The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การพัฒนาเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพื้นฐาน
ระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) เป็นเครื่องมือในการวางแผนพัฒนาให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ และจะมีการปรับปรุงทุก ๆ 5 ปี ในปี พ.ศ. 2565 เป็นปีเริ่มต้นของแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (2565 - 2569) จึงมีความจำเป็นต้องใช้เครื่องชี้วัด เกณฑ์ชี้วัดและ
แบบสอบถามชุดใหม่สำหรับจัดเก็บข้อมูล จปฐ. และข้อมูล กชช. 2ค ให้สอดคล้องกับเป้าหมาย
การพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) และแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561 – 2580) และการควบคุม
คุณภาพการจัดเก็บข้อมูลและรูปแบบการรายงานด้วยระบบสารสนเทศที่รองรับความต้องการของทุก
ภาคส่วน การศึกษาครั้งนี้มีวิธีศึกษาจากการวิเคราะห์ประมวลผลจากการสอบถามความคิดเห็นผู้ใช้ข้อมูล
จปฐ. และข้อมูล กชช. 2ค เกี่ยวกับปัญหาและความต้องการของผู้ใช้ข้อมูล (ส่วนภูมิภาค) กระจายตาม
ภูมิภาค จำนวน 8 จังหวัด จังหวัดละ 5 หน่วยงาน รวม 40 หน่วยงาน และการวิเคราะห์ประมวลผลจาก
ประชุมรับฟังความคิดเห็นของคณะทำงานปรับปรุงเครื่องชี้วัดคุณภาพชีวิตของประชาชน และ
คณะกรรมการอำนวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน (พชช.)
ผลการศึกษา พบว่า การใช้แบบสอบถามข้อมูล จปฐ. และแบบสอบถามข้อมูล กชช. 2ค
สำหรับใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ปรับระยะเวลาการเริ่มใช้ให้สอดคล้อง
กับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 13 และแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี จึงเริ่มใช้ระหว่าง
พ.ศ.2566 – 2570 เครื่องชี้วัดข้อมูล จปฐ. ที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูลช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติฉบับที่ 13 ( พ.ศ.2566 - พ.ศ. 2570) ประกอบด้วย 5 หมวด 38 ตัวชี้วัด ได้แก่ หมวดที่ 1
สุขภาพ มี 12 ตัวชี้วัด หมวดที่ 2 มาตรฐานความเป็นอยู่ มี 9 ตัวชี้วัด หมวดที่ 3 การศึกษา มี 5 ตัวชี้วัด
หมวดที่ 4 เศรษฐกิจ มี 4 ตัวชี้วัด และหมวดที่ 5 การคุ้มครองทางสังคมและการมีส่วนร่วม มี 8 ตัวชี้วัด
และเครื่องชี้วัดข้อมูล กชช. 2ค สำหรับใช้ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13
(พ.ศ. 2566 - 2570) ประกอบด้วย 7 หมวด 44 ตัวชี้วัด ดังนี้ หมวดที่ 1 โครงสร้างพื้นฐาน มี 10
ตัวชี้วัด หมวดที่ 2 สภาพพื้นฐานทางเศรษฐกิจ มี 10 ตัวชี้วัด หมวดที่ 3 สุขภาวะและอนามัย มี 7
ตัวชี้วัด หมวดที่ 4 ความรู้และการศึกษา มี 4 ตัวชี้วัด หมวดที่ 5 การมีส่วนร่วมและความเข้มแข็ง
ของชุมชน มี 5 ตัวชี้วัด หมวดที่ 6 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มี 5 ตัวชี้วัด และหมวดที่ 7
ความเสี่ยงของชุมชนและภัยพิบัติ มี 3 ตัวชี้วัด สำหรับกลไกและกระบวนการบริหารจัดเก็บข้อมูลให้มี
คุณภาพ ต้องมีกลไกควบคุมคุณภาพในทุกระดับ ดังนี้ คณะกรรมการอำนวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิต
ของประชาชน (พชช.) คณะทำงานบริหารการจัดเก็บข้อมูลฯ ระดับจังหวัด คณะทำงานบริหารการจัดเก็บ
ข้อมูลฯ ระดับอำเภอ คณะทำงานบริหารการจัดเก็บข้อมูลฯ ระดับตำบล และคณะผู้จัดเก็บข้อมูลระดับ
หมู่บ้าน โดยมีกระบวนการที่มีคุณภาพ ดังนี้การสร้างความรู้ความเข้าใจ การออกแบบวิธีการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล การบันทึกและประมวลข้อมูล การตรวจทานข้อมูล และการนำเสนอข้อมูลเพื่อการใช้
ประโยชน์ร่วมกันในทุกระดับ ข้อเสนอแนะเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บข้อมูลควรให้คนในชุมชนและ
องค์กรหน่วนงานที่เกี่ยวข้องเห็นความสำคัญในการให้ข้อมูลและการจัดเก็บข้อมูลโดยการสร้างการมี
ส่วนร่วมในการจัดเก็บข้อมูล และควรมีการฝึกอบรมและเพิ่มองค์ความรู้ให้กับผู้จัดเก็บข้อมูลอย่างเข้มข้น
รวมทั้งการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรับทราบถึงระยะเวลาในการจัดเก็บข้อมูลรวมกันทั้งประเทศ

คำสำคัญ: คุณภาพชีวิตประชาชน,ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.),ข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by vasusamran55, 2021-07-01 09:24:14

โครงการจัดทำเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.)และข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) ฉบับที่ 13 (พ.ศ.2565-2569)

การพัฒนาเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพื้นฐาน
ระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) เป็นเครื่องมือในการวางแผนพัฒนาให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ และจะมีการปรับปรุงทุก ๆ 5 ปี ในปี พ.ศ. 2565 เป็นปีเริ่มต้นของแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (2565 - 2569) จึงมีความจำเป็นต้องใช้เครื่องชี้วัด เกณฑ์ชี้วัดและ
แบบสอบถามชุดใหม่สำหรับจัดเก็บข้อมูล จปฐ. และข้อมูล กชช. 2ค ให้สอดคล้องกับเป้าหมาย
การพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) และแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561 – 2580) และการควบคุม
คุณภาพการจัดเก็บข้อมูลและรูปแบบการรายงานด้วยระบบสารสนเทศที่รองรับความต้องการของทุก
ภาคส่วน การศึกษาครั้งนี้มีวิธีศึกษาจากการวิเคราะห์ประมวลผลจากการสอบถามความคิดเห็นผู้ใช้ข้อมูล
จปฐ. และข้อมูล กชช. 2ค เกี่ยวกับปัญหาและความต้องการของผู้ใช้ข้อมูล (ส่วนภูมิภาค) กระจายตาม
ภูมิภาค จำนวน 8 จังหวัด จังหวัดละ 5 หน่วยงาน รวม 40 หน่วยงาน และการวิเคราะห์ประมวลผลจาก
ประชุมรับฟังความคิดเห็นของคณะทำงานปรับปรุงเครื่องชี้วัดคุณภาพชีวิตของประชาชน และ
คณะกรรมการอำนวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน (พชช.)
ผลการศึกษา พบว่า การใช้แบบสอบถามข้อมูล จปฐ. และแบบสอบถามข้อมูล กชช. 2ค
สำหรับใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ปรับระยะเวลาการเริ่มใช้ให้สอดคล้อง
กับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 13 และแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี จึงเริ่มใช้ระหว่าง
พ.ศ.2566 – 2570 เครื่องชี้วัดข้อมูล จปฐ. ที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูลช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติฉบับที่ 13 ( พ.ศ.2566 - พ.ศ. 2570) ประกอบด้วย 5 หมวด 38 ตัวชี้วัด ได้แก่ หมวดที่ 1
สุขภาพ มี 12 ตัวชี้วัด หมวดที่ 2 มาตรฐานความเป็นอยู่ มี 9 ตัวชี้วัด หมวดที่ 3 การศึกษา มี 5 ตัวชี้วัด
หมวดที่ 4 เศรษฐกิจ มี 4 ตัวชี้วัด และหมวดที่ 5 การคุ้มครองทางสังคมและการมีส่วนร่วม มี 8 ตัวชี้วัด
และเครื่องชี้วัดข้อมูล กชช. 2ค สำหรับใช้ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13
(พ.ศ. 2566 - 2570) ประกอบด้วย 7 หมวด 44 ตัวชี้วัด ดังนี้ หมวดที่ 1 โครงสร้างพื้นฐาน มี 10
ตัวชี้วัด หมวดที่ 2 สภาพพื้นฐานทางเศรษฐกิจ มี 10 ตัวชี้วัด หมวดที่ 3 สุขภาวะและอนามัย มี 7
ตัวชี้วัด หมวดที่ 4 ความรู้และการศึกษา มี 4 ตัวชี้วัด หมวดที่ 5 การมีส่วนร่วมและความเข้มแข็ง
ของชุมชน มี 5 ตัวชี้วัด หมวดที่ 6 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มี 5 ตัวชี้วัด และหมวดที่ 7
ความเสี่ยงของชุมชนและภัยพิบัติ มี 3 ตัวชี้วัด สำหรับกลไกและกระบวนการบริหารจัดเก็บข้อมูลให้มี
คุณภาพ ต้องมีกลไกควบคุมคุณภาพในทุกระดับ ดังนี้ คณะกรรมการอำนวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิต
ของประชาชน (พชช.) คณะทำงานบริหารการจัดเก็บข้อมูลฯ ระดับจังหวัด คณะทำงานบริหารการจัดเก็บ
ข้อมูลฯ ระดับอำเภอ คณะทำงานบริหารการจัดเก็บข้อมูลฯ ระดับตำบล และคณะผู้จัดเก็บข้อมูลระดับ
หมู่บ้าน โดยมีกระบวนการที่มีคุณภาพ ดังนี้การสร้างความรู้ความเข้าใจ การออกแบบวิธีการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล การบันทึกและประมวลข้อมูล การตรวจทานข้อมูล และการนำเสนอข้อมูลเพื่อการใช้
ประโยชน์ร่วมกันในทุกระดับ ข้อเสนอแนะเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บข้อมูลควรให้คนในชุมชนและ
องค์กรหน่วนงานที่เกี่ยวข้องเห็นความสำคัญในการให้ข้อมูลและการจัดเก็บข้อมูลโดยการสร้างการมี
ส่วนร่วมในการจัดเก็บข้อมูล และควรมีการฝึกอบรมและเพิ่มองค์ความรู้ให้กับผู้จัดเก็บข้อมูลอย่างเข้มข้น
รวมทั้งการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรับทราบถึงระยะเวลาในการจัดเก็บข้อมูลรวมกันทั้งประเทศ

คำสำคัญ: คุณภาพชีวิตประชาชน,ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.),ข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค)

รายงานฉบบั สมบูรณโ์ ครงการจัดทำเคร่ืองช้ีวัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพ้ืนฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพ้นื ฐาน
ระดับหมูบ่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ยอมรับทั้งในระดับชาติและนานาชาติ รวมถึงยังมีหลักสูตรการเรียนการสอนในเรื่องเกี่ยวข้อง ในการนี้
สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จึงขอย่ืน
ข้อเสนอเทคนิคและข้อเสนอราคาพร้อมเอกสารต่อกรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย เพ่ือ
วิเคราะห์ร่างเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูล จปฐ. และข้อมูล กชช. 2ค ของกรมการพัฒนา ชุมชน
ให้มีความสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) และแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และจัดทำ
ร่างแนวทางและขั้นตอนสร้างความเช่ือม่ัน (Reliability) ในการจัดทำแบบสอบถามและเกณฑ์ชี้วดั ขอ้ มลู
จปฐ. และแบบสอบถามและเกณฑ์การจัดระดับการพัฒนาหมู่บ้าน สำหรับข้อมูล กชช. 2ค ต่อไปได้
อยา่ งถูกต้อง

วตั ถุประสงค์
1. จัดทำเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพืน้ ฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพื้นฐาน
ระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) และจัดทำแนวทางและขั้นตอนสร้างความเชื่อมั่น (Reliability) ตามหลัก
วิชาการทางสถิติ สำหรับใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 -
2569)
2. พฒั นารปู แบบควบคุมคุณภาพการจัดเกบ็ ข้อมูล จปฐ. และข้อมลู กชช. ๒ค ท่เี ป็นไปตาม
หลกั วิชาการ และมีความสอดคลอ้ งกบั บรบิ ทของชมุ ชน
3. พัฒนารูปแบบการรายงานข้อมูล จปฐ. และข้อมูล กชช.๒ ค ด้วยระบบสารสนเทศที่
รองรบั ความตอ้ งการของทุกภาคสว่ น
เปา้ หมายความสำเร็จของโครงการ
เคร่ืองชวี้ ัด เกณฑช์ วี้ ัดและข้อคำถามสำหรบั จัดเกบ็ ข้อมลู จปฐ. และข้อมูล กชช. 2ค เพื่อใช้
ในการวิเคราะห์แนวโน้มการพัฒนาคุณภาพชีวิต และข้อเสนอแนวทางควบคุมคุณภาพการจัดเก็บข้อมูล
และรูปแบบการรายงานดว้ ยระบบสารสนเทศทร่ี องรบั ความต้องการของทุกภาคสว่ น
ผลทคี่ าดว่าจะได้รบั
1. กรมการพัฒนาชุมชนมีเครื่องชี้วัด เกณฑ์ชี้วัดและข้อคำถามสำหรับจัดเก็บข้อมูล จปฐ.
และขอ้ มูล กชช. 2ค เพอ่ื ใชใ้ นการวิเคราะห์แนวโนม้ การพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ
2. กรมการพัฒนาชุมชนมีแนวทางควบคุมคุณภาพการจัดเก็บข้อมูล และรูปแบบการรายงาน
ด้วยระบบสารสนเทศที่รองรับความตอ้ งการของทุกภาคส่วน
ครั้งนี้เป็นการนำเสนอรายงานความก้าวหน้า (Progress Report) ฉบับนี้ เป็นการรายงาน
กรอบแนวคิด แนวทาง และวิธีการศึกษา แผนการดำเนินงาน ขั้นตอนการดำเนินงาน และการบริหาร
โครงการ รวมทั้งการวิเคราะห์ร่างเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูล จปฐ. และข้อมูล กชช. 2ค ของ
กรมการพัฒนา ชุมชน ให้มีความสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาทีย่ ัง่ ยืน (SDGs) และแผนยุทธศาสตร์
ชาติ 20 ปี และจดั ทำร่างแนวทางและขน้ั ตอนสรา้ งความเชอื่ มนั่ (Reliability) ในการจัดทำแบบสอบถาม
และเกณฑ์ชี้วัดข้อมูล จปฐ. และแบบสอบถามและเกณฑ์การจัดระดับการพัฒนาหมู่บ้าน สำหรับข้อมูล
กชช. 2ค เพื่อให้คณะกรรมการพจิ ารณาดำเนินการในส่วนทเี่ กีย่ วข้องต่อไป

559

รายงานฉบับสมบูรณโ์ ครงการจัดทำเครื่องชีว้ ัดและแบบสอบถามข้อมลู ความจำเปน็ พ้ืนฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พื้นฐาน
ระดบั หมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ระเบยี บวาระที่ 3 เรื่องเสนอใหท้ ่ีประชุมพิจารณา

3.1 ขอ้ คดิ เห็นตอ่ ร่างแบบจัดเก็บขอ้ มลู ความจำเปน็ พนื้ ฐาน ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบบั ที่
13 (พ.ศ.2565 - 2569) ดงั นี้

หมวดที่ 1 สุขภาพ มี 10 ตัวชี้วัด

ตวั ชีว้ ดั ข้อเสนอแนะในทีป่ ระชุม

1. เดก็ แรกเกดิ มีน้ำหนัก 2,500 กรัม - ควรระบชุ ว่ งอายุของเด็กแรกเกดิ ใหช้ ัดเจนวา่ เด็กแรกเกดิ
ข้นึ ไป คอื เด็กอายุกเ่ี ดือน และการให้เพมิ่ คำตอบให้โดยระบุ วัน
เดือน ปเี กดิ ของเด็กแรกเกิดด้วย

2. เด็กแรกเกดิ ได้กินนมแม่อย่างเดียว
อย่างน้อย 6 เดือนแรกติดต่อกนั

3. เด็กแรกเกดิ ถึง 12 ปี ไดร้ ับวัคซนี - ควรมกี ารเช่ือมโยงกับกระทรวงสาธารณสุข (รพสต.) เช่น
ปอ้ งกนั โรคครบตามตารางสร้างเสรมิ ข้อมูลวัคซีน เพือ่ นำข้อมูลส่วนนี้มาใช้
ภูมิคมุ้ กนั โรค

4. ครัวเรอื นกนิ อาหารถูกสุขลกั ษณะ
ปลอดภยั และได้มาตรฐาน

5. ครัวเรอื นมีความรูแ้ ละป้องกนั ตนเอง
เพ่อื ควบคุมปัจจัยเส่ียงท่ีคกุ คามสุขภาวะ

6. ครัวเรอื นสามารถดแู ลตนเอง/
สมาชกิ เมื่อมอี าการเจ็บป่วยเบือ้ งต้น

7. คนอายุ 6 ปขี นึ้ ไป ออกกำลังกาย - กรณที ี่บ้านมีผปู้ ว่ ยติดเตยี ง และไมส่ ามารถจะออกกำลงั
อยา่ งน้อยสปั ดาหล์ ะ 3 วัน ๆ ละ 30 กายได้ สปั ดาหล์ ะ 3 วนั วนั ละ 30 นาที (หมวด 1 ข้อ
นาที 7) ถ้าเปน็ ลกั ษณะน้ี ครัวเรือนจะตกเกณฑเ์ รือ่ งสุขภาพ

แมค้ นอ่ืน ๆ จะออกกำลงั กายไดค้ รบหมด
- ควรมีเงื่อนไขเพิ่มเติมในกรณีทม่ี ีผู้สูงอายุตดิ เตียง 6 ปีขนึ้

ไปและมีความสามารถท่จี ะออกกำลงั กายได้

8. ผ้ปู ่วยตดิ เตยี งไดร้ ับการดูแลจาก
ครอบครัว ชมุ ชน ภาครัฐ หรอื
ภาคเอกชน

9. คนในครัวเรอื นมีประกันสุขภาพ/
สทิ ธริ ักษาพยาบาล และทราบสถานท่ีใช้
บริการตามสทิ ธิ

10. คนอายุ 35 ปขี ึ้นไป ไดร้ ับการตรวจ
สุขภาพประจำปี

560

รายงานฉบับสมบูรณโ์ ครงการจัดทำเคร่ืองช้วี ดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพนื้ ฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพืน้ ฐาน
ระดบั หมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

หมวดท่ี 2 มาตรฐานความเปน็ อยู่ (10 ตวั ชี้วัด)

ตวั ชีว้ ัด ขอ้ เสนอแนะในท่ีประชุม

11. ครวั เรอื นมีความมัน่ คงในทีอ่ ยู่ - ควรเพมิ่ ข้อคำถามเกย่ี วกับการถือครองกรรมสทิ ธทิ์ ่ีดิน

อาศยั บา้ นมีสภาพคงทนถาวร และ เพม่ิ กระทรวงทรัพยากรและการเกษตร และมหาดไทยที่

อยู่ในสภาพแวดล้อมทีเ่ หมาะสม เกยี่ วข้อง

12. ครัวเรือนมนี ้ำสะอาดสำหรบั ด่มื

และบรโิ ภคเพยี งพอตลอดปี อย่างน้อย

คนละ 5 ลติ รตอ่ วนั

13. ครวั เรือนมีนำ้ ใชเ้ พียงพอตลอดปี

อย่างน้อยคนละ 45 ลติ รตอ่ วัน

14. ครวั เรอื นมีการจดั บ้านเรือนเป็น

ระเบยี บเรยี บรอ้ ย สะอาด และถูก

สุขลกั ษณะ

15. ครวั เรือนไม่ถูกรบกวนจากมลพิษ - การวดั คุณภาพชวี ิตของครัวเรือนในกรณีถูกรบกวนจาก

มลพิษ หนว่ ยงานใดจะสามารถเขา้ มาแก้ไขปัญหาได้บ้าง

ในขณะเดียวกันหากครัวเรอื นไมถ่ ูกรบกวนจากมลพิษก็เปน็

การสะท้อนการทำงานทดี่ ีของหนว่ ยงานทีเ่ ก่ยี วข้อง

- แหลง่ มลพษิ อาจไม่ไดอ้ ยู่ในหมูบ่ า้ น แตม่ นั รบกวนหมูบ่ า้ น

หน่วยงานทเี่ กยี่ วข้องต้องไปแสวงหาต้นตอและแก้ไข

16. ครัวเรือนมีการปอ้ งกันอุบตั ิภัย

อยา่ งถูกวิธี และมีการเตรยี มความพร้อม

รับมือกบั ภยั พิบัติ

17. ครวั เรือนมีความปลอดภัยในชีวติ - การรับเรื่องราวร้องทุกข์มีหน่วยงานอนื่ เก่ยี วข้องด้วย

และทรัพยส์ ิน ได้รับการดูแลอย่างทว่ั ถึง การรบั รคู้ วามมน่ั คงปลอดภยั

ความอุ่นใจ การสรา้ งความเชื่อมั่นต่อประชาชน บรกิ ารท่ี

ทั่วถึง ไม่เลือกปฏบิ ตั ิ (แล้วได้รบั การดูแลจากหน่วยงานของ

รฐั หรอื ไม่อย่างไรหากไม่มีความเชอ่ื มน่ั ......)

18. ครวั เรือนเข้าถงึ และใชบ้ ริการ - ควรเพ่มิ ประเด็นคำถามเก่ยี วกบั ความสามารถในการ

โทรศัพทเ์ คลือ่ นท่ีและอินเทอร์เน็ต จ่ายค่าอนิ เทอรเ์ นต็ ตอ่ เดือน

19. ครวั เรอื นไดร้ ับบริการจัดเก็บขยะ - เพิม่ ประเดน็ ครัวเรอื นไดร้ บั ความรู้ ขอ้ แนะนำการคัด

มูลฝอยเป็นประจำและการกำจัดขยะมลู แยกขยะจากครัวเรอื น เพ่ือสุขลกั ษณะ

ฝอยทถี่ ูกสขุ ลกั ษณะ

20. ครัวเรือนเขา้ ถงึ บริการขนสง่ - ควรระบรุ ะยะทางหรือระยะเวลาในการเข้าถึงบรกิ าร

สาธารณะ ขนสง่ สาธารณะ เช่น สามารถเขา้ ถึงบริการขนสง่ สาธารณะ

ได้ใน 20 กิโลเมตร หรือภายใน 30 นาที

561

รายงานฉบบั สมบูรณโ์ ครงการจัดทำเคร่อื งชีว้ ัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พืน้ ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพื้นฐาน
ระดบั หมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

หมวดที่ 3 การศกึ ษา (6 ตวั ชว้ี ดั )

ตัวชวี้ ัด ขอ้ เสนอแนะในทป่ี ระชุม

21. เด็กอายตุ ำ่ กว่า 5 ปี มีพัฒนาการ - 21.1 ใหเ้ ปล่ียนเด็กเดก็ อายตุ ่ำกว่า 5 ปี เป็น อายตุ ่ำ

ด้านสขุ ภาพ การเรียนรู้และพัฒนาการ กว่า 6 ปีและให้คำนยิ าม เดก็ ก่อนวัยเรยี น

ทางบุคลิกภาพตามวัย - 21.3 อัพเดทข้อมลู ชอ่ื ศนู ย์พัฒนาเดก็ เล็ก ปรับคำท่ี

ถกู ต้อง ให้ตรง ใชช้ ่อื ภาพรวม

22. เดก็ อายุ 6 - 14 ปี ไดร้ บั การศึกษา - ควรระบุอายุ ช่วงอายุเดก็ เพิ่มนิยามเพ่ือให้ครอบคลุม

ภาคบงั คบั 9 ปี เด็กทุกช่วงวยั

23. เด็กจบชัน้ ม.3 ไดเ้ รียนต่อช้นั ม.4

หรือเทียบเทา่

24. คนในครัวเรือนทีจ่ บการศกึ ษาภาค

บังคับ 9 ปี ท่ไี ม่ได้เรียนต่อและยังไมม่ ี

งานทำ ไดร้ ับการฝกึ อบรมดา้ นอาชีพ

25. คนอายุ 15 - 59 ปี อา่ น เขยี น

ภาษาไทย และคดิ เลขอย่างงา่ ยได้

26. เยาวชน/ผูใ้ หญม่ ีทกั ษะทางดา้ น - ควรเพ่ิมประเด็นเก่ยี วกับการเพิ่มพนู ทกั ษะสารสนเทศ

เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร สมรรถนะดา้ นดิจิทลั

- ควรเพิ่มประเด็น digital literacy ท้งั ในระดบั บุคคล

และครวั เรือน

- ตัวชีว้ ัดทเ่ี กย่ี วกับทกั ษะด้านเทคโนโลยี และการสื่อสาร

กย็ ังไมส่ ามารถสะท้อนทกั ษะข้ันต่ำทค่ี วรมีเพื่อใหเ้ ขา้ ถึง

ข้อมลู ข่าวสารได้ อยา่ งเหมาะสม

หมวดที่ 4 เศรษฐกิจ (4 ตัวชี้วัด)

ตัวชี้วัด ขอ้ เสนอแนะในท่ีประชมุ

27. คนอายุ 15-59 ปี มีอาชพี และรายได้ -

28. คนอายุ 60 ปี ขน้ึ ไป มอี าชีพและ - ควรมีการใหร้ ะบคุ ำตอบว่าต้องการฝกึ อบรมอาชีพด้านใด

รายได้ - ควรมีการท่ีมารายได้ของผูส้ ูงอายุมาจากแหลง่ ใด จาก

การทำงาน จากสวัสดิการของรัฐ หรอื จากการสง่ เสยี ของ

บตุ รหลาน

- ควรมีการวัดรายไดว้ า่ เพยี งพอ/ ไม่เพียงพอ ต่อการดำรง

ชีพของผ้สู ูงอายุ

29. รายไดเ้ ฉลย่ี ของคนในครัวเรอื นตอ่ ปี - ขาดคา่ ใช้จา่ ย หนส้ี นิ ทรพั ย์สนิ ควรระบอุ าชีพ เกษตร

อุตสาหกรรม บริการ เพ่ือใชป้ ระโยชนเ์ ชงิ นโยบาย

- การครอบครองทีด่ ิน ท่ีไม่ใช่ทีอ่ ยู่อาศัย

562

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจดั ทำเครอ่ื งช้ีวดั และแบบสอบถามข้อมลู ความจำเป็นพนื้ ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพน้ื ฐาน
ระดบั หมูบ่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตวั ชีว้ ดั ข้อเสนอแนะในท่ปี ระชมุ
30. ครัวเรือนมกี ารเกบ็ ออมเงนิ
- ภาระหนสี้ นิ ประเภทหน้ี ช่วง....
- การครอบครองยานพาหนะ
- เพื่อการดูแลผมู้ ีรายได้น้อย คนจนไมจ่ ริง
- ภาระค่าใช้จ่ายต่อเดือน การมเี งินเกบ็ เส้นความยากจน
การครองชีพ เช่น ค่าใชจ้ ่ายซื้อ สาธารณูปโภค ค่าเช่า
คา่ ผ่อนชำระ
- สถานะการมีประกันสงั คม
- สวัสดิการที่ได้รบั บัตรสวสั ดิการ เบ้ียผสู้ งู อายุ คนพิการ เด็ก
แรกเกิด
- ผลลัพธ์ค่าน้ำหนักค่าคะแนน เพื่อการวิเคราะห์ ใช้
ประโยชนต์ ่อไป
- หนี้ในระบบ หน้ีนอกระบบ ความสามารถในการบริการหนี้
- การเข้ารว่ มวิสาหกจิ ชุมชน การเข้าถึงแหลง่ ทุน กองทุน
ชุมชน
- ควรมีการให้ระบุคำตอบว่าต้องการฝึกอบรมอาชีพด้านใด
- รายได้เฉลี่ย แยกเป็นรายได้หลัก รายได้เสริม รายได้รอง
เพื่อใช้ประโยชน์การจดั ทำมาตรการชว่ ยเหลือ
- การให้คำนิยามทุกที่มาของรายได้
- การเข้าถงึ แหลง่ ทุน แยก/จำแนกใหช้ ดั เช่น ธนาคาร
กองทุนระบบราชการ กองทุนในหมบู่ ้าน

- การออมเงนิ ในครัวเรอื นควรใหร้ ะบเุ ปน็ ช่วง

หมวดที่ 5 การค้มุ ครองทางสังคมและการมีส่วนร่วม (8 ตัวชีว้ ัด)

ตัวชี้วดั ข้อเสนอแนะในทป่ี ระชมุ

31. เด็กแรกเกิด - 6 ปีที่ครัวเรือนมี - 100,000 ยงั ไม่แนน่ อน

รายได้เฉลี่ยไม่เกิน 100,000 บาทต่อ

คนต่อปี ไดร้ ับเงนิ อดุ หนุนจากภาครฐั

32. ครัวเรือนที่มีรายได้เฉลี่ยไม่เกิน - รายได้เฉลี่ย ใช้ใครในการคำนวน ให้นิยามสมาชิกใน

100,000 บาทต่อคนต่อปีและมีสมาชิก ครัวเรือนให้ชัดเจน ใช้เกณฑ์อะไรในการคำนวน นิยามคำ

ที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์บัตรสวัสดิการ วา่ ครวั เรือน/ครอบครวั **ใชฐ้ านกระทรวงการคลัง

แหง่ รัฐ ไดร้ ับเงนิ สวัสดกิ ารจากรัฐ

33. ครัวเรอื นทส่ี มาชกิ ประกอบอาชีพ

และมีรายได้ เกษียณหรือออกจากงาน

ได้รับการคมุ้ ครองตามระบบและ

563

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจดั ทำเคร่ืองชว้ี ดั และแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเป็นพ้นื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พน้ื ฐาน
ระดบั หมูบ่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตัวชวี้ ัด ขอ้ เสนอแนะในทีป่ ระชมุ
มาตรการคุ้มครองทางสงั คม จากภาครัฐ
และหรอื ชมุ ชน ภาคเอกชน - เพิม่ ประเด็นคนพิการมีอาชีพและรายได้ สามารถพึ่งพา
34. ผู้สงู อายุไดร้ ับการดูแลจาก ตนเองไดห้ รือไม่
ครอบครัว ชุมชน ภาครัฐ หรือ - เพม่ิ รูปแบบครอบครัววา่ เป็นลักษณะใด แม่เลี้ยงเดี่ยว
ภาคเอกชน ครอบครวั แหว่งกลาง ครอบครวั เด่ยี ว ขยาย ครอบครวั
35. ผู้พกิ ารได้รับการดูแลจากครอบครวั LGBT ครอบครวั อปุ ถัมภ์ หรือครอบครวั บุญธรรม
ชมุ ชน ภาครฐั หรอื ภาคเอกชน - เพม่ิ คำว่า เขา้ รว่ มปฏบิ ัติกจิ กรรม... ร่วมกบั ครอบครัว
36. ครอบครัวมีความอบอุ่น ชมุ ชน โรงเรียน

37. คนอายุ 6 ปีข้นึ ไป ปฏิบตั ิกิจกรรม
ทางศาสนาอยา่ งน้อยสัปดาห์ละ 1 ครงั้
38. ครัวเรือนมีส่วนร่วมทำกิจกรรม
สาธารณะเพื่อประโยชน์ของชุมชนหรอื
ท้องถิ่น

- ควรเพิ่มประเด็น เงินช่วยเหลือประเภทต่าง ๆ ที่อาจได้รับ เช่น สวัสดิการทหาร
ผา่ นศกึ หรอื เงินที่บดิ ามารดาไดร้ ับจากการทบ่ี ุตรเปน็ ทหารเสียชวี ิต เป็นต้น

- ควรเพิ่มประเด็นกระบวนการให้ความช่วยเหลือผู้ที่พ้นโทษ ให้สามารถอยู่ในสังคม
ได้ เช่น การส่งเสริมการมีงานทำ / หลังพน้ โทษประกอบอาชีพอะไร / รายไดต้ อ่ เดือน เป็นตน้

3.2 ข้อคดิ เหน็ ต่อร่างเคร่ืองชี้วัดและแบบสอบถามข้อมลู กชช. 2ค ในช่วงแผนพัฒนาฯ
ฉบับที่ 13 (พ.ศ.2565-2569)

หมวดที่ 1 โครงสร้างพน้ื ฐาน (11 ตัวชี้วดั )

ตัวชีว้ ัด ขอ้ เสนอแนะจากการประชุม

1. ถนน - ควรเพ่ิมหน่วยงานองคก์ รปกครองท้องถนิ่ (อปท.) เขา้ มา
2. น้ำด่ืม
เปน็ หน่วยงานรับผดิ ชอบหลักร่วมกบั กระทรวงคมนาคม

- ควรเพ่มิ คำถาม ลกั ษณะและคณุ ภาพของถนนในชมุ ชน/

หมบู่ ้าน

- ควรเพมิ่ คำถาม การเขา้ ถึงถนนสาธารณะ ใช้ระยะเวลา

กี่นาที และใชร้ ะยะทางกี่กิโลเมตร

- ควรปรับข้อคำถามให้ลงรายละเอียดมากขึ้น 1) ท่านมี

น้ำดื่มสะอาดเพื่อใช้ในการบริโภคหรือไม่ 2) กรณีที่มีใช้

เป็นน้ำดื่มประเภทใด 3) มาจากแหล่งใด

564

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเครอื่ งช้ีวัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเป็นพน้ื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พื้นฐาน
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ช่วงแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตัวชี้วดั ขอ้ เสนอแนะจากการประชุม

3.น้ำใช้ - ควรปรบั ข้อคำถามใหล้ งรายละเอยี ดมากขนึ้ และเรียงเป็น

ลำดับขั้นตอน โดยเริ่มจาก 1) ท่านได้ใช้น้ำประปาหรือไม่

2) ในกรณที ี่มกี ารใช้ ใช้น้ำจากแหล่งใด เช่น ประปา อปท.

ประปานครหลวง ประปาหมบู่ า้ นอืน่ ฯลฯ

4. น้ำเพือ่ การเกษตร ไม่ระบุ

5. ไฟฟ้า และเชื้อเพลิงในการหงุ ตม้ ไมร่ ะบุ

- ควรเพ่มิ กระทรวงพลงั งาน เขา้ มาเปน็ หนว่ ยงาน

รบั ผิดชอบหลัก เพ่ือดแู ลในส่วนของตวั ช้ีวัดเช้อื เพลงิ ใน

การหุงตม้

6.การมที ่ดี นิ ทำกนิ - การมีทดี่ นิ ทำกนิ ควรมองในมิตดิ ้านความม่นั คงด้วย เช่น

1) ในกรณที ่ีมกี ารเช่าท่ีดินทำกนิ สามารถนำมาประกอบ

อาชพี เปน็ ประจำทุกปีหรอื ไม่ 2) ในกรณที ่ีมกี าร

ครอบครองท่ีดนิ โดยมชิ อบด้วยกฎหมาย รฐั มีวิธกี ารผอ่ น

ปรนอยา่ งไร

- ควรให้คำจำกดั ความของคำว่า “การมีทดี่ นิ ทำกิน”

อยา่ งมีขอบเขต และสามารถเหน็ ภาพไดช้ ัดเจน

7.การติดตอ่ สือ่ สาร - ควรเพม่ิ การรับรู้ และการเข้าถึงชอ่ งทางข้อมลู ข่าวสาร

ของรัฐ

8.ศนู ย์พัฒนาเด็กเล็ก - ควรมีการปรับข้อคำถามเป็น หนว่ ยงานท่ีเกยี่ วขอ้ งได้มี

การจัดสวสั ดกิ ารให้ศนู ย์พัฒนาเดก็ เลก็ ไดม้ บี ริการสิง่

เหล่านี้หรือไม่ และมตี วั เลือกเป็น สนามเดก็ เล่น ห้อง

พยาบาล สนามเด็กเลน่ ท่ีจอดยานพาหนะ ฯลฯ

9.ร้านอาหาร และร้านค้า - ควรใหค้ ำนิยามของคำวา่ “รา้ นอาหาร “ เพ่ือให้ทราบ

ขอบเขตและเห็นภาพได้ชัดเจน

- ควรนำตวั ชีว้ ัดร้านอาหารและรา้ นค้า ไปไว้ในหมวดท่ี 2

เนอ่ื งจากสามารถมองในมติ ิทางเศรษฐกิจไดด้ ้วย

- ควรมีการจำแนกประเภทของร้านค้า และในแต่ละ

ประเภทมีจำนวนกร่ี ้าน

10.สิ่งอำนวยความสะดวกคนพิการ - ควรหาตวั เลอื กส่ิงอำนวยความสะดวกคนพิการที่มี

ความเหมาะสม และสอดคล้องกับบรบิ ทของชมุ ชนมากขน้ึ

11.พ้ืนทีส่ าธารณะสเี ขยี ว ไมร่ ะบุ

ไม่ระบุ

เพิม่ เติม - ควรเพ่มิ ข้อมลู พน้ื ฐาน เช่น วัด มสั ยิด โรงเรยี น

โรงพยาบาล ธนาคาร

565

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจดั ทำเครือ่ งชว้ี ดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพ้นื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พ้ืนฐาน
ระดบั หมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

หมวดท่ี 2 สภาพพื้นฐานทางเศรษฐกจิ (7 ตวั ช้ีวัด)

ตัวชีว้ ดั ขอ้ เสนอแนะจากการประชุม

12.การมีงานทำ - ควรเพิม่ ข้อคำถามเกยี่ วกบั แรงงานนอกระบบ และมีการ

ประกอบอาชีพประเภทใดบ้าง
13. การทำงานในสถานประกอบการ - ควรให้คำนยิ าม ของผ้ปู ระกอบการ SME เพ่ือใหท้ ราบ
ขอบเขตและสามารถเหน็ ภาพไดอ้ ยา่ งชดั เจน
14.ผลผลติ จากการทำนา - ใหม้ ีการกำนหนดนิยาม คำว่า “โรงงาน”ตาม พรบ.โรงงาน
15.ผลผลิตจากการทำไร่ ฉบบั ท่ี 2 (2562) มาตรา 4 คือ "โรงงาน" หมายความวา่
16.ผลผลิตการทำเกษตรอ่นื ๆ อาคาร สถานท่ี หรอื ยานพาหนะที่ใช้เคร่ืองจกั รมกี ำลงั รวม
17.การประกอบอตุ สาหกรรมใน ตง้ั แตห่ า้ สบิ แรงม้าหรอื กำลงั เทยี บเทา่ ตัง้ แต่ห้าสบิ แรงม้าขึ้น
ครัวเรือน ไป หรอื ใช้คนงานตงั้ แตห่ ้าสบิ คนขน้ึ ไป โดยใชเ้ ครื่องจักร
18.การท่องเทย่ี ว หรอื ไม่ก็ตามเพ่ือประกอบกจิ การโรงงาน ซึ่งกล่มุ โรงงานน้ี
จะอยูใ่ นการกำกบั ของกระทรวงอุตสาหกรรม
ไมร่ ะบุ
- ควรเพ่ิมประเดน็ ไร่นาสวนผสม ใหม้ ากขึน้
- ควรแยกประเด็นการทำสวนออกมาใหช้ ัดเจน เชน่ สวน
ยาง สวนผลไม้ ฯลฯ
- ควรแยกประเดน็ ตวั ชว้ี ัดการประมง การปศุสตั ว์ ออกมาให้
ชดั เจน
ไม่ระบุ
- ควรมีการระบวุ ่ารายได้จากการทอ่ งเท่ยี วของครัวเรือนเป็น
รายได้หลัก หรือรายไดเ้ สรมิ
- ควรปรบั วิธีในการตอบคำถาม โดยให้ชมุ ชนสามารถ
เลือกตอบได้หลายประเภทของแหล่งท่องเท่ียว
- ควรปรับเพม่ิ ข้อถามให้สะท้อนสาขาการผลติ ที่จะมุ่งพฒั นา
ในแผนฯ 13 อาทิ ภาคเกษตรและเกษตรแปรรูปมูลค่าสงู
การทอ่ งเท่ียวรปู แบบเฉพาะ บทบาทสถาบันเกษตรกร การ
เขา้ ถึงชอ่ งทางการตลาดได้เองอย่างหลากหลาย และ SMEs
ทม่ี ีศักยภาพสงู
- ควรมีการเพิ่มข้อคำถามเกี่ยวกับ เกษตรสมัยใหม่ เกษตร
อจั ฉรยิ ะ การทอ่ งเทีย่ วมูลค่าสูง OTOP มกี ่อี ยา่ ง และอยู่ใน
เกรด ABCD จำนวนเทา่ ใด อยา่ งไร
- ควรเพิ่มตัวชี้วัดด้านการประมง การปศุสัตว์ เข้ามาไว้ใน
หมวดที่ 2 อย่างชัดเจน และในส่วนการประมง ควรแยก
ประเภทประมงหมบู่ า้ น และประมงครัวเรอื น

566

รายงานฉบบั สมบูรณโ์ ครงการจดั ทำเครอื่ งชี้วดั และแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเป็นพน้ื ฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พื้นฐาน
ระดบั หมูบ่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ช่วงแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

หมวดท่ี 3 สุขภาวะและอนามัย (6 ตวั ชีว้ ัด)

ตัวชว้ี ดั ขอ้ เสนอแนะจากการประชุม

19. การปอ้ งกนั โรคติดต่อ ไม่ระบุ

ไม่ระบุ

20.การไดร้ ับความรู้เกย่ี วกับโรคภัย ไม่ระบุ

21.การได้รับบรกิ ารและดแู ลสุขภาพ ไมร่ ะบุ

อนามยั

22.อนามัยส่งิ แวดล้อม ไม่ระบุ

23.ความปลอดภัยในการทำงาน ไมร่ ะบุ

24.การกฬี า - ควรปรบั หัวข้อตวั ชีว้ ัดเปน็ “การกีฬาและการออกกำลัง

กาย” เพ่ือให้ครอบคลมุ มากยิ่งข้ึน

- เพ่ิมตัวเลือกการออกกำลงั กาย เชน่ การวง่ิ ออกกำลังกาย

บรเิ วณถนนในเขตชุมชน

- เพม่ิ ข้อคำถาม ในหมู่บ้านมีสถานทอ่ี อกกำลังกายใดบา้ ง

เชน่ ลานเดก็ เล่นมเี ครอ่ื งโยก ฯลฯ

- ควรเพ่มิ ประเดน็ ธรุ กจิ ด้านกฬี า ฟติ เนส Sport tourism ฯลฯ

- เพิม่ ประเดน็ ในการแยกลักษณะของการออกกำลังกาย

ทัง้ ในรม่ และกลางแจ้ง

หมวดท่ี 4 ความรู้และการศกึ ษา (3 ตัวชวี้ ัด)

ตวั ชี้วดั ข้อเสนอแนะจากการประชุม

25.การให้บริการดา้ นการศึกษา - ควรคงประเด็น การศกึ ษาของประชาชนในแตล่ ะตำบล

และอตั ราการเรยี นต่อของประชาชน

- ควรเพ่ิมประเดน็ financial literacy / digital literacy/

Social Listening (การรจู้ กั เคร่ืองมือ social medias เพื่อ

ป้องการการถูกหลอกลวง หรือ เรยี นรู้ Fake News เปน็ ต้น

- เสนอคำนยิ ามของ การเข้าใจดิจทิ ลั (Digital Literacy)

หมายถึง บุคคลมสี มรรถนะในการเข้าถึง ค้นหา คดั กรอง

วิเคราะห์ สังเคราะห์ จดั การ ประยกุ ต์ใช้ สือ่ สาร สร้าง

แบง่ ปนั และตดิ ตามข้อมลู สารสนเทศได้อยา่ งเหมาะสม

ปลอดภยั มคี วามรับผิดชอบ มีมารยาท เคารพสิทธแิ ละ

กฎหมาย ด้วยเครือ่ งมือและเทคโนโลยีทีเ่ หมาะสมและ

หลากหลาย

- การประเมนิ สมรรถนะ ประกอบดว้ ย 9 หน่วยสมรรถนะ

ไดแ้ ก่ DL1 สทิ ธแิ ละความรบั ผดิ ชอบยคุ ดิจิทลั (Digital

Right) DL2 การเขา้ ถึงดจิ ิทัล (Digital Access) DL3 การ

567

รายงานฉบับสมบรู ณโ์ ครงการจดั ทำเครื่องชวี้ ดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพ้นื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพน้ื ฐาน
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ่วงแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตวั ชี้วดั ขอ้ เสนอแนะจากการประชุม

26.การได้รบั การฝกึ อบรมด้านตา่ ง ๆ ส่อื สารยคุ ดจิ ทิ ัล (Digital Communication) DL4 ความ
ปลอดภัยยคุ ดิจทิ ัล (Digital Safety) DL5 การรูเ้ ท่าทนั สื่อ
27.โอกาสเข้าถึงระบบการศกึ ษาของ และสารสนเทศ (Media and Information Literacy)
คนพิการ DL6 แนวปฏบิ ตั /ิ มารยาทในสังคมดจิ ทิ ัล (Digital
Etiquette) DL7 สขุ ภาพดยี ุคดิจิทลั (Digital Health)
DL8ดจิ ิทลั คอมเมริ ์ซ (Digital Commerce) DL9
กฎหมายดจิ ทิ ลั (Digital Law)

- ควรเพ่ิมหนว่ ยงานรับผิดชอบหลกั ในตวั ชีว้ ดั คือ กระทรวง
แรงงานและกระทรวงศึกษาธิการ
- ควรเพิ่มประเด็นคำถาม การเขา้ ถึงช่องทางการอบรมต่าง ๆ
เชน่ ช่องทางออนไลน์ ฯลฯ
- ควรเพิ่มประเดน็ คำถามในมติ ิของกระทรวงแรงงาน มีความ
ตอ้ งการพฒั นาทักษะอาชีพด้านใด
- ปรับหัวข้อการอบรมใหม้ ีความสอดคล้องกับฐานทรัพยากร
ในพ้นื ที่

ไมร่ ะบุ

หมวดท่ี 5 การมีส่วนรว่ มและความเข้มแขง็ ของชมุ ชน (5 ตวั ชวี้ ดั )

ตวั ชวี้ ัด ข้อเสนอแนะจากการประชุม

28.การรวมกลมุ่ ของประชาชน ไมร่ ะบุ

29.การมสี ว่ นร่วมของชมุ ชน ไมร่ ะบุ

30.ความปลอดภยั ของหม่บู า้ น / ชมุ ชน - ควรเพิ่มประเด็น มีการรวมกลุ่มในการดูแลความปลอดภยั

ในชมุ ชนหรือไม่ และในรูปแบบใด

- ควรเพม่ิ ประเดน็ การแก้ไขขอ้ ขดั แย้งในชมุ ชน เป็นตวั เลอื ก

1) โดยชมุ ชน ไดแ้ ก่ พ่อแกแ่ มแ่ ก่ การแตง่ ตงั้ คณะกรรมการ

ชมุ ชน 2) โดยกระบวนการยตุ ิธรรม เชน่ ภาครฐั

31.การเรียนรู้โดยชมุ ชน - ควรเพ่ิมประเดน็ คำถาม หอ้ งสมุดประจำหมู่บ้าน 1)

ยงั มกี ารดำเนินงานอยู่หรือไม่ 2) หนังสอื หรอื เอกสารมี

การอัพเดทหรือไม่ 3) เคยไปใชบ้ รกิ ารหรอื ไม่ 4) มกี ารใช้

ประโยชน์จากการมีห้องสมดุ ประจำหมูบ่ า้ นหรือไม่

32.การได้รับความคมุ้ ครองทางสังคม - ควรกำหนดขอบเขตของกลุม่ เป้าหมาย ใหม้ ีความ

เฉพาะเจาะจงอยใู่ นกลมุ่ ของผู้มคี วามยากลำบาก

มีการได้รับความค้มุ ครองทางสงั คมจริงหรอื ไม่

568

รายงานฉบับสมบรู ณโ์ ครงการจดั ทำเคร่ืองชวี้ ัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเป็นพ้นื ฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพ้นื ฐาน
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตัวชวี้ ัด ข้อเสนอแนะจากการประชุม

- ประเดน็ การค้ามนษุ ย์มีความละเอยี ดอ่อน ไม่ควรนำมา
เป็นข้อคำถาม

หมวดท่ี 6 ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม (5 ตัวชี้วดั )

ตวั ชวี้ ัด ข้อเสนอแนะจากการประชุม

33.การใชท้ รัพยากรธรรมชาตแิ ละดแู ล ไม่ระบุ

สิง่ แวดลอ้ ม

34.คณุ ภาพดนิ ไมร่ ะบุ

35.คณุ ภาพน้ำ ไม่ระบุ

36.การจัดการสภาพสิ่งแวดล้อมอยา่ ง - ควรเพ่ิมประเด็นไฟปา่ และหมอกควัน PM2.5

ย่งั ยืน

37.การจัดการมลพษิ ไม่ระบุ

- ควรเพมิ่ ประเด็นข้อถามทีเ่ ก่ียวข้องกับการส่งเสริม/

การดำเนนิ งานเพื่อลดกา๊ ซเรือนกระจกและการนำขยะมา

หมนุ เวยี นใช้ประโยชน์

หมวดที่ 7 ความเส่ียงของชุมชนและภยั พิบตั ิ (3 ตัวชี้วัด)

ตัวชว้ี ดั ขอ้ เสนอแนะจากการประชุม

38.ความปลอดภัยจากยาเสพตดิ - ควรเพิม่ หนว่ ยงาน กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั

(ปภ.) มารับผดิ ชอบในตวั ชี้วัดน้ีด้วย

- ควรปรบั ขอ้ คำถาม ดังนี้

1) ข้อคำถามที่ 57.1

- เปลี่ยนประเดน็ คำถามเปน็ “หมบู่ ้าน/ชุมชนน้ี มี

ผู้เกยี่ วขอ้ งกับยาเสพตดิ (ผเู้ สพ/ผู้คา้ ) ประมาณกคี่ น”

2) ขอ้ คำถามที่ 57.2

- ตดั คำวา่ “สว่ นใหญ”่ ออก

- ตัดขอ้ 6) “พชื กระท่อม” ออก เน่ืองจากพชื กระท่อมได้

ถกู ปลดออกจากบญั ชียาเสพติดให้โทษแลว้ ปจั จุบนั อยู่

ระหวา่ งรอประกาศราชกจิ จานเุ บกษา และมผี ลบงั คบั ใช้

หลังจากประกาศราชกิจจานุเบกษา

3) ขอ้ คำถามที่ 57.3

- ควรตัด คำวา่ อบต./เทศบาล ในข้อ 8) ออก เนื่องจาก

เจา้ หนา้ ท่ีของรัฐก็ครอบคลุม อบต./เทศบาลอยแู่ ล้ว

- ควรตัด “ขอ้ 9) ตัด เพศหญิง” ออก

569

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเครอื่ งชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเปน็ พ้ืนฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพื้นฐาน
ระดบั หม่บู า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ตัวชีว้ ัด ข้อเสนอแนะจากการประชุม

39.ความปลอดภัยจากภัยพิบัติ - ข้อ 10) เปลีย่ นเป็นคำวา่ “เยาวชนนอกสถานศึกษาอายุ
ต่ำกว่า 15 ปี”
40.ความปลอดภัยจากความเสี่ยงใน - ข้อ 11) เปล่ยี นเปน็ คำว่า “เยาวชนนอกสถานศึกษาอายุ
ชุมชน ระหว่าง 15 – 20 ปี”
4) ขอ้ คำถามท่ี 60.1 ตัวเลอื กคำตอบควรปรับ ดงั นี้ ตอบ
1 ม,ี ตอบ 2 ไมม่ ี - เจ้าหนา้ ท่ขี องรฐั - เจ้าหน้าทีท่ ้องถนิ่
(อบต./เทศบาล) - กล่มุ องค์กรเอกชน - กลมุ่ ประชาชนใน
หมบู่ า้ น/ชมุ ชน
5) ข้อคำถามที่ 60.2
- ตวั เลอื กควรปรบั เป็น ตอบ 1 มี, ตอบ 2 ไมม่ ี (เพอ่ื ให้
สอดคลอ้ งและเป็นแบบเดียวกันกับข้ออนื่ ๆ) - ข้อ 6)
เปลยี่ นเปน็ คำวา่ “การส่งกลมุ่ เสยี่ งเข้ารับการอบรม”
- เพมิ่ ข้อ 19) “การจัดตั้งกองทนุ แม่ของแผน่ ดินใน
หมบู่ า้ น/ชุมชน”

- ควรเพิ่มความหมายของความปลอดภยั จากภัยพิบตั ทิ ี่ได้
ให้ไว้แลว้ ในอกั ษรสแี ดง
- ในขอ้ ที่ 7.7.3 ในรอบปีท่ีผ่านมา ครัวเรือนทป่ี ระสบภยั
ทำให้มคี นในครัวเรือนไดร้ บั บาดเจบ็ เสยี ชวี ติ สญู หาย หรือ
บา้ นเรอื นเสียหายบางส่วน หรือเสยี หาย โดยให้เพ่ิม
คำตอบวา่ จำนวนก่ีคน
- ในขอ้ 7.7.2 ควรตัดตวั เลือก ภยั จากการก่อความไมส่ งบ
ออก และหากมีพ้นื ที่ใดมีกรณีดังกลา่ วใหร้ ะบุใส่มาในอ่นื ๆ
แทน
- หมวด 7 ภัยพิบตั คิ วรเพมิ่ หนว่ ยงานรบั ผิดชอบ คอื
สำนกั งานปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยจงั หวดั

- ควรเพม่ิ ข้อคำถาม มีกล่้อง CCTV ประจำหม่บู า้ นหรอื ไม่

ไมร่ ะบุ

ไม่ระบุ

- ควรเพม่ิ ข้อถามเก่ียวกับความเส่ียงจากเทคโนโลยี ไซ
เบอรอ์ าชญากรรมอิเลก็ ทรอนิกส์ เช่น การหลอกโอนเงนิ
บญั ชธี นาคาร การสร้างเพจปลอมเพ่ือขโมยข้อมลู ส่วน
บุคคล การหลอกขาย/พนันออนไลน์ และการลกั ลอบเขา้
เมอื งอยา่ งผิดกฎหมาย

570

รายงานฉบับสมบรู ณโ์ ครงการจดั ทำเครอื่ งช้ีวัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พ้ืนฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพ้ืนฐาน
ระดบั หมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

3.3 ขอ้ เสนอแนะอื่น ๆ เพิ่มเติม
1. การพัฒนาเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และ

ข้อมลู พืน้ ฐานระดับหมบู่ ้าน (กชช. 2ค) ควรเพ่ิมคำอธิบายในแตล่ ะหมวดใหช้ ดั เจน
2. ควรมีการเพิ่มเติมในส่วนข้อคำถามในหมวดที่เกี่ยวข้องกับด้านวัฒนธรรม ให้มี

ประเดน็ ทสี่ ือ่ ให้เหน็ การมีส่วนรว่ มแบบ “บวร” หมายถงึ บา้ น วดั และโรงเรยี น
3. ควรเพิ่มข้อคำถามสอดคลอ้ งกับบริบทของชุมชนที่เป็นชุมชนชนบทด้วย เช่น พื้นที่

ทสี่ ามารถเปน็ แหล่งม่ัวสุมไดจ้ ะใช้คำวา่ สถานบันเทงิ หากเปน็ ชนบทจะไมม่ ีการใชส้ ถานบันเทิง แต่จะเป็น
ร้านเกมส์ รา้ นคาราโอเกะ เปน็ ต้น เพราะเมอ่ื พจิ ารณาแล้วหน่วยงานวฒั นธรรมมีการทำงานอยา่ งต่อเน่ือง
และทำงานร่วมกับชุมชนอยู่เสมอ เห็นสมควรวา่ ควรเพ่ิมขอ้ คำถามเพื่อให้เกิดความชัดเจนและหน่วยงาน
จะสามารถนำไปใช้ประโยชนต์ ่อได้

4. ควรเพิ่มข้อมูลสถานที่ในการสอบถามและจัดเก็บข้อมูล เช่น บ้าน วัด ทุ่งนา
เปน็ ต้น

5. ควรมีการหาวิธีท่ีจะจดั เก็บข้อมูลคนใน กทม.และเขตเทศบาล หรือการเช่ือมข้อมลู
กันระหว่างข้อมลู จปฐ. และข้อมูลที่จัดเกบ็ คนใน กทม. และเทศบาล

6. ควรเพ่ิมประเด็นข้อมลู ด้านการเจาะบอ่ บาดาล (บอ่ ส่วนตัว เอกชน ภาครฐั )
7. ควรมีการสรุปผลการดำเนินการแก้ไข การพัฒนา ตามตัวชี้วัด รายงาน
ความก้าวหนา้ (การนำขอ้ มูลการดำเนินงานของหนว่ ยงานทีแ่ กไ้ ขตวั ช้ีวดั ทต่ี กเกณฑ์ แลว้ หน่วยงานก็ไดไ้ ป
ดำเนินการแก้ไขอยา่ งไร เห็นผลอย่างไร ปีตอ่ ป)ี
8. ควรมีการตรวจสอบขอ้ มูลท่ีเชื่อมโยงกับหน่วยงานตา่ ง ๆ หากมีข้อมูลตรงกันให้ขอ
ข้อมูลจากหน่วยงานน้ัน ๆ นำมาใช้
9. ควรมีการทบทวนประเด็นคำถามที่ไม่ได้นำไปใช้ประโยชน์ (การพัฒนาเชิงพื้นที่
หน่วยงาน การตัดสินใจเชิงนโยบาย)
10. ค ว ร ส ะ ท ้ อ ย ใ ห ้ เ ห ็ น ถ ึ ง ผ ล ร ว ม ต ั ว ช ี ้ ว ั ด ส ะ ท ้ อ น ผ ล ร ว ม ข อ ง ก า ร พั ฒ น า แ ล ะ
ความเชื่อมโยง SDG ยุทธศาสตร์ชาติ แผน 13 เพื่อให้ผู้อ่านได้เห็นภาพความเชื่อมโยงที่ชัดเจน และจะ
เป็นประโยชน์ในการนำใช้เพื่อติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานของ SDG ยุทธศาสตร์ชาติ และ
แผนพัฒนาฯ ตอ่ ไป ทัง้ นี้อาจทำเปน็ แผนภาพหรือตารางกจ็ ะทำให้ง่ายแกก่ ารเข้าใจ)

571

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเคร่อื งชีว้ ดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พน้ื ฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพื้นฐาน
ระดบั หมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ภาพบรรยากาศ

การประชุมคณะทำงานจดั ทำเครื่องช้ีวดั และแบบสอบถามข้อมลู ความจำเปน็ พนื้ ฐาน (จปฐ.) และข้อมูล
พ้ืนฐานระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)
วนั พฤหสั บดีที่ 13 พฤษภาคม 2564 เวลา 09.30 – 16.30 น.
ณ ศนู ย์ขอ้ มูลกลางเพ่ือการตัดสนิ ใจ (War Room) ชนั้ 5 กรมการพฒั นาชุมชน
อาคารรัฐประศาสนภกั ดี (อาคารบี) ศูนยร์ าชการเฉลิมพระเกียรตฯิ
ถนนแจ้งวฒั นะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรงุ เทพฯ
และรูปแบบออนไลนด์ ว้ ยโปรแกรม ZOOM

572

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเคร่อื งชีว้ ัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพน้ื ฐาน
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

573

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเคร่อื งชีว้ ัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพน้ื ฐาน
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

574

รายงานฉบับสมบรู ณโ์ ครงการจดั ทำเครอ่ื งชวี้ ดั และแบบสอบถามข้อมูลความจำเปน็ พน้ื ฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พ้ืนฐาน
ระดับหมูบ่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ภาคผนวก ฉ.
รายงานการประชมุ คณะกรรมการอำนวยการ
งานพัฒนาคุณภาพชีวติ ของประชาชน (พชช.)

ครั้งท่ี 2/2564

575

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเคร่อื งชีว้ ัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพน้ื ฐาน
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

576

รายงานฉบับสมบูรณโ์ ครงการจดั ทำเคร่อื งชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเปน็ พืน้ ฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพ้ืนฐาน
ระดบั หม่บู า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ่วงแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

รายงานการประชุม
คณะกรรมการอำนวยการงานพัฒนาคณุ ภาพชีวิตของประชาชน (พชช.)

ครัง้ ท่ี 2/2564
วันพุธที่ 9 มถิ นุ ายน 2564 เวลา 10.30 - 16.30 น.

ณ ห้องประชุมเฟอื่ งนคร ช้นั 5 อาคารดำรงราชานสุ รณ์ กระทรวงมหาดไทย กรงุ เทพฯ
และรูปแบบการประชุมผา่ นสอ่ื อิเลก็ ทรอนิกส์ด้วยโปรแกรม Zoom Cloud meeting

ผ้เู ข้าร่วมประชมุ ณ หอ้ งประชุมเฟ่อื งนคร ช้ัน 5 อาคารดำรงราชานุสรณ์ กระทรวงมหาดไทย

1. นายนิรตั น์ พงษส์ ทิ ธิถาวร รองปลดั กระทรวงมหาดไทย ประธาน

2. นายนิวตั ิ น้อยผาง รองอธบิ ดีกรมการพัฒนาชุมชน กรรมการ

3. นางสาวทิพพรรณ ไชยูปถัมภ์ ผอู้ ำนวยการศูนย์สารสนเทศเพื่อการพฒั นาชุมชน กรรมการ

ผู้เข้ารว่ มประชุมผา่ นส่อื อิเลก็ ทรอนกิ ส์ด้วยโปรแกรม Zoom Cloud meeting

1. นางสาวดวงกมล วิมลกิจ ผเู้ ชยี่ วชาญฯ กรรมการ

สำนกั งานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ

2. นายแพทยภ์ ษู ิต ประคองสาย ทป่ี รกึ ษาระดบั กระทรวง นายแพทยผ์ ทู้ รงคุณวุฒิด้าน กรรมการ

ส่งเสรมิ สุขภาพ กระทรวงสาธารณสขุ

3. นายวรี ะ แข็งกสกิ าร รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ กรรมการ

4. นางสาวตาปี วชั รางกรู ผู้เชี่ยวชาญดา้ นนโยบายระบบเศรษฐกจิ การเกษตร กรรมการ

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

5. นางพงษศ์ ริ ิ วรรณศรี ผู้อำนวยการกองตรวจราชการ กระทรวง กรรมการ

อุตสาหกรรม

6. นายวนั ชยั อาจกมล ผอู้ ำนวยการกองบรหิ ารการพาณิชย์ภูมภิ าค กรรมการ

กระทรวงพาณชิ ย์

7. นางสาวอัจฉรา งามสมจติ ร ผอู้ ำนวยการกองยทุ ธศาสตรแ์ ละแผนงาน กรรมการ

กระทรวงแรงงาน

8. นางปยิ นาฏ เสงีย่ มศักด์ิ นักสังคมสงเคราะห์ชำนาญการพเิ ศษ กรรมการ

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนษุ ย์

9. นายพชิ ติ สมบตั ิมาก ผชู้ ว่ ยปลัดกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและ กรรมการ

สง่ิ แวดล้อม

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม

10. นางหทยั ชนก ชินอปุ ราวฒั น์ ผ้อู ำนวยการกองสถติ ิพยากรณ์ กรรมการ

กระทรวงดจิ ิทลั เพื่อเศรษฐกจิ และสงั คม

11. นางวรพร สิงห์เรือง นกั วิเคราะหน์ โยบายและแผนชำนาญการพิเศษ กรรมการ

กระทรวงการท่องเทยี่ วและกีฬา

577

รายงานฉบับสมบูรณโ์ ครงการจดั ทำเคร่อื งชว้ี ดั และแบบสอบถามข้อมลู ความจำเปน็ พน้ื ฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พ้ืนฐาน
ระดับหมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

12. น.ส.ขนษิ ฐา พัวพนั ธพ์ งษ์ ผ้อู ำนวยการกองกลาง กระทรวงคมนาคม กรรมการ

13. นางพนารัตน์ คนขยนั ผอู้ ำนวยกองยุทธศาสตรแ์ ละแผนงาน กระทรวง กรรมการ

วัฒนธรรม

14. นางสาวมัทนา เจรญิ ศรี ผอู้ ำนวยการกองจดั ทำงบประมาณดา้ นความม่ันคง 1 กรรมการ

สำนกั งบประมาณ

15. นางสาวอศุ นยี ์ ธูปทอง รองเลขาธิการคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงาน กรรมการ

โครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดำริ

16. พล.ต.ต.ม.ล.สนั ธกิ ร วรวรรณ ผู้บังคบั การกองแผนงานอาชญากรรม กรรมการ

สำนกั งานตำรวจแหง่ ชาติ

17. พนั เอกหญงิ ฐิตมิ า ศวิ าดำรงค์ ผู้ชว่ ยผู้อำนวยการกองข่าว หนว่ ยบญั ชาการทหาร กรรมการ

พฒั นา

18. นางสาวนยิ ะดา พันธเ์ุ พช็ ร นกั ประชาสมั พนั ธช์ ำนาญการ กรมประชาสัมพนั ธ์ กรรมการ

19. นายชำนาญ มีขำ ผู้อำนวยการกลุ่มงานแผนพัฒนาทอ้ งถิ่น กรรมการ

กรมสง่ เสรมิ การปกครองท้องถิน่

20. นายศุภสณั ห์ หนูสวัสด์ิ เลขาธิการ สมาคมสันนิบาตเทศบาลแหง่ ประเทศไทย กรรมการ

21. นายกมั พล กล่ันเนยี ม เลขาธิการสมาคมองคก์ ารบริหารส่วนตำบลแหง่ กรรมการ

ประเทศไทย

22. นายร่งุ กิจ วีระสยั นกั ภูมิสารสนเทศ สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยอี วกาศ กรรมการ

และภูมิสารสนเทศ (องคก์ ารมหาชน)

ผู้เข้าร่วมประชมุ

1. ผศ.รณรงค์ จนั ใด หัวหนา้ นกั วิจยั คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

2. อ.ดร.กาญจนา รอดแกว้ นกั วิจัย คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

3. นางสาววิปัศยา โพธบิ ุตร ผูช้ ว่ ยนกั วิจยั คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

4. นางสาวกญั ญารตั น์ สุโกพันธ์ ผู้ช่วยนกั วจิ ยั คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

5. ศ.พเิ ศษ ดร.ยวุ ัฒน์ วุฒเิ มธี อดตี อธบิ ดีกรมการพฒั นาชมุ ชน

6. ดร.วิพรรณ ประจวบเหมาะ คณบดีวทิ ยาลยั ประชากรศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย

7. นางสาววรญั ญา สุขวงศ์ ผอู้ ำนวยการกลุม่ ระเบียบวิธสี ถติ ิ

กระทรวงดจิ ทิ ลั เพอื่ เศรษฐกิจและสงั คม

8. นายพีระพล วารเี พชร เจา้ หน้าทีว่ เิ คราะหน์ โยบายและแผน กระทรวงแรงงาน

9. นางสพุ ณั ณดา เลาหชยั นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพเิ ศษ

10. นายชัยทวตั น์ ดำศรีสวัสดิ์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานบริหารการจดั เก็บข้อมลู การพัฒนาชุมชน

11. นายเอกสิทธิ์ จนั ทร์วฒั นะ นกั วชิ าการพฒั นาชุมชนชำนาญการ

12. นายนนั ทวฒุ ิ เนยี มสนิ ธุ์ นกั วชิ าการพัฒนาชมุ ชนชำนาญการ

13. นางสาววราพร หวังกลับ นกั วชิ าการพัฒนาชมุ ชนชำนาญการ

14. นางสาวอานุช ฉายาภกั ดี นักวิชาการพัฒนาชมุ ชนชำนาญการ

15. นางสาวนัฐธรี า จันพล นักวิชาการคอมพวิ เตอรป์ ฏิบตั กิ าร

578

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจดั ทำเครอื่ งชวี้ ัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พ้ืนฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พืน้ ฐาน
ระดับหมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

16. นางกรวรรณ น้อมบุญส่งศรี เจา้ พนกั งานธุรการชำนาญงาน
17. นายธนชั พร หนั ทะยงุ นกั วชิ าการคอมพวิ เตอร์ (พนกั งานราชการ)
18. นายชาญชัย แพทอง ผู้อำนวยการส่วนนโยบายและแผนพัฒนาเกษตรกรและองค์กรเกษตรกร
19. นายธรี วีย์ ศิรภิ าพงษเ์ ลศิ นกั วเิ คราะหน์ โยบายและแผนปฏบิ ตั กิ าร

เริ่มประชุมเวลา 10.30 น.
นายฉัตรชัย พรหมเลิศ ปลัดกระทรวงมหาดไทย ในฐานะประธานคณะกรรมการอำนวยการ

งานพัฒนาคณุ ภาพชีวิตของประชาชน (พชช.) มอบหมายให้นายนริ ัตน์ พงษส์ ทิ ธิถาวร รองปลัดกระทรวง
มหาดไทย เป็นประธานในการประชุมคณะกรรมการอำนวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน
(พชช.) ครง้ั ท่ี 2/2564

ระเบยี บวาระท่ี 1 เรอ่ื งประธานแจ้งใหท้ ีป่ ระชุมทราบ
นายนิรัตน์ พงษ์สิทธิถาวร รองปลัดกระทรวงมหาดไทย ประธานในการประชุมฯ กล่าวเปิด

การประชุมคณะกรรมการอำนวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน (พชช.) ครั้งที่ 2/2564 ครั้งน้ี
ได้กำหนดการประชุม ณ ห้องประชุมเฟื่องนคร ชั้น 5 อาคารดำรงราชนุสรณ์ กระทรวงมหาดไทย มีฝ่าย
เลขานุการคณะกรรมการและสำนักงานศูนย์วจิ ัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นผู้ดำเนนิ
และรูปแบบการประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ด้วยโปรแกรม Zoom cloud meeting เพื่อนำรายงานผล
การศกึ ษาขอความเหน็ ชอบต่อคณะกรรมการอำนวยการงานพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตของประชาชน (พชช.)

นายนิวตั ิ นอ้ ยผาง รองอธบิ ดีกรมการพัฒนาชุมชนในฐานะกรรมการและเลขานุการ ได้ขอให้
ผู้แทนจากสำนกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ใหข้ ้อมลู เกี่ยวกบั การกำหนดระยะเวลา
การใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 13 เนื่องจากตามกำหนดการเดิมแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 13 เดิมจะถูกใช้ในปี พ.ศ.2565 – 2569 และทราบว่าเพื่อให้
สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ที่เริ่มมีการใช้ในปี พ.ศ.2561 - 2580 จึงมีการปรับปีใช้
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติฉบบั ท่ี 13 เปน็ ปี 2566 – 2570 ซึ่งผแู้ ทนจากสำนักงานสภา
พฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แจ้งในท่ีประชุมวา่ แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติฉบับท่ี
12 (พ.ศ.2560-2564) ยังคงใช้ต่อไปจนถึงวันที่ 30 กันยายน พ.ศ.2565 และ จะเริ่มใช้แผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 13 (พ.ศ.2566-2570) ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2565 เพื่อให้
สอดคลอ้ งกบั ระยะเวลาส้นิ สุดตามแผนยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี

มติทปี่ ระชมุ
รับทราบ และให้ปรบั กำหนดการการใชแ้ บบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพนื้ ฐาน (จปฐ.) และ

แบบสอบถามข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) สำหรับใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ.2565 - 2569) เป็น พ.ศ.2566-2570 เพื่อให้สอดคล้องกับแผนพัฒนา
เศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติฉบับท่ี 13 และแผนยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี

579

รายงานฉบบั สมบูรณโ์ ครงการจัดทำเครือ่ งชวี้ ดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพืน้ ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพืน้ ฐาน
ระดับหมูบ่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องรับรองรายงานการประชุม ครั้งที่ 1/2564 เมื่อวันจันทร์ที่ 31 พฤษภาคม
พ.ศ. 2564

ฝา่ ยเลขานุการฯ ได้สง่ รายงานการประชมุ คณะกรรมการอำนวยการงานพฒั นาคุณภาพชีวิต
ของประชาชน (พชช.) ครั้งที่ 1/2564 เมื่อวันจันทร์ที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ.2564 ผ่านกลุ่มไลน์
“ประชุมคณะกรรมการ พชช.ปี 2564” เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ.2564 เพื่อให้คณะกรรมการฯ
พิจารณารับรองรายงานการประชุมฯ และให้แจ้งผลการรับรองรองภายในวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ.2564
ผลปรากฏวา่ มี 1 หน่วยงาน คอื สำนกั งานสถติ ิแหง่ ชาติ ของเพิม่ ชอื่ ผ้เู ขา้ รว่ มประชุม คือ นางสาววรญั ญา
สขุ วงศ์ ผู้อำนวยการระเบียบวธิ ีสถติ ิ กองนโยบายและวชิ าการสถิติ เป็นผู้แทนหนว่ ยงานเขา้ รว่ มประชุม

มติทป่ี ระชุม
รับรองรายงานการประชุมของคณะกรรมการอำนวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิตของ

ประชาชน (พชช.) คร้งั ท่ี 1/2564 เมือ่ วนั จันทรท์ ่ี 31 พฤษภาคม พ.ศ.2564

ระเบยี บวาระท่ี 3 เรอื่ งเพอ่ื ทราบ
รายงานผลการศึกษาและพิจารณาร่างเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูล จปฐ. และข้อมูล

กชช. 2ค จากการประมวลผลจากคณะทำงานปรับปรุงเครื่องชี้วัดคุณภาพชีวิตของประชาชน นำเสนอ
โดย ผู้ชว่ ยศาสตราจารยร์ ณรงค์ จนั ใด หัวหน้านกั วิจัย อาจารย์ประจำภาควิชานโยบายสังคม การพัฒนา
สังคม และการพัฒนาชมุ ชน คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

ตามท่ีกรมการพัฒนาชุมชนได้พัฒนาเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูล จปฐ .และข้อมูล
กชช. ๒ค สำหรับเก็บข้อมูลตามภารกิจที่ได้รับมอบหมาย โดยได้กำหนดห้วงเวลาในการปรับปรุงเครื่อง
ชี้วัดและแบบสอบถามเป็นประจำทุก 5 ปี เพื่อให้การวางแผนพัฒนาดำเนินได้อย่างสอดคล้องกับ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ซึ่งในปี พ.ศ.2565 เป็นปีเริ่มต้นของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (2565 - 2569) ซึ่งตามมติที่ประชุมให้แก้ไขเป็น พ.ศ.2566-2570 แล้ว
นั้น อย่างไรก็ตามมีความจำเป็นต้องใช้เครื่องชี้วัด เกณฑ์ชี้วัดและแบบสอบถามชุดใหม่สำหรับจัดเก็บ
ข้อมูล จปฐ. และข้อมูล กชช. 2ค โดยกรอบแนวคิดในการปรับปรุงเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูล
จปฐ. และข้อมูล กชช. 2ค ดังกล่าว คณะกรรมการอำนวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน
(พชช.) มมี ตเิ ห็นชอบใหด้ ำเนนิ การสอดคลอ้ งกบั เปา้ หมายการพัฒนาที่ย่ังยนื (SDGs) และแผนยทุ ธศาสตร์
ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561 – 2580)

ด้วยความสำคัญดังกล่าว กรมการพัฒนาชุมชน จึงได้จัดทำโครงการจัดทำเครื่องชี้วัดและ
แบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) สำหรับใช้
ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 วัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ออกแบบเครื่องชี้วัด
เกณฑ์ชี้วัดและข้อคำถามสำหรับจัดเก็บข้อมูล จปฐ. และข้อมูล กชช. ๒ค แนวทางควบคุมคุณภาพ
การจัดเก็บข้อมูล และรูปแบบการรายงานด้วยระบบสารสนเทศที่รองรับความต้องการของทุกภาคส่วน
และในครั้งนี้ กรมการพัฒนาชุมชน ได้มอบหมายให้สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่ง
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ดำเนินโครงการดังกล่าวเพื่อเป็นแนวทางสำหรับใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 รวมทั้งพัฒนารูปแบบควบคุมคุณภาพการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. และข้อมูล

580

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเครื่องชว้ี ดั และแบบสอบถามข้อมูลความจำเปน็ พน้ื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพืน้ ฐาน
ระดับหม่บู า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

กชช. ๒ค ที่เป็นไปตามหลักวิชาการและมีความสอดคล้องกับบริบทของชุมชน และรองรับความต้องการ
ของทุกภาคส่วน มีระยะเวลาดำเนินโครงการ ภายใน 90 วัน นับถัดจากวันที่ลงนามในสัญญาจ้าง
โดยสัญญาวันที่ 19 มีนาคม 2564 และส้นิ สดุ โครงการวันท่ี 16 มิถุนายน 2564

บัดนี้ สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์รณรงค์ จันใด อาจารย์ประจำภาควิชานโยบายสังคม การพัฒนาสังคม และ
การพัฒนาชุมชน คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้ดำเนินการศึกษาวิเคราะห์
ประมวลผลจากการสอบถามความคิดเห็นผู้ใช้ข้อมูล จปฐ. และ กชช. 2ค เกี่ยวกับปัญหาและ
ความต้องการของผใู้ ช้ข้อมูล (สว่ นภมู ิภาค) จำนวน 8 จังหวดั 40 หนว่ ยงานท่เี ปน็ หนว่ ยงานใช้ประโยชน์
จากข้อมูล จปฐ. และข้อมูล กชช. 2ค กระจายตามภูมิภาค รวมทั้งการวิเคราะห์ประมวลผลจาก
การสอบถามความคิดเห็นคณะทำงานปรับปรุงเครื่องชี้วัดคุณภาพชีวิตของประชาชน และจัดทำ
แบบสอบถามและเกณฑ์ชี้วัดข้อมูล จปฐ. และแบบสอบถามและเกณฑ์การจัดระดับการพัฒนาหมู่บ้าน
สำหรับข้อมูล กชช. 2ค เป็นที่เรียบร้อยแล้ว โดยจะขออนญุ าตนำเสนอในวาระพจิ ารณา ต่อไป

มติท่ปี ระชมุ รับทราบ

ระเบยี บวาระท่ี 4 เร่อื งเพ่ือพิจารณา

4.1 พิจารณาเหน็ ชอบร่างตัวชว้ี ัดและแบบสอบถามขอ้ มูล จปฐ.

ผลจากออกแบบเครื่องชี้วัด เกณฑ์ชี้วัดและข้อคำถามสำหรับการจัดเก็บข้อมูล

ความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) แนวทางควบคุมคณุ ภาพการจดั เก็บข้อมลู และรปู แบบการรายงานด้วยระบบ

สารสนเทศที่รองรับความต้องการของทุกภาคส่วน และในครั้งนี้ กรมการพัฒนาชุมชน ได้มอบหมายให้

สำนักงานศูนย์วิจัยและใหค้ ำปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งได้ดำเนินการวิเคราะห์ประมวลผล

จากการสอบถามความคิดเห็นผูใ้ ช้ข้อมูล จปฐ. และ กชช. 2ค เกี่ยวกับปัญหาและความตอ้ งการของผู้ใช้

ข้อมูล (ส่วนภูมิภาค) จำนวน 8 จังหวัด กระจายตามภูมิภาค รวมทั้งการวิเคราะห์ประมวลผลจากการ

สอบถามความคิดเห็นคณะทำงานปรับปรุงเคร่ืองชว้ี ัดคุณภาพชีวิตของประชาชน และจดั ทำแบบสอบถาม

และเกณฑช์ ี้วดั ขอ้ มลู จปฐ (รายละเอยี ดตามเอกสารแนบท้ายหมายเลข 2) โดยสรปุ สาระสำคัญ ดงั น้ี

เครื่องชี้วัดข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูลช่วง

แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติฉบับที่ 13 ( พ.ศ.2566 - พ.ศ. 2570)

มี 5 หมวด 38 ตวั ชว้ี ดั ดังน้ี

หมวดท่ี 1 สขุ ภาพ มี 12 ตวั ช้ีวัด

หมวดท่ี 2 มาตรฐานความเป็นอยู่ มี 9 ตัวชว้ี ดั

หมวดที่ 3 การศึกษา มี 5 ตัวชวี้ ัด

หมวดที่ 4 เศรษฐกจิ มี 4 ตัวช้วี ัด

หมวดท่ี 5 การคมุ้ ครองทางสงั คมและการมีส่วนรว่ ม มี 8 ตวั ช้วี ัด

581

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเครอื่ งชีว้ ัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเปน็ พน้ื ฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพน้ื ฐาน
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ลำดับ ตวั ชีว้ ดั หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบ

หนว่ ยงานหลกั หน่วยงานรว่ ม

หมวดท่ี 1 สขุ ภาพ มี 12 ตวั ชี้วัด

ตวั ชว้ี ัดท่ี 1 การฝากครรภ์อยา่ งมี - กระทรวงสาธารณสุข - สถาบนั พัฒนาการ
ตวั ชว้ี ดั ที่ 2 คุณภาพ - กระทรวงสาธารณสขุ สาธารณสุขอาเซยี น
ตัวชว้ี ดั ท่ี 3 - กระทรวงสาธารณสขุ
เด็กแรกเกิดมีนำ้ หนกั - กระทรวงเกษตรและ
2,500 กรัม ขึ้นไป สหกรณ์

เด็กแรกเกดิ ได้กินนมแม่ - กระทรวงมหาดไทย
อยา่ งเดยี วอยา่ งน้อย 6
เดอื นแรกติดต่อกัน

ตวั ช้ีวัดที่ 4 เด็กแรกเกดิ ถึง 12 ปี ได้รับ - กระทรวงสาธารณสขุ
วคั ซนี ปอ้ งกันโรคครบตาม
ตารางสรา้ งเสรมิ ภูมคิ ุ้มกนั

โรค

ตวั ชว้ี ัดที่ 5 เดก็ ไดร้ บั การดูแลและมี - กระทรวงสาธารณสขุ
พัฒนาการทเ่ี หมาะสม

ตวั ชี้วัดท่ี 6 ครัวเรอื นกนิ อาหารถกู - กระทรวงสาธารณสุข
สุขลักษณะ ปลอดภยั และได้
มาตรฐาน

ตวั ช้ีวดั ท่ี 7 ครัวเรอื นมีความร้แู ละ - กระทรวงสาธารณสุข
ปอ้ งกันตนเองเพ่อื ควบคุม
ปัจจยั เสยี่ งทค่ี กุ คามสุขภาวะ

ตัวชี้วดั ที่ 8 ครวั เรือนสามารถดูแล - กระทรวงสาธารณสุข

ตนเอง/สมาชิก เม่อื มีอาการ

เจบ็ ปว่ ยเบื้องตน้

ตัวชี้วดั ท่ี 9 คนอายุ 6 ปขี ึ้นไป ออกกำลงั - กระทรวงสาธารณสุข - กระทรวงศึกษาธิการ

กายอยา่ งนอ้ ยสปั ดาหล์ ะ 3 - กระทรวงการท่องเที่ยว

วัน ๆ ละ 30 นาที และกฬี า

ตวั ชว้ี ัดที่ 10 ผปู้ ว่ ยตดิ เตยี งไดร้ บั การดแู ล - กระทรวงสาธารณสขุ - สถาบนั พัฒนาการ
ตัวชว้ี ัดท่ี 11 จากครอบครวั ชุมชน - กระทรวงสาธารณสขุ สาธารณสุขอาเซยี น
ภาครฐั หรอื ภาคเอกชน
- กระทรวงเกษตรและ
คนในครวั เรือนมีประกัน สหกรณ์
สขุ ภาพ/สิทธิรกั ษาพยาบาล
และทราบสถานทใ่ี ชบ้ รกิ าร - กระทรวงมหาดไทย
ตามสิทธิ - กระทรวงการคลัง

ตวั ชี้วัดท่ี 12 คนอายุ 35 ปขี ึ้นไป ไดร้ ับ - กระทรวงสาธารณสุข
การตรวจสุขภาพประจำปี

582

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจดั ทำเครอ่ื งชีว้ ัดและแบบสอบถามข้อมลู ความจำเป็นพืน้ ฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพน้ื ฐาน
ระดับหมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ลำดบั ตวั ช้ีวัด หน่วยงานรบั ผิดชอบ

หนว่ ยงานหลัก หน่วยงานร่วม

หมวดที่ 2 มาตรฐานความเปน็ อยู่ มี 9 ตวั ช้ีวดั

ตวั ชี้วัดท่ี 13 ครวั เรือนมีความมนั่ คงในท่ี - กระทรวงการพัฒนาสงั คม - กระทรวง

อย่อู าศยั บา้ นมสี ภาพคงทน และความมนั่ คงของมนุษย์ ทรพั ยากรธรรมชาติ

ถาวร และอยู่ใน และสง่ิ แวดลอ้ ม

สภาพแวดลอ้ มทเ่ี หมาะสม - กระทรวงมหาดไทย

- กระทรวงเกษตรและ

สหกรณ์

ตวั ชี้วัดที่ 14 ครวั เรือนมกี ารจดั บ้านเรือน - กระทรวงสาธารณสขุ - กระทรวง

และไดร้ บั บริการจัดเกบ็ ขยะ ทรัพยากรธรรมชาติ

มลู ฝอยทถ่ี กู สขุ ลักษณะ และสิ่งแวดลอ้ ม

- กระทรวงมหาดไทย

ตัวชี้วัดที่ 15 ครวั เรือนไมถ่ ูกรบกวนจาก - กระทรวงอตุ สาหกรรม - กระทรวงมหาดไทย

มลพษิ - กระทรวง - กระทรวงเกษตรและ

ทรพั ยากรธรรมชาติและ สหกรณ์

สง่ิ แวดลอ้ ม - กระทรวงสาธารณสุข

ตวั ช้ีวดั ที่ 16 ครวั เรอื นมกี ารปอ้ งกนั - สำนกั นายกรัฐมนตรี - กระทรวงสาธารณสุข

อบุ ัตภิ ยั อยา่ งถูกวิธี และมี - กระทรวงมหาดไทย (ปภ.) - กระทรวงคมนาคม

การเตรยี มความพรอ้ มรับมือ - กระทรวงเกษตรและ

กบั ภยั พบิ ตั ิ สหกรณ์

- สำนกั งานตำรวจ

แหง่ ชาติ

ตวั ชว้ี ัดที่ 17 ครัวเรือนมคี วามปลอดภยั ใน - สำนักงานตำรวจแห่งชาติ - กระทรวงยตุ ธิ รรม

ชีวิตและทรัพยส์ นิ

ตัวช้ีวัดท่ี 18 ครวั เรือนมนี ้ำสำหรบั บรโิ ภค - กระทรวง - กระทรวงมหาดไทย

และอปุ โภคเพียงพอตลอดปี ทรัพยากรธรรมชาติและ - กระทรวงเกษตรและ

สิ่งแวดล้อม สหกรณ์

- สำนักงานทรัพยากรนำ้ - กระทรวงคมนาคม

แห่งชาติ - หน่วยบญั ชาการ

ทหารพัฒนา

ตวั ชว้ี ัดท่ี 19 ครวั เรอื นเขา้ ถงึ ไฟฟา้ และใช้ - กระทรวงพลังงาน - กระทรวงมหาดไทย

บริการไฟฟา้

ตวั ชี้วัดท่ี 20 ครวั เรือนเขา้ ถึงและใช้ - กระทรวงดจิ ิทัลเพอื่ - กระทรวงมหาดไทย

บริการโทรศพั ทเ์ คลอ่ื นทีแ่ ละ เศรษฐกจิ และสังคม - สำนักงาน

อินเทอร์เน็ต คณะกรรมการกจิ การ

กระจายเสยี ง

583

รายงานฉบับสมบูรณโ์ ครงการจดั ทำเคร่อื งชว้ี ดั และแบบสอบถามข้อมลู ความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พืน้ ฐาน
ระดบั หมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ่วงแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ลำดับ ตวั ชี้วัด หน่วยงานรบั ผิดชอบ

หน่วยงานหลกั หน่วยงานรว่ ม

ตัวชว้ี ดั ที่ 21 ครัวเรอื นเขา้ ถึงบริการขนสง่ - กระทรวงคมนาคม - กระทรวงมหาดไทย

สาธารณะ

หมวดที่ 3 การศกึ ษา มี 5 ตัวชีว้ ดั

ตวั ชี้วดั ท่ี 22 เดก็ อายุต่ำกวา่ 6 ปี มกี าร - กระทรวงการพฒั นาสังคม - กระทรวงมหาดไทย

เรยี นร้แู ละพฒั นาการทาง และความมน่ั คงของ (สถ.)

บคุ ลิกภาพตามวยั มนุษย์

- กระทรวงศึกษาธกิ าร

ตวั ชวี้ ดั ท่ี 23 เดก็ อายุ 6 - 15 ปี ได้รับ - กระทรวงศกึ ษาธิการ - กระทรวงมหาดไทย

การศกึ ษาภาคบงั คบั 9 ปี

ตัวชว้ี ัดท่ี 24 เด็กจบช้ัน ม.3 ไดเ้ รยี นตอ่ - กระทรวงศกึ ษาธกิ าร - กระทรวงมหาดไทย

ชนั้ ม.4 และเด็กที่จบ - กระทรวง

การศึกษาภาคบงั คบั 9 ปี ท่ี อุตสาหกรรม

ไมไ่ ด้เรียนตอ่ และยงั ไมม่ งี าน - กระทรวงแรงงาน

ทำ ได้รบั การฝกึ อบรมดา้ น

อาชีพ

ตัวชีว้ ดั ท่ี 25 คนอายุ 15 - 59 ปี อา่ น - กระทรวงศกึ ษาธิการ - กระทรวงมหาดไทย

เขียนภาษาไทย

ภาษาองั กฤษ หรอื ภาษาที่

สาม และคิดเลขอย่างงา่ ยได้

ตัวชี้วดั ท่ี 26 เด็ก เยาวชน/ผใู้ หญ่มีทักษะ - กระทรวงศกึ ษาธกิ าร - สำนักงาน

การเรยี นรูท้ จี่ ำเป็นใน - กระทรวงดจิ ิทัลเพ่อื คณะกรรมการกิจการ

ศตวรรษท่ี 21 เศรษฐกจิ และสังคม กระจายเสยี ง

หมวดท่ี 4 เศรษฐกิจ มี 4 ตัวชว้ี ัด

ตัวช้ีวัดท่ี 27 คนอายุ 15 - 59 ปี มีอาชพี - กระทรวงแรงงาน - กระทรวงมหาดไทย

และรายได้ - กระทรวง

ตวั ชีว้ ดั ที่ 28 คนอายุ 60 ปี ข้นึ ไป มี - กระทรวงแรงงาน อตุ สาหกรรม

อาชีพและรายได้ - กระทรวงการพฒั นาสงั คม - กระทรวงพาณชิ ย์
และความมน่ั คงของมนุษย์ - กระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์

- หนว่ ยบัญชาการ

ทหารพฒั นา

ตวั ชี้วัดที่ 29 รายได้เฉลี่ยของคนใน - กระทรวงมหาดไทย (พช.) - หน่วยบัญชาการ

ครัวเรือนตอ่ ปี - กระทรวงอุตสาหกรรม ทหารพฒั นา

- กระทรวงพาณชิ ย์

- กระทรวงเกษตรและ

สหกรณ์

584

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเครื่องชีว้ ดั และแบบสอบถามข้อมลู ความจำเปน็ พ้นื ฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพ้นื ฐาน
ระดบั หมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ลำดับ ตัวชว้ี ัด หนว่ ยงานรับผิดชอบ

หนว่ ยงานหลกั หน่วยงานรว่ ม

- กระทรวงแรงงาน

- กระทรวงการพัฒนาสังคม

และความมน่ั คงของมนษุ ย์

ตวั ชว้ี ัดที่ 30 ครวั เรือนมกี ารเกบ็ ออมเงนิ - กระทรวงมหาดไทย (พช.) - กระทรวงวฒั นธรรม

- กระทรวงการคลงั - กระทรวงศึกษาธิการ

- กระทรวงเกษตรและ

สหกรณ์

- กระทรวงการพัฒนาสงั คม

และความมนั่ คงของมนุษย์

หมวดที่ 5 การคมุ้ ครองทางสงั คมและการมสี ว่ นร่วม มี 8 ตัวชวี้ ดั

ตัวช้ีวดั ที่ 31 เดก็ แรกเกิด - 6 ปีที่ - กระทรวงการพัฒนาสงั คม - กระทรวงมหาดไทย

ครวั เรอื นมรี ายไดเ้ ฉล่ยี ไมเ่ กนิ และความมน่ั คงของมนุษย์

100,000 บาทต่อคนต่อปี - กระทรวงการคลงั

ได้รบั เงนิ อุดหนนุ จากภาครฐั

ตัวชีว้ ดั ท่ี 32 ครวั เรือนท่มี ีรายไดไ้ มเ่ กิน - กระทรวงการพฒั นาสงั คม

100,000 บาทต่อปี และมี และความมน่ั คงของมนษุ ย์

สมาชกิ มคี ุณสมบัติอ่ืนครบ - กระทรวงการคลงั

ตามเกณฑ์บัตรสวสั ดกิ าร

แหง่ รัฐ ไดร้ บั เงินสวสั ดกิ าร

จากรฐั

ตวั ชี้วดั ที่ 33 ครวั เรือนได้รับการคมุ้ ครอง - กระทรวงการพัฒนาสังคม - กระทรวงแรงงาน

ตามระบบและมาตรการ และความมนั่ คงของมนษุ ย์ - กระทรวงพาณชิ ย์

คมุ้ ครองทางสงั คม จาก - กระทรวงมหาดไทย

ภาครัฐ และหรอื ชุมชน - กระทรวงการคลัง

ภาคเอกชน

ตัวชี้วดั ที่ 34 ผูส้ งู อายไุ ด้รับการดูแลจาก - กระทรวงการพฒั นาสังคม - กระทรวงมหาดไทย

ครอบครวั ชมุ ชน ภาครฐั และความมน่ั คงของมนษุ ย์ - กระทรวงวัฒนธรรม

หรือภาคเอกชน - กระทรวงสาธารณสุข

ตัวชี้วดั ที่ 35 ผพู้ กิ ารไดร้ บั การดูแลจาก

ครอบครวั ชมุ ชน ภาครฐั

หรอื ภาคเอกชน

ตัวชว้ี ดั ท่ี 36 ครอบครัวมคี วามอบอนุ่ - กระทรวงการพฒั นาสงั คม - กระทรวงวฒั นธรรม

และความมน่ั คงของมนุษย์ - กระทรวงมหาดไทย

- กระทรวงสาธารณสุข

585

รายงานฉบับสมบูรณโ์ ครงการจดั ทำเคร่อื งช้วี ัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพนื้ ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พน้ื ฐาน
ระดบั หมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ลำดบั ตวั ช้วี ดั หนว่ ยงานรับผดิ ชอบ
ตัวชวี้ ดั ท่ี 37
คนอายุ 6 ปีข้ึนไป ปฏิบัติ หน่วยงานหลกั หนว่ ยงานรว่ ม
ตัวชีว้ ัดที่ 38 กจิ กรรมทางศาสนาอยา่ ง
นอ้ ยสปั ดาหล์ ะ 1 ครงั้ - กระทรวงวฒั นธรรม - กระทรวงศึกษาธิการ
ครัวเรอื นมีส่วนรว่ มทำ
กิจกรรมสาธารณะเพ่อื - กระทรวงมหาดไทย (พช.) - กระทรวงเกษตรและ
ประโยชน์ของชมุ ชนหรือ
ทอ้ งถ่ิน - กระทรวง สหกรณ์

ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ - หน่วยบญั ชาการ

สงิ่ แวดล้อม ทหารพัฒนา

- กระทรวงศึกษาธิการ - กระทรวงสาธารณสขุ

- สถาบนั พัฒนาองค์กร

ชมุ ชน(องคก์ าร

มหาชน)

กลไกและกระบวนการบริหารจดั เก็บข้อมลู ความจำเปน็ พื้นฐาน (จปฐ)

ขั้นตอนที่ กลไกขบั เคลอ่ื น ข้อเสนอกระบวนการ กลไกสนับสนนุ ระยะเวลา1
1 กนั ยายน
คณะกรรมการ 1. ประชุมชแ้ี จงทำความเข้าใจ กรมการพัฒนา
อำนวยการงานพัฒนา เครอื่ งชว้ี ัด จปฐ. ในแตล่ ะ ชุมชน
คุณภาพชวี ติ ของ หมวด
ประชาชน (พชช.)
โดยมี ปลดั กระทรวง 2. ระดมความคิดความคาดหวงั
มหาดไทย เปน็ และตวั ชี้วดั ของแต่ละ
ประธาน และมผี ู้แทน กระทรวง / หนว่ ยงานที่
กระทรวง/หนว่ ยงาน เกี่ยวขอ้ ง
ตา่ งๆ เปน็ กรรมการ
และมีกรมการพฒั นา 3. ออกแบบวธิ ีการควบคุมและ
ชุมชนเป็นฝา่ ย บูรณาการการจดั เกบ็ ข้อมูล
เลขานุการ และการใชป้ ระโยชนข์ อ้ มูล
จปฐ. ร่วมกันระหว่าง
หนว่ ยงาน

4. กำหนดการประชาสัมพันธ์ให้
เกดิ การตระหนักและรบั ร้ถู งึ
ความสำคญั ของขอ้ มูลและ
การนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์
ในการพัฒนาประเทศรว่ มกัน

5. แต่งต้งั คณะทำงานบริหารการ
จดั เกบ็ ขอ้ มูลฯ ระดบั จงั หวดั

1 เป็นขอ้ มลู ท่ีตอ้ งดำเนินกำรจดั เกบ็ ทุกปี

586

รายงานฉบับสมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเคร่ืองช้วี ัดและแบบสอบถามข้อมลู ความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พ้นื ฐาน
ระดับหมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ช่วงแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ข้นั ตอนท่ี กลไกขับเคลอ่ื น ข้อเสนอกระบวนการ กลไกสนับสนุน ระยะเวลา1
2 คณะทำงานบรหิ ารการ
จดั เก็บข้อมลู ฯ ระดับ 1. ประชุมชแี้ จงทำความเขา้ ใจ สำนักงาน ตลุ าคม
3 จังหวัด
โดยมผี วู้ า่ ราชการ เครอ่ื งช้วี ัด จปฐ. ในแต่ละ พัฒนาชุมชน
4 จังหวัด หรอื รองผู้วา่
ราชการจงั หวดั ทผี่ ้วู ่า หมวดกบั หน่วยงานทีเ่ กย่ี วข้อง จงั หวัด
ราชการจงั หวัด
มอบหมายเป็นประธาน ระดับจงั หวัด
และมผี แู้ ทนจาก
หน่วยงานต่างๆ ใน 2. ออกแบบวธิ กี ารควบคุมและ
จงั หวัดเปน็ กรรมการ
และให้ สำนกั งาน บูรณาการการจัดเก็บข้อมูล
พัฒนาชมุ ชนจังหวดั
เปน็ เลขานุการ และการใช้ประโยชนข์ อ้ มูล

คณะทำงานบริหารการ จปฐ. ร่วมกนั ระหว่าง
จัดเกบ็ ข้อมูลฯ ระดบั
อำเภอ หน่วยงานในจงั หวัด
โดยมนี ายอำเภอ เป็น
ประธาน และมผี แู้ ทน 3. กำหนดการประชาสัมพนั ธใ์ ห้
จากหนว่ ยงานตา่ งๆ
ระดับอำเภอเปน็ เกิดการตระหนักและรบั รถู้ ึง
กรรมการ ทง้ั นอ้ี าจจะ
ให้ผบู้ ริหารองคก์ ร ความสำคญั ของข้อมลู และ
ปกครองส่วนทอ้ งถิน่
ทุกทอ้ งถ่ินร่วมเปน็ การนำข้อมูลไปใชป้ ระโยชน์
กรรมการดว้ ย และให้
สำนกั งานพฒั นาชุมชน 4. แต่งตงั้ คณะคณะทำงาน
อำเภอ เป็นเลขานุการ
บรหิ ารการจดั เก็บขอ้ มูลฯ
คณะทำงานบริหารการ
จดั เกบ็ ข้อมลู ฯ ระดับ ระดับอำเภอ
ตำบล
โดยมี นายกเทศมนตรี 1. ประชุมช้ีแจงทำความเข้าใจ สำนกั งาน พฤศจกิ ายน
/นายกองค์องคก์ าร
เครอ่ื งช้วี ัด จปฐ. ในแตล่ ะ พัฒนาชุมชน

หมวดกับหนว่ ยงานที่เกี่ยวขอ้ ง อำเภอ

ระดบั อำเภอและองค์กร

ปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ ในอำเภอ

2. ออกแบบวิธีการควบคมุ และ

บูรณาการการจดั เก็บข้อมลู

และการใช้ประโยชนข์ อ้ มลู

จปฐ. ร่วมกันระหวา่ ง

หนว่ ยงานในอำเภอ

3. กำหนดการประชาสัมพนั ธใ์ ห้

เกดิ การตระหนกั และรบั ร้ถู ึง

ความสำคญั ของขอ้ มลู และ

การนำขอ้ มลู ไปใช้ประโยชน์

4. คณะทำงานบริหารการจดั เก็บ

ข้อมูลฯ ระดบั ตำบล

1. ประชุมชแี้ จงทำความเขา้ ใจ พฒั นากร พฤศจกิ ายน

เครอื่ งชีว้ ดั จปฐ. ในแตล่ ะ ประจำตำบล –

หมวดกับหนว่ ยงานทเี่ ก่ียวข้อง และ กมุ ภาพนั ธ์

ระดับตำบล องค์กรปกครอง

สว่ นทอ้ งถนิ่

587

รายงานฉบบั สมบูรณโ์ ครงการจดั ทำเครื่องชวี้ ัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพน้ื ฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพน้ื ฐาน
ระดับหม่บู า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ขั้นตอนท่ี กลไกขบั เคลอื่ น ขอ้ เสนอกระบวนการ กลไกสนบั สนุน ระยะเวลา1
5
บรหิ ารสว่ นตำบล หรือ 2. แตง่ ต้งั คณะผจู้ ดั เกบ็ ข้อมูล

ปลดั องค์กรปกครอง ระดับครัวเรือน

สว่ นท้องถิน่ เปน็ 3. ออกแบบวิธีการควบคุมและ

ประธาน และมผี ู้แทน การบูรณาการการจดั เก็บ

จากหนว่ ยงานตา่ งๆ ใน ขอ้ มลู และการใช้ประโยชน์

ตำบลเปน็ กรรมการ ขอ้ มูล จปฐ. ร่วมกันระหว่าง

ทั้งนีอ้ าจจะแตง่ ต้งั หนว่ ยงานในตำบล

ผู้แทนจากคณะผู้ 4. กำหนดการประชาสมั พนั ธ์ให้

จดั เกบ็ ข้อมูลระดบั เกดิ การตระหนกั และรับรู้ถึง

ครวั เรอื นร่วมเปน็ ความสำคัญของข้อมลู และ

กรรมการดว้ ย และให้ การนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์

พัฒนากรประจำตำบล

และนกั พฒั นาชุมชน

ของ อปท.เป็น

เลขานกุ ารและ

ผูช้ ว่ ยเลขานกุ ารของ

คณะทำงาน

คณะผ้จู ดั เก็บข้อมูล การได้รบั ความรคู้ วามเข้าใจ พฒั นากร

ระดบั ครวั เรือน 1. ทำความเข้าใจแบบสอบถาม ประจำตำบล

โดย พิจารณาความ ทกุ ขอ้ อยา่ งละเอียด และ

เหมาะสมในแต่ละพ้นื ท่ี 2. อบรมเสรมิ สรา้ งความรูค้ วาม องคก์ รปกครอง

ทงั้ นีอ้ าจจะ เขา้ ใจแบบสอบถาม เทคนคิ สว่ นท้องถน่ิ

ประกอบดว้ ย กำนัน และทกั ษะทส่ี ำคัญในการ

ผใู้ หญบ่ า้ น สมาชกิ จัดเก็บข้อมลู โดยวิทยากรทม่ี ี

สภาองคก์ ารบริหาร ความรู้และความเชย่ี วชาญ

ส่วนตำบล (ส.อบต.) 3. เสรมิ สรา้ งทัศนคติทด่ี แี ละ

สมาชกิ สภาเทศบาล ถูกตอ้ งเก่ียวกับเกณฑแ์ ละ

(สท.) อสม. อพม. ตวั ชว้ี ดั ของ จปฐ. เพือ่ ใหไ้ ด้

กรรมการหม่บู ้าน ข้อมูลท่ีเปน็ ประโยชน์ใน

หัวหนา้ ค้มุ /โซน เปน็ การพฒั นาและกำหนดแนว

ต้น โดยใหป้ ระธาน ทางการพฒั นาคุณภาพชีวติ ได้

คณะทำงานบรหิ ารการ อยา่ งถูกต้อง

จดั เก็บขอ้ มูลฯ ระดบั 4. ควรให้คนในชมุ ชนมสี ่วนร่วมใน

ตำบลเปน็ ผ้แู ตง่ ต้งั การจัดเกบ็ เน่อื งจากการ

จดั เก็บข้อมลู จปฐ. เปน็ เรอื่ ง

ของกระบวนการเรยี นรู้ของคน

ในพ้นื ท่ี เพอื่ เรยี นรู้วถิ ีชวี ติ ของ

588

รายงานฉบับสมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเครื่องชีว้ ัดและแบบสอบถามข้อมลู ความจำเปน็ พน้ื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพน้ื ฐาน
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ขั้นตอนที่ กลไกขับเคลอื่ น ข้อเสนอกระบวนการ กลไกสนับสนนุ ระยะเวลา1

6 คณะผูจ้ ดั เก็บข้อมูล ตนเอง และในขณะเดยี วกนั ก็
ระดบั ครวั เรือน
เป็นการสำรวจตนเองวา่ ได้รับ
7 คณะผจู้ ดั เก็บขอ้ มูล
ระดบั ครัวเรือน สิทธิสวสั ดิการด้านต่าง ๆ ของ

รฐั หรือไม่ ซึง่ ผู้จัดเกบ็ ควรเปน็ ผู้

ทีม่ ีความใกลช้ ดิ กบั ชมุ ชน หรือ

ผ้นู ำหมูบ่ า้ น ซงึ่ จะได้ขอ้ มลู ทม่ี ี

ความเป็นจรงิ มากที่สดุ และ

เข้าใจในบริบทของชุมชน

ตนเองมากท่ีสุด

การออกแบบวิธกี ารจัดเก็บขอ้ มลู พฒั นากร

1. แบง่ การจดั เกบ็ ขอ้ มูลของแตล่ ะ ประจำตำบล

คนใหเ้ หมาะสมกับจำนวน และ

ครัวเรอื นทรี่ บั ผิดชอบ เพือ่ ให้ องค์กรปกครอง

การเกบ็ ขอ้ มลู แลว้ เสร็จตาม ส่วนทอ้ งถน่ิ

เวลาท่กี ำหนด

2. การกำหนดแรงจูงใจเพม่ิ เติมใน

การจดั เก็บข้อมลู

นอกเหนือจากค่าตอบแทนใน

การจดั เกบ็ ข้อมลู

3. การจดั เก็บข้อมลู จปฐ. อาจจะ

เปน็ แบบผสมผสานระหวา่ ง

แบบออนไลน์ผา่ นเครอื่ งมอื

อิเล็กทรอนิกส์และสมุดคูม่ อื

การจัดเกบ็ แบบเดมิ ตามความ

เหมาะสมของบริบทพน้ื ท่ี

การจัดเกบ็ ขอ้ มูล พัฒนากร

1. ลงพ้นื ทีเ่ กบ็ ขอ้ มูลโดยการ ประจำตำบล

สมั ภาษณข์ ้อมลู จากหัวหนา้ และ

ครวั เรอื น หรือบุคคลใน องค์กรปกครอง

ครวั เรอื นท่สี ามารถใหข้ ้อมลู ได้ สว่ นทอ้ งถนิ่

อย่างครบถ้วน ท้ังนตี้ อ้ งขอ

อนญุ าตกอ่ นทุกครัง้ และ

อาจจะเชิญชวนสมาชิกใน

ครวั เรือนร่วมรับฟงั และให้

ข้อมลู ประกอบด้วย เพอ่ื ความ

สมบูรณ์และถูกตอ้ งของขอ้ มูล

เพม่ิ มากขน้ึ

589

รายงานฉบบั สมบูรณโ์ ครงการจดั ทำเคร่อื งชี้วัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพน้ื ฐาน
ระดบั หม่บู า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ข้นั ตอนที่ กลไกขบั เคลื่อน ข้อเสนอกระบวนการ กลไกสนับสนุน ระยะเวลา1
8
คณะผู้จดั เกบ็ ขอ้ มลู 2. หลังจากการจดั เก็บข้อมลู ฯ ทกุ พัฒนากร
9 ระดับครวั เรอื น ข้อครบเป็นท่ีเรยี บรอ้ ยแล้วให้ ประจำตำบล
10 หวั หน้าครวั เรือนหรอื สมาชิกที่ และองคก์ ร
11 คณะผจู้ ัดเก็บขอ้ มลู ให้ขอ้ มลู ลงรายช่อื รับรองความ ปกครองสว่ น
ระดบั ครัวเรือน ถกู ต้องของข้อมลู ท้องถ่ิน

คณะผูจ้ ัดเก็บข้อมลู บันทึกและประมวลขอ้ มลู พฒั นากร
ระดับครวั เรือน 1. การบันทึกขอ้ มูล ผู้จดั เก็บ ประจำตำบล
และองค์กร
คณะทำงานบริหารการ ข้อมลู และผู้ให้ข้อมูล ช่วยกัน ปกครองสว่ น
จดั เก็บข้อมลู ฯ ระดับ สรปุ ผลการจัดเก็บข้อมูลของ ท้องถิ่น
ตำบล ครวั เรือน วา่ ผา่ นเกณฑ์และไม่ พฒั นากร
ผา่ นเกณฑใ์ นเร่ืองใดบา้ ง ประจำตำบล
2. มอบหมายใหผ้ ู้นำครอบครวั และองค์กร
หรือสมาชกิ ในครอบครัวเพือ่ ปกครองสว่ น
รบั ทราบและผลการจดั เกบ็ ท้องถิ่น
ข้อมูลของครวั เรือนตนเองและ
ใช้ประโยชนจ์ ากข้อมูลรว่ มกัน พัฒนากร
ในการแกไ้ ขปัญหาของสมาชกิ ประจำตำบล
ในครัวเรือนตอ่ ไป และองค์กร
ปกครองส่วน
ตรวจทานขอ้ มลู ทอ้ งถนิ่
1. สอบทานข้อมลู ทถี่ ูกตอ้ งและ

เข้มงวด ท้งั นีอ้ าจจะผูกพนั ธ์กบั
ค่าตอบแทนทเ่ี หมาะสม
2. จดั ให้มรี ะบบพเี่ ลี้ยงในการ
ตรวจทานข้อมลู

นำเสนอข้อมลู ระดับตำบล
1. ประชุมคณะผูจ้ ดั เก็บขอ้ มูล

ระดับครวั เรอื นเพ่อื นำเสนอ
ข้อมูลและเตรียมนำเสนอให้
คณะทำงานบรหิ ารการจัดเกบ็
ขอ้ มลู ฯ ระดบั ตำบลรบั รอง
2. ร่วมกนั สรปุ และถอดบทเรยี น
การจดั เกบ็ ขอ้ มูลท่ีผา่ นมา

1. จัดเวทีนำเสนอขอ้ มูล จปฐ.
ประจำปี

2. จัดกระบวนการรับรองขอ้ มลู
ระดับตำบล

590

รายงานฉบบั สมบูรณโ์ ครงการจดั ทำเคร่ืองชีว้ ดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพน้ื ฐาน
ระดับหมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ขน้ั ตอนท่ี กลไกขับเคล่ือน ขอ้ เสนอกระบวนการ กลไกสนับสนุน ระยะเวลา1
12
13 3. จดั ทำรายงานการพฒั นา
14
คณุ ภาพชีวติ ระดบั ตำบล

4. สอ่ื สารและประชาสัมพนั ธ์

ผ่านช่องทางตา่ งๆ ในระดบั

ตำบล

5. วางแผนการพัฒนาคุณภาพ

ชีวติ ในตวั ช้ีวดั ทต่ี กเกณฑ์

ระดบั ตำบล

คณะทำงานบรหิ ารการ 1. จัดเวทนี ำเสนอข้อมลู จปฐ. สำนกั งาน
พฒั นาชมุ ชน
จัดเกบ็ ขอ้ มูลฯ ระดบั ประจำปี ระดบั อำเภอ อำเภอ

อำเภอ 2. จดั กระบวนการรับรองขอ้ มลู

ระดับอำเภอ

3. จดั ทำรายงานการพฒั นา

คณุ ภาพชีวิตระดบั อำเภอ

4. สอ่ื สารและประชาสมั พนั ธ์

ผ่านชอ่ งทางต่างๆ

5. วางแผนการพฒั นาคณุ ภาพ

ชีวิตในตัวชว้ี ัดที่ตกเกณฑ์

ระดับอำเภอ

คณะทำงานบรหิ ารการ 1. จัดเวทนี ำเสนอข้อมลู จปฐ. สำนักงาน มนี าคม
พฒั นาชุมชน
จดั เก็บขอ้ มลู ฯ ระดับ ประจำปี ระดบั จงั หวัด จงั หวดั

จงั หวดั 2. จดั กระบวนการรับรองข้อมูล

ระดบั จังหวดั

3. จัดทำรายงานการพัฒนา

คุณภาพชีวิตระดบั จังหวัด

4. สอ่ื สารและประชาสัมพนั ธ์

ผา่ นชอ่ งทางตา่ งๆ

5. วางแผนการพฒั นาคณุ ภาพ

ชวี ติ ในตัวช้วี ดั ทต่ี กเกณฑ์

ระดบั จังหวัด

คณะกรรมการ 1. ใหค้ วามคดิ เห็นและรบั รอง กรมการพฒั นา เมษายน
ชมุ ชน
อำนวยการงานพฒั นา ขอ้ มลู จปฐ.

คุณภาพชวี ติ ของ 2. จัดทำรายงานการพฒั นา

ประชาชน (พชช.) คณุ ภาพชีวิตคนไทยประจำปี

3. สื่อสารและประชาสมั พนั ธ์

ผา่ นชอ่ งทางต่าง ๆ

591

รายงานฉบับสมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเครื่องชวี้ ดั และแบบสอบถามข้อมลู ความจำเป็นพ้นื ฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพื้นฐาน
ระดับหมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ข้ันตอนท่ี กลไกขบั เคล่ือน ข้อเสนอกระบวนการ กลไกสนับสนนุ ระยะเวลา1

4. วางแผนการพฒั นาคณุ ภาพ
ชีวิตในตัวช้ีวดั ทตี่ กเกณฑ์

ประเด็นพิจารณา ขอให้คณะกรรมการอำนวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน
(พชช.) ไดพ้ จิ ารณาในประเดน็ ดงั ตอ่ ไปนี้

1. ความเหมาะสมของเครื่องชี้วัดข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ที่ใช้ในการจัดเก็บ
ข้อมูลช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาตฉิ บบั ที่ 13 ( พ.ศ. 2566 - พ.ศ. 2570)

2. กลไกและกระบวนการบรหิ ารจดั เกบ็ ข้อมลู ความจำเป็นพ้ืนฐาน (จปฐ)
เจ้าภาพตัวชวี้ ดั ข้อมูลความจำเปน็ พน้ื ฐาน (จปฐ.) ระดับกระทรวง

ขอ้ คิดเหน็ คณะกรรมการฯ

หมวดท่ี 1 สุขภาพ มี 12 ตัวชี้วดั
ผู้แทนกระทรวงสาธารณสุข(นายแพทย์ภูษิต ประคองสาย นายแพทย์ผู้ทรงคุณวุฒิด้าน
สง่ เสรมิ สขุ ภาพ) ขอนำเรยี นสอบถามเก่ียวกับหมวดที่ 1 เรอื่ งสขุ ภาพในตวั ช้ีวดั ท่ี 4 เดก็ แรกเกิดถงึ 12 ปี
ได้รับวัคซีนป้องกันโรคครบตามตารางสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ซึ่งหากดูรายละเอียดในตารางสร้างเสริม
ภูมิคมุ้ กันโรค จะเหน็ ไดว้ ่า เด็กแรกเกดิ , 1 เดือน, 2 เดือน, 4 เดือน, 6 เดอื น, 9 - 12 เดอื น, 1 ปี, 1 ปี
6 เดือน, 2 ปี 6 เดือน, 4 ปี, 7 ปี และ 12 ปี จะต้องได้รับวัคซีนโควิด 19 ซึ่งไม่แน่ใจว่าภายในปี
2565 – 2569 จะสามารถให้วัคซีนโควิด 19 แก่เด็กช่วงอายุดังกล่าวได้หรือไม่ และจะต้องให้ทุกช่วง
ระยะเวลาตามในตารางหรือไม่ จึงอยากให้คณะทำงานฯ มีการชี้แจงให้เข้าใจตรงกัน ต่อมาเรื่องตัวช้ีวัดที่
7 ครัวเรือนมีความรู้และป้องกันตนเองเพื่อควบคุมปัจจัยเสี่ยงที่คุกคามสุขภาวะ เป็นประเด็นตัวชี้วดั ที่ดี
แต่ต้องมาดูว่าเกณฑ์ชี้วัดข้อคำถามในประเด็นนี้ต้องมาพิจารณาให้ดี เนื่องจากปัจจัยเสี่ยงที่คุกคามสุข
ภาวะมีเป็นจำนวนมาก เช่น PM 2.5 หรือโรคโควิด 19 เป็นต้น ซึง่ ควรมกี ารระบุขอบเขตคำนิยามคำว่า
ปัจจัยคุกคามสุขภาวะให้ชัดเจนยิ่งขึ้น และตัวชี้วัดที่ 10 ผู้ป่วยติดเตียงได้รับการดูแลจากครอบครัว
ชุมชน ภาครัฐ หรือภาคเอกชน ประเด็นนี้เป็นคำถามในระดับครัวเรือนหรือในระดับภาพรวมของชุมชน
และในกรณีทค่ี รัวเรอื นใดไมม่ ีผ้ปู ว่ ยตดิ เตียงสามารถข้ามไปตอบคำถามตัวชวี้ ดั ข้อถัดไปไดเ้ ลยหรือไม่
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน (นายนิวัติ น้อยผาง) ขออนุญาตตอบคำถามประเด็น
ที่นายแพทย์ภูษิต ประคองสาย ได้สอบถามและแสดงความคิดเห็นมาใน หมวดที่ 1 เรื่องสุขภาพ
ในตัวชี้วัดที่ 4 เด็กแรกเกิดถึง 12 ปี ได้รับวัคซีนป้องกันโรคครบตามตารางสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ซ่ึง
เป็นเรื่องของการกำหนดคุณภาพชีวิตภาพรวมของอนาคต อันเป็นหน้าที่ของคณะกรรมการอำนวยการ
งานพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตของประชาชน (พชช.) ซ่งึ เจ้าภาพหลักในการผลักดันเร่ืองการได้รับวัคซีนของเด็ก
ให้ครบตามตารางสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคจะเป็นของกระทรวงสาธารณสุข ต่อมาในประเด็นตัวชี้วัดที่ 7
ครัวเรือนมีความรู้และป้องกันตนเองเพื่อควบคุมปัจจัยเสี่ยงที่คุกคามสุขภาวะ จะเป็นเรื่องของการรับรู้
การตระหนักรู้ในระดับครัวเรือน เป็นการตั้งคำถามเพื่อที่จะวัดว่าคนในครัวเรือนมีความรู้เรื่องนี้หรือไม่
ซึ่งในแต่ละพื้นที่ก็จะมีปัจจัยเสี่ยงที่คุกคามสุขภาวะแตกต่างกัน ซึ่งก็จะมีการตอบคำถามที่แตกต่างตาม

592

รายงานฉบบั สมบูรณโ์ ครงการจดั ทำเคร่อื งชี้วัดและแบบสอบถามข้อมลู ความจำเปน็ พน้ื ฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพ้นื ฐาน
ระดบั หมูบ่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

บรบิ ทพนื้ ท่ี และในประเดน็ ตัวชีว้ ัดที่ 10 ผปู้ ่วยตดิ เตยี งไดร้ บั การดูแลจากครอบครวั ชมุ ชน ภาครัฐ หรือ
ภาคเอกชนเป็นคำถามในระดบั ครวั เรอื น และในกรณที ค่ี รวั เรือนใดไม่มีผปู้ ว่ ยติดเตียงสามารถข้ามไปตอบ
คำถามตวั ชว้ี ัดขอ้ ถดั ไปได้เลย

รองปลัดกระทรวงมหาดไทย (นายนิรัตน์ พงษ์สิทธิถาวร) ขอแสดงความคิดเห็นในประเด็น
ตัวชี้วัดที่ 4 เด็กแรกเกิดถึง 12 ปี ได้รับวัคซีนป้องกันโรคครบตามตารางสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
ซึ่งประเด็นตัวชี้วัดในข้อนี้มีความเหมาะสมและเห็นชอบ แต่อาจจะต้องไปพิจารณารายละเอียดย่อยใน
ตัวชี้วัดนี้ที่มีความเป็นไปได้ในระยะ 2 ปีที่จะถึงนี้ กล่าวคือ ในข้อคำถามที่อาจจะยังเป็นไปไม่ได้หรือ
อาจจะทำใหต้ กเกณฑ์ก็เห็นควรที่จะให้ตดั ออก เช่น การได้รับวคั ซีนโควิด 19 ของเด็กแรกเกิดจนถึง 12
ปี เป็นต้น ในทางการแพทย์หากยังไม่มีการรับรองก็ควรตัดออก แต่หากมีการรับรองแล้วว่าเด็กแรกเกิด
จนถงึ 12 ปี สามารถรับวัคซนี โควดิ 19 ได้ ก็ยงั คงไว้ได้

ผู้แทนกระทรวงการท่องเที่ยวและกฬี า (นางวรพร สงิ หเ์ รือง นักวเิ คราะหน์ โยบายและแผน
ชำนาญการพเิ ศษ) เรียนแจง้ ทปี่ ระชมุ เพ่ือทราบ ในประเดน็ ตัวชีว้ ดั ที่ 9 คนอายุ 6 ปขี ้นึ ไป ออกกำลังกาย
อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน ๆ ละ 30 นาที กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬามีความยินดีที่จะร่วมกับ
กระทรวงสาธารณสุขเป็นเจ้าภาพหลกั และดำเนินงานในประเด็นตวั ช้วี ัดนี้

ผู้แทนกระทรวงสาธารณสุข (นายแพทย์ภูษิต ประคองสาย นายแพทย์ผู้ทรงคุณวุฒิด้าน
ส่งเสริมสุขภาพ) เนื่องจากสถานการณ์เรื่องของวัคซีนโควิด 19 มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา เช่น
ตามข่าวในประเทศจีนเริ่มมีการอนุญาตให้สามารถฉีดวัคซีนในเด็กที่มีอายุ 3 ปีขึ้นไป จนกระทั่งถึงอายุ
17 ปี แต่ประเด็นท่เี ปน็ กงั วลในตัวชวี้ ัดท่ี 4 เด็กแรกเกิดถงึ 12 ปี ได้รบั วัคซนี ป้องกันโรคครบตามตาราง
สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ที่ได้มีการใส่ข้อมูลการได้รับวัคซีนโควิด 19 ลงไปในตารางสร้างเสริมภูมิคุ้มกัน
โรค ในทุกกลุ่มอายุของเด็ก (เด็กแรกเกิด – 12 ปี) อาจจะเกิดขึ้นหรือไม่เกิดขึ้นในปี 2565 ซึ่งก็ยัง
ไม่สามารถทราบและยืนยันได้ และจากในตารางที่มีการระบุการให้วัคซีนโควิดแก่เด็กทุก 2 เดือน,
3 เดือน หรือ 1 ปี อาจจะมีการคาดการณ์ผิดพลาดได้ ซึ่งเห็นด้วยกับประธานในที่ประชุม ที่ว่าด้วยเรื่อง
ของการได้รับวัคซีนโควิด 19 ของเด็กแรกเกิด – 12 ปี หากข้อมูลยังไม่ชัดเจน ก็เห็นสมควรว่าให้มี
การตดั ประเด็นเรือ่ งวคั ซีนโควิด 19 ออกจากตารางสร้างเสรมิ ภมู คิ ้มุ กันโรค

อดีตอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน (ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ยุวัฒน์ วุฒิเมธี) ในเรื่องของ
ประเด็นวัคซีนโควิด 19 คงไม่สามารถเก็บข้อมูลในประเด็นนี้ได้เนื่องจากเป็นกรณีพิเศษ และในหมวด
ของสุขภาพ เรื่องการแบ่งกลุ่มอายุคน ควรมีการแบ่งกลุ่มให้ชัดเจนตามหลักเกณฑ์ของกระทรวง
สาธารณสุข เช่น กลุ่มสตรีตั้งครรภ์ กลุ่มเด็กแรกเกิด กลุ่มผู้สูงอายุ เป็นต้น และควรมีประเด็นคำถาม
เกี่ยวกับผู้สูงอายุในหมู่บ้าน / ชุมชน ว่ามีจำนวนเท่าใด มีการดูแลผู้สูงอายุอย่างไร และในหมู่บ้าน /
ชุมชน มีผู้สูงอายุที่ติดเตียงจำนวนเท่าใด มีการดูแลผู้สูงอายุที่ติดเตียงอย่างไร ส่วนตัวชี้วัดในหมวดที่ 1
เร่อื งสุขภาพ มคี วามคิดเห็นวา่ มคี วามเหมาะสมและเหน็ ชอบ

คณบดีวิทยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ดร.วิพรรณ ประจวบเหมาะ)
มีความเห็นชอบกับร่างคู่มือการจัดเก็บข้อมูลความจำเป็นขั้นพื้นฐาน (จปฐ.) ในหมวดที่ 1 เรื่องสุขภาพ
และเห็นด้วยกับท่าน ศ.พิเศษ ดร.ยุวัฒน์ วุฒิเมธี อดีตอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน ในประเด็นเรื่อง
ผู้สูงอายุ เนื่องจากในหมวดที่ 1 เรื่องสุขภาพนั้น มีประเด็นตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับเด็กค่อนข้างมาก ซึ่งใน
ปัจจุบันอัตราการเกิดของเด็กลดน้อยลง และสังคมไทยก็เปลี่ยนเป็นสังคมสูงวัยอย่ างชัดเจนแล้ว โดย

593

รายงานฉบบั สมบูรณโ์ ครงการจัดทำเครอ่ื งช้วี ัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พ้นื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พน้ื ฐาน
ระดับหมูบ่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ช่วงแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

หมวดที่ 1 จะเป็นการเน้นเรื่องคุณภาพชีวิตของเด็กเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งยังขาดประเด็นของวัยทำงาน และ
วยั ผูส้ ูงอายุ โดยเฉพาะวัยทำงานที่กำลังจะก้าวเขา้ สู่วยั สงู อายุในเร่ืองโรคเรื้อรังตา่ ง ๆ หรอื โรคทเ่ี กยี่ วเนอ่ื ง
กับการทำงาน และในอนาคตอาจจะเกิดวิกฤตจากการเปลี่ยนแปลงของสังคมอย่างรวดเร็ว จึงอยากจะ
ทราบว่าประชาชนได้เข้าถึงระบบสุขภาพในยามวิกฤตได้มากน้อยแค่ไหน ควรมีการประเมินระบบ
ไม่อยากให้พิจารณาแค่ว่าการผ่านตามเกณฑ์ แต่ควรที่จะใช้เป็นตัวสำหรับแก้ปัญหาและวางนโยบายให้
สอดรับกับการเปลี่ยนแปลงที่เป็นเชิงรุก เพราะตัวชี้วัดบางตัวจะเป็นลักษณะเชิงรับ เช่น มีการเข้าเยี่ยม
บ้านผู้ป่วยติดเตียงหรือไม่ มันคือการรอให้เขาป่วยติดเตียงแล้วค่อยไปเยี่ยม ซึ่งจริง ๆ ควรที่จะมี
การทำงานเชิงรุกแบบอื่น ๆ เช่น NCD ลดลง การเจ็บป่วยลดลง ผู้ป่วยติดเตียงลดลง เป็นต้น และ
เนอ่ื งจากไมเ่ หน็ ขอ้ คำถามจึงทำใหไ้ ม่ทราบว่าข้อคำถามจะนำไปส่ปู ระเด็นตวั ช้ีวดั หรอื ไม่

รองปลัดกระทรวงมหาดไทย (นายนิรัตน์ พงษ์สิทธิถาวร) หมวดที่ 1 เรื่องสุขภาพ ได้มี
การแสดงความคิดเห็นเป็นท่ีเรียบร้อยแล้ว ที่ประชุมมีมติเห็นชอบ ร่างตัวชี้วดั ในหมวดท่ี 1 เรื่องสุขภาพ
ทง้ั น้ขี อใหค้ ณะทำงานมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรร์ ับคำแนะนำดงั กลา่ วไปพจิ ารณาปรบั ปรุงแก้ไขต่อไป

หมวดท่ี 2 มาตรฐานความเปน็ อยู่ 9 ตัวช้วี ดั
ผู้แทนกระทรวงสาธารณสุข (นายแพทย์ภูษิต ประคองสาย นายแพทย์ผู้ทรงคุณวุฒิด้าน
ส่งเสริมสุขภาพ) ขออนุญาตเรียนสอบถามในหมวดที่ 2 มาตรฐานความเป็นอยู่ ประเด็นตัวชี้วัดที่ 20
ครวั เรือนเข้าถึงและใชบ้ ริการโทรศัพท์เคลื่อนทแ่ี ละอนิ เทอรเ์ นต็ ประเดน็ นจี้ ะเป็นตวั ชี้วัดระดับบุคคลหรือ
ระดับครัวเรือน โดยในปี 2565 – 2569 ทางคณะทำงานฯจะมีความคาดหวังว่าทุกครัวเรือนจะต้อง
เข้าถึงและใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่และอินเทอร์เน็ตใช่หรือไม่ เนื่องจากอาจจะมีข้อจำกัดในคน
บางกล่มุ เช่น ผูส้ ูงอายุ ทอ่ี าจจะเข้าไมถ่ งึ และไมไ่ ด้มกี ารใช้โทรศัพท์เคลื่อนท่ีและอินเทอรเ์ นต็
ผู้แทนกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกจิ และสังคม (นางหทัยชนก ชินอุปราวัฒน์ ผู้อำนวยการ
กองสถิติพยากรณ์) ขออนุญาตเรียนให้ทราบในที่ประชุมเนื่องจากอาจจะไม่ทราบรายละเอียดบางส่วน
เพราะก่อนหน้านี้ไม่ได้เข้าร่วมประชุม แต่เป็นเป็นคณะทำงานฯ ที่เป็นผู้แทนของกระทรวงดิจิทัลเพื่อ
เศรษฐกิจและสงั คมเข้าร่วมประชุม จากข้อคิดเห็นของทา่ นนายแพทยภ์ ษู ิต ประคองสาย และ ดร.วพิ รรณ
ประจวบเหมาะ คือยังไม่เห็นรายละเอียดข้อคำถาม ทราบเพียงว่าหมวดที่ 2 เรื่องมาตรฐานความเป็นอยู่
มี 9 ตัวชี้วัด แต่ยังไม่ทราบถึงรายละเอียดหรือข้อคำถามของตัวชี้วัดแต่ละตัว คงจะต้องกลับไปดูแผนว่า
อีก 5 ปีข้างหน้าในระดับครัวเรือนมีความจำเป็นที่จะเข้าถึงและใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่และ
อนิ เทอรเ์ น็ตหรือไม่ ในประเดน็ ทที่ ่านนายแพทยภ์ ูษิต ประคองสาย ได้กลา่ วถึงในตัวชว้ี ัดที่ 20 ครัวเรือน
เข้าถึงและใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่และอินเทอร์เน็ต เป็นในระดับครัวเรือนหมายถึงแค่ 1 คน
หรือบุคคลใดบุคคลหนึ่งเท่านั้นที่เป็นเจ้าของโทรศัพท์เคลื่อนที่ทั้งในรูปแบบของ Smart phone หรือ
โทรศัพท์เคลื่อนที่แบบ 2G และในส่วนของการเข้าถึงและใช้บริการอินเทอร์เน็ตก็เป็นในระดับครัวเรือน
ไมใ่ ชใ่ นระดบั บคุ คล
หัวหน้าโครงการฯ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ผู้ช่วยศาสตราจารยร์ ณรงค์ จันใด) ในส่วน
ของเอกสารประกอบการประชุม ในแฟ้มจะมีเอกสารแนบท้ายหมายเลข 2 ซึ่งเป็นร่างคู่มือการจัดเก็บ
ข้อมูลความจำเป็นขั้นพื้นฐาน (จปฐ.) จะมีข้อมูลว่าในแต่ละตัวชี้วัดมีคำถามในประเด็นย่อยอะไรบ้าง
มีหลักเกณฑ์การคิดวิเคราะห์อย่างไร และในส่วนของตัวชี้วัดที่ 20 ครัวเรือนเข้าถึงและใช้บริการ

594

รายงานฉบับสมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเครอื่ งชว้ี ัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพน้ื ฐาน
ระดบั หมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ช่วงแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

โทรศัพท์เคลอ่ื นที่และอนิ เทอร์เน็ต มีประเดน็ คำถามย่อย คือ 20.1 ทุกคนในครัวเรอื นมโี ทรศพั ทเ์ คล่ือนที่
เป็นของตนเอง 20.2 ในรอบปีที่ผ่านมา ครัวเรือนเข้าถึงและใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่หรือไม่ 20.3
ครัวเรือนได้รับบริการสัญญาณโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่มีประสิทธิภาพ 20.4 ในรอบปีที่ผ่านมา ครัวเรือน
เข้าถึงและใช้บริการอินเทอร์เน็ตหรือไม่ และ 20.5 ครัวเรือนได้บริการอินเตอร์เน็ตสาธารณะ
(อนิ เตอร์เน็ตประชารัฐ) ซึ่งเป็นข้อคำถามท่ีถามในระดับครัวเรือน โดยคณะทำงานฯ มีความคาดหวังว่าใน
อนาคตทุกครัวเรือนจะสามารถเข้าถงึ และได้ใช้บริการ

รองปลดั กระทรวงมหาดไทย (นายนริ ัตน์ พงษ์สทิ ธถิ าวร)
ในประเด็นตัวชี้วัดที่ 20 ครัวเรือนเข้าถึงและใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่และอินเทอร์เน็ต
ซ่งึ เป็นขอ้ คำถามที่ถามในระดับครัวเรือน มีข้อคดิ เห็นวา่ มคี วามเป็นไปได้ท่ีครวั เรือนจะสามารถเข้าถึงและ
ใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่และอินเทอร์เน็ต และควรจะเป็นเช่นนั้น ซึ่งในยุคไทยแลนด์ 4.0 ใน 1 บ้าน
มี 1 เคร่ือง กส็ ามารถเชือ่ มตอ่ กบั โลกภายนอกและทันต่อเหตุการณ์บ้านเมือง
ผแู้ ทนกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกจิ และสังคม (นางหทัยชนก ชินอปุ ราวัฒน์ ผู้อำนวยการ
กองสถิติพยากรณ์) มีข้อเสนอแนะให้มีการกำหนดนิยามคำว่าโทรศัพท์เคลื่อนที่ว่าเป็นโทรศัพท์เคลื่อนท่ี
แบบ Smart phone หรือ โทรศัพท์เคลื่อนที่แบบ 2G เนื่องจากโทรศัพท์ทั้งสองรูปแบบนี้มีความแตกต่างกัน
ซึ่งโทรศพั ทเ์ คล่ือนทแ่ี บบ Smart phone จะสามารถเขา้ ถึงอินเทอร์เน็ตและเชือ่ มต่อกบั โลกภายนอกได้
รองปลัดกระทรวงมหาดไทย (นายนิรัตน์ พงษ์สิทธิถาวร) ในประเด็นคำนิยามของตัวชี้วัดท่ี
20 ครัวเรือนเข้าถึงและใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่และอินเทอร์เน็ต ขอมอบหมายให้คณะทำงานของ
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พิจารณาดำเนินการปรับปรุงแก้ไขตามคำแนะนำของคณะกรรมการในท่ี
ประชุม และเห็นสมควรว่าตัวชี้วัดในหมวดที่ 2 มีความเหมาะสมเป็นไปตามตัวชี้วัดด้านมาตรฐานความ
เป็นอยู่ แต่หากจะมีการปรบั แก้รายละเอียดย่อยที่เป็นข้อคำถามในประเด็นตัวช้ีวัดต่าง ๆ ก็มอบหมายให้
คณะทำงานของมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์และหนว่ ยงานท่เี ก่ียวข้องดำเนนิ การได้เลย
ผู้แทนกระทรวงอุตสาหกรรม (นางพงษ์ศิริ วรรณศรี ผู้อำนวยการกองตรวจราชการ) ใน
ประเดน็ ตวั ชี้วัดท่ี 15 ครัวเรือนไม่ถูกรบกวนจากมลพษิ ทางกระทรวงอุตสาหกรรมขอช้ีแจงให้ทราบในท่ี
ประชุมว่า ถ้าในระดับครัวเรือนนั้นจะมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องโดยตรง ซึ่งในการประกอบกิจการ
อตุ สาหกรรมขนาดเล็ก เชน่ อซู่ อ่ มรถจะอยภู่ ายใต้การดูแลของกรมส่งเสริมการปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน และ
กระทรวงสาธารณสุข (พรบ.การประกอบกิจการที่ไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ) เนื่องจากโรงงานตาม
กฎหมายของกระทรวงอุตสาหกรรมคือโรงงานที่มีผู้ประกอบการตั้งแต่ 50 คนขึ้นไป หรือมีแรงงานคน
หรือแรงม้าเครื่องจักรตั้งแต่ 50 ขึ้นไป และทางกระทรวงอุตสาหกรรมได้มีการถ่ายโอนภารกิจเรื่องของ
โรงงานขนาดเล็กไปให้เทศบาลตำบลและเทศบาลเมืองเป็นหนว่ ยงานทก่ี ำกบั ดูแล ซึ่งในประเด็นตัวช้ีวัดที่
15 ครัวเรือน ไม่ถูกรบกวนจากมลพิษ มีกระทรวงอุตสาหกรรมเป็นหน่วยงานหลัก จึงมีข้อกังวลใน
ประเดน็ น้ี
หัวหน้าโครงการฯ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์รณรงค์ จันใด) ใน
ประเด็นตัวชี้วัดที่ 15 ครัวเรือนไม่ถูกรบกวนจากมลพิษ ในการระบุหน่วยงานหลักของแต่ละตัวชี้วัดเปน็
การระบุเพื่อแสดงให้เห็นถึงความเกี่ยวข้องและการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ของหน่วยงานนั้น ๆ แต่หาก
กระทรวงอุตสาหกรรมมีความกังวลใจก็สามารถปรับเปลีย่ นไปเป็นหนว่ ยงานร่วมได้ ซึ่งหน่วยงานทั้งหมด
ท่กี ลา่ วมาขา้ งต้น ท้งั กรมส่งเสรมิ การปกครองสว่ นท้องถ่ิน กระทรวงมหาดไทย และกระทรวงสาธารณสุข

595

รายงานฉบบั สมบูรณโ์ ครงการจัดทำเคร่ืองช้ีวัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พืน้ ฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พ้นื ฐาน
ระดบั หมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ก็เป็นหน่วยงานร่วมที่จะมีการพิจารณาการใช้ประโยชน์จากข้อมูลประเด็นตัวชี้วัดดังกล่าว ซึ่งข้อคำถาม
ในประเด็นตัวชี้วัดที่ 15 ครัวเรือนไม่ถูกรบกวนจากมลพิษ จะว่าด้วยเรื่อง 15.1 มีเสียงดัง (อาจสังเกต
จากคนที่ยืนห่างกัน 1 เมตร พูดคุยกันแล้ว คนฝ่ายหนึ่งไม่ได้ยินว่าอีกฝ่ายพูดอะไร หรือความรู้สึกของ
บุคคลว่ามีเสียงดังเกิดขึ้นจากสภาพปกติของพื้นที่นั้น ๆ) 15.2 มีความสั่นสะเทือน (อาจสังเกตจาก
ความร้สู กึ หรือการสัน่ ไหวของวสั ดุ หรอื ภาชนะ ส่งิ ของตา่ ง ๆ ในครวั เรอื น) 15.3 ฝนุ่ ละออง (อาจสังเกต
จาก ฝนุ่ ขนาดใหญ่โดยการมองดว้ ยตาเปล่า และฝุน่ ขนาดเล็ก สงั เกตจากการสะสมของฝุ่นบนพ้ืนผิวหน้า
ของภาชนะ อุปกรณ์ เครื่องใช้ภายในบ้าน หรือจากการหายใจลำบาก หายใจไม่สะดวก รู้สึกระคายเคือง
มีอาการคัดจมูก เป็นต้น) 15.4 มีกลิ่นเหม็น (อาจสังเกตจากการก่อปัญหารบกวน จนรู้สึกเกิด
ความเดือดร้อนรำคาญ และรู้สึกไม่สบาย เช่น วิงเวียนศีรษะ คลื่นไส้ หายใจไม่สะดวก ทำให้เกิด
ความวิตกกังวล รู้สึกอึดอัด เครียด เป็นต้น) 15.5 มีน้ำเสีย (อาจสังเกตจากในบริเวณแหล่งน้ำที่อยู่
ใกล้เคียงกับครัวเรือน เช่น แม่น้ำ ห้วย หนอง คลอง หรือบึง โดยการสังเกตจากกลิ่นและสีที่ผิดไปจาก
ธรรมชาติ) 15.6 มขี ยะหรอื ของเสยี อันตราย เช่น หลอดไฟ กระปอ๋ งสเปรย์ ถา่ นไฟฉาย ฯลฯ (อาจสงั เกต
จากโดยการมองเห็นหรือสังเกต เช่น ปริมาณขยะล้นจากภาชนะรองรับขยะ กล่ินเหม็นจากขยะ ของเสีย
อันตรายไม่มีการแยกทิ้งอย่างถูกต้อง พบน้ำขยะมูลฝอย หรือเป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์และแมลงพาหะ
นำโรค) และหากหน่วยงานท่ีเกยี่ วข้องมีประเด็นรายละเอียดเพ่ิมเตมิ สามารถเสนอแนะเพอ่ื ปรับแก้ไขได้

รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน (นายนิวัติ น้อยผาง) ในการดำเนินงานภาพรวมจะเน้น
ชุมชนและประชาชนเป็นศูนย์กลางในการแก้ปัญหา เพราะฉะนั้นภารกิจที่จะก่อให้เกิดความสุขร่วมกัน
ความสุขมวลรวมของพ่ีน้องประชาชนมกี ารกระจายความรับผิดชอบ โดยเฉพาะในระดับท้องถิ่น (องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น) มีการรับผิดชอบทุกตัวชี้วัดอยู่แล้ว เพราะฉะนั้นประเด็นนี้จึงไม่ต้องกังวล เพราะ
ประชาชนที่ตอบคำถามนี้เขาตอบตามความรู้สึกและการรับรู้ของเขา ซึ่งบางอย่างอาจจะไม่ใช่ก็ได้ในแง่
ของวทิ ยาศาสตร์ แต่เขารบั รู้ไดว้ ่ามันเป็นภัยพบิ ัติของเขา หรอื มนั รบกวนความเป็นอยู่ของเขา

อดีตอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน (ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ยุวัฒน์ วุฒิเมธี) ในประเด็น
ตัวชี้วัดที่ 20 ครัวเรือนเข้าถึงและใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่และอินเทอร์เน็ต เป็นประเด็นคำถามท่ี
จะต้องใช้ความระมัดระวังในการเก็บข้อมูล เนื่องจากในบางครัวเรือนอาจจะมองว่าขนาดเงินซื้อข้าวกิน
ยังไมม่ ี แล้วจะใหเ้ อาเงินท่ีไหนไปซ้ือโทรศพั ท์

ผู้แทนกระทรวงสาธารณสุข (นายแพทย์ภูษิต ประคองสาย นายแพทย์ผู้ทรงคุณวุฒิด้าน
ส่งเสริมสุขภาพ) ขอพิจารณาตัวชี้วัดที่ 20 เรื่องครัวเรือนเข้าถึงและใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่และ
อนิ เทอรเ์ นต็ เข้าใจวา่ ขอ้ มลู จากสำนกั งานสถติ แิ ห่งชาติ ในปจั จุบันครวั เรอื นเกอื บ 100 เปอร์เซน็ ต์ท่ีมีมือ
ถืออย่างน้อย 1 เครื่อง เมื่อมีการนำข้อมูลไปใช้ในปี 2565 หากมีการถามถึงการเข้าถึงโทรศัพท์มือถือ
และอินเทอร์เน็ตแล้วอาจจะไม่เป็นประโยชน์ ควรมีการถามถึงวัตถุประสงค์ที่มีการเข้าใช้โทรศัพท์มือถือ
และอินเทอร์เน็ตด้วย เนื่องจากมีการศึกษาพบว่าในกลุ่มผู้สูงอายุสามารถใช้อินเทอร์เน็ต และ Social
network ในการสือ่ สารหรอื การรบั ข้อมูลข่าวสารเพอื่ ใชใ้ นการประกอบอาชพี ได้ เชน่ ทำเว็ปเพจ โฆษณา
สนิ ค้า เสนอสนิ คา้ ผา่ น Social media เปน็ ตน้

596

รายงานฉบบั สมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเครอื่ งชว้ี ัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเปน็ พ้ืนฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พน้ื ฐาน
ระดับหมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

รองปลัดกระทรวงมหาดไทย (นายนริ ตั น์ พงษส์ ทิ ธถิ าวร) หมวดที่ 2 มาตรฐานความเป็นอยู่
ได้มีการแสดงความคิดเห็นเป็นทีเ่ รียบร้อยแล้ว ท่ีประชมุ มมี ตเิ ห็นชอบ ร่างตัวชี้วดั ในหมวดที่ 2 มาตรฐาน
ความเป็นอยู่ ทั้งนี้ขอให้คณะทำงานมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์รับคำแนะนำดังกล่าวไปพิจารณาปรับปรุง
แกไ้ ขต่อไป

หมวดท่ี 3 การศึกษา 5 ตัวชีว้ ัด
ผู้แทนกระทรวงศึกษาธกิ าร (นายวีระ แขง็ กสกิ าร รองปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร) ในตัวชี้วดั
ที่ 22 ประเด็นที่ 1) เด็กอายุต่ำกว่า 6 ปี มีการเรียนรู้และพัฒนาการทางบุคลิกภาพตามวัย ควรให้มี
การปรับเปน็ “เด็กอายุตำ่ กวา่ 6 ปี มีการเรยี นรู้และพัฒนาการสมวัย” แนวการพจิ ารณาวเิ คราะห์คำตอบ
เด็กอายุตำ่ กวา่ 3 ปี ได้รบั การสง่ เสริมการเรียนรู้จากการทำกจิ กรรมรว่ มกันในครวั เรือน หรือไม่ ประเด็น
นี้มีความเหมาะสม ประเด็นที่ 2) ข้อเด็กอายุ 3 - 6 ปี ได้รับการบริการเลี้ยงดูเตรียมความพรอ้ มก่อนวยั
เรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก หรือได้เข้าร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมของเด็กก่อนวัยเรียน
ทุกคนหรือไม่ ควรปรับจากคำว่า “ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก” ซึ่งมีขอบเขตท่ีแคบเกินไป ควรปรับเป็น
“ในสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ” ซึง่ จะครอบคลมุ ไปยังโรงเรยี น วัด สถานท่แี รงงานอบรมเดก็ ปฐมวัย
อดีตอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน (ศาสตราจารยพ์ ิเศษ ดร.ยุวฒั น์ วุฒิเมธ)ี ระดับการศึกษา
เด็กเล็กมีทั้งจากของท้องถิ่น วัด และชาวบ้าน หากเราดูในชุมชนว่ามีความสนใจเด็กในก่อนวัยเรียน
หรือไม่ จะทราบได้ว่ามีสภาพเป็นอย่างไร และมีข้อสังเกตการศึกษาของเด็กอายุต่ำกว่า 6 ปี น้ีเป็น
ประเด็นทด่ี ี แต่ อายุ 6-15 ปี เรียนภาคบงั คบั จะมคี ณุ ภาพหรือไม่ การแบง่ หมวดการศึกษาควรแบ่งเป็น
ระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษา โดยแบ่งเป็นมัธยมศึกษาภาคบังคับ ม.1-ม.3 และในส่วน ม.4-ม.6
มีการสอนวิชาชีพบ้างหรือไม่ โดยสอดแทรกวิชาการเข้าไป และในอายุ 15-59 ปี กรณีอ่านภาษาไทย
และหากเด็กจบ ม.6 แล้วไปต่อระดับอุดมศึกษา มีมากน้อยเพียงใด หรือไปต่อในระดับอาชีวศึกษา
ซึ่งหมวดนี้มีความจำเป็นมาก คนในชุมชนเข้าถึงหรือไม่ เพราะที่ผ่านมาเราเน้นไปท่ีระดับอุดมศึกษา
มากเกนิ ไป ซง่ึ ยงั มีภาคอาชีวศกึ ษาอีกช่องทางหนง่ึ
คณบดีวิทยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ดร.วิพรรณ ประจวบเหมาะ)
ตามยุทธศาสตร์ชาติในปัจจุบัน เน้นการศึกษาตลอดชีวิตหรือการเรียนตามอัธยาศัย ประเด็นที่จะต้องวัด
มิใช่เพียงแค่เด็กเท่านั้น แต่ยังมีวัยทำงาน ผู้สูงอายุที่ต้องการเพิ่มพูนทักษะการทำงาน ทักษะชีวิต
ซึ่งจะตอ้ งมกี ารเรียนรูอ้ ย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิตหรอื ไม่ ซึง่ เปน็ เร่ืองสำคัญสำหรับคณุ ภาพคนในยุคต่อไป ซึ่ง
จะไม่ถูกจำกัดไว้เฉพาะวัยเรียนเท่านั้นที่จะเรียนได้ และอีกหนึ่งประเด็นที่ฝากคือหน่วยงานหลักท่ี
รับผิดชอบควรเพิ่ม บทบาทของกระทรวงอุดมศึกษาและวิทยาศาสตร์ ซึ่งจะเข้ามาช่วยเสริมที่มิใช่เพียง
การเรียนต่อในระดับมหาวิทยาลัยอย่างเดียว แต่เป็นการเพิ่มพูนทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต มิใช่เพียง
แคผ่ ลติ บัณฑิตออกไปเท่าน้นั
ผแู้ ทนกระทรวงดิจิทลั เพ่ือเศรษฐกจิ และสังคม (นางหทยั ชนก ชนิ อปุ ราวัฒน์ ผู้อำนวยการ
กองสถิติพยากรณ์) สำหรับตัวชี้วัดที่ 26 เด็ก เยาวชน/ผู้ใหญ่มีทักษะการเรียนรู้ที่จำเป็นในศตวรรษที่
21 เมื่อลงรายเอียดไปในส่วนคำถาม มีการถามเป็นครัวเรือน จะวัดที่ครัวเรือนหรือไม่ ในตัวชี้วัดอื่น ๆ
ถามรายคน แต่ตวั ชว้ี ัดนี้ เป็นการวดั รายครัวเรอื นจงึ ขอฝากอาจารยช์ ว่ ยพจิ ารณา

597

รายงานฉบบั สมบูรณโ์ ครงการจดั ทำเครื่องชว้ี ดั และแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพน้ื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พน้ื ฐาน
ระดบั หมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

หัวหน้าโครงการฯ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์รณรงค์ จันใด) ขอเรียน
วา่ ในตัวชว้ี ดั นเ้ี ป็นคำถามที่มกี ารถามในแผนนีเ้ ปน็ ครง้ั แรก ซ่ึงในขอ้ คำถามน้เี ปน็ ไปไม่ไดว้ ่าในทุกครัวเรือน
จะสามารถมีทักษะการเรียนรู้ที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 ได้ ขอเพียง 1 คนในครัวเรือนมี ก็เพียงพอ
ไม่จำกัดเพศ หรือช่วงวยั แตห่ ากตอ้ งการเปลี่ยนแปลงก็สามารถเปลีย่ นแปลงได้

ผู้แทนกระทรวงสาธารณสุข (นายแพทย์ภูษิต ประคองสาย นายแพทย์ผู้ทรงคุณวุฒิด้าน
สง่ เสรมิ สขุ ภาพ) มคี ำถามท่คี ล้ายกบั ทา่ นตัวแทนจากกระทรวงดิจิทลั เพื่อเศรษฐกิจและสังคม ในตัวช้ีวัดที่
26 มีเค้าคำถาม 3 ข้อ สังเกตดูว่าค่อนขา้ งเป็นนามธรรม เช่น บุคคลที่มีทักษะการเรียนรู้ดา้ นนวัตกรรม
ประกอบดว้ ย คดิ สร้างสรรค์ ครวั เรือน มีบุคคลทม่ี ที ักษะสารสนเทศ ส่ือ เทคโนโลยี ครัวเรอื น มบี ุคคลที่มี
ทักษะชีวิตและอาชีพ ควรมีการปรับข้อคำถามให้มีความชัดเจนมากขึ้น เนื่องจากข้อคำถามเดิมค่อนข้าง
ยังไม่ตรงและยังเป็นนามธรรมมาก อาจจะเป็นการตัดสินของผู้สัมภาษณ์วา่ ใช่หรือไม่ใช่ อีกหนึ่งประเด็น
เห็นด้วยกับ อาจารย์ ดร.วิพรรณ ประจวบเหมาะ ในเรื่องของ Lifelong learning หรือ การศึกษานอก
ระบบ เห็นว่าข้อคำถามในหมวดที่ 3 นั้นเน้นการศึกษาในระบบ ภาคบังคับ ที่จริงแล้วอยากจะโปรโมท
ให้มีการศึกษานอกโรงเรียน หรือการศึกษานอกระบบ ในขณะเดียวกันการศึกษาตามอัธยาศัยทั่วไปยัง
ไมเ่ ห็นมีข้อคำถามเหล่าน้ี

ผู้แทนกระทรวงศึกษาธิการ (นายวีระ แข็งกสิการ รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ) เห็น
ด้วยกับตัวชี้วัดที่ 26 อาจจะมีความเป็นนามธรรม อาจจะไม่ได้ประโยชน์ในการนำไปถาม ควรมีการนำ
ข้อนี้ Lifelong learning มาปรับกระบวนการพูดในเชิงการศึกษาตลอดชีวิต อาจจะเพิ่มยุทธศาสตร์ชาติ
ส่งเสริมการศึกษาในเรื่องอาชีพมากขึ้น อาจมีคำถามด้านอาชีพซึ่งเป็นประเด็นที่น่าสนใจ และในข้อ 25
คนอายุ 15 - 59 ปี (ยกเว้นคนพิการ) สามารถ อา่ น เขียนภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาทีส่ าม หรือคิด
เลขอย่างง่ายได้ พอมาดูในข้อคำถามพูดถึงภาษาไทย คณิตศาสตร์เท่าน้นั หากไม่มีการพูดถงึ ภาษาอังกฤษ
ภาษาทีส่ าม ในส่วนน้ีอาจจะต้องตัดไป ซึ่งไมส่ อดคลอ้ งกบั การมีขอ้ คำตอบ

รองปลัดกระทรวงมหาดไทย (นายนิรัตน์ พงษ์สิทธิถาวร) หมวดที่ 3 การศึกษา ได้มี
การแสดงความคิดเห็นเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ที่ประชุมมีมติเห็นชอบ ร่างตัวชี้วัดในหมวดที่ 3 การศึกษา
ทง้ั นี้ขอใหค้ ณะทำงานมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตรร์ ับคำแนะนำดงั กล่าวไปพจิ ารณาปรับปรุงแก้ไขต่อไป

หมวดที่ 4 เศรษฐกจิ 4 ตวั ชีว้ ัด
ผู้แทนสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (นางสาวดวงกมล วิมลกิจ
ผู้เชี่ยวชาญ) ในเรื่องแรงงานนอกระบบ ในส่วนคำนิยาม และดูคู่กับ กชช. 2ค ด้วยนั้น ณ ตอนนี้มีกลุ่มท่ี
อยู่ในระบบประกันสงั คม มาตรา 39 และมาตรา 40 ซ่งึ ดูคำนิยามแรงงานนอกระบบแลว้ น้ัน ไมแ่ น่ใจว่า
จะรวมในส่วนนี้ด้วยหรอื ไม่ จะได้ทราบให้แนช่ ดั ว่าคนทเ่ี ป็นแรงงานนอกระบบ ในมาตรา 39 และมาตรา
40 ไม่ถือว่าเป็นคนแรงงานนอกระบบ ซึ่งถือว่ามีการคุ้มครองเพราะว่าดูแรงงานว่าได้รับการคุ้มครอง
หรือไมถ่ ูกค้มุ ครอง ถูกหรือไม่ ซ่งึ จะชดั เจนเมือ่ เรานำมาประมวล วเิ คราะหผ์ ลแลว้ เราจะได้ทราบแน่นอน
เชน่ เกษตรกรซ้ือ ม.40 ไว้ มกี ารคุม้ ครอง จะไดไ้ มถ่ กู นำมารวมจะได้นำไปไวท้ ่ีใดท่ีหนึง่ ซง่ึ จะขอนิยามใน
ส่วนนใี้ ห้มคี วามชดั เจนย่ิงข้นึ

598

รายงานฉบับสมบูรณโ์ ครงการจดั ทำเครื่องชวี้ ดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พนื้ ฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พื้นฐาน
ระดบั หมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

รองปลัดกระทรวงมหาดไทย (นายนิรัตน์ พงษ์สิทธิถาวร) หมวดที่ 4 เศรษฐกิจ ได้มี
การแสดงความคิดเห็นเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ที่ประชุมมีมติเห็นชอบ ร่างตัวชี้วัดในหมวดที่ 4 เศรษฐกิจ
ทั้งนี้ขอให้คณะทำงานมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์รับคำแนะนำดังกล่าวไปพิจารณาปรับปรุงแก้ไขต่อไป
สำหรับหมวดที่ 5 การค้มุ ครองทางสังคมและการมีส่วนร่วม ไม่มีหนว่ ยงานใดให้ความคดิ เหน็ เพม่ิ เติม

มตทิ ปี่ ระชมุ
เห็นชอบร่างเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูล จปฐ. ทั้ง 5 หมวด 38 ตัวชี้วัด ทั้งนี้ขอให้

คณะทำงานมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์รบั คำแนะนำดังกลา่ วไปพิจารณาปรับปรุงแก้ไขต่อไป

4.2 พิจารณาเห็นชอบร่างเคร่อื งชวี้ ัดและแบบสอบถามข้อมูล กชช. 2ค
ผลจากการออกแบบเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูล กชช. 2ค แนวทางควบคุม

คุณภาพการจดั เก็บขอ้ มูลและรปู แบบการรายงานดว้ ยระบบสารสนเทศที่รองรับความต้องการของทุกภาค
ส่วน และในครั้งนี้ กรมการพัฒนาชุมชน ได้มอบหมายให้สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่ง
มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ซึง่ ไดด้ ำเนนิ การวเิ คราะห์ประมวลผลจากการสอบถามความคิดเหน็ ผูใ้ ชเ้ คร่ืองชี้
วัดและแบบสอบถามข้อมูล กชช. 2ค เกี่ยวกับปัญหาและความต้องการของผู้ใช้ข้อมูล (ส่วนภูมิภาค)
จำนวน 8 จังหวัด กระจายตามภูมิภาค รวมทั้งการวิเคราะห์ประมวลผลจากการสอบถามความคิดเห็น
คณะทำงานปรับปรงุ เครื่องช้ีวัดคุณภาพชีวิตของประชาชน และจัดทำแบบสอบถามและเกณฑ์ชี้วัดข้อมูล
จปฐ (รายละเอียดตามเอกสารแนบท้ายหมายเลข 3) โดยสรุปสาระสำคัญ ดังน้ี

ตัวชี้วัดข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) สำหรับใช้ในช่วงแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2566 - 2570)

จากการศึกษาและปรับปรุงเครื่องชี้วัดข้อมูล กชช. 2ค ที่จะนำมาใช้ในการจัดเก็บ
ข้อมูลในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566-2570) มี 7 หมวด 44
ตวั ชี้วัด ดังนี้

ลำดับ ตวั ชว้ี ดั หน่วยงานรับผดิ ชอบ

หนว่ ยงานหลกั หนว่ ยงานรว่ ม

สว่ นท่ี 1 ขอ้ มลู พืน้ ฐานหมบู่ ้าน / ชมุ ชน

ตัวช้ีวดั ที่ 1 ขอ้ มลู ดา้ นประชากร

ส่วนท่ี 2 ข้อมลู พน้ื ฐานระดบั หมูบ่ ้าน (กชช. 2ค) 7 หมวด 44 ตวั ช้ีวดั

หมวดที่ 1 โครงสร้างพ้นื ฐาน (10 ตัวชวี้ ัด)

ตวั ชว้ี ดั ที่ 1 ถนน - กระทรวงคมนาคม - หนว่ ยบญั ชาการทหารพฒั นา

- กระทรวงมหาดไทย

ตวั ชวี้ ดั ที่ 2 น้ำด่ืม - กระทรวงมหาดไทย - กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติ

และส่ิงแวดล้อม

- หนว่ ยบญั ชาการทหารพฒั นา

- กระทรวงสาธารณสขุ

- กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

599

รายงานฉบับสมบูรณโ์ ครงการจัดทำเครื่องช้ีวดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพน้ื ฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พื้นฐาน
ระดบั หมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ่วงแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ลำดับ ตวั ชวี้ ัด หน่วยงานรับผดิ ชอบ

หนว่ ยงานหลัก หน่วยงานร่วม

ตวั ชี้วัดท่ี 3 น้ำใช้ - กระทรวงมหาดไทย - กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติ

และสิ่งแวดลอ้ ม

- หน่วยบัญชาการทหารพฒั นา

- กระทรวงสาธารณสุข

- กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

- กระทรวงคมนาคม

ตวั ช้วี ดั ที่ 4 นำ้ เพื่อการเกษตร - กระทรวงเกษตรและ - กระทรวงมหาดไทย

สหกรณ์ - หนว่ ยบัญชาการทหารพฒั นา

- กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ

และสิง่ แวดล้อม

ตวั ชวี้ ดั ที่ 5 ไฟฟ้าและเชอื้ เพลงิ - กระทรวงมหาดไทย

ในการหุงต้ม - กระทรวงพลงั งาน

ตวั ชว้ี ดั ที่ 6 การมที ี่ดินทำกนิ - กระทรวงเกษตรและ - กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติ

สหกรณ์ และสง่ิ แวดลอ้ ม

- กระทรวงมหาดไทย - สำนกั นายกรัฐมนตรี

ตวั ชี้วดั ที่ 7 การตดิ ต่อสอื่ สาร - กระทรวงดิจิทลั เพื่อ - สำนักงานคณะกรรมการ

เศรษฐกจิ และสังคม กิจการกระจายเสียง กิจการ

โทรทัศน์ และกจิ การ

โทรคมนาคมแห่งชาติ

ตัวชว้ี ัดท่ี 8 ศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เล็ก - กระทรวงมหาดไทย - กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

- กระทรวงสาธารณสุข

ตัวช้ีวดั ที่ 9 ส่งิ อำนวยความ - กระทรวงการพัฒนาสังคม -

สะดวกคนพกิ ารและ และความมน่ั คงของมนษุ ย์

ผูส้ ูงอายุ - กระทรวงสาธารณสุข

ตัวชว้ี ดั ท่ี 10 พนื้ ที่สาธารณะสี - กระทรวง - กระทรวงการท่องเท่ยี วและ

เขียวและพืน้ ที่ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ กฬี า

สาธารณะประโยชน์ สิ่งแวดลอ้ ม - กระทรวงมหาดไทย

หมวดที่ 2 สภาพพน้ื ฐานทางเศรษฐกจิ (10 ตวั ชว้ี ดั )

ตัวชวี้ ัดที่ 11 การมงี านทำ - กระทรวงแรงงาน - กระทรวงอุตสาหกรรม

- กระทรวงพาณชิ ย์

- กระทรวงมหาดไทย

- กระทรวงการพัฒนาสงั คม

และความมน่ั คงของมนษุ ย์

- กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

- กระทรวงศกึ ษาธิการ

- หนว่ ยบัญชาการทหารพฒั นา

600

รายงานฉบับสมบูรณโ์ ครงการจดั ทำเคร่อื งช้ีวดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเป็นพน้ื ฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพนื้ ฐาน
ระดบั หมูบ่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ช่วงแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ลำดับ ตวั ชวี้ ัด หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบ
ตัวชว้ี ดั ท่ี 12 การทำงานในสถาน
ประกอบการ หน่วยงานหลัก หนว่ ยงานร่วม
ตวั ชว้ี ัดที่ 13
ตัวช้วี ดั ท่ี 14 ร้านอาหารและ - กระทรวงแรงงาน - กระทรวงอุตสาหกรรม
ตวั ชว้ี ัดท่ี 15 รา้ นค้า
ตวั ชว้ี ัดท่ี 16 ผลผลติ จากการทำ - กระทรวงพาณิชย์
นา
ผลผลติ จากการทำ - กระทรวงการพฒั นาสังคม
ไร่
ผลผลติ จากการทำ และความมนั่ คงของมนุษย์
สวน
- กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

- กระทรวงศกึ ษาธิการ

- หนว่ ยบัญชาการทหารพฒั นา

- กระทรวงพาณชิ ย์ - กระทรวงสาธารณสุข

- กระทรวงมหาดไทย

- กระทรวงเกษตรและ - หนว่ ยบญั ชาการทหารพฒั นา

สหกรณ์

- กระทรวงเกษตรและ - หน่วยบัญชาการทหารพฒั นา

สหกรณ์

- กระทรวงเกษตรและ - หน่วยบญั ชาการทหารพฒั นา

สหกรณ์

ตัวชี้วดั ที่ 17 ปศุสัตวแ์ ละการ - กระทรวงเกษตรและ - หนว่ ยบัญชาการทหารพฒั นา

ประมง สหกรณ์

ตวั ชี้วดั ที่ 18 ผลผลติ จากการทำ - กระทรวงเกษตรและ - หน่วยบญั ชาการทหารพฒั นา

เกษตรอน่ื ๆ สหกรณ์

ตวั ชว้ี ัดท่ี 19 การประกอบ - กระทรวงอุตสาหกรรม - หนว่ ยบญั ชาการทหารพฒั นา

อุตสาหกรรมใน - กระทรวงมหาดไทย

ครัวเรอื น

ตัวช้วี ัดท่ี 20 การทอ่ งเที่ยว - กระทรวงการทอ่ งเทีย่ วและ - กระทรวงมหาดไทย

กฬี า - กระทรวงวัฒนธรรม

หมวดท่ี 3 สขุ ภาวะและอนามัย (7 ตัวชวี้ ดั )

ตวั ชว้ี ัดท่ี 21 การป้องกัน - กระทรวงสาธารณสขุ - กระทรวงมหาดไทย

โรคตดิ ต่อ - กระทรวงแรงงาน

ตวั ชว้ี ัดท่ี 22 การได้รับบริการ - กระทรวงสาธารณสุข

และดแู ลสขุ ภาพ

อนามัย

ตวั ชว้ี ัดที่ 23 อนามัยแมแ่ ละเดก็ - กระทรวงสาธารณสุข

ตัวช้ีวดั ท่ี 24 สุขภาวะคนพิการ - กระทรวงสาธารณสขุ - กระทรวงการพัฒนาสังคม

และผ้สู งู อายุ และความมน่ั คงของมนษุ ย์

ตัวชว้ี ัดท่ี 25 อนามัยส่ิงแวดล้อม - กระทรวงสาธารณสขุ -

601

รายงานฉบับสมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเครื่องชว้ี ดั และแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พน้ื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พนื้ ฐาน
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ลำดับ ตวั ชีว้ ดั หน่วยงานรบั ผิดชอบ

หนว่ ยงานหลัก หนว่ ยงานร่วม

ตวั ชีว้ ดั ที่ 26 ความปลอดภยั ใน - กระทรวงแรงงาน - กระทรวงสาธารณสขุ

การทำงาน - กระทรวงอตุ สาหกรรม

ตัวชว้ี ดั ท่ี 27 การกีฬาและการ - กระทรวงการท่องเท่ียวและ - กระทรวงมหาดไทย

ออกกำลงั กาย กีฬา - กระทรวงศกึ ษาธิการ

หมวดที่ 4 ความรู้และการศึกษา (4 ตัวชีว้ ดั )

ตวั ชวี้ ัดท่ี 28 การใหบ้ ริการด้าน - กระทรวงศึกษาธิการ - กระทรวงมหาดไทย

การศกึ ษา

ตวั ชีว้ ัดที่ 29 ความรอบรู้ - กระทรวงดิจทิ ลั เพอ่ื - สำนักงานคณะกรรมการ

เศรษฐกจิ และสังคม กิจการกระจายเสียง กจิ การ

- กระทรวงสาธารณสุข โทรทศั น์ และกจิ การ

- กระทรวงการคลงั โทรคมนาคมแหง่ ชาติ

ตัวชวี้ ดั ท่ี 30 การไดร้ ับการ - กระทรวงแรงงาน - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ฝึกอบรมด้านตา่ ง ๆ - กระทรวงศกึ ษาธิการ - กระทรวงมหาดไทย

- กระทรวงดจิ ิทลั เพื่อเศรษฐกิจ

และสงั คม

ตัวชว้ี ัดที่ 31 โอกาสเข้าถึงระบบ - กระทรวงศึกษาธิการ - กระทรวงการพฒั นาสงั คม

การศกึ ษาของคน และความมนั่ คงของมนุษย์

พิการ - กระทรวงดจิ ิทลั เพือ่ เศรษฐกจิ

และสังคม

หมวดท่ี 5 การมีสว่ นรว่ มและความเขม้ แขง็ ของชุมชน (5 ตัวชวี้ ัด)

ตวั ชว้ี ัดที่ 32 การรวมกลุ่มของ - กระทรวงมหาดไทย - กระทรวงการพฒั นาสงั คม

ประชาชน และความมนั่ คงของมนษุ ย์

- กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

- กระทรวงสาธารณสขุ

- กระทรวงศกึ ษาธิการ

- หนว่ ยบัญชาการทหารพฒั นา

- สถาบนั พฒั นาองค์กรชุมชน

(พอช.)

ตัวชวี้ ดั ท่ี 33 การมีสว่ นรว่ มของ - กระทรวงมหาดไทย - กระทรวงการพัฒนาสังคม

ชุมชน และความมน่ั คงของมนษุ ย์

- กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

- กระทรวงสาธารณสขุ

- กระทรวงศึกษาธิการ

- กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ

และสังคม

หนว่ ยบัญชาการทหารพฒั นา

602

รายงานฉบับสมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเคร่อื งช้วี ดั และแบบสอบถามข้อมูลความจำเปน็ พื้นฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พื้นฐาน
ระดับหมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ลำดับ ตวั ชี้วัด หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบ

หนว่ ยงานหลัก หนว่ ยงานร่วม

- สถาบนั พฒั นาองค์กรชุมชน

(พอช.)

ตัวชว้ี ดั ท่ี 34 ความปลอดภัยของ - สำนักงานตำรวจแห่งชาติ - กระทรวงยตุ ิธรรม

หมูบ่ า้ น / ชมุ ชน - กระทรวงการพัฒนาสังคม

และความมน่ั คงของมนุษย์

- กระทรวงมหาดไทย

ตัวชว้ี ดั ท่ี 35 ศาสนสถาน ศนู ย์ - กระทรวงวัฒนธรรม - กระทรวงมหาดไทย

เรยี นรู้ชุมชน - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

และภมู ิปญั ญา - กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ

ชมุ ชน และส่ิงแวดลอ้ ม

ตวั ชว้ี ัดท่ี 36 การไดร้ ับความ - กระทรวงการพฒั นาสังคม - สำนักงานตำรวจแหง่ ชาติ

คมุ้ ครองทางสังคม และความมน่ั คงของมนุษย์ - กระทรวงยตุ ธิ รรม

- กระทรวงมหาดไทย

หมวดท่ี 6 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม (5 ตัวช้วี ดั )

ตัวชี้วดั ท่ี 37 การใช้ - กระทรวง - กระทรวงการท่องเทย่ี วและ

ทรพั ยากรธรรมชาติ ทรพั ยากรธรรมชาติและ กฬี า

และดูแลสงิ่ แวดลอ้ ม ส่งิ แวดล้อม - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ตัวชี้วดั ท่ี 38 คุณภาพดิน - กระทรวงเกษตรและ -

สหกรณ์

ตวั ชว้ี ัดท่ี 39 คุณภาพน้ำ - กระทรวง - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ - กระทรวงสาธารณสุข

สง่ิ แวดลอ้ ม - กระทรวงมหาดไทย

- หนว่ ยบัญชาการทหารพฒั นา

ตัวชว้ี ัดท่ี 40 การจดั การสภาพ - กระทรวง - กระทรวงมหาดไทย

สิ่งแวดล้อมอย่าง ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ

ยัง่ ยนื ส่ิงแวดลอ้ ม

ตัวชีว้ ัดที่ 41 การจัดการมลพิษ - กระทรวง - กระทรวงอุตสาหกรรม

ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ - กระทรวงสาธารณสขุ

สิ่งแวดลอ้ ม - กระทรวงมหาดไทย

หมวดที่ 7 ความเสย่ี งของชมุ ชนและภยั พบิ ัติ (3 ตัวช้วี ัด)

ตวั ชี้วดั ท่ี 42 ความปลอดภัยจาก - สำนักงานคณะกรรมการ - กระทรวงสาธารณสุข

ยาเสพติด ปอ้ งกนั และปราบปรามยา - กระทรวงศกึ ษาธิการ

เสพตดิ - กระทรวงมหาดไทย

- สำนกั งานตำรวจแหง่ ชาติ

- หน่วยบัญชาการทหารพฒั นา

603

รายงานฉบบั สมบูรณโ์ ครงการจัดทำเครื่องช้วี ดั และแบบสอบถามข้อมูลความจำเปน็ พ้ืนฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพืน้ ฐาน
ระดับหมบู่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ลำดบั ตวั ชี้วัด หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบ
ตัวช้วี ดั ท่ี 43 ความปลอดภยั จาก
ภยั พิบตั ิ หนว่ ยงานหลกั หนว่ ยงานรว่ ม
ตัวช้วี ัดที่ 44
ความปลอดภยั จาก - กระทรวงมหาดไทย - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ความเส่ียงในชุมชน
- กระทรวงสาธารณสุข

- กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

- กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ

และสิง่ แวดล้อม

- กระทรวงการพฒั นาสงั คม

และความมนั่ คงของมนุษย์

- สำนักงานตำรวจแหง่ ชาติ

- หนว่ ยบญั ชาการทหารพฒั นา

- สำนกั งานตำรวจแห่งชาติ - กระทรวงวัฒนธรรม

- กระทรวงศึกษาธกิ าร

- กระทรวงมหาดไทย

- กระทรวงการพฒั นาสังคม

และความมน่ั คงของมนษุ ย์

- กระทรวงดจิ ทิ ลั เพอ่ื เศรษฐกจิ

และสงั คม

กลไกและกระบวนการบริหารจดั เก็บข้อมูลพนื้ ฐานระดับหมบู่ ้าน (กชช.2ค)

ขั้นตอนที่ กลไกขบั เคล่อื น ข้อเสนอกระบวนการ กลไกสนับสนุน ระยะเวลา2
1 กันยายน
คณะกรรมการ 1. ประชุมชี้แจงทำความเขา้ ใจ กรมการพฒั นา
อำนวยการงานพฒั นา เครือ่ งช้วี ดั ข้อมลู พื้นฐาน ชมุ ชน
คณุ ภาพชีวิตของ ระดบั หมบู่ ้าน (กชช.2ค)
ประชาชน (พชช.) ในแตล่ ะหมวด
โดยมีปลดั กระทรวง
มหาดไทย เปน็ 2. ระดมความคิดความคาดหวงั
ประธาน และมผี ู้แทน และตัวชีว้ ดั ของแตล่ ะ
กระทรวง/หน่วยงาน กระทรวง / หน่วยงานท่ี
ตา่ ง ๆ เปน็ กรรมการ เก่ียวขอ้ ง
และมีกรมการพัฒนา
ชุมชนเป็นฝา่ ย 3. ออกแบบวธิ ีการควบคุมและ
เลขานุการ บรู ณาการการจดั เกบ็ ขอ้ มลู
และการใช้ประโยชนข์ ้อมูล
พ้ืนฐานระดบั หมบู่ า้ น
(กชช.2ค) ร่วมกนั ระหวา่ ง
หนว่ ยงาน

2 เปน็ ข้อมลู ทต่ี ้องดำเนินการจดั เกบ็ ทุก 2 ปี

604

รายงานฉบับสมบูรณโ์ ครงการจัดทำเครือ่ งชว้ี ัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเปน็ พ้ืนฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พน้ื ฐาน
ระดับหม่บู า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใช้ชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ข้นั ตอนท่ี กลไกขบั เคล่ือน ข้อเสนอกระบวนการ กลไกสนบั สนนุ ระยะเวลา2
2 ตุลาคม
คณะทำงานบริหาร 4. กำหนดการประชาสมั พนั ธใ์ ห้ สำนกั งานพฒั นา
3 การจัดเกบ็ ข้อมลู ฯ เกิดการตระหนกั และรับรถู้ ึง ชมุ ชนจังหวัด พฤศจกิ ายน
ระดบั จังหวัด ความสำคัญของข้อมูลและ
โดยมีผวู้ า่ ราชการ การนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ สำนักงานพฒั นา
หรอื รองผวู้ า่ ราชการ ในการพัฒนาประเทศร่วมกนั ชุมชนอำเภอ
ทผ่ี ูว้ ่าราชการ
มอบหมายเปน็ 5. แตง่ ตงั้ คณะทำงานบรหิ ารการ
ประธาน และมผี ู้แทน จดั เก็บขอ้ มูลฯ ระดับจังหวดั
จากหนว่ ยงานตา่ ง ๆ
ในจังหวัดเปน็ 1. ประชุมชี้แจงทำความเข้าใจ
กรรมการ และให้ เครือ่ งชี้วัด ข้อมูลพ้นื ฐาน
สำนักงานพฒั นา ระดับหม่บู ้าน (กชช.2ค) ใน
ชมุ ชนจังหวัดเปน็ แต่ละหมวดกบั หนว่ ยงานท่ี
เลขานกุ าร เกี่ยวขอ้ งระดบั จังหวัด

คณะทำงานบรหิ าร 2. ออกแบบวธิ ีการควบคมุ และ
การจดั เก็บขอ้ มลู ฯ บูรณาการการจัดเก็บขอ้ มลู
ระดับอำเภอ และการใชป้ ระโยชน์ข้อมลู
โดยมนี ายอำเภอ เป็น พื้นฐานระดบั หมบู่ า้ น (กชช.2
ประธาน และมผี ูแ้ ทน ค) ร่วมกันระหว่างหน่วยงาน
จากหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ในจงั หวดั
ระดับอำเภอเปน็
กรรมการ ทง้ั น้อี าจจะ 3. กำหนดการประชาสมั พนั ธ์ให้
ใหผ้ ู้บริหารองคก์ ร เกิดการตระหนักและรบั ร้ถู ึง
ปกครองส่วนท้องถ่ิน ความสำคญั ของข้อมลู และ
ทกุ แหง่ รว่ มเปน็ การนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์
กรรมการด้วย และให้
4. แตง่ ตัง้ คณะคณะทำงาน
บริหารการจดั เก็บข้อมลู ฯ
ระดบั อำเภอ

1. ประชุมช้แี จงทำความเขา้ ใจ
เครื่องช้วี ดั ในแตล่ ะหมวดกบั
หน่วยงานที่เก่ยี วข้องระดบั
อำเภอและองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถน่ิ ในอำเภอ

2. ออกแบบวธิ กี ารควบคุมและ
บรู ณาการการจดั เก็บข้อมูล
และการใชป้ ระโยชนข์ อ้ มลู
พน้ื ฐานระดบั หมบู่ า้ น (กชช.2
ค) ร่วมกันระหวา่ งหนว่ ยงาน
ในอำเภอ

605

รายงานฉบบั สมบูรณโ์ ครงการจดั ทำเครอ่ื งชวี้ ัดและแบบสอบถามขอ้ มลู ความจำเปน็ พ้นื ฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พื้นฐาน
ระดบั หมูบ่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรบั ใชช้ ่วงแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ข้นั ตอนท่ี กลไกขับเคลื่อน ข้อเสนอกระบวนการ กลไกสนบั สนุน ระยะเวลา2
4 สำนกั งานพฒั นา
ชมุ ชน เป็นเลขานกุ าร 3. กำหนดการประชาสมั พันธ์ให้ พฤศจกิ ายน
5 –กมุ ภาพนั ธ์
คณะทำงานบริหาร เกดิ การตระหนกั และรับรู้ถึง
การจดั เกบ็ ข้อมลู ฯ
ระดบั ตำบล ความสำคญั ของขอ้ มลู และ
โดยมีนายกเทศมนตรี
/นายกองคอ์ งค์การ การนำขอ้ มูลไปใช้ประโยชน์
บรหิ ารสว่ นตำบล
หรือ ปลัดองค์กร 4. คณะทำงานบริหารการจดั เก็บ
ปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ
เป็นประธาน และมี ขอ้ มลู ฯ ระดับตำบล
ผูแ้ ทนจากหนว่ ยงาน
ต่าง ๆ ในตำบลเป็น 1. ประชุมชี้แจงทำความเข้าใจ พฒั นากรประจำ
กรรมการ ท้งั นี้อาจจะ
แต่งตั้ง ผแู้ ทนจาก เครอื่ งชวี้ ดั ขอ้ มลู พื้นฐาน ตำบลและ
คณะผูจ้ ดั เกบ็ ข้อมลู
ระดบั ครวั เรอื นรว่ ม ระดับหมบู่ า้ น (กชช.2ค) ใน องค์กรปกครอง
เป็นกรรมการด้วย
และใหพ้ ฒั นากร แตล่ ะหมวดกบั หน่วยงานท่ี สว่ นท้องถ่นิ
ประจำตำบลและ
นักพัฒนาชุมชนของ เก่ยี วขอ้ งระดับตำบล
อปท.เปน็ เลขานกุ าร
และผชู้ ว่ ยเลขานุการ 2. แต่งตัง้ คณะผูจ้ ดั เก็บขอ้ มลู
ของคณะทำงาน
คณะผจู้ ัดเก็บขอ้ มลู ระดับครัวเรอื น
ระดบั หมบู่ ้าน
โดยพิจารณาความ 3. ออกแบบวธิ กี ารควบคุมและ
เหมาะสมในแต่ละ
พื้นที่ ท้งั นี้อาจจะ การบรู ณาการการจดั เกบ็
ประกอบด้วย กำนัน
ผู้ใหญ่บา้ น สมาชิก ขอ้ มลู และการใช้ประโยชน์
สภาองคก์ ารบรหิ าร
สว่ นตำบล (ส.อบต.) ข้อมลู กชช.2ค. ร่วมกัน

ระหวา่ งหนว่ ยงานในตำบล

4. กำหนดการประชาสมั พนั ธใ์ ห้

เกดิ การตระหนักและรบั รู้ถงึ

ความสำคัญของข้อมูลและ

การนำข้อมูลไปใชป้ ระโยชน์

การได้รบั ความรูค้ วามเข้าใจ พฒั นากรประจำ
1. ทำความเขา้ ใจแบบสอบถาม ตำบลและ
องคก์ รปกครอง
ทกุ ขอ้ อยา่ งละเอยี ด สว่ นท้องถ่ิน
2. อบรมเสริมสร้างความรูค้ วาม

เขา้ ใจแบบสอบถาม เทคนิค
และทักษะทสี่ ำคัญในการ
จัดเกบ็ ขอ้ มูล โดยวทิ ยากรท่ีมี
ความรูแ้ ละความเชย่ี วชาญ

606

รายงานฉบับสมบรู ณโ์ ครงการจัดทำเครอื่ งช้วี ัดและแบบสอบถามขอ้ มูลความจำเป็นพน้ื ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มูลพืน้ ฐาน
ระดับหมู่บา้ น (กชช. 2ค) สำหรับใช้ชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ขั้นตอนท่ี กลไกขับเคลอื่ น ข้อเสนอกระบวนการ กลไกสนับสนนุ ระยะเวลา2
สมาชกิ สภาเทศบาล
6 (สท.) อสม. อพม. 3. เสริมสรา้ งทัศนคติทด่ี ีและ
7 กรรมการหมูบ่ า้ น
หัวหนา้ คมุ้ /โซน เปน็ ถกู ตอ้ งเกี่ยวกับเกณฑ์และ
ตน้ โดยใหป้ ระธาน
คณะทำงานบรหิ าร ตวั ช้วี ัดของ ข้อมลู พนื้ ฐาน
การจดั เก็บข้อมลู ฯ
ระดับตำบลเปน็ ผู้ ระดับหมูบ่ ้าน (กชช.2ค)
แตง่ ตั้ง
เพื่อใหไ้ ดข้ อ้ มลู ทเี่ ปน็
คณะผู้จัดเกบ็ ขอ้ มูล
ระดับหมู่บ้าน ประโยชนใ์ นการพัฒนาและ

คณะผจู้ ัดเก็บขอ้ มูล กำหนดแนวทางการพฒั นา
ระดบั หม่บู ้าน
คุณภาพชวี ิตไดอ้ ย่างถกู ต้อง

4. ควรให้คนในชมุ ชนมสี ว่ นรว่ ม

ในการจดั เก็บ เนื่องจากการ

จัดเก็บข้อมูลขอ้ มูลพืน้ ฐาน

ระดบั หมบู่ า้ น (กชช.2ค)

เปน็ เร่ืองของกระบวนการ

เรียนรู้ของคนในพ้นื ท่ี เพื่อ

เรยี นรู้วถิ ชี ีวิตของตนเอง และ

ในขณะเดียวกนั ก็เป็นการ

สำรวจตนเองวา่ ได้รบั สิทธิ

สวัสดกิ ารดา้ นตา่ ง ๆ ของรัฐ

หรือไม่ ซ่งึ ผู้จัดเก็บควรเปน็ ผู้

ท่มี คี วามใกล้ชดิ กับชมุ ชน

หรือผู้นำหมู่บา้ น ซงึ่ จะได้

ข้อมูลทมี่ คี วามเป็นจรงิ มาก

ทส่ี ุด และเข้าใจในบริบทของ

ชุมชนตนเองมากทส่ี ดุ

การออกแบบวธิ ีการจดั เกบ็ ขอ้ มลู พฒั นากรประจำ

1. การจัดเก็บข้อมูลพ้นื ฐาน ตำบลและ

ระดับหมบู่ า้ น (กชช.2ค) ตาม องคก์ รปกครอง

ความเหมาะสมของบริบท ส่วนท้องถ่นิ

พ้ืนที่

การจดั เก็บขอ้ มูล พัฒนากรประจำ

1. ลงพ้นื ทเ่ี กบ็ ขอ้ มลู โดยการ ตำบลและ

สัมภาษณ์ หรอื สนทนากลมุ่ องคก์ รปกครอง

กบั ผ้นู ำชมุ ชน และอาจจะเชิญ ส่วนทอ้ งถนิ่

ชวนสมาชิกในชุมชนรว่ มรบั ฟัง

และใหข้ อ้ มูลประกอบดว้ ย

เพ่อื ความสมบรู ณแ์ ละถูกตอ้ ง

ของข้อมลู เพม่ิ มากข้ึน

607

รายงานฉบับสมบูรณโ์ ครงการจดั ทำเคร่ืองช้ีวัดและแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพนื้ ฐาน (จปฐ.) และขอ้ มลู พืน้ ฐาน
ระดับหมูบ่ า้ น (กชช. 2ค) สำหรับใชช้ ่วงแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

ข้นั ตอนท่ี กลไกขบั เคล่อื น ขอ้ เสนอกระบวนการ กลไกสนบั สนุน ระยะเวลา2

8 คณะผู้จัดเกบ็ ขอ้ มลู 2. หลังจากการจัดเก็บขอ้ มูลฯ พฒั นากรประจำ
ระดบั หมบู่ า้ น ทกุ ข้อครบเปน็ ที่เรียบรอ้ ยแลว้ ตำบลและ
ผู้นำชุมชนลงรายชื่อรบั รอง องค์กรปกครอง
9 คณะผู้จัดเกบ็ ขอ้ มลู ความถกู ตอ้ งของขอ้ มูล ส่วนท้องถ่ิน
ระดบั หมบู่ ้าน
บนั ทกึ และประมวลข้อมูล พฒั นากรประจำ
10 คณะผจู้ ดั เกบ็ ข้อมูล 1. การบันทึกข้อมลู ผ้จู ัดเก็บ ตำบลและ
ระดบั หมู่บ้าน องค์กรปกครอง
ขอ้ มลู และผใู้ ห้ข้อมลู วา่ ผ่าน สว่ นท้องถนิ่
11 คณะทำงานบริหาร เกณฑ์และไมผ่ า่ นเกณฑใ์ น พฒั นากรประจำ
การจดั เก็บขอ้ มูลฯ เร่ืองใดบ้าง ตำบลและ
ระดับตำบล 2. มอบหมายให้ผนู้ ำชมุ ชนเพื่อ องค์กรปกครอง
รับทราบและผลการจดั เก็บ ส่วนท้องถิ่น
ข้อมลู ของครวั เรือนตนเอง
และใชป้ ระโยชน์จากข้อมูล พัฒนากรประจำ
ร่วมกันในการแกไ้ ขปญั หาของ ตำบลและ
สมาชิกในครวั เรือนตอ่ ไป องคก์ รปกครอง
สว่ นทอ้ งถิ่น
ตรวจทานขอ้ มลู
1. สอบทานขอ้ มลู ทถ่ี กู ตอ้ งและ

เข้มงวด ท้งั นอ้ี าจจะผกู พันธ์
กับค่าตอบแทนทเ่ี หมาะสม

นำเสนอขอ้ มูลระดบั ตำบล
1. ประชมุ คณะผ้จู ัดเกบ็ ขอ้ มูล

ระดบั ครวั เรอื นเพ่อื นำเสนอ
ข้อมูลและเตรยี มนำเสนอให้
คณะทำงานบริหารการจัดเก็บ
ขอ้ มลู ฯ ระดับตำบลรับรอง
2. ร่วมกันสรุปและถอดบทเรยี น
การจดั เกบ็ ขอ้ มูลท่ีผ่านมา

1. จัดเวทนี ำเสนอข้อมลู พน้ื ฐาน
ระดบั หมบู่ า้ น (กชช.2ค)
ประจำปี

2. จดั กระบวนการรบั รองขอ้ มูล
ระดบั ตำบล

3. จัดทำรายงานการพัฒนา
หมู่บา้ นชนบทไทยระดบั ตำบล

4. สอื่ สารและประชาสัมพนั ธผ์ า่ น
ชอ่ งทางตา่ งๆ ในระดับตำบล

608


Click to View FlipBook Version