The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานฉบับสุดท้าย_เล่มที่ 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ONEP-EEC, 2021-12-22 13:33:58

รายงานฉบับสุดท้าย_เล่มที่ 1

รายงานฉบับสุดท้าย_เล่มที่ 1

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม รายงานฉบับสุดทา้ ย

ส่ิงมีชีวิตต้องปรับเปล่ียนการใช้ทรัพยากร หรือเสาะหาทรัพยากรทางเลือก (The Environmental Literacy
Council, 2015) รวมถึงแนวทางการดารงชีพท่ีลดระดับของการก่อมลภาวะและความเสื่อมโทรมของ
สภาพแวดล้อม

ดังนั้น การประเมินศักยภาพในการรองรับจึงเป็นเคร่ืองมือทางนิเวศที่ถูกใช้ในการประเมินระดับความ
ยั่งยืนของประชากรมนุษย์ในขนาดพ้ืนท่ีต่าง ๆ เช่น ระดับโลกหรือระดับภูมิภาค (Steinbrenner Institute
for Environmental Education and Research, Carnegie Mellon University, 2018) โด ย ค า นึ งถึ ง
ขีดจากัดของทรัพยากรและระดับมลภาวะรวมถึงความเส่ือมโทรมของสภาพแวดล้อม ที่ไม่ก่อให้เกิดการ
เปล่ียนแปลงในทางลบอย่างรุนแรง (The Environmental Literacy Council, 2015) ในการวิเคราะห์การ
ประเมินศกั ยภาพในการรองรบั สาหรับแผนสง่ิ แวดล้อม ระยะที่ ๒ จึงประกอบด้วยมิติการใช้ทรัพยากร และมิติ
ด้านมลภาวะ โดยรายละเอียดปรากฏในบทที่ ๕ นอกจากน้ีได้มีการพิจารณาศักยภาพในการรองรับให้มีความ
สอดคล้องกบั ภมู นิ ิเวศของพ้ืนท่ี จึงได้มีการศกึ ษาเพ่อื กาหนดเขตภูมนิ เิ วศดังน้ี

การกาหนดเขตภูมินิเวศ
การให้ความสาคัญของยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ประเด็นที่ ๕ ซ่ึงได้มีการกาหนดเป้าหมายให้พื้นท่ีมี
แผนผังภูมินิเวศเพ่ือเป็นกรอบในการพัฒนาเมืองน่าอยู่ ชนบทมั่นคง เกษตรย่ังยืน และอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ
ทั้งนี้เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ของการบูรณาการระหว่าง แผน ผัง และภูมินิเวศ เป็นมาตรการในการป้องกันและแก้ไข
การพัฒนาที่ไม่คานงึ ถึงขดี ความสามารถในการรองรับของพื้นท่ี ดังนั้นสาหรับการกาหนดประเภทภูมินิเวศของ
การศึกษานี้จงึ ใช้กรอบนยิ ามของสานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม (๒๕๖๓) ท่ไี ด้
ให้นิยามของภูมินิเวศ ว่าหมายถึง ขอบเขตของภูมิประเทศที่แสดงถึงความสัมพันธ์ของทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อม การเปล่ียนแปลงใช้ประโยชน์ท่ีดิน ภูมิสังคมและระบบเศรษฐกิจ วัฒนธรรมและกิจกรรมของ
มนุษย์
ในการแบ่งเขตภูมินิเวศการศึกษาครั้งน้ีพิจารณาจากภูมิประเทศและวัฒนธรรมประเพณีของพ้ืนที่สาม
จังหวัดในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ดังตารางท่ี ๒ - ๕) โดยการทบทวนข้อมูลภูมิประเทศจาก
แผนพัฒนาจงั หวดั ของสามจงั หวัดทไี่ ดม้ กี ารอธบิ ายสภาพภูมิประเทศของแตล่ ะจงั หวดั ไวด้ ังน้ี
ภูมิประเทศของจังหวัดฉะเชิงเทราตามแผนพัฒนาจังหวัดฉะเชิงเทรา พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๕ (ฉบับ
ทบทวน) (สานักงานจังหวัดฉะเชิงเทรา, ๒๕๖๔) ได้จาแนลักษณะภูมิประเทศเป็น ๓ เขตใหญ่ๆ คือ ๑) เขตท่ี
ราบสูงและภูเขาเทือกเขา อยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ เป็นท่ีราบสลับภูเขามีป่าไม้ ต้นน้าลาธาร ครอบคลุมพ้ืนที่
ประมาณ ๑,๑๗๔.๗ ตารางกโิ ลเมตร (ร้อยละ ๑๑.๒๐ ของพ้ืนท่ีจังหวดั ) อย่ใู นอาเภอสนามชัยเขต อาเภอพนม
สารคาม อาเภอท่าตะเกียบ และบางส่วนของอาเภอแปลงยาว ๒) เขตที่ดอนหรือที่ราบลูกฟูก อยู่บริเวณ
ตอนกลางค่อนไปทางตะวันตกและทางเหนือ ครอบคลุมพ้ืนท่ีประมาณ ๒,๒๐๕.๖ ตารางกิโลเมตร (ร้อยละ
๕๑.๑๐ ของพืน้ ท่ีจงั หวัด) พ้ืนท่สี ่วนใหญ่ใช้ในการทาไร่ และ ๓) เขตทร่ี าบล่มุ แมน่ ้า เปน็ เขตพ้ืนทีร่ าบเรียบ ดิน
อุมสมบูรณ์ มีน้าชลประทานเพียงพอ และเป็นแหล่งผลิตข้าวเพ่ือการค้าของภาคตะวันออก ครอบคลุมพื้นท่ี
ประมาณ ๒,๐๔๒.๗ ตารางกิโลเมตร (ร้อยละ ๓๗.๗๐ ของพ้ืนที่จังหวัด) อยู่ในเขตพื้นท่ีอาเภอบางปะกง
อาเภอบ้านโพธิ์ อาเภอเมืองฉะเชิงเทรา อาเภอบางคล้า เป็นต้น การประกอบอาชีพของผู้อาศัยในจังหวัด
ฉะเชิงเทราที่บริเวณพื้นท่ีชุ่มน้ามีความเชื่อมโยงกับระบบนิเวศเนื่องจากเป็นแหล่งอาหารและการอนุบาลสัตว์

โครงการจัดทาแผนสิ่งแวดล้อมในพ้นื ท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๖๙ ๒ - ๑๐๒

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม รายงานฉบบั สุดทา้ ย

วัยอ่อน เป็นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์และมีคุณค่าทางเศรษฐกิจ อาชีพส่วนใหญ่ ได้แก่ การ
เพาะปลูก การทาประมง เช่น การเลี้ยงปลากะพงที่ตาบลสองคลอง อาเภอบางปะกง เปน็ แหล่งเพาะเล้ียงปลา
กะพงท่สี ่งออกทั่วประเทศและเพอ่ื นบ้านใกล้เคียง การทานา เช่น กลุ่มแปลงข้าวใหญ่ ตาบลเขาดิน อาเภอบาง
ปะกง ถือเป็นต้นแบบการทาการเกษตรแปลงใหญ่ท่ีผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวหอมปทุมคุณภาพดี และการท่องเที่ยว
เชงิ อนรุ กั ษท์ ่ีใช้ประโยชน์จากทรัพยากรของพ้ืนที่ เชน่ การทอ่ งเท่ียวป่าชายเลน เป็นต้น วัฒนธรรมประเพณีที่
สาคัญของจังหวัดฉะเชิงเทรามีหลากหลาย ได้แก่ ประเพณีแห่หลวงพ่อพุทธโสธร งานสักการะพระยาศรี
สุนทรโวหาร และประเพณีพิธีกรรมล้อมบ้าน และประเพณีแข่งเรือยาว ในอาเภอบางปะกง ประเพณีบุญข้าว
หลาม ประเพณีขึ้นเขาเผาข้าวหลาม ประเพณีทาบุญกลางทุ่งไถ่ชีวิตโคกระบือ ประเพณีบุญบั้งไฟ อาเภอท่า
ตะเกียบ (สานกั งานวัฒนธรรมจังหวัดฉะเชิงเทรา, ม.ป.ป.) ซงึ่ กิจกรรมประเพณีตา่ ง ๆ เหลา่ นไี้ ด้สร้างความเป็น
ถ่นิ ท่ี (place) ให้กบั ชมุ ชนและวถิ กี ารดาเนนิ ชีวิตของชุมชนท่ไี ด้รบั ยอมรบั รว่ มกนั เกดิ เป็นอัตลกั ษณ์ของพ้ืนที่

ภูมิประเทศของจังหวัดชลบุรีตามแผนพัฒนาจังหวัดชลบุรี พ.ศ.๒๕๖๑ – ๒๕๖๕ (ฉบับทบทวน)
(สานักงานจังหวัดชลบุรี, ๒๕๖๔) แบ่งออกได้ดังนี้ ๑) พ้ืนที่สูงชันและภูเขา อยู่ตอนกลางและด้านตะวันออก
ของจงั หวัด เป็นแนวยาวจากทศิ ตะวันตกเฉียงเหนือไปยงั ทิศตะวันออกเฉียงใต้ ต้ังแตอ่ าเภอเมืองชลบุรี บ้านบึง
ศรีราชา หนองใหญ่ และบ่อทองที่อาเภอศรีราชาน้ันเป็นต้นน้าของอ่างเก็บน้าบางพระแหล่งน้าอุปโภคบริโภค
หลักแห่งหน่ึงของชลบุรี เขตท่ีมีความสูงจากระดับน้าทะเลตั้งแต่ ๒๐๐ เมตรขึ้นไป ๒) ท่ีราบลูกคล่ืนและเนิน
เขา มีลักษณะสูง ๆ ต่า ๆ คล้ายลูกระนาด ส่วนที่เป็นท่ีราบลุ่มอยู่ตอนบนของจังหวัดในเขตอาเภอพานทอง
อาเภอพนัสนิคมและแนวก่ึงกลางของด้านตะวันตกเป็นพ้ืนท่ีราบลุ่มแม่น้าบางปะกง มีลาน้าคลองหลวงยาว
๑๓๐ กิโลเมตร ต้นน้าอยู่ท่ีอาเภอบ่อทองและอาเภอบ้านบึง ผ่านพนัสนิคม ไปบรรจบเป็นคลองพานทองไหล
ลงสู่แม่น้าบางปะกง ๓) ทร่ี าบชายฝั่งทะเล ตั้งแต่ปากแม่น้าบางปะกงติดกับทะเลอยู่ทางด้านทศิ ตะวันตกต้ังแต่
อาเภอเมืองชลบุรีจนถึงอาเภอสัตหีบซึ่งมีความยาวประมาณ ๑๖๐ กิโลเมตร เว้าแหว่งคดโค้งสวยงามเกิดเป็น
หน้าผาหิน หาดทรายทอดยาว ป่าชายเลน ป่าชายหาด ฯลฯ ประกอบด้วยที่ราบตามชายฝั่งทะเลท่ีมีภูเขาเล็ก
ๆ สลับเป็นบางตอน ชายฝงั่ ทะเลบางแหง่ มลี ักษณะเว้าแหว่งและเปน็ ท่ีลุ่มต่าน้าทะเล มปี ่าชายเลนหรือโกงกาง
ขึ้นต้ังแต่ในเขตอาเภอเมืองชลบุรี ถัดลงไปเป็นอาเภอศรีราชา อาเภอบางละมุง และอาเภอสัตหีบ มีหาดทราย
สวยงาม และ ๔) เกาะ มีอยู่ไม่น้อยกว่า ๔๖ เกาะ เช่น เกาะสีชัง เกาะค้างคาว เกาะริ้น เกาะไผ่ เกาะ
ลอย เกาะลา้ น เกาะครก เกาะสาก เกาะขาม เกาะแสมสาร และเกาะครามท่ีอยใู่ นเขตทหารเรือของอาเภอสัต
หีบ เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ และอนุบาลเต่าทะเลท่ีหายาก และใกล้สูญพันธ์ุของไทย เป็นต้น และทาหน้าที่เป็น
ปราการธรรมชาติ ช่วยป้องกันคล่ืนลม วิถีชีวิตของชุมชนท่ีเหมาะสมกับสภาพภูมิประเทศที่หลากหลาย คือ
การทาประมง เช่น ตาบลบางละมุง และการท่องเที่ยวจากแหล่งธรรมชาติ เช่น ชายหาด ทะเล และ
เกาะ วัฒนธรรมท่ีสาคัญของจังหวัดชลบุรี มีดังนี้ ประเพณีว่ิงควาย ประเพณีกองข้าวบวงสรวง ประเพณีแข่ง
เรือยาว ประเพณีมวยตับจาก ซึ่งเป็นกีฬาพื้นบ้านยอดนิยมของท้ังจังหวัดชลบุรีและของภาคตะวันออก
ประเพณีบุญกลางบ้าน งานบุญข้าวหลาม และประเพณีสงกรานต์ ประเพณีทาบุญกอ่ พระทรายน้าไหล ในเขต
จัดการภูมนิ เิ วศทะเลและชายฝ่งั เปน็ ตน้ (สานักงานวัฒนธรรมจังหวดั ชลบุรี, ๒๕๕๙)

ภูมิประเทศของจังหวัดระยอง ตามแผนพัฒนาจังหวัดระยอง พ.ศ.๒๕๖๑ - ๒๕๖๕ (ฉบับทบทวน)
(สานกั งานจงั หวดั ระยอง, ๒๕๖๔) มลี ักษณะเปน็ ทร่ี าบชายฝ่ังที่เกดิ จากการทับถมของตะกอนบริเวณแอง่ ลุ่มน้า

โครงการจดั ทาแผนสิง่ แวดลอ้ มในพ้ืนท่ีเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๖๙ ๒ - ๑๐๓

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ท้าย

ระยอง ลักษณะชายฝั่งทะเลมีหาดทรายสวยงามและมีเกาะใหญ่น้อยเรียงรายเลียบตามแนวชายฝง่ั และที่ลาด
สลับเนินเขาและภเู ขา มีลักษณะเป็นลอนลูกคลื่นสูงตา่ สลับกันไป สามารถแบ่งออกเป็น ๕ ประเภท ไดแ้ ก่ (๑)
ท่ีสงู ชันและภูเขา พบบริเวณตอนเหนือติดต่อกับจังหวดั ชลบุรี ทางตะวันออกติดตอ่ กบั จงั หวัดจนั ทบุรี และแนว
เขาทอดตามแนวเหนือ-ใต้ บริเวณบ้านค่ายตอนกลางของจังหวัด (๒) บริเวณท่ีเนินเขาและท่ีลาดเชิงเขา มี
ลักษณะเป็นเนินเขาลูกเล็กๆ ติดต่อกันไป (๓) บริเวณลูกคล่ืนลอนลาดและลอนชัน บริเวณทางเหนือของ
จังหวัด (๔) ท่ีลุ่มต่าและที่ราบเรียบ พบบริเวณทิศใต้ และกระจายเป็นหย่อมๆ ตามแนวทิศตะวันออกถึงทิศ
ตะวันตก ได้แก่ อาเภอเมอื งระยอง โดยเฉพาะบริเวณปากแม่น้า ส่วนบริเวณที่ราบเรียบพบตามแนวใกล้ลาน้า
หรือพ้ืนท่ีต่อเน่ืองจากที่ลุ่มต่าอยู่ทางตอนใต้ของจังหวัด และ (๕) หาดทรายและสันทราย ตามแนวตะวันออก
ถึงตะวันตก มคี วามยาวของชายหาดประมาณ ๑๐๐ กิโลเมตร และมชี ายหาดเริ่มตัง้ แต่อาเภอบ้านฉางไปสิ้นสุด
ท่ีอาเภอแกลง วิถีการดาเนินชีวิตของคนในจังหวัดระยองมีการพึ่งพาทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ที่มีความ
หลากหลาย การทาเกษตรกรรมสวนผลไม้ ท่ีมีรสชาติท่ีโดดเด่นเน่ืองจากภูมิศาสตร์ของพื้นที่ เช่น สวนทุเรยี น
มังคุด ลองกอง เปน็ ตน้ การทาประมงชายฝ่ังบริเวณแม่นา้ ประแสร์ เปน็ ต้น รวมถึงการเป็นแหล่งเพาะเชื้อหอย
นางรมของบ้านคลองลาวน การท่องเที่ยวตามธรรมชาติ เช่น เกาะ ชายหาด ทะเล เป็นต้น สาหรับวัฒนธรรม
ประเพณีของจงั หวัดระยองที่สาคัญ มีท้ังภาษาที่คนระยองมีสาเนยี งพดู ท่ีมีเป็นเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม ด้าน
ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ยังคงปฏิบัติในบางพื้นที่ เช่น ประเพณีแห่นางแมว ประเพณีแข่งเรือยาว ประเพณี
ปักเฉลวหรือการบูชาแม่โพสพ การทาบุญลาน ประเพณีว่ิงควาย ประเพณีตักบาตรเทโว ท่ีมีมาตั้งแต่สมัยครั้ง
พุทธกาล และปัจจุบันยังมีอยู่ และยังมีประเพณีขนทรายเข้าวัด ประเพณีสงกรานตท์ ี่วัดตาขัน อาเภอบ้านค่าย
เป็นต้น ด้านศิลปะการแสดงท้องถ่ิน เช่น ราโทน ลาตัด ลิเกของอาเภอแกลง การแสดงหนังใหญ่วัดบ้านดอน
เปน็ ต้น (สานักงานวฒั นธรรมจังหวดั ระยอง, ๒๕๕๘; สานกั งานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั ระยอง, ๒๕๖๓)

จากการกาหนดภูมิประเทศของท้ังสามจังหวัดตามข้อมูลท่ีได้ทบทวนจากแผนพัฒนาของจังหวัด และ
วัฒ นธรรมประเพณี ของทั้งสามจังหวัด สามารถนามากาหนดเขตภูมินิเวศเพ่ือบริหารจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกในภาพรวมได้เป็น ๔ ประเภท คือ
๑) ภูมินิเวศป่าต้นน้า ๒) ภูมินิเวศพื้นท่ีชุ่มน้า ๓) ภูมินิเวศป่าชายเลน และ ๔) ภูมินิเวศทะเลและเกาะ
นอกจากน้ีในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษพัฒนาภาคตะวันออกยังมีการใช้ประโยชน์ท่ีดินเพื่อกิจกรรมทางเกษตร
กิจกรรมเมืองและชุมชน และกิจกรรมทางอุตสาหกรรม จึงได้กาหนดกิจกรรมการใช้ประโยชน์ที่ ดินดังกล่าว
เป็นเขตจัดการตามภูมินิเวศ ประกอบด้วย เขตจัดการภูมินิเวศเขตเกษตรกรรม เขตเมืองและชุมชน และเขต
อุตสาหกรรม โดยลักษณะ การกระจายตัว ขอบเขต และขนาดพื้นที่ของภูมินิเวศและเขตจัดการภูมินินเวศ
แสดงดงั ตารางท่ี ๒ - ๕ และตารางที่ ๒ - ๖

เขตภูมินิเวศ และเขตจัดการภูมินิเวศแต่ละประเภทในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก มีดังน้ี ภูมิ
นิเวศป่าต้นน้า มีพื้นท่ีกว่า ๔ ล้านไร่ คิดเป็นร้อยละ ๔๓.๘๐ โดยกระจายตัวอยู่ทางทิศตะวันออกของเขต
พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ภูมินิเวศป่าชายเลน มีพื้นที่ประมาณเจ็ดหมื่นไร่ คิดเป็นร้อยละ ๐.๖๔ เขตจัดการ
ภมู ินเิ วศเขตเกษตรกรรม มีพ้ืนทป่ี ระมาณ ๔ ลา้ นไร่ คิดเปน็ รอ้ ยละ ๓๖.๔๐

หากพิจารณารายจังหวัด พบว่าพ้ืนทจ่ี ังหวัดชลบุรี มีพ้ืนท่ีภูมินเิ วศเขตปา่ ต้นน้ามากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ
๔๑.๑๐ ของพ้ืนท่ีจังหวัด รองลงมาเป็นเขตจัดการภูมินิเวศเกษตรกรรม เขตจัดการภูมินิเวศเมืองและชุมชน

โครงการจัดทาแผนสงิ่ แวดลอ้ มในพ้ืนที่เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๖๙ ๒ - ๑๐๔

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ท้าย

ภูมินิเวศทะเลและเกาะ เขตจัดการภูมินิเวศอุตสาหกรรม ภูมนิ ิเวศพื้นท่ีชมุ่ นา้ และภูมินเิ วศปา่ ชายเลน คดิ เป็น
รอ้ ยละ ๒๙.๑๖ ๑๗.๑๔ ๗.๕๒ ๓.๒๖ ๑.๑๕ และ ๐.๖๙ ตามลาดบั ส่วนในจงั หวดั ระยองพบว่าเขตจัดการ
ภูมินิเวศเกษตรกรรมมพี ้ืนท่ีมากทส่ี ุด คิดเป็นร้อยละ ๔๓.๐๘ ของพื้นที่จงั หวัด รองลงมาเป็นภูมินเิ วศป่าต้นน้า
เขตจัดการภูมินิเวศเมืองและชุมชน ภูมินิเวศทะเลและเกาะ เขตจัดการภูมินิเวศอุตสาหกรรม ภูมินิเวศพื้นท่ีชุ่ม
น้า และภูมินิเวศป่าชายเลน คิดเป็นร้อยละ ๓๑.๔๔ ๑๑.๕๑ ๖.๓๒ ๓.๗๖ ๓.๐๔ และ๐.๘๕ ตามลาดับ
สาหรับพื้นท่ีจังหวัดฉะเชิงเทรา มีพ้ืนท่ีภูมินิเวศป่าต้นน้ามากที่สุดเช่นเดียวกับจังหวัดชลบุรี คิดเป็นร้อยละ
๕๔.๘๔ ของพื้นที่จังหวัด รองลงมาคือ เขตจัดการภูมินิเวศเกษตรกรรม เขตจัดการภูมินิเวศเมืองและชุมชน
ภูมินิเวศพื้นท่ีชุ่มน้า เขตจัดการภูมินิเวศอุตสาหกรรม ภูมินิเวศป่าชายเลน และภูมนิ ิเวศทะเลและเกาะ คดิ เป็น
รอ้ ยละ ๓๗.๘๐ ๔.๑๙ ๑.๕๕ ๑.๐๒ ๐.๔๖ และ ๐.๑๔ ตามลาดบั ดงั ตารางท่ี ๒ – ๖

การแบ่งเขตภูมินิเวศและเขตจัดการภูมินิเวศจะถูกพิจารณาในการประเมินศักยภาพในการรองรับของ
ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ มของพนื้ ทเ่ี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออกทงั้ ๗ ประเภทดังกล่าว

ตารางท่ี ๒ - ๗ การแบ่งภูมินิเวศและเขตจดั การภูมนิ ิเวศในเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก

ภูมนิ เิ วศและเขต เกณฑ์ แหลง่ ข้อมลู
จดั การภมู นิ เิ วศ
๑. ภูมนิ ิเวศปา่ ต้นน้า พ้ืนทใี่ นเขตป่าเพ่อื การอนุรกั ษต์ ามกฎหมาย การวิเคราะหโ์ ดยชน้ั ข้อมูลสารสนเทศภมู ิศาสตร์
ประกอบดว้ ย อุทยานแหง่ ชาติ เขตรักษาพันธส์ุ ัตวป์ า่ ของกรมอทุ ยานแห่งชาติ สตั ว์ป่า และพันธ์ุพืช
๒. ภูมนิ เิ วศพ้นื ทช่ี ุ่มนา้ ป่าสงวนแห่งชาติตามกฎหมาย พ้ืนท่ีช้นั คุณภาพล่มุ น้า (๒๕๕๒) กรมปา่ ไม้ (๒๕๕๕) สานักงานนโยบาย
ชน้ั ที่ ๑ และ ๒ และพื้นท่ีปา่ ตามข้อมลู การใชป้ ระโยชน์ และแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม
๓. ภูมินิเวศป่าชายเลน ทีด่ นิ ปัจจบุ นั ของกรมพัฒนาที่ดิน (พ.ศ. ๒๕๖๑ - (๒๕๕๙) และกรมพัฒนาที่ดิน (พ.ศ. ๒๕๖๑ –
๔. ภูมนิ เิ วศทะเลและ ๒๕๖๓) ๒๕๖๓)
เกาะ พน้ื ท่ีแม่น้าและแหลง่ นา้ อ่างเก็บน้า การวิเคราะหโ์ ดยชั้นข้อมูลสารสนเทศภมู ิศาสตร์
ของสานกั งานนโยบายและแผน
พื้นท่ปี ่าชายเลนตามมตคิ ณะรัฐมนตรี ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม (พ.ศ.
๒๕๕๙)
พนื้ ทท่ี ะเล อ่าวไทย และพ้ืนที่เกาะตามขอบเขตของแต่ การวิเคราะหโ์ ดยชั้นขอ้ มูลสารสนเทศภูมิศาสตร์
ละจังหวดั ของสานกั งานนโยบายและแผน ของสานกั งานนโยบายและแผน
ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม (๒๕๕๙)
การวิเคราะห์โดยชน้ั ข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์
ของสานกั งานนโยบายและแผน
ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (พ.ศ.
๒๕๕๙)

๕. เขตจัดการภูมินิเวศ พน้ื ท่ีที่ขอ้ มูลการใช้ประโยชน์ที่ดินปัจจบุ ันของกรม การวเิ คราะหโ์ ดยช้ันข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์
ของกรมพฒั นาที่ดิน (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๓)
เกษตรกรรม พฒั นาที่ดิน (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๓) ระบเุ ปน็ พ้นื ท่ี
การวเิ คราะหโ์ ดยช้นั ขอ้ มูลสารสนเทศภูมิศาสตร์
เกษตรกรรม ของกรมพัฒนาที่ดนิ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๓)

๖. เขตจัดการภูมินิเวศ พืน้ ทที่ ี่ขอ้ มูลการใช้ประโยชนท์ ี่ดินปัจจุบันของกรม

เมอื งและชุมชน พฒั นาท่ีดนิ (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๓) ระบเุ ป็นพ้ืนที่

เมืองและพาณชิ ยกรรม และที่อยู่อาศัย

โครงการจดั ทาแผนสิ่งแวดลอ้ มในพน้ื ท่เี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๖๙ ๒ - ๑๐๕

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รายงานฉบับสุดท้าย

ภูมนิ ิเวศและเขต เกณฑ์ แหลง่ ขอ้ มลู

จดั การภูมินิเวศ การวเิ คราะหโ์ ดยชนั้ ขอ้ มูลสารสนเทศภูมิศาสตร์
ของกรมพัฒนาที่ดนิ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๓)
๗. เขตจัดการภูมินิเวศ พ้ืนท่ีที่ข้อมูลการใชป้ ระโยชน์ที่ดนิ ปัจจุบนั ของกรม

อุตสาหกรรม พัฒนาที่ดนิ (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๓) ระบเุ ปน็ พ้ืนท่ี

นคิ มอุตสาหกรรมและโรงงานอตุ สาหกรรม

โครงการจดั ทาแผนสงิ่ แวดล้อมในพนื้ ท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๖๙ ๒ - ๑๐๖

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม

ตารางที่ ๒ - ๘ พน้ื ท่ีภูมนิ ิเวศและเขตจัดการภูมนิ ิเวศในพื้นที่เขตพฒั นาพิเศษภาคตะว

ภูมินิเวศและ ฉะเชงิ เทรา ชลบรุ

เขตจัดการตามภมู ินเิ วศ พ้นื ที่ (ไร)่ ร้อยละ พ้นื ที่ (ไร่)

๑. ภมู นิ เิ วศปา่ ตน้ น้า ๒,๓๖๓,๖๕๗.๕๗ ๕๔.๘๔ ๑,๕๐๑,๑๙๒.๑๓

๒. ภมู ินเิ วศพ้ืนทชี่ ุ่มน้า ๖๖,๙๐๗.๒๐ ๑.๕๕ ๔๑,๙๕๔.๙๕

๓. ภมู นิ เิ วศปา่ ชายเลน ๑๙,๘๘๔.๘๕ ๐.๔๖ ๒๕,๑๗๖.๐๙

๔. ภมู นิ เิ วศทะเเลและเกาะ ๖,๑๑๕.๑๘ ๐.๑๔ ๒๗๔,๕๒๕.๖๓

๕. เขตจดั การภูมินเิ วศเกษตรกรรม ๑,๖๒๙,๒๓๑.๖๖ ๓๗.๘๐ ๑,๐๖๕,๐๑๙.๕๗

๖.เขตจดั การภุมนิ ิเวศเมืองและชุมชน ๑๘๐,๖๘๐.๙๘ ๔.๑๙ ๖๒๕,๘๘๕.๙๐

๗.เขตจดั การภมู นิ ิเวศอุตสาหกรรม ๔๓,๘๘๑.๔๙ ๑.๐๒ ๑๑๘,๙๑๙.๑๗

รวม ๔,๓๑๐,๓๕๘.๙๒ ๑๐๐.๐๐ ๓,๖๕๒,๖๗๓.๔๕

โครงการจัดทาแผนสิง่ แวดลอ้ มในพน้ื ท่ีเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ -

รายงานฉบับสุดท้าย

วันออก ระยอง รวม ๓ จงั หวัด
พน้ื ที่ (ไร)่
รี ๙๕๙,๕๘๙.๘๘ ร้อยละ พืน้ ท่ี (ไร่) ร้อยละ
รอ้ ยละ ๓๑.๔๔
๙๒,๘๓๓.๔๑ ๓.๐๔ ๔,๘๒๔,๔๓๙.๕๘ ๔๓.๘๐
๓ ๔๑.๑๐ ๒๕,๘๖๘.๗๒ ๐.๘๕
๕ ๑.๑๕ ๑๙๒,๗๖๑.๒๑ ๖.๓๒ ๒๐๑,๖๙๕.๕๖ ๑.๘๓
๙ ๐.๖๙ ๑,๓๑๔,๕๘๘.๑๖ ๔๓.๐๘
๓ ๗.๕๒ ๓๕๑,๒๔๓.๓๒ ๑๑.๕๑ ๗๐,๙๒๙.๖๕ ๐.๖๔
๗ ๒๙.๑๖ ๑๑๔,๘๒๒.๒๕ ๓.๗๖
๐ ๑๗.๑๔ ๓,๐๕๑,๗๐๖.๙๔ ๑๐๐.๐๐ ๔๗๓,๔๐๒.๐๒ ๔.๓๐
๗ ๓.๒๖
๕ ๑๐๐.๐๐ ๔,๐๐๘,๘๓๙.๓๘ ๓๖.๔๐

๑,๑๕๗,๘๑๐.๒๐ ๑๐.๕๑

๒๗๗,๖๒๒.๙๑ ๒.๕๒

๑๑,๐๑๔,๗๓๙.๓๑ ๑๐๐.๐๐

๒๕๖๙ ๒ - ๑๐๗

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม รายงานฉบบั สุดทา้ ย

ภาพท่ี ๒ - ๑๒ เขตภูมินิเวศในพ้ืนทเ่ี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก

โครงการจดั ทาแผนสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๖๙ ๒ - ๑๐๘

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย

ภาพท่ี ๒ - ๑๓ ภมู นิ ิเวศและเขตจดั การภมู ินเิ วศในพื้นท่เี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก

โครงการจดั ทาแผนสิง่ แวดลอ้ มในพ้นื ที่เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๖๙ ๒ - ๑๐๙

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม รายงานฉบับสดุ ทา้ ย

๒.๕.๓ การบริหารจดั การทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม
การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อุปสรรค/ข้อจากัด และข้อเสนอแนะ ได้ถูก
รวบรวมจากแหล่งข้อมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิจากหน่วยงาน องค์กร ภาคส่วนต่าง ๆ ที่เก่ียวข้อง โดยพิจารณา
ประเด็นตามแรงกดดัน (สถานการณ์ประเด็นความท้าทายโลก สถานการณ์ทางเศรษฐกิจ ประชากร โครงการ
พัฒนา และทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม) และประเด็นความสามารถในการรองรับ เพื่อนาไปสู่การ
เสนอแนวทางการบริหารจัดการที่เหมาะสมของแผนสิ่งแวดล้อมระยะท่ี ๒ ในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาค
ตะวันออกต่อไป รายละเอียดปรากฏในบทท่ี ๖
หลักการ/เครื่องมือในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมสามารถแบ่งได้เป็น ๒
ประเภทหลัก คือ การจัดการเชิงพ้ืนท่ี และการจัดการที่ไม่ใช่เชิงพ้ืนท่ี โดยการบริหารจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมตามภูมินิเวศเป็นการจัดการเชิงพ้ืนท่ี เช่น ภูมินิเวศบนบกใช้หลักการ/
เครื่องมือทางกฎหมายในการกาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินให้เป็นไปตามผังเมืองรวม การประกาศเขตพ้ืนที่
คมุ้ ครองส่งิ แวดล้อม การประกาศเขตควบคุมมลพิษ การจัดการเชิงลุ่มน้า เป็นต้น ในขณะที่ภูมินิเวศทางทะเล
สามารถจัดการเชิงพ้ืนที่ได้ดว้ ยการวางผังการใช้ประโยชน์พื้นท่ีทะเล (spatial marine planning) สาหรับการ
บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมด้วยหลักการ/เครื่องมืออ่ืนท่ีไม่ใช่เชิงพ้ืนท่ี ได้แก่
การประเมนิ สง่ิ แวดล้อมระดับยุทธศาสตร์ การประเมนิ ผลกระทบทางสิ่งแวดลอ้ ม การกาหนดภาษี การซ้อื ขาย
ใบอนุญาตปล่อยมลพิษ การอุดหนุนกิจกรรมที่เปน็ มิตรกบั สงิ่ แวดล้อม การใช้เทคโนโลยี/นวัตกรรม/ฐานข้อมูล
ความรับผิดชอบต่อสังคมและส่ิงแวดล้อมขององค์กร (Corporate Social Responsibility : CSR) การให้
แรงจูงใจและการสร้างการมีส่วนร่วมและเครือข่ายในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นต้น
หลักการดังกล่าวถูกนาใช้ให้เหมาะสมกับบริบทของพนื้ ที่ต่อไป
๒.๖ สรุปขอ้ คิดเหนจากการรบั งความคดิ เหนจากกลุม่ ผมู้ สี ่วนได้เสียในพืน้ ที่
เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการจัดทาแผนส่ิงแวดล้อมในพ้ืนท่ีพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ระยะที่ ๒
ได้จัดประชุมเพ่ือรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากภาคส่วนท่ีเกี่ยวข้อง โดยแยกกลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย
ออกเปน็ กลุ่มหน่วยงานราชการ กล่มุ ภาคอตุ สาหกรรม กลุ่มภาคเกษตรกรรม กลุม่ ภาคประชาสังคม กลมุ่ ภาค
บริการและท่องเที่ยว กลุ่มภาคทรัพยากรธรรมชาติ (ทสม.) และกลุ่มภาคการศึกษา และมีการจัดประชุมรับฟัง
ความคิดเห็นรวม ๓๑ คร้ัง มีจานวนผู้เข้าร่วมประชุมทั้งหมด ๒,๗๕๐ คน แบ่งเป็น หน่วยงานราชการ
ส่วนกลาง ๗๑๕ คน หน่วยงานราชการส่วนท้องถิ่น จานวน ๕๘๐ คน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จานวน
๗๘๓ คน รัฐวิสาหกิจ จานวน ๑๒๒ คน กลุ่มอุตสาหกรรม จานวน ๒๓๘ คน เกษตรกรรมจานวน ๗ คน
ภาคประชาสงั คม จานวน ๑๕๑ คน กลมุ่ ภาคอาสาสมัครพิทักษท์ รัพยากรธรรมชาติ จานวน ๒๕ คน กลุ่มภาค
บริการและท่องเท่ียว จานวน ๑๒ คน ภาคการศึกษา จานวน ๘๗ คน และอื่น ๆ ๓๐ คน ท้ังนีไ้ ดม้ ีการลงพื้นท่ี
เพื่อรับฟังความคิดเห็นของภาคส่วนต่าง ๆ ในพ้ืนท่ี และการจัดประชุม แบบระบบวิดีโอทางไกล
(Teleconference) เน่ืองด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด – 19 สรุปรายละเอียดการประชุม

ในช่วงวัน เวลา และภาคสว่ นต่าง ๆ ดงั ตารางท่ี ๒ – ๗

โครงการจดั ทาแผนสิง่ แวดลอ้ มในพื้นที่เขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๒ - ๑๑๐

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สดุ ท้าย

ตารางที่ ๒ - ๙ การจัดประชมุ รบั งความคิดเหนจากกล่มุ ผูม้ ีส่วนได้เสยี ในพ้ืนท่ี

ลาดับที่ การประชุม ภาคส่วนทเี่ ข้ารว่ มประชมุ จานวน

เขา้ ร่วม ตาแหน่ง

๑ วันท่ี ๑๐ มกราคม ๒๕๖๔ กลมุ่ ภาคประชาชน ๙ คน

เวลา ๑๕.๐๐ – ๑๘.๐๐ น. กลมุ่ ภาคการศึกษา ๑ คน อาจารย์ ๑ คน

กลุ่มหน่วยงานราชการส่วน ๒ คน พนงั งานราชการ ๒ คน

จงั หวัด

๒ วนั ท่ี ๒๔ มกราคม ๒๕๖๔ เครอื ขา่ ยภาคประชาชน ๓ คน

เวลา ๑๕.๐๐ – ๑๘.๐๐ น. กลุ่มภาคทรพั ยากรธรรมชาติ ๒ คน ประธานกลุ่ม ๒ คน

(ทสม.)

๓ วนั ที่ ๓ กุมภาคม ๒๕๖๔ หนว่ ยงานราชการสว่ นกลาง ๘๑ คน ผู้บรหิ าร ๑๐ คน

เวลา ๐๘.๓๐ - ๑๕.๐๐ น. ผจู้ ัดการ/หัวหน้าฝ่าย ๕ คน

ผู้ปฏบิ ตั งิ าน ๖๖ คน

หน่วยงานราชการส่วนจงั หวัด ๓๐ คน ผู้บริหาร ๑๑ คน

หัวหน้าฝา่ ย ๒ คน

ผู้ปฏบิ ตั งิ าน ๑๗ คน

องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ๑๓๓ คน ผู้บรหิ าร ๔๔ คน

ข้าราชการทางการเมอื ง ๔ คน

ผปู้ ฏิบตั กิ าร ๘๕ คน

กลมุ่ ภาคอุตสาหกรรม ๒๐ คน ผู้บริหาร ๗ คน

ผู้อานวยการ ๓ คน

ผปู้ ฏิบัตกิ าร ๑๐ คน

กลุ่มภาคเกษตรกรรม ๑ คน ประธานกลมุ่

กลุ่มภาคประชาสังคม ๔ คน

กล่มุ ภาคการศึกษา ๙ คน อธกิ ารบดี ๑ คน

คณะบดี ๑ คน

อาจารย์ ๕ คน

เจ้าหนา้ ที่ ๒ คน

๔ วันท่ี ๑๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔ กลมุ่ หนว่ ยงานราชการส่วน ๒ คน เจ้าหนา้ ท่ี ๒ คน

เวลา ๑๗.๐๐ – ๑๙.๐๐ น. จังหวดั

กลมุ่ ภาคประชาสังคม ๗ คน ประธาน ๑ คน

สมาชิก ๖ คน

๕ วันท่ี ๒๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔ กลมุ่ ภาคประชาสงั คม ๕ คน ประธานกลมุ่ ๒ คน

เวลา ๐๙.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. สมาชิก ๓ คน

กลุ่มภาคทรพั ยากรธรรมชาติ ๑ คน ประธาน ๑ คน

(ทสม.)

๖ วันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔ กลมุ่ หน่วยงานราชการส่วน ๒ คน ผอู้ านวยการฝา่ ย ๒ คน

เวลา ๐๙.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. จงั หวดั

โครงการจัดทาแผนสงิ่ แวดล้อมในพนื้ ที่เขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๒ - ๑๑๑

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ทา้ ย

ลาดบั ที่ การประชุม ภาคสว่ นทเี่ ข้าร่วมประชุม จานวน
ตาแหน่ง
๗ วันที่ ๒๒ มีนาคม ๒๕๖๔ กลมุ่ หน่วยงานราชการส่วน เขา้ รว่ ม
เวลา ๐๙.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. จังหวัด ๙ คน ผอู้ านวยการ ๑ คน
ผอ.ฝา่ ย ๓ คน
๘ วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๖๔ หนว่ ยงานราชการ ๒ คน ผู้ปฏิบัติงาน ๕ คน
เวลา ๑๓.๐๐ – ๑๖.๐๐ น. ผบู้ ริหาร ๒ คน
หนว่ ยงานราชการ (หน่วยงาน
๙ วันท่ี ๒ เมษายน ๒๕๖๔ ของรฐั ) ๒ คน ผ้บู รหิ าร ๑ คน
เวลา ๐๙.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน คณะทางาน ๑ คน

๓ คน ผบู้ รหิ าร ๓ คน

๑๐ วนั ท่ี ๒ เมษายน ๒๕๖๔ ภาคเกษตรกรรม ๑ คน ประธาน ๑ คน
เวลา ๐๓.๐๐ – ๑๗.๐๐ น. ภาคการศกึ ษา ๑ คน
กลุ่มภาคประชาสังคม ๑๙ คน ผ้บู รหิ าร ๑ คน
๑๐ วนั ที่ ๓ เมษายน ๒๕๖๔ องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน ๑ คน ประธาน ๑ คน
เวลา ๐๙.๐๐ – ๑๒.๐๐ น ภาคเกษตรกรรม ๑ คน
ภาคการศกึ ษา ๑ คน ผบู้ ริหาร ๑ คน
๑๑ วันที่ ๒๖ เมษายน ๒๕๖๔ กลมุ่ ภาคประชาสังคม ๑๙ คน ผบู้ ริหาร ๑ คน
เวลา ๐๘.๓๐ - ๑๕.๐๐ น. องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ ๑ คน ผปู้ ฏิบัตงิ าน ๘ คน
กล่มุ หน่วยงานราชการส่วนกลาง ๙ คน ผู้บริหาร ๘ คน
หวั หน้าฝา่ ย ๓ คน
หน่วยงานราชการส่วนจังหวัด ๔๒ คน ผปู้ ฏบิ ตั ิงาน ๓๑ คน
ผู้บริหาร ๑๕ คน
องคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ ๕๑ คน ขา้ ราชการการเมอื ง ๓ คน
ผู้ปฏบิ ัติงาน ๓๓ คน
ภาครฐั วสิ าหกจิ ๘ คน ผอู้ านวยการ/ผ้ชู ว่ ย ๓ คน
ผู้จัดการ/หวั หน้า ๔ คน
กลุ่มภาคอุตสาหกรรม/เอกชน ๓๔ คน ผปู้ ฏบิ ัตงิ าน ๑ คน
ผู้บริหาร ๑๕ คน
กลมุ่ ภาคประชาสังคม ๒๓ คน ผู้จดั การ ๔ คน
๑ คน ทีป่ รึกษา ๑ คน
กลมุ่ ภาคบริการและการ นักวขิ าการ ๑๔ คน
ทอ่ งเทีย่ ว ประธาน ๕ คน
ประชาคม ๑๘ คน
กรรมการสมาคม

โครงการจัดทาแผนส่งิ แวดลอ้ มในพ้ืนทีเ่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๒ - ๑๑๒

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ท้าย

ลาดบั ที่ การประชมุ ภาคส่วนทเ่ี ข้าร่วมประชุม จานวน
ตาแหน่ง
กล่มุ ภาคทรพั ยากรธรรมชาติ เขา้ รว่ ม
๔ คน ประธาน ๒ คน

(ทสม.) สมาชิก ๒ คน

กลมุ่ ภาคการศึกษา ๓ คน รองผอ. ๑ คน
หัวหน้าศูนย์ ๑ คน
๑๒ วันท่ี ๒๗ เมษายน ๒๕๖๔ อ่นื ๆ ๑ คน อาจารย์ ๑ คน
เวลา ๐๘.๓๐ - ๑๕.๐๐ น. กลุ่มหน่วยงานราชการส่วนกลาง ๑๑ คน
ผู้บรหิ าร ๑ คน
หนว่ ยงานราชการสว่ นจังหวดั ๔๙ คน ผู้ปฏบิ ัติงาน ๑๐ คน
ผู้บรหิ าร ๘ คน
องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ ๖๓ คน หัวหน้าฝา่ ย ๔ คน
ผู้ปฏิบตั งิ าน ๓๗ คน
ผู้บริหาร ๒๐ คน
ข้าราชการการเมือง ๓ คน
ผู้ปฏบิ ตั งิ าน ๔๐ คน

รฐั วิสาหกิจ ๘ คน ผู้อานวยการ ๑ คน
หัวหน้าฝ่าย ๑ คน
กล่มุ ภาคอุตสาหกรรม / เอกชน ๒๒ คน ผูป้ ฏบิ ัติงาน ๖ คน
ผู้บรหิ าร ๘ คน
กลุ่มภาคเกษตรกรรม ๒ คน ผู้จัดการ ๓ คน
กลมุ่ ภาคประชาสงั คม ๒ คน นกั วขิ าการ ๑๑ คน
เกษตรกร ๒ คน
กลมุ่ ภาคทรพั ยากรธรรมชาติ ๑ คน ประธาน ๑ คน
(ทสม.) ๕ คน สมาชิก ๑ คน
กลมุ่ ภาคการศกึ ษา ประธาน ๑ คน

๑๓ วนั ท่ี ๒๘ เมษายน ๒๕๖๔ กลุ่มหนว่ ยงานราชการส่วนกลาง ๖ คน ผู้ช่วยคณบดี ๑ คน
เวลา ๐๘.๓๐ - ๑๕.๐๐ น. อาจารย์ ๔ คน
ผบู้ รหิ าร ๑ คน
หนว่ ยงานราชการส่วนจังหวัด ๒๐ คน ผู้ปฏิบตั ิงาน ๕ คน
ผบู้ ริหาร ๕ คน
องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ ๕๒ ผูป้ ฏิบตั งิ าน ๑๕ คน
ผู้บรหิ าร ๑๙ คน
ขา้ ราชการการเมอื ง ๕ คน

โครงการจดั ทาแผนสิง่ แวดลอ้ มในพ้นื ทีเ่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๒ - ๑๑๓

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม รายงานฉบบั สดุ ท้าย

ลาดับที่ การประชมุ ภาคสว่ นที่เข้าร่วมประชุม จานวน
ตาแหนง่
รฐั วสิ าหกิจ เขา้ รว่ ม
๘ คน ผูป้ ฏิบตั ิงาน ๒๘ คน
กลมุ่ ภาคอุตสาหกรรม/เอกชน ผชู้ ว่ ยอานวยการ ๑ คน
กลมุ่ ภาคประชาสังคม ๑๙ คน หัวหน้า ๑ คน
กลมุ่ ภาคทรัพยากรธรรมชาติ ๑๓ คน นักวิชาการ ๖ คน
(ทสม.) ๖ คน ผูบ้ ริหาร ๗ คน
นกั วขิ าการ ๑๒ คน
ประธาน ๔ คน
ประชาคม ๙ คน
ประธาน ๒ คน
สมาชกิ ๔ คน

๑๔ วนั ท่ี ๖ พฤษภาคม ๒๕๖๔ กลุ่มภาคการศึกษา ๔ คน อธิการ ๑ คน
เวลา ๙.๐๐ – ๑๓.๐๐ น. อนื่ ๆ อาจารย์ ๓ คน
องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน
๑๕ วนั ท่ี ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๖๔ ๑ คน
เวลา ๐๙.๐๐-๑๖.๐๐ น. กลมุ่ ภาคประชาสงั คม ๑๓ คน ปลดั ๗ คน ผอ. ๑ คน
กลุ่มหน่วยงานราชการส่วน
๑๖ วันที่ ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๖๔ จังหวัด ข้าราชการการเมือง ๒ คน
เวลา ๑๐.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. กลมุ่ ภาคอุตสาหกรรม กานนั ๒ คน
กลุ่มภาคประชาสงั คม ทปี่ รึกษาจ. ๑ คน
๒ คน ประธาน ๑ คน
กลุ่มภาคบรกิ ารและการ รองประธาน ๑ คน
ทอ่ งเที่ยว ๕ คน ผบู้ ริหาร ๓ คน
กลมุ่ ภาคประชาสังคม อดตี นายก ๑ คน
กานัน ๑ คน
๑ คน ผแู้ ทน ๑ คน
๓ คน ประธาน ๑ คน
รองประธาน ๒ คน
๘ คน ประธานสมาคม/สภา ๒ คน
รองประธาน ๑ คน
ผปู้ ระกอบการ ๕ คน
๒ คน กรรมการลมุ่ น้า ๒ คน

๑๗ วนั ที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๖๔ กลมุ่ หนว่ ยงานราชการส่วนกลาง ๗๕ คน ผ้บู รหิ าร ๘ คน
เวลา ๐๘.๓๐ - ๑๕.๐๐ น. กลุ่มหน่วยงานราชการส่วน ๑๐๗ คน หวั หน้าฝ่าย ๑ คน
ผปู้ ฏิบัตงิ าน ๖๖ คน
ผบู้ รหิ าร ๑๗ คน

โครงการจดั ทาแผนสง่ิ แวดลอ้ มในพืน้ ท่เี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๒ - ๑๑๔

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ทา้ ย

ลาดับท่ี การประชมุ ภาคสว่ นท่ีเข้ารว่ มประชุม จานวน
ตาแหนง่
จังหวดั เข้าร่วม
๑๑๖ คน หวั หน้าฝา่ ย ๔ คน
องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ๓๑ คน ผู้ปฏบิ ตั งิ าน ๘๖ คน
๓๕ คน ผู้บริหาร ๓๑ คน
รัฐวสิ าหกิจ ข้าราชการการเมือง ๑๘ คน
๒๒ คน ผู้ปฏบิ ัตงิ าน ๖๗ คน
กล่มุ ภาคอุตสาหกรรม ๒ คน ผู้บริหาร ๓ คน
หวั หน้า/ผ้จู ัดการ ๖ คน
กลุ่มภาคประชาสงั คม ผปู้ ฏบิ ตั ิงาน ๒๒ คน
ผบู้ รหิ าร ๒ คน
กลมุ่ ภาคทรัพยากรธรรมชาติ ผอู้ านวยการ/เลขา ๕ คน
(ทสม.) ผจู้ ดั การ ๕ คน
กลมุ่ ภาคการศึกษา นกั วขิ าการ/พนง ๒๒ คน
ผู้ประกอบการ ๑ คน
ประธาน/รอง ๖ คน
เลขา/รองเลขา ๒ คน
ผู้จดั การ ๒ คน
ประชาคม ๑๒ คน
ประธาน ๒ คน

๑๘ วันท่ี ๘ มิถุนายน ๒๕๖๔ กลมุ่ ภาคอุตสาหกรรม ๖ คน อธิการบดี ๑ คน
เวลา ๐๙.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. กลมุ่ หนว่ ยงานราชการ หวั หน้า/ทปี่ รึกษา ๓ คน
อาจารย์ ๒ คน
๑๙ วันที่ ๙ มิถุนายน ๒๕๖๔
เวลา ๑๓.๓๐ – ๑๖.๓๐ น. ๕ คน ผอู้ านวยการ ๑ คน
ผู้จดั การ ๔ คน

๓ คน ผู้บรหิ าร ๒ คน
ผปู้ ฏิบตั ิงาน ๑ คน

๒๐ วนั ที่ ๑๐ มถิ นุ ายน ๒๕๖๔ องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น ๕ คน ปลดั ๑ คน
เวลา ๑๓.๓๐ – ๑๖.๓๐ น. นายก ๑ คน รอง ๑ คน
กลมุ่ ภาคประชาสังคม กานัน ๒ คน

กลุ่มหน่วยงานราชการส่วน ๔ คน ประธาน ๑ คน
จงั หวัด เลขา/รองเลขา ๑ คน
องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ
๓ คน ผู้บริหาร ๒ คน
หวั หน้าฝา่ ย ๑ คน

๔ ปลดั ๒ คน
ผปู้ ฏิบตั งิ าน ๒ คน

โครงการจดั ทาแผนส่งิ แวดล้อมในพ้นื ท่ีเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๒ - ๑๑๕

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม รายงานฉบับสดุ ท้าย

ลาดบั ท่ี การประชมุ ภาคส่วนท่ีเข้ารว่ มประชมุ จานวน
ตาแหนง่
กลมุ่ ภาคประชาสังคม เข้าร่วม
๓ คน ประธาน/รอง ๑ คน
กลมุ่ ภาคทรัพยากรธรรมชาติ ประชาคม ๒ คน
(ทสม.) ๑ คน ประธาน ๑ คน
กลุ่มภาคการศกึ ษา
๒๑ วันท่ี ๒๕ มถิ ุนายน ๒๕๖๔ กลมุ่ หน่วยงานราชการส่วน ๓ คน อาจารย์ ๓ คน
เวลา ๑๓.๓๐ – ๑๖.๓๐ น. จงั หวัด ๔ คน ผบู้ ริหาร ๔ คน
องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่
๓ คน ปลัด ๒ คน
กลุ่มภาคเกษตรกรรม กานัน ๑ คน
กลมุ่ ภาคอุตสาหกรรม
๑ คน เกษตรกร ๑ คน
กลุม่ ภาคประชาสงั คม ๒ คน ผอ. ๑ คน

กลมุ่ ภาคบรกิ ารและการ ผ้จู ัดการ ๑ คน
ทอ่ งเที่ยว ๘ คน ประธาน/รอง ๓ คน
กลุ่มภาคทรัพยากรธรรมชาติ
(ทสม.) เลขามลู นิธิ ๑ คน
กลุ่มภาคการศกึ ษา ประชาคม ๔ คน
๑ คน เจ้าของกจิ การ ๑ คน

๑คน ประธาน ๑ คน

๑ คน อาจารย์ ๑ คน

๒๒ วนั ท่ี ๐๗ กรกฎาคม ๒๕๖๔ กล่มุ หนว่ ยงานราชการส่วน ๗ คน ผ้บู รหิ าร ๖ คน
เวลา ๐๙.๐๐ – ๑๖.๐๐ น. จงั หวัด ผู้ปฏิบตั ิงาน ๑ คน

องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ ๔ คน ผู้บริหาร ๒ คน

ขา้ ราชการการเมอื ง ๒ คน

กลมุ่ ภาคเกษตรกรรม ๑ คน ประธานกลุม่ ๑ คน

กลุ่มภาคอุตสาหกรรม/เอกชน ๓ คน ผู้บรหิ าร ๓ คน

กลมุ่ ภาคประชาสงั คม ๗ คน ประธาน ๒ คน

นักวชิ าการ ๕ คน

กลุ่มภาคบริการและการ ๑ คน เจ้าของกจิ การ ๑ คน

ทอ่ งเท่ียว

กลุ่มภาคการศึกษา ๒ คน อาจารย์ ๒ คน

๒๓ วันที่ ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๖๔ กลมุ่ ภาคอุตสาหกรรม/เอกชน ๙ คน ผอู้ านวยการ ๑ คน
เวลา ๑๑.๐๐ – ๑๒.๐๐ น.
SCG
๒๔ วันที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๖๔
หนว่ ยงานราชการสว่ นกลาง ๕๔ คน ผู้บริหาร ๕ คน

โครงการจัดทาแผนสงิ่ แวดลอ้ มในพ้นื ทเี่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๒ - ๑๑๖

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดท้าย

ลาดบั ท่ี การประชุม ภาคสว่ นทเี่ ข้าร่วมประชุม จานวน
ตาแหน่ง
เวลา ๐๘.๓๐ - ๑๕.๐๐ น. เข้าร่วม
๕๑ ผจู้ ัดการ/หัวหนา้ ฝ่าย ๒ คน
หน่วยงานราชการส่วนจงั หวดั ๙ คน ผู้ปฏบิ ตั ิงาน ๔๗ คน
๕๗ คน ผบู้ รหิ าร ๑๘ คน
ภาครฐั วิสาหกจิ ผจู้ ดั การ/หวั หน้าฝ่าย ๕ คน
ผปู้ ฏบิ ตั ิงาน ๒๘ คน
องคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่ ผู้อานวยการ ๒ คน
ผจู้ ดั การ/หวั หน้า ๔ คน
ผปู้ ฏบิ ัติงาน ๓ คน
ผู้บริหาร ๑๓ คน
ข้าราชการการเมือง ๑๔ คน
ผู้ปฏิบัตงิ าน ๓๐ คน

กลุ่มภาคอุตสาหกรรม/เอกชน ๑๑ คน ผู้บริหาร ๒ คน

ผู้จดั การ ๓ คน

นักวชิ าการ ๖ คน

กล่มุ ภาคประชาสังคม ๒ คน

กลมุ่ ภาคทรพั ยากรธรรมชาติ ๑ คน ประธาน ๑ คน

(ทสม.)

กล่มุ ภาคการศึกษา ๓ คน อาจารย์ ๓ คน

อ่นื ๆ ๕ คน

๒๕ วันที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๖๔ หน่วยงานราชการสว่ นกลาง ๔๔ คน ผบู้ ริหาร ๕ คน
เวลา ๐๘.๓๐ - ๑๕.๐๐ น.
ผจู้ ัดการ/หัวหนา้ ฝ่าย ๒ คน

ผปู้ ฏบิ ัตงิ าน ๓๗ คน

หน่วยงานราชการสว่ นจงั หวดั ๓๕ คน ผบู้ ริหาร ๔ คน

ผจู้ ดั การ/หัวหน้าฝ่าย ๓ คน

ผู้ปฏิบัติงาน ๒๘ คน

ภาครัฐวิสาหกิจ ๑๒ คน ผอู้ านวยการ/ผู้ชว่ ย ๓ คน

ผู้จดั การ/หัวหนา้ ๓ คน

ผู้ปฏิบตั ิงาน ๖ คน

องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ ๔๘ คน ผบู้ รหิ าร ๑๐ คน

ข้าราชการการเมอื ง ๔ คน

หัวหน้าฝา่ ย ๕ คน

ผปู้ ฏบิ ัตงิ าน ๒๙ คน

กลุ่มภาคเกษตรกรรม ๑ คน เกษตรกร ๑ คน

กลุม่ ภาคอุตสาหกรรม/เอกชน ๑๓ คน ผบู้ รหิ าร ๒ คน

โครงการจัดทาแผนสิ่งแวดล้อมในพ้นื ท่เี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๒ - ๑๑๗

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดท้าย

ลาดับที่ การประชุม ภาคส่วนทีเ่ ข้ารว่ มประชมุ จานวน
ตาแหน่ง
กลมุ่ ภาคบริการและการ เขา้ รว่ ม
ทอ่ งเทยี่ ว ๑ คน ผจู้ ดั การ ๑ คน
กลมุ่ ภาคทรัพยากรธรรมชาติ นักวชิ าการ ๑๐ คน
(ทสม.) เจ้าของกิจการ ๑ คน
กลมุ่ ภาคการศกึ ษา
๑ คน ประธาน ๑ คน
อ่นื ๆ
๒๖ วันที่ ๒๗ กรกฎาคม ๒๕๖๔ หนว่ ยงานราชการสว่ นกลาง ๑๖ คน ผู้ช่วยอธิการ ๑ คน
เวลา ๐๘.๓๐ - ๑๕.๐๐ น. คณะบดี ๑ คน
หน่วยงานราชการส่วนจังหวัด ผอ.สถาบัน/หัวหน้าภาค ๓ คน
ภาครฐั วิสาหกจิ อาจารย์/เจา้ หนา้ ท่ี ๑๑ คน
องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ
๓ คน
กลมุ่ ภาคอุตสาหกรรม/เอกชน ๔๖ คน ผู้บรหิ าร ๔ คน
กลุ่มภาคประชาสังคม /
ผ้ปู ระกอบการ ผู้จัดการ ๑ คน
กลมุ่ ภาคบรกิ ารและการ ผู้ปฏิบตั งิ าน ๔๑ คน
ทอ่ งเทีย่ ว ๑๑ คน ผู้บรหิ าร ๒ คน
กลุ่มภาคการศึกษา ผู้ปฏบิ ตั ิงาน ๙ คน
อน่ื ๆ ๗ คน ผู้ปฏบิ ตั ิงาน ๗ คน
หน่วยงานราชการสว่ นกลาง ๓๕ คน ผูบ้ ริหาร ๑๓ คน
ขา้ ราชการการเมือง ๒ คน
หน่วยงานราชการสว่ นจังหวดั หวั หน้าฝา่ ย ๕ คน
ผู้ปฏบิ ตั ิงาน ๑๕ คน
๒ คน ผบู้ รหิ าร ๑ คน
นกั วชิ าการ ๑ คน
๓ คน ประธาร ๑ คน
นกั วิชาการ ๒ คน
คน เจ้าของกิจการ คน

๒๗ วันท่ี ๐๔ สิงหาคม ๒๕๖๔ ๔ คน รองคณะบดี ๑ คนอาจารย์/
เวลา ๐๘.๐๐ - ๑๖.๓๐ น. ๓ คน เจา้ หนา้ ท่ี ๓ คน
๗๐ คน
ผู้บรหิ าร ๔ คน
๔๐ คน ผู้จัดการ/หัวหนา้ ฝ่าย ๒ คน
ผู้ปฏบิ ัติงาน ๖๔ คน
ผบู้ ริหาร ๑๑ คน
ผูจ้ ัดการ/หวั หน้าฝ่าย ๓ คน
ผู้ปฏบิ ัติงาน ๒๖ คน

โครงการจดั ทาแผนสง่ิ แวดลอ้ มในพน้ื ที่เขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๒ - ๑๑๘

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม รายงานฉบบั สุดทา้ ย

ลาดบั ที่ การประชมุ ภาคสว่ นที่เข้ารว่ มประชมุ จานวน
ภาครัฐวสิ าหกจิ ตาแหน่ง
องคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ เข้ารว่ ม
๑ คน ผชู้ ว่ ยผจู้ ัดการ ๑ คน
กลุ่มภาคเกษตรกรรม ๔๗ คน ผู้บริหาร ๕ คน
กลมุ่ ภาคอุตสาหกรรม/เอกชน ข้าราชการการเมอื ง ๑๐ คน
คน หวั หน้าฝ่าย ๒ คน
กลุม่ ภาคประชาสังคม / ๑๘ คน ผปู้ ฏบิ ัติงาน ๓๐ คน
ผ้ปู ระกอบการ เกษตรกร คน
กลุ่มภาคทรพั ยากรธรรมชาติ ๓ คน ผู้บรหิ าร ๔ คน
(ทสม.) ๒ คน ผจู้ ัดการ ๘ คน
กล่มุ ภาคการศกึ ษา นักวิชาการ ๖ คน
อื่น ๆ ประธาน ๒ คน
หนว่ ยงานราชการส่วนกลาง สมาชิก ๑ คน
ประธาน ๒ คน
หนว่ ยงานราชการส่วนจงั หวดั
๒๘ วันท่ี ๐๕ สิงหาคม ๒๕๖๔ ๒ คน อาจารย์/เจา้ หน้าที่ ๒ คน
เวลา ๐๘.๐๐ - ๑๖.๓๐ น. ภาครัฐวิสาหกจิ ๔ คน
องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ๗๔ คน ผูบ้ รหิ าร ๑๐ คน

กลุ่มภาคอุตสาหกรรม/เอกชน ผู้จดั การ ๒ คน
ผู้ปฏิบตั งิ าน ๖๒ คน
กลุ่มภาคประชาสังคม / ๔๒ คน ผบู้ ริหาร ๗ คน
ผู้ประกอบการ หวั หน้าฝ่าย ๒ คน
กลุม่ ภาคการศกึ ษา ผปู้ ฏิบัตงิ าน ๓๓ คน
๒ คน ผู้อานวยการ/ผู้ชว่ ย ๒ คน
อน่ื ๆ ๓๐ คน ผ้บู รหิ าร ๕ คน
ข้าราชการการเมือง ๑ คน
หัวหน้าฝ่าย ๓ คน
ผปู้ ฏิบตั งิ าน ๒๑ คน
๑๗ คน ผบู้ รหิ าร ๒ คน
ผู้จดั การ ๒ คน
นกั วชิ าการ ๑๓ คน
๑ คน นักวิชาการ ๑ คน

๑๑ คน ผชู้ ว่ ยอธิการ ๑ คน
คณะบดี ๑ คน
ผอ.สถาบัน/หัวหน้าภาค ๒คน
อาจารย์/เจ้าหนา้ ที่ ๗ คน

๒ คน

โครงการจัดทาแผนสง่ิ แวดลอ้ มในพ้นื ที่เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๒ - ๑๑๙

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม รายงานฉบับสุดทา้ ย

ลาดบั ที่ การประชมุ ภาคสว่ นท่ีเข้ารว่ มประชุม จานวน
หน่วยงานราชการส่วนกลาง ตาแหนง่
๒๙ วนั ท่ี ๐๖ สงิ หาคม ๒๕๖๔ หน่วยงานราชการส่วนจงั หวดั เขา้ รว่ ม
เวลา ๐๘.๐๐ - ๑๖.๓๐ น. ภาครัฐวิสาหกิจ ๕๘ คน ผู้บริหาร ๖ คน
องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ๑๕ คน ผปู้ ฏิบัตงิ าน ๕๒ คน
๕ คน ผู้บรหิ าร ๗ คน
กลุ่มภาคอุตสาหกรรม/เอกชน ๔๒ คน ผปู้ ฏิบัติงาน ๘ คน
ผปู้ ฏบิ ัตงิ าน ๕ คน
กลุ่มภาคประชาสงั คม / ๔ คน ผบู้ ริหาร ๑๙ คน
ผปู้ ระกอบการ ข้าราชการการเมือง ๕ คน
กลมุ่ ภาคทรัพยากรธรรมชาติ ๒ คน หวั หน้าฝ่าย ๔ คน
(ทสม.) ผปู้ ฏิบัติงาน ๑๔ คน
กลุ่มภาคการศกึ ษา ผู้บริหาร ๑ คน
อืน่ ๆ หัวหน้างาน ๑ คน
หนว่ ยงานราชการส่วนกลาง นักวชิ าการ ๒ คน
นักวิชาการ ๒ คน
หนว่ ยงานราชการสว่ นจงั หวัด
๑ คน สมาชิก ๑ คน
ภาครัฐวิสาหกิจ
๓๐ วนั ที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๖๔ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ๒ คน อธกิ าร ๑ คน
เวลา ๐๘.๓๐ - ๑๖.๓๐ น. อาจารย์/เจ้าหน้าท่ี ๑ คน
กลุ่มภาคอุตสาหกรรม/เอกชน
๑ คน
กลุ่มภาคประชาสังคม ๓๗ คน ผู้บรหิ าร ๕ คน
กลุ่มภาคทรพั ยากรธรรมชาติ
ผู้จัดการ/หวั หน้าฝ่าย ๑ คน
ผู้ปฏิบัติงาน ๓๑ คน
๖๘ คน ผบู้ ริหาร ๑๔ คน
หัวหน้าฝ่าย ๑ คน
ผปู้ ฏิบตั ิงาน ๕๓ คน
๔ คน ผู้จดั การ/หัวหน้า ๓ คน
ผู้ปฏิบัตงิ าน ๑ คน
๖๙ คน ผู้บริหาร ๑๘ คน
ข้าราชการการเมือง ๑๐ คน
หวั หน้าฝา่ ย ๔ คน
ผปู้ ฏิบัติงาน ๓๗ คน
๑๑ คน ผบู้ ริหาร ๓ คน
ผู้จดั การ ๒ คน
นกั วิชาการ ๖ คน
๔ คน
๒ คน ประธาน ๒ คน

โครงการจดั ทาแผนสง่ิ แวดลอ้ มในพื้นท่เี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๒ - ๑๒๐

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสุดทา้ ย

ลาดับท่ี การประชุม ภาคสว่ นท่เี ข้ารว่ มประชมุ จานวน
ตาแหน่ง
เข้ารว่ ม
สมาชกิ ๑ คน
(ทสม.)

กลมุ่ ภาคการศึกษา ๑๐ คน อธกิ าร ๑ คน
ผชู้ ่วยคณะบดี ๑ คน
๓๑ วันท่ี ๑๖ สงิ หาคม ๒๕๖๔ อ่ืน ๆ ๔ คน ผอ.สถาบัน/หวั หน้าภาค ๒ คน
เวลา ๐๘.๓๐ - ๑๖.๓๐ น. หน่วยงานราชการส่วนกลาง ๑๕๐ คน อาจารย์/เจ้าหน้าท่ี ๖ คน

หนว่ ยงานราชการส่วนจังหวดั ๒๙ คน ผบู้ รหิ าร ๑๔ คน
ผจู้ ดั การ/หัวหน้าฝ่าย ๘ คน
ภาครฐั วสิ าหกจิ ๒๗ คน ผู้ปฏบิ ตั งิ าน ๑๒๘ คน
ผูบ้ ริหาร ๕ คน
องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ ๗ คน หัวหน้าฝ่าย ๑ คน
๑ คน ผู้ปฏบิ ัติงาน ๒๓ คน
กลุ่มภาคเกษตรกรรม ๑๒ คน ผอู้ านวยการ/ผ้ชู ่วย ๗ คน
กลุม่ ภาคอุตสาหกรรม/เอกชน ผู้จัดการ/หัวหน้า ๒ คน
๔ คน ผปู้ ฏิบตั งิ าน ๑๘ คน
กลุ่มภาคการศกึ ษา ๖ คน ข้าราชการการเมอื ง ๒ คน
อน่ื ๆ ผู้ปฏิบัตงิ าน ๕ คน
ประธาน ๑ คน
หมายเหต:ุ อน่ื ๆ คือ ไม่ทราบตาแหนง่ /ภาคสว่ น ผบู้ ริหาร ๓ คน
ผจู้ ดั การ ๑ คน
นักวิชาการ ๘ คน
อาจารย์/เจา้ หน้าท่ี ๔ คน

โครงการจัดทาแผนส่งิ แวดล้อมในพ้นื ทีเ่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๒ - ๑๒๑

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม รายงานฉบับสดุ ท้าย

รายละเอียดสรุปรายงานการประชุมในแต่ละคร้ังปรากฏในรายงานผลการดาเนินงานการจัดประชุม
ทง้ั นส้ี ามารถสรปุ ประเด็นความคดิ เห็นของแตล่ ะกลุ่มไดด้ ังตารางท่ี ๒ - ๑๐

ตารางท่ี ๒ - ๑๐ สรปุ รายงานการประชุมในแต่ละครงั้ ปรากฏในรายงานผลการดาเนนิ งานการจดั ประชุม

ประเดน็ ขอ้ คดิ เห็นท่ี กลมุ่ หน่วยงานราชการ กลุ่มภาค กลุ่มภาค กล่มุ ภาค กลมุ่ ภาค กลมุ่ ภาค กลมุ่ ภาค
ไดร้ ับฟงั จากกลุม่ ผูม้ ี สว่ นกลาง ทอ้ งถิน่ อุตสาหกรรม เกษตรกรรม ประชา บริการและ ทรพั ยากร การศกึ ษา
สงั คม ทอ่ งเทีย่ ว ธรรมชาติ
ส่วนไดเ้ สยี  (ทสม.) 

ทรพั ยากรนา้      
ทรัพยากรปา่ ไม้      
ความหลากหลาย      
ทางชวี ภาพ   
การใชป้ ระโยชน์    
ทีด่ นิ /ผงั เมือง    
ภมู นิ เิ วศ     
การเกษตร    
พน้ื ทสี่ เี ขียว     x
ทรพั ยากรทางทะเล    
และชายฝ่ัง/การกัด    
เซาะชายฝงั่     
คุณภาพน้าผิวดิน    
การจัดการน้าเสีย   
ชุมชน   
การจัดการน้าเสีย  
จากภาค  
อุตสาหกรรม  
คณุ ภาพนา้ ทะเล   
และชายฝัง่
คุณภาพอากาศ  
อบุ ัตภิ ยั
ขยะมูลฝอย 
มูลฝอยตดิ เชื้อ
กากของเสยี x
อุตสาหกรรม 
ขยะทะเล
การมสี ่วนรว่ ม/ 
องคก์ รเครอื ข่ายใน 
การจัดการ
ส่ิงแวดล้อม/มหา
วิชชาลยั
กองทนุ ส่งิ แวดลอ้ ม
การจัดทาฐานขอ้ มูล
ระบบการเชือ่ มโยง/
บรู ณาการข้อมูล

โครงการจดั ทาแผนสงิ่ แวดลอ้ มในพืน้ ทเ่ี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๒ - ๑๒๒

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม รายงานฉบบั สุดทา้ ย

๒.๖.๑ ขอ้ คิดเหนจากหนว่ ยงานรฐั สว่ นกลางและท้องถิ่น
ข้อคิดเหน็ จากกลมุ่ ผมู้ ีสว่ นได้เสยี ภาครัฐส่วนกลางและท้องถน่ิ สามารถสรุปได้ ดังน้ี
๑) ควรเตรียมความพร้อมด้านทรัพยากรน้าอุปโภค-บริโภค ท่ีมีความต้องการเพิ่มมากข้ึนอย่างต่อเนื่อง
ในขณะท่ีปริมาณต้นทุนน้าในพื้นที่น้อยกว่าปริมาณความต้องการใช้น้า ซึ่งต้องพึงพาปริมาณน้าจากนอกพ้ืนที่
เพ่ือตอบสนองความต้องการใช้น้าในพ้ืนที่ เห็นด้วยกับโครงการเพ่ิมความหลากหลายในพื้นท่ีป่า เนื่องจากการ
สร้างป่าหลายชั้นจะเป็นการสร้างให้เกิดพื้นที่ต้นน้าในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกได้ และแนวทาง
ดังกล่าวมีพ้ืนที่ที่ดาเนินการแล้วประสบความสาเร็จ เช่น จังหวัดตราดมีการเพิ่มพื้นท่ีป่า แต่มีข้อสังเกตว่า ใน
การมองพื้นทเ่ี พอื่ เพ่มิ พน้ื ทส่ี ีเขียว ควรมองภาพรวมในการสร้างพื้นที่สเี ขียว เช่น ระบบวนเกษตร การเพมิ่ พน้ื ท่ี
ปา่ ชายเลน การเพ่ิมพื้นทีป่ า่ ต้นน้า ควรมองในภาพรวมของพนื้ ทใ่ี ห้ครบถ้วน
๒) การแก้ไขปัญหาคุณภาพน้าผิวดิน น้าทะเล คุณภาพอากาศ ขยะมูลฝอย ขยะติดเช้ือ ขยะ
อุตสาหกรรม ขยะทะเล ควรมองในภาพรวมซึ่งต้องการแผนการบริหารจัดการที่เป็นองค์รวม โดยการมีแผน
แมบ่ ทในแตล่ ะประเด็นท่ีครอบคลุมพ้นื ที่ต้ังแต่ตน้ น้าถงึ ทะเล
๓) ควรส่งเสรมิ การมีสว่ นร่วมจากภาคเอกชน ประชาชน ให้มบี ทบาทในการดูแลรกั ษา เฝ้าระวัง และใช้
ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พร้อมท้ังผลักดันให้ใช้หลักการผู้ก่อเป็นผู้จ่าย (Polluter Pays
Principles: PPP) ในทางปฏิบัตอิ ยา่ งจรงิ จัง
๔) ผลักดันให้มกี ารพัฒนากระบวนการนากลบั มาใชใ้ หม่ ในกระบวนการผลิตทท่ี าให้เกิดการลดของเสีย
ทีจ่ ะเกิดข้นึ ในกระบวนการผลิตให้นอ้ ยท่ีสดุ
๕) ส่งเสริมให้มีระบบการเช่ือมโยงข้อมูลในพ้ืนที่ทั้งข้อมูลด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม และ
วถิ ีชวี ิตชุมชนท่ีเปน็ เอกลักษณ์ของพืน้ ที่ เช่น การเพาะเลย้ี งสัตว์น้า การทานาบริเวณ ๓ นา้ และสวนผลไม้ เป็น
ต้น ในลักษณะของ Big Data ท่ีเป็นการบูรณาการในการบันทึก จัดเก็บ และใช้ข้อมูล ร่วมกันของภาครัฐ
เอกชน และประชาชน
๖) สง่ เสริมการศกึ ษา พัฒนาและจดั ทาข้อมูลในเชิงคุณค่า และมูลค่า ของทรพั ยากรธรรมชาติหรือพื้นที่
สีเขียว เพ่ือสร้างความตระหนักต่อผู้มีส่วนได้เสียในกรณีการพิจารณาตัดสินใจในการพัฒนาโครงการพัฒนาใน
พนื้ ที่
๗) ควรมีการบูรณาการข้อมูลและองค์กรของหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน ต่อการแก้ไข
ปัญหาการกัดเซาะชายฝง่ั
๘) การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ควรมีการบูรณาการร่วมกันกับท้ังภาค
เกษตรกรรม และอุตสาหกรรม ด้วยการพัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยน Carbon credit หรืออาจพัฒนาไปถึง
การแลกเปลี่ยน Water Credit รวมถึง การสง่ เสริมกระบวนการผลติ ทางภาคเกษตรกรรมให้ไดม้ าตรฐานสากล
เช่น FSC (forest standard certification) ในการทาสวนป่า (ยางพารา หรือไม่ไผ่) ท่ีจะทาให้เกษตรกร
ส่งออกผลิตภัณฑ์ไม้ไปสู่ตลาดโลกได้ในราคาที่สูง เป็นการสร้างแรงจูงใจให้เกิดการทาสวนป่าเพื่อเพ่ิมพื้นที่
สีเขยี วอกี รปู แบบหนึง่
๙) ส่งเสริมการจัดทาฐานข้อมูลด้านภูมินิเวศของท้องถ่ิน เพ่ือใช้เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจ
พิจารณาดาเนินโครงการพฒั นาไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง

โครงการจดั ทาแผนสง่ิ แวดล้อมในพนื้ ทีเ่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๒ - ๑๒๓

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสุดท้าย

๑๐) ควรพัฒนากระบวนการส่งเสริมความรู้ด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมของประชาชน จากท่ี
ดาเนินการด้วยวิธีการรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ ไปสู่การส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการวิจัยชุมชน
รวมถึงการส่งเสริมการวจิ ัยและพัฒนาด้านส่งิ แวดล้อม ระบบนเิ วศให้เกดิ ความม่ันคงทางอาหารอย่างย่ังยนื

๑๑) ส่งเสริมการบูรณาการกระบวนการวิจัยมาสู่กระบวนการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอ้ ม

๑๒) ควรพจิ ารณารวมในเรือ่ งการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณะภยั ในแผนส่งิ แวดลอ้ ม
๑๓) ควรมกี ลไกในการขับเคลือ่ นแผนสิ่งแวดล้อม โดยองค์กรท่ีจะเกิดขน้ึ ควรจะเป็นในลักษณะขององค์
กลาง (Third parties) จะทาให้เกิดการขับเคลื่อนได้ดีกว่าองค์กรภาคราชการ พร้อมด้วยการมีกองทุนแบบ
บูรณาการเพื่อการขับเคล่ือนด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ในขณะที่กองทุนที่มีอยู่ควรมีการ
ปรับปรุงกฎระเบียบ กฎเกณฑ์ให้มีภาคเอกชนเข้าไปในระบบคณะกรรมการ มกี ารกาหนดกรอบสัดส่วนการใช้
เงินกองทุนเพ่ือการพัฒนาด้านต่าง ๆ เช่น การเยียวยา การฟ้ืนฟู ดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่งิ แวดลอ้ ม หรือการสนบั สนุนด้านสาธารณูปโภคใหเ้ หมาะสมกับสงิ่ แวดลอ้ ม
๑๔) ควรมีการทบทวนและหาแนวทางส่งเสริม องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ให้มีหน้าที่และบทบาทใน
การดแู ลรักษา ตดิ ตาม เฝ้าระวัง และแก้ไขปญั หาสิ่งแวดล้อมในพ้ืนท่ีได้อยา่ งเต็มประสทิ ธิภาพ
๑๕) ส่งเสริมให้มีการพัฒนาสภาพแวดล้อมด้วยการปรับปรุง ฟื้นฟูสภาพแวดล้อมท้ังในพื้นท่ี
อตุ สาหกรรม เกษตรกรรม และเมือง ให้มีสภาพทีส่ วยงาม เพือ่ ผลักดันให้พืน้ ท่ีเปน็ แหล่งท่องเท่ียวเชงิ นเิ วศของ
แต่ละบริเวณ เช่น แนวคิดจากญี่ปุ่น Factory nice view (Kojo Yakei) โดยให้โรงงานอุตสาหกรรมเปลี่ยน
ภาพลักษณจ์ ากทีท่ ่ปี ล่อยมลพิษกลายเป็นเมืองแห่งการท่องเที่ยวเชิงอุตสาหกรรม
๑๖) ให้ความสาคญั ต่อมาตรการด้านแรงจูงใจ เช่น การยกย่องบุคคล องค์กร หรือสถาบัน ที่การดาเนิน
กิจกรรมส่งเสริมสนับสนุนด้านการดูแล รักษา ฟ้ืนฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยการยกย่อง
อุตสาหกรรมต้นแบบในการรักษาคุณภาพอากาศอย่างต่อเนื่อง มีข้อสังเกตว่าหน่วยงานท่ีมีหน้าท่ีดาเนินการ
ดังกล่าว เช่น กรมโรงงานอุตสาหกรรม มีการออกใบรับรองอุตสาหกรรมสีเขียว (Green industry) และ
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมมีการมอบรางวัล EIA Monitoring Award
สาหรับสถานประกอบการทปี่ ฏิบัติตาม EIA
๒.๖.๒. ขอ้ คิดเหนจากภาคอตุ สาหกรรม
ข้อคิดเหน็ จากกลุ่มผมู้ ีสว่ นไดเ้ สียภาคอุตสาหกรรมสามารถสรปุ ได้ ดังนี้
๑) เห็นด้วยกับแนวคิดในการพัฒนากระบวนการผลิตทีม่ ีการนาน้ากลบั เข้าไปใช้ใหม่ท้ังใช้อปุ โภคและ
ในระบบการผลิต ซงึ่ ปจั จบุ ันหลายบริษทั ได้มกี ารดาเนินการในเรื่องนี้อยู่แล้ว ซึ่งทาใหล้ ดปริมาณความต้องการ
น้าที่จะใช้ในระบบ ในขณะเดียวกัน ทาให้มีน้าเสียท่ีปล่อยออกสู่ส่ิงแวดล้อมในปริมาณที่น้อยลง ข้อสังเกตคือ
บางกิจกรรมอาจพัฒนาไปสู่ zero discharge ได้ แต่ในบางกิจกรรม เช่น อุตสาหกรรมหนัก โรงไฟฟ้า
โรงปิโตรเคมี อาจไม่สามารถไปถึงการเป็น zero discharge ได้ เนื่องจากข้อจากัดในกระบวนการผลิต
ในกรณี การรีไซเคิลน้าจากน้าท้ิงชุมชนใหญ่ ๆ เช่นเมืองพัทยา มีความเป็นไปได้ท่ีจะรีไซเคิลน้าผ่านระบบ RO
แต่ถา้ ภาคเมืองไมม่ นั่ ใจในคุณภาพของน้าทปี่ า่ นการรีไซเคลิ อาจรไี ซเคิลเพอื่ ไปใช้ในภาคอตุ สาหกรรมแทน

โครงการจดั ทาแผนส่ิงแวดลอ้ มในพนื้ ท่ีเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๒ - ๑๒๔

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดทา้ ย

๒) เสนอให้มี คณะกรรมการในการบริหารจัดการน้า ในพ้ืนท่ีภาคตะวันออกโดยเฉพาะ โดยมี
regulator ที่มีบทบาท ตรวจสอบ ดูแลในทุกภาคส่วน

๓) ควรตดิ ตามการบรหิ ารจัดการขยะแบบเป็นระบบ แบ่งที่มาของขยะวา่ เกิดจากกิจกรรมบนฝ่ังหรือบน
เรือ ทาให้เกิดความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่นและกรมเจ้าท่า และให้กรอบอานาจขององค์กร
ปกครองสว่ นท้องถิ่นให้มากขึ้น โดยเฉพาะการขยายขอบเขตการบริหารจดั การขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน
ไปในพ้ืนที่ทะเลด้วย เนื่องจากในบางพ้ืนท่ีอยู่นอกเหนืออานาจในการบริหารจัดการขององค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น ทาให้ไมส่ ามารถเขา้ ไปบริหารจัดการได้ เชน่ ในพ้นื ที่เกาะต่าง ๆ

๔) การเพ่ิมพ้ืนที่สีเขียวเก่ียวข้องกับการปลูกป่าเศรษฐกิจ ซ่ึงสัมพันธ์กับแผนพัฒนาเศรษฐกิจทางด้าน
การเกษตร ควรมีการบูรณาการร่วมกับสานักงานเศรษฐกิจการเกษตร ในขณะทางสภาอุตสาหกรรมจังหวัด
มีมุมมองในเร่ืองผังเมือง การพัฒนาการเกษตร การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร ในลักษณะการให้พ้ืนท่ีใน
การพัฒนาการเกษตรในรูปแบบตา่ ง ๆ

๕) สนบั สนนุ การทาคารบ์ อนเครดติ ใหก้ บั ภาคการเกษตร โดยพื้นท่ีสีเขียวตามผังเมอื งควรมกี ารคงสภาพ
ไว้อย่างจริงจัง ปัจจุบันมีการจัดทาโครงการส่งเสริมอุตสาหกรรมเกษตร (หน่ึงนิคม หน่ึงเกษตรกรรม) โดยเน้น
การปลูกพืชท่ีเหมาะสมกับทรัพยากรในพ้ืนท่ี มีการนาน้าท่ีบาบัดจากโรงงานอุตสาหกรรมนากลับไปใช้รดต้น
พืชเพราะมีสารอาหารท่ีดีสาหรับพืช ศึกษาจุลินทรีย์ที่มีปริมาณมีเทนสูง นอกจากนี้ ยังดาเนินโครงการนา
จาระบีมาทาน้ามันหล่อล่ืน เนื่องจาก จ. ชลบุรี มียางพารา และปาล์มน้ามันมาก และมีการเพิ่มการส่งออกถึง
ร้อยละ ๑๑๔ จึงเปน็ แนวโน้มที่ดขี องการใช้ทรัพยากรเหลา่ นใ้ี นจงั หวัดชลบุรี

๖) การกาจัดกากอุตสาหกรรม ไม่ควรใหม้ กี ารขนยา้ ยไปกาจัดภายนอก เพราะอาจทาใหเ้ กิดการลกั ลอบทง้ิ ได้
๗) ปัจจุบันมีการนาแนวคิด BCG Model มาขับเคล่ือนและผลักดันแบบบูรณาการเพ่ือเพิ่มผลผลิตทาง
ชวี ภาพของภาคการเกษตร (ดาเนนิ การโดยสภาอุตสาหกรรม) แตใ่ นภาคอ่ืน ๆ ยังไมค่ ่อยมีการนาไปดาเนินการ
และนอกจากน้ี ในช่วงสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา่ 2019 ทาให้ผลผลติ ลดลงระบบ
เศรษฐกจิ ไม่เปน็ ไปตามเปา้ หมาย หากนาแนวคิดดังกลา่ วมาใช้ก็จะสามารถนาไปชว่ ยแกไ้ ขปัญหาได้ และขอให้
มีกลไกของภาครัฐช่วยเหลือให้ภาคส่วนต่าง ๆ เข้าถึงและสามารถนาไปใชไ้ ด้
๘) แผนสิ่งแวดล้อมในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ควรกาหนดวิสัยทัศน์ที่ให้ความสาคัญกับ
อุตสาหกรรมที่ได้มาตรฐานและร่วมมือกับภาคส่วนต่างๆ เป็นหลัก เช่น สภาอุตสาหกรรมและสานักงาน
ส่งเสริมการลงทุนร่วมโครงการเขตอุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร โดยให้สิทธิพิเศษด้านการชดเชยภาษีให้แก่
หน่วยงานที่เข้าร่วม นอกจากนี้งานวิจัยด้านมาตรฐานการจัดการอาหาร การแปรรูปอาหารท่ีมีมาตรฐาน
(มาตรฐานทางการเกษตรควบคู่ไปกับอุตสาหกรรม) เช่น งานวิจัยเร่ืองชานอ้อยของประเทศญ่ี ปุ่นได้มีการ
นามาใช้ในกระบวนการผลติ bio ethanol เป็นตน้
๙) แผนสิ่งแวดลอ้ มในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ควรสร้างกลไกการขับเคล่ือน โดยเสนอแนะ
ให้ สานักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออกแต่งต้ังภาคสว่ นทช่ี ่วยดแู ลด้านส่ิงแวดลอ้ ม
ในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก เพื่อให้แผนส่ิงแวดล้อมได้รับการผลักดันจากหน่วยงาน หรือใช้การ
สร้างกองทุนสง่ิ แวดล้อมเพื่อสนับสนุนการบริหารการจดั การดา้ นสิ่งแวดล้อมเพ่ือสามารถนาไปใช้ได้จรงิ ในพนื้ ท่ี
โดยกองทุนจะต้องมีการสนับสนุนให้ดาเนินการใน ๒ ประเด็น คือ ๑) ใครเป็นผู้ก่อมลพิษจะต้องเป็น

โครงการจัดทาแผนสงิ่ แวดล้อมในพ้ืนทเี่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๒ - ๑๒๕

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสุดท้าย

ผรู้ ับผิดชอบ และ ๒) ความรับผิดชอบต่อมลพิษที่เกิดจากการกระทาของเรา โดยสามารถนาเงินสนับสนุนจาก
กองทุนไปใช้ในการบรรเทาผลกระทบจากภาคเกษตรกรในพื้นที่ และหนว่ ยงานสภาอุตสาหกรรมยนิ ดีที่จะชว่ ย
ผลักดันให้กองทุนดังกล่าวเกิดข้ึน เช่น การนาคนพิการมาทางานจะต้องจ่ายเงินเข้ากองทุนคนพิการ ปัญหาท่ี
เกิดข้ึนคือ มีกองทุน แต่คนพิการไม่มีงานทา และไม่สามารถใช้เงินในส่วนนี้ได้ ดังน้ัน ผู้ท่ีมีส่วนได้ส่วนเสียต้อง
มาคุยกนั เพื่อสร้างแนวทางในการดาเนนิ งานให้ชดั เจนขน้ึ

๑๐) ควรมีองค์กรจัดการความรู้ต่าง ๆ ในท้องถิ่น ประเทศไทยไม่มีการจดทะเบียนองค์ความรู้ เช่น
ประเทศญี่ปุ่นมาวิจัยในประเทศไทยมีการให้ทุนการศึกษาเพ่ือทาวิจัย และให้ทุนไปทางานวิจัยท่ีญ่ีปุ่นแล้วเอา
ข้อมูลของประเทศไปใช้ ทาให้เกิดการเสียเปรียบ นอกจากนี้ การทางานของกระทรวงอุตสาหกรรม ท่ีมีการ
จัดต้ังหมู่บ้านนวัตกรรมช่วยต่อยอดและพัฒนาองค์ความรู้ต่าง ๆ ท่ีชาวบ้านคิดค้นข้ึน เช่น พ้ืนท่ีฉะเชิงเทรา
และมีการนาเทคโนโลยีเข้าไปใช้ในการทาประมงในพื้นที่ ควรส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรมการเกษตรท่ีสอดคล้อง
กับภูมินิเวศ การใช้แรงจูงใจทางเศรษฐศาสตร์ในการเพ่ิมพื้นที่สีเขียว การปลูกต้นกระท่อมในสวนยางสามารถ
ทาได้ แต่ต้องศกึ ษาวา่ พนื้ ทไ่ี หนสามารถปลูกไดบ้ ้าง

๑๑) หน่วยงานกลางในการสนับสนุนข้อมูล (Data Center) หน่วยงานมีการดาเนินการ มีความพร้อม
ด้านข้อมลู แตย่ ังไม่มกี ารทาขอ้ มูลภาครัฐรว่ มกนั ระหวา่ งหนว่ ยงาน

๑๒) สนับสนุนให้มีการจัดทาแผนปฏิบัติการ (Action Plan) ให้สอดคล้องกับแผนส่ิงแวดล้อมในพ้ืนที่
เขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก

๒.๖.๓ ข้อคดิ เหนจากภาคเกษตรกรรม
ขอ้ คิดเหน็ จากกลมุ่ ผูม้ สี ว่ นไดเ้ สียภาคเกษตรกรรมสามารถสรุปได้ ดังน้ี
๑) ควรมีการวิเคราะห์แนวทางการแก้ไขปัญหาปริมาณน้าไม่พอใช้ในการทาเกษตร โดยเฉพาะพื้นท่ี
เกษตรกรรมนอกเขตชลประทานที่ต้องอาศัยน้าฝนจากระบบลาห้วยในพ้ืนท่ี ในขณะท่ีระบบอ่างเก็บน้าส่งน้า
ใหภ้ าคอุตสาหกรรมในสดั สว่ นท่มี ากกวา่ ภาคอ่ืน ๆ
๒) ควรมีการให้ความรู้ในการจัดทาระบบบาบัดในครัวเรื่อนของชุมชนเพ่ือช่วยลดปัญหาการปล่อยน้า
เสียออกสู่สภาพแวดล้อม หรือการนาโครงการต้นแบบมาประยุกต์ใช้ เช่น โครงการแหลมผักเบี้ย มาประยุกต์
โดยทาเป็นโครงการย่อย ๆ ระดับชมุ ชน
๓) ควรมีการเผยแพร่ข้อมูลสารเคมีอันตรายท่ีกักเก็บตามโรงงานท้องถิ่น พร้อมคู่มือการระงับอุบัติภัย
เบ้ืองต้นจากวัตถุอันตรายอย่างง่ายที่ให้ชุมชนสามารถใช้ได้ทั้งแบบออนไลน์และเอกสารเผยแพร่ ก็จะเป็น
ประโยชน์ดา้ นความปลอดภยั จากสารเคมใี นระดบั ทอ้ งถ่นิ และได้เครอื ข่ายในระดับประชาชน
๓) ควรมรี ะบบบูรณาการข้อมูลรว่ มกัน และสนับสนนุ การจัดทาฐานข้อมลู องค์ความรขู้ องปราชญ์ชุมชน
ในพื้นท่ี และสนับสนุนให้เกิดแนวทางการบริหารจัดการบนฐานของชุมชน ผลักดันให้เกิดการนาองค์ความรู้
ของชุมชนมาจัดการบริหารจัดการทรัพยากร โดยประยุกต์การจัดการความรู้ของคนในสมัยก่อนท่ีสามารถ
พ่ึงพาตัวเองได้ดี และนามาใช้เพื่อจัดการทรัพยากรได้อย่างเหมาะสม เพราะภูมิปัญญาสามารถแก้ไขปัญหา
ในขณะเกดิ เหตุวกิ ฤตไิ ด้ รวมถงึ การพฒั นาต่อยอดภมู ิปญั ญาสู่เยาวชนหรือคนร่นุ ใหม่
๔) สนับสนุนให้เกิดการจัดตั้งกองทุนในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ไม่ใช่กองทุนท่ีมีอยู่เดิม)
เพ่ือให้เกิดการบริหารจัดการทรัพยากรที่มีอยู่ในพื้นท่ีให้เหมาะสม และแก้ไขปัญหาการพัฒนาพ้ืนที่ไม่ท่ัวถึง

โครงการจดั ทาแผนส่ิงแวดลอ้ มในพื้นทเ่ี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๒ - ๑๒๖

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ท้าย

และคนในพื้นที่บางส่วนไม่ได้รับผลประโยชน์ เช่น จังหวัดฉะเชิงเทรา คนในพ้ืนที่ต้องเสียสละมากแต่ไม่ได้รับ
ประโยชน์ เช่น ต้องรักษาพื้นที่ป่าต้นน้า (พื้นที่สีเขียว) แต่ไม่ได้รับประโยชน์จากอุตสาหกรรม (พ้ืนที่สีม่วง)
รวมถึงการขอพื้นที่สร้างอ่างเก็บน้าเพ่ือส่งไปให้พ้ืนที่อุตสาหกรรม ดังน้ัน ควรมีงบประมาณจากกองทุนเพื่อ
ชดเชยให้ประชาชนในพ้ืนท่ที ่ีเสียผลประโยชน์ และต้องออกแบบกองทนุ ใหม่เพอ่ื ใหส้ ามารถนาทุนท่ีมีไปใชป้ รับ
พื้นท่ชี ุมชนให้ได้

๒.๖.๔ ขอ้ คิดเหนจากภาคประชาสงั คม
ข้อคิดเหน็ จากกลุ่มผู้มสี ว่ นไดเ้ สียภาคประชาสงั คมสามารถสรปุ ได้ ดงั นี้
๑) ควรใหค้ วามสาคญั ภาคประชาสังคม หรือ NGO เพราะเป็นกลมุ่ ท่ีดาเนินการในภาพรวมไม่ได้แยกทา
ในด้านใดดา้ นหนึง่ เน่อื งจากทุกด้านล้วนเกย่ี วขอ้ งกบั วถิ ีชวี ติ ของคน
๒) เน่ืองจากในอนาคตจะมีปัญหาสถานการณ์น้า ควรแก้ไขปัญหาการบริหารจัดการน้าท่ีส่งผลกระทบ
ต่อกิจกรรมและการดาเนินชีวิตของคนในพ้ืนท่ี ซ่ึงควรผลักดันให้ทาเกษตรกรรมยั่งยืนเพ่ือไม่ไปเบียดเบียน
ทรัพยากรทม่ี ีอยู่อยา่ งจากัด ถงึ แม้ประชากรจะเพม่ิ ขน้ึ การใชท้ รพั ยากรจะไม่ต้องเบียดเบียนทรัพยากรเพิ่มขึน้
ปัญหาในพื้นที่ตอนนีค้ ือ หน้าแล้งน้าไม่พอใช้ มีปัญหานา้ ประปา มปี ัญหาน้าใช้ในการเกษตรทั้งการปลูก
ข้าว ทาประมง เลี้ยงปลาเล้ียงกุ้ง และมีปัญหาการแย่งน้า ซ่ึงเกิดขึ้นท้ังระหว่างเกษตรกรกับเกษตรกร
เกษตรกรกับชุมชนเมือง และเกษตรกรกับอุตสาหกรรม ซึ่งเกษตรกรมีความเสียเปรียบอย่างหนักเพราะการ
จัดสรรน้าของหน่วยงานในพ้นื ทเ่ี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออกจะมุ่งเน้นไปท่รี ะบบท่ีเกี่ยวข้องกบั อตุ สาหกรรม
และเมืองใหญ่ ๆ แต่เกษตรกรไม่ได้รับการจัดสรรน้า โดยเฉพาะบริเวณพ้ืนท่ีราบแม่น้าบางปะกง ลุ่มน้าคลอง
หลวง มีปญั หาอยา่ งหนัก สภาพน้าตอนนแี้ ล้ง เปน็ สนิม มคี วามเปน็ กรดสูง
ในการสร้างอ่างเก็บน้าในพ้ืนทโ่ี ดยรอบป่ารอยตอ่ ๕ จังหวัด เป็นการจดั การท่ี ไม่ได้ใช้ทรัพยากรท่ีมีเป็น
ตัวต้ัง แต่ใช้ความต้องการของสิ่งท่ีจะเกิดขึ้นใหม่เป็นตัวต้ัง กล่าวคือเป็นการหาทางเพิ่มทรัพยากรเพื่อ
ตอบสนองให้กับพ้ืนท่ีดังกล่าว แต่ไม่ได้คานึงถึงผลเสียจากการเพ่ิมอ่างเก็บน้าว่ามีการเบียดเบียนทรัพยากร
อืน่ ๆ ไปมากนอ้ ยเพียงใด
๓) ป่าชุมชนมีท้ังของหน่วยงานและภาคประชาสังคม แผนสิ่งแวดล้อมของพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาค
ตะวันออกควรต้องมาสนับสนุนในส่วนน้ีด้วย เพื่อให้เกิดป่าชุมชนอย่างกระจัดกระจาย และผลักดันให้เกิด
ประโยชน์ต่อคนในพ้ืนท่ี เกิดวิธีคิดการใช้ประโยชน์จากป่า ถ้าพิจารณาจากสถานการณ์ในปัจจุบัน ประชาชน
ความมั่นคงในท่ีดินน้อยโดยเฉพาะชาวบ้าน ชุมชน บางส่วนไม่มีท่ีดิน ดังนั้นป่าชุมชนจะเป็นความม่ันคงทาง
อาหารของคนในชุมชนได้ จึงเสนอใหช้ ่วยกนั หาพนื้ ท่ปี ่าชมุ ชนทย่ี งั มอี ยูแ่ ละยังไมข่ ึน้ ทะเบยี นใหเ้ พิ่มขึน้
๔) ควรนาหลักการผู้ก่อมลพิษเป็นผู้จ่ายมาใช้ เนื่องจากแนวโน้มการใช้ทรัพยากรในอนาคตจะเพ่ิมขึ้น
เรื่อย ๆ ดังน้ันการเน้นให้เกิดเกษตรกรรมยั่งยืนในพ้ืนที่ต้องมีการสนับสนุนให้เกิดข้ึน โดยผู้ท่ีรักษาระบบนิเวศ
ป่าต้นน้าควรได้ผลตอบแทนจากผู้ก่อมลพิษ หรือพัฒนากลไกทางเศรษฐศาสตร์มาใช้เป็นแรงจูงใจให้มีการทา
เกษตรกรรรมยั่งยนื เพ่ิมข้นึ
๕) การจดั ทาแผนส่ิงแวดล้อมระยะท่ี ๒ ควรเนน้ และใหค้ วามสาคัญกับกระบวนการมีส่วนร่วมในพืน้ ท่ี
๖) การจัดการนา้ เสียในชุมชน สว่ นใหญเ่ ปน็ น้าเสยี ที่มาจากครัวเรอื น ดังนั้น ควรเน้นการบรหิ ารจัดการ
นา้ เสียทม่ี าจากต้นทาง

โครงการจดั ทาแผนสิ่งแวดลอ้ มในพ้นื ท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๒ - ๑๒๗

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม รายงานฉบบั สดุ ท้าย

๗) การพัฒนาพื้นท่ีในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกเน้นในเรื่องของการ trade off กล่าวคือการเสีย
ส่ิงหนึ่งไปเพื่อให้ได้ส่ิงหน่ึงมา แต่ ณ ปัจจุบันน้ีควรเปลี่ยนแนวคิดใหม่ โดยมองว่าทุกภาคส่วนไม่ควรมีใครต้อง
ประสบปัญหา อาจต้องหันมาพจิ ารณาลดการพัฒนาในบางด้านเพื่อให้สอดคล้องกบั ความต้องการของทุกภาคส่วน

๘) ปัญหาการลักลอบทิ้งกากอุตสาหกรรม อ่างเก็บน้าปนเป้ือนไปด้วยโลหะหนักและสารพิษจากนิคม
อุตสาหกรรมที่อยู่ตอนบนของอ่างเก็บน้าแหลมเขา อ่างเก็บน้าลุ่มน้าโจน ซ่ึงอยู่ในสภาพใช้การไม่ได้และเป็น
พิษกับชุมชน ล่าสุดมีการใช้งบส่วนกลางเพ่ือนากากของเสียออกจากพื้นท่ีแหล่งน้า แต่ ยังกาจัดไม่หมด
ณ ปัจจุบนั กย็ ังมีการรว่ั ไหลของสารเคมอี ันตรายลงไปในแหล่งน้าอย่างตอ่ เนอ่ื ง พ้ืนทีจ่ ังหวัดฉะเชิงเทราประสบ
ปัญหาการต้ังโรงงานกาจัดการอุตสาหกรรมอยู่ในบริเวณพ้ืนที่ท่ีเป็นชุมชนเกษตรกรรม โดยมีการลักลอบทิ้ง
สารเคมีอันตรายและกากอุตสาหกรรม จึงต้องการเสนอให้มีการหาแนวทางท่ีจะช่วยให้คนในพื้นที่ดาเนินชีวิต
ไดอ้ ย่างปกติ

๙) บริเวณพ้ืนท่ีราบบางปะกงได้รับอิทธิพลจากการข้ึนลงของน้าทะเล สมัยก่อนเป็นพื้นที่เรียกว่าพ้ืนท่ี
๓ น้า ปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน โดยการกันเขตของชลประทานแยกพื้นที่น้าจืดกับ
น้าเค็มออกจากกัน ทาให้ปริมาณความต้องการน้าจืดมากข้ึน ส่งผลกระทบต่อป่าชายเลน ความอุดมสมบูรณ์
ซึ่งกลไกของแม่น้าบางปะกง จะมีการข้ึนลงของน้าซึ่งเป็นกลไกของความอุดมสมบูรณ์ การกั้นพื้นที่น้าเค็ม -
พื้นที่น้าจืด เพ่ือให้เกิดพื้นท่ีน้าจืดมากข้ึน ส่งผลต่อระบบนิเวศโดยตรง สิ่งมีชีวิตในน้าลดลง พื้นที่น้าจืด
กลายเป็นพ้ืนที่ไร้ชีวิต พื้นที่น้าเค็มยังมีอิทธพิ ลน้าขึ้นน้าลงจึงยังคงมีชีวิตชีวา การพัฒนาชลประทานดงั กล่าวน้ี
เป็นประเด็นท่ีทาให้มีปัญหาคุณภาพน้าในปัจจุบัน เนื่องจากคนในพื้นท่ีไม่ได้ต้องการน้าจืดมากขนาดนั้น
น้าเค็มหรือนา้ กร่อยก็สามารถใชไ้ ด้

๑๐) ควรมีการจัดทากองทุน รวมท้ังองค์กรท่ีมีหน้าท่ีในการรวบรวมข้อมูลด้านส่ิงแวดล้อม (ดิน/น้า/
อากาศ) แบบบูรณาการ เช่น มหาวิชชาลัย ที่ส่งเสริมการศึกษาท้ังในระบบและการเรียนรู้ภูมิปัญญาชาวบ้าน
เพือ่ ทจ่ี ะไดม้ ีทุนในการดูแลทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมในพืน้ ท่ี

๑๑) พระราชบัญญัติพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกทาให้ท้องถิ่นมีอานาจน้อยลงเน่ืองจากให้
อานาจกับส่วนกลางมากข้ึน มีข้อเสนอว่าควรให้หน่วยงานท้องถิ่นอนุมัติการจัดต้ังโรงงานในท้องถิ่นของตัวเอง
เพ่ือที่จะสะท้อนปัญหาท่ีเกิดจากโรงงานได้ เนื่องจากเป็นคนในท้องถิ่นเป็นผู้ท่ีต้องรับหรือสัมผัสกับปัญหาท่ี
เกิดขึ้น ส่งเสริมบทบาทของสานักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก เรื่องสิง่ แวดล้อม
เห็นควรจาเป็นต้องเขา้ มาเรยี นรู้ และเป็นเจ้าภาพในการดาเนนิ การจดั การระบบฐานข้อมูล เพอื่ ใหน้ โยบายและ
การดาเนินการเป็นไปอย่างมีทิศทาง

๑๒) ควรมีการปรับวิสัยทัศน์โดยการยกเอาเรื่องของเกษตรขึ้นมาก่อนเรื่องการท่องเที่ยว เนื่องจากเมื่อ
พจิ ารณาจากสถานการณ์ปัจจุบนั มีปัจจัยด้านโรคระบาดทาให้ภาคการท่องเท่ียวซบเซาลงไปแต่ภาคการเกษตร
ยังคงดาเนินต่อไป ดังนั้นอยากให้ยกความสาคัญของด้านการเกษตรขึ้นมามากข้ึน และควรใช้คาว่าเกษตร
ปลอดภัยเพ่ือให้ครอบคลุมท้ังเกษตรท่ีเป็นเคมีและอินทรีย์ เพ่ือให้เกิดความค่อยเป็นค่อยไปในการปรับตัวของ
ภาคการเกษตรไปสู่การใชส้ ารเคมใี ห้น้อยลง

โครงการจดั ทาแผนส่ิงแวดล้อมในพนื้ ท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๒ - ๑๒๘

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สดุ ท้าย

๑๓) ควรมีคณะทางานเพ่ือดาเนินการด้านกลไกการติดตาม โดยมีแพลตฟอร์มท่ีทันสมัย รวดเร็ว และ
ประชาชนสามารถเข้าถึงได้ง่าย และควรมีเวทีสรุปผลงานด้านส่ิงแวดล้อมเป็นระยะ เพ่ือให้ทุกภาคส่วนได้รับรู้
ร่วมกัน

๑๔) จงั หวัดระยองมีพื้นท่ีสองสว่ นทม่ี ีบรบิ ทท่แี ตกต่างกันโดยพืน้ ที่ ๔ อาเภอทางทิศตะวนั ออกเป็นพื้นท่ี
ที่มีเป้าหมายในการพัฒนาด้านการเกษตรและการท่องเท่ียว ส่วนพื้นท่ี ๔ อาเภอฝั่งตะวันตกมีเป้าหมายในการ
พัฒนาไปสู่อุตสาหกรรม ๔.๐ เมืองอัจฉริยะ ซึ่งจะช่วยให้เห็นการแบ่งพ้ืนท่ี (Zoning) เพื่อบริหารจัดการได้
ชัดเจนขึ้น (แนวคดิ ๑ จงั หวดั ๒ ยทุ ธศาสตร)์

๑๕) ทิศทางการทาผงั ภมู ินิเวศควรกระจายไปถึงระดับท้องถ่ิน (ตาบล) เน้นการเริ่มต้นแบบคอ่ ยเป็นคอ่ ย
ไป และเสริมความม่ันคงให้ท้องถิ่น และควรมีนักวิจัยเป็นพี่เลี้ยงในการดาเนินการให้ประชาชนในพ้ืนที่ ซึ่งจะ
เป็นการสร้างพื้นฐานองค์ความรู้ให้แก่ประชาชนมีความเข้าใจในภูมินิเวศของตนเอง สามารถนาเสนอวิถีชีวิต
ความเป็นอยู่ของตนเองให้ภาคส่วนต่าง ๆ ได้ สามารถนาไปใช้ได้หลายด้าน เช่น การท่องเที่ยว การสร้าง
เศรษฐกิจ การจัดการสิ่งแวดล้อม ทาให้แนวคิดดา้ นภูมินเิ วศเข้าไปเปน็ ส่วนหนึ่งของแผนงานต่าง ๆ เช่น ใช้ภูมิ
นเิ วศเพิม่ ประสิทธิภาพการทาวิสาหกจิ ชุมชน ใช้ภูมินเิ วศส่งเสรมิ การสรา้ งภมู ปิ ญั ญาของชุมชน

๑๕) จังหวัดฉะเชิงเทรามีการปลูกพืชเชิงเด่ียวมาก โดยเฉพาะยูคาลิปตัสมีมากที่สุดในสามจังหวัด
ซึ่งเป็นวัตถุดิบในการแปรรูปเป็นกระดาษ โดยพื้นที่ปลูกยูคาหลายแสนไร่มักมีปัญหาเรื่องความช้ืนในอากาศ
ลดลง สง่ ผลใหป้ ริมาณฝนท่คี วรจะมีลดลงไป กระทบตอ่ ปรมิ าณน้าท่จี ะกักเกบ็ ในอ่าง

๑๖) แผนสง่ิ แวดล้อมทีน่ าไปใช้ไดจ้ ริงควรมแี หล่งงบประมาณสนับสนุน เช่น กองทนุ สิง่ แวดลอ้ มสามารถ
ช่วยเหลือในการจัดการขยะภายในโรงงานเพ่ือให้สามารถนาไปปฏิบัติให้เกิดขึ้นจริงได้หรือไม่ แต่ยังพบ
ข้อจากัดในเรื่องข้ันตอนและวิธีการขอรับการสนับสนุนงบประมาณที่ยังมีข้อจากัด ดังน้ัน ควรมีแนวทาง
การแก้ไขให้ขั้นตอนการขอรับการสนับสนุนงบประมาณให้สะดวกมายิ่งขึ้น หรือช่วยในการลดข้ันตอนการ
ขอรับการสนับสนุน

๑๗) การจัดทารายงาน EIA/EHIA มีข้อจากัด คือ ๑) เจา้ ของโครงการจ้างที่ปรึกษาทารายงานการศึกษา
และในการเขียนรายงานที่ปรกึ ษาพยายามดาเนินงานไปตามขั้นตอนเพื่อให้ได้รบั การอนุมัติ ๒) ในข้ันตอนการ
รับฟังความคิดเห็นผู้ที่มีสว่ นได้เสียไม่สามารถเข้าไปมีส่วนร่วมในการแสดงข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะได้อย่าง
แท้จรงิ ดังนัน้ ควรมกี ารปรบั ปรงุ กระบวนการในการจัดทารายงานต้งั แตข่ ั้นต้น

๑๘) ควรสนับสนุนให้เกิดการพัฒนา เทคโนโลยีอยา่ งง่ายเพ่อื สนับสนุนให้เกดิ การพัฒนาต่อยอดเพื่อเพ่ิม
รายได้ของภาคเกษตร และควรสนับสนุนการใช้บรรจุภัณฑ์/วัสดุจากธรรมชาติ เช่น ฟางข้าว และอาเภอ
บางปะกง อยู่ระหวา่ งการศกึ ษาการใช้กาบหมากเป็นบรรจุภณั ฑส์ าหรบั สินคา้ วนเกษตร

๑๙) การแก้ไขปัญหาขยะ ควรมีโครงการเกี่ยวกับศูนย์บริหารจัดการขยะเพ่ิมเติม โดยเฉพาะระบบการ
จัดการขยะติดเชื้อ ขยะอันตราย ประกอบกับการดาเนินการโดยใช้แผนเชิงรุกในการวางแผนการลดขยะ
ตน้ ทาง สร้างพ้ืนทีต่ ้นแบบท่ีดาเนินงานตามมาตรการการลดขยะเพ่ือให้เกิดผลสาเรจ็ และสามารถนาไปต่อยอด
ใช้ในพ้ืนที่อ่ืน และนอกจากนี้ ควรมีการสรา้ งมาตรการแรงจูงใจเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพด้วย ส่งเสริมแนวทางใน
การพฒั นากลไกทางเศรษฐศาสตรส์ ่ิงแวดล้อมในพนื้ ท่ตี ้นแบบ ผ้กู ่อมลพิษเป็นผจู้ ่าย และผู้ชว่ ยพัฒนาผู้รบั เช่น
คนฟนื้ ฟปู า่ คนอนุรกั ษพ์ นั ธส์ุ ัตว์นา้

โครงการจดั ทาแผนส่ิงแวดลอ้ มในพื้นท่เี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๒ - ๑๒๙

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม รายงานฉบบั สุดทา้ ย

๒๐) ควรสนับสนุนให้เกิดโครงการด้านสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ เช่น การพัฒนาพื้นท่ีแหล่งท่องเท่ียวกลาง
พนื้ ท่ีแหล่งน้า บริเวณตาบลคลองด่านและตาบลสองคลอง โดยการทาสะพานเช่ือมให้นักท่องเที่ยวเข้าไปเยี่ยม
ชม และสรา้ งรายไดแ้ ละเศรษฐกิจในพนื้ ท่ี โดยการให้ประชาชนเข้ามาคา้ ขายสนิ ค้าพน้ื ถ่ิน

๒๑) ควรกาหนดเง่ือนไขการส่งเสริมเร่ืองป่าชมุ ชน ถ้าโรงงานอุตสาหกรรมมีเง่ือนไขในการมีพาร์ทเนอร์
และทา MOU ในเร่ืองของป่าชุมชน จะมีประโยชน์ท้ังสองทาง คือได้ป่าชุมชนเพิ่มข้ึนในเร่ืองความม่ันคงทาง
อาหาร และการบรรเทามลภาวะ ส่งเสริมการพ่ึงตนเองตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงให้มากข้ึน เพ่ือความม่ันคง
ทางอาหาร และปลุกวิถีการใช้ชีวิตพื้นฐานท่ีจริง ๆ แล้วน่าควรเป็นสิ่งแรก ๆ ที่เราทุกคนทาเป็นเพ่ือความอยู่
รอด

๒.๖.๕ ขอ้ คดิ เหนจากภาคบริการและท่องเท่ียว
ข้อคิดเห็นจากกลมุ่ ผู้มสี ่วนไดเ้ สยี ภาคบริการและท่องเท่ยี วสามารถสรุปได้ ดังนี้
๑) ส่งเสรมิ การนานา้ กลับมาใชใ้ หม่ในโรงงาน ซึง่ การบรหิ ารจัดการทรัพยากรนา้ ในพน้ื ที่จงั หวดั ชลบุรี ที่
ไม่มแี หล่งน้าเพียงพอต่อความตอ้ งการในพ้ืนท่จี งึ จะต้องอาศัยนา้ จากพน้ื ทใี่ กลเ้ คยี งมาใช้ในการดาเนินกจิ กรรม
ต่าง ๆ ท้ัง การทาเกษตรกรรม และกจิ กรรมของโรงงานอตุ สาหกรรม
๒) การสูบน้าจากคลองพระองค์เจ้าไชยานชุ ติ ทาใหเ้ กษตรกรในพน้ื ทีจ่ งั หวดั ฉะเชิงเทราเกิดปญั หาทาง
การเกษตร กอ่ นสูบน้าเกษตรกรปลกู ขา้ วได้ปลี ะ ๒-๓ ครั้ง แตพ่ อมกี ารสูบน้าการปลกู ขา้ วหนึ่งครัง้ เกษตรกรก็
ตอ้ งประสบกบั ปัญหาขาดแคลนนา้ จนต้องซ้ือน้ามาใชใ้ นการทาการเกษตร จงึ มองวา่ การผันนา้ อาจเปน็ การเอา
เปรียบคนบางกลุ่มเกนิ ไป
๓) ในพัทยาพยายามผลักดันการสูบกลับน้าในช่วงฝนตก เนื่องจากในพื้นท่ีไม่มีแหล่งรองรับน้า เช่น
ถนนมอเตอร์เวย์ทงั้ เส้น ฝง่ั ทตี่ ิดทะเลน้าฝนทตี่ กลงมาจะไหลลงทะเลทั้งหมด
๔) วิเคราะห์ข้อมูลในแผนส่ิงแวดล้อมระยะที่ ๑ ว่ามาตรการด้านส่ิงแวดล้อม/แนวทางปฏิบัติด้านใด
ดาเนนิ การแล้วเสรจ็ ประสบผลสาเร็จและยังมีมาตรการ/แนวทางปฏิบตั ิดา้ นส่ิงแวดล้อมใดทีย่ ังไม่ได้ดาเนินการ
เนน้ การสารวจในพ้นื ท่ีให้มาก เชิญผมู้ ีสว่ นเกยี่ วขอ้ งเพอ่ื เขา้ ร่วมแสดงความคดิ เห็น
๕) ควรพฒั นาแนวทางการสารองนา้ ใช้ของตัวเองใหเ้ พยี งพอเพ่ือทาการเกษตรไดใ้ นทุกฤดูกาล
๖) การปฏิบัติตามกฎหมายเป็นเรอื่ งสาคัญ เพราะหนว่ ยงานแตล่ ะหน่วยงาน ถอื กฎหมายคนละเรือ่ งกัน
เวลาเขา้ ไปจดั การเรอ่ื งหน่งึ ของโรงงานคอ่ นขา้ งจะยุ่งยาก ควรมแี นวทางบรู ณาการกนั
๗) กากของเสีย มีวิธีการที่หลากลายที่จะช่วยบูรณาการได้ในการตรวจติดตามการท้ิงกากของเสีย โดย
ติดตามได้จากการ GPS tracking แต่การลงทุนค่อนข้างจะสูง ถ้ามีการดาเนินการเพียงภาคส่วนใดภาคส่วน
หน่ึงการตรวจติดตามอาจไม่มีประสทิ ธภิ าพ ดังนนั้ ควรร่วมมือกันทาทง้ั ภาครัฐและเอกชน
๘) ขยะทะเลเป็นประเด็นท่ีน่ากังวลว่าในอนาคตจะมีปริมาณมากข้ึนเร่ือย ๆ ควรมีการศึกษาข้อมูล
พ้ืนฐานว่าขยะทะเลท่ีเกิดข้ึนเกิดมาจากภาคส่วนใดบ้าง เพ่ือพิจารณาถึงต้นเหตุ แล้วตั้งเป้าแก้ไขปัญหาจาก
ต้นเหตุ โดยกาหนดเป้าหมายระยะยาว ระยะกลาง และระยะส้ัน ซึ่งภาคส่วนหลัก ๆ คือ อุตสาหกรรม
ท่องเที่ยว ครัวเรือน ทั้งน้ีการเขียนโครงการต้องเขียนโครงการที่ชัดเจน จับต้องได้ วิธีการชัดเจน หรือการขอ
ความรว่ มมอื จากภาคสว่ นต่าง ๆ ต้องชดั เจน

โครงการจดั ทาแผนสง่ิ แวดลอ้ มในพน้ื ทีเ่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๒ - ๑๓๐

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รายงานฉบับสดุ ท้าย

๙) ธุรกิจโรงแรม/ท่ีพัก พยายามจัดเก็บแยกขยะให้เหลือทิ้งน้อยที่สุด ส่วนท่ีรีไซเคิลได้หรือมีมูลค่าจะ
นาไปขาย

๑๐) กิจกรรมเชิงรณรงค์ มีการจัดทาโครงการบ้านสานใจ เป็นถนนสร้างสรรค์วัฒนธรรมหน้าเมือง
พนัสนิคม พยายามรณรงค์ให้การจัดการขยะเห็นเป็นรูปธรรมมากขึ้น โดยในงานจะมีการแยกขยะ
โดยมีการหารือร่วมกับสาธารณสุขจังหวัดว่ามีการรณรงคใ์ ห้ประชาชนแยกขยะอย่างไร ปลายทางของขยะเป็น
อย่างไร เช่น เศษอาหารนาไปให้ปลาในบ่อเล้ียงปลา ขยะที่รีไซเคิลได้จะนาไปรีไซเคิล เศษไม้นาไปทาฟืน
เป็นต้น พอทราบถึงปลายทางของขยะว่าจะไปที่ไหนได้บ้างทาให้สุดท้ายแล้วเหลือขยะทิ้งน้อยลง จึงพยายาม
นาส่วนนม้ี าเปน็ แนวคิดว่า “แยก=ให้” ดาเนินการในงานบ้านสานใจ โดยมีคนให้ความรู้ในการแยกขยะบริเวณ
จดุ ทง้ิ ขยะ เพือ่ เปน็ การจดุ ประกายให้คนสามารถนากลบั ไปทาท่บี ้านต่อได้

๑๑) ตามกฎหมายที่ดินว่างเปลา่ หากมีการปลูกปา่ ในพื้นท่ีจะสามารถยกเว้นภาษที ดี่ ินได้หรือไม่
๑๒) ควรส่งเสริมการทาฝาย/เขอื่ น เพ่ือเพ่ิมปรมิ าณนา้ ใตด้ ิน
๑๓) ผใู้ ช้น้าแต่ละภาคส่วนต้องมีการลงทุนเพื่อสรา้ งบ่อพักน้า/พนื้ ที่กกั เก็บนา้ เปน็ ของตัวเอง
๑๔) ตัวอย่างโครงการทอี่ ยากใหเ้ กิดขนึ้ ในแผนฯ เชน่ โครงการสรา้ งจติ สานกึ ในการใชน้ า้ โครงการสร้าง
จติ สานกึ ในการทิง้ ขยะไม่ให้ท้ิงลงลาน้าซึ่งจะนามาสู่ทะเลได้ เชน่ การแจกถุงขยะให้กับนกั ทอ่ งเท่ยี วให้
รับผดิ ชอบขยะของตนเองไมว่ ่าจะเปน็ การท่องเท่ียวในอุทยานหรือบนเกาะ
๑๕) ในแงข่ องสอื่ ทจ่ี ะเขา้ มามีบทบาทในการสร้างจติ สานกึ ใหก้ บั คนเรอื่ งของสงิ่ แวดล้อม ภาคประชาชน
อาจจะไม่ได้ให้ความสาคัญไม่เห็นภาพของการสร้างผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม แล้วผลกระทบเหล่าน้ันจะ
ย้อนกลับมาหาเราได้อย่างไร ดังน้ันในการสร้างส่ืออาจเป็นการนาเสนอถึงสาเหตุและผลของการสร้าง
ผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมโดยท่ีไม่ได้เปน็ การตาหนิหรือสร้างความรู้สึกผดิ ให้ประชาชน สือ่ กอ็ าจจะมาช่วยในแง่
นี้ได้ สือ่ ให้คนเห็นปัญหาชัดเจนขึ้น
๑๖) ในปัจจุบันมีหลายหน่วยงาน หลากหลายข้อมูลแต่ยังไม่เกิดการเชื่อมโยงกัน ควรมีการบรรจุ
หน่วยงานที่เป็นศูนย์กลางเครือข่ายคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อมของพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกเพ่ือ
ความย่ังยืน เพ่ือเป็นหน่วยงานที่ช่วยประสานงาน เป็นคลังข้อมูล เป็นศูนย์กลางเช่ือมโยงข้อมูลของพ้ืนที่
สามารถแชรข์ อ้ มลู และแก้ปัญหาไดอ้ ย่างรวดเรว็ ข้ึน
๒.๖.๖ ข้อคิดเหนจากภาคทรัพยากรธรรมชาติ (กลมุ่ ทสม.)
ข้อคิดเห็นจากกล่มุ ผูม้ สี ่วนได้เสยี ภาคทรพั ยากรธรรมชาติ (กลมุ่ ทสม.) สรปุ ได้ ดังนี้
๑) เสนอแนะให้พิจารณาทบทวนการจัดประชุมในรูปแบบออนไลน์อาจจะทาให้ประสิทธิภาพในการ
รับส่งข้อมูลลดลง รวมถึงตรวจสอบและทบทวนข้อมูลพ้ืนที่ชายฝ่ังทะเลมีข้อมูลนาเข้าท่ีครบถ้วนและมีความ
ละเอียดของข้อมูลเพยี งพอหรือไม่ หากข้อมูลไม่ครบถ้วนให้ประสานหน่วยงานในพน้ื ท่ีเพื่อขอข้อมูล และเสนอ
ให้สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมทบทวนเปลี่ยนแปลงประกาศการจัดทา
รายงานวิเคราะห์ผลกระทบส่ิงแวดล้อมในเรอื่ งของรัศมีของผลกระทบส่ิงแวดล้อมจากแหล่งกาเนิดมลพิษให้มี
ระยะทางไกลกว่าเดิม เน่อื งจากผลกระทบสง่ิ แวดล้อมจากมลพษิ ทางอากาศมีระยะทางหา่ งจากแหล่งกาเนิดได้
ไกล เสนอให้มีการทบทวนค่าเฉล่ียของ Capacity ด้านสิ่งแวดล้อมแต่ละประเภท หากใช้ค่าเฉล่ียอาจจะไม่
ถูกต้องเนื่องจากในแต่ละพ้ืนท่ีมีความละเอียดอ่อนและลักษณะที่แตกต่างกัน และควรทบทวนประวัติศาสตร์

โครงการจดั ทาแผนส่งิ แวดลอ้ มในพื้นท่เี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๒ - ๑๓๑

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม รายงานฉบบั สุดทา้ ย

การพัฒนาในพื้นท่ีว่ามีปัญหาอุปสรรค ข้อขัดแย้งอะไรบ้าง รวมถึงตรวจสอบว่ามีการแก้ไขเรียบร้อยหรือยัง
เพ่ือเป็นแนวทางในการวางแผนในปัจจุบันและอนาคตต่อไป

๒) ข้อมูลสิ่งแวดล้อมที่ประเมินมา มีแต่ประเมิน แต่ไม่มีวิธีการในการป้องกัน และควรพิจารณา
ผลกระทบโดยมกี ารคาดการณ์ไปถึงอนาคตด้วยเพื่อให้มีการวางแผนรองรบั ปัญหาที่จะเกิดข้ึนได้ นอกจากน้ียัง
ได้ให้ข้อสังเกตว่าวิถีชีวิตของคนไม่ถูกนามาประเด็นหลักในการพิจารณา แต่กลับคานึงถึงแค่ประเด็น
ความสาคญั ของอตุ สาหกรรม

๓) ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของแม่น้า เช่น เกิดน้าเสีย ปริมาณสัตว์น้าลดลง ปัจจุบันพื้นท่ี
อ่างเก็บน้าต่าง ๆ มีปริมาณลดลง ได้แก่ อ่างเก็บน้าดอกกราย ประมาณ ๒๐ ล้านลูกบาศก์เมตร อ่างเก็บน้า
หนองปลาไหล ๓๘.๗ ล้านลูกบาศก์เมตร อ่างเก็บน้าประแสร์ ๕๔.๙๘ ล้านลูกบาศก์เมตร อ่างเก็บน้าคลอง
ใหญ่ ๔ ล้านลูกบาศก์เมตร ผลกระทบท่ีทาให้ปรมิ าณน้าลดลงเกิดจากการทานิคมอุตสาหกรรมท่ีใช้น้าปริมาณ
มาก การเปล่ียนแปลงทางน้า ปัญหาเร่ืองน้า ได้แก่ น้าไม่เพียงพอ น้าเน่าเสียสกปรก ส่ิงมีชีวิตในน้าน้อยลง
ตัวช้ีวัดของส่ิงมีชีวิตที่แสดงว่าน้ามีสภาพดี เช่น ห่ิงห้อย ปลาเข็ม ปลาตีน ลดน้อยลงหรือหายไป การประกาศ
พื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อมเพ่ือให้เกิดการกาหนดกิจกรรมบริเวณโดยรอบแหล่งน้าท่ีไม่ส่งผลกระทบต่อ
ส่ิงแวดล้อม ช่วยทาให้คุณภาพน้าดีขึ้นได้ แต่เน่ืองจากขั้นตอนการติดขัดในเรื่องของกฎหมายทาให้เกิดการ
ล่าช้า

๔) พ้ืนที่สีเขียวจังหวัดระยองที่ลดลงเกิดจากหลายภาคส่วน เช่น นโยบายจากภาครัฐ หรือโครงการ
พัฒนาต่าง ๆ ซึง่ ก็สามารถหาทางออกรว่ มกนั ได้ โดยมีการสรา้ งกฎกตกิ ารว่ มกัน

๕) แนวกันชนพ้ืนที่สีเขียวต้องการให้มีการปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม เช่น โรงงานใหม่ท่ีเข้ามาตั้งจะต้อง
มีการทาแนวกันชน และพ้ืนท่ีสีเขียวตามที่ EIA กาหนดอย่างจริงจัง และควรกาหนดมาตรการให้ชัดเจน
ในการขยายโรงงาน ไม่ให้กระทบกับพ้นื ท่ีแนวกนั ชน และพ้นื ท่สี ีเขยี วในพน้ื ที่

๖) ควรมีการดาเนินการดา้ น carbon credit อย่างจริงจงั
๗) การจัดต้ังกองทุนเป็นการแก้ปัญหาท่ีปลายเหตุ ดังน้ันต้นเหตุคือโรงงาน ควรแก้ปัญหาที่ต้นเหตุโดย
การให้โรงงานตา่ งดาเนนิ การตามเง่ือนไขอย่างเคร่งครดั
๘) ควรจัดทาผังทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมของท้องถิ่น เพ่ือล้อกับผัง EEC สามารถ
เปรียบเทียบในระดับพื้นท่ีได้ รวมถึงผังทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมข้ามจังหวัดเพื่อให้เกิดการบูรณา
การการบริหารจัดการพืน้ ทร่ี ว่ มกนั ระหว่างจงั หวัด
๙) การกาหนดค่าปลดปล่อยมลพิษในพ้ืนท่ี การกาหนดความเข้มข้นของมาตรการ ให้ดูความเหมาะสม
ของความออ่ นไหวของแต่ละพนื้ ท่ี เชน่ พนื้ ที่ทีเ่ ปน็ พน้ื ที่สีเขียว พ้ืนทใ่ี กล้แหล่งชุมชน
๑๐) ควรรวมสถานประกอบการประเภท ๑๐๑ ๑๐๕ ๑๐๖ เข้ามาอยู่เป็นนิคมเดียวกันในพ้ืนที่เดียวกัน
เพอ่ื การบริหารจดั การที่มปี ระสิทธภิ าพ
๑๑) ควรมีการศึกษา SEA ระดับอาเภอของแต่ละจังหวัดในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
ว่ายทุ ธศาสตรข์ องแต่ละอาเภอควรเป็นอย่างไร เป็นการประเมินจุดเดน่ จุดด้อยของทรพั ยากรธรรมชาตใิ นพ้นื ท่ี
เพอ่ื เพิม่ มูลค่าหรอื ปรับปรงุ โดยใชง้ บประมาณของ EEC โดยให้มกี ารมสี ่วนร่วมของชุมชนในพน้ื ทรี่ ่วมประเมิน
๑๒) การขนย้ายกากอุตสาหกรรมหรือวตั ถอุ ันตราย ควรมหี นว่ ยงานเข้ามาดแู ลอย่างเข้มงวด

โครงการจัดทาแผนสิ่งแวดลอ้ มในพ้นื ที่เขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๒ - ๑๓๒

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม รายงานฉบบั สุดท้าย

๑๓) เรื่องของการมสี ่วนร่วมของชุมชนอยากให้มีส่วนในทางปฏบิ ัติและจริงจังมากกว่านี้ ใหค้ วามสาคัญ
กบั ผู้ชานาญการในพืน้ ท่ี (ผู้รใู้ นท้องถ่ิน) เพือ่ ชว่ ยในการบรหิ ารจดั การมลพษิ ในพนื้ ที่

ในการลดความขัดแย้งในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ต้องพัฒนากระบวนการมีส่วนร่วมใน
ท้องถิ่นก่อน และสร้างผู้ชานาญการในระดับพื้นท่ี เพื่อให้มีส่วนร่วมในการพิจารณาการประเมินผลกระทบ
ส่ิงแวดล้อม เช่น ปัจจุบันมีการขอสัมปทานระเบิดหิน เทือกเขา ภูดร นางหย่อง ห้วยมะหาด เพ่ือไปถมทะเล
แลว้ มกี ารอ้างวา่ จะทดแทนด้วยการเอาแอ่งท่ีเกดิ จากการะเบดิ หินไปใชเ้ พ่ือการกกั เก็บนา้

๑๔) การพัฒนาพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกให้ชะลอไว้ก่อนได้หรือไม่ เน่ืองจากยังมีปัญหาของ
อตุ สาหกรรมท่ียงั ค้างอยูใ่ นพ้ืนท่ีที่ยังไมไ่ ด้รับการแก้ไข หรือสามารถแก้ไขให้อุตสาหกรรมทอ่ี ยูภ่ ายนอกนคิ มเข้า
ไปอยใู่ นนคิ มได้หรอื ไม่

๑๕) กองทุนสิ่งแวดล้อม จังหวัดระยองมีผลกระทบเก่ียวกับมลพิษและส่ิงแวดล้อมเยอะ แต่ไม่สามารถ
ใช้งบประมาณจากกองทุนส่ิงแวดล้อมได้ จะมีการแก้ปัญหาอย่างไร เสนอให้ในการใช้งบประมาณจากกองทุน
สิ่งแวดล้อมเป็นไปเพื่อการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้อย่างทันท่วงทีเม่ือเกิดเหตุ เพื่อจากัดผลกระทบท่ีจะ
เกิดข้ึนไม่ให้แพร่ขยายออกไปในวงกว้าง หลังจาน้ันจึงดาเนินการกับผู้รับผิดชอบ/ก่อให้เกิดเหตุ เพื่อฟ้องร้อง
คา่ เสียหายตอ่ ไป จะชว่ ยใหพ้ ้นื ทเี่ กิดเหตุและประชาชนนพนื้ ทไี่ ด้รบั ความชว่ ยเหลืออยา่ งรวดเร็ว

๑๖) การจัดการขยะ พบปริมาณขยะท่ีอาเภอบ้านค่าย และนิคมพัฒนา มีการฝังกลบลกึ และมีบ่อข้ีหมู
ที่ใช้เก็บสาหรับล้างโรงเรือน พบกากอุตสาหกรรมบริเวณแหล่งต้นน้า อ่างดอกกราย ควรมีโครงการสนับสนุน
ส่งเสริมการเฝ้าระวังการลักลอบทิ้งกากอุตสาหกรรม โดยมีผู้รับผิดชอบ คือ อาสาสมัครพิทักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมหมบู่ ้าน/สานกั งานทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ มจังหวัด

๑๗) ควรเพิ่มมาตรการกาหนดให้ผู้ก่อมลพิษ ผู้ก่อขยะกากอุตสาหกรรม จัดการกากอุตสาหกรรมแบบ
ถกู วธิ ีตามข้อกาหนดทถ่ี กู วธิ ี

๑๘) โครงการที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ฟ้ืนฟูแหล่งน้าฯ ขอให้เพ่ิมหน่วยงานอาสาสมัครพิทักษ์
ทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ มหมู่บ้าน (ทสม.) เป็นหน่วยงานสนบั สนุน เพราะเรื่องท่ีนา่ เปน็ หว่ งคือท่ีผ่าน
มา การอนุรักษ์นโยบายภาครัฐขุดลอกลาคลอง เช่น ภาครัฐใหร้ ถแม็คโครมาขุดลอก ทาใหร้ ะบบนิเวศในคลอง
เสีย ไม่สมดลุ กัน ทาใหเ้ กดิ ความเสยี หาย จงึ อยากให้มี ทสม.เข้าอนรุ กั ษ์ฟื้นฟู ในสว่ นน้ีดว้ ย

๑๙) ควรมกี ารบงั คับใช้การใช้ประโยชนท์ ี่ดนิ ใหเ้ ป็นไปตามทีผ่ งั เมืองกาหนดอย่างเคร่งครัด
๒๐) ส่งเสริมให้เกิด “นิคมจัดการตนเอง” โดยนิคมควรมีมาตรการจัดการให้เบ็ดเสร็จ มีมาตรฐานใน
นิคม เช่น กาหนดพื้นที่กักเกบ็ น้าใช้ หรอื ระบบบาบดั นา้ เสีย
๒๑) ควรปรับเพ่ิมร้อยละของการกาหนดกระบวนการบรหารจัดการน้า การนาน้ากลับมาใช้ใหม่ จาก
ร้อยละ ๑๐ อาจปรบั เพ่ิมเป็นร้อยละ ๕๐ - ๗๐ ได้หรอื ไม่ เพือ่ ทจี่ ะลดการใช้น้าต้นทนุ จากภายนอก
๒๒) ควรมีการทบทวนข้อกาหนด กฎหมาย พระราชบัญญัติต่าง ๆ ว่าตอบโจทย์กับสถานการณ์ใน
ปัจจุบันหรือไม่ เอื้อต่อการทางาน หรือการดูแลสิ่งแวดล้อมหรือไม่ หากมีส่วนใดท่ีก่อให้เกิดข้อจากัดก็ควรมี
การเสนอแกไ้ ขเพือ่ ให้สง่ เสริมตอ่ สถานการณส์ ง่ิ แวดล้อมในปจั จุบนั เช่น
การประเมินผลกระทบส่ิงแวดล้อม กรณีไฟไหม้พื้นท่ีโรงงานในนิคมพัฒนา และเกิดผลกระทบด้าน
มลพิษทางอากาศถึงโรงเรียนที่อยู่ห่างจากโรงงาน ทาให้นักเรียนในโรงเรียนต้องเข้ารักษาตัวที่โรงพยาบาล

โครงการจดั ทาแผนสิง่ แวดลอ้ มในพน้ื ทเี่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๒ - ๑๓๓

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รายงานฉบบั สุดท้าย

ดังน้ันควรมีการปรับเปล่ียนประเด็นการประเมินผลกระทบส่ิงแวดล้อมจากแหล่งกาเนิดที่กาหนดในระยะไม่
เกิน ๕ กิโลเมตร ให้มีการปรับเปล่ียนขยายระยะห่างจากแหล่งกาเนิดในการประเมินดังกล่าว เน่ืองจากพ้ืนท่ี
ทไ่ี ดร้ บั ผลกระทบอาจมีมากกวา่ ในระยะรศั มี ๕ กโิ ลเมตร

การปรับปรุงมาตรฐานคุณภาพน้าทิ้งต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับสภาพปัจจุบัน และควรมีมาตรการเชิง
ป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาส่ิงแวดล้อม เช่น ปัญหาน้าทิ้งของโรงงานอุตสาหกรรมบริเวณคลองปลากั้ง ซ่ึงบริเวณ
ต้นน้าก่อนมีโรงงาน คุณภาพน้ามีสภาพดี มีสัตว์น้า แต่หลังจุดการปล่อยน้าเสียของโรงงานพบคุณภาพน้าแย่
สัตว์น้าลดลง และมีปัญหาน้ามีสีเหลืองและมีฟอง ปัญหาน้าเสียจากฟาร์มสุกรลงแหล่งน้าธรรมชาติ
ซึ่งขอเสนอแนะใหใ้ ช้นา้ ล้างโรงเรือนในการรดนา้ ตน้ ไม้ แตไ่ ม่สามารถทาได้เนื่องจากในการล้างโรงเรือนมกี ารใช้
สารเคมีจาพวกโซดาไฟในการขดั ล้าง

๒๓) ปัญหาการบกุ รุกพื้นที่มีการบรุ กุ ในหลายรูปแบบ เชน่ การบกุ รุกเชิงนโยบาย การบุกรกุ ของนายทุน
การสร้างรุกล้าในเขตพ้ืนที่สิ่งแวดล้อม เช่น ร้านกาแฟท่ีเข้าไปสร้างและบุกรุกพื้นที่ป่าชายชายเลนบริเวณ
อาเภอบ้านแลง มีการสร้างบ้านพักบุกรุกพื้นท่ีป่า และมีการบุกรุกลาน้าเพ่ือเข้าไปใช้ประโยชน์บริเวณแม่น้า
ระยอง มีโรงงานอุตสาหกรรมสร้างรุกล้าพ้ืนที่ริมตลิ่งหลายโรงงาน ซ่ึงเป็นพื้นที่สาธารณะ ควรมีมาตรการที่
เก่ียวกับการสร้างโรงงาน การเว้นระยะห่างจากแม่น้า และการตรวจสอบ นอกจากน้ี ยังมีการบุกรุกพื้นท่ีทาง
ทะเล เช่น การถมทะเลเพื่อสร้างท่าเรือของพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ซึ่งการท่ีรัฐเข้าไปดาเนินการ
ถอื ว่าเปน็ การบกุ รุกเชงิ นโยบายหรอื ไม่ ควรมีมาตรการปอ้ งกันอยา่ งไร

๒๔) โรงพยาบาลในพ้ืนที่จังหวัดระยอง มีจานวนและบุคลากรไม่เพียงพอต่อปริมาณประชากรในพื้นที่
และมีคนเข้ารับการรักษาจานวนมาก ควรจะต้องศึกษาจานวนประชากรแฝงในพื้นท่ีเพื่อส่งเสริมให้เกิดการ
สร้างสาธารณูปโภคให้เพียงพอต่อคนในพ้ืนท่ี นอกจากนี้ ประชาชนในพ้ืนท่ียังได้รับผลกระทบจากปัญหา
ส่ิงแวดล้อมในโรงงานในพื้นท่ีด้วย ดังน้ัน จึงควรส่งเสริมให้มีโรงพยาบาลท่ีดูแลเฉพาะกรณีการเจ็บป่วยจาก
ปัญหาส่ิงแวดล้อมในพื้นที่ หรือดูและประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาคอุตสาหกรรม ภาคอุตสาหกรรมควร
จะมโี รงพยาบาลสาหรบั โรงงานอุตสาหกรรมเอง เพ่อื ให้สามารถวนิ จิ ฉัยและรับการรักษาไดท้ นั ท่วงที

๒.๖.๗ ขอ้ คดิ เหนจากภาคการศึกษา
ขอ้ คิดเห็นจากกลุ่มผมู้ ีส่วนได้เสยี ภาคการศกึ ษา สรุปได้ ดังนี้
๑) ควรเพิ่มหัวข้อการบริหารความเส่ียงและปัจจัยความสาเร็จ ท่ีแผนจะบรรลุเป้าหมาย และควร
ดาเนนิ การในการบริหารจัดการ รวมทั้งการจดั ลาดบั ความสาคัญสง่ิ ท่คี วรทาและทาให้เปน็ ตามเปา้ หมายได้
๒) ระบบบาบัดน้าเสียของชุมชนที่อยู่ตามแนวชายฝั่งทะเล ควรมีการศึกษาออกแบบโครงการบาบัด
น้าเสียของชุมชนที่อยู่บริเวณแนวชายฝ่ังทะเลในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกท้ัง ๓ จังหวัด และศึกษา
ข้อมลู เพ่มิ เติมว่าศักยภาพในการรองรบั ของระบบบาบัดน้าเสียของชุมชนมีการดาเนินการแล้วหรอื ไม่ หรอื ถ้ามี
แล้วเราสามารถพัฒนา/เพิ่มเติมได้หรือไม่ เนื่องจากอาจมีบางชุมชุนท่ีมีระบบบาบัดแต่ศักยภาพที่จะรองรับ
ไม่ครอบคลมุ พื้นท่ี
๓) การมีส่วนร่วม ท่ีกระบวนการภาครัฐไม่ได้เป็นหน่วยงานท่ีรวบรวมข้อมูลจากในพื้นที่ที่แท้จริง
แต่ควรมีเครือข่ายชุมชนและภาคประชาชนทาหน้าที่ในการรวบรวมข้อมูลในพ้ืนท่ีและประเมิน และควรมี
คณะทางานผ่านการแต่งต้ังคณะทางานในพ้ืนที่ ๓ ชุดใน ๓ จังหวัด เพื่อนาเสนอคณะกรรมการระดับจังหวัด

โครงการจดั ทาแผนส่ิงแวดล้อมในพ้นื ที่เขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๒ - ๑๓๔

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สดุ ท้าย

โดยมีเลขาคณะทางานเป็นภาครัฐ นอกจากน้ีคณะกรรมการระดับจังหวัดควรนาเสนอ สานักงาน
คณะกรรมการนโยบายพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกต่อไปเพ่ือช่วยร่วมสนับสนุนการดาเนินงาน และ
งบประมาณในการขับเคลือ่ น

กระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนยังคงมีปัญหา เพราะในส่วนของการนาไปปฏิบัติจริง ภาครัฐ
กลับไม่ได้รับฟังเสียงจากประชาชน เช่น กรณี พื้นท่ีบ้านเกาะกลาง ตาบลเขาดิน มีระบบนิเวศสามน้า แต่กลับ
ประสบปัญหาภัยแลง้ ในพ้นื ท่ีทาให้ทาเกษตรกรรมไม่ได้ (ปลูกขา้ ว) และการมอี ตุ สาหกรรมจากเขตพฒั นาพเิ ศษ
ภาคตะวันออกทาให้ได้รับผลกระทบมากข้ึน และมีปัญหาระหว่างประชาชนกับหน่วยงานมาอย่างต่อเน่ือง
ปัญหาคือ ผังการใชป้ ระโยชนพ์ นื้ ท่ไี ม่เหมาะสมกับพื้นทภ่ี ูมนิ ิเวศ

๔) การมีระบบฐานขอ้ มูลเป็นส่ิงจาเป็น เช่น กรณีกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งมกี ารเกบ็ รวบรวม
ข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องกับทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ังแต่มีข้อจากัดเรื่องความถ่ีในการเก็บข้อมูลค่อนข้างน้อย
ดังน้ันการสร้างฐานข้อมูลของแผนฯฉบับนี้จะช่วยส่งเสริมข้อมูลได้ และควรจัดทาระบบเตือนภัย
ด้านสิ่งแวดล้อมเพ่ิมเติมโดยผนวกเข้ากับฐานข้อมูลที่มีการดาเนินการ เพื่อท่ีจะช่วยควบคุมแหล่งมลพิษต้ังแต่
ต้นทางได้อีกด้วย ถึงแม้ว่าภาคอุตสาหกรรมจะมีมาตรฐานที่ต้องดาเนินการอยู่แล้ว แต่การมีระบบเตือนภัยก็
เพื่อเป็นการชว่ ยเฝา้ ระวังวา่ ระบบต่าง ๆ ยังสมบรู ณ์ดอี ยู่

ควรมีการสนับสนุนอุปกรณ์ เช่น การตรวจวัดคุณภาพน้า โดยมีระบบส่วนกลางเพื่อเป็นศูนย์กลาง
ในการรวบรวมขอ้ มลู คณุ ภาพนา้ อากาศ และต้องมีอานาจในการส่งั การและบรหิ ารจัดการคุณภาพส่ิงแวดล้อม
ในพ้ืนท่ี เพ่อื การป้องกันและรกั ษาความปลอดภัยของทรัพยากร

๕) ควรเพ่ิมมาตรการการวางแผนเชิงพ้ืนท่ีทางทะเล (Marine Spatial Planning: MSP) เพื่อเป็นการ
มองการใช้ประโยชน์พ้ืนทีทางทะเลในภาพรวมร่วมกับพ้ืนท่ีทางบก และพิจารณาทรัพยากรในทะเล และ
จัดระบบการบริหารจัดการพื้นท่ีทางทะเล (zoning) เพ่ือใช้ประโยชน์ท่ีดิน/เพ่ือการอนุรักษ์พื้นที่ เพื่อให้เกิด
การวางแผนการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลในระยะยาว และนอกจากนี้ยังวางแผนการจัดวางจุดตรวจ
คุณภาพน้าทะเลท่ีเหมาะสมด้วย

๖) มีข้อกังวลในการดาเนินการตามแผนสิ่งแวดล้อมว่าจะมีการดาเนินการได้ตามแผนมากน้อยเพียงใด
ควรมีกลไกในการขับเคล่ือนแผนส่ิงแวดล้อมที่แตกต่างจากแผนท่ีผ่านมาอย่างไร เน้นย้ากระบวนการท่ีจะช่วย
ใหก้ ารดาเนินการตามแผนส่งิ แวดล้อมเป็นไปอย่างสมบูรณ์และเกิดประโยชน์ทางดา้ นสง่ิ แวดล้อมมากท่สี ุด

๗) พ้ืนท่ีภาคตะวันออก มีระบบชลประทานดีกว่าภาคอ่ืน แต่ยังมีประชาชนท่ียังเข้าไม่ถึงระบบ
ชลประทาน เนื่องจากมีบริษัทเอกชนสูบน้าไปลงท่ีนิคมอุตสาหกรรมจังหวัดชลบุรี ชาวบ้านไม่มีสิทธิใช้น้า
ใช่หรือไม่ เนอ่ื งจากการอุตสาหกรรมเปน็ ผซู้ ือ้ น้า

๘) การจัดการขยะบนเกาะ อาจพิจารณาแนวทางจากตัวอย่างโครงการการจัดการขยะบริเวณชายหาด
แม่ราพึง จังหวัดระยอง ส่วนใหญ่ขยะจากร้านอาหารมีถึง รอ้ ยละ ๔๐ จึงมีการจัดการโดยให้ร้านอาหารมีการ
แยกขยะต้ังแต่ที่ร้านอาหาร และองค์การบริหารส่วนตาบลจะมีการจัดรอบรถเพื่อมาเก็บขนขยะดังกล่าว ส่วน
ขยะประเภทอ่ืน ๆ จะมีการเตรียมถังขยะแยกประเภทไว้ให้ ช่วยให้ปรมิ าณขยะมูลฝอยลดลง ส่วนขยะอินทรีย์
สามารถนาไปให้อาหารปลา อาหารไก่ หรือทาปุ๋ยหมักได้

โครงการจดั ทาแผนสง่ิ แวดลอ้ มในพ้ืนทีเ่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๒ - ๑๓๕

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม รายงานฉบบั สุดท้าย

กรณีพื้นที่เกาะเสม็ด ให้มีการข้ึนทะเบียนขยะที่ร้านค้า/ผู้ประกอบการบนเกาะนาไปทิ้ง/ขาย
ว่ามีปริมาณเท่าไร เพื่อเป็นการเก็บข้อมูลขยะให้เกิดการจัดการขยะบนเกาะว่ามีปริมาณเท่าไรและทราบถึง
ปลายทางของขยะไปท่ใี ดบา้ ง

กรณี เกาะสีชังมักเกิดปรากฏการณ์น้าเปล่ียนสีเน่ืองจากปริมาณสารอินทรีย์ในทะเลมีมากส่งผลให้
แพลงกต์ อนเจรญิ อย่างรวดเร็วจนทาใหน้ ้าเปล่ียนสี ซ่ึงมักมสี าเหตุมาจากการลา้ งเรือส่งสนิ คา้ ท่ีทาใหส้ ารต่าง ๆ
ไหลลงไปในทะเล การปล่อยน้าเสีย น้าทิ้งชายฝ่ัง ขยะ เรือสินค้า เรือประมง ดังน้ันในแผนส่ิงแวดล้อมควร
คานงึ ถงึ ส่วนนดี้ ว้ ยเพราะสาเหตมุ าจากหลายภาคส่วน

๙) โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเน่ืองมาจากพระราชดาริฯ เป็นโครงการที่ผลักดันการอนุรักษ์
พันธุกรรมพืชด้ังเดิม รวมถึงเร่ืองความหลากหลายทางชีวภาพ อาจจะใช้โครงการท่ีมีอยู่แล้วนี้เข้ามาเป็นตัว
ขบั เคลอ่ื นเรอื่ งความหลากหลายทางชีวภาพ

๑๐) ควรมกี ารพิจารณาแผนส่ิงแวดลอ้ มให้ครอบคลมุ ถึงมิตทิ างสงั คม ภมู ปิ ัญญา วฒั นธรรม ศิลปกรรม
๑๑) ควรให้มกี ารดาเนินงานของกองทุนสิง่ แวดลอ้ มเข้ามามีบทบาท ส่งเสรมิ สนับสนนุ ในพ้นื ที่
จากการทบทวนยุทธศาสตร์ แผน นโยบาย กฎ ต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม การติดตามการดาเนินงานของแผนสิ่งแวดล้อมระยะท่ี ๑ ผลการให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ
จากภาคส่วนต่าง ๆ ในการประชุมของโครงการฯ จะเป็นข้อมูลนาไปสู่การัดทาแผนสิ่งแวดล้อมระยะที่ ๒
ในการกาหนดยุทธศาสตร์ เป้าหมาย แผนงาน เพื่อไปสู่กรอบเป้าหมายของแผนสิ่งแวดล้อมระยะท่ี ๒
คือ เป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และหลักการเศรษฐกิจ BCG ที่ตอบสนองต่อ
ความท้าทายการเปลี่ยนแปลงของโลก ในมิติเร่ืองอาหาร สุขภาพ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และ
อนุสญั ญา/นโยบายระหวา่ งประเทศในอนาคต

โครงการจดั ทาแผนสงิ่ แวดล้อมในพ้นื ท่เี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๒ - ๑๓๖

สว่ นที่ ๒

แรงกดดันภายใน ขีดความสามารถในการรองรบั และการ
บริหารจดั การทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รายงานฉบับสุดทา้ ย

บทที่ ๓
แรงกดดันภายใน: สถานการณเ์ ศรษฐกจิ ประชากร และโครงการพฒั นา

ในพนื้ ท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก

การวิเคราะห์แรงกดดันภายในที่มใี นพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ประกอบดว้ ยสถานการณ์ทาง
เศรษฐกจิ สถานการณ์ประชากร และโครงการพัฒนาที่จะเกดิ ข้ึนในพื้นที่ และมีผลต่อทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่งิ แวดลอ้ ม มรี ายละเอยี ดดงั น้ี

๓.๑ สถานการณ์และแนวโน้มทางเศรษฐกจิ ในพื้นทเ่ี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก
๓.๑.๑ สถานการณท์ างเศรษฐกจิ ในพนื้ ที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
ประเทศไทยมีศักยภาพและมีตาแหน่งท่ีดีท่ีสุดของการลงทุนในอาเซียน เน่ืองจากเป็นจุดยุทธศาสตร์

ของกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในด้านการผลิต การค้าและการขนส่ง เป็นจุดศูนย์กลางในการเช่ือมต่อ
ระหว่างกลุ่มเศรษฐกจิ ในทวีปเอเชีย การสร้างเขตพื้นที่พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) เป็นแผนยทุ ธศาสตร์
ภายใต้ไทยแลนด์ ๔.๐ เพื่อเช่ือมเอเชียและเชื่อมโลก ด้วยการพัฒนาเชิงพื้นที่ที่ต่อยอดความสาเร็จมาจาก
โครงการพัฒนาพ้ืนที่บริเวณชายฝ่ังทะเลตะวันออกหรือ Eastern Seaboard โดยมีเป้าหมายหลักในการเติม
เต็มภาพรวมในการส่งเสริมการลงทุน ซึ่งจะเป็นการยกระดับอุตสาหกรรมของประเทศเพ่ิมความสามารถ
ในการแข่งขันและทาให้เศรษฐกิจของไทยเติบโตได้ในระยะยาว และหากมีการพัฒนาพ้ืนที่ดังกล่าวอย่าง
ต่อเน่ืองเป็นระบบ มีความสอดคล้องกับการพัฒนาอย่างย่ังยืนโดยเฉพาะการตระหนักถึงผลกระทบต่อ
สิ่งแวดล้อม จะทาให้เกิดประโยชน์แก่เศรษฐกิจของประเทศและประชาชนอยา่ งยิ่ง โดยจะส่งผลต่อการเติบโต
ของการจ้างงานและการสร้างรายได้ ส่งเสริมการลงทุน การส่งออก ตลอดจนสัดส่วนการลงทุนเพ่ือการวิจัย
และพฒั นา

สถานการณ์ทางเศรษฐกิจในพื้นทเ่ี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก ซึ่งครอบคลุม ๓ จงั หวดั ประกอบด้วย
จงั หวัดระยอง ชลบุรี และฉะเชิงเทรา เป็นพ้ืนท่ีท่ีมีความสาคัญต่อภาคอุตสาหกรรมของประเทศไทยอย่างมาก
เมื่ อ พิ จ ารณ าจ าก ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ม ว ล รว ม จั งห วัด (Gross Provincial Product : GPP) พ บ ว่าตั้ งแ ต่
ปี พ.ศ.๒๕๓๘ – ๒๕๖๑ ภาคอุตสาหกรรมในพ้ืนที่มีสัดส่วนสูงกว่าภาคเศรษฐกิจด้านการเกษตรและ
ภาคการบรกิ าร โดยเฉล่ยี ภาคอุตสาหกรรมคดิ เป็นร้อยละ ๖๙ ของสัดส่วนท้ังหมด รองลงมาคือภาคการบริการ
คิดเป็นร้อยละ ๒๗ และภาคการเกษตรมีสัดส่วนต่าที่สุดคือร้อยละ ๔ ของสัดส่วนผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด
ในพืน้ ที่เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก

โครงการจดั ทาแผนสงิ่ แวดล้อมในพืน้ ที่เขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๑

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม รายงานฉบบั สดุ ท้าย

ทม่ี า: สานักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาต,ิ ๒๕๖๑

ภาพท่ี ๓ - ๑ ผลิตภัณฑม์ วลรวมจังหวัดในพน้ื ทเ่ี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออกตงั้ แต่
ปี พ.ศ. ๒๕๓๘ – ๒๕๖๑

เห็นได้ชัดเจนว่าเศรษฐกิจภาคอุตสาหกรรมในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกเป็นแรงขับเคลื่อนที่
สาคญั นอกจากน้ันเมอื่ พิจารณากิจกรรมทางอุตสาหกรรมในปี พ.ศ. ๒๕๖๑ ทเ่ี กิดในพ้นื ที่ดังกล่าวสูงถึงร้อยละ
๒๗ ของภาคอุตสาหกรรมทั้งหมดของประเทศไทย มูลค่ารวมกว่า ๙๔๘,๙๒๐ ล้านบาท (ดังภาพที่ ๓ - ๒)
ก่อให้เกิดการจ้างงาน การกระจายรายได้และเป็นกลไกสาคัญในการขับเคล่ือนการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
ของไทย

ภาพที่ ๓ - ๒ เศรษฐกจิ ภาคอตุ สาหกรรมในพน้ื ทเ่ี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก
สานักงานสภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมได้แบ่งหมวดของภาคอุตสาหกรรมออกเป็น ๔ กิจกรรมหลัก
ประกอบด้วย ๑) การทาเหมืองแร่และเหมืองหิน ๒) การผลิตอุตสาหกรรม ๓) ไฟฟ้า ก๊าซ และระบบ
ปรับอากาศและ ๔) การประปาและการจดั การของเสียอุตสาหกรรม จากข้อมูลโดยเฉลี่ยตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๓๘ -
๒๕๖๑ พบว่าสัดส่วนของกิจกรรมทางอุตสาหกรรมของแต่ละจังหวัดค่อนข้างมีความคล้ายคลึงกันคือใน
ภาพรวมเป็นกิจกรรมด้านการผลิตอุตสาหกรรม อย่างไรก็ตามสาหรับจังหวัดระยองนอกจากจะโดดเด่นใน
กิจกรรมด้านการผลิตอุตสาหกรรมแล้ว ยังมีกิจกรรมการทาเหมืองแร่และเหมืองหินที่มีสัดส่วนสูงเช่นกัน
(แสดงในภาพที่ ๓ - ๓)

โครงการจัดทาแผนสิง่ แวดลอ้ มในพืน้ ที่เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๒

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย

ที่มา: สานกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ, ๒๕๖๑

ภาพที่ ๓ - ๓ กิจกรรมทางอุตสาหกรรมในพืน้ ทีเ่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก

เมื่อพิจารณาสถานการณ์ทางเศรษฐกิจในช่วงตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๓๘ - ๒๕๖๑ ในพ้ืนที่จังหวัดระยอง
เศรษฐกิจภาคอุตสาหกรรมเป็นแรงขับเคลื่อนท่ีสาคัญที่สุดเนื่องจากมีสัดส่วนสูงกว่าเศรษฐกิจภาคอื่น ท้ังนี้
มีการเจรญิ เติบโตอย่างต่อเนื่อง โดยจากข้อมลู พบว่าในระยะท่ีผ่านมาภาคอุตสาหกรรมในจังหวดั ระยองเติบโต
สูงถึงร้อยละ ๒๐๖.๘๖ จังหวัดระยองเติบโตและก้าวมาเป็นเมืองอุตสาหกรรมของประเทศเทศนับต้ังแต่ปี
พ.ศ. ๒๕๒๔ โดยรัฐบาลในสมัยน้ันต้องการทาโครงการพัฒนาพ้ืนที่ชายฝั่งทะเลตะวันออก (Eastern
Seaboard) โดยมีเป้าหมายคือ ต้องการเปล่ียนอุตสาหกรรมเบามาเป็นอุตสาหกรรมหนักและอุตสาหกรรม
เชิงพาณิ ชย์ เพื่อสร้างมูลค่าเพ่ิมทางเศรษฐกิจให้แก่ประเทศในระยะยาว นอกจากน้ีการเติบโต
ภาคอุตสาหกรรมมีการเติบโตควบคู่กับเศรษฐกิจภาคบริการ (+๒๐๙.๐๖) อย่างไรก็ตาม เม่ือพิจารณา
เศรษฐกิจภาคการเกษตรพบว่ามีการลดลงกว่าร้อยละ ๑๕ จากตัวเลขดังกล่าวสะท้อนให้เห็นว่าการพัฒนา
อุตสาหกรรมมีผลกระทบต่อภาคเกษตร อาทิ การเคลื่อนย้ายแรงงานจากภาคเกษตรกรรมจานวนมากเข้ามา
เป็นแรงงานในภาคอุตสาหกรรม ปัญหาแหล่งน้าเพื่อใช้ในการเกษตร รวมทั้งความผันผวนทางด้านราคา
เป็นต้น

ในพ้ืนที่จังหวัดชลบุรีมีการพัฒนาเศรษฐกิจภาคบริการท่ีมีการเจริญเติบโตสูงท่ีสุด (+๒๐๕.๘๘)
โดยรายได้ส่วนใหญ่มาจากภาคการท่องเที่ยว อย่างไรก็ตามตัวเลขดังกล่าวยังไม่ได้รวมผลกระทบจากการแพร่
ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา - 19 การท่องเที่ยวในจังหวัดชลบุรีได้รับความนิยมท้ังในส่วนของชาวไทยและ
ชาวต่างชาติ นามาซ่ึงรายได้ต่อจังหวัด อย่างไรก็ตาม ในปี พ.ศ. ๒๕๖๑ แม้จานวนนักท่องเที่ยวชาว
ต่างประเทศจะสูงกว่าไทย แต่การเติบโตท่ีเพ่ิมขึ้นเป็นการเติบโตที่เพ่ิมข้ึนในอัตราที่ลดลง (สานักงานสถิติ
จังหวัดชลบุรี, ๒๕๖๑) สาหรับเศรษฐกิจภาคอุตสาหกรรมในจังหวัดชลบุรีมีการเติบโตร้อยละ ๑๒๗.๔๕
เนื่องจากจังหวดั ชลบุรีมีความได้เปรียบทางทาเลท่ีตั้ง ณ ชายฝั่งทะเลซึ่งมีคล่ืนลมไม่แรงจัดต่อเนื่องปี ส่งผลให้
ชลบุรีกลับกลายเป็นเมืองท่าที่สาคัญตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน สาหรับการเกษตรมีการเติบโตร้อยละ ๙๘.๒๔
แม้จะมีการเจริญเติบโตที่เพิ่มขึ้นในช่วงระยะท่ีผ่านมา อย่างไรก็ตาม พบว่า พื้นท่ีเกษตรกรรมในจังหวัดชลบุรี

โครงการจดั ทาแผนสิง่ แวดล้อมในพ้ืนทเี่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๓

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย

มีแนวโน้มลดลงโดยสาเหตุมาจากผลของการพัฒนาเศรษฐกิจภายในประเทศและภาคตะวันออกตั้งแต่
ปี พ.ศ. ๒๕๔๕ เป็นต้นมา รวมท้ังความไมม่ เี สถียรภาพของราคาสนิ ค้าทางการเกษตรและสภาพดิน ฟา้ อากาศ
ที่มีความไม่แน่นอนทาให้เกษตรกรเกิดความไม่มั่นใจในการลงทุน และการขาดแคลนแรงงานภาคเกษตรใน
อนาคต ทาให้มีเกษตรกรส่วนใหญ่ขายที่ทากินใหแ้ ก่ กลุ่มนายทุนไปเป็นจานวนมากเน่ืองจากได้ราคาดี รวมท้ัง
การรุกล้าของพ้ืนท่ีเมืองและกิจกรรมทางเศรษฐกิจต่าง ๆ เข้ามาในพ้ืนท่ีเกษตรกรรมเพิ่มมากข้ึนโดยเฉพาะ
พ้นื ท่ีนาและไร่ ในขณะท่ีพื้นท่ีทุ่งหญ้าและโรงเรือนเล้ียงสตั ว์ สถานที่เพาะเล้ียงสัตว์น้า พ้ืนที่ปลูกไม้ยืนต้นและ
ไม้ผลกลับมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น เพราะปัจจุบันเกษตรกรเร่ิมนิยมหันมาทาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้าโดยเฉพาะกุ้ง
บริเวณพื้นท่ีชายฝั่งทะเลและปลูกไม้ผลและไม้ยืนต้นเพ่ิมมากข้ึน ได้แก่ ปาล์มน้ามัน ยางพาราฯลฯ เพ่ือการ
ส่งออกแทนการทานาและทาไร่เพิ่มมากขึ้น เน่ืองจากมีมูลค่าทางการผลิตสูงราคาดีและเป็นท่ีต้องการของ
ตลาด รวมทั้งมีนโยบายของรัฐบาลในการเปิดการค้าเสรีเพ่ิมมากข้ึน ซึ่งส่งผลทาให้แนวโน้มการปลูกพืช
เศรษฐกิจภายในพื้นที่มีแนวโน้มการขยายตัวเพิ่มมากขึ้นในอนาคต โดยเฉพาะนโยบายการส่งเสริมการปลูกพืช
พลังงานภายในพนื้ ที่ ไดแ้ ก่ ปาล์มนา้ มนั (จังหวดั ชลบรุ ี, ๒๕๖๑)
สถานการณ์ด้านเศรษฐกิจของจังหวัดฉะเชิงเทรา ในช่วงเวลาท่ีผ่านภาคอุตสาหกรรมขยายตัวสูงข้ึนร้อยละ

๒๘๙.๙๒ นับว่าเป็นภาคส่วนที่มีศักยภาพค่อนข้างสูง นักลงทุนให้ความสนใจในการลงทุนในพื้นท่ีดังกล่าว

มีการเคล่ือนย้ายฐานการผลิตจากกรุงเทพมหานคร และจังหวัดใกล้เคียงมาลงทุนตั้งโรงงานอุตสาหกรรม

ในเขตจังหวัดฉะเชิงเทรา ส่วนใหญ่เป็นอุตสาหกรรมเกี่ยวเนื่องทางการเกษตร อุปกรณ์ไฟฟ้า ช้ินส่วนรถยนต์

และประกอบรถยนต์ พลาสติก และผลิตภัณฑ์จากไม้ ฯลฯ ภาคการบริการมีการขยายตัวอย่างตอ่ เน่อื งโดยจาก

ข้อมูลพบว่า ในพ้ืนท่ีจังหวัดฉะเชิงเทรามีการเติบโตกว่าร้อยละ ๑๓๑.๓๗ นอกจากน้ันภาคการเกษตรมีการ

ขยายตัวร้อยละ ๕๔.๗๙ จังหวัดฉะเชิงเทราเป็นแหล่งผลิตอาหารเพ่ือเลี้ยงประชากรในภูมิภาคและ

กรุงเทพมหานคร ผลผลิตที่สร้างชื่อเสียงให้แก่จังหวัดในด้านพืช ได้แก่ ข้าว มันสาปะหลัง อ้อยโรงงาน

มะพรา้ ว มะมว่ งและหมาก (แสดงรายละเอยี ดในตารางที่ ๓ - ๑)

ตารางที่ ๓ - ๑ แสดงอัตราการเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกิจภาคอตุ สาหกรรม ภาคบรกิ ารและการเกษตร

ของจังหวดั ระยอง ชลบุรี ฉะเชิงเทรา

กจิ กรรมทาง GPP ระยอง การ GPP ชลบุรี การ GPP ฉะเชงิ เทรา
GPP เปล่ยี นแปลง ๒๕๓๘ GPP เปล่ียนแปลง ๒๕๓๘ GPP การ
เศรษฐกจิ ๒๕๓๘ ๒๕๖๑ (ลา้ นบาท) ๒๕๖๑ (ลา้ นบาท) ๒๕๖๑ เปลี่ยนแปลง
(ลา้ นบาท) (รอ้ ยละ) ๑๔๒,๗๖๘ (ลา้ นบาท) (ร้อยละ) ๕๔,๙๓๖
(ล้านบาท) ๔๐๙,๙๘๓ +๒๐๖.๘๖ ๘๙,๒๔๙ ๓๒๔,๗๒๙ +๑๒๗.๔๕ ๒๔,๔๖๙ (ลา้ นบาท) (ร้อยละ)
๑๑๒,๘๔๑ +๒๐๙.๐๖ ๖,๘๙๗ ๒๗๒,๙๙๐ +๒๐๕.๘๘ ๗,๒๒๓ ๒๑๔,๒๐๘ +๒๘๙.๙๒
ภาคอตุ สาหกรรม ๑๓๓,๖๐๕ ๑๐,๓๘๘ ๑๓,๖๗๒ +๙๘.๒๔ ๕๖,๖๑๕ +๑๓๑.๓๗๒
-๑๕.๑๘ ๑๑,๑๘๑ +๕๔.๗๙
ภาคบริการ ๓๖,๕๑๑

ภาคเกษตร ๑๒,๒๔๗

ทม่ี า: จากการคานวณ

๓.๑.๒ การพยากรณเ์ ศรษฐกจิ ในพ้ืนทีเ่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
ในการศึกษาเพื่อพยากรณ์เศรษฐกิจในภาคต่าง ๆ ในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก โดยแบ่ง
ออกเป็น ๓ ภาคเศรษฐกิจดังท่ีกล่าวมาข้างต้น (ภาคเกษตร ภาคอุตสาหกรรมและภาคการบริการ)

โครงการจดั ทาแผนส่ิงแวดล้อมในพ้นื ทีเ่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๔

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดทา้ ย

โดยพิจารณารูปแบบการเปลี่ยนแปลงของ GPP ของ ๓ ภาคเศรษฐกิจ โดยการประยุกต์ใช้แบบจาลอง
ARIMA2 ในการพยากรณ์ โดยทาการพยากรณ์ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ - ๒๕๗๐ โดยผลการพยากรณ์แสดงใน
ตารางท่ี ๓ - ๒ และภาพท่ี ๓ – ๔ ดงั น้ี

ตารางที่ ๓ - ๒ ผลการพยากรณเ์ ศรษฐกิจภาคการเกษตรในพน้ื ทีเ่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก

ปี พ.ศ. GPP ภาคเกษตร อตั ราการเจริญเติบโต Low 80 Hi 90 Lo 95 Hi 95
%YOY

๒๕๖๒ ๓๕,๒๔๐ - ๓๒,๔๘๔ ๓๗,๙๙๗ ๓๑,๐๒๕ ๓๙,๔๕๖

๒๕๖๓ ๓๕,๒๔๐ - ๓๑,๓๔๒ ๓๙,๑๓๙ ๒๙,๒๗๙ ๔๑,๒๐๒

๒๕๖๔ ๓๕,๒๔๐ - ๓๐,๔๖๖ ๔๐,๐๑๕ ๒๗,๙๓๙ ๔๒,๕๔๒

๒๕๖๕ ๓๕,๒๔๐ - ๒๙,๗๒๘ ๔๐,๗๕๓ ๒๖,๘๐๙ ๔๓,๖๗๒

๒๕๖๖ ๓๕,๒๔๐ - ๒๙,๐๗๗ ๔๑,๔๐๔ ๒๕,๘๑๔ ๔๔,๖๖๗

๒๕๖๗ ๓๕,๒๔๐ - ๒๘,๔๘๙ ๔๑,๙๙๒ ๒๔,๙๑๔ ๔๕,๕๖๗

๒๕๖๘ ๓๕,๒๔๐ - ๒๗,๙๔๘ ๔๒,๕๓๓ ๒๔,๐๘๗ ๔๖,๓๙๔

๒๕๖๙ ๓๕,๒๔๐ - ๒๗,๔๔๔ ๔๓,๐๓๗ ๒๓,๓๑๗ ๔๗,๑๖๔

๒๕๗๐ ๓๕,๒๔๐ - ๒๖,๙๗๑ ๔๓,๕๑๐ ๒๒,๕๙๔ ๔๗,๘๘๗

หมายเหตุ: Lo 80 คือ ขอบเขตล่างที่ชว่ งความเชอ่ื มันที่ 80% , Hi 80 คือ ขอบเขตบนทช่ี ว่ งความเช่อื มนั ที่ 80%

Lo 95 คอื ขอบเขตลา่ งที่ชว่ งความเชื่อมันท่ี 95% , Hi 95 คอื ขอบเขตบนที่ชว่ งความเช่ือมันท่ี 95%

ท่มี า: จากการคานวณ

๒ ARIMA (Auto Regressive Integrated Moving Average) เป็นแบบจาลองท่ีมีการผสานระหว่าง Auto regressive Models (AR(p)) ซ่ึงเป็น

การหาค่าของ ตวั แปร Dependent variable จากความสัมพันธ์ของ ค่าสังเกต(observation) และ lag of observation และ Moving Average
Models (MA(q)) คือค่าเฉล่ีย ลักษณะ linear combination ของ error term ที่คานวณระหว่าง moving average model กับค่า lag of
observation ในอดีตก่อนหน้า โดย AR และ MA มารวมกัน (I -Integrated) ในรูปของ differential บน observation data เป็นกระบวนการ
แปลงขอ้ มูล Time series ที่เป็น Non stationary สู่ Stationary

โครงการจัดทาแผนส่งิ แวดลอ้ มในพน้ื ท่เี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๕

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย

หมายเหต:ุ พื้นท่ีสีฟา้ เขม้ แสดงตวั เลขประมาณการท่ชี ่วงความเชอ่ื มนั ท่ี ๘๐ %
พน้ื ที่สฟี ้าออ่ นแสดงตวั เลขประมาณการทีช่ ่วงความเชือ่ มนั ท่ี ๙๕%

ภาพท่ี ๓ - ๔ ผลการพยากรณ์เศรษฐกิจภาคการเกษตรในพื้นท่เี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก

ตัง้ แต่ปีพ.ศ. ๒๕๖๒ – ๒๕๗๐

ตารางที่ ๓ - ๓ ผลการพยากรณเ์ ศรษฐกจิ ภาคอุตสาหกรรมในพ้นื ทเ่ี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก

ปี พ.ศ. GPP ภาคอุตสาหกรรม อตั ราการเจรญิ เตบิ โต Lo 80 Hi 80 Lo 95 Hi 95
%YOY

๒๕๖๒ ๙๗๕,๗๗๒ +๒.๘๓ ๙๓๕,๐๒๖ ๑,๐๑๖,๕๑๙ ๙๑๓,๔๕๖ ๑,๐๓๘,๐๘๙

๒๕๖๓ ๑,๐๐๒,๖๒๕ +๒.๗๕ ๙๔๕,๐๐๐ ๑,๐๖๐,๒๔๙ ๙๑๔,๔๙๖ ๑,๐๙๐,๗๕๔

๒๕๖๔ ๑,๐๒๙,๔๗๗ +๒.๖๘ ๙๕๘,๙๐๒ ๑,๑๐๐,๐๕๓ ๙๒๑,๕๔๒ ๑,๑๓๗,๔๑๓

๒๕๖๕ ๑,๐๕๖,๓๓๐ +๒.๖๑ ๙๗๔,๘๓๗ ๑,๑๓๗,๘๒๓ ๙๓๑,๖๙๗ ๑,๑๘๐,๙๖๓

๒๕๖๖ ๑,๐๘๓,๑๘๓ +๒.๕๔ ๙๙๒,๐๗๑ ๑,๑๗๔,๒๙๕ ๙๔๓,๘๓๙ ๑,๒๒๒,๕๒๗

๒๕๖๗ ๑,๑๑๐,๐๓๕ +๒.๔๘ ๑,๐๑๐,๒๒๗ ๑,๒๐๙,๘๔๔ ๙๕๗,๓๙๒ ๑,๒๖๒,๖๗๙

๒๕๖๘ ๑,๑๓๖,๘๘๘ +๒.๔๒ ๑,๐๒๙,๐๘๓ ๑,๒๔๔,๖๙๓ ๙๗๒,๐๑๔ ๑,๓๐๑,๗๖๒

๒๕๖๙ ๑,๑๖๓,๗๔๐ +๒.๓๖ ๑,๐๔๘,๔๙๒ ๑,๒๗๘,๙๘๙ ๙๘๗,๔๘๓ ๑,๓๓๙,๙๙๘

๒๕๗๐ ๑,๑๙๐,๕๙๓ +๒.๓๑ ๑,๐๖๘,๓๕๓ ๑,๓๑๒,๘๓๓ ๑,๐๐๓,๖๔๔ ๑,๓๗๗,๕๔๓

หมายเหต:ุ Lo 80 คือ ขอบเขตลา่ งท่ชี ่วงความเชื่อมันที่ 80% , Hi ๘๐ คอื ขอบเขตบนที่ชว่ งความเชื่อมันที่ 80%

Lo 95 คอื ขอบเขตลา่ งที่ชว่ งความเชือ่ มันท่ี 95% , Hi ๙๕ คอื ขอบเขตบนที่ช่วงความเช่ือมันท่ี 95%

ทมี่ า: จากการคานวณ

โครงการจัดทาแผนสง่ิ แวดล้อมในพ้นื ที่เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๖

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม รายงานฉบับสุดทา้ ย

หมายเหตุ: พ้นื ท่ีสฟี ้าเขม้ แสดงตวั เลขประมาณการที่ช่วงความเชอ่ื มนั ที่ 80%
พน้ื ทสี่ ฟี ้าออ่ นแสดงตัวเลขประมาณการทีช่ ว่ งความเช่อื มันท่ี 95%

ภาพที่ ๓ - ๕ ผลการพยากรณเ์ ศรษฐกิจภาคอตุ สาหกรรมในพน้ื ที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก

ต้งั แต่ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ – ๒๕๗๐

ตารางท่ี ๓ - ๔ ผลการพยากรณ์เศรษฐกิจภาคการบรกิ ารในพ้ืนท่ีเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก

ปี พ.ศ. GPP ภาคการบรกิ าร อตั ราการเจริญเตบิ โต Lo 80 Hi 80 Lo 95 Hi 95
%YOY

๒๕๖๒ ๔๖๑,๗๖๔ +๔.๓๗ ๔๔๖,๖๐๕ ๔๗๖,๙๒๔ ๔๓๘,๕๗๙ ๔๘๔,๙๔๙

๒๕๖๓ ๔๘๑,๐๘๒ +๔.๑๘ ๔๕๖,๙๑๙ ๕๐๕,๒๔๕ ๔๔๔,๑๒๘ ๕๑๘,๐๓๖

๒๕๖๔ ๕๐๐,๔๐๐ +๔.๐๒ ๔๖๗,๔๐๒ ๕๓๓,๓๙๗ ๔๔๙,๙๓๔ ๕๕๐,๘๖๕

๒๕๖๕ ๕๑๙,๗๑๗ +๓.๘๖ ๔๗๗,๖๒๘ ๕๖๑,๘๐๖ ๔๕๕,๓๔๘ ๕๘๔,๐๘๗

๒๕๖๖ ๕๓๙,๐๓๕ +๓.๗๒ ๔๘๗,๔๗๔ ๕๙๐,๕๙๖ ๔๖๐,๑๗๙ ๖๑๗,๘๙๑

๒๕๖๗ ๕๕๘,๓๕๓ +๓.๕๘ ๔๙๖,๘๙๗ ๖๑๙,๘๐๘ ๔๖๔,๓๖๕ ๖๕๒,๓๔๐

๒๕๖๘ ๕๗๗,๖๗๐ +๓.๔๖ ๕๐๕,๘๘๗ ๖๔๙,๔๕๓ ๔๖๗,๘๘๗ ๖๘๗,๔๕๓

๒๕๖๙ ๕๙๖,๙๘๘ +๓.๓๔ ๕๑๔,๔๔๔ ๖๗๙,๕๓๒ ๔๗๐,๗๔๘ ๗๒๓,๒๒๘

๒๕๗๐ ๖๑๖,๓๐๕ +๓.๒๔ ๕๒๕,๕๗๕ ๗๑๐,๐๓๖ ๔๗๒,๙๕๖ ๗๕๙.๖๕๔

หมายเหตุ: Lo 80 คอื ขอบเขตลา่ งทช่ี ่วงความเช่อื มนั ที่ 80% , Hi 80 คอื ขอบเขตบนที่ช่วงความเชอื่ มันที่ 80%

Lo 95 คือ ขอบเขตล่างท่ีชว่ งความเช่ือมนั ท่ี 95% , Hi 95 คือ ขอบเขตบนทชี่ ว่ งความเช่อื มันท่ี 95%

ทมี่ า: จากการคานวณ

โครงการจัดทาแผนส่ิงแวดล้อมในพื้นทเ่ี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๗

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม รายงานฉบบั สดุ ท้าย

หมายเหตุ: พื้นทส่ี ฟี า้ เขม้ แสดงตัวเลขประมาณการท่ชี ว่ งความเช่ือมนั ท่ี 80%
พื้นท่สี ฟี ้าออ่ นแสดงตัวเลขประมาณการท่ชี ว่ งความเช่ือมันท่ี 95%

ภาพที่ ๓ - ๖ ผลการพยากรณเ์ ศรษฐกจิ ภาคการบรกิ ารในพื้นทเี่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก
ตง้ั แต่ปพี .ศ. ๒๕๖๒ – ๒๕๗๐

สถานการณ์ ทางเศรษฐกิจในอนาคตรายจังหวัด ในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
ซึ่งประกอบด้วยซึ่งประกอบด้วยจังหวัดระยอง จังหวัดชลบุรีและจังหวัดฉะเชิงเทรานั้น สามารถแบ่งออกเป็น
๓ ภาคส่วนประกอบด้วยเศรษฐกิจภาคการเกษตร ภาคอุตสาหกรรมและภาคการบริการ โดยในการศึกษาครั้ง
น้ีได้ทาการพยากรณ์ด้วยโดยพิจารณารูปแบบการเปล่ียนแปลงของ GPP ของ ๓ ภาคเศรษฐกิจ โดยการ
ประยุกต์ใช้แบบจาลอง ARIMA ในการพยากรณ์ โดยทาการพยากรณ์ต้ังแต่ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ - ๒๕๗๐
โดยสามารถอภปิ รายผลการศึกษาดังน้ี

จงั หวัดฉะเชิงเทรา ผลการพยากรณ์ภาคการเกษตรของจังหวดั ฉะเชงิ เทราพบว่า ในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๖๒
– ๒๕๗๐ มีแนวโน้มเพิ่มสูงข้ึน เนื่องจากเนื่องจากลักษณะภูมิประเทศของจังหวัดฉะเชิงเทราท่ีตั้งอยู่บริเวณที่
ราบลมุ่ แม่นา้ บางปะกง ทาใหส้ ภาพพื้นท่ีมคี วามอุดมสมบูรณ์ รวมทั้งทรพั ยากรธรรมชาติที่มอี ยู่ซ่ึงเหมาะสมต่อ
การทาการเกษตรกรรม พ้ืนท่ีบางส่วนของจังหวัดฉะเชิงเทรายังติดกับชายฝ่ังทะเลด้านอ่าวไทย จึงทาให้
เกษตรกรมีอาชีพทาการประมงน้าเค็มและเพาะเล้ียงสัตวน์ ้าชายฝั่งทะเลอีกด้วย การประกอบอาชีพเพาะปลูก
ทีส่ าคญั ของเกษตรกรในจังหวดั ฉะเชงิ เทรา คือ การปลูกขา้ ว ข้าวเปน็ พืชเศรษฐกิจหลกั ทีส่ าคัญที่มกี ารปลูกกัน
เป็นจานวนมากในจังหวัดฉะเชิงเทรา นอกจากทานาปลูกข้าวแล้วเกษตรกรยังปลูกพืชผักสวนครัว ทาสวน
ผลไมด้ ้วย เช่น มะม่วง มะพร้าว หมาก การทาไร่ส่วนใหญ่จะเป็นการทาไร่ทป่ี ลกู พืชหมนุ เวียนตามฤดกู าลสลับ
กับการทานา ผลการพยากรณ์ในภาคอุตสาหกรรมของจังหวัดฉะเชิงเทราพบว่า ในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๖๒ –
๒๕๗๐ มีแนวโน้มเพ่ิมสูงข้ึน จังหวัดฉะเชิงเทราเป็นจังหวัดท่ีมีการขยายตัวทางอุตสาหกรรมเพิ่มมากข้ึน
เนื่องจากนโยบายของรัฐบาลในการกระจายความเจริญและการลงทุนสู่ภูมิภาคและปริมณฑล อีกทั้งอัตรา
ค่าแรงข้ันต่าถูกกว่ากรุงเทพฯ และจังหวัดปริมณฑล ตลอดจนเป็นแหล่งวัตถุดิบทางด้านเกษตรกรรมจึงทาให้
แนวโน้มภาคอุตสาหกรรมมีโอกาสขยายตัวอย่างต่อเน่ือง สาหรับภาคการบริการของจงั หวดั ฉะเชิงเทรา พบว่า

โครงการจดั ทาแผนสง่ิ แวดลอ้ มในพื้นทเี่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๘

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม รายงานฉบับสุดทา้ ย

ในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๖๒ – ๒๕๗๐ มีแนวโน้มเพิ่มสูงขน้ึ เนื่องจากจังหวัดฉะเชิงเทราเปน็ จังหวดั ท่ีมีทรพั ยากรทาง
ธรรมชาติและทรพั ยากรทางวัฒนธรรมที่หลากหลายเหมาะแก่การท่องเท่ียวเชิงอนุรกั ษ์เป็นอย่างย่ิง มลี ักษณะ
พิเศษท่ีน่าสนใจ อาทิ ลักษณะภูมิประเทศท่ีมีแม่น้าบางปะกงและป่าไม้สมบูรณ์ในเขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่า
เขาอ่างฤาไน ลกั ษณะวถิ ีชีวิตท่ีสงบเรียบง่ายของชมุ ชนเก่าแก่ ประเพณีและวัฒนธรรมดั้งเดิม กจิ กรรมทางการ
ท่องเท่ียวหลากหลาย ความพร้อมด้านการคมนาคมขนส่งที่สะดวก จึงสามารถดึงดูนักท่องเที่ยวและทาให้
เศรษฐกจิ ด้านการบริการมีแนวโน้มเพิม่ สงู ขน้ึ

ภาคการเกษตร ภาคอตุ สาหกรรม ภาคการบริการ

หมายเหตุ: พื้นทสี่ ีฟ้าเขม้ แสดงตวั เลขประมาณการทช่ี ่วงความเช่อื มนั ที่ 80 %

พื้นทส่ี ีฟ้าอ่อนแสดงตวั เลขประมาณการที่ช่วงความเชอื่ มันท่ี 95 %

ภาพท่ี ๓ - ๗ ผลการพยากรณ์เศรษฐกจิ ของจงั หวดั ฉะเชงิ เทรา ต้ังแต่ปีพ.ศ. ๒๕๖๒ - ๒๕๗๐

จงั หวัดชลบุรี ผลการพยากรณ์ภาคการเกษตรของจังหวัดชลบุรีพบว่า ในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๖๒ – ๒๕๗๐
ไม่มีการเปล่ียนแปลง เน่ืองจากเศรษฐกิจของจังหวัดชลบุรีข้ึนอยู่กับภาคนอกเกษตร ประกอบกับพื้นท่ี
เกษตรกรรมในจังหวัดชลบุรียังคงมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเน่ือง สาเหตุมาจากการพัฒนาเศรษฐกิจ
ภายในประเทศและภาคตะวันออกตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๕ เป็นต้นมา รวมท้ังความผันผวนของราคาสินค้า
ทางการเกษตรและสภาพดิน ฟ้า อากาศ ที่มีความไม่แน่นอนทาให้เกษตรกรเกิดความไม่มั่นใจในการลงทุน
และการขาดแคลนแรงงานภาคเกษตรในอนาคต สาหรับผลการพยากรณ์ภาคอุตสาหกรรมของจังหวัดชลบุรี
พบว่า ในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๖๒ – ๒๕๗๐ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเพียงเล็กน้อยในระยะยาว ท้ังน้ีจังหวัดชลบุรีเป็น
จังหวัดท่ีตั้งอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ของประเทศ ได้แก่ อุตสาหกรรมกลั่นน้ามัน ช้ินส่วนยานยนต์
อเิ ลก็ ทรอนิกส์เป็นศูนย์กลางทางค้า การลงทุน มีท่าเรอื ขนาดใหญ่ที่สาคญั คือท่าเรือแหลมฉบัง ทาให้มีโอกาส
เป็นศูนย์กลางคมนาคม เพ่ือการนาเข้าและส่งออกทางทะเลท่ีสาคัญ รวมท้ังเส้นทางเชื่อมโยงการขนส่งไปสู่
ภูมิภาคต่าง ๆ มีสภาพภูมิศาสตร์ท่ีเหมาะสมและปลอดภัย ดังนั้น จึงจาเป็นอย่างยิ่งในการสร้างมาตรการเพ่ือ
กระตุ้นภาคอุตสาหกรรมให้เกิดการลงทุนมากย่ิงขึ้น ผลการพยากรณ์ภาคการบริการของจังหวัดชลบุรีพบว่า
ในชว่ งปี พ.ศ. ๒๕๖๒ – ๒๕๗๐ มีแนวโน้มเพ่ิมสงู ขึ้นอย่างต่อเนื่อง เน่ืองจากจังหวัดชลบุรเี ป็นจังหวัดหน่ึงของ
ไทยท่ีมีความสาคัญด้านการท่องเที่ยว และมีศักยภาพสูงในการดึงดูดนักท่องเท่ียวมายังภาคตะวันออก
ซ่ึงเป็นปัจจัยสาคัญทส่ี ่งเสริมให้จังหวัดชลบุรีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว โดยการเดินทางท่ีเกิดจากการท่องเท่ียว
ถือไดว้ ่าเปน็ ปรมิ าณการเดนิ ทางหลกั ที่มุ่งสู่จงั หวดั ชลบุรี

โครงการจดั ทาแผนสิ่งแวดลอ้ มในพ้ืนทเ่ี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๙

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม รายงานฉบบั สุดทา้ ย

ภาคการเกษตร ภาคอุตสาหกรรม ภาคการบรกิ าร

หมายเหต:ุ พ้นื ท่สี ีฟา้ เข้มแสดงตัวเลขประมาณการท่ชี ว่ งความเชอ่ื มนั ท่ี 80 %

พืน้ ทสี่ ีฟา้ ออ่ นแสดงตวั เลขประมาณการท่ชี ่วงความเช่อื มนั ที่ 95 %

ภาพที่ ๓ - ๘ ผลการพยากรณ์เศรษฐกิจของจังหวดั ชลบรุ ี ต้ังแต่ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ - ๒๕๗๐

จังหวดั ระยอง ผลการพยากรณ์ภาคการเกษตรของจังหวัดระยองพบว่า ในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๖๒ – ๒๕๗๐
มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เน่ืองจากจังหวัดระยองมีสภาพมีสภาพภูมิประเทศและภูมิอากาศท่ีเหมาะสมต่อการทา
เกษตรกรรม โดยพืชเศรษฐกิจที่สาคัญได้แก่ ยางพารา เป็นพืชที่เพาะปลูกมากท่ีสุดเม่ือเปรียบเทียบกับพืช
เศรษฐกิจชนิดอื่น ๆ เน่ืองจากปลูกง่าย ไม่จาเป็นต้องดูแลรักษามาก อีกทั้งสภาพทางภูมิประเทศ เอ้ืออานวย
ต่อการเพาะปลูกโดยไม่ต้องประสบปัญหาและอุปสรรคอันเกิดจากฝนตก นอกจากน้ียังมีมันสาปะหลัง
สัปปะรด ทุเรียน เงาะ และมังคุด เป็นต้น นอกจากนี้เกษตรกรในจังหวัดระยองมีการเลี้ยงสัตว์เพื่อการค้า
โดยเฉพาะไก่และเป็ด เป็นผลเน่ืองจากราคาเป็นสิ่งจูงใจและการได้รับการส่งเสริมเงินกู้จากหน่วยงานภาครัฐ
เช่น เงินกองทุนหมู่บ้าน เงินกู้ช่วยเหลืออื่น ๆ เป็นต้น และยังมีการทาอาชีพการประมงซึ่งเป็นอาชีพด้ังเดิม
ของประชาชนชาวระยอง เนื่องจากสภาพภูมิประเทศและสภาวะภูมอิ ากาศท่เี หมาะสมสง่ ผลให้ท้องทะเลมีสัตว์
น้าท่ีอุดมสมบูรณ์ มีการทาประมงเชิงพาณิชย์ ประมงพื้นบ้าน ประมงเรือเล็กตามแนวชายฝั่งทั่วไป
ผลการพยากรณ์ภาคอุตสาหกรรมของจังหวัดระยองพบว่า ในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๖๒ – ๒๕๗๐ มีแนวโน้มเพิ่ม
สูงขึ้น อันเน่ืองมาจากโครงการพัฒนาพ้ืนที่บริเวณชายฝ่ังทะเลตะวันออกท่ีกาหนดแนวทางการพัฒนาให้
จังหวัดระยองเป็นศูนย์กลางความเจริญแห่งใหม่ เป็นศูนย์บริการมาตรฐานการศึกษาและวิจัยด้านเทคโนโลยี
และกาหนดให้ชายฝ่ังทะเลภาคตะวันออกเป็นประตูทางออกให้กับภาคตะวันออกเฉียงเหนือในการส่ง
สินค้าออกไปจาหน่ายต่างประเทศโดยไม่ต้องผ่านกรุงเทพฯ กาหนดพ้ืนที่บริเวณมาบตาพุดเป็นที่ต้ังของนิคม
อุตสาหกรรม มีท่าเรือน้าลึกขนส่งสินค้า เป็นที่ตั้งของอุตสาหกรรมสาคัญ ๆ เช่น โรงแยกก๊าซธรรมชาติ กลุ่ม
อตุ สาหกรรมปิโตรเคมี และอุตสาหกรรมปุ๋ยเคมี เป็นพื้นที่ศักยภาพสูงในการลงทุนด้านอุตสาหกรรม ส่งผลให้
จังหวัดระยองมีการลงทุนและการพัฒนาด้านอุตสาหกรรมอย่างรวดเร็ว ผลการพยากรณ์ภาคการบริการของ
จังหวัดระยองพบว่า ในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๖๒ – ๒๕๗๐ มีแนวโน้มเพ่ิมสูงข้ึน เน่ืองจากจังหวัดระยองมีความ
หลากหลายด้านการท่องเท่ียวท้ังหาดทราย ทะเล เกาะต่าง ๆ ภูเขา น้าตก สวนผลไม้รวมท้ังอาหารทะเลท่ีสด
สะอาด มีชายหาดยาวกว่า ๑๐๐ กิโลเมตร มีเกาะเสม็ดท่ีถือเป็นแหล่งท่องเที่ยวท่ีได้รับความนิยมอย่างสูง
ดงั นน้ั การท่องเท่ียวและการบริการของจงั หวดั ระยองจึงมแี นวโนม้ เพ่ิมสงู ข้นึ (อยา่ งไรก็ตามการวิเคราะห์น้ีไมไ่ ด้
รวมผลกระทบจากการแพรร่ ะบาดของโควดิ -19)

โครงการจัดทาแผนสงิ่ แวดล้อมในพืน้ ทเี่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๑๐

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม รายงานฉบบั สุดท้าย

ภาคการเกษตร ภาคอตุ สาหกรรม ภาคการบรกิ าร

หมายเหต:ุ พนื้ ทีส่ ฟี ้าเข้มแสดงตวั เลขประมาณการท่ชี ่วงความเชอื่ มนั ท่ี 80 %

พนื้ ที่สีฟ้าออ่ นแสดงตัวเลขประมาณการที่ชว่ งความเช่อื มนั ที่ 95 %

ภาพท่ี ๓ - ๙ ผลการพยากรณ์เศรษฐกจิ ของจงั หวดั ระยอง ตง้ั แต่ปีพ.ศ. ๒๕๖๒ - ๒๕๗๐

๓.๑.๓ ผลกระทบของการแพรร่ ะบาดโควดิ -19 ต่อเศรษฐกจิ ในพืน้ ท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก
การแพร่ระบาดของโควิด-19 ในประเทศไทยเร่ิมมาต้ังแต่ต้นเดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๖๒ เป็นต้นมา
จนถึงปัจจบุ ันและทวีความรนุ แรงมากขนึ้ เร่ือย ๆ ซ่ึงส่งผลกระทบต่อทุกภาคส่วนเป็นอย่างย่ิง โดยเฉพาะในมิติ
ของภาคเศรษฐกจิ แมใ้ นโตรมาส ๒/๒๕๖๔ จะมีการขยายตัวของเศรษฐกจิ รอ้ ยละ ๗.๕ (y-o-y) เมื่อเทียบกับ
ไตรมาสเดียวกันในปีกอ่ นจากผลของฐานท่ีต่า (ติดลบ -12%) และเม่ือขจัดอิทธพิ ลของฤดกู าลแลว้ การขยายตัว
ทางเศรษฐกิจเพ่ิมขึ้นร้อยละ +๐.๔ (q-o-q) แสดงในภาพท่ี ๓ - ๑๐ และภาพท่ี ๓ - ๑๑ ดังนี้ การแพร่ระบาด
ระลอกสามของ COVID-19 ทาให้ประชาชนยังระมัดระวังในการใช้จ่าย แม้จะมีการปรับตัวดีขึ้นเล็กน้อยตาม
การผ่อนคลายมาตรการควบคุมการระบาด แต่ยังมีผลกระทบต่อเนื่องไปยังกาลังซื้อและความเชื่อม่ันของ
ผู้บริโภค ในขณะท่ีมาตรการเยียวยาจากทางภาครัฐคาดว่าจะช่วยประคองการดารงชีพท่ีจาเป็นของประชาชน
แต่ไม่สามารถชดเชยผลกระทบทางเศรษฐกิจโดยรวม ขณะท่ีภาคการท่องเที่ยวยังไม่ฟื้นตัวเนื่องจากมาตรการ
จากัดการเดินทางระหว่างประเทศยังมีอยู่ สาหรับการส่งออกสินค้าไปยังต่างประเทศมีแนวโน้มดีข้ึนต่อเนื่อง
ตามการฟื้นตัวของอุปสงค์ประเทศคู่ค้า และยังช่วยพยุงการลงทุนภาคเอกชนและการผลิตภาคอุตสาหกรรม
นอกจากน้ีการใช้จ่ายภาครัฐยงั ขยายตัวได้เมื่อเทียบกับระยะเดียวกันปีก่อนจากท้ังรายจ่ายประจาและรายจ่าย
ลงทุน ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ อัตราเงินเฟ้อท่ัวไปยังคงปรับลดลง เน่ืองจากผลของฐานต่าในหมวดราคา
พลังงานทยอยหมดไป ขณะที่อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานทรงตัวใกล้เคียงกับเดือนก่อน ด้านตลาดแรงงานยัง
เปราะบาง สาหรับดุลบัญชีเดินสะพัดขาดดุลน้อยกว่าเดือนก่อน จากดุลบริการ รายได้ และเงินโอนที่ขาดดุล
ลดลง ประกอบกบั ดุลการค้าเกินดุลเพมิ่ ขึ้นตามทศิ ทางการสง่ ออก

โครงการจดั ทาแผนสิ่งแวดลอ้ มในพ้ืนที่เขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๑๑

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม รายงานฉบบั สดุ ท้าย

ภาพที่ ๓ - ๑๐ แสดงอัตราการขยายตวั ทางเศรษฐกจิ ของประเทศไทย (y-o-y)

ภาพที่ ๓ - ๑๑ แสดงอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกจิ ของประเทศไทย (q-o-q)

เม่ือพิจารณาผลกระทบต่อเศรษฐกิจในเขตเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก หลังจากจานวนผู้ป่วยใน
พ้ืนที่มีการเพิ่มสูงข้ึนมาก และนาไปสู่การใช้มาตรการควบคุมการเดินทางและจากัดกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
ต่าง ๆ อย่างไรก็ตามเศรษฐกิจในไตรมาส ๒ มีการขยายตัวเพิ่มขึ้นโดยมีการประมาณการว่าเศรษฐกิจจะ
ขยายตัวร้อยละ ๘.๑ (y-o-y) ภาคอุตสาหกรรมขยายตัวสูงจากตามการส่งออกท่ีฟ้ืนตัวดีตามอุปสงค์ของ
ประเทศคู่คา้ และผลของฐานตา่ ในไตรมาสเดียวกันของปี ภาคเกษตรกรรมขยายตวั ได้ตามการเพ่มิ ข้ึนของผลไม้
และมันสาปะหลัง สาหรับภาคบริการขยายตัวเล็กน้อยจากผลของฐานที่ต่าในไตรมาสเดียวกันปีก่อนที่มี
มาตรการปิดเมืองท่ัวประเทศ และมีการประกาศเลื่อนวันหยุดเทศกาลสงกรานต์ออกไป ขณะท่ีในปีน้ีมีเพียง
การงดการจัดกิจกรรมทาให้ยังมีการเดินทางข้ามจังหวัดแต่จานวนนักท่องเท่ียวทั้งชาวไทยและต่างชาติยังคง
หดตัวสูงเนื่องจากนักท่องเท่ียวยังขาดความเช่ือมั่นในเรื่องการควบคุมการแพร่ระบาดของ COVID-19 กลุ่ม
กจิ การบริการท่ีจะได้รับผลกระทบน้ันมีความสาคัญไม่น้อยต่อกิจการขนาดเล็กจานวนมาก โดย SMEs ในภาค
บริการในเขต EEC มีจานวนประมาณ ๖๐,๐๐๐ ราย คิดเป็นร้อยละ ๘๕ ของจานวนกิจการท้ังหมด
ท่ีจดทะเบียนใน EEC ซึ่งมีการจ้างงานรวมประมาณ ๕ แสนคน ถือเป็นแหล่งรายได้ที่สาคัญของครัวเรือนใน
พน้ื ที่

โครงการจดั ทาแผนสิง่ แวดลอ้ มในพนื้ ท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๑๒

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสุดทา้ ย

ภาพท่ี ๓ - ๑๒ อัตราการขยายตวั ทางเศรษฐกจิ ในพื้นที่ EEC

๓.๑.๔ ผลกระทบจากนโยบายดา้ นสิ่งแวดล้อมของสหรัฐอเมรกิ าตอ่ เศรษฐกิจ
นายโจ ไบเดน ประธานาธิบดสี หรัฐอเมริกาคนปจั จุบันท่ีเขา้ รบั ตาแหน่งในเดือนมกราคม ปี พ.ศ. ๒๕๖๔
เป็นต้นมา มีมุมมองว่าเศรษกิจและส่ิงแวดล้อมเป็นเรื่องเดียวกันจึงมีนโยบายที่สาคัญในด้านส่ิงแวดล้อมอย่าง
ชัดเจน โดยเฉพาะการปฏิวัติพลังงานสะอาด (Clean Energy Revolution) ท่ีมีการตระหนักถึงปัญหา
การเปลี่ยนแปลงทางภูมิอากาศ ท่ีไม่เพียงเป็นปัญหาทางด้านสิ่งแวดล้อมเท่าน้ันแต่ยังมีความเก่ียวข้องกับ
สุขภาพ ความเป็นอยู่ในชุมชน ความปลอดภัยระดับชาติและเศรษฐกิจของประเทศ นอกจากนี้ยังเตรียมปรับ
Green New Deal หรือข้อเสนอด้านนโยบายท่ีระบุปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและความเหลื่อม
ล้าทางเศรษฐกิจ ซ่ึงเช่ือว่าหากสหรัฐฯ สามารถปรับรูปแบบและใช้ประโยชน์จากพลังงานสะอาดทั้งหมด
ผนวกกับความสามารถของบุคลากรและนวัตกรรม จะเป็นโอกาสในการฟ้ืนฟูด้านพลังงานของสหรัฐฯ สร้าง
อตุ สาหกรรมใหม่ที่ส่งเสริมการผลิต สร้างงานทั่วประเทศและกระตุ้นการเติบโตของเศรษฐกิจทั่วโลก จะทาให้
สหรฐั ฯ ให้กลายเป็นมหาอานาจดา้ นพลงั งานสะอาดและยังสามารถสง่ ออกเทคโนโลยีพลงั งานสะอาดไปทวั่ โลก
สาหรับผลกระทบจากนโยบายดังกล่าวต่อประเทศไทยน้ัน สหรัฐฯ มีแนวโน้มที่จะออกมาตรการเก็บ
ภาษีคาร์บอนกับสินค้านาเข้าท่ีใช้เช้ือเพลิงฟอสซิล โดยเฉพาะมาตรการปรับคาร์บอนก่อนเข้าพรมแดน
(carbon border adjustment mechanism) หรือการเกบ็ ภาษคี าร์บอน ซึ่งเป็นนโยบายทสี่ หภาพยุโรปกาลัง
พิจารณาบังคับใช้เช่นกัน โดยเน้นการใชม้ าตรการทางภาษีกับสินค้านาเข้าท่มี ีการใชพ้ ลังงานเข้มข้น และมีการ
ปลอ่ ยก๊าซเรอื นกระจกตลอดกระบวนการผลิตในระดบั สูง โดยสหภาพยโุ รปมีแนวคิดที่จะเร่ิมเก็บภาษีคาร์บอน
ในอตั รา ๑๐ ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อตันคาร์บอน และในอนาคตจะเพิ่มจนถึง ๖๐ ดอลลาร์สหรัฐฯ ตอ่ ตันคาร์บอน
ในกรณีสหรัฐฯ แม้ว่านโยบายดังกล่าวมีเป้าหมายเพ่ือลดโลกร้อน แต่จะเป็นการเพิ่มต้นทุนและทาให้สินค้า
นาเข้าจากไทยมีราคาสูงข้ึน รวมถงึ อาจกระทบต่อความสามารถในการแข่งขันได้ เช่น ต้นทนุ ในการดาเนินการ
ให้หน่วยงานระหวา่ งประเทศที่เก่ียวข้องมาตรวจวัดการปล่อยก๊าซและให้การรับรองฉลาก ในปัจจุบันแม้ยังไม่
บังคับใช้มาตรการข้างต้น แต่ผ้สู ่งออกสินคา้ ของไทยจาเป็นต้องเตรียมความพร้อมในการผลิตเพื่อให้สอดคล้อง
กับนโยบายสิ่งแวดล้อมเพ่ือโอกาสทางการค้าในอนาคต ซึ่งเม่ือพิจารณาโครงสร้างสินค้าท่ีไทยส่งออกไปยัง
สหรัฐฯ พบว่า มูลคา่ สินค้าที่ไทยสง่ ออกไปยังสหรัฐฯที่สูงที่สุดเป็นสินค้าในหมวดอุตสาหกรรม โดยมีอัตราการ
ขยายตัวเพิ่มขน้ึ อย่างต่อเนื่อง รองลงมาคือสินค้าในหมวดอุตสาหกรรมการเกษตร สินค้าแร่และเช้ือเพลิง และ
สินคา้ เกษตรกรรม ตามลาดบั แสดงในตารางท่ี ๓ - ๕ ดังน้ี

โครงการจัดทาแผนสิ่งแวดลอ้ มในพ้นื ท่เี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๑๓


Click to View FlipBook Version