The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การพัฒนาเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพื้นฐาน
ระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) เป็นเครื่องมือในการวางแผนพัฒนาให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ และจะมีการปรับปรุงทุก ๆ 5 ปี ในปี พ.ศ. 2565 เป็นปีเริ่มต้นของแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (2565 - 2569) จึงมีความจำเป็นต้องใช้เครื่องชี้วัด เกณฑ์ชี้วัดและ
แบบสอบถามชุดใหม่สำหรับจัดเก็บข้อมูล จปฐ. และข้อมูล กชช. 2ค ให้สอดคล้องกับเป้าหมาย
การพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) และแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561 – 2580) และการควบคุม
คุณภาพการจัดเก็บข้อมูลและรูปแบบการรายงานด้วยระบบสารสนเทศที่รองรับความต้องการของทุก
ภาคส่วน การศึกษาครั้งนี้มีวิธีศึกษาจากการวิเคราะห์ประมวลผลจากการสอบถามความคิดเห็นผู้ใช้ข้อมูล
จปฐ. และข้อมูล กชช. 2ค เกี่ยวกับปัญหาและความต้องการของผู้ใช้ข้อมูล (ส่วนภูมิภาค) กระจายตาม
ภูมิภาค จำนวน 8 จังหวัด จังหวัดละ 5 หน่วยงาน รวม 40 หน่วยงาน และการวิเคราะห์ประมวลผลจาก
ประชุมรับฟังความคิดเห็นของคณะทำงานปรับปรุงเครื่องชี้วัดคุณภาพชีวิตของประชาชน และ
คณะกรรมการอำนวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน (พชช.)
ผลการศึกษา พบว่า การใช้แบบสอบถามข้อมูล จปฐ. และแบบสอบถามข้อมูล กชช. 2ค
สำหรับใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ปรับระยะเวลาการเริ่มใช้ให้สอดคล้อง
กับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 13 และแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี จึงเริ่มใช้ระหว่าง
พ.ศ.2566 – 2570 เครื่องชี้วัดข้อมูล จปฐ. ที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูลช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติฉบับที่ 13 ( พ.ศ.2566 - พ.ศ. 2570) ประกอบด้วย 5 หมวด 38 ตัวชี้วัด ได้แก่ หมวดที่ 1
สุขภาพ มี 12 ตัวชี้วัด หมวดที่ 2 มาตรฐานความเป็นอยู่ มี 9 ตัวชี้วัด หมวดที่ 3 การศึกษา มี 5 ตัวชี้วัด
หมวดที่ 4 เศรษฐกิจ มี 4 ตัวชี้วัด และหมวดที่ 5 การคุ้มครองทางสังคมและการมีส่วนร่วม มี 8 ตัวชี้วัด
และเครื่องชี้วัดข้อมูล กชช. 2ค สำหรับใช้ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13
(พ.ศ. 2566 - 2570) ประกอบด้วย 7 หมวด 44 ตัวชี้วัด ดังนี้ หมวดที่ 1 โครงสร้างพื้นฐาน มี 10
ตัวชี้วัด หมวดที่ 2 สภาพพื้นฐานทางเศรษฐกิจ มี 10 ตัวชี้วัด หมวดที่ 3 สุขภาวะและอนามัย มี 7
ตัวชี้วัด หมวดที่ 4 ความรู้และการศึกษา มี 4 ตัวชี้วัด หมวดที่ 5 การมีส่วนร่วมและความเข้มแข็ง
ของชุมชน มี 5 ตัวชี้วัด หมวดที่ 6 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มี 5 ตัวชี้วัด และหมวดที่ 7
ความเสี่ยงของชุมชนและภัยพิบัติ มี 3 ตัวชี้วัด สำหรับกลไกและกระบวนการบริหารจัดเก็บข้อมูลให้มี
คุณภาพ ต้องมีกลไกควบคุมคุณภาพในทุกระดับ ดังนี้ คณะกรรมการอำนวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิต
ของประชาชน (พชช.) คณะทำงานบริหารการจัดเก็บข้อมูลฯ ระดับจังหวัด คณะทำงานบริหารการจัดเก็บ
ข้อมูลฯ ระดับอำเภอ คณะทำงานบริหารการจัดเก็บข้อมูลฯ ระดับตำบล และคณะผู้จัดเก็บข้อมูลระดับ
หมู่บ้าน โดยมีกระบวนการที่มีคุณภาพ ดังนี้การสร้างความรู้ความเข้าใจ การออกแบบวิธีการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล การบันทึกและประมวลข้อมูล การตรวจทานข้อมูล และการนำเสนอข้อมูลเพื่อการใช้
ประโยชน์ร่วมกันในทุกระดับ ข้อเสนอแนะเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บข้อมูลควรให้คนในชุมชนและ
องค์กรหน่วนงานที่เกี่ยวข้องเห็นความสำคัญในการให้ข้อมูลและการจัดเก็บข้อมูลโดยการสร้างการมี
ส่วนร่วมในการจัดเก็บข้อมูล และควรมีการฝึกอบรมและเพิ่มองค์ความรู้ให้กับผู้จัดเก็บข้อมูลอย่างเข้มข้น
รวมทั้งการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรับทราบถึงระยะเวลาในการจัดเก็บข้อมูลรวมกันทั้งประเทศ

คำสำคัญ: คุณภาพชีวิตประชาชน,ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.),ข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by vasusamran55, 2021-07-01 09:24:14

โครงการจัดทำเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.)และข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) ฉบับที่ 13 (พ.ศ.2565-2569)

การพัฒนาเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพื้นฐาน
ระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) เป็นเครื่องมือในการวางแผนพัฒนาให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ และจะมีการปรับปรุงทุก ๆ 5 ปี ในปี พ.ศ. 2565 เป็นปีเริ่มต้นของแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (2565 - 2569) จึงมีความจำเป็นต้องใช้เครื่องชี้วัด เกณฑ์ชี้วัดและ
แบบสอบถามชุดใหม่สำหรับจัดเก็บข้อมูล จปฐ. และข้อมูล กชช. 2ค ให้สอดคล้องกับเป้าหมาย
การพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) และแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561 – 2580) และการควบคุม
คุณภาพการจัดเก็บข้อมูลและรูปแบบการรายงานด้วยระบบสารสนเทศที่รองรับความต้องการของทุก
ภาคส่วน การศึกษาครั้งนี้มีวิธีศึกษาจากการวิเคราะห์ประมวลผลจากการสอบถามความคิดเห็นผู้ใช้ข้อมูล
จปฐ. และข้อมูล กชช. 2ค เกี่ยวกับปัญหาและความต้องการของผู้ใช้ข้อมูล (ส่วนภูมิภาค) กระจายตาม
ภูมิภาค จำนวน 8 จังหวัด จังหวัดละ 5 หน่วยงาน รวม 40 หน่วยงาน และการวิเคราะห์ประมวลผลจาก
ประชุมรับฟังความคิดเห็นของคณะทำงานปรับปรุงเครื่องชี้วัดคุณภาพชีวิตของประชาชน และ
คณะกรรมการอำนวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน (พชช.)
ผลการศึกษา พบว่า การใช้แบบสอบถามข้อมูล จปฐ. และแบบสอบถามข้อมูล กชช. 2ค
สำหรับใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ปรับระยะเวลาการเริ่มใช้ให้สอดคล้อง
กับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 13 และแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี จึงเริ่มใช้ระหว่าง
พ.ศ.2566 – 2570 เครื่องชี้วัดข้อมูล จปฐ. ที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูลช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติฉบับที่ 13 ( พ.ศ.2566 - พ.ศ. 2570) ประกอบด้วย 5 หมวด 38 ตัวชี้วัด ได้แก่ หมวดที่ 1
สุขภาพ มี 12 ตัวชี้วัด หมวดที่ 2 มาตรฐานความเป็นอยู่ มี 9 ตัวชี้วัด หมวดที่ 3 การศึกษา มี 5 ตัวชี้วัด
หมวดที่ 4 เศรษฐกิจ มี 4 ตัวชี้วัด และหมวดที่ 5 การคุ้มครองทางสังคมและการมีส่วนร่วม มี 8 ตัวชี้วัด
และเครื่องชี้วัดข้อมูล กชช. 2ค สำหรับใช้ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13
(พ.ศ. 2566 - 2570) ประกอบด้วย 7 หมวด 44 ตัวชี้วัด ดังนี้ หมวดที่ 1 โครงสร้างพื้นฐาน มี 10
ตัวชี้วัด หมวดที่ 2 สภาพพื้นฐานทางเศรษฐกิจ มี 10 ตัวชี้วัด หมวดที่ 3 สุขภาวะและอนามัย มี 7
ตัวชี้วัด หมวดที่ 4 ความรู้และการศึกษา มี 4 ตัวชี้วัด หมวดที่ 5 การมีส่วนร่วมและความเข้มแข็ง
ของชุมชน มี 5 ตัวชี้วัด หมวดที่ 6 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มี 5 ตัวชี้วัด และหมวดที่ 7
ความเสี่ยงของชุมชนและภัยพิบัติ มี 3 ตัวชี้วัด สำหรับกลไกและกระบวนการบริหารจัดเก็บข้อมูลให้มี
คุณภาพ ต้องมีกลไกควบคุมคุณภาพในทุกระดับ ดังนี้ คณะกรรมการอำนวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิต
ของประชาชน (พชช.) คณะทำงานบริหารการจัดเก็บข้อมูลฯ ระดับจังหวัด คณะทำงานบริหารการจัดเก็บ
ข้อมูลฯ ระดับอำเภอ คณะทำงานบริหารการจัดเก็บข้อมูลฯ ระดับตำบล และคณะผู้จัดเก็บข้อมูลระดับ
หมู่บ้าน โดยมีกระบวนการที่มีคุณภาพ ดังนี้การสร้างความรู้ความเข้าใจ การออกแบบวิธีการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล การบันทึกและประมวลข้อมูล การตรวจทานข้อมูล และการนำเสนอข้อมูลเพื่อการใช้
ประโยชน์ร่วมกันในทุกระดับ ข้อเสนอแนะเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บข้อมูลควรให้คนในชุมชนและ
องค์กรหน่วนงานที่เกี่ยวข้องเห็นความสำคัญในการให้ข้อมูลและการจัดเก็บข้อมูลโดยการสร้างการมี
ส่วนร่วมในการจัดเก็บข้อมูล และควรมีการฝึกอบรมและเพิ่มองค์ความรู้ให้กับผู้จัดเก็บข้อมูลอย่างเข้มข้น
รวมทั้งการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรับทราบถึงระยะเวลาในการจัดเก็บข้อมูลรวมกันทั้งประเทศ

คำสำคัญ: คุณภาพชีวิตประชาชน,ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.),ข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค)

รายงานฉบับสมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเครื่องชว้ี ดั และแบบสอบถามข้อมูลความจำเปน็ พื้นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพืน้ ฐาน
ระดับหมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ข้ันตอนท่ี กลไกขับเคลอ่ื น ขอ้ เสนอกระบวนการ กลไกสนับสนนุ ระยะเวลา2
12 สำนักงานพฒั นา มนี าคม
คณะทำงานบรหิ าร 5. วางแผนการพัฒนาหมบู่ า้ น ชมุ ชนอำเภอ เมษายน
13 การจดั เก็บขอ้ มลู ฯ ชนบทในตัวชว้ี ดั ทตี่ กเกณฑ์
ระดับอำเภอ ระดับตำบล สำนกั งานพฒั นา
14 ชมุ ชนจงั หวดั
คณะทำงานบริหาร 1. จดั เวทีนำเสนอขอ้ มลู พน้ื ฐาน
การจดั เกบ็ ข้อมลู ฯ ระดับหมู่บา้ น (กชช.2ค) กรมการพัฒนา
ระดับจงั หวัด ประจำปี ระดบั อำเภอ ชุมชน

คณะกรรมการ 2. จัดกระบวนการรบั รองขอ้ มูล
อำนวยการงานพฒั นา ระดับอำเภอ
คณุ ภาพชวี ิตของ
ประชาชน (พชช.) 3. จดั ทำรายงานการพฒั นา
หมบู่ ้านชนบทไทยระดบั อำเภอ

4. สอ่ื สารและประชาสมั พนั ธผ์ า่ น
ช่องทางตา่ งๆ

5. วางแผนการพฒั นาหมบู่ า้ น
ชนบทไทยในตวั ชี้วัดท่ีตกเกณฑ์
ระดับอำเภอ

1. จัดเวทีนำเสนอขอ้ มลู พนื้ ฐาน
ระดับหมู่บ้าน (กชช.2ค)
ประจำปี ระดบั จงั หวดั

2. จดั กระบวนการรับรองขอ้ มูล
ระดับจังหวัด

3. จัดทำรายงานการพฒั นา
หมบู่ ้านชนบทไทยระดับจังหวัด

4. สอ่ื สารและประชาสมั พนั ธผ์ า่ น
ช่องทางตา่ ง ๆ

5. วางแผนการพฒั นาหมบู่ า้ น
ชนบทไทยในตัวชี้วดั ทต่ี กเกณฑ์
ระดบั จังหวัด

1. ให้ความคิดเหน็ และรบั รอง
ข้อมูลพื้นฐานระดบั หมู่บา้ น
(กชช.2ค)

2. จดั ทำรายงานการพัฒนา
หม่บู ้านชนบทไทยประจำปี

3. สอ่ื สารและประชาสัมพนั ธ์ผา่ น
ช่องทางตา่ ง ๆ

4. วางแผนการพฒั นาหมบู่ า้ น
ชนบทไทยในตวั ชี้วดั ทีต่ กเกณฑ์

609

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเครอื่ งชี้วัดและแบบสอบถามข้อมลู ความจำเป็นพน้ื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พนื้ ฐาน
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ช่วงแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ประเด็นพิจารณา ขอให้คณะกรรมการอำนวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน
(พชช.) ได้พจิ ารณาในประเด็นดงั ต่อไปน้ี

ความเหมาะสมของเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูล กชช. 2ค ที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูล
ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาตฉิ บับที่ 13 ( พ.ศ. 2566- พ.ศ. 2570)

1. กลไกและกระบวนการบริหารจดั เก็บขอ้ มูล กชช. 2ค
2. เจ้าภาพตวั ช้ีวัดขอ้ มลู กชช. 2ค ระดบั กระทรวง

ขอ้ คดิ เห็นคณะกรรมการฯ
รองปลัดกระทรวงมหาดไทย (นายนิรัตน์ พงษ์สิทธิถาวร) ขออนุญาตถามรวมทั้ง 7 หมวด
44 ตัวชี้วัด ว่ามีความเหมาะสมหรือไม่ และหน่วยงานเจ้าภาพสามารถให้คำแนะนำตามภารกิจของ
ตนเอง พร้อมแจ้งตัวชี้วดั และอธิบายเหตุผลประกอบ
ผู้แทนกระทรวงวัฒนธรรม (นางพนารักษ์ คนขยัน ผู้อำนวยการกองแผนและงบประมาณ)
ตัวชี้วัดที่ 35 ศาสนสถาน ศูนย์เรียนรู้ชุมชน และภูมิปัญญาชุมชน ในส่วนนี้ขอเสนอแนะในส่วนของ
หน่วยงานรว่ ม คอื สำนกั งานพระพทุ ธศาสนาแห่งชาติ เนอื่ งจากดแู ลในเรอ่ื งศาสนสถานทีเ่ ปน็ ศาสนาพุทธ
รองปลัดกระทรวงมหาดไทย (นายนิรตั น์ พงษ์สิทธถิ าวร) ไดม้ กี ารทวนคำตอบ ให้สำนักงาน
พระพุทธศาสนาแห่งชาติ มาเป็นหน่วยงานร่วมต่อจากกระทรวงมหาดไทย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม
ผแู้ ทนกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกจิ และสังคม (นางหทยั ชนก ชินอปุ ราวัฒน์ ผู้อำนวยการ
กองสถติ ิพยากรณ์) ในสว่ นตวั ชี้วัดที่ 7 การติดต่อสอื่ สาร ข้อมลู บางตวั เช่น ครัวเรือนที่มีโทรศพั ท์เคลื่อนท่ี
(โทรศัพท์มอื ถือ) จะถูกนำข้อมลู มาจากข้อมูล จปฐ. หรอื ไม่ ซง่ึ ไมเ่ ฉพาะข้อนี้ เพราะมอี ีกหลายข้อที่นำมา
จากข้อมูลรายครวั เรือน
หวั หน้าโครงการฯ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ผู้ช่วยศาสตราจารยร์ ณรงค์ จันใด) ข้อมูลท่ี
มีใน จปฐ.แล้ว จะสามารถดึงออกมาใช้ได้เลย จะไม่มีการเกบ็ ข้อมูลซ้ำ แต่จะเป็นเพียงการนำข้อมูลมาคุย
ตรวจสอบซำ้ ว่าข้อมลู ตัวเลขมคี วามสอดคล้องตรงกับข้อมลู จรงิ ของชุมชนหรือไม่ เนอ่ื งจากการเก็บข้อมูล
กชช. 2ค เป็นการเก็บข้อมูลแบบสนทนากลุ่มกับผู้นำชุมชน และเป็นการตรวจสอบข้อมูลเชิงคุณภาพอกี
ซ้ำอีกครงั้
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน (นายนิวัติ น้อยผาง) ประเด็นที่พูดคล้ายกับประเด็นท่ี
ดร.ยุวัฒน์ ได้กล่าวมา คือจะมองประเด็นภาพรวมของชุมชน/หมู่บ้าน ตำบล และภาพเฉพาะครัวเรือน
ซึ่งข้อมูลทั้งสองส่วนจะมีการนำข้อมูลมาเปรียบเทียบ ตรวจสอบกันได้ ในขณะเดียวกัน หากไม่มี
ความมั่นใจในข้อมูล เราจะมีหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรง ซึ่งเราสามารถประสานขอข้อมูลร่วมกับ
หนว่ ยงานหลักได้ เพื่อประโยชน์ในเชงิ นโยบาย และการแกป้ ัญหาได้
ผ้แู ทนกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม (นางหทยั ชนก ชินอปุ ราวฒั น์ ผู้อำนวยการ
กองสถิติพยากรณ์) ข้อมูลที่เก็บมาจากรายครัวเรือน แล้วมีการประชุมหารือในระดับชุมชน หมู่บ้าน
หากไม่เหน็ ด้วยจากการเก็บข้อมูลทไ่ี ด้จาก จปฐ. จะสามารถแกไ้ ขข้อมูลได้ ใช่หรือไม่ เช่น ยังเก็บข้อมูลได้
ไม่ครบ ครัวเรือนใดที่ยังไม่ข้อมูล สามารถเพิ่มเข้ามา เป็นที่ยอมรับของที่ประชุมกำนัน ผู้ใหญ่บ้านได้
ใช่หรอื ไม่

610

รายงานฉบบั สมบูรณโ์ ครงการจดั ทำเครือ่ งชี้วดั และแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพ้ืนฐาน
ระดับหมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน (นายนิวัติ น้อยผาง) ท้ายที่สุดแล้ว จะผ่านการกรอง และ
รบั รองโดยระบบประชาคม ซ่งึ มี 2 ระดับ คือ 1) ระดบั หมบู่ า้ น และ2) ระดับตำบล

ผู้แทนกระทรวงสาธารณสุข (นายแพทย์ภูษิต ประคองสาย นายแพทย์ผู้ทรงคุณวุฒิด้าน
ส่งเสริมสุขภาพ) ประเด็นตัวชี้วัดเกี่ยวกับสุขภาพ มี 3 ประเด็นที่สำคัญได้แก่ 1) ตัวชี้วัดที่ 21
การป้องกันโรคติดต่อ ข้อมีผู้ป่วยหรือเสียชีวิตจากโรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้โดยวัคซีน หรือไม่
ไม่แน่ใจว่าได้มีการเช็คไว้หรือไม่ว่ามีโรคใดบ้าง เช่น คอตีบ บาดทะยัก โควิด-19 ในปี 2565-2569
ควรจะเชค็ ไวว้ ่าโรคใดบา้ ง คนนำไปเก็บข้อมูลจะสามารถตัดสินใจไดว้ ่าคนในชุมชนมีผู้ที่ป่วยหรือเสียชีวิต
จากโรคติดต่อทีส่ ามารถป้องกันได้โดยวคั ซีน หรือไม่ 2) ตัวชี้วัดที่ 22 การได้รับบริการและดแู ลสุขภาพ
อนามัย เรามีการนิยามการเข้าถึงเป็นอย่างไร อย่างเช่น เมื่อมีคนเจ็บป่วย แล้วเขาสามารถไป
สถานพยาบาลได้โดยไม่มีปัญหา อุปสรรคทั้งในเรื่องของระยะทาง การเดินทาง หรือค่าใช้จ่ายหรือไม่
ซึ่งควรมีการนิยาม “การเข้าถึง” ให้ชัดเจนมากขึ้น และ 3) ตัวชี้วัดท่ี 24 เรื่องสุขภาวะคนพิการและ
ผู้สูงอายุ มีการเข้าถึงประกันสุขภาพและเข้าถึงบริการสุขภาพหรือไม่ ในข้อคำถามว่าหากมีคนพิการหรอื
ผสู้ ูงอายุเขา้ ไม่ถึงบริการประกนั สขุ ภาพ แม้วา่ มี 1 คน ก็จะได้ค่าคะแนนเท่ากับ 1 ซึ่งในเกณฑ์นั้นจะต้อง
เขา้ ถึงทั้ง 100 เปอรเ์ ซน็ ต์ ซงึ่ ไมแ่ น่ใจว่าเรามกี ารใชเ้ กณฑช์ ีว้ ัดท่ีเข้มเกินไปหรือไม่ ทุกชุมชนต้องทำให้ได้
100 เปอร์เซ็นต์จึงจะได้คะแนน หรือเราสามารถทำได้ว่า 90 – 100 เปอร์เซ็นต์ จะได้ 3 คะแนน
น้อยกวา่ 90 เปอรเ์ ซน็ ต์ อาจจะได้ 2 คะแนน หรอื น้อยกว่า 70 เปอร์เซ็นต์ จะได้ 1 คะแนน

ผู้แทนสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (นางสาวดวงกมล วิมลกิจ
ผู้เชยี่ วชาญฯ) มี 3 ประเดน็ ทีส่ ำคญั ไดแ้ ก่ 1) ตัวชีว้ ดั ที่ 27 เป็นเรอ่ื งของการกฬี าและการออกกำลังกาย
สว่ นใหญค่ ำถามใหเ้ ห็นภาพของตัวทล่ี งทนุ ไป มีสถานบริการของชุมชน ยังไมม่ คี วามถ่ีของการเข้าใช้ ว่ามี
การใช้มากน้อยเพียงใด เนื่องจากประโยชนท์ ี่แทจ้ ริงหรอื ประโยชน์ในการนำไปวิเคราะห์นั้น คือการไปใช้
บางทีในชุมชนมีศูนย์ ลานสนามเด็กเล่น แต่ไม่ได้มีการนำไปใช้ ข้อคำถามการไปใช้จะมีประโยชน์ใน
การวิเคราะห์มากกวา่ 2) ตวั ช้ีวดั ที่ 36 การไดร้ ับความคุ้มครองทางสังคม หากเรามีขอ้ มลู ของหมู่บ้านท่ีมี
กองทุนสวัสดิการชมุ ชน และมีการใหส้ วัสดิการชุมชนของหมู่บา้ นน้ัน ๆ มีสวสั ดกิ ารใดบ้าง เชน่ กลมุ่ สัจจะ
กลุ่มฌาปนกิจ กลุ่มอาชีพ กลุ่มเหล่านั้นมีสมาชิกและการให้บริการ เช่น การให้ค่าเดินทางไปรักษาพยาบาล
ค่าทำศพ เป็นต้น ซึ่งเป็นตัวอย่างให้เห็นภาพ ซึ่งจะสะท้อนให้เห็นถึงการจัดสวัสดิการชุมชนเองว่ามี
มากน้อยเพียงใด และ 3) ตัวชี้วัดที่ 43 ความปลอดภัยจากภัยพิบัติ เนื่องจากว่าอยากให้ประเมิน
ความเสียหายเองด้วย เช่น หากว่ามีการประสบอุทกภัย หรือประสบภัยแล้งต่าง ๆ แล้ว เรายังไม่ทราบ
ความมากน้อย อาจจะเจอเหตุการณ์ท่ีเสียหายมาก แต่หากบอกได้ถึงมูลค่าความเสียหาย จะช่วยให้เรา
เหน็ ภาพได้วา่ มีความเสียหายมากนอ้ ยเพียงใด

ผู้แทนกระทรวงแรงงาน (นางสาวอัจฉรา งามสมจิตร ผู้อำนวยการกองยุทธศาสตร์และ
แผนงาน) ในตัวชี้วัดที่ 26 ความปลอดภัยในการทำงาน ข้อ 2.2 กับ 2.3 เนื้อความซ้ำกัน ขอให้ตรวจทาน
ดอู กี รอบ ในคำว่า “บาดเจบ็ จากสถานประกอบการ” ในส่วนของเกณฑก์ ารวเิ คราะหข์ ้อมลู

รองอธบิ ดกี รมการพัฒนาชุมชน (นายนิวตั ิ นอ้ ยผาง) ขออนญุ าตหารือ ประเดน็ ท่ี 1 น้ำเสีย
ซ่งึ เป็นประเดน็ ท่ีหนักในอนาคต เราควรแยกประเด็นออกมาหรือไม่ หรือควรให้อยู่ในประเด็นคุณภาพน้ำ
ตอ่ ไป และประเด็นที่ 2 ขออนุญาตแกไ้ ข หมวดที่ 1 โครงสรา้ งพ้นื ฐาน หมวดท่ี 8 ศูนย์พัฒนาเด็กเลก็ ใน
สว่ นของ จปฐ. เสนอให้ใชค้ ำวา่ สถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัย ซึง่ จะคลอบคลมุ หลายประเภทมากกว่า จึงจะขอ

611

รายงานฉบับสมบูรณโ์ ครงการจัดทำเคร่ืองชี้วัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พน้ื ฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พ้นื ฐาน
ระดับหมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

เสนอให้เปลี่ยนจากคำว่าศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เป็น “สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย” ซึ่งในส่วนหน่วยงาน
รบั ผิดชอบกจ็ ะแตกตา่ งกันออกไป

รองปลัดกระทรวงมหาดไทย (นายนิรัตน์ พงษ์สิทธิถาวร) สำหรับเครื่องชี้วัดและ
แบบสอบถามขอ้ มลู กชช. 2ค ท่ใี ชใ้ นการจัดเกบ็ ข้อมลู ช่วงแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติฉบับที่
13 ได้มีการแสดงความคิดเห็นเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ที่ประชุมมีมติเห็นชอบ ทั้งนี้ขอให้คณะทำงาน
มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์รบั คำแนะนำดังกล่าวไปพิจารณาปรับปรุงแก้ไขต่อไป

มติทปี่ ระชมุ
เห็นชอบร่างเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูล กชช. 2ค ทั้ง 7 หมวด 44 ตัวชี้วัด ทั้งน้ี

ขอให้คณะทำงานมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์รับคำแนะนำดังกล่าวไปพิจารณาปรับปรุงแก้ไขต่อไป และ
ภายหลังจากคณะทำงานและทีมเลขานำข้อแนะนำที่ได้จากหลายกระทรวง/หน่วยงานไปปรับปรุ งแก้ไข
ส่งขอ้ มลู ให้ทุกหนว่ ยงานได้ดูเพ่อื เป็นประโยชนใ์ นการเกบ็ ขอ้ มูลใหไ้ ด้มากที่สุดตอ่ ไป

4.3 พิจารณาเห็นชอบร่างเกณฑ์ชี้วัดความจำเป็นพื้นฐาน เรื่องรายได้ (กำหนดเกณฑ์
รายไดข้ น้ั ต่ำ)

การกำหนดเกณฑ์รายได้ขั้นต่ำ มีความเป็นมาตั้งแต่แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ.2535-2539) คณะทำงานปรับปรุงเครื่องชี้วัดคุณภาพชีวิตของประชาชน
ภายใต้คณะกรรมการอำนวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน (พชช.) ได้กำหนดเกณฑ์ชี้วัด
ความจำเป็นพื้นฐานเรื่องรายได้ ต่อมาในแต่ละแผนฯ มีการกำหนดเกณฑ์ชี้วัดความจำเป็นพื้นฐานเรื่อง
รายได้ แตกต่างกนั ออกไป ดงั น้ี

แผนพัฒนาเศรษฐกจิ ฐานคิด รายได้ขน้ั ต่ำ(บาท)
และสงั คมแหง่ ชาติ /ตอ่ คน /ต่อปี
ฉบับท่ี 7 (พ.ศ.2537-
2539) คำนวณจากค่าใชจ้ า่ ยเพอื่ การอปุ โภคบริโภค จำนวน 15,000 บาท
14,464 บาทต่อคนตอ่ ปี และปรบั เป็น 15,000 บาท
ฉบบั ท่ี 8 (พ.ศ.2540- โดยใช้ข้อมูลจากสำนักงานสถิตแิ หง่ ชาติ
2544)
คำนวณจากการนำรายได้ขนั้ ต่ำจากแผนฯ ฉบบั ที่ 7 20,000 บาท
ฉบบั ที่ 9 (พ.ศ.2545- จำนวน 15,000 บาท แลว้ คูณดว้ ยอัตราเงนิ เฟอ้ เฉล่ยี
2549) ร้อยละ 5 ต่อปี ได้ 19,144 บาท และปรับเปน็
20,000 บาท
ฉบบั ที่ 10(พ.ศ.2550-
2554) สภาพเศรษฐกิจ สงั คมและการเมอื งไมม่ น่ั คงและขาด 20,000 บาท
เสถยี รภาพ ยงั คงใชร้ ายได้ขั้นตำ่ จากแผนฯ ฉบบั ท่ี 8
จำนวน 20,000 บาท

คำนวณจากการนำรายได้ขน้ั ต่ำชว่ งแผนฯ ฉบบั ท่ี 8 ก่อน 23,000 บาท
ปรับเปน็ ตวั เลขเป็น 20,000 บาท คอื 19,144 บาท
คณู ด้วยอัตราเงินเฟอ้ เฉล่ียรอ้ ยละ 2.94 ตอ่ ปี จำนวน 5
ปี จะได้ 22,129 บาท และปรบั เปน็ 23,000 บาท

612

รายงานฉบบั สมบูรณโ์ ครงการจัดทำเคร่ืองช้ีวดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพ้นื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พนื้ ฐาน
ระดับหม่บู า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

แผนพฒั นาเศรษฐกิจ ฐานคิด รายไดข้ นั้ ต่ำ(บาท)
และสังคมแห่งชาติ /ต่อคน /ตอ่ ปี
ฉบบั ท่ี 11(พ.ศ.2555- คำนวณโดยคดิ จากค่าใชจ้ ่ายเพอื่ การอปุ โภคบรโิ ภคของ
2559) กลุ่มอาชพี ทมี่ รี ายจ่ายตำ่ สุด คือ อาชพี ประมง ปา่ ไม้ ลา่ 30,000 บาท
สตั ว์ หาของป่า บรกิ ารทางการเกษตร เป็นจำนวน
ฉบบั ที่ 12(พ.ศ.2560- 22,607 บาทตอ่ คนตอ่ ปี คูณดว้ ยอัตราเงนิ เฟอ้ ร้อยละ 38,000 บาท
2564) 2.98 ตอ่ ปจี ำนวน 5 ปี จะได้ 30,816 บาท และปรบั
เปน็ 30,000 บาท
คำนวณโดยคดิ จากเสน้ ใกลจ้ น ตามแนวทางของ UN
และ World bank โดยใช้ตัวเลขเสน้ ความยากจนคูณ
ดว้ ย 1.25 เทา่ ซี่งตวั เลขเสน้ ความยากจน ณ คร้ังนน้ั
31,764 บาท คูณดว้ ย 1.25 จะอยู่ทปี่ ระมาณ
39,705 บาทต่อปี ทงั้ น้ปี รับใหส้ อดคล้องกบั ความ
เปน็ ไปได้เปน็ 38,000 บาท

สำหรับเกณฑ์รายได้ขั้นต่ำที่ใช้ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13
(พ.ศ. 2565 - 2569) นั้น มีรูปแบบได้เสนอให้คณะกรรมการอำนวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิตของ
ประชาชน (พชช.) ดังนี้

รูปแบบ ฐานคิด รายได้ขน้ั ต่ำ(บาท)
รูปแบบที่ 1
/ต่อคน /ตอ่ ปี
รูปแบบท่ี 2
สภาพเศรษฐกิจ สงั คม การเมือง และผลกระทบจากโรค 38,000 บาท

ระบาดใหม่ ทำใหเ้ กิดไม่มน่ั คงและขาดเสถยี รภาพใน

ประเทศ ยงั คงใช้รายไดข้ น้ั ตำ่ จากแผนฯ ฉบบั ที่ 12

จำนวน 38,000 บาท

โดย หากพจิ ารณารายได้น้อยกว่า 38,000 บาทต่อคน

ต่อครวั เรือนต่อปี มีจำนวนครัวเรอื นและจำนวนคน ดงั นี้

ปี จำนวนครัวเรือน จำนวนคน

ปี 2560 126,102 429,144

ปี 2561 44,206 142,999

ปี 2562 30,775 96,014

คำนวณโดยคดิ จากเสน้ ใกลจ้ น ตามแนวทางของ UN 40,000 บาท

และ World bank โดยใช้ตวั เลขเส้นความยากจนคณู

ดว้ ย 1.25 เท่า ซึง่ ตัวเลขเสน้ ความยากจนปัจจบุ นั

33,156 บาท (2,763 บาทตอ่ คนต่อเดือน จำนวน 1

ป)ี คณู ดว้ ย 1.25 จะอยู่ทีป่ ระมาณ 41,445 บาทต่อปี

ทงั้ น้ีปรบั เป็น 40,000 บาท

613

รายงานฉบับสมบูรณโ์ ครงการจดั ทำเครือ่ งชี้วดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พนื้ ฐาน
ระดับหมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ่วงแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

รปู แบบ ฐานคดิ รายไดข้ น้ั ตำ่ (บาท)
รูปแบบที่ 3 /ตอ่ คน /ตอ่ ปี

โดย หากพจิ ารณารายไดน้ ้อยกว่า 40,000 บาทตอ่ คน

ต่อครัวเรือนตอ่ ปี มจี ำนวนครัวเรือนและจำนวนคน ดังนี้

ปี จำนวนครัวเรือน จำนวนคน

ปี 2560 1,039,423 4,071,743

ปี 2561 746,349 2,929,066

ปี 2562 627,483 2,471,449

อนื่ ๆ ถ้ามี

นำเรียนทั้ง 2 รูปแบบให้คณะกรรมการอำนวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน
(พชช.) พจิ ารณา

ขอ้ คดิ เหน็ คณะกรรมการฯ
รองอธิบดีกรมการพฒั นาชุมชน (นายนิวัติ น้อยผาง) มีเกณฑ์รายได้ทท่ี างกระทรวงการคลัง
กำหนด คือเกณฑ์การให้สิทธิจากบัตรสวัสดิการคนจน ข้อมูลประเทศไทย มี 3 ตัวอย่างที่กล่าวมา
จงึ จำเปน็ ต้องมกี ารสอบถามเบ้ืองต้นจากสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติว่าเห็นควร
อย่างไร รวมทั้งสอบถามจาก ดร.วิพรรณ ประจวบเหมาะ ว่าในอนาคตคนแบบใด UN อาจมีการกำหนด
5.5 ดอลลาร์สหรฐั แลว้ เป็น 61,000 บาท จึงขอความเหน็ จากผ้รู ทู้ กุ ท่านให้ความเห็นในประเด็นรายได้
ความจำเปน็ ขั้นพ้ืนฐาน
รองปลัดกระทรวงมหาดไทย (นายนิรัตน์ พงษ์สิทธิถาวร) เชิญให้ที่ประชุมแสดงความ
คดิ เห็น หรือให้คำแนะนำ ว่าเห็นควรเปน็ 38,000 บาท หรือ 40,000 บาท
ผู้แทนสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (นางสาวดวงกมล วิมลกิจ
ผ้เู ช่ียวชาญฯ) หากตามความคิดเห็นสว่ นตัว มองว่าในรปู แบบที่ 2 มีความเหมาะสมกว่า เน่ืองจากควรถูก
สะทอ้ นจากความจำเป็นว่าส่ิงที่เขาจะอยู่ได้ เมือ่ เวลาทีเ่ ปล่ียนไป รายได้จำเป็นทจ่ี ะต้องใช้ขนั้ ต่ำ ควรเป็น
แบบนี้ คือ 40,000 บาท คงไว้เพราะวิกฤตอาจจะไม่สะท้อนในลักษณะอย่างนั้น ควรใช้ตามรายได้
พ้นื ฐานข้นั ตำ่ ในรปู แบบท่ี 2
ผู้แทน กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (นางปิยนาฏ เสงี่ยมศักด์ิ
นักสังคมสงเคราะห์ชำนาญการพิเศษ) เห็นด้วยกับ นางสาวดวงกมล วิมลกิจ สำนักงานสภาพัฒนาการ
เศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ในรูปแบบ 40,000 บาท
ผู้แทนกระทรวงสาธารณสุข (นายแพทย์ภูษิต ประคองสาย นายแพทย์ทรงคุณวุฒิด้าน
สง่ เสริมสุขภาพ) มคี วามสงสยั 2 ประเด็น ได้แก่ ประเดน็ แรก การใช้คำวา่ เสน้ ใกลจ้ น คณู Poverty line
ด้วย 1.25 สร้างตัวเสน้ ใกล้จน โดยความเข้าใจสว่ นตัวคือหากอยู่เปน็ ครัวเรือนแล้วค่าใชจ้ ่ายเฉลี่ยต่อคน
จะลดลง เนอื่ งจากมีการแชรส์ ง่ิ ของ ใชอ้ ปุ กรณ์รว่ มกัน หรอื ค่าใชจ้ ่ายรว่ มกนั เช่น กับข้าว และไม่แน่ใจว่า
เมื่อเราคิดเสน้ ความยากจนรายบุคคล แล้วไปคูณกับจำนวนคนในครวั เรือนแล้ว แล้วคูณด้วย 1.25 แล้ว
จะมีความเที่ยงธรรมหรือไม่ และประเด็นที่สอง ในสถานการณ์ปี 2565-2569 รายได้ของคนไทยใน

614

รายงานฉบับสมบูรณโ์ ครงการจดั ทำเครื่องช้วี ัดและแบบสอบถามข้อมลู ความจำเปน็ พืน้ ฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพ้ืนฐาน
ระดับหมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ช่วงแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ครัวเรือนจะลดลง ตัวเลขของที่ทีมเลขากำหนดไว้ในปี 2562 มีความเห็นว่า ปี 2563-2565 นั้น
อาจจะเพิ่มขึ้นขึ้นเป็น 2 หรือ 3 เท่าของตัวเลขที่ปรากฏ เพราะฉะนั้นหากเราตั้งเกณฑ์ที่สูงขึ้นจาก
38,000 บาท เป็น 40,000 บาท จะสามารถคาดการณ์ได้ว่าจำนวนของครัวเรือนที่จะอยู่ใต้เส้นใกล้
จนนัน้ จะมีมากขึ้นอยา่ งแน่นอน ในปี 2565

หัวหน้าโครงการฯ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ผู้ช่วยศาสตราจารยร์ ณรงค์ จันใด) ฐานคดิ
1.25 ดูจากรายงานการประชุมเดิม ท่ีแผนฯ 12 คิดไว้ ตามที่สภาพัฒน์ฯ ใช้รายไดเ้ ส้นความยากจนเป็น
รายเดือน หากมีการนำค่ารายได้มีคูณด้วย 12 จะมีผลหรือไม่ ตามที่ประชุมครั้งก่อนของแผนฯ 12
มีการคูณด้วย 12 และคูณด้วย 1.25 จึงใช้ฐานคิดนี้อธิบายเส้นใกล้จนในแผนฯ 13 ได้ 41,000 บาท
จึงปรับเป็น 40,000 บาท และตามมติที่ประชุม แต่ก็มีความเห็นว่าในปี 2563 และปี 2564 นี้
ครวั เรือนกบั ความยากจนค่อนข้างท่จี ะเพ่ิมข้ึน

ผู้แทนสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (นางสาวดวงกมล วิมลกิจ
ผู้เชี่ยวชาญฯ) เส้นความยากจนคิดมาจากพื้นฐานของความต้องการของการบริโภคอาหาร แล้วแปลง
หน่วยออกมาเป็นเงิน การทจี่ ะใช้เส้นความยากจนมาคำนวณเลยน้นั เปน็ ค่าเฉลี่ยต่อคนต่อเดือน หากคูณ
ด้วย 12 นั้นก็หมายถึงว่า ใน 1 ปีนั้น 1 คน ควรจะมีรายได้ขั้นต่ำเท่าใด เมื่อใช้เส้นความยากจนเลย
อาจจะดนู อ้ ยเกินไป จึงมองเส้นใกล้จนเพ่ิมระดับรายได้ขนึ้ มาเล็กน้อย กค็ ือสงู กวา่ ระดับเส้นความยากจน
เล็กนอ้ ย คืออกี 25 เปอร์เซน็ ต์ ก็คอื คณู ด้วย 1.25 จงึ เปน็ ท่ีมาของ อยา่ งนอ้ ยควรมรี ายไดต้ อ่ คนตอ่ เดือน
นี้เป็นการมองเป็นภาพในเชิงตัวบุคคล หากมองอีกนัยหนึ่งคือในเชิงของครัวเรือนก็ได้ เพียงจะใช้รายได้
ขั้นต่ำของครัวเรือนหรือของบุคคล ที่ผ่านมาเราใช้มองในตัวเฉพาะบุคคลจึงมองเป็นแบบนี้ ซึ่งมีข้อดี
ข้อเสียที่ต่างกันอยู่หลายอย่าง หากมองในเชิงครัวเรือน ครัวเรือนที่มี 1 คน เกณฑ์จะสูงเกินไป เช่น
ครัวเรือนหน่ึงเฉลย่ี ดว้ ยการคูณ 3 หรอื 4 คน ถา้ คดิ เป็นครัวเรือน ในหนึ่งเดอื นคอื นำ 3,000 คณู 4 ต่อ
ครัวเรือน จะเป็นรายได้ต่อครัวเรือน หากครัวเรือนใดมีคนเดียวหรือน้อยคน อาจจะทำให้ดูต่ำเกินไป
มีโอกาสทจ่ี ะกา้ วพ้นผ่านเกณฑ์ จปฐ. ได้ค่อนข้างยาก และที่ผา่ นมา จปฐ.ไดต้ กลงทีจ่ ะใชร้ ายบคุ คล กต็ าม
เห็นควรว่าจะเลือกใช้เป็นครัวเรือน หรือรายบุคคล ซึ่งที่จริงแล้วหากมองในรายครัวเรือนแล้วมาเฉลี่ย
แล้วจะต่ำกว่ารายบุคคล หากใช้เป็นครัวเรือนแล้วไม่ต่ำกว่า 100,000 บาท อาจจะทำให้ครัวเรือนที่อยู่
คนเดียวนั้นตกเกณฑ์ได้ ส่วนตัวยังมองว่า ใช้ 40,000 บาท โดยหลักการ แต่ในความเป็นจริงแล้ว คือ
อาจมีรายได้ที่ลดลลง แต่ประเด็นความที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีคือเขามีเงินพอที่จะใช้จ่าย ถ้าความจำเป็นท่ี
จะตอ้ งใชจ้ า่ ยอย่ทู ่ี 40,000 บาท แตเ่ ขาหารายไดไ้ ม่ได้ นา่ จะตอบได้ว่าจะตกมากหรือน้อย ควรจะนึกถึง
ความเป็นจรงิ

รองปลัดกระทรวงมหาดไทย (นายนิรัตน์ พงษ์สิทธิถาวร) เห็นด้วยว่าควรจะมองความเป็น
จรงิ ตามท่เี ขาจะอยู่ได้ คอื 40,000 บาท แต่หากปี 2565 รายไดค้ วรจะลดลง ก็ใหส้ ะท้อนไปว่ามีคนที่
มีรายได้ไม่ถึงเกณฑ์ 40,000 บาท นั้นมากน้อยเพียงใด ซึ่งเป็นกันทั่วโลก ประเทศอื่น ๆ ก็เป็น
เช่นเดียวกัน เราจะไดแ้ ก้ไขได้ถูกจุด ซ่งึ ในข้อนไ้ี ม่จำเปน็ ต้องถึงขั้นที่จะต้องใหโ้ หวต ซงึ่ ให้เป็นไปตามหลัก
เศรษฐศาสตร์ หรือหลักการคิดที่อธิบายว่าความจำเป็นที่ต้องใช้เงินเท่าใดต่อปี มนุษย์ต่อคนที่ใช้ใน
การดำรงชีพมากกว่า ซึ่งในห้วงเวลาที่เปิดให้ทุกท่านให้ความเห็นแนะนำ ส่วนใหญ่ที่ประชุมเห็นว่า
40,000 บาท

615

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจดั ทำเครื่องชีว้ ัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพ้นื ฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพืน้ ฐาน
ระดบั หมูบ่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน (นายนิวัติ นอ้ ยผาง) เรอ่ื งน้ีมคี วามชัดเจน และเป็นการคิด
แบบพอเพียงที่เป็นขั้นพื้นฐานที่แทจ้ ริง เมื่อสภาพัฒน์ฯ มองในภาพรวมแล้ว ก็จะมีการบวกอยู่แลว้ เม่อื มี
การคิดนโยบายออกมา พอถึงกระทรวงการคลังหรือรัฐบาลก็จะบวกเพิ่มขึ้นอีก เพราะมีการคิดในแง่
ความเปน็ จริงกับเศรษฐกจิ สังคมปัจจบุ ัน แมแ้ ต่คนท่ีอยู่ในสังคมชนบท มีการใช้จ่ายแบบคนเมืองมากข้ึน
จึงเปน็ ทีม่ าของรายไดไ้ ม่เกนิ จำนวน 100,000 บาทตอ่ คนต่อปี ของโครงการบัตรสวัสดกิ ารแห่งรัฐ
มติที่ประชุม

เห็นชอบให้ใช้เกณฑ์รายได้ขั้นต่ำที่ใช้ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี
13 (พ.ศ. 2566 - 2570) โดยคณะกรรมการอำนวยการงานพฒั นาคุณภาพชวี ติ ของประชาชน (พชช.)
ในรูปแบบที่ 2 คือรายได้น้อยกว่า 40,000 บาทต่อคนต่อครัวเรือนต่อปี คำนวณโดยคิดจากเส้นใกล้จน
ตามแนวทางของ UN และ World bank โดยใชต้ วั เลขเสน้ ความยากจนคณู ดว้ ย 1.25 เทา่ ซง่ึ ตัวเลขเสน้
ความยากจนปัจจบุ นั 33,156 บาท (2,763 บาทต่อคนต่อเดอื น จำนวน 1 ป)ี คณู ด้วย 1.25 จะอยู่ท่ี
ประมาณ 41,445 บาทตอ่ ปี ท้ังนีป้ รบั เปน็ 40,000 บาท
ระเบยี บวาระท่ี 5 เรอ่ื งอน่ื ๆ (ถ้าม)ี

- ไมม่ ี –
ปดิ การประชุมเวลา 12.30 น.

616

รายงานฉบบั สมบูรณโ์ ครงการจัดทำเครื่องชีว้ ัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพืน้ ฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พืน้ ฐาน
ระดบั หมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ภาพบรรยากาศ

รายงานการประชมุ คณะกรรมการอำนวยการงานพัฒนาคณุ ภาพชีวิตของประชาชน (พชช.)
ครงั้ ที่ 2/2564

วันพุธท่ี 9 มิถนุ ายน 2564 เวลา 10.30 - 16.30 น.
ณ หอ้ งประชุมเฟ่อื งนคร ช้นั 5 อาคารดำรงราชานุสรณ์ กระทรวงมหาดไทย กรงุ เทพฯ
และรูปแบบการประชุมผ่านสอื่ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ด้วยโปรแกรม Zoom Cloud meeting

617

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเคร่อื งชีว้ ัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพน้ื ฐาน
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

618

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเคร่อื งชีว้ ัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพน้ื ฐาน
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

619

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเคร่อื งชีว้ ัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพน้ื ฐาน
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

620

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจดั ทำเครือ่ งชีว้ ดั และแบบสอบถามข้อมูลความจำเปน็ พน้ื ฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พื้นฐาน
ระดบั หมูบ่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ช่วงแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

บุคลากรประจำโครงการ

621

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเคร่อื งชีว้ ัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพน้ื ฐาน
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

622

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเครอ่ื งชี้วดั และแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเป็นพืน้ ฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พนื้ ฐาน
ระดบั หมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ่วงแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

บคุ ลากรประจำโครงการ

๑. ปรึกษา/หัวหน้าโครงการ จำนวน ๑ คน

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รณรงค์ จันใด ผู้อำนวยการศูนย์ฝึกอบรมและพัฒนาแห่งคณะ
สังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และอาจารย์ประจำภาควิชานโยบายสังคม การพัฒนา
สังคม และการพัฒนาชุมชน คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จบการศึกษา
สังคมสงเคราะห์ศาสตร์บัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ ๒) และพัฒนาชุมชนมหาบัณฑิต ( GPA ๔.๐๐)
มีความชำนาญพิเศษ ด้านสังคมสงเคราะห์ชุมชน การพัฒนาชุมชน ยุทธศาสตร์และการวางแผนพัฒนา
สวสั ดิการชมุ ชน การตดิ ตามและประเมินผลโครงการพัฒนา มีประสบการณก์ ารวิจยั ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๑
ถึงปัจจุบัน รวม ๕๙ เรื่อง โดยเป็นหัวหน้าโครงการ ๒๐ เรื่อง ได้รับรางวัลนักวิจัยรุ่นใหม่ดีเด่น
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประจำปี ๒๕๖๑ และรางวัลผู้ได้รับทุนวิจัยขนาดใหญ่ผ่านสำนักงานศูนย์วิจัย
และใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ประจำปี ๒๕๖๑

๒. ผูช้ ว่ ยท่ีปรกึ ษา/นกั วจิ ยั จำนวน 1 คน

อาจารย์ ดร. กาญจนา รอดแก้ว ผู้อำนวยการหลักสูตรพัฒนาชุมชนมหาบัณฑิต
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จบการศึกษาศิลปศาสตรบัณฑิต (รัฐศาสตร์
การปกครอง) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พัฒนาชุมชนมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต (การศึกษานอกระบบ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีประสบการณ์การวิจัยตั้งแต่ปี
พ.ศ. ๒๕๕๔ ถึงปัจจุบัน โดยมีผลงานวิจัย จำนวน ๘ เรื่อง เคยรับราชการกรมการพัฒนาชุมชน
เป็นพฒั นากร เจ้าหนา้ ท่ีฝึกอบรม และนกั พัฒนาทรัพยากรบคุ คล กลมุ่ งานวิจยั และพัฒนา

๓. ผชู้ ่วยนักวิจัย จำนวน 2 คน

1) นางสาวกัญญารัตน์ สุโกพันธ์ จบการศึกษาระดับปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิต
หลักสูตรการพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ระดับปริญญาโท พัฒนาชุมชนมหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มปี ระสบการณ์ทางด้านการเปน็ ผู้ช่วยนักวิจยั ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2559 ถึงปัจจบุ ัน

2) นางสาววปิ ศั ยา โพธบิ ุตร จบการศึกษาระดับปรญิ ญาตรี ศิลปศาสตรบณั ฑิต หลักสูตร
การพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ระดับปริญญาโท พัฒนาชุมชนมหาบัณฑิต
มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ มปี ระสบการณท์ างด้านการเป็นผู้ช่วยนกั วิจัยต้งั แตป่ ี พ.ศ. 2559 ถึงปจั จบุ นั

623

รายงานฉบับสมบูรณโ์ ครงการจดั ทำเครอ่ื งชวี้ ดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พน้ื ฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพ้นื ฐาน
ระดบั หมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ่วงแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

รณรงค์ จันใด ประสบการณท์ ำงาน:

• นกั วจิ ยั โครงการวิจยั ของสถาบนั วจิ ัยและให้คำปรกึ ษาแห่ง
มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

• นกั วจิ ยั โครงการวิจยั ของคณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

• นกั วิจยั ศูนย์พัฒนากลยุทธท์ างธุรกจิ

คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ รางวัลและความภาคภมู ใิ จ :
มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ • รางวัลวิทยานพิ นธ์ดเี ดน่ ระดบั คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ ประจำปี

ตำแหนง่ ปจั จุบนั 2555
• รางวลั นกั วจิ ยั ร่นุ ใหมด่ เี ดน่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ประจำปี 2561
ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ • รางวัลผู้ได้รับทุนวิจัยขนาดใหญ่ผ่านสำนักงานศนู ยว์ ิจยั และให้

ประจำภาควิชานโยบายสังคม คำปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ประจำปี 2561
การพัฒนาสังคม และการพฒั นาชุมชน
ประสบการณด์ า้ นบรหิ าร:
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ • พ.ศ.2557–2559 ผูอ้ ำนวยการโครงการพฒั นาชมุ ชนมหาบณั ฑติ
มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์
ขอ้ มลู การตดิ ต่อ: • พ.ศ.2559-2562 รองคณบดฝี ่ายบรหิ ารและการวางแผน

• 089-4214440 คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
[email protected] • พ.ศ.2560-2561 ประธานคณะอนกุ รรมการฝกึ ภาคปฏบิ ัติ 2

ประวัตกิ ารศกึ ษา: คณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
• สังคมสงเคราะหศ์ าสตร์บณั ฑติ (เกียรตนิ ิยม • พ.ศ.2562-ปจั จบุ นั ผูอ้ ำนวยการศูนย์ฝกึ อบรมและพฒั นาแห่ง
อันดับ 2) มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
พ.ศ.2549 คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์
• พัฒนาชมุ ชนมหาบัณฑติ (GPA 4.00)
มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ.2555 กรรมการ และผทู้ รงคณุ วุฒิ
• ผูท้ รงคุณวุฒิกล่ันกรองทางวชิ าการ สำนกั สนับสนุนสุขภาวะ

ประชากรกลมุ่ เฉพาะ (สำนัก 9) สำนกั งานกองทนุ สนับสนนุ
การสรา้ งเสรมิ สุขภาพ (สสส.)
• ผูท้ รงคุณวฒุ กิ ลัน่ กรองทางวชิ าการ สำนกั สนบั สนุนสุขภาวะเด็ก
เยาวชน และครอบครวั (สำนัก 4) สำนกั งานกองทุนสนบั สนนุ
การสรา้ งเสริมสุขภาพ (สสส.)
• บรรณาธกิ ารรายงานสบื เนอ่ื งการประชมุ วชิ าการด้านการพัฒนา
ชุมชนและนำเสนอผลงานวิจยั ระดบั บัณฑิตศกึ ษาแห่งชาติ
ประจำปกี ารศกึ ษา 2557
• คณะทำงานจัดทำมาตรฐานการปฏิบตั ิงาน และจดั ทำขอ้ เสนอ
ค่าใชจ้ ่าย สวัสดกิ ารที่เหมาะสมของอาสาสมคั รพฒั นาสงั คมและ
ความมน่ั คงของมนุษย์ (อพม.)
• คณะทำงานพฒั นาระบบกลไกการบรหิ ารงานวิจัยของกระทรวง
การพัฒนาสงั คมและความมัน่ คงของมนษุ ย์
• กรรมการบริหารคณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
• กรรมการประจำคณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์
มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

624

รายงานฉบับสมบูรณโ์ ครงการจัดทำเคร่ืองชี้วดั และแบบสอบถามข้อมูลความจำเปน็ พนื้ ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพื้นฐาน
ระดับหมูบ่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ดร.กาญจนา รอดแก้ว ประวตั กิ ารศกึ ษา
➢ ปรญิ ญาตรี ศลิ ปศาสตรบณั ฑติ (รฐั ศาสตร์การปกครอง)
อาจารย์ มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์
อาจารย์ประจำคณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ ➢ ปริญญาโท พฒั นาชุมชนมหาบณั ฑติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
➢ ปรญิ ญาเอก ครศุ าสตรดุษฎบี ัณฑติ (การศึกษานอกระบบ)
มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย
ที่อยู่
ประสบการณ์การทำงาน
สาขาวชิ าการพัฒนาชมุ ชน ➢ รับราชการกรมการพัฒนาชมุ ชน กระทรวงมหาดไทย
คณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์ ➢ อาจารย์ประจำภาควิชานโยบายสงั คม การพฒั นาสังคม
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ทา่ พระจันทร์ การพัฒนาชมุ ชน คณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์
เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
➢ ผ้อู ำนวยการหลกั สูตรพฒั นาชุมชนมหาบัณฑิต
ติดต่อ คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
อเี มล [email protected]
เบอร์โทรตดิ ตอ่ 089-6927416 ผลงานวิจยั และผลงานวชิ าการ
➢ ขนฏิ ฐา กาญจนรังสนี นท์, ประไพ ศวิ ะลรี าวลิ าศ, กาญจนา
รอดแก้ว และคณะ. การวิจยั ประโยชนส์ ขุ จากเศรษฐกิจพอเพยี ง.
2554.
➢ สงัด หม่ืนตาบุตร, กาญจนา รอดแกว้ และ อมุ าพร จินนะงาม.
การสังเคราะหอ์ งคค์ วามรู้ “ประชาคมอาเซยี นกับกรมการพัฒนา
ชุมชน”. 2556.
➢ กาญจนา รอดแกว้ และอุมาพร จินนะงาม. การศึกษารปู แบบ
การทำงานพัฒนาชุมชนในสถานการณ์ท่เี ปลี่ยนแปลง. 2557.
➢ ขนิฏฐา กาญจนรงั สนี นท์, ประภา ปานนติ ยกุล, กาญจนา
รอดแกว้ และคณะ. พัฒนากรกบั โลกแหง่ การเปลีย่ นแปลง.
ชุดความรูส้ ำหรบั พฒั นากร. 2558.
➢ กาญจนา รอดแกว้ และคณะ. การสังเคราะหอ์ งคค์ วามรจู้ าก
การวจิ ยั เรอ่ื ง การศึกษารปู แบบการทำงานพฒั นาชุมชนใน
สถานการณท์ ่เี ปลีย่ นแปลง. 2558.
➢ กาญจนา รอดแกว้ , อุมาพร จนิ นะงาม และ อัญชิษฐา
สิงห์สุทัศน์. การประเมนิ ผลสัมฤทธห์ิ ลักสตู รผูน้ ำการพฒั นา.
2559.
➢ ประไพ ศวิ ะลีราวิลาศ, กาญจนา รอดแกว้ และคณะ.
การประเมนิ ผลสมั ฤทธ์หิ ลกั สูตรพัฒนากรระหว่างประจำการ
ดา้ นการบริหารการเปล่ยี นแปลง.2559
➢ กาญจนา รอดแก้ว, อัญชิษฐา สงิ หส์ ุทัศน์ และ ชาลินี จันทรากลุ
.การสงั เคราะห์องคค์ วามรใู้ นงานพฒั นาชุมชน. 2560.
➢ จุฑาทิพย์ สมปราชญานันท์, ประไพ ศวิ ะลีราวลิ าศ, กาญจนา
รอดแกว้ และคณะ. การประเมินผลสัมฤทธิห์ ลักสตู รการพัฒนา
บคุ ลากรระหวา่ งประจำการ. 2560
➢ กาญจนา รอดแก้ว. ความสมั พันธ์ระหวา่ งการมสี ว่ นรว่ มใน
การจัดทำแผนพฒั นาตำบลและการนำแผนไปปฏิบัตกิ ับ
การเรยี นรู้ของตนเองของผู้นำชุมชน. 2562

625

รายงานฉบับสมบูรณโ์ ครงการจัดทำเครอ่ื งชวี้ ัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พน้ื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พื้นฐาน
ระดบั หมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

กญั ญารตั น์ สุโกพันธ์ ประวัติการศกึ ษา
➢ ปรญิ ญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑติ (หลกั สตู รการพัฒนาชุมชน)

มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อบุ ลราชธานี (พ.ศ.2556 – 2559)
➢ ปริญญาโท พฒั นาชมุ ชนมหาบณั ฑติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

(พ.ศ.2560-2562)

ผ้ชู ่วยนกั วิจยั ประสบการณก์ ารทำงาน
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ➢ พ.ศ. 2559-2560 ผชู้ ว่ ยนกั วจิ ัยดษุ ฎนี พิ นธ์ บณั ฑิตวิทยาลยั

ที่อยู่ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น
79 ซอยสทุ ธพิ งศ1์ /3 ถนนสทุ ธสิ าร ➢ พ.ศ. 2561-2562 ผ้ชู ว่ ยนกั วจิ ยั โครงการทบทวนติดตาม
วินิจฉยั แขวงดนิ แดง เขตดนิ แดง
ประเมินผล โครงการพัฒนาระบบและกลไกเพื่อสุขภาวะเดก็
กรุงเทพมหานคร 10400
ปฐมวัยโดยใชค้ รอบครวั และชุมชนเปน็ ฐาน (COACT)
➢ พ.ศ. 2562 ผู้ช่วยนักวิจยั โครงการสังเคราะหก์ ลไกและรูปแบบ

พืน้ ที่ห้องปฏิบตั กิ ารชมุ ชนเพือ่ สงั คมผสู้ งู อายุ
➢ พ.ศ. 2563 ผูช้ ่วยนักวจิ ัยโครงการประเมินผลการดำเนินงาน

ตามนโยบายและแผนปฏิบตั ริ าชการระยะ 3 ปี (ระยะตน้ แผน)

ของกรมการพัฒนาชุมชน
➢ พ.ศ. 2564 วิทยากรการอบรมเสรมิ สรา้ งวิทยากรกระบวนการ

ในโครงการพัฒนาเพอ่ื การแบ่งปนั ท่ยี ง่ิ ใหญ่ Shift and share
➢ พ.ศ. 2564 ผู้ชว่ ยนกั วจิ ยั โครงการสง่ เสริมศักยภาพของ

เครือขา่ ยวัฒนธรรมในการบริหารจัดการงานวัฒนธรรมอยา่ ง

ยัง่ ยืน
➢ พ.ศ. 2564 ผู้ช่วยนกั วจิ ัยโครงการจัดทำเครื่องช้วี ดั และ

แบบสอบถามข้อมลู ความจำเป็นพ้ืนฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูล

พื้นฐานระดบั หมบู่ ้าน (กชช. 2ค) ของกรมการพัฒนาชมุ ชน

ติดตอ่ ผลงานวิทยานิพนธ์
อีเมล [email protected] ➢ กัญญารัตน์ สุโกพนั ธ์. (2562). กระบวนการอนรุ กั ษแ์ ละสืบทอด
ภูมิปัญญาการทอผ้าไหมของทายาทหมอ่ นไหม : กรณศี ึกษา
เบอร์โทรติดตอ่ 064-4471424 ชมุ ชนบา้ นสมพรรัตน์ ตำบลหนองสะโน อำเภอบุณฑริก จงั หวัด
อุบลราชธานี. (วทิ ยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต).
มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์, คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์,
หลกั สูตรพัฒนาชุมชนมหาบัณฑิต.

626

รายงานฉบบั สมบูรณโ์ ครงการจดั ทำเครอื่ งชี้วัดและแบบสอบถามข้อมลู ความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพื้นฐาน
ระดับหม่บู า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ช่วงแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

วปิ ัศยา โพธิบตุ ร ประวตั ิการศกึ ษา
➢ ปรญิ ญาตรี ศลิ ปศาสตรบัณฑิต (หลกั สตู รการพัฒนาชุมชน)
ผชู้ ว่ ยนกั วจิ ัย มหาวิทยาลัยราชภฏั อบุ ลราชธานี (พ.ศ.2556 – 2559)
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ➢ ปริญญาโท พฒั นาชุมชนมหาบัณฑติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
(พ.ศ.2560-2562)
ทอี่ ยู่
79 ซอยสุทธพิ งศ1์ /3 ถนนสุทธิสาร ประสบการณ์การทำงาน
วินิจฉัย แขวงดินแดง เขตดนิ แดง ➢ พ.ศ.2559 วิทยากรโครงการพฒั นาศกั ยภาพภาวะผนู้ ำเดก็ และ
เยาวชน รว่ มกบั มลู นธิ ิ ซ.ี ซ.ี เอฟ.เพอ่ื เดก็ และเยาวชน จังหวดั
กรุงเทพมหานคร 10400 อบุ ลราชธานี
ติดตอ่ ➢ พ.ศ. 2559-2560 ผูช้ ว่ ยนกั วจิ ัยดษุ ฎนี พิ นธ์ บัณฑิตวทิ ยาลยั
มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่
อเี มล [email protected] ➢ พ.ศ. 2561-2562 ผูช้ ่วยนกั วจิ ัย โครงการทบทวนติดตาม
เบอรโ์ ทรติดต่อ 098-1539695 ประเมนิ ผล โครงการพัฒนาระบบและกลไกเพ่ือสขุ ภาวะเดก็
ปฐมวยั โดยใช้ครอบครัวและชุมชนเป็นฐาน (COACT)
➢ พ.ศ. 2562 ผชู้ ่วยนกั วจิ ยั โครงการสงั เคราะหก์ ลไกและรปู แบบ
พ้ืนท่หี อ้ งปฏิบตั กิ ารชุมชนเพ่ือสังคมผสู้ ูงอายุ
➢ พ.ศ. 2563 ผูช้ ว่ ยนกั วจิ ัยโครงการประเมินผลการดำเนินงาน
ตามนโยบายและแผนปฏิบตั ริ าชการระยะ 3 ปี (ระยะต้นแผน)
ของกรมการพัฒนาชุมชน
➢ พ.ศ. 2564 วทิ ยากรการอบรมเสรมิ สรา้ งวทิ ยากรกระบวนการ
ในโครงการพัฒนาเพ่อื การแบ่งปันที่ย่ิงใหญ่ Shift and share
➢ พ.ศ. 2564 ผ้ชู ่วยนกั วจิ ยั โครงการส่งเสริมศกั ยภาพของ
เครือขา่ ยวฒั นธรรมในการบริหารจดั การงานวฒั นธรรมอย่าง
ยง่ั ยืน
➢ พ.ศ. 2564 ผู้ชว่ ยนกั วจิ ยั โครงการจดั ทำเครอ่ื งชว้ี ัดและ
แบบสอบถามข้อมลู ความจำเป็นพ้นื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูล
พืน้ ฐานระดบั หมบู่ ้าน (กชช. 2ค) ของกรมการพฒั นาชมุ ชน

ผลงานวทิ ยานิพนธ์
➢ วปิ ศั ยา โพธบิ ุตร. (2562). กระบวนการจัดการทอ่ งเที่ยวชมุ ชน
เชงิ วัฒนธรรม : กรณศี กึ ษาชมุ ชนบา้ นปลาค้าว อำเภอเมอื ง
จงั หวดั อำนาจเจริญ. (วิทยานพิ นธ์ปรญิ ญามหาบณั ฑติ ).
มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์, คณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์,
หลักสูตรพฒั นาชุมชนมหาบัณฑติ .

627

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเคร่อื งชีว้ ัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพน้ื ฐาน
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

628


Click to View FlipBook Version