The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานฉบับสุดท้าย_เล่มที่ 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ONEP-EEC, 2021-12-22 13:33:58

รายงานฉบับสุดท้าย_เล่มที่ 1

รายงานฉบับสุดท้าย_เล่มที่ 1

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม รายงานฉบับสดุ ทา้ ย

๕.๗.๒ การกาหนดคา่ ความหลากหลายทางชีวภาพ (BDV)
ในการประเมนิ ค่าความหลากหลายทางชวี ภาพ (BDV) ในแต่ละพน้ื ที่ศกึ ษา ดวั ยสมการดังน้ี

โดยกาหนดให้ Σ คอื คา่ คะแนนของระดบั ความหลากหลายทางชวี ภาพของระบบนิเวศ
m คอื จานวนประเภทการใชท้ ่ดี ิน
i คอื ประเภทการใชท้ ีด่ ิน
L คือ พ้นื ทขี่ องการใช้ทีด่ ิน (ตารางกิโลเมตร)
BDV คอื คา่ คะแนนความหลากหลายทางชีวภาพ
N คอื พน้ื ท่ขี องพ้ืนที่ศึกษา (ตารางกิโลเมตร)

ค่าระดับความหลากหลายทางชวี ภาพของระบบนิเวศปรากฏดังตารางท่ี ๕ - ๒๙ โดยระบบนิเวศหรือ
การใช้ที่ดินท่ีมีค่าคะแนนความหลากหลายทางชีวภาพต่ากว่า ๑๔ เป็นการใช้ประโยชน์ท่ีดินท่ีก่อให้เกิดการ
สูญเสียดินและน้าเป็นอย่างมาก แสดงถึงการสูญเสียการทางานตามหน้าที่ของระบบนิเวศ จึงจัดให้อยู่ใน
ประเภทที่เป็นอันตรายสาหรับระบบนิเวศซ่ึงมีค่าคะแนนอยู่ในช่วง ๑๔ ถึง ๔๒ จัดให้อยู่ในพวกเปราะบาง
ที่พร้อมจะสูญเสียการทางานตามหน้าที่ เม่ือมีผลกระทบจากภายนอกเข้ามา ส่วนระบบนิเวศหรือการใช้
ประโยชน์ท่ีดินที่มีค่าคะแนนความหลากหลายมากกว่า ๔๒ ถือได้ว่าเป็นระบบนิเวศท่ียังคงมีผลให้การทางาน
ตามหนา้ ทขี่ องระบบนิเวศเปน็ ไปตามปกติ (พงษ์ศกั ด์ิ วทิ วัสชุติกลุ และคณะ, ๒๕๕๗)

ตารางที่ ๕ - ๒๙ ค่าคะแนนของระดับความหลากหลายทางชวี ภาพของระบบนเิ วศ

ระดบั ความหลากหลาย ค่าคะแนน

สูง >๔๒

ค่อนข้างสงู ๓๙- ๔๒

ปานกลาง ๓๑ - ๓๘

คอ่ นข้างต่า ๑๔ - ๓๐

ต่า <๑๔

ท่มี า: พงษ์ศักด์ิ วิทวัสชุตกิ ุล และคณะ (๒๕๕๗)

๕.๗.๓ ผลการวิเคราะหค์ า่ ระดบั ความหลากหลายทางชีวภาพของระบบนเิ วศ
ผลจากการคานวณพบว่าค่าระดับความหลากหลายทางชีวภาพของระบบนิเวศของเขตพัฒนาพิเศษภาค
ตะวันออก เท่ากับ ๑๗.๗๙ (ตารางท่ี ๕ - ๓๐) เป็นระบบนิเวศท่ีมีค่าความหลากหลายทางชีวภาพในระดับ
ค่อนข้างต่า ถือว่าเป็นระบบนิเวศที่เปราะบาง ที่พร้อมจะสูญเสียการทางานตามหน้าที่ เมื่อมีผลกระทบจาก
ภายนอกเข้ามา หากพิจารณาในรายจงั หวดั สรุปไดด้ งั นี้
จังหวัดฉะเชิงเทรามีค่าระดับความหลากหลายทางชีวภาพของระบบนิเวศ เท่ากับ ๒๕.๖๗
(ตารางท่ี ๕ - ๓๑) และจังหวัดชลบุรีค่าระดับความหลากหลายทางชีวภาพของระบบนิเวศ เท่ากับ ๒๒.๒๑
(ตารางท่ี ๕ - ๓๒) ระบบนิเวศของทั้ง ๒ จังหวัดเป็นระบบนิเวศที่มีค่าความหลากหลายทางชีวภาพในระดับ
ค่อนข้างต่า ถือว่าเป็นระบบนิเวศที่เปราะบาง ที่พร้อมจะสูญเสียการทางานตามหน้าท่ี เมื่อมีผลกระทบจาก

โครงการจดั ทาแผนสิ่งแวดลอ้ มในพ้ืนท่เี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๕ - ๔๙

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย

ภายนอกเข้ามา ในขณะท่จี งั หวัดระยองมีคา่ ระดับความหลากหลายทางชวี ภาพของระบบนเิ วศ เทา่ กบั ๑๑.๑๗

(ตารางท่ี ๕ - ๓๓) เป็นระบบนิเวศที่มีค่าความหลากหลายทางชีวภาพในระดับต่า เป็นการใช้ประโยชน์ท่ีดินที่

ก่อให้เกิดการสูญเสียดินและน้าเป็นอย่างมากแสดงถึงการสูญเสียการทางานตามหน้าที่ของระบบนิเวศ

ถูกจัดให้อยู่ในประเภทท่ีเป็นอันตราย เป็นระดับของค่าความหลากหลายทางชีวภาพที่เกินขีดความสามารถ

ในการรองรับของพนื้ ท่ี

ตารางที่ ๕ - ๓๐ ผลการวิเคราะห์ค่าคะแนนระดับความหลากหลายทางชีวภาพ (BDV) แต่ละประเภท

ของเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก

ประเภทการใช้ พ้ืนท่ีของการใช้ทด่ี ิน สภาพความ ค่าคะแนนความ ผลรวมคา่ คะแนนระดบั
ความหลากหลายทาง
ท่ดี นิ ตามตัวช้ีวดั (ตารางกิโลเมตร) สมบูรณข์ องพน้ื ท่ี หลากหลายทาง

ชีวภาพ (BDV) ชวี ภาพ (BDV)

ป่าไมผ่ ลดั ใบ ๘๘๑.๗๖ สมบรู ณ์ ๕๕ ๔๘,๔๙๖.๕๓

๑๑.๐๖ ไม่สมบรู ณ์ ๒๘ ๓๐๙.๖๑

ป่าผลดั ใบ ๕๘๒.๓๓ สมบรู ณ์ ๔๕ ๒๖,๒๐๔.๙๘

๖๖.๐๕ ไม่สมบูรณ์ ๒๓ ๑,๕๑๙.๑๔

ปา่ กนิ ได้ ๗๖.๐๑ ดนิ ลึก ๕๑ ๓,๘๗๖.๓๖

๔๙.๙๙ ดนิ ตืน้ ๒๕ ๑,๒๔๙.๖๘

พื้นท่ปี ลูกพชื ผสม ๓,๖๑๖.๓๒ ดนิ ลกึ ๔๒ ๑๕๑,๘๘๕.๔๔

๑,๒๓๒.๑๐ ดนิ ตน้ื ๒๒ ๒๗,๑๐๖.๐๙

สวนผลไม้ ๔๐๗.๙๙ ดนิ ลกึ ๓๒ ๑๓,๐๕๕.๗๘

๖๖.๗๑ ดนิ ตน้ื ๑๗ ๑,๑๓๔.๐๔

พืน้ ทป่ี ลูกพชื ไร่ ๒,๘๓๘.๗๗ ดินลกึ ๑๖ ๔๕,๔๒๐.๒๖

๔๔๒.๘๔ ดินตน้ื ๑๔ ๖,๑๙๙.๗๐

ไรร่ า้ ง ๒๒๘.๓๕ - ๑๘ ๔,๑๑๐.๒๑

พ้นื ทวี่ ่างเปล่า ๔๕๙.๔๕ - ๑๓ ๕,๙๗๒.๘๙

เมอื ง ๒,๐๐๗.๓๑ - ๐ ๐.๐๐

รวม ๓๓๖,๕๔๐.๖๙

ผลรวมค่าคะแนนระดบั ความ พน้ื ทขี่ องพ้ืนทีศ่ กึ ษา (ตารางกิโลเมตร) ผลการวิเคราะหค์ า่ คะแนนของ

หลากหลายทางชีวภาพ (BDV) ระดบั ความหลากหลายทางชวี ภาพ

ของระบบนิเวศ

๓๓๖,๕๔๐.๖๙ ๑๘,๙๑๔.๐๐ ๑๗.๗๙

โครงการจดั ทาแผนสิ่งแวดล้อมในพ้นื ท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๕ - ๕๐

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดทา้ ย

ตารางท่ี ๕ - ๓๑ ผลการวเิ คราะห์คา่ คะแนนระดบั ความหลากหลายทางชีวภาพ (BDV) แตล่ ะประเภท

ของจังหวัดฉะเชงิ เทรา

ประเภทการใช้ พ้นื ที่ของการใชท้ ด่ี นิ สภาพความ ค่าคะแนนความ ผลรวมค่าคะแนนระดบั
ท่ีดนิ ตามตวั ชวี้ ัด (ตารางกิโลเมตร) สมบรู ณ์ของพื้นท่ี หลากหลายทาง ความหลากหลายทาง
ชวี ภาพ (BDV)
ปา่ ไมผ่ ลดั ใบ ๖๘๐.๙๗ สมบูรณ์ ชวี ภาพ (BDV)
๕๕ ๓๗,๔๕๓.๒๔

๑๑.๐๖ ไม่สมบรู ณ์ ๒๘ ๓๐๙.๖๑

ป่าผลดั ใบ ๗๔.๗๒ สมบูรณ์ ๔๕ ๓,๓๖๒.๖๒

ป่ากนิ ได้ ๕.๐๘ ไมส่ มบูรณ์ ๒๓ ๑๑๖.๘๘
พนื้ ที่ปลูกพชื ผสม ๔๕.๒๗ ดนิ ลกึ ๕๑ ๒,๓๐๘.๙๒
๔๑.๒๗ ดินตื้น ๒๕ ๑,๐๓๑.๗๐
๑,๑๐๙.๖๕ ดนิ ลึก ๔๒ ๔๖,๖๐๕.๐๙

๖๗๗.๗๘ ดนิ ตนื้ ๒๒ ๑๔,๙๑๑.๑๖

สวนผลไม้ ๓๒.๙๐ ดนิ ลึก ๓๒ ๑,๐๕๒.๘๓

๑๗.๑๘ ดินตืน้ ๑๗ ๒๙๒.๐๓

พ้นื ทปี่ ลูกพืชไร่ ๑,๓๘๖.๔๘ ดนิ ลึก ๑๖ ๒๒,๑๘๓.๖๖
๓๔๕.๕๑ ดินตืน้ ๑๔ ๔,๘๓๗.๑๑
ไรร่ า้ ง ๑๐๗.๒๗ ๑๘ ๑,๙๓๐.๙๓
พนื้ ทวี่ ่างเปล่า ๗๓.๐๗ - ๑๓ ๙๔๙.๘๗
-

เมือง ๔๒๒.๑๗ - ๐ ๐.๐๐

รวม ๑๓๗,๓๔๕.๖๖

ผลรวมคา่ คะแนนระดบั ความ พื้นท่ีของพืน้ ทศ่ี ึกษา (ตารางกโิ ลเมตร) ผลการวิเคราะห์ค่าคะแนนของ
หลากหลายทางชวี ภาพ (BDV) ระดบั ความหลากหลายทางชวี ภาพ
ของระบบนิเวศ

๑๓๗,๓๔๕.๖๖ ๕,๓๕๑.๐๐ ๒๕.๖๗

โครงการจดั ทาแผนส่ิงแวดลอ้ มในพื้นทเี่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๕ - ๕๑

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดทา้ ย

ตารางท่ี ๕ - ๓๒ ผลการวิเคราะห์ค่าคะแนนระดบั ความหลากหลายทางชีวภาพ (BDV) แต่ละประเภท

ของจังหวัดชลบรุ ี

ประเภทการใช้ทีด่ นิ พื้นท่ขี องการใช้ทีด่ นิ สภาพความ คา่ คะแนนความ ผลรวมคา่ คะแนนระดับ
ตามตวั ชว้ี ดั (ตารางกิโลเมตร) สมบูรณข์ องพ้นื ท่ี หลากหลายทาง ความหลากหลายทาง
ชีวภาพ (BDV)
ป่าไมผ่ ลดั ใบ ๗๘.๑๒ สมบูรณ์ ชวี ภาพ (BDV)
๕๕ ๔,๒๙๖.๔๙

๐.๐๕ ไม่สมบูรณ์ ๒๘ ๑.๔๓

ป่าผลดั ใบ ๓๘๔.๕๕ สมบรู ณ์ ๔๕ ๑๗,๓๐๔.๗๑

ปา่ กินได้ ๓๙.๒๔ ไมส่ มบรู ณ์ ๒๓ ๙๐๒.๔๕
พืน้ ทป่ี ลกู พชื ผสม ๒๒.๒๔ ดนิ ลึก ๕๑ ๑,๑๓๔.๒๔
๘.๑๒ ดินตน้ื ๒๕ ๒๐๓.๐๐
๙๔๓.๔๕ ดินลึก ๔๒ ๓๙,๖๒๔.๙๐

๒๓๙.๘๙ ดนิ ตน้ื ๒๒ ๕,๒๗๗.๕๔

สวนผลไม้ ๑๒๙.๘๙ ดนิ ลกึ ๓๒ ๔,๑๕๖.๓๕

๒๑.๖๒ ดินต้ืน ๑๗ ๓๖๗.๕๒

พื้นทีป่ ลกู พชื ไร่ ๑,๑๓๑.๐๓ ดนิ ลกึ ๑๖ ๑๘,๐๙๖.๔๘
๗๗.๑๔ ดินตนื้ ๑๔ ๑,๐๗๙.๙๙
ไร่รา้ ง ๘๒.๕๐ ๑๘ ๑,๔๘๔.๙๖
พ้ืนทีว่ า่ งเปล่า ๒๒๗.๘๐ - ๑๓ ๒,๙๖๑.๔๓
-

เมือง ๑,๐๑๒.๓๒ - ๐ ๐.๐๐

รวม ๙๖,๘๙๑.๔๘

ผลรวมค่าคะแนนระดบั ความหลากหลาย พ้นื ท่ีของพน้ื ท่ศี กึ ษา (ตารางกิโลเมตร) ผลการวิเคราะหค์ ่าคะแนนของ
ทางชวี ภาพ (BDV) ระดบั ความหลากหลายทาง

ชีวภาพของระบบนิเวศ

๙๖,๘๙๑.๔๘ ๔,๓๖๓.๐๐ ๒๒.๒๑

โครงการจัดทาแผนสิ่งแวดลอ้ มในพื้นทเี่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๕ - ๕๒

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม รายงานฉบับสุดท้าย

ตารางท่ี ๕ - ๓๓ ผลการวิเคราะหค์ ่าคะแนนระดบั ความหลากหลายทางชีวภาพ (BDV) แตล่ ะประเภท

ของจังหวัดระยอง

ประเภทการใช้ พืน้ ท่ีของการใช้ทด่ี ิน สภาพความ คา่ คะแนนความ ผลรวมคา่ คะแนนระดบั
ที่ดนิ ตามตวั ชีว้ ัด (ตารางกิโลเมตร) สมบรู ณ์ของพนื้ ที่ หลากหลายทาง ความหลากหลายทาง
ชวี ภาพ (BDV)
ป่าไมผ่ ลดั ใบ ๑๒๒.๖๗ สมบรู ณ์ ชีวภาพ (BDV)
๕๕ ๖,๗๔๖.๘๐

๑๕.๒๙ ไมส่ มบูรณ์ ๒๘ ๔๒๘.๑๙

ป่าผลดั ใบ ๑๒๓.๐๖ สมบูรณ์ ๔๕ ๕,๕๓๗.๖๖

ป่ากินได้ ๒๑.๗๓ ไม่สมบรู ณ์ ๒๓ ๔๙๙.๘๑
พื้นทีป่ ลูกพืชผสม ๘.๔๙ ดินลึก ๕๑ ๔๓๓.๑๙
๐.๖๐ ดนิ ตนื้ ๒๕ ๑๔.๙๘
๑,๕๖๓.๒๒ ดนิ ลึก ๔๒ ๖๕,๖๕๕.๔๑

๓๑๔.๔๓ ดินตื้น ๒๒ ๖,๙๑๗.๓๙

สวนผลไม้ ๒๔๕.๒๑ ดนิ ลึก ๓๒ ๗,๘๔๖.๕๙

๒๗.๙๑ ดนิ ต้ืน ๑๗ ๔๗๔.๔๙

พ้ืนที่ปลูกพชื ไร่ ๓๒๑.๒๖ ดินลึก ๑๖ ๕,๑๔๐.๑๐
๒๐.๑๙ ดินตื้น ๑๔ ๒๘๒.๖๐
ไรร่ า้ ง ๓๘.๕๗ ๑๘ ๖๙๔.๓๑
พนื้ ทว่ี า่ งเปลา่ ๑๕๘.๕๘ - ๑๓ ๒,๐๖๑.๕๙
-

เมือง ๕๗๒.๘๒ - ๐ ๐.๐๐

รวม ๑๐๒,๗๓๓.๑๑

ผลรวมค่าคะแนนระดบั ความ พน้ื ท่ขี องพ้ืนทีศ่ กึ ษา (ตารางกโิ ลเมตร) ผลการวิเคราะห์ค่าคะแนนของ
หลากหลายทางชวี ภาพ (BDV) ระดับความหลากหลายทางชวี ภาพ
ของระบบนเิ วศ

๑๐๒,๗๓๓.๑๑ ๙,๒๐๐.๐๐ ๑๑.๑๗

๕.๘ ความสามารถในการรองรับดา้ นคุณภาพน้าทะเล
ชายฝ่ังทะเลเป็นระบบนิเวศที่มีความอุดมสมบูรณ์ทางชีวภาพมากท่ีสุดของโลก คุณภาพน้าทะเลจึงเป็น

ส่ิงสาคัญทจ่ี ะส่งผลกระทบต่อความหลากหลายทางชวี ภาพและเชื่อมโยงถึงคณุ ภาพชวี ติ ของประชากรโลก ด้วย
ความตระหนักถงึ ความสาคัญในอิทธพิ ลของคุณภาพน้าทะเลดงั กลา่ ว องคก์ ารสหประชาชาติได้กาหนดใหภ้ าวะ
ความเป็นกรดในทะเลเฉลี่ย (pH) เป็นดัชนีชี้วัดที่ ๑๔.๓.๑ ในเป้าหมายการพัฒนาอย่างย่ังยืนที่ ๑๔ ดังน้ัน
จึงมคี วามจาเป็นในการตรวจสอบภาวะความเป็นกรดในทะเลเฉลี่ย (pH) ในการจดั ทาแผนสิ่งแวดลอ้ มพ้ืนท่ีเขต
พฒั นาพเิ ศษตะวันออก ระยะที่ ๒ ซ่งึ มีพนื้ ท่ีส่วนหน่ึงติดชายฝั่งทะเล ในขณะทภ่ี าวะความเป็นกรดของน้าทะเล
เปน็ ส่วนหนึ่งของปจั จยั ท่คี วรได้รบการควบคุมดแู ลในขอบเขตการรองรับได้ของโลก อย่างไรก็ตามมขี ้อมูลท่เี ช่ือ
ได้เพ่ิมมากขึ้นว่าอัตราส่วนขององค์ประกอบทางสิ่งแวดล้อมอาจมีผลกระทบต่อความหลากหลายบนภาคพื้น
ท่ดี ินและในทะเล ซ่ึงการปนเป้ือนของน้าจืดที่ไหลลงสู่ทะเลอาจนาไปสู่ภาวะสกปรกของน้าทะเลท่เี กินกว่าการ

โครงการจัดทาแผนสง่ิ แวดลอ้ มในพ้นื ทเ่ี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๕ - ๕๓

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม รายงานฉบบั สดุ ท้าย

รับได้ของสิ่งมีชีวิตในทะเล (will Steffen, et.al., 2015) ภาวะความสกปรกของน้าทะเลจึงควรเป็นอีกหนึ่ง
ปัจจัยที่ควรมีการควบคุมดูแล ความสามารถในการรองรับของคุณภาพน้าทะเลในภูมิภาค ดังน้ัน ในการ
ประเมินความสามารถในการรองรับด้านคุณภาพน้าทะเล ในการจัดทาแผนสิ่งแวดล้อมพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษ
ตะวันออก ระยะที่ ๒ จึงพิจารณาใน ๒ ประเด็น คือ ภาวะความเป็นกรดของน้าทะเล และภาวะความสกปรก
ของนา้ ทะเล

๕.๘.๑ ภาวะความเปน็ กรดของน้าทะเล
จากข้อมูลค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) ของกรมควบคุมมลพิษ (๒๕๖๔) ซึ่งได้เก็บตัวอย่าง
ในปีพ.ศ. ๒๕๖๓ โดยมีรายละเอียดดังตารางที่ ๕ - ๓๔ ด้วยการเปรียบเทียบค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH)
เฉลี่ย ที่ตรวจวดั ได้ในพ้ืนท่ี กบั ค่ามาตรฐาน ที่กาหนดค่าอยู่ระหว่าง ๗.๐ – ๘.๕ ในการประเมินความสามารถ
ในการรองรบั ของคุณภาพนา้ ทะเล

ตารางที่ ๕ - ๓๔ การวิเคราะห์ระดับความเป็นกรด-ด่าง (pH) ของน้าทะเลบริเวณชายฝง่ ทะเลในจังหวดั

ฉะเชงิ เทรา ชลบรุ ี และระยอง พ.ศ. ๒๕๖๓

pH ร้อยละ (จุด) จดุ เกบตัวอย่าง

น้อยกวา่ ๗.๐ --

ระหว่าง ๗.๐ – ๑๐๐ จงั หวัดชลบุรี : ชอ่ งแสมสาร (๑๐๐ ม.), เกาะลา้ น (ทา่ เรือ: ๑๐๐ ม.), เกาะลา้ น (หาดตาแหวน: ๑๐ ม.),

๘.๕ (๔๘ จดุ ) พทั ยากลาง (Central: ๑๐ ม.), พัทยาเหนอื (Selection Hotel: ๑๐ ม.), ทา่ เรอื แหลมฉบงั (ตอนกลาง:

๑๐๐ ม.), ทา่ เรือแหลมฉบัง (๕๐๐ ม.), เกาะสชี ีง (ศาลาอษั ฎางด:์ ๑๐๐ ม.), เกาะสชี ัง (หาดถา้ พงั : ๑๐ ม.),

หาดจอมเทยี น (กลาง:๑๐ ม.), พทั ยาใต้ (แหลมบาลีฮาย:๑๐ ม.), หัวแหลมฉบงั (๑๐๐ ม.), อา่ วอดุ ม

(สะพานปลา:๑๐๐ ม.), เกาะสชี งั (ท่าเทววงษ์: ๑๐๐ ม.), บางพระ (๑๐๐ ม.), บางแสน (โรงแรมเดอะไทด์:

๑๐๐ ม.), อา่ งศลิ า (ฟารม์ หอยนางรม:๕๐๐ ม.), อา่ วชลบุรี (๑๐๐ ม.)

จังหวัดฉะเชิงเทรา : ปากแม่นา้ บางปะกง (๕๐๐ ม.)

จังหวัดระยอง : ปากแม่น้าพงั ราด (๕๐๐ ม.), แหลมแมพ่ มิ พ์ (๑๐ ม.), สวนรกุ ขชาติ (๑๐ ม.), ทา่ เรอื

ประมง (ตลาดบา้ นเพ: ๑๐๐ ม.), หาดทรายแกว้ (เกาะเสม็ด ๒ จดุ : ๑๐ม., ๑๐๐ ม.), ทา่ เรือหนา้ ดา่ น (เกาะ

เสมด็ : ๑๐ ม.), อา่ วไผ่ (เกาะเสม็ด ๒ จดุ : ๑๐ ม., ๑๐๐ ม.), อ่าวทบั ทมิ (เกาะเสม็ด ๒ จุด: ๑๐ ม., ๑๐๐

ม.), อา่ วพรา้ ว (เกาะเสมด็ ๒ จดุ : ๑๐ ม., ๕๐๐ ม. ), เกาะกฏุ ี (ด้านตะวนั ตก: ๑๐๐ ม.), หาดแม่ราพงึ (๑๐

ม.)+ , หาดน้ารนิ (๑๐ ม.), หาดพยนู (๑๐ ม.), ปากแมน่ า้ ระยอง (๕๐๐ ม.)-, เกาะกฏุ ี (หนา้ บา้ นพักอทุ ยาน:

๑๐๐ ม.)+

มากกว่า ๘.๕ --

รวม ๑๐๐

(๔๘ จดุ )

ทม่ี า : การคานวณจากขอ้ มลู ของสว่ นแหลง่ น้าทะเล กรมควบคุมมลพษิ และสานักงานสงิ่ แวดลอ้ มภาคที่ ๑๓ (ชลบุรี) (๒๕๖๔)

ผลการเปรียบเทียบคา่ ความเป็นกรด-ด่าง (pH) เฉล่ียทีไ่ ด้กับค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) มาตรฐาน ท่ี
กาหนดค่าระหว่าง ๗.๐ – ๘.๕ แสดงให้เห็นว่าชายฝั่งทะเลในพืน้ ที่ท้ัง ๓ จังหวัด ยังคงมีค่าความเป็นกรด-ด่าง
(pH) อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน (ตารางที่ ๕ - ๓๕) แต่หากพิจารณาค่า (pH) เฉล่ียท่ีตรวจวัดได้ จะพบว่าค้อนข้าง
ใกล้เคียงกับขอบเขตบนของค่ามาตรฐาน ซ่ึงหากมีปัจจัยรบกวนเพียงเล็กน้อยก็อาจจะทาให้ค่าความเป็นกรด-
ด่าง (pH) เฉล่ยี ในพ้ืนทเ่ี กินค่ามาตรฐานได้

โครงการจดั ทาแผนสง่ิ แวดล้อมในพืน้ ทีเ่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๕ - ๕๔

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม รายงานฉบับสดุ ทา้ ย

ตารางท่ี ๕ - ๓๕ ตวั ช้ีวัดการประเมนิ ศักยภาพในการรองรับของคณุ ภาพนา้ ทะเลในพ้นื ที่ EEC

Parameter หน่วย คา่ มาตรฐาน ค่าเฉลยี่ ท่ีคานวณได้

ฉะเชงิ เทรา ชลบุรี ระยอง EEC

pH ๑-๑๔ ๗.๐ – ๘.๕ ๘.๑๑ ๘.๑๘ ๘.๒๐ ๘.๑๖

ทม่ี า: การคานวณค่าเฉลย่ี จากข้อมูลของส่วนแหลง่ นา้ ทะเล กรมควบคมุ มลพิษ และสานกั งานสิ่งแวดลอ้ มภาคที่ ๑๓ (ชลบรุ )ี

(๒๕๖๓)

๕.๘.๒ ภาวะความสกปรกของนา้ ทะเล
การประเมินความสามารถในการรองรับด้านภาวะความสกปรกของน้าทะเล ได้ใช้ข้อมูล “ดัชนีคุณภาพ
น้าทะเล: Marine Water Quality Index (MWQI)” เป็นตัวแทนในการประเมินความสามารถในการรองรับ
ด้านคุณภาพน้าทะเล โดย MWQI ได้ถูกพัฒนาข้ึนภายใต้หลักการของ National Sanitation Foundation’s
Water Index (NSF WQI) เพอ่ื ใชเ้ ปน็ เคร่ืองมือในการอธิบายถึงสถานภาพของคณุ ภาพน้าทะเลว่ามคี ุณภาพอยู่
ในระดับดีหรือเสื่อมโทรมมากน้อยเพียงใด (กรมควบคุมมลพิษ, ๒๕๖๓) โดยแบ่งค่าคุณภาพน้าทะเลออกเป็น
๕ ช่วง คือ ค่า ๑ หมายถึง คุณภาพดีมาก, ค่า ๒ หมายถึง คุณภาพดี ค่า ๓ หมายถึง คุณภาพพอใช้ ค่า ๔
หมายถงึ คณุ ภาพเส่อื มโทรม และ คา่ ๕ หมายถงึ คุณภาพเสอ่ื มโทรมมาก
จากข้อมูลดัชนีคุณภาพน้าทะเล ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ ของกรมควบคุมพิษ (ตารางที่ ๕ - ๓๖) พบว่า จุด
ตรวจวัดคุณภาพน้าทะเลของจังหวัดฉะเชิงเทรา มี ๑ จุดตรวจวัด มีค่าดัชนีคุณภาพน้าทะเล ระดับ ๓
หมายความว่ามีคุณภาพน้าทะเลในระดับพอใช้ ส่วนจังหวัดชลบุรี มี ๒๕ จุดตรวจวัด พบค่าดัชนีคุณภาพน้า
ทะเล ระดับ ๒ จานวน ๙ จุดตรวจวัด ระดับ ๓ จานวน ๙ จุดตรวจวัด ระดับ ๔ จานวน ๖ จุดตรวจวัด และ
ระดับ ๕ จานวน ๑ จุดตรวจวัด หากพิจารณาจากค่าฐานนิยมของค่าดัชนีคุณภาพน้าทะเลบริเวณชายฝั่งของ
จังหวัดชลบุรี อาจสรุปคุณภาพน้าทะเลในภาพรวมของจังหวัดชลบุรีอยู่ในระดับ ๓ คือ มีคุณภาพน้าทะเลใน
ภาพรวมอยู่ในระดับพอใช้ แต่อย่างไรก็ตามหากพิจารณาเฉพาะบริเวณ จะพบว่า บรเิ วณเกาะลอย ศรีราชา มี
ความวิกฤตสูง เนอื่ งสภาพคุณภาพน้าทะเลอยู่ในระดับเส่ือมโทรมมาก นอกจากนั้น ยังพบบริเวณ ท่าเรอื สัตหีบ
ตลาดนาเกลือ ท่าเรือแหลมฉบัง (ตอนท้าย) บางแสน(โรงแรมเดอะไทด์) อ่างศิลา(ท่าเรือ) และอ่าวชลบุรี มี
ดัชนีค่าคุณภาพน้าทะเลอยู่ในระดับเส่ือมโทรม ซ่ึงควรมีมาตรการในการฟ้ืนฟูและป้องกันอย่างเหมาะสม ใน
กรณีของจังหวดั ระยอง มี ๒๒ จุดตรวจวัด พบคา่ ดัชนีคุณภาพนา้ ทะเล ระดับ ๑ จานวน ๑ จุดตรวจวัด ระดับ
๒ จานวน ๑๗ จุดตรวจวัด ระดบั ๓ จานวน ๓ จุดตรวจวัด และระดับ ๔ จานวน ๑ จุดตรวจวดั หากพิจารณา
จากค่าฐานนิยมของค่าดัชนีคุณภาพน้าทะเลบริเวณชายฝ่ังของจังหวัดชลระยอง อาจสรุปคุณภาพน้าทะเลใน
ภาพรวมของจังหวัดระยองอยู่ในระดบั ๒ คอื มีคุณภาพน้าทะเลในภาพรวมอยใู่ นระดบั ดี
จากค่าฐานนิยมของดัชนีคุณภาพน้าทะเลในเขตพื้นท่ีพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก สรุปได้ว่าอยู่ในระดับ
๓ กล่าวในภาพรวมของพ้ืนท่ี คือ มีคุณภาพน้าทะเลในระดับพอใช้ แต่หากพิจารณาเฉพาะบริเวณ ก็จะพบ
บริเวณท่ีมีคุณภาพน้าเสื่อมโทรมในชายฝั่งของจังหวัดชลบุรี ดังนั้น จึงสรุปในภาพรวมของพ้ืนที่ได้ว่า
ความสามารถในการรองรับดา้ นความสกปรกของน้าทะเลในเขตพื้นท่ีพฒั นาพิเศษภาคตะวันออกยังอย่เู กณฑ์ที่
รองรบั ได้

โครงการจดั ทาแผนสง่ิ แวดล้อมในพื้นท่เี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๕ - ๕๕

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม

ตารางท่ี ๕ - ๓๖ แสดงข้อมูลคณุ ภาพนา้ ทะเล (MWQI) ปี พ.ศ. ๒๕๖๓

ลาดับ station ฉะเชงิ เทรา MWQI station ชลบรุ ี
location location

๑ Csmb5 ปากแม่นา้ บางปะกง ๓ Cbss1 ช่องแสมสาร

๒- - - Cbsh1 ท่าเรือสตั หบี

๓- - - Cbjt0 หาดจอมเทียน (กลาง)
๔- - - Cbpk1 เกาะล้าน (ทา่ เรือ)
๕- - - Cbtw0 เกาะล้าน (หาดตาแหวน)
๖- - - Cbps0 พทั ยาใต้(แหลมบาลฮี าย)

๗- - - Cbpc0 พัทยากลาง (Central)

๘- - - Cbpn0 พทั ยาเหนือ (Selection Hotel)

๙- - - Cbnm1 ตลาดนาเกลอื
๑๐ - - - Cblb1.3 ท่าเรอื แหลมฉบัง(ตอนท้าย)
๑๑ - - - Cblb1.2 ทา่ เรอื แหลมฉบัง(ตอนกลาง)
๑๒ - - - Cblb5 ท่าเรือแหลมฉบงั

๑๓ - - - Cblb1.1 หัวแหลมฉบงั

๑๔ - - - Cbau1 อ่าวอดุ ม(สะพานปลา)

๑๕ - - - Cbsr1 ศรรี าชา(เกาะลอย)

๑๖ - - - Cbtl1 เกาะสชี ัง (ทา่ เทววงษ)์
๑๗ - - - Cbad1 เกาะสีชงี (ศาลาอัษฎางด์)
๑๘ - - - Cbtp0 เกาะสชี ัง (หาดถา้ พัง)
๑๙ - - - Cbbp1 บางพระ

๒๐ - - - Cbbs0 บางแสน(โรงแรมเดอะไทด์)

โครงการจัดทาแผนสง่ิ แวดล้อมในพนื้ ท่เี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕

รายงานฉบับสดุ ทา้ ย

ระยอง

MWQI station location MWQI

๔ Rymp5 ปากแมน่ า้ พังราด ๒

๒ Ryms5 ปากแมน่ า้ ประแสร์ ๓

๓ Rylm0 แหลมแม่พมิ พ์ ๒

Rykk5 ปากคลองแกลง ๓
)๒
๔ Rybg0 สวนรุกขชาติ ๒

๒ Ryfp1 ท่าเรอื ประมง (ตลาดบ้านเพ) ๒

๓ Rysk0 หาดทรายแกว้ (เกาะเสมด็ ) ๒

๕ Rysk1 หาดทรายแกว้ (เกาะเสม็ด) ๒

๒ Ryfn0 ท่าเรือหน้าด่าน (เกาะเสมด็ ) ๒

๓ Ryop0 อ่าวไผ่ (เกาะเสมด็ ) ๒

Ryop1 อ่าวไผ่ (เกาะเสมด็ ) ๒
๕-๒๕๖๙
Ryot0 อ่าวทับทมิ (เกาะเสม็ด) ๒

Ryot1 อ่าวทบั ทมิ (เกาะเสม็ด) ๒

Ryph0 อ่าวพรา้ ว (เกาะเสมด็ ) ๒

Ryph5 อ่าวพร้าว (เกาะเสม็ด) ๒

Rygd1 เกาะกฏุ ี (ดา้ นตะวันตก) ๒

Rygd1.1 เกาะกฏุ ี (หนา้ บ้านพักอทุ ยาน) ๑

Ryrp0 หาดแม่ราพึง ๒

Rymr5 ปากแมน่ า้ ระยอง ๓

Rysc1 หาดสชุ าดา ๔

๕ - ๕๖

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม

ลาดบั station ฉะเชงิ เทรา ชลบุรี
location
MWQI station location

๒๑ - - - Cbbs1 บางแสน(โรงแรมเดอะไทด)์

๒๒ - - - Cbas1 อา่ งศลิ า(ทา่ เรอื )

๒๓ - - - Cbas5.1 อา่ งศลิ า (ฟาร์มหอยนางรม)

๒๔ - - - Cbcb1 อา่ วชลบุรี

๒๕ - - - Cbcb5 อ่าวชลบุรี

คา่ ฐานนยิ ม ๓

ค่าฐานนิยมของพ้นื ท่ี EEC

ท่ีมา: กรมควบคมุ มลพษิ (๒๕๖๓)

โครงการจัดทาแผนสิ่งแวดล้อมในพน้ื ทีเ่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕

รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย

ระยอง

MWQI station location MWQI

๓ Rynr0 หาดนา้ ริน ๒

๔ Rypy0 หาดพยูน ๒

๓ -- -

๔ -- -

๓ -- -

๓๒



๕-๒๕๖๙ ๕ - ๕๗

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม รายงานฉบบั สุดท้าย

๕.๙ ความสามารถในการรองรับดา้ นการใช้ท่ดี ิน
ก ารใช้ ป ระโย ช น์ ท่ี ดิ น เป็ น ปั จ จั ย ส าคั ญ ท่ี มี อิ ท ธิพ ล ต่ อก ารเป ลี่ ย น แ ป ล งท รัพ ย าก รธรรม ช าติ แ ล ะ

ส่ิงแวดล้อม โดยแนวโน้มของการใชท้ ี่ดนิ เพ่ือการพัฒนาพน้ื ทเ่ี มืองเพิ่มขึน้ ในขณะทีพ่ ื้นท่เี กษตรกรรมมแี นวโน้ม
ลดลงอย่างต่อเน่ือง (United Nations, 2014) ในการประเมินความสามารถในการรองรับด้านการใช้ที่ดินใน
พ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษตะวันออก พิจารณาดัชนีวัด ในประเด็นพื้นที่เพาะปลูกต่อหัว พื้นที่เพาะปลูกของเมืองมี
ความสาคัญต่อความมั่นคงทางอาหารของประชากรในพื้นท่ี ประกอบกับความม่ันคงทางอาหารเป็นประเด็น
ความท้าทายของสังคมในอนาคต (Rosamond Hutt., 2016) ดังน้ันความเพียงพอของพื้นที่ผลิตอาหารต่อคน
จึงเป็นประเด็นสาคัญต่อคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยใช้ค่า คาร์บอนฟุตพริ้นท์ (CF) ของพ้ืนที่ ซ่ึงเป็นค่า
บ่งช้ีทางพ้ืนท่ีสาหรับคนหนึ่งคนท่ีใช้เพื่อดารงชีวิต เป็นเกณฑ์ที่ใช้ชี้วัดความสามารถในการรองรับในการของ
พนื้ ท่ีเพาะปลูกต่อหวั โดยโดยค่า CF ในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก เท่ากับ ๓.๔๗; จังหวัดฉะเชิงเทรา
เท่ากับ ๒.๑๖; จังหวัดชลบุรี เท่ากับ ๔.๐๒; และ จังหวัดระยอง เท่ากับ ๓.๖๒ โดยมีแนวทางการประเมิน
ความสามารถในการรองรบั ปรากฏดังตารางท่ี ๕ - ๓๗

ตารางที่ ๕ - ๓๗ แสดงดัชนีชวี ดั และเกณฑ์การคานวณความสามารถในการรองรบั

ตัวแปร ดัชนีชวี ัด การคานวณ เกณฑ์ หน่วย
ร้อยละ
การใช้ พ้นื ทเ่ี พาะปลูก X ๑๐๐ พ้ืนที่สาหรับการดารงชีพ
ตอ่ คน (CF*๑,๐๐๐/
ประโยชน์ พืน้ ทีเ่ พาะปลูก/หวั จานวนประชากร CFของจงั หวดั ๑,๖๐๐)

ทีด่ นิ

ค่าท่คี านวณได้จากสมการ

; >๑๐๐ มคี วามสามารถในการรองรบั

; <๑๐๐ เกินขดี ความสามารถในการรองรบั

๕.๙.๑ การคานวณพื้นท่ีเพาะปลูกตอ่ จานวนประชากรหนง่ึ คน
จากข้อมูลการใช้ท่ีดินของกรมพัฒนาท่ีดิน (ตารางที่ ๕ - ๓๘) พ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกมี
พืน้ ที่ทั้งหมด ๘,๒๙๑,๒๕๐ ไร่ โดยมีพืน้ ทเี่ พาะปลูก ๕,๓๘๓,๒๖๕ ไร่ ซ่ึงแบ่งออกเปน็ ๙ ประเภท ได้แก่ พื้นท่ี
นา ๙๔๗,๘๒๔ ไร่ พืชไร่ ๑,๐๖๖,๘๑๑ ไร่ ไมย้ นื ต้น ๒,๓๗๒,๖๔๖ ไร่ ไมผ้ ล ๒๗๙,๒๐๔ ไร่ พืชสวน ๙,๕๓๙ ไร่
ทุ่งหญ้าเล้ียงสตั วแ์ ละโรงเรือนเล้ียงสตั ว์ ๖๖,๓๐๘ ไร่ พืชนา้ ๒๙๔ ไร่ สถานที่เพาะเล้ียงสัตวน์ ้า ๔๗๒,๑๗๗ ไร่
และเกษตรผสมผสาน/ไรน่ าสวนผสม ๑๖๘,๔๖๐ ไร่
จังหวัดฉะเชิงเทรามีพื้นที่ท้ังหมด ๓,๓๔๔,๓๗๕ ไร่ มีพื้นท่ีเพาะปลูก ๒,๓๖๘,๘๑๕ ไร่ แบ่งออกเป็น ๙
ประเภท ได้แก่ พ้ืนที่นา ๗๘๑,๑๕๔ ไร่ พืชไร่ ๓๑๙,๓๘๕ ไร่ ไม้ยืนต้น ๗๗๐,๖๑๓ ไร่ ไมผ้ ล ๗๔,๔๗๔ ไร่ พืช
สวน ๔,๘๔๔ ไร่ ทุง่ หญ้าเล้ียงสตั วแ์ ละโรงเรือนเล้ียงสัตว์ ๑๘,๙๙๖ ไร่ พืชน้า ๑๔ ไร่ สถานทเ่ี พาะเล้ียงสัตวน์ ้า
๓๔๘,๙๐๑ ไร่ และเกษตรผสมผสาน/ไร่นาสวนผสม ๕๐,๔๓๒ ไร่
จังหวัดชลบุรีมีพ้ืนที่ทั้งหมด ๒,๗๒๖,๘๗๕ ไร่ มีพื้นที่เพาะปลูก ๑,๕๒๕,๘๒๕ ไร่ แบ่งออกเป็น ๙
ประเภท ได้แก่ พ้ืนท่ีนา ๑๒๖,๐๑๘ ไร่ พืชไร่ ๕๑๘,๓๕๑ ไร่ ไม้ยืนต้น ๖๒๓,๕๐๘ ไร่ ไมผ้ ล ๘๐,๘๖๖ ไร่ พืช

โครงการจดั ทาแผนสง่ิ แวดล้อมในพ้นื ท่เี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๕ - ๕๘

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย

สวน ๔,๑๓๖ ไร่ ทุ่งหญ้าเล้ียงสตั ว์และโรงเรอื นเล้ียงสัตว์ ๔๕,๑๒๙ ไร่ พืชน้า ๖๙ ไร่ สถานทเ่ี พาะเลี้ยงสตั วน์ ้า
๘๓,๒๕๖ ไร่ และเกษตรผสมผสาน/ไร่นาสวนผสม ๔๔,๔๙๒ ไร่

จังหวัดระยองมีพ้ืนที่ทั้งหมด ๒,๒๒๐,๐๐๐ ไร่ มีพื้นท่ีเพาะปลูก ๑,๔๘๘,๖๒๕ ไร่ แบ่งออกเป็น ๙
ประเภท ได้แก่ พ้ืนท่ีนา ๔๐,๖๕๒ ไร่ พืชไร่ ๒๒๙,๐๗๕ ไร่ ไม้ยืนต้น ๙๗๘,๕๒๕ ไร่ ไม้ผล ๑๒๓,๘๖๔ ไร่ พืช
สวน ๕๕๙ ไร่ ทุ่งหญ้าเล้ียงสัตว์และโรงเรือนเลี้ยงสัตว์ ๒,๑๘๓ ไร่ พืชน้า ๒๑๑ ไร่ สถานที่เพาะเล้ียงสัตว์น้า
๔๐,๐๒๐ไร่ และเกษตรผสมผสาน/ไรน่ าสวนผสม ๗๓,๕๓๖ ไร่

ตารางที่ ๕ - ๓๘ พ้นื ทเี่ พาะปลกู ของพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษ

ประเภทการใชท้ ดี่ ิน *ฉะเชงิ เทรา **ชลบรุ ี **ระยอง พน้ื ท่ี EEC
(ไร)่
นา ๗๘๑,๑๕๔ ๑๒๖,๐๑๘ ๔๐,๖๕๒ ๙๔๗,๘๒๔
๒๒๙,๐๗๕ ๑,๐๖๖,๘๑๑
พืชไร่ ๓๑๙,๓๘๕ ๕๑๘,๓๕๑ ๙๗๘,๕๒๕ ๒,๓๗๒,๖๔๖
๑๒๓,๘๖๔ ๒๗๙,๒๐๔
ไมย้ นื ตน้ ๗๗๐,๖๑๓ ๖๒๓,๕๐๘ ๙,๕๓๙
๕๕๙
ไมผ้ ล ๗๔,๔๗๔ ๘๐,๘๖๖ ๖๖,๓๐๘
๒,๑๘๓ ๒๙๔
พชื สวน ๔,๘๔๔ ๔,๑๓๖ ๒๑๑
๔๗๒,๑๗๗
ทงุ่ หญา้ เลีย้ งสัตวแ์ ละโรงเรอื น ๔๐,๐๒๐ ๑๖๘,๔๖๐
๗๓,๕๓๖ ๕,๓๘๓,๒๖๕
เลยี้ งสตั ว์ ๑๘,๙๙๖ ๔๕,๑๒๙ ๑,๔๘๘,๖๒๕ ๔,๓๑๒,๑๖๗
๑,๐๖๓,๗๕๓
พชื น้า ๑๔ ๖๙

สถานทีเ่ พาะเลีย้ งสตั ว์น้า ๓๔๘,๙๐๑ ๘๓,๒๕๖

เกษตรผสมผสาน/ไรน่ าสวนผสม ๕๐,๔๓๒ ๔๔,๔๙๒

เนื้อท่ีทงั้ หมด ๒,๓๖๘,๘๑๕ ๑,๕๒๕,๘๒๕

ประชากร ๘๒๒,๑๑๓ ๒,๔๒๖,๓๐๑

ท่ีมา : กรมพัฒนาท่ีดนิ

หมายเหตุ : *ขอ้ มลู ปี พ.ศ. ๒๕๖๑; **ข้อมูลปี พ.ศ. ๒๕๖๓

จากข้อมูลการคานวณสามารถเปรียบเทียบความเพียงพอของพื้นที่เพื่อการดารงชีวิตต่อประชากรหนึ่ง
คนในพ้ืนทพ่ี ัฒนาพิเศษภาคตะวันออกได้ว่า ในภาพรวมของพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกต้องการพ้ืนที่
เพ่ือการดารงชีวิตต่อประชากรท่ี ๒.๑๗ ไร่ต่อคน แต่มีพื้นที่จริงเพียง ๑.๒๕ ไร่ต่อคน คิดเป็นร้อยละ ๕๗.๖๐
หรอื ตอ้ งการเพม่ิ อกี ร้อยละ ๔๒.๓๙ หากพจิ ารณาในรายจังหวดั พบวา่ จังหวดั ฉะเชงิ เทราต้องการพื้นท่ีเพอื่ การ
ดารงชีวิตต่อประชากรท่ี ๑.๓๕ ไร่ต่อคน แต่มีพ้ืนท่ีจริง ๒.๘๘ ไร่ต่อคน คิดเป็นร้อยละ ๒๑๓.๔๓ หรือมี
มากกว่าที่ต้องการร้อยละ ๑๑๓.๔๓ ในขณะที่จังหวัดชลบุรีต้องการพ้ืนที่เพ่ือการดารงชีวิตต่อประชากรท่ี
๒.๕๑ ไร่ต่อคน แต่มีพ้ืนท่ีจริงเพียง ๐.๖๓ ไร่ต่อคน คิดเป็นร้อยละ ๒๕.๐๕ หรือต้องการเพ่ิมอีกร้อยละ
๗๔.๙๕ ส่วนจังหวัดระยองต้องการพื้นท่ีเพื่อการดารงชีวิตต่อประชากรที่ ๒.๒๖ ไร่ต่อคน แต่มีพ้ืนที่จริงเพียง
๑.๔๐ ไร่ตอ่ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๖๑.๙๒ หรอื ต้องการเพิ่มอีกร้อยละ ๓๘.๐๘

โครงการจดั ทาแผนสง่ิ แวดลอ้ มในพื้นท่เี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๕ - ๕๙

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย

สรุปความสามารถในการรองรับของทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม
ความสามารถในการรองรับของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาค
ตะวันออก ในกลุ่มทรัพยากรและสุขภาพ และกลุ่มสิ่งแวดล้อม มีค่าคะแนนดัชนีช้ีวัดความสามารถในการ
รองรับของแต่ละปจั จยั ได้นาเสนอดงั ตารางท่ี ๕ - ๓๙ ซง่ึ สรุปได้ดังน้ี
ในภาพรวมของพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก มีปจั จัยทเี่ กนิ ขดี ความสามารถในการรองรบั ในปจั จัย

ความสามารถในการรองรับด้านทรพั ยากรน้า ในประเดน็ สมดลุ น้า ปัจจัยความสามารถในการรองรับด้าน

มลภาวะในประเด็นนา้ เสยี ปัจจยั ความสามารถในการรองรับดา้ นการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศในประเด็น

การปลดปล่อยก๊าซเรอื นกระจกจากกจิ กรรมการใช้ชีวิตของประชาชนในพืน้ ท่ีทว่ี ัดจากค่า CF และปัจจยั

ความสามารถในการรองรบั ด้านการใช้ท่ีดนิ ในประเด็นการใช้ทดี่ ินท่ีขาดแคลนพ้นื ท่ีเพาะปลูกท่ไี ม่เพียงพอตอ่

การผลิตสาหรับการบริโภคของประชาชนในพ้นื ท่ี

หากพจิ ารณาความสามารถในการรองรบั รายจงั หวดั พบวา่
จังหวัดฉะเชิงเทรา มีปัจจัยที่เกินขีดความสามารถในการรองรับ ในปัจจัยความสามารถในการรองรับ
ด้านทรัพยากรน้า สมดุลน้า ความสามารถในการรองรับด้านมลภาวะ ในประเด็นน้าเสียและขยะ และปัจจัย
ความสามารถในการรองรับด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ในประเด็นการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก
จากกจิ กรรมการใชช้ วี ิตของประชาชนในพื้นที่ท่ีวดั จากค่า CF
จังหวัดชลบุรี มีปัจจัยท่ีเกินขีดความสามารถในการรองรับ ในปัจจัยความความสามารถในการรองรับ
ด้านอาหาร ในประเด็นปริมาณข้าวท่ีผลิตได้ในพ้ืนท่ี (Food Availability) ปัจจัยความสามารถในการรองรับ
ด้านทรัพยากรน้า ในประเด็นสมดุลน้า ความสามารถในการรองรับด้านมลภาวะ ในประเด็นน้าเสีย ปัจจัย
ความสามารถในการรองรับด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ในประเด็นการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก
จากกิจกรรมการใชช้ ีวติ ของประชาชนในพนื้ ท่ีทว่ี ัดจากค่า CF และปจั จัยความสามารถในการรองรับดา้ นการใช้
ที่ดิน ในประเด็นการใช้ที่ดินที่ขาดแคลนพ้ืนท่ีเพาะปลูกที่ไม่เพียงพอต่อการผลิตสาหรับการบริโภคของ
ประชาชนในพน้ื ท่ี
จังหวัดระยอง มีปัจจัยที่เกินขีดความสามารถในการรองรับ ในปัจจัยความความสามารถในการรองรับ
ด้านอาหาร ในประเด็นปริมาณข้าวท่ีผลิตได้ในพ้ืนที่ (Food Availability) ความสามารถในการรองรับด้าน
มลภาวะ ในประเด็นน้าเสีย ปัจจัยความสามารถในการรองรับด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ใน
ประเด็นการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมการใช้ชีวิตของประชาชนในพ้ืนที่ที่วัดจากค่า CF ปัจจัย
ความสามารถในการรองรับด้านการใช้ท่ีดิน ในประเด็นการใช้ท่ีดินท่ีขาดแคลนพ้ืนท่ีเพาะปลูกที่ไม่เพียงพอต่อ
การผลิตสาหรับการบริโภคของประชาชนในพ้ืนที่และปัจจัยความสามารถในการรองรับด้านความหลากหลาย
ทางชวี ภาพของระบบนเิ วศจงั หวัดระยอง
รายละเอียดใน ตารางที่ ๕ - ๔๐ การป ระเมิน ระดับ ความสามารถใน การรองรับ ด้าน
ทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมของพนื้ ที่

โครงการจัดทาแผนส่ิงแวดล้อมในพน้ื ท่เี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๕ - ๖๐

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย

ตารางท่ี ๕ - ๓๙ สรปุ ค่าคะแนนดชั นวี ดั ระดับความสามารถในการรองรับของพื้นท่ี

ปจจัย ค่าคะแนนดัชนชี ว้ี ดั เกณฑ์ช้ีวัด (กรณที ี่เกิน
EEC ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง ความสามารถในการรองรบั )
ด้านทรพั ยากรและสุขภาพ
๑. ความสามารถในการ ๖๒๗ ๑,๓๘๓ ๓๘ ๖๖ - ร้ อ ย ล ะ ข อ งผ ล ผ ลิ ต ข้ าวต่ อ
รองรบั ด้านอาหาร ปริมาณบรโิ ภค < รอ้ ยละ ๑๐๐
๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ - รายได้เหลือจากรายจ่าย เท่ากับ
๑.๑ ปริมาณขา้ วท่ผี ลติ ได้
ในพน้ื ที่ (Food Availability) ๕๑ ๒๔ ๖๒ ๑๐๐ ความสามารถเขา้ ถึงอาหารได้ ร้อย
๙๙ ๙๘ ๑๐๐ ละ ๑๐๐
๑.๒ ความสามารถในการ
เ ข้ า ถึ ง อ า ห า ร ( Food ๔๑.๕๑ ๗๐.๘๔ ๔๑.๙๑ ๑๐๖ -ร้อยละของน้าต้นทุนต่อความ
Accessibility) ต้องการใชน้ ้อยกวา่ ร้อยละ ๑๐๐
๒. ความสามารถในการ ๘.๓ ๖.๖ ๑๖ -ร้อยละของครัวเรือนมีน้าสะอาด
รองรับดา้ นทรพั ยากรน้า ๒๗.๖ ๘๐.๔ ๒๓.๒
๙๘ ด่ืมและบริโภคเพียงพอตลอดปี >
๒.๑ สมดลุ การใชน้ า้ ๔ ๔๕ ร้อยละ ๘๑

๒.๒ อัตราการเข้าถึงน้า ๕๐.๖๖ ร้อยละการตาย NCDs >ค่าการ
สะอาด ตายNCDsของประชากรโลก (ร้อย
๓. ความสามารถในการ ละ ๗๑)
รองรับด้านสุขภาพ
๒.๒ วนั สะสมทีม่ คี ่า AQI สูงกว่า ๑๐๐>
- ภาวะการตายด้วยโรคไม่ รอ้ ยละ ๕๐ ของทัง้ ปี
ติดตอ่ (NCDs)
๐.๙ การกาจัดโดยไม่ถกู หลกั วชิ าการ ไม่
ด้านสิง่ แวดล้อม เกินร้อยะละ ๕๐
๔. ความสามารถในการ
รองรบั ด้านมลภาวะ ๔ ดัชนคี ุณภาพน้าผิวดนิ ไม่เกิน ๓
๔.๑ มลพษิ ทางอากาศ

- Air Quality Index

๔.๒ ขยะ

๔.๓ น้าเสีย
๕. ความสามารถในการ
รองรับดา้ นการเปลย่ี นแปลง
สภาพภมู อิ ากาศ

- การปลดปล่อยคาร์บอน

โครงการจดั ทาแผนส่งิ แวดล้อมในพืน้ ท่ีเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๕ - ๖๑

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย

ปจจัย ค่าคะแนนดชั นีช้วี ัด ระยอง เกณฑช์ ว้ี ดั (กรณที เี่ กิน
EEC ฉะเชิงเทรา ชลบรุ ี ความสามารถในการรองรบั )
ด้านทรัพยากรและสขุ ภาพ
จากกจิ กรรมของมนุษย์ ๓.๔๗ ๒.๑๖ ๔.๐๒ ๓.๖๒ คารบ์ อนฟตุ พรน้ิ ท์ของพื้นท่ี
มากกวา่ คา่
(earth share = ๑.๙ gha/คน)

๖. ความสามารถในการ ๑๗.๗๙ ๒๕.๖๗ ๒๒.๒๑ ๑๑.๑๗ BDV <๑๔ = ตา่
รองรับด้านความหลากหลาย ๘.๑๖ ๘.๑๑ ๘.๑๘ ๘.๒๐ เกินค่ามาตรฐาน pH (๗.๐-๘.๕)
ทางชีวภาพ
-ความหลากหลายทางชีวภาพ
ของระบบนเิ วศ (BDV)
๗. ความสามารถในการ
รองรับด้านคณุ ภาพน้าทะเล

๗.๑ ภาวะความเป็นกรดใน
ทะเลเฉลยี่ (pH)

๗.๒ ภาวะความสกปรก ๓ ๓ ๓ ๒ ค่ามาตรฐาน MWQI ไม่เกิน ระดับ
ของนา้ ทะเล ๕๗.๖๐ ๓
๘. ความสามารถในการ
รองรับดา้ นการใช้ท่ีดิน ๒๑๓.๔๓ ๒๕.๐๕ ๖๑.๙๒ ร้อยละของพื้นท่ีเพาะปลูก <พ้ืนท่ี
- ความเพียงพอของพ้ืนที่เพอื่ ที่เกิดจาก ค่า Carbon Footprint
การดารงชวี ิตตอ่ ประชากร ของพนื้ ท่ี
หนง่ึ คน

โครงการจัดทาแผนสงิ่ แวดลอ้ มในพน้ื ท่ีเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๕ - ๖๒

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม รายงานฉบับสดุ ท้าย

ตารางที่ ๕ - ๔๐ การประเมนิ ระดบั ความสามารถในการรองรบั ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ของพ้ืนที่เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก

ประเดน ค่าคะแนนดชั นชี ้ีวดั เกณฑ์ช้ีวัด

EEC ฉะเชงิ เทรา ชลบุรี ระยอง

ดา้ นทรพั ยากรและสุขภาพ

๑. ความสามารถในการ

รองรับด้านอาหาร (ภายใต้ ปกติ ปกติ เกนิ ขดี เกินขีด - ร้อ ย ล ะ ขอ งผ ล ผ ลิ ต ข้ าวต่ อ
(๖๒๗) (๑,๓๘๓) รองรับ รองรบั ปริมาณบริโภค < ร้อยละ ๑๐๐
หลักการความมั่นคงทางอาหาร (๓๘) (๖๖)
ประกอบด้วย การมีอยู่ของอาหาร
availability) การเข้าถึงอาห าร
(access) และ การใช้ประโยชน์
คุณค่าของอาหาร (utilization)
โดย จปฐ. ได้รวบรวมครัวเรือนที่มี
การกินอาหารท่ีมีคุณภาพ ถูก
สุขลักษณ ะ ปลอดภัย และได้
มาตรฐาน ของจ. ฉะเชิงเทรา
๙๙.๑๔% จ.ชลบุรี ๙๙.๙๕ %
และจ.ระยอง ๙๙.๙๗ % (กรม
พัฒนาชุมชน, ๒๕๖๒) ซึ่งพบว่า
มาก ก ว่าร้อ ย ละ ๙ ๙ ขอ งทุ ก
จังหวัดได้รับอาหารที่มีคุณภาพ
และปลอดภัย ดังน้ัน ประเด็น การ
ใช้ประโยชน์คุณค่าของอาหาร จึง
ไม่ได้นามาประเมิน)

๑.๑ ปริมาณข้าวท่ีผลิตได้ใน

พน้ื ที่ (food availability)

๑.๒ ความสามารถในการ ปกติ ปกติ ปกติ ปกติ - รายได้เหลือจากรายจ่าย เท่ากับ

เขา้ ถงึ อาหาร (food access) ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ความสามารถเขา้ ถงึ อาหารได้ รอ้ ย

ละ ๑๐๐

๒ . ค วาม ส าม ารถใน การ เกินขดี เกนิ ขีดรองรับ เกนิ ขีด ปกติ -ร้อยละของน้าต้นทุนต่อความ

รองรบั ด้านทรัพยากรน้า รองรบั (๒๔) รองรบั (๑๐๖) ตอ้ งการใช้นอ้ ยกว่า ร้อยละ ๑๐๐

๒.๑ สมดลุ การใช้นา้ (๕๑) (๖๒)

๒.๒ การเขา้ ถงึ นา้ สะอาด ปกติ ปกติ ปกติ ปกติ -ร้อยละของครัวเรือนมีน้าสะอาด
๙๙ ๙๘ ๑๐๐ ๙๘ บรโิ ภคเพียงพอตลอดป>ี รอ้ ยละ ๘๑

๓. ความสามารถในการ

รองรับด้านสุขภาพ ร้อยละการตาย NCDs >ค่าการ

๓.๑ภาวะการตายด้วยโรค ปกติ ปกติ ปกติ ปกติ ตายNCDsของประชากรโลก (ร้อย
๗๐.๘๔ ๔๑.๙๑ ๕๐.๖๖ ละ ๗๑)
ไมต่ ดิ ต่อ (NCDs) ๔๑.๕๑

โครงการจัดทาแผนส่งิ แวดล้อมในพื้นที่เขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๕ - ๖๓

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดท้าย
เกณฑช์ ี้วดั
ประเดน คา่ คะแนนดชั นีช้วี ัด
ด้านทรัพยากรและสขุ ภาพ EEC ฉะเชงิ เทรา ชลบุรี ระยอง

ด้านสงิ่ แวดล้อม

๔. ความสามารถในการ วัน ส ะ ส ม ท่ี มี ค่ า AQI สู งก ว่ า

รองรบั ด้านมลภาวะ ปกติ ๘.๓ ๑๐๐>ร้อยละ ๕๐ในช่วงฤดูหนาว
๔.๑ มลพิษทางอากาศ ปกติ ๖.๖ ปกติ ๑๖ ปกติ ๒.๒ และฤดูร้อน

๔.๒ ขยะ ปกติ เกินขดี รองรบั ปกติ ปกติ การกาจัดขยะที่ไม่ถูกหลักวิชาการ

๒๗.๖ ๘๐.๔ ๒๓.๒ ๐.๙ เกิน รอ้ ยละ ๕๐

๔.๓ นา้ เสีย เกินขีด เกินขดี รองรบั เกนิ ขดี เกนิ ขดี WQI ไมเ่ กนิ ๓

รองรบั ๔ รองรบั รองรบั

๔ ๕๔

๕. ความสามารถในการ

รองรบั ด้านการเปลยี่ นแปลง

สภาพภมู อิ ากาศ เกินขีด เกินขดี รองรับ เกินขดี เกินขดี คารบ์ อนฟตุ พริน้ ท์ของพ้ืนท่ี
๕.๑ การปลดปล่อย รองรับ ๒.๑๖ รองรับ รองรบั มากกว่า ค่า (earth share = ๑.๙
๓.๔๗ ๔.๐๒ ๓.๖๒ gha/คน)
คาร์บอนจากกิจกรรมของ

มนุษย์

๖. ความสามารถในการ ปกติ ปกติ ปกติ เกนิ ขีด BDV <๑๔ = ตา่
รองรบั ด้านความหลากหลาย (ใกล้เกิน ๒๕.๖๗ ๒๒.๒๑
ทางชวี ภาพของระบบนิเวศ ขีดรองรับ) รองรับ
(BDV) ๑๗.๗๙
๑๑.๑๗

๗. ความสามารถในการ

รองรับด้านคุณภาพน้าทะเล

๗.๑ ภาวะความเป็นกรดใน ปกติ ปกติ ปกติ ปกติ เกินค่ามาตรฐาน pH (๗.๐-๘.๕)

ทะเลเฉลย่ี (pH) ๘.๑๖ ๘.๑๑ ๘.๑๘ ๘.๒๐

๗.๒ ภาวะความสกปรกของ ปกติ ปกติ ปกติ ปกติ คา่ มาตรฐาน MWQI ไม่เกิน ระดับ

นา้ ทะเล ๓ ๓๓ ๒๓

๘. ความสามารถในการ

รองรับด้านการใช้ที่ดิน๘.๑

ความเพียงพอของพื้นที่เพ่ือ เกินขดี ปกติ เกินขดี เกนิ ขดี รอ้ ยละของพ้ืนทเี่ พาะปลกู <พ้ืนที่
การดารงชีวิตต่อประชากร รองรบั ๒๑๓.๔๓ รองรับ รองรบั ทเ่ี กิดจาก ค่า Carbon Footprint
หนึ่งคน ๖๑.๙๒ ของพืน้ ที่
๕๗.๖๐ ๒๕.๐๕

หมายเหตุ : * ท่ีมาของเกณฑ์ตัวชวี้ ัดสามารถดเู พมิ่ เตมิ ได้ที่ตารางที่ ๕ – ๓ ปัจจัย ดัชนีชวี้ ัด และเกณฑ์ชีว้ ัดสาหรบั การประเมนิ

ศกั ยภาพการรองรบั ของพน้ื ที่

โครงการจดั ทาแผนสิ่งแวดลอ้ มในพื้นทเี่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๕ - ๖๔

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม รายงานฉบับสดุ ทา้ ย

ท้ังนี้ จากค่าคะแนนในตารางที่ ๕ - ๓๖ เพื่อใหเ้ ห็นภาพของศักยภาพในการรองรบั ของพื้นท่ีจึงได้ทา

การปรับฐานตัวเลขใหเ้ ป็นร้อยละ ๑๐๐ และแสดงออกมาเป็นภาพระดับความสามารถในการรองรับของพื้นท่ี
เขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก และของแตล่ ะจงั หวดั (ภาพท่ี ๕ - ๗ ถึง ภาพท่ี ๕ - ๑๐)

ภาพที่ ๕ - ๗ ระดับความสามารถในการรองรบั ของพ้ืนท่เี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก

โครงการจัดทาแผนส่ิงแวดล้อมในพนื้ ทีเ่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๕ - ๖๕

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ท้าย

ภาพที่ ๕ - ๘ ระดับความสามารถในการรองรับของจังหวัดฉะเชงิ เทรา

ภาพที่ ๕ - ๙ ระดับความสามารถในการรองรบั ของจงั หวดั ชลบุรี ๕ - ๖๖

โครงการจัดทาแผนสง่ิ แวดลอ้ มในพน้ื ท่เี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ท้าย

ภาพท่ี ๕ - ๑๐ ระดบั ความสามารถในการรองรบั ของจังหวดั ระยอง

๕.๑๐ การวิเคราะห์แรงกดดันและศักยภาพการรองรับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มท่ีสอดคล้องกับ
ภูมินเิ วศ

จากผลการประเมินระดับความสามารถในการรองรบั ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของพื้นท่ี
ได้นาไปประเมินศักยภาพการรองรับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่สอดคล้องกับภูมินิเวศ (ภาพที่ ๕ -
๑๑) มีผลการประเมินสรปุ ไดด้ งั น้ี

โครงการจดั ทาแผนสิ่งแวดลอ้ มในพ้นื ทเ่ี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๕ - ๖๗

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดทา้ ย

ภาพท่ี ๕ - ๑๑ ผลการประเมนิ ศกั ยภาพการรองรับทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมและแรงกดดนั

แยกตามเขตจัดการภูมินิเวศ

เขตป่าไม้และเขตเกษตรกรรม มีประเด็นที่เกินขีดความสามารถในการรองรับคือ สมดุลการใช้น้า การ
ปลดปลอ่ ยคาร์บอนจากกิจกรรมของมนุษย์ ความสามารถในการรองรบั ด้านความหลากหลายทางชีวภาพของ
ระบบนิเวศ (BDV) และ ความเพียงพอของพ้ืนท่ีเพ่อื การดารงชวี ิตตอ่ ประชากรหน่ึงคน

เขตพื้นท่ีชุ่มน้าและเขตปา่ ชายเลน ไม่มปี ระเดน็ ท่เี กนิ ขดี ความสามารถในการรองรับ
เขตทะเลและเกาะ มีประเด็นท่ีเกินขีดความสามารถในการรองรับคือ สมดุลน้า และประเด็นที่ยังไม่เกิน
ขดี ความสามารถในการรองรบั คือ ภาวะความเป็นกรดในทะเลเฉล่ีย (pH) และความสกปรกของน้าทะเล
เขตเมืองและชุมชน มีประเด็นท่ีเกินขีดความสามารถในการรองรับคือ ปริมาณข้าวท่ีผลิตได้ในพ้ืนท่ี
สมดุลการใช้น้า การปลดปล่อยคาร์บอนจากกิจกรรมของมนุษย์ และความสามารถในการรองรับด้านความ
หลากหลายทางชีวภาพของระบบนิเวศ (BDV) และประเด็นที่ไม่เกินขีดความสามารถในการรองรับคือ
ความสามารถในการเข้าถึงอาหาร การเข้าถึงน้าสะอาด ภาวการณ์ตายด้วยโรคไม่ติดตอ่ และ ความสามารถใน
การรองรบั ดา้ นมลพษิ ทางอากาศ
เขตอุตสาหกรรม มีประเด็นที่เกินขีดความสามารถในการรองรับคือ สมดุลการใช้น้า การปลดปล่อย
คาร์บอนจากกิจกรรมของมนุษย์ และประเด็นที่ไม่เกินขีดความสามารถในการรองรับคือ ความสามารถในการ
เข้าถึงอาหาร การเข้าถึงน้าสะอาด ภาวการณ์ตายด้วยโรคไม่ติดต่อ และ ความสามารถในการรองรับด้าน
มลพิษทางอากาศ
รายละเอียดในตารางที่ ๕ - ๔๑ การประเมนิ ศักยภาพการรองรับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ท่ีสอดคลอ้ งกับภูมนิ ิเวศ

โครงการจัดทาแผนสง่ิ แวดลอ้ มในพน้ื ท่เี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๕ - ๖๘

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม รายงานฉบบั สดุ ท้าย

ตารางที่ ๕ - ๔๑ การประเมินศักยภาพการรองรับทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อมที่สอดคล้องกับ

ภมู นิ ิเวศ

ประเดน เขตจัดการตามภูมินิเวศ

เขตป่า เขต เขตป่า เขต เขต เขตเมือง เขต

ไม้ พืน้ ท่ชี ุม่ ชายเลน ทะเล เกษตรก และชุมชน อุตสาหกรรม

นา้ เกาะ รรม

ด้านทรพั ยากรและสุขภาพ

๑. ความสามารถในการรองรบั ดา้ น เกนิ ขดี เกนิ ขีดรองรับ

อาหาร รองรับ

๑.๑ ปริมาณข้าวที่ผลติ ได้ในพ้นื ที่

๑.๒ ความสามารถในการเข้าถงึ อาหาร ปกติ ปกติ

๒. ความสามารถในการรองรบั ดา้ น เกนิ ขีด เกินขีด เกนิ ขีด เกนิ ขดี เกนิ ขีดรองรบั

ทรัพยากรนา้ รองรบั รองรบั รองรบั รองรบั

๒.๑ สมดุลการใช้น้า

๒.๒ การเขา้ ถึงน้าสะอาด ปกติ ปกติ

๓. ความสามารถในการรองรบั ด้าน ปกติ ปกติ

สุขภาพ
- ภาวะการตายด้วยโรคไมต่ ิดตอ่

ดา้ นสิง่ แวดล้อม

๔. ความสามารถในการรองรับด้าน ปกติ ปกติ

มลภาวะ

๔.๑ มลพิษทางอากาศ AQI

๔.๒ ขยะ ปกติ

๔.๓ นา้ เสีย เกินขีด
รองรับ

๕. ความสามารถในการรองรับดา้ น เกินขดี เกนิ ขดี เกนิ ขดี เกินขีดรองรับ
การเปล่ียนแปลงสภาพภมู ิอากาศ รองรับ รองรบั รองรบั

- การปลดปล่อยคาร์บอนจาก
กิจกรรมของมนษุ ย์

๖. ความสามารถในการรองรับดา้ น เกนิ ขีด ปกติ ปกติ เกินขีด เกินขีด
ความหลากหลายทางชีวภาพของ รองรับ รองรบั รองรบั
ระบบนิเวศ (BDV)

๗. ความสามารถในการรองรับดา้ น ปกติ
คณุ ภาพนา้ ทะเล

๗.๑ ภาวะความเป็นกรดในทะเลเฉลีย่
(pH)

๗.๒ ภาวะความสกปรกของน้าทะเล ปกติ

๘. ความสามารถในการรองรับดา้ น เกินขดี เกินขีด

โครงการจดั ทาแผนส่งิ แวดลอ้ มในพ้ืนท่เี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๕ - ๖๙

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สดุ ท้าย

ประเดน เขตจัดการตามภูมนิ ิเวศ

การใชท้ ี่ดิน เขตป่า เขต เขตปา่ เขต เขต เขตเมือง เขต
- ความเพยี งพอของพนื้ ทเี่ พือ่ การ
ดารงชีวิตต่อประชากรหน่ึงคน ไม้ พนื้ ทีช่ ุ่ม ชายเลน ทะเล เกษตรก และชุมชน อตุ สาหกรรม

นา้ เกาะ รรม

รองรบั รองรบั

๕.๑๑ แนวทางการบรหิ ารจดั การสง่ิ แวดลอ้ มตามเขตจดั การภมู ินิเวศ
เขตป่าไม้
ปจั จัยอันเป็นแรงกดดนั จากภายนอกต่อพื้นทป่ี ่าไม้ในพ้ืนท่จี ังหวัดฉะเชิงเทรา จงั หวดั ชลบุรี และจังหวัด

ระยองได้แก่ ๑) การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งทาให้มีอุณหภูมิสูงขึ้น มีผลต่อการฟื้นตัวตามธรรมชาติ
และมีแนวโน้มในการกอ่ ใหเ้ กดิ การสูญเสียความหลากหลายทางชวี ภาพมากขึ้น ๒) การพัฒนาโดยการขยายตัว
ของโครงการพัฒนาด้านต่าง ๆ ในพื้นท่ี ซ่ึงได้ก่อให้เกิดการอพยพของประชากรเข้ามาในพื้นท่ีเพ่ิมข้ึน
มีประชากรนักท่องเท่ียวเพ่ิมมากขึ้น อันส่งผลต่อการใช้ทรัพยากรต่าง ๆ มีการขยายตัวชุมชนและเมือง
และมีกิจกรรมในการขยายพ้ืนที่ใช้ประโยชน์ในเขตป่าไม้มากข้ึน เช่น การสัมปทานเหมืองแร่และหิน
การขุดดินลูกรัง/ทราย การระเบิดย่อยหิน มีการประกอบกิจกรรมโดยขาดการอนุรักษ์ดินและน้าบริเวณพื้นที่
ตน้ น้าลาธาร

เมื่อพิจารณาสถานการณ์พื้นท่ีป่าไม้ซึ่งมีเนื้อที่ต่ากว่า ๔๐% ของพื้นท่ีตามนโยบายป่าไม้แห่งชาติ และ
สภาพป่าไม้ในบางพ้ืนที่มีสภาพลดลง ประกอบกับศักยภาพในการรองรับของเขตป่าไม้ โดยการวิเคราะห์
ศักยภาพด้านความหลากหลายทางชีวภาพ การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ การใช้ประโยชน์ที่ดินและ
ทรัพยากรน้า แล้วพบวา่ เขตพืน้ ที่ป่าไมม้ คี วามสามารถในการรองรับต่า (Carrying Capacity: C ตา่ )

แนวทางในการบริหารจัดการเขตพ้ืนที่ป่าไม้ ภายใต้สภาวะแรงกดดันสูง จึงควรพิจารณาเพิ่ม
ประสิทธภิ าพในการเฝ้าระวงั ปกป้อง ค้มุ ครอง ป้องกันการบรุ ุกทาลาย และมมี าตรการในการเรง่ รัดสร้างความ
ตระหนักพรอ้ มกับการสง่ เสรมิ สนับสนนุ การมสี ่วนรว่ มของเครือข่ายอนุรักษท์ รัพยากรป่าไม้

และในสถานการณ์ท่ีพื้นที่ป่าไม้มีความสามารถในการรองรับต่า ควรพิจารณาเร่งรัดดาเนินการส่งเสริม
การฟื้นฟูระบบนิเวศป่าไม้ให้มีความสมบูรณ์ตามธรรมชาติ เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการกักเก็บคาร์บอน
ความหลากหลายทางชีวภาพ และรักษาความสามารถในการให้บริการทางระบบนิเวศธรรมชาติต่อสังคม
การดดู ซับก๊าซเรอื นกระจก และเป็นแหลง่ ตน้ นา้ ลาธารที่มีประสิทธิภาพ

เขตพ้ืนที่ชุ่มน้า ในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกได้รับผลจากโครงการพัฒนาต่าง ๆ ที่เกิดข้ึนใน
พ้ืนท่ีส่งผลให้มีจานวนประชากรเพ่ิมสูงข้ึน ประกอบกับสถานการณ์น้าผิวดินท่ีเส่ือมโทรม รวมถึงอุณหภูมิ
ที่สูงขึ้น ซ่ึงเป็นแรงกดดันที่สูง (P สูง) ซ่ึงส่งผลต่อความสมบูรณ์ของความหลากหลายทางชีวภาพแต่ยังอยู่ใน
ระดับท่ีสามารถรองรับได้ (C สูง) อย่างไรก็ตามหากมีการรุกล้าหรือทาลายพ้ืนท่ีชุ่มน้าสูงข้ึนจะลดระดับความ
หลากหลายทางชีวภาพและอาจน้าไปสู่การทาลายระบบนิเวศริมฝ่ังน้าอยา่ งถาวร สถานการณ์การสูญเสยี ความ
หลากหลายทางชีวภาพริมน้าเกิดข้ึนโดยทั่วไป และที่น่าเป็นห่วงมากคือพื้นที่ริมน้าบางปะกง โดยเฉพาะคลอง

โครงการจัดทาแผนส่ิงแวดล้อมในพน้ื ท่ีเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๕ - ๗๐

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย

อ้อมซ่ึงเป็นคลองสาขาของแม่น้าบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา และคลองลาวน อาเภอแกลง จังหวัดระยอง

เนื่องจากความหลากหลายทางชีวภาพของพ้ืนท่ีสัมพันธ์กับวิถีชีวิตชุมชนที่ได้พ่ึงพาลาน้าดังกล่าว ดังน้ันพ้ืนท่ี

ชุม่ นา้ ในภาคตะวนั ออกจึงมคี ุณค่าทางความหลากหลายทางชีวภาพทีส่ าคัญ

แนวทางในการบริหารจัดการพื้นท่ีชุ่มน้าในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ภายใต้แรงกดดันต่อการทา

ให้เกิดการเปล่ียนแปลงความหลากหลายทางชีวภาพ ควรพิจารณามาตรการในการเร่งรัดควบคุม ดูแลการใช้

ประโยชน์ในบริเวณพื้นที่ชุ่มน้า และในศักยภาพความสามารถในการรองรับของระบบนิเวศท่ีมีอยู่แล้วน้ัน

ต้องดาเนินการรักษาศักยภาพให้คงความอุดมสมบูรณ์ เสริมสร้างศักยภาพด้วยฟื้นฟูเสริมสร้างเพ่ิมพูน

ความหลากหลายให้มีความอุดมสมบูรณ์ยิ่งขึ้น รวมท้ังสนับสนุนกระบวนการเรียนรู้ สร้างความตระหนัก และ

หลักการใชป้ ระโยชนจ์ ากความหลากหลายอย่างยงั่ ยนื

เขตปา่ ชายเลน

พื้นท่ีป่าชายเลนในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก จังหวัดระยองมีปริมาณมากที่สุด รองลงมาคือพื้นที่

ป่าชายเลนจังหวัดฉะเชิงเทรา และจังหวัดชลบุรีตามลาดับ โดยสถานการณ์จากอดีตถึงปัจจุบัน ป่าชายเลนมี

พ้นื ท่ีลดลง อันเนอ่ื งจากการแปรสภาพเพื่อกิจกรรมอืน่ อย่างต่อเน่อื ง เช่น การขยายตัวของชุมชน เมือง การใช้

ประโยชน์พื้นที่เพ่ือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ การท่องเที่ยว การเพาะเลี้ยงสัตว์น้าชายฝั่ง รวมทั้งการถือครอง

สิทธิ์ในท่ีดินนอกจากน้ีสภาพป่าชายเลนยังได้รับแรงกดดันสูง (P สูง) จากการเป็นท่ีรองรับของเสียท้ังขยะมูล

ฝอยและน้าเสยี ทีถ่ ูกปล่อยลงมาจากพนื้ ทช่ี มุ ชนและแหลง่ ต่าง ๆ อยา่ งต่อเนอ่ื ง

การลดลงของพ้ืนที่ป่าชายเลนและสถานการณ์ความเส่ือมโทรมที่ปรากฏ ส่งผลต่อปัญหาการกัดเซาะ

ชายฝั่งตลอดแนวชายฝั่งของท้ังสามจังหวัด ซ่ึงก็ได้มีการแสวงหาแนวทางและจัดทาโครงการป้องกันชายฝ่ังได้

สาเร็จไปแล้วบา้ งในบางพืน้ ท่ี การขาดความอุดมสมบรู ณ์ของระบบนิเวศป่าชายเลนทาให้เป็นอุปสรรคต่อแหล่ง

เพาะเลยี้ งอนบุ าลสัตวอ์ อ่ น และส่งผลกระทบต่อวถิ ีชุมชนทอ้ งถ่นิ

จากการศึกษาสถานการณ์ แรงกดดันซึ่งเป็นปัจจัยกระทบทั้งเชิงปริมาณพ้ืนที่และคณุ ภาพการรองรับได้

ของระบบนิเวศป่าชายเลนในพื้นที่พัฒนาพิเศษภาคตะวันออกแล้ว พบว่ายังอยู่ในระดับที่มีศักยภาพ

ความสามารถในการรองรบั ไดข้ องระบบนเิ วศ (Carrying Capacity: C สงู )

แนวทางในการบริหารจัดการเขตนิเวศป่าชายเลน ภายใต้สถานการณ์แรงกดดันสูง ควรพิจารณา

มาตรการในการเฝ้าระวัง เพ่ิมประสิทธิภาพในการปกป้อง ป้องกัน คุ้มครอง ควบคุมการใช้ประโยชน์พื้นท่ีป่า

ชายเลน รวมท้ังพิจารณามาตรการในการจูงใจให้เกิดการอนุรักษ์ ฟื้นฟูความหลากหลายทางชีวภาพพื้นท่ีป่า

ชายเลนให้มีความอุดมสมบูรณอ์ ย่างยัง่ ยืน

และศักยภาพความสามารถในการรองรับได้ของระบบนิเวศป่าชายเลนซ่ึงยังมีศักยภาพในการรองรับสูง

อยู่แล้ว ควรพิจารณาดาเนินการรักษาสภาพความอุดมสมบูรณ์ท่ีมีอยูใ่ ห้คงความอุดมสมบูรณ์ และส่งเสริมการ

เรียนรู้ เผยแพร่คุณค่าความสาคัญระบบนิเวศป่าชายเลน สร้างความตระหนักและเสริมสร้างการมีส่วนร่วมใน

การอนุรกั ษ์ทรพั ยากร

เขตทะเลและเกาะ

พ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก มีแนวชายฝ่ังทะเลต้ังแต่จังหวัดฉะเชิงเทรา (๑๖.๕๖ กม.) จังหวัด

ชลบุรี (๑๗๐.๑๗ กม.) ถึงจังหวัดระยอง (๑๐๕.๖๑ กม.) ยาวรวมประมาณ ๒๙๒.๓๔ กม. ในเขตทะเล

โครงการจัดทาแผนสิ่งแวดลอ้ มในพ้นื ที่เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๕ - ๗๑

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดทา้ ย

ประกอบดว้ ยหมู่เกาะที่มีความสวยงามและเป็นแหล่งท่องเที่ยวทีส่ าคัญ มแี นวปะการังกระจายกว่า ๙,๘๐๐ ไร่
เป็นแหล่งสวยงามตามธรรมชาติ ช่วยรักษาระบบนิเวศชีวภาพ ช่วยปกป้องคลื่นพายุ ลดความรุนแรงการกัด
เซาะชายฝ่ัง มีทรัพยากรหญ้าทะเลซ่ึงเป็นแหล่งอนุบาลสัตว์น้าวัยอ่อน และยังมีทรัพยากรสัตว์ทะเลหายาก
ไดแ้ ก่ เตา่ ทะเล (Sea Turtles) โลมาและวาฬ (Dolphin and Whales)

สถานการณ์และแรงกดดันที่มีต่อเขตทะเลและเกาะที่พบได้แก่ การกัดเซาะชายฝ่ังในระดับความ
เสียหาย ๑ - ๕ เมตรต่อปี ซ่ึงในบางพื้นท่ีได้มีการดาเนินการแก้ไขไปบ้างแล้ว ในบางพ้ืนที่อยู่ระหว่างการ
ดาเนินการ ผลกระทบจากการท่องเท่ียวในการปล่อยของเสียและความไม่รอบครอบในการปฏิสัมพันธ์กับ
ทรัพยากรทะเล การรบกวนและทาลายแหล่งปะการัง การปล่อยน้าเสียและขยะจากบกสู่ทะเล รวมทั้งการ
เปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศจากกิจกรรมการปล่อยก๊าซ GHGs เพ่ิมข้ึน ส่งผลต่อคุณภาพน้าชายฝ่ังทะเล
ทก่ี ระทบต่อการสญู เสยี ทุง่ หญา้ ทะเล และระบบนิเวศธรรมชาติ

ระดับความกดดันต่อเขตทะเลและเกาะอยู่ในระดับสูง (P สูง) แต่จากการประเมินศักยภาพในการ
รองรับได้ของระบบนิเวศยังไม่เกินขีดความสามารถในการรองรับในด้านคุณภาพน้าทะเล แต่ในด้านการ
เปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศเกินความสามารถในการรองรับได้ ค่าประเมินการรองรับได้ของนิเวศเขตทะเล
และเกาะโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (C ปานกลาง)

แนวทางในการบริหารจัดการทรพั ยากรเขตนิเวศทะเลและเกาะภายใต้สภาวะความกดดันสูง จงึ ควรมี
การจัดทาแผนแม่บทการจัดการทรัพยากรและการใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางทะเลและเกาะ และดาเนินการ
ศึกษา จดั ทาฐานขอ้ มูลต้นทนุ ทรัพยากรพน้ื ที่ทะเลและเกาะอยา่ งเป็นระบบ

และการจัดการทรัพยากรเขตนิเวศทะเลและเกาะภายใต้ศักยภาพการรองรับได้ของระบบนิเวศปาน
กลาง ควรดาเนินการพัฒนาแนวทาง มาตรการ และวิธีการท่ีเหมาะสมในการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรทาง
ทะเลและเกาะอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพและย่ังยืน

เขตเกษตรกรรม
ในพ้ืนที่พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก มพี ้ืนท่ีเกษตรกรรมอยใู่ นท้องที่จังหวัดฉะเชิงเทรา ประมาณร้อยละ
๔๗.๓๒ของพื้นท่จี งั หวัด ในท้องท่ีจงั หวัดชลบุรี ประมาณรอ้ ยละ ๓๘.๗๗ ของพน้ื ท่ีจงั หวัด และในท้องท่จี งั หวัด
ระยองร้อยละ ๖๖.๙๖ ของพ้ืนที่จังหวัด โดยประกอบกิจกรรมทานา พืชไร่ สวนผลไม้ ไม้ดอกไม้ประดับ
พืชผัก ไม้ยืนตน้ เพาะเลี้ยงสัตว์น้า การประมง และการปศุสัตว์
เขตพ้ืนที่เกษตรกรรม ได้รับแรงกดดันภายนอกได้แก่ การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ แนวโน้มความ
ต้องการใช้ประโยชน์ที่ดินในการขยายชุมชนขยายเมืองและกิจการอ่ืนๆ ทาให้พ้ืนท่ีการเกษตรลดลง การขาด
แคลนน้าในฤดูแล้ง การได้รับผลกระทบด้านคุณภาพน้าผิวดินและน้าบาดาลปนเป้ือน ซ่ึงเป็นแรงกดต่อเขต
พื้นที่เกษตรกรรมในระดบั สูง (P สงู )
ทาให้ศักยภาพในการรองรับได้ของระบบนิเวศเขตเกษตรกรรมเกินขีดความสามารถ หรือมีศักยภาพใน
การรองรับในระดับต่า (C ต่า) ซ่ึงมีผลต่อการลดลงของพื้นท่ีการเกษตร ทาให้ประสิทธิภาพในการเก็บกัก
คาร์บอนลดลง ผลผลิตด้านการเกษตรลดลงมีผลกระทบต่อความมั่นคงด้านอาหาร เกิดการเปล่ียนแปลงต่อ
นเิ วศวัฒนธรรมชมุ ชน

โครงการจดั ทาแผนส่ิงแวดลอ้ มในพนื้ ทเ่ี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๕ - ๗๒

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ท้าย

แนวทางในการจัดการพื้นที่เขตเกษตรกรรมภายใต้แรงกดดนั สูง ควรดาเนินการให้มีแผนแมบ่ ทเพื่อการ
อนุรักษ์เขตพ้ืนที่เกษตรกรรม ส่งเสริมการเกษตรแบบยั่งยืน และในสภาวะความสามารถรองรับต่า
ควรดาเนินการสนับสนุนการใช้ประโยชน์ทรัพยากรท่ีมีอยู่อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด น้อมนาหลักพระราช
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และพัฒนาตามหลักการเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจ
สีเขยี ว

เขตเมืองและชุมชน เป็นเขตท่ีได้รบั แรงกดดันสูงมากกว่าทุกเขต ท้ังน้ีเนื่องจากมคี วามเส่ียงต่อความไม่
มั่นคงทางอาหารเนอื่ งจากพืน้ ท่สี ่วนใหญบ่ นโลก โดยเฉพาะประเทศกาลังพัฒนามีกระบวนการเป็นเมืองสูงและ
จานวนประชากรทีเ่ พิ่มขึน้ ประชากรมีแนวโน้มอาศยั อยใู่ นเมือง รวมถึงจานวนนกั ทอ่ งเทย่ี วและแรงงานทจ่ี ะเข้า
มาอยู่ในพ้ืนที่เมืองท่ีสูงขึ้น ประกอบกับการใช้ที่ดินในเมืองท่ีมีความหนาแน่นของอาคารและความเข้มข้นของ
กจิ กรรมเมือง พื้นท่ีในเมืองเป็นพื้นผิวดาดแข็งมากกว่าพ้ืนผิวดาดอ่อนเพ่ือประโยชน์ต่อการใช้สอยที่ง่าย พื้นท่ี
สีเขียวในเมืองจึงมีจานวนน้อย ทาให้แนวโน้มคุณภาพอากาศท่ีแย่ลงแต่ยังไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน ยกเว้น
สารอินทรีย์ระเหยง่ายท่ีเกินค่ามาตรฐานในบางพื้นที่ คุณภาพน้าใต้ดินท่ีพบสารปนเป้ือน รวมถึงก๊าซคาร์บอน
ได้ออกไซด์ที่เกินค่าบรรยากาศและแนวโน้มอุณหภูมิท่ีสูงขึ้น นอกจากนี้ความต้องการบริโภคและการใช้
ทรพั ยากรทเ่ี พิ่มมากขึ้นนาไปสู่ปรมิ าณการปลอ่ ยของเสียที่เพิ่มตามไปด้วย ดังน้นั จึงหลีกเลี่ยงไมไ่ ด้วา่ แรงกดดัน
ในพื้นท่ีเขตเมืองและชุมชนจะสูง (P สูง) ซึ่งส่งผลต่อศักยภาพในการรองรับด้านมลพิษทางอากาศ
ความหลากหลายทางชีวภาพ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การมีอยู่ของอาหาร ทรัพยากรนา้ และน้าเสีย
ท่ีเกินขีดความสามารถในการรองรับ อย่างไรก็ตามเมืองยังสามารถเข้าถึงอาหารและน้าสะอาดได้อยู่ ดังน้ัน
ความสามารถในการรองรับจึงอยู่ในระดับปานกลาง (C ปานกลาง) ซ่ึงสง่ ผลกระทบต่อสขุ ภาพของคนเมืองและ
คุณภาพของสง่ิ แวดล้อมด้วย นอกจากนีก้ ารพฒั นาท่เี กิดขึ้นในพื้นท่ีสง่ ผลต่อโอกาสในการเพ่ิมพน้ื ที่สเี ขียวขนาด
ใหญใ่ นเมืองเป็นไปไดย้ ากมากขนึ้

แนวทางในการจัดการพนื้ ทเี่ ขตเมืองและชุมชน ภายใตแ้ รงกดดันสูง ควรรักษาดแู ลพ้ืนท่ีสีเขยี วใหไ้ ด้มาก
ที่สุด เพ่ือพัฒนาสภาพแวดล้อมที่ดี รองรับด้านมลพิษทางอากาศ ความหลากหลายทางชีวภาพ
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และภายใต้ความสามารถในการรองรับได้ของระบบนิเวศปานกลาง
ควรส่งเสริมการออกแบบภูมิทัศน์ชุมชนและเมืองให้มีความสอดคล้องตามลักษณะภูมินิเวศ และเพิ่มพ้ืนท่ี
สีเขียวตามความเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมทดี่ ี

เขตอุตสาหกรรม พื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกเป็นพ้ืนที่เป้าหมายการพัฒนาของประเทศ
โครงการพัฒนาต่าง ๆ โดยเฉพาะอุตสาหกรรม ที่จะดึงดูดท้ังโครงสร้างพื้นฐานและแรงงานเข้ามาในพื้นท่ี
ในขณะท่ีสถานการณ์ส่ิงแวดล้อมในพื้นท่ีเส่ือมโทรมลง เช่น คุณภาพอากาศ ปริมาณกากของเสียจานวนมาก
ข้ึน ในขณะที่ปริมาณพื้นท่ีสีเขียวมีอยู่ในอัตราที่น้อย นับเป็นเขตที่มีแรงกดดันสูง (P สูง) และเมื่อพิจารณา
ศกั ยภาพในการรองรับด้านมลพิษทางอากาศ การเปล่ียนแปลงสภาพภมู ิอากาศ และทรัพยากรนา้ พบว่าเกินขีด
ความสามารถในการรองรับจัดอยู่ในระดับค่อนข้างต่า (C ค่อนข้างต่า) ดังนั้นผลกระทบจากการปล่อยของเสีย
ของโรงงานอุตสาหกรรมส่งผลให้มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสูงเน่ืองจากกระบวนการผลิตท่ีเข้มข้นมากข้ึน
ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ จงึ ควรได้รับการจัดการทม่ี ปี ระสิทธิภาพและในเชิงบรู ณาการ

โครงการจดั ทาแผนสิ่งแวดลอ้ มในพืน้ ทเี่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๕ - ๗๓

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย

แนวทางการจดั การส่ิงแวดล้อมในเขตพ้ืนที่อุตสาหกรรม ภายใต้แรงกดดนั สูง ควรสง่ เสรมิ การมีส่วนร่วม
ในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมจากทุกภาคส่วน และภายใต้ความสามารถในการรองรับต่า ควรพัฒนาและ
ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในกระบวนการผลิตที่ใช้ทรัพยากรอย่างมีประสทิ ธิภาพ มีการปล่อยของเสียนอ้ ยที่สุด
โดยการจดั การตามหลักเศรษฐกิจหมนุ เวยี นและเศรษฐกิจสเี ขยี ว

ท้ังนี้เม่ือพิจารณาถึงแรงกดดันท่ีเกิดขึ้นในพื้นที่ จะส่งผลให้เกิดประเด็นปัญหาจนนาไปสู่สถานภาพ
ทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อมที่เกิดข้ึน และเมอ่ื เปรียบเทยี บกับความสามารถในการรองรับของพื้นท่ีแล้ว
ในการวิเคราะห์เพื่อนาไปสู่การจัดทาแผนสิ่งแวดล้อม จะเห็นได้ว่า แม้จะมีแรงกดดันในการเพ่ิม
ภาคอุตสาหกรรมในพ้ืนท่ีนี้ตลอดเวลา ในประเด็นท่ีเพ่ิมอุตสาหกรรมที่มีการปล่อยมลพิษ หากเมื่อวิเคราะห์
ความสามารถในการรองรับในประเด็นดังกล่าวยังคงมีอยู่สูงก็อาจสามารถสนับสนุนให้เกิดขึ้นได้ หากเม่ือ
พิจารณาแล้วเป็นประโยชน์ต่อเศรษฐกิจโดยรวมอย่างมาก ดังน้ันประเด็นนี้การเชื่อมโยงในแผนจึงควรเป็นไป
โดยจดั ทาฐานขอ้ มูลทเ่ี ข้าถงึ ได้ อยา่ งง่ายสะดวกและรวดเรว็ แก้ปัญหาผลกระทบท่เี กดิ ขนึ้ โดยการมสี ว่ นรว่ ม

จากทิศทางการสนับสนุนของรัฐบาลในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (อีอีซี) เพื่อยกระดับการพัฒนา
ประเทศไปสู่ยุค “ไทยแลนด์ 4.0” มีโครงการขนาดใหญ่เกิดขึ้นมากมาย ในการนี้เมื่อพิจารณาถึงการบริหาร
จดั การภาครัฐแล้วหากมผี ลกระทบตามชนิดและขนาดของโครงการตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ
และส่ิงแวดล้อม ท่ีต้องจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบส่ิงแวดล้อม (EIA หรือ EHIA) เป็นรายโครงการ
โดยกระบวนการพิจารณาอนญุ าตได้มีข้ันตอนการดาเนินการอยา่ งชัดเจนแล้ว การเชื่อมโยงไปสกู่ ารจัดทาแผน
ส่ิงแวดล้อมจึงอาจจะมีการพิจารณามาตรการผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมสะสมจากการท่ีอนุญาตให้มีโครงการ
ลักษณะเดียวกันหลาย ๆ โครงการที่แม้จะแต่ละโครงการมีการลดผละกระทบผ่านเกณฑ์มาตรฐานหลายอย่าง
แต่เมื่อรวมผลกระทบอาจเกดิ ปญั หาในพน้ื ท่ีได้ โดยเฉพาะในเขตท่มี ีความสามารถในการรองรบั ต่า

ดังน้ันในการจัดทาแผนส่ิงแวดล้อมระยะที่ ๒ นี้ จึงเป็นการศึกษาท่ีลงรายละเอียดที่มากขึ้น จากการ
จดั ทาแผนด้านสิ่งแวดล้อมที่ผา่ นมาท่ีเน้นประเด็นปัญหาทเ่ี กิดขึน้ ในพน้ื ที่แลว้ มาทาการจัดกลุ่มรวบรวม นาไปสู่
การจัดทาแนวทาง โครงการเพื่อแก้ปัญหาท่ีเกิดข้ึน และรัฐบาลมีนโยบายท่ีชัดเจนท่ีจะพัฒนาพื้นที่น้ีให้เป็ น
พ้ืนที่อุตสาหกรรมต่อเนื่องจากในช่วงหลายสิบปีที่ผ่านมาประเทศไทยมีการลงทุนโครงการใหญ่ ๆ มีการลงทุน
ในยุค“อีสเทิรน์ ซบี อรด์ " ทาให้ไม่สามารถหลีกเลี่ยงการพฒั นานี้ได้ ขั้นตอนการจัดทาแผนสง่ิ แวดลอ้ มระยะที่ ๒
น้ีจึงได้พิจารณานอกจากประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้น จากสถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมแล้ว ยัง
เช่ือมโยงนาแนวทางการจัดการโดยเน้นตามภูมินิเวศ ความสามารถในการรองรับ การบริหารจัดการที่ผ่านมา
การมีส่วนร่วม และริเร่ิมการจัดทาฐานข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม การจัดการองค์ความรู้ เพื่อให้เป็นฐานในการ
บรหิ ารจดั การพ้นื ทตี่ ่อไป ภาคใต้การพฒั นาตามฐานทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มใหเ้ ปน็ ไปอยา่ งย่ังยืน

โครงการจดั ทาแผนสิ่งแวดล้อมในพืน้ ท่ีเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๕ - ๗๔

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม รายงานฉบบั สุดท้าย

บทท่ี ๖
การวิเคราะหก์ ารบรหิ ารจดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม

ในพืน้ ทีเ่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก

จากกรอบแนวคิดการดาเนินงานโครงการด้วยการประยุกต์ใช้หลักการ Pressure-Carrying Capacity-
Governance: PCG Model ท่ีเป็นการวิเคราะห์ระดับภาวะกดดันท่ีส่งผลต่อสถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาติ
และส่ิงแวดล้อม และการประเมินความสามารถในการรองรับ รวมถึงสถานการณ์การบริหารจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม (ดังภาพท่ี ๖ – ๑) ในส่วนนี้จะเป็นการสังเคราะห์ประเด็นแรงกดดัน (P)
(รายละเอียดปรากฏในบทที่ ๔ และ ๕) และ ความสามารถในการรองรับพน้ื ที่ (C) (รายละเอียดปรากฏในบทที่
๖) โดยการคานึงถึงเขตจัดการตามภูมินิเวศ ในบทนี้เป็นผลการรวบรวมข้อมูลการบริหารจัดการ (G) ของ
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมท่ีมีอยู่ในปัจจุบัน รวมถึงปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะมีรายละเอียด
ดงั น้ี

ภาพท่ี ๖ - ๑ กรอบแนวคดิ ในการวิเคราะหแ์ รงกดดนั ความสามารถในการรองรบั และการบริหารจดั การ
ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม

๖.๑ การบรหิ ารจดั การทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม
การรวบรวมการบริหารจัดการ อุปสรรค/ข้อจากัด และข้อเสนอแนะในการบริหารจัดการ

ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ได้จากเอกสาร การประชุมเวทีรับฟังความคิดเห็นต่าง ๆ ของหน่วยงาน
องค์กร ภาคส่วนต่าง ๆ แล้วนามาวิเคราะห์แยกประเด็นตามแรงกดดัน สถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่งิ แวดลอ้ ม และความสามารถในการรองรบั พร้อมทั้งวเิ คราะห์ ตารางท่ี ๖ - ๑

โครงการจัดทาแผนส่งิ แวดล้อมในพืน้ ทีเ่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๖-๑

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม

ตารางที่ ๖ - ๑ การวิเคราะห์การบรหิ ารจดั การ (Governance) ทรพั ยากรธรรมชา

ประเดน การบรหิ ารจัดการในปจจุบนั

๑. ความม่นั คงทาง - ยทุ ธศาสตรช์ าติ (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) ที่ ๕ ดา้ นทรัพยากรธรรมชาติ
อาหาร ด้านการสรา้ งการเตบิ โตบนคณุ ภาพชวี ติ ท่เี ป็น -พนื้ ทีท่ าการเกษตรถกู เป

มติ รต่อสงิ่ แวดล้อม ใน (๕) เนน้ การ พัฒนา รวมทัง้ โรงแรม รีสอร์ท เพ

ความมั่นคงทางน้า พลงั งาน และเกษตรทีเ่ ป็น ด้านสงิ่ แวดลอ้ ม

มติ รต่อส่งิ แวดล้อม - นา้ มสี ารปนเปือ้ นสูง ส่ง

-แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบับ สะอาด การปิดประตนู ้าท

ที่ ๑๒ ยทุ ธศาสตร์ ที่ ๔ ใน (๔) เนน้ การ มกี ารผสมน้าดีก่อนปลอ่ ย

สง่ เสริมการผลติ และการบริโภคทีเ่ ปน็ มิตรกับ - ผลกระทบจากขห้ี มใู นฟ

สิ่งแวดล้อม - เกษตรกรรมยัง่ ยนื เกษ

-แผนพฒั นาจงั หวัด ใหค้ วามสาคญั กบั การเป็น แต่ในพน้ื ที่ยงั มปี ัญหาสิง่ แ

แหล่งผลิตเกษตรกรรมที่ปลอดภยั ด้านสงั คม

- ผลผลติ ทางการเกษตร

คนชลบรุ ไี มพ่ อ

โครงการจัดทาแผนส่งิ แวดล้อมในพ้นื ที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕

รายงานฉบับสุดทา้ ย

าติและสง่ิ แวดล้อมตามประเดนแรงกดดันและความสามารถในการรองรบั

ขอ้ จากดั /อุปสรรค ขอ้ เสนอแนะ

ปลี่ยนไปเป็นพื้นที่เมือง พ้ืนท่ีอตุ สาหกรรม ดา้ นทรัพยากรธรรมชาติ
พ่อื รองรบั การทอ่ งเที่ยว - การรักษาพื้นทเี่ กษตรกรรม (๑) การบังคบั ใช้
มาตรการทางผงั เมือง (๒) มาตรการพิเศษทาง

เศรษฐศาสตร์ เช่น คา่ ธรรมเนียมการพฒั นา,

งผลตอ่ การคุณภาพของอาหารทะเลอาจไม่ ภาษกี ารเปลยี่ นแปลงการใช้ประโยชนท์ ี่ดนิ

ทาใหเ้ กิดการสะสมสารเคมีและสารอนิ ทรยี ต์ ้อง (ส่วนหน่ึงนาเขากองทุนฯ) เพ่อื ลดอทิ ธิพลของ

ย ราคาท่ดี นิ ตอ่ การเปลีย่ นแปลงการใชป้ ระโยชน์

ฟารม์ เลยี้ งหมูท่ ่ีปล่อยลงแหล่งน้าธรรมชาติ ที่ดนิ (๓) การส่งเสริมการสรา้ งมลู คา่ ในพนื้ ที่

ษตรอินทรยี ์ ต้องการนา้ ดนิ และอากาศที่สะอาด เกษตรกรรม เชน่ การทอ่ งเท่ยี วเชงิ

แวดล้อม เกษตรกรรม
ด้านสง่ิ แวดลอ้ ม

(อาหารปลอดภยั ) จากสามจังหวัดรวมกันเลีย้ ง - ควรกาหนดสารเคมีจาก point-source และ

non-point source เพอ่ื ควบคุมการใช้

สารเคมจี ากแหล่งกาเนิดควรกาหนดในผงั เมือง

ด้านสงั คม

- การผลักดนั เกษตรเชงิ นเิ วศและอาหาร

ปลอดภยั เช่น (๑) การปรบั ปรุง/รกั ษา
คุณภาพนา้ (เช่อื มกบั ประเด็นด้านสิ่งแวดลอ้ ม)

(๒) การสนบั สนุนจากภาคเอกชน

อตุ สาหกรรม เชน่ การเสริมศักยภาพดา้ น

การตลาดและการขนสง่

๕-๒๕๖๙ ๖-๒

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม

ประเดน การบรหิ ารจัดการในปจจบุ นั

๒.สุขภาพ แผน Big Rock แผนขบั เคล่ือนกิจกรรมปฏริ ูป ดา้ นสังคม
- ภาวะการตาย ท่ีส่งผลใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงต่อประชาชน - พฤตกิ รรมการบรโิ ภคขอ
ดว้ ยโรคไมต่ ิดต่อ อยา่ งมนี ัยสาคญั (Big Rock ดา้ นสาธารณสุข) พฤติกรรมเนือยนง่ิ และป
(NCDs) เชน่ กจิ กรรม BR0702 เรือ่ งการปฏิรปู เพื่อเพิม่ เรื้อรงั (WHO, 2014) โด
ประสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ล ของการ เพิม่ ขึ้น
๓. การ เสรมิ สร้างสุข ความรอบรดู้ า้ นสุขภาพ การ
เปลี่ยนแปลงสภาพ ป้องกันและดแู ลรกั ษาโรคไม่ติดตอ่ สาหรับ ดา้ นสังคม
ภูมิอากาศ ประชาชนและผปู้ ่วย - องค์ความรู้ ชอ่ งทาง แล
-- การปลดปลอ่ ย กาหนดเป้าหมายยอ่ ยท่ี ๕ ขอ้ เสนอแนะเชิง เพียงพอ หากต้องการบร
คาร์บอน นโยบายระดับมหภาคและแนวทางเฉพาะด้าน
ในการป้องกันและลดอนั ตรายจากอาหาร และ
สารเคมี ท่ีก่อใหเ้ กดิ โรคไมต่ ดิ ตอ่
แผนแม่บทรองรับการเปลยี่ นแปลงสภาพ
ภมู ิอากาศ พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๙๓ (สผ.)
ประเทศไทยตั้งเปา้ หมายในการลดกา๊ ซเรือน
กระจกในปีพ.ศ. ๒๕๗๓ ร้อยละ ๒๐-๒๕ จาก
กรณีดาเนนิ การตามปกติ
เร่ิมดาเนินการ NDC ในปพี .ศ. ๒๕๖๔

โครงการจัดทาแผนสิ่งแวดลอ้ มในพ้นื ทเ่ี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕

รายงานฉบับสุดทา้ ย

ข้อจากดั /อปุ สรรค ขอ้ เสนอแนะ
- สรา้ งเครอื ขา่ ยผผู้ ลิตเกษตรอินทรยี ภ์ าค
องประชากรท่เี ปล่ยี นไปเปน็ แบบเมอื ง ตะวนั ออกทง้ั ๙ จงั หวัด และขยายไปเปน็ ๕๖
ปญั หามลพิษทางอากาศ สง่ ผลต่อโรคไมต่ ดิ ต่อ จงั หวัด เพื่อขบั เคลอื่ นเกษตรอินทรยี ์
ยโรคไมต่ ดิ ต่อเรอื้ รังในพื้นที่ EEC มแี นวโนม้ - ควรมีระบบนาเขา้ ข้อมูลเครือขา่ ยเกษตร
อนิ ทรยี ์
ด้านสงั คม
- มมี าตรการที่ต่อเนอ่ื งเพ่ือปรบั เปล่ยี น
พฤตกิ รรมของประชาชน ในการเสริมสรา้ งสขุ
ความรอบรดู้ า้ นสขุ ภาพ การปอ้ งกนั และดูแล
รกั ษาโรคไมต่ ิดต่อ ตามแผน Big Rock

ละการประชาสมั พนั ธ์ ในปจั จบุ นั อาจยงั มไี ม่ ด้านทรัพยากรธรรมชาติ
รรลุเปา้ หมายท่ีกาหนดไว้ - การสนับสนนุ ภาคอตุ สาหกรรม เอกชนสรา้ ง
ปา่ หลากหลายรปู แบบเชน่ ปา่ ครอบครวั
- การป้องกนั การทาลายพนื้ ที่สเี ขยี ว/พนื้ ที่ชมุ
น้า ในพืน้ ท่ีดนิ เอกชน
- การลดคาร์บอน ในกระบวนการผลิตควร

๕-๒๕๖๙ ๖-๓

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม

ประเดน การบรหิ ารจดั การในปจจบุ นั
บรรลเุ ป้าหมาย NDC ลดกา๊ ซเรือนกระจกได้
มากกวา่ ๑๑๑ MtCO2e

- คณุ ภาพอากาศ - แผนขับเคล่ือนกิจกรรมปฏิรปู ทีส่ ่งใหเ้ กิดการ ด้านส่ิงแวดล้อม
เปลย่ี นแปลงตอ่ ประชากรอย่างมนี ยั สาคัญ (Big - ขาดการควบคมุ การปล
Rock) กิจกรรม BR602 ปฏริ ปู ระบบบรหิ าร - ความเจริญด้านอตุ สาห
จัดการคณุ ภาพสงิ่ แวดลอ้ มในเขตควบคมุ มลพิษ อย่างรวดเรว็ สง่ ผลให้กร
ให้ไดต้ ามมาตรฐาน เปา้ หมายอ่ ยคือ ยกเลิกเขต โรงงานอตุ สาหกรรม ปมั๊ น
ควบคมุ มลพิษมาบตาพุด - การพฒั นาพน้ื ท่ี โดยเฉพ
- ใช้หลักการ ๘๐/๒๐ และติดตามตรวจสอบ กระทบสงิ่ แวดลอ้ มอยา่ งต
สถานการณ์คณุ ภาพอากาศค่า VOC ไดแ้ ก่ สาร สงิ่ แวดล้อมคู่กบั การพัฒน
เบนซีน สาร 1,3 บิวทาไดอีน ในอนาคต
- ติดตงั้ สถานตี รวจวัดคณุ ภาพอากาศ บริเวณ

โครงการจัดทาแผนสง่ิ แวดล้อมในพน้ื ท่เี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕

รายงานฉบับสดุ ทา้ ย

ขอ้ จากัด/อุปสรรค ข้อเสนอแนะ

คานงึ ทัง้ วงจรชีวติ เชน่ แหล่งทม่ี า

กระบวนการผลติ กระบวนการกกั เกบ็

กระบวนการใช้ กระบวนการจัดการเม่อื

หมดอายุการใชง้ าน

ด้านส่งิ แวดล้อม

- การ trade carbon credit ระหวา่ งภาค

เกษตรและภาคอตุ สาหกรรมในพ้ืนท่ี

ด้านสังคม

- หนว่ ยงานท่ีรับผิดชอบต้องสรา้ งองค์ความรู้

ช่องทาง และการประชาสมั พันธ์ ท่เี หมาะสม

กบั ภาคสว่ นทเี่ กยี่ วขอ้ งใหส้ ามารถเขา้ มา

ดาเนนิ การตามบทบาท เพือ่ ช่วยผลกั ดันใหก้ าร

ดาเนนิ การบรรลุเปา้ หมายที่กาหนด

ด้านสิ่งแวดล้อม

ล่อยสารมลพิษจากแหลง่ กาเนดิ - ควรสร้างสถานตี รวจสอบคณุ ภาพอากาศให้

หกรรม อุตสาหกรรมการ ทอ่ งเท่ยี ว และบริการ ครอบคลมุ และคานงึ ถึงเวลาเนอ่ื งจากอากาศใน

ระบวนการผลิตมลพษิ จากแหลง่ กาเนดิ ทัง้ ช่วงเวลากลางวนั จะถูกผลักจากทะเลข้ึนบนฝงั่

น้ามัน และ รถยนตบ์ างประเภท มีมากขนึ้ และอาจไหลไปถงึ ปลวกแดง ในขณะท่ีเวลา

พาะการพัฒนาอตุ สาหกรรม ทาให้เกดิ ผล กลางคนื ชว่ งสองท่มุ ถึงตี ๓ อากาศจะไหลลง

ต่อเนื่อง เนือ่ งจากไมใ่ ห้ความสาคัญของ ทะเล อากาศจะนิ่ง มลภาวะจะตกลงในพืน้ ที่

นาเศรษฐกจิ ซ่งึ อาจเปน็ ขอ้ จากดั ของการพฒั นา นัน้ ๆ ดังน้ันในชว่ งเวลาดังกล่าวอาจลดการ

ผลิตลง

- เส้นทางและการรายงานผลคณุ ภาพอากาศ

๕-๒๕๖๙ ๖-๔

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม

ประเดน การบริหารจัดการในปจจุบนั
พืน้ ท่ีอุตสาหกรรม
- ผู้ประกอบการเพิม่ ความถ่ีในการตรวจสอบ
VOCs จากเดมิ ปลี ะ ๑ ครัง้ เปน็ อย่างน้อยปีละ
๒ ครง้ั
- สง่ เสรมิ การลงทุนโครงการทไี่ มก่ อ่ ใหเ้ กิด
มลพษิ
- เผยแพรป่ ระชาสมั พนั ธค์ วามรขู้ อง
สารอนิ ทรยี ร์ ะเหยงา่ ย (VOCs) ความเขา้ ใจแก่
ประชาชน
- มกี ารใช้ประมวลหลักปฏิบตั ิ CoP (Code of
Practice) ในนคิ มฯ ทสี่ ามารพปฏบิ ัติไดจ้ รงิ
ทาให้ VOCs ต่าลง เปน็ ผลใหม้ ีแผนการ
พจิ ารณายกเลกิ เขตควบคมุ มลพิษ
- การวางแผนพฒั นาพืน้ ที่ ให้ความสาคญั กับ
การเศรษฐกจิ สงู สดุ

๔. นโยบาย/ - ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) ท่ี ๕ ด้านทรัพยากรธรรมชาติ

โครงการจัดทาแผนส่งิ แวดลอ้ มในพืน้ ที่เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕

ขอ้ จากดั /อุปสรรค รายงานฉบบั สดุ ท้าย
๕-๒๕๖๙
ข้อเสนอแนะ
ผ่านแอปพลเิ คชัน
- ควรใช้การจัดการสง่ิ แวดลอ้ มตอ้ งเปน็
มาตรการเชงิ รุก มากกว่า เชิงรับ และควรเห็น
ภาพร่วมกัน
- ควรมีภาพการจดั การสิง่ แวดล้อมในพน้ื ท่ี
ร่วมกนั และให้ความสาคัญกบั ผลกระทบ
สง่ิ แวดลอ้ มทเี่ กดิ จากการพฒั นาโดยเฉพาะการ
พฒั นาอตุ สาหกรรมทีค่ านึงถึงผลกระทบ
สิง่ แวดลอ้ มควบคกู่ ับรายได้ทางเศรษฐกจิ
- ส่งเสริมงานวิจยั และเทคโนโลยเี พอื่ แก้ไข
ปัญหาเชิงปฏิบตั ิการ
- ควรมพี ้นื ทน่ี าร่อง และมพี นื้ ท่ีขยายผล
- เนื่องจากคา่ VOCs จะสูงในช่วงเดอื น กค-สค
อาจเป็นเพราะอากาศปิด นอกจากน้คี ่า VOC
มคี วามแตกตา่ งจากคา่ Sox และ NOx
เนื่องจากพฤตกิ รรมการปลอ่ ยที่ต่างกัน จงึ ควร
มโี ครงการศกึ ษาพฤติกรรมของสารตา่ ง ๆ
ดา้ นสังคม
- สง่ เสรมิ สนับสนุนการสรา้ งเครอื ขา่ ยการเฝา้
ระวงั ฯ
- ติดตามตรวจสอบและบังคบั ใชก้ ฎหมายอยา่ ง
เคร่งครดั
ด้านสังคม

๖-๕

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม

ประเดน การบริหารจัดการในปจจุบนั - ไม่สามารถควบคมุ การใ
โครงการพัฒนา ดา้ นการสร้างการเติบโตบนคณุ ภาพชีวิตท่ีเปน็ - ทศิ ทางการพฒั นาพน้ื ท
ความสามารถใน มิตรตอ่ สงิ่ แวดลอ้ ม ใน (๑) สร้างการเติบโต ลักษณะของภมู ิประเทศ
การรองรบั ดา้ นการ อยา่ งยง่ั ยืนบนสงั คมเศรษฐกิจสเี ขยี ว ดา้ นสงั คม
ใช้ทดี่ ิน - มีผงั เมอื งรวมกาหนดการใช้ประโยชนท์ ่ดี นิ - ปญั หาแผนการจัดการส
- มีแผนการจดั การสง่ิ แวดล้อม ของพื้นที่ EEC แผนและไมเ่ ขา้ ใจ
๕. ประชากรและ - ปัญหาจากกฎหมายทเ่ี อ
เศรษฐกจิ -แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ลงล่างมากกวา่ จากลา่ งข้นึ
ที่ ๑๒ ยทุ ธศาสตร์ ท่ี ๔ ใน (๔) เนน้ การ - ปญั หาดา้ นการบงั คบั ใช
ส่งเสริมการผลติ และการบรโิ ภคทเี่ ป็นมิตรกบั ประสิทธภิ าพ เช่น ปญั หา
สิง่ แวดลอ้ ม การกาหนดโซนของการข
- การควบคมุ การใชป้ ระโยชน์ท่ีดนิ ตามการ น้อยสุด โดยมกี ารยกตวั อ
ประกาศใช้ผงั เมืองในพ้ืนทคี่ รอบคลมุ ทกุ ไม่สมั พนั ธ์กบั ความสามาร
จงั หวดั ดา้ นมลพษิ ท่ีควบคกู่ นั กา
กาลังของทอ้ งถ่นิ ในการจ
พื้นที่เกษตรกรรมทอ่ี าจส
ด้านทรพั ยากรธรรมชาติ
- ทรัพยากรไมเ่ พยี งพอตอ่
ดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม
- การบริหารจดั การนา้ เส
จานวนประชากรทีเ่ พม่ิ ข้นึ
- การขนถา่ ยสินคา้ เทนอก
ด้านสงั คม

โครงการจัดทาแผนส่ิงแวดลอ้ มในพ้ืนที่เขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕

รายงานฉบับสดุ ท้าย

ข้อจากดั /อุปสรรค ข้อเสนอแนะ
ใช้ประโยชน์ทดี่ นิ ได้ตามขอ้ กาหนด - ใหโ้ อกาสภาคสว่ นต่าง ๆ ในการร่วมจดั ทา
ท่เี ขตพัฒนาภาคตะวนั ออกท่ไี ม่สอดคล้องกับ แผนพัฒนาในภาพรวมของ EEC
วิถีชวี ติ และศักยภาพในการรองรบั ของพน้ื ท่ี - รบั ฟงั ข้อคดิ เห็นและขอ้ เสนอแนะจากข้างลา่ ง
- เสนอให้ปรับทศิ ทางการพัฒนาให้อยู่บนฐาน
ส่ิงแวดล้อมเขยี นจากขา้ งบน คนพ้นื ทไ่ี มเ่ หน็ ของศกั ยภาพของสงั คมและระบบนเิ วศของ
พน้ื ท่ี
อ้อื หรือเปดิ ช่องทางใหเ้ กดิ การตดั สินใจแบบบน
นบน ด้านทรพั ยากรธรรมชาติ
ช้ระเบียบกฎหมายท่เี ปน็ รปู ธรรมและมี - ผงั เมอื งที่บงั คบั ใช้ ทุกภาคส่วนควรให้
าของประสทิ ธภิ าพของมาตรการควบคมุ หรอื ความสาคญั กบั การสร้างแรงจูงใจในพ้ืนที่ท่ี
ขยายเมอื งเพ่อื ใหส้ ง่ ผลกระทบต่อสง่ิ แวดลอ้ มให้ ต้องการอนรุ ักษ์
อยา่ งกรณกี ารขยายตัวของเมอื งทเ่ี กิดขน้ึ อยา่ ง ดา้ นสังคม
รถในการจัดการมลพิษทางน้า ขาดซ่ึงแผนการ - โครงการพฒั นาตา่ ง ๆ ควรใหร้ ากหญา้
ารจดั การตามหลังเปน็ ความยากลาบากจนเกนิ (ชมุ ชน ท้องถิน่ ประชาสงั คม) เขา้ ไปมีสว่ นร่วม
จัดการ รวมถงึ กรณีของการขยายตัวของเมืองสู่
สง่ ผลต่อความสมดุลของการใช้พืน้ ท่ีในท่ีสดุ

อความตอ้ งการบรโิ ภค

สยี และขยะยังขาดประสิทธิภาพ ไม่รองรบั กบั

กชายฝ่งั

๕-๒๕๖๙ ๖-๖

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม

ประเดน การบรหิ ารจดั การในปจจุบนั
- การเรง่ รัดพฒั นาโครงการต่างๆ ในพนื้ ท่ี
- ความหนาแนน่ ประชาก
- จานวนประชากรแฝง เพ
- ประชาชนขาดความรู้กา

๖. สถานการณ์ ในแผนระดบั ที่ ๒ คอื แผนแมบ่ ทภายใต้ ด้านสงั คม
ทรัพยากรธรรมชา
ติและสิง่ แวดลอ้ ม ยทุ ธศาสตรช์ าติ ให้ความสาคัญกบั - ท้องถ่นิ ไม่ทราบรายละเ

ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ใน - แผนส่ิงแวดล้อมระยะท

ประเดน็ ที่ ๑๘ การเติบโตอย่างยงั่ ยนื โดยมี ไม่จัดสรรงบประมาณ แต

วัตถุประสงค์ ดงั น้ี แทน

- เพื่อการอนรุ ักษ์ คุม้ ครอง ฟืน้ ฟู และสร้าง - ความยากต่อการปรับ

ฐานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อมอย่าง ระยะเวลาดาเนินการ ทา

ย่ังยืน ความต่อเนื่องของแผน

- ส่งเสริมความหลากหลายทางชีวภาพให้มี เหมาะสมกบั สภาพและส

ระบบนิเวศทสี่ มดลุ - ขอบเขตบทบาทอานาจ

- สนบั สนุนการเพิ่มพน้ื ท่ี เขตการปกครอง แต่กา

สเี ขียวทัง้ ในเขตเมอื งและชมุ ชน เก่ยี วข้องเป็นระบบภมู นิ เิ

- ส่งเสรมิ การลงทนุ และเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม การ

การผลิตและการบริโภคไปส่คู วามยงั่ ยนื โดยให้

ความสาคญั กับฐานทรัพยากรทางทะเลและ

ชายฝ่งั การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ การ

บริหารจดั การมลพษิ ทัง้ ระบบ และการพัฒนา

และดาเนินการโครงการทยี่ กระดบั กระบวน

ทศั น์เพอ่ื กาหนดอนาคตประเทศให้พฒั นาดา้ น

โครงการจัดทาแผนสิง่ แวดล้อมในพนื้ ท่ีเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕

ข้อจากัด/อุปสรรค รายงานฉบับสดุ ทา้ ย
กรในเขตเมืองสูง
พิม่ ขนึ้ ข้อเสนอแนะ
ารจดั การมลพษิ - การจดั ทาร่างผงั เมืองตอ้ งผา่ นการรบั ฟัง
ความคดิ เห็นของผู้มสี ว่ นไดส้ ่วนเสยี เพื่อให้เกดิ
ประโยชนต์ ่อส่วนรวมและเป็นธรรม

ดา้ นสงั คม

เอียดของโครงการ Big Rock - ใหโ้ อกาสทกุ ภาคส่วน ในการรว่ มคิด รว่ มทา

ท่ี ๑ EEC ไม่สามารถผลกั ดันโครงการตา่ ง ๆ ได้ ร่วมตดั สินใจ ร่วมปฏิบตั ิ และรว่ มตดิ ตาม

ต่ให้ไปใช้งบ function ของหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ประเมนิ ผล ในทกุ ข้นั ตอนของการจัดทาแผน

สง่ิ แวดล้อม และแผนพัฒนาดา้ นตา่ ง ๆ ใน

เช่ือมโยงหรือบูรณาการ และโดยเงื่อนไขของ ภาพรวมของ EEC เพอ่ื ให้ได้รับการยอมรบั

าให้การดาเนินงานเป็นไปอย่างเร่งรีบ หรือขาด และสอดคลอ้ งกับความตอ้ งการของทกุ ภาค

นงานโครงการ ทาให้ไม่เกิดความสอดคล้อง สว่ น ทั้งนโยบายจากภาครัฐ และวถิ ีการ

สถานการณใ์ นระดับพนื้ ท่ี ดารงชีวติ ของประชาชน เพอื่ รักษาสงั คมและ

จหน้าท่ี โดยเฉพาะท้องถ่ินมีกรอบขอบเขตตาม ชุมชนไม่ให้ลม่ สลายจากการพฒั นา และให้

ารบริหารจัดการทรัพยากรมีความเชื่อมโยง ชมุ ชนมีบทบาทในการพฒั นาพน้ื ทีแ่ ละดแู ล

เวศ เป็นอุปสรรคในการบรหิ ารจัดการเชงิ บรู ณา รกั ษาทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อมด้วย

ตนเอง

- แผนของการพฒั นาทีก่ ระทบกบั วิถชี ีวติ ของ

ชุมชนตอ้ งได้รับการเยยี วยาจากภาคการพฒั นา

ทีไ่ ดร้ บั ประโยชน์ เพอ่ื สร้างความเปน็ ธรรมใน

การใช้ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม

- รบั ฟงั ขอ้ คิดเห็นและข้อเสนอแนะจากข้างลา่ ง

๕-๒๕๖๙ ๖-๗

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม

ประเดน การบรหิ ารจัดการในปจจุบนั
ทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม และ
วัฒนธรรมอย่างมคี ณุ ภาพตามแนวทางการ
เตบิ โตอย่างยง่ั ยืนทเี่ ปน็ มติ รกับส่งิ แวดลอ้ ม
โดยมเี ป้าหมายระดับประเด็น คือ
สภาพแวดลอ้ มของประเทศมคี ณุ ภาพดขี ึ้น
อย่างยง่ั ยนื
นอกจากนใ้ี นแผนระดับที่ ๒ ยังใหค้ วามสาคญั
กบั แผนขับเคลื่อนกิจกรรมปฏริ ปู ท่ีส่งผลให้เกดิ
การเปลย่ี นแปลงต่อประชาชนอยา่ งมนี ัยสาคญั
(Big Rock ดา้ นทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่งิ แวดล้อม) ได้แก่
- กิจกรรม BR601 เพิ่มและพฒั นาพนื้ ทป่ี า่ ไม้
ใหไ้ ดต้ ามเปา้ หมาย
- กิจกรรม BR602 การบรหิ ารจดั การเขตทาง
ทะเลและชายฝั่งรายจงั หวดั
- กจิ กรรม BR602 การบรหิ ารจดั การนา้ เพ่ือ
สร้างเศรษฐกิจชุมชนในพนื้ ทีน่ อกเขต
ชลประทาน
- กิจกรรม BR602 ปฏิรูประบบบริหารจดั การ
คุณภาพส่ิงแวดลอ้ มในเขตควบคุมมลพษิ ใหไ้ ด้
ตามมาตรฐาน เปา้ หมายย่อยคอื ยกเลิกเขต
ควบคมุ มลพิษมาบตาพดุ
- นโยบายและแผนการส่งเสรมิ และรกั ษา

โครงการจัดทาแผนสิ่งแวดล้อมในพ้นื ท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕

ขอ้ จากัด/อปุ สรรค รายงานฉบับสดุ ท้าย
ข้อเสนอแนะ

๕-๒๕๖๙ ๖-๘

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม

ประเดน การบริหารจัดการในปจจบุ นั ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาติ
คณุ ภาพส่ิงแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – - การจัดการน้าในปจั จุบัน
คุณภาพนา้ ผิวดนิ ๒๕๗๙ - ชลศาสตร์ที่ทาใหเ้ กิดปญั
นา้ ทะเลชายฝ่ัง น้า - แผนจัดการคณุ ภาพส่ิงแวดล้อมแห่งชาติพ.ศ.
บาดาล ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔
- ยทุ ธศาสตร์การบรหิ ารจดั การทรพั ยากรนา้
พ.ศ. ๒๕๕๘ - ๒๕๖๙
- การประกาศพ้ืนทคี่ ้มุ ครองส่งิ แวดล้อมอาเภอ
บางละมงุ และอาเภอสตั หีบบางสว่ น
- การประกาศเขตควบคมุ มลพิษ (พัทยา และ
ระยอง)
- การจัดทาแผนปฏิบัตกิ ารเพ่ือการจัดการ
คณุ ภาพสงิ่ แวดล้อมในระดับจังหวัด
(ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง) ตาม พ.ร.บ.
สง่ เสริมและรักษาคณุ ภาพสงิ่ แวดลอ้ ม พ.ศ.
๒๕๓๕
- การจดั ทาแผนบริหารจดั การ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมระดบั
จงั หวัดระยะ ๕ ปี
- การจัดทาแผนบรหิ ารจัดการนา้ ในระดบั พื้นท่ี
(คณะกรรมการลมุ่ นา้ )
- ใช้การตดิ ตามตรวจสอบสถานการณ์น้าเสยี
ทงั้ การเก็บตวั อยา่ ง การต้งั สถานเี กบ็ ขอ้ มลู
แบบเรียลไทม์

โครงการจัดทาแผนสิ่งแวดล้อมในพ้นื ทเี่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕

ขอ้ จากัด/อปุ สรรค รายงานฉบับสุดทา้ ย
ขอ้ เสนอแนะ

ดา้ นทรัพยากรธรรมชาติ
น เนน้ การจดั การปริมาณนา้ มากกว่าคณุ ภาพน้า - ศึกษาการจดั การคุณภาพน้าเชิงลมุ่ น้า (ท้งั น้า
ญหาคณุ ภาพน้าในแมน่ ้าบางปะกง เนอื่ งจากน้า ผิวดิน น้าทะเล และนา้ บาดาล)

๕-๒๕๖๙ ๖-๙

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม

ประเดน การบรหิ ารจดั การในปจจบุ นั
- จัดต้ังศูนย์ควบคุมมลพษิ เพ่ือเฝา้ ระวัง
คณุ ภาพน้าต่าง ๆ ทง้ั นา้ ผวิ ดิน นา้ ทะเล นา้ ใต้ ขึ้น น้าลง วันละ ๒ ครงั้ เ
ดิน ระดับนา้ ทะเลปานกลาง
- ก่อสร้างและพัฒนาระบบบาบดั นา้ เสียชมุ ชน ของปากอ่าว น้าข้ึนลงจะ
- กาหนดประเภทกิจการท่ีถกู ควบคมุ การ ระดับน้าทะเลปานกลาง
ระบายนา้ ลงส่แู หลง่ น้าสาธารณะ ถึง จ.ปราจนี บรุ ี
- เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ความรู้ ความเข้าใจ - การเปล่ยี นแปลงการใช
แกป่ ระชาชน ดา้ นสงิ่ แวดล้อม
- องคก์ ารปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ มีโครงการ - การพัฒนาท่ีเป็นปัญหา
ปรบั ปรุงและขยายระบบบาบดั น้าเสียชุมชน
- สานกั งานนคิ มอตุ สาหกรรมมาบตาพดุ ด้วยประตูน้า ช่วงที่ปิดป
ดาเนินการจดั ทาฝายน้าลน้ บรเิ วณปากคลอง
ชากหมากกอ่ นระบายลงสู่ทะเล เชน่ คลองพานทองที่บาง
- สานักงานประมงจังหวัด มีการฟน้ื ฟแู ละจดั
ระเบยี บพนื้ ที่เพาะเลย้ี งสตั วน์ ้าบรเิ วณชายฝั่ง น้าจะแย่กว่าแม่น้า เน่ือ
- โรงงานอุตสาหกรรมบางแห่งมีการนานา้ ท้งิ
มาบาบดั เพ่อื หมุนวนกลับเขา้ ไปใช้ในโรงงานฯ ปราจีน สระแก้ว มาเติม
ใหม่
- มีการรวมกล่มุ ของเครอื ขา่ ยในการจดั การ - การอนญุ าตใหม้ โี รงงาน
คุณภาพนา้ เช่น กลมุ่ เฝา้ ระวงั นา้ ผิวดนิ กลุม่ Recycle ท่มี ีการใชส้ ารเค
ประมงพ้ืนบ้านชายฝ่ัง อย่างจรงิ จังทาให้สารเคม
- การใชป้ ุย๋ เคมีและเคมภี
- ไม่สามารถจดั การ กากบั
- การปล่อยนา้ เสยี จากอตุ
สู่แหลง่ นา้ ธรรมชาตโิ ดยม
- หาดสชุ าดา มีการปล่อย
ใหเ้ ขม้ งวด
ด้านสงั คม
- ขาดจิตสานกึ รักษ์สิ่งแว

โครงการจัดทาแผนสงิ่ แวดล้อมในพ้ืนทเี่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕

รายงานฉบบั สดุ ท้าย

ขอ้ จากดั /อปุ สรรค ข้อเสนอแนะ

เคยมีการศึกษาวา่ ความลึกของลาน้าตา่ กวา่ - ขุดลอกคลองเพอื่ ใหจ้ ุน้าไว้ใช้ไดม้ ากข้ึน นา

๑ เมตร ระดับนา้ ทะเลปานกลางของชลศาสตร์ น้าดจี ากปราจนี บรุ ี ผันนา้ เขา้ คลอง

ะแตกตา่ งกนั ประมาณ ๒ เมตร จาก - ควรวิเคราะหพ์ ืน้ ท่ีท่ีเหมาะสมในการพัฒนา

บางช่วงอาจมากกวา่ นนั้ ทาใหเ้ กดิ นา้ เคม็ ถงึ ไป ไม่ควรพฒั นาบริเวณปา่ ไม้ เพราะปา่ ชว่ ยชะลอ

นา้ สร้างความช่มุ ชื้น และกรองอากาศพิษได้

ช้ทดี่ นิ ส่งผลใหเ้ กดิ น้าท่วม เชน่ กรณีบ้านฉาง - การเพ่มิ ศกั ยภาพการเกบ็ น้าในพน้ื ที่ เช่น (๑)

การเพิ่มศักยภาพในการอุ้มนา้ ของปา่ อนรุ ักษ์

าต่อคุณภาพน้าในลาน้า เช่น การปิดก้ันลาน้า เชน่ การทาฝายชะลอน้า (ต่อยอกกรณเี ขายาย

ประตูจะสะสมของเสียและจะเกิดการเน่าเสีย ดา ระยอง) (๒) การเพมิ่ ศกั ยภาพในการอุ้มนา้

งปะกง คลองท่าไข่ คลองนครเนื่องเขต คณุ ภาพ ของพืน้ ทีเ่ กษตรกรรม เช่น การเลอื กพืชพรรณ

องจากแม่น้ามีน้าจากข้างบน คือ นครนายก และการปรบั ปรุงโครงสรา้ งดนิ (๓) การเพม่ิ
แหล่งกกั เกบ็ น้าในพื้นท่ีของตนเอง เชน่ โคก
ในช่วงหน้าฝน
หนอง นา, บ่อ บงึ ในหนว่ ยงานหรือโครงการ
นในบริเวณพ้นื ท่ีรับนา้ โดยเฉพาะโรงงาน
คมีในกระบวนการผลติ แต่ขาดการควบคมุ ดูแล (๔) การวิจัย ตดิ ตาม ควบคมุ แนวทาง
ธนาคารน้าใตด้ ิน
มีร่วั ไหลลงสู่นา้
ภัณฑใ์ นการเกษตรกส็ ง่ ผลตอ่ คณุ ภาพนา้ ในลานา้ ด้านส่ิงแวดลอ้ ม
บควบคมุ กบั แหล่งปลอ่ ยมลพษิ อย่างทันท่วงที - ควรมรี ะบบเตือนภยั เช่น ค่าสารมลพิษเกนิ
ตสาหกรรม ชมุ ชน เกษตรกรรม และเรือประมง คา่ มาตรฐานในบริเวณใด ห้ามไปเสน้ ทางน้ี
เลีย่ งการเปดิ รบั สารพษิ ต่าง ๆ ของประชาชน
มิได้มกี ารบาบดั ตามหลกั วิชาการ
ยน้าเสีย ควรควบคมุ อตุ สาหกรรมนอกนิคมฯ ไดผ้ า่ นการตรวจสอบ
- สนบั สนุนการใช้เทคโนโลยีทเี่ ป็นมิตรกบั

สง่ิ แวดลอ้ ม

วดล้อม กระทบตอ่ คุณภาพน้า เช่น ในแม่น้าบาง - ให้มีการจัดทาแผนแม่บทการจดั การนา้ เสยี

๕-๒๕๖๙ ๖ - ๑๐

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม

ประเดน การบริหารจัดการในปจจุบนั

ปะกง

- การขยายตัวของชมุ ชนท
ประสิทธภิ าพ
- การขยายตัวของชุมชนอ

โครงการจัดทาแผนสิ่งแวดลอ้ มในพื้นท่เี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕

ข้อจากดั /อปุ สรรค รายงานฉบับสดุ ท้าย
ท่เี พมิ่ มากขน้ึ แต่ขาดระบบบาบัดที่มี
อย่างรวดเร็วทาให้ปริมาณน้าเสยี สูงขึ้น ข้อเสนอแนะ
ระดบั จังหวดั โดยเฉพาะจังหวัดชลบรุ ี
๕-๒๕๖๙ เช่อื มโยงกบั การท่องเท่ียว
- การจดั การนา้ เสยี ทตี่ น้ ทาง (ชมุ ชน เกษตร
อตุ สาหกรรม)
- กอ่ สรา้ งและปรบั ปรุงขยายระบบบาบัดนา้
เสียชมุ ชน
- ใชว้ ิธี on site treatment
- ทอ้ งถ่ินบังคับใช้ใหอ้ าคารและบ้านเรอื นตดิ ตั้ง
ถังดกั ไขมัน กอ่ นปล่อยลงสสู่ าธารณะ
- มรี ะบบตดิ ตามตรวจสอบ ชายฝงั่ ทะเล
- ศกึ ษาความเหมาะสมของระบบบาบัดน้าเสีย
เช่น บริเวณรมิ น้า บรเิ วณริมทะเล และบรเิ วณ
รมิ ฝั่ง เป็นตน้ จัดลาดับความสาคญั ของ
โครงการ เพอ่ื ของบประมาณ
- ชุมชนริมน้า ต้องเอานา้ เขา้ ระบบให้ได้ ๑๐๐
%
ดา้ นเศรษฐกิจ
- ใช้รายได้จากการท่องเที่ยวมาจดั การน้าเสีย
และขยะ
ด้านสังคม
- บังคับใช้กฎหมายควบคมุ แหล่งกาเนดิ มลพษิ
ทงั้ ๑๐ ประเภทอยา่ งเคร่งครดั
- ให้มีการบรหิ ารขอ้ มูล ระบบข้อมลู ท่เี ปน็

๖ - ๑๑

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม

ประเดน การบรหิ ารจัดการในปจจุบนั

การจดั การขยะมลู - เกิดการรวมตัวกนั ของภาคส่วนตา่ ง ๆ ใน ดา้ นสิ่งแวดล้อม
ฝอย ขยะทะเล
ขยะตดิ เชอ้ื และ ท้องถิ่นช่วยเก็บขยะทะเล เช่น กลมุ่ สตั หบี บีช - ขยะทะเลทเี่ กบ็ ไดส้ ่วนใ
กากของเสีย
อันตราย ทต.เขตอดุ มศักด์ิ กลมุ่ บางเสร่ ใช้ใหม่

- ภาคอุตสาหกรรมรว่ มมอื ในการจดั การขยะ - การเพ่มิ ข้ึนของประชาก

เช่น SCG สร้างท่นุ ดกั ขยะวางในบรเิ วณปาก เพมิ่ ขนึ้

แม่น้า มี inceptor อย่ปู ากแม่น้าเจา้ พระยา - การกอ่ สรา้ งโครงการพฒั

เพื่อดกั ขยะ (การจดั การขยะทะเลปลายทาง) - ร้านรบั ซ้ือของเก่า มีการ

-การเฝ้าระวงั การสรา้ งเครือข่ายในประเดน็ เกิดการปนเป้ือนในดิน

กากของเสียอันตราย - มกี ารกระจายจุดทง้ิ กาก

- มเี ตาเผาสาหรับขยะติดเชอ้ื ๗ ตนั ตอ่ วัน - ภาครัฐมีการจดั การขยะ

- ก่อสรา้ งระบบกาจดั ขยะมลู ฝอย ขยะลงแหลง่ น้าทาใหเ้ กดิ

- รณรงค์ปลกู จติ สานึกการคดั แยกขยะและนา - การระบายนา้ ทิ้งจากโร

กลบั มาใชใ้ หม่ ด้านเศรษฐกจิ

- งดการจ่ายถงุ พลาสตกิ ในรา้ นสะดวกซื้อ - คา่ ใชจ้ า่ ยในการกาจัดก

- ปจั จบุ นั โรงงานอุตสาหกรรมมีการจดั ตัง้ กลมุ่ ด้านสงั คม

ผปู้ ระกอบการที่มพี ันธกจิ ดแู ลสงิ่ แวดล้อม เชน่ - อปท. ขาดบุคลากรและ

โครงการพช่ี ว่ ยนอ้ ง เพื่อนช่วยเพอ่ื น ในเขต - ขาดความเขม้ งวดในกา

นคิ มอตุ สาหกรรม กาลังจะขยายออกนอกนิคม - ผปู้ ระกอบการขาดจติ ส

อุตสาหกรรม หรอื กลุม่ สมาคมเพอ่ื นชุมชนของ

5 บรษิ ัท ไดแ้ ก่ ptt, scg, BLCP power,

Dow, GLOW

- การออกแบบผลติ ภัณฑ์ ให้สามารถ recycle

โครงการจัดทาแผนสง่ิ แวดล้อมในพ้นื ทเ่ี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕


Click to View FlipBook Version