รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจดั ทำเครื่องชว้ี ัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พ้ืนฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพื้นฐาน
ระดบั หม่บู า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)
ลำดับ ตวั ชวี้ ัด วิธีวิเคราะหค์ ำตอบ
ข้อท่ี 8 ครัวเรือนสามารถดูแลตนเอง/สมาชกิ พิจารณาข้อ 8.1 ดูแลตนเอง/สมาชิกด้วยยาสามัญประจำบ้าน ท้ัง
เม่อื มีอาการเจบ็ ป่วยเบือ้ งต้น แผนปัจจุบัน แผนโบราณ ยาสมุนไพรในงานสาธารณสุข มูลฐาน
และใช้ยาเท่าทีจ่ ำเปน็
พจิ ารณาข้อ 8.2 วดั ไข้ วดั ความดันโลหิต และจับชีพจร
พิจารณาข้อ 8.3 ไม่กินผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่อวดอ้างสรรพคุณ
เกินจริง โดยแสดงสรรพคุณเป็นยาเพื่อบำบัด บรรเทา รักษาโรค
ซ่งึ ไมต่ รงกับทแ่ี สดงในฉลาก
พิจารณาข้อ 8.4 ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการเจ็บป่วยของตนเอง โรค
ประจำตัว การแพ้ยา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ/ยาที่เคยใช้ ต่อบุคลากร
สาธารณสุข
หากตอบ ใช่ ทัง้ 4 ข้อข้างต้น ถอื วา่ ผ่านเกณฑใ์ นขอ้ นี้
หากมขี อ้ ใดขอ้ หน่ึงตอบ ไม่ใช่ ถือวา่ ไม่ผา่ นเกณฑใ์ นข้อนี้
ข้อที่ 9 คนอายุ 6 ปีขึ้นไป ออกกำลังกาย พิจารณาเฉพาะข้อ 9.1 ออกกำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน ๆ
อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน ๆ ละ ละ 30 นาที หรือ ได้ออกแรง/ออกกำลังติดต่อกันอย่างน้อย 10 นาที
30 นาที ข้นึ ไป รวมกันท้งั วนั 30 นาที อย่างนอ้ ยสปั ดาหล์ ะ 5 วนั หรอื ไม่
หากตอบ ใช่ ถือวา่ ผ่านเกณฑ์ในขอ้ นี้
หากตอบ ไม่ใช่ ถอื ว่าไม่ผ่านเกณฑใ์ นข้อนี้
ขอ้ ท่ี 10 ผู้ป่วยติดเตียงได้รับการดูแลจาก พิจารณาข้อ 10.2 ผู้ป่วยติดเตียง ได้รับการดูแลเอาใจใส่ชีวิต
ครอบครัว ชุมชน ภาครัฐหรือ ความเปน็ อยู่ ด้านอาหาร ยา การออกกำลงั ฟ้ืนฟูกลา้ มเนื้อ และปรับ
ภาคเอกชน โครงสร้างและสภาพแวดล้อมของบ้าน ให้เหมาะสมกับผู้ป่วย จาก
คนในครอบครัวและชมุ ชน หรอื ไม่
พิจารณาข้อ 10.3 ผู้ป่วยติดเตียงได้รับสวัสดิการจากรัฐ อาทิ เบ้ีย
ยงั ชพี เบ้ยี ผู้พกิ าร หรือไม่
หากตอบ ไดร้ ับทกุ คน ท้ัง 2 ขอ้ ข้างตน้ ถือวา่ ผา่ นเกณฑใ์ นข้อน้ี
หากมีขอ้ ใดขอ้ หนึ่งตอบ ไม่ไดร้ ับ ถอื วา่ ไม่ผ่านเกณฑ์ในข้อน้ี
ข้อที่ 11 คนในครัวเรือนมีประกันสุขภาพ/ พิจารณาเฉพาะข้อ 11.1 ทุกคนในครัวเรือนนี้ มีประกันสุขภาพ/
สิทธิรักษาพยาบาลและทราบ สิทธิรักษาพยาบาล หรือไม่
สถานทีใ่ ช้บรกิ ารตามสทิ ธิ หากตอบ มี ถอื วา่ ผา่ นเกณฑใ์ นข้อนี้
หากตอบ ไม่มี ถือว่าไม่ผ่านเกณฑใ์ นขอ้ นี้
ข้อที่ 12 คนอายุ 35 ปีขน้ึ ไป ไดร้ ับการตรวจ พิจารณาข้อ 12.2 ในรอบปีที่ผ่านมา คนอายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป
สขุ ภาพประจำปี ไดร้ บั การตรวจสุขภาพประจำปี ทกุ คน หรอื ไม่
พิจารณาขอ้ 12.3 คนที่ไม่ได้รบั การตรวจสขุ ภาพประจำปี ตามข้อ
12.2 ได้รับการตรวจคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและ
ความดันโลหิตสูง ทกุ คน หรือไม่
หากตอบ ไดร้ ับทกุ คน ท้ัง 2 ข้อข้างตน้ ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์ในข้อน้ี
หากมขี อ้ ใดข้อหนึ่งตอบ ไมไ่ ดร้ ับ ถือว่าไม่ผ่านเกณฑใ์ นขอ้ น้ี
หมวดที่ 2 มาตรฐานความเป็นอยู่ มี 9 ตัวชีว้ ัด
ข้อท่ี 13 ครัวเรอื นมคี วามมั่นคงในที่อยู่อาศัย พจิ ารณาข้อ 13.3 ครัวเรอื นมีความมนั่ คงในที่อยู่อาศัย หรือไม่
บ้านมีสภาพคงทนถาวร และอยู่ใน พิจารณาขอ้ 13.4 ครวั เรือนมีบ้านท่ีมีสภาพคงทนถาวร หรือไม่
สภาพแวดล้อมท่เี หมาะสม
139
รายงานฉบบั สมบรู ณ์โครงการจดั ทำเครอื่ งชว้ี ัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเปน็ พนื้ ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พ้ืนฐาน
ระดบั หมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรับใช้ชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)
ลำดบั ตวั ชี้วดั วธิ วี เิ คราะห์คำตอบ
พิจารณาข้อ 13.5 ครัวเรือนอาศัยอยู่ในสภาพแวดล้อมที่มีความ
เหมาะสม หรือไม่
หากตอบ ใช่ ทง้ั 3 ขอ้ ข้างตน้ ถือว่าผา่ นเกณฑใ์ นข้อน้ี
หากมขี ้อใดข้อหนง่ึ ตอบ ไมใ่ ช่ ถือว่าไม่ผา่ นเกณฑใ์ นขอ้ นี้
ขอ้ ที่ 14 ครัวเรือนมีการจัดบ้านเรือนและ พิจารณาขอ้ 14.1 มีสภาพในบา้ นสะอาด ไมร่ กรงุ รัง
ได้รับบริการจัดเก็บขยะมูลฝอยที่ พิจารณาขอ้ 14.2 มีที่ประกอบอาหารสะอาดและเป็นระเบยี บ
ถกู สุขลกั ษณะ พิจารณาขอ้ 14.3 มีที่เก็บน้ำสะอาดเพือ่ การอปุ โภคบรโิ ภคสภาพดี
พิจารณาข้อ 14.4 มีการกำจัดสัตว์ แมลงที่เป็นพาหะนำโรค
ภายในบ้านหรือบริเวณบ้าน
พิจารณาข้อ 14.5 มีอุปกรณ์ในการกำจัดขยะ อาทิ ไม้กวาด ถังขยะ
ถงุ ใสข่ ยะ
พิจารณาข้อ 14.6 มีการคัดแยกขยะออกเป็น 4 ประเภท
ประกอบด้วย 1.ของเสียอันตราย 2.ขยะรีไซเคิล 3.เศษอาหาร 4.
ขยะอิเล็กทรอนิกส์ (แบตเตอร่ี มอื ถือ อปุ กรณ์ชารจ์ ไฟ) 5.ขยะอ่ืน ๆ
พิจารณาข้อ 14.7 ครัวเรือนได้รับบริการจัดเก็บขยะมูลฝอยเป็น
ประจำและการกำจัดขยะมลู ฝอยทีถ่ ูกสุขลักษณะ
พิจารณาข้อ 14.8 มีการกำจัดขยะทีเ่ หลือโดยสง่ ให้ อปท. กำจดั ไป
กำจัดตอ่
พิจารณาข้อ 14.9 มีร่องระบายน้ำอยู่ในสภาพดี และไม่มีการปล่อย
น้ำเสยี ลงแหลง่ นำ้ สาธารณะ
พิจารณาข้อ 14.10 ครัวเรือนมีส้วมเป็นของตนเอง ซึ่งไม่ได้ใช้
ร่วมกกับครัวเรือนอื่น และเป็นที่สามารถถ่ายอุจจาระอย่างถูก
สขุ ลกั ษณะ
พิจารณาข้อ 14.11 มีการจัดเก็บและแยกสารเคมีที่เป็นอันตราย
ออกจากเครือ่ งใชอ้ น่ื ๆ โดยวางใหพ้ น้ มือเดก็
หากตอบ ใช่ ท้งั 11 ข้อขา้ งตน้ ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์ในขอ้ น้ี
หากมขี อ้ ใดข้อหนงึ่ ตอบ ไม่ใช่ ถอื ว่าไมผ่ า่ นเกณฑใ์ นข้อนี้
ขอ้ ที่ 15 ครวั เรอื นไม่ถกู รบกวนจากมลพิษ พิจารณาข้อ 15.1 มีเสียงดัง (อาจสังเกตจากคนที่ยืนห่างกัน 1
เมตร พูดคุยกันแล้ว คนฝ่ายหนึ่งไม่ได้ยินว่าอีกฝ่ายพูดอะไร หรือ
ความรสู้ กึ ของบุคคลวา่ มีเสยี งดังเกิดขึ้นจากสภาพปกติของพน้ื ทนี่ ั้น ๆ)
พิจารณาข้อ 15.2 มีความสั่นสะเทือน (อาจสังเกตจากความรู้สึก
หรือการส่นั ไหวของวัสดุ หรือภาชนะ สงิ่ ของต่าง ๆ ในครวั เรือน)
พิจารณาข้อ 15.3 มีฝุ่นละออง (อาจสังเกตจาก ฝุ่นขนาดใหญ่ โดย
การมองด้วยตาเปล่า และ ฝุ่นขนาดเล็ก สังเกตจากการสะสมของฝุ่นบน
พน้ื ผวิ หน้าของภาชนะ อุปกรณ์ เครื่องใช้ภายในบา้ น หรือจากการหายใจ
ลำบาก หายใจไมส่ ะดวก รู้สึกระคายเคอื ง มอี าการคดั จมูก เป็นต้น)
พิจารณาข้อ 15.4 มีกลิ่นเหม็น (อาจสังเกตจากการก่อปัญหา
รบกวน จนรู้สึกเกิดความเดือดร้อนรำคาญ และรู้สึกไม่สบาย เช่น
วิงเวียนศีรษะ คลื่นไส้ หายใจไม่สะดวก ทำให้เกิดความวิตกกังวล
รสู้ กึ อึดอดั เครยี ด เปน็ ตน้ )
140
รายงานฉบับสมบูรณโ์ ครงการจัดทำเครอ่ื งชี้วัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พืน้ ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พนื้ ฐาน
ระดบั หมู่บ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)
ลำดับ ตวั ชว้ี ัด วิธีวเิ คราะหค์ ำตอบ
พจิ ารณาขอ้ 15.5 มนี ้ำเสีย (อาจสังเกตจากในบริเวณแหลง่ น้ำทอี่ ยู่
ใกล้เคียงกับครัวเรือน เช่น แม่น้ำ ห้วย หนอง คลอง หรือบึง โดย
การสังเกตจากกล่นิ และสีทผี่ ิดไปจากธรรมชาติ)
พิจารณาข้อ 15.6 มีขยะหรือของเสียอันตราย เช่น หลอดไฟ
กระป๋องสเปรย์ ถ่านไฟฉาย ฯลฯ (อาจสังเกตจากโดยการมองเห็น
หรือสังเกต เช่น ปริมาณขยะล้นจากภาชนะรองรับขยะ กลิ่นเหม็น
จากขยะ ของเสยี อนั ตรายไม่มีการแยกทงิ้ อย่างถกู ตอ้ ง พบนำ้ ชะขยะ
มูลฝอย หรอื เป็นแหลง่ เพาะพันธุ์สตั ว์และแมลงพาหะนำโรค)
หากตอบ ไมถ่ กู รบกวน ท้ัง 6 ขอ้ ขา้ งตน้ ถอื ว่าผ่านเกณฑใ์ นขอ้ น้ี
หากมีขอ้ ใดขอ้ หนึง่ ตอบ ถูกรบกวน ถอื ว่าไม่ผ่านเกณฑ์ในขอ้ น้ี
ขอ้ ที่ 16 ครัวเรือนมีการป้องกันอุบัติภัย พจิ ารณาขอ้ 16.1 ครัวเรอื นมีการป้องกันอบุ ตั ิภยั อย่างถกู วธิ ีหรือไม่
อย่างถูกวิธี และมีการเตรียม 1) อบุ ตั ภิ ัยเมอ่ื ขับข่ียานพาหนะ
ความพรอ้ มรบั มอื กบั ภยั พบิ ัติ 2) อบุ ัติภัยเมือ่ ใช้เครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้า
3) อบุ ัตเิ หตจุ ากการประกอบอาชพี
4) อบุ ตั ภิ ัยทางนำ้
พิจารณาข้อ 16.4 ครัวเรือนมีการเตรียมความความพร้อมรับมือ
กับภยั พิบัติ
หากตอบ มี ในข้อ 16.1 (1), (2), (3), (4) และตอบ มี ในขอ้ 16.4
ถือว่าผา่ นเกณฑ์ในข้อน้ี
หากมีข้อใดขอ้ หนง่ึ ตอบ ไม่มี ถือวา่ ไมผ่ า่ นเกณฑ์ในข้อน้ี
ขอ้ ที่ 17 ครัวเรือนมีความปลอดภัยในชีวิต พจิ ารณาขอ้ 17.1 ในรอบปที ผ่ี ่านมา ครวั เรอื นนี้มีคนถูกฆา่ ตาย หรอื ไม่
และทรพั ยส์ ิน พิจารณาข้อ 17.2 ในรอบปีที่ผ่านมา ครัวเรือนนี้ มีคนถูกทำร้าย
ร่างกาย กระทำอนาจาร ข่มขนื กระทำชำเรา หรอื ไม่
พิจารณาข้อ 17.3 ในรอบปีที่ผ่านมา ครัวเรือนนี้ มีคนถูก
ประทุษร้ายต่อทรัพย์ (ลักทรัพย์ ว่ิงราวทรัพย์ ปล้นทรัพย์ หลอกลวง
ให้เสยี ทรัพย์) หรือไม่
พิจารณาข้อ 17.4 ในรอบปีที่ผ่านมา ครัวเรือนนี้ ถูกบุกรุกที่อยู่
อาศยั หรอื ไม่
พิจารณาข้อ 17.5 ในรอบปีที่ผ่านมา ครัวเรือนนี้ มีอาชญากรรม
อืน่ ๆ ท่ีเกี่ยวกบั ชีวิตและทรัพย์สิน หรอื ไม่
หากตอบ ไม่มี ในข้อ 17.1 / 17.2 / 17.3 / 17.5 และ ตอบ
ไม่ถกู บกุ รุก ในข้อ 17.4 ถือวา่ ผ่านเกณฑใ์ นขอ้ นี้
หากมขี ้อใดข้อหนึ่งตอบ มี ในข้อ 17.1 / 17.2 / 17.3 / 17.5
หรือ ตอบ ถกู บุกรกุ ในข้อ 17.4 ถือว่าไมผ่ ่านเกณฑใ์ นข้อน้ี
ข้อที่ 18 ครัวเรือนมีน้ำสำหรับบริโภคและ พิจารณาข้อ 18.1 ครัวเรือนมีน้ำสะอาดสำหรับดื่มและบริโภค
อุปโภคเพียงพอตลอดปี เพยี งพอตลอดปี อย่างนอ้ ยคนละ 5 ลติ รต่อวนั หรอื ไม่
พิจารณาข้อ 18.2 ครัวเรือนมีน้ำใช้เพียงพอตลอดปี อย่างน้อย
คนละ 45 ลิตรต่อวัน (ประมาณ 2 ป๊บี ) หรือไม่
หากตอบ มเี พียงพอ ท้งั 2 ขอ้ ข้างต้น ถือวา่ ผ่านเกณฑ์ในขอ้ น้ี
หากมขี ้อใดขอ้ หนง่ึ ตอบ ไม่เพียงพอ ถือว่าไม่ผา่ นเกณฑ์ในขอ้ น้ี
141
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการจัดทำเครือ่ งชว้ี ัดและแบบสอบถามข้อมลู ความจำเปน็ พ้ืนฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพ้นื ฐาน
ระดับหมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ่วงแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)
ลำดบั ตวั ชีว้ ดั วธิ วี ิเคราะห์คำตอบ
ขอ้ ที่ 19 ครัวเรือนเข้าถึงไฟฟ้าและใช้บริการ พจิ ารณาข้อ 19.1 ครัวเรอื นเขา้ ถงึ เข้าถึงบรกิ ารไฟฟา้ ระบบสายส่ง
ไฟฟ้า ของรฐั หรือไม่
พิจารณาข้อ 19.3 ครัวเรือนมกี ารใชไ้ ฟฟา้ เพียงพอตลอดปี หรอื ไม่
หากตอบ เข้าถึง ในข้อ 19.1 และ ตอบ มีเพียงพอ ในข้อ 19.3
ถือวา่ ผา่ นเกณฑใ์ นขอ้ นี้
หากมีข้อใดข้อหนึ่งตอบ เข้าไม่ถึง ในข้อ 19.1 หรือ ตอบ ไม่
เพยี งพอ ในขอ้ 19.3 ถอื ว่าไม่ผ่านเกณฑใ์ นข้อนี้
ขอ้ ท่ี 20 ครัวเรือนเข้าถึงและใช้บริการ พิจารณาข้อ 20.2 ในรอบปีทผ่ี ่านมา ครัวเรอื นเขา้ ถงึ และใช้บริการ
โทรศัพท์เคลื่อนที่และอนิ เทอรเ์ นต็ โทรศัพท์ เคลือ่ นท่ี หรือไม่
พจิ ารณาข้อ 20.3 ครัวเรอื นได้รับบรกิ ารสญั ญาณโทรศพั ท์เคล่ือนท่ี
ท่มี ีประสิทธภิ าพ
พจิ ารณาข้อ 20.4 ในรอบปีทผ่ี ่านมา ครัวเรอื นเขา้ ถึงและใช้บรกิ าร
อินเทอรเ์ นต็ หรอื ไม่
หากตอบ เข้าถงึ และใช้บรกิ าร ในข้อ 20.2 / 20.4 และ ตอบ ใช่
ในขอ้ 20.3 ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์ในข้อนี้
หากมีขอ้ ใดขอ้ หน่ึงตอบ เข้าไม่ถึง ในขอ้ 20.2 / 20.4 หรอื ตอบ
ไมใ่ ช่ ในข้อ 20.3 ถอื วา่ ไม่ผ่านเกณฑใ์ นข้อน้ี
ข้อที่ 21 ครัวเรือนเข้าถึงบริการขนส่ง พิจารณาเฉพาะขอ้ 21.1 ในรอบปที ผี่ ่านมา ครวั เรอื นเข้าถึงบรกิ าร
สาธารณะ ขนสง่ สาธารณะ หรอื ไม่
หากตอบ เขา้ ถงึ ถือวา่ ผา่ นเกณฑใ์ นขอ้ น้ี
หากตอบ เขา้ ไมถ่ งึ /ไม่มีบริการ ถือว่าไม่ผ่านเกณฑ์ในขอ้ น้ี
หมวดที่ 3 การศึกษา มี 5 ตัวชว้ี ดั
ข้อที่ 22 เด็กอายุต่ำกว่า 6 ปี มีการเรียนรู้ พิจารณาข้อ 22.2 เด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี ได้รับการส่งเสริมการเรียนรู้
และพัฒนาการทางบุคลิกภาพ จากการทำกิจกรรมร่วมกนั ในครัวเรอื น หรอื ไม่
ตามวัย พิจารณาข้อ 22.3 เด็กอายุ 3-6 ปี ได้รับการบริการเลี้ยงดูเตรียม
ความพร้อมก่อนวัยเรียน ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก หรือได้เข้าร่วมกจิ กรรม
เกี่ยวกบั การเตรยี มความพรอ้ มของเดก็ กอ่ นวัยเรยี น ทกุ คน หรือไม่
หากตอบ ได้รับทกุ คน ท้ัง 2 ขอ้ ข้างต้น ถือวา่ ผ่านเกณฑใ์ นขอ้ นี้
หากมีขอ้ ใดข้อหนึง่ ตอบ ไมไ่ ด้รบั ถอื ว่าไมผ่ า่ นเกณฑใ์ นขอ้ น้ี
ขอ้ ที่ 23 เด็กอายุ 6-15 ปี ได้รับการศกึ ษา พจิ ารณาเฉพาะข้อ 23.2 เดก็ อายุ 6 - 15 ปี ไดเ้ ข้าเรยี น ชั้น ป.1-
ภาคบังคบั 9 ปี ม.3 (การศึกษาภาคบังคับ 9 ป)ี ทกุ คน หรอื ไม่
หากตอบ ได้เรยี นทุกคน ถือวา่ ผ่านเกณฑ์ในข้อนี้
หากตอบ ไม่ได้เรียน......คน ถอื ว่าไมผ่ ่านเกณฑใ์ นขอ้ นี้
142
รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจดั ทำเครือ่ งช้ีวดั และแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พน้ื ฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพ้นื ฐาน
ระดับหมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)
ลำดับ ตัวชวี้ ัด วธิ วี ิเคราะห์คำตอบ
ข้อท่ี 24 เด็กจบช้ัน ม.3 ได้เรียนต่อช้ัน พิจารณาข้อ 24.2 เด็กจบชั้น ม.3 ได้เรียนต่อชั้น ม.4 หรือ
ม.4 และเด็กที่จบการศึกษาภาค เทียบเทา่ ทกุ คน หรอื ไม่
บงั คับ 9 ปี ทไี่ มไ่ ดเ้ รยี นตอ่ และยัง พจิ ารณาขอ้ 24.7 ครัวเรือนน้ี มีคนในครัวเรือนที่จบการศกึ ษาภาค
ไม่มีงานทำ ได้รับการฝึกอบรม บังคับ 9 ปี ที่ไม่ไดเ้ รียนต่อชัน้ ม.4 หรือเทียบเท่า ซึ่งยังไม่มีงานทำ
ด้านอาชีพ ได้รับการฝึกอบรมดา้ นอาชีพทกุ คน หรอื ไม่
หากตอบ ได้เรียนทุกคน ในข้อ 24.2 และ ตอบ ได้รับทุกคน ใน
ข้อ 24.7 ถือว่าผา่ นเกณฑใ์ นข้อน้ี
หากมีข้อใดข้อหนึ่งตอบ ไม่ได้เรียน.......คน ในข้อ 24.2 หรือ
ตอบ ไมไ่ ดร้ ับ.......คน ในข้อ 24.7 ถอื ว่าไมผ่ า่ นเกณฑใ์ นขอ้ นี้
ข้อที่ 25 คนอายุ 15-59 ปี อ่าน เขียน พิจารณาขอ้ 25.2 คนอายุ 15-59 ปี (ยกเวน้ คนพิการ) สามารถ
ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ หรอื ภาษาที่ อา่ น เขยี นภาษาไทย ทกุ คนหรอื ไม่
สาม และคดิ เลขอยา่ งง่ายได้ พิจารณาข้อ 25.3 คนอายุ 15-59 ปี (ยกเว้นคนพิการ) สามารถ
สามารถคิดเลขอยา่ งงา่ ยได้ ทุกคนหรือไม่
หากตอบ ไดท้ ุกคน ทงั้ 2 ข้อข้างตน้ ถือว่าผ่านเกณฑใ์ นข้อน้ี
หากมขี อ้ ใดขอ้ หนง่ึ ตอบ ไม่ได.้ ........คน ถือว่าไมผ่ ่านเกณฑ์ในขอ้ น้ี
ขอ้ ท่ี 26 ครัวเรือนได้รับการศึกษาต่อเนื่อง พิจารณาข้อ 26.1 ครัวเรือน มีบุคคลที่มีทักษะการเรียนรู้ด้าน
และมีทักษะการเรียนรู้ที่จำเปน็ ใน นวัตกรรม ประกอบด้วย คิดสร้างสรรค์ ใส่ใจนวัตกรรม มีวิจารณญาณ
ศตวรรษท่ี 21 แกไ้ ขปญั หาเปน็ ส่อื สารดี เตม็ ใจร่วมมือ
พิจารณาข้อ 26.2 ครัวเรือน มีบุคคลที่มีทักษะสารสนเทศ สื่อ
เทคโนโลยีประกอบด้วย อัพเดทข้อมูลข่าวสาร รู้ทันสื่อ รอบรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศ ฉลาดสือ่ สาร
พิจารณาข้อ 26.3 ครัวเรือน มีบุคคลที่มีทักษะชีวิตและอาชีพ
ประกอบด้วย มีความยืดหยุ่น รู้จักปรับตัว ริเริ่มสิ่งใหม่ ใส่ใจดูแล
ตัวเอง รู้จักเข้าสังคม เรียนรู้วัฒนธรรม มีความเป็นผู้นำรับผิดชอบ
ตอ่ หน้าท่ี หมั่นหาความร้รู อบดา้ น
หากตอบ ได้........คน ทงั้ 3 ขอ้ ขา้ งต้น ถอื วา่ ผา่ นเกณฑใ์ นขอ้ นี้
หากมีขอ้ ใดข้อหนึ่งตอบ ไม่ได้ ถือว่าไมผ่ ่านเกณฑใ์ นขอ้ น้ี
หมวดที่ 4 เศรษฐกจิ มี 4 ตัวชวี้ ดั
ข้อที่ 27 คนอายุ 15-59 ปี มีอาชีพและ พจิ ารณาข้อ 27.2 คนอายุ 15-59 ปี มีอาชีพทกุ คน หรอื ไม่
รายได้ พิจารณาขอ้ 27.3 คนอายุ 15-59 ปี มรี ายได้ทกุ คน หรอื ไม่
หากตอบ มี ท้งั 2 ขอ้ ข้างตน้ ถือว่าผา่ นเกณฑใ์ นขอ้ น้ี
หากมขี อ้ ใดขอ้ หนึง่ ตอบ ไมม่ ี ถือว่าไม่ผา่ นเกณฑ์ในขอ้ นี้
143
รายงานฉบับสมบรู ณ์โครงการจัดทำเครอ่ื งชว้ี ดั และแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พื้นฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพน้ื ฐาน
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)
ลำดบั ตัวชวี้ ัด วธิ ีวิเคราะห์คำตอบ
ขอ้ ที่ 28 คนอายุ 60 ปี ขึ้นไป มีอาชีพและ พจิ ารณาข้อ 28.2 คนอายุ 60 ปีขึน้ ไป มีอาชีพทุกคน หรอื ไม่
รายได้ พิจารณาขอ้ 28.3 คนอายุ 60 ปขี ้นึ ไป มรี ายได้ทกุ คน หรือไม่
หากตอบ มี ท้ัง 2 ขอ้ ขา้ งตน้ ถอื ว่าผา่ นเกณฑใ์ นข้อนี้
หากมีข้อใดข้อหนึ่งตอบ ไมม่ ี ถือว่าไม่ผา่ นเกณฑ์ในข้อน้ี
ข้อที่ 29 รายได้เฉลี่ยของคนในครัวเรือน พิจารณาเฉพาะข้อ 29.1 ในรอบปีที่ผ่านมา ครัวเรือนนี้มีรายได้
ต่อปี จากขอ้ ใดขอ้ หน่ึง หรือหลายข้อดังตอ่ ไปน้ี หรือไม่
ทั้งนี้รายได้เฉลี่ยของคนในครัวเรือนต้องไม่ต่ำกว่าเกณฑ์รายได้
ตามความจำเป็นขน้ั พ้ืนฐาน
ขอ้ ท่ี 30 ครัวเรอื นมกี ารเกบ็ ออมเงิน พิจารณาเฉพาะข้อ 30.1 ในรอบปีที่ผ่านมา ครัวเรือนมีการเก็บ
ออมเงนิ ในรปู แบบใดบา้ ง (เลอื กไดม้ ากกวา่ 1 ขอ้ )
หากตอบ มีเงินออม ถอื วา่ ผ่านเกณฑใ์ นขอ้ น้ี
หากตอบ ไม่มเี งินออม ถือว่าไมผ่ ่านเกณฑใ์ นขอ้ นี้
หมวดท่ี 5 การคุม้ ครองทางสงั คมและการมสี ่วนรว่ ม มี 8 ตัวชวี้ ัด
ขอ้ ท่ี 31 เด็กแรกเกิด-6 ปีที่ครัวเรือนมี พิจารณาเฉพาะข้อ 31.2 ในรอบปีที่ผ่านมา เด็กแรกเกิด-6 ปีที่
รายได้เฉลี่ยไม่เกิน 100,000 ครวั เรือนมีรายไดเ้ ฉลยี่ ไม่เกิน 100,000 บาทตอ่ คนต่อปี ไดร้ บั เงนิ
บาทต่อคนต่อปี ได้รับเงินอุดหนนุ อุดหนนุ จากภาครฐั หรือไม่
จากภาครัฐ หากตอบ ไดร้ บั ถือวา่ ผา่ นเกณฑใ์ นขอ้ นี้
หากตอบ ไมไ่ ด้รับ.......คน ถือวา่ ไม่ผ่านเกณฑใ์ นข้อน้ี
ขอ้ ท่ี 32 ครวั เรือนทม่ี รี ายไดไ้ ม่เกนิ 100,000 พิจารณาเฉพาะข้อ 32.2 ในรอบปีที่ผ่านมา สมาชิกครัวเรือนที่มี
บาทต่อปี และมีสมาชิกมีคุณสมบัติ รายได้ไม่เกิน 100,000 บาทต่อปี และมีคุณสมบัติอื่นครบตาม
อื่นครบตามเกณฑ์บัตรสวัสดิการ เกณฑ์บัตรสวสั ดิการแห่งรัฐ ไดร้ ับเงินสวัสดิการจากรฐั หรอื ไม่
แหง่ รัฐ ได้รับเงนิ สวัสดิการจากรัฐ หากตอบ ได้รบั ......คน ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์ในข้อน้ี
หากตอบ ไม่ไดร้ ับ.......คน ถือว่าไมผ่ ่านเกณฑใ์ นขอ้ นี้
ขอ้ ท่ี 33 ครัวเรือนได้รับการคุ้มครองตาม พจิ ารณาเฉพาะข้อ 33.2 ครวั เรอื นน้ี มีสมาชกิ ครวั เรอื นที่ประกอบ
ระบบและมาตรการคุ้มครองทาง อาชีพและมรี ายได้ เกษียณ หรอื ออกจากงาน ได้รับการคุม้ ครองตาม
สังคม จากภาครฐั และหรือชุมชน ระบบ จากภาครฐั และหรอื ชมุ ชน ภาคเอกชน หรอื ไม่
ภาคเอกชน หากตอบ ไดร้ บั ......คน ถือวา่ ผ่านเกณฑ์ในขอ้ นี้
หากตอบ ไม่ได้รับ.......คน ถือว่าไมผ่ ่านเกณฑ์ในขอ้ นี้
ข้อท่ี 34 ผู้สูงอายุได้รับการดูแลจากครอบครัว พิจารณาข้อ 34.2 ผู้สูงอายุ ได้รับการดูแลเอาใจใส่ชีวิตความเปน็
ชมุ ชน ภาครัฐ หรือภาคเอกชน อยู่ ด้านอาหาร เครื่องนุ่งห่ม สนับสนุนให้เขา้ ร่วมกิจกรรมทางสังคม
ดูแลเมื่อยามเจ็บไข้ไดป้ ่วยและปรับโครงสร้างและภาพแวดล้อมของ
บ้านให้เหมาะสมกับผูส้ ูงวยั จากคนในครอบครัว หมู่บ้านหรือชุมชน
หรือไม่
พิจารณาข้อ 34.3 ผู้สูงอายุ ได้รับสวัสดิการชุมชนหรือ เบี้ยยังชีพ
จากภาครฐั หรือภาคเอกชน หรอื ไม่
หากตอบ ได้รบั ......คน ทง้ั 2 ขอ้ ข้างต้น ถอื ว่าผ่านเกณฑใ์ นขอ้ นี้
หากมีข้อใดขอ้ หนง่ึ ตอบ ไม่ไดร้ ับ......คน ถือวา่ ไมผ่ า่ นเกณฑ์ในข้อน้ี
144
รายงานฉบับสมบูรณโ์ ครงการจดั ทำเครอ่ื งช้วี ัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพ้นื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พ้นื ฐาน
ระดบั หมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)
ลำดบั ตัวชว้ี ดั วิธีวเิ คราะห์คำตอบ
ข้อที่ 35 ผู้พิการได้รับการดูแลจากครอบครัว พิจารณาข้อ 35.2 ผพู้ กิ ารตามขอ้ 35.1 มบี ัตรประจำตัวคนพกิ าร หรือไม่
ชุมชน ภาครัฐ หรือภาคเอกชน พิจารณาข้อ 35.3 ผู้พิการได้รับการดูแลเอาใจใส่ในชีวิตความ
เป็นอยู่ ด้านอาหารการกิน เสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่ม และได้รับการดูแล
เมื่อยามเจ็บไข้ได้ป่วย การดูแลเอาใจใส่ด้านสภาพจิตใจจากคนใน
ครอบครัว หมู่บ้านหรอื ชุมชน รวมทั้งไดร้ ับสวัสดิการชมุ ชนหรือเบยี้
ยังชพี จากภาครัฐ หรอื ภาคเอกชน หรือไม่
หากตอบ มีทุกคน ในข้อ 35.2 และ ตอบ ได้รับ.....คน ในข้อ
35.3 ถอื วา่ ผ่านเกณฑใ์ นข้อน้ี
หากมีข้อใดข้อหนึ่งตอบ ไม่มี.......คน ในข้อ 35.2 หรือ ตอบ
ไมไ่ ดร้ ับ.....คน ในข้อ 35.3 ถอื ว่าไม่ผ่านเกณฑ์ในขอ้ นี้
ขอ้ ท่ี 36 ครอบครัวมคี วามอบอนุ่ กรณีอยู่ในครัวเรือนเดียวกนั ให้พิจารณาข้อ 36.1 กรณีมสี มาชิก
2 คนข้ึนไป อยู่ในครัวเรอื นเดยี วกัน
1) สมาชิกในครอบครัวมีเวลาอยูพ่ ร้อมหน้าและได้ทำกิจกรรม
รว่ มกันอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 คร้งั หรือ อย่างน้อยเดือนละ 4 ครงั้
2) สมาชิกในครอบครัวมีความเคารพนับถือกัน และไม่มีการ
ทะเลาะเบาะแว้งรุนแรง
3) สมาชิกในครอบครัว เมื่อมีปัญหาจะปรึกษาหารือและ
ช่วยเหลอื ซง่ึ กันและกนั
หากตอบ มี ทงั้ 3 ข้อข้างต้น ถือว่าผา่ นเกณฑใ์ นขอ้ นี้
หากมขี อ้ ใดขอ้ หนง่ึ ตอบ ไมม่ ี ถือว่าไม่ผ่านเกณฑใ์ นข้อน้ี
กรณอี ย่คู นเดยี ว ให้พจิ ารณาขอ้ 36.2
1) หากมีบิดา มารดา ลูกหลานและญาติพี่น้องต้องมีการ
เดนิ ทางเย่ยี มเยอื นระหวา่ งกัน อย่างน้อยปีละ 1 คร้ัง
2) หากไม่มีบิดามารดา ลูกหลาน และญาติพี่น้องถ้าสามารถ
ดำรงชีวิตได้อยา่ งมคี วามสขุ กถ็ อื ว่าเป็นครอบครัวอบอ่นุ
หากตอบ ไปเยี่ยมเยือน ในข้อ 36.2 (1) และ ตอบ มีความสุข
ในข้อ 36.2 (2) ถอื ว่าผ่านเกณฑใ์ นขอ้ นี้
หากมีข้อใดข้อหนึ่งตอบ ไม่ไปเยี่ยมเยือน ในข้อ 36.2 (1) หรือ
ตอบ ไมม่ ีความสุข ในข้อ 36.2 (2) ถอื ว่าไม่ผ่านเกณฑ์ในขอ้ น้ี
ข้อท่ี 37 คนอายุ 6 ปีข้นึ ไป ปฏบิ ัตกิ จิ กรรม พิจารณาเฉพาะข้อ 37.1 ในรอบปีที่ผ่านมา คนในครัวเรือนที่อายุ
ทางศาสนาอย่างน้อยสัปดาห์ละ ตั้งแต่ 6 ปีขึ้นไปทุกคน ได้ปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาอย่างใดอย่างหนึง่
1 ครงั้ หรือหลายอย่าง อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง หรือไม่ (เช่น การร่วม
พิธีกรรมทางศาสนา ทำบุญ ตักบาตร ทำภาวนา/สมาธิ สวดมนต์
ฟังเทศน์ ฟังธรรม หรอื การทำละหมาด และการเขา้ โบสถค์ ริสต์ เปน็ ต้น)
หากตอบ ปฏิบัติทกุ คน ถอื วา่ ผา่ นเกณฑใ์ นข้อน้ี
หากตอบ ไมป่ ฏิบัต.ิ ......คน ถอื วา่ ไม่ผ่านเกณฑใ์ นข้อนี้
ขอ้ ที่ 38 ครัวเรือนมีส่วนร่วมทำกิจกรรม พิจารณาเฉพาะข้อ 38.1 ในรอบปีที่ผ่านมา คนในครัวเรือนมี
สาธารณะเพื่อประโยชน์ของชุมชน ส่วนรว่ มทำกจิ กรรมสาธารณะเพื่อประโยชนข์ องชมุ ชนหรอื ทอ้ งถน่ิ หรอื ไม่
หรือท้องถิน่ หากตอบ มสี ว่ นร่วม ถอื ว่าผ่านเกณฑใ์ นข้อน้ี
หากตอบ ไมม่ สี ่วนรว่ ม ถอื วา่ ไมผ่ ่านเกณฑ์ในขอ้ น้ี
145
รายงานฉบบั สมบรู ณ์โครงการจดั ทำเครอื่ งชีว้ ดั และแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พนื้ ฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพนื้ ฐาน
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)
3.3.2 รปู แบบการรายงานข้อมลู พนื้ ฐานระดับหม่บู า้ น (กชช. 2ค)
1. คำอธบิ ายตวั ช้ีวัดข้อมลู พ้ืนฐานระดบั หมู่บา้ น (กชช. 2ค)
การจัดเก็บข้อมูลและผู้ข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) ต้องทำความเข้าใจ
กับวตั ถุประสงค์ จุดมุ่งหมาย และความหมายของแตล่ ะตวั ชว้ี ัดใหช้ ัดเจน จงึ จะสามารถดำเนินการจัดเก็บ
ข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพซ่ึงความหมายและคำอธิบายเพิ่มเติมสำหรับตัวชี้วัดข้อมูลพื้นฐานระดับ
หมู่บ้าน (กชช. 2ค) ปี 2565-2569 มี 7 หมวด 44 ตัวชี้วดั ดงั น้ี
เนือ้ หาของแบบสอบถาม แนวคิดเบ้อื งหลังคำถาม องคป์ ระกอบข้อมลู กชช. 2ค
ส่วนที่ 1 ขอ้ มลู พน้ื ฐานหม่บู ้าน/ จุดประสงค์ของข้อมูลส่วนนี้เพื่อบ่ง ที่ตั้งหมู่บ้าน จำนวนครัวเรือนและ
ชุมชน บอกถึงสภาพพื้นฐานของหมู่บ้าน ประชากร
(Village Profile) ในด้านสถานที่ต้ัง
จำนวนประชากร
หมวดท่ี 1 โครงสร้างพ้ืนฐาน จุดประสงค์เพื่อให้ทราบถึงโครงสร้าง ถนน น้ำดื่ม น้ำใช้ น้ำเพื่อการเกษตร
พื้นฐานของหมู่บ้าน การเข้าถึงแหล่ง การมไี ฟฟ้าและเชอ้ื เพลิงในการหุงตม้
นำ้ น้ำดม่ื -น้ำใช้ การมไี ฟฟ้าใช้ ลักษณะ การมีที่ดินทำกิน การติดต่อสื่อสาร
ทางกายภาพ ทั้งการคมนาคมและ โทรศัพท์มือถือ โทรศัพท์ประจำบ้าน
ช่องทางการติดต่อสื่อสารกับภายนอก อินเทอร์เน็ต และโทรศัพท์สาธารณะ
หมู่บ้าน ที่ดินทำกินและกิจกรรม สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย สิ่งอำนวย
สาธารณะในชุมชน ส่วนใหญ่เป็นข้อมูล ความสะดวกคนพิการและผู้สูงอายุ
ทมี่ คี วามเปล่ียนแปลง เคลอ่ื นไหวช้า พื้นที่สาธารณะสีเขียวและพื้นท่ี
สาธารณะประโยชน์
หมวดท่ี 2 สภาพพ้นื ฐานทาง จุดประสงค์เพื่อให้ทราบสภาพการมี การมีงานทำมีอาชีพและมีรายได้
เศรษฐกจิ งานทำ การไปทำงานนอกตำบล การทำงานในสถานประกอบการ
การท่องเที่ยว การได้รับการคุ้มครอง ภายในตำบล ร้านอาหารที่ได้รับ
ตามกฎหมายประกันสังคม สถานะทาง มาตรฐานท้องถิ่นหรือกรมอนามัย
เศรษฐกจิ ของหมูบ่ า้ น ว่าประชาชนส่วน การทำนา ทำไร่ ทำสวน ปศสุ ตั ว์ การ
ใหญ่ประกอบอาชีพใดและอาชีพใด ประมง เกษตรอื่น ๆ การประกอบ
สามารถสร้างรายได้ให้กับหมู่บ้านมาก อุตสาหกรรมในครัวเรือน และการ
ครัวเรือนใดใชเ้ วลาในการประกอบอาชพี ท่องเที่ยว
นั้นใน 1 ปีมากกว่าอาชีพอื่น ๆ ถือว่า
นั้นคืออาชีพหลัก ถึงแม้จะมรี ายได้น้อย
กว่าอาชีพรองก็ตาม
หมวดท่ี 3 สุขภาวะและอนามยั จุดประสงค์ของข้อมูลส่วนนี้ เพื่อทราบ การป้องกันโรคติดต่อเพื่อมิให้เกิด
สถานการณ์การพึ่งพาและดแู ลตนเองใน การป่วยและตาย การเข้าถึงและได้รับ
ด้านสุขภาพ การเข้าถึงและการได้รับ บริการและดูแลสุขภาพของเด็ก
บริการและดูแลสุขภาพอนามัยของทุก คนพิการ ผู้สูงอายุ และคนในชุมชน
คนในชุมชน โดยเฉพาะคนพิการและ อนามัยแม่และเด็ก อนามัยสิ่งแวดล้อม
ผูส้ งู อายุ การส่งเสรมิ สุขภาพการปอ้ งกนั ในการจัดการขยะ ส้วมส่ิงปฏกิ ลู และที่
โรคและการรักษาพยาบาล การได้รับ อยู่อาศัย ความปลอดภัยไม่เจ็บป่วยใน
บาดเจ็บ/เจ็บป่วยเนื่องจากการทำงาน การทำงาน การกีฬาและการออกกำลัง
และดา้ นอนามยั สง่ิ แวดล้อม กาย
146
รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจดั ทำเครอ่ื งชี้วดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พื้นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พน้ื ฐาน
ระดับหมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)
เน้อื หาของแบบสอบถาม แนวคดิ เบือ้ งหลังคำถาม องค์ประกอบขอ้ มลู กชช. 2ค
หมวดท่ี 4 ความรแู้ ละการศึกษา
จุดประสงค์ของข้อมูลส่วนนี้ ต้องการ การให้บริการด้านการศึกษา การ
หมวดท่ี 5 การมีส่วนร่วมและ
ความเขม้ แขง็ ของ ทราบถึงการให้บริการด้านการศึกษา เข้าถงึ การศกึ ษาของคนพิการและคน
ชุมชน
และโอกาสในการเข้าถึงการศึกษา ในชุมชน ความรอบรู้ด้านสุขภาพ
หมวดท่ี 6 ทรพั ยากรธรรมชาติ
และสง่ิ แวดลอ้ ม ของคนพิการและคนในชุมชน ความ ด้านดจิ ิทัล ด้านสือ่ ด้านการเงนิ การ
หมวดที่ 7 ความเสย่ี งของชุมชน รอบรู้ในด้านต่าง ๆ การได้รับการ ได้รับการฝึกอบรมด้านอาชีพ
และภยั พบิ ตั ิ
ฝึกอบรม รวมถึงโอกาสการได้รับ การศกึ ษา และสุขภาวะ
การศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอธั ยาศัย (กศน.)
จุดประสงค์ของข้อมูลส่วนนี้ เพื่อ การรวมกลุ่ม การมีส่วนร่วมของ
ทราบถึงการมีส่วนร่วมของประชาชน ประชาชนในการทำกิจกรรมของ
ในการพัฒนา การแสดงความคิดเห็น ชุมชน ความปลอดภัยของหมู่บ้าน
ความเข้มแข็งของชุมชนในการพึ่งพา ศาสนสถาน ศูนย์เรียนรู้ชุมชน และ
ตนเอง ตลอดจนทนุ ทางสังคมที่ชุมชน ภูมิปัญญาชุมชน การได้รับความ
มีอยู่ และการได้รับความคุ้มครองทาง คุ้มครองทางสังคม ของผู้มีอายุ 60
สงั คม ปีขึ้นไป คนพิการ เด็กกำพร้า เด็กถูก
ทอดทิ้ง และเด็กเร่ร่อน ที่ไม่ได้รับ
การดูแล
จดุ ประสงคข์ องข้อมลู สว่ นนี้ เพ่อื ต้องการ การเข้าถึง การใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
ทราบถึงสถานภาพของทรัพยากร และดูแลสิ่งแวดล้อม คุณภาพดิน
ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทั้งดิน น้ำ ค ุ ณภาพน ้ ำ การจ ั ดการสภาพ
การจัดการสภาพสิ่งแวดล้อม และ สิ่งแวดล้อมขยะมูลฝอย ของเสีย
การจัดการมลพิษอย่างถูกสขุ ลกั ษณะใน อันตราย และน้ำเสีย การจัดการมลพิษ
หม่บู า้ น ทางอากาศและทางเสียง
จุดประสงค์ของข้อมูลส่วนนี้ เพ่ือ การใช้ยาเสพติดในหมู่บ้าน/ชุมชน การ
ต้องการทราบสภาวะทั่วไปของคนใน ก่อความเดือดร้อนของผู้ใช้ยาเสพติด
ชุมชนต่อปัญหายาเสพติด และความ การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
รุนแรงของปัญหา การประสบภัยพิบัติ การเตรียมความพร้อมรับมือภัยพิบัติ
ความเสี่ยงในเรื่องการพนัน ปัญหาเด็ก ของหมู่บ้าน ความเสี่ยงในชุมชนเรื่อง
วยั รนุ่ ตีกนั ปญั หาเด็กติดเกม ปัญหาเดก็ การพนัน ปัญหาเด็กวัยรุ่นตีกัน ปัญหา
แว้น การทะเลาะวิวาทอันเนื่องมาจาก เดก็ ตดิ เกม ปัญหาเด็กแวน้ การทะเลาะ
การดื่มสุรา และอาชญากรรมทาง วิวาทอันเนื่องมาจากการดื่มสุรา และ
อเิ ล็กทรอนกิ ส์ อาชญากรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์
ข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) ที่ใช้ในการเก็บข้อมูลช่วงแผนพัฒนา
เศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 13 (ปี 2565 - 2569) มี 7 หมวด 44 ตัวชว้ี ดั มีความหมาย หรอื
คำอธบิ ายในแตล่ ะตวั ชวี้ ัด ดังนี้
147
รายงานฉบบั สมบรู ณ์โครงการจดั ทำเครอ่ื งชี้วัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พนื้ ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพ้ืนฐาน
ระดบั หมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ่วงแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)
หมวดที่ 1 โครงสรา้ งพืน้ ฐาน (10 ตวั ช้ีวดั )
ตัวชว้ี ัด จุดม่งุ หมายตวั ชี้วัด คำอธิบาย
1. ถนน
เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงความสะดวกในการ 1. ถนนเส้นทางหลักของหมู่บ้าน หมายถึง ถนน
2. นำ้ ดืม่ เดินทางของคนในชุมชน จากตัวหมู่บ้านถึง สายที่อยู่เฉพาะภายในเขตพื้นที่ของหมู่บ้าน ที่
อำเภอหรือชุมชนที่ใกล้ที่สุด ที่คนในชุมชน ประชาชนส่วนใหญ่ของหมู่บ้าน ใช้เป็นเส้นทาง
3. น้ำใช้ ส่วนมากไปซื้อ-ขายของกินของใช้ การไป คมนาคมเป็นประจำมากท่สี ดุ (เสน้ ทางหลกั เสน้ เดียว
ติดต่อราชการที่ตัวที่ว่าการอำเภอ โดย เทา่ น้ัน)
พิจารณาจากการมีถนนติดต่อกับอำเภอที่ 2. ใชก้ ารได้ดี หมายถงึ ไม่เป็นหลุมเป็นบ่อ สญั จรไป
ใกล้ท่ีสดุ ที่คนในชมุ ชนส่วนมากนิยมไปซอ้ื - มาได้อยา่ งสะดวก
ขายของกินของใช้ตลอดเส้นทางและมีรถ 3. อำเภอหรือชุมชนที่ใกล้ที่สุด หมายถึง อำเภอ
รับจา้ งว่ิงตลอดทกุ ฤดหู รอื ไม่ และในกรณที ี่ หรือชุมชนที่คนในหมู่บ้าน/ชุมชนน้ี ส่วนมากไป ซื้อ-
ไม่มีถนนนั้น ส่วนมากใช้วิธีการเดินทาง ขายของกินของใช้ และติดต่อราชการ ซึ่งรวมท้ัง
แบบใด โดยใช้เวลานานมากน้อยเพียงใด อำเภอหรือชุมชนที่หมู่บ้าน/ชุมชนนี้ไม่ได้อยู่ในเขต
ซึ่งขอบเขตในการถามให้คำนึงถึงเฉพาะ การปกครองด้วย
ถนนทอ่ี ยูใ่ นประเทศไทยเทา่ นนั้
เพื่อบ่งบอกถึงคุณภาพ และความเพียงพอ 1. น้ำสะอาด หมายถึง น้ำฝน น้ำประปา และน้ำ
ของน้ำที่ใช้เพื่อการบริโภคตามเกณฑ์ บาดาล ที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานน้ำสะอาดขององค์กร
ที่กำหนด (5 ลิตรต่อคน ต่อวัน) โดย ปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) หรือกรมอนามัยที่
พิจารณาจากครัวเรือนที่มีน้ำสะอาด สาธารณสุขตำบล ตรวจสอบแล้วว่าใช้ดื่มได้ ถ้าเป็น
สำหรับดื่ม และบริโภคต่อปีว่ามีจำนวน น้ำจากแหล่งธรรมชาติต้องผ่านการต้มหรือแกว่ง
มากน้อยเพยี งใด สารส้มแล้วเติมคลอรีนจึงจะจัดว่าเป็นน้ำสะอาด
หรือน้ำที่ผ่านเครื่องกรองน้ำที่ได้มาตรฐาน หรือน้ำ
บรรจขุ วด ทม่ี เี ครอ่ื งหมาย อย.
2. เกณฑ์วัดความเพียงพอของน้ำดื่มและบริโภค
ตลอดปี หมายถงึ ปรมิ าณนำ้ 5 ลติ รตอ่ คนตอ่ วัน (ใชด้ ่ืม
2 ลิตร และอ่ืน ๆ อีก จำนวน 3 ลิตร ได้แก่ ใช้ประกอบ
อาหาร ลา้ งหนา้ บ้วนปากและแปรงฟนั เป็นตน้ )
เพือ่ บง่ บอกถึงครวั เรือนทีม่ ีน้ำใชเ้ พยี งพอ 1. น้ำใช้ หมายถึง นำ้ ทีใ่ ชใ้ นครวั เรอื น สำหรับซกั
ตลอดปตี ามเกณฑท์ ก่ี ำหนด (45 ลติ ร ลา้ งและอาบ
หรอื ประมาณ 2 ปปี๊ ต่อคนตอ่ วนั ) ว่ามี 2. เกณฑว์ ดั ความเพียงพอของนำ้ ใช้ตลอดปี
จำนวนมากนอ้ ยเพยี งใด หมายถงึ ปรมิ าณน้ำทใี่ ช้ 45 ลิตรตอ่ คนต่อวัน (หรือ
ประมาณ 2 ปีบ๊ ต่อคนต่อวัน)
3. บอ่ บาดาล/นำ้ ใตด้ ิน ให้รวมถงึ บ่อตอกและบอ่ เจาะดว้ ย
4. บอ่ นำ้ ตืน้ หมายถงึ บ่อทีใ่ ส่ปลอกซีเมนต์ ไม้
คอนกรีต หรือบ่อดนิ ถาวรทใ่ี ชป้ ระจำ
5. น้ำประปา หมายถึง น้ำที่สง่ ไปตามท่อใหบ้ ริการ
แจกจา่ ยไปถึงครัวเรือนในหมูบ่ า้ น เชน่ ประปา
ภูมภิ าค ประปาชนบท ประปาหมบู่ ้าน หรือประปา
ภูเขา เป็นต้น (ไม่นับรวมประปาที่ใช้ในโรงเรียนและ
วัด แตห่ ากมีการจ่ายนำ้ ไปบ้านพักครู หรอื ครัวเรอื น
ในหมบู่ ้านให้นับด้วย)
148
รายงานฉบับสมบูรณโ์ ครงการจัดทำเครอื่ งชี้วัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพ้ืนฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพื้นฐาน
ระดบั หมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)
ตัวชว้ี ดั จดุ มงุ่ หมายตัวช้ีวัด คำอธบิ าย
4. นำ้ เพ่ือ เพื่อสะท้อนใหเ้ ห็นถึงสภาพการทำการเกษตร
การเกษตร โดยพจิ ารณาจากแหล่งน้ำ และความเพียงพอ
ของการใชน้ ้ำ ในการทำการเกษตร
5. ไฟฟา้ และ เพื่อบ่งบอกถึงครัวเรือนที่มีไฟฟ้าของรัฐใช้ 1. ระยะทางที่มีเศษของกิโลเมตร ให้ปัดทิ้งแต่ถ้า
เชอื้ เพลงิ ใน ว่ามีจำนวนมากน้อยเพียงใดหรือในกรณีที่ ระยะทางไม่ถึง 1 กิโลเมตร ให้ตอบ 1 กโิ ลเมตร
การหุงต้ม ไม่มีไฟฟ้าใช้ ชุมชนมีการใช้ไฟฟ้าจาก 2. พลังงานแสงอาทิตย์ /โซลาร์โฮม หมายถึง
พลังงานทดแทนหรือจากแหล่งใดหรือไม่ พลังงานท่ีได้จากการแผ่รงั สีของดวงอาทติ ย์
รวมถึงชุมชนมกี ารใช้เช้ือเพลิงในการหุงต้ม 3. พลังงานชีวมวล หมายถึง พลังงานที่ได้จากพืช
แบบใด และสัตว์ชนิดต่าง ๆ เช่น เศษไม้ ขยะ วัสดุเหลือใช้
ทางการเกษตร โดยกระบวนการแปรรูปชีวมวลไป
เปน็ พลังงานรปู แบบตา่ ง ๆ
4. ไมโครกริด หมายถึง การใช้ระบบสารสนเทศ
ประมวลผล วเิ คราะห์ และสงั่ การให้เกดิ การผลิตและ
ส่งจ่ายไฟฟ้าแบบอัตโนมัติภายใต้ชื่อโครงข่ายไฟฟ้า
อจั ฉริยะหรอื สมาร์ทกริด
5. จำนวนครัวเรือนที่มีไฟฟ้าใช้ และ ครัวเรือนที่
ไม่มีไฟฟ้าใช้ทัง้ หมด เมื่อรวมจำนวนครัวเรือนทัง้ 2
ประเภทแลว้ จะต้องเท่ากับจำนวนครัวเรือนทั้งหมด
ของหมู่บ้าน/ชุมชน ในขอ้ 1.1
6. มไี ฟฟา้ ใช้ หมายถงึ การมไี ฟฟ้าของรัฐ และ/หรือ
ไฟฟ้าทไี่ มใ่ ชข่ องรฐั
6. การมีที่ดิน เพื่อบ่งบอกถึงลักษณะการถือครองที่ดินของ 1. เกษตรกรรมยั่งยืน เป็นระบบเกษตรกรรมที่เกี่ยวขอ้
ทำกนิ คนส่วนใหญ่ในหมู่บ้าน โดยดูจากจำนวน กับการผสมผสาน และเชื่อมโยงระหว่างดิน การ
ครัวเรือนที่มีที่ดินทำกินเป็นของตนเองและ เพาะปลูก และการเลี้ยงสัตว์ การเลิกหรือลดการใช้
ไม่ต้องเช่า กับต้องเช่าเพิ่มบางส่วน และต้อง ทรัพยากรจากภายนอกระบบ ที่อาจเป็นอันตรายต่อ
เช่าที่ดินทำกินทั้งหมดมีจำนวนมากน้อย สิ่งแวดล้อม และหรือสุขภาพของเกษตรกรและผู้บริโภค
เพียงใด ตลอดจนเน้นการใช้เทคนิคที่เป็นหรือปรับให้เป็นส่วน
หนึ่งของกระบวนการธรรมชาติของท้องถิ่นนั้น ๆ มี 5
ระบบ ได้แก่ 1) เกษตรผสมผสาน 2) เกษตรอินทรีย์ 3)
เกษตรธรรมชาติ 4) เกษตรทฤษฎใี หม่ และ5) วนเกษตร
หรอื ไรน่ าปา่ ผสม
2. เกษตรทฤษฎีใหม่ คือ การผลิตเพื่อพึ่งตนเองให้ได้
ในพื้นที่การเกษตร เฉลี่ย 10-15 ไร่ แบ่งออกเป็น
สัดส่วน 30: 30: 30: 10 ( ร้อยละ30 ขุดสระน้ำ: ร้อย
ละ 30 ทำสวนหรือไม้ผล: ร้อยละ 30 ทำนา: ร้อยละ
10 ปลกู สรา้ งบา้ น)
3. กจิ การเกษตรในบริเวณหัวไร่ปลายนา หมายถงึ การ
ปลูกพัก พืช ไม้ผล เลี้ยงเป็ด ไก่ ปลา และอื่น ๆ เพ่ือ
บริโภคในบริเวณบางส่วนของไร่หรือนา นอกเหนือจาก
การปลกู พชื ผกั หรอื ปลูกข้าว
149
รายงานฉบับสมบรู ณ์โครงการจัดทำเครอื่ งชี้วดั และแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพ้นื ฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพน้ื ฐาน
ระดบั หมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ช่วงแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)
ตวั ชวี้ ัด จดุ มงุ่ หมายตัวชว้ี ัด คำอธบิ าย
7. การติดต่อ เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงโอกาสในการกระจาย 1. วิทยุสื่อสารสมัครเล่น หมายถึง วิทยุคมนาคมที่
สอื่ สาร การบริการ ด้านการสื่อสารของรัฐและเอกชน ได้รับอนุญาตจากทางราชการ โดยนำมาใช้เพ่ือ
โดยดวู า่ มีสถานทีใ่ ห้บริการโทรศพั ทส์ าธารณะ ประโยชน์ส่วนรวม โดยไม่เกี่ยวข้องกับผลประโยชน์
ที่ใช้การได้ มีโทรศัพท์ประจำบ้าน โทรศัพท์ ทางด้านธรุ กิจ หรือการเงนิ หรือการเมือง
มอื ถอื วทิ ยสุ อื่ สาร อินเทอรเ์ น็ต และช่องทาง
การติดต่อสื่อสารภายในชุมชนและระหว่าง
ภายในกบั ภายนอกชมุ ชน
8. สถานพัฒนา เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงโอกาสของเด็กเล็กใน 1. สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย หมายถึง สถานพัฒนา
เด็กปฐมวยั ชุมชน ในการเข้าถึงการให้บริการของสถาน เดก็ ปฐมวยั หมายถงึ สถานศกึ ษาท่ีใหก้ ารอบรมเลี้ยง
พัฒนาเด็กปฐมวัย และการดำเนินงานของ ดู จัดประสบการณ์ และสง่ เสรมิ พฒั นาการการเรยี นรู้
สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีคุณภาพและ ให้เด็กเล็กอายุระหว่าง 2-5 ปี ให้มคี วามพรอ้ ม ด้าน
มาตรฐาน ทั้งด้านการบริหารจัดการ ด้าน รา่ งกาย อารมณ์-จติ ใจ สงั คมและสตปิ ญั ญา
บุคลากร ด้านอาคารสถานที่ สิ่งแวดล้อมและ 2. มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย หมายถึง
ความปลอดภัย ด้านวิชาการ ด้านการมี แนวทางการดำเนินงานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ให้มี
สว่ นร่วม และดา้ นส่งเสริมเครือข่าย มาตรฐานและมีคุณภาพเป็นไปในแนวทางเดียวกัน
มี 6 ด้าน ประกอบด้วย 1) ด้านการบริหารจัดการ
สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย 2) ด้านบุคลากร 3) ด้าน
อาคาร สถานที่ สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย
4) ด้านวิชาการ และกิจกรรมตามหลักสูตร 5) ด้าน
การมีส่วนร่วม และส่งเสริมสนับสนุน และ 6) ด้าน
ส่งเสริมเครอื ข่ายการพัฒนาเด็กปฐมวัย
9. ส่ิงอำนวย เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงหน่วยงานของรัฐ 1. กฎกระทรวงมหาดไทย พ.ศ.2555 กำหนดให้
ความสะดวก องค์กรเอกชน หรือองคก์ รอืน่ ๆ ในหมู่บ้าน อาคารหรือสถานที่ของหน่วยงานของรัฐ องค์กร
คนพิการและ ได้มีการจัดบริการสิ่งอำนวยความสะดวก เอกชน หรือองค์กรอื่นใดให้มีอุปกรณ์ สิ่งอำนวย
ผู้สูงอายุ ใหแ้ ก่คนพิการและผู้สูงอายุในชุมชนหรอื ไม่ ความสะดวก หรือบริการเพื่อให้คนพิการสามารถ
เข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้อย่างหนึ่งอย่างใด
ดังต่อไปนี้ (1) ท่นี ่ังสำหรบั คนพิการหรือพื้นที่สำหรับ
จอดรถเข็นคนพิการ (2) ทางลาด (3) พื้นผิวต่าง
สัมผัสสำหรับคนพิการทางการเห็น (4) บันไดเลื่อน
สำหรับคนพิการ (5) ทางลาดเลื่อนหรือทางเลื่อนใน
แนวราบ (6) ราวกันตกหรือผนังกันตก (7) ถังขยะ
แบบยกเคลื่อนที่ได้ (8) สถานที่ติดต่อหรือ
ประชาสัมพันธ์สำหรับคนพิการ (9) โทรศัพท์
สาธารณะสำหรับคนพิการ (10) จุดบริการน้ำด่ืม
สำหรับคนพิการ (11) ตู้บริการเงินด่วนสำหรับคน
พิการ (12) ประตูสำหรับคนพิการ (13) ห้องน้ำ
สำหรับคนพิการ (14) ลฟิ ตส์ ำหรับคนพกิ าร (15) ที่
จอดรถสำหรับคนพิการ (16) สัญญาณเสียงและ
สัญญาณแสงขอความช่วยเหลือสำหรับคนพิการ
(17) ป้ายแสดงอุปกรณ์หรือสิ่งอำนวยความสะดวก
สำหรับคนพิการ (18) ทางสัญจรสำหรับคนพิการ
(19) ตู้ไปรษณยี ส์ ำหรับคนพิการ (20) พื้นที่สำหรบั
หนีภัยของคนพิการ (21) การประกาศเตือนภัย
สำหรับคนพกิ ารทางการเห็น และตัวอักษรไฟว่ิงหรือ
สัญญาณไฟเตือนภัย สำหรับคนพิการทางการได้ยิน
หรือสื่อความหมาย (22) การประกาศข้อมูลที่เป็น
150
รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจดั ทำเครอื่ งชีว้ ดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พน้ื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พ้นื ฐาน
ระดบั หมูบ่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)
ตัวชวี้ ัด จดุ มุง่ หมายตวั ชีว้ ดั คำอธิบาย
ประโยชนส์ ำหรบั คนพิการทางการเห็น และตวั อักษร
ไฟวิ่งหรือ ป้ายแสดงความหมายสำหรับคนพิการ
ทางการได้ยินหรือสื่อความหมายและ (23) เจ้าหน้าท่ี
ซึ่งผ่านการฝึกอบรมและมีคุณสมบัติตรงกับความ
ต้องการของคนพิการแต่ละประเภท อย่างน้อยหน่ึง
คนเพอื่ ใหบ้ รกิ ารคนพกิ าร
10. พืน้ ท่ี เพื่อบ่งบอกถึงลักษณะของพื้นที่สาธารณะ 1. พื้นที่สีเขียว คือ อาณาบริเวณที่มีพืชขึ้นปกคลุม
สาธารณะสีเขียว ภายในชุมชน ซึ่งดูจากการมีพื้นที่สีเขียว ไม่ว่าจะเป็นทั้งในเมือง และนอกเมืองโดยที่ประชาชน
และพื้นที่ และพื้นที่สาธารณะประโยชน์ สำหรับให้ สามารถเข้าไปใช้ประโยชน์ได้ ซึ่งประโยชน์นีอ้ าจจะเป็น
สาธารณะ ประชาชนทุกคนในชุมชนได้ใช้ประโยชน์ ทางตรงหรือทางอ้อมก็ได้ ไม่ว่าจะเป็นพักผ่อนหย่อนใจ
ประโยชน์ และบำรุงรักษาร่วมกัน ว่ามีจำนวนมาก ออกกำลังกาย เช่น สวนสาธารณะ สวนหย่อม พื้นท่ี
นอ้ ยเพยี งใด และมีความปลอดภยั หรือไม่ สีเขียว บริการของหมู่บ้าน เกาะกลางถนน ต้นไม้สอง
ข้างทาง เปน็ ต้น
2. พื้นที่สาธารณะ คือ พื้นที่ท่ีประชาชนทุกคนสามารถ
เข้าถึงและเข้าใช้ได้ สามารถแสดงออกได้ทางความคิด
ของตนเองได้โดยไม่ขัดต่อกฎกติกาของส่วนรวม เช่น
ลานชุมชน ลานเมือง ศาลาประชาคม ห้องน้ำสาธารณะ
เป็นตน้
หมวดท่ี 2 สภาพพน้ื ฐานทางเศรษฐกิจ (10 ตัวช้ีวดั )
ตวั ชี้วัด จุดมุ่งหมายตวั ชว้ี ัด คำอธบิ าย
11. การมี เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงโอกาสในการ 1. การมีงานทำ ให้นับคนอายุ 15-59 ปี มีการ
งานทำ ประกอบอาชีพ และมีรายได้ โดยเน้นคน ประกอบอาชีพและท่ีมีรายได้ (ยกเว้นผู้ที่กำลังศึกษา
อายุ 15-59 ปี มกี ารประกอบอาชพี และท่ี อย่างเดียว โดยไม่ได้ประกอบอาชีพ หรือคนพิการท่ี
มีรายได้ (ยกเว้นผู้ที่กำลังศึกษาอย่างเดียว ไม่สามารถช่วยตนเองได้)
โดยไม่ได้ประกอบอาชีพหรือคนพิการที่ไม่ 2. การประกอบอาชีพและมีรายได้ คือ การทำงาน
สามารถช่วยเหลือตนเองได)้ ที่เป็นงานประจำทุกอาชีพ ทั้งที่อยู่ภายในครัวเรือน
หรือนอกครัวเรือน โดยมีรายได้ทีเ่ กิดจากการทำงาน
ดังกลา่ ว ท้งั ในลักษณะรายวนั รายสัปดาห์ รายเดือน
รายช้ินงาน หรืองานเหมา
3. แรงงานนอกระบบ คือ ผมู้ งี านทำทีไ่ มไ่ ดร้ บั ความ
คุ้มครอง หรือไม่มีหลักประกันทางสังคมจากการ
ทำงาน” หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งว่าเป็น “ผู้ที่ทำงาน
ส่วนตัวโดยจะมีลูกจ้างหรือไม่ก็ได้ หรือลูกจ้างที่ไม่มี
ประกนั สงั คมหรือสวัสดกิ ารพนักงานของรฐั ”
4. สถานภาพการทำงานแรงงานนอกระบบส่วนใหญ่
คือ ประกอบธุรกิจส่วนตัวโดยไม่มีลูกจ้าง ธุรกิจ
ครัวเรือน ลูกจ้างเอกชน (ไม่ประกันตนและทำงานไม่ถึง
3 เดือน) นายจ้าง (ไม่ประกันตน) ลูกจ้างรัฐบาล (ผู้รับ
จ้างเหมาไม่ประกันตน) และการรวมกลุ่มของแรงงาน
นอกระบบ
151
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการจัดทำเคร่ืองชี้วดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พ้นื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพ้ืนฐาน
ระดับหมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)
ตัวชีว้ ดั จุดมงุ่ หมายตัวช้วี ัด คำอธบิ าย
5. งานที่รับไปทำที่บ้าน หมายถึง งานที่ลูกจ้างรับ
จากนายจ้างไปผลิต ประกอบ บรรจุ ซ่อมหรือแปร
รูปสิ่งของในบ้านของลูกจ้าง หรือสถานที่อื่น ที่มิใช่
สถานประกอบกิจการของนายจ้างตามที่ได้ตกลงกัน
เพื่อรับค่าจ้าง โดยใช้วตั ถุดิบหรืออุปกรณ์ในการผลติ
ของนายจ้างทั้งหมดหรือบางส่วน และโดยปกติ
การทำงานนั้นเป็นส่วนหนึ่งส่วนใด หรือทั้งหมดใน
กระบวนการผลิตหรือธุรกิจในความรับผิดชอบของ
นายจ้าง
6. แรงงานข้ามชาติ/แรงงานต่างด้าว คือ บุคคลที่
ไมไ่ ดม้ ีสญั ชาติไทย ไม่มีบตั รประจำตัวประชาชน เปน็
บคุ คลทม่ี ีสัญชาตอิ ่ืนทีไ่ ดม้ กี ารอพยพ ย้ายถน่ิ ฐานเข้า
มาทำงานในประเทศไทย
12. การทำงาน เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงโอกาส ในการประกอบ 1. สถานประกอบการ หมายถึง สถานที่ที่ใช้ใน
ในสถาน อาชีพในสถานประกอบการท้ังจากภายในและ การประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจและอยู่ในที่ตั้งท่ี
ประกอบการ ภายนอกตำบล เช่น โรงงาน ร้านค้า บริษัท แน่นอน ไม่ว่ากิจกรรมนัน้ จะดำเนินงานโดยบุคคลที่เปน็
หา้ งรา้ นโรงแรม รีสอรท์ เป็นตน้ เจา้ ของหรือควบคมุ กจิ กรรมโดยนติ บิ ุคคลก็ตาม
2. โรงงานอุตสาหกรรม หมายถึง อาคาร สถานที่ หรือ
ยานพาหนะที่ใช้เครื่องจักรมีกำลังรวมตั้งแต่ห้าแรงม้า
หรือกำลังเทียบเท่าตั้งแต่ห้าแรงม้าขึ้นไป หรือใช้คนงาน
ตง้ั แตเ่ จ็ดคนขึน้ ไปโดยใชเ้ คร่ืองจักรหรอื ไม่ก็ตาม สำหรบั
ทำ ผลิต ประกอบ บรรจุ ซ่อม ซ่อมบำรุง ทดสอบ
ปรับปรุง แปรสภาพ ลำเลยี ง เก็บรกั ษา หรือทำลายสง่ิ ใด
ๆ ไม่นับงานที่รับช่วงมาทำ เช่น เย็บเสื้อโหล ทำไฟ
กระพริบ ทำหมวก และไม่นับอุตสาหกรรมในครัวเรือน
ตามข้อ 13 ร้านค้า บริษัท ห้างร้าน โรงแรม รีสอร์ท
เป็นต้น
3. โรงงาน หมายถึง อาคาร สถานที่ หรือยานพาหนะที่
ใช้เครื่องจักรมีกำลังรวมตั้งแต่ห้าสิบแรงม้าหรือกำลัง
เทียบเท่าตั้งแต่ห้าสิบแรงม้าขึ้นไป หรือใช้คนงานตั้งแต่
ห้าสิบคนขึ้นไป โดยใช้เครื่องจักรหรือไม่ก็ตามเพื่อ
ประกอบกิจการโรงงาน ทั้งนี้ ตามประเภทหรือชนิดของ
โรงงานที่กำหนดในกฎกระทรวง
4. การทำงานนอกตำบล หมายถึง คนงานที่อพยพไป
ทำงานในทีต่ ่างๆ ท้งั ในหรอื ตา่ งประเทศ เปน็ การชั่วคราว
หรือถาวร ตามความต้องการของตลาดแรงงาน และ
โอกาสการมีงานทำ ดงั น้ันไม่นับคนงานที่ทำงานแบบไป-
กลบั ในวันเดียว
13. รา้ นอาหาร เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงการให้บริการของ 1. ร้านอาหาร หมายถึง อาคารที่จัดไว้เพื่อประกอบ
และรา้ นคา้ ร้านอาหาร หรือแผงลอยในชุมชน ที่ได้รับ อาหารหรือปรุงอาหารจนสำเร็จและจำหน่าย ให้ผู้ซ้ือ
มาตรฐานจากท้องถิ่นหรือกรมอนามัย รวมถงึ สามารถบริโภคได้ทันที ซึ่งครอบคลุมถึงภัตตาคาร สวน
ความสะอาดปลอดภัย อีกทั้งแสดงให้เห็นถึง อาหาร หอ้ งอาหารในโรงแรมและศูนยอ์ าหาร
152
รายงานฉบับสมบรู ณโ์ ครงการจดั ทำเครื่องช้วี ัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พืน้ ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พน้ื ฐาน
ระดบั หมู่บ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)
ตวั ช้ีวดั จดุ มงุ่ หมายตวั ชวี้ ดั คำอธบิ าย
14. ผลผลติ สภาพเศรษฐกิจร้านค้าการให้บริการต่าง ๆ 2. แผงลอยจำหน่ายอาหาร หมายถึง แคร่ แท่น โต๊ะ
จากการทำนา
ภายในชุมชน แผง รถเข็น หรือพาหนะอื่นใด ที่ขายอาหาร เครื่องดื่ม
นำ้ แขง็ โดยต้ังประจำที่
3. ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารได้
มาตรฐานท้องถิ่น หมายถึง ร้านอาหาร และแผงลอย
จำหน่ายอาหารผ่านเกณฑ์ มาตรฐานตามเทศบัญญัติ
หรือข้อกำหนดของท้องถิ่น (เทศบาล/อบต.) หรือกรณีที่
เทศบาล/อบต. ยังไม่มีการออกเทศบัญญัติ หรือ
ข้อกำหนด ก็จะถือตามข้อกำหนดด้านสุขาภบิ าลอาหาร
ของร้านอาหาร และแผงลอยจำหน่ายอาหาร ที่ออกโดย
กรมอนามยั
4. ร้านค้า ให้นับเฉพาะร้านค้าที่มีอาคารสถานที่ถาวร
ไม่นับหาบเร่/แผงลอย ในกรณีที่ร้านค้าที่ขายของหลาย
อย่างในร้านเดียวกัน ให้นับเป็น 1 ร้าน โดยไม่นับซ้ำ
(เช่น เป็นร้านที่ซ่อมรถยนต์ และเชื่อมโลหะด้วย แต่มี
รายได้จากการซ่อมรถยนต์เปน็ หลกั กใ็ ห้นบั เปน็ รา้ นซ่อม
รถยนต์ เป็นตน้ )
เพิ่งสะท้อนให้เห็นถึงประสิทธิภาพของ 1. ครัวเรอื นมรี ายไดเ้ ฉลี่ยครัวเรอื นละก่ีบาทต่อปี เป็น
การผลิตขา้ ว (ผลผลิตต่อไร)่ รายได้ที่ไม่หักค่าใช้จ่ายจะได้ทราบมูลค่าของผลผลิต
ท้งั น้ีจะแยกออกเปน็ 2 ระดับ คอื ทัง้ หมดของครัวเรือน เชน่ ในหมบู่ า้ นมี 70 ครัวเรือน มี
(1) การทำนา 2 ครัง้ จะใชเ้ ทยี บกับเกณฑ์ รายได้ 1,000 บาท 18 ครัวเรือน มีรายได้ 850 บาท
เฉลยี่ ของทัว่ ประเทศ 2 ครัวเรือน มีรายได้ 600 บาท 50 ครัวเรือน ดังนั้น
(2) การทำนา 1 ครั้ง จะใช้เทียบกับเกณฑ์ ครวั เรอื นมรี ายได้เฉลยี่ 710 บาทตอ่ ครวั เรอื น
เฉลีย่ ของแตล่ ะภาค 2. ชีวภัณฑ์ หมายถึง ชีวินทรีย์ ได้แก่ รา แบคทีเรีย
ไวรัส ไส้เดือนฝอย และแมลงศัตรูพืชธรรมชาติ ใช้เป็น
สารควบคุมโรคและแมลงศัตรูพืช เพื่อลดหรือทดแทน
สารป้องกันกำจัดศัตรูพืช โดยจะต้องเป็นชีวภัณฑ์ที่มี
ความปลอดภยั ต่อมนษุ ย์ และสัตวร์ วมทั้งสภาพแวดลอ้ ม
และสามารถผลิตขยายปริมาณได้มากพอเพียงต่อการ
นำไปใช้ประโยชน์ เช่น แบคทีเรียบีทีกำจัดแมลง ไวรัส
เอ็นพีวี ไส้เดือนฝอยกำจัดแมลง แบคทีเรียบาซิลัส
ควบคุมโรคพืช แมลงหางหนีบ ไร ตัวห้ำ มวนพิฆาต
ด้วงเต่า แมลงวันซีโนเซีย แตนเบียน แมลงดำหนาม
เชื้อราเขียว เชื้อโปรโตซัว เชื้อรา เชื้อราไตรโคเดอร์มา
เปน็ ตน้
3. พันธุ์ข้าวส่งเสริมหรือพันธุ์ข้าวราชการ หมายถึง
ข้าวพนั ธ์ุดีท่ที างราชการรับรอง หรอื สง่ เสรมิ ให้เกษตรกร
ทำการเพาะปลูก ซึ่งได้แก่ พันธุ์ กข. พันธุ์ดีอืน่ ๆ ที่เป็น
ที่นิยมของเกษตรกร เช่น กข.7 กข.10 สุพรรณบุรี 60
ข้าวขาวดอกมะลิ 5 ข้าวดอกมะลิ 105 เปน็ ตน้
153
รายงานฉบบั สมบูรณ์โครงการจดั ทำเครอ่ื งช้ีวดั และแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพนื้ ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พ้นื ฐาน
ระดับหมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)
ตวั ชวี้ ัด จุดม่งุ หมายตัวชีว้ ดั คำอธิบาย
4. การแปลงมาตราชง่ั ตวง วดั
1 เกวียน (ข้าว) = 1,000 กก.
1 หาบ (เล็ก) = 60 กก.
1 หาบ (ใหญ)่ = 100 กก.
1 หมื่น (ขา้ ว) = 12 กก.ฃ
1 ลิตร (ขา้ วสาร) = 3/4 กก.
1 ถงั (ข้าวเปลือก) = 10 กก.
1 ถงั (ข้าวสาร) = 15 กก.
1 ถัง (ถว่ั ตา่ ง ๆ) = 15 กก.
1 ตัน = 1,000 กก.
15. ผลผลติ เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงประสิทธิภาพ 1. การแปลงมาตราช่งั ตวง วดั ถ้าผลผลิตของพชื ไร่ใด
จากการทำไร่ การผลิตพืชไร่ต่าง ๆ ทั้งพืชอายุยาวหรือ ในขอ้ 15 น้ี ไม่ใชห้ นว่ ยวดั เป็นกโิ ลกรัม ให้ประเมินเป็น
พืชไร่อายุสั้น โดยดูปริมาณผลผลิตต่อไร่ กิโลกรัม ผลผลิตใดที่ไม่มีในตาราง การแปลงมาตราชั่ง
ตามประเภทของพืชไร่แต่ละชนิดที่ ตวง วดั นี้ ให้ประมาณค่าเป็นกโิ ลกรมั
ครัวเรอื นสว่ นมากในหมูบ่ า้ นปลกู เทียบกบั ข้าวโพดเล้ยี งสัตว์ 1 ถัง = 15 กโิ ลกรัม
เกณฑ์เฉล่ียผลผลิตตอ่ ไร่ทวั่ ประเทศ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 13 ฝัก = เมล็ดข้าวโพด 1 กิโลกรัม
(สีออกจากฝักแลว้ )
มนั เส้นตากแห้ง 1 กิโลกรัม = หัวมนั สด 2.2 กโิ ลกรัม
มนั อดั เม็ด 1 กโิ ลกรัม = หัวมันสด 2.4 กิโลกรมั
แปง้ มนั 1 กิโลกรมั = หวั มนั สด 4.5 กโิ ลกรัม
2. พืชไร่อายุสั้น คือ พืชไร่ที่มีอายุนับตั้งแต่ปลูกถึง
เก็บเกี่ยว น้อยกว่า 4 เดือน เช่น ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
ถั่วเขียว ถั่วเหลือง ถั่วลิสง ถั่วน้ำนางแดง ถั่วมะแฮะ
ข้าวฟ่าง เป็นต้น ทั้งนี้ไม่รวมถึง พืชผัก เช่น พริก
กระเทียม แตงกวา ข้าวโพดอ่อน ข้าวโพดฝักสด
(ข้าวโพดข้าวเหนียว ข้าวโพดสวีท) แตงโมอ่อน หอม
แบ่ง หอมแดง หอมหัวใหญ่ มันเทศ มันฝรั่ง เผือก
หน่อไมฝ้ รง่ั มะเขือเทศ เปน็ ตน้
3. พืชไร่อายุยาว คือ พืชไร่ที่มีอายุนับตั้งแต่ปลูก
จนถึงเก็บเกี่ยวมากกว่า 4 เดือน เช่น ข้าวไร่ อ้อย
มันสำปะหลัง ปอ ฝ้าย สัปปะรด ยาสบู ป่านศรนารายณ์
กก แตงโมเมล็ด พรกิ ไทย เป็นตน้
16. ผลผลติ เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงมูลค่าของผลผลิตต่อ 1. การทำสวนผลไม้ นับพื้นที่เพาะปลูกของตนเอง
จากการทำสวน ครัวเรือน ในการประกอบอาชีพการทำสวน และที่เช่าจากผู้อื่นทั้งที่อยู่ในและนอกหมู่บ้านชุมชน
ไดแ้ ก่ สวนผลไม้ สวนผกั สวนไมด้ อกไมป้ ระดบั และไม่รวมกิจการเกษตร ในบริเวณบ้านหรือหัวไร่
หรือเพาะพันธ์ไุ ม้ขาย และสวนยางพารา ปลายนา
2. การทำสวนผัก ได้แก่ พริก กระเทียม แตงกวา
ข้าวโพดอ่อน ข้าวโพดฝักสด (ข้าวโพดข้าวเหนียว
ข้าวโพดสวีท) แตงโมอ่อน หอมแบ่ง หอมแดง
หอมหัวใหญ่ มันเทศ มันฝรั่ง เผือก หน่อไม้ฝร่ัง
154
รายงานฉบับสมบูรณโ์ ครงการจัดทำเคร่ืองช้วี ัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พ้ืนฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพน้ื ฐาน
ระดบั หมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)
ตัวชว้ี ัด จดุ ม่งุ หมายตัวช้ีวดั คำอธิบาย
มะเขือเทศ เป็นต้น (นับพื้นที่เพาะปลูกของตนเอง
และที่เช่าจากผู้อ่ืนทั้งที่อยู่ในและนอกหมู่บ้านชุมชน
และไม่รวมกิจการเกษตรในบริเวณบ้านหรือหัวไร่
ปลายนา)
3. การทำสวนไม้ดอกไม้ประดับหรือเพาะพันธุ์ไม้
เพ่อื ขาย นับพ้ืนที่เพาะปลกู ของตนเองและที่เช่าจาก
ผู้อื่นทั้งที่อยู่ในและนอกหมู่บ้านชุมชน และไม่รวม
กจิ การเกษตรในบริเวณบ้านหรือหัวไรป่ ลายนา
4. การทำสวนยางพารา นับพื้นที่เพาะปลูกของ
ตนเองและที่เช่าจากผู้อื่น ทั้งที่อยู่ในและนอก
หมู่บ้าน/ชุมชน การตอบข้อนี้ ไม่นับการรับจ้างทำ
สวนยางและรบั จ้างกรดี ยาง
17. ปศสุ ตั ว์ เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงมูลค่าของผลผลิตต่อ 1. การเลี้ยงสัตว์เพื่อขาย หมายถึง การเลี้ยงสัตว์
และการประมง ครัวเรือน ในการประกอบอาชีพทางด้าน เปน็ อาชีพหลัก หรอื อาชพี รอง หรืออาชพี เสริม
การปศุสัตว์ ซึ่งเป็นการเลี้ยงสัตว์เพื่อขาย 2. ทุ่งหญ้าสาธารณะ หมายถึง ที่ดินที่มีหญ้าหรือ
ได้แก่ โคเนื้อ โคนม กระบือ หมู เป็ด ไก่ และ พืชอื่นขึ้นเองตามธรรมชาติ และใช้เป็นที่เลี้ยงสัตว์
สัตว์อื่น ๆ สัตว์ใช้งาน และเครื่องจักรใน โดยประชาชนสามารถนำสัตว์เข้าไปกินหญ้าหรือพชื
การเกษตร ตลอดจนการประกอบอาชีพ ในดินผนื น้ันได้
ทางด้านการประมงน้ำทะเล ประมงน้ำจืด 3. ค่าเชา่ ววั ควาย หรือรถไถ ถ้าจ่ายเปน็ ผลผลิตให้
และการเพาะเลย้ี งสัตว์น้ำ ประเมินราคาเป็นบาท
4. เครื่องจักรในการเกษตร เช่น ควายเหล็ก รถไถ
รถแทรกเตอร์ เปน็ ตน้
5. เคร่ืองจกั รในการเกษตรขนาดเล็ก คือความแรงของ
เคร่อื งยนตท์ ีม่ ีขนาด ไมเ่ กนิ 16 แรงมา้
6. เครื่องจักรในการเกษตรขนาดกลาง คือ ความ
แรงของเคร่ืองยนตท์ ีม่ ีขนาดตั้งแต่ 16-40 แรงมา้
7. เครื่องจักรในการเกษตรขนาดใหญ่ คือ ความ
แรงของเครือ่ งยนตท์ ีม่ ขี นาดต้งั แต่ 40 แรงม้าขนึ้ ไป
8. ประมงขนาดเล็ก หมายถึง ผู้ประกอบการอาชีพ
ประมงที่ใช้แรงงานในครอบครัวเป็นหลัก ใช้เรือ
ขนาดยาวไม่เกิน 10 เมตร ขนาดเครื่องยนต์ไม่เกิน
30 แรงม้า ทำการประมงไม่ไกลจากหมู่บ้านมากนกั
และเฉล่ียหา่ งจากฝ่งั ประมาณ 5 กโิ ลเมตร
9. ประมงนำ้ จืด หมายถงึ การจับปลานำ้ จืดในแหล่ง
น้ำธรรมชาติ หรือแหล่งน้ำที่สร้างขึ้น รวมทั้งการขุด
บอ่ ล่อปลา
18. ผลผลติ เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงมูลค่าของผลผลิตต่อ 1. การปลูกพืชเศรษฐกิจอืน่ ๆ ได้แก่ สวนมะพร้าว
จากการทำ ครัวเรือน ในการประกอบอาชีพเกษตรอ่ืน สน ปาล์มน้ำมนั กาแฟ โกโก้ มะม่วงหมิ พานต์ ใบชา
เกษตรอ่นื ๆ ๆ ได้แก่ การปลูกพืชเศรษฐกิจ การทำ หมาก สะตอ ตาลโตนด หวาย มะนาว ไม้สกั กระถิน
กิจการทางการเกษตร การทำเกษตรฤดู เทพา สะเดาเทียม ยูคาลิปตัส ตีนเป็ด ไม้ยางนา ไผ่
แล้ง การปลูกกัญชา เป็นต้น อีกทงั้ ยงั แสดง เป็นตน้ (นับพน้ื ท่เี พาะปลกู ของตนเอง และทเ่ี ชา่ จาก
155
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการจดั ทำเครอื่ งชวี้ ดั และแบบสอบถามข้อมูลความจำเปน็ พืน้ ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพืน้ ฐาน
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ่วงแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)
ตัวช้วี ดั จุดม่งุ หมายตวั ชวี้ ัด คำอธิบาย
ให้เห็นถึงการให้บริการสาธารณะทางด้าน ผู้อื่น ทั้งที่อยู่ในและนอกหมู่บ้านชุมชน และไม่รวม
การเกษตรในชมุ ชนอีกด้วย กิจการเกษตรในบริเวณบา้ นหรอื หัวไรป่ ลายนา)
2. การทำกจิ การเกษตรอ่ืน ๆ ได้แก่ ปลูกตน้ กระจดู
เพาะเห็ด ปลูกต้นจาก ปลูกหม่อน เป็นต้น ซึ่งไม่ใช่
การปลกู พืชไร่ พชื สวนและทำนา (นับพื้นทเี่ พาะปลูก
ของตนเอง และที่เช่าจากผู้อื่น ทั้งที่อยู่ในและนอก
หมู่บ้านชุมชน และไม่รวมกิจการเกษตรในบริเวณ
บา้ นหรือหัวไร่ปลายนา)
3. การทำเกษตรฤดูแล้ง หมายถึง การปลูกพืชไร่
อายุสั้น หรือพืชผัก ในฤดูแล้ง (นับพื้นที่เพาะปลูก
ของตนเอง และที่เช่าจากผู้อื่น ทั้งที่อยู่ในและนอก
หมู่บ้านชุมชน และไม่รวมกิจการเกษตรในบริเวณ
บ้านหรอื หวั ไร่ปลายนา)
4. ตลาดกลางสินคา้ เกษตร หมายถงึ แหลง่ รวบรวม
และซื้อขายสินค้าเกษตรเป็นประจำตลอดปีที่มีผู้ซื้อ
ขายจำนวนมากเข้ามา ทำการแข่งขันการซื้อขาย
สินค้ากันโดยตรงในรูปการขายส่งด้วยวิธีการ ตกลง
ราคาอยา่ งเปิดเผยหรือประมลู ราคา เชน่ ตลาดกลาง
ข้าว ธกส. เป็นต้น
5. ตลาดนัดสินค้าเกษตร หมายถึง จุดรวมการซื้อ
ขายหรือจุดนัดพบของผู้ซื้อขายที่จะมาซื้อสินค้า
โดยตรง อาจมีการซื้อขายกันทุกวัน ในช่วงที่มี
สินค้าออกสู่ตลาดมาก หรือกำหนดเอาวันหนึ่งวันใด
หรือช่วงหนึ่งช่วงใด ทำการซื้อขายกันตามแต่จะนัด
หมายสถานท่ีตามแตค่ วามเหมาะสม ควรอยู่ในแหล่ง
ผลิตนั้น ๆ ส่วนใหญ่มักจัดเป็นตลาดนัด ที่มีการซ้ือ
ขายสินค้าชนิดใดชนดิ หน่ึง เช่น ตลาดนัดข้าวเปลือก
ตลาดนัดข้าวโพด ตลาดนัดถั่วเหลือง ตลาดนัดโค-
กระบือ เป็นต้น
19. การประกอบ เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงมูลค่าของผลผลิตต่อ 1. อุตสาหกรรมในครัวเรือนและหัตถกรรม
อตุ สาหกรรมใน ครัวเรือน ในการประกอบอาชีพอุตสาหกรรม หมายถึง การลงทุนจัดหาวัตถุดิบมาทำการผลิตแล้ว
ครวั เรอื น หรือหตั ถกรรมในครัวเรอื น จำหน่ายด้วยตนเอง และการรับจ้างทำผลิตภัณฑ์
โดยมีผจู้ ัดหาวัตถุดิบมาให้ ประเภทของอุตสาหกรรม
ได้แก่ 1) ทอผ้า 2) จักสาน (จากวัสดุทุกชนิด) 3) ถักทอ
(จากเส้นใยพชื ) 4) การแปรรปู ผลิตภณั ฑ์จากผลผลติ
การเกษตร หรือการแปรรปู สินค้าเกษตร เช่น ถนอม
อาหาร (จากพืชและสัตว์) 5) เครื่องมือเครื่องใช้
จากโลหะ (ตีมีด, หล่อหลอมโลหะ, บัดกรีสังกะสี)
6) เครื่องป้นั ดนิ เผา(รวมการทำอิฐมอญ) 7) เจียระไน
เพชรพลอยและหินสี 8) แกะสลัก (จากวสั ดทุ ุกชนิด)
9) เย็บปักถักร้อย 10) เครื่องเรือน (จากไม้, ไม้ไผ่,
หวาย) 11) ผลติ ภัณฑ์จากซีเมนต์ 12) อืน่ ๆ
156
รายงานฉบับสมบูรณโ์ ครงการจดั ทำเคร่อื งชวี้ ดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพนื้ ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พืน้ ฐาน
ระดับหมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)
ตัวช้ีวัด จดุ มุ่งหมายตัวชี้วัด คำอธบิ าย
20. การทอ่ งเทีย่ ว เพื่อบ่งบอกถึงโอกาสในการเพิ่มรายได้ต่อ 1. สถานที่ท่องเที่ยว คือ สถานที่ท่องเที่ยวที่เกดิ ขึน้
ครัวเรือน จากการมีสถานที่ท่องเที่ยวของ เองโดยธรรมชาติ เช่น ทะเล ภูเขา ป่า น้ำตก เกาะ
ตำบล โดยให้มีการระบุรายได้จากการมี แก่ง ฯลฯ และเกิดโดยการกระทำของมนุษย์ อาทิ
สถานที่ท่องเที่ยวภายใน/ภายนอกตำบล เพื่อพักผ่อน เพื่อสุขภาพ เพื่อความสนุกสนาน
ของครวั เรือนเพอื่ ให้ทราบถงึ รายได้ รวมไป ผจญภัย เพื่อการกีฬาและนันทนาการ เพื่อศาสนา
ถึงจำนวนครัวเรือนที่ได้รับผลกระทบจาก เช่น รีสอร์ท ที่อาบน้ำพุร้อน สวนสนุก อ่างเก็บน้ำ วัด
การเป็นแหล่งท่องเที่ยว ส่งผลกระทบด้าน พิพิธภัณฑ์ โบราณสถาน/โบราณวัตถุ ศิลปวัฒนธรรม
ใด และไดร้ บั การแกไ้ ขปญั หาหรือไม่ ซ่ึงจะ ประเพณี วิถชี วี ติ เปน็ ต้น
นำมาใช้ในการประกอบการจัดทำนโยบาย 2. สถานที่ท่องเที่ยวภายนอกตำบล คือ สถานท่ี
หรือแผนงานดา้ นการส่งเสริมการทอ่ งเทีย่ ว ท่องเที่ยวที่อยู่ภายนอกตำบลของอำเภอเดียวกัน
ของหมู่บ้าน/ชุมชน หรือองค์กรปกครอง หรือตำบลของจงั หวดั ท่มี แี นวเขตติดต่อกนั
สว่ นทอ้ งถิ่น (อปท.) หรือของจงั หวัด 3. ประเภทการท่องเที่ยว ตามแผนแม่บทภายใต้
ยทุ ธศาสตรช์ าติ ปี 2565-2580 กำหนดให้ส่งเสริม
การท่องเท่ยี ว ดงั น้ี
1) การทอ่ งเท่ียวเชิงสร้างสรรค์และวัฒนธรรม
หมายถึง สร้างสรรค์คุณค่าสินค้าและบริการการ
ท่องเที่ยว มุ่งเน้น การใช้องค์ความรู้และนวัตกรรม
ผนวกกับจุดแข็งในด้านความหลากหลายทาง
ทรพั ยากรธรรมชาติ วัฒนธรรม และวิถีชวี ิต
2) การทอ่ งเท่ยี วเชงิ ธรุ กิจ หมายถงึ ส่งเสริมให้
ไทยเป็นจุดหมายปลายทางการท่องเที่ยวเชิงธุรกิจ
ครอบคลุมการจดั ประชมุ และนทิ รรศการ การจดั งาน
แสดงสนิ ค้า การจัดกจิ กรรมการท่องเที่ยวเป็นรางวลั
การจัดการแข่งขันกีฬาระดับนานาชาติ การ
ท่องเที่ยวเชิงกีฬา รวมถึงการพักผ่อนระหว่างหรือ
หลงั การประกอบธุรกิจหรอื การทำกิจกรรมตา่ ง ๆ
3) การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ความงามและ
แพทย์แผนไทย หมายถึง พัฒนาและยกระดับ
มาตรฐานการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ความงาม และ
แพทย์แผนไทย ทั้งสินค้า บริการ บุคลากร
ผู้ประกอบการ และแหล่งท่องเที่ยวที่เก่ียวข้องตลอด
ห่วงโซค่ ุณค่าการท่องเท่ยี ว
4) การท่องเที่ยวสำราญทางน้ำ หมายถึง
ส่งเสริมการท่องเทีย่ วทางน้ำให้เป็นอีกทางเลือกหน่ึง
ของการท่องเที่ยวไทย เป็นแหล่งสร้างรายได้ใหม่
ให้กับประเทศ โดยคำนึงถึงความยั่งยืนของแหล่ง
ท่องเที่ยวและการมีส่วนร่วมของชุมชน ครอบคลุม
การท่องเที่ยวทางทะเลและชายฝั่ง และการท่องเทีย่ วใน
ลุ่มนำ้ สำคัญ
157
รายงานฉบบั สมบูรณ์โครงการจดั ทำเคร่ืองชว้ี ดั และแบบสอบถามข้อมลู ความจำเป็นพืน้ ฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพนื้ ฐาน
ระดบั หมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)
ตวั ชว้ี ดั จดุ มงุ่ หมายตวั ชีว้ ดั คำอธบิ าย
5) การท่องเที่ยวเชื่อมโยงภูมิภาค หมายถึง
ยกระดับให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการเชื่อมโยง
เส้นทางการท่องเที่ยวภายในภูมิภาคอาเซียน โดยใช้
ประโยชน์จากที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ แผนการลงทุน
พัฒนาโครงข่ายคมนาคมทั้งทางถนน ราง น้ำ และ
อากาศ และกรอบความร่วมมอื กบั ประเทศเพอ่ื นบา้ น
ประเทศไทยเป็นจุดเชื่อมต่อการเดินทางของ
นกั ท่องเท่ียวในภมู ภิ าคอาเซียน
หมวดที่ 3 สุขภาวะและอนามยั (7 ตวั ชวี้ ดั )
ตัวช้วี ัด จดุ มงุ่ หมายตัวชว้ี ดั คำอธิบาย
21. การป้องกัน เพื่อบ่งบอกการให้บริการของรัฐด้านสาธารณสุข 1. โรค (Disease) คอื ความไมส่ บาย ความเจ็บปว่ ย
โรคตดิ ตอ่ โดยการฉีดวัคซีนป้องกันโรคติดต่อ (ซึ่งสามารถ เป็นภาวะที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง หรือขดั ขวาง
ป้องกันได้ด้วยการฉีดวัคซีน) และสะท้อนให้เห็น การทำงานตามปกติของสว่ นใดสว่ นหน่งึ ของร่างกาย
ถึงระดับความรุนแรงของโรคประเภทต่าง ๆ โดยดู จนปรากฏอาการ ซึ่งโรคสามารถแบ่งตาม สาเหตุที่
ได้จากการมีจำนวนผู้ป่วยหรือตายด้วยโรคติดต่อ ทำใหเ้ กดิ โรคเปน็ 3 ประเภท ได้แก่
ต่าง ๆ มากน้อยเพียงใด ซึ่งเน้นเฉพาะโรคตดิ ตอ่ ท่ี ประเภทที่ 1 โรคไม่ติดต่อ เป็นโรคกลุ่ม NCDs
สามารถปอ้ งกนั ไดด้ ว้ ยวัคซีน และผทู้ ป่ี ่วยหรอื ตาย (Non-communicable diseases) คือ โรคที่ไม่ติดตอ่
นั้นให้นับรวมทุกอายุ รวมไปถึงสถานบริการหรือ ไมว่ ่าจะเป็นการสมั ผสั คลุกคลี หรอื มีการสัมผัสกับ
สถานประกอบการในชุมชนที่เสี่ยงต่อการแพร่ สารคัดหลั่งต่าง ๆ โรคกลุ่มนี้ไม่ได้เกิดจากเชื้อโรค
ระบาดของโรค ได้มีการตรวจสอบมาตรฐาน แต่เป็นโรคที่มีความสัมพนั ธ์กบั นิสัยหรือพฤติกรรม
การให้บรกิ ารหรือไม่ การดำเนินชีวิต โรคไม่ติดต่อที่เกิดขึ้นในคนไทย
จำนวนมาก 7 โรค ได้แก่ (1) เบาหวาน (2) หลอด
เลือดสมอง (3) หลอดเลือดหัวใจตีบตัน (4) มะเร็ง
ปอด (5) อ้วนลงพุง (6) ความตันโลหิตสูง และ
(7) มะเร็ง
ประเภทที่ 2 โรคติดต่ออันตราย (จากประกาศ
กระทรวงสาธารณสุข ปี 2559 และ ปี 2563 ดงั นี้
(1) กาฬโรค (2) ไข้ทรพษิ (3) ไข้เลอื ดออกไครเมยี น
คองโก (4) ไข้เวสต์ไนล์ (5) ไข้เหลือง (6) โรคไข้ลาส
ซา (7) โรคติดเชื้อไวรัสนิปาห์ (8)โรคติดเชื้อไวรัส
มาร์บวร์ก (9) โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา (10) โรคตดิ
เชื้อไวรสั เฮนดรา (11) โรคทางเดนิ หายใจเฉยี บพลนั
รุนแรง หรือโรคซาร์ส (12) โรคทางเดินหายใจ
ตะวันออกกลาง หรือโรคเมอร์ส (13) โรคติดเช้ือ
ไวรสั โคโรนา 2019
ประเภทที่ 3 โรคติดต่อตามฤดูกาล (ประกาศ
กรมควบคมุ โรค ปี 2563) โรคและภยั สขุ ภาพทเ่ี กดิ
ในช่วงฤดูฝน ดังน้ี กลุ่มที่ 1 โรคติดต่อระบบ
158
รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจดั ทำเครือ่ งชวี้ ัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พ้นื ฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พ้นื ฐาน
ระดบั หมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรับใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)
ตัวช้วี ดั จดุ มงุ่ หมายตัวชี้วัด คำอธบิ าย
22. การได้รับ เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงการให้บริการของรัฐด้าน ทางเดินหายใจ แบ่งเป็น (1) ไข้หวัดใหญ่ (2) ปอด
บริการและ สาธารณสขุ ในการดแู ลรกั ษาสุขภาพของคนใน อักเสบ กลุ่มที่ 2 โรคติดต่อทางเดินอาหารและน้ำ
ดแู ลสขุ ภาพ ชุมชน รวมถึงสะท้อนให้เห็นถึงโอกาสของคน (1) อุจจาระร่วง อาหารเป็นพิษ (2) อหิวาตกโรค
อนามยั ในชุมชน ในการเข้าถึงการให้บริการและดูแล กลุ่มที่ 3 โรคติดต่อนำโดยยุงลาย (1) ไข้เลือดออก
สขุ ภาพอนามัยภายในตำบล ตลอดจนการไดร้ บั (2) ไข้ปวดข้อยุงลายหรอื ชิคุนกุนยา (3) เลปโตสไป
สิทธใิ นการรักษาพยาบาลหรือไม่ โรซิสหรอื ฉห่ี นู และมือ เทา้ ปาก
2. ภัยสุขภาพ ได้แก่ 1) การบาดเจ็บและเสียชีวิต
จากการจมนำ้ 2) การบาดเจ็บและเสียชีวติ จากการ
ถูกฟ้าผ่า 3) อันตรายจากการถูกสัตว์มีพิษกัด และ
4) อันตรายจากการกนิ เห็ดพิษ
3. อ้วนลงพงุ คือ น้ำหนักตวั อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน
มีรูปร่างสมส่วน แต่มีเส้นรอบเอวที่มากเกินไป มี
ความเป็นไปได้ว่ามีไขมันสะสมที่ช่องท้องหรือ
อวัยวะภายในช่องท้องมากเกินไป หรืออาจเรียกอกี
อย่างว่า ภาวะอ้วนลงพุง (ค่า BMI ซึ่งมีวิธีคำนวณ
ดังนี้ นำน้ำหนักเป็นกิโลกรัม หารด้วยส่วนสูงเป็น
เมตรยกกำลังสอง หรือ BMI = น้ำหนัก (kg) ÷
สว่ นสูง (m) 2 (โดยผูช้ ายควรมีรอบเอวไมเ่ กิน90 ซม.
หรือ 35.4 นิ้ว ส่วนผู้หญิงควรมีรอบเอวไม่เกิน 80
ซม. หรือ 31.5 นิ้ว ค่า BMI จะอยู่ที่ 22–23
ในขณะที่หญิงที่รูปร่างสมส่วน ค่า BMI จะอยู่ท่ี
19 –20)
4. อาการเรื้อรัง หมายถึง อาการเจ็บป่วยเรื้อรัง
ไมต่ ิดตอ่ และโรคแหง่ ความเสื่อม โดยมีลักษณะของ
กลุ่มโรคคือ มีสาเหตุที่ไม่ชัดเจนแน่นอน มาจาก
หลายปัจจัยเสีย่ ง ระยะแฝงตัวนาน มีการดำเนนิ การ
ของโรคความเจ็บป่วยนาน ไม่ใช่โรคติดต่อ กลุ่มโรค
นี้มีผลกระทบทำให้ร่างกายไม่สามารถทำหน้าที่ได้
สมบูรณ์ มีความพิการและส่วนใหญ่รักษา
ไมห่ ายขาด เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหติ สงู โรค
หลอดเลือดสมอง และโรคมะเร็ง เปน็ ต้น
1. การเข้าถึงบริการและดูแลสุขภาพ หมายถึง
การทปี่ ระชาชนจะสามารถใชบ้ ริการเพื่อสุขภาพ
ไมว่ ่าจะด้วยตนเองหรือโดยผู้อืน่ ในสถานบริการ
ด้านสุขภาพท้ังภายในหรือภายนอกตำบลได้ โดย
ไม่มีอุปสรรคในด้านระยะทาง การเดินทาง
ค่าใช้จ่าย รวมถึงการรู้สิทธิในการรักษาสุขภาพ
ของตนเอง
2. สิทธิการรักษาพยาบาล 3 ระบบของคนไทย
ประกอบด้วย
159
รายงานฉบบั สมบรู ณ์โครงการจัดทำเครือ่ งชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเปน็ พ้ืนฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พ้นื ฐาน
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)
ตัวชวี้ ดั จุดมุง่ หมายตวั ช้วี ดั คำอธิบาย
23. อนามยั 1) สิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลของ
แม่และเด็ก
ข้าราชการ คุ้มครองการรักษาพยาบาลให้กับ
ขา้ ราชการและบคุ คลในครอบครัว
2) สิทธิประกันสังคม สำหรับผู้ประกันตน
ตามสิทธิ สามารถเข้ารับการรักษาพยาบาลได้ที่
โรงพยาบาลที่เลือกลงทะเบียน มีสำนักงาน
ประกันสังคม กระทรวงแรงงานและสวัสดิการ
สังคม ดูแลระบบการเบิกจ่ายคา่ รกั ษาพยาบาล
3) สิทธิหลักประกันสุขภาพ 30 บาท
คุ้มครองคนไทยท่ีมเี ลขบัตร ประจำตวั ประชาชน
13 หลัก ทไ่ี มไ่ ดร้ ับสทิ ธิตามข้อ 1 หรอื ข้อ 2
3. แพทย์ทางเลือก หมายถึง วิธีการรักษาโรคท่ี
บำบัดด้วยวิธีทางธรรมชาติ ที่ไม่ใช่แผนปัจจุบัน
ซึ่งไม่อาศัยเคมีบำบดั อย่างเดียว เช่น การฝังเขม็
การนวดกดจุด การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การบริโภคด้วยวิธีธรรมชาติบำบัด (ชีวจิตแมค
โครไบโอตคิ ) เป็นตน้
เพื่อบ่งบอกการให้บริการด้านสาธารณสุขของ 1. ทารกเกิดมีชีพ หมายถึง การที่ทารกคลอด
รัฐ หรือสถานพยาบาลอื่น ๆ โดยการดูแลและ มาโดยวิธีใดก็ตามและไม่คำนึงถึงระยะเวลาของ
ให้บริการมารดาที่ตั้งครรภ์ สะท้อนให้เห็นถึง การต้ังครรภ์ โดยทารกที่คลอดออกมานัน้ จะต้อง
ประสิทธิภาพการดูแลและการทำคลอดบุตร มกี ารหายใจเพ่อื แสดงอาการที่บ่งวา่ มีชีวติ (มีลม
โดยดูได้จากจำนวนมารดาทีเ่ สียชีวิตตอ่ การเกิด หายใจเกินกว่า 3 ชั่วโมงขึ้นไป) เช่น การเต้น
มีชีพ และจำนวนมารดาที่เสียชีวิตต่อการเกิด ของหัวใจ หรือการเต้นของเส้นโลหิต สายสะดือ
ไร้ชพี ของทารก ตลอดจนการใหค้ วามรเู้ กย่ี วกับ หรือการเคลื่อนไหวของร่างกาย
การดูแลสตรีตั้งครรภ์ การดูแลทารกตามหลัก 2. ทารกเกิดไร้ชีพ หมายถึง การ คลอดตัวอ่อน
วชิ าการ และการวางแผนครอบครัว ที่อยู่ในครรภ์มารดามาแล้วอย่างน้อย 28
สัปดาห์ ถ้าคลอดออก มาแล้วมีชีวิตเรียกว่า
“เกิดมีชีพ” ถ้าไม่มีชีวิตเรียกว่า “เกิดไร้ชีพ”
หรือ “ตาย คลอด” ปัจจุบัน คำว่า การเกิด (birth)
ทีใ่ ช้กันท่ัวไปหมายถงึ บุตรเกิดรอด
3. การแท้งบุตร หมายถึง การสิ้นสุดของการ
ตั้งครรภ์ซึ่งตัวอ่อนหรือทารกในครรภ์ถูกขับ
ออกมา อายุครรภ์น้อยกว่า 28 สัปดาห์ ถือเป็น
ภาวะผดิ ปกตอิ ย่างหนึง่ ของการตัง้ ครรภ์ โดยการ
แท้ง แบ่งได้ 2 ลักษณะ ได้แก่ การแท้งตาม
ธรรมชาติ และการแท้งโดยมารดาตั้งใจ
4. แม่วัยรุ่นหรือแม่วัยใส คือ มารดาที่ตัง้ ครรภ์
และให้กำเนิดทารก ในขณะที่ตนเองยังมีอายุ
นอ้ ยกวา่ 20 ปี
160
รายงานฉบบั สมบูรณโ์ ครงการจดั ทำเคร่อื งชว้ี ดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พ้ืนฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พื้นฐาน
ระดบั หม่บู า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)
ตวั ช้ีวดั จุดมุ่งหมายตัวชวี้ ดั คำอธิบาย
24. สขุ ภาวะ เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงการให้บริการของรัฐใน กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ
คนพกิ ารและ
ผสู้ ูงอายุ ด้านสุขภาวะคนพิการ และผู้สูงอายุ และบ่ง มนุษย์ เรื่อง ประเภทและหลักเกณฑค์ วามพิการ
บอกได้ว่าคนพิการและผู้สูงอายุสามารถเข้าถึง (ฉบบั ที่สอง) ซง่ึ ออกตามความในพระราชบญั ญตั ิ
การให้บริการของรัฐหรือไม่ เพื่ออำนวยความ ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ.
สะดวกในการดำรงชีวิตได้อย่างเหมาะสม 2550 ประกอบพระราชบัญญัติส่งเสริมและ
รวมถึงการเข้าถึงการคุ้มครองทางสังคม และ พัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ (ฉบับที่สอง) พ.ศ.
ระบบประกนั สขุ ภาพถ้วนหนา้ เป็นต้น 2556 ได้กำหนดลักษณะความพิการไว้ 7
ประเภท ดังน้ี
1. ความพกิ ารทางการเห็น
(1) ตาบอด หมายถึง การที่บุคคลมี
ข้อจำกัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวัน
หรือการเข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม
ซึ่งเป็นผลมาจากการมีความบกพร่องในการเห็น
เมื่อตรวจวัดการเห็นของสายตาข้างที่ดีกว่าเม่ือ
ใชแ้ ว่นสายตาธรรมดาแลว้ อยใู่ นระดับแยก่ ว่า 3
สว่ น 60 เมตร (3/60) หรือ 20 สว่ น 400 ฟุต
(20/400) ลงมาจนกระทั่งมองไม่เห็นแม้แต่
แสงสว่าง หรอื มีลานสายตาแคบกว่า 10 องศา
(2) ตาเห็นเลือนราง หมายถึง การที่บุคคล
มีข้อจำกัดในการปฏิบัติกิจกรรมใน
ชีวิตประจำวันหรือการเข้าไปมีส่วนร่วมใน
กิจกรรมทางสังคม ซึ่งเป็นผลมาจากการมีความ
บกพร่องในการเห็นเมื่อตรวจวัดการเห็นของ
สายตาข้างที่ดีกว่า เมื่อใช้แว่นสายตาธรรมดา
แลว้ อยู่ในระดบั ตัง้ แต่ 3 สว่ น 60 เมตร (3/60)
หรอื 20 สว่ น 400 ฟุต (20/400) ไปจนถึงแย่
กว่า 6 ส่วน 18 เมตร (6/18) หรือ 20 ส่วน
70 ฟุต (20/70) หรือมีลานสายตาแคบกว่า
30 องศา
2. ความพิการทางการได้ยนิ หรอื สือ่ ความหมาย
(1) หูหนวก หมายถึง การที่บุคคลมี
ขอ้ จำกดั ในการปฏิบตั กิ จิ กรรมในชีวิต ประจำวัน
หรือการเข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม
ซึ่งเป็นผลมาจากการมีความบกพร่องในการได้
ยินจนไม่สามารถรับข้อมูลผ่านทางการได้ยิน
เมื่อตรวจการได้ยิน โดยใช้คลื่นความถี่ที่ 500
เฮิรตซ์ 1,000 เฮริ ตซ์ และ 2,000 เฮริ ตซ์ ในหู
ข้างที่ได้ยินดีกว่าจะสูญเสียการได้ยินที่ความดัง
ของเสยี ง 90 เดซิเบลขึน้ ไป
161
รายงานฉบบั สมบูรณ์โครงการจัดทำเคร่ืองชว้ี ดั และแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พ้นื ฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พ้นื ฐาน
ระดบั หมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรับใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)
ตวั ชี้วดั จดุ มุ่งหมายตัวชว้ี ดั คำอธิบาย
(2) หูตึง หมายถึง การที่บุคคลมีข้อจำกัดใน
การปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวันหรือการเข้า
ไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม ซึ่งเป็นผลมา
จากการมีความบกพร่องในการได้ยินเมื่อ
ตรวจวัดการได้ยิน โดยใช้คลื่นความถี่ที่ 500
เฮิรตซ์ 1,000 เฮริ ตซ์ และ 2,000 เฮิรตซ์ ในหู
ข้างที่ได้ยินดีกว่าจะสูญเสียการได้ยินที่ความดัง
ของเสียงน้อยกว่า 90 เดซิเบลลงมาจนถึง 40
เดซิเบล
(3) ความพิการทางการสื่อความหมาย
หมายถึง การที่บุคคลมีข้อจำกัดในการปฏิบัติ
กิจกรรมในชีวิตประจำวันหรือการเข้าไปมีส่วน
ร่วมในกิจกรรมทางสงั คม ซึ่งเปน็ ผลมาจากการมี
ความบกพร่องทางการสื่อความหมาย เช่น พูด
ไมไ่ ด้ พดู หรอื ฟังแลว้ ผ้อู ื่นไมเ่ ข้าใจ เปน็ ตน้
3. ความพิการทางการเคล่ือนไหวหรือทางร่างกาย
(1) ความพิการทางการเคลื่อนไหว หมายถงึ
การที่บุคคลมีข้อจำกัดในการปฏิบัติกิจกรรมใน
ชีวิตประจำวันหรือการเข้าไปมีส่วนร่วมใน
กิจกรรมทางสังคม ซึ่งเป็นผลมาจากการมีความ
บกพร่องหรือการสูญเสียความสามารถของ
อวยั วะในการเคล่ือนไหว ได้แก่ มอื เทา้ แขน ขา
อาจมาจากสาเหตุอัมพาต แขน ขา อ่อนแรง
แขน ขาขาด หรือภาวะเจ็บป่วยเรื้อรังจนมี
ผลกระทบตอ่ การทำงานมือ เท้า แขน ขา
(2) ความพิการทางร่างกาย หมายถึง
การที่บุคคลมีข้อจำกัดในการปฏิบัติกิจกรรมใน
ชีวิตประจำวันหรือการเข้าไปมีส่วนร่วมใน
กิจกรรมทางสังคม ซึ่งเป็นผลมาจากการมีความ
บกพร่อง หรือความผิดปกติของศีรษะ ใบหน้า
ลำตัว และภาพลักษณ์ภายนอกของร่างกายท่ี
เห็นไดอ้ ยา่ งชัดเจน
4. ความพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม การที่
บุคคลมีข้อจำกัดในการปฏิบัติกิจกรรมใน
ชีวิตประจำวันหรือการเข้าไปมีส่วนร่วมใน
กิจกรรมทางสังคม ซึ่งเป็นผลมาจากความ
บกพร่องหรือความผิดปกติทางจิตใจหรือสมอง
ในสว่ นของการรับรู้ อารมณ์ หรอื ความคิด
5. ความพิการทางสติปัญญาการที่บุคคลมี
ข้อจำกัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวนั
162
รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเคร่ืองช้วี ัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พนื้ ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพ้ืนฐาน
ระดบั หมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรับใช้ชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)
ตวั ชวี้ ดั จุดมุ่งหมายตวั ชว้ี ดั คำอธิบาย
หรือการเข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม
ซึ่งเป็นผลมาจากการมีพัฒนาการช้ากว่าปกติ
หรือมีระดับเชาว์ปัญญาต่ำกว่าบุคคลทั่วไป โดย
ความผิดปกตินั้นแสดงกอ่ นอายุ 18 ปี
6. ความพิการทางการเรียนรู้ การที่บุคคลมี
ข้อจำกัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวนั
หรือการเข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม
โดยเฉพาะด้านการเรยี นรู้ ซึ่งเป็นผลมาจากความ
บกพร่องทางสมอง ทำให้เกิดความบกพร่องใน
ด้านการอ่านการเขียน การคิดคำนวณ หรือ
ก ร ะ บ ว น ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ พ ื ้ น ฐ า น อ ื ่ น ใ น ร ะ ดั บ
ความสามารถที่ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานตามช่วง
อายุและระดับสตปิ ัญญา
7. ความพิการออทิสตกิ การที่บคุ คลมีข้อจำกดั
ในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวันหรือการ
เข้าไปมีส่วนรว่ มในกิจกรรมทางสังคม ซึ่งเปน็ ผล
มาจากความบกพร่องทางพัฒนาการด้านสังคม
ภาษาและการสื่อความหมาย พฤติกรรมและ
อารมณ์ โดยมีสาเหตุมาจากความผิดปกติของ
สมอง และความผิดปกตินั้นแสดงก่อนอายุ 2 ปี
ครึ่ง ทั้งนี้ ให้รวมถึงการวินิจฉัยกลุ่มออทิสติก
สเปกตรัมอื่น ๆ เชน่ แอสเปอเกอร์ (Asperger)
2. ประเภทของผู้สูงอายุ
1) กลุ่มติดสังคม เป็นผู้สูงวัยที่สามารถ
ช่วยเหลือตนเองได้ดี สุขภาพดี ไม่มีโรคเรือ้ รัง หรือ
มโี รคเรื้อรงั 1–2 โรค แต่ควบคุมได้ สามารถใช้ชีวิต
ในสังคมได้โดยอิสระ มักเข้าร่วมกิจกรรมในสังคม
และมศี กั ยภาพในการช่วยเหลือผอู้ ืน่
2) กลุ่มตดิ บ้าน เป็นผสู้ ูงวยั ท่ีสามารถช่วยเหลือ
ตนเองได้ หรือต้องการความช่วยเหลือบางส่วน
มีโรคเรื้อรังหลายโรคหรือมีภาวะแทรกซ้อน
มีข้อจำกัดในการใช้ชีวิตในสังคม เช่น มีปัญหา
สุขภาพ (เคลื่อนไหวลำบาก ซึมเศร้า หลงลืม สมอง
เสอื่ ม)ไมช่ อบออกสังคม ติดภาระทางบา้ น
3) กลุ่มติดเตียง เป็นผู้สูงวัยที่ไม่สามารถ
ช่วยเหลือตนเองในการทำกิจวัตรประจำวันได้
ต้องการความช่วยเหลือจากผู้อื่น มีการเจ็บป่วย
เร้อื รงั มายาวนาน และมีภาวะแทรกซอ้ น มีภาวะ
หง่อมและเปราะบาง
163
รายงานฉบบั สมบรู ณ์โครงการจัดทำเครื่องชี้วดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พนื้ ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พนื้ ฐาน
ระดบั หมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ่วงแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)
ตัวชีว้ ัด จุดมงุ่ หมายตัวชี้วดั คำอธบิ าย
2 5 . อ น า มั ย เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงการจัดการและควบคุม 1. อนามัยสิ่งแวดล้อม หมายถงึ การจดั การและ
สิง่ แวดลอ้ ม สิ่งแวดล้อม ที่อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพของ ควบคุมสิ่งแวดล้อม ที่อาจเป็นอันตรายต่อ
คนในชุมชน ได้แก่ การจัดการขยะในครวั เรอื น สุขภาพของมนุษย์ เพื่อให้เกิดความสมดุลของ
การจัดการส้วมและส่งิ ปฏกิ ลู การจดั บ้านหรอื ท่ี ระบบ นิเวศระหว่างมนษุ ย์กบั สิ่งแวดล้อม อันจะ
อยอู่ าศยั ถกู สขุ ลกั ษณะ ส่งผลใหม้ นุษย์มีความเป็นอยู่ที่ดี ทั้งทางรา่ งกาย
การจัดหาและเฝ้าระวังคุณภาพอาหารและ จิตใจ และสงั คม
น้ำดื่ม การอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เป็นพื้นที่พิเศษ 2. หลกั การจดั การอนามัยสง่ิ แวดล้อมพ้นื ฐาน
หรอื พนื้ ทเ่ี สย่ี ง (1) การจัดการขยะในครัวเรือนและชุมชน
ขยะแบ่งเป็น 4 ประเภท 1) ขยะย่อยสลาย คือ
ขยะเน่าเสียและย่อยสลายได้เร็ว นำมาหมักทำ
ปุ๋ยได้ เช่น เศษผัก เปลือกผลไม้ เศษอาหาร
เป็นต้น 2) ขยะรีไซเคิล คือ ของเสียบรรจุภัณฑ์
หรือวัสดุเหลือใช้ท่ีนำกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ได้
เช่น แก้ว กระดาษ กระป๋องเครื่องดื่ม เศษ
พลาสติก กล่องเครื่องดื่ม เป็นต้น 3) ขยะทั่วไป
คือขยะประเภทอื่น ๆ ที่ย่อยสลายยาก ไม่คุ้มค่า
ถ้านำกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ เช่น พลาสติกหอ่
ลูกอม ซองบะหมี่กึ่งสำเร็จรูป เป็นต้น และ
4) ขยะอันตราย คือ ขยะปนเปื้อนที่ก่อให้เกิด
อันตรายต่อคนและสิ่งแวดล้อม ได้แก่ ติดไฟง่าย
ปนเปื้อนสารพิษ กัดกร่อน มีเชื้อโรคปะปนอยู่
ระเบิด ทำใหร้ ะคายเคอื ง เปน็ ตน้
(2) การจัดการส้วมและสิ่งปฏิกูล คือ การ
รักษาสภาพให้สะอาด ไม่มีน้ำ ขังหรือสกปรกมี
กล่ินเหม็น
(3) การจัดบ้านหรือที่อยู่อาศัยให้สะอาด
ถูกสุขลักษณะ และ ส่งเสรมิ พฤติกรรมสุขภาพท่ี
ดใี นบา้ นท่ีพกั อาศยั เพอื่ ลดความเสยี่ งตอ่ สขุ ภาพ
และลดการเกิดโรคติดต่อจากสัตว์พาหะและ
แมลงนำโรคมาสู่คน เช่น หนูแมลงสาบ ยุง
เปน็ ตน้
(4) การจัดหาและเฝ้าระวังคุณภาพอาหาร
และนำ้ ด่ืม เพือ่ ลดปัญหาโรค อาหาร มีการกรอง
นำ้ เปน็ ต้น
(5) การจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมในพื้นท่ี
พิเศษ หรือพ้นื ที่เส่ียง ซงึ่ เป็นพนื้ ทท่ี ่มี มี ลภาวะ 7
ประเด็น ได้แก่ ฝุน่ ควนั น้ำเสยี น้ำไม่สะอาด ขยะ
มูลฝอย ส้วมสิ่งปฏิกูล สัตว์และแมลงที่เป็น
พาหะนำโรค และใช้สารเคมี
164
รายงานฉบับสมบูรณโ์ ครงการจดั ทำเครอื่ งช้ีวดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพนื้ ฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพน้ื ฐาน
ระดบั หมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)
ตวั ช้ีวดั จุดมงุ่ หมายตัวชีว้ ดั คำอธบิ าย
26. ความ (6) การจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมอื่น ๆ เช่น
ปลอดภยั ใน
การทำงาน การจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมในชุมชนเพ่ือ
27. การกีฬา รองรับต่อกรณีสาธารณภัย หรือภัยพิบัติ ทาง
และการออก
กำลังกาย ธรรมชาติ การจัดการมลพิษทางอากาศทั้ง
ภายในอาคาร หรือ ภายนอกอาคาร การจัดการ
เหตุรำคาญดา้ นอนามัยสิ่งแวดล้อม เป็นตน้
(คู่มือการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมในชุมชน
สำหรับประชาชน: สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ , 2560)
เพื่อบ่งบอกถึงความปลอดภัยของร่างกาย จาก 1. การบาดเจ็บหรือเจ็บป่วยจากการทำงาน
การประกอบอาชพี โดยเฉพาะภาคเกษตรกรรม หมายถึง การถูกของมีคมบาด ถูกของหนักตก
ซึ่งเป็นอาชีพหลักของชาวชนบท โดยดูจากการ ทับ หรือกระแทกตกจากที่สูง การบาดเจ็บ
ไม่บาดเจ็บเนื่องจากการทำงาน และหรือ การบาดเจ็บสาหัส พิการ และการเสียชีวิตจาก
ไมเ่ จ็บปว่ ยจากการใชส้ ารเคมกี ำจัดศตั รพู ืช การทำงาน รวมทั้งการเจ็บป่วยจากการปฏิบัติงาน
บางอาชพี ท่ีเป็นอันตรายต่อสายตา เช่น ช่างเชื่อม
โลหะ เปน็ ต้น
2. การเจ็บป่วยจากการใช้สารเคมีกำจัด
ศัตรูพืช หมายถึง ผู้ป่วยมีอาการดังตอ่ ไปนี้ เช่น
ผื่นคันที่ผิวหนัง แน่นหน้าอก ไอ หอบ อาเจียน
อุจจาระร่วง หมดสติ ในขณะใช้หรือหลังจาก
การใช้สารเคมกี ำจดั ศตั รูพชื
3. ขอ้ มูลการบาดเจ็บหรอื เจ็บป่วยเก็บรวบรวม
ได้จากระเบียนรายงาน รบ.1ก.01 หรือ รบ.1
ก/1 ของสถานบริการสาธารณสุขทั้งนี้ไม่รวม
กรณีเจ็บป่วย หรือตายจากการใช้สารเคมีกำจัด
ศัตรูพืช โดยผิดวตั ถุประสงค์ เช่น การฆ่าตัวตาย
เปน็ ต้น
เพื่อบ่งบอกถึงความร่วมมือของคนในชุมชนใน
การดำเนินการแข่งขันกีฬา โดยดูจากจำนวน
ครั้งที่ได้มีการแข่งขันกีฬาภายในหมู่บ้าน หรือ
ระหว่างหมู่บ้าน ตลอดจนสามารถสะท้อนให้
เห็นถึงการให้บริการของรัฐในด้านการออก
กำลังกายเพื่อสุขภาพ โดยการจัดพื้นที่ในการ
เล่นกีฬาและออกกำลังกายในชุมชน อีกทั้งยัง
บ่งบอกได้ว่าคนในชุมชนมีความร่วมมือในการ
จัดกิจกรรมการออกกำลังกาย โดยดูได้จาก
จำนวนครง้ั ทมี่ ีการจดั กจิ กรรม
165
รายงานฉบับสมบรู ณ์โครงการจดั ทำเครอื่ งชีว้ ัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พ้นื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพืน้ ฐาน
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ่วงแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)
หมวดท่ี 4 ความรแู้ ละการศึกษา (4 ตัวช้วี ดั )
ตัวชวี้ ดั จุดมุ่งหมายตวั ช้วี ัด คำอธบิ าย
28. การให้ เพอ่ื แสดงใหเ้ หน็ ถงึ โอกาสทางการศึกษาของคน 1. ศูนย์การเรียนรู้ชุมชน หมายถึง แหล่งหรือ
บริการดา้ น ในชมุ ชน และบ่งบอกไดว้ ่าคนในชุมชนสามารถ สถานที่ที่มีการจัดการศึกษา เพื่อการเรียนรู้
การศกึ ษา เข้าถงึ การใหบ้ รกิ ารด้านการศกึ ษาภายในตำบล ตลอดชีวิตสำหรับประชาชน ที่เกิดโดยชุมชน
ทั้งในส่วนสถานศึกษาและแหล่งเรียนรู้ที่เป็น ซึ่งเกิดขึ้นจากการสืบทอดของปัญญาท้องถิ่น
ของภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน มี โดยมีปราชญช์ าวบา้ นเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ เช่น
บรกิ ารอปุ กรณ์ สงิ่ อำนวยความสะดวกหรือไม่ การจัดการทรัพยากรในจังหวัดน่าน การทำ
เกษตรผสมผสานของผู้ใหญว่ ิบูลย์ การพึ่งตนเอง
แบบกลุ่มอโศก ทั้งนี้ไม่จำเป็นต้องมีสิง่ ปลูกสรา้ ง
รองรับ อาจเป็นแปลงนา หรือกระบวนการทเี่ ปน็
แหล่งความรู้
29. ความรอบรู้ เพื่อบ่งบอกถึงความสามารถหรือทักษะของคน 1. ความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health literacy)
ในชุมชนในด้านที่จำเป็น สำหรับการดำรงชีวิต หมายถึง ความสามารถหรือทักษะของบุคคลที่จะ
โดยพิจารณาจากคนในชุมชนมีความรู้ในด้าน เข้าใจ ข้อมูลสุขภาพ โต้ตอบซักถาม แลกเปลี่ยน
สุขภาพ ด้านดิจิทัล ด้านสื่อและด้านการเงิน ข้อมูลสุขภาพ รวมทั้งเลือกรับบริการสุขภาพใน
หรือไม่ ชีวิตประจำวัน เช่น การเลือกที่จะเชื่อหรือไม่เชื่อ
ความรู้สุขภาพที่ได้รับมา ความสามารถใน
การตดั สนิ ใจเลอื กใชผ้ ลติ ภณั ฑแ์ ละบริการ เกี่ยวกับ
สุขภาพอย่างเหมาะสม ความสามารถที่จะแนะนำ
และบอกต่อขอ้ มูลสุขภาพใหค้ นอ่ืนได้
2. ความรอบรู้ด้านดิจิทัล (Digital Literacy)
หมายถงึ บุคคลมีสมรรถนะในการเข้าถึง ค้นหา คัด
กรอง วิเคราะห์ สังเคราะห์ จัดการ ประยุกต์ใช้
ส่อื สาร สรา้ ง แบ่งปนั และตดิ ตามข้อมูลสารสนเทศ
ได้อย่างเหมาะสม ปลอดภัย มีความรับผิดชอบ
มีมารยาท เคารพสิทธิและกฎหมาย ด้วยเครื่องมือ
และเทคโนโลยที ีเ่ หมาะสมและหลากหลาย
3. ความรอบรู้ด้านสือ่ (Media literacy) หมายถงึ
การอ่านสื่อให้ออกเพือ่ พัฒนาทักษะในการเข้าถงึ สอ่ื
การวิเคราะห์สื่อ การตีความเนื้อหาของส่ือ
การประเมินค่าและเข้าใจผลกระทบของสื่อ รวมถึง
ความสามารถใชส้ ื่อให้เกดิ ประโยชน์ได้
4. ความรอบรู้ทางการเงิน (Financial literacy)
หมายถึง การทปี่ ระชาชนมคี วามรแู้ ละความสามารถ
ในการจัดการทรัพยากรทางการเงินของตนเอง
ตั้งแต่การหารายได้ การวางแผนทางการเงิน
การออม การลงทุน และการจัดทำงบประมาณ
รายรบั รายจา่ ยไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ
166
รายงานฉบับสมบูรณโ์ ครงการจัดทำเครื่องช้ีวัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพน้ื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพ้นื ฐาน
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)
ตัวชีว้ ัด จดุ มงุ่ หมายตวั ชวี้ ดั คำอธิบาย
30. การไดร้ ับ
การฝกึ อบรม เพื่อบ่งบอกถึงการกระจายโอกาสการให้บริการ
ด้านตา่ ง ๆ ของรฐั ในการอบรมใหค้ วามรแู้ กป่ ระชาชนในด้าน
ต่าง ๆ ได้แก่ ด้านอาชีพ ด้านการศึกษาและด้าน
31. โอกาส สุขภาวะ และเพื่อทราบความต้องการเรียนรู้และ
เข้าถงึ ระบบ ฝกึ อบรมของคนในชมุ ชน
การศึกษาของ
คนพกิ าร เพื่อบ่งบอกถึงการเข้าถึงระบบการศึกษาของ
คนพกิ าร โดยเฉพาะคนพิการในหมู่บา้ น/ชุมชน
ท่ีช่วยเหลอื ตนเองได้ ได้รับการศึกษาภาคบงั คบั
9 ปี (ป.1-มัธยมศึกษาปีที่ 3) และเพื่อทราบ
ความต้องการของคนพิการในหมบู่ ้าน/ชมุ ชนใน
การฝึกอาชพี
หมวดที่ 5 การมีส่วนร่วมและความเขม้ แข็งของชมุ ชน (5 ตัวชว้ี ัด)
ตัวชีว้ ัด จุดมงุ่ หมายตวั ช้วี ดั คำอธิบาย
32. การรวม
กล่มุ ของ เพอ่ื สะท้อนใหเ้ หน็ ถงึ โอกาสของคนในครัวเรือน 1. การรวมกลุ่ม คือ การที่ประชาชน หรือคนใน
ประชาชน ที่ได้เป็นสมาชิกกลุ่ม ทั้งที่เป็นทางการและ ชุมชนมีการรวมตัวกันตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป มีการทำ
ไม่เป็นทางการ เช่น กลุ่มออมทรัพย์เพื่อ กิจกรรมร่วมกันเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย ซึ่งสามารถ
33. การมี การผลิต กลุ่มสตรี กลุ่มบริหารจัดการที่ดิน แบ่งได้เป็นกลุ่ม 2 ประเภท คือ 1) กลุ่มที่เป็น
ส่วนรว่ มของ สาธารณะ กลุ่มเกี่ยวกับการปกป้องมรดกทาง ทางการ คือ การแต่งตั้งขึ้นตามโครงสร้างอำนาจ
ชมุ ชน วฒั นธรรม และกิจกรรมทางวฒั นธรรม เป็นต้น หน้าท่ีเพ่ือปฏบิ ตั ิงานใหส้ ำเร็จ เชน่ กลุ่มออมทรัพย์
และมีการรวมกลุ่มเพื่อทำกิจกรรมในชุมชน เพื่อการผลิต เป็นต้น 2) กลุ่มที่ไม่เป็นทางการ คือ
มจี ำนวนมากนอ้ ยเพยี งใด ส มาช ิ กร วมตั วข ึ ้ นมาเองไ ม ่ เป ็ นไ ปตามคำสั่ ง
ก่อขนึ้ มาเป็นไปตามความสนใจร่วมกนั และมติ รภาพ
เช่น กลุ่มธรรมชาติ กลุ่มอนุรักษ์วัฒนธรรม
กลมุ่ เกษตร เป็นต้น
เพื่อบ่งบอกถึงคนในครัวเรือนมีส่วนร่วมใน 1. เวทีประชาคม หมายถึง การจัดให้มี
การทำกิจกรรม มีส่วนร่วมในการแสดง การประชุมคนส่วนใหญ่ของชุมชน เพื่อเปิดโอกาส
ความคดิ เหน็ และปฏิบตั ิตน เพอื่ ประโยชน์ของ ให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น
ชุมชนหรอื ท้องถ่นิ มากนอ้ ยเพียงใด การเสนอปัญหา และแนวทางการแก้ไขปัญหาของ
ชุมชน ผลลัพธ์ของเวทีประชาคมไม่จำเป็นต้องได้
แผนชมุ ชนท่เี ป็นลายลกั ษณอ์ ักษร
2. แผนชมุ ชน หมายถงึ การกำหนดอนาคตและ
กิจกรรมการพัฒนาของชุมชน โดยเกิดขึ้นจาก
คนในชุมชนที่มีการรวมตัวกันจัดทำแผนขึ้นมา
เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาชุมชน ให้
เป็นไปตามที่ต้องการ และสามารถแก้ปัญหาที่
ชุมชนเผชิญอยู่ร่วมกัน โดยคนในชุมชนมีส่วน
ร่วมคิด ร่วมกำหนดแนวทาง และทำกิจกรรม
การพัฒนาร่วมกัน โดยยึดหลักการพึ่งตนเอง ลด
การพึ่งพิงภายนอก ด้วยการคำนึกถึงศักยภาพ
ทรัพยากร ภูมิปัญญา วิถีชีวิต วัฒนธรรม และ
167
รายงานฉบบั สมบรู ณ์โครงการจดั ทำเครอื่ งชีว้ ัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พ้นื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พนื้ ฐาน
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ช่วงแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)
ตัวชว้ี ดั จดุ มงุ่ หมายตวั ชีว้ ัด คำอธบิ าย
สิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นเป็นหลัก จึงกล่าวไว้ว่า
แผนชุมชน เป็นของชุมชน ดำเนินการโดยชุมชน
และเพอื่ ประโยชน์ของชมุ ชนเอง ซ่ึงแตกต่างจาก
แผนที่ภาครฐั จดั ทำขึน้ มาเพือ่ จดั สรรงบประมาณ
เป็นหลัก
34. ความ เพื่อบ่งบอกถึงหมู่บ้าน/ชุมชนนี้ มีความ
ปลอดภัยของ ปลอดภัยมากน้อยเพียงใด ซึ่งดูได้จากการไม่มี
หมู่บา้ น/ชุมชน เหตุที่เป็นอาชญากรรมในหมู่บ้าน/ชุมชน และ
การมีบริการด้านความปลอดภัยจากทั้งภาครฐั
และภาคประชาชน
35. ศาสนสถาน เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงโอกาสของคนในชุมชน 1. ภูมิปัญญาท้องถิ่น /ภูมิปัญญาชาวบ้าน
ศูนยเ์ รียนร้ชู ุมชน ได้รับการเรียนรู้จากปราชญ์ชาวบ้าน จาก หมายถึง ความรู้ที่สั่งสมกันมา หรือสืบทอดกัน
และภูมปิ ญั ญา สถาบันทางศาสนา และจากศูนย์เรียนรู้ชุมชน มาและสอดคล้องกับวัฒนธรรมท้องถิ่นและวิถี
ชุมชน ท้ังในและนอกหมู่บ้าน ว่ามมี ากนอ้ ยเพยี งใด ชีวติ ของชาวบา้ นในการดำรงชีวติ และการผลิต
2. ปราชญ์ชาวบ้าน หมายถึง ผู้รู้ ผู้ชำนาญการ
ผู้นำหรือบุคคลตัวอย่าง ในด้านเกษตรกรรม
อุตสาหกรรมและหัตถกรรม การแพทย์แผนไทย
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กองทุนและธุรกิจชุมชน ศิลปกรรม ภาษาและ
วรรณกรรม ปรัชญา ศาสนาและประเพณี และ
ดา้ นโภชนาการ เป็นตน้
3. แพทย์แผนไทย หมายถึง ผู้ที่ประกอบโรค
ศิลปะตามความรู้หรือตำราแผนไทยที่ถ่ายทอด
และพัฒนาสืบต่อกันมาหรือตามการศึกษาจาก
สถานท่ศี ึกษาทม่ี ีคณะกรรมการรองรับ
36. การได้รับ เพื่อสะท้อนให้เห็นว่าในหมู่บ้าน/ชุมชนมี 1. กลุม่ เป้าหมาย ไดแ้ ก่ คนทม่ี ีอายุ 60 ปีขน้ึ ไป
ความคมุ้ ครอง สวัสดิการสังคมท่ีหมู่บ้านไดจ้ ัดขึน้ หรือกองทุน คนพิการและเด็กกำพร้า เด็กถูกทอดทิ้ง เด็ก
ทางสงั คม สวัสดิการชุมชนมีการดำเนินกิจกรรมอย่าง เร่ร่อนที่ไม่ได้รับการดูแลจากครอบครัวคนใน
ต่อเนื่องจากกองทุนหมุนเวียน เพื่อช่วยเหลือ ชุมชน สวสั ดิการชมุ ชน สวัสดิการภาครฐั /เอกชน
กลุ่มคนยากจนและด้อยโอกาสหรือไม่ และกลุ่มเสี่ยงทอ่ี าจถูกทอดทง้ิ
โดยเฉพาะ ผู้สูงอายุ คนพิการ เด็กกำพร้า เด็ก 2. การได้รับการดูแลเอาใจใส่ หมายถึง ได้รับ
ถูกทอดทง้ิ และเด็กเร่รอ่ น การดูแลเอาใจใส่ในชีวิตความเป็นอยู่ ด้าน
อาหารการกนิ เสื้อผ้าเครอ่ื งนุ่งหม่ และไดร้ ับการ
ดูแลเมื่อยามเจ็บไข้ ได้ป่วย การดูแลเอาใจใส่
ด้านสภาพจิตใจจากคนในครอบครัว หมู่บ้าน
หรอื ชมุ ชน รวมท้ังไดร้ บั สวสั ดิการชมุ ชนหรือเบ้ีย
ยงั ชพี จากภาครฐั หรอื ภาคเอกชน หรือไม่
3. การค้ามนุษย์ หมายถึง การกระทำที่
เกย่ี วข้องกบั การเปน็ ธรุ ะจดั หาการนำพา การรับ
ตัวไว้ และการบริหารบุคคลที่ได้มา ซึ่งก็คือ
ผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ โดยมีวัตถุประสงค์
เพื่อนำตวั ผู้เสยี หายไปก่อให้เกิดผลกำไร
168
รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเครอ่ื งช้วี ดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พน้ื ฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พ้ืนฐาน
ระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)
หมวดท่ี 6 ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม (5 ตัวชวี้ ดั )
ตัวช้ีวดั จดุ มุ่งหมายตัวชว้ี ดั คำอธิบาย
37. การใช้ เพ่อื บ่งบอกถงึ ครัวเรือนสามารถเข้าถึงการใช้
ทรัพยากรธรรมชาติ ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ และ
และดูแลสิ่งแวดล้อม สง่ิ แวดลอ้ มของชุมชนมากนอ้ ยเพียงใด
38. คุณภาพดนิ เพื่อบ่งบอกถงึ พืน้ ผวิ ดนิ ในหมู่บ้านวา่ มคี ุณภาพ 1. ดินตื้น หมายถึง ดินที่มีลูกรัง ศิลาแลง ก้อน
อย่างไร กรวด หรือเศษหิน เป็นจำนวนมากอยู่ในดินตื้น
กวา่ 50 เซนตเิ มตร หรือเศษหนิ เป็นจำนวนมาก
2. หน้าดินถูกชะล้าง หมายถึง การที่ดินชั้นบน
ซึ่งประกอบด้วยธาตุอาหารต่าง ๆ และมีความ
สมบูรณ์มากกว่าส่วนอื่น ถูกน้ำทำให้อนภุ าคของ
ดินแตกกระจายออกจากกัน และพัดพาอนุภาค
นั้นให้เคลื่อนย้ายไปจากพื้นที่เพาะปลูก เป็นผล
ให้ดนิ ขาดความอดุ มสมบรู ณ์ และเสือ่ มคณุ ภาพ
3. ดินจืด หมายถึงดิน ที่ขาดความอุดมสมบูรณ์
ของธาตุอาหารตามธรรมชาติ ที่สำคัญต้องพึ่งพา
ปยุ๋ จำนวนมากในการเพาะปลูก
4. ดินเค็ม หมายถึง ดินที่มีเกลือคลอไรด์ หรือ
ซัลเฟตผสมอยู่ในอัตราส่วนสูง ทำให้เนื้อดินแนน่
เปน็ ผลทำให้พืชไม่สามารถนำสารอาหารบางชนดิ
ในดินมาใช้ เพื่อการเจริญเติบโตได้ ซึ่งจะทำให้
ผลผลิตทางการเกษตรในบริเวณนั้นลดลง อาจ
สังเกตดินชนิดนี้ได้จากการมีเกลือเป็นฝ้าสีขาว
เกาะบนหนา้ ดนิ
5. ดินเปรี้ยว หมายถึง ดินที่มีแร่ธาตุประเภท
กรด เช่น ธาตุไฮโดรเจน เหล็ก และอลูมิเนียม
ผสมอยู่ในปริมาณค่อนข้างสูง เมื่อธาตุเหล่าน้ี
ละลายออกมามาก จะทำให้เนื้อดินเหนียวและมี
ความอุดมสมบูรณ์ลดลง พบได้ทั่วไปโดยเฉพาะ
ดินที่ใช้เพาะปลูกหรือมีการใส่ปุ๋ยวิทยาศาสตร์
เป็นเวลานาน
39. คณุ ภาพน้ำ เพื่อบ่งบอกถึงคุณภาพของแหล่งน้ำผิวดินใน 1. แหล่งนำ้ ผวิ ดนิ ไดแ้ ก่ แหล่งน้ำธรรมชาติที่
หมบู่ า้ นวา่ ม่ีคุณภาพอย่างไร สามารถนำน้ำขึ้นมาใช้ได้ และแหล่งน้ำที่สร้าง
ขนึ้
40. การจัดการ เพื่อบ่งบอกถึงสภาพขยะมูลฝอย ขยะของเสีย 1. ขยะมูลฝอย หมายความรวมถึง เศษกระดาษ
สภาพส่ิงแวดลอ้ ม อันตราย และน้ำเสียในหมู่บ้านว่าเป็นอย่างไร เศษผ้า เศษอาหาร เศษสินค้า เศษถุงพลาสติก
อย่างยง่ั ยนื อันจะทำให้สภาพแวดล้อมในหมู่บ้านดูสะอาด ภาชนะทใี่ สอ่ าหาร เถา้ มลู สัตวห์ รือซากสตั ว์ รวม
น่าอยู่อาศัย โดยดูได้จากการมีปัญหาขยะมูล ตลอดถึงสิ่งอื่นใดที่เก็บกวาดจากถนน ตลาด ท่ี
ฝอย ขยะของเสียอันตราย และน้ำเสีย มีการ เล้ยี งสัตวห์ รือท่ีอืน่ ๆ
จัดการอยา่ งถูกสุขลกั ษณะหรือไม่
169
รายงานฉบับสมบรู ณ์โครงการจดั ทำเครื่องชว้ี ัดและแบบสอบถามข้อมลู ความจำเปน็ พ้ืนฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พน้ื ฐาน
ระดับหมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)
ตวั ชว้ี ัด จดุ มุ่งหมายตวั ชี้วดั คำอธบิ าย
2. การจัดการขยะมูลฝอย หมายถึง กระบวนการ
เก็บรวบรวม การขนถ่าย การขนสง่ และการกำจดั
ขยะมูลฝอย โดยมีมาตรการป้องกันไม่ให้ขยะมูล
ฝอยเป็นสาเหตุของสภาพรกรุงรังจนก่อให้เกิด
ปัญหา เหตุรำคาญ หรืออุบัติภัย หรือเป็นแหล่ง
เพาะพันธุ์ของสัตว์และแมลงนำโรค หรือก่อให้
เกิดมลพษิ ทางดนิ น้ำ และอากาศ
3. การเก็บรวบรวมขยะมูลฝอยทีถ่ กู สขุ ลกั ษณะ
หมายถึง การเก็บรวบรวมขยะมูลฝอยลงใน
ภาชนะที่ทำด้วยวัสดุแข็งแรง มีฝาปิด และมี
ความจพุ อเพยี งกับปริมาณมลู ฝอยท่เี กิดข้นึ
4. การขนถ่ายหรือขนส่งขยะมูลฝอย หมายถึง
การลำเลียงขยะมูลฝอยจากสถานทีเ่ กิดขยะไปยัง
สถานที่กำจัด ที่สามารถป้องกันการฟุ้งกระจาย
และการตกหลน่ ของขยะมูลฝอยได้
5. การกำจัดขยะมูลฝอยที่ถูกสุขลักษณะ
หมายถึง การกำจัดขยะมูลฝอย โดยวิธีฝังกลบวิธี
หมักทำปุ๋ย หรือวิธีเผาในเตาเผา หรือสถานที่ท่ี
จัดไว้เฉพาะเพ่ือการเผาขยะ
6. ของเสียอันตราย หมายถึง ของเสียที่มี
องคป์ ระกอบของวัตถุอนั ตราย ได้แก่ วัตถุระเบิด
วัตถุไวไฟ วัตถุออกซิไดซ์ วัตถุมีพิษ วัตถุที่ทำให้
เกิดโรค วัตถุกัดกร่อน วัตถุกัมมันตรังสี วัตถุที่
ก่อใหเ้ กดิ การระคายเคือง เคมภี ณั ฑ์ หรือสิง่ อืน่
7. น้ำเสีย หมายถึง ของเสียที่อยู่ในสภาพเป็น
ของเหลว รวมท้งั มวลสารท่ีปะปนหรอื ปนเป้อื นอยู่
41. การจดั การมลพิษ เพื่อบ่งบอกถึงความสามารถของคนใน 1. มลพิษทางอากาศ หมายถึง ภาวะอากาศที่มี
หมู่บ้าน/ชุมชน รวมถึงหน่วยงานอื่น ร่วม สารเจอื ปนอยู่ในปรมิ าณทส่ี งู เชน่ ฝนุ่ ละอองจาก
จัดการแก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศ และ ลมพายุ ไฟไหม้ป่า ก๊าซ ธรรมชาติ มลพิษจากท่อ
มลพิษทางเสยี ง ไอเสีย เป็นต้น
2. มลพิษทางเสียง หมายถึง เสียงที่ดังเกิน
ความจำเป็น จนก่อให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพ
อนามัยของคน มาจากแหล่งต่าง ๆ มากมาย
ได้แก่ การคมนาคม โรงงานอุตสาหกรรม เป็น
เสียงที่เกิดจากการทำงานของเครื่องจักรขนาด
ต่าง ๆ ครัวเรือน เป็นเสียงที่เกิดจากเครื่องมือ
เครื่องใช้ภายในบ้าน เช่น เครื่องตัดหญ้า
เครื่องดูดฝ่นุ เคร่ืองขัดพนื้ วทิ ยุ โทรทศั น์ เปน็ ตน้
170
รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจดั ทำเครอื่ งช้ีวัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พื้นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พืน้ ฐาน
ระดับหมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)
หมวดท่ี 7 ความเสีย่ งของชุมชนและภยั พิบตั ิ (3 ตวั ชี้วัด)
ตัวชีว้ ัด จดุ มงุ่ หมายตัวช้วี ัด คำอธบิ าย
42. ความ
ปลอดภัยจาก เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงความร่วมมือระหว่างคน 1. ยาเสพติด หมายถึง ผงขาว เฮโรอีน ฝิ่น กัญชา
ยาเสพตดิ ในหมูบ่ า้ น และรัฐบาล ในการปอ้ งกนั และแกไ้ ข ยาบ้า สารระเหย ยาคลายเครียด ยากล่อมประสาท
ปัญหายาเสพติด โดยดูจากจำนวนผู้ใช้ยาเสพ ยาอี ยาเลฟิ ยาเค เคตามนี โคเคน ไอซ์ เป็นต้น ทั้งนี้
43. ความ ติดมีจำนวนมากน้อยเพียงใด และมีการดำเนนิ ไม่นบั รวมเหล้า บหุ รี่ หรอื ยาแกป้ วดต่าง ๆ
ปลอดภัยจาก กิจกรรมการป้องกันและแก้ไขปญั หายาเสพติด 2. ผู้ใช้หรือผู้เสพยาเสพติดในหมู่บ้าน หมายถึง
ภยั พิบัติ หรอื ไม่ ผู้ใช้หรือผู้เสพยาเสพติดที่อาศัยอยู่ในหมู่บ้านน้ี
เท่านั้น โดยไม่นับรวมผู้ใช้หรือ ผู้เสพยาเสพติดจาก
ที่อื่นมามั่วสุม หรือใช้ในหมู่บ้านนี้เป็นสถานที่เสพ
ยาเสพติด ยอดรวมของผู้ใช้ยาเสพติดตามชนิดยา
ต้องเท่ากับหรือมากกว่า ยอดรวมผู้ใช้ยาเสพติด
ทงั้ หมด ของหมู่บา้ น
3. ผู้ใช้หรือผู้เสพยาเสพติด ตามคำสั่งศูนย์
อำนวยการต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติดแห่งชาติ
ที่ 16/2546 ถือว่าเป็นผู้ป่วยควรได้รับการดูแล
ไดร้ ับการบำบดั รกั ษา
4. วัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการหา
แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
ให้กับประชาชนในหมู่บ้านเพื่อให้พ้นจากพิษภัย
ของยาเสพติดเท่านั้น ไม่มีจุดมุ่งหมายเพื่อ
การปราบปรามหรอื จบั กุมผตู้ ิดยาเสพตดิ แตอ่ ยา่ งใด
เพ่ือสะท้อนใหเ้ ห็นถึงการเตรยี มพร้อมรบั มือกับ 1. ภัยพบิ ตั ิ หมายถงึ สาธารณภยั อนั ไดแ้ ก่ อัคคภี ยั
ภัยพิบัติของหมู่บ้าน/ชุมชน โดยพิจารณาจาก วาตภัย อุทกภัย ภัยแล้ง ภาวะฝนแล้ง ฝนทิ้งช่วง
การตระหนักรู้ มีความรู้ความเข้าใจของคนใน ภัยจากลูกเห็บ ภัยอันเกิดจากไฟป่า ภัยที่เกิดจาก
ชุมชน และการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน โรคหรือการระบาดของแมลง หรือศัตรูพืชทุกชนิด
รว่ มคิด รว่ มทำ ร่วมวางแผน จดั การความเสี่ยง ภัยอันเกิดจากโรคที่แพร่หรือระบาดในมนุษย์
จากภัยพิบัติโดยอาศัยชุมชนเป็นฐาน เช่น อากาศหนาวจัดผิดปกติ ภัยสงคราม และภัยอัน
การมีระบบเตือนภยั มีกิจกรรมเตรียมรับมอื มี เนื่องมาจากการกระทำของผู้ก่อการร้าย กองกำลัง
การฝึกซอ้ มอพยพประชาชน และมศี นู ยอ์ พยพ/ จากนอกประเทศ ตลอดจนภัยอื่น ๆ ไม่ว่าเกิดจาก
ศนู ยพ์ กั พิง เป็นต้น ธรรมชาติหรือมีบุคคลหรือสัตว์ทำให้เกิดขึ้น
ซงึ่ ก่อใหเ้ กดิ อนั ตรายแก่ชีวติ รา่ งกายของประชาชน
หรือทำให้เกิดความเสียหายแก่ทรัพย์สินของ
ประชาชน
2. การเตรียมความพร้อมรับมือกับภัยพิบัติ
หมายถึง การเตรียมการรับมือกับภัยพิบัติ มุ่งเน้น
กิจกรรมต่าง ๆ ที่ทำให้ครัวเรือนมีความสามารถใน
การคาดการณ์ เผชิญเหตุ และจัดการกับผลกระทบ
จากภัยพิบัตอิ ย่างเป็นระบบ หากเตรียมความพรอ้ ม
ได้ดีจะทำให้สามารถดำเนินการต่าง ๆ ได้อย่าง
เหมาะสม ทั้งในช่วงก่อน ระหว่าง และหลงั การเกดิ
171
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการจัดทำเครอ่ื งชว้ี ัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเปน็ พ้นื ฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพื้นฐาน
ระดับหมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ่วงแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)
ตวั ชีว้ ัด จุดมุง่ หมายตัวช้ีวดั คำอธบิ าย
44. ความ
ปลอดภยั จาก ภัยพิบัติ และเพิ่มโอกาสในการรักษาชีวิตให้
ความเสยี่ งใน ปลอดภยั จากเหตกุ ารณ์ภัยพิบัติไดม้ ากข้ึน
ชุมชน 3. ความเสีย่ ง (Risk) หมายถึง โอกาส/เหตุการณท์ ี่
ก่อให้เกิดผลกระทบหรือความเสียหาย ซงึ่ มคี วามไม่
แน่นอน เป็นไปได้ว่าจะไม่เกิดเหตุการณ์ใด ๆ ขึ้น
ในขณะเดียวกันก็มีความเป็นไปได้ที่จะเกิด
เหตกุ ารณ์นัน้ ขึ้นเชน่ กนั
เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงความเสี่ยงในด้านต่าง ๆ 1. ความเสี่ยง หมายถึง โอกาสที่จะเกิดความ
ของหมู่บ้าน/ชุมชน ได้แก่ ความเสี่ยงในด้าน ผิดพลาด ความเสียหาย การรั่วไหล ความสูญเปล่า
การพนัน ปัญหาเด็กวัยรุ่นตีกัน ปัญหาเด็กติด หรือเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ ซึ่งอาจเกิดขึ้นใน
เกม ปัญหาเด็กแว้น ปัญหาการใช้ความรุนแรง อนาคต และมีผลกระทบหรือทำให้ดำเนินงาน
ทะเลาะวิวาทจากการดื่มสรุ า โดยดูจากจำนวน ไมป่ ระสบความสำเร็จตามวัตถุประสงค์
การเล่นการพนันชนิดต่าง ๆ จำนวนปัญหา 2. เด็กตดิ เกม หมายถงึ เด็กทม่ี ีกิจกรรมการเลน่ เกม
และความเสี่ยงเหล่านั้นก่อให้เกิดปัญหากับ อย่างเดียวไม่สนใจอย่าง อื่น หมกมุ่นอยู่กับเกมท้ัง
หมบู่ ้าน/ชุมชน หรอื ไม่ วันทงั้ คืน มีผลกระทบตอ่ ร่างกายและจติ ใจ
3. อาชญากรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง
การกระทำความผิดโดยใช้ระบบคอมพิวเตอร์
อิเล็กทรอนิกส์เป็นเครื่องมือในการกระทำความผดิ
เช่น การหลอกโอนเงินทางบัญชีธนาคาร หลอกขาย
ของออนไลน์ การพนนั ออนไลน์ เปน็ ต้น
2. วธิ วี เิ คราะห์คำตอบแบบสอบถามขอ้ มลู พื้นฐานระดบั หมบู่ า้ น (กชช.2ค) เพอ่ื
นำเสนอด้วยระบบสารสนเทศที่รองรับความตอ้ งการของทกุ ภาคสว่ น
หมวดที่ 1 โครงสร้างพ้ืนฐาน (10 ตวั ช้ีวัด)
ลำดับ ตัวชวี้ ัด ขอ้ คำถาม เกณฑ์การวเิ คราะห์ ผลการวิเคราะห์
ตัวช้วี ัด ถนน ถนนเส้นทางหลักในหมบู่ า้ น/ชมุ ชน เกณฑช์ ี้วัด คะแนน (คะแนนท่ไี ด้)
ที่ 1 ใช้การไดด้ ี หรือไม่
(คำถามขอ้ 1.2) ถนนเสน้ ทางหลกั ใน 3
ไม่ดตี ลอดทง้ั ปี หมู่บ้าน/ชมุ ชนใชก้ าร
พอใช้ได้
ดีเฉพาะในฤดูแล้ง ได้ดตี ลอดท้งั ปี
พอใชไ้ ดต้ ลอดทั้งปี
ใชก้ ารได้ดตี ลอดทั้งปี ถนนเส้นทางหลกั ใน 2
หมบู่ า้ น/ชมุ ชน 1
พอใช้การได้ หรอื
ใชไ้ ด้ดีเฉพาะในฤดู
แล้ง หรอื พอใช้ได้
ตลอดทัง้ ปี
ถนนเส้นทางหลกั ใน
หมบู่ า้ น/ชุมชนใช้ได้
ไมด่ ีตลอดทงั้ ปี
172
รายงานฉบับสมบรู ณโ์ ครงการจดั ทำเครอ่ื งชีว้ ัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพ้ืนฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พ้ืนฐาน
ระดบั หมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)
ลำดบั ตัวชีว้ ัด ข้อคำถาม เกณฑ์การวเิ คราะห์ ผลการวเิ คราะห์
ตัวชว้ี ัด นำ้ ดืม่
ที่ 2 เกณฑช์ ี้วัด คะแนน (คะแนนท่ไี ด้)
ตัวชว้ี ัด น้ำใช้ ครัวเรือนทม่ี ีนำ้ สะอาดสำหรบั ดมื่ และ ครัวเรือนที่มีน้ำสะอาด 3
ที่ 3
บรโิ ภคเพยี งพอตลอดปี (คำถามข้อ 2.1) สำหรบั ดมื่ และบรโิ ภค
ตัวช้วี ัด นำ้ เพอื่
ท่ี 4 การเกษตร (1) จำนวนครัวเรือนทัง้ หมดใน เพียงพอตลอดปี
หม่บู ้าน/ชมุ ชน................... มากกวา่ รอ้ ยละ 95
ครัวเรอื น (คำถามขอ้ 1.1) ของครวั เรือนท้งั หมด
(2) จำนวนครวั เรอื นท่ีมนี ำ้ ครวั เรอื นที่มนี ้ำสะอาด 2
สำหรับดม่ื และบรโิ ภค
สะอาดสำหรบั ดม่ื และ
บริโภคเพียงพอตลอดปี เพยี งพอตลอดปี
..........................ครัวเรือน ระหว่างรอ้ ยละ 63-95
ของครวั เรือนทงั้ หมด
วิธคี ำนวณ
ครัวเรอื นทม่ี นี ำ้ สะอาด 1
ร้อย (2) x = สำหรบั ดมื่ และบรโิ ภค
ละ = 100 ....................... เพียงพอตลอดปี
(1)
นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 63
ของครวั เรอื นท้งั หมด
ครวั เรอื นท่มี ีน้ำใช้เพียงพอตลอดปี ครวั เรอื นที่มีนำ้ ใชเ้ พียง 3
(คำถามข้อ 3.1) พอตลอดปีจากแหล่ง
(1) จำนวนครัวเรือนท้งั หมดใน มากกวา่ ร้อยละ 95
หมู่บา้ น/ชมุ ชน .............. ของครวั เรอื นทั้งหมด
ครัวเรอื น (คำถามข้อ 1.1) ครวั เรือนทมี่ นี ้ำใชเ้ พยี ง 2
(2) จำนวนครัวเรอื นทม่ี ีนำ้ ใช้ พอตลอดปี ระหวา่ ง
เพียงพอตลอดป.ี .............. รอ้ ยละ 63-95 ของ
ครวั เรอื นทั้งหมด
ครัวเรือน
วิธคี ำนวณ ครัวเรือนทม่ี นี ้ำใช้ 1
รอ้ ย (2) x = เพยี งพอตลอดปี น้อย
ละ = 100 ....................... กว่ารอ้ ยละ 63 ของ
ครัวเรอื นท้ังหมด
(1)
น้ำจากแหล่งนำ้ ในหมูบ่ ้านและชุมชน น้ำจากแหลง่ นำ้ ใน 3
นใ้ี ชส้ ำหรับการเพาะปลูกเพียงพอ หมู่บ้านและชมุ ชนน้ใี ช้
หรอื ไม่ (คำถามขอ้ 4.1) สำหรบั การเพาะปลกู
ไม่เพียงพอ เพียงพอตลอดปี
เพยี งพอเฉพาะฤดูฝน นำ้ จากแหล่งน้ำใน 2
เพียงพอตลอดปี หมบู่ า้ นและชุมชนนใ้ี ช้
ไมม่ ีแหลง่ น้ำสำหรับเพาะปลกู สำหรับการเพาะปลูก
ไม่ได้ใช้แหล่งน้ำสำหรบั เพียงพอเฉพาะฤดูฝน
น้ำจากแหล่งนำ้ ใน 1
การเพาะปลกู
หมายเหตุ จะไมม่ ีการคำนวนเกณฑ์ หมู่บา้ นและชมุ ชนน้ีใช้
การชวี้ ัดในข้อน้ี ถ้าในหมบู่ ้าน/ชมุ ชน สำหรบั การเพาะปลกู
นีไ้ มม่ หี รือไมไ่ ดใ้ ชน้ ้ำเพือ่ การเกษตร ไม่เพยี งพอตลอดปี
173
รายงานฉบับสมบรู ณ์โครงการจัดทำเครอื่ งชีว้ ดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพน้ื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พืน้ ฐาน
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)
ลำดบั ตวั ช้วี ัด ข้อคำถาม เกณฑ์การวิเคราะห์ ผลการวิเคราะห์
ตัวชี้วัด ไฟฟ้าและ
ท่ี 5 เช้ือเพลิงใน เกณฑช์ วี้ ัด คะแนน (คะแนนที่ได)้
การหุงต้ม หมูบ่ า้ น/ชมุ ชนนี้ มไี ฟฟ้าใช้ หรือไม่ ครวั เรือนทั้งหมดใน 3
ตวั ชว้ี ัด การมที ด่ี นิ (คำถามขอ้ 5.1.1) หมบู่ า้ น/ชุมชนทีม่ ี
ท่ี 6 ทำกนิ
(1) จำนวนครวั เรอื นท้งั หมดใน ไฟฟ้าใช้ มากกวา่
ตวั ชีว้ ัด การตดิ ตอ่
ที่ 7 สื่อสาร หมบู่ า้ น/ชมุ ชน .................. รอ้ ยละ 95 ของ
ครัวเรือน (คำถามข้อ 1.1) ครวั เรือนทง้ั หมด
(2) จำนวนครัวเรอื นมีไฟฟ้าใช้ ครวั เรือนทัง้ หมดใน 2
ทงั้ หมด................ครวั เรือน หมูบ่ า้ น/ชมุ ชนทีม่ ี
วิธคี ำนวณ ไฟฟา้ ใช้ ระหว่าง
รอ้ ย (2) x = รอ้ ยละ 85-95 ของ
ละ = 100 .......................
ครัวเรอื นท้งั หมด
(1)
ครัวเรือนทั้งหมดใน 1
หมู่บ้าน/ชุมชนที่มี
ไฟฟ้าใช้นอ้ ยกวา่
ร้อยละ 85 ของ
ครวั เรอื นทั้งหมด
(1) จำนวนครวั เรอื นทั้งหมดใน ครวั เรือนมที ีด่ นิ ทำ
หมบู่ ้าน/ชมุ ชน ................. กนิ เปน็ ของตนเอง
ครวั เรอื น (คำถามขอ้ 1.1) แต่ตอ้ งเชา่ เพิ่ม
(2) ครวั เรือนมีทด่ี ินทำกินเปน็ บางส่วน รวมกับ
ของตนเองแต่ตอ้ งเชา่ เพม่ิ ครวั เรอื นไม่มีทด่ี ินทำ 3
บางส่วน............. ครวั เรอื น กนิ เป็นของตนเอง
(คำถามข้อ 6.1.2) ต้องเช่าทดี่ ินทงั้ หมด
(3) ครวั เรือนไมม่ ที ี่ดนิ ทำกนิ เปน็ - ถา้ จำนวนดังกล่าว
ของตนเองต้องเช่าท่ีดนิ นอ้ ยกว่าร้อยละ 10
ทัง้ หมด.......... ครวั เรอื น ของจำนวนครวั เรอื น
(คำถามข้อ 6.1.3) ทง้ั หมด
วธิ คี ำนวณ - ถา้ จำนวนดงั กล่าว 2
ร้อยละ [(2)+(3)] x = อยรู่ ะหว่างรอ้ ยละ
= 100 ............
10-25 ของจำนวน
(1)
ครัวเรอื นทัง้ หมด
- ถา้ จำนวนดงั กล่าว 1
มากกวา่ รอ้ ยละ 25
ของจำนวนครวั เรือน
ทัง้ หมด
ส่วนท่ี 1 จำนวนครัวเรือนท่ีมี จำนวนครัวเรือนที่มี 3
โทรศัพท์เคล่ือนท่ี (โทรศัพทม์ อื ถือ)
หรอื มอี ินเทอร์เน็ตประจำบา้ น/ โ ท ร ศ ั พ ท ์ เ ค ล ื ่ อ น ท่ี
อินเทอร์เนต็ มือถือ
(โทรศัพท์มือถือ) หรือ
โทรศัพท์ประจำบ้าน
หร ื ออ ิ นเทอร ์ เน็ ต
174
รายงานฉบบั สมบูรณโ์ ครงการจัดทำเคร่ืองชว้ี ดั และแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พนื้ ฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พ้นื ฐาน
ระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)
ลำดับ ตัวช้วี ัด ขอ้ คำถาม เกณฑก์ ารวิเคราะห์ ผลการวเิ คราะห์
เกณฑช์ ี้วดั คะแนน (คะแนนทไ่ี ด)้
(1) จำนวนครัวเรือนทัง้ หมดใน
ประจำบ้าน/
หมบู่ า้ น/ชมุ ชน ................. อ ิ น เ ทอร ์ เน ็ ตม ื อถื อ
มากกว่าร้อยละ 70
ครัวเรือน (คำถามขอ้ 1.1) ของครัวเรือนทั้งหมด
และ หมู่บ้านมีบริการ
(2) ครวั เรือนที่มี โทรศัพท์สาธารณะที่ใช้
การได้
โทรศพั ทเ์ คลื่อนท่ี
จำนวนครัวเรือนที่มี 2
(โทรศัพทม์ อื ถือ) จำนวน โ ทร ศ ั พท ์ เ ค ล ื ่ อนท่ี
(โทรศัพท์มือถือ) หรือ
..................ครัวเรือน โทรศัพท์ประจำบ้าน
หรอื อนิ เทอรเ์ น็ตประจำ
(คำถามข้อ 7.1.1) บ้าน/อินเทอร์เน็ตมือ
ถือ มากกว่าร้อยละ 70
(3) ครัวเรอื นที่มโี ทรศพั ท์ ของครัวเรือนทั้งหมด
หรือ หมู่บ้านมีบริการ
ประจำบา้ น จำนวน โทรศัพท์สาธารณะที่ใช้
การได้ อย่างใดอย่าง
...................ครัวเรือน หนง่ึ
(คำถามขอ้ 7.1.2) จำนวนครัวเรือนที่มี 1
โ ท ร ศ ั พ ท ์ เ ค ล ื ่ อ น ท่ี
(4) ครัวเรอื นทีม่ อี ินเทอร์เนต็ (โทรศัพท์มือถือ) หรือ
โทรศัพท์ประจำบ้าน
ประจำบ้าน/อินเทอร์เนต็ หรืออนิ เทอร์เนต็ ประจำ
บ้าน/อินเทอร์เน็ตมือ
มอื ถอื จำนวน............... ถือ น้อยกว่าร้อยละ
70 ของครัวเรือน
ครวั เรอื น (คำถามข้อ ทั้งหมด และ หมู่บ้าน
ไม่มีบริการโทรศัพท์
7.1.3) สาธารณะทใ่ี ช้การได้
(5) จำนวนครัวเรือนที่มโี ทรศัพท์
เคลื่อนที่ (โทรศัพท์มือถือ)
หรือโทรศัพท์ประจำบ้าน
หรืออินเทอร์เน็ตประจำ
บ้าน/อนิ เทอร์เน็ตมือถือ โดย
ให้เลือกจากข้อ (2) หรือ (3)
หรอื (4) ทีม่ ีจำนวนครวั เรือน
มากที่สุด
วธิ คี ำนวณ
ร้อย (5) x =
ละ = 100 .......................
(1)
สว่ นท่ี 2 หมบู่ ้านมีบริการ หมู่บ้าน/ชุมชนสามารถ 3
โทรศพั ท์สาธารณะทใี่ ชก้ ารได้ เข้าถึงสถานพัฒนาเด็ก
จำนวนโทรศพั ท์สาธารณะ............ ปฐมวัยได้ และ ผ่าน
เครอ่ื ง (คำถามขอ้ 7.1.7) มาตรฐานสถานพัฒนา
เด็กปฐมวัย
ตวั ชวี้ ดั สถานพฒั นา (1) หมู่บ้าน/ชุมชน สามารถเข้าถึง
ท่ี 8 เด็กปฐมวัย การบรกิ ารสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั
หรือไม่ (คำถามข้อ 8.1)
เข้าถงึ
เข้าไมถ่ ึง
175
รายงานฉบับสมบรู ณ์โครงการจัดทำเคร่อื งชวี้ ดั และแบบสอบถามข้อมลู ความจำเปน็ พืน้ ฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพืน้ ฐาน
ระดบั หมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)
ลำดบั ตวั ชีว้ ัด ขอ้ คำถาม เกณฑก์ ารวิเคราะห์ ผลการวิเคราะห์
ตัวชว้ี ัด ส่ิงอำนวย (2) สถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัยที่ เกณฑ์ช้วี ดั คะแนน (คะแนนทีไ่ ด)้
ที่ 9 ความสะดวก หมูบ่ า้ น/ชุมชน สามารถเข้าถึงผ่าน
คนพกิ ารและ มาตรฐานสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั หมู่บา้ น/ชมุ ชนสามารถ 2
ผ้สู งู อายุ (คำถามขอ้ 8.2)
ใช่ เข้าถึงได้ แต่ ไม่ผ่าน
ไมใ่ ช่
มาตรฐานสถานพัฒนา
อาคารหรือสถานทขี่ องหน่วยงานของ
รัฐ องคก์ รเอกชน หรือองคก์ รอนื่ ๆ เด็กปฐมวยั
ในหมบู่ า้ น/ชมุ ชนนี้ มสี ิง่ อำนวยความ
สะดวกแกค่ นพิการและผสู้ ูงอายุ หมู่บ้าน/ชุมชนไม่ 1
ดังต่อไปนห้ี รอื ไม่ (คำถามขอ้ 9.1)
สามารถเข้าถึงสถาน
ลำดบั สง่ิ อำนวยความ มี ไม่
สะดวก มี พฒั นาเด็กปฐมวัยได้
1 ท่นี งั่ สำหรบั คน หมู่บา้ น /ชมุ ชนมสี ง่ิ 3
พิการหรือพ้นื ท่ี
สำหรบั จอด อำนวยความสะดวก
รถเขน็ คนพิการ
และผสู้ ูงอายุ ตัง้ แต่ 18 ข้อข้ึนไป
2 ทางลาด หมู่บ้าน /ชุมชนมสี ง่ิ 2
3 พืน้ ผวิ ตา่ งสมั ผสั
อำนวยความสะดวก
สำหรบั คนพิการ
ทางการเหน็ ระหว่าง 11-17 ข้อ
4 บันไดเล่ือน
สำหรับคนพิการ หมู่บ้าน /ชุมชนมสี ง่ิ 1
5 ทางลาดเล่อื น
หรอื ทางเล่อื นใน อำนวยความสะดวก
แนวราบ
6 ราวกนั ตกหรอื ต่ำกว่า 11 ข้อ
ผนังกันตก
7 ถงั ขยะแบบยก
เคลื่อนท่ีได้
8 สถานทีต่ ิดต่อหรอื
ประชาสมั พันธ์
สำหรบั คนพิการ
9 โทรศพั ท์
สาธารณะสำหรบั
คนพกิ าร
10 จดุ บรกิ ารนำ้ ดม่ื
สำหรบั คนพิการ
11 ตู้บรกิ ารเงนิ ดว่ น
สำหรับคนพิการ
176
รายงานฉบับสมบรู ณโ์ ครงการจดั ทำเครื่องช้ีวัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พ้ืนฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พ้ืนฐาน
ระดับหม่บู า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)
ลำดบั ตวั ชี้วดั ข้อคำถาม เกณฑก์ ารวเิ คราะห์ ผลการวเิ คราะห์
เกณฑ์ชวี้ ัด คะแนน (คะแนนทไ่ี ด)้
ตวั ช้ีวดั
ที่ 10 12 ประตสู ำหรบั คนพกิ าร หมบู่ ้าน/ชมุ ชนมีพ้ืนที่ 3
สาธารณะสเี ขียว และ 2
13 ห้องนำ้ สำหรบั คน มบี ริการพ้นื ท่ี 1
พกิ ารและผู้สงู อายุ สาธารณะ
14 ลิฟต์สำหรับคนพิการ หมู่บ้าน/ชุมชนมพี น้ื ที่
และผู้สูงอายุ สาธารณะสีเขียว
หรอื มบี ริการพืน้ ที่
15 ท่จี อดรถสำหรับคน สาธารณะ อย่างใด
พิการและผสู้ งู อายุ อย่างหนงึ่
16 สญั ญาณเสียงและ หมบู่ า้ น/ชุมชนไม่มี
สญั ญาณแสงขอความ พน้ื ท่สี าธารณะสเี ขียว
ช่วยเหลือสำหรับ และ ไมม่ ีบรกิ ารพื้นท่ี
คนพกิ ารและผูส้ ูงอายุ สาธารณะ
17 ปา้ ยแสดงอุปกรณ์
หรือสง่ิ อำนวยความ
สะดวกสำหรบั คน
พกิ ารและผูส้ งู อายุ
18 ทางสัญจรสำหรบั คน
พกิ าร
19 ตู้ไปรษณียส์ ำหรบั คน
พกิ าร
20 พ้ืนทสี่ ำหรบั หนภี ยั
ของคนพกิ าร
21 การประกาศเตือนภัย
สำหรับคนพกิ าร
ทางการเห็นฯ
22 การประกาศข้อมูลที่
เปน็ ประโยชน์สำหรบั
คนพิการทางการเห็นฯ
23 เจ้าหนา้ ทีซ่ ึง่ ผ่านการ
ฝึกอบรมคอยใหบ้ รกิ าร
รวม
พืน้ ที่สาธารณะ (1) หมบู่ ้าน/ชุมชน มีพ้ืนทีส่ าธารณะ
สเี ขียวและ สเี ขียวหรือไม่ (คำถามขอ้ 10.1)
พ้ืนทีส่ าธารณะ มี
ประโยชน์ ไมม่ ี
(2) หม่บู ้าน/ชมุ ชน มบี ริการพน้ื ที่
สาธารณะหรอื ไม่ (คำถามข้อ 10.2)
มี
ไมม่ ี
177
รายงานฉบบั สมบูรณ์โครงการจัดทำเครอ่ื งช้วี ดั และแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเป็นพ้นื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพน้ื ฐาน
ระดับหมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ่วงแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)
หมวดท่ี 2 สภาพพนื้ ฐานทางเศรษฐกจิ (10 ตวั ชี้วัด)
ลำดับ ตัวชี้วัด ข้อคำถาม เกณฑก์ ารวเิ คราะห์ ผลการวิเคราะห์
เกณฑช์ ้วี ดั คะแนน (คะแนนทไี่ ด)้
ตวั ชว้ี ดั การมงี านทำ (1) คนอายุ 15-59 ปี มกี าร คนอายุ 15-59 ปี 3
ที่ 11 ประกอบอาชีพและมรี ายได้ มีการประกอบอาชีพ
(คำถามข้อ 11.1) จำนวน และมีรายได้ มากกวา่
รอ้ ยละ 97 ข้ึนไป
.............................คน
(2) คนในหมู่บ้าน/ชุมชน มีคนท่ี คนอายุ 15-59 ปี มี 2
เรียนจบการศึกษาตั้งแต่ การประกอบอาชีพ
มัธยมศึกษาปีที่ 3 ขึ้นไปหรอื และมีรายได้ ร้อยละ
เทียบเท่า ที่ไม่ได้ทำงาน (ไม่ 80 – 97
นับคนที่กำลังศึกษาต่อและ คนอายุ 15-59 ปี มี 1
คนพ ิ การท ี ่ ไม ่ สามารถ การประกอบอาชีพ
ช่วยเหลือตนเองได้) (คำถาม และมีรายได้ นอ้ ยกว่า
ขอ้ 11.4) จำนวน...............คน ร้อยละ 80
วธิ ีคำนวณ
ร้อยละ = (1) x 100 =
(2) ............
ตวั ช้ีวัด การทำงาน หมู่บา้ น/ชมุ ชนนี้ มสี ถานประกอบการ จำนวนครัวเรือนท่ี 3
ที่ 12 ในสถาน ภายในตำบล หรอื ไม่ (คำถามข้อ 12.1.1) ทำงานในสถานประกอบ
ประกอบการ มี การทอ่ี ยภู่ ายในตำบลนี้
ไมม่ ี มากกว่าร้อยละ 10
(1) ครวั เรือนท้ังหมด........................ ของครวั เรือนทั้งหมด
จำนวนครัวเรือนท่ี 2
ครวั เรือน (คำถามขอ้ 1.1)
(2) จำนวนครวั เรือนของหมบู่ ้าน/ชุมชน ทำงานในสถานประกอบ
นี้ที่มีคนทำงานในสถานประกอบการ การทอ่ี ยภู่ ายในตำบลน้ี
ภายในตำบลน้.ี ............................ครวั เรอื น ระหว่างร้อยละ 5-10
ของครัวเรอื นทัง้ หมด
(คำถามข้อ 12.1.2 (1))
หมายเหตุ จะไมม่ ีการคำนวณเกณฑ์ จำนวนครัวเรือนท่ี 1
การช้วี ัดข้อนี้ ถา้ ไม่มสี ถานประกอบการ ทำงานในสถานประกอบ
การทอ่ี ยู่ภายในตำบลน้ี
ในตำบล
นอ้ ยกว่าร้อยละ 5 ของ
วิธีคำนวณ
ครวั เรอื นทง้ั หมด
รอ้ ย (2) x =
ละ = 100 .......................
(1)
178
รายงานฉบับสมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเคร่อื งชว้ี ัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พ้นื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพื้นฐาน
ระดบั หม่บู า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)
ลำดบั ตวั ชวี้ ัด ข้อคำถาม เกณฑ์การวิเคราะห์ ผลการวเิ คราะห์
ตัวชีว้ ดั รา้ นอาหาร
ที่ 13 และรา้ นคา้ เกณฑช์ ีว้ ดั คะแนน (คะแนนที่ได)้
ตัวช้ีวัด ผลผลติ จาก หมบู่ า้ น/ชุมชนน้ี มีรา้ นอาหารทไ่ี ดร้ บั หมู่บ้าน/ชุมชนมีร้าน 3
ที่ 14 การทำนา
มาตรฐานท้องถิน่ หรือกรมอนามัย อาหาร และ แผงลอย ท่ี
(คำถามข้อ 13.1.1) ได้รับมาตรฐานท้องถิ่น
มี หรอื กรมอนามัย
ไม่มี หมู่บ้าน/ชุมชนมีร้าน 2
อาหาร หรือ แผงลอย ท่ี
หมบู่ า้ น/ชมุ ชนน้ี มีแผงลอยทไี่ ด้รบั ได้รับมาตรฐานท้องถิ่น
มาตรฐานท้องถิน่ หรือกรมอนามยั หรือกรมอนามัย อย่าง
ใดอยา่ งหน่งึ
(คำถามข้อ 13.1.2)
หมูบ่ า้ น/ชมุ ชน มี 1
มี
ร้านอาหาร และ แผง
ไมม่ ี
หมายเหตุ จะไมม่ กี ารคำนวณเกณฑ์ ลอย ทไ่ี มไ่ ดร้ บั
มาตรฐานท้องถิ่นหรอื
การชว้ี ัดขอ้ นี้ ถา้ ไมม่ สี ถาน
กรมอนามยั
ประกอบการในตำบล
(1) ครวั เรอื นทั้งหมด............ ในกรณีที่ครัวเรือน 3
ครัวเรอื น คำถามขอ้ 1.1) สวนมากในหมู่บ้าน
(2) มีครวั เรอื นท่ีทำนา.......... นี้ ทํานาตั้งแต่ปีละ
ครัวเรอื น (คำถามขอ้ 14.2) 2 ครั้งข้ึนไป
(3) พื้นทท่ี ำนา.............................ไร่ ใช้เกณฑ์ตอ่ ไปน้ี
(คำถามข้อ 14.1) ครัวเรือนส่วนมากได้
(4) พ้ืนท่ีทำการเกษตรทัง้ หมด.....ไร่ ผลผลิตข้าวเปลือก
(คำถามขอ้ 14.1 + 15.1 + 15.6 มากกว่า 700 กก./
+ 16.1.1 + 16.2.1 + 16.3.1 + ไร่
16.4.1 + 17.1.2 + 18.4.2 + ครัวเรือนส่วนมากได้ 2
18.5.1 + 18.6.1)
ผลผลิตข้าวเปลือก
(5) ส่วนมากทำนาปลี ะ......ครง้ั 500 - 700 กก./ไร่
(คำถามขอ้ 14.5)
ครัวเรือนส่วนมากได้ 1
(6) ได้ผลผลติ ไรล่ ะ.................. ผลผลิตข้าวเปลือก
กโิ ลกรมั (คำถามข้อ 14.7)
น้อยกว่า 500 กก./
หมายเหตุ จะไม่มีการคำนวณเกณฑก์ ารชี้วัด
ข้อน้ี ถ้า ไร่
- มคี รัวเรือนทท่ี ำนาน้อยกวา่ รอ้ ยละ 20
ในกรณีที่ครัวเรือน
ของครัวเรือนทั้งหมด หรือ สวนมากในหมู่บ้านน้ี
- มพี ื้นทท่ี ำนาในหมู่บา้ น/ชุมชน น้อยกวา่ ทํานา ปีละ 1 คร้ัง
ใชเ้ กณฑ์ตอ่ ไปนี้
รอ้ ยละ 20 ของพ้นื ทก่ี ารเกษตรของ
ภาคกลาง 3
หมู่บา้ น/ชมุ ชน
วิธีคำนวณแบบที่ 1 ครัวเรือนส่วนมากได้
ร้อยละ = (2) x 100 = ผลผลิตข้าวเปลือก
(1) ........... มากกว่า 600 กก./
ไร่
179
รายงานฉบับสมบรู ณ์โครงการจดั ทำเคร่อื งช้วี ดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพ้นื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพ้นื ฐาน
ระดับหมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)
ลำดบั ตวั ช้วี ดั ข้อคำถาม เกณฑก์ ารวิเคราะห์ ผลการวิเคราะห์
เกณฑ์ชวี้ ดั คะแนน (คะแนนทไี่ ด้)
วิธีคำนวณแบบท่ี 2 ครัวเรือนส่วนมากได้ 2
ร้อยละ = (3) x 100 = ผลผลิตข้าวเปลือก
(4) ........... 450 - 600 กก./ไร่
ครัวเรือนส่วนมากได้ 1
ผลผลิตข้าวเปลือก
นอ้ ยกวา่ 450 กก./ไร่
ภาคเหนอื 3
ครัวเรือนส่วนมากได้
ผลผลิตข้าวเปลือก
มากกวา่ 580 กก./ไร่
ครัวเรือนส่วนมากได้ 2
ผลผลิตข้าวเปลือก
420 - 580 กก./ไร่
ครัวเรือนส่วนมากได้ 1
ผลผลิตข้าวเปลือก
น้อยกว่า 420 กก./ไร่
ภาคตะวนั ออก เฉยี ง 3
เหนอื
ครัวเรือนส่วนมากได้
ผลผลิตข้าวเปลือก
มากกว่า 370 กก./ไร่
ครัวเรือนส่วนมากได้ 2
ผลผลิตข้าวเปลือก
270 - 370 กก./ไร่
ครัวเรือนส่วนมากได้ 1
ผลผลิตข้าวเปลือก
นอ้ ยกวา่ 270 กก./ไร่
ภาคใต้ 3
ครัวเรือนส่วนมากได้
ผลผลิตข้าวเปลือก
มากกว่า 480 กก./ไร่
ครัวเรือนส่วนมากได้ 2
ผลผลิตข้าวเปลือก
300 - 480 กก./ไร่
ครัวเรือนส่วนมากได้ 1
ผลผลิตข้าวเปลือก
นอ้ ยกว่า 300 กก./ไร่
180
รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจดั ทำเครื่องช้วี ดั และแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเป็นพ้ืนฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พ้ืนฐาน
ระดบั หมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)
ลำดบั ตัวชว้ี ัด ขอ้ คำถาม เกณฑก์ ารวเิ คราะห์ ผลการวิเคราะห์
ตัวชว้ี ดั ผลผลิตจาก เกณฑ์ชว้ี ัด คะแนน (คะแนนทไ่ี ด้)
ท่ี 15 การทำไร่
(1) ครวั เรือนทัง้ หมด....................... ก . ใ ห ้ พ ิ จ า ร ณ า
ครวั เรอื น (คำถามข้อ 1.1) เ ฉ พ า ะ พ ื ช ไ ร ่ ท ี ่ มี
(2) พ้นื ทท่ี ำการเกษตรท้ังหมด จำนวนครัวเรือน
...................ไร่ (คำถามข้อ 14.1 + เพาะปลูกมากเป็น
15.1 + 15.6 + 16.1.1 + 16.2.1 อันดับหนึ่งจากพืช
+ 16.3.1 + 16.4.1 + 17.1.2 + ไรอ่ ายุสน้ั หรือพชื ไร่
18.4.2 + 18.5.1 + 18.6.1) อายุยาว โดยใช้พืช
(3) พชื ไร่อายุสนั้ ท่ีครัวเรอื น ท ี ่ ม ี ค ะ แ น น ส ู ง สุ ด
ส่วนมากปลูกมากเป็นอนั ดบั หน่งึ เป็นเกณฑ์การชี้วัด
........................... (คำถามข้อ 15.3) ต า ม ห ล ั ก เ ก ณ ฑ์
(4) มคี รัวเรอื นทีป่ ลูกทั้งหมด ดังตอ่ ไปนี้
.............................ครัวเรือน (คำถาม พชื ไรอ่ ายุสนั้ 3
ขอ้ 15.3 (1)) ขา้ วโพดเล้ียงสัตว์
(5) มีพ้นื ท่ปี ลกู ทั้งหมด..................ไร่ ผลผลติ ตอ่ ไร่ มากกวา่
(คำถามขอ้ 15.3 (2)) 700 กก.
(6) ปีทผ่ี า่ นมาครัวเรือนไดผ้ ลผลติ ผลผลติ ตอ่ ไร่ 450 2
เฉลี่ย ไรล่ ะ............................กิโลกรัม – 700 กก.
(คำถามขอ้ 15.3 (4))
(7) พชื ไร่อายุยาวทค่ี รัวเรอื น ผลผลติ ตอ่ ไร่ 1
นอ้ ยกว่า 450 กก. 3
สว่ นมากปลูกมากเปน็ อนั ดบั หนึง่
........................... (คำถามข้อ 15.8) ถว่ั เหลอื ง 2
(8) มคี รวั เรือนท่ีปลูกทัง้ หมด............ ผลผลติ ต่อไร่ มากกวา่ 1
ครวั เรอื น (คำถามขอ้ 15.8 (1)) 280 กก. 3
(9) มีพืน้ ท่ปี ลกู ทง้ั หมด..................ไร่
(คำถามขอ้ 15.8 (2)) ผลผลติ ต่อไร่ 220 - 2
(10) ปีท่ีผา่ นมาครัวเรือนได้ผลผลติ 280 กก.
เฉล่ีย ไรล่ ะ.........................กโิ ลกรมั
(คำถามขอ้ 15.8 (4)) ผลผลติ ต่อไร่
น้อยกวา่ 220 กก.
หมายเหตุ จะไมม่ กี ารคำนวณเกณฑ์การช้ีวัด
ขอ้ น้ี ถา้ ถัว่ เขยี ว
ผลผลิตตอ่ ไร่มากกว่า
120 กก.
- มีครวั เรอื นท่ีปลูกพชื ไร่อายุส้นั และอายยุ าว ผลผลติ ต่อไร่ 100 -
เป็นอันดบั หนึ่งนอ้ ยกวา่ ร้อยละ 15 ของ 120 กก.
ครัวเรอื นทง้ั หมด หรือ
- มพี ้ืนทีป่ ลกู พืชไรอ่ ายสุ น้ั และอายยุ าวเปน็
อนั ดบั หน่ึงน้อยกวา่ ร้อยละ 15 ของพ้นื ท่ี
การเกษตรทัง้ หมด
วธิ คี ำนวณแบบที่ 1
ร้อยละ = ( (4) + (8) ) =
x 100 ..........
(1)
(1)
181
รายงานฉบบั สมบรู ณ์โครงการจัดทำเครือ่ งชวี้ ดั และแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพน้ื ฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพ้นื ฐาน
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ่วงแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)
ลำดบั ตัวชวี้ ดั ขอ้ คำถาม เกณฑก์ ารวเิ คราะห์ ผลการวเิ คราะห์
เกณฑ์ช้ีวดั คะแนน (คะแนนทไี่ ด้)
(ถ้าคำนวณได้น้อยกวา่ รอ้ ยละ 15 ให้ ผลผลติ ต่อไร่ 1
พจิ ารณาวธิ ีคำนวณแบบท่ี 2 น้อยกว่า 120 กก.
ถา้ นอ้ ยกว่าร้อยละ 15 อีกใหข้ า้ มไป ถว่ั ลิสง 3
ทำขอ้ 16)
ผลผลติ ต่อไร่
วิธคี ำนวณแบบที่ 2
มากกว่า 250 กก.
( (5) + (9) )
ร้อยละ = x 100 = ผลผลติ ตอ่ ไร่ 200 - 2
............. 250 กก. 1
(2) 3
ผลผลติ ต่อไร่
กรณีท่ีไมใ่ ช่พชื ไรข่ า้ งตน้ น้อยกวา่ 200 กก. 2
1
พชื ไร่อายสุ นั้ ข้าวฟา่ ง 3
ผลผลติ ตอ่ ไร่มากกวา่
(1) ครวั เรอื นทงั้ หมด..................... 240 กก. 2
1
ครัวเรอื น (คำถามข้อ 1.1) ผลผลติ ต่อไร่ 200 - 3
240 กก.
(2) มีครวั เรอื นที่ปลูกท้งั หมด
ผลผลติ ตอ่ ไร่
..........................ครัวเรือน (คำถามข้อ น้อยกวา่ 200 กก.
15.3 (1)) พืชไรอ่ ายยุ าว
ออ้ ย
(3) มีพนื้ ท่ีปลกู ท้งั หมด..................ไร่ ผลผลติ ต่อไร่มากกว่า
13,000 กก.
(คำถามขอ้ 15.3 (2))
ผลผลติ ต่อไร่ 9,000
(4) ปที ่ีผ่านมาครวั เรอื นไดผ้ ลผลติ – 13,000 กก.
เฉล่ยี ไร่ละ.............................กโิ ลกรมั ผลผลติ ตอ่ ไร่
(คำถามขอ้ 15.3 (4))
(5) ราคาขายกโิ ลกรมั ละ............บาท
............สตางค์ (คำถามข้อ 15.3 (5))
(6) ครวั เรือนส่วนมากทำการปลกู ฤดู
ใด.................. (คำถามข้อ 15.3 (7))
หมายเหตุ จะไมม่ กี ารคำนวณเกณฑ์การชี้วัด นอ้ ยกว่า 9,000 กก.
ขอ้ นี้ ถ้าไมม่ กี ารปลูกพชื ไร่อายุสั้นท้งั สองฤดู มันสำปะหลัง
วิธคี ำนวณ ผลผลติ ต่อไร่
(รายไดข้ องพชื อายุส้นั ซึ่งไม่ใชพ่ ชื ไรท่ ี่ มากกว่า 4,000
กำหนดไว้ในเกณฑ์การชี้วดั ท่ีปลูกมาก กก.
อันดบั หน่ึง และทำการปลูกทัง้ สองฤดู ผลผลติ ต่อไร่ 3,000 2
(ฤดฝู นและฤดแู ลง้ )
– 4,000 กก.
(3) x (4) x
รอ้ ยละ = (5) x 2 ผลผลติ ตอ่ ไร่ นอ้ ย 1
กว่า 3,000 กก. 3
(1)
ฝ้าย 2
= ...........................บาทต่อปี. ผลผลติ ต่อไร่
พืชไรอ่ ายยุ าว มากกว่า 200 กก.
(1) มคี รวั เรอื นทีป่ ลกู ทง้ั หมด
ผลผลติ ตอ่ ไร่ 160 -
.........................ครัวเรือน 200 กก.
(คำถามขอ้ 15.8 (1))
182
รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเคร่ืองช้วี ดั และแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พื้นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พ้นื ฐาน
ระดับหม่บู า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)
ลำดบั ตัวชี้วดั ขอ้ คำถาม เกณฑ์การวเิ คราะห์ ผลการวิเคราะห์
เกณฑ์ชว้ี ดั คะแนน (คะแนนทไี่ ด้)
(2) มพี ้ืนทปี่ ลูกทงั้ หมด..................... ผลผลติ ตอ่ ไร่ 1
ไร่ (คำถามข้อ 15.8 (2)) น้อยกวา่ 160 กก.
(3) ปที ผ่ี ่านมาครวั เรอื นไดผ้ ลผลติ ปอแกว้ 3
เฉลี่ย ไร่ละ..........................กโิ ลกรมั ผลผลติ ตอ่ ไร่ มากกวา่
(คำถามขอ้ 15.8 (4))
220 กก.
(4) ราคาขายกโิ ลกรมั ละ.............บาท ผลผลติ ตอ่ ไร่ 180 – 2
..........สตางค์ (คำถามข้อ 15.8 (5)) 220 กก.
วธิ ีคำนวณ
ผลผลติ ตอ่ ไร่ 1
(รายไดข้ องพืชอายุยาว ซง่ึ ไมใ่ ชพ่ ชื ไร่ น้อยกว่า 180 กก.
ทีก่ ำหนดไวใ้ นเกณฑก์ ารชี้วัดท่ีปลกู สับปะรด
มากอันดบั หนึง่ ) 3
(2) x (3) x (4) ผลผลติ ตอ่ ไร่ มากกว่า
(1)
รอ้ ยละ = 4,500 กก. 2
= ...................................บาทตอ่ ปี ผลผลติ ต่อไร่ 3,500
– 4,500 กก.
ผลผลติ ตอ่ ไร่ 1
น้อยกว่า 3,500 กก.
ข. ถ้าพืชไร่เพาะปลูก
ไม่ใช่พืชไร่ข้างต้น ให้
พิจารณาจากได้ของ
การเพาะปลูกพืชไร่ที่
ปลูกมากเป็นอันดับ
หนง่ึ
- ถ้าพืชนั้นเป็นพืชไร่ 3
อายุสั้น จะต้องทำการ
ปลูกทง้ั 2 ฤดู
- แต่ถ้าเป็นพืชไร่อายุ
ยาว ไมต่ อ้ งคูณด้วย 2
ครัวเรือนส่วนมากมี
รายได้จากการขาย
มากกว่า 42,600
บาท/ปี
ครัวเรือนส่วนมากมี 2
รายได้จากการขาย
21,300 - 42,600
บาท/ปี
ครัวเรือนส่วนมากมี 1
รายได้จากการขาย
ต่ำกว่า 21,300
บาท/ปี
183
รายงานฉบบั สมบรู ณ์โครงการจัดทำเคร่อื งช้ีวดั และแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเป็นพ้นื ฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพืน้ ฐาน
ระดับหมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ช่วงแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)
ลำดบั ตัวชี้วัด ขอ้ คำถาม เกณฑก์ ารวิเคราะห์ ผลการวเิ คราะห์
ตัวช้วี ดั ผลผลิตจาก เกณฑช์ ว้ี ดั คะแนน (คะแนนทไ่ี ด้)
ท่ี 16 การทำสวน
ก. ทำสวนผลไม้ ขอ้ น้ใี ห้พิจารณาตาม
(1) ครวั เรอื นท้งั หมด หลกั เกณฑข์ ้อ ก - ง
.........................ครวั เรอื น แลว้ ใช้ข้อที่มีคะแนน
(คำถามข้อ 1.1) สงู สดุ เปน็ เกณฑ์
(2) ครวั เรอื นที่ทำสวนผลไม้ การชี้วัด
...........................ครัวเรือน ทำสวนผลไม/้ ทำสวน 3
(คำถามข้อ 16.1.2) ผัก/ทำสวนไม้ดอกไม้
หมายเหตุ จะไมม่ กี ารคำนวณเกณฑ์ ประดบั หรือเพาะพันธุ์
การช้วี ัดข้อน้ี ถ้าจำนวนครวั เรือนทีท่ ำ ไมเ้ พอ่ื ขาย
สวนผลไม้นอ้ ยกว่าร้อยละ 10 ของ ให้คำนวณเกณฑ์
ครวั เรอื นท้ังหมด การช้วี ัดแยกตาม
วิธคี ำนวณ ประเภทของการ
ร้อยละ = (2) x 100 = ประกอบอาชีพและ
(1) ........... เลอื กคะแนนต่ำสดุ
(3) ครวั เรือนมรี ายได้เฉลยี่ เป็นคะแนนของ
............................บาทต่อปี ขอ ก., ข. และ ค.
(คำถามข้อ 16.1.4)
รายไดต้ อ่ ครวั เรอื น
ข. ทำสวนผัก
มากกว่า 42,600
(1) ครวั เรอื นทงั้ หมด
บาท/ปี
..........................ครัวเรือน รายไดต้ ่อครวั เรอื น
(คำถามขอ้ 1.1) 2
21,300 - 1
(2) ครวั เรือนท่ที ำสวนผัก 42,600 บาท/ปี 3
............................ครัวเรือน
(คำถามขอ้ 16.2.2) รายไดต้ ่อครัวเรอื น 2
น้อยกว่า 23,000
หมายเหตุ จะไมม่ กี ารคำนวณเกณฑ์
บาท/ปี
การชีว้ ดั ข้อน้ี ถ้าจำนวนครวั เรือนทท่ี ำ
ทำสวนยาง
สวนผกั น้อยกวา่ ร้อยละ 10 ของ ครัวเรือนสว่ นมากมี
รายได้จากการขาย
ครวั เรอื นท้ังหมด มากกวา่ 42,600
บาท/ปี
วธิ คี ำนวณ
ครวั เรอื นสว่ นมากมี
รอ้ ยละ = (2) x 100 = รายได้จากการขาย
(1) ............. 21,300 -
42,600 บาท/ปี
(3) ครัวเรือนมรี ายไดเ้ ฉลีย่
...........................บาทต่อปี
(คำถามข้อ 16.2.4)
184
รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเครือ่ งช้ีวัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพน้ื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพ้นื ฐาน
ระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)
ลำดับ ตัวช้ีวัด ข้อคำถาม เกณฑก์ ารวิเคราะห์ ผลการวเิ คราะห์
เกณฑ์ชี้วัด คะแนน (คะแนนทีไ่ ด้)
ค. ทำสวนไมด้ อกไม้ประดับหรอื ครวั เรือนส่วนมากมี 1
เพาะพันธไ์ุ ม้เพอื่ ขาย รายได้จากการขาย
(1) ครวั เรือนทงั้ หมด นอ้ ยกว่า 23,000
...........................ครัวเรือน บาท/ปี
(คำถามขอ้ 1.1)
(2) ครัวเรือนทีท่ ำสวนไม้
ดอกไม้ประดับหรอื
เพาะพันธ์ไุ มเ้ พอ่ื ขาย
...........................ครัวเรือน
(คำถามข้อ 16.3.2)
หมายเหตุ จะไม่มีการคำนวณเกณฑ์
การชวี้ ัดข้อน้ี ถ้าจำนวนครัวเรือนท่ที ำ
สวนไมด้ อกไม้ประดับหรือเพาะพนั ธ์ุ
ไม้เพ่อื ขายน้อยกวา่ รอ้ ยละ 10 ของ
ครัวเรือนท้ังหมด
วิธีคำนวณ
รอ้ ยละ = (2) x 100 =
(1) ............
(3) ครวั เรอื นมรี ายไดเ้ ฉลยี่
...........................บาทตอ่ ปี
(คำถามขอ้ 16.3.4)
ง. ทำสวนยางพารา
(1) ครัวเรอื นทงั้ หมด
...........................ครัวเรือน
(คำถามข้อ 1.1)
(2) ครัวเรอื นที่ทำสวน
ยางพารา.............ครวั เรอื น
(คำถามขอ้ 16.4.2)
(3) ครวั เรอื นมรี ายไดเ้ ฉลย่ี
..........................บาทต่อปี
(คำถามขอ้ 16.4.4)
หมายเหตุ จะไมม่ ีการคำนวณเกณฑ์
การช้วี ัดขอ้ นี้ ถา้ จำนวนครวั เรือนท่ีทำ
สวนยางพาราน้อยกวา่ ร้อยละ 10
ของครวั เรอื นทั้งหมด
วิธคี ำนวณ
(2) x 100 =
ร้อยละ = (1) .............
185
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการจัดทำเครอ่ื งชว้ี ดั และแบบสอบถามข้อมลู ความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พนื้ ฐาน
ระดับหมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ่วงแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)
ลำดบั ตวั ชวี้ ัด ขอ้ คำถาม เกณฑ์การวเิ คราะห์ ผลการวิเคราะห์
ตวั ชีว้ ดั ปศสุ ัตว์และ เกณฑช์ ี้วัด คะแนน (คะแนนทไี่ ด)้
ที่ 17 การประมง
ก. เล้ยี งสัตวเ์ พ่อื ขาย ก. เล้ียงสตั วเ์ พ่อื
เลย้ี งโคเนื้อ โคนม กระบอื ขาย
(1) ครวั เรือนท้ังหมด หมายเหตุ ค่าเกณฑ์
.............................ครัวเรือน การชว้ี ัดของข้อนไี้ ด้
(คำถามขอ้ 1.1) จากคะแนนต่ำสดุ
(2) ครัวเรอื นทเี่ ลี้ยงโคเน้อื โค ระหวา่ งเกณฑก์ ารช้ี
นม กระบือ เพ่ือขาย วัดของการเลีย้ งโค
.................................ครัวเรือน และของการเลีย้ ง
(คำถามขอ้ 17.1.3.1 + กระบือ
17.1.3.2 + 17.1.3.3) เกณฑก์ ารชี้วัด
หมายเหตุ จะไมม่ กี ารคำนวณเกณฑ์ จำนวนครัวเรือนท่ี
การชีว้ ดั ขอ้ นี้ ถ้าจำนวนครวั เรือนที่ ผสมพนั ธโุ์ ค กระบือ
เลยี้ งโคเนอื้ โคนม กระบือ เพือ่ ขาย โดยใชพนั ธท์ุ ีท่ าง
น้อยกว่ารอ้ ยละ 10 ของครัวเรอื น ราชการสง่ เสรมิ รวม
ท้งั หมด การผสมเทยี มดว้ ย
วิธคี ำนวณ มากกวา่ รอ้ ยละ 80 3
ร้อยละ (2) x = ของจำนวนครวั เรือน 2
= 100 ............... ท่ีเลี้ยง
(1) รอ้ ยละ 40 - 80
ของจำนวนครวั เรอื น
(ถ้าคำนวณไดน้ ้อยกว่ารอ้ ยละ 10 ท่ีเล้ียง
ใหข้ า้ มไปพิจารณาขอ้ ค.)
เลี้ยงโคเนอ้ื เพ่ือขายและผสมพนั ธุ์ นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 40 1
ของจำนวนครัวเรือน 3
(1) ครัวเรอื นที่เล้ียงโคเน้ือเพ่ือ ท่ีเลย้ี ง
ขาย ....................ครัวเรือน ข. ประมงน้ำทะเล
หมายเหตุ คา่ เกณฑ์
(คำถามข้อ 17.1.3.1 ) การช้วี ัดของขอ้ นี้ได้
จากคะแนนต่ำสุด
(2) ครวั เรือนทเี่ ลีย้ งโคเนอ้ื เพ่ือ ระหว่างเกณฑก์ ารชี้
วัดของประมงขนาด
ขายและผสมพันธุ์ เลก็ และขนาดกลาง
ถงึ ใหญ่
...........................ครัวเรือน
ประมงทะเล
(คำถามข้อ 17.1.3.1 (3))
วิธีคำนวณ
ร้อยละ (2) x 100 =
= (1) ...............
ขนาดเลก็
เลย้ี งโคนมเพ่ือขายนำ้ นม ครัวเรือนประมง
(1) ครัวเรือนท่ีเลีย้ งโคนมเพอื่ ขนาดเลก็ มรี ายได้
ขายน้ำนม ต่อครัวเรือน
.............................ครัวเรือน มากกวา่ 53,250
(คำถามข้อ 17.1.3.2) บาท/ปี
186
รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเครอ่ื งชว้ี ัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพนื้ ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพน้ื ฐาน
ระดบั หมูบ่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)
ลำดับ ตัวชวี้ ัด ข้อคำถาม เกณฑก์ ารวเิ คราะห์ ผลการวเิ คราะห์
เกณฑช์ ว้ี ัด คะแนน (คะแนนท่ีได้)
(2) ครัวเรอื นท่เี ลย้ี งโคนมเพอ่ื ครวั เรือนประมง 2
ขายน้ำนมและผสมพันธ์ุ ขนาดเลก็ มรี ายได้
............................ครัวเรือน ตอ่ ครัวเรอื น
(คำถามข้อ 17.1.3.2 (3)) 31,950 -
53,250 บาท/ปี
วธิ คี ำนวณ ครัวเรือนประมง 1
รอ้ ยละ = (2) x 100 = ขนาดเล็ก มรี ายได้
(1) ......... ตอ่ ครัวเรอื น น้อย
เลย้ี งกระบอื เพื่อขาย กว่า 31,950
(1) ครัวเรอื นทีเ่ ลี้ยงกระบอื เพือ่ บาท/ปี
ขาย .............................
ครัวเรือน (คำถามขอ้ ประมงทะเล 3
17.1.3.3) ขนาดกลาง – ใหญ่ 2
ครวั เรอื นประมง
(2) ครวั เรือนที่เลยี้ งกระบอื เพือ่ ขนาดกลาง - ใหญ่ มี
ขายและผสมพันธ์ุ รายไดต้ อ่ ครวั เรอื น
.............................ครัวเรือน มากกวา่ 4 ล้าน
(คำถามขอ้ 17.1.3.3 (3) บาท/ปี
ครวั เรือนประมง
วิธคี ำนวณ ขนาดกลาง - ใหญ่ 1
มรี ายได้ต่อครวั เรือน
ร้อยละ (2) x 100 = 3 - 4 ลา้ นบาท/ปี
= (1) ..............
ครวั เรือนประมง
หมายเหตุ ใช้คา่ รอ้ ยละท่ตี ่ำกว่า ขนาดกลาง - ใหญ่
ระหว่างโคกับกระบือสำหรบั ไปเทยี บ มรี ายไดต้ ่อครวั เรือน
เกณฑ์การชว้ี ัดของขอ้ ก. นอ้ ยกว่า 3 ลา้ น
บาท/ปี
ข. ประมงนำ้ ทะเล ประมงน้ำจดื 3
(1) ครวั เรือนทัง้ หมด มรี ายไดต้ อ่ ครัวเรอื น 2
.......................... ครัวเรือน มากกวา่ 42,600 1
(คำถามข้อ 1.1) บาท/ปี
(2) ครวั เรือนท่ีทำประมงทะเล
ขนาดเล็ก มรี ายไดต้ ่อครวั เรือน
............................ครัวเรือน 21,300 -
(คำถามขอ้ 17.3.1.1 (1) 42,600 บาท/ปี
(3) ครัวเรอื นทำประมงทะเล
ขนาดกลาง - ใหญ่ มีรายได้ต่อครัวเรอื น
นอ้ ยกวา่ 21,300
บาท/ปี
...........................ครัวเรือน
(คำถามขอ้ 17.3.1.2 (1)
187
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการจัดทำเครื่องช้วี ัดและแบบสอบถามข้อมลู ความจำเป็นพน้ื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พื้นฐาน
ระดับหมบู่ ้าน (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)
ลำดบั ตวั ช้วี ัด ขอ้ คำถาม เกณฑ์การวเิ คราะห์ ผลการวิเคราะห์
เกณฑ์ชีว้ ดั คะแนน (คะแนนทไ่ี ด)้
หมายเหตุ จะมีการคำนวณเกณฑก์ าร การเพาะเลย้ี ง
ชี้วัดขอ้ น้ี ถ้ามีจำนวนครัวเรอื นประมง สตั วนำ้
ขนาดเลก็ รวมกบั ขนาดกลาง - ใหญ่ หมายเหตุ ค่าเกณฑ์
มากร้อยละ 20 ของจำนวนครัวเรอื น การชีว้ ดั ของขอ้ น้ไี ด้
ท้ังหมด และครัวเรือนประมงขนาด จากคะแนนตำ่ สดุ
กลาง - ใหญ่ มากกวา่ รอ้ ยละ 5 ของ ระหวา่ งดชั นีของ
ครัวเรอื นทงั้ หมด การเพาะเลี้ยงสตั ว
วธิ คี ำนวณ นำ้ กรอ่ ย นำ้ ทะเล
รอ้ ยละ = ( (2) + (3) ) x = และนำ้ จดื 3
100 .....
การเพาะเลย้ี งสัตว 2
(1) นำ้ กร่อย นำ้ ทะเล 1
เกณฑ์ที่ใชวัด 3
(ถา้ คำนวณได้น้อยกว่ารอ้ ยละ 20 ให้ การเพาะเลย้ี งสัตว 2
นำ้ กรอ่ ย น้ำทะเลถา้
ขา้ มไปพิจารณาข้อ ค.) มรี ายได้ตำ่ กว่า
85,200 บาท ให้ใช้
(1) ครัวเรอื นประมงทะเลขนาด เกณฑ์ของการ
เพาะเลย้ี งสัตว์นำ้ จดื
เลก็ มรี ายได้เฉลยี่ รายได้ตอ่ ครัวเรอื น
มากกว่า 1.5 แสน
............................บาทต่อปี บาท/ปี
(คำถามขอ้ 17.3.1.1 (2)) รายได้ตอ่ ครวั เรอื น
1 - 1.5 แสนบาท/
(2) ครัวเรอื นประมงทะเลขนาด ปี
กลาง - ใหญ่ มีรายได้เฉลี่ย รายไดต้ ่อครัวเรือน
น้อยกว่า 1 แสน
...................บาทต่อปี
(คำถามข้อ 17.3.1.2 (2)
(3) มคี รัวเรอื นทที่ ำประมงนำ้ จดื
...........................ครัวเรือน
(คำถามข้อ 17.3.2 (1))
วธิ คี ำนวณ
รอ้ ยละ = (2) x 100 =
(1) ............
(ถ้าคำนวณไดน้ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ 20 ให้ บาท/ปี
การเพาะเลย้ี งสัตว
ข้ามไปพิจารณาข้อ ง.)
หมายเหตุ จะไมม่ ีการคำนวณเกณฑ์ช้ี น้ำจดื
วดั ขอ้ น้ี ถ้ามีจำนวนครัวเรือนท่ปี ระมง รายไดต้ อ่ ครัวเรือน
น้ำจดื น้อยกว่าร้อยละ 10 ของ มากกว่า 42,600
บาท/ปี
ครวั เรือนทั้งหมด
รายไดต้ อ่ ครัวเรือน
(1) ครัวเรอื นทั้งหมด
..........................ครัวเรือน 21,300 -
42,600 บาท/ปี
(คำถามขอ้ 1.1)
(2) ครวั เรือนประมงน้ำจดื มี รายได้ตอ่ ครัวเรือน
รายได้เฉลยี่ ครัวเรอื นละ นอ้ ยกวา่ 21,300 1
............................บาทต่อปี บาท/ปี
(คำถามข้อ 17.3.2 (2)
188