดคลอ้ ง ข้อมูล กชช. 2ค.
ขอ้ มลู จปฐ.

• 26.3 ครัวเรอื น มบี คุ คลที่มีทกั ษะชวี ิต
และอาชพี ประกอบด้วย มคี วามยดื หยุน่
ร้จู ักปรบั ตัว ริเรม่ิ สิง่ ใหม่ ใส่ใจดแู ลตวั เอง
รูจ้ ักเขา้ สังคม เรยี นรู้วัฒนธรรม มคี วามเป็น
ผู้นำรับผดิ ชอบต่อหนา้ ที่ หมั่นหาความรู้
รอบด้าน

ถ ตวั ชว้ี ัดท่ี 6 ครัวเรอื นกินอาหารถกู ตัวช้วี ดั ที่ 29 ความรอบรู้

สขุ ลกั ษณะ ปลอดภยั และไดม้ าตรฐาน 29.1 ความรอบรู้ด้านสุขภาพ

• ครัวเรอื นมีการประกอบอาหารดว้ ย 29.1.1 ครัวเรือนในหมบู่ ้าน / ชมุ ชน
ตนเอง ส่วนใหญม่ คี วามรใู้ นการเลอื กทจี่ ะเชอ่ื
หรอื ไมเ่ ชื่อความรสู้ ขุ ภาพทไี่ ดร้ ับมา
• ถ้ากินอาหารบรรจุสำเรจ็ ตอ้ งมี 29.1.2 ครวั เรือนในหมบู่ ้าน / ชมุ ชน
เคร่อื งหมาย อย. เช่น เกลือเสรมิ ไอโอดีน ส่วนใหญ่มคี วามสามารถในการตัดสินใจ
นำ้ ปลา น้ำสม้ สายชู อาหารกระปอ๋ ง นม เลือกใช้ผลติ ภณั ฑ์และบรกิ าร เกย่ี วกับ
อาหารกล่อง เป็นต้น สุขภาพอยา่ งเหมาะสม
29.1.3 ครวั เรอื นในหมูบ่ า้ น / ชมุ ชน
• ถ้ากินเนือ้ สตั ว์ต้องทำให้สุกด้วย สว่ นใหญ่มีความสามารถทจี่ ะแนะนำและ
ความร้อน บอกต่อขอ้ มลู สุขภาพให้คนอ่นื ได้

• ถ้ากินผกั ตอ้ งเป็นผกั ปลอดสารพิษหรอื
ไดท้ ำการแช่ดว้ ยนำ้ ผสมด่างทับทมิ หรอื

รายงานฉบบั สมบูรณโ์ ครงการจัดทำเครือ่ งชว้ี ดั และแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพ้นื
ระดบั หมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั

ลำดบั ประเดน็ เปา้ หมาย ตวั ชวี้ ดั

นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพน้ื ฐาน ขอ้ มูล กชช. 2ค.
บท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ความสอดคลอ้ ง
ขอ้ มูล จปฐ.
น้ำยาล้างผักแลว้ ลา้ งดว้ ยนำ้ สะอาดหลาย ๆ
คร้ัง

• ก่อนกินอาหารตอ้ งลา้ งมอื ทกุ ครัง้ และ
ใชช้ ้อนกลาง
ตวั ชี้วดั ท่ี 7 ครัวเรอื นมคี วามรูแ้ ละ
ปอ้ งกนั ตนเองเพื่อควบคุมปจั จยั เสีย่ งที่
คุกคามสขุ ภาวะ

• ด่มื นำ้ สะอาดประมาณ 2 ลิตรตอ่ วัน

• นอนหลับสนิท 7 - 8 ชัว่ โมงต่อคนื

• กินอาหารหวาน มนั เคม็ กินผักผลไม้
น้อย ดม่ื เหล้า สบู บหุ ร่ี ทำให้เกดิ ความเสีย่ ง
ต่อโรคเบาหวาน ความดนั โลหิตสงู หวั ใจ
ขาดเลือด หลอดเลือดสมองตีบ คอล
เรสเตอรอลในเลือดสูง

• ผลไม้บางชนิดทม่ี ีนำ้ ตาลและพลังงาน
สูง เช่น ทุเรียน ลำไย จงึ ควรกนิ แตน่ อ้ ย
โดยเฉพาะผู้ทมี โี รคประจำตวั

• ดูแลสุขภาพช่องปากและฟนั ดว้ ยการ
แปรงฟันดว้ ยยาสีฟนั ท่มี ีฟลูออไรด์ ครงั้ ละ
2 นาทวี ันละ 2 ครง้ั

• เม่ือมอี าการไอหรือจามมกี ารปอ้ งกัน
ตนเองและผอู้ น่ื ด้วยการสวมหนา้ กาก
อนามัยและล้างมอื อยา่ งถูกวิธี

538

ลำดบั ประเดน็ เป้าหมาย รายงานฉบับสมบรู ณ์โครงการจัดท
ระดบั หมูบ่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั

ตัวชี้วัด

539

ทำเครือ่ งชว้ี ดั และแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พื้นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพ้ืนฐาน
บใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ความสอดคลอ้ ง ข้อมลู กชช. 2ค.
ข้อมลู จปฐ.

• ควรลุกขน้ึ เดินและเปลย่ี นท่าทางทกุ 1
ช่ัวโมง

• พักสายตาจากจอคอมพิวเตอร์ / มอื ถือ
ทุก 1 ช่ัวโมง อยา่ งนอ้ ย 1 - 20 นาที เพ่ือ
หลีกเลี่ยงอาการออฟฟิศซินโดรม

• หากมีหรอื พบบคุ คลท่มี อี าการ ใบหนา้
และปากเบยี้ ว แขนขาออ่ นแรงซกี เดียว
พูดไมช่ ดั และเจบ็ หนา้ อก ควรรบี ไป
โรงพยาบาลทใ่ี กล้ทีส่ ุดทนั ที

• หากพบผู้ป่วยฉุกเฉินควรแจง้ 1669
ตัวชวี้ ัดที่ 8 ครวั เรือนสามารถดูแล
ตนเอง/สมาชิก เมื่อมีอาการเจบ็ ป่วย
เบื้องต้น

• ดแู ลตนเอง/สมาชกิ ด้วยยาสามญั
ประจำบ้าน ทง้ั แผนปัจจบุ นั แผนโบราณ
ยาสมุนไพรในงานสาธารณสุข มลู ฐาน และ
ใชย้ าเท่าท่ีจำเปน็

• วดั ไข้ วัดความดนั โลหติ และจับชพี จร

• ไมก่ ินผลิตภัณฑ์เสรมิ อาหารท่ีอวดอา้ ง
สรรพคณุ เกนิ จรงิ โดยแสดงสรรพคณุ เปน็
ยาเพือ่ บำบดั บรรเทา รักษาโรค ซงึ่ ไมต่ รง
กบั ทแี่ สดงในฉลาก

รายงานฉบับสมบูรณโ์ ครงการจดั ทำเคร่ืองชีว้ ัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเป็นพื้น
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั

ลำดบั ประเด็น เป้าหมาย ตัวชี้วัด

การใช้ชมุ ชนเป็นฐาน จำนวนชมุ ชนสุขภาพดเี พม่ิ ขน้ึ
ในการสร้าง
สภาพแวดลอ้ มทเ่ี ออื้ มีระบบสาธารณสุขท่ีไดม้ าตรฐานทป่ี ระ
ตอ่ การมสี ุขภาวะทด่ี ี ทกุ ระดับเขา้ ถงึ ได้

การพฒั นาระบบ
บริการสขุ ภาพท่ี
ทนั สมยั สนบั สนนุ การ
สรา้ งสุขภาวะทดี่ ี

นฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พนื้ ฐาน ขอ้ มลู กชช. 2ค.
บท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ความสอดคลอ้ ง
ข้อมลู จปฐ.
• 8.4 ใหข้ ้อมลู เก่ียวกับการเจ็บป่วยของ
ตนเอง โรคประจำตัว การแพย้ า ผลิตภณั ฑ์
สขุ ภาพ/ยาท่ีเคยใช้ ต่อบุคลากร
สาธารณสขุ

ะชากร ตัวชี้วัดท่ี 11 คนในครวั เรอื นมปี ระกัน ตวั ช้ีวดั ท่ี 22 การได้รบั บริการและ
สุขภาพ/สทิ ธิรกั ษาพยาบาล และทราบ ดแู ลสุขภาพอนามยั
สถานทใี่ ชบ้ รกิ ารตามสทิ ธิ 22.2 หม่บู ้าน/ชมุ ชนน้ี มีบรกิ าร
ต่อไปนี้ หรือไม่
• 11.1 ทกุ คนในครัวเรือนนี้ มปี ระกนั 22.2.1 ศูนย์สาธารณสุขมลู ฐานชมุ ชนที่
สุขภาพ/สทิ ธริ ักษาพยาบาล หรอื ไม่ ให้บริการ
22.2.2 โรงพยาบาล/โรงพยาบาล
• 11.2 จำนวนคนในครัวเรือนทม่ี ี ส่งเสรมิ สขุ ภาพตำบล
ประกนั สขุ ภาพ/สทิ ธิรักษาพยาบาล และ 22.2.3 โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพ
ทราบสถานทใี่ ช้บริการตามสิทธิ (ตอบได้ ตำบลมกี ารให้บริการตรวจสขุ ภาพ
มากกว่า 1 ข้อ) เกษตรกร (คลนิ กิ เกษตรกร)
22.2.4 ศูนย์บรกิ ารสาธารณสขุ (สถานี
อนามยั ในเขตเมือง และพ้นื ท่พี เิ ศษ)
22.2.5 หมู่บ้าน/ชุมชนนี้ มรี ้านขายของ
ชำทข่ี ายยาชดุ หรอื ยาอนั ตรายหรอื ยา

540

ลำดบั ประเดน็ เปา้ หมาย รายงานฉบับสมบรู ณ์โครงการจัดท
ระดบั หม่บู า้ น (กชช. 2ค) สำหรับ

ตัวชวี้ ัด

การกระจายบรกิ าร ลดความเหล่อื มล้าในการเขา้ ถึงบรกิ าร
สาธารณสุขอย่าง สาธารณสุข
ท่วั ถงึ และมีคุณภาพ

การพฒั นาและสรา้ ง ประชาชนมีความรูส้ ขุ ภาพ เรือ่ งโรคอุบัตใิ หม
ระบบรับมือปรับตัว และโรคอบุ ัติซำ้ ทเ่ี กิดจากการเปลย่ี นแปลง
ตอ่ โรคอุบตั ใิ หม่และ ภูมอิ ากาศมากข้ึน
อุบัติซ้ำท่เี กดิ จากการ
เปลี่ยนแปลง
ภมู อิ ากาศ

541

ทำเครือ่ งชวี้ ัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พื้นฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พืน้ ฐาน
บใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ความสอดคลอ้ ง

ข้อมลู จปฐ. ขอ้ มูล กชช. 2ค.

ควบคมุ พเิ ศษหรอื วตั ถอุ อกฤทธิ์ตอ่ จิต

และประสาท

ตัวชี้วดั ท่ี 12 คนอายุ 35 ปีข้นึ ไป ได้รบั ตวั ชี้วัดท่ี 22 การได้รับบรกิ ารและ

การตรวจสขุ ภาพประจำปี ดแู ลสุขภาพอนามยั

• 12.2 ในรอบปีท่ีผา่ นมา คนอายตุ ัง้ แต่ 22.1 หมูบ่ ้าน/ชุมชนนี้ สามารถเข้าถงึ
บริการและดูแลสขุ ภาพอนามยั ภายใน
35 ปขี น้ึ ไป ไดร้ บั การตรวจสขุ ภาพ
ตำบลหรอื ไม่
ประจำปี ทกุ คน หรอื ไม่

• 12.3 คนทไ่ี มไ่ ด้รับการตรวจสขุ ภาพ

ประจำปี ตามข้อ 12.2 ได้รบั การตรวจคดั

กรองความเสยี่ งตอ่ โรคเบาหวานและความ

ดนั โลหติ สูง ทกุ คน หรอื ไม่

ม่ ตัวชี้วดั ที่ 29 ความรอบรู้

29.1 ความรอบรูด้ ้านสขุ ภาพ

29.1.1 ครัวเรือนในหมู่บา้ น / ชมุ ชน

สว่ นใหญม่ คี วามรู้ในการเลอื กทจี่ ะเชอื่

หรอื ไมเ่ ชอ่ื ความรสู้ ุขภาพที่ไดร้ บั มา

29.1.2 ครวั เรือนในหมบู่ ้าน / ชมุ ชน

สว่ นใหญ่มคี วามสามารถในการตดั สนิ ใจ

เลือกใชผ้ ลติ ภณั ฑ์และบรกิ าร เก่ียวกบั

สขุ ภาพอย่างเหมาะสม

29.1.3 ครัวเรือนในหมู่บ้าน/ชุมชน

ส่วนใหญ่มคี วามสามารถทีจ่ ะแนะนำและ

บอกต่อข้อมลู สุขภาพให้คนอืน่ ได้

รายงานฉบับสมบรู ณโ์ ครงการจดั ทำเครือ่ งชี้วัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พื้น
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ่วงแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั

ลำดบั ประเด็น เปา้ หมาย ตัวชี้วดั

14 ศักยภาพ การส่งเสริมการออก คนไทยออกกำลงั กาย เล่นกฬี า และ
การกฬี า กาลังกาย และกีฬา นันทนาการอยา่ งสมำ่ เสมอเพม่ิ ขนึ้
ขั้นพื้นฐานให้
กลายเปน็ วิถีชวี ติ และ
การสง่ เสรมิ ให้
ประชาชนมสี ่วนร่วม
ในกิจกรรมออกกาลงั
กาย กฬี าและ
นันทนาการ

การสง่ เสริมการกีฬา นกั กีฬาไทยประสบความสำเร็จในการ
เพื่อพฒั นาสู่ระดบั แขง่ ขันระดับนานาชาติ
อาชพี

บุคลากรด้านการกีฬา บคุ ลากรด้านการกีฬาและนันทนาการม
และนันทนาการ คุณภาพและมาตรฐานเพม่ิ ขน้ึ

15 พลงั ทางสงั คม การเสรมิ สรา้ งทุนทาง ภาคีการพัฒนามบี ทบาทในการพฒั นาส
สงั คม มากขนึ้ อย่างต่อเนอื่ ง

นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พ้นื ฐาน
บท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ความสอดคลอ้ ง

ขอ้ มลู จปฐ. ขอ้ มลู กชช. 2ค.

ตัวช้วี ดั ท่ี 9 คนอายุ 6 ปขี ้ึนไป ออกกำลงั ตวั ชี้วัดที่ 27 การกฬี าและการออก

กายอย่างนอ้ ยสปั ดาห์ละ 3 วนั ๆ ละ 30 กำลังกาย

นาที 27.3 ในหม่บู า้ น/ชุมชนน้มี กี ิจกรรม

• 9.1 ออกกำลงั กายอย่างนอ้ ยสัปดาห์ ตอ่ ไปนห้ี รือไม่
ละ 3 วนั ๆ ละ 30 นาที หรอื ไดอ้ อก 27.3.1 เตน้ แอโรบคิ
แรง/ออกกำลงั ตดิ ต่อกนั อยา่ งน้อย 10 27.3.2 วิง่ ออกกำลงั กาย

นาที ข้ึนไป รวมกันทั้งวัน 30 นาที อย่าง

น้อยสัปดาหล์ ะ 5 วนั หรอื ไม่

มี

สังคม ตวั ช้ีวดั ที่ 8 ศูนย์พัฒนาเดก็ เล็ก
8.2.5 ด้านการมสี ว่ นรว่ ม และสง่ เสรมิ
สนบั สนุน
1) สนับสนุนใหค้ รอบครวั ชุมชน และ
หนว่ ยงานที่เกย่ี วขอ้ งในพ้นื ทีเ่ ข้ามามี
สว่ นร่วมในการดำเนินงานของศนู ยฯ์
ตวั ช้ีวัดที่ 20 การทอ่ งเที่ยว
20.2.4 ในรอบปที ผ่ี า่ นมา ปญั หาจาก
แหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว ไดร้ ับการแก้ไขหรอื ไม่
จากหน่วยงานใดบา้ ง

542

ลำดบั ประเด็น เปา้ หมาย รายงานฉบับสมบรู ณ์โครงการจดั ท
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับ

ตวั ชี้วัด

การรองรับสงั คมสูงวยั ประชากรไทยมกี ารเตรยี มการกอ่ นยาม
เชิงรุก สงู อายเุ พ่ือให้สงู วัยอย่างมคี ณุ ภาพเพ่มิ ขึ้น

ผู้สงู อายุมคี วามเปน็ อย่ทู ดี่ ีขึน้ อย่างต่อเนอื่ ง

543

ทำเคร่ืองช้ีวัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พ้นื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พน้ื ฐาน
บใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ขอ้ มูล จปฐ. ความสอดคล้อง

ข้อมูล กชช. 2ค.

ตวั ช้วี ัดท่ี 21 การปอ้ งกันโรคติดตอ่
21.1.1.7 ในรอบปีทผ่ี ่านมา มี
หนว่ ยงานราชการ/องค์กรตา่ งๆ/ผนู้ ำ
ชมุ ชน/อาสาสมคั ร เผยแพรค่ วามรู้
เกีย่ วกับการป้องกนั โรคภัยตา่ งๆ ด้วยสื่อ
หรือไม่
ตัวชว้ี ดั ที่ 42 ความปลอดภยั จากยา
เสพตดิ
42.5 ในรอบปที ่ีผ่านมา หมู่บา้ น/ชุมชน
นี้ มีการดำเนินกจิ กรรมการปอ้ งกนั และ
แก้ไขปัญหายาเสพตดิ หรือไม่
42.5.1 ผดู้ ำเนนิ กิจกรรมการป้องกนั
และแก้ไขปญั หายาเสพตดิ ในหมบู่ า้ น/
ชมุ ชน มีหนว่ ยงานใดบ้าง

ตัวชีว้ ดั ที่ 34 ผู้สงู อายุได้รับการดแู ลจาก 24.2 สุขภาวะผ้สู งู อายุ (ผทู้ ม่ี ีอายุ
ครอบครัว ชมุ ชน ภาครัฐ หรือภาคเอกชน ต้ังแต่ 60 ปี ข้ึนไป)
• 34.1 ครอบครวั นี้ มรี ายได้ไมเ่ กนิ 24.2.4 ผสู้ ูงอายุที่อาศยั อยใู่ นบ้านทม่ี ี
100,000 บาทต่อปี และมคี ณุ สมบตั อิ น่ื สภาพแวดลอมทเี่ หมาะสม
ครบตามเกณฑ์บตั รสวสั ดกิ ารแห่งรัฐ
หรอื ไม่

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเครื่องชวี้ ัดและแบบสอบถามข้อมลู ความจำเป็นพืน้
ระดบั หม่บู า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ่วงแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั

ลำดบั ประเด็น เป้าหมาย ตัวชีว้ ดั

16 เศรษฐกิจฐาน การยกระดบั ศกั ยภาพ อตั ราการเติบโตของรายไดข้ องกลมุ่

ราก การเป็น ประชากรรอ้ ยละ ๔๐ ทมี่ รี ายไดต้ ำ่ สุด

ผปู้ ระกอบการธรุ กจิ

การสร้าง ผปู้ ระกอบการเศรษฐกิจฐานรากมรี ายไ

สภาพแวดล้อมและ เพ่ิมขนึ้ อยา่ งตอ่ เน่อื ง

กลไกท่สี ่งเสรมิ การ กล่มุ ประชากรรายไดต้ ำ่ สุดรอ้ ยละ ๔๐
พัฒนาเศรษฐกิจฐาน ความสามารถในการบรหิ ารจดั การหนี้ส
ราก มปี ระสิทธิภาพเพมิ่ ขึน้ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง

17 ความเสมอ การคุ้มครองทาง คนไทยทุกคน โดยเฉพาะกลุ่มด้อยโอกา

ภาคและ สงั คมข้นั พ้นื ฐานและ และกลมุ่ เปราะบางได้รบั การคมุ้ ครองแ

หลกั ประกัน หลกั ประกนั ทาง หลักประกนั ทางสังคมเพิ่มขึน้ (สดั ส่วน

ทางสังคม เศรษฐกจิ สังคม และ ประชากรกลุม่ ดอ้ ยโอกาสและกลมุ่

สขุ ภาพ เปราะบางทไ่ี ดร้ ับความคมุ้ ครองตาม

นฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พืน้ ฐาน ขอ้ มลู กชช. 2ค.
บที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ความสอดคลอ้ ง
ขอ้ มลู จปฐ.

• 34.2ผ้สู งู อายุ ได้รบั การดแู ลเอาใจใส่
ชวี ติ ความเป็น อยู่ ดา้ นอาหาร เครื่องนุ่งหม่
สนบั สนุนให้เข้าร่วมกจิ กรรมทางสงั คม
ดแู ลเมอื่ ยามเจบ็ ไขไ้ ดป้ ่วยและปรบั
โครงสร้างและภาพแวดล้อมของบ้านให้
เหมาะสมกบั ผู้สูงวยั จากคนในครอบครัว
หมูบ่ ้านหรอื ชมุ ชน หรือไม่
• 34.3ผู้สูงอายุ ได้รบั สวสั ดกิ ารชุมชน
หรอื เบีย้ ยงั ชีพ จากภาครฐั หรือ
ภาคเอกชน หรอื ไม่

ได้

มี
สนิ ได้

าส ตวั ชวี้ ดั ท่ี 10 ผูป้ ่วยติดเตียงไดร้ ับการ ตวั ช้ีวัดที่ 36 การได้รับความคุม้ ครอง

และมี ดแู ลจากครอบครัว ชุมชน ภาครัฐ หรอื ทางสงั คม

ภาคเอกชน 36.1 คนที่ไมม่ ีเลขประจำตวั ประชาชน

• 10.2 ผูป้ ว่ ยตดิ เตียง ไดร้ ับการดแู ล 13 หลกั

เอาใจใส่ชวี ติ ความเป็นอยู่ ดา้ นอาหาร ยา

544

ลำดับ ประเด็น เป้าหมาย รายงานฉบบั สมบูรณ์โครงการจัดท
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับ

ตวั ชว้ี ดั

มาตรการคุม้ ครองทางสงั คม อย่างน้อย ๙
กรณี ได้แก่ (๑) เจ็บป่วย (๒) คลอดบตุ ร (๓)
ตาย (๔) ทพุ พลภาพ/พิการ (๕) เงนิ
ชว่ ยเหลือครอบครัวหรอื บตุ ร (๖) ชราภาพ
(๗) ว่างงาน (๘) ผูอ้ ยใู่ นอุปการะ (๙) และ
การบาดเจบ็ จากการทำงาน)

545

ทำเคร่ืองชีว้ ัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พน้ื ฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพนื้ ฐาน
บใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ความสอดคลอ้ ง

ขอ้ มูล จปฐ. ข้อมูล กชช. 2ค.

การออกกำลงั ฟ้ืนฟกู ลา้ มเนอื้ และปรับ 36.2 เดก็ กำพรา้ (กำพรา้ พ่อหรือแม่

โครงสรา้ งและสภาพแวดลอ้ มของบ้าน ให้ หรือท้ังพอ่ และแม่ ทำให้เกดิ ปญั หาต่อ

เหมาะสมกบั ผปู้ ่วย จากคนในครอบครัว การดำรงชีวิต) ถกู ทอดทิง้

และชมุ ชน หรือไม่ 36.3 เดก็ เรร่ ่อน (ไมม่ ีหลักฐานว่าเปน็

• 10.3 ผปู้ ่วยติดเตยี งไดร้ ับสวสั ดิการ ลกู หลานใคร)
36.4 เด็กทไ่ี มไ่ ดล้ งทะเบียนเกดิ (เด็กที่
จากรัฐ อาทิ เบยี้ ยังชพี เบี้ยผูพ้ กิ าร พ่อ-แมไ่ ม่ไดแ้ จ้งเกิด)
หรือไม่
ตวั ชวี้ ดั ที่ 35 พกิ ารไดร้ บั การดูแลจาก 36.5 เดก็ ทไี่ ดร้ บั ผลกระทบจากโรค
ครอบครวั ชุมชน ภาครฐั หรอื ภาคเอกชน เอดส์ (เช่น สังคมรังเกยี จ ฯลฯ)
(ตามพรบ. สง่ เสรมิ คุณภาพชีวิตคนพกิ าร 36.6 เดก็ ตา่ งด้าว
พ.ศ.2550 และทแ่ี ก้ไขเพ่ิมเติม ฉบบั ท่ี 2 36.7 ครัวเรือนทม่ี สี มาชิกเฉพาะเด็ก
อายุตำ่ กว่า 18 ปีเตม็ เท่านนั้ อยตู่ าม
พ.ศ. 2556)
• 35.2 ผพู้ ิการตามข้อ 35.1 มีบตั ร ลำพังไมม่ ผี ใู้ หญเ่ ลีย้ งดู
36.8 ครวั เรอื นท่มี ีหวั หนา้ ครวั เรอื นเปน็
ประจำตวั คนพกิ าร หรือไม่
ผู้หญิงและมหี นา้ ทรี่ บั ผดิ ชอบในการหา
• 35.3 ผู้พกิ ารไดร้ บั การดูแลเอาใจใสใ่ น รายไดเ้ ลย้ี งครอบครวั
36.9 ครัวเรอื นทมี่ คี สู่ มรสอยูใ่ นสภาพ
ชีวิตความเป็นอยู่ ดา้ นอาหารการกิน หม้าย (คู่สมรสตาย) หย่า หรือ แยกทาง
เส้อื ผ้าเคร่ืองนงุ่ หม่ และได้รับการดแู ลเม่อื กัน
ยามเจบ็ ไขไ้ ด้ป่วย การดูแลเอาใจใสด่ า้ น 36.10 คนพิการทไ่ี ม่มที ี่อย่อู าศัย หรือ
สภาพจติ ใจจากคนในครอบครวั หมบู่ ้าน อาศัยอย่ใู นครัวเรอื นยากจน
หรอื ชุมชน รวมทง้ั ได้รบั สวสั ดิการชมุ ชน หรอื ไมม่ ผี เู้ ลยี้ งดู และมรี ายไดไ้ ม่เพียงพอ
หรือเบ้ยี ยงั ชพี จากภาครฐั หรือภาคเอกชน ตอ่ การยังชีพ
หรือไม่

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเครือ่ งช้ีวดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพน้ื
ระดบั หมู่บ้าน (กชช. 2ค) สำหรับใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั

ลำดับ ประเด็น เป้าหมาย ตัวชี้วัด

18 การเติบโต มาตรการแบบเจาะจง มรี ะบบและกลไกในการใหค้ วามชว่ ยเห
อย่างยั่งยนื กลมุ่ เปา้ หมายเพอื่ กลุม่ เปา้ หมายทตี่ ้องการความชว่ ยเหลือ
แกป้ ัญหาเฉพาะกลมุ่ พเิ ศษได้ครอบคลมุ มากย่ิงขนึ้ (ดัชนีควา
ยากจนแบบหลากหลายมติ ิของ
การสร้างการเตบิ โต กลุม่ เป้าหมายทีต่ อ้ งการความชว่ ยเหลอื
อยา่ งยัง่ ยืนบนสงั คม
เศรษฐกิจสเี ขียว การบริโภคและการผลติ ของประเทศมคี
ยัง่ ยืนสงู ข้นึ

พน้ื ท่ีสเี ขยี วทุกประเภทเพ่ิมขึน้

การสรา้ งการเตบิ โต ความสมบรู ณ์ของระบบนเิ วศทางทะเล
อยา่ งยง่ั ยืนบนสงั คม เพมิ่ ข้ึน
เศรษฐกจิ ภาคทะเล
การปล่อยกา๊ ซเรอื นกระจกของประเทศ
การสรา้ งการเติบโต ลดลง
อย่างยง่ั ยนื บนสงั คมท่ี
เป็นมิตรต่อสภาพ
ภมู ิอากาศ

นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พน้ื ฐาน ความสอดคลอ้ ง
บที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569) ข้อมูล กชช. 2ค.

ข้อมูล จปฐ. 36.11 ครัวเรือนท่ีมสี มาชกิ เฉพาะ
ป่-ู ย่า หรอื ตา-ยาย อยู่กบั หลาน
หลอื 36.12 ครัวเรอื นท่มี ีผสู้ งู อายุ (คนอายุ
อเปน็ 60 ปีข้ึนไป)
าม 36.13 คนท่ไี มม่ ที อ่ี ย่อู าศยั ถาวร และไม่
อ) มีผเู้ ลยี้ งดู
ความ
ตัวช้ีวัดท่ี 10 พ้นื ที่สาธารณะสีเขยี ว
ล และพน้ื ท่ีสาธารณะประโยชน์
10.1.2 จำนวนพน้ื ที่สาธารณะสเี ขยี ว

ศไทย

546

รายงานฉบบั สมบรู ณ์โครงการจัดท
ระดับหม่บู า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั

ลำดบั ประเด็น เปา้ หมาย ตวั ชวี้ ัด

การจัดการมลพิษทมี่ ี คณุ ภาพน้ำในแหล่งนำ้ ผิวดิน แหลง่ น้ำใต้ดนิ
ผลกระทบต่อ และแหล่งน้าทะเลมคี ณุ ภาพเหมาะสมกบั
สงิ่ แวดลอ้ ม และ ประเภทการใชป้ ระโยชน์
สารเคมีในภาคเกษตร
ท้งั ระบบ ให้เป็นไป คณุ ภาพอากาศ เสียง และความสน่ั สะเทอื น
ตามมาตรฐานสากล อยรู่ ะดับมาตรฐานของประเทศไทย
และคา่
มาตรฐานสากล

การจดั การขยะมลู ฝอย มลู ฝอยตดิ เชื้อ ของ
เสยี อนั ตราย สารเคมใี นภาคการเกษตรและ
กากอตุ สาหกรรมมปี ระสิทธภิ าพมากข้ึน

547

ทำเครือ่ งชวี้ ดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พน้ื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พ้นื ฐาน
บใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ข้อมลู จปฐ. ความสอดคลอ้ ง

ข้อมลู กชช. 2ค.

ตัวชว้ี ัดที่ 39 คุณภาพนำ้
39.1.1 หมบู่ า้ น/ชุมชนนี้ มแี หลง่ น้ำผวิ
ดินทงั้ หมด แยกเปน็
1) คุณภาพเหมาะสมดี
2) คุณภาพเหมาะสมพอใช้
3) คุณภาพไมเ่ หมาะสม

ตัวช้ีวัดท่ี 41 การจดั การมลพษิ
41.1 การจดั การมลพิษทางอากาศ
41.1.1 หมู่บา้ น/ชุมชนนี้ มปี ญั หา
มลพษิ ทางอากาศ หรอื ไม่
41.2 การจัดการมลพิษทางเสยี ง
41.2.1 หมบู่ า้ น/ชมุ ชนนี้ มปี ัญหาดา้ น
มลพิษทางเสียง จนทำให้เกดิ ความ
รำคาญอยา่ งตอ่ เน่อื ง หรือไม่

ตวั ชว้ี ดั ท่ี 40 การจัดการสภาพ
ส่งิ แวดลอ้ มอยา่ งย่ังยืน
40.1 การจดั การขยะมลู ฝอย
40.1.4 ในกรณีทม่ี ีการจดั การขยะมูล
ฝอย สามารถกำจดั ขยะมลู ฝอยไดถ้ กู
สุขลกั ษณะ หรือไม่
40.2 การจดั การขยะของเสียอันตราย
40.2.3 ในกรณที มี่ ีการจดั การขยะของ
เสยี อนั ตราย สามารถกำจัดขยะของเสยี
อันตรายได้ถกู สขุ ลกั ษณะ หรือไม่

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจดั ทำเคร่อื งชี้วดั และแบบสอบถามข้อมลู ความจำเปน็ พ้นื
ระดบั หมูบ่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั

ลำดับ ประเดน็ เป้าหมาย ตัวช้ีวดั

การยกระดบั กระบวน คนไทยมีคณุ ลักษณะและพฤตกิ รรมที่พ

ทศั นด์ า้ น ประสงคด์ า้ นสิง่ แวดลอ้ มและคณุ ภาพช

ทรัพยากรธรรมชาติ (ดชั นีการตระหนักรดู้ า้ นสงิ่ แวดล้อม)

และสิ่งแวดลอ้ มเพ่ือ

กาหนดอนาคต

ประเทศ

19 ก า ร บ ร ิ ห า ร การพัฒนาการจดั การ ระดบั ความมั่นคงด้านนำ้ อปุ โภคบรโิ ภค

จัดการน้ำทั้ง น้ำเชงิ ลุ่มน้ำท้ังระบบ เพ่มิ ข้นึ

ระบบ เพือ่ เพม่ิ ความมัน่ คง

ด้านน้ำของประเทศ

ระดบั การรบั มือกับพบิ ตั ภิ ัยดา้ นนำ้ เพิ่ม

นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พ้ืนฐาน ความสอดคลอ้ ง
บที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569) ข้อมลู กชช. 2ค.

ขอ้ มูล จปฐ.

พงึ
ชีวิตทด่ี ี

ค ตัวชว้ี ัดที่ 18 ครัวเรือนมนี ำ้ สำหรับ ตัวชี้วัดท่ี 2 น้ำดมื่

บริโภคและอปุ โภคเพยี งพอตลอดปี 2.1 หม่บู า้ น/ชมุ ชนน้ี มีครวั เรือนท่มี นี ้ำ

• 18.1 ครวั เรอื นมนี ำ้ สะอาดสำหรบั ดื่ม สะอาดสำหรบั ดืม่ และบริโภคเพยี งพอ
และบรโิ ภคเพยี งพอตลอดปี อยา่ งนอ้ ยคน ตลอดปี
ตวั ชว้ี ัดที่ 3 น้ำใช้
ละ 5 ลติ รตอ่ วัน หรือไม่
• 18.2 ครวั เรือนมนี ำ้ ใช้เพยี งพอตลอดปี 3.1 หมบู่ า้ น/ชุมชนนี้ มคี รวั เรือนทม่ี นี ้ำ
อยา่ งนอ้ ยคนละ 45 ลติ รตอ่ วนั (ประมาณ ใช้เพียงพอตลอดปี

2 ปบ๊ี ) หรอื ไม่

มขน้ึ ตวั ช้ีวดั ที่ 16 ครวั เรอื นมีการปอ้ งกัน ตัวชว้ี ดั ที่ 43 ความปลอดภยั จากภัย

อุบัตภิ ยั อยา่ งถกู วิธี และมกี ารเตรยี ม พิบัติ

ความพร้อมรบั มือกบั ภยั พบิ ตั ิ 43.6 ในรอบปที ่ผี ่านมา หม่บู า้ น/ชุมชน

• 16.1 ครวั เรอื นมีการป้องกันอบุ ตั ภิ ยั น้ี มกี ารดำเนินกจิ กรรมดา้ นการ
เตรยี มพรอ้ มรับมือกับภยั พบิ ัตหิ รอื ไม่
อย่างถกู วธิ ีหรือไม่

• 16.2 ในรอบปีทผ่ี า่ นมา ครัวเรือน

ประสบอุบตั ภิ ัย หรือไม่

548

ลำดับ ประเด็น เป้าหมาย รายงานฉบบั สมบูรณ์โครงการจดั ท
ระดับหม่บู า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั

ตัวช้วี ดั

เพิ่มผลิตภาพของน้ำ ระดบั ความมัน่ คงดา้ นน้ำในเขตเมืองเพ่ิมขึ้น

ทั้งระบบ ในการใช้น้ำ

อย ่ า งป ร ะ ห ย ั ด รู้

คุณค่า และสร้าง ระดับความมั่นคงด้านน้ำเพื่อการพัฒนา
มูลค่าเพิ่มจากการใช้ เศรษฐกจิ เพ่มิ ข้นึ
น ้ ำ ใ ห ้ ท ั ด เ ท ี ย ม กั บ

ระดับสากล

การอนุรักษ์และฟื้นฟู แม่น้ำลำคลองและแหล่งน้ำธรรมชาติทั่ว

แม่น้ำลำคลองและ ประเทศมีระบบนิเวศและทัศนียภาพที่ดี ม

แหล่งน้ำธรรมชาติทั่ว คณุ ภาพได้มาตรฐานเพิ่มข้ึน

ประเทศ

20 การบรกิ าร การพัฒนาบริการ งานบรกิ ารภาครฐั ท่ีปรับเปลย่ี นเปน็ ดจิ ิทัล

ประชาชนและ ประชาชน เพม่ิ ข้ึน

ประสิทธภิ าพ การบรหิ ารจดั การ หนว่ ยงานภาครัฐบรรลผุ ลสมั ฤทธิ์ตาม
ภาครัฐ การเงินการคลงั เป้าหมายยทุ ธศาสตร์

549

ทำเครื่องช้วี ัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเป็นพ้ืนฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพน้ื ฐาน
บใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ความสอดคลอ้ ง

ข้อมลู จปฐ. ข้อมูล กชช. 2ค.

• 16.3 ในรอบปีท่ีผ่านมา มสี มาชิก

ครวั เรือนเสียชวี ติ หรือสญู หายจากอุบตั ภิ ยั

หรือไม่

• 16.4 ครัวเรอื นมกี ารเตรียมความความ

พร้อมรบั มอื กบั ภยั พิบตั ิ

• 16.7 ในรอบปีทีผ่ ่านมา มคี นใน

ครวั เรือนมเี ด็กอายตุ ำ่ กวา่ 12 ปี ได้รับ

อุบัตเิ หตุทางนำ้ จนเสยี ชีวิตหรือไม่

ตัวช้วี ัดท่ี 3 น้ำใช้

3.1 หมู่บา้ น/ชมุ ชนนี้ มีครวั เรอื นที่มนี ำ้

ใช้เพยี งพอตลอดปี




มี

รายงานฉบบั สมบูรณโ์ ครงการจัดทำเครอ่ื งชีว้ ัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพืน้
ระดบั หม่บู า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั

ลำดับ ประเดน็ เป้าหมาย ตัวชีว้ ดั

การปรับสมดลุ ภาครัฐ เปดิ โอกาสให้ภาคสว่ นตา่ ง ๆ มสี ่วนรว่ ม
การจดั บริการสาธารณะและกิจกรรม
สาธารณะอยา่ งเหมาะสม

องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ มีสมรรถนะ
ทันสมัยในการจดั บรกิ ารสาธารณะและ
กจิ กรรมสาธารณะให้กบั ประชาชน

การพฒั นาระบบ ภาครฐั มขี ดี สมรรถนะสงู เทียบเท่า
บรหิ ารงานภาครัฐ มาตรฐานสากลและมีความคล่องตัว

การสรา้ งและพัฒนา บคุ ลากรภาครฐั ยึดคา่ นยิ มในการทำงาน
บุคลากรภาครัฐ ประชาชน ยึดหลกั คุณธรรม จริยธรรม
จิตสำนกึ มคี วามสามารถสงู มงุ่ มนั่ แล
มอื อาชีพ

21 การต่อตา้ น การป้องกนั การทจุ รติ ประชาชนมวี ัฒนธรรมและพฤตกิ รรมซ
การทุจรติ และประพฤติมิชอบ สจุ ริต
และประพฤติ
มชิ อบ

นฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพืน้ ฐาน ความสอดคลอ้ ง
บที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)
ข้อมูล กชช. 2ค.
ขอ้ มูล จปฐ.
มใน ตัวช้วี ัดท่ี 8 ศนู ย์พัฒนาเด็กเล็ก8.2.5
ดา้ นการมสี ว่ นรว่ ม และสง่ เสริมสนับสนุน
ะและ 1) สนบั สนนุ ใหค้ รอบครวั ชมุ ชน และ
ะ หนว่ ยงานท่ีเก่ียวขอ้ งในพื้นท่เี ขา้ มามี
สว่ นร่วมในการดำเนนิ งานของศนู ยฯ์

ตัวชี้วดั ที่ 10 พืน้ ทส่ี าธารณะสเี ขียว
และพ้นื ท่สี าธารณะประโยชน์
10.1.6 เปดิ โอกาสให้คนในหมูบ่ า้ น /
ชุมชน มีสว่ นร่วมบำรงุ รกั ษาพ้ืนที่
สาธารณะสเี ขยี วหรอื ไม่

นเพอื่ ตัวชวี้ ัดท่ี 17 ครวั เรอื นมีความปลอดภยั ตัวช้วี ดั ท่ี 34 ความปลอดภยั ของ
มี ในชวี ิตและทรพั ย์สนิ หมู่บ้าน/ชมุ ชน
ละเป็น • 17.6 ในกรณที ค่ี รัวเรอื นได้รบั ผลกระทบ 34.2 ความปลอดภยั ของหมบู่ ้าน/
ชุมชน
จากการกอ่ อาชญากรรม ครวั เรือนมคี วาม 34.2.3 ในรอบปีท่ผี ่านมา หมู่บ้าน/
ม่นั ใจและเชื่อมนั่ ในการปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ีของ ชมุ ชนน้ี ไมม่ ีคนถูกประทษุ รา้ ยตอ่ ทรพั ย์
เจา้ หน้าทจี่ ากหนว่ ยงานของรฐั หรือไม่

ซื่อสัตย์

550

รายงานฉบบั สมบูรณ์โครงการจัดท
ระดบั หมูบ่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั

ลำดบั ประเดน็ เป้าหมาย ตวั ชว้ี ัด

คดที จุ ริตและประพฤตมิ ิชอบลดลง

การปราบปรามการ การดำเนินคดที ุจรติ มีความรวดเรว็ เป็นธรรม

ทุจริต โปร่งใส ไม่เลอื กปฏบิ ตั ิ

22 กฎหมายและ การพฒั นากฎหมาย กฎหมายไมเ่ ปน็ อุปสรรคต่อการพฒั นา

กระบวนการ ภาครัฐและภาคเอกชนอยู่ภายใตก้ รอบ

ยุตธิ รรม กฎหมาย ท่มี ุ่งใหป้ ระชาชนในวงกว้างไดร้ บั

ประโยชน์จากการพฒั นาประเทศโดยทั่วถงึ

การปฏบิ ตั ติ ามและการบังคบั ใชก้ ฎหมายมี

ความคมุ้ คา่ ทางเศรษฐกิจ ทวั่ ถึงไมเ่ ลอื ก

ปฏบิ ตั ิ และเป็นธรรม

ประชาชนมีสว่ นรว่ มในการพฒั นากฎหมาย

การพฒั นา การอำนวยความยตุ ธิ รรมมีความโปร่งใส

กระบวนการยตุ ธิ รรม สะดวก รวดเรว็ เสมอภาค ทว่ั ถึง เปน็ ธรรม

และปราศจากการเลอื กปฏิบตั ิ

551

ทำเครอ่ื งชีว้ ัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพนื้ ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพน้ื ฐาน
บใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ความสอดคลอ้ ง

ข้อมลู จปฐ. ข้อมลู กชช. 2ค.



ตวั ชีว้ ัดท่ี 33 การมสี ว่ นรว่ มของชุมชน
33.2.5 หม่บู ้าน/ชมุ ชนนี้ มกี ารตงั้ กฎ
กตกิ าของหมบู่ า้ นท่ผี า่ นการประชาคม
แล้ว หรอื ไม่
33.2.6 จำนวนครัวเรอื นทป่ี ฏิบตั ติ าม
กฎกติกาของหมู่บ้าน/ชมุ ชน

ตวั ชี้วดั ท่ี 17 ครวั เรอื นมีความปลอดภัย
ในชวี ิตและทรัพย์สิน

• 17.6 ในกรณที คี่ รัวเรือนไดร้ ับ
ผลกระทบจากการกอ่ อาชญากรรม
ครัวเรือนมคี วามม่นั ใจและเชือ่ มั่นในการ
ปฏบิ ตั ิหนา้ ที่ของเจา้ หน้าที่จากหนว่ ยงาน
ของรัฐหรอื ไม่

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเคร่อื งชว้ี ดั และแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พ้ืน
ระดบั หมูบ่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ช่วงแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั

ลำดบั ประเด็น เป้าหมาย ตวั ชีว้ ดั

23 การวจิ ยั และ การวจิ ยั และพฒั นา ภาคอุตสาหกรรมการผลติ และบรกิ าร ส
พฒั นา
นวัตกรรม นวตั กรรมดา้ น มูลคา่ เพม่ิ สูงขนึ้ จากการวิจัยและนวตั ก

เศรษฐกจิ ส่งผลใหเ้ กิดการขยายตวั เพมิ่ ขนึ้ จากปัจ

การวิจยั และพัฒนา คุณภาพชวี ิต ศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย

นวตั กรรมดา้ นสังคม ความเสมอภาคทางสังคมไดร้ ับการยกร

เพมิ่ ขน้ึ จากผลการวจิ ยั และพัฒนานวัต

เชิงสังคม

การวจิ ยั และพฒั นา การประยกุ ตใ์ ชค้ วามรเู้ ทคโนโลยแี ละ

นวตั กรรมดา้ น นวตั กรรมในการเพมิ่ มลู คา่ ของเศรษฐก

สิ่งแวดล้อม เขยี วอย่างยั่งยืนเพม่ิ ขึ้น

การวจิ ยั และพฒั นา ความก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยชี วี ภาพ

นวัตกรรมด้านองค์ เทคโนโลยีวสั ดุ นาโนเทคโนโลยี และ

ความร้พู นื้ ฐาน เทคโนโลยีดจิ ิทลั

ด้านปัจจัยสนับสนุน โครงสรา้ งพื้นฐานวิทยาศาสตร์และ

ในการวิจยั และพัฒนา เทคโนโลยีสมัยใหมท่ ่ีจาเป็นต่อการพฒั

นวตั กรรม ประเทศเพมิ่ ขน้ึ

สดั สว่ นการลงทุนวิจัยและพัฒนาของ

ภาคเอกชนตอ่ ภาครัฐเพ่ิมข้นึ

นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พื้นฐาน
บท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ขอ้ มูล จปฐ. ความสอดคลอ้ ง
ข้อมลู กชช. 2ค.

สร้าง
กรรม
จจบุ ัน

ย์ และ
ระดับ
ตกรรม

กิจสี

ฒนา

552

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจดั ทำเครื่องชีว้ ดั และแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเป็นพนื้ ฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพน้ื ฐาน
ระดับหมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ภาคผนวก จ.
รายงานการประชุมคณะทำงานจัดทำเครอื่ งชวี้ ัดและแบบสอบถาม
ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พน้ื ฐานระดับหมบู่ า้ น
(กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ่วงแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ

ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

553

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเคร่อื งชีว้ ัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพน้ื ฐาน
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

554

รายงานฉบบั สมบูรณโ์ ครงการจัดทำเครื่องชี้วดั และแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเป็นพืน้ ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพ้นื ฐาน
ระดับหมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ช่วงแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

รายงานการประชมุ

คณะทำงานจัดทำเครือ่ งชี้วัดและแบบสอบถามข้อมลู ความจำเปน็ พน้ื ฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พน้ื ฐาน

ระดบั หมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

วนั พฤหัสบดีท่ี 13 พฤษภาคม 2564 เวลา 09.30 – 16.30 น.

ณ ศูนย์ข้อมูลกลางเพื่อการตดั สนิ ใจ (War Room) ชัน้ 5 กรมการพัฒนาชุมชน

อาคารรฐั ประศาสนภักดี (อาคารบี) ศูนยร์ าชการเฉลมิ พระเกียรติฯ

ถนนแจง้ วฒั นะ แขวงทุ่งสองหอ้ ง เขตหลักสี่ กรงุ เทพฯ

และรูปแบบออนไลน์ดว้ ยโปรแกรม ZOOM

รายช่ือผเู้ ข้ารว่ มประชุม

ลำดับ ชื่อ - สกุล ตำแหนง่ หนว่ ยงาน

1 นางสาวจนิ างคก์ ูร โรจนนนั ต์ รองเลขาธิการ สศช. (หวั หน้าคณะทำงาน) สภาพัฒนาการเศรษฐกจิ
และสงั คมแห่งชาติ

2 นายชาญชัย แพทอง นักวิเคราะหน์ โยบายและแผนชำนาญการ กระทรวงเกษตรและ
พเิ ศษ สหกรณ์

3 นางสาววันวสิ า คุณยศยิ่ง นักวเิ คราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ กระทรวงเกษตรและ

พิเศษ สหกรณ์

4 นายแพทยภ์ ูษติ ประคองสาย รกั ษาการนายแพทยผ์ ทู้ รงคณุ วฒุ ดิ า้ นส่งเสรมิ กระทรวงสาธารณสุข
สุขภาพ

5 นางพชรวรรณ รัฐขจร นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ กระทรวงศกึ ษาธิการ

6 นายพงศ์นคร โภชากรณ์ ผ้อู ำนวยการสว่ นการวเิ คราะห์เศรษฐกิจมห กระทรวงการคลัง
ภาค

7 นายนฤบดนิ ทร์ วุฒิวรรณ ผอู้ ำนวยการกองยุทธศาสตรแ์ ละแผนงาน กระทรวงอตุ สาหกรรม

8 นายวนั ชยั อาจกมล ผู้อำนวยการกองบริหารการพาณชิ ย์ภูมภิ าค กระทรวงพาณชิ ย์

9 นางรษกิ า ชาญณรงค์ ผู้เช่ียวชาญดา้ นนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงแรงงาน

10 นางปิยนาฎ เสงย่ี มศักดิ์ นักสงั คมสงเคราะห์ชำนาญการพเิ ศษ กระทรวงการพัฒนาสังคม
และความมน่ั คงของมนษุ ย์

11 นางสาวพชั รศรี ศรีเมือง ผอู้ ำนวยการกองยุทธศาสตร์และแผนงาน กระทรวงยุตธิ รรม

12 นางรชั นิกร ดารกมาศ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ กระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ

สิ่งแวดลอ้ ม

13 นางสาวนพมาศ บวั วิชยั ศลิ ป์ นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ กระทรวงพลงั งาน

14 นางสาวผกาวดี เมอื งมลู นักวิเคราะหน์ โยบายและแผนปฏบิ ัตกิ าร กระทรวงการทอ่ งเทีย่ ว
และกีฬา

15 นางสาวภทั ริน ศรตุ พิ นั ธ์ วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ กระทรวงคมนาคม

16 นางพัชรนนั ท์ แก้วจินดา ผู้อำนวยการกล่มุ ป.ย.ป.กองยทุ ธศาสตรแ์ ละ กระทรวงวัฒนธรรม
แผนงาน

555

รายงานฉบับสมบรู ณโ์ ครงการจดั ทำเครื่องช้ีวดั และแบบสอบถามข้อมูลความจำเปน็ พ้นื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พนื้ ฐาน
ระดับหมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ลำดับ ชอื่ - สกลุ ตำแหน่ง หนว่ ยงาน
17 นางสาวรัตนา จรญู ศกั ดิ์สทิ ธ์ิ นักวชิ าการคอมพิวเตอร์ชำนาญการพิเศษ
18 นายกติ ตภิ ตั เทียมทนั กฤต กระทรวงดิจทิ ลั เพอ่ื
19 นางสาวกรณั ฐว์ รัตน์ แกว้ ศรี นกั วิชาการคอมพิวเตอรป์ ฏบิ ัตกิ าร เศรษฐกจิ และสงั คม
กระทรวงดจิ ิทลั เพื่อ
งาม นกั วิชาการสถิติชำนาญการพเิ ศษ เศรษฐกจิ และสังคม
20 นายณัฐวชั ร์ วรนพกลุ สำนักงานสถติ ิแห่งชาติ
21 นายเฉลมิ ราช จติ รเจรญิ พร
รองผอู้ ำนวยการสำนักงานพฒั นารัฐบาลดิจิทัล สำนักงานพฒั นารัฐบาล
22 ดร.อานนท์ แปลงประสพโชค
ดิจิทัล
23 นางมง่ิ ขวัญ กนั ธา
นักวิชาการนโยบายและแผนปฏิบตั ิการ สำนกั งานคณะกรรมการ
24 นางบวรรัตน์ ศกุ ระกาญจน์
25 นางจรยิ า ชุมพงศ์ ระดบั สูง (นนผ. ก1) กจิ การกระจายเสียง
26 นางสาวฉตั ราภรณ์ แกว้ ยนต์
27 นายชำนาญ มีขำ กจิ การโทรทัศน์และกิจการ
28 นางสาวจนั ทนา เบญจทรัพย์
29 พนั ตำรวจเอกณรงค์ เอ่ยี มระ โทรคมนาคมแห่งชาติ

หงษ์ นักวจิ ยั ศูนยเ์ ทคโนโลยี
30 พันเอกหญงิ ฐติ ิมา ศิวาดำรงค์
31 นายสำเริง ภมู โิ คกรักษ์ อเิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ ละ

32 นายนวิ ัติ น้อยผาง คอมพิวเตอรแ์ ห่งชาติ
33 นางสาวทิพพรรณ ไชยูปถมั ภ์
หวั หนา้ ฝา่ ยความมั่นคงทางสังคม สำนักงานพัฒนา

เทคโนโลยีอวกาศ

และภมู ิสารสนเทศ

นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักงานทรัพยากรนำ้

พิเศษ แหง่ ชาติ

ผู้เชย่ี วชาญเฉพาะดา้ นนโยบายและ สำนกั งานปลัดกระทรวง

ยุทธศาสตร์ มหาดไทย

ผูอ้ ำนวยการสว่ นนโยบายและยุทธศาสตร์ กรมป้องกนั และบรรเทา

สาธารณภัย

ผู้อำนวยการกล่มุ งานแผนพฒั นาทอ้ งถ่ิน กรมสง่ เสรมิ การปกครอง

สว่ นท้องถนิ่

ผู้ชว่ ยผอู้ ำนวยการ สถาบันพฒั นาองคก์ ร

ชุมชน(องค์การมหาชน)

ผกู้ ำกบั การกลมุ่ งานวิเคราะหแ์ ละประเมนิ ผล สำนักงานตำรวจแหง่ ชาติ

ผู้ช่วยผอู้ ำนวยการกองขา่ ว หน่วยบญั ชาการทหาร
พัฒนา
รักษาราชการในตำแหน่งผู้เชย่ี วชาญ สำนกั งานคณะกรรมการ
สำนักยุทธศาสตร์ ป้องกันและปราบปรามยา
เสพติด
รองอธบิ ดกี รมการพฒั นาชมุ ชน กรมการพัฒนาชมุ ชน
ผ้อู ำนวยการศนู ย์สารสนเทศเพื่อการพฒั นา
ชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน

556

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจดั ทำเครื่องชีว้ ดั และแบบสอบถามข้อมลู ความจำเปน็ พื้นฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพืน้ ฐาน
ระดบั หม่บู า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ลำดบั ชื่อ - สกลุ ตำแหน่ง หนว่ ยงาน
34 นางสาวมนตท์ พิ ย์ สมั พันธวงศ์ ผอู้ ำนวยการกองพฒั นาขอ้ มูลและตัวชวี้ ัด สำนักงานคณะกรรมการ
สังคม (กขส.) พัฒนาการเศรษฐกจิ และ
34 นางสุพัณณดา เลาหชัย สงั คมแห่งชาติ (สศช.)
นักวเิ คราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนกั งานคณะกรรมการ
35 นายชัยวัฒน์ แสงศรี พเิ ศษกองพฒั นาข้อมลู และตัวช้วี ัดสังคม พฒั นาการเศรษฐกจิ และ
36 นายชยั ทวัตน์ ดำศรสี วัสด์ิ สงั คมแห่งชาติ (สศช.)
ผู้ตรวจราชการกรมการพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
37 นายสุรศกั ด์ิ แหล่งกลา้ ผู้อำนวยการกลุม่ งานบรหิ ารการจดั เก็บข้อมูล กรมการพัฒนาชมุ ชน
38 ดร.สรฤทธ จันสขุ การพฒั นาชุมชน
39 นางสาวกชพร มณีฝ้นั ผ้อู ำนวยการกลมุ่ งานส่งเสรมิ สมั มาชพี ชมุ ชน กรมการพฒั นาชุมชน
40 นางณัฏฐ์พิชญา แหวนสงู เนิน ผ้อู ำนวยการกลมุ่ งานประเมนิ ผล กรมการพัฒนาชุมชน
41 นายอดศิ กั ดิ์ แหวนสงู เนนิ นักวิชาการพฒั นาชุมชนชำนาญการ กรมการพัฒนาชุมชน
42 นายนนั ทวฒุ ิ เนยี มสินธุ์ นกั วชิ าการพัฒนาชมุ ชนชำนาญการ กรมการพัฒนาชมุ ชน
43 นายเอกสิทธิ์ จนั ทร์วัฒนะ นกั วิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ กรมการพฒั นาชมุ ชน
44 ผศ.รณรงค์ จนั ใด นักวิชาการพฒั นาชมุ ชนชำนาญการ กรมการพัฒนาชมุ ชน
45 อาจารย์ ดร.กาญจนา รอด นักวิชาการพัฒนาชมุ ชนชำนาญการ กรมการพัฒนาชุมชน
หวั หนา้ โครงการฯ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
แก้ว นักวิจยั มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
46 นางสาววิปศั ยา โพธิบุตร
47 นางสาวกญั ญารตั น์ สุโกพันธ์ ผู้ชว่ ยนักวิจัย มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
ผู้ช่วยนกั วิจัย มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

557

รายงานฉบับสมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเครือ่ งชวี้ ดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพน้ื ฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พ้ืนฐาน
ระดบั หมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ระเบยี บวาระท่ี 1 เร่อื งทีป่ ระธานแจง้ ให้ทปี่ ระชุมทราบ

นางสาวจินางค์กูร โรจนนันต์ รองเลขาธิการ สศช. สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ (ประธานคณะทำงาน) พร้อมด้วยนางสาวมนต์ทิพย์ สัมพันธวงศ์ ผู้อำนวยการกองพัฒนาข้อมลู
และตัวชี้วัดสังคม (กขส.)สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ได้
เข้าร่วมการประชมุ โดยวธิ กี ารวดิ ีโอคอนเฟอเรนซ์ (Video Conference) ผ่านแอพพลเิ คชั่น Zoom ดงั นี้

นางสาวจนิ างคก์ รู โรจนนันต์ ประธานคณะทำงาน ได้กลา่ วว่า เนอ่ื งในวนั น้ีเปน็ การรับฟังผล
ของการจัดทำตัวชี้วัดข้อมูล จปฐ. และ กชช.2 ค หลังจากดูแนวคิดจากทั้ง 2 ตัวชี้วัดแล้ว หากมี
การปรับแก้ตัวชี้วัดให้ถูกต้องและเป็นปัจจุบันได้นั้น จะเป็นประโยชน์อย่างมากในการเห็นภาพของ
การพัฒนาในทุกพื้นที่ และสามารถนำมาเปรียบเทียบกันได้ จึงขอความร่วมมือของทุกท่านร่วมกัน
พิจารณา เนื่องจากข้อมูลดังกล่าวจะส่งผลกระทบต่อทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้สามารถนำไปใช้
ประโยชน์ได้ตอ่ ไป และได้มอบหมายให้ นายนิวตั ิ น้อยผาง รองอธบิ ดกี รมการพัฒนาชุมชน ทำหน้าที่เป็น
ประธานในการประชมุ คร้งั น้ี

ระเบียบวาระท่ี 2 เร่ืองเสนอให้ท่ปี ระชุมทราบ

รายงานความก้าวหน้าโครงการจัดทำเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็น
พื้นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พน้ื ฐานระดับหมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 – 2569)

หลกั การและเหตุผล
ตามท่ีกระทรวงมหาดไทยได้มีคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานปรับปรุงเครื่องชี้วัดคุณภาพชีวิตของ
ประชาชน ทั้งนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กรมการพัฒนาชุมชน ได้จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพ่ือ
พิจารณาร่างเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูล จปฐ. และ กชช. 2ค กลุ่มเป้าหมายคือ คณะทำงาน
ปรับปรุงเครื่องชี้วัดคุณภาพชีวิตของประชาชน เพื่อเตรียมพร้อมต่อกระบวนการสร้างความเชื่อมั่น
(Reliability) ตามหลักวิชาการทางสถิติ และทดสอบการจัดเกบ็ ดว้ ยความสำคัญดังกลา่ ว กรมการพัฒนา
ชุมชน จึงได้จัดทำโครงการจัดทำเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และ
ขอ้ มูลพืน้ ฐานระดับหมูบ่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ช่วงแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 13
(พ.ศ. 2565 - 2569) วัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ออกแบบเครื่องชี้วัด เกณฑ์ชี้วัดและข้อคำถามสำหรับ
จัดเก็บข้อมูล จปฐ. และข้อมูล กชช. ๒ค วิเคราะห์แนวโน้มการพัฒนาคุณภาพชีวิต แนวทางควบคุม
คุณภาพการจัดเก็บข้อมูล และรูปแบบการรายงานด้วยระบบสารสนเทศที่รองรับความต้องการของ
ทุกภาคส่วน
สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งมีภารกิ จใน
การใหบ้ รกิ ารดำเนินโครงการตา่ ง ๆ ใหส้ ำเร็จบรรลุเปา้ หมาย สร้างความพึงพอใจแกผ่ รู้ ับบริการ และเป็น
สว่ นหน่งึ ในการช่วยสนับสนุนมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ไปสู่เป้าหมายในการสร้างผู้นำ ดว้ ยการศึกษาและ
การวิจัยระดับนานาชาติ โดยเฉพาะด้านการวางแผนพัฒนา และการบริการทางวิชาการแกส่ ังคมในดา้ น
การพฒั นาชมุ ชน อกี ทั้งยังมีบุคลากรที่มีความเชีย่ วชาญมีความรู้ ประสบการณ์และผลงานมีการศึกษาวิจัยเป็นท่ี

558


Click to View FlipBook Version