The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานฉบับสุดท้าย_เล่มที่ 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ONEP-EEC, 2021-12-22 13:33:58

รายงานฉบับสุดท้าย_เล่มที่ 1

รายงานฉบับสุดท้าย_เล่มที่ 1

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม รายงานฉบบั สุดทา้ ย

ตารางที่ ๔ - ๗๓ การใช้ประโยชนท์ ด่ี ินของจงั หวดั ชลบุรี ปี พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๖๓

ประเภทการใชท้ ีด่ นิ พ.ศ. ๒๕๕๖ พ.ศ. ๒๕๕๙ พ.ศ. ๒๕๖๓ อตั ราการ
เปล่ยี นแปลง*
พื้นที่ (ไร่) รอ้ ยละ พื้นที่ (ไร)่ ร้อยละ พน้ื ที่ (ไร)่ รอ้ ยละ
๓๒.๑๙
พื้นทอ่ี ยู่อาศยั ๑๙๗,๐๑๕ ๗.๒๒ ๒๓๗,๓๕๐ ๘.๗๐ ๒๖๐,๔๔๐ ๙.๕๕ ๒๙.๑๑
๗.๒๘
พน้ื ทพ่ี าณิชยกรรม ๔๙,๓๒๐ ๑.๘๑ ๖๒,๙๕๖ ๒.๓๑ ๖๓,๖๗๕ ๒.๓๔ ๑๕.๑๐
๒๔.๑๗
สถานทร่ี าชการ ๖๖,๒๖๑ ๒.๔๓ ๖๙,๙๐๘ ๒.๕๖ ๗๑,๐๘๓ ๒.๖๑ ๒๐.๗๒
-๑๐.๐๕
การสาธารณปู โภคและสาธารณูปการ ๔๗,๗๗๙ ๑.๗๕ ๕๓,๘๗๐ ๑.๙๘ ๕๔,๙๙๖ ๒.๐๒ ๑.๘๑
๕๖.๑๓
พนื้ ที่สีเขียวเพ่ือนันทนาการ ๓๒,๐๒๑ ๑.๑๗ ๓๗,๖๒๖ ๑.๓๘ ๓๙,๗๕๙ ๑.๔๖ ๒.๐๗
๑๔.๗๑
พื้นทอ่ี ุตสาหกรรม ๑๐๐,๕๖๕ ๓.๖๙ ๑๑๐,๒๖๘ ๔.๐๔ ๑๒๑,๔๐๒ ๔.๔๕ ๒๙๐.๑๑
๓๔.๔๘
พื้นทเี่ กษตรกรรม ๑,๖๙๙,๒๕๑ ๖๒.๓๑ ๑,๕๖๕,๙๓๒ ๕๗.๔๓ ๑,๕๒๘,๕๑๐ ๕๖.๐๕ -๔๒.๔๓

พน้ื ทีป่ า่ ไม้ ๔๒๒,๖๑๒ ๑๕.๕๐ ๔๕๑,๒๒๐ ๑๖.๕๕ ๔๓๐,๒๕๒ ๑๕.๗๘

พื้นที่น้า ๕๕,๒๗๙ ๒.๐๓ ๗๗,๔๙๒ ๒.๘๔ ๘๖,๓๐๘ ๓.๑๗

บอ่ ลกู รัง/ทราย/ดิน/เหมืองเก่า ๔๖,๘๘๙ ๑.๗๒ ๔๓,๕๓๐ ๑.๖๐ ๔๗,๘๖๐ ๑.๗๖

พ้นื ทร่ี อการพฒั นา ๖๘ ๐ ๑๖ ๐ ๗๘ ๐

พืน้ ที่วา่ ง ๕,๐๕๗ ๐.๑๙ ๑๓,๙๒๐ ๐.๕๑ ๑๙,๗๒๘ ๐.๗๒

หาดทราย ๕๘ ๐ ๗๘ ๐ ๗๘ ๐

เหมืองแร่ ๔,๗๐๐ ๐.๑๗ ๒,๗๐๙ ๐.๑๐ ๒,๗๐๖ ๐.๑๐

รวม ๒,๗๒๖,๘๗๕ ๑๐๐ ๒,๗๒๖,๘๗๕ ๑๐๐ ๒,๗๒๖,๘๗๕ ๑๐๐

หมายเหต:ุ *อัตราการเปลยี่ นแปลง เป็นขอ้ มูลเปรยี บเทียบระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๕๖ และ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓

ที่มา: กรมพัฒนาทด่ี ิน (๒๕๖๓)

จากตารางท่ี ๔ - ๗๔ พบว่า จังหวัดระยองมีแนวโน้มการลดลงของพื้นที่ป่าไม้ โดยใน
ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ มีอตั ราลดลงรอ้ ยละ ๑.๖๕ จากปี พ.ศ. ๒๕๕๖ พบพนื้ ที่เกษตรกรรมมแี นวโน้มลดลง โดยในปี
พ.ศ. ๒๕๖๓ มีอัตราเพ่ิมข้ึนร้อยละ ๖.๕๓ จากปี พ.ศ. ๒๕๕๖ นอกจากน้ียังพบแนวโน้มการเพิ่มข้ึนอย่าง
ต่อเนอ่ื งของพื้นท่อี ยูอ่ าศัย พื้นทพี่ าณิชยกรรม สถานท่ีราชการ พ้ืนทีก่ ารสาธารณปู โภคและสาธารณปู การ และ
พื้นที่สีเขียวเพ่ือนันทนาการ โดยในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ มีอัตราเพ่ิมขึ้นร้อยละ ๓๐.๘๙ ร้อยละ ๘๙.๐๕ ร้อยละ
๙.๓๔ ร้อยละ ๕๕.๕๕ และร้อยละ ๕.๒๐ จากปี พ.ศ. ๒๕๕๖ ตามลาดับ และพบว่าพ้ืนท่ีอุตสาหกรรมมี
แนวโนม้ เพ่ิมขึ้น โดยในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ มอี ัตราเพ่ิมขนึ้ ร้อยละ ๔๕.๔๗ จากปี พ.ศ. ๒๕๕๖

สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงการใช้ท่ีดิน เกิดจาการขยายตัวของประชากรและเศรษฐกิจ
สง่ ผลให้มีความต้องการใช้ที่ดินเพื่ออยู่อาศยั ประกอบการค้าการบรกิ าร และอุตสาหกรรม เพิ่มมากขึ้น รวมถึง
โครงการพัฒนาและการเชื่อมต่อโครงข่ายคมนาคมที่สะดวกรวดเร็วและสร้างจุดศูนย์กลางการพัฒนาใหม่
รวมถึงพ้ืนท่ีบริเวณรอบศูนย์กลาง เช่น บริเวณสถานีรถไฟฟ้า ส่งผลให้เกิดการเปล่ียนแปลงการใช้ท่ีดินไปเป็น
เมืองสูงขึ้น โดยสถานีรถไฟฟ้าท่ีจะเกิดข้ึนในพ้ืนที่ EEC ได้แก่ สถานีฉะเชิงเทรา สถานีชลบุรี สถานีศรีราชา
สถานีพัทยา และสถานีอู่ตะเภา ซึ่งหากพิจารณาพ้ืนท่ีรอบสถานีรถไฟฟ้าพบวา่ ในขณะท่ีการใช้ที่ดินชานเมือง
จะมีการเปลยี่ นแปลงเป็นท่ีอยอู่ าศัยหนาแน่นเบาบาง เพ่อื รองรบั การขยายตัวของเมือง

แนวทางการจัดการการใช้ประโยชน์ท่ีดิน ในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกมีการ
ประกาศแผนผังการใช้ประโยชน์ที่ดินท้ายประกาศคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
เร่ือง แผนผังการใช้ประโยชน์ที่ดิน และแผนผังการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานและระบบสาธารณูปโภค เขต

โครงการจดั ทาแผนส่ิงแวดลอ้ มในพนื้ ท่เี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๒๗

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม รายงานฉบับสดุ ทา้ ย

พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๒ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม การ
สาธารณูปโภค สาธารณูปการ การคมนาคมและการขนส่ง ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม เพื่อให้
สอดคล้อง และเหมาะสมกับศักยภาพของพ้ืนที่และรองรับการพัฒนาเมืองและชุมชนในอนาคต และแผนผัง
การใช้ประโยชน์ในท่ีดิน กาหนดประเภทท่ีดนิ ไว้ ๑๑ ประเภท ได้แก่ ๑) ทด่ี ินประเภท พ. กาหนดไวเ้ ป็นสีแดง
ให้เป็นท่ีดินประเภทศูนย์กลางพาณิชยกรรม ๒) ที่ดินประเภท ม. กาหนดไว้เป็นสีส้ม ให้เป็นที่ดินประเภท
ชุมชนเมือง ๓) ท่ีดินประเภท รม. กาหนดไว้เป็นสีส้มอ่อนมีจุดสีขาว ให้เป็นที่ดินประเภทรองรับการพัฒนา
เมือง ๔) ท่ีดินประเภท ขก. ท่ีกาหนดไว้เป็นสีน้าตาล ให้เป็นท่ีดินประเภทเขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษเพื่อ
กิจการพิเศษ ๕) ท่ีดินประเภท ขอ. กาหนดไว้เป็นสีม่วง ให้เป็นที่ดินประเภทเขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษเพื่อ
กิจการอุตสาหกรรม ๖) ท่ีดินประเภท อ. กาหนดไว้เป็นสีม่วงอ่อนมีจุดสีขาว ให้เป็นท่ีดินประเภทพัฒนา
อุตสาหกรรม ๗) ท่ีดินประเภท ชบ. กาหนดไว้เป็นสีเหลืองอ่อน ให้เป็นที่ดินประเภทชุมชนชนบท ๘) ที่ดิน
ประเภท สก. กาหนดไว้เป็นสีเขียวอ่อน ให้เป็นที่ดินประเภทส่งเสริมเกษตรกรรม ๙) ที่ดินประเภท ปก.
กาหนดไว้เป็นสเี หลืองมีเส้นทแยงสีเขียว ใหเ้ ป็นที่ดินประเภทท่ีพระราชกฤษฎีกากาหนดให้เป็นเขตปฏิรูปที่ดิน
๑๐) ที่ดินประเภท ล. กาหนดไว้เป็นสีเขียวมีเส้นทแยงสีฟ้า ให้เป็นที่ดินประเภทที่โล่งเพื่อการรักษาคุณภาพ
สิ่งแวดล้อม ๑๑) ที่ดินประเภท อป. ท่ีกาหนดไว้เป็นสีเขียวอ่อนมีเส้นทแยงสีขาว ให้เป็นที่ดินประเภทอนุรักษ์
ป่าไม้ เพื่อใช้เป็นกรอบในการใช้ประโยชน์ที่ดินให้ป็นไปตามทิศทางการพัฒนาในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาค
ตะวนั ออก

ตารางที่ ๔ - ๗๔ การใช้ประโยชน์ที่ดนิ ของจงั หวดั ระยอง ปี พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๖๓

ประเภทการใชท้ ดี่ ิน พ.ศ. ๒๕๕๙ พ.ศ. ๒๕๖๑ พ.ศ. ๒๕๖๓ อัตราการ
เปลีย่ นแปลง*
พ้นื ท่ี (ไร่) ร้อยละ พืน้ ท่ี (ไร)่ ร้อยละ พ้นื ท่ี (ไร)่ ร้อยละ
๓๐.๘๙
พน้ื ที่อยูอ่ าศัย ๑๑๓,๕๐๘ ๕.๑๑ ๑๒๖,๖๐๗ ๕.๗๐ ๑๔๘,๕๖๕ ๖.๖๙ ๘๙.๐๕
๙.๓๔
พื้นทพี่ าณชิ ยกรรม ๑๐,๕๗๕ ๐.๔๘ ๑๑,๑๕๐ ๐.๕๐ ๑๙,๙๙๒ ๐.๙๐ ๕๕.๕๕
๕.๒๐
สถานที่ราชการ ๓๔,๐๗๖ ๑.๕๓ ๓๔,๕๘๙ ๑.๕๖ ๓๗,๒๕๗ ๑.๖๘ ๔๕.๔๗
-๖.๕๓
การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ๑๕,๑๗๒ ๐.๖๘ ๑๖,๓๘๓ ๐.๗๔ ๒๓,๖๐๐ ๑.๐๖ -๑.๖๕
๑๗.๕๐
พน้ื ทส่ี ีเขียวเพือ่ นนั ทนาการ ๑๐,๒๙๔ ๐.๔๖ ๙,๗๓๔ ๐.๔๔ ๑๐,๘๒๙ ๐.๔๙ ๒.๕๑
-๑๒.๕๘
พน้ื ที่อตุ สาหกรรม ๗๓,๖๐๘ ๓.๓๒ ๙๕,๙๒๐ ๔.๓๒ ๑๐๗,๐๗๙ ๔.๘๒ ๓๙๑.๐๔
๒๔.๑๖
พน้ื ทเ่ี กษตรกรรม ๑,๕๙๒,๖๙๘ ๗๑.๗๔ ๑,๕๖๓,๐๔๔ ๗๐.๔๑ ๑,๔๘๘,๖๒๕ ๖๗.๐๖ -๕๒.๕๕

พื้นที่ป่าไม้ ๒๗๖,๔๘๗ ๑๒.๔๕ ๒๖๕,๔๔๓ ๑๑.๙๖ ๒๗๑,๙๑๓ ๑๒.๒๕

พื้นที่นา้ ๗๗,๙๔๗ ๓.๕๑ ๘๑,๒๗๑ ๓.๖๖ ๙๑,๕๘๘ ๔.๑๓

บ่อลูกรัง/ทราย/ดิน/เหมืองเก่า ๑๑,๔๘๗ ๐.๕๒ ๑๐,๖๙๔ ๐.๔๘ ๑๑,๗๗๕ ๐.๕๓

พนื้ ทีร่ อการพัฒนา ๓๒๖ ๐.๐๑ ๓๒๖ ๐.๐๑ ๒๘๕ ๐.๐๑

พน้ื ท่วี า่ ง ๑,๔๓๙ ๐.๐๖ ๓,๒๑๐ ๐.๑๔ ๗,๐๖๖ ๐.๓๒

หาดทราย ๓๘๕ ๐.๐๒ ๓๙๓ ๐.๐๒ ๔๗๘ ๐.๐๒

เหมอื งแร่ ๑,๙๙๘ ๐.๐๙ ๑,๒๓๖ ๐.๐๖ ๙๔๘ ๐.๐๔

รวม ๒,๒๒๐,๐๐๐ ๑๐๐ ๒,๒๒๐,๐๐๐ ๑๐๐ ๒,๒๒๐,๐๐๐ ๑๐๐

หมายเหต:ุ *อตั ราการเปลย่ี นแปลง เป็นข้อมลู เปรยี บเทยี บระหวา่ งปี พ.ศ ๒๕๕๖ และ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓

ที่มา: กรมพฒั นาทีด่ ิน (๒๕๖๓)

โครงการจดั ทาแผนสิ่งแวดลอ้ มในพืน้ ทเี่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๒๘

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม

การใชป้ ระโยชน์ทด่ี ินปี พ.ศ. ๒๕๕๖ การใช้ประโยชน์ท่ดี นิ ปี

หมายเหต:ุ จากแผนทีข่ อ้ มลู การใชป้ ระโยชนท์ ่ีดนิ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ ขอ้ มูลการใชป้ ระโยชน์ทดี่ ินของจ

ภาพที่ ๔ - ๘๔ การเปล่ียนแปลงการใชป้ ระโยชนท์ ีด่ ินของพ

โครงการจัดทาแผนสิ่งแวดล้อมในพ้ืนทีเ่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕

รายงานฉบับสดุ ทา้ ย

พ.ศ. ๒๕๖๑ การใชป้ ระโยชน์ท่ดี ินปี พ.ศ. ๒๕๖๓

จงั หวัดฉะเชิงเทราเป็นข้อมลู ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ สว่ นจังหวัดชลบรุ ีและระยองเปน็ ข้อมลู ปี พ.ศ. ๒๕๖๓

พ้นื ท่เี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ปี พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๖๓

๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๒๙

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม รายงานฉบบั สุดท้าย

๔.๒.๔ ทรัพยากรนา้ และทรพั ยากรนา้ บาดาล
๔.๒.๔.๑ ทรัพยากรน้า
๑) สถานการณท์ รพั ยากรน้า และพืน้ ท่ชี มุ่ นา้
จังหวดั ฉะเชิงเรา ชลบุรี และระยองอย่บู นพ้ืนทลี่ ุ่มน้าหลกั ๒ ลุ่มนา้ ได้แก่ ลุ่มน้าบางปะกงและ

ลมุ่ นา้ ชายฝ่งั ทะเลตะวันออก และมแี มน่ า้ สายหลักจานวน ๓ สาย และคลองทสี่ าคญั ดงั นี้
แม่น้าบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา อยู่ในลุ่มน้าบางปะกง ครอบคลุมพื้นที่จังหวัดปราจีนบุรี

นครนายก และฉะเชิงเทรา มีความยาว ๑๒๒ กิโลเมตร เกิดจากการรวมตัวของแม่น้า ๒ สาย คือ แม่น้า
นครนายก และ แม่น้าปราจีนบุรี

แมน่ า้ ระยอง จังหวัดระยอง หรือ คลองใหญ่ เกดิ จากเทือกเขาเรือแตกในอาเภอบ้านบงึ จังหวัด
ชลบุรี ไหลผ่านอาเภอปลวกแดง อาเภอบ้านค่าย ผ่านตาบลท่าประดู่ จังหวดั ระยองและไหลลงสู่ทะเลที่ตาบล
ปากนา้ อาเภอเมือง จงั หวัดระยอง มีความยาวประมาณ ๗๐ กโิ ลเมตร

แม่น้าประแสร์ จังหวัดระยอง มีความยาวประมาณ ๑๒๐ กิโลเมตร มีต้นกาเนิดจากเขาใหญ่
เขาอ่างฤาไน เขาหินโรงเขา อ่างกระเด็น ไหลมาตามห้วยและคลองหลายสายและไหลมารวมกันก่อนไหลลงสู่
ทะเลท่ีบา้ นปากนา้ ตาบลปากนา้ ประแสร์ อาเภอเกลง จังหวดั ระยอง

จังหวัดฉะเชงิ เทรา ชลบุรี และระยองมีพื้นที่ชุ่มน้าเป็นถิ่นท่ีอยู่อาศัยของส่ิงมีชีวิต อาจแบ่งตาม
ลักษณะของถ่ินที่อยู่อาศัยเป็น ๒ ประเภทใหญ่ ๆ คือ พื้นที่ชุ่มน้าชายฝ่ังทะเล ได้แก่ ทะเลหรือชายฝั่งทะเล
ปากแม่น้า และพ้ืนท่ีชุม่ นา้ ในแผ่นดิน ได้แก่ แหล่งน้าไหล ทะเลสาบ บึง ลมุ่ ชื้นแฉะ และหนองน้า โดยพ้ืนที่ชุ่ม
น้าในพื้นท่ี ประกอบด้วย พื้นท่ีชุ่มน้าที่มีความสาคัญระดับนานาชาติ ได้แก่ เขตห้ามล่าสัตว์ป่าอ่างเก็บน้า
บางพระ และอุทยานแห่งชาติเขาแหลมหญ้า-หมู่เกาะเสม็ด พ้ืนที่ชุ่มน้าระดับชาติ ได้แก่ แม่น้าบางปะกง เขต
รักษาพันธ์ุสัตว์ป่าเขาเขียวเขาชมพู่ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาอ่างฤาไน และบึงสานักงานใหญ่ (หนองจารุง)
และพื้นท่ีชุ่มน้าระดับท้องถ่ินในจังหวัดฉะเชิงเทราจานวน ๖๐๑ แห่ง จังหวัดชลบุรี ๖๓๑ แห่ง และจังหวัด
ระยอง ๔๖๗ แห่ง

ปัจจุบันพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกมีอ่างเก็บน้าในพื้นท่ีรวมกัน ๒๓ แห่ง ความจุรวม
๑,๓๘๑.๘๙ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี อ่างเก็บน้าท่ีสาคัญ เช่น อ่างเก็บน้าบางพระ อ่างเก็บน้า
หนองค้อ อ่างเก็บน้าหนองปลาไหล อ่างเก็บน้าดอกกราย อ่างเก็บน้าคลองใหญ่ อ่างเก็บน้าประแสร์ และ
อ่างเก็บน้าคลองสียัด มีปริมาณน้าต้นทุนท่ีส่งออกรวมท้ังหมด ๑,๐๖๔.๕๐ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี และพ้ืนที่
ชุ่มน้าท่ีได้รับแรงกดดันจากการเพิ่มขึ้นของประชากรและการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ส่งผลให้อัตราการใช้
ประโยชน์จากทรัพยากรในพื้นท่ีชุ่มน้าจึงเพิ่มสูงข้ึน และมีการเปลี่ยนแปลงพื้นท่ีชุ่มน้าธรรมชาติไปเพ่ือใช้
ประโยชน์ในกจิ กรรมต่าง ๆ ทไ่ี มเ่ หมาะสม ทาใหเ้ กดิ การคุกคามพืน้ ที่ชุ่มน้าอยา่ งต่อเนื่อง

นอกจากแห ล่งน้าตามธรรมชาติแล้ว พื้ นท่ี เขตพั ฒ นาพิ เศษ ภ าคตะวัน ออกยังมี
อ่างเก็บน้าในพ้นื ทร่ี วม ๒๓ แหง่ ความจุรวม ๑,๓๘๑.๘๙ ล้านลูกบาศกเ์ มตรต่อปี อ่างเก็บนา้ ท่ีสาคญั เชน่ อ่าง
เก็บน้าบางพระ อ่างเก็บน้าหนองค้อ อ่างเก็บน้าหนองปลาไหล อ่างเก็บน้าดอกกราย อ่างเก็บน้าคลองใหญ่
อ่างเก็บน้าประแสร์ และอ่างเก็บน้าคลองสียัด มีปริมาณน้าต้นทุนที่ส่งออกรวมทั้งหมด ๑,๐๖๔.๕๐

โครงการจดั ทาแผนสิ่งแวดล้อมในพ้ืนทเ่ี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๓๐

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ทา้ ย

ลา้ นลกู บาศกเ์ มตรต่อปี ในปี พ.ศ. ๒๕๖๐ พ้ืนท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออกมคี วามต้องการน้าในแตล่ ะภาค
ส่วนรวมท้ังหมด ๒,๔๑๙ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปีแบ่งเป็นภาคอุปโภค/บริโภค ๒๕๑ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี
ภาคเกษตรกรรม ๑,๕๖๒ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี และภาคอุตสาหกรรม ๖๐๖ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี
โดยปรมิ าณน้าในอา่ งเก็บน้าของทั้งสามจังหวดั มรี ายละเอยี ดดงั น้ี

ความจุและปริมาณน้าของอ่างเกบน้าในจังหวัดฉะเชิงเทรา ปัจจุบันมีอ่างเก็บน้าในพ้ืนที่
รวมกัน ๕ แห่ง ความจุรวม ๔๘๓.๖๓ ลา้ นลกู บาศกเ์ มตรต่อปี โดยมอี ่างเก็บน้าขนาดใหญ่ คือ อ่างเก็บน้าคลอง
สียัด และมีอ่างเก็บน้าขนาดกลาง คือ อ่างเก็บน้าคลองระบม อ่างเก็บน้าลานกระทิง อ่างเก็บน้าลุ่มน้าโจน ๑
และ อ่างเก็บน้าลุ่มน้าโจน ๑๖ มีปริมาณน้าต้นทุนที่ส่งออกรวมทั้งหมด ๓๙๒.๔๘ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี ดัง
ตารางที่ ๔ - ๗๕
ตารางท่ี ๔ - ๗๕ ความจแุ ละปริมาณน้าของอา่ งเกบน้าในจังหวัดฉะเชิงเทรา

ลาดับท่ี ชือ่ อา่ งเกบน้า จังหวดั ความจุของอา่ งเกบ ความจขุ องอา่ ง ปรมิ าณการสง่ นา้
นา้ เกบน้าตา่ สุด ( ลา้ น ลบ.ม. )
อ่างเกบ็ น้าขนาดใหญ่ ( ล้าน ลบ.ม. )
๑ คลองสียดั ( ล้าน ลบ.ม. )
อา่ งเก็บนา้ ขนาดกลาง
๒ คลองระบม ฉะเชิงเทรา ๔๒๐.๐๐ ๓๐.๐๐ ๓๔๕.๗๙
๓ ลาดกระทิง
๔ ลมุ่ นา้ โจน ๑๖ ฉะเชิงเทรา ๕๕.๕๐ ๗.๘๐ ๔๑.๐๓
๕ ลุ่มนา้ โจน ๒ ฉะเชงิ เทรา ๔.๒๐
ฉะเชงิ เทรา ๑.๙๗ ๐.๒๐ ๒.๙๘
รวม ฉะเชิงเทรา ๑.๙๖
ท่ีมา : กรมชลประทาน, ๒๕๖๐ ๔๘๓.๖๓ ๐.๑๗ ๑.๓๗

๐.๑๖ ๑.๓๑

๓๘.๓๓ ๓๙๒.๔๘

จังหวัดชลบุรี แหล่งน้าตามธรรมชาติบนผิวดินส่วนใหญ่อยู่ทางตอนเหนือของจังหวัด เช่น
คลองใหญ่ คลองหลวง คลองเชิด ไหลไปบรรจบกันเป็นคลองพานทอง แล้วไหลไปทางทิศตะวันตกไปบรรจบ
กับแม่น้าบางปะกงท่ีจังหวัดฉะเชิงเทรา นอกจากนี้มีคลองบางพระ คลองบางละมุง คลองแพร่ง ห้วยชากนอก
และห้วยใหญ่ เป็นต้น บริเวณตอนกลางและตอนใต้ของพื้นที่มีทางน้าที่ไหลไปรวมท่ีคลองใหญ่ก่อนไหลลงสู่
อ่าวไทย มแี หล่งน้าตามธรรมชาติ ๔๘ แห่ง และมีแหล่งน้าทส่ี ร้างข้นึ เช่น อา่ งเก็บน้า จานวน ๑๓ ความจุรวม
๒๙๔.๙๘ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี โดยมีอ่างเก็บน้าขนาดใหญ่ คือ อ่างเก็บน้าบางพระ และมีอ่างเก็บน้าขนาด
กลาง คือ อ่างเก็บน้าจานวน ๑๒ แห่ง มีปริมาณน้าต้นทุนท่ีส่งออกรวมทั้งหมด ๑๙๗.๗๖ ล้านลูกบาศก์เมตร
ตอ่ ปดี งั ตารางท่ี ๔ – ๘๐

โครงการจัดทาแผนส่ิงแวดล้อมในพ้ืนทีเ่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๓๑

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ทา้ ย

ตารางท่ี ๔ - ๗๖ ความจแุ ละปรมิ าณน้าของอ่างเกบนา้ ในจังหวดั ชลบรุ ี

ลาดับท่ี ชือ่ อา่ งเกบน้า จงั หวดั ความจขุ องอา่ งเกบน้า ความจุของอ่างเกบน้า ปรมิ าณการสง่ นา้
( ล้าน ลบ.ม. )
( ล้าน ลบ.ม. ) ต่าสดุ
๗๗.๒๐
( ล้าน ลบ.ม. )
๕.๒๒
อา่ งเก็บนา้ ขนาดใหญ่ ชลบุรี ๑๑๗.๐๐ ๑๒.๐๐ ๔.๘๘
๑ บางพระ ๑๔.๒๑
อ่างเก็บน้าขนาดกลาง ชลบุรี ๗.๖๕ ๐.๒๘ ๓.๑๘
๒ หนองกลางดง ๐.๘๘
๓ ซากนอก ชลบุรี ๗.๐๓ ๐.๔๐ ๒.๒๖
๔ หนองคอ้ ๑๑.๓๓
๕ หว้ ยขุนจิต ชลบรุ ี ๒๑.๔๐ ๑.๐๐ ๑.๒๗
๖ มาบฟกั ทอง ๑ ๘.๒๐
๗ หว้ ยสะพาน ชลบรุ ี ๔.๘๐ ๐.๒๕ ๑.๐๓
๘ มาบประชัน ๑.๙๕
๙ มาบฟกั ทอง ๒ ชลบรุ ี ๑.๒๓ ๐.๒๐ ๖๘.๑๐
๑๐ บ้านบึง ๑๙๗.๗๖
๑๑ ห้วยตู้ ๑ ชลบุรี ๓.๘๔ ๐.๓๐
๑๒ ห้วยตู้ ๒
๑๓ คลองหลวง รัชชโลทร ชลบรุ ี ๑๖.๖๐ ๐.๗๖

รวม ชลบรุ ี ๑.๙๘ ๐.๑๙

ทมี่ า : กรมชลประทาน, ๒๕๖๐ ชลบุรี ๑๐.๙๘ ๒.๘๒

ชลบรุ ี ๑.๕๐ ๐.๐๙

ชลบุรี ๒.๙๗ ๐.๒๐

ชลบรุ ี ๙๘.๐๐ ๒.๙๐

๒๙๔.๙๘ ๑๙.๓๙

ความจแุ ละปริมาณน้าของอ่างเกบน้าในจังหวัดระยอง
ปัจจุบนั จังหวดั ระยอง มอี ่างเกบ็ น้าในพื้นทรี่ วมกัน ๕ แหง่ ความจุรวม ๖๐๓.๒๘ ล้านลูกบาศก์
เมตรต่อปีโดยมีอ่างเก็บน้าขนาดใหญ่ คือ อ่างเก็บน้าหนองปลาไหล อ่างเก็บน้าประแสร์ และ
มีอ่างเก็บน้าขนาดกลาง คือ อ่างเก็บน้าดอกกราย อา่ งเก็บนา้ คลองระโอก และอ่างเก็บน้าคลองใหญ่ มีปริมาณ
นา้ ต้นทนุ ที่ส่งออกรวมทง้ั หมด ๔๗๔.๒๖ ล้านลูกบาศกเ์ มตรต่อปดี ังตารางท่ี ๔ - ๗๗

ตารางที่ ๔ - ๗๗ ความจุและปริมาณน้าของอ่างเกบน้าในจังหวัดระยอง

ลาดบั ท่ี ช่อื อ่างเกบนา้ จงั หวดั ความจขุ องอา่ งเกบนา้ ความจขุ องอา่ งเกบนา้ ปริมาณน้าท่ีสง่
(ลา้ น ลบ.ม.)
อ่างเก็บนา้ ขนาดใหญ่ ( ลา้ น ลบ.ม. ) ตา่ สุด ( ลา้ น ลบ.ม. )
๑ หนองปลาไหล ๑๓๑.๗๗
๒ ประแสร์ ระยอง ๑๖๓.๗๕ ๑๓.๕๐ ๒๔๗.๐๘
อา่ งเกบ็ นา้ ขนาดกลาง ระยอง ๒๙๕.๐๐ ๒๐.๐๐
๓ ดอกกราย ๕๑.๘๓
๔ คลองระโอก ระยอง ๗๙.๔๑ ๓.๐๐ ๑๓.๗๘
๕ คลองใหญ่ ระยอง ๑๙.๖๕ ๐.๒๐ ๒๙.๘๐
ระยอง ๔๕.๔๗ ๓.๐๐ ๔๗๔.๒๖
รวม ๓๙.๗๐
๖๐๓.๒๘
ที่มา: กรมชลประทาน, ๒๕๖๐

โครงการจัดทาแผนสิง่ แวดลอ้ มในพื้นท่ีเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๓๒

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม รายงานฉบับสุดทา้ ย

(๒) สถานการณค์ วามตอ้ งการใชน้ า้
ในปี พ.ศ. ๒๕๖๐ พ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกมีความต้องการนา้ ในแตล่ ะภาคสว่ นรวม
ทั้งหมด ๒,๔๒๐ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปีแบ่งเป็นภาคอุปโภค/บริโภค ๑๙๖ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี
ภาคเกษตรกรรม ๑,๕๖๒ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี และภาคอุตสาหกรรม ๖๐๖ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี โดยมี
ปริมาณน้าต้นทุนท่ีส่งรวมท้ังหมด ๑,๐๖๔.๕๐ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี ซึ่งปริมาณน้าต้นทุนท่ีมีอยู่
มีปริมาณน้อยกว่าความต้องการน้าในแต่ละภาคส่วน ทาให้พื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกมีน้าใช้ไม่
เพยี งพอต่อความต้องการนา้ (สานกั งานทรัพยากรน้าแหง่ ชาติ, ๒๕๖๐)
และหากพิจารณาความต้องการใช้น้าในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกและจังหวัดท่ีเป็น
โครงข่ายส่งน้าของสานักงานทรัพยากรน้าแห่งชาติ ประกอบด้วย จังหวัดจันทบุรี จังหวัดตราด จังหวัด
ปราจีนบุรี จังหวัดนครนายก และจังหวัดสระแก้ว พบว่ามีปริมาณความต้องการใช้น้าในภาคส่วนต่าง ๆ
กับพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกท้ังหมด ๔,๑๖๗ แบ่งเป็นปริมาณความต้องการน้าสาหรับอุปโภค/
บริโภค/การท่องเที่ยว ๓๕๖ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี ปริมาณความต้องการน้าสาหรับเกษตรกรรม ๓,๐๙๗
ล้านลกู บาศก์เมตรตอ่ ปี และปริมาณความตอ้ งการน้าสาหรับอุตสาหกรรม ๗๑๓ ล้านลกู บาศกเ์ มตรตอ่ ปี
จากตารางปริมาณความต้องการน้าจะเห็นได้ว่าปริมาณน้าต้นทุนที่ส่งออกในพ้ืนท่ีโครงข่ายส่ง
นา้ ของพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกมีน้อยกว่าปริมาณความต้องการใช้น้าในทุกภาคส่วนรวมกัน ทาให้
ทราบว่าพ้ืนท่ีโครงข่ายส่งน้าของพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกมีน้าใช้ไม่เพียงพอต่อความต้องการน้าใน
พื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก และเม่ือวิเคราะห์แยกตามรายจังหวัด สามารถสรุปได้ดังน้ีตารางที่ ๔ -
๗๘
จังหวัดฉะเชิงเทรามีปริมาณความต้องการใช้น้ารวมในภาคส่วนต่าง ๆ ทั้งหมด ๑,๔๕๖ ล้าน
ลูกบาศก์เมตรต่อปี และมีปริมาณน้าต้นทุนส่งออกอยู่ที่ ๓๙๒.๔๘ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี ทาให้มีปริมาณน้า
ตน้ ทุนไม่เพยี งพอต่อความตอ้ งการใช้นา้ ในพื้นท่ี
จังหวัดชลบุรีมีปริมาณความต้องการใช้น้ารวมในภาคส่วนต่างๆทั้งหมด ๔๗๐ ล้านลูกบาศก์
เมตรต่อปี และมีปริมาณน้าต้นทุนส่งออกอยู่ที่ ๑๙๗.๗๖ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี ทาให้มีปริมาณน้าต้นทุนไม่
เพียงพอตอ่ ความต้องการใชน้ า้ ในพน้ื ที่
จงั หวัดระยองมีปริมาณความต้องการใช้น้ารวมในภาคสว่ นต่าง ๆ ทั้งหมด ๔๙๔ ล้านลูกบาศก์
เมตรต่อปี และมีปริมาณน้าต้นทุนส่งออกอยู่ท่ี ๔๗๔.๒๖ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี ทาให้มีปริมาณน้าต้นทุนไม่
เพยี งพอตอ่ ความต้องการใชน้ า้ ในพ้นื ท่ี

โครงการจัดทาแผนส่ิงแวดลอ้ มในพืน้ ทเี่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๓๓

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม

ตารางที่ ๔ - ๗๘ ปรมิ าณความตอ้ งการใช้น้า

ปรมิ าณความตอ้ งการใชน้ า้ เพ่ือการอุปโภค บริโภค และ ปรมิ าณความต้องการใช้นา้ เพ
(ล้าน ลบ.ม. ป
ปี พ.ศ. จงั หวัด การท่องเท่ียว (ล้าน ลบ.ม. ปี)

ผวิ ดิน บาดาล รวม ผวิ ดนิ บาดาล

ฉะเชงิ เทรา ๓๖.๕๗ ๕.๓๓ ๔๑.๘๙ ๑๐๔.๘๘ ๔.๐๔
๑๘๐.๓๙ ๒๓.๕๙
ชลบุรี ๑๓๗.๓๙ ๑๐.๑๑ ๑๔๗.๕ ๒๖๙.๐๗ ๒๓.๖๗

ระยอง ๕๓.๔๘ ๘.๔๗ ๖.๙๖

รวม EEC ๒๒๗.๔๔ ๒๓.๙๑ ๑๙๖.๓๕ ๕๕๔.๓๔ ๕๑.๓
๖.๒๓ ๕.๗๑
จันทบรุ ี ๑๙.๔๑ ๙.๕๖ ๒๘.๙๗

๒๕๖๐ ตราด ๘.๑๗ ๓.๐๒ ๑๑.๑๙ ๓.๐๗ ๔.๙๑

ปราจนี บรุ ี ๑๔.๓๘ ๙.๔๑ ๒๓.๗๙ ๕๑.๔๙ ๑๖.๗
๖.๙๑ ๒.๘๒
นครนายก ๘.๒ ๗.๔๙ ๑๕.๗๕

สระแก้ว ๑๖.๓๘ ๘.๖๔ ๒๕.๐๑ ๖.๘๘ ๒.๙๖

รวมโครงข่าย ๖๖.๕๔ ๓๘.๑๒ ๑๐๔.๗๑ ๗๔.๕๘ ๓๓.๑
๖๒๘.๙๓ ๘๔.๔
รวม ๒๙๔.๐๔ ๖๒.๐๓ ๓๕๖.๐๗

ฉะเชิงเทรา ๔๕.๙๑ ๕.๙๑ ๕๑.๘๒ ๑๒๘.๙๘ ๔.๙๕

ชลบุรี ๑๖๖.๘๖ ๙.๘๙ ๑๗๖.๗๕ ๒๓๕.๙๔ ๒๘.๘๙
๓๑๙.๒๑ ๒๙.๙๙
ระยอง ๗๐.๒๙ ๙.๗๘ ๘๐.๐๗

รวม EEC ๒๘๓.๐๖ ๒๕.๕๘ ๓๐๘.๖๔ ๖๘๔.๑๓ ๖๓.๘๓

๒๕๗๐ จนั ทบรุ ี ๒๑.๖๘ ๙.๙๗ ๓๑.๖๕ ๗.๔๘ ๖.๙๖
๓.๖๘ ๖.๐๓
ตราด ๘.๘๘ ๓.๒ ๑๒.๑๒

ปราจีนบุรี ๑๖.๕๗ ๙.๗๔ ๒๖.๓๑ ๖๖.๙๗ ๒๐.๑
๘.๔๒ ๓.๔๓
นครนายก ๙.๕๔ ๘.๐๒ ๑๗.๕๖ ๘.๕๑ ๓.๖๖

สระแก้ว ๑๘.๒๑ ๘.๖๙ ๒๖.๙

รวมโครงข่าย ๗๔.๘๘ ๓๙.๖๒ ๑๑๔.๕๔ ๙๕.๐๖ ๔๐.๑๘

โครงการจัดทาแผนสง่ิ แวดลอ้ มในพนื้ ทีเ่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕

รายงานฉบบั สดุ ท้าย

พ่ืออุตสาหกรรม ปรมิ าณความต้องการใช้นา้ เพอื่ การเกษตร ปรมิ าณความตอ้ งการใช้น้าเพือ่ รวม
ป)ี ชลประทาน (ลา้ น ลบ.ม. ปี) (ล้าน ลบ.ม. ป)ี

รวม ผิวดิน บาดาล รวม ผวิ ดนิ บาดาล รวม
๑๐๘.๙๒
๒๐๓.๙๘ ๑,๓๐๔.๐๓ ๐.๗๑ ๑,๓๐๔.๗๔ ๑,๔๔๕.๔๙ ๑๐.๐๗ ๑,๔๕๕.๕๖
๒๙๒.๗๔ ๔๓๔.๖๑ ๓๔.๘๕ ๔๖๙.๔๖
๖๐๕.๖๔ ๑๑๖.๘๓ ๑.๑๔ ๑๑๗.๙๗ ๔๕๙.๙๘ ๓๓.๙ ๔๙๓.๘๗
๑๑.๙๕
๑๓๗.๔๒ ๑.๗๖ ๑๓๙.๑๘
๗.๙๘
๖๘.๑๙ ๑๕๕๘.๒๘ ๓.๖๑ ๑๕๖๑.๘๙ ๒๓๔๐.๐๘ ๗๘.๘๒ ๒๔๑๘.๘๙
๙.๗๓ ๑๕๔.๘๙ ๑๘.๑๘ ๑๗๓.๐๗
๙.๘๓ ๑๒๙.๒๔ ๒.๙๑ ๑๓๒.๑๕
๑๐๗.๖๘
๗๑๓.๓๓ ๘๕.๗ ๓.๗๒ ๘๙.๔๒ ๙๖.๙๕ ๑๑.๖๕ ๑๐๘.๖
๑๓๓.๙๓
๒๖๔.๘๓ ๕๖๙.๔๒ ๘.๖๓ ๕๗๘.๐๔ ๖๓๕.๒๙ ๓๔.๗๔ ๖๗๐.๐๓
๓๔๙.๒ ๖๒๗.๖๗ ๒.๓๗ ๖๓๐.๐๔ ๖๔๒.๘๔ ๑๒.๖๘ ๖๕๕.๕๒
๗๔๗.๙๖
๑๔.๔๕ ๑๐๕.๐๑ ๐.๖ ๑๐๕.๖๒ ๑๒๘.๒๗ ๑๒.๒ ๑๔๐.๔๖
๙.๗๑
๘๗.๑๓ ๑๕๑๗.๐๔ ๑๘.๒๓ ๑๕๓๕.๒๗ ๑๖๕๘.๒๔ ๘๙.๔๕ ๑๗๔๗.๖๘
๑๑.๘๕ ๓,๐๗๕.๓๓ ๒๑.๘๔ ๓,๐๙๗.๑๗ ๓,๙๙๘.๓๐ ๑๖๘.๒๗ ๔,๑๖๖.๕๗
๑๒.๑๗
๑๓๕.๓๑ ๑,๓๙๖.๔๕ ๐.๘๖ ๑,๓๙๗.๓๑ ๑,๕๗๑.๓๔ ๑๑.๗๒ ๑,๕๘๓.๐๖

๑๗๙.๗๕ ๑.๓๙ ๑๘๑.๑๔ ๕๘๒.๕๕ ๔๐.๑๘ ๖๒๒.๗๓
๒๕๐.๘๔ ๒.๑๔ ๒๕๒.๙๙ ๖๔๐.๓๕ ๔๑.๙๑ ๖๘๒.๒๗

๑๘๒๗.๐๔ ๔.๓๙ ๑๘๓๑.๔๔ ๒๗๙๔.๒๔ ๙๓.๘๑ ๒,๘๘๘.๐๖

๕๐๓.๔๖ ๓.๕๔ ๕๐๗ ๕๓๒.๖๒ ๒๐.๔๘ ๕๕๓.๑
๒๒๓.๙๑ ๔.๕๔ ๒๒๘.๔๕ ๒๓๖.๔๘ ๑๓.๘ ๒๕๐.๒๙

๖๗๕.๑๑ ๑๐.๕๒ ๖๘๕.๖๒ ๗๕๘.๖๔ ๔๐.๔๒ ๗๙๙.๐๖
๖๖๐.๔๙ ๒.๘๙ ๖๖๓.๓๘ ๖๗๘.๔๕ ๑๔.๓๔ ๖๙๒.๗๙
๒๕๗.๕๙ ๐.๗๔ ๒๕๘.๓๓ ๒๘๔.๓๑ ๑๓.๐๘ ๒๙๗.๔

๒,๓๒๐.๕๖ ๒๒.๒๓ ๒,๓๔๒.๗๘ ๒,๔๙๐.๕ ๑๐๒.๑๒ ๒,๕๙๒.๖๔

๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๓๔

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม

ปรมิ าณความตอ้ งการใชน้ ้าเพื่อการอุปโภค บรโิ ภค และ ปริมาณความต้องการใชน้ ้าเพ
(ล้าน ลบ.ม. ป
ปี พ.ศ. จงั หวัด การทอ่ งเทยี่ ว (ลา้ น ลบ.ม. ป)ี

ผวิ ดนิ บาดาล รวม ผวิ ดิน บาดาล

รวม ๓๕๗.๙๕ ๖๕.๒๔ ๔๒๓.๑๙ ๗๗๙.๒ ๑๐๔.๐๘
๑๕๘.๔๙ ๖.๐๗
๒๕๘๐ ฉะเชงิ เทรา ๖๖.๙๗ ๘.๐๑ ๗๔.๙๘

ชลบุรี ๑๙๗.๓๔ ๑๑ ๒๐๘.๓๔ ๒๗๘.๑๕ ๓๕.๓๘

ระยอง ๙๖.๑๖ ๑๒.๓๙ ๑๐๘.๕๕ ๓๕๑.๘๖ ๓๔.๙๑
๗๘๘.๕ ๗๖.๓๖
รวม EEC ๓๖๐.๔๗ ๓๑.๔ ๓๙๑.๘๗

จันทบรุ ี ๒๓.๓๙ ๑๐.๘๓ ๓๔.๒๑ ๘.๙ ๘.๔๙

ตราด ๙.๔๔ ๓.๖๙ ๑๓.๑๓ ๔.๓๙ ๗.๔๑
๘๐.๘๔ ๒๔.๓๖
ปราจนี บุรี ๑๘.๔๘ ๑๐.๑๗ ๒๘.๖๕

นครนายก ๑๐.๗ ๙.๐๒ ๑๙.๗๒ ๑๐.๑๖ ๔.๑๗

สระแก้ว ๑๙.๗๓ ๘.๗๕ ๒๘.๔๘ ๑๐.๔ ๔.๕๓
๑๑๔.๖๙ ๔๘.๙๖
รวมโครงขา่ ย ๘๑.๗๔ ๔๒.๔๖ ๑๒๔.๑๙

รวม ๔๔๒.๒๑ ๗๓.๘๔ ๕๑๖.๐๖ ๙๐๓.๑๙ ๑๒๕.๓๒

ที่มา: สานักงานทรพั ยากรนา้ แหง่ ชาต,ิ ๒๕๖๓

โครงการจดั ทาแผนส่งิ แวดล้อมในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕

รายงานฉบับสุดท้าย

พอื่ อตุ สาหกรรม ปริมาณความตอ้ งการใชน้ ้าเพอ่ื การเกษตร ปรมิ าณความต้องการใชน้ ้าเพอ่ื รวม
ป)ี ชลประทาน (ลา้ น ลบ.ม. ป)ี (ลา้ น ลบ.ม. ปี)

รวม ผิวดิน บาดาล รวม ผวิ ดนิ บาดาล รวม

๘๘๓.๒๘ ๔,๑๔๗.๖๐ ๒๖.๖๒ ๔,๑๗๔.๒๒ ๕,๒๘๔.๗๕ ๑๙๕.๙๔ ๕,๔๘๐.๙๖
๑๖๔.๕๖ ๑,๓๙๖.๔๕ ๑.๐๕ ๑,๓๙๗.๕๐ ๑,๖๒๑.๙๑ ๑๕.๑๒ ๑,๖๓๗.๐๔
๓๑๓.๕๔
๓๘๖.๗๖ ๑๗๙.๗๕ ๑.๗ ๑๘๑.๔๔ ๖๕๕.๒๔ ๔๘.๐๘ ๗๐๓.๓๒
๘๖๔.๘๖
๑๗.๓๙ ๒๕๐.๘๔ ๒.๖๑ ๒๕๓.๔๖ ๖๙๘.๘๖ ๔๙.๙๑ ๗๔๘.๗๗
๑,๘๒๗.๐๔ ๕.๓๖ ๑,๘๓๒.๔ ๒,๙๗๖.๐๑ ๑๑๓.๑๑ ๓,๐๘๙.๑๓
๑๑.๘
๑๐๕.๒ ๕๐๓.๔๖ ๔.๓๒ ๕๐๗.๗๘ ๕๓๕.๗๔ ๒๓.๖๔ ๕๕๙.๓๗
๑๔.๓๓
๑๔.๙๓ ๒๒๓.๙๑ ๕.๕๓ ๒๒๙.๔๔ ๒๓๗.๗๕ ๑๖.๖๓ ๒๕๔.๓๗
๑๖๓.๖๕ ๖๗๕.๑๑ ๑๒.๒ ๖๘๗.๙๓ ๗๗๔.๔๓ ๔๗.๓๕ ๘๒๑.๗๘
๑,๐๒๘.๕๑
๖๖๐.๔๙ ๓.๕๒ ๖๖๔.๐๑ ๖๘๑.๓๕ ๑๖.๗๑ ๖๙๘.๐๖

๓๐๘.๑ ๐.๙ ๓๐๙ ๓๓๘.๒๔ ๑๔.๑๗ ๓๕๒.๔๑
๒๓๗๑.๐๗ ๒๖.๔๗ ๒๓๙๘.๑๖ ๒๕๖๗.๕๑ ๑๑๘.๕ ๒๖๘๕.๙๙

๔,๑๙๘.๑๑ ๓๒.๔๕ ๔,๒๓๐.๕๖ ๕,๕๔๓.๕๑ ๒๓๑.๖๑ ๕,๗๗๕.๑๒

๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๓๕

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม รายงานฉบบั สุดทา้ ย

สถานการณก์ ารใชน้ ้าประปา
ระบบประปาภายในเขตพ้ืนที่ EEC อยู่ในการดูแลของการประปาส่วนภมู ิภาค (กปภ.) เขต ๑ มี
จานวนผู้ใช้น้ารวมทั้งส้ิน ๕๙๙,๔๙๙ คน (ข้อมูล ณ เดือนมิถุนายน ๒๕๖๐) ขณะท่ีกาลังการผลิตรวม
๘๒๘,๐๗๖ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน หรือเฉล่ียช่ัวโมงละ ๓๔,๕๐๓.๑๗ ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง ครอบคลุมพื้นที่
การให้บริการท้ังหมด ๑,๕๖๗.๓๔ ตารางกิโลเมตร โดยแหล่งน้าดิบสาหรับการผลิตน้าประปา ประกอบด้วย
น้าดิบจากอ่างเก็บน้าสาธารณะ แหล่งน้าธรรมชาติ และรับซื้อน้าจากภาคเอกชน ซึ่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ
การบริหารจัดการน้า ได้แก่ กรมชลประทาน การประปาส่วนภูมิภาค และบริษัทจัดการและพัฒนาทรัพยากร
น้าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) (East Water) ในพื้นที่จังหวัด ฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยอง มีอ่างเก็บน้า
รวมกันท้ังสิ้น ๒๒ แห่ง รวมความจุ ๑,๓๙๓.๑๔ ล้านลูกบาศก์เมตร โดยมีอ่างเก็บน้าขนาดใหญ่ ๔ แห่ง ได้แก่
อ่างเก็บน้าบางพระ อ่างเก็บน้าหนองปลาไหล อ่างเก็บน้าคลองสียัด และอ่างเก็บน้าประแสร์ และอ่างเก็บน้า
ขนาดกลาง ๑๘ แห่ง ผลการประเมินสถานการณ์นา้ ต้นทุนในพ้นื ที่ พบว่า จงั หวัดฉะเชงิ เทราและจังหวดั ระยอง
ยงั คงมีปรมิ าณน้าดิบที่เพยี งพอต่อความต้องการใช้ในการเกษตร อปุ โภคบริโภคและรักษาระบบนิเวศ อย่างไรก็
ตามในส่วนของจังหวัดชลบุรี พบวา่ มีปริมาณน้าดบิ ในอ่างเก็บน้าต่าง ๆ ภายในจังหวดั น้อยกว่าที่คาดการณ์ไว้
ทาให้มีความจาเป็นที่จะต้องผันน้าจากอ่างเกบ็ น้าจังหวัดใกล้เคียงท้ังของจังหวดั ฉะเชิงเทราและจังหวัดระยอง
มากักเกบ็ ไวเ้ พ่อื รองรับปรมิ าณการใช้นา้ ในพื้นท่ี

ตารางท่ี ๔ - ๗๙ กาลังการผลิตนา้ ประปาและแหลง่ น้าดิบปจจบุ ันในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก

สาขาการประปาส่วนภมู ิภาค กาลังการผลติ (ลบ.ม. ชม.) แหล่งน้าดบิ

จงั หวดั ฉะเชิงเทรา ๕,๐๙๑.๖๗

๑. ฉะเชงิ เทรา ๒,๑๕๐.๐๐ คลองทา่ ไข่, การประปาบางคล้า

๒. บางปะกง ๑,๘๐๐.๐๐ คลองพระองค์ไชยานุชติ

๓. บางคลา้ ๑,๑๒๐.๘๓ คลองพระองค์ไชยานุชิต, คลองวัดแจ้ง, คลองท่า

ลาด, บอ่

บาดาล,สถานีจา่ ยน้าคลองนา

๔. พนมสารคาม ๒๐.๘๓ คลองท่าลาด

จังหวัดชลบุรี ๒๓,๖๘๑.๓๓

๑. ชลบุรี (ชนั้ พเิ ศษ) ๖,๘๐๐.๐๐ อา่ งเก็บน้าบางพระ, อสี วอเตอร์

๒. พัทยา (ช้ันพิเศษ) ๑๐,๑๕๐.๐๐ อ่างเกบ็ น้ามาบประชัน อ่างเก็บนา้ หนองกลางดง,

อา่ งเก็บนา้
ห้วยชากนอก, อา่ งเก็บน้าห้วยขนุ จิต

๓. บ้านบงึ ๙๗๐.๐๐ อ่างเก็บน้าหนองอิรุณ, อ่างเก็บน้าอ่างแก้วและ
หนองผักหนาม,

อ่างเกบ็ น้าห้วยมะไฟ, หนองรี, การประปาชลบรุ ี

๔. พนสั นคิ ม ๑,๕๑๐.๘๓ อา่ งเก็บนา้ บอ่ ทอง, ผิวดินและคลองทา่ บญุ มี, อา่ ง

เก็บน้าหนอง

ปรือ,หนองกะขะ, ลาห้วยสารกิ า, การประประปา

โครงการจดั ทาแผนสิ่งแวดล้อมในพ้นื ทีเ่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๓๖

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย

สาขาการประปาสว่ นภมู ภิ าค กาลังการผลิต (ลบ.ม. ชม.) แหล่งน้าดิบ

ชลบรุ ี

๕. ศรรี าชา ๒,๒๙๑.๖๗ -

๖. แหลมฉบัง ๑,๙๐๘.๘๓ อ่างเก็บนา้ หนองคอ้ , อีสต์วอเตอร์

จังหวดั ระยอง ๕,๗๘๐.๑๗

๑. ระยอง ๓,๒๔๑.๔๒ บงึ สาธารณะ, แม่น้าระยอง, คลองชลประทาน

๒. บา้ นฉาง ๑,๙๖๕.๖๗ อา่ งเกบ็ น้าคลองบางไผ่, อสี ต์วอเตอร์

๓. ปากนา้ ประแสร์ ๕๗๓.๐๘ คลองโพล้

รวมกาลงั การผลติ ๓๔,๕๐๓.๑๗

ที่มา: การประปาส่วนภูมิภาคเขต ๑ (ข้อมูล ณ เดือน มิ.ย. ๒๕๖๐) ประมวลผลโดยมูลนิธิสถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการ

คลัง

แนวโนม้ ความต้องการใชน้ ้าในพ้นื ท่เี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก

จ าก ก าร ท บ ท ว น เอ ก ส าร พ บ ว่ า มี ก าร ค าด ก ารณ์ ค ว าม ต้ อ งก า รใช้ น้ า ใน พื้ น ที่

เขตพัฒนาจพิเศษภาคตะวันออกของสานักงานทรัพยากรนา้ แห่งชาติ ในโครงการศกึ ษาเพื่อจัดทาแผนหลกั การ

พัฒนาและจัดการทรัพยากรน้าภาคตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๒ และจากสานักงานคณะกรรมการส่งเสริม

วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ภายใต้โครงการการบริหารและการประมวลผล

การศึกษาโครงการวิจัยเพื่อจัดทาข้อเสนอแนะสมดุลน้าและมาตรการลดการใช้นา้ เพื่อการพัฒนาอย่างย่ังยืนใน

การพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) พ.ศ. ๒๕๖๓ โดยมีรายละเอียดของผลการคาดการณ์

ความตอ้ งการใชน้ ้าดังนี้

ผลการศึกษาการคาดการณ์ความต้องการใช้น้าของสานักงานทรพั ยากรน้าแห่งชาติ พบว่าในปี

พ.ศ. ๒๕๖๐ มีความต้องการใช้น้าประมาณ ๒,๔๑๙ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี โดยมีความต้องการ

ใช้น้าเพื่ออุปโภคบริโภคร้อยละ ๑๐.๓๘ ด้านอุตสาหกรรมร้อยละ ๒๕.๐๕ และด้านเกษตรกรรมร้อยละ

๖๔.๕๗ และจากการคาดการณ์ความตอ้ งการใช้น้าในอนาคตของพ้ืนที่เขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก พบว่ามี

แนวโน้มของความต้องการใชน้ ้าเพมิ่ ขึ้น ในปี พ.ศ. ๒๕๗๐ เท่ากับ ๒,๘๘๘ ลา้ นลูกบาศก์เมตรตอ่ ปี และปี พ.ศ.

๒๕๘๐ เทา่ กบั ๓,๐๘๙ ล้านลกู บาศก์เมตรตอ่ ปี ดังตารางที่ ๔ - ๘๐

ตารางที่ ๔ - ๘๐ การคาดการณค์ วามตอ้ งการน้าแต่ละภาคส่วนในพนื้ ทเ่ี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก

ความต้องการใชน้ ้า

พ.ศ. อปุ โภคบริโภค อตุ สาหกรรม เกษตรกรรม รวม
ลา้ น ลบ.ม. ปี ร้อยละ ลา้ น ลบ.ม. ปี
ล้าน ลบ.ม. ปี รอ้ ยละ ลา้ น ลบ.ม. ปี ร้อยละ
จังหวดั ฉะเชิงเทรา ๑,๔๕๖
๒๕๖๐ ๔๒ ๒.๘๘ ๑๐๙ ๗.๔๙ ๑,๓๐๕ ๘๙.๖๓ ๑,๕๘๓
๒๕๗๐ ๕๒ ๓.๒๘ ๑๓๔ ๘.๔๖ ๑,๓๙๗ ๘๘.๒๕ ๑,๖๓๗
๒๕๘๐ ๗๕ ๔.๕๘ ๑๖๕ ๑๐.๐๘ ๑,๓๙๘ ๘๕.๔๐
จังหวดั ชลบุรี ๔๗๐
๒๕๖๐ ๑๔๘ ๓๑.๔๙ ๒๐๔ ๔๓.๔๐ ๑๑๘ ๒๕.๑๑ ๖๒๓
๒๕๗๐ ๑๗๗ ๒๘.๔๑ ๒๖๕ ๔๒.๕๓ ๑๘๑ ๒๙.๐๙

โครงการจดั ทาแผนส่งิ แวดล้อมในพนื้ ทเี่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๓๗

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม รายงานฉบับสดุ ทา้ ย

ความตอ้ งการใชน้ า้

พ.ศ. อุปโภคบริโภค อตุ สาหกรรม เกษตรกรรม รวม
ลา้ น ลบ.ม. ปี
ลา้ น ลบ.ม. ปี รอ้ ยละ ลา้ น ลบ.ม. ปี ร้อยละ ลา้ น ลบ.ม. ปี ร้อยละ
๗๐๓
๒๕๘๐ ๒๐๘ ๒๙.๖๒ ๓๑๔ ๒๙.๖๒ ๑๘๑ ๒๙.๖๒
๔๙๔
จังหวดั ระยอง ๖๘๒
๗๔๙
๒๕๖๐ ๖๒ ๑๒.๕๕ ๒๙๓ ๕๙.๓๑ ๑๓๙ ๒๘.๑๔
๒,๔๑๙
๒๕๗๐ ๘๐ ๑๑.๗๓ ๓๔๙ ๕๑.๑๗ ๒๕๓ ๓๗.๑๐ ๒,๘๘๘
๓,๐๘๙
๒๕๘๐ ๑๐๙ ๑๔.๕๕ ๓๘๗ ๕๑.๖๗ ๒๕๓ ๓๓.๗๘

รวม ๓ จงั หวดั พ้ืนท่เี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก

๒๕๖๐ ๒๕๑ ๑๐.๓๘ ๖๐๖ ๒๕.๐๕ ๑,๕๖๒ ๖๔.๕๗

๒๕๗๐ ๓๐๙ ๑๐.๗๐ ๗๔๘ ๒๕.๙๐ ๑,๘๓๑ ๖๓.๔๐

๒๕๘๐ ๓๙๒ ๑๒.๖๙ ๘๖๕ ๒๘.๐๐ ๑,๘๓๒ ๕๙.๓๑

ที่มา: สานกั งานทรัพยากรนา้ แห่งชาติ (๒๕๖๒)

ทีม่ า: กรมชลประทาน, ๒๕๖๐

ภาพที่ ๔ - ๘๕ ปรมิ าณนา้ และการคาดการณค์ วามต้องการใช้น้ารวมทงั้ แหล่งนา้ ดบิ ภายในพน้ื ท่ี
เขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก

และผลการศึกษาการคาดการณ์ความต้องการใช้น้าของสานักงานคณะกรรมการส่งเสริม
วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวตั กรรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (๒๕๖๓) พบว่าปี พ.ศ. ๒๕๖๒ มีความต้องการใช้
น้าประมาณ ๒,๕๗๗.๓๑ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี โดยมีความต้องการใช้น้าเพื่ออุปโภคบริโภคร้อยละ ๑๔.๐๖
ด้านอุตสาหกรรมร้อยละ ๓๕.๘ และด้านเกษตรกรรมร้อยละ ๕๐.๑๔ และจากการคาดการณ์ความต้องการใช้

โครงการจดั ทาแผนส่ิงแวดล้อมในพน้ื ท่เี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๓๘

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม รายงานฉบบั สดุ ท้าย

น้าในอนาคตของพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พบว่ามีแนวโน้มของความต้องการใช้น้าเพ่ิมขึ้น ในปี
พ.ศ. ๒๕๗๐ เท่ากับ ๒,๙๒๐.๗๐ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี และปี พ.ศ. ๒๕๘๐ เท่ากับ ๒,๙๔๖.๗๐ ล้าน
ลกู บาศก์เมตรต่อปี ดังตารางที่ ๔ - ๘๑

ตารางที่ ๔ - ๘๑ การคาดการณค์ วามต้องการใช้น้า พ.ศ. ๒๕๗๐ และ พ.ศ. ๒๕๘๐

ความตอ้ งการใชน้ ้า

พ.ศ. อปุ โภคบรโิ ภค อตุ สาหกรรม เกษตรกรรม รวม
ล้าน ลบ.ม. ปี ร้อยละ ลา้ น ลบ.ม. ปี
ลา้ น ลบ.ม. ปี ร้อยละ ลา้ น ลบ.ม. ปี รอ้ ยละ
จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา ๑,๒๗๐.๘๑
๒๕๖๒ ๖๘.๓๑ ๕.๓๘ ๑๐๑.๐๖ ๗.๙๕ ๑๑๐๑.๔๔ ๘๖.๖๗

๒๕๗๐ ๗๗.๒๐ ๕.๓๒ ๑๑๔.๒๐ ๗.๘๖ ๑,๒๖๑.๐๔ ๘๖.๘๒ ๑,๔๕๒.๔๔

๒๕๘๐ ๗๘.๘๖ ๕.๔๒ ๑๑๖.๒๓ ๗.๙๘ ๑,๒๖๑.๐๔ ๘๖.๖๐ ๑,๔๕๖.๑๓

จังหวัดชลบุรี ๓๐๑.๓๗ ๕๑.๙๔ ๔๔.๐๖ ๗.๕๙ ๕๘๐.๒๕
๒๕๖๒ ๒๓๔.๘๒ ๔๐.๔๗

๒๕๗๐ ๒๖๕.๓๕ ๔๐.๔๔ ๓๔๐.๕๕ ๕๑.๙๐ ๕๐.๒๔ ๗.๖๖ ๖๕๖.๑๔
๒๕๘๐ ๒๗๐.๐๕ ๔๐.๕๐ ๓๔๖.๕๘ ๕๑.๙๗ ๕๐.๒๔ ๗.๕๓ ๖๖๖.๘๗

จงั หวัดระยอง

๒๕๖๒ ๕๙.๒๕ ๘.๑๖ ๕๒๐.๑๔ ๗๑.๖๒ ๑๔๖.๘๖ ๒๐.๒๒ ๗๒๖.๒๕
๗๒.๓๗ ๑๕๗.๔๐ ๑๙.๓๘ ๘๑๒.๑๑
๒๕๗๐ ๖๖.๙๕ ๘.๒๔ ๕๘๗.๗๖ ๗๒.๖๒ ๑๕๗.๔๐ ๑๙.๑๑ ๘๒๓.๖๙

๒๕๘๐ ๖๘.๑๓ ๘.๒๗ ๕๙๘.๑๖

รวม ๓ จังหวดั พืน้ ทเี่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก

๒๕๖๒ ๓๖๒.๓๘ ๑๔.๐๖ ๙๒๒.๕๗ ๓๕.๘๐ ๑๒๙๒.๓๖ ๕๐.๑๔ ๒,๕๗๗.๓๑
๒๕๗๐ ๔๐๙.๕๐ ๑๔.๐๒ ๑๐๔๒.๕๑ ๓๕.๖๙ ๑,๔๖๘.๖๙ ๕๐.๒๙ ๒,๙๒๐.๗๐

๒๕๘๐ ๔๑๗.๐๔ ๑๔.๑๕ ๑๐๖๐.๙๗ ๓๖.๐๑ ๑,๔๖๘.๖๙ ๔๙.๘๔ ๒,๙๔๖.๗๐
ทมี่ า : สานักงานคณะกรรมการส่งเสรมิ วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวตั กรรม มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์, (๒๕๖๓)

โครงการจดั ทาแผนสงิ่ แวดลอ้ มในพืน้ ทเ่ี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๓๙

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม รายงานฉบับสุดท้าย

จากผลการคาดการณ์ของทั้งสองแหล่งข้อมูล สามารถสรุปค่าสูงสุดและค่าต่าสุดของการ
คาดการณ์การใช้นา้ จากการทบทวนไดด้ ังตารางที่ ๔ - ๘๒

ตารางท่ี ๔ - ๘๒ คา่ สงู สุดและคา่ ตา่ สุดของการคาดการณ์การใชน้ า้ ในปี พ.ศ. ๒๕๗๐ และ พ.ศ. ๒๕๘๐

ความตอ้ งการใชน้ ้า (ลา้ นลบ.ม./ป)ี

พ.ศ. อปุ โภคบรโิ ภค อุตสาหกรรม เกษตรกรรม

ค่าสงู สดุ คา่ ตา่ สุด ค่าสงู สดุ ค่าต่าสุด ค่าสงู สุด คา่ ต่าสุด

จังหวัดฉะเชิงเทรา ๕๒ ๑๓๔ ๑๑๔.๒๐ ๑,๓๙๗ ๑,๒๖๑.๐๔
๒๕๗๐ ๗๗.๒๐ ๗๕ ๑๖๕ ๑๑๖.๒๓ ๑,๓๙๘
๒๕๘๐ ๗๘.๘๖
จงั หวดั ชลบุรี

๒๕๗๐ ๒๖๕.๓๕ ๑๑๗ ๓๔๐.๕๕ ๒๖๕ ๑๘๑ ๕๐.๒๔

๒๕๘๐ ๒๗๐.๐๕ ๒๐๘ ๓๔๖.๕๘ ๓๑๔ ๑๘๑

จงั หวดั ระยอง ๕๘๗.๗๖ ๓๔๙ ๒๕๓ ๑๕๗.๔๐
๒๕๗๐ ๘๐ ๖๖.๙๕ ๕๙๘.๑๖ ๓๘๗ ๒๕๓
๒๕๘๐ ๑๐๙ ๖๘.๑๓
รวม ๓ จงั หวดั พืน้ ท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก

๒๕๗๐ ๔๐๙.๕๐ ๓๐๙ ๑,๐๔๒.๕๑ ๗๔๘ ๑,๘๓๑ ๑,๔๖๘.๖๙

๒๕๘๐ ๔๑๗.๐๔ ๓๙๒ ๑,๐๖๐.๙๗ ๘๖๕ ๑,๘๓๒

ที่มา: สานักงานทรัพยากรน้าแห่งชาติ (๒๕๖๒) และสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, (๒๕๖๓)

การจัดการทรพั ยากรน้า
สานักงานทรัพยากรน้าแห่งชาติคาดการณ์ความต้องการใช้น้าใน พื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาค
ตะวันออกในอนาคต ในปี พ.ศ. ๒๕๗๐ เท่ากับ ๒,๘๘๘ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี และปี พ.ศ. ๒๕๘๐ เท่ากับ
๓,๐๘๙ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี ในขณะท่ีสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (๒๕๖๓) ได้คาดการณ์ความต้องการใช้น้าของพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาค
ตะวันออก ในปี พ.ศ. ๒๕๗๐ เท่ากับ ๒,๙๒๐.๗๐ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี และปี พ.ศ. ๒๕๘๐ เท่ากับ
๒,๙๔๖.๗๐ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี จากข้อมูลปริมาณน้าต้นทุนที่มีอยู่ท่ีมีน้อยกว่าความต้องการน้าในแต่ละ
ภาคส่วน ทาให้พ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกมีน้าใช้ไม่เพียงพอต่อความต้องการน้า ดังน้ันสานักงาน
ทรัพยากรน้าแห่งชาติจึงได้เร่งหาแนวทางการพัฒนาแหล่งนา้ เพ่ือรองรบั เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกปีพ.ศ.
๒๕๖๓ - ๒๕๘๐ ด้วยการเพ่ิมศักยภาพของอ่างเก็บน้า โครงข่ายน้า ระบบสูบกลับ การผันน้าจากแหล่งน้าอ่ืน
ขุดลอก/พน้ื ที่ล่มุ ต่า การพัฒนากลุ่มบ่อบาดาลขนาดใหญ่สาหรบั เอกชน การกกั เก็บน้าในสระเอกชน การผลิต
น้าจืดจากน้าทะเล และลดปริมาณการใช้น้า รวม ๓๘ โครงการ หากโครงการพัฒนาแหล่งน้าแล้วเสร็จ จะ
สามารถเพม่ิ ปรมิ าณนา้ ในพ้ืนทไี่ ด้ ๘๗๒ ล้านลกู บาศก์เมตร ดงั ภาพที่ ๔ - ๘๖

โครงการจัดทาแผนสิง่ แวดล้อมในพืน้ ท่ีเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๔๐

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสุดทา้ ย

อย่างไรก็ตามเม่ือพิจารณาสมดุลน้าในอนาคต พบว่า ปริมาณน้าพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาค
ตะวันออกในอ่างเก็บน้า ๒๓ แห่ง ความจุรวม ๑,๓๘๑.๘๙ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี และ ปริมาณน้าที่หามา
เพ่ิมเติมอีก ๘๗๒ ล้านลูกบาศก์เมตร รวมเป็นปริมาณน้าต้นทุน ๒,๒๕๓.๘๙ ล้านลูกบาศก์เมตร ในขณะที่
ความต้องการใช้น้าในปี พ.ศ. ๒๕๘๐ เท่ากับ ๓,๐๘๙ ล้านลูกบาศก์เมตร ปริมาณน้าในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษ
ภาคตะวันออกยังไม่เพียงพอกับความต้องการใช้น้า ยังคงต้องการปริมาณน้าเพ่ิมอีก ๘๓๕.๑๑ ล้านลูกบาศก์
เมตร เพื่อให้เกิดสมดุลน้าในปี พ.ศ. ๒๕๘๐ แนวทางหนึ่งในการเพ่ิมปริมาณน้าต้นทุนจากการกักเก็บน้าในทุก
ภาคส่วน ได้แก่ ภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม ภาคชุมชนและเมือง รวมถึงการเพ่ิมความช้ืนให้กับป่าต้น
น้า จะช่วยลดแรงกดดนั ตอ่ ทรัพยากรน้าในพนื้ ท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกได้

ทมี่ า : สานักงานทรพั ยากรน้าแหง่ ชาติ, ๒๕๖๔

ภาพท่ี ๔ - ๘๖ การพัฒนาแหลง่ น้าเพื่อรองรบั เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๘๐

การวิเคราะห์เชงิ พ้ืนท่ีของปรมิ าณนา้ ต้นทนุ ในพน้ื ทเี่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก
จากผลการวิเคราะห์สถานการณ์และแนวโน้มปริมาณน้าและความต้องการใช้น้าในพ้ืนที่เขต
พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พบว่าปริมาณน้ามีไม่เพียงพอกับความต้องการใช้น้า ประกอบกับความตอ้ งการใช้
น้าในอนาคตท่ีสูงข้ึนเน่ืองจากความเข้มข้นของกิจกรรมการพัฒนาท่ีจะเกิดขึ้นในพื้นท่ี ทาให้มีแผนการดึงน้า
นอกพ้ืนท่ีเขา้ มาหนุนให้เพียงพอ อย่างไรก็ตามมกี ารตั้งคาถามถึงปริมาณนา้ ฝนทมี่ ีมากแตพ่ ื้นท่ียงั ขาดศักยภาพ
ในการกักเกบ็ น้าไวไ้ ด้ หรือ ปริมาณน้าฝนมีแนวโน้มลดลงทาให้ต้นทุนน้าในพ้ืนท่ีลดลง ดังนัน้ ในส่วนนี้จึงได้ทา
การวิเคราะห์เชิงพ้ืนที่เพือ่ หาปริมาณนา้ ตน้ ทุนในพื้นที่ จากขอ้ มูลปรมิ าณน้าฝนรายปี จานวน ๔๓ สถานี ตั้งแต่
ปี พ.ศ. ๒๕๒๒ - ๒๕๖๒ จากสานักทรัพยากรน้าแห่งชาติ ข้อมูลชนิดดินและสิ่งปกคลุมดิน จากกรมพัฒนา
ที่ดิน โดยข้อมลู ของจังหวัดฉะเชงิ เทราเป็นขอ้ มูลการใช้ประโยชน์ทดี่ ินในปี พ.ศ. ๒๕๖๑ ส่วนจงั หวัดชลบุรีและ
จงั หวัดระยองเป็นข้อมูลการใช้ประโยชน์ท่ีดินในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ และข้อมูลความสูงของพ้ืนที่ท่ีได้จากการดาวน์
โหลดภาพดาวเทียมความสูงเชิงพ้ืนที่ท่ีมีความละเอียด ๑๒.๕ เมตร แทนคา่ ในสมการที่ได้จากงานชลประทาน

โครงการจัดทาแผนส่งิ แวดล้อมในพ้ืนทเี่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๔๑

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม รายงานฉบบั สดุ ท้าย

ในการประมาณค่าน้าฝนรายปีในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ได้แบ่งการวิเคราะห์ออกเป็น ๓ ค่า คือ
ปริมาณน้าฝนรายปีเฉลยี่ ปริมาณนา้ ฝนรายปสี งู สุด และปรมิ าณนา้ ฝนรายปตี า่ สดุ ดงั ภาพท่ี ๔ - ๘๗

จากภาพที่ ๔ - ๘๗ จะเห็นได้ว่าปริมาณค่าน้าฝนที่เกิดขึ้นในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาค
ตะวันออกโดยรวมจะมีค่าสูงสดุ อยู่ท่ีประมาณ ๔.๐๘ ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ตอ่ ปี และมีค่าปรมิ าณน้าฝนต่าสุดอยู่
ที่ประมาณ ๐.๓๖ ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ต่อปี โดยจะเห็นได้ว่าบริเวณท่ีมีฝนตกส่วนมากจะเป็นพื้นท่ีบริเวณ
ปากอ่าวและพ้ืนทบี่ ริเวณปา่ รอยตอ่

ผลการวเิ คราะห์ปริมาณน้าท่า ในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก สามารถใช้สมการทาง
ชลประทานในการคานวณหาปริมาณน้าต้นทุน และในการวิเคราะห์ตัดบริเวณท่ีเป็นแหล่งน้าในพ้ืนท่ีออก
เพ่ือให้ผลการวิเคราะห์ออกมาได้มีความคลาดเคล่ือนน้อยท่ีสุด และได้แบ่งการวิเคราะห์ออกเป็น ๓ ส่วนตาม
ข้อมูลปริมาณน้าฝน จากภาพที่ ๔ - ๘๘ เห็นได้ว่าปริมาณน้าท่าที่เกิดข้ึนในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาค
ตะวันออกโดยรวมจะมีค่าสูงสุดอยู่ที่ประมาณ ๒.๒๘ ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ต่อปี และมีค่าปริมาณน้าต่าสุดอยู่ที่
ประมาณ ๐ ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ต่อปี โดยเห็นได้ว่าบริเวณที่มีปริมาณน้าท่าส่วนมากจะเป็นพื้นท่ีในจังหวัด
ฉะเชิงเทรา จังหวัดระยองบริเวณปากอ่าว และพ้ืนท่ีบริเวณป่ารอยตอ่ ซ่ึงมิใช่บริเวณเหนืออ่างเก็บน้าทาให้น้า
ในอา่ งสามารถกักเกบ็ ไดไ้ ม่เต็มประสิทธภิ าพ และจะเห็นได้วา่ ในพื้นท่ีจงั หวดั ชลบรุ มี ปี รมิ าณน้าทา่ น้อยมาก

ปัญหาของทรัพยากรน้าของจังหวัดชลบุรี คือความต้องการใช้น้าท้ังอุปโภคบริโภค
อุตสาหกรรม การท่องเท่ียว และเกษตรกรรม เพิ่มมากข้ึนทุกปี ในขณะที่พ้ืนท่ีกักเก็บน้ามีอยู่อย่างจากัด
ทาให้ประสบกับปัญหาขาดแคลนน้า นอกจากนี้คุณภาพแหล่งน้าเส่ือมโทรมเกิดจากการระบายน้าทิ้งที่ไม่ผ่าน
การบาบัดทาให้แหล่งน้าเน่าเสียไม่สามารถใช้ประโยชน์ได้ และศักยภาพของน้าใต้ดินมีจากัดและมีคุณสมบัติ
ไม่เหมาะสมกบั การอปุ โภคและบริโภค

โครงการจัดทาแผนส่ิงแวดลอ้ มในพน้ื ทเ่ี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๔๒

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม

ปรมิ าณน้าฝนรายปเี ฉล่ีย ปรมิ าณน้าฝน

ภาพท่ี ๔ - ๘๗ ปริมาณน้าฝนในพ

โครงการจดั ทาแผนส่ิงแวดลอ้ มในพนื้ ทีเ่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕

นรายปสี งู สุด รายงานฉบับสดุ ทา้ ย
ปริมาณน้าฝนรายปีต่าสุด

พนื้ ท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก ๔ - ๒๔๓

๕-๒๕๖๙

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม

ปริมาณนา้ ตน้ ทนุ รายปเี ฉลย่ี ปริมาณนา้ ตน้

ภาพท่ี ๔ - ๘๘ ปรมิ าณนา้ ต้นทุนใน

โครงการจดั ทาแผนสง่ิ แวดลอ้ มในพื้นทเี่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕

นทุนรายปีสงู สดุ รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย

ปริมาณน้าตน้ ทนุ รายปตี า่ สุด

นพนื้ ทเี่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก ๔ - ๒๔๔

๕-๒๕๖๙

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม รายงานฉบบั สดุ ท้าย

๔.๒.๔.๒ ทรัพยากรนา้ บาดาล
จากข้อมูลของสานักอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรน้าบาดาล กรมทรัพยากรน้าบาดาล ซ่ึงได้

จดั ทาโครงการระบบติดตามเฝ้าระวงั ระดับนา้ บาดาลและคุณภาพน้าบาดาลท่ัวประเทศ พบว่าพ้ืนท่ีเขตพัฒนา
พิเศษภาคตะวันออกมีจานวนแอ่งน้าบาดาล ๓ แอ่ง ได้แก่ แอ่งน้าบาดาลปราจีนบุรี - สระแก้ว แอ่งน้าบาดาล

ชลบุรี และแอ่งน้าบาดาลระยอง จานวนสถานีและบ่อสังเกตการณ์แอ่งน้าบาดาล ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ (ตารางที่ ๔
- ๘๒) มีดังน้ี

แอ่งน้าบาดาลปราจีนบุรี –สระแก้ว มีสถานีสังเกตการณ์น้าบาดาล ๔๑ สถานี จานวน ๖๕
บ่อ ในพ้นื ที่จังหวดั ฉะเชิงเทราและชลบุรี ซึ่งจานวนทค่ี วรมีในพื้นทค่ี ือ สถานสี ังเกตการณน์ ้าบาดาล ๖๐ สถานี
จานวนบอ่ ๑๓๕ บ่อ

แอ่งน้าบาดาลชลบุรี มีสถานีสังเกตการณ์น้าบาดาล ๕๐ สถานี จานวน ๖๓ บ่อ ในพื้นที่
จงั หวัดระยอง ซง่ึ จานวนท่คี วรมใี นพน้ื ที่คอื สถานสี งั เกตการณน์ ้าบาดาล ๖๐ สถานี จานวนบอ่ ๙๗ บ่อ

แอ่งน้าบาดาลระยอง มีสถานีสังเกตการณ์น้าบาดาล ๙๖ สถานี จานวน ๑๓๙ บ่อ ในพ้ืนที่
จงั หวดั ชลบุรี ซึ่งจานวนท่ีควรมีในพืน้ ท่คี อื สถานสี ังเกตการณน์ ้าบาดาล ๑๒๙ สถานี จานวนบ่อ ๒๐๔ บ่อ

ตารางท่ี ๔ - ๘๓ จานวนสถานีและบ่อสังเกตการณท์ ี่มใี นปจจบุ ันและทค่ี วรต้องมใี นแตล่ ะอา่ งนา้ บาดาล

แอง่ นา้ บาดาล ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ (๑) ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ (๒) จานวนที่ควรต้องมี จานวนตอ้ งทาเพิ่มเตมิ

สถานี บอ่ สถานี บอ่ สถานี บอ่ สถานี บอ่

แอ่งน้าปราจนี บุร-ี ๒๔ ๓๕ ๔๑ ๖๕ ๖๐ ๑๓๕ ๑๙ ๗๐
สระแก้ว

แอง่ นา้ ชลบรุ ี ๔๘ ๖๕ ๕๐ ๖๓ ๖๐ ๙๗ ๑๐ ๓๔

แอง่ นา้ บาดาลระยอง ๑๐๓ ๑๕๓ ๙๖ ๑๓๙ ๑๒๙ ๒๐๔ ๓๓ ๖๕

ทมี่ า : (๑) สานักอนรุ ักษ์และฟนื้ ฟูทรพั ยากรนา้ บาดาล กรมทรัพยากรนา้ บาดาล (๒๕๖๑)
(๒) สานักอนรุ กั ษ์และฟนื้ ฟทู รพั ยากรน้าบาดาล กรมทรพั ยากรนา้ บาดาล (๒๕๖๓)

นอกจากน้ีสานักอนุรักษ์และฟ้ืนฟูทรัพยากรน้าบาดาลได้สารวจจานวนสถานีและบ่อเพิ่มเติม
เม่อื เปรียบเทียบจานวนสถานแี ละบ่อสังเกตการณ์ที่มใี นปี พ.ศ. ๒๕๖๐ กับปี พ.ศ. ๒๕๖๒ พบว่าจานวนสถานี
ของแอ่งน้าปราจีนบุรี-สระแก้วและแอ่งน้าชลบุรี มีจานวนเพิ่มขึ้นแต่ยังไม่ถึงจานวนท่ีควรต้องมี ส่วนจานวน
สถานีของแอ่งน้าบาดาลระยอง มีจานวนลดลง จาก ๑๐๓ สถานี เป็น ๙๖ สถานี ลดลง ๗ สถานี ขณะที่
จานวนบ่อสังเกตการณ์ของแอ่งน้าปราจีนบุรี-สระแก้วมีจานวนเพิ่มขึ้น ส่วนจานวนบ่อสังเกตการณ์ของแอง่ น้า
ชลบรุ ีและแอ่งนา้ บาดาลระยอง มีจานวนลดลง ๒ บ่อ และ ๑๔ บ่อตามลาดับ

จากข้อมูลของสานักงานทรัพยากรน้าแห่งชาติ พบว่า ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ พ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษ
ภาคตะวันออกมีปริมาณการใช้น้าบาดาลท้ังหมด ๗๘.๘๒ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี ได้แก่ การอุปโภคบริโภค
๒๓.๙๑ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี การเกษตรกรรม ๓.๖๑ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี และอุตสาหกรรม ๕๑.๓๐
ลา้ นลูกบาศก์เมตรตอ่ ปี

โครงการจดั ทาแผนสง่ิ แวดลอ้ มในพื้นทเ่ี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๔๕

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม รายงานฉบับสดุ ท้าย

จังหวัดฉะเชิงเทรามีปริมาณการใช้น้าบาดาลท้ังหมด ๑๐.๐๘ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี โดยใช้
เพื่ออุปโภคบริโภคมากที่สุดคือ ๕.๓๓ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี รองลงมาคือเพ่ืออุตสาหกรรม ๔.๐๔ ล้าน
ลูกบาศก์เมตรต่อปี และเพือ่ การเกษตรกรรม ๐.๗๑ ล้านลูกบาศก์เมตรตอ่ ปี

จังหวัดชลบุรีมีปริมาณการใช้น้าบาดาลท้ังหมด ๓๔.๘๔ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี โดยใช้เพ่ือ
อุตสาหกรรมมากที่สุดคือ ๒๓.๕๙ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี รองลงมาคือเพื่ออุปโภคบริโภค ๑๐.๑๑ ล้าน
ลกู บาศกเ์ มตรตอ่ ปี และเพอ่ื การเกษตรกรรม ๑.๑๔ ลา้ นลกู บาศกเ์ มตรต่อปี

จังหวัดระยองมีปริมาณการใช้น้าบาดาลท้ังหมด ๓๓.๙๐ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี โดยใช้เพ่ือ
อตุ สาหกรรมมากท่ีสุดคือ ๒๕.๖๗ ล้านลูกบาศกเ์ มตรต่อปี รองลงมาคือเพือ่ อปุ โภคบรโิ ภค ๘.๔๗ ลา้ นลูกบาศก์
เมตรตอ่ ปี และน้อยสดุ คอื เพ่ือการเกษตรกรรม ๑.๗๖ ล้านลกู บาศก์เมตรต่อปี รายละเอยี ดดังตารางท่ี ๔ - ๘๔

ตารางท่ี ๔ - ๘๔ ปรมิ าณการใช้นา้ บาดาลของจงั หวดั ฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยอง ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

จงั หวัด ปรมิ าณการใช้นา้ บาดาล (ล้าน ลบ.ม. ปี)

อุปโภคบรโิ ภค เกษตรกรรม อตุ สาหกรรม รวม

ฉะเชงิ เทรา ๕.๓๓ ๐.๗๑ ๔.๐๔ ๑๐.๐๘

ชลบุรี ๑๐.๑๑ ๑.๑๔ ๒๓.๕๙ ๓๔.๘๔
ระยอง ๘.๔๗ ๑.๗๖ ๒๓.๖๗ ๓๓.๙๐
รวม ๒๓.๙๑ ๓.๖๑ ๕๑.๓๐ ๗๘.๘๒
ทีม่ า: สานกั งานทรพั ยากรนา้ แห่งชาติ (๒๕๖๒)

แนวโนม้ ปรมิ าณนา้ บาดาล
ข้อมูลจากตารางท่ี ๔ - ๘๕ พบว่า ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ พื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกมี
แนวโน้มการเพ่ิมขึ้นของจานวนสถานีและจานวนบ่อบาดาล โดยเพ่ิมข้ึน ๑๕ สถานีและ ๓๐ บ่อจากปี
พ.ศ. ๒๕๖๑ ตามลาดับ อย่างไรก็ตามแม้ว่าในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ มีจานวนสถานีและบ่อน้าบาดาลเพ่ิมขึ้น แต่
ยงั คงมีปริมาณน้ากักเก็บเทา่ ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ มีปรมิ าณ ๔๑,๗๒๘ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี และเป็นปริมาณน้าท่ี
ใชไ้ ด้อยา่ งปลอดภัยปรมิ าณ ๑,๙๔๖ ลา้ นลกู บาศก์เมตรตอ่ ปี

โครงการจัดทาแผนสงิ่ แวดลอ้ มในพ้ืนทเี่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๔๖

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดทา้ ย

ตารางที่ ๔ - ๘๕ ปรมิ าณน้าบาดาลจังหวดั ฉะเชงิ เทรา ชลบรุ ี และระยอง ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ และ ๒๕๖๒

จานวน จานวน พ้ืนที่ ปรมิ าณนา้ ปริมาณเพม่ิ เติม ปรมิ าณน้าท่ี
ใชไ้ ด้อยา่ ง
ปี ชอ่ื แอง่ น้า สถานี บอ่ (ตร. กม.) กกั เกบ รายปี ปลอดภัย
(ลา้ นลบ.ม ปี)
(ลา้ นลบ.ม (ลา้ นลบ.ม ปี)
๑,๗๔๘
ป)ี
๙๘
พ.ศ.๒๕๖๑ ฉะเชิงเทรา ๒๔ ๓๕ ๑๘,๓๔๐ ๓๘,๓๔๓ ๒,๕๔๘ ๑๐๐
๑,๙๔๖
(ปราจีนบุรี-สระแกว้ ) ๑,๗๔๘

ชลบุรี ๔๘ ๖๕ ๑,๑๒๘ ๑,๗๙๙ ๑๓๒ ๙๘
๑,๕๘๖ ๑๓๖ ๑๐๐
ระยอง ๑๐๓ ๑๕๓ ๒,๒๔๘ ๔๑,๗๒๘ ๒,๘๑๖ ๑,๙๔๖
๓๘,๓๔๓ ๒,๕๔๘
รวม ๑๗๕ ๒๕๓ ๒๑,๗๑๖

พ.ศ.๒๕๖๒ ฉะเชิงเทรา ๓๙ ๖๕ ๑๘,๓๔๐

(ปราจนี บรุ ี-สระแก้ว)

ชลบรุ ี ๔๘ ๖๕ ๑,๑๒๘ ๑,๗๙๙ ๑๓๒
๑,๕๘๖ ๑๓๖
ระยอง ๑๐๓ ๑๕๓ ๒,๒๔๘ ๔๑,๗๒๘ ๒,๘๑๖

รวม ๑๙๐ ๒๘๓ ๒๑,๗๑๖

หมายเหตุ: จงั หวดั ฉะเชิงเทราอยใู่ นแอง่ น้าปราจนี บุรี-สระแกว้

ทมี่ า: กรมทรัพยากรนา้ บาดาล (๒๕๖๒)

จังหวัดฉะเชิงเทรา มีปริมาณน้าบาดาลต้นทุนที่สามารถนามาใช้ได้ ๕๑๔ ล้านลูกบาศก์เมตร
ต่อปี ในอาเภอคลองเข่ือน ๑๑ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี อาเภอท่าตะเกียบ ๑๓๘ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี
อาเภอบางคล้า ๒๔ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี อาเภอบางน้าเปรี้ยว ๕๐ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี อาเภอบางปะ
กง ๒๖ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี อาเภอบ้านโพธิ์ ๒๑ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี อาเภอแปลงยาว ๓๓ ล้าน
ลูกบาศก์เมตรต่อปี อาเภอพนมสารคาม ๕๑ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี อาเภอเมืองฉะเชิงเทรา ๓๙ ล้าน
ลูกบาศกเ์ มตรต่อปี อาเภอราชสาส์น ๑๕ ลา้ นลูกบาศกเ์ มตรต่อปี และอาเภอสนามชัยเขต ๑๐๗ ล้านลูกบาศก์
เมตรตอ่ ปี (กรมทรัพยากรน้าบาดาล, ๒๕๖๓) (ภาพท่ี ๔ - ๘๙)

จังหวดั ชลบรุ ี มีปริมาณนา้ บาดาลต้นทนุ ทสี่ ามารถนามาใช้ได้ ปริมาณ ๔๒๓ ล้านลูกบาศก์เมตร
ต่อปี พบในพ้ืนที่ อาเภอเกาะจันทร์ ๒๖ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี อาเภอบ่อทอง ๗๙ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี
อาเภอบางละมุง ๕๑ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี อาเภอบ้านบึง ๕๖ ล้าน ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี อาเภอ
พนัสนิคม ๔๗ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี อาเภอพานทอง ๑๖ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี อาเภอเมืองชลบุรี
๒๓ ล้านลูกบาศก์เมตรตอ่ ปี อาเภอศรรี าชา ๕๘ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี อาเภอสัตหีบ ๒๔ ล้านลูกบาศก์เมตร
ต่อปี และอาเภอหนองใหญ่ ๔๓ ล้านลูกบาศกเ์ มตรต่อปี (ภาพที่ ๔ - ๙๐)

จังหวัดระยอง มีปริมาณน้าบาดาลต้นทุนที่สามารถนามาใช้ได้ ปริมาณ ๓๗๔ ล้านลูกบาศก์
เมตรต่อปี พบในพื้นท่ี อาเภอเขาชะเมา ๔๕ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี อาเภอนิคมพัฒนา ๒๕ ล้านลูกบาศก์
เมตรต่อปี อาเภอแกลง ๗๗ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี อาเภอบ้านค่าย ๔๘ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี อาเภอ

โครงการจดั ทาแผนสิ่งแวดล้อมในพน้ื ที่เขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๔๗

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดท้าย

บ้านฉาง ๑๗ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี อาเภอปลวกแดง ๕๕ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี อาเภอเมืองระยอง
๖๘ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี และอาเภอวงั จนั ทร์ ๓๙ ล้านลกู บาศกเ์ มตรต่อปี (ภาพที่ ๔ - ๙๑)

ที่มา: กรมทรัพยากรนา้ บาดาล (๒๕๖๒)

ภาพท่ี ๔ - ๘๙ แผนท่ีน้าบาดาลจงั หวัดฉะเชงิ เทรา

โครงการจัดทาแผนสง่ิ แวดลอ้ มในพน้ื ท่ีเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๔๘

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย

ทม่ี า: กรมทรัพยากรนา้ บาดาล (๒๕๖๒)

ภาพที่ ๔ - ๙๐ แผนที่น้าบาดาลจังหวัดชลบรุ ี

โครงการจัดทาแผนสงิ่ แวดลอ้ มในพ้นื ทีเ่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๔๙

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย

ทมี่ า: กรมทรัพยากรน้าบาดาล (๒๕๖๒)

ภาพที่ ๔ - ๙๑ แผนที่นา้ บาดาลจงั หวัดระยอง

โครงการจัดทาแผนสง่ิ แวดล้อมในพนื้ ท่เี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๕๐

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย

จากการขยายตัวของพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกอย่างรวดเร็วทาให้มีความต้องการใช้
น้าในปัจจุบันและในอนาคตสูงขึ้น รวมถึงการรับมือกับภัยแล้ง ดังนั้นจึงจาเป็นต้องมีการจัดหาแหล่งน้าเพิ่ม
มากขึ้น กรมทรัพยากรน้าบาดาลได้มีโครงการศึกษาสารวจและประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการ
พัฒนาแหล่งน้าบาดาลขนาดใหญ่ในพ้ืนท่ีพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พบแหล่งน้าบาดาลขนาดใหญ่ ๔ แห่ง
และมีการคาดการณ์ปรมิ าณน้าท่จี ะพัฒนาได้ประมาณ ๑๘๐ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี กรมทรัพยากรน้าบาดาล,
๒๕๖๔ก) ดังนี้ แหล่งน้าบาดาลพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา มีปริมาณน้าที่กักเก็บ ๖๐๐ ล้านลูกบาศก์
เมตร แหล่งน้าบาดาลบางน้าเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา มีปริมาณน้าท่ีกักเก็บ ๓,๐๑๓ ล้านลูกบาศก์เมตร มี
ปริมาณน้าเพิ่มเติมรายปี ๖๖ ล้าน ลูกบาศก์เมตรต่อปี และมีปริมาณน้าบาดาลที่สามารถนามาใช้ได้ ๒,๒๖๐
ล้านลูกบาศก์เมตร แหล่งน้าบาดาลสัตหีบ จังหวัดชลบุรี มีปริมาณน้าท่ีกักเก็บ ๘๘๓ ล้านลูกบาศก์เมตร มี
ปริมาณน้าเพิ่มเติมรายปี ๓๓ ล้าน ลูกบาศก์เมตรต่อปี มีปริมาณน้าบาดาลที่สามารถนามาใช้ได้ ๖๖๒
ล้านลูกบาศก์เมตร และแหล่งน้าบ้านค่าย จังหวัดระยอง มีปริมาณน้าที่กักเก็บ ๘๙๐ ล้านลูกบาศก์เมตร
มีปริมาณน้าเพ่ิมเติมรายปี ๖๗ ล้าน ลูกบาศก์เมตรต่อปี และมีปริมาณน้าบาดาลที่สามารถนามาใช้ได้ ๖๘๘
ล้านลูกบาศก์เมตร (กรมทรัพยากรน้าบาดาล, ๒๕๖๔ข) การค้นพบแหล่งน้าบาดาลแห่งใหม่ทาให้พื้นที่
เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกสามารถสารองน้าไว้ใช้ได้ในกรณีท่ีเกิดความขาดแคลน อย่างไรก็ตามการสูบ
นา้ บาดาลขึน้ มาใช้ในการอุปโภค-บริโภค เกษตรกรรม หรืออุตสาหกรรม ควรมีการเติมน้าเข้าไปด้วยเพื่อสร้าง
ความสมดลุ ของระบบนเิ วศให้ยัง่ ยืน

๔.๒.๕ ทรพั ยากรทางทะเลและชายฝง่
จงั หวัดฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยอง มพี ื้นที่ชายฝั่งทะเลตดิ ฝั่งอ่าวไทย อยู่ในเขตพื้นที่อาเภอบางปะกง
จังหวัดฉะเชิงเทรา อาเมืองชลบุรี บางละมุง ศรีราชา สัตหีบ จังหวัดชลบุรี และ อาเภอเมือง แกลง บ้านฉาง
จังหวัดระยอง มีแหล่งทรัพยากรทะเลและชายฝั่งท่ีสาคัญประกอบด้วย ป่าชายเลน หญ้าทะเล และแหล่ง
ปะการัง รวมถึงสัตว์ทางทะเลและชายฝ่ังท่ีหลากหลาย ได้แก่ เต่าตนุ เต่ากระ โลมาอิรวดี โลมาปากขวด
วาฬบรูด้า วาฬโอมรู ะ และฉลามวาฬ

๔.๒.๕.๑ ทะเลและเกาะ
ทะเลในพื้นที่เขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก
ทะเลในพน้ื ทเ่ี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก
พ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ต้ังอยู่ชายฝ่ังทะเลอ่าวไทย มีความยาวชายฝ่ังรวม
ประมาณ ๒๒๙.๓๓ กิโลเมตร โดยมีพ้ืนท่ีติดชายฝ่ัง ๔๐ ตาบล และ ๘ อาเภอ จังหวัดฉะเชิงเทรามีความยาว
ชายฝ่ัง ๑๖.๕๖ กิโลเมตร มีพ้ืนที่ติดชายฝ่ังทะเล ๓ ตาบล ๑ อาเภอ จังหวัดชลบุรีมีความยาวชายฝ่ัง
๑๐๗.๑๗ กิโลเมตร มีพื้นที่ติดชายฝ่ังทะเลทะเล ๒๒ ตาบล ๔ อาเภอ และจังหวัดระยองทีความยาวชายฝ่ัง
๑๐๕.๖ กโิ ลเมตร มพี ้นื ทตี่ ิดทะเล ๑๕ ตาบล ๓ อาเภอ (ตารางท่ี ๔ - ๘๖)

โครงการจดั ทาแผนสิง่ แวดลอ้ มในพื้นที่เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๕๑

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสุดท้าย

ตารางที่ ๔ - ๘๖ ขอ้ มลู ทะเลในเขตพื้นทีพ่ ฒั นาพิเศษภาคตะวันออก อาเภอชายฝง่

จงั หวดั ความยาวชายฝง่ (กม.) ตาบลชายฝ่ง ๔

ฉะเชงิ เทรา ๑๖.๕๖ ๓ ๘

ชลบุรี ๑๐๗.๑๗ ๒๒
ระยอง ๑๐๕.๖ ๑๕
รวมทั้ง ๓ จังหวดั ๒๒๙.๓๓ ๔๐

ท่ีมา : กรมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝ่ัง (ม.ป.ป.)

เกาะในพ้นื ที่เขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก
พ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกมีเกาะท้ังหมด จานวน ๖๔ เกาะ คิดเป็นเนื้อที่ทั้งหมด
๔๘.๑๐๙ ตารางกิโลเมตร โดยจังหวัดฉะเชิงเทรามีจานวน ๑ เกาะ มีพื้นท่ี ๐.๒๐๔ ตารางกิโลเมตร จังหวัด
ชลบุรีมีจานวน ๔๗ เกาะ มีพื้นท่ี ๔๑.๖๖๗ ตารางกิโลเมตร และจังหวัดระยองมีจานวน ๑๖ เกาะ มีพื้นที่
๖.๒๓๘ ตารางกโิ ลเมตร

ตารางท่ี ๔ - ๘๗ จานวนและเนื้อท่ีเกาะในพ้นื ที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก

จงั หวัด จานวนเกาะ พน้ื ท่ี (ตารางกโิ ลเมตร)

ฉะเชงิ เทรา ๑ ๐.๒๐๔

ชลบรุ ี ๔๗ ๔๑.๖๖๗

ระยอง ๑๖ ๖.๒๓๘

รวมท้งั ๓ จังหวดั ๖๔ ๔๘.๑๐๙

ท่มี า : กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง่ั (๒๕๕๖)

จังหวัดฉะเชิงเทรามีเกาะเพียงเกาะเดียว คือ เกาะกลาง ต้ังอยู่ที่บริเวณปากแม่น้าบางปะกง
มีพ้ืนที่ ๐.๒๐๔ ตารางกิโลเมตร เป็นเกาะท่ีเกิดจากสันดอนปากแม่น้า ท้ังเกาะประกอบด้วยป่าชายเลน เป็นท่ี
อยอู่ าศยั ของนกนา้ ดงั ตารางที่ ๔ - ๘๘

จังหวัดชลบุรีมีเกาะท้ังหมด ๔๗ เกาะ ตั้งอยู่ใน ๗ ตาบล ๔ อาเภอ มีพ้ืนท่ีรวมกันทั้งหมด
๔๑.๖๖๗ ตารางกิโลเมตร เกาะทีม่ ีขนาดใหญท่ ่สี ุด คอื เกาะคราม รองลงมาคอื เกาะสชี งั และเกาะล้าน

จังหวัดระยองมีเกาะท้ังหมด ๑๖ เกาะ ตั้งอยู่ใน ๓ ตาบล ๒ อาเภอ มีพื้นท่ีรวมกันท้ังหมด
๖.๒๓๘ ตารางกโิ ลเมตร เกาะที่มขี นาดใหญ่ที่สุด คือ เกาะเสม็ด รองลงมา คือ เกาะมันใน เกาะสว่ นใหญ่ตั้งอยู่
ในเขตอุทยานแห่งชาตเิ ขาแหลมหญ้าหมเู่ กาะเสม็ด

โครงการจดั ทาแผนส่ิงแวดล้อมในพนื้ ทเ่ี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๕๒

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม รายงานฉบบั สุดท้าย

ตารางที่ ๔ - ๘๘ ขอ้ มลู เกาะจังหวัดฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยอง

จังหวัด ชอ่ื เกาะ ตาบล อาเภอ พ้นื ท่ี (ตารางกโิ ลเมตร)

<๑ ๑-๙.๙ ๑๐-๙๙.๙ >๑๐๐
-
ฉะเชิงเทรา กลาง ทา่ ข้าม บางปะกง ๐.๒๐๔ -- -
รวมจังหวดั ฉะเชิงเทรา ท่าเทววงษ์ เกาะสชี ัง ๐.๒๐๔ -
๐.๐๐๖ -- -
ปรง -
-- -
-
รา้ นดอกไม้ ท่าเทววงษ์ เกาะสีชงั ๐.๐๑๓ -- -
-
ขามน้อย ทา่ เทววงษ์ เกาะสชี งั ๐.๐๑๙ -- -
-
ยายทา้ ว ท่าเทววงษ์ เกาะสีชัง ๐.๐๒๑ -- -
-
ทา้ ยตาหมน่ื ทา่ เทววงษ์ เกาะสีชงั ๐.๐๓๒ -- -
คา้ งคาว ทา่ เทววงษ์ เกาะสชี ัง ๐.๓๘๙ -
ขามใหญ่ ท่าเทววงษ์ เกาะสีชัง ๐.๔๕๘ -- -
สชี ัง ทา่ เทววงษ์ เกาะสชี งั -
- -- -
-
๖.๗๑๒ - -
-
หนิ ตน้ ไม้ เมอื งพทั ยา บางละมงุ ๐.๐๐๓ -- -
-
หูชา้ ง เมืองพทั ยา บางละมุง ๐.๐๐๓ -- -
-
หินขาว เมอื งพทั ยา บางละมงุ ๐.๐๐๖ -- -
เหลือมน้อย เมืองพทั ยา บางละมุง ๐.๐๑๑ -
จุ่น เมืองพทั ยา บางละมุง ๐.๐๑๑ -- -
ครก เมอื งพัทยา บางละมงุ ๐.๐๗๕ -
-- -
-
-- -
-
กลึงบาดาล เมืองพัทยา บางละมงุ ๐.๐๘๖ --

ชลบรุ ี สาก เมืองพทั ยา บางละมุง ๐.๑๐๙ --

มารวชิ ยั เมอื งพทั ยา บางละมุง ๐.๒๒๒ --
รน้ิ เมอื งพัทยา บางละมงุ ๐.๔๒๓
เหลือม เมอื งพัทยา บางละมงุ ๐.๔๙ --
ไผ่ เมืองพทั ยา บางละมุง
- --

๔-

ล้าน เมืองพทั ยา บางละมงุ - ๕.๒๕๙ -

ลอย ศรีราชา ศรีราชา ๐.๐๒๘ --

นก ทต.แหลมฉบงั ศรีราชา ๐.๐๒๘ --

รางเกวียน บางเสร่ สตั หีบ ๐.๐๐๖ --
เกล็ดแก้ว บางเสร่ สัตหีบ ๐.๒๒๑
แมว สัตหีบ สตั หีบ ๐.๐๐๖ --

--

ไก่เต้ีย สัตหีบ สตั หบี ๐.๐๐๖ --

พระน้อย สตั หีบ สัตหบี ๐.๐๔๑ --

ครามนอ้ ย สตั หีบ สตั หบี ๐.๐๗๒ --

อีเลา สัตหบี สัตหบี ๐.๐๙๓ --
ยอ สัตหบี สตั หบี ๐.๑๓
--

โครงการจดั ทาแผนส่ิงแวดล้อมในพืน้ ที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๕๓

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ทา้ ย

จงั หวัด ชื่อเกาะ ตาบล อาเภอ พืน้ ท่ี (ตารางกิโลเมตร)

<๑ ๑-๙.๙ ๑๐-๙๙.๙ >๑๐๐
๐.๑๗๙ -
หมู สัตหบี สัตหีบ ๐.๑๘๔ -- -
๐.๕๐๓ -
อรี ้า สัตหีบ สัตหบี -- -
- -
พระ สตั หบี สัตหีบ - -- -
๐.๐๐๔ -
เตาหมอ้ สตั หีบ สตั หบี ๐.๐๐๙ ๑.๐๑๓ - -
๐.๐๑๕ -
คราม สตั หบี สัตหบี ๐.๐๑๖ - ๑๓.๙ -
๐.๐๓๖ -
โรงหนงั แสมสาร สตั หบี ๐.๐๗ -- -
๐.๑๕๑ -
ปลาหมกึ แสมสาร สตั หีบ ๐.๔๒ -- -
๐.๗๑๖ -
โรงโขน แสมสาร สัตหีบ - -- -
- -
นางรา แสมสาร สัตหบี ๕.๓๑๑ -- -
๐.๑๖๒ -
ฉางเกลอื แสมสาร สตั หีบ ๐.๓๓๗ -- -
๐.๔๒๓ -
จระเข้ แสมสาร สัตหีบ ๐.๔๕๖ -- -
๐.๔๖๒ -
ขาม แสมสาร สตั หีบ - -- -
- -
จาน แสมสาร สัตหบี - -- -
๐.๓๒๑ -
แรด แสมสาร สัตหีบ - -- -
- -
จวง แสมสาร สตั หีบ - ๑.๒๔๘ - -
๐.๐๒๕ -
แสมสาร แสมสาร สตั หบี ๐.๐๔๑ ๔.๒๒๒ - -
๐.๐๔๒ -
รวมจังหวดั ชลบุรี ๔๗ เกาะ พ้ืนท่ี ๔๑.๖๖๗ ตร.กม. - ๒๒.๔๕๔ ๑๓.๙ -
๒.๒๖๙
ยุ้งเกลอื ชากพง แกลง --

ค้างคาว ชากพง แกลง --

ขาม ชากพง แกลง --

กรวย ชากพง แกลง --

เกลด็ ฉลาม ชากพง แกลง --

ปลาตีน ชากพง แกลง ๑-

ทะลุ ชากพง แกลง ๑.๔๓๗ -

ระยอง กุฏี ชากพง แกลง ๑.๕๐๑ -
ขปี้ ลา กรา่ แกลง
--

มันนอก กรา่ แกลง ๒.๐๐๓ -

มนั กลาง กร่า แกลง ๒.๐๐๖ -

มันใน กร่า แกลง ๓.๓๖๑ -

สันฉลาม เพ เมืองระยอง --

จัน เพ เมืองระยอง --

สะเกด็ เพ เมืองระยอง --

เสมด็ เพ เมืองระยอง ๕.๓๒๑ -

รวมจงั หวดั ระยอง ๑๖ เกาะ พ้นื ที่ ๖.๒๓๘ ตร.กม. ๑๖.๖๒๙ -

ทม่ี า : กรมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝ่ัง (๒๕๕๖)

โครงการจดั ทาแผนสิ่งแวดล้อมในพ้ืนทีเ่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๕๔

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สดุ ท้าย

๔.๒.๕.๒ ป่าชายเลน
เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก มีพื้นท่ีปา่ ชายเลนรวม ๘๗,๙๖๐.๗๒ ไร่ แบ่งเปน็ ป่าชายเลนคง
สภาพ ๒๒,๓๒๗.๗๗ ไร่ และป่าชายเลนเปล่ยี นแปลงไป ๖๕,๖๐๕.๘๓ ไร่ ดงั ตารางที่ ๔ - ๘๙
จังหวัดฉะเชิงเทรามีเนื้อที่ป่าชายเลนจานวน ๒๙,๗๑๕.๘๖ ไร่ โดยอยู่ในพื้นท่ี ๓ อาเภอ ๑๐
ตาบล ได้แก่ อาเภอบางปะกง อาเภอบ้านโพธ์ิ และอาเภอเมืองฉะเชิงเทรา แบ่งเป็นป่าชายเลนคงสภาพ
๗,๕๘๕.๓๕ ไร่ และปา่ ชายเลนเปล่ียนแปลงไป ๒๒,๑๓๐.๕๑ ไร่
จงั หวัดชลบุรี มเี นื้อท่ีป่าชายเลนจานวน ๒๗,๑๐๗.๖๑ ไร่ โดยอยูใ่ นพ้ืนท่ี ๒ อาเภอ ๑๕ ตาบล
ได้แก่ อาเภอพานทอง และอาเภอเมืองชลบุรี แบ่งเป็นป่าชายเลนคงสภาพ ๔,๕๕๑.๗๑ ไร่ และป่าชายเลน
เปล่ียนแปลงไป ๒๒,๕๕๕.๙๐ ไร่
จังหวดั ระยอง มเี นื้อทปี่ า่ ชายเลน ๓๑,๑๓๗.๒๕ ไร่ โดยอย่ใู นท้องท่ี ๒ อาเภอ ๑๔ ตาบล ไดแ้ ก่
อาเภอแกลง และอาเภอเมืองระยอง แบ่งเป็นป่าชายเลนคงสภาพ ๑๐,๑๙๐.๘๒ ไร่ และป่าชายเลน
เปลีย่ นแปลงไป ๒๐,๙๔๖.๔๒ ไร่ รายละเอยี ดดงั ตารางท่ี ๔ - ๘๙

ตารางท่ี ๔ - ๘๙ ข้อมลู พ้ืนทีป่ า่ ชายเลน จังหวัดฉะเชิงเทรา ชลบรุ ีและระยอง ปี พ.ศ. ๒๕๖๑

จงั หวดั ปา่ ชายเลนคงสภาพ (ไร่) ปา่ ชายเลนเปลีย่ นแปลงไป รวมปา่ ชายเลนทัง้ หมด (ไร่)
(ไร)่

ฉะเชงิ เทรา ๗,๕๘๕.๓๕ ๒๒,๑๓๐.๕๑ ๒๙,๗๑๕.๘๖

ชลบุรี ๔,๕๕๑.๗๑ ๒๒,๕๕๕.๙๐ ๒๗,๑๐๗.๖๑
ระยอง ๑๐,๑๙๐.๘๒ ๒๐,๙๔๖.๔๒ ๓๑,๑๓๗.๒๕
๖๕,๖๐๕.๘๓ ๘๗,๙๖๐.๗๒
รวม ๒๒,๓๒๗.๗๗
ทม่ี า: กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่งั (๒๕๖๑)

แนวโน้มการเปลย่ี นแปลงพ้ืนท่ีปา่ ชายเลน ในพื้นท่ีเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออกมแี นวโน้ม
ลดลง ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๖ ถึงปี พ.ศ. ๒๕๖๓ หากพิจารณาเป็นรายจังหวัด พบว่า จังหวัดฉะเชิงเทรา มีพ้ืนท่ี
ป่าชายเลน ๑๖,๐๗๓ ไร่ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๖ และลดลงเป็น ๑๕,๐๙๘ ไร่ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๙ และ ๑๓,๓๙๑ ไร่
ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ จงั หวัดชลบรุ ี มีพ้ืนทป่ี ่าชายเลน ๓,๔๕๒ ไร่ และลดลงเป็น ๓,๒๔๕ ไร่ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ ใน
ส่วนของจังหวัดระยอง มีพ้ืนท่ีป่าชายเลน ๙,๐๓๓ ไร่ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๖ เพ่ิมขึ้นเป็น ๙,๑๔๒ ไร่ ในปี พ.ศ.
๒๕๕๙ และ ๑๐,๗๘๙ ไร่ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ (ตารางที่ ๔ - ๙๐)

สาเหตุการเปลยี่ นแปลงทรพั ยากรป่าชายเลน
จังหวัดฉะเชิงเทรา มีสาเหตุจากการบุกรุกพื้นท่ีป่าชายเลนเพ่ือใช้พ้ืนท่ีสาหรับการเพาะเล้ียง
สัตว์น้า ทาร้านอาหารริมทะเล และการขยายตัวของชุมชนเมือง การใช้ประโยชน์ที่ดินป่าชายเลน พบว่าพ้ืนที่
ป่าชายเลน (คงสภาพ) นอกน้ันเป็นพื้นที่อื่นๆ ได้แก่ พื้นที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้า นาเกลือ เกษตรกรรม เมืองและ
ส่ิงก่อสร้าง ท่าเทียบเรือ พื้นที่ทิ้งร้าง และพืน้ ทีเ่ ปลี่ยนแปลงตามแนวชายฝ่ัง นอกจากน้ีพน้ื ท่ีป่าชายเลนท่ลี ดลง
ยังมาจากการกัดเซาะชายฝั่ง การแก้ไขปัญหา คือ การปลูกเสริม การเผ้าระวังการบุกรุก เป็นต้น (กรม
ทรพั ยากรทางทะเลและชายฝง่ั , ๒๕๖๑)

โครงการจดั ทาแผนส่งิ แวดล้อมในพนื้ ท่ีเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๕๕

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รายงานฉบับสดุ ทา้ ย

จังหวัดระยอง เนื่องจากการขยายตัวและการเพิ่มขึ้นของพ้ืนที่เพาะเล้ียงสัตว์น้า เนื่องจาก
มีการซ้ือขายสิทธิครอบครองท่ีดินป่าชายเลน การเพ่ิมข้ึนของท่ีพักโฮมสเตย์ การขยายตวั ของชุมชนท่ีพักอาศัย
การบุกรุกเพ่ือทาเกษตรกรรม เช่น สวนปาล์ม การลักลอบตัดไม้ในป่าชายเลนมาใช้ประโยชน์ เป็นต้น
อย่างไรก็ตามได้มีการดาเนินงานมาตรการและแก้ไขปัญหา โดยการตรวจสอบการออกหนังสือแสดงสิทธิใน
ที่ดิน จัดทาหลักเขตที่ดินแสดงแนวเขตอนุรักษ์ป่าชายเลน ตามมติคณะรัฐมนตรี จัดทาแผนท่ีการแสดงถือ
ครองที่ดิน จัดทามาตรการฟื้นฟู ปลูกทดแทนบริเวณที่ถูกบุกรุก และสร้างเครือข่ายชุมชนในการอนุรักษ์
ทรัพยากร การดาเนินมาตรการดังกล่าวยังมีปัญหาอุปสรรคท่ีกฎหมายไม่เอื้อต่อการมีส่วนร่วม รวมถึงการ
สนบั สนนุ งบประมาณจากภาครัฐในกระบวนการมีสว่ นร่วม (ระยอง)

ตารางท่ี ๔ - ๙๐ พน้ื ท่ปี า่ ชายเลน ปพี .ศ. ๒๕๕๖ ๒๕๕๙ และ ๒๕๖๓

จงั หวดั ปี พ.ศ. ๒๕๕๖ ปี พ.ศ. ๒๕๕๙ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓
๑๓,๓๙๑
ฉะเชิงเทรา ๑๖,๐๗๓ ๑๕,๐๙๘ ๓,๒๔๕
๑๐,๗๘๙
ชลบรุ ี ๓,๔๕๒ ๓,๕๓๘ ๒๗,๒๙๓

ระยอง ๙,๐๓๓ ๙,๑๔๒

รวมพื้นที่ ๒๘,๕๕๘ ๒๗,๗๗๘

หมายเหต:ุ หน่วย: ไร่

ที่มา: กรมพฒั นาทีด่ นิ (๒๕๖๓)

๕.๒.๕.๓ แหล่งหญา้ ทะเล
แหล่งหญา้ ทะเลในประเทศไทยสามารถพบได้ในหลายพ้ืนท่ี เช่น แหลง่ นา้ กร่อย หรอื ปากแม่น้า
ท่ีติดป่าชายเลน ชายฝ่ังน้าต้ืนที่มีพื้นทรายหรือทรายปนโคลน และท่ีลึกติดกับแนวปะการัง โดยพบ
แพร่กระจายพันธุอ์ ย่างกว้างขวางในเขตน้าตื้นชายฝั่งทะเลรวมถึงเกาะแก่งต่าง ๆ ซึ่งจังหวดั ชลบุรี และจังหวัด
ระยองมีพ้ืนท่ีแหล่งหญา้ ทะเลจานวน ๕,๗๐๕.๗๒ ไร่ และ ๑๑,๙๒๔.๔๓ ไร่ ตามลาดบั รายละเอียดดังตารางท่ี
๔ - ๙๑
สาเหตุของความเสื่อมโทรมของแหล่งหญ้าทะเลมาจากการพัฒนาชุมชนชายฝั่ง ทาให้เกิดดิน
ตะกอนลงสู่แหล่งหญ้าทะเล น้าเสียจากแหล่งชุมชนและอุตสาหกรรม ภัยธรรมชาติ การทาประมง และการ
สร้างท่าเทียบเรือ แนวทางการบริหารจัดการคือการสร้างความร้คู วามเข้าใจ จิตสานึก การควบคุมการระบาย
น้าเสียจากกิจกรรมต่าง ๆ การกาหนดเขตการใช้ประโยชน์แหล่งหญ้าทะเล และการสร้างเครือข่ายในการ
อนรุ ักษท์ รัพยากรให้ชมุ ชนหวงแหนในทรพั ยากร เปน็ ตน้ (ระยอง)

โครงการจัดทาแผนสิ่งแวดลอ้ มในพืน้ ทเี่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๕๖

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม รายงานฉบับสุดท้าย

ตารางที่ ๔ - ๙๑ สถานภาพแหลง่ หญ้าทะเลจังหวดั ชลบุรี และระยอง ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙

จังหวัด พน้ื ท(่ี ไร่) สถานภาพ ชนดิ เด่น การแพรก่ ระจาย สาเหตุการเส่ือมโทรม
ชลบุรี ๕,๗๐๕.๗๒ ส ม บู รณ์ ป า น ก ล า ง - หญา้ เงาใส อ่าวเตยงาม อ่าวสัตหีบ เกาะ ก ารสร้างเขื่ อ น กั น คล่ื น
สมบูรณ์เล็กน้อย หญา้ เงาใบเลก็ คราม เกาะแสมสาร หาดบาง สะพานเทียบเรือและท่ีพัก
หญา้ กุยช่ายทะเล เสร่ หาดทรายแก้ว อา่ วทุ่งโปรง อาศัยในเขตสัตหีบ ทาให้
แหล่งหญ้าภายในอ่าวสัต
ระยอง ๑๑,๙๒๔.๔๓ สมบูรณ์ปานกลาง- หญ้ากุยช่ายเขม็ เขาแหลมหญา้ บ้านเพ หบี ลดลง
สมบรู ณเ์ ลก็ นอ้ ย หญ้ากุยช่ายทะเล ส ว น ส น อ่ า ว ม ะ ข า ม ป้ อ ม มกี ารทาประมงพน้ื บ้านและ
หญา้ ใบมะกรดู ปากน้าประแสร์ เกาะเสม็ด ห ญ้ า ท ะ เล อ า จ มี ก า ร
ร๊อคการ์เดน้ -เนนิ ฆ้อ เปลยี่ นแปลงตามฤดกู าล
ทมี่ า: กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง่ั (๒๕๖๐)

๕.๒.๕.๔ แนวปะการงั
แหล่งปะการังในจังหวัดชลบุรีมีพ้ืนท่ี ๖,๔๗๒ ไร่ ส่วนใหญ่อยู่ในสถานภาพสมบูรณ์ปานกลาง
ร้อยละ ๓๗.๒ รองมาอยู่ในสภาพเสียหายมากร้อยละ ๒๙.๗ และจังหวัดระยองมีแหล่งปะการังจานวน
๓,๑๕๑ ไร่ โดยปะการังส่วนใหญ่อยู่ในสถานภาพสมบูรณ์ปานกลางร้อยละ ๓๒.๐ และรองลงมาอยู่ใน
สถานภาพเสียหาย รอ้ ยละ ๒๘.๗ รายละเอียดดังตารางท่ี ๔ - ๙๒
สาเหตุท่ีมีผลกระทบต่อสภาพปะการัง มาจาก ๒ สาเหตุหลักคือ จากภัยธรรมชาติ ได้แก่ การ
เปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ โรคปะการัง คล่ืนรุนแรงจากลมพายุ และสัตว์ทะเลบางชนิดกัดกินปะการังเป็น
อาหาร อีกสาเหตุหน่ึงคือ จากการกระทาของมนุษย์ ได้แก่ การลักลอบทาการประมงบริเวณแหล่งปะการัง
การพัฒนาชุมชนชายฝั่ง การสร้างรีสอร์ท การท้ิงขยะมูลฝอย การทิ้งและถอนสมอเรือในแนวปะการัง การ
ขยายตัวของอุตสาหกรรม เช่น น้าร้อน น้าเสีย ดินตะกอนจากการก่อสร้าง การรั่วไหลคราบน้ามัน เป็นต้น
การดาเนินการแก้ไขด้วยการทาข้อตกลงร่วมกันของชุมชนในการใช้ประโยชน์ การบังคับใชก้ ฎหมายท่ีเข้มงวด
การสร้างองค์ความร้แู ละความตระหนัก การลดการใช้ประโยชน์พ้ืนทีช่ ายฝ่งั การรณรงค์เพ่มิ พนื้ ที่ปลูกปะการัง
การเพิ่มงบประมาณและเจ้าหน้าที่ในการคุ้มครอง รวมถึงการสารวจและติดตามประเมินผลอย่างต่อเน่ือง
(ระยอง)

ตารางท่ี ๔ - ๙๒ สัดส่วนสถานภาพของแนวปะการังในสภาพต่าง ๆ ของจงั หวัดชลบุรแี ละระยอง

จังหวัด พนื้ ที่ (ไร่) สมบูรณ์ดมี าก สมบรู ณม์ าก สมบูรณป์ านกลาง เสียหาย เสยี หายมาก
ชลบรุ ี (ร้อยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ)
(รอ้ ยละ) ๓๗.๒
๑๗.๕ ๒๖.๓ ๒๙.๗
๖,๔๗๒ ๕.๖

ระยอง ๓,๑๕๑ ๒.๗ ๙.๓ ๓๒.๐ ๒๘.๗ ๑๑.๐

ที่มา: กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (๒๕๕๙)

โครงการจัดทาแผนสิ่งแวดลอ้ มในพื้นทีเ่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๕๗

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รายงานฉบับสุดท้าย

๕.๒.๕.๕ พ้นื ทีก่ ดั เซาะชายฝ่งทะเล
สถานการณก์ ารกัดเซาะชายฝ่งทะเล
พ้ืนที่ชายฝั่งของพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกมีระยะทางประมาณ ๒๒๙.๓๓ กิโลเมตร
มีพ้นื ทก่ี ัดเซาะชายฝงั่ ๒.๖๕ กโิ ลเมตร กดั เซาะระดับรุนแรง ๐.๓๙ กิโลเมตร ระดับปานกลาง ๑.๕๗ กิโลเมตร
และระดับน้อย ๐.๖๙ กิโลเมตร มีพื้นที่ดาเนินการแก้ไขแล้ว ๑๐๔.๘๗ กิโลเมตร และพื้นท่ีดาเนินการแก้ไข
แล้วยังกัดเซาะ ๒.๕๗ กิโลเมตร ระดับรุนแรง ๒.๔๕ กิโลเมตร และระดับน้อย ๐.๑๒ กิโลเมตร มีพ้ืนท่ี
ไม่กัดเซาะ ๑๘๒.๓๘ กิโลเมตร เป็นพ้ืนท่ีสมดุล ๑๐๐.๗๗ กิโลเมตร พ้ืนท่ีสะสมตะกอนมาก ๕.๙๙ กิโลเมตร
พื้นท่ีสะสมตะกอนน้อย ๐.๖๖ กิโลเมตร พื้นท่ีรุกล้าและพื้นที่ถมทะเล ๒๕.๘๙ กิโลเมตร พ้ืนท่ีหัวหาดและ
หาดหิน ๔๖.๖๘ กโิ ลเมตร และปากแมน่ ้า ๒.๓๙ กิโลเมตร ตารางที่ ๔ - ๙๓
ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ จังหวัดฉะเชิงเทรามีพื้นท่ีชายฝ่ังยาวประมาณ ๑๖.๕๖ กิโลเมตร มีพ้ืนกัดเซาะ
ชายฝ่ังท่ีดาเนินการแก้ไขแล้ว ๑๑.๕๒ กิโลเมตร มีพ้ืนท่ีกัดเซาะที่ดาเนินการแก้ไขแล้วแต่ยังมีการกัดเซาะ
ในระดับรุนแรง (มากกว่า ๕ เมตรต่อปี) เป็นระยะทาง ๒.๔๕ กิโลเมตร ในพ้ืนท่ีตาบลบางปะกง พบบริเวณ
ดังกล่าวเป็นพ้ืนที่ป่าชายเลน (ภาพที่ ๔ - ๙๒) และมีพื้นท่ีไม่กัดเซาะ ๒.๕๙ กิโลเมตร เป็นพื้นที่สมดุล ๑.๘๖
กิโลเมตร และปากแม่น้า ๐.๗๓ กิโลเมตร (ตารางท่ี ๔ - ๙๔) ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ พบว่า จังหวัดฉะเชิงเทราได้มี
การดาเนินการด้วยโครงสร้างต่าง ๆ ตลอดแนวชายฝั่ง เช่น หินท้ิงริมชายฝั่ง เขื่อนหินนอกชายฝั่ง ซีออส และ
ไม้ไผ่ชะลอคลื่น ตั้งแต่บริเวณตาบลสองคลองถึงตาบลบางปะกง แต่ยังคงมีการกัดเซาะชายฝ่ังอย่างรุนแรงใน
บริเวณ หมทู่ ่ี ๑๔ ตาบลบางปะกง (สานกั งานทรัพยากรทางทะเลและชายฝง่ั ท่ี ๒, ๒๕๖๓)
ลักษณะชายฝ่ังของจังหวัดชลบุรีมีลักษณะเว้าแหว่งคดโค้งสวยงาม หาดทรายทอดยาวอยู่ใน
สภาพสมดุล มีหน้าผาหิน หาดหินท่ีทนทานต่อการกัดเซาะชายฝ่ัง โดยในปี พ.ศ. ๒๕๖๑ จังหวัดชลบุรีมีพ้ืนที่
ชายฝั่งยาวประมาณ ๑๐๗.๑๗ กิโลเมตร มีพื้นท่ีกัดเซาะชายฝั่ง ๐.๘๙ กิโลเมตร ได้แก่ กัดเซาะระดับรุนแรง
๐.๒๓ กิโลเมตร ในบริเวณตาบลคลองตาหรุ อาเภอเมืองชลบุรี กัดเซาะระดับปานกลาง ๐.๔๑ กิโลเมตร ใน
ตาบลคลองตาหรุ อาเภอเมอื งชลบุรี พบเป็นพ้ืนที่เกษตรกรรม และตาบลสตั หีบ อาเภอสัตหบี พบเปน็ พื้นที่ป่า
ท่ีอยู่ในเขตสถานที่ราชการ และระดับน้อย ๐.๒๕ กิโลเมตร ในตาบลคลองตาหรุ อาเภอเมืองชลบุรี (ดังภาพท่ี
๕ - ๘๔) มีพ้ืนท่ีดาเนินการแก้ไขแล้ว ๖๔.๕๓ กิโลเมตร และมีพ้ืนท่ีไม่กัดเซาะ ๕.๐๘ กิโลเมตร พ้ืนท่ีสมดุล
๔๐.๖๖ กิโลเมตร พ้ืนท่ีรุกล้าและพ้ืนที่ถมทะเล ๒๕.๘๙ กิโลเมตร พื้นที่หัวหาดและหาดหิน ๓๗.๗๕ กิโลเมตร
และปากแมน่ ้า ๐.๔๕ กิโลเมตร (ตารางท่ี ๔ - ๙๕) ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ พบว่า มีการดาเนินการแก้ไขปัญหาการ
กัดเซาะชายฝั่ง เช่น การป้องกันคลื่นด้วยโครงสร้างแข็งในลักษณะต่าง ๆ หรือการปักไม้ไผ่ชะลอคล่ืน
(สานักงานทรพั ยากรทางทะเลและชายฝง่ั ที่ ๒, ๒๕๖๓)
ในปี พ.ศ. ๒๕๖๑ จังหวัดระยองมีพ้ืนที่ชายฝั่งยาวประมาณ ๑๐๕.๖๐ กิโลเมตร มีพ้ืนท่ีกัด
เซาะชายฝั่ง ๑.๗๖ กิโลเมตร ได้แก่ ระดับรุนแรง ๐.๑๖ กิโลเมตร ในตาบลปากน้าประแสร์ อาเภอแกลง พบ
บริเวณดังกล่าวเป็นพ้ืนท่ีเกษตรกรรมและพ้ืนท่ีป่าชายเลน กัดเซาะระดับปานกลาง ๑.๑๖ กิโลเมตร ในตาบล
แกลง พบเป็นพ้ืนที่ชายหาดเพ่ือการท่องเท่ียว ตาบลตะพง ตาบลเชิงเนิน อาเภอเมืองระยอง พบอยู่ในพื้นที่
เขตนิคมอุตสาหกรรม (ตารางที่ ๔ - ๙๖) และระดับน้อย ๐.๔๔ กิโลเมตร ในตาบลกร่า และตาบลชากพง

โครงการจดั ทาแผนส่ิงแวดล้อมในพนื้ ท่เี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๕๘

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ทา้ ย

อาเภอแกลง มีพ้ืนที่ดาเนินการแก้ไขแล้ว ๒๘.๘๒ กิโลเมตร และพื้นที่ดาเนินการแก้ไขแล้วยังมีการกัดเซาะใน
ระดับน้อย ๐.๑๒ กิโลเมตร ในพ้ืนที่ตาบลแกลง อาเภอเมืองระยอง มีพ้ืนที่ไม่กัดเซาะ ๗๕.๐๔ กิโลเมตร เป็น
พื้นที่สมดุล ๕๘.๒๕ กิโลเมตร พ้ืนท่ีสะสมตะกอนมาก ๕.๙๙ กิโลเมตร พื้นท่ีสะสมตะกอนน้อย ๐.๖๖
กโิ ลเมตร พ้ืนท่ีหวั หาดและหาดหิน ๘.๙๓ กิโลเมตร และปากแมน่ ้า ๑.๒๑ กโิ ลเมตร

โครงการจัดทาแผนสิง่ แวดลอ้ มในพ้ืนทเี่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๕๙

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม

ตารางที่ ๔ - ๙๓ สถานภาพการกัดเซาะชายฝ่งในพืน้ ที่เขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั

จังหวัด พน้ื ท่กี ดั เซาะ (กม.) พื้นทด่ี าเนนิ การแก้ไขแลว้ (กม.)

ดาเนินการ ดาเนินการแกไ้ ขแลว้ ยงั

รนุ แรง ปานกลาง นอ้ ย แกไ้ ขแล้ว รนุ แรง ปานกลาง

ฉะเชงิ เทรา - - - ๑๑.๕๒ ๒.๔๕ -
--
ชลบรุ ี* ๐.๒๓ ๐.๔๑ ๐.๒๕ ๖๔.๕๓ --

ระยอง* ๐.๑๖ ๑.๑๖ ๐.๔๔ ๒๘.๘๒ ๒.๔๕ ๐.๐๐
๒.๕๗
รวม ๐.๓๙ ๑.๕๗ ๐.๖๙ ๑๐๔.๘๗

๒.๖๕ ๑๐๔.๘๗

หมายเหตุ: ข้อมลู จังหวดั ชลบุรีและระยองเป็นข้อมลู ปี พ.ศ. ๒๕๖๑

ท่ีมา: กรมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝั่ง (๒๕๖๒)

ตารางท่ี ๔ - ๙๔ สถานภาพการกัดเซาะชายฝ่งจงั หวัดฉะเชงิ เทรา ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

จังหวัด อาเภอ ตาบล พ้นื ทีก่ ัดเซาะ (กม.) พ้นื ที่ดาเนนิ
ดาเนินการ ด
รนุ แรง ปาน น้อย แกไ้ ขแลว้

รุน

กลาง

ฉะเชงิ เทรา บางปะกง ทา่ ข้าม - -- -
๐.๔๖
บางปะกง - - - ๑๑.๐๖ ๒
๑๑.๕๒ ๒
สองคลอง - - - ๑๑.๕๒

รวม ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐

๐.๐๐

ที่มา: กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง่ (๒๕๖๒)

โครงการจัดทาแผนสงิ่ แวดล้อมในพนื้ ท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕

รายงานฉบบั สุดท้าย

นออก ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

งกดั เซาะ สมดุล สะสม พ้นื ท่ไี ม่กดั เซาะ (กม.) พืน้ ทหี่ ัว ปาก รวม
น้อย ตะกอน สะสม พน้ื ท่ีรุก หาด หาด แม่น้า ความยาว
มาก ตะกอน ล้า พ้นื ท่ี
- ๑.๘๖ นอ้ ย ถมทะเล หนิ ๐.๗๓ (กม.)
- ๔๐.๖๖ - -- - ๐.๔๕
๐.๑๒ ๕๘.๒๕ - - ๒๕.๘๙ ๑.๒๑ ๑๖.๕๖
๐.๑๒ ๑๐๐.๗๗ ๕.๙๙ ๐.๖๖ - ๓๗.๗๕ ๒.๓๙ ๑๐๗.๑๗
๕.๙๙ ๐.๖๖ ๒๕.๘๙ ๘.๙๓ ๑๐๕.๖
๑๘๒.๓๘ ๔๖.๖๘ ๒๒๙.๓๓



นการแก้ไขแลว้ (กม.) พนื้ ท่ไี ม่กัดเซาะ (กม.) รวม
ความ
ดาเนนิ การแกไ้ ขแล้วยงั กดั สมดลุ สะสม สะสม พ้นื ท่ีรกุ พ้นื ที่ ปาก ยาว
(กม.)
เซาะ ตะกอน ตะกอน ล้า พ้ืนท่ี หัว แมน่ ้า
๐.๐๐
นแรง ปาน น้อย มาก นอ้ ย ถมทะเล หาด ๕.๕๐
๑๑.๐๖
กลาง หาดหนิ ๑๖.๕๖

- --- - - - --

๒.๔๕ - - ๑.๘๖ - - - - ๐.๗๓

- --- - - - --

๒.๔๕ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๑.๘๖ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๐.๗๓

๒.๔๕ ๒.๕๙

๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๖๐

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม

ตารางที่ ๔ - ๙๕ สถานภาพการกดั เซาะชายฝ่งจงั หวดั ชลบุรี ปี พ.ศ. ๒๕๖๑

จงั หวดั อาเภอ ตาบล พ้ืนท่ีกัดเซาะ (กม.) พ้นื ทด่ี าเนินการแกไ้ ข

ดาเนนิ การ ดาเนินก

แกไ้ ขแล้ว ก

รุนแรง ปาน นอ้ ย รนุ แรง

กลาง

ชลบุรี สตั หีบ พลตู าหลวง - - - ๐.๖๔ -

แสมสาร - - - ๑.๕๓ -

สัตหบี - ๐.๑๔ - ๖.๔๘ -

บางเสร่ - - - ๐.๙๖ -

บางละมุง นาจอมเทยี น - - - ๗.๐๒ -

เข ต ก าร ป ก ค ร อ ง - - - ๔.๔๓ -

พเิ ศษพทั ยา

นาเกลอื - - - ๕.๙๓ -

ทต.บางละมงุ - - - ๑.๐๕ -

ศรีราชา แหลมฉบงั - - - ๔.๙๘ -

ทุง่ สุขลา -- - --

สุรศกั ด์ิ - - - ๐.๕๒ -

ศรีราชา - - - ๒.๓๐ -

บางพระ - - - ๕.๘๔ -

ชลบุรี เมือง แสนสขุ - - - ๗.๓๘ -

ชลบรุ ี อา่ งศลิ า - - - ๓.๑๗ -

เสม็ด - - - ๓.๒๔ -

บ้านสวน - - - ๑.๓๐ -

บางปลาสร้อย - - - ๐.๔๓ -

โครงการจัดทาแผนส่ิงแวดลอ้ มในพื้นทเี่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕

รายงานฉบบั สุดท้าย

ขแล้ว (กม.) พน้ื ท่ไี มก่ ดั เซาะ (กม.) รวม
ความยาว
การแก้ไขแล้วยัง สมดลุ สะสม สะสม พื้นท่ี พืน้ ที่ ปาก
แม่น้า (กม.)
กัดเซาะ ตะกอน ตะกอน รุกล้า หัว
- ๕.๒๗
ปาน นอ้ ย มาก น้อย พื้นท่ี หาด - ๑๓.๒๘
- ๓๒.๐๔
กลาง ถม หาด - ๑๓.๐๖
๐.๑๔ ๑๐.๔๒
ทะเล หนิ - ๑๔.๑๗

- - ๓.๖๙ - - - ๐.๙๓

- - ๓.๕๕ - - ๒.๔๙ ๕.๗๑

- - ๕.๔๔ - - ๔.๙๓ ๑๕.๐๖

- - ๓.๒๐ - - ๑.๕๑ ๗.๓๙

- - ๓.๐๘ - - ๐.๑๒ ๐.๐๖

- - ๗.๐๑ - - ๑.๘๐ ๐.๙๒

- - ๒.๖๖ - - ๑.๔๖ ๐.๗๓ - ๑๐.๗๙

- - ๒.๖๘ - - - - ๐.๒๑ ๓.๙๔

- - - - - ๕.๕๙ ๕.๓๗ - ๑๕.๙๓

- - - - - - - - ๐.๐๐

- - ๐.๔๔ - - ๐.๓๘ ๑.๕๘ - ๒.๙๓

- - ๐.๙๗ - - ๐.๙๔ - - ๔.๒๑

- - ๐.๗๗ - - - - ๐.๐๔ ๖.๖๕

- - ๓.๔๑ - - ๑.๙๐ - ๐.๐๖ ๑๒.๗๕

- - ๐.๕๔ - - ๑.๐๗ - - ๔.๗๙

- - ๐.๕๗ - - - - - ๓.๘๑

- - ๐.๒๘ - - ๐.๐๘ - - ๑.๖๖

- - - - - ๑.๓๓ - - ๑.๗๖

๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๖๑

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม

จังหวดั อาเภอ ตาบล พน้ื ท่ีกัดเซาะ (กม.) พนื้ ทีด่ าเนนิ การแก้ไข

ดาเนนิ การ ดาเนนิ ก

แกไ้ ขแลว้ ก

รนุ แรง ปาน นอ้ ย รนุ แรง

กลาง

มะขามหยอ่ ง --- - -
๐.๘๖ -
บางทราย --- -
- -
บา้ นโขด --- ๑.๐๕ -
๕.๔๒ ๐.๐๐
หนองไม้แดง --- ๖๔.๕๓
๖๔.๕๓
คลองตาหรุ ๐.๒๓ ๐.๒๗ ๐.๒๕

รวม ๐.๒๓ ๐.๔๑ ๐.๒๕

๐.๘๙

ทม่ี า: กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง่ั (๒๕๖๑)

โครงการจัดทาแผนส่งิ แวดลอ้ มในพ้นื ท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕

รายงานฉบบั สุดทา้ ย

ขแลว้ (กม.) พ้ืนทไี่ ม่กดั เซาะ (กม.) รวม
ความยาว
การแก้ไขแล้วยงั สมดลุ สะสม สะสม พื้นที่ พ้ืนท่ี ปาก
แมน่ า้ (กม.)
กัดเซาะ ตะกอน ตะกอน รกุ ลา้ หวั
- ๐.๕๖
ปาน น้อย มาก นอ้ ย พืน้ ท่ี หาด - ๒.๗๘
- ๐.๗๕
กลาง ถม หาด - ๑.๕๕
- ๗.๐๙
ทะเล หิน ๐.๔๕ ๑๐๗.๑๗

- - - - - ๐.๕๖ -

- - ๐.๙๔ - - ๐.๙๗ -

- - - - - ๐.๗๕ -

- - ๐.๕๐ - - - -

- - ๐.๙๒ - - - -

๐.๐๐ ๐.๐๐ ๔๐.๖๖ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๒๕.๘๙ ๓๗.๗๕

๐.๐๐ ๕.๐๘

๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๖๒

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม

ตารางที่ ๔ - ๙๖ สถานภาพการกัดเซาะชายฝ่งจังหวัดระยอง ปี พ.ศ. ๒๕๖๑

จงั หวดั อาเภอ ตาบล พนื้ ที่กดั เซาะ (กม.) พื้นที่ดาเนิน
ดาเนนิ การ ด
รนุ แรง ปาน นอ้ ย แกไ้ ขแล้ว

รุน

กลาง

ระยอง แกลง พังราด --- ๐.๑๘
-
คลองปนู ---
๒.๓๐
ปากนา้ ประแสร์ ๐.๑๖ - - ๒.๑๐
๑.๑๔
เนินฆอ้ - - - ๐.๕๘
๕.๙๙
กรา่ - - ๐.๐๘ ๐.๕๔
๐.๐๔
ชากพง - - ๐.๐๗
-
เมือง แกลง - ๐.๔๑ ๔.๑๓
๔.๖๗
เพ - - - ๓.๒๖
๑.๙๐
ตะพง - ๐.๔๘ ๒๘.๘๒
๒๘.๘๒
เชงิ เนิน - ๐.๒๖

ทา่ ประดู่ ---

มาบตาพดุ ---

บ้านฉาง บ้านฉาง ---

พลา - - ๐.๓๐

รวม ๐.๑๖ ๑.๑๖ ๐.๔๔ ๐

๑.๗๖

ท่มี า: กรมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝั่ง (๒๕๖๑)

โครงการจดั ทาแผนสิง่ แวดล้อมในพื้นท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕

รายงานฉบบั สุดท้าย

นการแกไ้ ขแลว้ (กม.) พ้ืนทไ่ี มก่ ัดเซาะ (กม.) รวม

ดาเนินการแกไ้ ขแล้วยงั กัด สมดุล สะสม สะสม พ้นื ทรี่ กุ พน้ื ที่ ปาก ความ

เซาะ ตะกอน ตะกอน ลา้ พื้นที่ หัว แม่นา้ ยาว

นแรง ปาน น้อย มาก นอ้ ย ถมทะเล หาด (กม.)

กลาง หาดหิน

- - - ๕.๐๖ - - - - ๐.๒๒ ๕.๔๖

- - - ๒.๓๙ - - - - - ๒.๔๐

- - - ๑.๔๗ - - - - ๐.๓๒ ๔.๒๕

- - - ๐.๘๔ - - - - ๐.๐๘ ๓.๐๒

- - - ๙.๕๕ ๐.๒๒ ๐.๖๖ - ๑.๒๒ ๐.๐๓ ๑๒.๘๙

- - - ๘.๕๑ ๒.๓๐ - - ๐.๑๔ - ๑๑.๕๙

- - ๐.๑๒ ๐.๕๐ - - - ๐.๐๙ ๐.๑๔ ๗.๑๓

- - - ๖.๔๗ ๓.๒๗ - - ๓.๗๓ ๐.๐๒ ๑๔.๐๒

- - - ๘.๑๕ - - - - - ๘.๖๗

- - - ๑.๕๗ - - - ๐.๘๖ - ๒.๖๙

- - - ๑.๕๐ - - - - ๐.๒๑ ๕.๘๓

- - - - - - - - - ๔.๖๗

- - - ๔.๔๔ - - - ๒.๘๙ ๐.๑๓ ๑๐.๗๒

- - - ๑.๖๖ - - - - ๐.๐๔ ๓.๙๐

๐.๐๐ ๐.๐๐ ๐.๑๒ ๕๘.๒๕ ๕.๙๙ ๐.๖๖ ๐.๐๐ ๘.๙๓ ๑.๒๑ ๑๐๕.๖๐

๐.๑๒ ๗๕.๐๔

๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๖๓

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ทา้ ย

ภาพท่ี ๔ - ๙๒ พื้นที่กดั เซาะชายฝ่ง ในพ้ืนทเ่ี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

โครงการจัดทาแผนสิง่ แวดล้อมในพื้นทเ่ี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๖๔

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดท้าย

การเปล่ยี นแปลงการกัดเซาะชายฝง่ ทะเล
ข้อมูลจากตารางท่ี ๔ - ๙๗ พบว่า พื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกมีการลดลงของพ้ืนท่ี
กดั เซาะชายฝ่ัง โดยในปี พ.ศ. ๒๕๖๐ มีพื้นที่ ๔.๑๑ กิโลเมตร ลดลงเหลือ ๒.๖๕ กิโลเมตร ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒
โดยในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ มกี ารเพิม่ ขน้ึ ของพนื้ ทด่ี าเนินการแก้ไขจากปี พ.ศ. ๒๕๖๐ ประมาณ ๗.๑๐ กิโลเมตร
จังหวัดฉะเชิงเทรามีการลดลงของพ้ืนท่ีกัดเซาะชายฝ่ัง โดยในปี พ.ศ. ๒๕๖๐ มีพื้นที่กัดเซาะ
๐.๐๑ กโิ ลเมตร ลดลง ๐.๐๑ กิโลเมตรในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ และมกี ารเพิ่มข้ึนของพ้ืนท่ีดาเนินการแก้ไข โดยในปี
พ.ศ. ๒๕๖๒ มพี ้นื ทด่ี าเนินการแก้ไขแลว้ เพม่ิ ข้ึนประมาณ ๒.๔๗ กิโลเมตร
จังหวดั ชลบรุ ีการเพิ่มข้นึ ของพื้นที่กัดเซาะชายฝง่ั โดยในปี พ.ศ. ๒๕๖๐ มีพน้ื ท่ีกดั เซาะ ๐.๔๐
กิโลเมตร เพ่ิมขึ้น ๐.๔๙ กิโลเมตรในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ และมีการลดลงของพ้ืนท่ีดาเนินการแก้ไข โดยในปี พ.ศ.
๒๕๖๒ ลดลงประมาณ ๑.๔๔ กิโลเมตร
จังหวัดระยองมีการลดลงของพ้ืนที่กัดเซาะชายฝ่ัง โดยในปี พ.ศ. ๒๕๖๐ มีพ้ืนท่ีกัดเซาะ
๓.๗๐ กิโลเมตร ลดลง ๑.๙๔ กโิ ลเมตร ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ และมีการเพิ่มขึน้ ของพ้ืนทด่ี าเนนิ การแก้ไข โดยในปี
พ.ศ. ๒๕๖๒ มีพืน้ ทด่ี าเนนิ การแก้ไขแลว้ เพ่มิ ขนึ้ ๖.๐๗ กโิ ลเมตร

ตารางที่ ๔ - ๙๗ การกดั เซาะชายฝง่ ในพ้นื ทเี่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออกปี พ.ศ. ๒๕๖๐ และ

ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

จงั หวดั ปี พ.ศ. ๒๕๖๐ ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

พนื้ ทีก่ ัดเซาะ พื้นท่ี พืน้ ที่ไม่กัดเซาะ พ้ืนทก่ี ัดเซาะ พื้นที่ พื้นท่ไี มก่ ดั เซาะ

(กม.) ดาเนนิ การ (กม.) (กม.) ดาเนนิ การ (กม.)

แก้ไขแลว้ แกไ้ ขแลว้

(กม.) (กม.)

ฉะเชิงเทรา ๐.๐๑ ๑๑.๕๐ ๗.๐๔ ๐.๐๐ ๑๓.๙๗ ๒.๕๙

ชลบุรี* ๐.๔๐ ๖๕.๙๗ ๑๐๓.๘๐ ๐.๘๙ ๖๔.๕๓ ๑๐๔.๗๕

ระยอง* ๓.๗๐ ๒๒.๘๗ ๗๙.๐๔ ๑.๗๖ ๒๘.๙๔ ๗๕.๐๔

รวม ๔.๑๑ ๑๐๐.๓๔ ๑๙๘.๘๙ ๒.๖๕ ๑๐๗.๔๔ ๑๘๒.๓๘

หมายเหตุ : *ขอ้ มลู จงั หวดั ชลบุรแี ละระยองเปน็ ขอ้ มูลปี พ.ศ. ๒๕๖๑

ทีม่ า : กรมกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง่ั , ๒๕๖๐; ๒๕๖๑; ๒๕๖๒

สาเหตุการกดั เซาะชายฝ่ง
๑) การทาลายแนวป้องกันการกัดเซาะตามธรรมชาติ เช่น การทาลายป่าชายเลน ป่าชายหาด
แนวสันทราย หาดทราย เป็นต้น โดยการบุกรุกทาลายพ้ืนที่ป่าชายเลน มักพบในบรเิ วณชายฝ่งั ทีเ่ ปน็ หาดโคลน
และใกล้ปากแม่น้า โดยปกติแนวป่าชายเลนทาหน้าที่เป็นแนวป้องกันคล่ืนลมและดักตะกอนเลน เมื่อเกิดการ
บุกรุก ทาลาย หรือเปลี่ยนแปลงสภาพแนวป่าชายเลนเพอ่ื การใชป้ ระโยชนพ์ ้ืนที่ เช่นเป็นท่ีอยูอ่ าศัย ทาบ่อเลย้ี ง
กุ้ง ส่งผลให้เสถียรภาพของชายฝ่ังเปราะบางลงและพังทลายได้ง่ายข้ึน บริเวณที่พบการกัดเซาะเน่ืองจากการ
บุกรุกทาลายพน้ื ทป่ี ่าชายเลน คือบรเิ วณตาบลสองคลอง และตาบลบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา บรเิ วณตาบล
อ่างศิลา ตาบลเสม็ด ตาบลแสนสุข ตาบลคลองตารุ จังหวัดชลบุรี บริเวณบ้านแหลมสน จังหวัดระยอง
ปัจจุบันมีการฟ้ืนฟูชายฝั่งโดยการปักไม้ไผ่ชะลอคล่ืน การปลูกป่าชายเลน รวมถึงการใช้โครงสร้างทาง

โครงการจดั ทาแผนสิง่ แวดลอ้ มในพื้นทเ่ี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๖๕

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ทา้ ย

วิศวกรรมรูปแบบต่าง ๆ พบว่าสามารถช่วยบรรเทาปัญหาการกัดเซาะ และการพังทลายของแนวชายฝั่งมี
แนวโน้มลดลง พบการสะสมตัวของตะกอนและปา่ ชายเลนงอกใหม่เพม่ิ ข้ึนในหลายพน้ื ท่ีเช่น บริเวณตาบลสอง
คลอง จังหวัดฉะเชิงเทรา ดังภาพที่ ๔ - ๙๓ ตาบลเสม็ด จังหวัดชลบุรี สภาพปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งท่ี
ลุกลามเข้ามาในแนวแผ่นดินบริเวณที่มีโครงสร้างแข็งไม่ได้เพิ่มขึ้นอย่างชัดเจน แต่ยังคงพบปัญหาบริเวณรอบ
ข้างของโครงสรา้ งแข็งมกี ารกัดเซาะท่ีรุนแรง

บรเิ วณตาบลสองคลอง ปี พ.ศ. ๒๕๕๘ บรเิ วณตาบลสองคลอง ปี พ.ศ. ๒๕๖๔

ภาพที่ ๔ - ๙๓ การกัดเซาะชายฝง่ บรเิ วณตาบลสองคลอง อาเภอบางปะกง จังหวดั ฉะเชิงเทรา

๒) การกัดเซาะจากการรบกวนหรอื เปล่ียนแปลงสภาพตามธรรมชาติ เช่น กจิ กรรมหรือการ
ก่อสร้างท่ีส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการพัดพาของตะกอน หรือการเคลื่อนที่ของคลื่น การพัฒนาและการ
กอ่ สร้างทั้งบริเวณริมชายฝั่งและบนแผ่นดิน พบว่าพ้ืนที่เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออกสว่ นใหญ่ไดม้ กี ารพัฒนา
พื้นท่ีชายฝั่งเป็นบ้านเรือน ส่ิงก่อสร้าง เปล่ียนสภาพป่าชายเลนเป็นแหล่งเลี้ยงสัตว์น้า จังหวัดชลบุรีมีการ
พัฒนาและกอ่ สร้างโดยเฉพาะอย่างยิ่งถนนเลยี บชายฝั่งที่มกี ารก่อสรา้ งบนแนวสันทราย (Sand Dune) ซ่ึงเป็น
แหล่งสะสม และกักเก็บทรายของระบบการเปล่ียนแปลงสมดุลชายฝ่ัง เมื่อมีการก่อสร้างหรือเปลี่ยนแปลง
สภาพในบริเวณดังกล่าวทาให้แนวชายฝั่งมีแนวโน้มที่จะประสบปัญหาการกัดเซาะ จึงนาไปสู่การแก้ไขปัญหา
การกัดเซาะในรูปแบบต่าง ๆ โดยเฉพาะการใช้โครงสร้างทางวิศวกรรมในพ้ืนท่ีย่ิงเป็นตัวเร่งให้ปัญหาการกัด
เซาะเกดิ ขนึ้ ต่อเนื่องลกุ ลามไปยังพ้นื ทีถ่ ัดไป

โดยพบการกอ่ สรา้ งทางวิศวกรรมบริเวณชายฝัง่ แบ่งได้เป็น ๒ กล่มุ ได้แก่
๒.๑) การกัดเซาะเนื่องจากการเล้ียวเบนของกระแสน้าเม่ือส้ินสุดแนวโครงสร้างทาง

วศิ วกรรม เช่น กาแพงกันคลื่น เขอื่ นป้องกันตล่ิงรมิ ทะเล ท่าเทียบเรอื หรอื ส่ิงก่อสร้างบริเวณชายฝ่ังท่ีสร้างล้า
ลงไปในชายฝ่ังที่ได้รับอทิ ธิพลของการเปลี่ยนแปลงชายฝ่ังตามธรรมชาติ จะส่งผลให้เกดิ การเลี้ยวเบนของคลื่น
และกระแสน้า ส่งผลต่อการพัดพาตะกอน และเป็นตัวกระตุ้นให้ชายหาดข้างเคียงมีความเสี่ยงที่จะประสบ
ปัญหาการกดั เซาะเกดิ ข้นึ จึงนาไปสกู่ ารก่อสรา้ งโครงสร้างแข็งต่อเน่ืองกันไปเร่ือย ๆ ดงั ภาพท่ี ๔ - ๙๔

โครงการจดั ทาแผนสิ่งแวดลอ้ มในพื้นท่ีเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๖๖

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ท้าย

ภาพที่ ๔ - ๙๔ แสดงโครงสร้างแขงต่อเนอ่ื งเพื่อป้องกนั การกัดเซาะ

๒.๒) การกัดเซาะชายฝั่งทเ่ี ริ่มต้นจากการก่อสร้างโครงสรา้ งท่ีตั้งฉากกบั แนวชายฝง่ั เช่น รอ
ดักทราย เขื่อนกันทรายและคลื่นปากร่องน้า ท่าเทียบเรือ เป็นต้น โครงสร้างดังกล่าวจะกีดขวางการเคลื่อนท่ี
ของตะกอนตามแนวชายฝ่ังตามธรรมชาติ (Longshore sediment transport) ส่งผลให้ด้านเหนือน้า
(Updrift) เกิดการสะสมตัวของตะกอน ในขณะที่ด้านท้ายน้า (Downdrift) จะเกิดการกัดเซาะเกิดข้ึน ดังภาพ
ท่ี ๔ - ๙๕ และ ภาพท่ี ๔ - ๙๖ จึงนาไปสู่การก่อสร้างโครงสร้างทางวิศวกรรมเพ่ือป้องกันชายฝั่ง และการกัด
เซาะก็จะเกดิ ข้ึนลกุ ลามตอ่ เนอ่ื งไปยงั พน้ื ทถี่ ัด

ปพี .ศ. ๒๕๕๓ ปีพ.ศ. ๒๕๖๔

ภาพท่ี ๔ - ๙๕ แสดงปญหาการกดั เซาะเนือ่ งจากโครงสรา้ งที่กีดขวางการเคล่ือนทข่ี องตะกอนในพ้ืนที่

จงั หวัดชลบุรี

โครงการจดั ทาแผนส่ิงแวดล้อมในพนื้ ทเ่ี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๖๗


Click to View FlipBook Version