The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การพัฒนาเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพื้นฐาน
ระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) เป็นเครื่องมือในการวางแผนพัฒนาให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ และจะมีการปรับปรุงทุก ๆ 5 ปี ในปี พ.ศ. 2565 เป็นปีเริ่มต้นของแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (2565 - 2569) จึงมีความจำเป็นต้องใช้เครื่องชี้วัด เกณฑ์ชี้วัดและ
แบบสอบถามชุดใหม่สำหรับจัดเก็บข้อมูล จปฐ. และข้อมูล กชช. 2ค ให้สอดคล้องกับเป้าหมาย
การพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) และแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561 – 2580) และการควบคุม
คุณภาพการจัดเก็บข้อมูลและรูปแบบการรายงานด้วยระบบสารสนเทศที่รองรับความต้องการของทุก
ภาคส่วน การศึกษาครั้งนี้มีวิธีศึกษาจากการวิเคราะห์ประมวลผลจากการสอบถามความคิดเห็นผู้ใช้ข้อมูล
จปฐ. และข้อมูล กชช. 2ค เกี่ยวกับปัญหาและความต้องการของผู้ใช้ข้อมูล (ส่วนภูมิภาค) กระจายตาม
ภูมิภาค จำนวน 8 จังหวัด จังหวัดละ 5 หน่วยงาน รวม 40 หน่วยงาน และการวิเคราะห์ประมวลผลจาก
ประชุมรับฟังความคิดเห็นของคณะทำงานปรับปรุงเครื่องชี้วัดคุณภาพชีวิตของประชาชน และ
คณะกรรมการอำนวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน (พชช.)
ผลการศึกษา พบว่า การใช้แบบสอบถามข้อมูล จปฐ. และแบบสอบถามข้อมูล กชช. 2ค
สำหรับใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ปรับระยะเวลาการเริ่มใช้ให้สอดคล้อง
กับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 13 และแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี จึงเริ่มใช้ระหว่าง
พ.ศ.2566 – 2570 เครื่องชี้วัดข้อมูล จปฐ. ที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูลช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติฉบับที่ 13 ( พ.ศ.2566 - พ.ศ. 2570) ประกอบด้วย 5 หมวด 38 ตัวชี้วัด ได้แก่ หมวดที่ 1
สุขภาพ มี 12 ตัวชี้วัด หมวดที่ 2 มาตรฐานความเป็นอยู่ มี 9 ตัวชี้วัด หมวดที่ 3 การศึกษา มี 5 ตัวชี้วัด
หมวดที่ 4 เศรษฐกิจ มี 4 ตัวชี้วัด และหมวดที่ 5 การคุ้มครองทางสังคมและการมีส่วนร่วม มี 8 ตัวชี้วัด
และเครื่องชี้วัดข้อมูล กชช. 2ค สำหรับใช้ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13
(พ.ศ. 2566 - 2570) ประกอบด้วย 7 หมวด 44 ตัวชี้วัด ดังนี้ หมวดที่ 1 โครงสร้างพื้นฐาน มี 10
ตัวชี้วัด หมวดที่ 2 สภาพพื้นฐานทางเศรษฐกิจ มี 10 ตัวชี้วัด หมวดที่ 3 สุขภาวะและอนามัย มี 7
ตัวชี้วัด หมวดที่ 4 ความรู้และการศึกษา มี 4 ตัวชี้วัด หมวดที่ 5 การมีส่วนร่วมและความเข้มแข็ง
ของชุมชน มี 5 ตัวชี้วัด หมวดที่ 6 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มี 5 ตัวชี้วัด และหมวดที่ 7
ความเสี่ยงของชุมชนและภัยพิบัติ มี 3 ตัวชี้วัด สำหรับกลไกและกระบวนการบริหารจัดเก็บข้อมูลให้มี
คุณภาพ ต้องมีกลไกควบคุมคุณภาพในทุกระดับ ดังนี้ คณะกรรมการอำนวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิต
ของประชาชน (พชช.) คณะทำงานบริหารการจัดเก็บข้อมูลฯ ระดับจังหวัด คณะทำงานบริหารการจัดเก็บ
ข้อมูลฯ ระดับอำเภอ คณะทำงานบริหารการจัดเก็บข้อมูลฯ ระดับตำบล และคณะผู้จัดเก็บข้อมูลระดับ
หมู่บ้าน โดยมีกระบวนการที่มีคุณภาพ ดังนี้การสร้างความรู้ความเข้าใจ การออกแบบวิธีการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล การบันทึกและประมวลข้อมูล การตรวจทานข้อมูล และการนำเสนอข้อมูลเพื่อการใช้
ประโยชน์ร่วมกันในทุกระดับ ข้อเสนอแนะเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บข้อมูลควรให้คนในชุมชนและ
องค์กรหน่วนงานที่เกี่ยวข้องเห็นความสำคัญในการให้ข้อมูลและการจัดเก็บข้อมูลโดยการสร้างการมี
ส่วนร่วมในการจัดเก็บข้อมูล และควรมีการฝึกอบรมและเพิ่มองค์ความรู้ให้กับผู้จัดเก็บข้อมูลอย่างเข้มข้น
รวมทั้งการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรับทราบถึงระยะเวลาในการจัดเก็บข้อมูลรวมกันทั้งประเทศ

คำสำคัญ: คุณภาพชีวิตประชาชน,ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.),ข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by vasusamran55, 2021-07-01 09:24:14

โครงการจัดทำเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.)และข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) ฉบับที่ 13 (พ.ศ.2565-2569)

การพัฒนาเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพื้นฐาน
ระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) เป็นเครื่องมือในการวางแผนพัฒนาให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ และจะมีการปรับปรุงทุก ๆ 5 ปี ในปี พ.ศ. 2565 เป็นปีเริ่มต้นของแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (2565 - 2569) จึงมีความจำเป็นต้องใช้เครื่องชี้วัด เกณฑ์ชี้วัดและ
แบบสอบถามชุดใหม่สำหรับจัดเก็บข้อมูล จปฐ. และข้อมูล กชช. 2ค ให้สอดคล้องกับเป้าหมาย
การพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) และแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561 – 2580) และการควบคุม
คุณภาพการจัดเก็บข้อมูลและรูปแบบการรายงานด้วยระบบสารสนเทศที่รองรับความต้องการของทุก
ภาคส่วน การศึกษาครั้งนี้มีวิธีศึกษาจากการวิเคราะห์ประมวลผลจากการสอบถามความคิดเห็นผู้ใช้ข้อมูล
จปฐ. และข้อมูล กชช. 2ค เกี่ยวกับปัญหาและความต้องการของผู้ใช้ข้อมูล (ส่วนภูมิภาค) กระจายตาม
ภูมิภาค จำนวน 8 จังหวัด จังหวัดละ 5 หน่วยงาน รวม 40 หน่วยงาน และการวิเคราะห์ประมวลผลจาก
ประชุมรับฟังความคิดเห็นของคณะทำงานปรับปรุงเครื่องชี้วัดคุณภาพชีวิตของประชาชน และ
คณะกรรมการอำนวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน (พชช.)
ผลการศึกษา พบว่า การใช้แบบสอบถามข้อมูล จปฐ. และแบบสอบถามข้อมูล กชช. 2ค
สำหรับใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ปรับระยะเวลาการเริ่มใช้ให้สอดคล้อง
กับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 13 และแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี จึงเริ่มใช้ระหว่าง
พ.ศ.2566 – 2570 เครื่องชี้วัดข้อมูล จปฐ. ที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูลช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติฉบับที่ 13 ( พ.ศ.2566 - พ.ศ. 2570) ประกอบด้วย 5 หมวด 38 ตัวชี้วัด ได้แก่ หมวดที่ 1
สุขภาพ มี 12 ตัวชี้วัด หมวดที่ 2 มาตรฐานความเป็นอยู่ มี 9 ตัวชี้วัด หมวดที่ 3 การศึกษา มี 5 ตัวชี้วัด
หมวดที่ 4 เศรษฐกิจ มี 4 ตัวชี้วัด และหมวดที่ 5 การคุ้มครองทางสังคมและการมีส่วนร่วม มี 8 ตัวชี้วัด
และเครื่องชี้วัดข้อมูล กชช. 2ค สำหรับใช้ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13
(พ.ศ. 2566 - 2570) ประกอบด้วย 7 หมวด 44 ตัวชี้วัด ดังนี้ หมวดที่ 1 โครงสร้างพื้นฐาน มี 10
ตัวชี้วัด หมวดที่ 2 สภาพพื้นฐานทางเศรษฐกิจ มี 10 ตัวชี้วัด หมวดที่ 3 สุขภาวะและอนามัย มี 7
ตัวชี้วัด หมวดที่ 4 ความรู้และการศึกษา มี 4 ตัวชี้วัด หมวดที่ 5 การมีส่วนร่วมและความเข้มแข็ง
ของชุมชน มี 5 ตัวชี้วัด หมวดที่ 6 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มี 5 ตัวชี้วัด และหมวดที่ 7
ความเสี่ยงของชุมชนและภัยพิบัติ มี 3 ตัวชี้วัด สำหรับกลไกและกระบวนการบริหารจัดเก็บข้อมูลให้มี
คุณภาพ ต้องมีกลไกควบคุมคุณภาพในทุกระดับ ดังนี้ คณะกรรมการอำนวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิต
ของประชาชน (พชช.) คณะทำงานบริหารการจัดเก็บข้อมูลฯ ระดับจังหวัด คณะทำงานบริหารการจัดเก็บ
ข้อมูลฯ ระดับอำเภอ คณะทำงานบริหารการจัดเก็บข้อมูลฯ ระดับตำบล และคณะผู้จัดเก็บข้อมูลระดับ
หมู่บ้าน โดยมีกระบวนการที่มีคุณภาพ ดังนี้การสร้างความรู้ความเข้าใจ การออกแบบวิธีการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล การบันทึกและประมวลข้อมูล การตรวจทานข้อมูล และการนำเสนอข้อมูลเพื่อการใช้
ประโยชน์ร่วมกันในทุกระดับ ข้อเสนอแนะเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บข้อมูลควรให้คนในชุมชนและ
องค์กรหน่วนงานที่เกี่ยวข้องเห็นความสำคัญในการให้ข้อมูลและการจัดเก็บข้อมูลโดยการสร้างการมี
ส่วนร่วมในการจัดเก็บข้อมูล และควรมีการฝึกอบรมและเพิ่มองค์ความรู้ให้กับผู้จัดเก็บข้อมูลอย่างเข้มข้น
รวมทั้งการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรับทราบถึงระยะเวลาในการจัดเก็บข้อมูลรวมกันทั้งประเทศ

คำสำคัญ: คุณภาพชีวิตประชาชน,ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.),ข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค)

รายงานฉบับสมบรู ณ์โครงการจดั ท
ระดับหมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรบั

Goal เปา้ หมาย Target เป้าประสงค์
No.

7 สร้างหลักประกนั ให้ทุกคน 7.1 ภายในปี 2030 สร้างหลักประกัน 7.1.1 ร้อ

สามารถเข้าถงึ พลงั งาน การเข้า ถึงพลังงานด้วย ราคาท่ี ไฟฟ้าใช้ (%

สมัยใหม่ ในราคาทีย่ อ่ มเยา เหมาะสม เชื่อถือได้ และการ

และย่ังยืน บริการดา้ นพลงั งานที่ ทันสมัย

7 สรา้ งหลกั ประกนั ใหท้ กุ คน 7.1 ภายในปี 2030 สร้างหลกั ประกัน 7.1.2 ร้อ

สามารถเข้าถงึ พลังงาน การเข้า ถึงพลังงานด้วย ราคาที่ ไมพ่ ึง่ พาเช

สมยั ใหม่ ในราคาทย่ี อ่ มเยา เหมาะสม เชื่อถือได้ และการ

และยั่งยนื บริการดา้ นพลงั งานที่ ทันสมัย

7 สรา้ งหลกั ประกันใหท้ กุ คน 7.2 ภ า ย ใ น ป ี 2030 เ พ ิ ่ ม ก า ร 7.2.1 ส่ว

สามารถเข้าถงึ พลงั งาน แลกเปลี่ยนพลังงานหมุนเวียน หมุนเวียน

สมยั ใหม่ ในราคาท่ยี อ่ มเยา อย่างยั่งยนื ในระดับนานาชาติ สุดทา้ ยทง้ั

และยง่ั ยืน

7 สร้างหลกั ประกนั ใหท้ กุ คน 7.3 ภ า ย ใ น ป ี 2030 เ พิ่ ม 7.3.1 อัต

สามารถเข้าถงึ พลังงาน ประสิทธิภาพการใช้พลังงานใน เข้มข้นข

สมัยใหม่ ในราคาที่ยอ่ มเยา โลกให้ เป็นสองเท่า (energy

และยัง่ ยืน รปู ของพล

7 สร้างหลกั ประกนั ใหท้ ุกคน 7.a ภายในปี 2030 สร้างความ 7.a.1 กา

สามารถเขา้ ถงึ พลงั งาน ร่วมมือระหว่างประเทศในการ เกิดคาร์บ

สมยั ใหม่ ในราคาที่ย่อมเยา เข้าถึงการวิจัยและเทคโนโลยี ผลติ ภัณฑ

และยง่ั ยนื พลังงานสะอาด รวมทั้ง พลัง (GHG/TF

งา น ทด แ ทน พล ั งงา นที ่ มี

455

ทำเครอื่ งชี้วัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พ้ืนฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พื้นฐาน
บใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตวั ชี้วัด ข้อมลู จปฐ. ความสอดคลอ้ งข้อมูล กชช. 2ค.

อยละของประชากรที่มี ตัวชี้วัดที่ 19 ครัวเรือนเข้าถึง ตัวชี้วัดที่ 5 ไฟฟ้าและ

%) ไฟฟ้าและใช้บริการไฟฟา้ เชื้อเพลงิ ในการหงุ ตม้

• 19.1 ครวั เรอื นเข้าถึงเข้าถึง 5.1.1.2 กรณีที่ มีไฟฟ้า
บริการไฟฟ้าระบบสายส่งของรัฐ หมู่บ้าน/ชุมชนนี้มีไฟฟ้าใช้ครบ
หรอื ไม่ ทุกครวั เรือนหรอื ไม่

อยละของประชากรที่ ตัวชี้วัดที่ 5 ไฟฟ้าและ

ชอ้ื เพลิงแข็ง (%) เช้ือเพลงิ ในการหุงต้ม

5.2 เช้ือเพลงิ ในการหงุ ตม้

5.2.1 ครัวเรือนส่วนมาก

ใช้เชอื้ เพลงิ ใดในการหุงตม้

(แตไ่ ม่มึให้ระบจุ ำนวน)

วนแบ่งของพลังงาน

นในการใช้พลังงานข้ัน

งสิน้ (%)

ตราการปรับปรงุ ความ
ของการใช้พลังงาน
intensity) (%) วัดใน
ลังงานหลกั และ GDP

ารปรับปรุงดัชนีการ
บอนต่อ GDP หรือต่อ
ฑส์ ุทธขิ องภาคพลังงาน
FC เทยี บเทา่ Co2 ).

รายงานฉบบั สมบูรณโ์ ครงการจดั ทำเครือ่ งช้วี ดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพน้ื
ระดบั หมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั

Goal เป้าหมาย Target เป้าประสงค์
No.

ประสิทธิภาพ ทันสมัย และ

เทคโนโลยีเชื้อเพลิงฟอสซิล

สะอาดตลอดจนส่งเสริมการ

ลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานด้าน

พลังงานและเทคโนโลยี พลัง

งานสะอาด

7 สร้างหลกั ประกนั ให้ทกุ คน 7.b ภายในปี 2030 ขยายโครงสร้าง 7.b

สามารถเข้าถึงพลังงาน พื้นฐานและเพิ่มศักยภาพ ทาง ตอ่ ก

สมัยใหม่ ในราคาท่ีย่อมเยา เทคโนโลยีเพื่อที่จะรองรับการ ส ุ ท

และย่ังยืน บริการการใช้พลังงาน อย่างยั่งยนื อตุ ส

และพลังงานรูปแบบใหม่ (เน้น

กล่มุ ประเทศกำลงั พัฒนาและกลมุ่

ประเทศด้อยพัฒนาและประเทศ

กำลัง พัฒนาที่เป็นหมู่เกาะขนาด

เล็ก) และประเทศกำลัง พัฒนาท่ี

ไ ม ่ ม ี เ ข ต ต ิ ด ต ่ อ ท า ง ท ะ เ ล ใ ห้

สอดคล้องกับโครงการ ที่ประเทศ

นน้ั ๆไดร้ บั การสนบั สนุน

8 ส่งเสรมิ การเจรญิ เตบิ โต 8.1 รักษาการเติบโตทางเศรษฐกิจต่อ 8.1

ทาง เศรษฐกจิ ทีย่ ่งั ยืน และ หัว ที่สอดคล้องกับ สภาวการณ์ ผลิต

ครอบคลมุ และการจา้ ง ของแต่ละประเทศ และโดยเฉพาะ ต่อ

งานเตม็ อัตรา และ งานท่มี ี การเติบโต ของ GDP อย่างน้อย ควา

คณุ ค่าสำหรบั ทุกคน 7% ต่อปี ในประเทศที่พัฒนา ใช้จ

นอ้ ยท่สี ดุ

นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พื้นฐาน ข้อมูล จปฐ. ความสอดคล้องข้อมลู กชช. 2ค.
บท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตวั ชีว้ ดั

b.1 อัตราส่วนของมูลค่าเพ่ิม
การใช้พลังงาน ภายในประเทศ
ทธิ จำแนกตามประเภท
สาหกรรม ตัวเดยี วกับ 7.3

1.1 GDP ต่อหัว PPP
ตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ
หัว (GDP) ภายใต้การปรับ
ามเสมอภาคของอำนาจการ
จา่ ยของประเทศ (PPP)

456

รายงานฉบับสมบรู ณ์โครงการจัดท
ระดับหมูบ่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั

Goal เปา้ หมาย Target เปา้ ประสงค์
No.

8 สง่ เสริมการเจรญิ เตบิ โต 8.2 บรรลุผลิตภาพระดับ สูงขึ้นทาง 8.2.1 อั

ทาง เศรษฐกิจทยี่ ั่งยืน และ เศรษฐกจิ ผ่านความ หลากหลาย GDP ต่อผ

ครอบคลมุ และการจา้ ง การพัฒนาเทคโนโลยี และ

งานเตม็ อตั รา และ งานทม่ี ี นวัตกรรม, รวมถึง มุ่งมูลค่าเพม่ิ

คณุ คา่ สำหรับทุกคน ทสี่ ูงและภาคแรงงานเข้มขน้

8 สง่ เสรมิ การเจรญิ เตบิ โต 8.3 ส่งเสริมนโยบายที่มุ่งเน้น การ 8.3.1 ส่ว

ทาง เศรษฐกจิ ทยี่ ่งั ยนื และ พัฒนาที่สนับสนุนกิจกรรม การ งานนอก

ครอบคลมุ และการจา้ ง ผลิต, การสร้างงานที่เหมาะสม, นอกภาค

งานเต็มอตั รา และ งานที่มี การเปน็ ผู้ประกอบการ ความคดิ เพศ

คุณค่าสำหรับทกุ คน สร้างสรรค์และนวัตกรรม, แสะ

ส่งเสรมิ ความเป็น แบบแผนและ

การเติบโตธุรกิจรายย่อย ขนาด

เล็กและกลาง รวมถึงการเข้าถึง

บริการทางการเงิน

8 สง่ เสริมการเจรญิ เตบิ โต 8.4 ปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง, ถึงปี 8.4.1 ผล

ทาง เศรษฐกจิ ทย่ี ง่ั ยนื และ 2030, เกี่ยวกับประสิทธิภาพ

ครอบคลมุ และการจ้าง ทรัพยากรทั่วโลกทั้งในการ

งานเตม็ อตั รา และ งานทีม่ ี บริโภคและการผลิต และ

คณุ ค่าสำหรบั ทกุ คน พยายามแยกการเติบโตทาง

เศรษฐกิจจากความเสื่อมโทรม

ขอสิ่งแวดล้อม, ตามกรอบการ

ทำงาน 10 ปี ของ โครงการการ

ผลิตและการบริโภคอย่างยั่งยืน,

ท่ีประเทศ พฒั นาแลว้ เป็นผู้นำ

457

ทำเครอ่ื งชว้ี ดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พื้นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพืน้ ฐาน
บใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตวั ชี้วดั ข้อมูล จปฐ. ความสอดคลอ้ งข้อมลู กชช. 2ค.

ตราการเติบโตของ
ผู้มีงานทำ

วนแบ่งของการจ้าง
ระบบในการจ้างงาน
คการเกษตร แยกตาม

ลติ ภาพของทรพั ยากร

รายงานฉบับสมบรู ณโ์ ครงการจดั ทำเครื่องชีว้ ดั และแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พ้นื
ระดบั หมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั

Goal เปา้ หมาย Target เปา้ ประสงค์
No.

8 ส่งเสริมการเจรญิ เตบิ โต 8.5 ในปี 2030, บรรลุการจ้าง 8.5

ทาง เศรษฐกจิ ท่ียัง่ ยนื และ ทง้ั หมดและมีประสทิ ธภิ าพ และ ขอ

ครอบคลมุ และการจา้ ง งานที่เหมาะสมสำหรับทั้งผู้หญิง แบ

งานเต็มอตั รา และ งานท่ีมี และผู้ชาย, รวมถงึ วยั รนุ่ และคน ต่าง

คณุ ค่าสำหรบั ทุกคน พิการ, ค่าจา้ งทเ่ี ป็นธรรมสำหรับ

งานท่มี ีค่าเท่า เทียมกัน

8 ส่งเสริมการเจรญิ เตบิ โตทาง 8.5 ในปี 2030, บรรลุการจา้ งท้ังหมด 8.5
เศรษฐกจิ ท่ียัง่ ยนื และ และมีประสิทธิภาพ และ งานท่ี ตาม
ครอบคลมุ และการจา้ งงาน เหมาะสมสำหรับทั้งผู้หญิงและ พกิ า
เตม็ อัตรา และ งานทม่ี ี ผู้ชาย, รวมถึงวัยรุ่น และคนพกิ าร,
คุณคา่ สำหรบั ทกุ คน ค่าจ้างที่เป็นธรรมสำหรับงานที่มี
คา่ เท่า เทยี มกนั

นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พื้นฐาน
บท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตวั ชว้ี ัด ข้อมลู จปฐ. ความสอดคล้องข้อมูล กชช. 2ค.

5.1 รายได้เฉลี่ยรายชั่วโมง ตัวชี้วัดที่ 27 คนอายุ 15 - ตัวชว้ี ัดท่ี 11 การมีงานทำ

งผู้มีงานทำชายและหญิง 59 ปี มีอาชพี และรายได้ 11.8 ค่าจ้างทั่วไป สำหรับ

่งเป็นอาชีพ (ค่าจ้าง/ความ • 27.3 คนอายุ 15 - 59 ปี งานที่คนส่วนมากไปรับจ้างทำ
งของคา่ จ้างตามเพศ) (ประมาณ บาท/วนั )
มีรายไดท้ ุกคน หรือไม่

ตัวชี้วัดที่ 28 คนอายุ 60 ปี

ขนึ้ ไป มีอาชพี และรายได้

• 28.3 คนอายุ 60 ปี ขึ้น

ไป มรี ายไดท้ กุ คน หรือไม่

5.2 อัตราการว่างงาน จำแนก ตัวชี้วัดที่ 27 คนอายุ 15 - ตัวชี้วัดที่ 11 การมีงานทำ

มเพศ กลุ่มอายุ และ ความ 59 ปี มอี าชีพและรายได้ 11.2 คนอายุ 15 - 59 ปีเต็ม

าร • 27.1 ครัวเรอื นนี้ มีคนอายุ ไม่มีการประกอบอาชีพและไม่มี
15 - 59 ปี หรือไม่ (ไม่นับรวม รายได้

ผู้ที่กำลังศึกษาอย่างเดียว โดย

ไม่ประกอบอาชีพ และคนพิการ

ที่ไม่สามารถชว่ ยเหลือตนเองได)้

• 27.2 คนอายุ 15 - 59 ปี

มีอาชพี ทกุ คน หรือไม่

ตัวชี้วัดที่ 28 คนอายุ 60 ปี

ข้นึ ไป มีอาชพี และรายได้

• 28.1 ครัวเรือนนี้ คนอายุ

60 ปี ขึน้ ไป หรอื ไม่

• (ไม่นับรวมคนพิการที่ไม่

สามารถช่วยเหลือตนเองได้)

458

Goal เป้าหมาย Target รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการจัดท
No. ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั

เป้าประสงค์

8 สง่ เสริมการเจรญิ เตบิ โต 8.6 ในปี 2020, ลดสัดส่วนของ 8.6.1 ร้

ทาง เศรษฐกจิ ทย่ี ่ังยนื และ เยาวชน ที่ไม่ได้อยู่ในการจ้าง (15-24ป

ครอบคลมุ และการจา้ ง งาน การศกึ ษาหรือการฝกึ อบรม การศึกษา

งานเต็มอตั รา และ งานที่มี ฝึกอบรม

คณุ คา่ สำหรบั ทุกคน * NEET ค

อยู่เฉย ไม

การศกึ ษา

8 สง่ เสริมการเจรญิ เตบิ โต 8.7 ใช้มาตรการเร่งด่วน และมี 8.7.1 ร้อ

ทาง เศรษฐกิจที่ยง่ั ยนื และ ประสิทธิภาพ เพื่อขจัดการบังคับ เด็กอายุ 5

ครอบคลมุ และการจ้าง ใช้แรงงาน หยุดรูปแบบแรงงาน เด็ก จำแ

งานเตม็ อตั รา และ งานทม่ี ี ทาส และการค้ามนุษย์ และทำให้ อายุ (แย

คุณคา่ สำหรับทกุ คน ม่ันใจในการยบั ยงั้ และกำจดั การใช้ ท่สี ดุ ของแ

แรงงานเด็กทุกรูปแบบ รวมทั้งการ

จ้างงาน และใช้เด็กในการทหาร

และโดยในปี 2025 ขจัดการใช้

แรงงานเดก็ ในทกุ รูปแบบ

8 ส่งเสรมิ การเจรญิ เตบิ โต 8.8 ปกป้องสิทธิแรงงานและส่งเสริม 8.8.1 อัต

ทาง เศรษฐกิจที่ยั่งยืน และ สภาพแวดล้อมการทำงาน ท่ี บาดเจ็บร

ครอบคลมุ และการจ้าง ปลอดภยั และมั่นคงสำหรับทุกคน, จากการท

งานเตม็ อตั รา และ งานท่ีมี รวมถงึ แรงงานข้าม ชาติ, โดยเฉพาะ และอาช

คณุ คา่ สำหรบั ทุกคนงานท่ี แรงงานขา้ มชาติหญงิ และผ้ทู ่ีอยใู่ น สูญเสียจา

มีคุณคา่ สา่ หรับทุกคน การจ้างงานทีไ่ มป่ ลอดภัย ตามเพศแ

459

ทำเครื่องช้ีวัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเป็นพ้นื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พืน้ ฐาน
บใช้ชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตวั ชี้วดั ข้อมูล จปฐ. ความสอดคล้อง ขอ้ มูล กชช. 2ค.

อยละของเยาวชน • 28.2 คนอาย ุ 60 ปี
ปี ) ไ ม ่ ไ ด ้ อ ย ู ่ ใ น
าการจ้างงานหรือการ ขึ้นไป มอี าชพี ทกุ คน หรอื ไม่
(NEET)
คือ คนวัยหนุ่มสาวท่ี
ม่กระตือรือร้นที่จะรับ
าหรือทำงาน
อยละและจำนวนของ
5-17 ปี ที่เปน็ แรงงาน
แนกตามเพศและกลุ่ม
ยกตามรูปแบบที่แย่
แรงงานเด็ก)

ตราความถี่ของการ ตวั ชว้ี ัดท่ี 26 ความปลอดภัย
ร้ายแรง และไมร่ า้ ยแรง ในการทำงาน
ทำงานทั้งอาชีพหลัก 26.2 มีการบาดเจ็บจากการ
ชีพรอง และเวลาที่ ทำงานในสถานประกอบการ
ากการบาดเจบ็ จำแนก (ไมม่ ีหนว่ ยนับความถ่ี)
และสถานภาพสมรส

รายงานฉบบั สมบูรณโ์ ครงการจัดทำเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพืน้
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั

Goal เป้าหมาย Target เป้าประสงค์
No.

8 ส่งเสริมการเจรญิ เตบิ โต 8.8 ปกป้องสิทธิแรงงาน และ 8.8

ทาง เศรษฐกจิ ทีย่ งั่ ยนื และ ส่งเสริมสภาพแวดล้อมการ ยอม

ครอบคลมุ และการจา้ ง ทำงาน ที่ปลอดภัย และมั่นคง องค

งานเตม็ อตั รา และ งานที่มี สำหรับทุกคน, รวมถึงแรงงาน แยก

คณุ คา่ สำหรบั ทกุ คน ข้าม ชาติ, โดยเฉพาะแรงงาน

ข้ามชาติหญิง และผู้ที่อยู่ในการ

จ้างงานท่ไี มป่ ลอดภยั

8 ส่งเสริมการเจรญิ เตบิ โต 8.9 ใ น ป ี 2030, ว า ง แ ผ น แ ล ะ 8.9

ทาง เศรษฐกจิ ท่ยี งั่ ยนื และ ดำเนินนโยบายเพื่อส่งเสริมการ โดย

ครอบคลมุ และการจ้าง ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนที่สร้างงาน GD

งานเตม็ อัตรา และ งานทีม่ ี และส่งเสริมวัฒนธรรม ท้องถ่ิน ทั้ง

คณุ คา่ สำหรับทุกคน และผลิตภัณฑ์ อุตส

เป็น

การ

ตาม

8 ส่งเสรมิ การเจรญิ เตบิ โต 8.10 เสริมสร้างศักยภาพของสถาบัน 8.1

ทาง เศรษฐกจิ ทย่ี ง่ั ยนื และ การเงินในประเทศ เพื่อส่งเสริม ธนา

ครอบคลมุ และการจ้าง และขยายการเข้าถึงบริการทาง ต่อ

งานเตม็ อัตรา และ งานที่มี การเงินประกันภัยและการ คน

คุณค่าสำหรับทกุ คน ธนาคาร ทง้ั หมด

8 สง่ เสรมิ การเจรญิ เตบิ โต 8.10 เสริมสร้างศักยภาพของสถาบัน 8.1

ทาง เศรษฐกิจทยี่ ง่ั ยืน และ การเงินในประเทศ เพื่อ ส่งเสรมิ บัญ

ครอบคลมุ และการจ้าง และขยายการเข้าถึงบริการทาง การ

ระย

นฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พน้ื ฐาน ข้อมูล จปฐ. ความสอดคลอ้ งขอ้ มูล กชช. 2ค.
บท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตัวชวี้ ัด

8.2 จำนวนข้อตกลงที่มีการ
มรับอย่างเป็นทางการของ
ค์กรแรงงานระหว่างประเทศ
กตามประเภทขอ้ ตกลง

9.1 GDP จากการท่องเที่ยว ตวั ช้วี ดั ท่ี 20 การท่องเทย่ี ว
ยตรง (คิดเป็นร้อยละของ 20.1.7 ครัวเรือนในหมู่บ้าน/
DP และในอัตราการเติบโต ชุมชนนี้ ที่มีรายได้จากสถานท่ี
งหมด) และจำนวนงานใน ทอ่ งเที่ยวทอี่ ยภู่ ายนอกตำบล
สาหกรรมการท่องเที่ยว (คิด 20.1.8 ครวั เรอื นมรี ายไดจ้ าก
นร้อยละของงาน และ อัตรา สถานที่ท่องเที่ยวทั้งภายใน
รเตบิ โตทงั้ หมดของงาน แยก และภายนอกตำบล โดยเฉลย่ี
มเพศ
10.2 จ ำ น ว น ข อ ง ส า ข า ตัวชี้วัดที่ 9 สิ่งอำนวยความ
าคารพาณิชย์และตู้เอทีเอ็ม สะดวกคนพิการและผูส้ ูงอายุ
ประชากรผู้ใหญ่ 100,000 11) ตู้บริการเงินด่วนสำหรับ
คนพกิ าร
10.2 ร้อยละของผู้ใหญ่ที่มี
ญชีปกติ หรือมีการใช้บริการ
รเงินทางมือถือส่วนบุคคลใน
ยะเวลา 12 เดือนที่ผ่านมา

460

รายงานฉบบั สมบรู ณ์โครงการจัดท
ระดบั หมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรบั

Goal เป้าหมาย Target เป้าประสงค์
No.

งานเตม็ อัตรา และ งานทีม่ ี การเงิน ประกันภัย และการ เป็นไปได

คณุ ค่าสำหรับทุกคน ธนาคาร ท้ังหมด ลดลงเช่น

ส่วนแบ่งร

/ วัน โด

และชนบท

8 ส่งเสรมิ การเจรญิ เตบิ โต 8.a เพิ่มการช่วยเหลือเพื่อสนับสนุน 8.a.1 คว

ทาง เศรษฐกจิ ที่ยั่งยนื และ ทางการค้าสำหรับประเทศ กำลัง ข้อ ตกล

ครอบคลมุ และการจ้าง พัฒนา, โดยเฉพาะในประเทศท่ี เบิกจ่ายเง

งานเต็มอัตรา และ งานทมี่ ี พัฒนาน้อยที่สุด, รวมทั้งผ่าน

คณุ ค่าสำหรับทุกคน กรอบการทำงานที่บูรณาการ

ยกระดับการ ช่วยเหลือด้าน

เทคนิคที่เกี่ยวข้องกบั การค้า ต่อ

ประเทศพัฒนานอ้ ยทสี่ ดุ

8 สง่ เสรมิ การเจรญิ เตบิ โต 8.b ในปี 2020, การพัฒนาและการ 8.b.1 ค่า

ทาง เศรษฐกิจทยี่ งั่ ยืน และ ดำเนินกลยุทธ์ทั่วโลก สำหรับ รัฐบาลใน

ครอบคลมุ และการจ้าง การจ้างงานเยาวชนและการ สังคม แล

งานเต็มอตั รา และ งานท่ีมี ดำเนินงานข้อตกลง เรื่องงาน ร ้ อ ย ล ะ

คุณคา่ สำหรับทกุ คน ข อ ง โ ล ก (Global Jobs Pact) ประเทศ

ขององค์การ แรงงานระหว่าง ข้อตกลงแ

ประเทศ

9 สร้างโครงสรา้ งพน้ื ฐานท่มี ี 9.1 พัฒนาคุณภาพ ความน่าเชื่อถือ 9.1.1 ส่ว

ความ ตา้ นทานและ ความยั่งยืน และฟื้นฟูและ เมืองที่อา

ยืดหยนุ่ ตอ่ การ บูรณะโครงสร้างพื้นฐาน ทั้งใน กิโลเมตร

เปลยี่ นแปลง สง่ เสรมิ การ ระดับภูมิภาคและระหว่าง งานได้ทกุ

461

ทำเคร่ืองช้วี ัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พื้นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พนื้ ฐาน
บใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตวั ชว้ี ดั ข้อมูล จปฐ. ความสอดคล้องขอ้ มูล กชช. 2ค.

ด้ที่จะมีการแบ่งรายได้
น ด้านล่าง 40% ของ
รายได้หรือ <1.25 $
ดยเพศอายุ (เยาวชน)
ท ผใู้ หญ่: อายุ 15 +
วามช่วยเหลือสำหรับ
ลงทางการค้า และการ
งินช่วยเหลอื

าใช้จ่ายทั้งหมดของ ตัวช้วี ดั ที่ 1 ถนน
นโครงการคุ้มครองทาง 1.1.1 ถนนเส้นทางหลักใน
ละการจ้างงาน คิดเป็น เขตหมู่บ้าน/ชุมชนนี้แยกเป็น
ะของงบประมาณ ถนนชนดิ
และ GDP และอัตรา
แรงงาน

วนแบ่งของประชากร
าศัยอยู่ภายในระยะ 2
รของถนนที่สามารถใช้
กฤดู

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจดั ทำเคร่ืองชีว้ ดั และแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพืน้
ระดบั หมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ่วงแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั

Goal เป้าหมาย Target เปา้ ประสงค์
No.

พัฒนา อตุ สาหกรรมที่ พรมแดน (Trans border) เพื่อ

ครอบคลมุ และ ยั่งยืน และ สนับสนุนการพัฒนา เศรษฐกิจ

สง่ เสรมิ นวัตกรรม และคุณภาพชีวิตของมนุษย์ โดย

เน้นในส่งิ ทมี่ ีอยู่ และการเขา้ ถงึ ท่ี

เทา่ เทียมกันของทุกคน

9 สร้างโครงสรา้ งพื้นฐานทีม่ ี 9.1 พัฒนาคุณภาพ ความน่าเชื่อถือ 9.1

ความ ตา้ นทานและ ความยั่งยืน และฟื้นฟูและ ระว

ยดื หย่นุ ตอ่ การ บูรณะโครงสร้างพื้นฐาน ทั้งใน

เปล่ียนแปลง สง่ เสรมิ การ ระดับภูมิภาคและระหว่าง

พัฒนา อุตสาหกรรมท่ี พรมแดน (Trans border) เพื่อ

ครอบคลมุ และ ยั่งยืน และ สนับสนุนการพัฒนา เศรษฐกิจ

ส่งเสรมิ นวัตกรรม และคุณภาพชีวติ ของมนษุ ย์ โดย

เน้นในสิ่งที่มีอยู่และการเข้าถึงท่ี

เทา่ เทียมกนั ของทุกคน

9 สรา้ งโครงสรา้ งพน้ื ฐานทีม่ ี 9.2 ส่งเสริมด้านอุตสาหกรรมให้ 9.2

ความ ตา้ นทานและ ครอบคลุมและยั่งยืน โดยในปี อุต

ยดื หย่นุ ตอ่ การ 2030 ส่วนแบ่งของอุตสาหกรรม ของ

เปลยี่ นแปลง ส่งเสรมิ การ การจ้างงานและผลติ ภณั ฑม์ วลรวม , ต่อ

พัฒนา อุตสาหกรรมท่ี ภายในประเทศเพิ่มขึ้นอย่างมี ทาง

ครอบคลมุ และ ยงั่ ยืน และ น ั ย ส ำ ค ั ญ แ ล ะ ส อ ด ค ล ้ อ ง กั บ

สง่ เสรมิ นวตั กรรม สถานการณ์ของแต่ละประเทศ

และเพิ่ม ส่วนแบ่งเป็นสองเท่าใน

ประเทศพัฒนาน้อยที่สุด (least

developed countries)

นฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พน้ื ฐาน ข้อมูล จปฐ. ความสอดคล้องขอ้ มูล กชช. 2ค.
บท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)
1) ลาดยางหรือคอนกรตี
ตวั ชีว้ ัด
2) ลกู รังหรือหินคลุก
1.2 ปรมิ าณผู้โดยสารและคา่
วาง 3) ทางดนิ

2.1 ม ู ล ค ่ า เ พ ิ ่ ม ข อ ง
สาหกรรมการผลิต (สัดส่วน
งผลติ ภณั ฑม์ วลรวมในประเทศ
อประชากร, อัตราการ เติบโต
งเศรษฐกจิ )

462

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการจดั ท
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับ

Goal เปา้ หมาย Target เป้าประสงค์
No.

9 สร้างโครงสรา้ งพน้ื ฐานท่มี ี 9.2 ส่งเสริมด้านอุตสาหกรรมให้ 9.2.2 ก

ความ ตา้ นทานและ ครอบคลุมและยั่งยืน โดยในปี อุตสาหกร

ยืดหยุ่นตอ่ การ 2030 ส่วนแบ่งของอุตสาหกรรม ของ การจ

เปล่ียนแปลง ส่งเสรมิ การ การจ้างงานและ

พฒั นา อุตสาหกรรมท่ี ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ

ครอบคลมุ และ ย่งั ยนื และ เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญและ

สง่ เสรมิ นวัตกรรม สอดคลอ้ งกับ สถานการณ์ของแต่

ละประเทศ และเพ่ิม ส่วนแบ่งเป็น

สองเท่าในประเทศพัฒนาน้อย

ท ี ่ สุ ด ( least developed

countries)

9 สรา้ งโครงสรา้ งพน้ื ฐานท่ีมี 9.3 เพิ่มการเข้าถึงของธุรกิจขนาดเล็ก 9.3.1 ส่ว

ความ ตา้ นทานและ และสถานประกอบการ อื่นๆ จาก ของอุตสา

ยืดหยุ่นต่อการ ประเทศกำลัง พัฒนา ในการ ขนาดกลา

เปลีย่ นแปลง ส่งเสริมการ บริการด้านการเงิน รวมถึงการให้ อตุ สาหกร

พฒั นา อุตสาหกรรมที่ สนิ เชือ่ และการบูรณาการของหว่ ง

ครอบคลมุ และ ย่ังยืน และ โซ่มูลค่า (value chains) และ

สง่ เสริมนวัตกรรม การตลาด

9 สร้างโครงสรา้ งพนื้ ฐานท่ีมี 9.4 ในปี 2030 ยกระดับโครงสร้าง 9.4.1 การ

ความ ตา้ นทานและ พื้นฐานและการปรับปรุง ด้าน หน่วยมลู ค

ยืดหยุน่ ต่อการ อุตสาหกรรมเพื่อสร้างความยั่งยืน

เปลยี่ นแปลง ส่งเสริมการ ในภาคอุตสาหกรรม ด้วยการเพิ่ม

พฒั นา อตุ สาหกรรมท่ี ประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากร

และใช้ เทคโนโลยีที่สะอาดและ

463

ทำเครื่องช้ีวัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พน้ื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พ้ืนฐาน
บใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตวั ช้วี ัด ขอ้ มูล จปฐ. ความสอดคลอ้ งข้อมูล กชช. 2ค.

ารจ้างงานใน
รรมการผลิต เปน็ ร้อยละ
จา้ งงานรวมท้ังหมด

วนแบ่งร้อยละมูลคา่ เพิ่ม
าหกรรมขนาดเล็ก และ
าง ต่อมูลค่าเพิ่มของ
รรมทั้งหมด

ารปล่อยสารคาร์บอนตอ่
ค่าเพ่มิ

รายงานฉบับสมบูรณโ์ ครงการจัดทำเคร่อื งช้วี ัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพนื้
ระดบั หมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ่วงแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั

Goal เป้าหมาย Target เป้าประสงค์
No.

ครอบคลมุ และ ยัง่ ยืน และ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมใหม่มาก

สง่ เสริมนวตั กรรม ยิ่งขึ้น โดยดำเนินการใหส้ อดคล้อง

กับ ความสามารถของแต่ ละ

ประเทศ

9 สร้างโครงสรา้ งพ้นื ฐานทม่ี ี 9.5 การเพิ่มการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ 9.5

ความ ตา้ นทานและ การยกระดบั ความสามารถดาดา้ น พัฒ

ยืดหยุ่นตอ่ การ เทคโนโลยขี องภาคอุตสาหกรรมใน

เปล่ยี นแปลง สง่ เสริมการ ทุก ประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน

พฒั นา อุตสาหกรรมที่ ประเทศที่กำลังพัฒนา ภายในปี

ครอบคลมุ และ ยั่งยืน และ 2030 สน ั บสน ุ นการสร ้ าง

ส่งเสริมนวัตกรรม นวัตกรรมและการเพิ่ม จำนวน

นักวิจัย และพัฒนาต่อประชากร

ล้านคน รวมถงึ สนับสนุนค่าใชจ้ า่ ย

การวิจัย และพัฒนาทั้งในภาครัฐ

และ เอกชน

9 สร้างโครงสรา้ งพน้ื ฐานทมี่ ี 9.a การอำนวยความสะดวกในการ 9.a

ความ ต้านทานและ พัฒนาเพื่อความยั่งยืน รวมถึง โคร

ยดื หยุ่นต่อการ ฟื้นฟูและบูรณะโครงสร้าง ละ

เปล่ยี นแปลง ส่งเสรมิ การ พน้ื ฐานในประเทศกำลังพัฒนา

พัฒนา อตุ สาหกรรมท่ี ผ่านการสนับสนุนทางการเงิน

ครอบคลมุ และ ยั่งยนื และ เทคโนโลยี และการสนับสนุน

ส่งเสริมนวัตกรรม ทางเทคนิคให้แก่กลุ่มประเทศ

แอฟริกัน ประเท ด้อยพัฒนา

นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพื้นฐาน ขอ้ มูล จปฐ. ความสอดคล้องขอ้ มูล กชช. 2ค.
บท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตวั ชว้ี ดั

5.1 ค่าใช้จ่ายการวิจัย และ
ฒนาคดิ เปน็ ร้อยละของ GDP

a.1 จำนวนการลงทุนใน
รงสร้างพื้นฐานคิดเป็นร้อย
ของ GDP

464

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการจดั ท
ระดบั หมูบ่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับ

Goal เปา้ หมาย Target เปา้ ประสงค์
No.

และประเทศกำลังพัฒนาที่เป็น

เกาะขนาดเลก็

9 สรา้ งโครงสรา้ งพ้นื ฐานท่ีมี 9.b ก า ร ส น ั บ ส น ุ น ก า ร พ ั ฒ น า 9.b.1 ส่ว

ความ ต้านทานและ เทคโนโลยีการวิจัย และ มูลค่าเ

ยดื หยุ่นต่อการ นวัตกรรม ภายในประเทศ ใน เทคโนโลย

เปลยี่ นแปลง ส่งเสริมการ ประเทศกำลังพัฒนา รวมถึง กลางในม

พัฒนา อตุ สาหกรรมที่ สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อนโยบาย

ครอบคลมุ และ ย่ังยืน และ และการขยายตัวด้าน

ส่งเสริมนวัตกรรม อุตสาหกรรม รวมถึงการสร้าง

มลู ค่าเพ่ิมให้กบั สินค้า

9 สรา้ งโครงสรา้ งพืน้ ฐานทม่ี ี 9.c การเพ่ิมขึน้ อย่างมนี ยั สำคัญ ของ 9.c.1 ร้อ

ความ ตา้ นทานและ ก า ร เ ข ้ า ถ ึ ง เ ท ค โ น โ ล ยี ครอบคล

ยืดหยนุ่ ต่อการ สารสนเทศและการสื่อสาร และ แยกตามเ

เปลี่ยนแปลง ส่งเสริมการ มีเป้าหมายที่จะให้บริการ อย่าง

พัฒนา อุตสาหกรรมที่ ทั่วถึง และสามารถเข้า ถึง

ครอบคลมุ และ ย่ังยนื และ อ ิ น เ ท อ ร ์ เ น ็ ต ไ ด ้ ใ น ร า ค า ที่

สง่ เสรมิ นวัตกรรม เหมาะสมในประเทศที่พัฒนา

นอ้ ย ภายในปี 2020

10 ลดความไมเ่ ท่าเทยี มทงั้ 10.1 ภายในปี 2030 จะต้องประสบ 10.1.1 อ
ภายในประเทศและ ความสำเรจ็ และรกั ษาอัตรา การ การใช้จ่า
ระหว่าง ประเทศ เติบโตของรายได้ของประชากร ร า ย ไ ด ้
กลุ่มรายได้ต่ำร้อยละ 40 ให้มี

465

ทำเครือ่ งชวี้ ัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเป็นพืน้ ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พืน้ ฐาน
บใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตวั ช้ีวัด ข้อมลู จปฐ. ความสอดคล้องขอ้ มลู กชช. 2ค.

วนแบ่งร้อยละของ
พิ่มอุตสาหกรรม
ยี ระดับสูง และระดบั
มูลค่าเพม่ิ รวมท้ังหมด

อยละของประชากรถูก ตวั ชว้ี ัดที่ 7 การตดิ ตอ่ ส่ือสาร
ุมด้วยเครือข่ายมือถือ 7.3 ในหมู่บ้าน / ชุมชนน้ี
เทคโนโลยี สามารถเข้าถึงสื่อสัญญาณ
อินเทอร์เนต็ หรอื ไม่
อัตราการเติบโตของ 7.3.1 จำนวนครัวเรือนที่
ายในครัวเรือน หรือ เข้าถึงอินเตอร์เน็ตประชารัฐ/
ต่อหัวในจำนวน อนิ เตอรเ์ นต็ สาธารณะ
7.3.2 จำนวนครัวเรือนที่มี
อุปกรณ์กระจายสัญญาณ
อินเทอรเ์ นต็ ไรส้ าย (Wifi)

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจดั ทำเคร่ืองชีว้ ัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพืน้
ระดบั หมู่บ้าน (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั

Goal เปา้ หมาย Target เปา้ ประสงค์
No.
10 ลดความไมเ่ ท่าเทยี มทง้ั
ภายในประเทศและ อัตราที่สูงกว่าค่าเฉลี่ยของ ประ
ระหว่าง ประเทศ
ประเทศ และ
10 ลดความไมเ่ ท่าเทยี มทง้ั
ภายในประเทศและ 10.2 ภายในปี 2030 เพิ่มศักยภาพ 10
ระหว่าง ประเทศ
และส่งเสริมทางด้านสังคม ราย
10 ลดความไมเ่ ทา่ เทียมทัง้
ภายในประเทศและ เศรษฐกิจ และการเมือง โดยไม่ มัธย
ระหวา่ ง ประเทศ
คำนึงถึง อายุ เพศ ความ พิการ เพศ

เชอื้ ชาติ เผา่ พันธ์ุ กำเนดิ ศาสนา

หรอื เศรษฐกจิ หรือสถานะอนื่ ๆ

10.3 10.3 มั่นใจว่าได้รับโอกาสที่เสมอ 10

ภาค และลดผลการ ปฏิบัติที่ไม่ ประ

เท่าเทียมกัน รวมถึงยกเลิก เชื้อ

กฎหมาย นโยบาย และการ เดือ

ดำเนินงานที่เลือกปฏิบัติ และการ พื้น

ส่งเสริมกฎหมายนโยบายและการ ในก

กระทำที่เหมาะสมในเรอ่ื งเหลา่ น้ี กฎห

ประ

ศาส

10.4 10.4 การนำนโยบาย โดยเฉพาะ 10

ด้านการคลงั ค่าจ้าง และ นโยบาย ประ

การคุ้มครองทางสังคม และมี และ

ความก้าวหน้า เพิ่มขึ้นจนบรรลุ สังค

ความเทา่ เทยี มกนั

นฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพื้นฐาน ข้อมลู จปฐ. ความสอดคลอ้ งข้อมลู กชช. 2ค.
บที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)
ตัวชี้วัดที่ 34 ความปลอดภัย
ตวั ช้วี ัด ของหมู่บ้าน / ชมุ ชน
34.2.4 ในรอบปีที่ผ่านมา
ะชากรรายได้ต่ำร้อยละ 40 หมู่บ้าน/ชุมชนนี้ ไม่มีคนตก
ะ ประชากรทง้ั หมด เป็นเหยื่อความรุนแรงทาง
0.2.2 สัดส่วนของคนที่มี ร่างกาย จิตใจ หรือทางเพศ
ยได้ต่ำกวา่ 50% ของรายได้
ยฐาน จำแนกตามอายุและ


0.3.1 ร้อยละของการรายงาน
ะชากรที่รู้สึกว่าถูกแบ่งแยก
อชาติ หรือถูกข่มขู่ใน 12
อนที่ผ่านมาตามข้อบัญญัติ
นฐานของการห้ามเลือกปฏิบัติ
การแบ่งแยกเชื้อชาติ ภายใต้
หมายสิทธิมนุษยชนระหว่าง
ะเทศ จำแนกเป็น อายุ เพศ
สนา และกล่มุ ประชากร
0.4.1 สว่ นแบง่ แรงงานใน GDP
ะกอบไปด้วยการให้ ค่าแรง
ะการให้ความคุ้มครองทาง
คม

466

รายงานฉบบั สมบูรณ์โครงการจัดท
ระดับหมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั

Goal เป้าหมาย Target เป้าประสงค์
10 ลดความไมเ่ ท่าเทียมทั้ง No.

ภายในประเทศและ 10.5 10.5 ปรับปรุงกฎระเบียบและ 10.5.1 ก
ระหว่าง ประเทศ
การตรวจสอบสถาบัน การเงิน/ ธุรกรรมท
10 ลดความไมเ่ ทา่ เทยี มทัง้
ภายในประเทศและ ตลาดเงินโลก และเสริมสร้างการ ในระดบั ส
ระหวา่ ง ประเทศ
ดำเนินการตาม กฎระเบียบ
10 ลดความไมเ่ ท่าเทียมท้งั
ภายในประเทศและ ดงั กล่าว
ระหว่าง ประเทศ
10.6 10.6 เพิ่มความมั่นใจในการเป็น 10.6.1 ร
10 ลดความไมเ่ ทา่ เทยี มทั้ง
ภายในประเทศและ ตัว แทนของประเทศกำลัง พัฒนา สิทธิการอ
ระหวา่ ง ประเทศ
ที่มีสิทธิ/เสียงในการตัดสินใจใน กำลังพัฒ

สถาบัน เศรษฐกิจ และการเงิน ประเทศ

ระหว่างประเทศในระดับโลก เพ่ือ

นำมาสู่การ เพิ่มประสิทธิภาพ

ความนา่ เชื่อถือ และถูกกฎหมาย

10.7 10.7 อำนวยความสะดวกตาม 10.7.1 ค

กฎระเบียบ ความปลอดภัย พนักงานใ

รับผิดชอบในการอพยพย้ายถิ่น ค่าใช้จ่าย

ของประชาชน ตลอดจน การจดั ทำ ประเทศต้น

แผนและนโยบายการบริหาร

จดั การทดี่ ี

10.7 10.7 อำนวยความสะดวกตาม 10.7.2 ด

กฎระเบียบ ความปลอดภัย ย้ายถน่ิ ฐา

รับผิดชอบในการอพยพย้ายถ่ิน

ของประชาชน ตลอดจน การจัด

ทำแผนและนโยบายการบริหารจดั

การที่ดี

467

ทำเครือ่ งชวี้ ัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเป็นพืน้ ฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พื้นฐาน
บใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตวั ช้ีวดั ขอ้ มลู จปฐ. ความสอดคล้องขอ้ มูล กชช. 2ค.

การนำระบบภาษีการทำ
ทางการเงิน (Tobin tax)
สากล มาใช้

ร้อยละของสมาชิก หรือ
ออกเสียงของ ประเทศ
ฒนาในองค์กรระหว่าง

ค่าใช้จ่ายในการสรรหา
ใหม่คิดเป็นร้อยละ ของ
ยประจำปีที่ได้รับของ
นทาง

ดัชนีชี้วัด นโยบายการ
านระหวา่ งประเทศ

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเคร่อื งช้ีวัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พน้ื
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั

Goal เปา้ หมาย Target เปา้ ประสงค์
10 ลดความไมเ่ ท่าเทียมทง้ั No.

ภายในประเทศและ 10.7 10.7 อำนวยความสะดวกตาม 10
ระหว่าง ประเทศ
กฎระเบียบ ความปลอดภัย มน
10 ลดความไมเ่ ท่าเทียมท้ัง
ภายในประเทศและ รับผิดชอบในการอพยพย้ายถิ่น จบั ก
ระหวา่ ง ประเทศ
ของประชาชน ตลอดจน การจดั คน
10 ลดความไมเ่ ท่าเทยี มทง้ั
ภายในประเทศและ ทำแผนและนโยบายการบริหาร รูปแ
ระหว่าง ประเทศ
จัด การท่ดี ี

10.a 10.a จัดทำหลักเกณฑ์ของการ 10

ให้ปฏิบัติเฉพาะและแตกต่าง สินค

(SDT) แก่ประเทศกำลังพัฒนา สินค

ประเทศที่พัฒนาน้อยที่สุด ตาม และ

ข้อตกลงขององค์การค้าโลก ข้อก

(WTO) tari

10.b 10.b ส่งเสริมการให้ความ 10

ช่วยเหลือเพื่อการพัฒนา การ

การเงิน การลงทุนโดยตรงจาก ให้แ

ต่างประเทศ ที่สอดคล้องกับ OEC

แผนพัฒนาประเทศ สำหรับ และ

พื้นที่ที่มีความจำเป็นมาก ได้แก่

LDCs -ประเทศพฒั นานอ้ ยทส่ี ุด,

ป ร ะ เ ทศ แ อฟร ิ ก ั น , SIDS -

ประเทศที่เป็นเกาะขนาดเล็ก,

LLDCs -ประเทศที่ ไม่มที างออก

ทะเลหรอื แลนดล์ อ็ ก

นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพนื้ ฐาน ข้อมลู จปฐ. ความสอดคล้องขอ้ มลู กชช. 2ค.
บที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)
ตวั ชี้วดั ท่ี 34 ความปลอดภัย
ตวั ชว้ี ัด
ของหมบู่ า้ น / ชมุ ชน
0.7.3 จำนวนเหยื่อการค้า
นุษย์ที่ถูกจับ กุมและไม่ถูก 34.2.5 ในรอบปีที่ผ่านมา
กมุ ต่อประชากร 100,000
น แยกเป็นเพศ อายุ และ หมู่บ้าน/ชุมชนนี้ ไม่มีคนตก
แบบ การแสวงหาประโยชน์
เป็นเหยือ่ การคา้ มนุษย์
0.a.1 ส่วนแบ่งของรายการ
ค้าที่ต้องเสียภาษีการนำเข้า
ค้าจากประเทศด้อยพัฒนา/
ะประเทศกำลังพัฒนาท่ไี ม่ มี
กีดกันทางภาษีอากร (zero-
iff)
0.b.2 ความช่วยเหลือเพ่ือ
รพัฒนาอย่างเป็นทางการท่ี
แก่ต่างประเทศ ข้อมูลโดย
CD แยกตามประเทศผู้รับ
ะผ้บู ริจาค

468

รายงานฉบบั สมบรู ณ์โครงการจัดท
ระดบั หม่บู า้ น (กชช. 2ค) สำหรับ

Goal เปา้ หมาย Target เป้าประสงค์ 10.c.1 ค
No. ประเทศ
10 ลดความไมเ่ ท่าเทียมทัง้ 10.c 10.c ล ด ค ่ า ใ ช ้ จ ่ า ย ห รื อ จำนวนเงนิ
ภายในประเทศและ ค่าธรรมเนียมในการทำธุรกรรม
ระหวา่ ง ประเทศ 11.1 การเงินที่ส่งกลับประเทศให้เหลือ 11.1.1 ส
น้อยกว่า 3% และขจัด การโอน อาศยั ในชุม
11 ทำให้เมอื งและการตงั้ ถน่ิ เงิน (remittance corridors) ที่มี
ฐาน ของมนุษย์มคี วาม ค่าธรรมเนยี มสงู กวา่ 5%
ปลอดภยั ความตา้ นทาน ในป ี 2030 ทำให ้ ม ั ่ นใจว่ า
และยดื หยุน่ ต่อ การ ประชากรได้รับความปลอดภัย
เปลี่ยนแปลงอย่าง สามารถมีที่อยู่อาศัย และได้รับ
ครอบคลมุ และยั่งยนื บริการขั้นพื้นฐานอย่าง เพียงพอ
และยกระดับชมุ ชนแออัด

11 ทำใหเ้ มืองและการตง้ั ถ่นิ 11.2 ในปี 2030 ทำให้มั่นใจว่า 11.2.1ส
ฐาน ของมนุษยม์ คี วาม ประชากรได้รับความปลอดภัย จุดบริกา
ปลอดภยั ความตา้ นทาน (ในการ เดินทาง)สามารถจ่าย ระยะ 0.5

469

ทำเคร่อื งชว้ี ัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พน้ื ฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พ้ืนฐาน
บใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตัวชว้ี ัด ขอ้ มลู จปฐ. ความสอดคล้องข้อมูล กชช. 2ค.

ค่าใช้จ่ายการส่งเงินกลับ
ศคิดเป็นร้อยละของ
นรวมท่สี ง่ กลับไป

สัดส่วนประชากรเมืองท่ี ตวั ช้ีวดั ที่ 13 ครวั เรือนมีความ

มชนแออัด มั่นคงในที่อยู่อาศัย บ้านมี

สภาพคงทนถาวร และอยู่ใน

สภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสม

• 13.2 ลักษณะการ

ครอบครองกรรมสิทธทิ์ ่ีดินของท่ี

อย่อู าศัย

• 13.3 ครัวเรือนมีความ

มัน่ คงในท่ีอยู่อาศัย หรอื ไม่

• 13.4 ครัวเรือนมีบ้านที่มี

สภาพคงทนถาวร หรอื ไม่

• 13.5 ครัวเรือนอาศัยอยู่ใน

สภาพแวดล้อมที่มีความ

เหมาะสม หรือไม่

สัดส่วนประชากรที่มี ตัวชี้วัดที่ 21 ครัวเรือน

ารขนส่งสาธารณะใน เขา้ ถงึ บรกิ ารขนสง่ สาธารณะ

5 กิโลเมตร

รายงานฉบับสมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเคร่อื งชว้ี ัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พนื้
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั

Goal เปา้ หมาย Target เป้าประสงค์
No.
และยดื หยุ่นตอ่ การ
เปลยี่ นแปลงอยา่ ง (ค่าโดยสาร) สามารถเข้าถึง
ครอบคลมุ และยัง่ ยนื
(ระบบ ขนส่ง) และระบบขนส่ง
11 ทำให้เมอื งและการตง้ั ถิ่น
ฐาน ของมนุษยม์ คี วาม ที่ยั่งยืน การปรับปรุงความ
ปลอดภัยความตา้ นทาน
และยดื หยนุ่ ต่อ การ ปลอดภัย ทางถนน ตัวอย่างที่ดี
เปลี่ยนแปลงอยา่ ง
ครอบคลมุ และยั่งยนื ที่สุด เช่น โดยการขยายเส้นทาง

11 ทำใหเ้ มอื งและการตง้ั ถนิ่ ขนส่งสาธารณะให้ตรงกับความ
ฐาน ของมนุษยม์ ีความ
ปลอดภยั ความตา้ นทาน ต้องการของผู้ที่อยู่ ใน
และยดื หย่นุ ต่อ การ
เปลี่ยนแปลงอย่าง สถานการณ์เสี่ยงอย่างผู้หญิง
ครอบคลมุ และย่งั ยนื
เด็ก คนพกิ าร และผูส้ งู วัย

11.3 ในปี 2030 การทำใหด้ ขี ึ้นอย่าง 11

ครอบคลุม และการทำให้มี ประ

ลักษณะเป็นเมืองยั่งยืน และ

ประชากรมีส่วนร่วม มีการ

รวมกลุม่ และการวางแผนด้านท่ี

อยู่อาศัยทีย่ ั่งยืนของมนุษย์ และ

การจดั การในทุกๆประเทศ

11.4 เสรมิ สร้างความเขม้ แข็งซ่ึงนำมา 11

สู่การปกป้องรักษาวัฒนา ธรรม ของ

โลก และมรดกทางธรรมชาติ ถูกก

ป้อ

ธรร

ชาต

โลก

นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพ้นื ฐาน
บที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตวั ชวี้ ัด ข้อมูล จปฐ. ความสอดคลอ้ งขอ้ มลู กชช. 2ค.

• 21.1 ในรอบปีที่ผ่านมา

ครัวเรือนเข้าถึงบริการขนส่ง

สาธารณะ หรอื ไม่

1.3.1 การใช้ที่ดินอย่างมี ตัวชี้วัดที่ 17 ปศุสัตว์และ
ะสทิ ธภิ าพ การประมง
17.1 การเลี้ยงสตั ว์
1.4.1 ส่วนแบ่งงบประมาณ 17.1.1 หมู่บ้าน/ชุมชนนี้ มี
งประเทศ (หรือเทศบาล) ที่ ทุ่งหญ้าสาธารณะที่ใช้ในการ
กำหนดให้ใช้เพื่อการรักษา เล้ียงสตั ว์ หรือไม่
องกัน และอนุรักษ์มรดก
รมชาติทางวัฒนธรรมของ
ติ รวมทั้งสถานที่ที่เปน็ มรดก


470

รายงานฉบบั สมบรู ณ์โครงการจัดท
ระดบั หมูบ่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั

Goal เป้าหมาย Target เป้าประสงค์
No.
11 ทำใหเ้ มืองและการตง้ั ถ่นิ
ฐาน ของมนุษย์มคี วาม 11.5 ในปี 2030 ลดจำนวนผู้ที่ได้รบั 11.5.1 จ
ปลอดภยั ความตา้ นทาน
และยดื หยนุ่ ต่อ การ ผลกระทบ และการสูญเสีย ทาง หาย บาด
เปลีย่ นแปลงอยา่ ง
ครอบคลมุ และย่งั ยืน เศรษฐกิจทางตรงที่เกิดจากภัย ย้ายไปอย

11 ทำใหเ้ มอื งและการต้ังถน่ิ พิบัติอย่างมีนัยสำคัญ เมื่อเทียบ เนื่องจาก
ฐาน ของมนษุ ยม์ คี วาม
ปลอดภัยความตา้ นทาน ก ั บ ผ ล ิ ต ภ ั ณ ฑ ์ ม ว ล ร ว ม ใน 100,00
และยดื หยนุ่ ตอ่ การ
เปลีย่ นแปลงอยา่ ง ประเทศทั่วโลก รวมถึง ภัยพิบัติ
ครอบคลมุ และยงั่ ยืน
ที่เกี่ยวกับน้ำ ซึ่งมุ่งเน้น ที่การ

ปกป้องคนยาจน และผู้ที่อยู่ใน

สถานะเปราะบาง

11.6 ในปี 2030 ลดผลกระทบทาง 11.6.1 ร

สิ่งแวดล้อมเมืองที่เป็น อันตราย ของแข็งใ

ต่อหัวรวมถึงการให้ความสำคัญ เก็บตามป

เป็นพิเศษกับ คุณภาพอากาศ มาใช้ใหม

เทศบาล และการจัดการสิ่ง ของเสีย)

ปฏกิ ลู

11 ทำให้เมอื งและการตงั้ ถ่ิน 11.6 ในปี 2030 ลดผลกระทบทาง 11.6.2
ฐาน ของมนษุ ย์มคี วาม สิ่งแวดล้อมเมืองที่เป็น อันตราย โดยรอบ
ปลอดภยั ความตา้ นทาน ต่อหัว รวมถึงการให้ความสำคญั 2.5)
และยดื หยนุ่ ต่อ การ เป็นพิเศษกับ คุณภาพอากาศ
เปลี่ยนแปลงอยา่ ง เทศบาล และการจัดการส่ิง
ครอบคลมุ และย่ังยนื ปฏิกูล

471

ทำเคร่อื งชี้วดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พื้นฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พ้นื ฐาน
บใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตัวชีว้ ดั ขอ้ มลู จปฐ. ความสอดคลอ้ งขอ้ มูล กชช. 2ค.
จำนวนผู้เสียชีวิต สูญ
ดเจ็บ ย้ายถิ่นฐาน หรือ ตัวชวี้ ดั ที่ 43 ความปลอดภัย
ยู่ในที่ที่ปลอดภัย กว่า
กภัยพิบัติต่อประชากร จากภยั พิบตั ิ
00 คน
43.3.1 หมู่บ้าน/ชุมชนนี้ มี
ร้อยละของขยะที่เป็น
ในเขตเมืองที่มีการ จัด ครัวเรือนที่ประสบภัย ทำให้มี
ปกติ และถูกนำกลับ
ม่ (จำแนกตาม ประเภท คนในครัวเรือนได้รับบาดเจ็บ

ระดับฝุ่นละออง เ ส ี ย ช ี ว ิ ต ส ู ญ ห า ย ห รื อ
บ (PM 10 และ PM
บ้านเรือนเสียหายบางส่วน

หรือเสยี หาย ทั้งหลงั (ไม่นับซำ้

ครวั เรือน )

ตั วช ี ้ วั ดที ่ 25 อ น ามั ย

สง่ิ แวดลอ้ ม

25.1.1 จำนวนครัวเรือนที่

รู้จักการกำจัด และลดขยะที่

ถูกวธิ ี

1) เลือกซอ้ื สนิ คา้ ที่บรรจภุ ัณฑ์

สามารถนำมาใช้ใหม่ได้ เช่น

บรรจุภัณฑ์ที่เป็นกล่องหรือถุง

กระดาษ เปน็ ต้น

ตั วช ี ้ วั ดที ่ 25 อ น ามั ย

สิ่งแวดล้อม

25.5 หมู่บ้าน / ชุมชนนี้ อยู่

ในสิ่งแวดล้อมที่เป็นพื้นท่ี

พิเศษ หรือพื้นที่เสี่ยง

ดังต่อไปน้หี รือไม่

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเคร่ืองชี้วัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พน้ื
ระดบั หม่บู ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั

Goal เป้าหมาย Target เป้าประสงค์
No.

11 ทำใหเ้ มอื งและการต้ังถ่ิน 11.7 ในปี 2030 ทำให้ทั่วโลกได้รับ 11
ฐาน ของมนุษยม์ ีความ
ปลอดภัยความตา้ นทาน ความปลอดภยั คลอบคลุม และ สร้า
และยดื หยุน่ ตอ่ การ
เปล่ียนแปลงอย่าง สามารถเข้าถึงพื้นที่สีเขียว และ เป็น
ครอบคลมุ และย่ังยนื
พื้นที่สาธารณะ โดยเฉพาะ
11 ทำใหเ้ มอื งและการตัง้ ถิ่น
ฐาน ของมนษุ ย์มคี วาม สำหรับผู้หญิงและเด็ก ผู้สูงอายุ
ปลอดภยั ความตา้ นทาน
และยดื หยุน่ ต่อ การ และผพู้ ิการ
เปลีย่ นแปลงอย่าง
ครอบคลมุ และยัง่ ยนื 11.a สร้างความเชื่อมั่นทางเศรษฐกิจ 11

11 ทำให้เมืองและการตั้งถิ่น ส ั งค ม แ ล ะ ส ิ ่ งแ วด ล ้ อมที่ มาก
ฐาน ของมนุษยม์ คี วาม
ปลอดภยั ความตา้ นทาน เชือ่ มโยงระหว่างพนื้ ท่ีเมือง ชาน แ ผ
และยดื หยนุ่ ต่อ การ
เปลี่ยนแปลงอยา่ ง เมือง และชนบท โดย สร้าง ภูม
ครอบคลมุ และยง่ั ยนื
ความเข้มแข็งในระดับชาติ และ คาด

แผนการพฒั นาภมู ภิ าค ควา

11.b ในปี 2020 เพิ่มจำนวนเมือง 11

และที่อยู่อาศัยประชากรโดย การ

การรับและดำเนินการตาม แล

นโยบายแบบบูรณา และแผนท่ี กลบั

จะนำไปสู่ความครอบคลุม การ (risk

ใ ช ้ ท ร ั พ ย า ก ร อ ย ่ า ง มี res

ประสิทธิภาพ การบรรเทา และ ท่ี ร

การปรับตวั ต่อการ เปลีย่ นแปลง ชาย

ของสภาพอากาศ การรับมือต่อ

ภัยพิบัติและ การพัฒนา และ

การนำไปปฏิบัติให้เกิดผล การ

นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พื้นฐาน ขอ้ มลู จปฐ. ความสอดคล้องขอ้ มูล กชช. 2ค.
บที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)
1) ฝุ่นควัน / PM2.5
ตัวชีว้ ัด

1.7.1 ส่วนแบ่งเฉลี่ยของการ
างเมืองในพื้นท่ีว่างเปล่าที่รฐั
นเจ้าของและใช้ประโยชน์

1.a.1 เมืองที่มีผู้อยู่อาศัย
กกว่า 100,000 คน ที่น่า
ผนการพัฒนาเมืองและ
มิภาคไปบูรณาการกับการ
ด ประมาณประชากรและ
ามตอ้ งการทรพั ยากร

1.b.1 ร้อยละของเมืองที่มี
รนำนโยบายลดความเสี่ยง
ละความสามารถในการ
บคืนสูสภาพเดมิ จากภยั พบิ ตั ิ
k reduction and
silience policies) ไปปฏิบัติ
รวมถึงกลุ่มเส่ยี ง และกล่มุ คน
ยขอบ

472

รายงานฉบับสมบรู ณ์โครงการจดั ท
ระดับหมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรบั

Goal เปา้ หมาย Target เป้าประสงค์
No.
11 ทำให้เมืองและการตัง้ ถ่นิ
ฐาน ของมนุษยม์ คี วาม จัด การความ เสี่ยงจากภัยพิบัติ
ปลอดภยั ความตา้ นทาน
และยดื หยนุ่ ตอ่ การ ในทุกระดบั ตามกรอบข้อตกลง
เปลย่ี นแปลงอยา่ ง
ครอบคลมุ และยั่งยืน Sendai เรื่องการลดความเสี่ยง

12 สร้างหลักประกนั ใหม้ แี บบ จากภัย พบิ ัติ ปี 2015-2030
แผนการบริโภคและการ
ผลิตทย่ี ัง่ ยืน 11.c สนับสนุนประเทศดอ้ ยพัฒนา รวม 11.c.1 ร้อ

12 สรา้ งหลกั ประกันใหม้ แี บบ ตลอดถึงด้านการเงิน และการ ทางการเง
แผนการบรโิ ภคและการ
ผลติ ทยี่ ัง่ ยนื ชว่ ยเหลือทางเทคโนโลยี เพือ่ ความ ก่อสร้าง แ

12 สร้างหลกั ประกนั ใหม้ ีแบบ ยั่งยืนและ ความยืดหยุ่นของส่ิง เกิดความ
แผนการบรโิ ภคและการ
ผลติ ทยี่ ั่งยืน ปลูกสร้างโดยใช้ประโยชน์จาก อาคารที่

วัตถดุ บิ ในทอ้ งถน่ิ ประสิทธิภ

12.1 ดำเนินการตามกรอบการทำงาน 12.1.1 จ

10 ปีของโครงการในการบริโภค ดำเนินกา

และการผลิตอย่างยั่งยืน โดยให้ การ ผลิตอ

ประเทศที่พัฒนาแล้วเป็นผู้นำโดย การบริโภ

ค ำ น ึ ง ถ ึ ง ก า ร พ ั ฒ น า แ ล ะ ยั่งยืนเป็น

ความสามารถของประเทศที่กำลัง นโยบายร

พฒั นา ลดความย

ยัง่ ยนื

12.2 พ.ศ.2573 บรรลกุ ารจัด การอยา่ ง 12.2.1 ต

ยั่งยืนและใช้ทรัพยากร ทาง พื้นฐานต่อ

ธรรมชาติอย่างมปี ระสิทธิภาพ และ MF ต

12.3 พ.ศ.2573 ลดของเสียจากอาหาร 12.3.1 ก

ที่ถูกทิ้งของโลกต่อหวั ประชากรลง อาหารและ

ครึ่งหนึ่ง ในระดับ ค้าปลีกและ

473

ทำเครื่องชี้วดั และแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พืน้ ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพืน้ ฐาน
บใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตวั ชว้ี ดั ข้อมูล จปฐ. ความสอดคล้องข้อมลู กชช. 2ค.

อยละของการสนับสนนุ
งินที่จัดสรรให้กับ การ
และการเพิ่มเติมเพื่อให้
มยั่งยืน ยืดหยุ่น และ
ใช้ทรัพยากรอย่างมี
ภาพ
จ ำ น ว น ป ร ะ เ ท ศ ท่ี
ารแผนการบริโภคและ
อย่างยั่งยืน (SCP) หรือ
ภคและการผลิตอย่าง
นเป้าหมายสำคัญของ
ระดับชาติ กลยุทธ์การ
ยากจนและการพัฒนาท่ี

ตัวชี้วัด การบริโภค
อการใช้ทรัพยากร (MF)
ต่อคน
การวัด การสูญเสีย
ะอาหารทถี่ กู ท้งิ :

รายงานฉบับสมบูรณโ์ ครงการจดั ทำเครื่องชว้ี ดั และแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเป็นพ้นื
ระดบั หมูบ่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั

Goal เป้าหมาย Target เป้าประสงค์
No.
12 สรา้ งหลักประกันใหม้ ีแบบ
แผนการบรโิ ภคและการ ผู้บรโิ ภคและลด การสูญเสยี อาหาร **ด
ผลติ ทยี่ ่งั ยืน
ในกระบวนการผลิตและห่วงโซ่ (GF

อุปทาน รวมทั้งการสูญเสียหลัง

การเก็บเกี่ยว

12.4 พ.ศ.2573 ประสบความสำเร็จใน 12

การบริหารจัดการ สิ่งแวดล้อม พห

โดยเฉพาะของเสียจากสารเคมแี ละ สาร

ของเสีย ทั้งหมดให้เป็นไปตาม สาร

กรอบข้อตกลงระหว่างประเทศ ตอบ

เพื่อการแพร่กระจายไปในอากาศ หน้า

น้ำและดิน และเพื่อลด ผลกระทบ กำห

ที่ไม่พึงประสงค์ต่อสุขภาพของ

มนษุ ย์และ สภาพแวดล้อม

12 สร้างหลกั ประกันใหม้ ีแบบ 12.5 พ.ศ.2573 ลดและป้องกัน การ 12
แผนการบริโภคและการ สร้างของเสียและขยะ โดย เน้น กลับ
กระบวนการป้องกัน การลด ของ
ผลิตทยี่ ่งั ยนื การรีไซเคิล และการ นำมาใช้ วสั ด
ใหม่ อยา่ งยั่งยืน

นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พืน้ ฐาน ขอ้ มลู จปฐ. ความสอดคล้องข้อมูล กชช. 2ค.
บที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)
ตัวชี้วัดที่ 25 อนามัยสิ่งแวดล้อม
ตวั ช้ีวดั 25.4 การจัดหาและเฝ้าระวัง
คณุ ภาพอาหารและน้ำดมื่
ดัชนีการสูญเสียอาหารทั่วโลก 1) ในรอบปีที่ผ่านมา หมู่บ้าน /
FLI) ชุมชนนี้ ได้รับการตรวจสอบ
มาตรฐานน้ำสำหรับบริโภค จาก
2.4.1 จำนวนภาคีท่ที ำขอ้ ตกลง หนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวขอ้ งหรือไม่
หุภาคีด้านสิ่งแวดล้อมใน เรื่อง 2) ในรอบปีที่ผ่านมา หมู่บ้าน /
รเคมีที่เป็นอันตรายและ ชุมชนนี้ ได้รับการตรวจสอบ
รเคมีอื่นๆ และของเสียที่ คุณภาพของรา้ นขายอาหาร หรอื
บสนองต่อพันธะสัญญา และ ตลาดจำหน่ายอาหารสด จาก
าทีใ่ นการส่งสารสนเทศ ตามท่ี หน่วยงานทเ่ี กีย่ วขอ้ งหรอื ไม่
หนดไวใ้ นสัญญาทเ่ี ก่ียวขอ้ ง
ตัวช้ีวดั ที่ 25 อนามยั สง่ิ แวดล้อม
2.5.1 อ ั ต ร า ก า ร น ำ ข ย ะ 25.1.1 จำนวนครัวเรือนที่รู้จัก
บมาใชใ้ หม่ (recycling rate) การกำจดั และลดขยะท่ถี กู วธิ ี
งประเทศ (หน่วยตัน ของ 1) เลือกซื้อสินค้าที่บรรจุภัณฑ์
ดทุ ่ถี กู รไี ซเคลิ ) สามารถนำมาใช้ใหม่ได้ เช่น
บรรจุภัณฑ์ที่เป็นกล่องหรือถุง
กระดาษ เปน็ ต้น

474

รายงานฉบับสมบรู ณ์โครงการจัดท
ระดบั หมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรับ

Goal เป้าหมาย Target เป้าประสงค์
No.
12 สรา้ งหลกั ประกนั ใหม้ ีแบบ
แผนการบรโิ ภคและการ 12.6 สนับสนุนให้บริษัท โดยเฉพาะ 12.6.1 จ
ผลติ ทยี่ ง่ั ยนื
บริษัทขนาดใหญ่และบริษัท ข้าม รายงานคว
12 สรา้ งหลักประกนั ใหม้ แี บบ
แผนการบริโภคและการ ชาติ น่าปฏิบัติอย่างยั่งยืนมาใช้
ผลติ ทย่ี งั่ ยนื
และบรู ณาการขอ้ มลู การพฒั นาใน
12 สรา้ งหลกั ประกนั ใหม้ แี บบ
แผนการบริโภคและการ กระบวนการรายงาน
ผลิตทย่ี ั่งยนื
12.7 ส่งเสริมการจดั ซ้อื จดั จ้างสาธารณะ 12.7.1 จ
12 สรา้ งหลักประกนั ใหม้ แี บบ
แผนการบริโภคและการ ให้มีการพัฒนาอย่าง ยั่งยืน นโยบายกา
ผลิตทย่ี ง่ั ยนื
สอดคล้องกับนโยบายระดับชาติ อย่างยั่งย
12 สรา้ งหลักประกันใหม้ ีแบบ
แผนการบรโิ ภคและการ แ ล ะ ต ้ อ งงม ี ก า ร จ ั ด ล ำ ดั บ แผนปฏิบตั
ผลติ ทย่ี งั่ ยืน
ความสำคญั

12.8 ในป ี 2030 ทำให ้ ม ั ่ นใจว่ า 12.8.1 จ

ประชากรทุกที่มีข้อมูลและการ รวมของก

รับรู้เกี่ยวกับการพัฒนาที่ยั่งยืน การดำเนนิ

และการดำเนินชีวิตที่ เกื้อกูลกับ การศกึ ษา

ธรรมชาติ

12.a การสนับสนุนประเทศกำลังพฒั นา 12.a.1 จ

เพื่อเสริมสร้างขีด ความสามารถ สิทธิบตั รส

ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ท่ี

จะก้าวไปสู่รูปแบบของการบริโภค

และ

การผลติ ที่ยง่ั ยืน

12.b พัฒนาและใช้เครื่องมือในการ 12.b.1 ม

ติดตามผลกระทบต่อการ พัฒนา จาก GDP

อย่างยั่งยืน สำหรับด้านการ โดยตรง (

475

ทำเครอื่ งชวี้ ัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พ้นื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พ้ืนฐาน
บใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตัวชี้วัด ขอ้ มลู จปฐ. ความสอดคลอ้ งข้อมูล กชช. 2ค.

จำนวนบริษัทที่ตีพิมพ์
วามยง่ั ยนื

จำนวนประเทศที่ดำเนิน
ารจัด ซ้ือจัดจา้ ง ภาครฐั
ยืนและดำเนินการตาม
ตกิ าร

จำนวนประเทศทรี่ ายงาน
การพัฒนาที่ยั่งยืน และ
นชีวติ ในหวั ขอ้ หลักสูตร
าอย่างเป็น ทางการ

จำนวนการใช้งาน
สเี ขียวท่ีเหมาะสม

มูลค่าเพิ่มที่เป็นผลมา
P ของการท่องเที่ยว
(มาจากเวอร์ชั่นที่ถูก

รายงานฉบับสมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเครอ่ื งช้วี ดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพืน้
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ่วงแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั

Goal เป้าหมาย Target เปา้ ประสงค์
No.
12 สร้างหลักประกนั ใหม้ แี บบ
แผนการบริโภคและการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนซึ่งก่อให้เกิด เสน
ผลติ ทย่ี งั่ ยืน
การจ้างงาน ส่งเสริมวัฒนธรรม ท่อง
13 ดำเนนิ การอยา่ งเร่งดว่ น
เพื่อต่อสูก้ บั สภาวะการ และผลติ ภณั ฑ์ ทอ้ งถนิ่
เปล่ียนแปลงสภาพ
ภูมอิ ากาศและผลกระทบ 12.c ให้เหตุผลเพื่อลดการอุดหนุน 12

เช ื ้ อเพล ิ งฟอส ซ ิ ลท ี ่ ไ ม ่ มี เชื้อ

ประสิทธิภาพ มุ่งจดั การกับปัญหา GDP

การบริโภคที่สิ้นเปลือง โดยการ และ

กำจัด การบิดเบือนทางการตลาด ของ

ให้สอดคล้องกับ สถานการณ์ของ ฟอส

แต่ละประเทศ รวมถึงการปรับ

โครงสร้าง ระบบภาษีอากร เพ่ือ

ย ุ ต ิ ก า ร อ ุ ด ห น ุ น ท ี ่ ก ่ อ ใ ห ้ เ กิ ด

ผลกระทบ เชิงลบ โดยเน้นให้เห็น

ถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ทั้งนี้

ต้องคำนึงถึงความต้องการและ

ข้อจำกัด ของประเทศที่ กำลัง

พัฒนา เพื่อไม่ให้กระทบต่อ

กระบวนการพัฒนา ประเทศ

โดยเฉพาะคนยากจนและชมุ ชน

13.1 เสริมสร้างความยืดหยุ่นและ 13

ความสามารถในการ หาย

ปรับตัว ต่ออันตรายเกี่ยวกับ ย้าย

สภาพอากาศ และภัย พิบัติจาก เนื่อ

ธรรมชาติในทุกประเทศ 10

นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พ้นื ฐาน ข้อมูล จปฐ. ความสอดคลอ้ งขอ้ มลู กชช. 2ค.
บท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตวั ชว้ี ัด

นอของ SEEA สำหรับการ
งเทยี่ ว

2.c.1 จำนวนเงิ นอุ ดหนุ น
อเพลิงฟอสซิลต่อหน่วยของ
P (การผลิตและการบริโภค)
ะสัดส่วนของค่าใช้จ่าย รวม
งประเทศในด้านเชื้อเพลิง
สซิล

3.1.1 จำนวนผู้เสียชีวิต สูญ ตัวชี้วัดที่ 43 ความปลอดภัย
ย บาดเจ็บ ย้ายถิ่นฐาน หรือ จากภัยพบิ ัติ
ยไปอยู่ในที่ที่ปลอดภัย กว่า 43.3 ในรอบปีที่ผ่านมา
องจากภัยพิบัติ ต่อประชากร ครัวเรอื นประสบภยั
00,000 คน

476

Goal เป้าหมาย Target รายงานฉบบั สมบูรณ์โครงการจัดท
No. ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับ

เปา้ ประสงค์

13 ดำเนนิ การอยา่ งเร่งด่วน 13.2 ผ ส ม ผ ส า น ม า ต ร ก า ร 13.2.1 จ
เพือ่ ตอ่ สกู้ บั สภาวะการ
เปลย่ี นแปลงสภาพ การเปล่ียนแปลงสภาพอากาศเขา้ สู่ สื่อสารให
ภมู อิ ากาศและผลกระทบ
นโยบาย กลยุทธ์ และการวางแผน ถึงการส

ระดับชาติ พัฒนาด้วย

คาร์บอน

ภูมอิ ากาศ

จากภัยพ

วางแผนกา

มาตรการ

การเปล

เทคโนโ

สงิ่ แวดล้อ

477

ทำเครือ่ งช้วี ัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พื้นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พืน้ ฐาน
บใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตวั ช้วี ัด ข้อมูล จปฐ. ความสอดคลอ้ งขอ้ มลู กชช. 2ค.

จำนวนประเทศที่มีการ 43.3.2 หมู่บ้าน/ชุมชนนี้ มี
ห้รับรู้อย่างเป็น ทางการ
ร้างยุทธศาสตร์การ ครัวเรือนที่ประสบภัย ทำให้มี
วยการผสมผสาน ในเร่อื ง
นต่ำ การปรับตัวต่อ คนในครัวเรือนได้รับบาดเจบ็
ศ และการลด ความเสย่ี ง
พิบัติ (เช่น ขั้นตอนการ 43.3.3 หมู่บ้าน/ชุมชนนี้ มี
ารปรบั ตัว ของชาติ และ
รสนับสนุนเพื่อส่งเสริม ครัวเรือนที่ประสบภัย ทำให้มี
ี่ยนไปใช้ สาร และ
ลย ี ท ี ่ เป ็ นม ิ ตรกั บ คนในครัวเรือนเสยี ชีวิต
อม
43.3.4 หมู่บ้าน/ชุมชนนี้ มี

ครัวเรือนที่ประสบภัย ทำให้

บา้ นเรือนเสยี หายบางสว่ น

43.3.5 หมู่บ้าน/ชุมชนนี้ มี

ครัวเรือนที่ประสบภัย ทำให้

บ้านเรอื นเสียหายท้งั หลัง

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจดั ทำเครอื่ งชวี้ ัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเป็นพ้นื
ระดบั หมูบ่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั

Goal เปา้ หมาย Target เปา้ ประสงค์
No.
13 ดำเนนิ การอยา่ งเร่งดว่ น
เพื่อตอ่ ส้กู บั สภาวะการ 13.3 ปรับปรุงทางด้านการศึกษา การ 13
เปลย่ี นแปลงสภาพ
ภมู ิอากาศและผลกระทบ เพิ่มการรับรู้ และการเพ่ิม การ

13 ดำเนินการอยา่ งเร่งดว่ น ส ม ร ร ถ นะ ขอ งมน ุ ษย์และ ปรับ
เพอ่ื ตอ่ สกู้ ับสภาวะการ
เปลีย่ นแปลงสภาพ เครื่องมือในเรื่องการบรรเทา การ
ภูมอิ ากาศและผลกระทบ
ค ว า ม เ ส ี ย ห า ย จ า ก ก า ร ไว้ใ

เปลี่ยนแปลงสภาพอากาศการ มัธย

ปรับตัว การลดผลกระทบ และ

การเตือนภัย

13.a ความมุ่งมั่นในการดำเนินการ 13

ของกลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้ว (US

ไปยัง UNFCCC เป้าหมายเพ่ือ ภาย

ร่วมกันระดมทุน 100,000 ลา้ น

ล้านดอลลาร์ต่อปีให้ได้ในปี

2020 จากแหล่งทุนทุกแหล่ง

เ พ ื ่ อ ส น อ ง ค ว า ม จ ำ เ ป็ น ข อ ง

ประเทศกำลังพัฒนา ซึ่งอยู่ใน

บริบทของความหมายที่ว่า การ

ดำเนินการเพื่อบรรเทาความ

เสียหาย ผลกระทบ ดำเนินการ

อ ย ่ า ง โ ป ร ่ ง ใ ส แ ล ะ เ ต็ ม

ความสามารถ และการ

ดำเนินการด้านกองทุน Green

Climate ผ่านโครงสร้างเงินทุน

ทีร่ วดเร็วที่สุดเทา่ ท่จี ะ เป็นไปได้

นฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พ้นื ฐาน ขอ้ มูล จปฐ. ความสอดคลอ้ งขอ้ มูล กชช. 2ค.
บท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตัวชีว้ ัด

3.3.1 ประเทศที่มีบูรณาการ
รบรรเทาความเสียหาย การ
บตัว การลดผลกระทบ และ
รเตือนภัย ล่วงหน้าเข้าไปใส่
ในหลัก สูตรระดับ ประถม
ยม และอดุ มศึกษา

3.a.1 การเคลื่อนย้ายเงิน
SD) ต่อปี ตั้งแต่ปี 2020
ยใต้ เงินที่ได้รับ 100,000
นดอลลาร์จากความเห็นชอบ

478

รายงานฉบบั สมบูรณ์โครงการจัดท
ระดบั หมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรบั

Goal เป้าหมาย Target เป้าประสงค์
No.

13 ดำเนินการอยา่ งเรง่ ดว่ น 13.b ส่งเสริมกลไกสำหรับเพิ่มขีด 13.b.1 จ

เพือ่ ต่อสู้ กบั สภาวะการ ความสามารถสำหรับการ พัฒนาท

เปลย่ี นแปลง สภาพ วางแผนและการจัด ก า ร ที่ พิเศษสำ

ภมู อิ ากาศและผลกระทบ เกี่ยวกบั การเปลี่ยนแปลงสภาพ สมรรถนะ

อากาศ ในประเทศด้อยพัฒนา จ ั ด ก า ร

มุ่งเน้นไปที่ผู้หญิง วัยหนุ่ม สาว เปลี่ยนแป

ในทอ้ งถิ่น และชายแดน โดยมุ่งเน

ท้งั ในท้อง

14 อนุรักษ์และใช้มหาสมทุ ร 14.1 ป้องกันและลดมลพิษทางทะเล 14.1.1 ต

ทะเล และทรพั ยากรทาง ทุกชนิด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในเรื่องกา

ทะเลอน่ื ๆ อย่างยง่ั ยืนเพ่ือ กิจกรรมบนภาคพื้นดิน รวมทั้ง ประสิทธภิ

การพฒั นาที่ยง่ั ยืน มลพิษจากขยะ และธาตุ อาหาร

ทางทะเล

14 อนรุ ักษแ์ ละใช้มหาสมทุ ร 14.2 จัดการและคุ้มครองระบบนิเวศ 14.2.1 ร

ทะเล และทรพั ยากรทาง ทางทะเลอย่างยั่งยืน เพ่ือ แผน ICM

ทะเลอนื่ ๆ อยา่ งยง่ั ยนื เพอ่ื หลีกเลี่ยงผลกระทบสำคัญซ่ึง น ำ ไ ป ด ำ

การพฒั นาทย่ี ง่ั ยนื เป็นอันตราย รวมทั้งสิ่งที่มีผล ประสาน

ต่อการฟื้นคืนสู่ปกติ และการ เหมาะสม

ดำเนินการใหค้ ืนกลบั สภาพ เดิม คล้ายคลึง

เพื่อบรรลุเป้าหมายมหาสมุทรท่ี สร้างสังค

มีสุขภาพดี และอุดม สมบูรณ์ ความยืดห

ภายในปี 2020 สำหรับก

ผลประโ

คุณค่า

479

ทำเคร่อื งช้ีวัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พืน้ ฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พืน้ ฐาน
บใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตวั ชี้วดั ขอ้ มลู จปฐ. ความสอดคล้องขอ้ มลู กชช. 2ค.

จำนวนประเทศด้อย
ที่ได้รับการสนับสนุน
ำหรับกลไกเพื่อเพ่ือ
ะการวางแผนและการ
รที่เกี่ยวกับการ
ปลงสภาพภูมิอากาศ
น้นไปยังผู้หญิง วัยรุ่น
งถน่ิ และชายขอบ
ตวั ชีว้ ดั จากหลายสว่ น
ารใช้ไนโตรเจนอยา่ งมี
ภาพ

ร้อยละของการนำเอา
M/MSP มากำหนด และ
ำ เ น ิ น ก า ร (ซ ึ ่ ง ถู ก
นเข้าไว้ด้วยกันอย่าง
ม) โดยยึดหลักความ
งกันของระบบนิเวศที่
คม และระบบนิเวศที่มี
หยุน่ และเตรยี มพร้อม
การร่วมกันแบ่งปัน
โยชน์ และ งานที่มี


Click to View FlipBook Version