สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม รายงานฉบับสดุ ท้าย
นอกจากน้ีมาตรการด้านภาษี โดยสานักงานนโยบายส่งเสริมการลงทุน (BOI) ได้มีนโยบาย
สนับสนุนโครงการลงทุนเพอ่ื ลดผลกระทบดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม โดยสทิ ธิประโยชน์ทผ่ี ู้ประกอบการจะได้รับ คือ การ
"ยกเว้น" อากรขาเข้าเครื่องจักรและอุปกรณ์ในการปรับปรุงเพ่ือลดผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม การ "ยกเว้น"
ภาษีเงินได้นิติบุคคล ๓ ปี เป็นสัดส่วนร้อยละ ๗๐ ของมูลค่าเงินลงทุนในการปรับปรุง โดยเง่ือนไขการได้การ
"ยกเว้น" ภาษีเงินได้จะต้องเป็นกิจการที่ดาเนินการอยู่เดิมหรือเป็นกิจการท่ีสิทธิประโยชน์ใกล้จะหมดแล้ว
หลักการดังกล่าวได้มีการใช้ในเขตควบคมุ มลพิษ มาบตาพุด แล้วและหากได้มีการขยายผลในพื้นท่ีเขตควบคุม
มลพิษให้มากขึ้น รวมถึงเขตนิคมอุตสาหกรรมอื่น ๆ จะช่วยในการลดมลพิษทางอากาศไม่ให้สูงมากขึ้น ใน
ขณะเดียวกันก็สามารถพัฒนาพ้ืนที่โดยเฉพาะอุตสาหกรรมเพิ่มมากขึ้นได้ นอกจากน้ีการใช้มาตรการอ่ืน ๆ
ร่วมด้วยจะช่วยลดปริมาณสารอินทรีย์ระเหยง่ายลงได้ อาทิเช่น เครื่องมือทางกฎหมาย ได้แก่ การกากับดูแล
การระบายสาร VOCs ทางอากาศ การทบทวนมาตรฐานการควบคุมการระบายอากาศจากแหล่งกาเนิด
โดยเฉพาะสารมลพิษบางตัวยังไม่มมี าตรฐานการปลอ่ ย
๔.๑.๕.๒ คณุ ภาพเสียง
สถานการณ์คุณภาพเสียงในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกโดยภาพรวม พบว่า มีคา่ อย่ใู น
เกณฑ์มาตรฐาน จากการรวบรวมข้อมูลการตรวจวัดคุณภาพเสียงของจังหวัดฉะเชิงเทราจานวน ๗ สถานี
จงั หวดั ชลบรุ ีจานวน ๓ สถานี และจงั หวัดระยองจานวน ๕ สถานี ทั้งน้ี
ในจังหวัดฉะเชิงเทรา จากรายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบ
สิ่งแวดล้อมและมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบส่ิงแวดล้อม โรงไฟฟ้าบางปะกง ฉบับที่ ๓๐ (มกราคม-
มิถุนายน ๒๕๖๔) (การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย, ๒๕๖๔) ที่ได้ติดตามตรวจสอบระดับเสียงโดยท่ัวไป
(Ambient Noise) บริเวณพื้นท่ีโดยรอบพื้นที่ก่อสร้างของโครงการโรงไฟฟ้าบางปะกง (ทดแทนเครื่องที่ ๑ -
๒) โดยมกี ารเก็บข้อมลู ระดับเสียงเฉล่ยี (Leq) ๒๔ ชั่วโมงต้ังแต่ ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๔ ปีละ ๒ ครงั้ คร้ังละ
๗ วัน ติดต่อกัน ตามตาแหน่งตรวจวัดระดับเสียง ๕ จุด คือ ๑) บริเวณชุมชนบ้านหัวสวน ๒) บริเวณชุมชน
ปากคลองบางนาง ๓) บริเวณชุมชนบ้านบางแสม ๔) บริเวณริมรั้วใกล้โรงไฟฟ้าพลังความร้านบางปะกง ชุดที่
๕ และ ๕) บริเวณริมร้ัวโรงไฟฟ้าดา้ นทิศตะวันตกเฉียงเหนือที่ตดิ กบั พนื้ ท่กี ่อสร้างโครงการ (ระยะก่อสร้าง) ผล
การติดตาม พบว่า ระดับเสียงสูงสุด บริเวณริมรั้วโรงไฟฟ้าด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือท่ีติดกับพื้นที่ก่อสร้าง
โครงการ (ระยะก่อสร้าง) อยู่ท่ี ๖๙.๗ เดซิเบลเอ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ในส่วนของผลการตรวจวัดระดับเสียง
โดยท่ัวไปของโครงการนิคมอุตสาหกรรมเกตเวย์ซิตี้ ซึ่งมีการตรวจวัดปีละ ๒ คร้ัง จานวน ๒ สถานี คือ ๑)
บรเิ วณสถานีดาวเทียม และ ๒) บริเวณเตาเผาขยะ พบวา่ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ บรเิ วณสถานีดาวเทียม มีคา่ ระดับ
เสยี งสูงสดุ ๕๖.๗ เดซเิ บลเอ ในสว่ นของสถานีตรวจวดั บริเวณเตาเผาขยะ มีค่าระดับเสยี งสูงสดุ ๖๒.๘ เดซิเบล
เอ (บรษิ ัท เอ็ม ดีเอก็ ซ์ จากดั (มหาชน), ๒๕๖๓)
ในจังหวัดชลบุรี บริเวณพ้ืนท่ีท่ัวไป และบริเวณพ้ืนที่ริมหรือใกล้ถนน โดยสถานีในสานักงาน
สงิ่ แวดลอ้ มภาคที่ ๑๓ (ชลบุรี) อาเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี พบค่าระดับเสียงเฉลี่ยสูงสุด ๕๕.๑ เดซิเบลเอ
โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพบ้านเขาหิน ตาบลบ่อวนิ อาเภอศรรี าชา มรี ะดับเสียงเฉลี่ยสงู สดุ ๖๑.๒ เดซิเบลเอ
และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์วิทยาเขตศรีราชามีระดับเสียงเฉล่ียสูงสุด ๖๒.๕ เดซิเบลเอ เม่ือนาผลการ
ตรวจวัดเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานระดับเสียงในชุมชนตามประกาศคณะกรรมการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติ
โครงการจดั ทาแผนสิง่ แวดลอ้ มในพนื้ ทเี่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๗๐
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม รายงานฉบับสดุ ท้าย
ฉบับที่ ๑๕ (พ.ศ. ๒๕๔๐) กาหนดให้ค่าระดับเสียงเฉล่ีย ๒๔ ช่ัวโมงไม่เกิน ๗๐ เดซิเบลเอ และค่าระดับเสียง
สูงสุดไม่เกิน ๑๑๕ เดซิเบลเอ พบว่า มีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ท้ัง ๓ สถานีท่ีทาการตรวจวัด โดยสถานี
บริเวณสานักงานส่ิงแวดล้อมภาคท่ี ๑๓ ชลบุรี ตรวจวัดระหว่างวันท่ี ๔ – ๑๐ มีนาคม พ.ศ.๒๕๖๓ สถานี
บรเิ วณโรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพบา้ นเขาหิน ตรวจวัดระหว่างวนั ท่ี ๑ – ๗ มีนาคม ๒๕๖๓ และสถานีบริเวณ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ตรวจวัดระหว่างวันท่ี ๔ – ๑๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ กรม
ควบคมุ มลพิษ (๒๕๖๓ อา้ งใน สานกั งานทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ มจังหวดั ชลบรุ ี, ๒๕๖๓)
กองจัดการคุณภาพอากาศและเสียง กรมควบคุมมลพิษ ได้ติดตามตรวจสอบสถานการณ์ระดับ
เสียงในบริเวณพื้นท่ีชุมชนโดยรอบนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด ในอาเภอเมือง จังหวัดระยอง จานวน ๓ จุด
ตรวจวัด ได้แก่ ศูนย์บริการสาธารณสุขบ้านตากวน วัดหนองแฟบ วัดมาบชลูด และในบริเวณพ้ืนท่ีชุมชน
โดยรอบเขตประกอบการอุตสาหกรรมไออาร์พีซี ในอาเภอเมือง จังหวัดระยอง จานวน ๒ จุดตรวจวัด ได้แก่
โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตาบลหนองจอก และวัดปลวกเกตุ โดยทาการติดต้ังเครื่องตรวจวัดระดับเสียงแบบ
ชว่ั คราวเก็บข้อมูลต่อเนื่อง ๓ วนั ระหว่างวันที่ ๒๘ – ๓๐ พฤษภาคม ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ พบว่า ระดับเสยี งเฉลี่ย
(Leq) ๒๔ ชว่ั โมง อยูใ่ นชว่ ง ๔๙.๖ – ๖๑.๗ เดซเิ บลเอ ซ่งึ ไม่เกินเกณฑม์ าตรฐาน
เม่ือเปรียบเทียบข้อมูลระดับเสียงในบริเวณพื้นที่จังหวัดระยอง ระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๖๑ –
๒๕๖๒ ระดับเสียงเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมาไม่มากนัก เน่ืองจากสภาพแวดล้อมโดยรวมยังไม่มีการเปลี่ยนแปลง
อย่างไรกต็ าม ระดับเสียงเฉลยี่ (Leq) ๒๔ ชว่ั โมง ยงั ไมเ่ กนิ เกณฑ์มาตรฐานทก่ี าหนด ตารางท่ี ๔ - ๒๘
ตารางท่ี ๔ - ๒๘ เปรียบเทยี บผลการตรวจวัดระดบั เสยี งระหวา่ งปี พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๓
จังหวัด จุดตรวจวดั ระดับเสียง ระดับเสียงเฉลยี่ (Leq) ๒๔ ชว่ั โมง (เดซเิ บลเอ)
พ.ศ. ๒๕๖๑ พ.ศ. ๒๕๖๒ พ.ศ. ๒๕๖๓
ฉะเชิงเทรา ค่าพิสัยผลการตรวจวัดระดับเสยี งบริเวณชมุ ชน ๕๔.๖ - ๕๘.๙, ๕๑.๘ - ๕๗.๕, ๕๐.๖ - ๕๔.๘,
(สถานรี อบ บา้ นหัวสวน ๖๐.๑ - ๖๑.๘ ๕๑.๔ - ๕๔.๗ ๕๐.๕ - ๕๒.๕
โรงไฟฟ้าบาง คา่ พิสัยผลการตรวจวัดระดบั เสยี งบริเวณบริเวณ ๕๔.๑-๕๗.๖, ๕๙.๗-๖๑.๐, ๕๕.๗ - ๕๘.๘,
ปะกง) ปากคลองบางนาง ๕๘.๕-๖๓.๘ ๕๘.๑-๖๒.๓ ๕๒.๔ - ๕๙.๘
ค่าพิสัยผลการตรวจวัดระดบั เสยี งบริเวณวัดบาง ๕๑.๕-๕๖.๖, ๕๓.๙-๖๓.๕, ๕๒.๖ - ๕๘.๒,
ฉะเชิงเทรา แสม ๕๕.๗ - ๖๔.๒ ๕๕.๓ - ๕๗.๖ ๕๓.๙ - ๖๐.๘
(สถานรี อบ ค่าพิสยั ผลการตรวจวัดระดบั เสียงบริเวณขา้ ง ๕๙.๒ - ๖๒.๖, ๖๑.๑ - ๖๒.๐, ๕๙.๗ - ๖๑.๗,
โครงการนคิ ม โรงไฟฟา้ บางปะกง ๖๑.๑ - ๖๑.๘ ๖๑.๙ - ๖๓.๔ ๖๐.๑ - ๖๓.๐
อุตสาหกรรม บริเวณริมรวั้ โรงไฟฟ้าด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือท่ี ๖๐.๑ - ๖๖.๗ ๖๒.๖ - ๖๙.๗, ๕๕.๗ - ๖๑.๙,
เกตเวยซ์ ติ ้ี) ติดกบั พื้นท่กี อ่ สร้างโครงการ (ระยะกอ่ สรา้ ง) ๖๕.๘ - ๖๙.๗ ๖๐.๒ - ๖๓.๒
ชลบุรี บรเิ วณสถานีดาวเทียม ๕๔.๖ - ๕๕.๙, ๕๖.๐ - ๕๗.๔, ๕๔.๙ - ๕๗.๕,
๕๓.๑ - ๕๗.๑ ๕๔.๙ - ๕๗.๕ ๔๙.๗ - ๕๖.๗
บริเวณเตาเผาขยะ ๕๒.๔ - ๕๒.๙, ๕๐.๑ - ๕๑.๓, ๕๒.๘ - ๖๒.๘,
๔๘.๘ - ๔๙.๕ ๕๒.๘ - ๖๒.๘ ๔๘.๙ - ๕๑.๙
สานกั งานสงิ่ แวดล้อมภาคท่ี ๑๓ (ชลบรุ ี)
รพ.สง่ เสรมิ สขุ ภาพบา้ นเขาหนิ ต.บอ่ วนิ ๕๑.๘
๕๔.๓
โครงการจัดทาแผนสิง่ แวดลอ้ มในพืน้ ท่เี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๗๑
สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม รายงานฉบับสดุ ทา้ ย
จงั หวดั จดุ ตรวจวดั ระดับเสียง ระดับเสียงเฉล่ีย (Leq) ๒๔ ช่วั โมง (เดซเิ บลเอ)
พ.ศ. ๒๕๖๑ พ.ศ. ๒๕๖๒ พ.ศ. ๒๕๖๓
อ.ศรีราชา
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์วทิ ยาเขต ศรรี าชา ๖๐.๘
ระยอง ศนู ยบ์ ริการสาธารณสขุ บ้านตากวน ๖๐.๔ ๖๑.๐
วัดหนองแฟบ ๖๓.๑ ๕๙.๔
วดั มาบชลดู ๕๗.๐ ๖๐.๒
โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตาบลหนองจอก ๕๒.๙ ๕๓.๘
วดั ปลวกเกตุ ๕๗.๗ ๕๓.๘
หมายเหตุ: ๑) มาตรฐานระดบั เสยี งเฉลย่ี (Leq) ๒๔ ช่ัวโมง จะตอ้ งไม่เกนิ ๗๐ เดซเิ บลเอ
๒) ตรวจวดั ในพื้นทโี่ ดยรอบนคิ มอตุ สาหกรรมมาบตาพดุ และเขตประกอบการอุตสาหกรรม ไออารพ์ ซี ี อาเภอเมือง
จงั หวัดระยอง
ท่มี า: - สถานการณ์และการจดั การปัญหามลพษิ ทางอากาศและเสียงของประเทศไทย, กรมควบคมุ มลพษิ , ๒๕๖๑; ๒๕๖๒
- สานกั งานทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มจงั หวดั ชลบุร,ี ๒๕๖๓
- รายงานฉบับสมบรู ณ์การวเิ คราะห์ผลกระทบส่งิ แวดลอ้ มสาหรบั โครงการหรือกิจการท่อี าจก่อให้เกิดผลกระทบตอ่
ชุมชนอย่างรุนแรง ท้งั ทางด้านคุณภาพสิง่ แวดลอ้ ม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ โครงการโรงไฟฟ้าบางปะกง (ทดแทน
เครื่องที่ ๑ - ๒), ๒๕๖๔ ซ่ึงเปน็ ขอ้ มูลคา่ ระดับเสียงตา่ สดุ -สูงสดุ
- รายงานการปฏบิ ตั ติ ามมาตรการป้องกัน แก้ไข และลดผลกระทบและตดิ ตามตรวจสอบคณุ ภาพสิง่ แวดล้อมโครงการ
นคิ มอุตสาหกรรมเกตเวย์ ซิตี้ บรษิ ทั เอ็ม ดี เอ็กซ์ จากดั (มหาชน), ๒๕๖๓ ซงึ่ เป็นข้อมูลค่าระดบั เสยี งต่าสุด-สงู สุด
แนวโน้มของคุณภาพอากาศและเสียงเมื่อพิจารณาจากผลการตรวจวัดค่าคุณภาพอากาศ ค่า
สารอินทรีย์ระเหยง่ายและค่าระดับเสียงพบว่า ยังไม่มีความรุนแรงมากนัก ซ่ึงมีการตรวจพบค่าท่ีเกินกว่าค่า
มาตรฐานบ้างบางสถานีตรวจวัด แนวโนม้ ของความรุนแรงของมลพิษในอากาศและเสียงดัง มีความเป็นไปไดท่ี
จะมีมากข้ึนในอนาคต โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากภาคอุตสาหกรรม และการขนส่ง ทั้งจากการขยายตัวทาง
เศรษฐกิจมากขึ้น และการพัฒนาพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษ ซ่ึงจะมีแนวโน้มของการใช้เชื้อเพลิง การกลั่นและแยก
ก๊าซมากขน้ึ ในอนาคต
เป้าหมายการจัดการคณุ ภาพอากาศและเสยี ง การตรวจวดั คณุ ภาพอากาศ สารอินทรียร์ ะเหย
ง่ายและระดับเสียงในพื้นที่เขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก เป็นการแจง้ ผลสภาพบรรยากาศทั่วไป โดยคุณภาพ
อากาศอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน แต่มีมลสารบางตัว คือ ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ ก๊าซคาร์บอนมอนออกไซด์
และฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๑๐ ไมครอน ที่มีแนวโน้มสูงขึ้นแต่ยังไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน ในขณะที่สารอินทรี
ระเหยง่าย พบว่า มีค่าเกินเกณฑ์มาตรฐาน ได้แก่ ส่วนระดับเสียงท่ีตรวจวัดยังอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ดังนั้นใน
การกาหนดเป้าหมายการจัดการ ควรเฝ้าระวังค่าคุณภาพอากาศและระดับเสียง ตลอด ๒๔ ช่ัวโมง โดยการ
เพ่ิมสถานีตรวจวัดให้ครอบคลุมพ้ืนท่ีโรงงานอุตสาหกรรมท่ีเป็นแหล่งกาเนิดมลพิษและบรเิ วณชุมชนหนาแน่น
การให้ความรู้และเพ่ิมช่องทางการส่ือสารแบบเรียลไทม์กับผู้ประกอบการ ประชาชน และภาคประชาสังคมใน
การเฝ้าระวังและเข้าถึงข้อมูลได้ทันท่วงทีเพ่ือลดความเสี่ยงต่ออันตรายท่ีจะเกิดข้ึน รวมถึงการปลูกต้นไม้ใน
โครงการจัดทาแผนส่ิงแวดลอ้ มในพ้นื ทเี่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๗๒
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสุดทา้ ย
พื้นท่ีอุตสาหกรรมและชุมชนเพ่ือสร้างแหล่งดูดซับมลพิษทางอากาศและส่งเสริมการแลกเปล่ียนคาร์บอน
เครดติ เป็นตน้
๔.๑.๖ การปล่อยกา๊ ซเรอื นกระจก
๔.๑.๖.๑ สถานการณก์ ารปล่อยก๊าซเรือนกระจก
องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (อบก.) ได้จัดทารายงานการประเมินสถานการณ์การ
ปล่อยกา๊ ซเรือนกระจก โดยวิธีการรายงานข้อมูลการปลอ่ ยก๊าซเรือนกระจกพิจารณาจากกลุ่มกิจกรรม ๕ ภาค
ได้แก่ ภาคพลงั งาน (stationary Energy) ภาคการขนสง่ (Transportation) ภาคการจดั การของเสีย (Waste)
ภาคกระบวนการอุตสาหกรรมและการใช้ผลิตภัณฑ์ (IPPU) และภาคเกษตร ป่าไม้ และการใช้ประโยชน์ที่ดิน
(AFOLU) โดยรายงานปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในแต่ละภาคส่วนจะแบ่งการรายงานออกเป็น ๓
ขอบเขต คือ
ขอบเขตท่ี ๑ การปล่อยก๊าซเรือนกระจกทางตรง (Direct GHG Emissions) การปล่อยก๊าซ
เรอื นกระจกทีเ่ กิดข้ึนจากกจิ กรรมภายในขอบเขตจงั หวัด (Provincial Boundary)
ขอบเขตท่ี ๒ การปล่อยก๊าซเรือนกระจกทางอ้อม (Indirect GHG Emissions) การปล่อยก๊าซ
เรอื นกระจกทเี่ กิดจากการใช้พลงั งานไฟฟา้ และพลงั งานความร้อนท่ีนาเข้ามาจากภายนอกเขตจงั หวัด และ
ขอบเขตที่ ๓ การปล่อยก๊าซเรือนกระจกทางอ้อมอื่น ๆ ( Other Indirect GHG Emissions)
ซ่ึงเปน็ การปลอ่ ยกา๊ ซเรือนกระจกทีเ่ กดิ ขน้ึ ภายนอกขอบเขตจงั หวดั จากกจิ กรรมท่ีเกิดขนึ้ ภายในจงั หวัด
ท้ังนี้การรายงานข้อมูลก๊าซเรือนกระจกตามระเบียบวิธีการรายงานของ The Global
Protocol for Community-Scale Greenhouse Gas Emission Inventories (GPC) ยังได้แบ่งการรายงาน
ปรมิ าณการปลอ่ ยกา๊ ซเรือนกระจกออกเปน็ ๒ ระดบั ประกอบด้วย
๑) การรายงานการปล่อยก๊าซเรือนกระจกระดับ Basic จะครอบคลุมการปล่อยก๊าซเรือน
กระจกจากขอบเขตและกิจกรรมของภาคส่วนต่าง ๆ คือ พิจารณากิจกรรมการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั้งหมด
ในขอบเขตที่ ๑ จากภาคพลังงาน (ยกเว้นการผลิตไฟฟ้าและส่งเข้าสายส่ง), จากภาคขนส่ง, จากภาคการ
จดั การของเสีย (ยกเวน้ ของเสยี ทถี่ ูกนาเข้าจากจังหวดั อื่นมาจัดการภายในจงั หวัด) กิจกรรมการปล่อยก๊าซเรอื น
กระจกท้ังหมดในขอบเขตที่ ๒ จากภาคพลังงานและภาคขนส่ง และกิจกรรมการปล่อยก๊าซเรือนกระจกใน
ขอบเขตที่ ๓ จากภาคการจัดการของเสีย (ได้แก่ ของเสียท่ีเกิดข้ึนจากกิจกรรมภายในจังหวัดแต่ถูกนาไป
จดั การภายนอกจังหวดั ) และ
๒) การรายงานการปล่อยก๊าซเรือนกระจกระดับ Basic+ จะรวมการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
ท้งั หมดในระดับ Basic และยังครอบคลุมการปล่อยกา๊ ซเรือนกระจกจากขอบเขตและกิจกรรมของภาคส่วนต่าง
ๆ คือ พิจารณากิจกรรมการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั้งหมดในขอบเขตท่ี ๑ จากภาคกระบวนการอุตสาหกรรม
และการใช้ผลิตภัณฑ์, จากภาคการเกษตร ป่าไม้ และการใช้ประโยชน์ท่ีดิน และกิจกรรมการปล่อยก๊าซเรือน
กระจกจากขอบเขตท่ี ๓ จากภาคพลังงาน (การสูญเสยี พลังงานจากสายส่งและจาหน่ายไฟฟา้ ) และภาคขนส่ง
ผลการประเมนิ ปริมาณกา๊ ซเรือนกระจกปฐี าน ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ของพ้ืนที่เขตพฒั นาพเิ ศษภาค
ตะวันออก การปล่อยก๊าซเรือนกระจกระดับ Basic ปริมาณ ๔๑.๔๔ ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า
การปล่อยก๊าซเรือนกระจกระดับ Basic+ ปริมาณ ๕๐.๗๓ ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า โดยปริมาณ
โครงการจดั ทาแผนสิ่งแวดล้อมในพืน้ ท่เี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๗๓
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม รายงานฉบับสุดทา้ ย
การปล่อยก๊าซเรือนกระจกสูงสุดในจังหวัดชลบุรี มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกระดับ Basic ปริมาณ ๑๙.๔๖
ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า และการปล่อยก๊าซเรือนกระจกระดับ Basic+ ปริมาณ ๒๓ ล้านตัน
คาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า และจังหวัดระยอง มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกระดับ Basic ปริมาณ ๑๖.๙
ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า การปล่อยก๊าซเรือนกระจกระดับ Basic+ ปริมาณ ๒๑.๙๗ ล้านตัน
คาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า และจงั หวัดฉะเชงิ เทรา มีการปล่อยก๊าซเรอื นกระจกระดับ Basic ปริมาณ ๕.๐๘
ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า การปล่อยก๊าซเรือนกระจกระดับ Basic+ ปริมาณ ๕.๗๖ ล้านตัน
คาร์บอนไดออกไซด์เทียบเทา่
ตารางที่ ๔ - ๒๙ การประเมินปริมาณก๊าซเรือนกระจกในปฐี านตามกลุ่มกจิ กรรมในพ้ืนทเี่ ขตพฒั นาพิเศษ
ภาคตะวนั ออกและรายจังหวัด
กลุ่มกิจกรรม การประเมินปรมิ าณ GHG ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ (tCO2eq)
ขอบเขตท่ี ๑ ขอบเขตที่ ๒ ขอบเขตท่ี ๓ Basic Basic+
๓,๔๓๙,๓๓๙ ๓,๑๘๗,๔๓๑
ภาคพลังงาน ๑,๒๙๘,๗๑๘ ๒,๖๑๒,๕๘๖ IE ๓,๑๘๗,๔๓๑ ๑,๓๑๔,๙๑๖
ภาคการขนส่ง ๑,๓๑๘,๑๔๙
ภาคการจัดการของเสยี IE ๑๖,๑๙๘ ๑,๒๙๘,๗๑๘ ๕๙๑,๒๒๖
ภาคกระบวนการ
อตุ สาหกรรมและการใช้ ๓๔๑,๔๕๖ ๕๙๑,๒๒๖
ผลิตภัณฑ์
ฉะเชงิ เทรา ภาคการเกษตร ปา่ ไม้และ ๕๖,๖๙๗ ๕๖,๖๙๗
ชลบุรี การใช้ประโยชน์ทดี่ นิ
ระยอง รวม ๖๑๐,๖๔๕ ๒,๖๑๒,๕๘๖ ๓๕๗,๖๕๔ ๕,๐๗๗,๓๗๕ ๖๑๐,๖๔๕
ภาคพลังงาน ๖๒๔๑๘๐๖ ๐ ๘,๐๔๔,๓๕๔
ภาคการขนส่ง ๖,๗๒๓,๕๔๘ ๑๐,๔๘๙,๕๘๘ ๕,๗๖๐,๙๑๕
ภาคการจัดการของเสยี ๑๘๐๒๕๔๘ ๐ ๓,๒๐๔,๕๑๕ ๘,๐๔๔,๓๕๔
ภาคกระบวนการ ๑๐๔๘๙๕๘๘ ๘๑,๖๒๗ ๙๒๓,๖๔๘ ๑๓,๖๙๔,๑๐๓
อุตสาหกรรมและการใช้ ๘๔๒,๐๑๑
ผลติ ภัณฑ์ ๙๒๓,๖๔๘
ภาคการเกษตร ปา่ ไมแ้ ละ
การใชป้ ระโยชน์ทด่ี ิน ๑๖๔,๐๐๖ ๑๖๔,๐๐๖
รวม
ภาคพลังงาน ๑๗๓,๙๐๒ ๑๗๓,๙๐๒
ภาคการขนส่ง
ภาคการจดั การของเสยี ๑๓,๔๗๒,๐๕๕ ๖,๒๔๑,๘๐๖ ๓,๒๘๖,๑๔๒ ๑๙,๔๕๗,๕๙๐ ๒๓,๐๐๐,๐๑๓
ภาคกระบวนการ ๘,๖๖๖,๕๙๒ ๕,๓๔๗,๖๑๐ ๐ ๑๔๐๑๔๒๐๒ ๑๔,๐๑๔,๒๐๒
อตุ สาหกรรมและการใช้ ๑,๕๑๔,๘๒๗ ๑๕๑๔๘๒๗ ๑,๘๐๘,๓๙๗
ผลติ ภณั ฑ์ ๐ ๒๙๓,๕๗๐ ๑๓๗๕๔๖๗ ๑,๓๗๕,๔๖๗.๐๐
ภาคการเกษตร ปา่ ไมแ้ ละ ๘๕๑,๕๓๑ ๕๒๓,๙๓๖
การใช้ประโยชน์ทดี่ นิ
รวม ๔,๖๗๕,๙๒๐ ๔,๖๗๕,๙๒๐
EEC ภาคพลงั งาน ๙๗,๐๗๕ ๕,๓๔๗,๖๑๐ ๘๑๗,๕๐๖ ๑๖,๙๐๔,๔๙๖ ๙๗,๐๗๕
ภาคการขนส่ง ๑๕,๘๐๕,๙๔๕ ๑๔,๒๐๒,๐๐ ๐ ๒๕,๒๔๕,๙๘๗ ๒๑,๙๗๑,๐๖๑
๑๓,๙๐๘,๔๗๙ ๑๓,๓๐๓,๑๓๓ ๒๕,๒๔๕,๙๘๗
๑๓,๓๐๓,๑๓๓ ๒ ๓,๕๑๔,๒๘๓ ๑๖,๘๑๗,๔๑๖
๐
โครงการจัดทาแผนสิง่ แวดล้อมในพื้นท่เี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๗๔
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ทา้ ย
กลุ่มกิจกรรม การประเมนิ ปรมิ าณ GHG ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ (tCO2eq)
ขอบเขตที่ ๑ ขอบเขตที่ ๒ ขอบเขตที่ ๓ Basic Basic+
๒,๘๙๐,๓๔๑
ภาคการจัดการของเสยี ๓,๐๑๑,๖๙๑ ๙๔๗,๐๑๙ ๒,๘๙๐,๓๔๑ ๔,๘๙๖,๖๒๓
ภาคกระบวนการ ๘๘๑,๖๒๒
๕๐,๗๓๑,๙๘๙
อตุ สาหกรรมและการใช้ ๔,๘๙๖,๖๒๓
ผลติ ภณั ฑ์
ภาคการเกษตร ปา่ ไม้และ ๘๘๑,๖๒๒
การใชป้ ระโยชนท์ ด่ี นิ
รวม ๓๖,๐๐๑,๕๔๘ ๑๔,๒๐๒,๐๐ ๔,๔๖๑,๓๐๒ ๔๑,๔๓๙,๔๖๑
๒
หมายเหตุ: ๑) IE คือ กจิ กรรมนีถ้ กู ประเมินและรายงานรวมกบั กลมุ่ กิจกรรมอืน่
๒) หน่วยเปน็ tCO2eq คือ ตันคารบ์ อนไดออกไซดเ์ ทยี บเท่า
ที่มา: สานกั สง่ เสรมิ เมอื งและสงั คมคาร์บอนต่า องคก์ ารบรหิ ารจดั การกา๊ ซเรือนกระจก, ๒๕๖๔
การประเมินปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกกลุ่มกิจกรรมของพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษ
ภาคตะวันออก มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกระดับ Basic+ ใน ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ปริมาณ ๕๐.๗๓ ล้านตัน
คาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า โดยปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกกลุ่มกิจกรรม สูงสุดในภาคพลังงาน
ปรมิ าณ ๒๕.๒๕ ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า คิดเป็นรอ้ ยละ ๔๙.๗๖ ภาคการขนส่ง ๑๖.๘๒ ล้านตัน
คาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า คิดเป็นร้อยละ ๓๓.๑๕ ภาคกระบวนการอุตสาหกรรมและการใช้ผลิตภัณฑ์
๔.๙๐ ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า คิดเป็นร้อยละ ๙.๖๕ ภาคการจัดการของเสีย ๒.๘๙ ล้านตัน
คาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า คิดเป็นร้อยละ ๕.๗๐ และภาคเกษตร ป่าไม้และการใช่ประโยชน์ท่ีดิน ๐.๘๘
ลา้ นตนั คารบ์ อนไดออกไซด์เทียบเท่า คิดเปน็ ร้อยละ ๑.๗๔
จังหวัดฉะเชิงเทรา มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกระดับ Basic+ ใน ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ปริมาณ
๕.๗๖ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า โดยปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกกลุ่มกิจกรรม สูงสุดในภาค
พลังงาน ปริมาณ ๓.๑๙ ลา้ นตนั คาร์บอนไดออกไซด์เทยี บเทา่ คิดเปน็ รอ้ ยละ ๕๕.๓๓
จังหวัดชลบุรี มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกระดับ Basic+ ใน ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ปริมาณ ๒๓
ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า โดยปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกกลุ่มกิจกรรม สูงสุดในภาคการ
ขนส่ง ปริมาณ ๑๓.๖๙ ลา้ นตนั คาร์บอนไดออกไซด์เทียบเทา่ คดิ เป็นรอ้ ยละ ๕๙.๕๔
จังหวัดระยอง การปล่อยก๊าซเรือนกระจกระดับ Basic+ ใน ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ปริมาณ ๒๑.๙๗
ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า โดยปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกกลุ่มกิจกรรม สูงสุดในภาค
พลงั งาน ปริมาณ ๑๔.๐๑ ลา้ นตันคาร์บอนไดออกไซด์เทยี บเท่า คิดเปน็ ร้อยละ ๖๓.๗๘
โครงการจัดทาแผนสงิ่ แวดล้อมในพ้ืนทีเ่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๗๕
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย
ท่ีมา: สานกั สง่ เสรมิ เมืองและสังคมคาร์บอนต่า องค์การบรหิ ารจัดการกา๊ ซเรือนกระจก, ๒๕๖๔
ภาพที่ ๔ - ๒๔ ประเมนิ ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกกลุ่มกิจกรรมระดับ Basic+ ในพน้ื ที่
เขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออกและรายจังหวัด ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
การประเมินปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกแยกรายกิจกรรมของพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษ
ภาคตะวันออก ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกระดับ Basic+ สูงสุดในกิจกรรมด้านการขนส่ง
ทางถนน ปริมาณ ๑๓.๓๕ ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า คิดเป็นร้อยละ ๒๖.๓๑ โดยพบสูงสุดใน
จังหวัดชลบุรี ปริมาณ ๑๐.๔๖ ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า รองลงมากิจกรรมด้านพลังงานใน
อุตสาหกรรมและการก่อสร้าง ปริมาณ ๑๑.๘๙ ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า คิดเป็นร้อยละ ๒๓.๔๔
โดยพบสูงสุดในจังหวัดระยอง ปริมาณ ๔.๘๒ ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า รองลงมากิจกรรมด้าน
พลังงานในการผลิตพลังงาน ปริมาณ ๘.๔๘ ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเทา่ คิดเป็นรอ้ ยละ ๑๖.๗๒ โดย
พบสูงสุดในจังหวัดระยอง ปริมาณ ๗.๗๗ ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า รองลงมากิจกรรมด้าน
กระบวนการอุตสาหกรรม ปริมาณ ๔.๙ ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า คิดเป็นร้อยละ ๙.๖๕ โดยพบ
สูงสุดในจังหวัดระยอง ปริมาณ ๔.๖๘ ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า รองลงมากิจกรรมการขนส่งทาง
น้า ปริมาณ ๓.๓๗ ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า คิดเป็นร้อยละ ๖.๖๕ โดยพบสูงสุดในจังหวัดชลบุรี
ปริมาณ ๓.๒๐ล้านตันคาร์บอนไดออกไซดเ์ ทียบเท่า และกิจกรรมอ่ืน ๆ ท่ีมสี ัดส่วนการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
ระดับ Basic+ น้อยกวา่ รอ้ ยละ ๕.๐๐
โครงการจดั ทาแผนส่งิ แวดลอ้ มในพน้ื ท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๗๖
สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม รายงานฉบบั สุดท้าย
ทม่ี า: สานกั ส่งเสรมิ เมืองและสงั คมคาร์บอนต่า องคก์ ารบริหารจดั การกา๊ ซเรือนกระจก, ๒๕๖๔
ภาพที่ ๔ - ๒๕ ประเมินปริมาณการปลอ่ ยก๊าซเรือนกระจกรายกิจกรรม (ระดับ Basic+) ในพื้นท่เี ขต
พัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
ทม่ี า: สานกั ส่งเสรมิ เมืองและสงั คมคาร์บอนตา่ องคก์ ารบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก, ๒๕๖๔
ภาพท่ี ๔ - ๒๖ ประเมินปริมาณการปลอ่ ยกา๊ ซเรือนกระจกรายกจิ กรรม (ระดบั Basic+) จังหวดั
ฉะเชิงเทรา ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
โครงการจดั ทาแผนสิง่ แวดล้อมในพนื้ ทเ่ี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๗๗
สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม รายงานฉบบั สุดท้าย
ท่มี า: สานักสง่ เสริมเมอื งและสังคมคาร์บอนต่า องค์การบรหิ ารจัดการกา๊ ซเรือนกระจก, ๒๕๖๔
ภาพท่ี ๔ - ๒๗ ประเมนิ ปริมาณการปล่อยกา๊ ซเรอื นกระจกรายกิจกรรม (ระดับ Basic+) จงั หวัดชลบรุ ี
ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
ทมี่ า: สานักสง่ เสรมิ เมอื งและสงั คมคารบ์ อนต่า องค์การบรหิ ารจัดการกา๊ ซเรอื นกระจก, ๒๕๖๔
ภาพที่ ๔ - ๒๘ ประเมนิ ปริมาณการปลอ่ ยก๊าซเรือนกระจกรายกจิ กรรม (ระดบั Basic+) จังหวัดระยอง
ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
๔.๑.๖.๒ การคาดการณ์ปริมาณก๊าซเรือนกระจกในกรณปี กติของพน้ื ท่ีเขตพฒั นาพเิ ศษภาค
ตะวนั ออก
จังหวัดฉะเชิงเทรา ผลการคาดการณ์ในกรณีปกติปริมาณก๊าซเรือนกระจกในอนาคต
ปี พ.ศ. ๒๕๗๓ ระดับ Basic+ จะมีปริมาณ ๖.๘๙ ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า หรือเพิ่มข้ึนประมาณ
โครงการจดั ทาแผนสง่ิ แวดล้อมในพ้ืนทีเ่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๗๘
สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม รายงานฉบบั สุดทา้ ย
ร้อยละ ๑๙.๖๕ เมื่อเทียบกับปริมาณก๊าซเรือนกระจกปีฐาน ปริมาณ ๕.๗๖ ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์
เทยี บเท่า ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒
จงั หวัดชลบุรี ผลการคาดการณ์ในกรณีปกติปริมาณก๊าซเรอื นกระจกในอนาคตปี พ.ศ. ๒๕๗๓
ระดบั Basic+ จะมีปริมาณ ๓๐.๑๕ ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทยี บเทา่
จังหวัดระยอง ผลการคาดการณ์ในกรณีปกตปิ รมิ าณก๊าซเรือนกระจกในอนาคตปี พ.ศ. ๒๕๗๓
ระดับ Basic+ จะมีปริมาณ ๒๔.๔๒ ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า หรือเพ่ิมข้ึนประมาณ ร้อยละ
๑๑.๑๓ เม่ือเทียบกับปรมิ าณกา๊ ซเรอื นกระจกปีฐาน ปริมาณ ๒๑.๙๗ ลา้ นตนั คารบ์ อนไดออกไซดเ์ ทยี บเท่า ใน
ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
ที่มา: สานกั สง่ เสริมเมอื งและสังคมคาร์บอนตา่ องค์การบริหารจดั การกา๊ ซเรือนกระจก, ๒๕๖๔
ภาพที่ ๔ - ๒๙ การคาดการณ์ปรมิ าณกา๊ ซเรือนกระจกในอนาคต จังหวัดฉะเชิงเทรา ชลบรุ ี และระยอง
ระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๗๓
โครงการจดั ทาแผนส่ิงแวดลอ้ มในพื้นทีเ่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๗๙
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดทา้ ย
การปล่อยก๊าซเรือนกระจก จากกระบวนการพัฒนาและการใช้ทรัพยากรของมนุษย์ ส่งผลต่อการ
เพิ่มขึ้นของอุณหภูมิพื้นผิวโลก การเกิดภาวะอากาศสุดข้ัวที่รุนแรงข้ึน เช่น ฝนตกหนัก พายุไซโคลนท่ีรุนแรง
อณุ หภมู มิ หาสมุทรทสี่ ูงขนึ้ การเพ่มิ ขึ้นของระดับน้าทะเล หรอื การละลายของน้าแขง็ ขัว้ โลก การเกิดคลน่ื ความ
ร้อน น้าท่วม หรือภัยแล้ง รวมถึงการลดลงของผลผลิตทางการเกษตร เป็นต้น (อบก, ๒๕๖๔: UN: 2007)
ดังนั้น การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจะช่วยลดระดับความรุนแรงของภาวะสุดขั้วที่จะเกิดข้ึน (IPCC,
2021)
๔.๑.๗ การเปล่ยี นแปลงสภาพภูมิอากาศ
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเป็นปัจจัยหน่ึงที่สาคัญและมีผลต่อสถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาติ
และสง่ิ แวดล้อม ดังนัน้ การฉายภาพในอนาคตของสภาพภูมอิ ากาศจึงสามารถช่วยให้เตรยี มรับมือกับผลกระทบ
ที่อาจมีความรุนแรงได้อย่างทันท่วงที จากผลการศึกษาของ Southeast Asia START Regional Center
ที่ได้นาขอ้ มลู ค่าสงู สดุ ของสภาพอากาศระหว่างปี ค.ศ. 1980 - 1989 จากสถานีตรวจวดั อากาศในพื้นทีม่ าสร้าง
สมการถดถอยและหาความสัมพันธ์กับข้อมูลอุณหภูมิเพ่ือภาพฉายอนาคต (ค.ศ. 2010 - 2100)
ณ ตาแหน่งใกล้เคียงกันและนาสมการทานายสภาพอากาศพื้นผิวอนาคตท่ีสร้างขึ้น มาทานายอนาคต
ณ ตาแหน่งภาพอื่น ๆ ทั่วทง้ั พื้นที่ศกึ ษา ร่วมกับการพิจารณาสภาพอากาศระดับพ้ืนท่ีหรอื ระดบั ทอ้ งถ่ินแล้วจึง
คาดการณ์การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศในพื้นที่ในอนาคตอีก ๓๐ ปีข้างหน้า โดยการคานวณจาก
แบบจาลอง PRECIS (ECHAM4) ในพนื้ ทจี่ ังหวัดชลบุรี และจังหวดั ระยอง
ผลการจาลองสภาพภูมิอากาศอนาคตภายใต้สภาพการเปลี่ยนแปลงก๊าซเรือนกระจกตามสถานการณ์
ทางเศรษฐกิจและสังคม แบบ A2 (A2 Scenario) เป็นโลกอนาคตที่ภูมิภาคต่าง ๆ มีความแตกต่างกันมากขึ้น
โดยแต่ละประเทศ/ภูมิภาคจะให้ความสาคัญกับการพ่ึงพาตนเองและการอนุรักษ์เอกลักษณ์ความเป็นท้องถ่ิน
ของตัวเอง ผู้คนต่างภูมิภาคไม่ได้เชื่อมโยงเข้าหากันมากนัก ประชากรโลกยังคงขยายตัวเพิ่มข้ึนอย่างต่อเนื่อง
การพัฒนาเศรษฐกิจจะเน้นที่ระดับภูมิภาค ส่งผลให้รายได้ต่อหัวของประชาชนและการเปลี่ยนแปลงของ
เทคโนโลยีเติบโตช้าท่ีสุดเม่ือเปรียบเทียบกับเหตุการณ์จาลองอ่ืน ๆ และแบบ B2 (B2 Scenario) เป็นการ
จาลองโลกอนาคตท่ีเน้นการหาทางออกในเร่ืองความยั่งยืนทางเศรษฐกิจ สังคมและส่ิงแวดล้อม ท่ีเน้นการ
แก้ปัญหาในระดับภูมิภาค ประชากรโลกยังคงขยายตัวเพ่ิมข้ึนอย่างต่อเน่ือง แต่ต่ากว่าที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์
จาลอง A2 การพัฒนาเศรษฐกิจอยู่ในระดับปานกลาง และมีการเปล่ียนแปลงเทคโนโลยีช้า แต่ความ
หลากหลายของเทคโนโลยีมีมากกว่า แม้ว่าอนาคตในเหตุการณ์จาลองน้ีจะให้ความสาคัญกับการอนุรักษ์
สิง่ แวดล้อม ความเป็นธรรมทางสังคม แต่จะเน้นท่ีระดับท้องถิ่นและภูมิภาคเป็นหลกั (IPCC, 2000) ซึ่งผลการ
จาลองสภาพภูมิอากาศอนาคตภายใต้สภาพการเปล่ียนแปลงก๊าซเรือนกระจกตามสถานการณ์ทางเศรษฐกิจ
และสงั คม แบบ A2 และ B2 ไดแ้ บบจาลองออกเป็น ๓ ประเภท (START, ๒๕๕๔) ดังน้ี
๑) สมการถดถอยปริมาณฝนสะสมรายเดือนจงั หวดั ชลบุรี คอื
y = 0.3472x + 74.409, R² = 0.1163
สมการถดถอยปรมิ าณฝนสะสมรายเดอื นจงั หวดั ระยอง คือ
y = 0.0217x + 134.39, R² =0.0003
๒) สมการถดถอยอุณหภูมิสงู สดุ เฉลยี่ จงั หวดั ชลบุรี คอื
โครงการจดั ทาแผนสิ่งแวดล้อมในพืน้ ทเี่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๘๐
สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม รายงานฉบับสุดทา้ ย
y = 1.0707x ‐ 2.3406, R² = 0.3779
สมการถดถอยอณุ หภมู สิ งู สุดเฉลีย่ จังหวัดระยอง คอื
y = 0.8539x + 5.3367, R² = 0.1804
๓) สมการถดถอยอุณหภมู ติ ่าสุดเฉล่ียจังหวดั ชลบรุ ี คือ
y = 0.6262x + 11.459, R² = 0.5618
สมการถดถอยอุณหภมู ิตา่ สดุ เฉล่ียจงั หวดั ระยอง คอื
y = 0.7314x + 9.4201, R² = 0.4212
จากผลการศึกษาของ START (๒๕๔๔) ได้แบบจาลองดังกล่าวสามารถอธบิ ายแนวโน้ม
สถานการณ์การเปล่ยี นแปลงภมู อิ ากาศได้ดังน้ี
๑) ผลการจาลองปริมาณน้าฝนเฉลี่ยรายปีของจังหวัดชลบุรี (ภาพท่ี ๔ - ๓๐) และจังหวัด
ระยอง (ภาพท่ี ๔ - ๓๑) พบว่า มีแนวโน้มปริมาณน้าฝนเพ่ิมข้ึนซึ่งในช่วงปลายศตวรรษอาจเพ่ิมสูงขึ้นถึง
ประมาณร้อยละ ๑๕ - ๒๕ และ ร้อยละ ๒๕ - ๕๐ ในหลายพื้นที่จะมีฤดูฝนยาวนานข้ึน ๒ – ๔ สัปดาห์
จานวนวันที่ฝนตกเฉล่ียในแต่ละปีในเกือบทุกพ้ืนที่ยังคงใกล้เคียงกับท่ีเคยเป็นมาในอดีต ซ่ึงแสดงให้เห็นถึง
ลักษณะและความยาวนานของฤดูฝนท่ีเพ่ิมขึ้น ถึงแม้ในสองจังหวัดจะมีปริมาณน้าฝนที่เพ่ิมขึ้น แต่มิได้
หมายความว่าสามารถรองรับกับความต้องการใช้น้าได้ ท้ังนี้ต้องทาการวิเคราะห์ถึงศักยภาพของพ้ืนผิวในการ
ซึมน้า รวมถึงตาแหน่งที่มีปริมาณฝนตก และความสามารถในการกักเก็บน้าของพ้ืนที่ด้วย ซึ่งจะกล่าวถึงใน
สถานการณ์ทรพั ยากรนา้ ตอ่ ไป
ทมี่ า : Southeast Asia START Regional Center Technical Report No. 18 (๒๕๕๒)
ภาพท่ี ๔ - ๓๐ ผลการจาลองปริมาณน้าฝนเฉลย่ี รายปีของจังหวดั ชลบุรี ปี ค.ศ. 2010 - 2098
โครงการจัดทาแผนสงิ่ แวดล้อมในพ้นื ทีเ่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๘๑
สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ทา้ ย
ทีม่ า : Southeast Asia START Regional Center Technical Report No. 18 (๒๕๕๒)
ภาพที่ ๔ - ๓๑ ผลการจาลองปริมาณนา้ ฝนเฉลี่ยรายปีของจังหวดั ระยอง ปี ค.ศ. 2010 - 2098
๒) ผลการจาลองอุณหภูมิสูงสุดเฉล่ียตลอดท้ังปีของจังหวัดชลบุรี (ภาพที่ ๔ - ๓๒) และจงั หวัด
ระยอง (ภาพที่ ๔ - ๓๓) พบว่า แนวโน้มอุณหภูมสิ ูงสุดเฉล่ียตลอดทั้งปีในช่วงต้นศตวรรษประมาณ ๓๓ – ๓๕
องศาเซลเซียส จะเพ่มิ สูงขนึ้ เปน็ ประมาณ ๓๓ – ๓๗ องศาเซลเซียสในช่วงปลายศตวรรษ
ที่มา : Southeast Asia START Regional Center Technical Report No. 18 (๒๕๕๒)
ภาพที่ ๔ - ๓๒ ผลการจาลองอุณหภูมสิ ูงสดุ เฉล่ยี ตลอดท้งั ปีของจังหวัดชลบรุ ี ปี ค.ศ. 2010 - 2098
โครงการจดั ทาแผนสง่ิ แวดลอ้ มในพื้นท่เี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๘๒
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย
ทม่ี า : Southeast Asia START Regional Center Technical Report No. 18 (๒๕๕๒)
ภาพท่ี ๔ - ๓๓ ผลการจาลองอณุ หภูมสิ ูงสดุ เฉลีย่ ตลอดท้ังปขี องจังหวดั ระยอง ปี ค.ศ. 2010 – 2098
๓) ผลการจาลองอุณหภูมติ ่าสุดเฉลี่ยตลอดทงั้ ปขี องจังหวัดชลบุรี (ภาพท่ี ๔ - ๓๔) และจังหวัด
ระยอง (ภาพที่ ๔ - ๓๕) พบว่า แนวโนม้ อุณหภูมิรายวันต่าสุดเฉลย่ี ตลอดปปี ระมาณ ๒๒ - ๒๔ องศาเซลเซยี ส
โดยทีพ่ ้ืนท่สี ภาพการเปลีย่ นแปลงภูมอิ ากาศในอนาคตแสดงใหเ้ ห็นวา่ มีแนวโนม้ ที่อุณหภมู ริ ายวันต่าสดุ เฉลยี่ จะ
เพ่ิมสงู ขน้ึ ซงึ่ อาจเพมิ่ สงู ขน้ึ ๓ - ๔ องศาเซลเซยี สในชว่ งปลายศตวรรษ
ที่มา : Southeast Asia START Regional Center Technical Report No. 18 (๒๕๕๒)
ภาพที่ ๔ - ๓๔ ผลการจาลองอุณหภมู ิตา่ สดุ เฉลี่ยตลอดท้งั ปขี องจังหวัดชลบรุ ี ปคี .ศ. 2010 - 2098
โครงการจดั ทาแผนส่งิ แวดล้อมในพืน้ ทเี่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๘๓
สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดท้าย
ทมี่ า : Southeast Asia START Regional Center Technical Report No. 18 (๒๕๕๒)
ภาพที่ ๔ - ๓๕ ผลการจาลองอุณหภูมิตา่ สดุ เฉลีย่ ตลอดท้ังปีของจังหวัดระยอง ปีค.ศ. 2010 - 2098
๔.๑.๘ การจัดการขยะมูลฝอยชุมชน ขยะทะเล และขยะบนเกาะ
๔.๑.๘.๑ ขยะมลู ฝอยชุมชน
๑) สถานการณข์ ยะมลู ฝอยชุมชน
ปริมาณขยะมูลฝอยชุมชนในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ มี
ประมาณ ๑.๖๘ ล้านตัน โดยมีปริมาณขยะมูลฝอยที่นาไปใช้ประโยชน์ ๐.๓๕ ล้านตันต่อปี คิดเป็นร้อยละ
๒๑.๐๓ ของปริมาณขยะมูลฝอยท่ีเกิดข้ึน ปริมาณขยะมูลฝอยท่ีกาจัดถูกต้อง ๐.๘๖ ล้านตันต่อปี คิดเป็นร้อย
ละ ๕๑.๓๓ ของปริมาณขยะมูลฝอยท่ีเกิดข้ึน และปริมาณขยะมูลฝอยท่ีกาจัดไม่ถูกต้อง ๐.๔๖ ล้านตันต่อปี
คิดเป็นร้อยละ ๒๗.๖๔ ของปริมาณขยะมูลฝอยทั้งหมดท่ีเกิดข้ึน (จากการสารวจภายใต้โครงการเมืองสวยใส
ไร้มลพิษ (Clean & Green City) และความร่วมมือจากสานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด
สานักงานส่งเสรมิ การปกครองท้องถน่ิ จงั หวัด และ องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิน่ , ๒๕๖๒) รายละเอียดดังภาพท่ี
๔ – ๓๓
โครงการจัดทาแผนสิ่งแวดล้อมในพื้นท่ีเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๘๔
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย
ตารางท่ี ๔ - ๓๐ ปริมาณขยะมลู ฝอยทเี่ กิดขึ้นและการจัดการขยะมลู ฝอยชุมชน ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
ปรมิ าณขยะมลู ฝอยท่ี ปรมิ าณขยะมูลฝอยท่ี ปริมาณขยะมูลฝอยที่ ปรมิ าณขยะมลู ฝอยที่
จังหวดั นาไปใช้ไประโยชน์ ร้อยละ รอ้ ยละ กาจดั ไม่ถูกต้อง รอ้ ยละ
เกดิ ขน้ึ กาจัดถูกต้อง
(ตนั ) (ตัน) (ตนั ) (ตนั )
ฉะเชงิ เทรา ๒๖๗,๕๙๖.๑๐ ๔๙,๑๔๗.๕๗ ๑๘.๓๗ ๓,๒๑๕.๖๕ ๑.๒๐ ๒๑๕,๒๓๒.๘๘ ๘๐.๔๓
ชลบุรี ๑,๐๕๔,๐๐๖.๘๕ ๒๕๐,๔๐๔.๖๐ ๒๓.๗๖ ๕๕๙,๐๙๙.๗๐ ๕๓.๐๔ ๒๔๔,๕๐๒.๕๕ ๒๓.๒๐
ระยอง ๓๕๓,๙๖๒.๔๐ ๕๒,๘๕๒.๐๐ ๑๔.๙๓ ๒๙๗,๗๘๘.๙๐ ๘๔.๑๓ ๓,๓๒๑.๕๐ ๐.๙๔
รวม ๑,๖๗๕,๕๖๕.๓๕ ๓๕๒,๔๐๔.๑๗ ๒๑.๐๓ ๘๖๐,๑๐๔.๒๕ ๕๑.๓๓ ๔๖๓,๐๕๖.๙๓ ๒๗.๖๔
หมายเหต:ุ สถานท่กี าจดั ขยะมลู ฝอยที่ถูกต้อง เชน่ หมักทาปยุ๋ ฝงั กลบถูกหลักวิชาการ เตาเผาผลติ พลังงาน เปน็ ต้น สว่ น
สถานที่กาจัดขยะมลู ฝอยทไ่ี ม่ถูกต้อง เช่น เตาเผาไมม่ ีระบบบาบดั มลพิษอากาศ การเทกอง เผากาจดั กลางแจ้ง
เป็นต้น
ทม่ี า: ระบบสารสนเทศดา้ นการจดั การขยะมูลฝอยชมุ ชน, กรมควบคุมมลพิษ, ๒๕๖๒
ในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก สาหรับสถานที่กาจัดขยะมูลฝอยในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ มี
จานวนทั้งส้ิน ๗๐ แห่ง โดยแบ่งเป็นสถานท่ีเปิดดาเนินการ ๓๔ แห่ง และมีสถานท่ีกาจัดขยะมูลฝอยที่ปิด
ดาเนินการ ๓๖ แห่ง (สานกั งานสิง่ แวดล้อมภาคที่ ๑๓ (ชลบรุ ี), ๒๕๖๒) รายละเอยี ดแสดงดังตารางที่ ๔ - ๓๑
และตารางที่ ๔ - ๓๒
ตารางที่ ๔ - ๓๑ จานวนสถานทกี่ าจดั ขยะมูลฝอยทเ่ี ปดิ ดาเนนิ การและปดิ ดาเนินการปี พ.ศ. ๒๕๖๒
จังหวัด สถานท่ีกาจดั ขยะมูลฝอย เปิดดาเนินการ ปิดดาเนินการ
ฐานปี พ.ศ.๒๕๕๘ (แห่ง) แหง่ รอ้ ยละ แห่ง ร้อยละ
ฉะเชิงเทรา ๑๗ ๗ ๔๑.๑๘ ๑๐ ๕๘.๘๒
ชลบุรี ๒๙ ๒๒ ๗๕.๘๖ ๗ ๒๔.๑๔
ระยอง ๒๔ ๕ ๒๐.๘๔ ๑๙ ๗๙.๑๖
รวม ๗๐ ๓๔ ๔๕.๙๖ ๓๖ ๕๔.๐๔
ทม่ี า: รายงานสถานการณค์ ุณภาพสิ่งแวดล้อมภาคตะวันออก พ.ศ.๒๕๖๒, สานักงานส่งิ แวดลอ้ มภาคท่ี ๑๓ (ชลบรุ ี), ๒๕๖๒
ตารางท่ี ๔ - ๓๒ สถานทก่ี าจดั ขยะพน้ื ทีเ่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก
จังหวดั ผู้ดาเนินการ ชื่อสถานทกี่ าจัดขยะมูล วิธกี ารกาจัด ความถกู ตอ้ งของ ปริมาณขยะที่
เจา้ ของ ฝอย การดาเนนิ การ เขา้ ระบบ (กก.
ฉะเชิงเทรา
ฉะเชงิ เทรา บ.ไพโรจน์สมพงษ์ บ่อขยะ บ.ไพโรจนส์ มพงษ์ ระบบฝังกลบอยา่ งถูก ถกู ตอ้ ง วัน)
พาณชิ ย์ จากดั พาณิชย์ จากัด หลักสุขาภิบาล ถูกต้อง ๑,๘๐๐,๐๐๐
ฉะเชงิ เทรา ทต.ดอนฉิมพลี การเทกองแบบ
ฉะเชิงเทรา บ่อขยะ ทต.ดอนฉมิ พลี ไม่ถกู ตอ้ ง ๓,๐๐๐
ฉะเชงิ เทรา อบต.หนามแดง ควบคุม ขนาดน้อย
ฉะเชงิ เทรา บรษิ ัท ตันหนึง อนิ เตอร์ กว่า ๕๐ ตันตอ่ วัน ๒๐๔,๕๕๐
ทต.บางคล้า ไพรส์ จากัด การเทกองกลางแจ้ง
ทต.บางขนาก ๑๐,๐๐๐
ทม.ฉะเชงิ เทรา บ่อขยะ ทต.บางคล้า การเทกองกลางแจง้ ไมถ่ ูกตอ้ ง ๑,๕๐๐
บ่อขยะ ทต.บางขนาก การเทกองกลางแจง้ ไม่ถูกต้อง ๙๘,๖๕๐
บอ่ ขยะ ทม.ฉะเชิงเทรา การเทกองกลางแจง้ ไม่ถกู ต้อง
โครงการจดั ทาแผนส่งิ แวดล้อมในพ้ืนท่เี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๘๕
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม รายงานฉบบั สุดทา้ ย
จงั หวดั ผ้ดู าเนินการ ชือ่ สถานทก่ี าจัดขยะมูล วธิ กี ารกาจดั ความถกู ตอ้ งของ ปริมาณขยะท่ี
เจา้ ของ ฝอย การดาเนินการ เขา้ ระบบ (กก.
ฉะเชิงเทรา อบจ.ฉะเชิงเทรา บอ่ ขยะ อบจ.ฉะเชงิ เทรา การเทกองกลางแจ้ง ไม่ถูกตอ้ ง วนั )
ชลบุรี ทต.โป่ง บอ่ ขยะ ทน.แหลมฉบงั ระบบฝงั กลบอยา่ งถกู ถกู ตอ้ ง ๒๐๙,๒๓๐
ชลบรุ ี อบต.มาบโป่ง บอ่ ขยะ ทม.แสนสุข ๗๒๒,๐๐๐
ชลบรุ ี ทต.หนองปลาไหล บอ่ ขยะบ.อสี เทริ ์น ซบี อรด์ หลักสุขาภบิ าล ถูกต้อง ๑๔๒,๐๐๐
เอนไวรอนเมนทอล คอม ระบบฝงั กลบอย่างถกู ๕๐๐,๐๐๐
ชลบุรี ทม.ปรกฟา้ ถกู ตอ้ ง
ชลบุรี อบต.พานทอง เพลก็ ซ์ จากดั หลักสุขาภบิ าล ๓๒๖,๐๐๐
บ่อขยะ บ.ชวสงิ ห์ จากัด ระบบฝงั กลบอย่างถูก ๓๕,๐๐๐
หนองกะขะ
ชลบรุ ี อบต.หนองเหียง บอ่ ขยะทม.ศรีราชา หลกั สขุ าภิบาล ๔,๐๐๐
ชลบุรี อบต.บ่อทอง บอ่ ขยะอบต.บ่อกวางทอง ระบบเชงิ กลชีวภาพ ถูกต้อง ๑๑๕,๐๐๐
(MBT) ถูกต้อง
ชลบรุ ี อบต.เกาะลอยบาง บ่อขยะทม.หนองปรือ ๘๐
หกั การเทกองแบบ ถูกตอ้ ง
บ่อขยะอบต.เกาะลอย ควบคุม ขนาดน้อย ๒๔,๐๐๐
ชลบรุ ี อบต.หนองรี กว่า ๕๐ ตันตอ่ วนั ไมถ่ ูกต้อง
บอ่ ขยะอบต.หนองรี การเทกองแบบ ๓,๕๐๐
ชลบรุ ี อบจ.ชลบรุ ี ควบคุม ขนาดนอ้ ย ถกู ตอ้ ง
บอ่ ขยะทต.บอ่ ทอง กว่า ๕๐ ตันต่อวนั ๒๘,๐๐๐
ชลบรุ ี ทม.บา้ นบึง การเทกองแบบ ถกู ตอ้ ง
บ่อขยะทต.บางเสร่ ควบคุม ขนาดนอ้ ย ๒,๓๒๐
ชลบุรี อบต.นาวังหิน กว่า ๕๐ ตนั ต่อวนั ถกู ต้อง
บอ่ ขยะอบต.บ่อทอง การเทกองแบบ ๕๐,๐๐๐
ชลบรุ ี ทต.นาปา่ ควบคุม ขนาดนอ้ ย ถูกตอ้ ง ๒๐,๐๐๐
ชลบรุ ี อบต.พลตู าหลวง บ่อขยะทต.เขตรอุดมศักด์ิ กว่า ๕๐ ตันตอ่ วัน ๔,๖๐๐
ชลบุรี ทต.ธาตุทอง บอ่ ขยะอบต.แสมสาร การเทกองแบบ ถกู ตอ้ ง ๑๘๘,๐๐๐
ชลบุรี ทม.พนัสนิคม ควบคมุ ขนาดน้อย
บอ่ ขยะอบต.หนองเสือช้าง กว่า ๕๐ ตันต่อวนั ไมถ่ ูกต้อง
บอ่ ขยะบ.คลีนซิตี้ จากัด การเทกองแบบ ไมถ่ ูกต้อง
ควบคุม ขนาดน้อย ไม่ถกู ตอ้ ง
กว่า ๕๐ ตันตอ่ วัน ไมถ่ กู ตอ้ ง
การเทกองแบบ
ควบคุม ขนาดน้อย
กว่า ๕๐ ตนั ตอ่ วนั
การเทกองแบบ
ควบคมุ ขนาดนอ้ ย
กวา่ ๕๐ ตนั ต่อวนั
การเทกองกลางแจง้
การเทกองกลางแจง้
การเทกองกลางแจง้
การเทกองกลางแจง้
โครงการจัดทาแผนส่ิงแวดล้อมในพ้นื ทีเ่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๘๖
สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย
จังหวัด ผู้ดาเนนิ การ ชื่อสถานทีก่ าจดั ขยะมลู วิธกี ารกาจัด ความถูกตอ้ งของ ปริมาณขยะท่ี
เจา้ ของ ฝอย การดาเนินการ เขา้ ระบบ (กก.
ชลบรุ ี ทต.หนองใหญ่ บอ่ ขยะทต.หนองใหญ่ การเทกองกลางแจ้ง ไมถ่ ูกต้อง วัน)
ไม่ถูกตอ้ ง ๑๘,๐๐๐
ชลบุรี ทต.บางทราย บ่อขยะทต.ตะเคยี นเตย้ี การเทกองกลางแจ้ง ไมถ่ กู ตอ้ ง ๓๗,๕๐๐
ไมถ่ ูกต้อง ๑๖,๐๐๐
ชลบุรี อบต.เขาซก บอ่ ขยะทต.หัวกุญแจ การเทกองกลางแจ้ง ไม่ถูกตอ้ ง ๑๕,๐๐๐
๑๒,๐๐๐
ชลบรุ ี อบต.คลองพลู บ่อขยะทต.หมอนนาง การเทกองกลางแจ้ง ไมถ่ กู ต้อง
๒๓,๐๐๐
ชลบรุ ี อบต.หนองรี บอ่ ขยะทต.เกาะสีชงั เตาเผาทไ่ี ม่มรี ะบบ ถกู ต้อง
๑,๒๖๑,๘๖๐
กาจัดมลพิษทาง ไมถ่ ูกตอ้ ง
ไม่ถูกต้อง ๕,๐๐๐
อากาศ ไมถ่ กู ตอ้ ง ๖,๐๐๐
๑๙,๓๒๐
ชลบุรี อบต.ห้างสูง บอ่ ขยะทต.ห้วยใหญ่ เตาเผาท่ีไม่มีระบบ ไม่ถูกต้อง
๙๖๐
กาจัดมลพิษทาง
อากาศ
ระยอง อบต.ทุ่งควายกนิ บ่อขยะอบจ.ระยอง (400) ระบบฝงั กลบอย่างถูก
หลกั สุขาภิบาล
ระยอง อบต.ชุมแสง บอ่ ขยะนายสุจติ ร อนิ ทอง การเทกองกลางแจง้
ระยอง อบต.ละหาร บ่อขยะอบต.เพ การเทกองกลางแจ้ง
ระยอง อบต.วงั หวา้ บ่อขยะทต.เมืองแกลง(๑๘) การกาจดั แบบเผา
กลางแจ้ง
ระยอง อบต.ห้วยยาง บอ่ ขยะอบต.เขานอ้ ย การกาจัดแบบเผา
กลางแจง้
ทีม่ า: ระบบสารสนเทศดา้ นการจดั การขยะมูลฝอยชมุ ชน, กรมควบคุมมลพิษ, ๒๕๖๒
การรวมกลมุ่ พน้ื ท่ีบรหิ ารจดั การขยะมลู ฝอย (Cluster) ในพ้ืนที่ มีดงั นี้
จังหวัดฉะเชิงเทรา มี Cluster จานวน ๓ แห่ง ได้แก่ ๑) ระบบกาจัดขยะเทศบาลเมือง
ฉะเชงิ เทรา มีอาเภอเมือง บ้านโพธ์ บางปะกง และอาเภอบางน้าเปรย้ี ว จานวน ๖๙ แห่ง ๒) ระบบกาจดั ขยะ
มูลฝอยเทศบาลตาบลบางคล้า มีอาเภอบางคล้า ก่ิงอาเภอคลองเข่ือน และอาเภอแปลงยาว จานวน ๑๙ แห่ง
และ ๓) ศูนย์กาจัดขยะมูลฝอยองค์การบริหารส่วนจังหวัดฉะเชิงเทรา มีอาเภอพนมสารคาม ราชสาส์น สนาม
ชยั เขต ทา่ ตะเกียบ และอาเภอแปลงยาว จานวน ๒๓ แห่ง ดงั ตารางที่ ๔ – ๓๒
โครงการจดั ทาแผนสิ่งแวดล้อมในพน้ื ที่เขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๘๗
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม รายงานฉบับสุดท้าย
ตารางท่ี ๔ - ๓๓ ขอบเขต Cluster จงั หวดั ฉะเชิงเทรา
Cluster ตาบล
Cluster ๑ ตาบลบางนา้ เปร้ียว ตาบลบางขนาก ตาบลสิงโตทอง ตาบลหมอนทอง ตาบลบงึ น้ารักษ์
(๕๘ ตาบล) ตาบลดอนเกาะกา ตาบลโยธะกา ตาบลดอนฉิมพลี ตาบลศาลาแดง ตาบลโพรงอากาศ
ตาบลหนา้ เมอื ง ตาบลท่าไข่ ตาบลบ้านใหม่ ตาบลคลองนา ตาบลบางตีนเป็ด ตาบลบาง
Cluster ๒ ไผ่ ตาบลคลองจกุ กระเฌอ ตาบลบางแกว้ ตาบลบางขวญั ตาบลคลองนครเนื่องเข ตาบล
(๑๘ ตาบล) วงั ตะเคยี น ตาบลโสธร ตาบลบางพระ ตาบลบางกะไห ตาบลหนามแดง ตาบลคลองเปรง
Cluster ๓ ตาบลคลองอุดมชลจร ตาบลคลองหลวงแพ่ง ตาบลบางเตย ตาบลบา้ นโพธิ์ ตาบลเกาะไร่
(๑๖ ตาบล) ตาบลคลองขดุ ตาบลคลองบ้านโพธ์ิ ตาบลคลองประเวศ ตาบลดอนทราย ตาบลเทพราช
ตาบลทา่ พลบั ตาบลหนองตนี นก ตาบลหนองบวั ตาบลบางซอ่ น ตาบลบางกรดู ตาบล
แหลมประดู่ ตาบลลาดขวาง ตาบลสนามจันทร์ ตาบลแสนภูดาษ ตาบลสิบเอด็ ศอก
ตาบลบางปะกง ตาบลท่าสะอ้าน ตาบลบางวัว ตาบลบางสมัคร ตาบลบางผึง้ ตาบลบาง
เกลอื ตาบลสองคลอง ตาบลหนองจอก ตาบลพมิ พา ตาบลท่าขา้ ม ตาบลหอมศลี ตาบล
เขาดนิ
ตาบลบางคล้า ตาบลบางสวน ตาบลบางกระเจ็ด ตาบลปากน้า ตาบลท่าทองหลาง ตาบล
สาวชะโงก ตาบลเสม็ดเหนือ ตาบลเสมด็ ใต้ ตาบลหัวไทร ตาบลก้อนแก้ว ตาบลคลอง
เขอ่ื น ตาบลบางเล่า ตาบลบางโรง ต.บางตลาด ตาบลแปลงยาว ตาบลวังเยน็ ตาบลหัว
สาโรง ตาบลหนองไม้แก่น
ตาบลบางคา ตาบลเมอื งใหม่ ตาบลดงน้อย ตาบลเกาะขนุน ตาบลบา้ นซ่อง ตาบลพนม
สารคาม ตาบลเมืองเกา่ ตาบลหนองยาว ตาบลท่าถา่ น ตาบลหนองแหน ตาบลเขาหนิ
ซอ้ น ตาบลคู้ยายหมี ตาบลท่ากระดาน ตาบลท่งุ พระยา ตาบลท่าตะเกียบ ตาบลคลองตะ
เกรา
ตารางที่ ๔ - ๓๔ พน้ื ทกี่ ารจัดการมูลฝอยขององค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน จงั หวดั ฉะเชิงเทรา
รายชื่อองคก์ รปกครองสว่ น ปริมาณขยะที่นาไปท้ิง (ตัน ระยะทางขนสง่ ไปถึง สถานที่กาจัด (กิโลเมตร)
ท้องถน่ิ วัน)
๖.๗๐ ๑๕
ทต.พนมสารคาม ๒.๒๐ ๘
ทต.เขาหนิ ซอ้ น ๐.๗๐ ๑๘
ทต.บ้านซอ่ ง ๑.๖๐ ๑๕
ทต.เกาะขนุน ๑ ๑๕
อบต.พนมสารคาม ๒.๘๐ ๑๗
อบต.หนองยาว ๑.๐๔ ๑๕
อบต.เกาะขนุน ๐.๘๐ ๑๖
อบต.เมอื งเก่า ๐.๙๐ ๔๔
อบต.บางกระเจด็ ๑.๖๐ ๓๓
อบต.ทา่ ทองหลาง ๑.๘๐ ๒๑
อบต.หนองแหน ๓ ๑๗
๑ ๒๓
ทต.ทา่ ถ่าน - -
อบต.ดงนอ้ ย
อบจ.ฉะเชิงเทรา
โครงการจัดทาแผนสง่ิ แวดล้อมในพน้ื ท่ีเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๘๘
สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย
รายชอ่ื องคก์ รปกครองสว่ น ปริมาณขยะท่นี าไปท้ิง (ตัน ระยะทางขนส่งไปถึง สถานท่ีกาจดั (กิโลเมตร)
ทอ้ งถ่นิ วัน)
ทต.บางคล้า ๑๒ ๖
ทต.แปลงยาว ๑.๓๐ ๑๙
ทม.ฉะเชิงเทรา ๑๗.๘๐ ๗
อบต.บางขวญั ๒.๗๐ ๓
ทต.ศาลาแดง ๐.๒๐ ๒๕
ทต.บ้านโพธ์ิ ๑.๙๐ ๒๐
อบต.เขาดิน ๐.๒๕ ๓๒
ทต.เทพราช ๑.๖๐ ๒๘
ทต.บางผ้ึง ๐.๒๗ ๓๕
อบต.วังตะเคยี น ๒.๗๐ ๑๗
รวม ๖๕.๘๖ -
ที่มา: บญั ชีการรวมกลมุ่ พน้ื ทกี่ ารจัดการมูลฝอยขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิน่ , กรมสง่ เสริมการปกครองทอ้ งถ่ิน, ๒๕๖๑
จังหวัดชลบุรี มี Cluster จานวน ๕ แห่ง ได้แก่ ๑) ระบบกาจัดขยะมูลฝอยเทศบาลเมืองแสน
สุข มีอาเภอเมืองจานวน ๑๖ แห่ง ๒) ระบบกาจัดขยะมูลฝอยเทศบาลเมืองบ้านบึง มีอาเภอพานทอง
พนัสนิคม บ้านบึง บ่อทองหนองใหญ่และอาเภอเกาะจันทร์ จานวน ๕๗ แห่ง ๓) ระบบกาจัดขยะมูลฝอย
เทศบาลเมืองศรีราชา มีเขตเทศบาลเมืองศรีราชา จานวน ๘ แห่ง ๔) ระบบกาจัดขยะมูลฝอยเมืองพัทยา มี
อาเภอบางละมุงและอาเภอสัตหีบ จานวน ๑๖ แห่ง และ ๕) ระบบกาจัดขยะมูลฝอยเกาะสีชัง มีอาเภอเกาะ
สชี ัง จานวน ๑ แห่ง ดงั ตารางที่ ๔ - ๓๕
ตารางที่ ๔ - ๓๕ ขอบเขต Cluster จงั หวดั ชลบุรี
Cluster ตาบล
Cluster ๑ ตาบลดอนหัวฬอ่ ตาบลคลองตาหรุ ตาบลหนองไม้แดง ตาบลบางทราย ตาบลบา้ นโขด ตาบล
(๑๘ ตาบล) มะขามหยง ตาบลบางปลาสรอ้ ย ตาบลปา่ ตาบลสานักป่า ตาบลบ้านสวน ตาบลหนองรี ตาบล
Cluster ๒ หนองข้างคอก ตาบลอา่ งศลิ า ตาบลเสม็ด ตาบลบา้ นปึก ตาบลห้วยกะปิ ตาบลแสนสขุ ตาบล
(๕๑ ตาบล) เหมือง
ตาบลพานทอง ตาบลหนองตาลงึ ตาบลมาบโปง่ ตาบลหนองกะขะ ตาบลหนองหงษ์ ตาบลโคก
Cluster ๓ ขี้หนอน ตาบลบ้านเก่า ตาบลหน้าประดู่ ตาบลบางนาง ตาบลเกาะลอย ตาบลบางหัก ตาบล
พนัสนคิ ม ตาบลหนา้ พระธาตุ ตาบลวดั หลวง ตาบลบ้านเซิด ตาบลนาเริก ตาบลหมอนนาง
ตาบลสระส่เี หลยี่ ม ตาบลวัดโบสถ์ ตาบลกฎุ โง้ง ตาบลหัวถนน ตาบลท่าข้าม ตาบลหนองปรือ
ตาบลหนองขยาด ตาบลทุง่ ขวาง ตาบลหนองเหยี ง ตาบลนาวังหนิ ตาบลบ้านช้าง ตาบลโคก
เพลาะ ตาบลไร่หลกั ทอง ตาบลนามะตมู ตาบลคลองก่ิว ตาบลมาบไผ่ ตาบลหนองซา้ ซาก
ตาบลหนองบอนแดง ตาบลหนองชาก ตาบลหนองอิรุณ ตาบลหนองไผแ่ ก้ว ตาบลเกาะจนั ทร์
ตาบลทา่ บุญมี ตาบลบ่อทอง ตาบลวัดสุวรรณ ตาบลบ่อกวางทอง ตาบลธาตุทอง ตาบลเกษตร
สุวรรณ ตาบลพลวงทอง ตาบลหนองใหญ่ ตาบลคลองพลู ตาบลหนองเสือชา้ ง ตาบลหา้ งสงู
ตาบลเขาซก
ตาบลบางพระ ตาบลศรีราชา ตาบลสรุ ศกั ดิ์ ตาบลทงุ่ สขุ ลา ตาบลบงึ ตาบลหนองขาม
โครงการจดั ทาแผนส่งิ แวดล้อมในพ้ืนทเี่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๘๙
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม รายงานฉบับสดุ ทา้ ย
Cluster ตาบล
(๘ ตาบล) ตาบลบอ่ วนิ ตาบลเขาคนั ทรง
Cluster ๔ ตาบลหนองปรอื ตาบลหนองปลาไหล ตาบลโปง่ ตาบลเขาไมแ้ กว้ ตาบลห้วยใหญ่ ตาบล
(๑๔ ตาบล ๒๒ เกาะ ตะเคยี นเตย้ี ตาบลนาเกลอื ตาบลบางละมงุ ตาบลนาเกลอื เกาะลา้ น เกาะครก เกาะสาก
๑ เขตปกครองพเิ ศษ) เขตการปกครองพเิ ศษ ตาบลสัตหีบ ตาบลนาจอมเทยี น ตาบลพลูตาหลวง ตาบลบางเสร่ ตาบล
แสมสาร เกาะเกร็ดแก้ว เกาะแสมสาร เกาะแรด เกาะขาม เกาะฉางเกลือ เกาะจม เกาะจาน
Cluster ๕ เกาะจระเข้ เกาะนางรา เกาะหมู เกาะยอ เกาะอเี ลา เกาะพระ เกาะเตาหมอ้ เกาะอีรา้ เกาะ
(๑ ตาบล) คราม เกาะครามนอ้ ย เกาะแมว เกาะพระน้อย
ตาบลทา่ เทววงษ์
ตารางท่ี ๔ - ๓๖ พ้ืนที่การจัดการมูลฝอยขององคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่ จงั หวัดชลบุรี
รายชอ่ื องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปรมิ าณขยะท่นี าไปทง้ิ (ตนั /วัน) ระยะทางขนส่งไปถงึ สถานทก่ี าจดั (กโิ ลเมตร)
ทม.ศรีราชา ๓๙.๕๖ ๑๐
ทน.แหลมฉบัง ๓๒๐.๘ ๑๓
ทน.เจ้าพระยาสุรศักด์ิ ๑๒.๔๙ ๕
ทต.บางพระ ๑๒.๕๙ ๑๔
อบต.เขาคนั ทรง ๗.๗๘ ๒๔
อบต.บ่อวิน ๔๘.๑๔ ๒๖
อบต.หนองขาม ๓.๔๕ ๗
เมอื งพัทยา ๔๓๗.๕๗ ๒๓
ทม.หนองปรือ ๑๑๘.๓๕ ๒๐
ทต.ตะเคยี นเตี้ย ๓๗ ๑๕
ทต.บางละมงุ ๒๕ ๒๒
ทต.โป่ง ๑๕.๗๘ ๑๑
ทต.หนองปลาไหล ๒๕.๐๖ ๑๕
ทต.หว้ ยใหญ่ ๒๓ ๒๔
อบต.เขาไมแ้ กว้ ๕.๓๑ ๓
ทม.สตั หีบ ๒๒.๔๖ ๔๘
ทต.เกลด็ แก้ว ๑๐.๘๘ ๓๔
ทต.เขตรอุดมศักดิ์ ๕๐ ๔๐
ทต.เขาชีจรรย์ ๑๐.๕ ๓๐
ทต.นาจอมเทยี น ๒๒ ๒๗
ทต.บางเสร่ ๑๕ ๓๕
อบต.พลตู าหลวง ๑๕.๗๘ ๓๒
อบต.แสมสาร ๒๒.๕๗ ๔๔
ทม.แสนสุข ๙๙.๓๑ ๒๐
ทม.เมอื งชลบรุ ี ๕๐ ๒๒
ทม.อ่างศิลา ๓๘.๔๗ ๒๐
ทม.บ้านสวน ๘๕ ๒๒
ทต.คลองตาหรุ ๑๗ ๓๒
โครงการจดั ทาแผนสงิ่ แวดลอ้ มในพน้ื ทเ่ี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๙๐
สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสุดท้าย
รายชือ่ องคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น ปริมาณขยะทีน่ าไปทง้ิ (ตนั /วัน) ระยะทางขนส่งไปถึง สถานทก่ี าจดั (กโิ ลเมตร)
ทต.ดอนหัวฬอ่ ๓๕.๘๓ ๒๘
ทต.นาป่า ๖๕ ๒๙
ทต.บางทราย ๑๔.๗๙ ๒๘
ทต.เสม็ด ๓๑.๕๖ ๒๓
ทต.หนองไมแ้ ดง ๓๓.๖ ๒๗
ทต.หว้ ยกะปิ ๒๒ ๑๕
ทต.เหมือง ๑๙.๗๒ ๙
อบต.คลองตาหรุ ๑.๑๘ ๒๙
อบต.สานักบก ๒.๘๙ ๒๓
อบต.หนองขา้ งคอก ๔.๒๗ ๑๓
อบต.หนองรี ๒๒.๕๘ ๑๙
อบต.บางพระ ๒๕.๐๖ ๕
ทม.บา้ นบงึ ๔๕ ๓
ทต.หัวกญุ แจ ๑๒ ๔
ทต.หนองไผ่แก้ว ๖.๙ ๑๐
ทต.หนองชาก ๑๕ ๐
ทต.บา้ นบงึ ๑๘ ๑๐
ทต.หนองซ้าซาก ๗.๘๙ ๑๗
อบต.หนองอริ ุณ ๑๓.๒ ๔
อบต.คลองกิ่ว ๑๐.๘๕ ๘
อบต.หนองไผแ่ ก้ว ๑.๑๕ ๑๕
อบต.หนองบอนแดง ๑๒ ๑๐
อบต.มาบไผ่ ๙ ๑๕
ทม.พนัสนคิ ม ๑๙.๖๔ ๒๐
ทต.หมอนนาง ๑๗.๗๕ ๑๖
ทต.กฎุ โง้ง ๕.๑๒ ๒๖
ทต.หัวถนน ๑.๙๗ ๓๑
อบต.หนองขยาด ๔.๐๑ ๑๗
อบต.บา้ นเซดิ ๗.๑๓ ๒๒
อบต.สระสี่เหล่ยี ม ๐.๐๔ ๓๔
อบต.โคกเพลาะ ๐.๗๙ ๓๐
อบต.ทา่ ขา้ ม ๒.๙๖ ๓๖
อบต.นาวังหนิ ๐.๐๓ ๒๔
อบต.ท่งุ ขวาง ๓.๙๕ ๑๔
อบต.หน้าพระธาตุ ๔.๐๒ ๒๓
อบต.นามะตมู ๒.๐๑ ๑๖
อบต.หนองเหยี ง ๒๐ ๔๒
อบต.ไร่หลักทอง ๓.๔๕ ๒๗
อบต.นาเรกิ ๕๒.๑๒ ๒๙
อบต.วดั หลวง ๐.๐๕ ๒๘
โครงการจดั ทาแผนส่งิ แวดล้อมในพนื้ ท่ีเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๙๑
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสุดท้าย
รายชื่อองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ ปรมิ าณขยะท่นี าไปทง้ิ (ตนั /วัน) ระยะทางขนส่งไปถึง สถานทก่ี าจดั (กโิ ลเมตร)
อบต.บา้ นช้าง ๔.๒๗ ๒๕
อบต.วดั โบสถ์ ๓ ๒๘
อบต.หนองปรอื ๓.๙๕ ๓๑
ทต.พานทอง ๑๑.๘๔ ๓๐
ทต.หนองตาลงึ ๓๒.๗ ๓๐
อบต.บา้ นเกา่ ๒๙.๕๙ ๓๕
อบต.พานทองหนองกะขะ ๑.๙๗ ๓๓
อบต.หนา้ ประดู่ ๑ ๓๓
อบต.บางนาง ๔.๙๓ ๒๗
อบต.เกาะลอยบางหกั ๐.๓๗ ๓๕
อบต.โคกข้ีหนอน ๑.๓๒ ๓๔
อบต.มาบโปง่ ๖.๘๕ ๒๗
อบต.หนองหงษ์ ๖.๐๓ ๑๘
ทต.หนองใหญ่ ๘ ๓๔
อบต.เขาซก ๒.๙๖ ๓๖
อบต.หนองเสอื ชา้ ง ๔.๙๙ ๓๕
อบต.คลองพลู ๓.๙๕ ๔๔
อบต.ห้างสงู ๓.๕ ๒๓
ทต.บอ่ ทอง ๔ ๓๕
ทต.ธาตุทอง ๖ ๒๕
อบต.บ่อทอง ๓.๒๙ ๔๒
อบต.บอ่ กวางทอง ๓.๖ ๒๑
อบต.พลวงทอง ๒.๕๗ ๕๔
อบต.เกษตรสุวรรณ ๑.๔๓ ๔๐
อบต.วัดสุวรรณ ๑ ๓๒
ทม.ปรกฟา้ ๑๓.๗ ๓๙
ทต.ทา่ บุญมี ๑๕ ๒๕
ทต.เกาะจนั ทร์ ๔ ๓๑
อบต.ทา่ บญุ มี ๐.๑๓ ๒๕
ทต.เกาะสีชงั ๑๔.๗๓ ๓
รวม ๔๐๕ -
ทีม่ า: บัญชีการรวมกลมุ่ พนื้ ที่การจัดการมูลฝอยขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ , กรมสง่ เสริมการปกครองทอ้ งถิ่น, ๒๕๖๑
จังหวัดระยอง มี Cluster จานวน ๔ แห่ง ได้แก่ ๑) ศูนย์ขยะรวมองค์การบริหารส่วนจังหวัด
ระยอง มีอาเภอเมืองระยอง วังจันทร์ และอาเภอเขาชะเมา จานวน ๒๓ แห่ง ๒) ระบบกาจัดขยะมูลฝอย
เทศบาลตาบลเมืองแกลงมีเขตเทศบาลอาเภอแกลง จานวน ๒ แห่ง ๓) สถานีขนถ่ายห้วยยาง มีอาเภอแกลง
บ้านค่าย บ้านฉาง ปลวกแดงและอาเภอนิคมพัฒนา จานวน ๔๑ แห่ง และ ๔) สถานีขนถ่ายขยะมูลฝอย
เทศบาลเมอื งมาบตาพดุ มีอาเภอเมอื งระยอง จานวน ๑ แห่ง ดงั ตารางท่ี ๔ - ๓๗
โครงการจัดทาแผนสิง่ แวดล้อมในพืน้ ท่เี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๙๒
สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย
ตารางที่ ๔ - ๓๗ ขอบเขต Cluster จังหวัดระยอง
Cluster ตาบล
Cluster ๑ ตาบลน้าเยน็ ตาบลขาฆอ้ ตาบลหว้ ยทับมอญ ตาบลเขานอ้ ย ตาบลป่ายบุ ใน ตาบลชมุ แสง
(๒๐ ตาบล) ตาบลพลงตาเอี่ยม ตาบลวงั จันทร์ ตาบลกะเฉด ตาบลสานักทอง ตาบลแกลง ตาบลเพ ตาบล
ตะพง ตาบลบ้านแลง ตาบลนาขวัญ
Cluster ๒ ตาบลกองดิน ตาบลทุ่งควายกิน ตาบลคลองปูน ตาบลพังราด ตาบลปากน้าประแส ตาบลเนนิ
(๑๕ ตาบล ๖ เกาะ) ฆอ้ ตาบลกรา่ ตาบลขากโดน ตาบลขากพง ตาบลสองสลงึ ตาบลห้วยยาง ตาบลวังหวา้ ตาบล
ทางเกวียน ตาบลกระบน ตาบลบา้ นนา เกาะปลายตนี เกาะกุฏิ เกาะยุ้งเกลือ เกาะมันใน
เกาะมันกลาง เกาะมันนอก
Cluster ๓ ตาบลตาสิทธิ์ ตาบลหนองไร่ ตาบลละหาร ตาบลปลวกแดง ตาบลมาบยางพร ตาบลพนานิคม
(๒๑ ตาบล) ตาบลแม่นา้ ตู้ ตาบลหนองบัว ตาบลบางบุตร ตาบลขากบก ตาบลตาชัน ตาบลบา้ นค่าย ตาบล
หนองตะพาน ตาบลหนองละลอก ตาบลนิคมพฒั นา ตาบลมะขามคู่ ตาบลสานกั ทอ้ น ตาบล
บ้านฉลาง ตาบลพลา
Cluster ๔ ตาบลมาบตาพุด
(๑ ตาบล)
ตารางที่ ๔ - ๓๘ พน้ื ที่การจัดการมลู ฝอยขององค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ จงั หวดั ระยอง
รายชือ่ องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น ปรมิ าณขยะทนี่ าไปท้ิง (ตนั วัน) ระยะทางขนส่งไปถงึ สถานท่ีกาจัด
(กิโลเมตร)
อบจ.ระยอง ๑ ๑๐
ทน.ระยอง ๑๐๑.๐๒ ๗
ทม.มาบตาพุด ๘
ทม.บ้านฉาง ๑๐๐ ๒๗
๓๘.๙๔
ทต.บ้านเพ ๒๑.๑๘ ๒๔
ทต.แกลงกะเฉด ๖.๒๐ ๓๗
ทต.เนินพระ ๒๒.๒๖ ๙
ทต.ทบั มา ๒๙.๓๘ ๔
ทต.น้าคอก ๖.๐๑ ๕
ทต.เชงิ เนิน ๔๐.๗๗ ๑๐
อบต.ตะพง ๑๙.๔๕ ๑๙
อบต.นาตาขวญั ๓.๘๘ ๑๔
อบต.บ้านแลง ๔.๑๑ ๑๘
อบต.แกลง ๕.๐๔ ๓๘
อบต.สานกั ทอง ๒.๙๓ ๓๕
อบต.เพ ๒๑.๑๘ ๒๙
ทต.บ้านคา่ ย ๕.๓๘ ๙
ทต.บา้ นค่ายพัฒนา ๔.๑๙ ๑๐
ทต.ชากบก ๓.๔๓ ๑๖
อบต.บางบุตร ๕.๐๕ ๑๘
โครงการจดั ทาแผนสง่ิ แวดล้อมในพืน้ ที่เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๙๓
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดทา้ ย
รายชอ่ื องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ ปรมิ าณขยะทนี่ าไปท้ิง (ตนั วัน) ระยะทางขนสง่ ไปถงึ สถานที่กาจดั
(กโิ ลเมตร)
อบต.หนองละลอก ๙.๘๒ ๘
อบต.ตาขนั ๕.๘๗ ๘
อบต.หนองบัว ๖.๗๐ ๑๗
อบต.หนองตะพาน ๒.๗๓ ๒
ทต.สานักทอ้ น ๑๑.๑๗ ๔๐
ทต.พลา ๗.๘๒ ๓๓
อบต.สานักท้อน ๕.๕๕ ๔๐
ทต.บ้านฉาง ๓๐
ทต.มาบข่าพัฒนา ๑๐ ๘
ทต.ปากน้าประแส ๑๒.๔๒ ๒๙
ทต.ทงุ่ ควายกิน ๒.๘๘ ๒๐
ทต.เนนิ ฆอ้ ๔.๓๑ ๑๓
ทต.กองดิน ๒.๐๔ ๒๗
ทต.สนุ ทรภู่ ๓.๒๕ ๑๖
ทต.สองสลึง ๑๓.๕๗ ๙
อบต.กองดิน ๓.๒๖ ๒๔
อบต.คลองปูน ๒.๒๘ ๒๔
อบต.วังหว้า ๒.๘๖ ๗
อบต.ห้วยยาง ๕.๔๙ ๓
อบต.พงั ราด ๓.๓๓ ๓๐
อบต.ชากโดน ๒.๓๗ ๑๒
อบต.ทุ่งควายกนิ ๒.๘๑ ๒๑
อบต.กระแสบน ๔.๓๑ ๑๙
อบต.ทางเกวยี น ๔.๗๙ ๑๘
ทต.ชุมแสง ๔.๘๒ ๓๔
อบต.ชุมแสง ๔.๔๑ ๓๕
อบต.วงั จนั ทร์ ๒๖
อบต.ป่ายบุ ใน ๒ ๔๕
อบต.พลงตาเอี่ยม ๒.๑๗ ๒๙
ทต.ชาฆอ้ ๓.๑๙ ๒๙
อบต.นา้ เป็น ๑.๕๒ ๒๘
ทต.บา้ นปลวกแดง ๑.๕๙ ๒๗
ทต.จอมพลเจ้าพระยา ๒.๙๘ ๓๗
อบต.มาบยางพร ๑๒.๓๗ ๓๖
อบต.ปลวกแดง ๑.๕๐ ๒๗
อบต.ตาสิทธิ์ ๕๙.๓๔ ๓๗
อบต.หนองไร่ ๕๗.๕๙ ๓๗
๑๓.๖๗
๑.๒๓
โครงการจัดทาแผนสงิ่ แวดลอ้ มในพื้นท่เี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๙๔
สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย
รายชอื่ องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน ปรมิ าณขยะทนี่ าไปทิ้ง (ตัน วัน) ระยะทางขนสง่ ไปถงึ สถานที่กาจัด
(กโิ ลเมตร)
อบต.แม่นา้ คู้ ๑๓.๗๓ ๑๖
อบต.ละหาร ๓.๕๓ ๓๔
ทต.มาบข่า ๒๘.๗๙ ๙
ทต.มะขามคู่ ๒๒ ๑๐
อบต.นคิ มพัฒนา ๑๘.๒๕ ๕
อบต.พนานิคม ๑๒.๙๙ ๘
ทต.เมืองแกลง ๓๐ ๑๒
รวม ๘๖๙ -
ทมี่ า : บญั ชกี ารรวมกลมุ่ พืน้ ท่ีการจัดการมูลฝอยขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ , กรมสง่ เสรมิ การปกครองทอ้ งถ่ิน, ๒๕๖๔
โครงการจดั ทาแผนสิ่งแวดลอ้ มในพน้ื ท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๙๕
สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม รายงานฉบบั สดุ ท้าย
ทม่ี า: ดัดแปลงจากระบบสารสนเทศด้านการจดั การขยะมลู ฝอยชมุ ชน, กรมควบคุมมลพิษ, ๒๕๖๒
ภาพที่ ๔ - ๓๖ การรวมกลุ่มพ้นื ทีบ่ ริหารจัดการขยะมูลฝอย (Cluster) ในพ้นื ท่เี ขตพฒั นาพิเศษภาค
ตะวนั ออก
โครงการจัดทาแผนส่ิงแวดลอ้ มในพ้นื ทีเ่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๙๖
สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดท้าย
๒) แนวโน้มปริมาณขยะมลู ฝอยชมุ ชน
ในการพิจารณาแนวโน้มปริมาณขยะมูลฝอยชุมชน สามารถประเมินอัตราการเกิดขยะมูลฝอย
จากโครงการพัฒนากลไกสนับสนุนทางวิชาการเพ่ือนาสู่กระบวนการสร้างพื้นท่ีสุขภาวะและสิ่งแวดล้อมทาง
กายภาพที่มีความยั่งยืนในบริบทเมืองโดยมีเกณฑ์การประเมินปริมาณขยะท่ีเกิด ขึ้นตามจานวนประชากร
ดังเกณฑ์ต่อไปนี้อตั ราการเกิดขยะมูลฝอย (กโิ ลกรัมตอ่ คนต่อวัน)
- มีปรมิ าณน้อยกว่า ๐.๙ กิโลกรัมตอ่ คนต่อวนั อยู่ในเกณฑ์ ดี
- มีปริมาณ ๐.๙ - ๑.๑ กิโลกรมั ต่อคนต่อวนั อยู่ในเกณฑ์ ปกติ
- มปี รมิ าณ มากกว่า ๑.๑ กิโลกรัมตอ่ คนตอ่ วัน อยใู่ นเกณฑ์ สูงเกินปกติ
ปัจจุบันมีปริมาณขยะมูลฝอยท่ีเกิดข้ึนทั้งหมดในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ๔,๘๙๙
ตันต่อวัน โดยอัตราการเกิดขยะมูลฝอยของจังหวัดฉะเชิงเทรา มีปริมาณ ๑.๐๘ กิโลกรัมต่อคนต่อวัน อยู่ใน
เกณฑ์ปกติ จังหวัดชลบุรีมีอัตราการเกิดขยะมูลฝอย ปริมาณ ๑.๒๐ กิโลกรัมต่อคนต่อวัน อยู่ในเกณฑ์สูงกว่า
ปกติ จงั หวัดระยองมอี ัตราการเกิดขยะมูลฝอย ปริมาณ ๐.๘๙ กิโลกรัมต่อคนตอ่ วัน อยู่ในเกณฑ์ดี และในพ้นื ที่
เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก มีอัตราการเกิดขยะมูลฝอยเฉล่ีย ปริมาณ ๓.๑๗ กิโลกรัมต่อคนต่อวัน อยู่ใน
เกณฑส์ งู เกนิ ปกติ (ตารางท่ี ๔ - ๓๙)
ตารางที่ ๔ - ๓๙ ขอ้ มูลปริมาณขยะท่ีเกดิ ขึ้นในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก
จังหวดั ปรมิ าณขยะมลู ฝอยที่เกดิ ขนึ้ (ตนั วัน) อัตราการเกดิ ขยะมลู ฝอย (กก. คน วัน)
ฉะเชงิ เทรา ๘๙๒ ๑.๐๘
ชลบรุ ี ๓,๐๑๘ ๑.๒๐
ระยอง ๙๘๙ ๐.๘๙
รวม ๔,๘๙๙ ๓.๑๗
ที่มา: โครงการพฒั นาระบบสารสนเทศ ด้านการจดั การขยะมลู ฝอยชมุ ชน กรมควบคุมมลพิษ (๒๕๖๓)
หมายเหตุ: อตั ราการเกดิ ขยะมลู ฝอยคานวณมาจาก ปริมาณขยะที่เกดิ ขน้ึ (กก/วัน) / จานวนประชากรรวม (คน)
อตั ราการเกิดขยะมลู ฝอยรวมคานวณมาจาก การเฉลีย่ อตั รารวมการเกดิ ขยะมลู ฝอยท้งั ๓ จังหวดั
แนวโน้มปัญหาวิกฤตด้านการจัดการขยะมูลฝอยในพ้ืนที่ วิเคราะห์จากอัตราการเกิดขยะมูล
ฝอย จากข้อมูลสถิติของพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกมีปริมาณอัตราการเกิดขยะมูลฝอยในปี พ.ศ.
๒๕๕๘ จานวน ๑.๓๓ กิโลกรัมต่อคนต่อวัน ปีพ.ศ. ๒๕๕๙ เพ่ิมเป็น ๓.๐๓ กิโลกรัมต่อคนต่อวัน ปี พ.ศ.
๒๕๖๐ เพ่ิมอีกเป็น ๓.๐๗ กิโลกรัมต่อคนต่อวัน ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ ลดลงเป็น ๒.๙๐ กิโลกรัมต่อคนต่อวัน ปี
พ.ศ. ๒๕๖๒ เพ่ิมขึ้นเปน็ ๒.๙๗ กโิ ลกรมั ต่อคนต่อวัน และปี พ.ศ. ๒๕๖๓ เพ่ิมขนึ้ ๓.๑๗ กโิ ลกรมั ต่อคนต่อวัน
เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑ์การประเมินปริมาณขยะท่ีเกิดขึ้นตามจานวนประชากรแล้ว พบว่า ต้ังแต่ปี พ.ศ.
๒๕๕๘ - ๒๕๖๓ อย่ใู นเกณฑส์ ูงเกินปกติ หากพจิ ารณาแนวโน้มในรายจงั หวดั พบว่า จงั หวดั ฉะเชิงเทรา จงั หวัด
ชลบุรี และจังหวัดระยอง มีแนวโน้มของอัตราการเกิดขยะมูลฝอยสูงข้ึน และในจังหวัดชลบุรีมีแนวโน้มสูง
ขนึ้ อย่ใู นเกณฑ์สูงเกินปกติ (ตารางท่ี ๔ - ๔๐ และ ภาพที่ ๔ - ๓๗)
โครงการจดั ทาแผนสิ่งแวดลอ้ มในพน้ื ทเี่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๙๗
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดทา้ ย
ตารางที่ ๔ - ๔๐ อัตราการเกดิ ขยะมูลฝอย พืน้ ทีเ่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ปี พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๖๓
อัตราการเกดิ ขยะมูลฝอย (กก. คน วนั )
พืน้ ที่ พ.ศ. ๒๕๕๘ พ.ศ. ๒๕๕๙ พ.ศ. ๒๕๖๐ พ.ศ. ๒๕๖๑ พ.ศ. ๒๕๖๒ พ.ศ.๒๕๖๓
ฉะเชิงเทรา ๐.๗๓ ๐.๙๔ ๐.๙๗ ๐.๘๗ ๐.๘๙ ๑.๐๘
ชลบุรี ๐.๒๐ ๑.๑๖ ๑.๑๐ ๑.๐๙ ๑.๒๐ ๑.๒๐
ระยอง ๐.๔๑ ๐.๙๒ ๑.๐๐ ๐.๙๔ ๐.๘๘ ๐.๘๙
พน้ื ท่ี EEC ๑.๓๓ ๓.๐๓ ๓.๐๗ ๒.๙๐ ๒.๙๗ ๓.๑๗
ท่ีมา: โครงการพฒั นาระบบสารสนเทศ ด้านการจดั การขยะมลู ฝอยชมุ ชน กรมควบคุมมลพิษ (๒๕๖๓)
ภาพท่ี ๔ - ๓๗ อตั ราการเกิดขยะมูลฝอย พนื้ ทเ่ี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ปพี .ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๖๓
การจัดการขยะมูลฝอยชุมชน เม่ือพิจารณาข้อมูลการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของท้ัง ๓
จังหวัด มีการรวมกลุ่มพื้นที่เพื่อบริหารจัดการขยะมูลฝอย (Cluster) ในพ้ืนท่ี ส่วนการกาจัดขยะมูลฝอยท่ี
ถูกต้องตามหลักวิชาการยังไม่สามารถดาเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพสูง อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาอัตรา
การผลิตขยะมูลฝอยของทง้ั ๓ จังหวัดค่อนขา้ สงู ประกอบกับพน้ื ท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออกจะมแี รงงาน
และนักท่องเที่ยวท่ีเข้ามาอีกจานวนมาก จะส่งผลต่อการเก็บขนและการกาจัดให้มีประสิทธิภาพในการรองรับ
ปริมาณขยะมูลฝอยท่ีจะเกิดข้ึนในอนาคต ดังน้ันจึงจาเป็นต้องเตรียมการเพิ่มประสิทธิภาพระบบกาจัดขยะมูล
ฝอยด้วยเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพสูง รวมถึงการสร้างความตระหนักในการคัดแยกขยะท่ีต้นทาง และการ
ปฏิบัติตามหลักการเศรษฐกิจหมุนเวียนท่ีช่วยลดปริมาณขยะและสามารถสร้างรายได้ให้กับของเหลือใช้ได้
โดยเฉพาะขยะเปียกเป็นแก๊สชีวภาพในโรงงานไฟฟ้าชีวมวล สามารถลดการใช้ฟอสซิล ลดปัญหาการฝังกลบ
ขยะ และลดการกอ่ กา๊ ซมเี ทนด้วย
โครงการจดั ทาแผนสิ่งแวดลอ้ มในพน้ื ทเี่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๙๘
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม รายงานฉบับสุดทา้ ย
๓) การคาดการณป์ รมิ าณขยะมลู ฝอยทีเ่ กดิ ขึน้ ปี พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๗๐
จากรายงานสถานการณ์ปริมาณขยะมูลฝอยพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ปีพ.ศ.
๒๕๖๐ - ๒๕๖๒ ซ่ึงปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขนึ้ ปีพ.ศ. ๒๕๖๐ เท่ากับ ๔,๒๓๖.๑๑ ตันต่อวัน ปีพ.ศ. ๒๕๖๑
เท่ากับ ๔,๒๐๓.๕๕ ตันต่อวัน ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ เท่ากับ ๔,๕๗๗.๖๒ ตันต่อวัน และปีพ.ศ. ๒๕๖๓ เท่ากับ
๔,๘๙๙.๓๘ ตันต่อวัน ในพื้นท่ีรับผิดชอบ ๓ จังหวัด แสดงให้เห็นว่าปริมาณขยะท่ีเกิดข้ึนมีปริมาณที่เพ่ิมข้ึน
และเมื่อคาดการณ์แนวโน้มปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นในอนาคตข้างหน้าอกี ๖ ปี โดยการคาดการณ์จานวน
ประชากรในปีพ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๗๐ นามาวเิ คราะห์ร่วมกันกบั อตั ราการผลิตขยะมูลฝอยต่อคนต่อวัน ซึ่งอัตรา
การผลิตขยะมูลฝอยต่อคนต่อวัน ท่ีจะใช้ประกอบการคานวณ คือ ๑.๑๗ กิโลกรัมต่อวัน อ้างอิงจากกรม
ส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ซ่ึงนามาคานวณปริมาณขยะมูล
ฝอยทเ่ี กิดขึน้ ในอนาคต
จากการคาดการณ์ปริมาณขยะมูลฝอยในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๔ -
๒๕๗๐ อัตราการเปล่ียนแปลงปริมาณขยะจากข้อมูลระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๖๔ ถึง พ.ศ.๒๕๗๐ พบว่า ปริมาณ
ขยะมีแนวโน้มเพ่ิมข้ึน ทั้งในภาพรวมของพื้นที่ EEC และรายจังหวัดท้ัง ๓ จังหวัด แสดงดังตารางท่ี ๔ - ๔๑
และภาพที่ ๔ - ๓๘
ตารางท่ี ๔ - ๔๑ การคาดการณ์ปริมาณขยะมูลฝอยในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๔
– ๒๕๗๐
ปรมิ าณขยะมลู ฝอยทีจ่ ะเกิดขน้ึ ในอนาคต (ตันตอ่ วนั )
พืน้ ที่ พ.ศ. ๒๕๖๔F พ.ศ. ๒๕๖๕F พ.ศ. ๒๕๖๖F พ.ศ. ๒๕๖๗F พ.ศ. ๒๕๖๘F พ.ศ.๒๕๖๙F พ.ศ.๒๕๗๐F
ฉะเชิงเทรา ๑.๐๘ ๑,๐๑๓ ๑,๐๓๕ ๑,๐๕๘ ๑,๐๘๓ ๑,๑๐๘ ๑,๑๓๔ ๑,๑๖๓
ชลบุรี ๑.๒๐ ๓,๑๓๓ ๓,๒๖๗ ๓,๓๙๐ ๓,๕๐๓ ๓,๕๙๖ ๓,๖๙๘ ๓,๘๐๓
ระยอง ๐.๘๙ ๑,๓๙๙ ๑,๔๘๒ ๑,๕๘๔ ๑,๗๐๒ ๑,๘๓๕ ๑,๙๘๕ ๒,๑๖๑
พ้นื ท่ี EEC ๓.๑๗ ๕,๕๔๖ ๕,๗๘๓ ๖,๐๓๒ ๖,๒๘๗ ๖,๕๓๙ ๖,๘๑๘ ๗,๑๒๖
หมายเหตุ: ๑) ปรมิ าณขยะทีจ่ ะเกดิ ข้นึ ในอนาคตคานวณมาจาก จานวนประชากรจากการคาดการณ์ (คน) คณู ดว้ ยอัตราการ
เกดิ ขยะมลู ฝอย ซ่ึงเป็นคา่ คงที่ ๑.๑๗ กโิ ลกรมั ตอ่ วัน อ้างองิ จากกรมส่งเสรมิ คณุ ภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวง
ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม
๒) จานวนประชากรที่คาดการณเ์ ป็นการคาดการณ์ประชากรจงั หวดั ในพน้ื ทเี่ ขตพฒั นาพเิ ศษของสานกั งาน
คณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๗๐
๓) F คอื Forecast
โครงการจดั ทาแผนสิง่ แวดล้อมในพืน้ ที่เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๙๙
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ท้าย
ภาพที่ ๔ - ๓๘ การคาดการณ์ปริมาณขยะมูลฝอยในพ้นื ทเี่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก พ.ศ. ๒๕๖๔ –
๒๕๗๐
๔.๑.๘.๒ ขยะทะเล
๑) สถานการณข์ ยะทะเล
สถานการณ์ขยะทะเลของพ้ืนที่จังหวัดชลบุรีในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ พบว่า
มีปริมาณขยะทะเลที่เกิดขึ้นทั้งหมด ๗,๙๖๐ ช้ินต่อปี โดย ๕ อันดับแรกที่พบมากท่ีสุดคือ ถุงพลาสติกอ่ืน ๆ
พบจานวนมากเป็นอันดับท่ี ๑ จานวน ๒,๕๙๖ ชิ้น คิดเป็นร้อยละ ๓๒.๖๑ ของปริมาณขยะทะเลท่ีเกิดข้ึน
ลาดับที่ ๒ คือ ปริมาณบุหร่/ี กน้ กรองบุหรี่ จานวน ๙๑๑ ชนิ้ คดิ เป็นรอ้ ยละ ๑๑.๔๔ ลาดับท่ี ๓ คือ ปริมาณฝา
จุกขวด (พลาสติก) จานวน ๗๕๒ ช้ิน คิดเป็นร้อยละ ๙.๔๕ ของปริมาณขยะทะเลทั้งหมดท่ีเกดิ ขึ้น อันดับที่ ๔
คือ ปริมาณหลอด/ท่ีคนเครื่องด่ืม มีจานวน ๖๔๗ ชิ้น คิดเป็นร้อยละ ๘.๑๓ ของปริมาณขยะทะเลทั้งหมดท่ี
เกิดขึ้น และอันดับท่ี ๕ คือ ปริมาณเชือก (๑ เมตร = ๑ ช้ิน) มีจานวน ๕๗๕ คิดเป็นร้อยละ ๗.๒๒ ของ
ปริมาณขยะทะเลท้ังหมดท่ีเกิดขึ้น นอกจากน้ันยังพบขยะทะเลประเภทอ่ืน ๆ ด้วย ได้แก่ กล่องอาหาร (โฟม)
ถ้วย/จาน (พลาสติก) ขวดเคร่ืองด่ืม (แก้ว) ขวดน้าดื่ม (พลาสติก) ปริมาณห่อ/ถุงอาหาร (ท๊อฟฟ่ี, มันฝรั่งอบ
กรอบอื่น ๆ) ดงั ตารางท่ี ๔ - ๔๒ และภาพท่ี ๔ - ๓๙ (จากกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง, ๒๕๖๐)
โครงการจดั ทาแผนส่งิ แวดล้อมในพื้นทีเ่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๐๐
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม รายงานฉบับสดุ ทา้ ย
ตารางท่ี ๔ - ๔๒ ชนดิ และปริมาณขยะทะเลในจังหวดั ชลบุรี ปีงบประมาณ ๒๕๕๙
อนั ดบั ชนิดขยะทะเล จานวน (ชิ้น) ร้อยละ
๑ ถงุ พลาสตกิ อน่ื ๆ ๒,๕๙๖ ๓๒.๖๑
๒ บุหรี่/กน้ กรองบุหรี่ ๙๑๑ ๑๑.๔๔
๓ ฝาจุกขวด (พลาสตกิ ) ๗๕๒ ๙.๔๕
๔ หลอด/ที่คนเครอื่ งด่มื ๖๔๗ ๘.๑๓
๕ เชอื ก (๑ เมตร = ๑ ชน้ิ ) ๕๗๕ ๗.๒๒
๖ กล่องอาหาร (โฟม) ๓๕๓ ๔.๔๓
๗ ถ้วย/จาน (พลาสติก) ๒๔๖ ๓.๐๙
๘ ขวดเครอ่ื งด่มื (แกว้ ) ๒๑๙ ๒.๗๕
๙ ขวดน้าดื่ม (พลาสตกิ ) ๒๑๕ ๒.๗๐
๑๐ ห่อ/ถงุ อาหาร (ทอ๊ ฟฟ่ี, มนั ฝรั่งอบกรอบ อนื่ ๆ) ๑๕๒ ๑.๙๑
๑๑ หอ่ บหุ รี่/กระปอ๋ งยาเสน้ ๙๖ ๑.๒๑
๑๒ กล่องนม/นา้ ผลไม้ ๗๐ ๐.๘๘
๑๓ ผา้ อนามยั แบบสอด/อปุ กรณ์ ๕๒ ๐.๖๕
๑๔ วสั ดุก่อสรา้ ง ๒๙ ๐.๓๖
๑๕ ของเล่น/ปืน/ไดโนเสาร/์ ตุ๊กตา ๒๕ ๐.๓๑
๑๖ รถ/ช้ินส่วนรถ ๒๔ ๐.๓๐
๑๗ เส้ือผ้า/รองเทา้ /เคร่ืองประดบั /แวน่ ตา/สร้อยคอ ๒๐ ๐.๒๕
๑๘ กระป๋องเคร่ืองด่มื ๒๐ ๐.๒๕
๑๙ ไฟแช๊ค ๑๗ ๐.๒๑
๒๐ ของใช้ประจาวนั /หลอดยาสฟี นั /แปรงสีฟัน ๑๖ ๐.๒๐
๒๑ เหย่อื ตกปลา ๑๔ ๐.๑๘
๒๒ ลูกโป่ง ๑๓ ๐.๑๖
๒๓ เอ็นตกปลา (๑ เมตร = ๑ ช้ิน) ๑๑ ๐.๑๔
๒๔ ถุงยางอนามยั ๖ ๐.๐๘
๒๕ ไม้หนีบผา้ /ไมแ้ ขวนเสอ้ื ๕ ๐.๐๖
๒๖ ขวดพลาสตกิ อ่ืนๆ (ขวดนา้ มนั , ขวดนา้ ยาฟอกขาว ฯลฯ) ๕ ๐.๐๖
๒๗ เฟอรน์ เิ จอร์ เตียง เก้าอ้ี ๔ ๐.๐๕
๒๘ หลอดไฟ ๔ ๐.๐๕
๒๙ ผา้ อ้อม ๔ ๐.๐๕
๓๐ เขม็ ฉีดยา ๔ ๐.๐๕
๓๑ แห อวน/เศษ ๒ ๐.๐๓
๓๒ กลอ่ งใสเ่ หย่ือ ๒ ๐.๐๓
๓๓ ห่วงรดั ๒ ๐.๐๓
๓๔ ฝาจกุ ขวด(โลหะ) ๒ ๐.๐๓
๓๕ ทุน่ ลอย ๒ ๐.๐๓
๓๖ ยางรถยนต์ ๑ ๐.๐๑
๓๗ อ่ืน ๆ ๘๔๔ ๑๐.๖๐
ผลรวมปริมาณขยะทั้งหมด ๗,๙๖๐ ๑๐๐
ท่ีมา: ฐานขอ้ มลู ขยะทะเล, กรมมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝ่งั , ๒๕๖๐
โครงการจดั ทาแผนสงิ่ แวดล้อมในพืน้ ทเี่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๐๑
สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดท้าย
ภาพที่ ๔ - ๓๙ ชนิดและปริมาณขยะทะเล ๑๐ อนั ดับแรกในจังหวัดชลบรุ ี ปีงบประมาณ ๒๕๕๙
สถานการณ์ขยะทะเลของพื้นท่ีจังหวัดระยองในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ พบวา่ มี
ปริมาณขยะทะเลท่ีเกดิ ข้ึนท้ังหมด ๑๘,๔๗๖ ชิน้ ต่อปี โดย ๕ อันดับแรกที่พบมากท่ีสุด คือ ถุงพลาสตกิ อื่นๆ มี
จานวนมากเป็นอันดบั ที่ ๑ คือ ๕,๑๓๒ ชิ้น คิดเป็นร้อยละ ๒๗.๗๘ ของปริมาณขยะทะเลท่ีเกิดข้ึน อันดบั ท่ี ๒
ปริมาณฝาจุกขวด (พลาสติก) มีจานวน ๒,๒๐๗ ชิ้น คิดเป็นร้อยละ ๑๑.๙๕ ของปริมาณขยะทะเลท่ีเกิดข้ึน
อันดับที่ ๓ คือ ปริมาณหลอด/ท่ีคนเครื่องดื่ม มีจานวน ๑,๘๗๓ คิดเป็นร้อยละ ๑๐.๑๔ อันดับท่ี ๔ ปริมาณ
เชือก (๑ เมตร = ๑ ชิ้น) มีจานวน ๑,๕๒๑ ชิ้น คิดเป็นร้อยละ ๘.๒๓ ของปริมาณขยะทะเลท้ังหมดที่เกิดขึ้น
และอันดับท่ี ๕ คือ ปริมาณกล่องอาหาร (โฟม) มีจานวน ๑,๔๔๕ ชิ้น คิดเป็นร้อยละ ๗.๘๒ ของปริมาณขยะ
ทะเลทั้งหมดท่ีเกิดข้ึน นอกจากนน้ั ยังพบขยะทะเลประเภทอืน่ ๆ ด้วย เช่น ถ้วย/จาน (พลาสติก) กล่องอาหาร
(โฟม) ขวดเครื่องดื่ม (พลาสติก) ขวดเคร่ืองดื่ม (แก้ว) กล่องนม/น้าผลไม้ และอื่น ๆ ดังตารางท่ี ๔ - ๔๓ และ
ภาพที่ ๔ - ๔๐ (จากกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง่ั , ๒๕๖๐)
ตารางที่ ๔ - ๔๓ ชนดิ และปริมาณขยะทะเลในจงั หวัดระยอง ปีงบประมาณ ๒๕๕๙
อันดบั ชนดิ ขยะทะเล จานวน (ช้นิ ) รอ้ ยละ
๒๗.๗๘
๑ ถงุ พลาสตกิ อ่ืน ๆ ๕,๑๓๒ ๑๑.๙๕
๑๐.๑๔
๒ ฝาจกุ ขวด (พลาสตกิ ) ๒,๒๐๗ ๘.๒๓
๗.๘๒
๓ หลอด/ที่คนเครื่องดมื่ ๑,๘๗๓ ๗.๑๑
๓.๕๓
๔ เชอื ก (๑ เมตร = ๑ ชนิ้ ) ๑,๕๒๑
๕ กล่องอาหาร (โฟม) ๑,๔๔๕
๖ ถ้วย/จาน (พลาสตกิ ) ๑,๓๑๓
๗ ถว้ ย/จาน (โฟม) ๖๕๒
โครงการจดั ทาแผนส่ิงแวดลอ้ มในพน้ื ทเ่ี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๐๒
สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ท้าย
อันดบั ชนิดขยะทะเล จานวน (ชิ้น) ร้อยละ
๘ ขวดเคร่ืองดื่ม (พลาสติก) ๕๙๒ ๓.๒๐
๙ ขวดเครือ่ งดม่ื (แก้ว) ๔๑๘ ๒.๒๖
๑๐ กล่องนม/น้าผลไม้ ๔๑๘ ๒.๒๖
๑๑ กระดาษ/หนงั สือพิมพ/์ ใบบลวิ ๔๑๖ ๒.๒๕
๑๒ กระปอ๋ งเครอ่ื งดม่ื ๒๓๗ ๑.๒๘
๑๓ บหุ ร/่ี ก้นกรองบุหรี่ ๒๒๘ ๑.๒๓
๑๔ ฝาจุกขวด(โลหะ) ๒๐๕ ๑.๑๑
๑๕ หอ่ /ถงุ อาหาร (ท๊อฟฟ,่ี มันฝรั่งอบกรอบ อื่นๆ) ๑๙๙ ๑.๐๘
๑๖ กน้ ซิการ์ ๑๙๕ ๑.๐๖
๑๗ เส้ือผา้ /รองเท้า/เคร่อื งประดับ/แวน่ ตา/สรอ้ ยคอ ๑๙๔ ๑.๐๕
๑๘ ท่นุ ลอย ๑๗๕ ๐.๙๕
๑๙ ของเลน่ /ปืน/ไดโนเสาร/์ ต๊กุ ตา ๑๔๘ ๐.๘๐
๒๐ ห่อบุหร/่ี กระปอ๋ งยาเสน้ ๑๒๔ ๐.๖๗
๒๑ ของใช้ประจาวนั /หลอดยาสีฟัน/แปรงสฟี ัน ๑๐๑ ๐.๕๕
๒๒ ลูกโป่ง ๘๖ ๐.๔๗
๒๓ ห่วงรัด ๓๙ ๐.๒๑
๒๔ ขวดพลาสตกิ อื่น ๆ (ขวดน้ามัน, ขวดนา้ ยาฟอกขาว ฯลฯ) ๓๓ ๐.๑๘
๒๕ เหยอื่ ตกปลา ๓๒ ๐.๑๗
๒๖ ผ้าออ้ ม ๓๑ ๐.๑๗
๒๗ แผ่นพลาสตกิ /ผ้าใบคลุมของในเรอื ๒๗ ๐.๑๕
๒๘ ลังไม้ ๒๗ ๐.๑๕
๒๙ ลอบ ป/ู กุ้ง/ปลา ๒๖ ๐.๑๔
๓๐ เอ็นตกปลา (๑ เมตร = ๑ ชิ้น) ๒๐ ๐.๑๑
๓๑ ถุงยางอนามยั ๑๘ ๐.๑๐
๓๒ ไม้หนีบผ้า/ไม้แขวนเสอ้ื ๑๕ ๐.๐๘
๓๓ ตะกวั่ /กระสุน/ปลอกกระสนุ ๑๕ ๐.๐๘
๓๔ วัสดกุ อ่ สร้าง ๑๓ ๐.๐๗
๓๕ แห อวน/เศษ ๑๑ ๐.๐๖
๓๖ กลอ่ งใสเ่ หย่อื ๘ ๐.๐๔
๓๗ แผน่ วางสินคา้ ๗ ๐.๐๔
๓๘ เฟอรน์ เิ จอร์ เตียง เก้าอ้ี ๗ ๐.๐๔
๓๙ ยางรถยนต์ ๔ ๐.๐๒
๔๐ เคร่อื งใช้ไฟฟา้ (ตู้เย็น, เครื่องซกั ผา้ ) ๔ ๐.๐๒
๔๑ เขม็ ฉดี ยา ๓ ๐.๐๒
๔๒ รถ/ชิ้นส่วนรถ ๒ ๐.๐๑
๔๓ แบตเตอร่ี ๑ ๐.๐๑
โครงการจดั ทาแผนสิ่งแวดล้อมในพนื้ ทีเ่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๐๓
สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม รายงานฉบับสุดท้าย
อันดบั ชนดิ ขยะทะเล จานวน (ชนิ้ ) รอ้ ยละ
๔๔ ถังน้ามันขนาด ๕๕ แกลลอน ๑ ๐.๐๑
๔๕ อนื่ ๆ ๑.๓๗
๒๕๓ ๑๐๐
ผลรวมปรมิ าณขยะท้ังหมด ๑๘,๔๗๖
ทม่ี า: ฐานข้อมลู ขยะทะเล, กรมมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝั่ง, ๒๕๖๐
ภาพที่ ๔ - ๔๐ ชนดิ และปริมาณขยะทะเล ๑๐ อันดับแรกในจังหวดั ระยอง ปีงบประมาณ ๒๕๕๙
จากข้อมูลปริมาณขยะทะเลท่ีพบในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศาภาคตะวันออก มีจานวน
๒๖,๔๓๖ ชิ้น โดยพบขยะทะเลในจังหวัดชลบุรี จานวน ๗,๙๖๐ ชิ้น และจังหวัดระยอง ๑๘,๔๗๖ ชิ้น
ทั้งนี้ฐานข้อมูลขยะทะเล ไม่พบการรายงานปริมาณขยะทะเลท่ีพบในจังหวัดฉะเชิงเทรา (กรมมทรัพยากรทาง
ทะเลและชายฝั่ง, ๒๕๖๐) ท้ังน้ี ในประเด็นของขยะทะเลจากการดาเนินงานของกรมทรัพยากรทางทะเลและ
ชายฝ่ังจัดการเก็บขยะตกค้างในระบบนิเวศชายฝั่ง ได้แก่ ชายหาด ปะการัง และ ป่าชายเลน พบว่า ใน
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ พบปริมาณขยะตกค้างในระบบนิเวศชายฝ่ัง และเฉพาะกิจ ในพื้นท่ีเขตพัฒนา
พิเศษภาคตะวันออก จานวน ๑๐,๖๑๗ ชิ้น หรือเท่ากับ ๒,๗๓๖ กิโลกรัม (กรมมทรัพยากรทางทะเลและ
ชายฝง่ั , ม.ป.ป.)
หากพิจารณาในรายจังหวัด พบว่า จังหวัดฉะเชิงเทรา มีจานนวนขยะ ๑,๑๒๓ ชิ้น
คิดเป็นร้อยละ ๑๐.๖ ของจานวนชิ้นขยะทะเลทั้งหมด มีน้าหนักรวม ๓๘๒ กิโลกรัม คิดเป็นร้อยละ ๑๔
ของจานวนน้าหนักทั้งหมด จังหวัดชลบุรีจานนวนขยะ ๑,๒๘๖ ช้ิน คิดเป็นรอ้ ยละ ๑๒.๑ ของจานวนชิ้นขยะ
ทะเลทั้งหมด มีน้าหนักรวม ๓๙๙.๐๐ กิโลกรัม คิดเป็นร้อยละ ๑๔.๖ ของจานวนน้าหนักท้ังหมด
และจังหวัดระยองจานนวนขยะ ๘,๒๐๘ ชิ้น คิดเป็นรอ้ ยละ ๗๗.๓ ของจานวนชิน้ ขยะทะเลทั้งหมด มีน้าหนัก
รวม ๑,๙๕๕.๐๐ กโิ ลกรัม คิดเป็นรอ้ ยละ ๗๑.๑ ของจานวนน้าหนักทงั้ หมด
โครงการจัดทาแผนสงิ่ แวดล้อมในพ้ืนทเี่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๐๔
สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม รายงานฉบบั สุดท้าย
ตารางที่ ๔ - ๔๔ ปรมิ าณและนา้ หนักรวมของขยะตกค้างในระบบนเิ วศชายฝ่งและเฉพาะกิจใน
ปีงบประมาณ ๒๕๖๐
จงั หวดั จานวน (ช้ิน) นา้ หนกั รวม (กโิ ลกรมั )
ฉะเชงิ เทรา ๑,๑๒๓ ๓๘๒
ชลบรุ ี ๑,๒๘๖ ๓๙๙
ระยอง ๘,๒๐๘ ๑,๙๕๕
พื้นท่ี EEC ๑๐,๖๑๗ ๒,๗๓๖
ทมี่ า: กรมมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง่ั , ม.ป.ป.
๒) แนวโนม้ ปรมิ าณขยะทะเล ปงี บประมาณ ๒๕๕๗ - ๒๕๕๙
จากการวิเคราะห์แนวโนม้ ปริมาณขยะทะเล ในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
ปีงบประมาณ ๒๕๕๗ - ๒๕๕๙ อัตราการเปล่ียนแปลงปริมาณขยะทะเล จากข้อมูลระหว่างปีงบประมาณ
๒๕๕๗ ถึง ๒๕๕๙ จังหวัดชลบุรี พบวา่ ปรมิ าณขยะทะเลมีแนวโน้มลดลงโดยมอี ัตราการลดลง ๓,๗๘๘.๕ ช้ิน
ต่อปี โดยมีค่าความเช่ือมั่นของข้อมูลอยู่ที่ร้อยละ ๖๓.๓๐ จังหวัดระยอง พบว่า ปริมาณขยะทะเลมีแนวโน้ม
เพ่ิมขึ้นโดยมีอัตราการเพิ่มขึ้น ๘,๔๖๐.๕ ชิ้นต่อปี โดยมีค่าความเช่ือมั่นของข้อมูลอยู่ท่ีร้อยละ ๙๕.๕๖ และ
พนื้ ที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พบว่า ปรมิ าณขยะทะเลมีแนวโนม้ เพ่ิมข้ึนโดยมอี ัตราการเพิ่มข้ึน ๔,๖๗๒
ชิ้นต่อปี โดยมคี ่าความเช่ือมั่นของขอ้ มลู อยู่ทรี่ ้อยละ ๙๕.๑๐ แสดงดงั ตารางที่ ๔ - ๔๕
ตารางท่ี ๔ - ๔๕ แสดงอัตราปรมิ าณขยะทะเล ปงี บประมาณ ๒๕๕๗ - ๒๕๕๙
ปริมาณขยะทะเล (ช้ินต่อป)ี
จงั หวัด ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙
๗,๙๖๐
ชลบรุ ี ๑๕,๕๓๗ ๑๖,๗๔๕ ๑๘,๔๗๖
๒๖,๔๓๖
ระยอง ๑,๕๕๕ ๖,๘๕๕
รวม ๑๗,๐๙๒ ๒๓,๖๐๐
ท่มี า: ฐานขอ้ มลู ขยะทะเล, กรมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝงั่ , ๒๕๖๐
๓) การจัดการขยะทะเล
ขยะในทะเล (Marine Debris) เป็นวัสดุแข็งที่ถูกทิ้งจากอุตสาหกรรม หรือ
กระบวนการผลิต หรือชุมชนริมชายฝั่ง โดยการจงใจทิ้งหรือการปล่อยปละท้ิงขว้างสู่สภาพแวดล้อมทางทะเล
และชายฝ่ัง ขยะในทะเลประกอบด้วยสิ่งของที่ถูกทาข้ึนหรือถูกใช้โดยมนุษย์ และเจตนาท้ิงลงสู่ทะเล แม่น้า
หรอื บนชายหาด ซึง่ ลงไปสทู่ ะเลโดยแม่นา้ แหลง่ น้าโสโครก กระแสนา้ ท่ีเชี่ยวกราด หรือกระแสลม รวมท้ังวตั ถุ
ที่สูญหายในทะเลในขณะท่ีสภาพอากาศเลวร้าย (เครื่องมือประมง สินค้าในเรือขนส่ง) หรือการเจตนาทิ้งโดย
มนุษย์บนชายหาดและชายฝั่ง ขยะในทะเลอาจจะพบใกล้แห่งที่เกิด แต่เกือบทั้งหมดสามารถถูกพัดพาไปได้ใน
ระยะทางไกล ๆ ด้วยกระแสน้าในมหาสมุทรและกระแสลม โดยต้นกาเนิดขยะในทะเลมาจากแหล่งสาคัญ
๒ แหล่ง คือต้นทางของขยะในทะเลท่ีอยู่บนแผ่นดิน และต้นทางของขยะในทะเลที่อยู่ในมหาสมุทร
(กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่งั , ๒๕๕๕)
โครงการจดั ทาแผนสง่ิ แวดลอ้ มในพ้นื ท่เี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๐๕
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สดุ ท้าย
๑. ต้นทางของขยะในทะเลที่อยู่บนแผ่นดิน ได้แก่ หลุมฝังกลบขยะชุมชนระบบการ
เก็บรวบรวมและขนย้ายขยะ(ทางบกและทางน้า)น้าที่เอ่อล้นไหลบ่าในช่วงฝนตกหนักสาม ารถพัดพาขยะลงสู่
ทะเลภาคอุตสาหกรรมและการผลิตการจัดการขยะมูลฝอยที่ไม่เหมาะสม และปรากฏการณ์ธรรมชาติ
๒. ต้นทางของขยะในทะเลท่ีอยู่ในมหาสมุทร อาจมาจากทั้งในทะเลและชายฝั่ง
เช่น การขนส่งทางเรือ เรือสาราญและเรือท่องเที่ยว การประมงทะเลและชายฝ่ัง แท่งขุดเจาะน้ามันและก๊าซ
ธรรมชาติ การทอ่ งเที่ยวบรเิ วณชายฝงั่ กจิ กรรมการเพาะเลยี้ งสตั วน์ า้
การจัดการขยะทะเล ต้องอาศัยความร่วมมือระหว่างภาครัฐกับหน่วยงานในท้องถ่ิน
ให้สามารถเกบ็ ขยะต้นทางในบริเวณพน้ื ที่เขตต่อชายฝ่ังทะเล ไมใ่ ห้มีขยะตกค้าง ซง่ึ จะรัว่ ไหลลงทะเล อย่างไรก็
ตามในปัจจบุ ันพบวา่ ยังมีขยะตกคา้ งท่ีไม่สามารถจัดเก็บได้ ทาให้ปริมาณขยะทะเลมแี นวโน้มเพ่ิมขึ้นในจังหวัด
ระยอง โดยมีแนวทางการแก้ไข คือ การใชท้ ุ่นดักขยะตามปากแมน่ ้าลาคลอง การทาความสะอาดชายหากและ
ในแนวปะการัง จากสถิติขยะทะเลพบว่าขยะพลาสติกมีจานวนมากที่สุด ปัจจุบันมีมาตรการการจัดการและ
แก้ไขปัญหาขยะทะเลประเภทขยะพลาสติกตาม roadmap โดยต้ังเป้าหมายในการลดและเลิกใช้พลาสติกบาง
ประเภทภายในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ จานวน ๓ ชนิด ได้แก่ ๑) พลาสติกหุ้มฝาขวดน้าด่ืม ๒) พลาสติกผสม
สารอ็อกโซ่ (OXO) และ ๓) ไมโครบีดส์ (Microbead) ด้วยการใช้วัสดุทดแทนที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และ
ในปี พ.ศ.๒๕๖๕ จะเลิกใช้พลาสติก ๔ ชนิด ได้แก่ ๑) ประเภทถุงพลาสติกหูหิ้วที่มีความหนาน้อยกว่า ๓๖
ไมครอน ๒) กล่องโฟมบรรจุอาหาร ๓) แก้วพลาสติกแบบบางใช้ครั้งเดียว และ ๔) หลอดพลาสติกท่ีมี
ข้อยกเว้นสาหรับใช้กับเด็ก คนชราและผู้ป่วย อีกท้ังยังมีมาตรการเพื่อลดขยะทะเลโดยยึดตามโครงการ
ส่ิงแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ (UNEP 2016a, b) ซึ่งเป็นมาตรการเชิงนโยบายเพ่ือกระตุ้นแนวปฏิบัติ
เศรษฐกิจหมุนเวียน สนับสนุนนวัตกรรมและการเริ่มต้นโดยเฉพาะอย่างยิ่งที่เก่ียวข้องกับพลาสติกชนิดใหม่ที่
ย่อยสลายได้ทางชีวภาพ ซึ่งแยกออกเป็น ๔ ด้าน ได้แก่ ๑) การพิจารณาความจาเป็นของบรรจุภัณฑ์โดยรวม
ซ่งึ รวมถึงพลาสติก ๒) การเลือกใช้วัสดุหมุนเวียนท่ีย่อยสลายทางชวี ภาพและย่อยสลายไดแ้ ละสารเติมแต่งท่ีไม่
เป็นพิษหรอื มีพิษน้อยกว่าฟอสซิล ๓) ออกแบบให้ใช้วัสดุน้อยลงเพื่อลดของเสีย และ ๔) ออกแบบบรรจุภัณฑ์
และผลติ ภณั ฑ์ท่ใี ช้โพลีเมอรจ์ านวนเดยี วหรือจานวนนอ้ ยทแ่ี ยกออกจากกนั ได้ง่ายในระหวา่ งการรไี ซเคลิ
ซ่ึงหากปฏิบัติตามหลักเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) แล้วคาดว่าจะ
สามารถลดปริมาณขยะพลาสติกท่ีตอ้ งนาไปกาจดั ได้ประมาณ ๐.๗๘ ล้านตันต่อปี ประหยัดงบประมาณในการ
จัดการขยะมูลฝอยได้ประมาณ ๓,๙๐๐ ล้านบาทต่อปี ประหยัดพื้นท่ีรองรับและกาจัดขยะมูลฝอย พลาสติก
โดยการคัดแยกและนาขยะพลาสติกกลับมาใชใ้ หม่ ชว่ ยประหยัดพื้นท่ีฝังกลบได้ประมาณ ๒,๕๐๐ ไร่ สามารถ
ลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก เท่ากับ ๑.๒ ล้านตัน CO2 เทียบเท่า ซ่ึงถ้าหากนาพลาสติกไป
เปลี่ยนเป็นพลังงานจะก่อให้เกิดพลังงาน ๑,๘๓๐ ล้านกิโลวัตต์ต่อช่ัวโมง หรือเป็นเช้ือเพลิงสาหรับโรงไฟฟ้า
ขนาด ๒๓๐ เมกะวัตต์ หรือสามารถประหยัดพลังงานและทรัพยากรธรรมชาติในกระบวนการผลิต
เม่ือเปรียบเทียบกับการใช้วัตถุดิบใหม่ โดยประหยัดพลังงานได้ ๔๓.๖ ล้านล้านบีทียู หรือคิดเป็นน้ามันดิบ
ประมาณ ๗.๕๔ ล้านบาร์เรล คิดเป็นมูลค่าประมาณ ๓๐,๐๐๐ ล้านบาท (มูลนิธิสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย,
๒๕๖๓)
โครงการจัดทาแผนส่ิงแวดล้อมในพื้นท่เี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๐๖
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดทา้ ย
๔.๑.๘.๓ การจดั การขยะบนเกาะ
จากข้อมูล (ร่าง) มาตรการและแนวทางการแก้ไขปัญหาการบริหารจดั การขยะมูลฝอยบนเกาะ
ซ่ึงคณะอนุกรรมการ เพื่อแก้ไขปัญหาการบริหารจัดการขยะมูลฝอยบนเกาะ กรมควบคุมมลพิษ ได้นาเสน
อาการบริหารจัดการขยะมูลฝอยบนเกาะ โดยมีรายละเอยี ดดงั น้ี
สถานการณ์ขยะบรเิ วณเกาะลา้ น จงั หวัดชลบรุ ี
เกาะล้าน มีขยะที่เกิดขึ้นประมาณ ๑๕ – ๒๐ ตันต่อวัน มีการดาเนินการและการมีส่วนร่วม
ของประชาชนในการจัดการขยะ ณ ต้นทาง โดยการรณรงค์ให้ประชาชน และสถานประกอบการคัดแยกขยะ
ก่อนท้ิงโดยเศษอาหารหรือขยะสดนาไปผลิตเป็นปุ๋ยชีวภาพสามารถลดปริมาณขยะมูลฝอยท่ีส่งไปกาจัดได้
ประมาณ ๓๐๐ กโิ ลกรัมต่อวัน เก็บขนขยะโดยเมืองพทั ยา (สาขาเกาะล้าน) ครอบคลมุ ท้ังพ้ืนท่ีและดาเนินการ
เก็บขนขยะทุกวัน สาหรับขยะท่ีเกิดจากการประกอบกิจการ ผู้ประกอบการจะวางถุงหรือถังรองรับขยะไว้ ใน
เวลาและพ้ืนที่กาหนด เมืองพัทยา (สาขาเกาะล้าน) นาขยะมากาจัดบนฝ่ังวันละ ๒ เที่ยว คร้ังละ ๑๒ ตัน ณ
เมืองพัทยา โดยแต่เดิมเป็นการเทกองขยะบนพ้ืนที่ของเมืองพัทยาบนเกาะล้าน แต่ปัจจุบันได้มีการปรับปรุง
โดยการปิดสถานท่ีและเตรียมการเพื่อมอบหมายให้เอกชนเข้ามากาจัดขยะมูลฝอย โดยใช้เตาเผา ขนาด ๕๐
ตันต่อวัน ค่าใช้จ่ายในการกาจัด ๑,๙๐๐ บาทต่อตัน (ท่ีมา : โครงการศึกษาและออกแบบศูนย์กาจัดขยะมูล
ฝอยชุมชนด้วยวิธีการเผาทาลายบนพื้นที่เกาะล้านแบบครบวงจร) ซ่ึงปัจจุบันผ่านกา รเห็นชอบของ
รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงมหาดไทย และอยูร่ ะหวา่ งกระบวนการจัดทาขอ้ กาหนดโครงการ เพอ่ื ว่าจา้ งให้เอกชน
ดาเนินงาน
สถานการณ์ขยะบรเิ วณเกาะสชี ัง จงั หวดั ชลบรุ ี
เกาะสีชังมีปรมิ าณขยะที่เกิดขึ้นวันละประมาณ ๑๐ – ๒๕ ตนั ตอ่ วัน มกี จิ กรรมลด คดั แยกขยะ
ต้นทาง รับขยะจากแหล่งกาเนิด ๓ แหล่งกาเนดิ ดังน้ี ๑) ขยะที่เกิดขึ้นบนเกาะสีชัง ๒) ขยะในทะเลทีอ่ ยใู่ นเขต
เทศบาล และ ๓) ขยะในทะเลทอี่ ยู่นอกเขตเทศบาล เก็บขนโดยใช้รถบรรทุกเกบ็ ขนขยะของเทศบาลฯ จานวน
๔ คัน ให้บริการครอบคลมุ ท้งั หมด ๗ ชุมชน เพ่ือนาไปเผาในเตาเผาขยะของเทศบาล จานวน ๒ เตา ศักยภาพ
การกาจัดขยะของเตาเผาไมเ่ กนิ ๖ ตัน/วนั ในพื้นทีศ่ ูนยก์ าจัดขยะเทศบาลตาบลเกาะสีชัง ขนาด ๗ ไร่ บริเวณ
หมู่ที่ ๓ ตาบลท่าเทววงษ์ อาเภอเกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี และส่วนท่ีเหลือจากการเผาในเตาเผา ได้มีการนาไป
เทกองพื้นที่ข้างเคียง ซึ่งไม่เพียงพอต่อปริมาณขยะท่ีจะมีเพิ่มมากขึ้นในอนาคต และหากบริหารจัดการขยะได้
ไม่ดีหรือไม่มีประสิทธิภาพ อาจส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์การท่องเที่ยวของเกาะสีชังได้ สถานภาพการ
จัดการขยะของเกาะสีชังจึงเป็นปัญหาระดับข้ันวิกฤติในด้านระบบกาจัดที่ยังไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอท่ีจะ
รองรับปริมาณขยะท่ีเกิดขึ้นท่ีทั้งบนบกและในทะเลท่ีจะมีเพ่ิมมากข้ึนในอนาคต ส่งผลให้อาเภอเกาะสีชังและ
เทศบาลตาบลเกาะสีชัง มีความจาเป็นเร่งด่วนที่จะต้องหาแนวทางจัดการขยะให้เกิดประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผล และหากไม่มีแนวทางการท่ีเหมาะสมและเร่งด่วนแล้วนั้น จะส่งผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและ
เศรษฐกิจ จึงมีความจาเป็นท่ีจะต้องมอบหมายให้เอกชนท่ีมีงบประมาณ มีบุคลากรท่ีมีความชานาญ และมี
เทคโนโลยีที่ทันสมัย สามารถจัดการและกาจัดขยะมูลฝอยที่มีประสิทธิภาพ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมปัจจุบัน
ผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอยจังหวัดชลบุรี และอยู่ระหว่างการเสนอ
โครงการจัดทาแผนส่ิงแวดล้อมในพื้นทีเ่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๐๗
สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย
คณะกรรมการกลางจัดการส่ิงปฏิกูลและมูลฝอย พิจารณาให้ความเห็นชอบ ก่อนเสนอรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงมหาดไทย อนุมัตติ ามขน้ั ตอนตอ่ ไป
สถานการณ์ขยะบริเวณเกาะเสมด จงั หวัดระยอง
เกาะเสม็ด โดย อบต.เพ มีการดาเนินงานคัดแยกขยะโดยใช้หลัก 3R ให้กับประชาชนและ
ผู้ประกอบการ รวมท้ังการสร้างจิตสานักให้นักท่องเท่ียวนาขยะกลับคืนฝ่ังด้วย มีขยะที่เกิดขึ้นและถูกเก็บ
รวบรวมได้เฉล่ียวันละ ๑๐ ตัน เก็บขนขยะโดยรถบรรทุกขนาดของ อบต.เพ จานวน ๑ คัน โดยจ้างเหมาให้
เอกชนดาเนินการเก็บขนไปยังสถานที่กาจัดขยะมูลฝอยขององค์การบริหารส่วนตาบลเพ ปัจจุบันบ่อฝังกลบ
ขยะถูกใช้งานจนเต็มพ้ืนท่ีและมีขยะกองสูงในบ่อฝังกลบขยะบ่อที่ ๒ ซ่ึง อบต.เพ ได้รับการสนับสนุน
งบประมาณจากสานักงานนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก เพื่อกอ่ สร้างระบบคัดแยกขยะบนเกาะเสม็ด
โดย อบจ.ระยอง เปน็ หนว่ ยงานสนบั สนนุ อบต.เพ ในระยะแรก ซึง่ วา่ จา้ งเอกชนดาเนนิ การบริหารจดั การ ขยะ
มูลฝอย โดยคัดแยกขยะอินทรีย์นาไปจัดการด้วยระบบผลิตก๊าซชีวภาพ และระบบหมักเพ่ือเป็นสารปรับปรุง
ดินสาหรับแจกจ่ายประชาชน ส่วนขยะรีไซเคิล และถุงพลาสติกที่คัดแยกได้ จะถูกผลิตเป็นเช้ือเพลิงขยะ
(RDF) และขนข้ึนรถบรรทุกและนาขึ้นเรือบาร์จ (ท้องแบน) เพ่ือขนส่ง RDF ไปยังศูนย์กาจัดขยะมูลฝอยรวม
แบบครบวงจร จังหวัดระยอง เดือนละประมาณ ๒ คร้ัง ท้ังนี้ อบต. เพ อยู่ระหว่างการจัดทา TOR เพ่ือ
ดาเนินการจัดหาเอกชนมาดาเนนิ การจดั การขยะทต่ี กคา้ งอยู่ในสถานท่ีกาจัดขยะมูลฝอยบนเกาะเสม็ด
จากการประชุมคณะอนุกรรมการเพือ่ แก้ไขปัญหาการบริหารจัดการขยะมูลฝอยบนเกาะ โดยท่ี
ประชุมมีการพิจารณากรอบแนวทางในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยบนเกาะ โดยมีข้อสรุป คือ พื้นท่ีเกาะที่
เห็นควรเสนอให้ใช้แนวทางการจัดการขยะมูลฝอยอย่างเบ็ดเสร็จบนเกาะ โดยในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาค
ตะวันออก ประกอบด้วย ๑) เกาะสีชัง และ ๒) เกาะล้าน และพื้นท่ีเกาะที่เห็นควรเสนอให้ใช้แนวทางการ
จัดการขยะมูลฝอยบางส่วนบนเกาะและ ขนส่งขยะมูลฝอยท่ีเหลือไปกาจัดบนฝั่ง มีเพียงเกาะเดียว คือ เกาะ
เสม็ด (สถาบนั วจิ ยั และพัฒนาทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่งั , ๒๕๖๔)
๔.๑.๙ การจัดการกากของเสยี อนั ตราย
๔.๑.๙.๑ สถานการณ์มูลฝอยติดเช้ือ
ในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ พบว่า มีปริมาณมูลฝอยติดเช้ือ
๒,๐๕๖.๙๑ ตันตอ่ ปี หรือคิดเป็น ๕.๖๓ ตนั ต่อวนั จงั หวัดชลบุรี มีปริมาณมูลฝอยตดิ เชื้อสงู สุดคือ ๑,๒๕๕.๓๗
ตั น ต่ อ ปี ห รื อ คิ ด เป็ น ๓ .๔ ๔ ตั น ต่ อ วั น จั งห วั ด ร ะ ย อ ง มี ป ริ ม า ณ ข ย ะ ติ ด เชื้ อ ๖ ๑ ๐ .๘ ๘
ตันต่อปี หรือคิดเป็น ๑.๖๗ ตันต่อวัน และจังหวัดฉะเชิงเทรา มีปริมาณมูลฝอยติดเช้ือ ๑๙๐.๖๖ ตันต่อปี
หรือคิดเป็น ๐.๕๒ ตันต่อวัน (ตารางที่ ๔ - ๔๖) แนวโน้มของปริมาณมูลฝอยติดเช้ือ การเปล่ียนแปลง
สถานการณ์มูลฝอยติดเชื้อในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกมีแนวโน้มเพ่ิมข้ึน ระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๕๘ –
๒๕๖๓ จากการรายงานของโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข โรงพยาบาลเอกชน โรงพยาบาลส่งเสริม
สุขภาพตาบล จานวน ๗๗ แห่ง ของทั้งสามจังหวัด ผ่านโปรแกรมกากับการขนส่งมูลฝอยติดเชื้อของ
กรมอนามัย มีปริมาณมูลฝอยติดเช้ือรวมเท่ากับ ๔๗๕.๗๖ ตันในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ เพิ่มขึ้นเป็น ๒,๐๕๖.๙๑ ตัน
ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ (กรมอนามยั , ๒๕๖๔) ดงั ตารางท่ี ๔ – ๕๐
โครงการจดั ทาแผนสิ่งแวดลอ้ มในพ้นื ทีเ่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๐๘
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย
ตารางท่ี ๔ - ๔๖ ปริมาณมลู ฝอยติดเชื้อพื้นทเ่ี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ปี พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๖๓
พ้นื ท่ี ปรมิ าณ พ.ศ. ๒๕๕๘ พ.ศ. ๒๕๕๙ พ.ศ. ๒๕๖๐ พ.ศ. ๒๕๖๑ พ.ศ. ๒๕๖๒ พ.ศ. ๒๕๖๓
๕๖๙.๘๓ ๔๑๘.๓๒ ๑๙๐.๖๖
ฉะเชิงเทรา ตนั ต่อปี ๔๓.๙๑ ๓๑๐.๙๖ ๔๐๖.๓๘ ๑.๕๖ ๑.๑๕ ๐.๕๒
ตันต่อวัน ๐.๑๒ ๐.๘๕ ๑.๑๑ ๑,๐๐๒.๓๕ ๑,๓๐๗.๕๓ ๑,๒๕๕.๓๗
๒.๗๕ ๓.๕๘ ๓.๔๔
ชลบรุ ี ตันต่อปี ๓๐๐.๖๑ ๗๗๗.๖๙ ๑,๐๗๙.๐๙
๔๖๖.๖๘ ๕๒๒.๓๗ ๖๑๐.๘๘
ตันต่อวัน ๐.๘๒ ๒.๑๓ ๒.๙๕ ๑.๒๘ ๑.๔๓ ๑.๖๗
ระยอง ตันต่อปี ๑๓๑.๒๔ ๓๙๘.๔๕ ๔๘๑.๑๑ ๒,๐๓๘.๘๖ ๒,๒๔๘.๒๒ ๒,๐๕๖.๙๑
๕.๕๙ ๖.๑๖ ๕.๖๓
ตันตอ่ วัน ๐.๓๖ ๑.๐๙ ๑.๓๑
พ้นื ท่ี EEC ตันตอ่ ปี ๔๗๕.๗๖ ๑,๔๘๗.๑ ๑,๙๖๖.๕๘
ตันตอ่ วัน ๑.๓๐ ๔.๐๗ ๕.๓๗
ทีม่ า: ปรมิ าณมลู ฝอยจาแนกรายจงั หวัดของเขต ๖, กรมอนามัย, ๒๕๖๓
การบริหารจัดการมูลฝอยติดเช้ือในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก จากข้อมูลสานักงาน
สิ่งแวดล้อมภาคที่ ๑๓ พบว่าหน่วยงานที่ดาเนินการองค์การบริหารส่วนจังหวัดระยองรับกาจัดขยะติดเชื้อทั้ง
ในเขตและนอกเขตจังหวัดระยองด้วยระบบเตาเผาได้มาตรฐานตามหลักวิชาการ ขนาด ๓.๖ ตันต่อวัน
(เปดิ ระบบการดาเนินงานแล้ว) และอยู่ระหวา่ งดาเนินการอกี หน่ึงแหง่ มีขนาด ๗ ตนั ตอ่ วัน (คาดว่าจะแล้วเสร็จ
ปี พ.ศ. ๒๕๖๖) โดยในปีงบประมาณ ๒๕๖๑ มีปริมาณมูลฝอยติดเชื้อเข้าระบบกาจัดจานวน ๒๘๓.๘ ตัน
ในปีงบประมาณ ๒๕๖๒ จานวน ๑,๐๕๐.๒ ตัน ในปีงบประมาณ ๒๕๖๓ จานวน ๑,๔๐๐.๑ ตัน และ
ในปีงบประมาณ ๒๕๖๔ (เดือนกรกฎาคม) จานวน ๒,๑๐๐.๑๔ ตัน จากข้อมูลดังกล่าวพบว่ามูลฝอยติดเชื้อมี
การเปล่ียนแปลงเพ่ิมมากขึ้นสาเหตุหลักที่สาคัญคือการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ที่เกิดขึ้นต้ังแต่ปลายปี
พ.ศ. ๒๕๖๒ เป็นต้นมา หากพิจารณาปริมาณมูลฝอยติดเชื้อที่ต้องกาจัดในปัจจุบันประมาณ ๕.๖ ตันต่อวัน
แต่ความสามารถในการกาจัดของระบบอยู่ที่ ๓.๖ ตันต่อวัน ทาให้ต้องมีการนามูลฝอยติดเช้ือท่ีเหลือไปกาจัด
โดยบริษัทเอกชน และมูลฝอยติดเชื้อจากโรคโควิด-19 บางส่วนของจงั หวัดชลบุรีนาไปกาจัดด้วยระบบเตาเผา
ของโรงไฟฟ้าในนิคมอุตสาหกรรมเป็นการช่ัวคราว สถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ของประเทศมี
ยอดผู้ป่วยสะสมเพ่มิ ขึน้ จึงทาให้ปริมาณมูลฝอยติดเชื้ออาจมีแนวโน้มเพิ่มสูงข้ึน จากการคาดการณ์การเกดิ มูล
ฝอยติดเชื้อโควิดของกรมอนามัย พบว่า มูลฝอยติดเชื้อรวม ๕.๙๙ กิโลกรัมต่อคนต่อวัน โดยแบ่งเป็นมูลฝอย
ติดเช้ือจากโรงพยาบาล ๒.๘๕ กิโลกรัมต่อเตียงต่อวัน โรงพยาบาลสนาม ๑.๘๒ กิโลกรัมต่อเตียงต่อวัน และ
State Quarantine ๑.๓๒ กิโลกรัมต่อคนต่อวัน ดังน้ันผู้ป่วยจานวนหน่ึงคนก่อให้เกิดมูลฝอยติดเช้ือ ๒.๘๕
กโิ ลกรัมต่อวนั (กรมอนามยั , ๒๕๖๔) หากพิจารณาร่วมกับข้อมูลจานวนผู้ติดเชื้อโควิดในประเทศรายใหม่และ
สะสมในระลอกล่าสุดของกรมควบคุมโรคติดต่อ ตง้ั แต่วนั ท่ี ๑ เมษายน – ๑๖ กันยายน ๒๕๖๔ พบว่า จังหวัด
ระยองมีจานวน ๒๕,๙๕๑ คน จังหวัดชลบุรีมีจานวน ๗๙,๔๕๐ คน และจังหวัดฉะเชิงเทรามีจานวน ๒๙,๘๓๓
คน จึงทาให้มูลฝอยติดเช้ือจากผู้ท่ีติดเช้ือโควิด จังหวัดระยอง ๐.๙๒ ตันต่อวัน จังหวัดชลบุรี ๒.๘๒ ตันต่อวัน
และจังหวดั ฉะเชงิ เทรา ๑.๐๖ ตนั ตอ่ วนั หรือรวมท้ังสามจังหวัดมลู ฝอยติดเชื้อเท่ากับ ๔.๘ ตันตอ่ วัน ซ่งึ เป็นมูล
ฝอยจากผู้ติดเชื้อโควิดเท่านั้นยังไม่รวมมูลฝอยติดเชื้อประเภทอื่น น่ันหมายถึงพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาค
ตะวันออกจาเป็นต้องเร่งดาเนินการก่อสรา้ งระบบเตาเผามูลฝอยติดเชื้อขนาด ๗ ตันต่อวันให้แลว้ เสร็จโดยเร็ว
ท่ีสุด
โครงการจัดทาแผนสิง่ แวดลอ้ มในพ้ืนทเี่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๐๙
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม รายงานฉบับสุดท้าย
ตารางที่ ๔ - ๔๗ ปรมิ าณมูลฝอยตดิ เชื้อทรี่ บั เข้าระบบเตาเผามลู ฝอยติดเชื้อของ อบจ.ระยอง
ปีงบประมาณ ๒๕๖๒ - ๒๕๖๔
ปรมิ าณมลู ฝอยติดเชือ้ (กโิ ลกรมั ) ปีงบประมาณ ๒๕๖๒ ปงี บประมาณ ๒๕๖๓ ปงี บประมาณ ๒๕๖๔*
ในเขตจงั หวดั ระยอง ๕๓๘,๕๘๕.๘๐ ๖๔๖,๖๐๕.๑๐ ๘๒๗,๔๙๖.๓๐
นอกเขตจงั หวดั ระยอง ๕๑๑๕๘๓.๕๐ ๗๕๓,๕๑๑ ๑,๒๖๒,๖๔๕.๐๐
รวมปริมาณมลู ฝอยติดเชื้อทีร่ ับเข้า ๑,๐๕๐,๑๖๙.๓๐ ๑,๔๐๐,๑๑๖.๑๐ ๒,๑๐๐,๑๔๑.๘๐
ระบบกาจดั (๒.๘๘ ตัน/วัน) (๓.๘๓ ตนั /วัน) (๖.๙๐ ตนั /วัน)
ท่มี า: องค์การบรหิ ารสว่ นจังหวัดระยอง, ๒๕๖๔
หมายเหตุ: * หมายถึง ข้อมูลปงี บประมาณ ๒๕๖๔ ระยะเวลา ๑๐ เดือน ระหว่างเดอื นตุลาคม ถึง เดอื นกรกฎาคม ๒๕๖๔
๔.๑.๙.๒ กากของเสยี อนั ตราย
๑) สถานการณก์ ากของเสียอนั ตราย
ปริมาณกากอุตสาหกรรมที่เป็นอันตรายจากโรงงานอุตสาหกรรมที่ถูกนาออกนอกโรงงานเพื่อ
ไปจัดการทั้งการจัดการผ่านกระบวนการเพ่ือใช้ซ้าการแปรรูปใช้เป็นพลังงาน การแปรใช้ในรูปวัสดุ การบาบัด
และกาจัดและการส่งไปจัดการนอกประเทศ พบว่า ระหวา่ งปพี .ศ. ๒๕๕๘ - ๒๕๖๓ พื้นทเ่ี ขตพัฒนาพิเศษภาค
ตะวันออก มีปริมาณกากของเสียอันตราย มีปริมาณรวม ๔.๑๗๙ ล้านตัน และเม่ือแยกเป็นรายปีในพื้นที่เขต
พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ปีพ.ศ. ๒๕๕๘ มีมีปริมาณกากของเสียอันตราย ๕๕๖,๑๔๓.๘๔ ตัน และ ปี พ.ศ.
๒๕๕๙ มีปริมาณกากของเสียอนั ตราย ๖๔๘,๖๘๐.๙๒ ตนั และปี พ.ศ. ๒๕๖๐ มีปริมาณกากของเสียอันตราย
๗๑๖,๐๔๐.๙๓ ตัน และมีปริมาณกากของเสียอันตราย ๗๓๙,๕๓๓.๘๒ ตัน ในปี พ.ศ. ๒๕๖๑ และ พ.ศ.
๒๕๖๒ มีปรมิ าณกากของเสียอันตราย ๗๗๔,๖๘๕.๕๔ ตนั และมีปริมาณกากของเสียอันตราย ปี พ.ศ. ๒๕๖๓
ปรมิ าณ ๗๔๔,๖๙๖.๕๘ ตนั ดงั ตารางท่ี ๔ - ๔๘
ตารางท่ี ๔ - ๔๘ ปริมาณของกากของเสียอนั ตรายพ้ืนท่ีเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก ปี พ.ศ. ๒๕๕๘ –
๒๕๖๓
ปี พ.ศ. ฉะเชงิ เทรา ปริมาณของกากของเสียอนั ตราย (ตัน) รวม
ชลบุรี ระยอง
๒๕๕๘ ๖๐,๒๑๗.๑๙ ๑๗๔,๐๑๓.๑๑ ๓๒๑,๙๑๓.๕๔ ๕๕๖,๑๔๓.๘๔
๒๕๕๙ ๖๕,๕๘๔.๒๑ ๑๙๐,๒๘๔.๕๔ ๓๙๒,๘๑๒.๑๗ ๖๔๘,๖๘๐.๙๒
๒๕๖๐ ๗๕,๓๙๓.๗๒ ๒๐๗,๔๑๒.๓๐ ๔๓๓,๒๓๔.๙๑ ๗๑๖,๐๔๐.๙๓
๒๕๖๑ ๘๙,๐๕๒.๙๒ ๒๔๖,๖๓๓.๓๐ ๔๐๓,๘๔๗.๖๐ ๗๓๙,๕๓๓.๘๒
๒๕๖๒ ๘๗,๘๑๓.๗๙ ๒๔๕,๗๕๘.๕๔ ๔๔๑,๑๑๓.๒๑ ๗๗๔,๖๘๕.๕๔
๒๕๖๓ ๗๔,๘๙๒.๘๗ ๒๓๗,๔๖๕.๓๗ ๔๓๒,๓๓๘.๓๔ ๗๔๔,๖๙๖.๕๘
รวม ๔๕๒,๙๕๔.๗๐ ๑,๓๐๑,๕๖๗.๑๖ ๒,๔๒๕,๒๕๙.๗๗ ๔,๑๗๙,๗๘๑.๖๓
ท่มี า: ระบบเผยแพร่ขอ้ มลู และบรกิ ารข้อมลู ภาคธรุ กจิ อตุ สาหกรรม, กรมโรงงานอุตสาหกรรม, ๒๕๖๔
โครงการจดั ทาแผนสิง่ แวดล้อมในพนื้ ทเี่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๑๐
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รายงานฉบบั สุดทา้ ย
ภาพท่ี ๔ - ๔๑ ปริมาณของกากของเสียอนั ตรายพนื้ ทีเ่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก ปี พ.ศ. ๒๕๕๘ –
๒๕๖๓
ปริมาณกากของเสียไมอ่ ันตราย มีปริมาณรวม ๒๓.๘๐ ล้านตัน และเมื่อแยกเป็นรายปีในพ้ืนที่
เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ปี พ.ศ. ๒๕๕๘ มีปริมาณกากของเสียไม่อันตราย ๓.๗๖ ล้านตัน และ
ปี พ.ศ. ๒๕๕๙ มีปริมาณกากของเสียไม่อันตราย ๓.๘๗ ล้านตัน และปี พ.ศ. ๒๕๖๐ มีปรมิ าณกากของเสียไม่
อันตราย ๓.๙๑ ล้านตัน และมีปริมาณกากของเสียไม่อันตราย ๔.๑๕ ล้านตัน ในปี พ.ศ. ๒๕๖๑ และ
พ.ศ.๒๕๖๒ มีปริมาณกากของเสียอันตราย ๔.๑๖ ล้านตัน และมีปริมาณกากของเสียอันตราย ปี พ.ศ. ๒๕๖๓
ปรมิ าณ ๓.๙๕ ล้านตัน ดงั ตารางที่ ๔ - ๔๙ และ ภาพท่ี ๔ - ๔๒
ตารางท่ี ๔ - ๔๙ ปรมิ าณของกากของเสียไมอ่ นั ตรายพ้ืนทเ่ี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ปี พ.ศ. ๒๕๕๘
– ๒๕๖๓
ปี พ.ศ. ฉะเชงิ เทรา ปริมาณของกากของเสยี ไม่อนั ตราย (ลา้ นตนั ) รวม
ชลบรุ ี ระยอง
๒๕๕๘ ๐.๓๑ ๐.๘๓ ๒.๖๒ ๓.๗๖
๒๕๕๙ ๐.๓๖ ๐.๙๓ ๒.๕๘ ๓.๘๗
๒๕๖๐ ๐.๓๗ ๑.๐๗ ๒.๔๘ ๓.๙๑
๒๕๖๑ ๐.๔๒ ๑.๑๓ ๒.๖๐ ๔.๑๕
๒๕๖๒ ๐.๔๒ ๑.๐๖ ๒.๖๘ ๔.๑๖
๒๕๖๓ ๐.๓๘ ๐.๙๘ ๒.๕๘ ๓.๙๕
รวม ๒.๒๖ ๖.๐๐ ๑๕.๕๔ ๒๓.๘๐
ที่มา: ระบบเผยแพรข่ อ้ มูลและบรกิ ารข้อมูลภาคธรุ กิจอตุ สาหกรรม, กรมโรงงานอตุ สาหกรรม, ๒๕๖๔
โครงการจัดทาแผนสง่ิ แวดลอ้ มในพ้ืนที่เขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๑๑
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม รายงานฉบับสุดท้าย
ภาพที่ ๔ - ๔๒ ปรมิ าณของกากของเสียไม่อันตรายพ้ืนที่เขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก
ปี พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๖๓
๒) แนวโน้มกากของเสียอันตราย
จากข้อมูลสถิติพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกมีปริมาณกากของเสียอันตรายจากโรงงาน
อุตสาหกรรม แบ่งเป็น ๕ ประเภท คือ ๑) ปริมาณกากของเสยี อนั ตราย ๒) ปริมาณกากของเสียไม่อนั ตราย ๓)
การจัดเก็บวัสดุไม่ใช้แล้วในโรงงาน แยกรายจังหวัด ๔) การขนส่งของเสียอันตรายออกนอกโรงงาน ประเภท
กลุ่มอุตสาหกรรม แยกรายจังหวัด ๕) การขนส่งของเสียอันตรายออกนอกโรงงาน ประเภทสาร แยกราย
จังหวดั โดยทง้ั ๕ ประเภทมีรายละเอยี ดดงั นี้
๑) จากการวิเคราะหป์ ริมาณกากของเสียอันตราย ในพื้นทีเ่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก พ.ศ.
๒๕๕๘ - ๒๕๖๓ อัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณกากของเสียอันตราย จากข้อมูลระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ถึง
พ.ศ.๒๕๖๓ พ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกและทั้งสามจังหวัด พบว่า ปริมาณกากของเสียอันตรายมี
แนวโนม้ เพ่ิมขึ้น ดงั ตารางที่ ๔ - ๕๐
ตารางที่ ๔ - ๕๐ อตั รากากของเสียอนั ตรายพืน้ ทีเ่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก ปี พ.ศ. ๒๕๕๘ –
๒๕๖๓
ปรมิ าณของกากของเสียอนั ตราย (ตนั ต่อวนั )
พื้นท่ี พ.ศ. ๒๕๕๘ พ.ศ. ๒๕๕๙ พ.ศ. ๒๕๖๐ พ.ศ. ๒๕๖๑ พ.ศ. ๒๕๖๒ พ.ศ. ๒๕๖๓
ฉะเชงิ เทรา ๑๖๔.๙๘ ๑๗๙.๖๘ ๒๐๕.๙๙ ๒๔๓.๙๘ ๒๔๐.๕๙ ๒๐๕.๑๙
ชลบรุ ี ๔๗๖.๗๕ ๕๒๑.๓๓ ๕๖๖.๗๐ ๖๗๕.๗๑ ๖๗๓.๓๑ ๖๕๐.๕๙
๑,๑๘๔.๔๙
ระยอง ๘๘๑.๙๕ ๑,๐๗๖.๒๐ ๑,๑๘๓.๗๐ ๑,๑๐๖.๔๓ ๑,๒๐๘.๕๓ ๒,๐๔๐.๒๖
พน้ื ที่ EEC ๑,๕๒๓.๖๘ ๑,๗๗๗.๒๑ ๑,๙๕๖.๔๐ ๒,๐๒๖.๑๒ ๒,๑๒๒.๔๓
ท่มี า: ระบบเผยแพร่ข้อมลู และบรกิ ารขอ้ มลู ภาคธรุ กจิ อุตสาหกรรม, กรมโรงงานอุตสาหกรรม, ๒๕๖๔
โครงการจดั ทาแผนสง่ิ แวดลอ้ มในพืน้ ที่เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๑๒
สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ท้าย
๒) จากการวิเคราะห์ปริมาณกากของเสียไม่อันตราย ในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
พ.ศ. ๒๕๕๘ - ๒๕๖๓ อตั ราการเปล่ียนแปลงปรมิ าณกากของเสียไม่อันตราย จากข้อมลู ระหว่างปี พ.ศ.๒๕๕๘
ถึง พ.ศ.๒๕๖๓ พ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกและท้ังสามจังหวัด พบว่า ปรมิ าณกากของเสียอันตรายมี
แนวโน้มเพม่ิ ข้ึนดงั ตารางที่ ๔ - ๕๑
ตารางที่ ๔ - ๕๑ อตั รากากของเสียไมอ่ ันตรายพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก ปี พ.ศ. ๒๕๕๘ –
๒๕๖๓
ปริมาณของกากของเสียไม่อนั ตราย (ตนั ต่อวนั )
พนื้ ท่ี พ.ศ. ๒๕๕๘ พ.ศ. ๒๕๕๙ พ.ศ. ๒๕๖๐ พ.ศ. ๒๕๖๑ พ.ศ. ๒๕๖๒ พ.ศ.๒๕๖๓
ฉะเชิงเทรา ๘๔๙.๓๒ ๙๘๖.๓๐ ๑,๐๑๐.๙๓ ๑,๑๕๐.๖๘ ๑,๑๕๐.๖๘ ๑,๐๔๑.๑๐
ชลบุรี ๒,๒๗๓.๙๗ ๒,๕๔๗.๙๕ ๒๙๒๓.๕๐ ๓,๐๙๕.๘๙ ๒,๙๐๔.๑๑ ๒,๖๘๔.๙๓
ระยอง ๗,๑๗๘.๐๘ ๗,๐๖๘.๔๙ ๖,๗๗๕.๙๖ ๗,๑๒๓.๒๙ ๗,๓๔๒.๔๗ ๗,๐๖๘.๔๙
พ้ืนท่ี EEC ๑๐,๓๐๑.๓๗ ๑๐,๖๐๒.๗๔ ๑๐,๖๘๓.๐๖ ๑๑,๓๖๙.๘๖ ๑๑,๓๙๗.๒๖ ๑๐,๘๒๑.๙๒
ทมี่ า: ระบบเผยแพร่ข้อมลู และบรกิ ารขอ้ มลู ภาคธุรกิจอตุ สาหกรรม, กรมโรงงานอุตสาหกรรม, ๒๕๖๔
๓) การจดั การกากของเสยี อตุ สาหกรรม
ปัจจุบันพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกเป็นต้นแบบในการพัฒนาให้เป็นเขตอุตสาหกรรม
ที่สาคัญของประเทศ มีสนามบิน ท่าเรือ โรงงานในนิคมอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ มีการขนส่งสินค้าท่ีมากที่สุด
เป็นอันดับ ๒๒ ของโลก จึงถูกผลักดันให้เป็นเขตการพัฒนาทางการค้า การลงทุน จึงเกิดนิคมอตุ สาหกรรมขึ้น
มากมายในพื้นท่ี โดยจากสถิติจานวนโรงงานอุตสาหกรรม ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ พบว่า มีโรงงานอุตสาหกรรมใน
เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก จานวน ๘,๐๑๒ โรงงาน ได้สรา้ งปริมาณกากของเสยี อุตสาหกรรมท้งั หมด ๓.๗
ล้านตันต่อปี การจัดการกากของเสียอุตสาหกรรมตามแนวทางของหลักเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular
Economy) ที่มุ่งเน้นการหมุนเวียนใช้ทรัพยากรและพลังงานให้มีปริมาณของเสียน้อยที่สุด หรือไม่มีเลย มี
แนวทางในการจัดการกากของเสียอุตสาหกรรมและจัดการของเสียไม่ให้ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจากกรม
โรงงานอตุ สาหกรรม ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ ดงั นี้
๑) การนากลบั มาใชซ้ า้ (Reuse)
๑.๑) การใช้เป็นวัตถุดิบทดแทน (Use as raw material substitution) คือ การนาวัสดุ
ท่ีไม่ใช้แล้วท่ีมีคุณสมบัติเหมาะสมมาใช้เป็นวัตถุดิบทดแทนในกระบวนการผลิตของโรงงาน เช่น การนา
พลาสติกมาบดและหลอมซ้าภายในโรงงาน การนาเศษริมผ้าหรือเศษด้ายจากโรงงานทอผ้าไปใช้เป็นวัตถุดิบ
ทดแทนในโรงงานป่ันด้าย การนาเศษกระดาษไปเป็นวัตถุดิบทดแทนในโรงงานผลิตกระดาษ การนาเศษเหล็ก
ไปหลอมหล่อใหม่ในโรงงานหลอมเหล็ก การนาเศษพลาสติกไปหลอมใหม่ในโรงงานหลอมเศษพลาสติก
การนาเศษแก้วไปหลอมใหม่ในโรงงานผลิตแก้ว หรือการนาเถ้าลอยจากการใช้ถ่านหินเป็นเชื้อเพลิงไปใช้เป็น
วัตถุดิบทดแทนปูนซีเมนตใ์ นโรงงานคอนกรีตผสมเสรจ็
โครงการจดั ทาแผนสิ่งแวดลอ้ มในพืน้ ท่เี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๑๓
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม รายงานฉบบั สุดท้าย
๑.๒) การนาของเสียไปใช้ประโยชน์ คือ การนาเป็นวัตถุดิบไปใช้ในขบวนการผลิตอืน่ หรือ
การแปรรูป เช่น การทาเชื้อเพลิงเขียวอัดแท่งจากกากตะกอนจากระบบบาบัดน้าเสียด้วยเม็ดพริกและเศษ
กระเทยี ม
๒) การนากลับมาใชป้ ระโยชน์อีก (Recycle)
๒.๑) การใช้เป็นเช้ือเพลิงทดแทน (Use as fuel substitution or burn for energy
recovery) คือ การนาของเสียที่มีค่าความร้อนและมีสภาพเหมาะสม ไปเป็นเช้ือเพลิงทดแทนในเตาเผา
ปนู ซเี มนต์ เชน่ น้ามันเคร่ืองหรอื น้ามนั หล่อลนื่ ใชแ้ ลว้ เศษผา้ ปนเป้อื นน้ามนั
๒.๒) การใช้เป็นเชื้อเพลิงผสม (Fuel blending) คือ การนาของเสียมาผ่านกระบวนการ
ปรับคณุ ภาพหรือผสมกันเพื่อให้เป็นเชอ้ื เพลิงผสม เชน่ กระดาษหรือผา้ ปนเปอ้ื นสหี รือน้ามัน หรือตวั ทาละลาย
สีหรือตัวทาละลายหมดอายใุ ชง้ าน กากตะกอนนา้ มัน นา้ ยาหล่อเยน็ นา้ ปนเปอื้ นนา้ มนั
๒.๓) การเผาเพ่ือเอาพลังงาน (Burn for energy recovery) คือ การนาของเสียท่ีมีสภาพ
เหมาะสมไปเปน็ เช้ือเพลิง เชน่ กะลาและเส้นใยปาลม์ นามาเป็นเชอื้ เพลิงในหม้อไอนา้ ขเี้ ลอ่ื ย เศษไม้ เศษไม้พา
เลท เศษไม้หรือข้ีเล่อื ยที่ไม่ปนเปือ้ นของเสยี อนั ตรายใชเ้ ปน็ เชอื้ เพลิงทดแทนในการปรุงอาหาร
๒.๔) การใช้เป็นวัตถุดิบทดแทนในเตาเผาปูนซีเมนต์ (Use as co-material in cement
kiln or rotary kiln) คือ การนามาใช้เฉพาะกับของเสียที่มีองค์ประกอบของวัตถุดิบหลักที่ใช้ในการผลิต
ปูนซเี มนต์ ไดแ้ ก่ แคลเซียม อะลูมนิ า เหล็ก หรือซิลิกา เช่น ทรายขัดผวิ ที่ใชแ้ ล้ว Scale เหลก็ จากกระบวนการ
รดี ร้อน ฝุน่ เหลก็ ผงเหล็กจากการขดั หรือการเจยี ร กากตะกอนซิลิคอน
๒.๕) การนากลับไปใช้ประโยชน์ด้วยวิธีอื่น ๆ (Other recycle methods) คือ การนา
กลับไปใช้ซ้าด้วยวิธีอ่ืน ๆ ท่ีไม่ใช่กรณีเป็นวัตถุดิบทดแทนหรือนากลับไปบรรจุใหม่ เช่น การนาแกนสายไฟ
หรือด้ายกลับไปใช้ซ้าในโรงงานผู้ผลติ การสง่ นา้ มนั เครือ่ งหรอื น้ามันหล่อลื่นใช้แล้วใหโ้ รงงานผลติ สที าบ้านหรือ
สนี ้ามัน การส่งยางรถยนต์หมดสภาพให้โรงงานสกัดน้ามันดีเซล การนาเศษผ้าหรือเศษด้ายหรือเศษฟองน้าไป
ใช้ทาพรมเช็ดเท้า ยัดตุ๊กตาหรอื ท่นี อนหรือเพาะเหด็
๓) การนากลับคนื มาใหม่ (Recovery)
๓.๑) การนาเข้ากระบวนการนาสารตัวทาละลายกลับมาใหม่ (Solvent reclamation/
regeneration) คือ การนาของเสียประเภทสารตัวทาละลายส่งให้โรงงาน ลาดับที่ ๑๐๖ ซึ่งเป็นโรงงานที่
ประกอบกิจการเก่ียวกับการนาสินค้าอุตสาหกรรมท่ีไม่ใช้แล้วหรือการ นาของเสียจากโรงงานรวมถึงวัตถุ
อันตรายมาผลิตเป็นวัตถุดิบเพื่อกล่ันและนากลับมาใช้ใหม่ เช่น โทลูอีน ไซลีน เมธิลีนคลอไรด์ไตรคลอโรเอทธิ
ลีน อะซิโตน ฯลฯ
๓.๒) การนาเข้ากระบวนการนาโลหะกลับมาใหม่ (Reclamation/Regeneration of
metal and metal compounds) คือ การนาของเสียที่มีองค์ประกอบของโลหะ ส่งให้โรงงานลาดับที่ ๑๐๖
เพ่ือนาไปผ่าน กระบวนการสกัดหรือนาโลหะกลับมาใหม่ เช่น การสกัดเงินจากน้ายาล้างฟิล์ม การสกัดแยก
ดีบุกจากน้ายา Tin Stripper การสกัดแยกโลหะชนิดต่าง ๆ จากเศษโลหะบัดกรีหรือกาวเงิน (Silver plate)
หรอื Lead frame
โครงการจัดทาแผนส่งิ แวดลอ้ มในพนื้ ท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๑๔
สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม รายงานฉบับสดุ ท้าย
๓.๓) การนาเขา้ กระบวนการคนื สภาพกรดดา่ ง (Acid/Base regeneration) คอื การนาของ
เสียประเภทกรดหรือด่าง เชน่ กรดซลั ฟูริก ส่งให้โรงงานลาดับท่ี ๑๐๖ เพอื่ นาไปผ่านกระบวนการปรับคณุ ภาพ
เพื่อนากลบั มาใชใ้ หม่
หลักเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) เป็นทางออกสาคัญของการดาเนินธุรกิจท่ี
ยั่งยืนของทุกกลุ่มอุตสาหกรรม โดยเฉพาะอย่างย่ิง อุตสาหกรรมพลังงาน สาธารณูปโภคและทรัพยากร
(Energy, Utilities and Resources) ซึ่งการนาหลักเศรษฐกิจหมุนเวียนมาประยุกต์ในด้านสิ่งแวดล้อม
กอ่ ให้เกิดประโยชน์ ดงั ตารางท่ี ๔ - ๕๒
ตารางท่ี ๔ - ๕๒ ประโยชน์จากการนาหลกั เศรษฐกิจหมุนเวยี นมาประยุกตด์ า้ นส่ิงแวดลอ้ ม
ประโยชนจ์ ากการนาหลักเศรษฐกจิ หมนุ เวยี นมาประยกุ ต์ในดา้ นส่ิงแวดล้อม รอ้ ยละ
ลดความต้องการวตั ถดุ บิ ใหม่ ๑๗ - ๒๔
ผลกั ดนั การเตบิ โตของ GDP ๓.๙
ประหยัดเงินหมนุ เวยี นให้กบั อุตสาหกรรม ๘
ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ๒.๔
ท่ีมา: Interreg Europe (2020)
๔.๑.๑๐ สิง่ แวดลอ้ มเมอื ง สงิ่ แวดล้อมทางธรรมชาตแิ ละศลิ ปกรรม
๔.๑.๑๐.๑ สงิ่ แวดล้อมเมือง
๑) ขอบเขตการปกครอง
พื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกมีเนื้อท่ีประมาณ ๑๓,๒๖๖ ตารางกิโลเมตร (สกพอ.,
๒๕๖๒) ตั้งอยู่ในภาคตะวันออกของประเทศไทย โดยมีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดใกล้เคียง ดังนี้ (ภาพที่ ๔ -
๔๓)
ทิศเหนือ ตดิ กับ จงั หวดั นครนายกและจงั หวัดปราจนี บรุ ี
ทิศใต้ ตดิ กับ อา่ วไทย
ทศิ ตะวนั ออก ติดกบั จังหวัดปราจนี บุรี จังหวดั สระแก้ว และจงั หวดั จันทบรุ ี
ทศิ ตะวันตก ตดิ กบั จงั หวัดสมทุ รปราการ จงั หวัดปทุมธานี กรุงเทพมหานคร และอา่ วไทย
พื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกประกอบด้วย ๓ จังหวัด ได้แก่ จังหวัดฉะเชิงเทรา ชลบุรี
และระยอง ประกอบด้วย ๓๐ อาเภอ ๒๔๓ ตาบล และ ๒,๐๒๐ หมู่บ้าน ด้านการปกครองท้องถ่ิน
ประกอบด้วย องคก์ ารบริหารส่วนจังหวัด ๓ แหง่ เขตการปกครองพเิ ศษ ๑ แหง่ เทศบาลนคร ๓ แห่ง เทศบาล
เมอื ง ๑๓ แหง่ เทศบาลตาบล ๙๖ แห่ง และองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบล ๑๖๐ แหง่
จังหวัดฉะเชิงเทรา แบ่งขอบเขตการปกครองออกเป็น ๑๑ อาเภอ ได้แก่ อาเภอเมือง
ฉะเชงิ เทรา อาเภอบางคล้า อาเภอบางนา้ เปร้ยี ว อาเภอบางปะกง อาเภอบ้านโพธิ์ อาเภอพนมสารคาม อาเภอ
ราชสาส์น อาเภอสนามชัยเขต อาเภอแปลงยาว อาเภอท่าตะเกียบ และอาเภอคลองเขื่อน ประกอบด้วย ๙๓
ตาบล ๘๙๒ หมู่บา้ น ด้านการปกครองท้องถนิ่ ประกอบด้วย องคก์ ารบรหิ ารส่วนจงั หวดั ๑ แห่ง เทศบาลเมือง
๑ แห่ง ไดแ้ ก่ เทศบาลเมืองฉะเชิงเทรา เทศบาลตาบล ๓๓ แหง่ และองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบล ๗๔ แหง่
โครงการจัดทาแผนสง่ิ แวดล้อมในพ้นื ท่ีเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๑๕
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ทา้ ย
จังหวัดชลบุรี แบ่งขอบเขตการปกครองออกเป็น ๑๑ อาเภอ ได้แก่ อาเภอเมืองชลบุรี อาเภอ
พนัสนิคม อาเภอพานทอง อาเภอบ้านบึง อาเภอศรีราชา อาเภอเกาะจันทร์ อาเภอบ่อทอง อาเภอหนองใหญ่
อาเภอบางละมุง อาเภอสัตหีบ และอาเภอเกาะสีชงั ประกอบด้วย ๙๒ ตาบล ๖๘๗ หมูบ้าน ด้านการปกครอง
ส่วนท้องถิ่น ประกอบดว้ ย องค์การบริหารส่วนจังหวัด ๑ แห่ง เทศบาลนคร ๒ แห่ง ไดแ้ ก่ เทศบาลนครแหลม
ฉบัง และเทศบาลนครเจา้ พระยาสุรศกั ด์ิ เทศบาลเมือง ๑๐ แห่ง เทศบาลตาบล ๓๖ แห่ง องคก์ ารบรหิ ารสว่ น
ตาบล ๔๙ แห่ง และมีรูปแบบการปกครองพิเศษ ๑ แห่ง คือ เมอื งพัทยา แยกจากการปกครองของอาเภอบาง
ละมุง
จังหวัดระยอง แบ่งขอบเขตการปกครองออกเป็น ๘ อาเภอ ได้แก่ อาเภอเมืองระยอง อาเภอ
บ้านฉาง อาเภอแกลง อาเภอวังจันทร์ อาเภอบ้านค่าย อาเภอปลวกแดง อาเภอเขาชะเมา และอาเภอนิคม
พัฒนา ประกอบด้วย ๕๘ ตาบล ๔๔๑ หมู่บ้าน ด้านการปกครองส่วนท้องถิ่น ประกอบด้วย องค์การบริหาร
ส่วนจังหวดั ๑ แหง่ เทศบาลนคร ๑ แห่ง ได้แก่ เทศบาลนครระยอง เทศบาลเมอื ง ๒ แห่ง ไดแ้ ก่ เทศบาลเมอื ง
มาบตาพุด และเทศบาลเมืองบ้านฉาง เทศบาลตาบล ๒๗ แห่ง และองค์การบริหารส่วนตาบล ๓๗ แห่ง
รายละเอยี ดดัง ตารางที่ ๔ - ๕๓
ตารางท่ี ๔ - ๕๓ จานวนเขตการปกครองจังหวัดฉะเชิงเทรา ชลบรุ ี และระยอง ปี พ.ศ. ๒๕๖๓
จังหวดั อาเภอ ตาบล หมู่บา้ น อบจ. รูปแบบการปกครองพเิ ศษ เทศบาลนคร เทศบาลเมือง เทศบาลตาบล อบต. รวม อปท.
ฉะเชิงเทรา ๑๑ ๙๓ ๘๙๒ ๑ - - ๑ ๓๓ ๗๔ ๑๐๙
ชลบุรี ๑๑ ๙๒ ๖๘๗ ๑ ๑ ๒ ๑๐ ๓๖ ๔๙ ๙๙
ระยอง ๘ ๕๘ ๔๔๑ ๑ - ๑ ๒ ๒๗ ๓๗ ๖๘
รวม ๓๐ ๒๔๓ ๒,๐๒๐ ๓ ๑ ๓ ๑๓ ๙๖ ๑๖๐ ๒๗๖
ที่มา : สานกั บรหิ ารการปกครองท้องถิ่น กรมการปกครอง (๒๕๖๓)
โครงการจดั ทาแผนส่งิ แวดล้อมในพื้นทีเ่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๑๖
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสุดท้าย
ภาพท่ี ๔ - ๔๓ ขอบเขตพืน้ ทเ่ี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก
โครงการจัดทาแผนสิ่งแวดล้อมในพื้นท่เี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๑๗
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ทา้ ย
๒) ประชากร
พื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกมีจานวนประชากรรวมท้ังส้ิน ๓,๐๑๓,๑๖๗ คน แยกเป็น
ประชากรในจังหวัดฉะเชิงเทรา ๗๒๐,๑๑๓ คน ประชากรในจังหวัดชลบุรี ๑,๕๕๘,๓๐๑ คน ประชากรใน
จงั หวัดระยอง ๗๓๔,๗๕๓ คน (กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย, ๒๕๖๒) ความหนาแน่นของประชากร
ในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกเพ่ิมขึ้นจาก ๑๙๗ คนต่อตารางกิโลเมตรในปี พ.ศ. ๒๕๕๓ เป็น ๒๒๗ คนต่อ
ตารางกิโลเมตร ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ โดยจังหวัดชลบุรี มีความหนาแน่นของประชากรสูงสุด ตามด้วยจังหวัด
ระยอง และจังหวัดฉะเชิงเทรา โดยมีความหนาแน่นของประชากรในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ อยู่ท่ี ๓๕๗ ๒๐๗ และ
๑๓๕ คนต่อตารางกิโลเมตร ตามลาดบั ประชากรร้อยละ ๕๓ ในพื้นทเี่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกอาศยั อยู่
ในเมืองหรือเขตเทศบาล ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ จังหวัดชลบุรีมีสัดส่วนของคนท่ีอาศัยในเขตเมืองสูงสุดคือร้อยละ
๖๙ ตามด้วยจังหวัดระยอง ร้อยละ ๔๙ และจังหวัดฉะเชิงเทรา ร้อยละ ๒๒ ตามลาดับ โดยในช่วง ๑๐ ปี
ระหว่าง ปี พ.ศ. ๒๕๕๓ - ๒๕๖๒ สัดส่วนของผู้อาศัยในเขตเมืองเพิ่มขึ้นเล็กนอ้ ย โดยจังหวัดชลบรุ ีและระยอง
มีแนวโนม้ ของการอยอู่ าศัยในเขตเมืองเพิ่มขน้ึ เล็กน้อยในขณะทีจ่ งั หวัดฉะเชิงเทรามีแนวโนม้ ค่อนขา้ งคงท่ี
๓) ลักษณะภูมปิ ระเทศและภมู ิอากาศ
พ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกต้ังอยู่ในภาคตะวันออกของประเทศไทย โดยภาค
ตะวันออกมีลักษณะภูมิประเทศเป็นพ้ืนท่ีภูเขาสูงและป่าไม้ โดยตอนกลางเป็นที่ราบสลับภูเขา ตอนล่างเป็นท่ี
ราบลุ่มน้าและท่ีราบชายฝั่งทะเล มีแม่น้าสายสาคัญ คือ แม่น้าบางปะกง แม่น้าระยอง และแม่น้าประแสร์ มี
ภมู ิอากาศแบบสะวนั นา (Aw) โดยจังหวัดชลบุรีเป็นจังหวดั ที่มีฝนตกน้อยที่สุด มีปริมาณน้าฝนเฉล่ีย ประมาณ
๑,๕๑๘.๖ มิลลเิ มตรตอ่ ปี (สานกั งานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, ๒๕๖๒)
๔) พน้ื ที่สเี ขียวในเมือง
สถานการณ์พื้นท่ีสีเขียวในเมืองการของเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ได้ผลจากการ
จาแนกการใช้ท่ีดินแต่ละประเภทใช้ภาพถ่ายดาวเทียม Landsat 8 OLI จานวน ๕ แบนด์ (ช่วงคลื่น) ได้แก่
แบนด์ที่ ๒ ในช่วงคล่ืนสีน้าเงิน (Blue) แบนด์ท่ี ๓ ในช่วงคลื่นสีเขียว (Green) แบนด์ที่ ๔ ในช่วงคลื่นสีแดง
(Red) แบนด์ท่ี ๕ ในช่วงคลื่นอินฟาเรดใกล้ (Near Infrared: NIR) และแบนด์ท่ี ๖ ในช่วงคล่ืนอินฟราเรดช่วง
คล่ืนส้ัน (Shortwave Infrared: SWIR) จาแนกข้อมูลการใช้ที่ดิน ๕ ประเภท ได้แก่ พ้ืนท่ีน้า พ้ืนที่เมือง พ้ืนที่
เกษตร พ้ืนท่ีโล่ง และพื้นที่สีเขียว (ท้ังน้ีพื้นท่ีสีเขียวในท่ีน้ี เป็นค่าสะท้อนรังสีของพื้นผิวประเภทต้นไม้) ซ่ึงได้
ประยุกต์ใช้เทคนิคการจาแนกข้อมูลภาพแบบปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: AI) ด้วยวิธี Support
Vector Machine (SVM) ที่มีความถูกต้องสูง ผลการจาแนกพบว่าการจาแนกประเภทการใช้ท่ีดินจาเป็นต้อง
ใช้ข้อมูลทั้ง ๕ แบนด์เพ่ือให้ผลจาแนกท่ีถูกต้อง โดยมีค่าช่วงของค่าการสะท้อนพลังงานในแต่ละแบนด์ท่ีใช้
รว่ มกันในการจาแนกการใชท้ ่ีดนิ ดังตารางที่ ๔ - ๕๔
โครงการจดั ทาแผนสิ่งแวดลอ้ มในพน้ื ท่ีเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๑๘
สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม รายงานฉบับสุดท้าย
ตารางที่ ๔ - ๕๔ ชว่ งค่าการสะทอ้ นพลังงานของแตล่ ะช่วงคลื่นท่ใี ชใ้ นการจาแนกการใช้ทดี่ ินแต่ละ
ประเภท
ประเภทการ แบนด์ ๒ แบนด์ ๓ แบนด์ ๔ แบนด์ ๕ แบนด์ ๖
ใช้ท่ดี นิ (Blue) (Green) (Red) (NIR) (SWIR)
๗,๗๗๗ – ๑๔,๐๙๖ ๖,๖๓๓ – ๑๓,๘๑๑ ๕,๘๖๔ – ๑๒,๘๒๖ ๔,๕๑๖ – ๑๙,๗๖๔ ๔,๖๒๖ – ๓๒,๗๖๗
พน้ื ที่นา้ ๗,๗๘๙ – ๓๒,๗๖๗ ๖,๗๕๒ – ๓๒,๗๖๗ ๖,๐๒๘ – ๓๒,๗๖๗ ๕,๖๑๒ – ๓๒,๗๖๗ ๒,๑๖๓ – ๓๒,๗๖๗
พ้นื ทเ่ี มอื ง ๗,๘๖๕ – ๑๖,๐๕๐ ๖,๙๓๐ – ๑๒,๑๖๘ ๖,๐๙๒ – ๑๑,๔๕๒ ๙,๙๔๖ – ๒๖,๘๙๒ ๔,๑๓๒ – ๓๒,๗๖๗
พนื้ ทเ่ี กษตร ๘,๐๔๑ – ๒๑,๘๗๓ ๗,๖๙๗ – ๒๓,๐๒๙ ๖,๔๖๐ – ๒๗,๗๒๔ ๕,๓๐๑ – ๓๒,๗๖๗ ๕,๐๒๕ – ๓๒,๗๖๗
พ้นื ท่โี ล่ง ๗,๗๘๑ – ๙,๙๑๓ ๖,๘๑๒ – ๘,๒๗๗ ๖,๐๖๘ – ๗,๕๕๓ ๙,๓๔๔ – ๒๓,๐๗๖ ๕,๓๘๒ – ๓๒,๗๖๗
พน้ื ทส่ี ีเขียว
ผลจากการจาแนกการใช้ท่ีดินได้นามาแบ่งเขตเมืองด้วยการใช้ขอบเขตเทศบาล พบว่า พื้นที่
สีเขียวในเขตเมืองของพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก มีพื้นท่ีเท่ากับ ๑๖๗,๑๖๖ ไร่ คิดเป็นร้อยละ
๑๐.๐๖ หากแยกเป็นรายจังหวัด พบว่าจังหวัดฉะเชิงเทรา มีพื้นที่สีเขียวในเขตเมือง เท่ากับ ๙,๒๓๘ ไร่ คิด
เป็นร้อยละ ๓.๗๘ ต่อการใช้ท่ีดินในเขตเมือง จังหวัดชลบุรี มีพื้นท่ีสีเขียวในเขตเมือง ๑๑๓,๔๕๖ ไร่ คิดเป็น
รอ้ ยละ ๑๑.๘๓ ต่อการใช้ที่ดินในเขตเมือง และ จังหวัดระยอง มีพ้ืนท่ีสีเขียวในเขตเมือง ๔๔,๔๗๒ ไร่ คดิ เป็น
ร้อยละ ๙.๗๐ ต่อการใช้ที่ดินในเขตเมือง นอกจากนี้พบว่าพ้ืนที่สีเขียวนอกเขตเมืองในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษ
ภาคตะวนั ออก มีพ้ืนที่ ๑,๖๔๓,๔๒๔ ไร่ คดิ เป็นร้อยละ ๑๙.๖๘ หากแยกรายจังหวัดพบวา่ จังหวัดฉะเชิงเทรา
มีพ้ืนท่ีสีเขียวนอกเขตเมือง ๖๗๙,๙๗๕ ไร่ คิดเป็นร้อยละ ๒๒.๗๗ จังหวัดชลบุรี มีพ้ืนท่ีสีเขียวนอกเขตเมือง
๓๒๐,๒๒๗ ไร่ คิดเป็นร้อยละ ๑๗.๑๗ และ จังหวัดระยอง มีพื้นท่ีสีเขียวนอกเขตเมือง ๔๗๖,๐๕๖ ไร่ คิดเป็น
ร้อยละ ๒๕.๙๓
ตารางท่ี ๔ - ๕๕ พนื้ ทสี่ เี ขียวในเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก
พืน้ ที่สีเขยี วในเขตเมอื ง พนื้ ทส่ี ีเขยี วนอกเขตเมือง รวม
พน้ื ที่ ขนาดพ้นื ทีเ่ ขตเมือง (ไร)่ ขนาดพนื้ ที่ รอ้ ยละ ขนาดพนื้ ที่ ขนาดพืน้ ทส่ี ี รอ้ ยละ พน้ื ที่สีเขียว ร้อยละ
สีเขียว (ไร)่ นอกเขตเมอื ง เขยี ว (ไร่) (ไร่)
๓.๗๘
๑๑.๘๓ (ไร่)
๙.๗๐
ฉะเชิงเทรา ๒๔๔,๓๐๗ ๙,๒๓๘ ๑๐.๐๖ ๒,๙๘๖,๕๓๔ ๖๗๙,๙๗๕ ๒๒.๗๗ ๖๘๙,๒๑๓ ๒๑.๓๓
๔๓๓,๖๘๓ ๑๕.๓๕
ชลบรุ ี ๙๕๙,๔๑๗ ๑๑๓,๔๕๖ ๑,๘๖๔,๖๗๑ ๓๒๐,๒๒๗ ๑๗.๑๗ ๕๒๐,๕๒๘ ๒๒.๖๙
๑,๖๔๓,๔๒๔ ๑๙.๖๘
ระยอง ๔๕๘,๔๔๘ ๔๔,๔๗๒ ๑,๘๓๕,๕๙๐ ๔๗๖,๐๕๖ ๒๕.๙๓
พ้นื ที่ EEC ๑,๖๖๒,๑๗๒ ๑๖๗,๑๖๖ ๖,๖๘๖,๗๙๕ ๑,๔๗๖,๒๕๘ ๒๒.๐๗
ทม่ี า: จากการแปลภาพถา่ ยจากดาวเทยี ม
โครงการจัดทาแผนส่ิงแวดล้อมในพืน้ ทเี่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๑๙