The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานฉบับสุดท้าย_เล่มที่ 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ONEP-EEC, 2021-12-22 13:33:58

รายงานฉบับสุดท้าย_เล่มที่ 1

รายงานฉบับสุดท้าย_เล่มที่ 1

รายงานฉบับสุดท้าย

๒SDG Goals ๓Raworth (2017) อ่ืน ๆ
ชี้วดั วิธีการคานวณ ตัวช้วี ดั วิธกี ารคานวณ
ตัวชี้วดั วิธีการ
ะกอบใน
Floor คานวณ

นวโนม้ ของ Secretariat ท้องถิ่นที่คงอยู่
นเสือ่ มโทรม (2015) x สัดส่วนของ
๑ พื้นที่ พืน้ ที่ตน้ ไม้ที่
คมุ้ ครอง เหลอื ในหน่วย
ภาวะความ
นทะเลเฉลี่ย เชิงพ้ืนท่ี
ดท่สี ถานี
นการสมุ่ ความอมิ่ ตัวเฉล่ีย อยา่ งนอ้ ยรอ้ ย
อยา่ ง ของแคลเซยี ม ละ ๘๐ ของ
คาร์บอเนตท่ี ระดบั ความ
สดั สว่ นของ พน้ื ผิวมหาสมทุ ร อิม่ ตวั กอ่ น
ยในระดบั คดิ จากรอ้ ยละ อุตสาหกรรม
งยืนทาง ของระดบั ความ
ภาพ เป็นกรด กอ่ น
ร้อยละของ อุตสาหกรรม
ขาประมง

สัดสว่ นของพื้นท่ี สถติ ริ ้อยละ
ทม่ี ีปา่ ปกคลมุ ท่ี (อยา่ งน้อย

๕ - ๒๕๖๙ ๕-๙

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม

ปจจัย ๑Boa (2020)

ตัวชี้วดั วธิ ีการคานวณ ตัวช

สดั สวนพ้นื ทปี่ า่ พน้ื ทป่ี ่า/พื้นท่ี
ทง้ั หมด

สัดสวนพ้นื ท่วี า่ ง พนื้ ทีว่ ่างเปลา่ /
เปลา่ พ้ืนท่ีทั้งหมด

๑Boa, H. et al. (2020). Resources and Environmental Pressure, Carrying Capacity, and Governance. A
๒United Nations Thailand. (ม.ป.ป.). เปา้ หมายการพัฒนาอยา่ งยั่งยืนของประเทศไทย. [สบื ค้นเมื่อ ๒๑ มกราคม
๓Raworth, K. A. (2017). Doughnut for the Anthropocene: humanity’s compass in the 21st century. T
๔Van den Bergh, J.C.J.M.; Verbruggen, H. Spatial sustainability, trade and indicators: an evaluation of
๕พงษ์ศกั ดิ์ วิทวัสชุตกิ ลุ , พิณทิพย์ ธิตโิ รจนวัฒน์, ธรรมนูญ แก้วอาพุท, บุญมา ดีแสง, สาเรงิ ปานอุทัย, สุพจน์ เจริญ

นนท์, และไพรินทร์ เชือ่ มชติ . (ม.ม.ป) "แบบจาลองเพ่ือประเมนิ คุณค่า-มลู คา่ ความหลากหลายทางชวี ภาพ
๖GEO BON Secretariat (2015) Global Biodiversity Change Indicators. Version 1.2, Group on Earth Obs

โครงการจดั ทาแผนสงิ่ แวดล้อมในพืน้ ท่เี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕

๒SDG Goals ๓Raworth (2017) รายงานฉบับสุดทา้ ย
ช้ีวดั วิธกี ารคานวณ
ตัวช้ีวดั วธิ กี าร อ่ืน ๆ
ตัวช้วี ดั วธิ กี ารคานวณ

คานวณ

ไมถ่ กู รบกวนจาก รอ้ ยละ ๗๕ )

มนษุ ย์

A Case Study of Yangtze River Economic Belt, Sustainability.12, 1576.
ม ๒๕๖๔] จากเว็บไซต์ https://www.un.or.th/globalgoals/th/the-goals/
TheLancet Planetary Health 2017; 1(2): 48-49.
f the ’ecological footprint’. Ecol. Indic. 1999, 29, 61–72.
ญสุข, ปทั มา ทิพรส, จาเนียร เผ่อื นดา, โสภาศิรไิ พพรรณ, ชลดา ออ่ นอาษา, วารนิ ทร์ จริ ะสุขทวีกลุ , ชลาทร ศรตี ุลา
พของระบบนเิ วศปา่ ตน้ นา้ " การประชุมเชิงปฏบิ ัตกิ าร กุมภาพนั ธุ์ ๒๕๕๗
servation Network Secretariat. Leipzig, 20 pages.

๕ - ๒๕๖๙ ๕ - ๑๐

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย

๕.๒ การประเมนิ ศกั ยภาพการรองรบั ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม
การประเมินศักยภาพในการรองรับเป็นเคร่ืองมือทางนิเวศสาหรับการประเมินระดับความยั่งยืนของ

กิจกรรมมนุษย์ในขนาดพ้ืนที่ต่าง ๆ โดยคานึงถึงขีดจากัดของทรัพยากรธรรมชาติและความเส่ือมโทรมของ
สภาพแวดล้อม ในระดับท่ีไม่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทางลบอย่างรุนแรง (The Environmental
Literacy Council, 2015) ในการจัดทาแผนส่ิงแวดล้อมในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ระยะที่ ๒ ได้
ศึกษาและประเมินความสามารถในการรองรับของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในภาพรวมของพ้ืนที่
เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก โดยการศึกษาและวิเคราะห์ปัจจัยที่เกี่ยวข้องจากข้อมูลทุติยภูมิที่เป็นเอกสาร
ทางวิชาการร่วมกับการพิจารณาเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ แล้วได้คัดเลือก
ประเด็นร่วมท่ีผลการศึกษาท่ีผ่านมาให้ความสาคัญตรงกันและสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างย่ังยืน
โดยแบ่งเป็น ๒ กลุ่ม ประกอบด้วย กลุ่มทรัพยากรและสุขภาพ และกลุ่มสิ่งแวดล้อม โดยมีปัจจัย ดัชนีช้ีวัด
และเกณฑช์ ีว้ ดั สาหรับการประเมินศกั ยภาพการรองรับของพนื้ ที่ปรากฏดงั ตารางที่ ๕ - ๓

ตารางท่ี ๕ - ๓ ปจจัย ดชั นีชว้ี ัด และเกณฑช์ ี้วัดสาหรับการประเมินศกั ยภาพการรองรับของพน้ื ที่

ปจจยั ดชั นชี ี้วัด เกณฑ์ชว้ี ัด

ด้านทรัพยากรและสขุ ภาพ

๑. ความสามารถในการ - ปรมิ าณข้าวทผี่ ลติ ได้ในพน้ื ที่ (Food - ปริมาณข้าวทผ่ี ลิตได้ในพ้นื ทต่ี ่อปี > ความ

รองรับด้านอาหาร Availability) ต้องการขา้ วเพื่อบริโภคในพน้ื ทต่ี ่อปี-รายได้ >

- ความสามารถในการเข้าถงึ อาหาร (Food รายจา่ ย

Accessibility)

๒. ความสามารถในการ - สมดลุ การใช้นา้ - ปริมาณน้าที่มีในพื้นที่ต่อความต้องการใช้น้า
รองรบั ดา้ นทรพั ยากรนา้ ในพื้นท่ีครัวเรือนมีน้าสะอาดดื่มและบริโภค

เพียงพอตลอดปี (ฐานขอ้ มูล กชช. ๒ค.)

- อตั ราการเขา้ ถงึ น้าสะอาด

๓. ความสามารถในการ ภาวะการตายดว้ ยโรคไมต่ ิดต่อ (NCDs) ร้อยละการตาย NCDs <ค่าการตายNCDsของ

รองรับด้านสขุ ภาพ ประชากรโลก (๗๑%)

ด้านสง่ิ แวดลอ้ ม Air Quality Index วันสะสมทีม่ ีค่า AQI สงู กว่า ๑๐๐
๔. ความสามารถในการ
รองรบั ด้านมลภาวะ

๔.๑ พิษทางอากาศ

๔.๒ ขยะมูลฝอย การกาจัดทีไ่ ม่ถูกหลักวชิ าการ ปริมาณการกาจัดท่ีไม่ถูกหลักวิชาการ ไม่เกิน

ร้อยละ ๕๐

๔.๓ น้าเสยี Water Quality Index เฉลี่ยไม่เกนิ ระดับ ๓

๕. ความสามารถในการ การปลดปล่อยคาร์บอนจากกิจกรรมของ คาร์บอนฟุตพรน้ิ ท์ (earth share = 1.9 gha/คน)

รองรบั ดา้ นการเปลยี่ นแปลง มนุษย์

โครงการจัดทาแผนสิ่งแวดลอ้ มในพ้นื ทเี่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๖๙ ๕ - ๑๑

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม รายงานฉบับสุดทา้ ย

ปจจัย ดชั นชี ้วี ัด เกณฑ์ชว้ี ดั

สภาพภมู ิอากาศ

๖. ความสามารถในการ ความหลากหลายทางชีวภาพของระบบ BDV>๔๒ = สูง.

รองรบั ด้านความ นเิ วศ (BDV) BDV๓๙-๔๒ = คอ้ นข้างสูง.

หลากหลายทางชีวภาพ BDV๓๑-๓๘ = ปานกลาง

BDV๑๔-๓๐ = คอ้ นข้างต่า.

BDV<๑๔ = ตา่

๗. ความสามารถในการ ภาวะความเป็นกรดในทะเลเฉลยี่ (pH) ไม่เกนิ คา่ มาตรฐาน pH (๗.๐-๘.๕)

รองรับดา้ นคณุ ภาพนา้ ทะเล

ภาวะความสกปรกของนา้ ทะเล (MWQI) ไม่เกินคา่ มาตรฐานระดับ ๓

๘. ความสามารถในการ ความเพียงพอของพน้ื ที่เพื่อการดารงชวี ติ ต่อ พ้ืนท่ีเพาะปลูก > พ้ืนที่ท่ีก่อให้เกิดCarbon

รองรบั ด้านการใชท้ ดี่ ิน ประชากรหนง่ึ คน Footprint ของพ้ืนที่

จากตารางท่ี ๕ - ๓ ปัจจัย ดัชนีช้ีวัด และเกณฑ์ช้ีวัดสาหรับการประเมินศักยภาพการรองรับของพื้นท่ี
มรี ายละเอียด ดังนี้

๕.๒.๑ ความสามารถในการรองรับดา้ นอาหาร
ค ว าม ม่ั น ค งท าง อ า ห าร เป็ น ป ระ เด็ น ท้ า ท าย ส า คั ญ ร ะดั บ โล ก ใน อ น าค ต ที่ สั ม พั น ธ์ กั บ ปั ญ ห า ก า ร
เปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลกท่ีการแก้ไขต้องอาศัยความร่วมมือจากท้ังภาครัฐและเอกชนอยากจริงจัง
(Rosamond Hutt, 2016) องค์การสหประชาชาติ (Untied Nation) ได้กาหนดให้เรื่องการยุติความอดอยาก
เป็นเป้าหมายหน่ึงของเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยกาหนดให้การส่งเสริมการเกษตรยั่งยืนเป็นเป้าหมาย
ลาดบั ท่ี ๒ ในเป้าหมายการพัฒนาท่ียง่ั ยืนท้งั หมด ๑๗ เปา้ หมาย โดยในขอ้ ท่ี ๒.๑ โดยกาหนดเป้าหมายภายใน
ปี ค.ศ. 2030 ในการยุติความหิวโหยและสรา้ งหลักประกนั ให้คนทุกคนโดยเฉพาะอย่างยงิ่ คนยากจนและคนท่ี
อยู่ในสถานการณ์ที่เปราะบาง รวมถึงเด็กทารกให้ได้รับอาหารที่ปลอดภัยมีคุณค่าทางโภชนาการและเพียงพอ
ตลอดทั้งปี โดยมีตัวช้ีวัด ๒ ข้อ คือ ประชากรท่ีขาดสารอาหาร และ ร้อยละความไม่ม่ันคงด้านอาหารของ
ประชากรที่มีในระดับปานกลางหรือรุนแรง ประกอบกับแนวคิด Doughnut Economics (Raworth, K. A.,
2017) ที่ให้ความสาคัญต่อการเข้าถึงที่แตกต่างกันในด้านมิติทางด้านอาหารของสังคมโลก โดยใช้ตัวชี้วัด คือ
สดั ส่วนประชากรที่ขาดสารอาหารซึง่ สอดคลอ้ งกบั เป้าหมาย SDGs ในข้อท่ี ๒.๑.๑
การประเมนิ ความความสามารถในการรองรบั ด้านอาหารของพื้นทีพ่ ฒั นาเขตพัฒนาพเิ ศษตะวนั ออก จงึ
ได้พจิ ารณาประเด็นความม่ันคงทางด้านอาหาร โดยวเิ คราะหเ์ พดานดา้ นการรองรบั ของทรัพยากรในพ้นื ท่ี ใน
ประเด็นการมอี ยู่ของข้าวในพื้นท่ี (Food Availability) และวิเคราะหด์ ้านสังคม ในประเดน็ ความสามารถใน
การเข้าถึงอาหาร (Food Accessibility)

โครงการจัดทาแผนสง่ิ แวดลอ้ มในพ้นื ทีเ่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๖๙ ๕ - ๑๒

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดทา้ ย

๕.๒.๑.๑ การวเิ คราะหเ์ พดานดา้ นการรองรบั ของทรัพยากรในพื้นที่ ในประเดนปริมาณข้าว
ท่ีผลติ ไดใ้ นพื้นที่ (Food Availability)

หากพิจารณาถึงปริมาณข้าวท่ีผลิตได้ในพ้ืนที่ (Food Availability) ซึ่งในที่นี้หมายถึง มีอาหาร
ในปริมาณท่ีเพียงพอ โดยพิจารณาเฉพาะข้าว เน่ืองด้วยเป็นอาหารหลักของคนไทย และประเทศไทยมี
ความสามารถผลิตข้าวได้อย่างเพียงพอต่อการบริโภคภายในประเทศถึงร้อยละ ๗๕ (นนทกานต์ จันทร์อ่อน,
๒๕๕๗)

ในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก มีเน้ือท่ีเพาะปลูกข้าว ๑,๐๒๓,๐๒๑ ไร่ คดิ เป็นร้อยละ
๑๒.๓ ของพ้ืนที่ทั้งหมด มีเนื้อที่เก็บเกี่ยว ๑,๐๑๐,๗๓๗ ไร่ ผลผลิตเฉลี่ย ๓,๔๙๔๓,๔๙๔ กิโลกรัมต่อไร่ หาก
พจิ ารณาในรายจงั หวดั พบว่า

จังหวัดฉะเชิงเทรา มีเนื้อท่ีเพาะปลูกข้าว ๙๐๒,๘๘๒ ไร่ คิดเป็นร้อยละ ๒๗.๙ ของพื้นท่ี
ท้ังหมดของจังหวดั ฉะเชิงเทรา มีเนอื้ ทเ่ี ก็บเกี่ยว ๘๙๒,๖๘๗ ไร่ มีผลผลิตข้าวเฉลยี่ ๑,๓๒๓ กโิ ลกรัมตอ่ ไร่

จังหวัดชลบุรี มีเนื้อที่เพาะปลูกข้าว ๗๐,๘๘๖ ไร่ คิดเป็นร้อยละ ๒.๕ ของพื้นที่ทั้งหมดของ
จังหวัดชลบรุ ี มเี นอื้ ทเ่ี ก็บเกยี่ ว ๖๙,๑๑๔ ไร่ มีผลผลิตขา้ วเฉล่ีย ๑,๐๐๓ กโิ ลกรัมตอ่ ไร่

จังหวัดระยอง มีเน้ือท่ีเพาะปลูกข้าว ๔๙,๒๕๓ ไร่ คิดเป็นร้อยละ ๒.๑ ของพ้ืนที่ท้ังหมดของ
จังหวัดระยอง มีเน้ือที่เก็บเก่ียว ๔๘,๙๐๖ ไร่ มีผลผลิตข้าวเฉล่ีย ๑,๑๖๘ กิโลกรัมต่อไร่ (กรมพัฒนาท่ีดิน,
๒๕๖๒; สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, ๒๕๖๒)

ตารางที่ ๕ - ๔ พ้นื ท่ีเพาะปลกู ข้าวในพ้ืนที่เขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก

ภาค จังหวัด พื้นทีท่ ้ังหมด* พื้นทเี่ พาะปลูก (ไร่)** รอ้ ย เนื้อท่เี กบเกีย่ ว (ไร่)** ผลผลติ ตอ่ ไร่ (กก.)**
ละ

ฉะเชิงเทรา ๓,๒๓๐,๘๗๓.๔๙ ๙๐๒,๘๘๒ ๒๗.๙ ๘๙๒,๖๘๗ ๑,๓๒๓

ชลบุรี ๒,๘๑๗,๕๑๕.๐๓ ๗๐,๘๘๖ ๒.๕ ๖๙,๑๑๔ ๑,๐๐๓

ระยอง ๒,๒๙๑,๐๐๓.๘๐ ๔๙,๒๕๓ ๒.๑ ๔๘,๙๐๖ ๑,๑๖๘

รวม ๘,๓๓๙,๓๙๒.๓๒ ๑,๐๒๓,๐๒๑ ๑๒.๓ ๑,๐๑๐,๗๓๗ ๓,๔๙๔

ท่ีมา: * กรมพฒั นาทดี่ นิ , ๒๕๖๒
** สานกั งานเศรษฐกิจการเกษตร, ๒๕๖๒

หมายเหต:ุ ผลผลติ ของข้าวนาปีและนาปรัง (ขา้ วเปลือก): ปเี พาะปลูก ๒๕๖๒/๖๓ ที่ความชน้ื ๑๕%

แนวคิดของการมีอาหารในปริมาณที่เพียงพอในพ้ืนท่ี ในการศึกษาคร้ังน้ี คานวณจากปริมาณ
ขา้ วที่ผลิตไดใ้ นพ้ืนท่ีต่อปีเทียบกับความต้องการข้าวเพ่ือบริโภคในพื้นที่ต่อปี โดยมสี มมติฐานว่า ปริมาณข้าวที่
ผลิตได้ในพ้นื ท่ที ง้ั หมดสามารถเป็นแหล่งอาหารให้กบั คนในพ้นื ท่ีเพื่อการบรโิ ภคได้ ซ่งึ มรี ายละเอียดดงั นี้

ในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก มผี ลผลติ ข้าวเปลอื ก ๒,๒๔๐,๘๐๔ ตนั คิดเป็นปริมาณ
ผลผลิตข้าวสารในพื้นที่เท่ากับ ๑,๕๖๘,๕๖๓ ตันต่อปี และมีปริมาณข้าวที่คนในพื้นที่บริโภคเท่ากับ
๒๕๐,๐๙๓ ตันต่อปีเท่ากับผลผลิตข้าวคิดเป็นร้อยละ ๖๒๗.๑๙ ของปริมาณที่บริโภค หากพิจารณาส่วนต่าง

โครงการจัดทาแผนส่งิ แวดลอ้ มในพืน้ ทีเ่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๖๙ ๕ - ๑๓

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสุดทา้ ย

พบว่า ผลผลิตข้าวในพื้นทีม่ ีความเพียงพอต่อความต้องการของคนในพื้นทเี่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก หรือ
ผลผลิตข้าวในพื้นท่ีมีปริมาณท่ีมากกว่าความต้องการของคนในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ร้อยละ
๕๒๗.๑๙ หากพจิ ารณาในรายจังหวดั พบวา่

จังหวัดฉะเชิงเทรา มีผลผลิตข้าวเปลือก ๑,๑๘๑,๐๒๕ ตัน คิดเป็นปริมาณผลผลิตข้าวสารใน
พ้ืนท่ีเท่ากับ ๘๒๖,๗๑๗ ตันต่อปี และมีปริมาณข้าวท่ีคนในพ้ืนที่บริโภคเท่ากับ ๕๙,๗๖๙ ตันต่อปี ซ่ึงเท่ากับ
ผลผลิตข้าวคิดเป็นร้อยละ ๑,๓๘๓.๑๙ ของปริมาณที่บริโภคผลผลิตข้าวในพื้นที่มีความเพียงพอต่อความ
ต้องการของคนในพื้นที่กล่าวอีกนัยหนึ่ง คือ จังหวัดฉะเชิงเทราสามารถผลิตข้าวได้ในปริมาณที่มากกว่าความ
ตอ้ งการของคนในจังหวัด รอ้ ยละ ๑,๒๘๓.๑๙

จงั หวัดชลบุรี มีผลผลิตข้าวเปลอื ก ๖๙,๓๕๑ ตัน คดิ เปน็ ปริมาณผลผลิตข้าวสารในพ้นื ที่เท่ากับ
๔๘,๕๔๖ ตันต่อปี และมีปริมาณข้าวที่คนในพ้ืนท่ีบริโภคเท่ากับ ๑๒๙,๓๓๙ ตันต่อปี เท่ากับผลผลิตข้าวคิด
เป็นร้อยละ ๓๗.๕๓ ของปริมาณท่ีบริโภคหากพิจารณาปริมาณผลผลิตข้าวสารและปริมาณข้าวท่ีคนในพ้ืนที่
บริโภค พบว่า ปริมาณผลผลิตข้าวสารไม่เพียงพอต่อความต้องการในพ้ืนที่ กล่าวอีกนัยหนึ่ง คือ จังหวัดชลบุรี
สามารถผลิตข้าวไดใ้ นปริมาณทนี่ ้อยกว่าความต้องการของคนในจังหวดั รอ้ ยละ ๖๒.๓๗

จังหวัดระยอง มีผลผลิตข้าวเปลือก ๕๗,๑๒๒ ตัน คิดเป็นปริมาณผลผลิตข้าวสารในพ้ืนท่ี
เท่ากบั ๓๙,๙๘๖ ตันต่อปี และมีปริมาณข้าวท่ีคนในพ้ืนที่บรโิ ภคเท่ากับ ๖๐,๙๘๔ ตันต่อปี เท่ากับผลผลิตข้าว
คิดเป็นร้อยละ ๖๕.๕๗ ของปริมาณท่ีบริโภคปริมาณผลผลิตข้าวสารไม่เพียงพอต่อความต้องการในพื้นท่ีกล่าว
อีกนัยหนึ่ง คือ จังหวัดระยองสามารถผลิตข้าวได้ในปริมาณท่ีน้อยกว่าความต้องการของคนในจังหวัด ร้อยละ
๓๔.๔๓

กล่าวโดยสรุป เม่ือพิจารณาความสามารถในการรองรับด้านอาหาร ปริมาณข้าวที่ผลิตได้ใน
พ้ืนท่ีต่อปีเทียบกับความต้องการข้าวเพ่ือบริโภคในพื้นที่ต่อปี ในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก จังหวัด
ฉะเชิงเทรามีความมั่นคงด้านอาหาร สามารถผลิตข้าวได้ในปริมาณที่มากกว่าความต้องการของคนในจังหวัด
ร้อยละ ๑,๒๘๓.๑๙ ในขณะที่จังหวัดชลบุรีและจังหวัดระยอง ไม่มีความมั่นคงด้านอาหาร ผลิตข้าวได้ใน
ปรมิ าณท่ีน้อยกว่าความตอ้ งการของคนในจงั หวัด รอ้ ยละ ๖๒.๓๗ และร้อยละ ๓๔.๔๓ ตามลาดับ

โครงการจัดทาแผนส่ิงแวดล้อมในพ้ืนทีเ่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๖๙ ๕ - ๑๔

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ท้าย

ตารางท่ี ๕ - ๕ ความต้องการในการบริโภคข้าวในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก

จังหวดั ผลผลิต ผลผลิต จานวน ปริมาณขา้ วท่คี นในพน้ื ที่ ผลผลติ -ปริมาณ ความสามารถใน
ข้าวเปลือก ขา้ วสาร ประชากร * บรโิ ภค (ตนั ปี) การบริโภค การรองรับดา้ น
(ตนั ปี) (ตนั ปี) (ตนั ปี) อาหาร (%)
(คน)

ฉะเชงิ เทรา ๑,๑๘๑,๐๒๕ ๘๒๖,๗๑๗ ๗๒๐,๑๑๓ ๕๙,๗๖๙ ๗๖๖,๙๔๘ ๑๒๘๓.๑๙

ชลบรุ ี ๖๙,๓๕๑ ๔๘,๕๔๖ ๑,๕๕๘,๓๐๑ ๑๒๙,๓๓๙ -๘๐,๗๙๓ -๖๒.๔๗

ระยอง ๕๗,๑๒๒ ๓๙,๙๘๖ ๗๓๔,๗๕๓ ๖๐,๙๘๔ -๒๐,๙๙๙ -๓๔.๔๓

EEC ๒,๒๔๐,๘๐๔ ๑,๕๖๘,๕๖๓ ๓,๐๑๓,๑๖๗ ๒๕๐,๐๙๓ ๑,๓๑๘,๔๗๐ ๕๒๗.๑๙

หมายเหต:ุ ๑) ผลผลิตข้าวเปลือกไดม้ าจาก เนือ้ ท่เี ก็บเกีย่ ว x ผลผลติ ตอ่ ไร่

๒) ผลผลติ ขา้ วสาร ได้มาจาก ผลผลิตขา้ วเปลือก x ๐.๗ (ขา้ วเปลอื ก ๑ กโิ ลกรมั จะได้ขา้ วสาร ๐.๖๐ – ๐.๘๐

กโิ ลกรมั , กระทรวงเกษตรและสหกรณ,์ ม.ป.ป อ้างใน วันเพญ็ เจรญิ ตระกูลปตี แิ ละอจั ฉรา วัฒนภญิ โญ, ๒๕๖๑)

๓) ปริมาณขา้ วทีค่ นในพ้ืนทบี่ ริโภค ไดม้ าจาก ผลผลติ ขา้ วสาร x ๘๓ กิโลกรัม ซ่งึ เปน็ ปริมาณข้าว ที่คนไทยบรโิ ภค

เฉลยี่ ตอ่ คนตอ่ ปี (marketeeronline, 2020)

๕.๒.๑.๒ การวเิ คราะหด์ า้ นสังคม ในประเดนความสามารถในการเขา้ ถึงอาหาร (Food
Accessibility)

ความมั่นคงทางเศรษฐกิจเป็นส่วนประกอบหน่ึงในแนวคิดความมั่นคงของมนุษย์ (Human
Security) ซ่ึงสานักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (United Nations Development Program:
UNDP) ไดนิยามว่าเป็นภาวะที่บุคคลมีรายไดพอเพียงแกการยังชีพและมีหลักประกันการมีงานทาหรือการ
ประกันสังคม หากพิจารณาในมิติของความม่ันคงทางเศรษฐกิจ หมายถึง การมีช่องทางเลี้ยงชีพ มีรายได
เพียงพอแกความจาเป็นพื้นฐาน นั่นแสดงถึงความมั่นคงทางเศรษฐกิจท่ีเป็นหนึ่งเดียวกับการดารงชีพของ
มนษุ ย์ ประกอบไปด้วย ความม่ันคงในการประกอบอาชพี เพื่อให้เกิดรายไดในการดารงชีพ และความมั่นคงดา้ น
รายได้จะก่อให้เกิดปัจจัย ๔ ในการดารงชีพ อาทิ ท่ีอยู่อาศัย อาหาร ยารักษาโรค เส้ือผ้าเคร่ืองนุ่งห่ม และยัง
รวมไปถึงการลงทุนทางการศึกษา อันก่อให้เกิดความรูและประสบการณอ่ืน ๆ ตามมา ความม่ันคงด้าน
ทรัพย์สินท่ีก่อให้เกิดการออม และมีรายรบั รายจา่ ยเพียงพอในการดาเนินชีวิตประจาวัน (รติพร ถึงฝ่ัง และ รัช
พนั ธ์ุ เชยจติ ร, ๒๕๕๘)

ดังนั้นความมั่นคงทางอาหารในมิติความสามารถในการเข้าถึงอาหาร (Food Accessibility)
หมายถึง การมีรายรับที่เพียงพอสาหรับรายจ่าย โดยเฉพาะทางด้านอาหาร หากประชากรมีรายจ่ายสูงกว่า
รายรับ จะเกิดความไม่มั่นคงด้านอาหาร ในการศึกษานี้จึงพิจารณารายจ่ายเฉล่ียต่อหัว และรายได้เฉล่ียต่อหัว
และพบวา่

จังหวัดฉะเชิงเทรา ประชาชนในพื้นท่ีมีรายได้บุคคลเฉล่ีย ๘๗,๕๑๒.๐๐ บาทต่อปี มีรายจ่าย
บุคคลเฉลี่ย๕๘,๑๕๙.๕๔ บาทต่อปี หากพิจารณาส่วนต่างของรายได้และรายจ่ายแล้ว เท่ากับ ๒๙,๓๕๒.๔๖
บาทต่อปี หากพจิ ารณาในรายอาเภอ พบวา่ อาเภอบ้านโพธิ์ มีสว่ นต่างของรายได้และรายจา่ ยสูงกว่าอาเภออื่น
คอื ๔๖,๗๙๕.๕๙ บาทต่อปี ซ่ึงอาจตีความไดว้ ่า ประชาชนในพน้ื ทคี่ วามมนั่ คงดา้ นรายได้อันชว่ ยสนับสนุนการ

โครงการจดั ทาแผนส่ิงแวดลอ้ มในพืน้ ทีเ่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๖๙ ๕ - ๑๕

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม รายงานฉบับสุดทา้ ย

เข้าถึงอาหารที่เพียงพอ ส่วนอาเภอสนามชัยเขต มีส่วนต่างของรายได้และรายจ่ายต่ากว่าอาเภออ่ืน ๆ คือ
๒๐,๘๕๘.๒๓ บาทต่อปี รายละเอียดดงั ตารางท่ี ๕ - ๖

ตารางที่ ๕ - ๖ รายจา่ ยเฉล่ียต่อหัว และรายไดเ้ ฉลีย่ ต่อหวั ของจังหวัดฉะเชงิ เทรา

อาเภอ รายไดบ้ คุ คลเฉลย่ี (บาท ปี) รายจ่ายบคุ คลเฉลย่ี (บาท ปี) รายได-้ รายจา่ ย
๓๒,๖๐๐.๘๐
เมอื งฉะเชงิ เทรา ๙๘,๗๙๕.๕๖ ๖๖,๑๙๔.๗๖ ๒๗,๗๙๒.๐๒
๒๔,๕๑๘.๙๔
บางคลา้ ๙๓,๗๒๖.๒๔ ๖๕,๙๓๔.๒๒ ๒๙,๕๗๐.๐๖
๔๖,๗๙๕.๕๙
บางนา้ เปร้ียว ๗๕,๖๕๑.๙๐ ๕๑,๑๓๒.๙๖ ๓๐,๙๑๙.๑๒
๓๓,๘๗๑.๘๖
บางปะกง ๑๐๑,๒๒๐.๖๖ ๗๑,๖๕๐.๖๐ ๒๐,๘๕๘.๒๓
๒๕,๘๐๒.๖๕
บา้ นโพธ์ิ ๑๐๑,๒๐๘.๔๔ ๕๔,๔๑๒.๘๕ ๒๒,๘๒๘.๒๖
๒๖,๒๘๘.๓๒
พนมสารคาม ๘๖,๓๑๒.๐๕ ๕๕,๓๙๒.๙๓ ๒๙,๓๕๒.๔๖

ราชสาสน์ ๘๗,๕๗๑.๙๕ ๕๓,๗๐๐.๐๙

สนามชยั เขต ๗๒,๔๐๓.๒๖ ๕๑,๕๔๕.๐๓

แปลงยาว ๙๐,๕๘๑.๗๑ ๖๔,๗๗๙.๐๖

ท่าตะเกียบ ๖๑,๔๑๐.๙๘ ๓๘,๕๘๒.๗๒

คลองเขือ่ น ๗๙,๔๕๑.๙๒ ๕๓,๑๖๓.๖๐

เฉล่ยี ทงั้ ส้นิ ๘๗,๕๑๒.๐๐ ๕๘,๑๕๙.๕๔

ทมี่ า: ข้อมูลความจาเปน็ พนื้ ฐาน (จปฐ.) ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ กรมพฒั นาชุมชน, ๒๕๖๒

จังหวัดชลบุรี ประชาชนในจังหวัดชลบุรีมีรายได้บุคคลเฉลี่ย ๑๔๓,๔๐๗.๐๘ บาทต่อปี มี
รายจ่ายบุคคลเฉลี่ย๙๐,๑๑๗.๖๕ บาทต่อปี หากพิจารณาส่วนต่างของรายได้และรายจ่ายแล้ว เท่ากับ
๕๓,๒๘๙.๔๓ บาทต่อปี หากพจิ ารณาในรายอาเภอ พบว่า อาเภอศรีราชา มีส่วนตา่ งของรายได้และรายจ่ายสูง
กว่าอาเภออ่ืน คือ ๘๔,๑๓๕.๕๓บาทต่อปี ส่วนอาเภอเกาะจันทร์ มีส่วนต่างของรายได้และรายจ่ายต่ากว่า

อาเภออื่น ๆ คือ ๒๓,๘๕๒.๕๑ บาทตอ่ ปีรายละเอยี ดดังตารางท่ี ๕ - ๗

ตารางท่ี ๕ - ๗ รายจ่ายเฉลี่ยต่อหัว และรายไดเ้ ฉลย่ี ต่อหัวของจังหวดั ชลบรุ ี

อาเภอ รายไดบ้ ุคคลเฉล่ีย (บาท ป)ี รายจา่ ยบุคคลเฉลยี่ (บาท ป)ี รายได-้ รายจ่าย
๓๗,๓๘๓.๔๗
เมอื งชลบรุ ี ๑๒๓,๙๘๔.๒๑ ๘๖,๖๐๐.๗๔ ๕๐,๒๐๔.๕๐
๒๙,๘๔๔.๗๖
บ้านบึง ๑๑๔,๒๔๑.๑๐ ๖๔,๐๓๖.๖๐ ๔๖,๙๑๗.๘๕
๔๘,๖๑๑.๓๒
หนองใหญ่ ๘๕,๐๕๙.๓๙ ๕๕,๒๑๔.๖๓ ๓๑,๙๑๒.๖๒
๘๔,๑๓๕.๕๓
บางละมุง ๑๕๓,๐๕๗.๗๑ ๑๐๖,๑๓๙.๘๖ ๓๓,๔๙๙.๔๕
๘๐,๗๐๓.๒๙
พานทอง ๑๓๐,๐๕๙.๓๘ ๘๑,๔๔๘.๐๖ ๒๗,๙๔๗.๒๙
๒๓,๘๕๒.๕๑
พนัสนคิ ม ๘๕,๙๕๙.๔๒ ๕๔,๐๔๖.๘๐ ๕๓,๒๘๙.๔๓

ศรีราชา ๒๐๑,๔๘๐.๐๐ ๑๑๗,๓๔๔.๔๗

เกาะสชี ัง ๙๕,๔๒๒.๗๖ ๖๑,๙๒๓.๓๑

สัตหบี ๒๑๗,๙๔๕.๓๖ ๑๓๗,๒๔๒.๐๗

บอ่ ทอง ๗๘,๘๓๙.๕๔ ๕๐,๘๙๒.๒๕

เกาะจนั ทร์ ๘๘,๔๔๖.๘๙ ๖๔,๕๙๔.๓๘

เฉลยี่ ทง้ั ส้ิน ๑๔๓,๔๐๗.๐๘ ๙๐,๑๑๗.๖๕

ที่มา: ขอ้ มลู ความจาเปน็ พืน้ ฐาน (จปฐ.) ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ กรมพัฒนาชุมชน, ๒๕๖๒

โครงการจดั ทาแผนสิ่งแวดล้อมในพ้นื ทเ่ี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๖๙ ๕ - ๑๖

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม รายงานฉบบั สุดทา้ ย

จังหวัดระยอง ประชาชนในจังหวัดระยองมีรายได้บุคคลเฉล่ีย ๑๒๔,๖๐๗.๗๓ บาทต่อปี มีรายจ่าย
บุคคลเฉล่ีย ๙๑,๒๔๗.๘๕ บาทต่อปี หากพิจารณาส่วนต่างของรายได้และรายจ่ายแล้ว เท่ากับ ๓๓,๓๕๙.๘๘
บาทต่อปี หากพิจารณาในรายอาเภอ พบว่า อาเภอปลวกแดงมีส่วนต่างของรายได้และรายจ่ายสูงกว่าอาเภอ
อน่ื คอื ๔๔,๖๓๐.๑๖ บาทต่อปี ส่วนอาเภอเขาชะเมามีส่วนต่างของรายได้และรายจ่ายต่ากวา่ อาเภออ่ืน ๆ คือ
๒๓,๘๕๒.๕๑ บาทตอ่ ปีรายละเอียดดังตารางที่ ๕ - ๘

ตารางท่ี ๕ - ๘ รายจ่ายเฉล่ียต่อหัว และรายไดเ้ ฉล่ียต่อหัวของจังหวัดระยอง

อาเภอ รายไดบ้ คุ คลเฉลย่ี (บาท ปี) รายจา่ ยบคุ คลเฉลย่ี (บาท ปี) รายได-้ รายจา่ ย
๒๗,๓๐๘.๔๘
เมอื งระยอง ๑๔๗,๗๕๐.๙๓ ๑๒๐,๔๔๒.๔๕ ๒๙,๑๘๑.๑๖
๓๕,๘๒๘.๒๖
บา้ นฉาง ๑๑๐,๖๘๒.๘๙ ๘๑,๕๐๑.๗๓ ๓๘,๓๒๘.๓๗
๔๑,๑๐๒.๔๗
แกลง ๑๐๗,๒๙๐.๙๐ ๗๑,๔๖๒.๖๔ ๔๔,๖๓๐.๑๖
๒๓,๒๗๗.๙๘
วงั จนั ทร์ ๑๐๗,๓๕๔.๗๑ ๖๙,๐๒๖.๓๔ ๓๕,๙๗๓.๔๑
๓๓,๓๕๙.๘๘
บา้ นคา่ ย ๑๐๔,๕๕๐.๗๗ ๖๓,๔๔๘.๓๐

ปลวกแดง ๑๔๑,๖๓๗.๕๕ ๙๗,๐๐๗.๓๙

เขาชะเมา ๖๘,๓๔๑.๗๗ ๔๕,๐๖๓.๗๙

นคิ มพัฒนา ๑๓๐,๕๔๒.๖๑ ๙๔,๕๖๙.๒๐

เฉลย่ี ทงั้ สน้ิ ๑๒๔,๖๐๗.๗๓ ๙๑,๒๔๗.๘๕

ทมี่ า: ข้อมลู ความจาเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ กรมพฒั นาชมุ ชน, ๒๕๖๒

ความสามารถในการเข้าถึงอาหาร (Food Accessibility) ในภาพรวมของพื้นท่ีเขตพฒั นาพเิ ศษ
ภาคตะวันออก พบว่าประชาชนในพ้ืนท่ีมีรายได้บุคคลเฉลี่ย ๑๒๔,๖๐๗.๗๓ บาทต่อปี มีรายจ่ายบุคคลเฉล่ีย
๗๙,๘๔๑.๖๘บาทต่อปี หากพิจารณาส่วนต่างของรายได้และรายจ่ายแล้ว เท่ากับ ๔๔,๗๖๖.๐๕ บาทต่อปี
รายละเอียดดังตารางที่ ๕ - ๙

ตารางที่ ๕ - ๙ รายจา่ ยเฉล่ยี ต่อหวั และรายได้เฉลีย่ ต่อหัวของประชากรในพื้นท่เี ขตพัฒนาพเิ ศษภาค

ตะวนั ออก

จงั หวดั รายไดบ้ ุคคลเฉลย่ี (บาท ป)ี รายจ่ายบคุ คลเฉลยี่ (บาท ปี) รายได้-รายจ่าย ความสามารถใน
(บาท ปี) การเขา้ ถงึ อาหาร

ฉะเชงิ เทรา ๘๗,๕๑๒.๐๐ ๕๘,๑๕๙.๕๔ ๒๙,๓๕๒.๔๖ (%)
๕๓,๒๘๙.๔๓ ๑๐๐
ชลบรุ ี ๑๔๓,๔๐๗.๐๘ ๙๐,๑๑๗.๖๕ ๓๓,๓๕๙.๘๘ ๑๐๐
๔๔,๗๖๖.๐๕ ๑๐๐
ระยอง ๑๒๔,๖๐๗.๗๓ ๙๑,๒๔๗.๘๕ ๑๐๐

EEC ๑๒๔,๖๐๗.๗๓ ๗๙,๘๔๑.๖๘

ท่มี า: ข้อมลู ความจาเป็นพ้นื ฐาน (จปฐ.) ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ กรมพัฒนาชมุ ชน, ๒๕๖๒

ในมิติความสามารถในการเข้าถึงอาหาร (Food Accessibility) ในการศึกษาน้ีนามิติทางด้าน
เศรษฐศาสตรม์ าพิจารณาว่ารายไดบ้ ุคคลเปน็ ตัวกาหนดความสามารถของครวั เรอื นในการซ้อื หาอาหาร ซ่ึงหาก
ประชาชนมีรายได้มากกว่ารายจ่าย ก็ถือว่าประชาชนมีความสามารถเข้าถึงอาหารได้ร้อยเปอร์เซ็นต์ในภาวะ

โครงการจัดทาแผนส่ิงแวดลอ้ มในพืน้ ท่ีเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๖๙ ๕ - ๑๗

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รายงานฉบับสุดทา้ ย

ปกติ อยา่ งไรก็ตามปัจจัยทางด้านการเงนิ ถือเป็นส่วนหน่ึงในการพิจารณาถึงความสามารถของคนในพื้นท่ีเขต
พัฒนาพิเศษภาคตะวันออกในการเข้าถึงอาหารเท่านั้น โดยท่ีความสามารถในการเข้าถึงอาหาร
(Food Accessibility) ยังสามารถพจิ ารณาถึงการเขา้ ถงึ อาหารจากแหลง่ ทรัพยากรธรรมชาติ เชน่ ทุ่งนา ปา่ ไม้
ทุ่งหญ้า และแหล่งน้า ซ่ึงถือเป็นปัจจัยท่ีสาคัญต่อความสามารถในการเข้าถึงอาหารของประชาชน เพราะถือ
เป็นแหล่งอาหารท่ีประชาชนสามารถเข้าถึงไดโ้ ดยไม่จาเป็นต้องใช้เงิน
๕.๓ ความสามารถในการรองรบั ด้านทรพั ยากรน้าของพนื้ ที่เขตพฒั นาพเิ ศษตะวันออก

ทรัพยากรน้า เป็นความจาเป็นพื้นฐานของการดารงชีวิต และยังเป็นประเด็นปัญหาท้าทายท่ีสังคมโลก
ตอ้ งเผชิญในอนาคต อันเน่ืองมาจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศโลก (Nils Zimmirmann, 2016) ดังน้ัน
ประเด็นความสามารถในการรองรับของทรัพยากรน้าในพ้ืนท่ีจึงมีความจาเป็น ซึ่งในโครงการฯ เป็นการ
วิเคราะห์ในภาพรวมด้านเพดานการรองรับด้านทรัพยากรน้า โดยพิจารณาในประเด็นของปริมาณน้าที่มีใน
พื้นท่ีต่อความต้องการใช้น้าในพื้นที่ และการวิเคราะห์ด้านสังคม ในประเด็น ครัวเรือนมีน้าสะอาดด่ืมและ
บริโภคเพียงพอตลอดปี

๕.๓.๑ การวเิ คราะหเ์ พดานการรองรับดา้ นทรัพยากรน้า ในประเดนของปริมาณนา้ ท่มี ใี นพื้นที่ตอ่
ความต้องการใช้น้าในพนื้ ท่ี

จากรายงานโครงการพัฒนาแหล่งนา้ และจดั การทรัพยากรน้าภาคตะวันออก (กรมทรัพยากรน้าแห่งชาติ
, ๒๕๖๐) ได้คาดการณ์ความต้องการน้าในอนาคตไว้ ๒๐ ปี นับตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๘๐ และในปี พ.ศ.
๒๕๖๐ พ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกมีความต้องการน้าในแต่ละภาคส่วนรวมทั้งหมด ๒,๓๗๕
ล้านลูกบาศก์เมตร แบ่งเป็นภาคอุปโภค/บริโภค ๒๒๗ ล้านลูกบาศก์เมตร ภาคเกษตรกรรม ๑,๕๙๔ ล้าน
ลูกบาศก์เมตร และภาคอุตสาหกรรม ๕๕๔ ล้านลูกบาศก์เมตร โดยมีปริมาณน้าต้นทุนทั้งหมด ๑,๒๑๕.๓๓
ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี ซึ่งปริมาณน้าต้นทุน (ปริมาณน้าท่ีถูกกักเก็บไว้ภายในพ้ืนที่) ที่มีอยู่มีปริมาณน้อยกว่า
ความต้องการนา้ ในแตล่ ะภาคส่วน ทาใหเ้ กนิ ขีดจากัดของทรัพยากรน้าในพืน้ ท่ี หากพจิ ารณาเฉพาะรายจังหวัด

ในพ้นื ท่ีเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออกสามารถวิเคราะห์ได้ดังนี้ (ตารางท่ี ๕ - ๑๐)

จังหวัดฉะเชิงเทรา ในปี พ.ศ. ๒๕๖๑ พ้ืนที่จังหวัดฉะเชิงเทรามีความต้องการน้าในแต่ละภาคส่วนรวม
ทั้งหมด ๑,๔๘๒ ล้านลูกบาศก์เมตร แบ่งเป็นภาคอุปโภค/บริโภค ๓๗ ล้านลูกบาศก์เมตร ภาคเกษตรกรรม
๑,๓๔๐ ล้านลูกบาศก์เมตร และภาคอุตสาหกรรม ๑๐๕ ล้านลูกบาศก์เมตร โดยมีปริมาณน้าต้นทุนทั้งหมด
๓๖๐.๑๑ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี ซ่ึงปริมาณน้าต้นทุนที่มีอยู่มีปริมาณน้อยกว่าความต้องการน้าในแต่ละภาค
ส่วน ทาใหเ้ กนิ ขดี จากัดของทรพั ยากรนา้ ในพ้นื ที่

จังหวัดชลบุรี ในปี ๒๕๖๓ พื้นที่จังหวัดชลบุรีมีความต้องการน้าในแต่ละภาคส่วนรวมท้ังหมด ๔๓๔
ล้านลูกบาศก์เมตร แบ่งเป็นภาคอุปโภค/บริโภค ๑๓๗ ล้านลูกบาศก์เมตร ภาคเกษตรกรรม ๑๑๗
ล้านลูกบาศก์เมตร และภาคอุตสาหกรรม ๑๘๐ ล้านลูกบาศก์เมตร โดยมีปริมาณน้าต้นทุนทั้งหมด ๒๖๙.๑๐
ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี ซึ่งปริมาณน้าต้นทุนท่ีมีอยู่มีปริมาณน้อยกว่าความต้องการน้าในแต่ละภาคส่วน ทาให้
เกนิ ขีดจากดั ของทรัพยากรนา้ ในพนื้ ที่

โครงการจัดทาแผนสง่ิ แวดลอ้ มในพ้นื ท่เี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๖๙ ๕ - ๑๘

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดท้าย

จังหวัดระยอง ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ พื้นที่จังหวัดระยองมีความต้องการน้าในแต่ละภาคส่วนรวมท้ังหมด
๔๕๙ ล้าน ลบ.ม. แบ่งเป็นภาคอุปโภค/บริโภค ๕๓ ล้านลูกบาศก์เมตร ภาคเกษตรกรรม ๑๓๗ ล้านลูกบาศก์
เมตรและภาคอุตสาหกรรม ๒๖๙ ล้านลูกบาศก์เมตร โดยมีปริมาณน้าต้นทุนท้ังหมด ๔๘๖.๒๑ ล้านลูกบาศก์
เมตรต่อปี ซ่ึงปริมาณน้าต้นทุนที่มีอยู่มีปริมาณมากกว่าความต้องการน้าในแต่ละภาคส่วน ทาให้มีปริมาณ
นา้ ต้นทุนเหลอื เก็บในพื้นท่ี

ตารางที่ ๕ - ๑๐ ปรมิ าณน้าตน้ ทนุ และความตอ้ งการน้าแตล่ ะภาคสว่ นในพืน้ ท่เี ขตพัฒนาพเิ ศษภาค

ตะวันออก

ความตอ้ งการในการใชน้ ้า** ปริมาณนา้ ท่ีมีในพ้นื ที่

ตอ่ ความต้องการใชน้ า้

จังหวดั ปริมาณนา้ ตน้ ทุน* อปุ โภค บริโภค เกษตรกรรม อตุ สาหกรรม รวม ในพืน้ ท่ี

ฉะเชิงเทรา ๓๖๐.๑๑ ๓๗ ๑,๓๔๐ ๑๐๕ ๑,๔๘๒ -๑,๑๒๑.๘๙

ชลบุรี ๒๖๙.๑๐ ๑๓๗ ๑๑๗ ๑๘๐ ๔๓๔ -๑๖๔.๙๐

ระยอง ๔๘๖.๒๑ ๕๓ ๑๓๗ ๒๖๙ ๔๕๙ ๒๗.๒๑

EEC ๑,๒๑๕.๓๓ ๒๒๗ ๑,๕๙๔ ๕๕๔ ๒,๓๗๕ -๑,๑๕๙.๖๗

หมายเหต:ุ หนว่ ยเป็นลา้ น ลบ.ม.

ทม่ี า: * ข้อมูลจากกรมชลประทาน, ๒๕๖๒

** สานักงานทรพั ยากรนา้ แห่งชาติ, ๒๕๖๐

การพิจารณาความสามารถในการรองรับน้าในพื้นท่ีในเบ้ืองต้น สรุปได้ว่าหากสัดส่วนน้าต้นทุนต่อ
ปริมาณความต้องการใช้น้ามีค่าน้อยกว่า ๑ บ่งช้ีถึงความไม่เพียงพอหรอื เกินขีดความสามารถในการรองรบั แต่
หากมีค่ามากกว่า ๑ บ่งชี้ว่ามีทรัพยากรน้าเพียงพอต่อความต้องการ ภายใต้หลักการดังกล่าวและเพื่อให้แสดง
ข้อมูลร่วมกับข้อมูลอื่นได้ง่ายขึ้น จึงได้แปลงค่าความเพียงพอหรือไม่เพียงพอของทรัพยากรน้าให้อยู่ในรูปของ
ค่ารอ้ ยละ (ตารางที่ ๕ - ๑๑) ดว้ ยสมการดังนี้

ตารางที่ ๕ - ๑๑ ความเพียงพอทรัพยากรน้าในพ้ืนท่ี ความเพยี งพอ
ของทรพั ยากรน้า
ความตอ้ งการในการใช้น้า**
(%)
จงั หวดั ปริมาณนา้ ต้นทนุ * อปุ โภค บรโิ ภค เกษตรกรรม อตุ สาหกรรม รวม -๗๕.๗๐
ฉะเชิงเทรา ๓๖๐.๑๑ ๓๗ ๑,๓๔๐ ๑๐๕ ๑,๔๘๒ -๓๘.๐๐
ชลบรุ ี ๒๖๙.๑๐ ๑๓๗ ๑๑๗ ๑๘๐ ๕.๙๓
ระยอง ๔๘๖.๒๑ ๕๓ ๑๓๗ ๒๖๙ ๔๓๔ -๔๘.๘๓
EEC ๒๒๗ ๑,๕๙๔ ๕๕๔ ๔๕๙
๑,๒๑๕.๓๓ ๒,๓๗๕

โครงการจดั ทาแผนสิ่งแวดล้อมในพ้นื ที่เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๖๙ ๕ - ๑๙

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดทา้ ย

สรุปได้ว่าเพดานการรองรับของทรัพยากรน้า ในภาพรวมของพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกเกิน
ความสามารถท่ีจะรองรับได้ โดยมีน้าต้นทุนเพียงร้อยละ ๕๑.๑๗ ของปริมาณความต้องการใช้ในพื้นท่ี เท่ากับ
ตอ้ งการทรัพยากรนา้ เพิ่มเติมจากน้าตน้ ทุนท่มี ีในพื้นทีอ่ ีกร้อยละ ๔๘.๘๓ ของนา้ ต้นทนุ ท่ีมอี ยู่ ในขณะท่ีจังหวัด
ฉะเชิงเทรามนี ้าต้นทนุ เพยี งร้อยละ ๒๔.๒๙ ของปริมาณความต้องการใช้ในพื้นที่ เท่ากบั ต้องการน้าเพ่ิมอีกร้อย
ละ ๗๕ ของน้าต้นทนุ ท่ีมีอยู่ และจงั หวัดชลบุรมี ีน้าตน้ ทุนเพียงร้อยละ ๖๒.๐๑ ของปริมาณความต้องการใชใ้ น
พ้ืนท่ี เท่ากับตอ้ งการนา้ เพิม่ อีกร้อยละ ๓๘ ของน้าต้นทุนท่มี ีอยู่ ในขณะที่จงั หวัดระยอง โดยมีนา้ ต้นทุนรอ้ ยละ
๑๐๕.๙๓ ของปริมาณความต้องการใชใ้ นพน้ื ท่ี เทา่ กบั มีน้าเพียงพอต่อความตอ้ งการภายในจงั หวดั

๕.๓.๒ การวิเคราะห์ดา้ นสงั คม ในประเดนครัวเรอื นมนี ้าสะอาดด่ืมและบริโภคเพยี งพอตลอดปี
จากข้อมูลพ้ืนฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. ๒ค) ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ซ่ึงได้ทาการจัดเก็บข้อมูลข้อมูลหมูบ้านท่ี
แสดงให้เห็นสภาพทั่วไป และปัญหาของหมูบ้านชนบทด้านต่าง ๆ เช่น โครงสร้างพื้นฐาน เศรษฐกิจ สภาพ
แรงงาน สุขภาวะ และอนามัย ความรูและการศึกษา การมีส่วนร่วมและความเข้มแข็งของชุมชน
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ความปลอดภัยจากภัยพิบัติและความเส่ียงในชุมชน เป็นท่ีจัดเก็บทุกหมู
บ้านในชนบทเป็นประจาทุก ๒ ปเคร่ืองชี้วัดสภาพปัญหาของหมู่บ้านในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติฉบับท่ี ๑๒ (ป พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) มี ๗ ด้าน ๓๓ ตัวช้ีวัด มีการจัดระดับความรุนแรงของปัญหา
และระดับการพัฒนาของหมูบ้านทาให้ทราบลาดับความสาคัญของปัญหาและพ้ืนท่ีเป้าหมายท่ีควรไดรับการ
พฒั นาเปน็ พเิ ศษ
ในตัวชี้วัดท่ี ๒ เร่ืองน้าด่ืม มีจุดมุ่งหมายตัวชี้วัด เพื่อบ่งบอกถึงคุณภาพและความพอเพียงของน้าเพ่ือ
การบริโภค ตามเกณฑ์ท่ีกาหนด (๕ ลิตรต่อคนต่อวนั ) โดยดูว่าครวั เรือนท่ีมีน้าสะอาดสาหรับด่ืมและบริโภคต่อ
ปีว่ามีจานวนมากน้อยเพียงใด ซ่ึงในที่นี้ น้าสะอาด หมายถึง น้าฝน น้าประปา และน้าบาดาล ท่ีผ่านเกณฑ์
มาตรฐานน้าสะอาดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือกรมอนามัย ท่ีสาธารณสุขตาบลตรวจสอบแล้วว่าใช้
ด่ืมได้ ถ้าเป็นน้าสะอาดหรือน้าที่ผ่านเคร่ืองกรองน้าท่ีได้มาตรฐาน หรือน้าบรรจุขวดที่มีเครื่องหมาย อย. โดย
เกณฑ์วัดความเพียงพอของน้าดื่มและบริโภคตลอดปี คือ ปริมาณน้า ๕ ลิตรต่อคนต่อวัน (ใช้ด่ืม ๒ ลิตร และ
อื่น ๆ อีกจานวน ๓ ลิตร ได้แก่ ใช้ประกอบอาหาร ล้างหน้า บ้วนปากและแปรงฟัน เป็นต้น) (กรมการพัฒนา
ชุมชน, ๒๕๕๙ข)
จากตารางที่ ๕ - ๑๒ พบว่า ในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก มีครัวเรือนทั้งหมด ๓๗๕,๕๐๙
ครัวเรือน พบครัวเรือนมีน้าสะอาดด่ืมและบริโภคเพียงพอตลอดปี จานวน ๓๗๑,๕๓๔ ครัวเรือน คิดเป็นร้อย
ละ ๙๘.๙๔ ส่วนครวั เรือนท่ีไม่มีน้าสะอาดด่ืมและบริโภคเพียงพอตลอดปี มีจานวน ๓,๙๗๕ ครัวเรือน คดิ เป็น
รอ้ ยละ ๑.๐๖ ของจานวนครัวเรือนในพ้นื ที่เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก หากพิจารณาในรายจังหวดั พบวา่
จังหวัดฉะเชิงเทรา มีจานวนครัวเรือนทั้งหมด ๑๑๕,๐๗๗ ครัวเรือน พบว่า ครัวเรือนที่มีน้าสะอาดด่ืม
และบริโภคเพียงพอตลอดปี ทีจานวน ๑๑๓,๔๕๕ ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ ๙๘.๕๙ ส่วนครัวเรือนท่ีไม่มีน้า
สะอาดดื่มและบรโิ ภคเพยี งพอตลอดปี มจี านวน ๑,๖๒๒ ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ ๑.๔๑ ของจานวนครัวเรือน
ท้งั หมดในจังหวดั ฉะเชงิ เทรา

โครงการจัดทาแผนสงิ่ แวดล้อมในพนื้ ท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๖๙ ๕ - ๒๐

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม รายงานฉบับสดุ ท้าย

จังหวัดชลบุรี มีจานวนครัวเรือนท้ังหมด ๑๕๓,๘๑๐ ครัวเรือน โดยมีครัวเรือนท่ีมีน้าสะอาดด่ืมและ
บริโภคเพียงพอตลอดปี จานวน ๑๕๓,๔๔๘ ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ ๙๙.๗๖ ส่วนครัวเรือนที่ไม่มีน้าสะอาด
ดื่มและบริโภคเพยี งพอตลอดปี มีจานวน ๓๖๒ ครัวเรือน คิดเป็นรอ้ ยละ ๐.๒๔ ของจานวนครวั เรอื นในจังหวัด
ชลบรุ ี ในสว่ นของ

จังหวัดระยอง มีจานวนครัวเรือนท้ังหมด ๑๐๖,๖๒๒ ครัวเรือน โดยมีครัวเรือนท่ีมีน้าสะอาดด่ืมและ
บริโภคเพียงพอตลอดปี จานวน ๑๐๔,๖๓๑ ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ ๙๘.๑๓ ส่วนครัวเรือนที่ไม่มีน้าสะอาด
ด่ืมและบริโภคเพียงพอตลอดปี มีจานวน ๑,๙๙๑ ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ ๑.๘๗ ของจานวนครัวเรือนใน
จงั หวัดระยอง

ตารางที่ ๕ - ๑๒ ครัวเรอื นทีม่ ีนา้ สะอาดดื่มและบรโิ ภคเพยี งพอตลอดปี

จงั หวดั ครัวเรือนท้ังหมด ครัวเรอื นทม่ี ีน้าสะอาด ร้อยละ ครัวเรอื นท่ีไม่มีนา้ สะอาด รอ้ ยละ
ฉะเชงิ เทรา ๑๑๕,๐๗๗ ดมื่ และบริโภคเพยี งพอ ๙๘.๕๙ ดมื่ และบริโภคเพยี งพอ
๑.๔๑
ตลอดปี ตลอดปี ๐.๒๔
๑๑๓,๔๕๕ ๑,๖๒๒ ๑.๘๗
๑.๐๖
ชลบุรี ๑๕๓,๘๑๐ ๑๕๓,๔๔๘ ๙๙.๗๖ ๓๖๒

ระยอง ๑๐๖,๖๒๒ ๑๐๔,๖๓๑ ๙๘.๑๓ ๑,๙๙๑

รวม ๓๗๕,๕๐๙ ๓๗๑,๕๓๔ ๙๘.๙๔ ๓,๙๗๕
ท่มี า: กรมพฒั นาชมุ ชน, ๒๕๖๒

๕.๔ ความสามารถในการรองรับดา้ นสุขภาพ
สุขภาพเป็นประเด็นท้าทายของสังคมโลกในอนาคตที่สาคัญประเด็นหนึ่ง (Rosamond Hutt, 2016)

จากรายงานสถานการณ์ขององค์การอนามัยโลกถึงสถานการณ์การตายด้วยโรคไม่ติดต่อของประชากรท่ัวโลก
พบว่า ในปี ค.ศ. 2016 มีการเสยี ชวี ิตของประชากรท่ัวโลกด้วยโรคไม่ติดต่อร้อยละ ๗๑ การตายจากโรคติดต่อ
การตายของทารกก่อนคลอด และภาวะขาดอาหาร คิดเป็นร้อยละ ๒๐ และร้อยละ ๙ เป็นการตายจาก
อุบตั ิเหตุ หากพิจารณาการเสยี ชีวิตในรายกลุม่ โรค พบว่า การตายจากโรคหวั ใจและหลอดเลือด คิดเป็นรอ้ ยละ
๓๑ การตายจากโรคมะเร็ง คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๑๖ การตายจากโรคทางเดินหายใจเร้ือรังคิดเป็นร้อยละ ๗ การตาย
จากโรคเบาหวานคิดเป็นร้อยละ๓และการตายจากโรคไม่ติดต่อชนิดอื่น คิดเป็นร้อยละ ๑๕ (World Health
Organization, 2018 (a)) ในส่วนของประเทศไทย ได้มีการรายงานถึงสถานการณ์โรคไม่ติดต่อ พบว่าสัดส่วน
การตายของคนไทยทั้งหมด เกิดจากการตายด้วยโรคไม่ติดต่อถึงร้อยละ ๗๔ ร้อยละ ๑๖ เป็นการตายจาก
โรคติดต่อ การตายของทารกก่อนคลอด และภาวะขาดอาหาร และร้อยละ ๑๐ เป็นการตายจากอุบัติเหตุ
ในขณะที่การตายจากโรคไม่ติดต่อแยกออกเป็น การตายจากโรคหัวใจและหลอดเลือด ร้อยละ ๒๓ การตาย
จากโรคมะเร็ง ร้อยละ ๑๘การตายจากโรคทางเดินหายใจเรื้อรัง ร้อยละ ๖ การตายจากโรคเบาหวาน ร้อยละ
๔ และการตายจากโรคไม่ติดต่อชนิดอ่ืน คิดเป็นร้อยละ ๒๓ (World Health Organization, ๒๐๑๘ (b))
สาเหตุสาคัญประการหน่งึ ของภาวะการตายด้วยโรคไมต่ ิดตอ่ เช่น มะเรง็ ปอด(Lung Cancer) เสน้ โลหติ ไปเล้ียง
สม อ งอุ ดตั น (Stroke) แล ะโรค หั วใจ เป็ น ผ ลจาก ม ล ภ าวะท างอากาศ (WHO, 2018c cited in

โครงการจดั ทาแผนสิง่ แวดล้อมในพ้นื ทเ่ี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๖๙ ๕ - ๒๑

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสุดทา้ ย

Noncommunication diseases country profiles 2 0 1 8 . Geneva: World Health Organization;
2018) ดงั นั้นในการประเมินขีดความสามารถในการรองรบั ในมิติดา้ นสขุ ภาพ จงึ ได้นาเอาประเด็นการเจ็บป่วย
ด้วยโรคไม่ติดต่อมาพิจารณาประกอบการจัดทาแผนส่ิงแวดล้อมในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกระยะที่ ๒
โดยโรคไม่ติดต่อในท่ีนี้ประกอบดว้ ย ๔ กลุ่มโรค มรี ายละเอียดดังนี้

๑) โรคมะเร็งทุกชนิด
๒) โรคหัวใจและหลอดเลือด หมายถึง กลุ่มของอาการความพิการของหัวใจและหลอดเลือด
ดงั ต่อไปนี้ กลา้ มเนื้อหัวใจขาดเลือดฉับพลัน (heart attack) หลอดเลือดสมอง (stroke) หลอดเลือดส่วนปลาย
อุดตัน (peripheral vascular disease) หัวใจล้มเหลว (heart failure) หัวใจรูห์มาติค (rheumatic heart
disease) หัวใจพิการแต่กาเนิด (congenital heart disease) และกล้ามเน้ือหัวใจ (cardiomyopathies)
ซง่ึ กลุ่มโรคเหล่าน้ีเป็นปจั จัยสนบั สนนุ หลกั ที่กอ่ ใหเ้ กิดโรคไมต่ ิดตอ่ อ่ืน ๆ
๓) โรคทางเดินหายใจเร้ือรัง ในการศึกษาน้ีพิจารณา ๒ โรค คือ โรคหืด (asthma) และโรคปอดอุด
ตันเร้ือรัง (chronic obstructive pulmonary disease) เน่ืองจากทั้งสองโรคน้ีเป็นปัญหาใหญ่ของประเทศ
กาลงั พัฒนา อันเนื่องจากความยากจนและการไม่รู้หนังสอื ทเ่ี ป็นสาเหตใุ หญ่ที่ทาให้ไม่สามารถเขา้ ถึงการบรกิ าร
ด้านสาธารณสขุ ได้อยา่ งทั่วถึง
๔) โรคเบาหวานในการศึกษาน้ีหมายถึง โรคเบาหวานชนิดท่ี ๒ (type II diabetes) ท่ีเกี่ยวกับภาวะ
น้าตาลในเลอื ดสูง อนั เนอ่ื งจากการขาดฮอรโ์ มนอินซูลนิ ซ่ึงผ้ปู ่วยเบาหวานทั่วโลกส่วนใหญเ่ ปน็ ผู้ป่วยเบาหวาน
ชนดิ ที่ ๒ (Boutayeb & Boutayeb, 2005 อา้ งใน นกิ ร มหาวนั และคณะ, ๒๕๖๓)
จากขอ้ มลู สถิตกิ ารตายดว้ ยโรคไม่ตดิ ต่อจากสานักงานสาธารณสขุ จงั หวัด (๒๕๖๒) ประกอบกับข้อมูล
สถิติการตายของประชากรในแต่ละจังหวัดใน ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ได้สืบค้นจากเอกสาร กองยุทธศาสตร์และ
แผนงาน สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (๒๕๖๓) สามารถสรุปสภาวการณ์ตายด้วยโรคไม่ติดต่อภายใน
พน้ื ทเ่ี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออกได้ ดงั นี้
จากข้อมูลภาวะการตายด้วยโรคไม่ติดต่อที่กาลังคุกคามสุขภาพของประชากรโลกในปัจจุบันและเป็น
ประเด็นท้าทายต่อการลดและบรรเทาภาวะการตายด้วยโรคไม่ติดต่อในอนาคต ในรายงานขององค์กรอนามัย
โลกที่พบว่าประชากรโลกตายด้วยโรคไม่ติดต่อสูงถึงร้อยละ ๗๑ ของการตายท้ังหมด ในขณะท่ีสถิติการตาย
ด้วยโรคไม่ติดต่อของประชากรไทยท่ีองค์กรอนามัยโลกรายงาน คือ ร้อยละ ๗๔ ซึ่งสูงกว่าการตายของโลก
ดังน้ัน ในการประเมินความสามารถในการรองรับด้านสุขภาพในโครงการฯ จึงใช้ภาวะการตายด้วยโรคไม่
ติดต่อของประชากรโลกเป็นเกณฑ์ช้ีวัดระดับความสามารถในการรองรับด้านสุขภาพในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษ
ภาคตะวนั ออก โดยสถานการณ์การตายด้วยโรคไม่ติดตอ่ ในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก เท่ากบั ร้อยละ
๕๑.๘๑ ของการตายท้ังหมด และหากพิจารณาแยกเป็นรายจังหวัดพบว่า จังหวัดฉะเชิงเทรามีภาวการณ์ตาย
ด้วยโรคไม่ติดต่อสูงถึง ร้อยละ ๗๐.๘๔ ใกล้เคียงกับระดับการตายด้วยโรคไม่ติดต่อของประชากรโลก จังหวัด
ชลบรุ ีมภี าวการณ์ตายด้วยโรคไม่ตดิ ตอ่ รอ้ ยละ ๔๑.๙๗ และจงั หวดั ระยองมีภาวการณ์ตายด้วยโรคไม่ตดิ ต่อคิด
เป็น ร้อยละ๕๐.๖๖ หากเปรียบเทียบกับเกณฑ์ภาวะการตายของโลก ที่ร้อยละ ๗๑ ก็สรุปได้ว่าในพื้นที่เขต

โครงการจัดทาแผนส่งิ แวดล้อมในพน้ื ท่ีเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๖๙ ๕ - ๒๒

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม รายงานฉบบั สุดทา้ ย

พัฒนาพิเศษภาคตะวันออกยังอยู่ในระดับท่ีไม่เกินขีดความสามารถในการรองรับ แต่หากพิจารณารายจังหวัด
จะเหน็ ว่าจังหวดั ฉะเชิงเทราอย่ใู นภาวะทใี่ กล้จะเกินระดับการรองรับ (ตารางที่ ๕ - ๑๓)

ตารางท่ี ๕ - ๑๓ ขอ้ มลู ภาวการณ์ตายดว้ ยโรคไมต่ ดิ ตอ่ ในพ้นื ทีเ่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก

*โรคไม่ตดิ ต่อ ฉะเชงิ เทรา ชลบุรี ระยอง EEC
จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ
หวั ใจและหลอดเลอื ด ๒,๕๘๓ ๔๗.๘๖ ๓,๒๙๕ ๒๘.๖๘ ๑,๘๙๖ ๓๖.๑๘ ๗,๘๘๗ ๓๕.๖๕
โรคเบาหวาน ๑,๐๖๑ ๑๙.๖๖ ๑,๒๖๖ ๑๑.๐๒ ๒,๙๖๖ ๑๓.๔๑
๕๙๗ ๑๑.๓๙

โรคทางเดินหายใจเรื้อรงั ๑๔๘ ๒.๗๔ ๑๘๔ ๑.๖๐ ๑๒๐ ๒.๒๙ ๔๕๙ ๒.๐๗

โรคมะเร็ง ๓๑ ๐.๕๗ ๗๖ ๐.๖๖ ๔๒ ๐.๘๐ ๑๕๑ ๐.๖๘

รวมผปู้ ่วยตายด้วยโรคไม่ติดต่อ ๓,๘๒๓ ๗๐.๘๔ ๔,๘๒๑ ๔๑.๙๗ ๒,๖๕๕ ๕๐.๖๖ ๑๑,๔๖๒ ๕๑.๘๑

**จานวนตายทัง้ หมด ๕,๓๙๗ ๑๑,๔๘๗ ๕๒๔๑ ๒๒,๑๒๕
*สาธารณสขุ จงั หวัด ๒๕๖๒
** กองยทุ ธศาสตรแ์ ละแผนงาน สานกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ (๒๕๖๓)

๕.๕ ความสามารถในการรองรับด้านมลภาวะ
การประเมนิ ความสามารถในการรองรบั ด้านมลภาวะแยกออกเป็น ๓ กรณี ประกอบด้วย (๑) พษิ ทาง

อากาศ (๒) ขยะ และ (๓) นา้ เสีย
๕.๕.๑ ความสามารถในการรองรับดา้ นมลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศเป็นปัญหาท่ีเกิดขึ้นท่ัวไปโดยเฉพาะในเมืองใหญ่ ปัญหามลพิษทางอากาศส่วนใหญ่

เกิดขึ้นจากกิจกรรมของมนุษย์ที่มุง่ เนน้ พัฒนาเศรษฐกจิ อุตสาหกรรม รวมถึงการพัฒนาดา้ นการคมนาคมขนส่ง
ซ่ึงได้ก่อให้เกิดปัญหามลพิษทางอากาศขึ้นโดยเฉพาะในบริเวณท่ีตั้งของแหล่งอุตสาหกรรมและในบริเวณท่ีมี
การจราจรหนาแน่น กรมควบคุมมลพิษ, (๒๕๕๕ อ้างใน ภัคพงศ์ พจนารถ, ๒๕๕๙) การปล่อยมลพิษสู่
บรรยากาศในปริมาณท่ีมากจนเกินความสามารถท่ีบรรยากาศจะรองรับได้ก็จะเกิดการสะสมของมลพิษขึ้นใน
บรรยากาศและก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพของมนุษย์และสัตว์ ตลอดจนส่งผลต่อการเจริญเติบโตของพืชซ่ึง
ทาให้ผลผลิตทางการเกษตรลดลงได้ (Pochanart, Akimoto, Kinjo & Tanimoto, 2020; Brunekreef &
Holgate, 2002 อ้างใน ภัคพงศ์ พจนารถ, ๒๕๕๙) รวมถึงเป็นอันตรายต่อส่ิงแวดล้อมและระบบนิเวศวิทยา
เช่น ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) ก่อให้เกิดความเป็นฝนกรด หรือ ก๊าซโอโซน (O3) ท่ีเกิดจากปฏิกิริยา
ระหว่างก๊าซไฮโดรคาร์บอน (HCs) กับออกไซด์ของไนโตรเจน (NOX) จากไอเสียของรถยนต์ที่มีแสงแดดเป็น
ตัวเร่ง ซ่ึงมีผลกระทบโดยตรงต่อระบบทางเดินหายใจของคนและสัตว์ และการเจริญเติบโตของพืช Feng &
Kobayashi, (2009 อ้างใน ภัคพงศ์ พจนารถ, ๒๕๕๙) เป็นต้น นอกจากน้ีอันตรายต่อสุขภาพอาจจะไม่ได้
เกิดข้ึนโดยตรงเน่ืองจากสารมลพิษทางอากาศเพียงอย่างเดียวแต่อาจเกิดโดยทางทางอ้อมจากโรคแทรกซ้อนท่ี
เกิดข้ึนเม่ือร่างกายอ่อนแอลงจากการได้รับหรือสัมผัสกับสารมลพิษทางอากาศ ดังน้ัน มลภาวะทางอากาศจึง

โครงการจัดทาแผนสิง่ แวดล้อมในพ้นื ทเ่ี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๖๙ ๕ - ๒๓

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดท้าย

เป็นส่วนหน่ึงในการประเมินความสามารถในการรองรับของอากาศในการจัดทาแผนส่ิงแวดล้อมในเขตพื้นที่
พฒั นาพเิ ศษตะวันออกระยะท่ี ๒ โดยพิจารณาจากคา่ AQI สะสมในหนง่ึ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๓)

ดัชนีคุณภาพอากาศ (Air Quality Index: AQI) ถือเป็นเคร่ืองมือหนึ่งที่ช่วยในการรายงานข้อมูล
คุณภาพอากาศในรูปแบบที่ง่ายต่อความเข้าใจของประชาชนท่ัวไป โดยพิจารณาสารมลพิษทางอากาศ ๖
ประเภท ไดแ้ ก่

๑) PM2.5 เฉล่ีย ๒๔ ชว่ั โมงตอ่ เนอ่ื ง: ไมโครกรัมต่อลกู บาศก์เมตร หรือ มคก./ลบ.ม. หรือ µg./m3
๒) PM10 เฉล่ีย ๒๔ ชวั่ โมงต่อเนอ่ื ง: ไมโครกรมั ต่อลูกบาศก์เมตร หรอื มคก./ลบ.ม. หรือ µg./m3
๓) O3 เฉลีย่ ๙ ช่วั โมงต่อเน่อื ง: สว่ นในพันล้านส่วน หรือ ppb หรอื ๑/๑,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐
๔) CO เฉลีย่ ๘ ช่ัวโมงตอ่ เนื่อง: ส่วนในล้านสว่ น หรอื ppm หรือ ๑/๑,๐๐๐,๐๐๐
๕) NO2 เฉล่ีย ๑ ช่วั โมง: สว่ นในพนั ล้านส่วน หรอื ppb หรอื ๑/๑,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐
๖) SO2 เฉลย่ี ๑ ชว่ั โมง: สว่ นในพันลา้ นส่วน หรอื ppb หรอื ๑/๑,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐
ทงั้ นดี้ ชั นคี ุณภาพอากาศทีค่ านวณไดข้ องสารมลพิษทางอากาศประเภทใดมีค่าสูงสุดจะถูกนาใชค้ านวณ
เป็นดัชนีคุณภาพอากาศของวันนนั้ (กรมควบคุมมลพิษ, ๒๕๖๔)

โดยมวี ิธีการคานวณดชั นคี ณุ ภาพอากาศรายวันของสารมลพิษทางอากาศแตล่ ะประเภทดังสมการ

โดย I = คา่ ดัชนยี อ่ ยคุณภาพอากาศ
X = ความเขม้ ข้นของสารมลพิษทางอากาศจากการตรวจวดั

Xi,Xj= คา่ ต่าสดุ , สูงสดุ ของช่วงความเขม้ ขน้ สารมลพิษทม่ี ีคา่ X

Ii,Ij= ค่าต่าสุด, สูงสุด ของช่วงดัชนีคุณภาพอากาศท่ีตรงกับช่วงความเข้มข้น X จากค่าดัชนีย่อยที่
คานวณได้ สารมลพิษทางอากาศประเภทใดมีค่าดัชนีสูงสุด จะใช้เป็นดัชนีคุณภาพอากาศ (AQI) ณ ช่วงเวลา
นั้น โดยมีค่ามาตรฐานดังตารางท่ี ๕ - ๑๔ และตารางที่ ๕ - ๑๕โดยใช้ค่าดัชนีคุณภาพอากาศสูงกว่า ๑๐๐
เป็นปัจจัยการกาหนดขีดความสามารถในการรองรับของอากาศ โดยพิจารณาจากค่าสะสมของวันท่ีมีค่าเฉล่ีย
AQI (Bao, 2020) สูงกวา่ ๑๐๐ ซ่งึ เปน็ ระดับทเี่ ริ่มส่งผลตอ่ สุขภาพของประชาชน ตารางท่ี ๕ - ๑๕)

โครงการจัดทาแผนสิ่งแวดล้อมในพนื้ ที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๖๙ ๕ - ๒๔

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม รายงานฉบับสดุ ทา้ ย

ตารางท่ี ๕ - ๑๔ คา่ ความเขม้ ข้นของสารมลพิษทางอากาศทเี่ ทียบเทา่ กับคา่ ดัชนคี ุณภาพอากาศ

AQI PM2.5 PM10 O3 (ppb) CO (ppm) NO2 (ppb) SO2 (ppb)
(มคก. ลบ.ม.) (มคก. ลบ.ม.)

เฉลีย่ ๒๔ ชัว่ โมงต่อเน่ือง เฉลี่ย ๘ ชั่วโมงต่อเนือ่ ง เฉลีย่ ๑ ชัว่ โมง

๐ - ๒๕ ๐ - ๒๕ ๐ - ๕๐ ๐ - ๓๕ ๐ - ๔.๔ ๐ - ๖๐ ๐ - ๑๐๐

๒๖ - ๕๐ ๒๖ - ๓๗ ๕๑ - ๘๐ ๓๖ - ๕๐ ๔.๕ - ๖.๔ ๖๑ - ๑๐๖ ๑๐๑ - ๒๐๐

๕๑ - ๑๐๐ ๓๘ - ๕๐ ๘๑ - ๑๒๐ ๕๑ - ๗๐ ๖.๕ - ๙.๐ ๑๐๗ - ๑๗๐ ๒๐๑ - ๓๐๐

๑๐๑ - ๒๐๐ ๕๑ - ๙๐ ๑๒๑ - ๑๘๐ ๗๑ - ๑๒๐ ๙.๑ - ๓๐.๐ ๑๗๑ - ๓๔๐ ๓๐๑ - ๔๐๐

มากกวา่ ๙๑ ขนึ้ ไป ๑๘๑ ขึน้ ไป ๑๒๑ ขึ้นไป ๓๐.๑ ขึน้ ไป ๓๔๑ ข้ึนไป ๔๐๑ ข้นึ ไป
๒๐๐

ที่มา: รายงานสถานการณ์และคณุ ภาพอากาศประเทศไทย กองจดั การคุณภาพอากาศและเสียง, ๒๕๖๔

ตารางท่ี ๕ - ๑๕ เกณฑข์ องดชั นคี ณุ ภาพอากาศของประเทศไทย

AQI ความหมาย สที ใี่ ช้ คาอธบิ าย

๐ - ๒๕ คณุ ภาพอากาศดีมาก ฟ้า คุณภาพอากาศดีมากเหมาะสาหรับกิจกรรมกลางแจง้ และการท่องเท่ยี ว

๒๖ - ๕๐ คุณภาพอากาศดี เขยี ว คุณภาพอากาศดีสามารถทากิจกรรมกลางแจ้งและการทอ่ งเทีย่ วได้ตามปกติ

ประชาชนทวั่ ไป : สามารถทากิจกรรมกลางแจ้งได้ตามปกติผู้ทีต่ ้องดูแล

๕๑ - ๑๐๐ ปานกลาง เหลือง สุขภาพเป็นพเิ ศษ : หากมีอาการเบอ้ื งตน้ เช่น ไอหายใจลาบาก ระคายเคือง

ตาควรลดระยะเวลาการทากิจกรรมกลางแจง้

๑๐๑ - ๒๐๐ เรมิ่ มผี ลกระทบตอ่ ประชาชนทว่ั ไป : ควรเฝา้ ระวงั สุขภาพ ถ้ามีอาการเบือ้ งตน้ เช่น ไอ หายใจ
สขุ ภาพ ส้ม ลาบาก ระคายเคอื งตาควรลดระยะเวลาการทากจิ กรรมกลางแจ้ง หรอื ใช้

อปุ กรณ์ป้องกนั ตนเองหากมคี วามจาเป็น

ทกุ คนควรหลีกเลี่ยงกิจกรรมกลางแจ้งหลกี เลยี่ งพืน้ ท่ีทมี่ ีมลพิษทางอากาศสูง

๒๐๑ ขึ้นไป มผี ลกระทบต่อสุขภาพ แดง หรอื ใช้อปุ กรณป์ อ้ งกันตนเองหากมีความจาเป็นหากมอี าการทางสขุ ภาพควร

ปรึกษาแพทย์

ทม่ี า: รายงานสถานการณแ์ ละคุณภาพอากาศประเทศไทย กองจัดการคณุ ภาพอากาศและเสียง, กรมควบคุมมลพษิ , ๒๕๖๔

เน่ืองจากค่าดัชนีคุณภาพอากาศ (Air Quality Index: AQI) มีความผกพันกับปริมาณน้าฝน ซ่ึง
หมายความว่าเมื่อเข้าสู่ช่วงฤดูฝน น้าฝนจะชะล้างมลพิษทางอากาศส่งผลให้ค่าดัชนีคุณภาพอากาศ (Air
Quality Index: AQI) ในช่วงฤดูฝนมคี า่ ตา่ (IQAIR, 2021) และหากพิจารณาภาพรวมของทั้ง ๓ จังหวัด จะพบ
ลกั ษณะร่วมกันคือ มีจานวนวันท่คี ่าดัชนีคุณภาพอากาศสูงกว่า ๑๐๐ ในสัดสว่ นท่ีสูงในชว่ งตน้ เดือน (มกราคม
ถึงมีนาคม) และมีแนวโนม้ ของจานวนวันท่ีค่าดัชนีคณุ ภาพอากาศ ลดลงในช่วงเดือนมีนาคมถึงเดือนตลุ าคม ซึ่ง
อยู่ในชว่ งฤดูฝน และจะกลับมาเพิ่มขึ้นในช่วงเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนธันวาคม จากลักษณะดังกลา่ วแสดงให้
เห็นว่า ค่า AQI มีความสัมพันธ์กับปริมาณฝนที่ตกแบบผกผัน โดยวันที่มีฝนตก มีค่า AQI ต่า และจากการ
ทดสอบค่าความสัมพันธ์ทางสถิติ พบค่า Chi-Squareเท่ากับ ๑๗๙.๘๙ และมีค่าสหสัมพันธ์เท่ากับ -๐.๔๐๓
อย่างมีนัยสาคัญที่ระดับ ๐.๐๕ สรุปได้ว่าคุณภาพอากาศมีความสัมพันธ์แบบผกผันกับจานวนวันท่ีฝนตก

โครงการจัดทาแผนสิง่ แวดลอ้ มในพื้นทีเ่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๖๙ ๕ - ๒๕

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย

หมายความว่า วันทีม่ ีฝนตก ค่า AQI จะตา่ หรอื วันท่ีไม่มีฝน ค่า AQI จะสูง ในขณะทีข่ ้อมลู จานวนวันที่ฝนตก
ในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกมีจานวนวันท่ีฝนตกเฉล่ีย เท่ากับ ๑๙๙ วันต่อปี คิดเป็นร้อยละ ๕๔.๕
(เป็นค่าเฉลี่ยจากข้อมูลของกรมชลประทานมีจานวน ๙๓ วัน ปีพ.ศ. ๒๕๖๑ และสานักงานทรัพยากรน้า
แห่งชาติ มีจานวน ๓๐๕ วัน ปพี .ศ. ๒๕๖๒) อย่างไรก็ตาม ข้อมูลจานวนวันที่ฝนตกสามารถเปล่ียนแปลงได้ใน
แต่ละปี ดังน้ันเกณฑ์ช้ีวัดความสามารถในการรองรับด้านมลพิษทางอากาศ (AQI) ที่จะเกินความสามารถใน
การรองรับได้พิจารณาจากสัดส่วนของวนั ที่มีค่า AQI สูงกวา่ ๑๐๐ ท่ีมากกว่าร้อยละ ๕๐ ของจานวนวันในฤดู
ร้อนและฤดูหนาว คือ เดือนพฤศจิกายนถึงเดือนเมษายน (กรมอุตุนิยมวิทยา, ๒๕๖๓) เป็นเกณฑ์กาหนดขีด
ความสามารถในการรองรับด้านมลภาวะทางอากาศ

ผลการคานวณค่าดัชนีคุณภาพอากาศ (Air Quality Index: AQI) ในรายจังหวัดแบบรายวันของช่วงฤดู
หนาวและฤดรู ้อน ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ สรปุ ได้ดังน้ี

๑) จงั หวดั ฉะเชิงเทรา มีจานวนวนั ที่ค่าดชั นีคุณภาพอากาศสูงกวา่ ๑๐๐ ในช่วงฤดูหนาวและฤดูร้อน
จานวน ๑๒ วัน คิดเป็นร้อยละ ๖.๖๓ หากพิจารณาค่าดัชนีคุณภาพอากาศในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ มีค่าดัชนี
คุณภาพอากาศต่าสดุ คือ ๑๑ และค่าสงู สุด คือ ๑๘๘ รายละเอยี ดดงั ตารางท่ี ๕ - ๑๖ และภาพท่ี ๕ - ๑

๒) จังหวัดชลบุรี มีจานวนวันท่ีค่าดัชนีคุณภาพอากาศสูงกว่า ๑๐๐ ในช่วงฤดูหนาวและฤดูร้อน
จานวน ๒๙ วัน คิดเป็นร้อยละ ๑๖.๐๒ หากพิจารณาค่าดัชนีคุณภาพอากาศในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ มีค่าดัชนี
คณุ ภาพอากาศตา่ สุด คือ ๙ และค่าสูงสุด คอื ๑๗๓ รายละเอยี ดดงั ตารางที่ ๕ - ๑๗ และภาพท่ี ๕ – ๒

๓) จังหวัดระยอง มีจานวนวันที่ค่าดัชนีคุณภาพอากาศสูงกว่า ๑๐๐ ในช่วงฤดูหนาวและฤดูร้อน
จานวน ๔ วัน คิดเป็นร้อยละ ๒.๒๑ หากพิจารณาค่าดัชนีคุณภาพอากาศในจังหวัดระยองของปี พ.ศ. ๒๕๖๓
พบว่า มีค่าดัชนีคุณภาพอากาศต่าสุด คือ ๑๓ และค่าสูงสุด คือ ๑๖๕ รายละเอียดดังตารางที่ ๕ - ๑๘ และ
ภาพท่ี ๕ – ๓

โครงการจดั ทาแผนส่งิ แวดลอ้ มในพ้นื ทีเ่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๖๙ ๕ - ๒๖

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม

ตารางที่ ๕ - ๑๖ ค่าดัชนคี ณุ ภาพอากาศรายวนั ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ ของจงั หวดั ฉะเ

เดือน มกราคม กุมภาพันธ์ มนี าคม เมษายน พฤษภาคม มถิ นุ ายน
วนั ท่ี ๒๘ ๑๑๖ ๔๙ ๕๐ ๓๐ ๓๗
๓๑ ๑๓๘ ๔๒ ๔๕ ๓๙ ๑๙
๑ ๓๓ ๑๓๐ ๔๑ ๓๘ ๓๖ ๑๖
๒ ๔๔ ๙๓ ๒๔ ๓๕ ๔๗ ๑๕
๓ ๖๐ ๕๖ ๔๒ ๓๖ ๖๒ ๑๙
๔ ๕๗ ๔๗ ๓๔ ๔๒ ๔๙ ๒๑
๕ ๘๓ ๔๐ ๓๕ ๔๓ ๔๒ ๒๒
๖ ๑๒๖ ๕๖ ๔๓ ๔๕ ๒๒ ๒๔
๗ ๑๐๑ ๗๓ ๕๕ ๔๓ ๒๐ ๑๖
๘ ๘๙ ๕๔ ๕๕ ๕๐ ๒๖ ๑๙
๙ ๖๓ ๗๗ ๖๕ ๔๓ ๑๘ ๒๒
๑๐ ๔๙ ๙๙ ๗๑ ๓๓ ๓๒ ๓๘
๑๑ ๔๗ ๓๒ ๖๗ ๒๕ ๔๓ ๕๗
๑๒ ๕๘ ๒๘ ๕๙ ๔๓ ๔๗ ๑๙
๑๓ ๕๓ ๔๘ ๓๔ ๖๔ ๒๘ ๑๕
๑๔ ๖๗ ๕๐ ๓๓ ๓๓ ๒๘ ๑๖
๑๕ ๖๖ ๕๕ ๓๖ ๓๓ ๒๕ ๑๔
๑๖ ๑๐๒ ๓๙ ๔๒ ๓๕ ๒๑ ๑๙
๑๗ ๑๒๔ ๔๗ ๔๔ ๔๓ ๑๙ ๑๑
๑๘ ๑๓๐ ๑๐๔ ๔๘ ๔๙ ๓๑ ๒๔
๑๙ ๑๑๒ ๙๐ ๓๖ ๖๒ ๒๓ ๑๗
๒๐ ๖๕ ๕๑ ๓๕ ๕๗ ๕๐ ๑๔
๒๑ ๗๐ ๗๙ ๔๓ ๔๗ ๓๑ ๑๓
๒๒ ๓๗ ๑๑๙ ๓๖ ๕๖ ๒๐ ๒๑
๒๓
๒๔

โครงการจัดทาแผนสิ่งแวดล้อมในพ้นื ที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕

รายงานฉบับสดุ ทา้ ย

เชิงเทรา

กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน ตลุ าคม พฤศจิกายน ธันวาคม
๑๗ ๑๘ ๒๐ ๒๔ ๒๗ ๒๘
๑๘ ๑๗ ๓๔ ๔๑ ๒๙ ๒๗
๑๗ ๑๖ ๒๒ ๑๖ ๒๕ ๒๗
๑๘ ๑๘ ๒๔ ๑๙ ๒๙ ๓๘
๑๘ ๑๘ ๑๘ ๒๒ ๓๗ ๔๒
๒๐ ๒๒ ๒๑ ๒๔ ๓๖ ๔๓
๑๙ ๑๙ ๑๙ ๒๒ ๒๒ ๔๖
๑๗ ๑๕ ๑๙ ๑๖ ๓๐ ๓๗
๑๗ ๑๗ ๒๐ ๑๓ ๔๓ ๕๑
๒๐ ๑๙ ๑๙ ๑๖ ๕๓ ๕๔
๒๔ ๑๘ ๑๘ ๑๘ ๔๗ ๕๐
๑๗ ๑๖ ๑๗ ๓๐ ๒๔ ๔๐
๑๗ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๕๓ ๔๖
๒๒ ๑๖ ๒๒ ๒๙ ๖๒ ๔๓
๒๑ ๑๗ ๑๗ ๒๒ ๕๔ ๔๖
๑๖ ๑๘ ๒๐ ๒๐ ๒๙ ๒๒
๒๑ ๒๐ ๓๒ ๑๓ ๒๗ ๒๓
๒๔ ๒๕ ๑๘ ๑๘ ๒๔ ๓๘
๒๕ ๓๐ ๑๖ ๒๐ ๓๐ ๓๔
๓๑ ๒๐ ๑๖ ๒๒ ๕๓ ๒๘
๑๗ ๒๓ ๑๘ ๒๕ ๒๓ ๓๒
๒๒ ๒๓ ๑๘ ๒๔ ๒๕ ๓๔
๒๒ ๑๕ ๒๗ ๓๖ ๒๔ ๕๙
๒๑ ๒๒ ๒๑ ๔๓ ๒๓ ๖๖

๕-๒๕๖๙ ๕ - ๒๗

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม

เดอื น มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน พฤษภาคม มถิ นุ ายน
วันท่ี ๓๒ ๑๘๘ ๕๗ ๔๖ ๑๗ ๑๘
๒๗ ๑๐๓ ๔๖ ๔๙ ๒๐ ๑๙
๒๕ ๕๖ ๙๙ ๔๖ ๔๐ ๑๘ ๒๑
๒๖ ๘๕ ๔๙ ๔๕ ๖๐ ๒๖ ๑๖
๒๗ ๕๐ ๕๒ ๔๕ ๖๕ ๑๙ ๑๖
๒๘ ๖๙ ๔๒ ๔๗ ๑๕ ๑๙
๒๙ ๕๔ ๒๘ ๖๗ ๒๓
๓๐ ๒๗ ๑๘๘ ๒๔ ๒๕ ๑๕ ๑๑
๓๑ ๑๓๐ ๗๑ ๖๕ ๖๒ ๕๗

ค่าต่าสดุ ๕ ๒๔.๑ ๐ ๐ ๐ ๐
๑๖.๑ ๐.๐ ๐.๐ ๐.๐ ๐.๐
ค่าสงู สุด
จานวนวนั ท่ีค่า
AQI >๑๐๐

ร้อยละ

โครงการจัดทาแผนสง่ิ แวดล้อมในพ้ืนทีเ่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕

รายงานฉบบั สุดท้าย

กรกฎาคม สงิ หาคม กนั ยายน ตลุ าคม พฤศจกิ ายน ธนั วาคม ๑๑
๑๗ ๓๙ ๓๕ ๕๕ ๒๕ ๓๒ ๑๘๘
๑๖ ๓๘ ๒๖ ๕๐ ๒๔ ๒๘
๑๖ ๓๔ ๒๔ ๒๘ ๒๒ ๒๙ ๑๒
๑๗ ๒๑ ๑๗ ๔๒ ๒๔ ๖๖ ๖.๖๓
๒๙ ๓๘ ๑๘ ๒๕ ๒๘ ๕๓
๑๗ ๑๙ ๒๑ ๑๘ ๓๑ ๔๕
๒๔ ๑๙ ๑๙ ๔๑
๑๖ ๑๕ ๑๖ ๑๓ ๒๒ ๒๒
๓๑ ๓๙ ๓๕ ๕๕ ๖๒ ๖๖

๐ ๐ ๐๐ ๐๐
๐.๐ ๐.๐ ๐.๐ ๐.๐ ๐.๐ ๐.๐

๕-๒๕๖๙ ๕ - ๒๘

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม

ภาพที่ ๕ - ๑ คา่ ดัชนคี ณุ ภาพอากาศรายวนั

โครงการจดั ทาแผนสง่ิ แวดลอ้ มในพนื้ ทีเ่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕

รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย

น ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ ของจงั หวัดฉะเชิงเทรา ๕ - ๒๙

๕-๒๕๖๙

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม

ตารางท่ี ๕ - ๑๗ ค่าดัชนีคุณภาพอากาศรายวัน ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ ของจงั หวดั ชลบ

เดอื น มกราคม กมุ ภาพนั ธ์ มีนาคม เมษายน พฤษภาคม มถิ นุ ายน
วันท่ี ๓๓ ๑๔๐ ๓๖ ๑๘ ๒๓ ๑๗
๔๒ ๑๕๐ ๔๑ ๒๒ ๑๙ ๑๖
๑ ๔๘ ๑๓๘ ๒๕ ๒๒ ๑๘ ๑๕
๒ ๙๗ ๑๑๕ ๒๐ ๒๐ ๒๑ ๑๖
๓ ๑๑๓ ๖๒ ๒๕ ๒๓ ๒๕ ๑๔
๔ ๑๑๙ ๕๐ ๒๔ ๒๓ ๒๐ ๑๕
๕ ๑๕๒ ๔๑ ๒๗ ๑๘ ๒๒ ๑๓
๖ ๑๕๘ ๗๐ ๒๗ ๒๐ ๑๘ ๑๓
๗ ๑๔๐ ๑๑๑ ๕๑ ๒๕ ๑๗ ๑๕
๘ ๑๕๒ ๑๑๑ ๔๗ ๒๕ ๑๓ ๑๖
๙ ๙๒ ๑๓๖ ๗๕ ๒๘ ๑๔ ๑๘
๑๐ ๕๔ ๑๐๐ ๔๑ ๒๑ ๒๓ ๑๘
๑๑ ๖๕ ๒๐ ๓๗ ๒๔ ๒๓ ๑๗
๑๒ ๗๐ ๑๙ ๒๕ ๓๕ ๒๒ ๑๗
๑๓ ๗๓ ๒๑ ๒๖ ๕๐ ๑๘ ๑๒
๑๔ ๙๒ ๑๙ ๕๐ ๒๓ ๑๗ ๑๔
๑๕ ๙๗ ๒๒ ๓๗ ๒๐ ๑๕ ๑๒
๑๖ ๑๓๗ ๗๑ ๓๓ ๒๓ ๑๗ ๑๗
๑๗ ๑๓๓ ๑๐๔ ๒๖ ๑๙ ๑๗ ๑๙
๑๘ ๑๓๕ ๑๔๒ ๒๔ ๒๐ ๑๙ ๒๑
๑๙ ๑๐๕ ๑๓๙ ๒๔ ๑๙ ๒๓ ๒๐
๒๐ ๕๙ ๑๓๑ ๑๙ ๒๒ ๓๔ ๑๘
๒๑ ๖๒ ๑๒๙ ๒๑ ๒๔ ๔๔ ๑๗
๒๒ ๓๖ ๑๖๔ ๒๑ ๒๕ ๒๖ ๑๗
๒๓
๒๔

โครงการจดั ทาแผนสิ่งแวดลอ้ มในพนื้ ที่เขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕

รายงานฉบบั สุดทา้ ย

บุรี

กรกฎาคม สงิ หาคม กันยายน ตลุ าคม พฤศจิกายน ธนั วาคม
๑๖ ๑๕ ๒๒ ๑๓ ๑๕ ๔๓
๑๗ ๑๕ ๒๙ ๑๘ ๒๑ ๔๑
๑๖ ๑๖ ๒๓ ๑๔ ๒๕ ๓๗
๒๒ ๑๔ ๒๑ ๑๒ ๓๘ ๔๖
๑๖ ๑๕ ๒๑ ๑๙ ๓๐ ๕๐
๑๗ ๑๕ ๑๖ ๒๒ ๒๕ ๔๑
๑๖ ๑๕ ๑๘ ๒๔ ๒๑ ๓๗
๑๕ ๑๔ ๒๑ ๑๓ ๕๑ ๓๒
๑๘ ๑๒ ๒๓ ๑๐ ๕๔ ๔๕
๑๖ ๑๔ ๒๔ ๑๒ ๔๗ ๖๖
๑๘ ๑๓ ๑๘ ๑๕ ๓๕ ๑๒๔
๑๗ ๑๓ ๑๖ ๓๑ ๒๓ ๗๕
๑๖ ๑๕ ๑๔ ๑๗ ๔๔ ๑๐๘
๑๖ ๑๘ ๑๖ ๑๙ ๘๓ ๖๑
๑๗ ๑๙ ๑๓ ๒๑ ๘๖ ๓๘
๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๗ ๔๘ ๒๑
๑๗ ๒๒ ๑๔ ๑๐ ๔๘ ๒๕
๒๐ ๒๕ ๑๔ ๑๒ ๒๓ ๒๕
๑๖ ๒๕ ๑๐ ๒๕ ๖๑ ๒๓
๒๐ ๒๕ ๙ ๒๔ ๔๓ ๒๒
๑๙ ๒๐ ๑๗ ๒๑ ๒๕ ๓๖
๒๒ ๑๗ ๒๔ ๑๗ ๓๐ ๕๒
๒๐ ๑๕ ๒๙ ๒๕ ๑๙ ๙๙
๑๗ ๒๐ ๑๘ ๕๐ ๑๗ ๑๐๙

๕-๒๕๖๙ ๕ - ๓๐

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม

เดือน มกราคม กมุ ภาพนั ธ์ มนี าคม เมษายน พฤษภาคม มถิ นุ ายน
วนั ที่ ๓๔ ๑๗๓ ๓๑ ๒๕ ๓๐ ๑๘
๒๐ ๑๐๗ ๑๕ ๔๒ ๒๔ ๑๔
๒๕ ๒๓ ๘๒ ๑๘ ๓๖ ๑๙ ๑๖
๒๖ ๓๘ ๖๘ ๒๓ ๔๘ ๑๙ ๑๖
๒๗ ๔๐ ๔๒ ๑๗ ๔๖ ๑๕ ๑๓
๒๘ ๙๒ ๒๔ ๓๐ ๑๒ ๑๖
๒๙ ๑๐๘ ๑๙ ๒๕ ๑๖
๓๐ ๒๐ ๑๗๓ ๑๕ ๑๘ ๑๒ ๑๒
๓๑ ๑๕๘ ๗๕ ๕๐ ๔๔ ๒๑
คา่ ตา่ สดุ
คา่ สูงสดุ ๑๑ ๑๕ ๐ ๐๐๐
จานวนวนั ที่ ๓๕.๕ ๕๑.๗ ๐.๐ ๐.๐ ๐.๐ ๐.๐
ค่า AQI >
๑๐๐
ร้อยละ

โครงการจัดทาแผนสงิ่ แวดล้อมในพืน้ ทเี่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕

รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย

กรกฎาคม สงิ หาคม กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม ๙
๑๖ ๒๕ ๑๖ ๕๘ ๑๘ ๓๑ ๑๗๓
๑๒ ๒๔ ๑๖ ๙๐ ๑๗ ๓๑
๑๒ ๒๓ ๑๕ ๖๘ ๑๘ ๓๗
๑๓ ๒๑ ๑๘ ๕๓ ๒๒ ๓๒
๑๖ ๒๒ ๑๑ ๒๔ ๒๖ ๔๓
๑๗ ๒๒ ๑๓ ๑๕ ๒๓ ๓๘
๑๕ ๒๓ ๑๘ ๒๕
๑๒ ๑๒ ๙ ๑๐ ๑๕ ๒๑
๒๒ ๒๕ ๒๙ ๙๐ ๘๖ ๑๒๔

๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๓ ๒๙
๐.๐ ๐.๐ ๐.๐ ๐.๐ ๐.๐ ๙.๗ ๑๖.๐๒

๕-๒๕๖๙ ๕ - ๓๑

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม

ภาพท่ี ๕ - ๒ ค่าดชั นีคณุ ภาพอากาศราย

โครงการจดั ทาแผนส่งิ แวดลอ้ มในพน้ื ทเ่ี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕

รายงานฉบบั สุดท้าย

ยวัน ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ ของจังหวัดชลบรุ ี ๕ - ๓๒

๕-๒๕๖๙

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม

ตารางที่ ๕ - ๑๘ คา่ ดัชนคี ณุ ภาพอากาศรายวัน ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ ของจังหวดั ระย

เดือน มกราคม กมุ ภาพันธ์ มนี าคม เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน
วนั ท่ี ๒๔ ๘๔ ๒๕ ๒๕ ๒๔ ๑๙
๗๙ ๒๕ ๒๕ ๒๕ ๑๗
๑ ๓๒ ๘๔ ๒๔ ๒๖ ๒๑ ๒๑
๒ ๔๓ ๔๗ ๒๑ ๒๔ ๔๕ ๑๘
๓ ๖๓ ๒๘ ๒๑ ๒๖ ๓๑ ๒๑
๔ ๙๒ ๒๙ ๒๓ ๓๐ ๒๓ ๒๒
๕ ๘๕ ๒๗ ๒๑ ๒๓ ๒๔ ๒๐
๖ ๘๒ ๓๕ ๒๗ ๒๒ ๒๒ ๒๔
๗ ๘๔ ๗๕ ๓๕ ๒๖ ๒๑ ๒๑
๘ ๙๔ ๖๐ ๓๒ ๔๒ ๒๕ ๒๑
๙ ๒๙ ๘๖ ๓๒ ๓๘ ๒๑ ๑๙
๑๐ ๒๔ ๔๗ ๒๘ ๒๘ ๖๕ ๑๗
๑๑ ๒๙ ๒๐ ๒๕ ๓๔ ๒๕ ๒๐
๑๒ ๓๔ ๑๙ ๒๙ ๔๐ ๒๗ ๑๙
๑๓ ๓๖ ๑๙ ๔๕ ๗๐ ๒๓ ๒๐
๑๔ ๔๐ ๑๖ ๒๗ ๓๘ ๒๒ ๑๘
๑๕ ๔๘ ๒๑ ๔๔ ๓๓ ๒๔ ๑๘
๑๖ ๘๗ ๓๔ ๓๐ ๓๘ ๒๒ ๑๘
๑๗ ๘๖ ๖๙ ๓๘ ๒๗ ๒๗ ๑๗
๑๘ ๗๐ ๑๑๗ ๓๔ ๒๔ ๒๓ ๑๙
๑๙ ๔๘ ๑๐๑ ๓๓ ๒๓ ๒๓ ๒๐
๒๐ ๓๖ ๘๔ ๒๙ ๒๔ ๒๒ ๒๐
๒๑ ๓๖ ๘๓ ๒๙ ๒๘ ๒๕ ๑๘
๒๒ ๒๒ ๑๖๕ ๒๗ ๓๖ ๒๗ ๒๒
๒๓
๒๔

โครงการจดั ทาแผนส่งิ แวดลอ้ มในพน้ื ที่เขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕

รายงานฉบับสุดท้าย

ยอง

กรกฎาคม สิงหาคม กนั ยายน ตลุ าคม พฤศจิกายน ธนั วาคม
๑๕ ๑๕ ๑๖ ๑๔ ๑๙ ๒๕
๑๘ ๑๓ ๑๖ ๒๑ ๒๒ ๒๔
๑๕ ๑๔ ๒๒ ๑๘ ๒๙ ๒๓
๒๐ ๑๕ ๒๕ ๑๖ ๔๘ ๒๖
๒๐ ๑๕ ๒๐ ๑๗ ๓๕ ๒๙
๑๙ ๑๔ ๑๙ ๒๓ ๓๓ ๓๑
๑๗ ๑๕ ๑๗ ๒๒ ๓๗ ๓๒
๑๙ ๑๓ ๑๙ ๒๒ ๒๙ ๓๐
๑๖ ๑๔ ๒๑ ๑๔ ๓๖ ๓๒
๑๘ ๑๔ ๑๘ ๑๗ ๔๘ ๔๓
๑๗ ๑๔ ๑๙ ๑๗ ๔๒ ๗๗
๑๙ ๑๘ ๒๐ ๒๒ ๓๔ ๖๔
๑๖ ๑๗ ๒๐ ๒๑ ๔๔ ๕๒
๑๘ ๑๖ ๑๘ ๑๙ ๔๙ ๓๔
๒๒ ๑๖ ๑๖ ๑๖ ๕๙ ๒๔
๑๗ ๑๘ ๑๙ ๑๖ ๓๙ ๑๘
๑๙ ๑๘ ๒๑ ๑๙ ๓๕ ๔๑
๑๘ ๒๔ ๑๕ ๒๒ ๒๕ ๓๕
๑๘ ๒๒ ๑๕ ๒๘ ๓๗ ๓๕
๑๖ ๒๒ ๑๗ ๒๘ ๓๑ ๓๐
๑๖ ๒๕ ๑๘ ๒๓ ๑๙ ๓๑
๑๘ ๒๐ ๒๔ ๒๕ ๒๑ ๔๖
๑๕ ๒๐ ๒๑ ๓๖ ๒๒ ๕๒
๑๕ ๑๕ ๑๗ ๕๑ ๒๐ ๓๖

๕-๒๕๖๙ ๕ - ๓๓

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม

เดอื น มกราคม กมุ ภาพนั ธ์ มนี าคม เมษายน พฤษภาคม มถิ นุ ายน
วนั ท่ี ๒๔ ๑๔๗ ๔๕ ๔๔ ๒๕ ๒๔
๒๐ ๔๓ ๒๔ ๙๐ ๒๓ ๑๙
๒๕ ๑๙ ๓๕ ๒๘ ๔๙ ๒๓ ๑๘
๒๖ ๒๑ ๓๑ ๓๖ ๘๖ ๒๑ ๒๒
๒๗ ๒๒ ๒๕ ๒๕ ๔๘ ๒๒ ๑๘
๒๘ ๓๓ ๔๑ ๓๒ ๒๐ ๒๑
๒๙ ๔๘ ๑๖ ๔๗ ๒๒
๓๐ ๑๙ ๑๖๕ ๒๑ ๒๒ ๒๐ ๑๗
๓๑ ๙๔ ๔๗ ๙๐ ๖๕ ๒๔
คา่ ต่าสดุ
คา่ สงู สุด ๐๔ ๐ ๐๐๐
จานวนวนั ที่ ๐.๐ ๑๓.๘ ๐.๐ ๐.๐ ๐.๐ ๐.๐
ค่า AQI >
๑๐๐
ร้อยละ

โครงการจัดทาแผนสง่ิ แวดลอ้ มในพน้ื ที่เขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕

รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย

กรกฎาคม สงิ หาคม กันยายน ตลุ าคม พฤศจกิ ายน ธนั วาคม ๑๓
๑๗ ๒๐ ๑๖ ๕๙ ๒๐ ๒๓ ๑๖๕
๑๘ ๒๑ ๑๕ ๗๙ ๑๙ ๒๗
๑๕ ๑๗ ๑๘ ๕๐ ๑๙ ๔๒
๑๓ ๑๕ ๑๘ ๓๗ ๒๑ ๒๓
๒๓ ๒๐ ๑๕ ๑๙ ๒๕ ๓๔
๑๘ ๑๖ ๑๔ ๑๗ ๒๒ ๒๓
๑๕ ๑๔ ๑๙ ๔๑
๑๓ ๑๓ ๑๔ ๑๔ ๑๙ ๑๘
๒๓ ๒๕ ๒๕ ๗๙ ๕๙ ๗๗

๐๐๐๐ ๐๐๔
๐.๐ ๐.๐ ๐.๐ ๐.๐ ๐.๐ ๐.๐ ๒.๒๑

๕-๒๕๖๙ ๕ - ๓๔

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม

ภาพท่ี ๕ - ๓ คา่ ดัชนีคณุ ภาพอากาศราย

โครงการจดั ทาแผนส่งิ แวดลอ้ มในพน้ื ทเ่ี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕

รายงานฉบบั สุดทา้ ย

ยวัน ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ ของจงั หวดั ระยอง ๕ - ๓๕

๕-๒๕๖๙

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม รายงานฉบับสุดท้าย

สรุปผลการประเมินขีดความสามารถในการรองรบั ดา้ นมลพษิ ทางอากาศ
จากข้อมูลร้อยละของวันที่มีค่า AQI เกินร้อยสะสม ในช่วงฤดูหนาวและฤดูร้อน (ตารางที่ ๕ - ๑๙)
พบว่าทั้ง ๓ จังหวัด มีวันที่มีค่า AQI สูงเกินร้อยสะสม ไม่ถึงร้อยละ ๕๐ จึงกล่าวได้ว่าความสามารถในการ
รองรับดา้ นมลพิษทางอากาศยังอย่ใู นระดบั ท่ีรองรับได้ ซึง่ สอดคล้องกับขอ้ มูลการศึกษาเพื่อประเมนิ คณุ ภาพใน
บรรยากาศในบริเวณมาบตาพุด จังหวัดระยอง จากการแพร่กระจาย NOx และSO2 โดยใช้แบบจาลองอากาศ
AERMOD จากค่าท่ีตรวจวัดจริง พบว่ายังมีค่าต่ากว่าค่ามาตรฐาน (สานักงานคณะกรรมการนโยบายเขต
พฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก, ๒๕๖๓)

ตารางท่ี ๕ - ๑๙ ค่าดชั นีคณุ ภาพอากาศรายวนั ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ (ฤดูหนาวและฤดูร้อน) ของเขตพฒั นา

พเิ ศษภาคตะวนั ออก (EEC)

เดือน มกราคม กุมภาพนั ธ์ มีนาคม เมษายน พฤศจิกายน ธนั วาคม
ขอ้ มลู
จังหวัดฉะเชิงเทรา ๒๗ ๒๘ ๒๔ ๒๕ ๒๒ ๒๒ ๑๑
ค่าต่าสดุ ๑๓๐ ๑๘๘ ๗๑ ๖๕ ๖๒ ๖๖ ๑๘๘
ค่าสงู สดุ
จานวนวันทค่ี า่ AQI > ๕ ๗๐ ๐ ๐๐ ๑๒
๑๐๐
รอ้ ยละ ๑๖.๑๐ ๒๔.๑๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๖.๖๓

จังห ัวดชล ุบรี คา่ ต่าสดุ ๒๐ ๑๙ ๑๕ ๑๘ ๑๕ ๒๑ ๙
ค่าสูงสดุ ๑๕๘ ๑๗๓ ๗๕ ๕๐ ๘๖ ๑๒๔ ๑๗๓

จานวนวนั ทค่ี า่ AQI > ๑๑ ๑๕ ๐ ๐ ๐ ๓ ๒๙
๑๐๐
ร้อยละ ๓๕.๕๐ ๕๑.๗๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๙.๗๐ ๑๖.๐๒
คา่ ต่าสดุ ๑๙ ๑๖ ๒๑ ๒๒ ๑๙ ๑๘ ๑๓

จังห ัวดระยอง คา่ สูงสุด ๙๔ ๑๖๕ ๔๗ ๙๐ ๕๙ ๗๗ ๑๖๕
๐ ๐๔
จานวนวันทีค่ า่ AQI > ๐ ๔๐ ๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๒.๒๑
๑๐๐

รอ้ ยละ ๐.๐๐ ๑๓.๘๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐

โครงการจดั ทาแผนส่งิ แวดล้อมในพืน้ ท่เี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๕ - ๓๖

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม รายงานฉบับสุดทา้ ย

ภาพที่ ๕ - ๔ คา่ ดัชนีคณุ ภาพอากาศรายวัน ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ ของพ้นื ท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก

๕.๕.๒ ความสามารถในการรองรับด้านขยะมูลฝอย
ขยะมูลฝอยเป็นประเด็นปญั หาหลกั ในการจัดการของพน้ื ท่ีโดยเฉพาะในพื้นท่ีเมอื งหรือแหลง่ ท่องเท่ียวที่
สง่ ผลกระทบตอ่ คุณภาพส่ิงแวดล้อมและมนษุ ย์ ทั้งทางดา้ นสุขอนามัยอนั เน่ืองจากขยะเป็นบ่อเกิดของโรคและ
แหล่งเพาะพันธ์เชื้อโรค แมลงนาโรคต่าง ๆ (ดรรชนี เอมพันธุ์ และคณะ, ๒๕๖๒) และด้านมลทัศน์ ที่นาไปสู่
การสูญเสียทางเศรษฐกิจด้านค่าใช้จ่ายในการจัดเก็บและกาจัดขยะ รวมถึงสูญเสียโอกาสในการท่องเที่ยวที่
นักท่องเทีย่ วอาจจะไม่กลบั มาพักผอ่ นอีกเพราะไมป่ ระทบั ใจต่อสถานท่ี
การกาจดั ของเสยี ยงั คงเป็นปัญหาหลักสาหรบั ประเทศกาลงั พัฒนา โดยอปุ สรรคและข้อจากัดสาคญั ใน
การปรับปรุงประสิทธิภาพการกาจัดของเสียเกิดจากประเด็นด้านการบริหารจัดการเป็นสาคัญ คือ การท่ีมีค่า
ลงทุนและตน้ ทุนในการดาเนินการท่ีสงู ซ่งึ แนวทางการดาเนินการส่วนใหญ่ใช้วธิ กี ารร้องขอความชว่ ยเหลือจาก
นานาชาติที่พัฒนาแล้วในลักษณะของกองทุนช่วยเหลือ อย่างไรก็ตาม การช่วยเหลือดังกล่าวมักจะไม่
ครอบคลมุ ในค่าใช้จ่ายสาหรับกระบวนการกาจดั ซ่งึ ทาให้หลายกรณีต้องชะรอการกอ่ สรา้ งเนื่องจากไมส่ ามารถ
จ่ายค่าดาเนินงานของระบบบาบัดได้ (Wilson, 2013) และจากการศึกษาข้อมูลของ Wilson สรุปได้ว่า
สถานะการกาจัดของเสียในประเทศที่มีรายได้สูงสามารถกาจัดของเสยี ด้วยระบบท่ีท้นสมัยได้ ๑๐๐% ในขณะ
ท่ีประเทศท่ีมีรายได้ปานกลางค่อนข้างสูง สามารถกาจัดของเสียด้วยระบบที่ทันสมัยได้ ๗๕% ท่ีเหลือกาจัด
ด้วยระบบอย่างง่ายในสถานท่ีทีค่ วบคุม ๒๐% และ อีก ๕% กาจัดแบบไม่ถกู หลกั วิชาการ ในกรณีของประเทศ
ท่ีมีรายได้ปานกลางข้อนค้างต่า ร้อยละ ๔๕ ของของเสียท่ีเกิดข้ึนถูกกาจัดด้วยระบบท่ีทันสมัย ส่วน ร้อยละ
๕๐ เป็นการกาจัดด้วยระบบอย่างง่ายในพ้ืนท่ีควบคุม และที่เหลือร้อยละ ๕ ถูกกาจัดอย่างไม่ถูกหลักวิชาการ

โครงการจดั ทาแผนส่งิ แวดล้อมในพ้นื ท่เี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๕ - ๓๗

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม รายงานฉบบั สุดท้าย

ส่วนประเทศที่มีรายน้อยมีการกาจัดของเสียด้วยระบบท่ีทันสมัยร้อยละ ๒๙ และกาจัดด้วยระบบอย่างง่ายใน
พื้นทคี่ วบคุมรอ้ ยละ ๒๓ ทเ่ี หลอื ร้อยละ๔๙ เป็นการกาจดั ท่ีไม่ถกู หลักวชิ าการ

การพิจารณาการประเมินขีดความสามารถในการรองรับขยะมูลฝอย จากการศึกษาของ สุเนตร ทวี
ถาวรสวสั ดิ์ และพัชรินทร์ สิรสุนทร (๒๕๕๗) สามารถสรปุ ตัวแปรที่มีความสัมพันธ์กับขดี ความสามารถในการ
รองรับขยะ ออกเป็น ๔ กลุ่มหลัก ประกอบด้วย ปริมาณขยะมูลฝอย ความสามารถในการกาจัด การนา
กลับมาใช้ใหม่ และความพอใจด้านทัศนียภาพ ในขณะท่ีเกณฑ์การประเมินขีดความสามารถในการรองรับขยะ
มูลฝอย พิจารณาจากอัตราการเกิดข้ึนของขยะเปรียบเท่ียบกับค่ามาตรฐานของอัตราการผลิตปริมาณขยะมูล
ฝอยที่เกิดข้ึนต่อคนต่อวันในเขตเทศบาล (เทศบาลตาบลมีอัตราการเกิดขยะ ๐.๖ กก./คน/วัน) ในขณะที่
Wilson (2013) มขี ้อสรุปอุปสรรคและข้อจากัดในการกาจัดขยะมูลฝอยมคี วามสัมพนั ธ์กบั ความสามารถในการ
บริหารจัดการโดยเฉพาะสภาวะด้านการเงินขององค์กรที่มีหน้าที่ดาเนินงาน ดังนั้น ในการประเมินขีด
ความสามารถในการรองรับขยะในโครงการนี้จึงเป็นการพิจารณาเฉพาะตัวแปรท่ีเป็นข้อมูลเชิงปริมาณที่
สอดคล้องตามข้อเสนอแนะของสุเนตร ทวถี าวรสวสั ดิ์ และพชั รินทร์ สิรสุนทร (๒๕๕๗) คอื ปริมาณขยะมลู ฝอย
ที่เกิดขึ้นในพ้ืนท่ี ความสามารถในการกาจัด และปริมาณที่นากลับมาใช้ใหม่ ส่วนประเด็นความพึงพอใจด้าน
ทัศนียภาพเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพที่มีความแปรผันตามความคิดเห็นของบุคคลซ่ึงมีปัจจัยร่วมที่ซับช้อนจึงไม่
นามาประกอบการพิจารณาในโครงการนี้ โดยท่ีการกาหนดเกณฑ์การประเมินขีดความสามารถในการรองรับ
ในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ใช่การพิจารณาจากข้อมูลความสามารถในการบาบัดท่ีถูกหลักวิชาการ
เปรียบเทียบกับความสามารถในการกาจัดขยะมูลฝอยของประเทศท่ีมีรายได้น้อยตามข้อมูลของ Wilson
(2013) เป็นเกณฑ์ กล่าวคือ หากความสามารถในการกาจัดขยะในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกท่ีถูกหลัก
วิชาการได้น้อยกว่าร้อยละ ๕๐ แสดงว่า สถานการณ์ขยะมูลฝอยในพ้ืนท่ีพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกอยู่ใน
ระดับท่ีเกินขีดความสามารถในการรองรับได้ของขยะมูลฝอย ด้วยหลักการดังกล่าวสามารถกาหนดสมการได้
ดงั นี้

สถานการณท์ เี่ กนิ ขีดความสามารถในการรองรบั ขยะมลู ฝอย=

การประเมนิ ขีดความสามารถในการรองรับขยะมูลฝอยในพืน้ ทพ่ี ัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
ในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก มสี ถานท่ีกาจัดขยะมูลฝอยในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ จานวนท้ังส้ิน ๗๐
แห่ง โดยแบ่งเป็นสถานท่ีเปิดดาเนินการ ๓๔ แห่ง และมีสถานที่กาจัดขยะมูลฝอยท่ีปิดดาเนินการ ๓๖ แห่ง
(สานักงานสิ่งแวดลอ้ มภาคท่ี ๑๓ (ชลบุรี), ๒๕๖๒) รายละเอยี ดแสดงดงั ตารางท่ี ๕ - ๒๐

โครงการจดั ทาแผนสงิ่ แวดล้อมในพืน้ ที่เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๕ - ๓๘

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสุดทา้ ย

ตารางที่ ๕ - ๒๐ จานวนสถานทีก่ าจดั ขยะมลู ฝอยทีเ่ ปิดดาเนินการและปดิ ดาเนนิ การปี พ.ศ. ๒๕๖๒

จังหวัด สถานท่กี าจัดขยะมลู ฝอย เปิดดาเนินการ ปิดดาเนนิ การ
ฐานปี พ.ศ.๒๕๕๘ (แหง่ ) แหง่ ร้อยละ แหง่ ร้อยละ

ฉะเชงิ เทรา ๑๗ ๗ ๔๑.๑๘ ๑๐ ๕๘.๘๒

ชลบรุ ี ๒๙ ๒๒ ๗๕.๘๖ ๗ ๒๔.๑๔

ระยอง ๒๔ ๕ ๒๐.๘๔ ๑๙ ๗๙.๑๖

รวม ๗๐ ๓๔ ๔๕.๙๖ ๓๖ ๕๔.๐๔

ทมี่ า: รายงานสถานการณค์ ุณภาพสง่ิ แวดล้อมภาคตะวันออก พ.ศ.๒๕๖๒, สานกั งานสงิ่ แวดล้อมภาคท่ี ๑๓ (ชลบุรี), ๒๕๖๒

สถานการณ์ขยะมูลฝอยชุมชนของพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ พบว่า มี
ปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดข้ึน ๑.๖๘ ล้านตันต่อปี โดยมปี ริมาณขยะมูลฝอยท่นี าไปใชป้ ระโยชน์ ๐.๓๕ ล้านตัน
ต่อปี คิดเป็นร้อยละ ๒๑.๐๓ ของปรมิ าณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้น ปริมาณขยะมูลฝอยท่ีกาจัดถูกตอ้ ง ๐.๘๖ ล้าน
ตันต่อปี คิดเป็นร้อยละ ๕๑.๓๓ ของปริมาณขยะมูลฝอยท่ีเกิดข้ึน และปริมาณขยะมูลฝอยที่กาจัดไม่ถูกต้อง
๐.๔๖ ล้านตันต่อปี คิดเป็นร้อยละ ๒๗.๖๔ ของปริมาณขยะมูลฝอยท้ังหมดท่ีเกิดข้ึน (จากการสารวจภายใต้
โครงการเมืองสวยใส ไร้มลพิษ (Clean & Green City) และความร่วมมือจากสานักงานทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อมจังหวัด สานักงานส่งเสริมการปกครองท้องถ่ินจังหวัด และ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน,
๒๕๖๒)

การบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชน ในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก โดยการนาขยะไปใช้
ประโยชน์ผ่านกิจกรรม และกระบวนการรีไซเคิลต่าง ๆ ซ่ึงจากข้อมูลการจัดการขยะ พบว่า พื้นท่ีเขตพัฒนา
พิเศษภาคตะวันออก มีอัตราส่วนการนาขยะไปใช้ประโยชน์ ร้อยละ ๑๙.๐๒ ปริมาณขยะมูลฝอยที่กาจัด
ถูกต้อง ร้อยละ ๔๖.๑๓ และมีปริมาณขยะมูลฝอยที่กาจัดไม่ถูกต้อง คิดเป็นร้อยละ ๓๔.๘๖ ของปริมาณขยะ
มูลฝอยทเี่ กดิ ข้นึ รายละเอยี ดดงั ตารางที่ ๕ - ๒๑

ตารางท่ี ๕ - ๒๑ ปริมาณขยะมลู ฝอยที่เกิดขึน้ และการจัดการขยะมลู ฝอยชุมชน ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

ปริมาณขยะมลู

ปริมาณขยะมูลฝอย ฝอยท่ี ปรมิ าณขยะมูล ปริมาณขยะมลู

ที่ นาไปใชไ้ ประ ฝอยท่ี ฝอยท่ี

จังหวัด เกิดขน้ึ โยชน์ ร้อยละ กาจดั ถูกต้อง ร้อยละ กาจัดไม่ถกู ตอ้ ง ร้อยละ

(ตัน) (ตนั ) (ตัน) (ตัน)

ฉะเชิงเทรา ๒๖๗,๕๙๖.๑๐ ๔๙,๑๔๗.๕๗ ๑๘.๓๗ ๓,๒๑๕.๖๕ ๑.๒๐ ๒๑๕,๒๓๒.๘๘ ๘๐.๔๓

ชลบรุ ี ๑,๐๕๔,๐๐๖.๘๕ ๒๕๐,๔๐๔.๖๐ ๒๓.๗๖ ๕๕๙,๐๙๙.๗๐ ๕๓.๐๕ ๒๔๔,๕๐๒.๕๕ ๒๓.๒๐

ระยอง ๓๕๓,๙๖๒.๔๐ ๕๒,๘๕๒.๐๐ ๑๔.๙๓ ๒๙๗,๗๘๘.๙๐ ๘๔.๑๓ ๓,๓๒๑.๕๐ ๐.๙๔

รวม ๑,๖๗๕,๕๖๕.๓๕ ๓๕๒,๔๐๔.๑๗ ๒๑.๐๓ ๘๖๐,๑๐๔.๒๕ ๕๑.๓๓ ๔๖๓,๐๕๖.๙๓ ๒๗.๖๔

หมายเหตุ: สถานทกี่ าจดั ขยะมูลฝอยที่ถกู ต้อง เช่น หมักทาปุ๋ย ฝงั กลบถูกหลกั วิชาการ เตาเผาผลติ พลังงาน เป็นตน้ ส่วน

สถานที่กาจดั ขยะมลู ฝอยที่ไม่ถูกตอ้ ง เช่น เตาเผาไม่มีระบบบาบดั มลพิษอากาศ การเทกอง เผากาจดั กลางแจง้

เป็นตน้

ทีม่ า: ระบบสารสนเทศดา้ นการจดั การขยะมูลฝอยชุมชน, กรมควบคุมมลพิษ, ๒๕๖๒

โครงการจดั ทาแผนส่ิงแวดล้อมในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๕ - ๓๙

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม รายงานฉบับสุดทา้ ย

สรุปผลการประเมินขีดความสามารถในการรองรับขยะมูลฝอยในพ้ืนท่ีพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก
จากสถานการณ์ของปริมาณขยะมลู ฝอยท่ีเกนิ ขึ้นในพ้ืนทีพ่ ัฒนาพิเศษภาคตะวันออกทั้งในภาพรวมและ
รายจังหวัด พบว่า ปริมาณขยะมูลฝอยที่กาจัดไม่ถูกต้องในพ้ืนที่ภาพรวมของ EEC คิดเป็นร้อยละ ๒๗.๖ ส่วน
จังระยอง และชลบุรี มีปริมาณขยะมูลฝอยที่กาจัดไม่ถูกต้องตามหลักวิชาการ ที่ร้อยละ ๐.๙ และ ๒๓.๒ ซึ่ง
เป็นอัตราที่ยงั ถือว่าอยู่ในเกณฑ์ความสามารถในการรองรับ มีเพียงจังหวัดฉะเชิงเทราที่มปี ริมาณขยะมูลฝอยท่ี
กาจัดไม่ถูกต้องตามหลักวิชาการ ท่ีรอ้ ยละ๘๐.๔ ซ่ึงเป็นอัตราท่ีเกินขีดความสามารถในการรองรับของขยะมูล
ฝอยในพื้นท่ี ดงั ตารางท่ี ๕ - ๒๒

ตารางที่ ๕ - ๒๒ สรุปผลการประเมนิ ขีดความสามารถในการรองรบั ขยะมูลฝอยในพ้ืนท่ีพัฒนาพเิ ศษภาค

ตะวันออก

จงั หวดั สถานการณค์ วามสามารถ เกณฑ์ความสามารถในการ ผลการประเมิน

ในการรองรบั ขยะมลู ฝอย รองรับขยะมูลฝอย

ฉะเชงิ เทรา ๘๐.๔๓ ไม่เกินร้อยละ ๕๐ เกินขีดความสามารถ
ชลบรุ ี ๒๓.๒๐ ไม่เกินร้อยละ ๕๐ ไมเ่ กินขีดความสามารถ
ระยอง ๐.๙๔ ไม่เกินรอ้ ยละ ๕๐ ไม่เกนิ ขีดความสามารถ
EEC ๒๗.๖๔ ไมเ่ กินร้อยละ ๕๐ ไม่เกินขดี ความสามารถ

๕.๕.๓ ความสามารถในการรองรับด้านน้าเสีย
ความสามารถในการรองรับของสภาวะแวดล้อมของลาน้าเป็นส่วนสา คัญในประเด็นความสามารถใน
การรองรับด้านส่ิงแวดล้อม ซึ่งมีประเด็นท่ีต้องพิจารณาที่หลากหลาย โดยทั่วไปควรประกอบด้วย (๑) การ
อภิปรายถึงกลยุทธ์ของกรอบการพัฒนาอย่างย่ังยืน (๒) สภาวะแวดล้อมของลาน้าได้รับอิทธิพลจากท้ังปัจจัย
ทางธรรมชาตแิ ละปัจจัยทางสังคมและข้อจากากัดทางสถานะทางสังคมและเศรษฐกิจ นโยบายแห่งชาติ ระดับ
การควบคุม และกลไกความร่วมมือที่สังคม และ (๓) เน่ืองจากความสามารถในการรองรับด้านสภาวะของลา
น้าเป็นส่วนหนึ่งของระบบนิเวศ ดังน้ันจึงควรพิจารณาในภาพรวมของความสามารถของทรัพยากรน้าในการ
สนับสนุนคุณภาพของประชาชนในภูมิภาค ทรัพยากร ส่ิงแวดล้อม และความร่วมมือในทางการพัฒนา (Peng
Kang and Linyu Xu, 2012) ซ่ึงผลกระทบจากคุณภาพน้าที่มีต่อประชาชน สังคมและเศรษฐกิจ เกิดจาก
ระดับคุณภาพของทรพั ยากรน้าในพื้นที่หากคุณภาพน้าในแหล่งน้าเส่ือมโทรมทาให้ไม่สามารถนาไปใช้อุปโภค-
บรโิ ภคได้โดยตรง
การกาหนดปจจยั และเกณฑก์ ารประเมินความสามารถในการรองรับ
การประเมินความสามารถในการรองรับของลาน้า le Ngoc Tuan (2019) ใช้ดัชนีคุณภาพน้า (water
quality indicators) เป็นเกณฑ์ช้ีวัดความสามารถในรองรับของสาน้าในจังหวัดบินดง (Binh Duong) ดังนั้น
ในการประเมินความสามารถในการรองรับด้านน้าเสียในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก จึงใช้ดัชนีคุณภาพน้า
ผิวดิน (WQI) ท่ีมีการตรวจวัดในลาน้าในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกเป็นปัจจัยสาหรับการประเมินใน
โครงการนี้ โดยเกณฑ์ความสามารถในการรองรับด้านน้าเสียในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก กาหนดให้ ค่า
WQI ระดับท่ี ๓ ซ่ึงเป็นเกณฑ์ในระดับพอใช้ สามารถใช้ประโยชน์ในการอุปโภคและบริโภคโดยต้องผ่านการฆ่า

โครงการจัดทาแผนสิง่ แวดลอ้ มในพ้ืนทเี่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๕ - ๔๐

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม รายงานฉบับสุดท้าย

เชื้อโรคตามปกติ และผ่านกระบวนการปรับปรุงคุณภาพน้าทั่วไปก่อน (ตารางที่ ๕ - ๒๓) หากคุณภาพน้าผิว

ดินในลาน้าโดยเฉลี่ยในพื้นที่มีค่า เกินค่าระดับ ๓ หมายความว่า ความสามารถในการรองรับด้านน้าเสียใน

พน้ื ที่เกนิ ขีดความสามารถในการรองรับ

ตารางที่ ๕ - ๒๓ เกณฑด์ ัชนีคณุ ภาพนา้ รวม

เกณฑค์ ุณภาพน้า คะแนนรวม เทยี บได้กบั มาตรฐาน สามารถใชป้ ระโยชน์ใชป้ ระโยชน์

แหลง่ น้าผวิ ดินประเภท

ดี ๗๑-๑๐๐ ๓ (๑) การอุปโภคและบรโิ ภค โดยตอ้ งผา่ นการฆ่าเชอ้ื โรค
ตามปกติก่อน และผา่ นกระบวนการปรบั ปรุงคุณภาพน้า

ทั่วไปกอ่ น

(๒) การอนรุ ักษส์ ตั ว์นา้

(๓) การประมง

(๔) การว่ายนา้ และกีฬาทางนา้

พอใช้ ๖๑-๗๐ ๓ (๑) การอุปโภคและบรโิ ภค โดยตอ้ งผ่านการฆา่ เชือ้ โรค

ตามปกติ และผ่านกระบวนการปรบั ปรงุ คุณภาพน้าทว่ั ไป

กอ่ น

(๒) การเกษตร

เส่อื มโทรม ๓๑-๖๐ ๕ (๑) การอปุ โภคและบรโิ ภค โดยตอ้ งผ่านการฆ่าเช้อื โรค

ตามปกติ และผา่ นกระบวนการปรบั ปรงุ คณุ ภาพน้าเปน็

พเิ ศษกอ่ น
(๒) การอตุ สาหกรรม

เสือ่ มโทรมมาก ๐-๓๐ ๕ เพ่ือการคมนาคม

การประเมินความสามารถในการรองรบั
จากข้อมูลคุณภาพน้าที่มีการตรวจวัดในลาน้าภายในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พบว่าค่าดัชนี
คุณภาพน้าผิวดินที่ตรวจวัดอยู่ในระดับ ๓ – ๕ คือ คุณภาพน้าในพื้นที่อยู่ในเกณฑ์พอใช้จนถึงเสื่อมโทรมมาก
(ตารางที่ ๕ - ๒๔) โดยค่าเฉลี่ยของค่าดัชนีคุณภาพน้าผิวดินในเขตจังหวัดฉะเชิงเทรา อยู่ในระดับ ๔ เท่ากับ
เสื่อมโทรม ในขณะท่ีจังหวัดชลบุรี มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับ ๕ หมายถึงเส่ือมโทรมมาก และจังหวัดระยองมี
ค่าเฉลย่ี อย่ใู นระดับ ๔ หมายถึงเส่ือมโทรม

ตารางท่ี ๕ - ๒๔ คา่ ดชั นีคณุ ภาพน้าผิวดนิ (WQI) ทตี่ รวจวดั ในลานา้ ในเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก

คะแนน คณุ ภาพนา้ ผิว ค่าดชั นคี ุณภาพน้า

จดุ ที่ ช่อื ตาบล อาเภอ ดนิ ผวิ ดนิ
จังหวดั ฉะเชงิ เทรา
ระดบั ท่ี

๑ * แม่น้าบางประกง สสภ.๑๓ ๖๒ พอใช้ ๓
๒ * คลองนครเนือ่ งเขต สสภ.๑๓
๔๘ เสื่อมโทรม ๔

๓ * คลองทา่ ไข่ สสภ.๑๓ ๕๑ เสอื่ มโทรม ๔

โครงการจัดทาแผนสิ่งแวดลอ้ มในพ้นื ท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๕ - ๔๑

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ท้าย

จดุ ท่ี ชื่อ คะแนน คณุ ภาพนา้ ผิว คา่ ดชั นีคณุ ภาพนา้
ตาบล อาเภอ ดิน ผิวดนิ
ระดบั ท่ี
๔ * คลองพานทอง สสภ.๑๓ ๒๘ เสื่อมโทรมมาก
๖๒ พอใช้ ๕
๕ * คลองท่าลาด สสภ.๑๓ ๔๒ เสอ่ื มโทรม ๓
๓๔ เสื่อมโทรม ๔
๖ ** คลองทา่ ลาด ปากนา้ บางคล้า ๔๓ เสื่อมโทรม ๔
๔๘ เสื่อมโทรม ๔
๗ ** คลองท่าลาด พนมสารคาม พนมสารคาม ๔๕ เสื่อมโทรม ๔
๒๘ เสอ่ื มโทรมมาก ๔
๘ ** คลองท่าลาด เกาะขนุน พนมสารคาม เสือ่ มโทรม ๕
๔๙ ๔
๙ ** คลองสียดั คยู้ ายหมี สนามชยั เขต ๐.๒
๒๕
๑๐ ** ห้วยกระพง ท่ากระดาน สนามชัยเขต ๕
๒๖
๑๑ ** คลองหน่ึง แปลงยาว แปลงยาว ๓๐
๓๑
เฉลย่ี ๑๐

จังหวัดชลบรุ ี ๕๔
๖๐
๑๒ * คลองตาหรุ สสภ.๑๓ ๒๘ เสื่อมโทรม ๔
๒๒ เสื่อมโทรมมาก ๕
๑๓ ** คลองออ้ มแก้ว บา้ นเก่า พานทอง ๒๘ เสื่อมโทรมมาก ๕
๓๖ เสื่อมโทรมมาก ๕
๑๔ ** คลองสะพาน วดั หลวง พนสั นิคม ๓๔ เสอ่ื มโทรมมาก ๕
๓๑ เสอ่ื มโทรมมาก ๕
๑๕ ** คลองลาพาง หนองชาก บ้านบงึ ๔๐ เสอ่ื มโทรม ๔
๓๔ เสอ่ื มโทรมมาก ๕
๑๖ ** คลองปา่ แดง หนองอิรุณ บา้ นบึง ๓๓ เสอื่ มโทรมมาก ๕

๑๗ ** คลองตะเคียน บอ่ ทอง บ่อทอง

๑๘ ** ห้วยพันเสด็จ เขาคันทรง ศรีราชา

๑๙ ** คลองบางละมงุ บางละมุง บางละมุง

เฉลี่ย

จังหวัดระยอง

๒๐ * แมน่ า้ ระยอง สสภ.๑๓ เสื่อมโทรม ๔
เสอ่ื มโทรม ๔
๒๑ * แมน่ า้ ประแสร์ สสภ.๑๓ เสอ่ื มโทรมมาก ๕
เสอ่ื มโทรมมาก ๕
๒๒ ** หว้ ยภไู ทร มาบยางพร ปลวกแดง เสื่อมโทรมมาก ๕
เสื่อมโทรม ๔
๒๓ ** คลองหนิ ลอย มาบยางพร ปลวกแดง เสอ่ื มโทรม ๔
เสอ่ื มโทรม ๔
๒๔ ** คลองปลวกแดง ปลวกแดง ปลวกแดง เสอ่ื มโทรม ๔
เสื่อมโทรม ๔
๒๕ ** คลองระเวงิ ปลวกแดง ปลวกแดง เสื่อมโทรม ๔
เสื่อมโทรม ๔
๒๖ ** คลองใหญ่ หนองไร่ ปลวกแดง

๒๗ ** คลองสะพาน ชมุ แสง วงั จนั ทร์

๒๘ ** คลองโพล้ ทงุ่ ควายกนิ แกลง

๒๙ ** คลองน้าใส สานกั ทอง เมอื งระยอง

๓๐ ** คลองแกลง แกลง เมอื งระยอง

เฉล่ีย

ที่มา: *จากสานักงานสง่ิ แวดลอ้ มภาคที่ ๑๓ (ชลบุร)ี (๒๕๖๓)

** จากการวเิ คราะห์ตัวอย่างนา้ ของโครงการฯ ปพี .ศ.๒๕๖๔

โครงการจดั ทาแผนสง่ิ แวดล้อมในพ้นื ทีเ่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๕ - ๔๒

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม รายงานฉบบั สุดท้าย

สรปุ ผลการประเมนิ ขีดความสามารถในการรองรบั น้าเสยี ในพนื้ ท่พี ัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก
จากสถานการณ์ของคา่ ดัชนคี ุณภาพนา้ ผวิ ดินท่ตี รวจวัดในพื้นทพ่ี ัฒนาพิเศษภาคตะวันออก สรุปได้วา่ ท้ัง
ในภาพรวมและรายจังหวัด ประกอบด้วยจังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดชลบุรี และจังหวัดระยอง มีความสามารถ
ในการรองรับนา้ เสยี ในระดบั ทเ่ี กนิ ขดี ความสามารถในการรองรบั

ตารางที่ ๕ - ๒๕ สรปุ ผลการประเมนิ ขีดความสามารถในการรองรบั นา้ เสยี ในพืน้ ทพี่ ัฒนาพิเศษภาค

ตะวนั ออก

จังหวดั คา่ ดชั นีคณุ ภาพน้าผวิ ดิน เกณฑ์ความสามารถในการ ผลการประเมนิ
(WQI) รองรบั น้าเสีย

ฉะเชงิ เทรา ๔ AQI ไม่เกนิ ๓ เกนิ ขีดความสามารถ

ชลบรุ ี ๕ AQI ไม่เกนิ ๓ เกินขีดความสามารถ

ระยอง ๔ AQI ไมเ่ กิน ๓ เกินขีดความสามารถ

EEC ๔ AQI ไม่เกิน ๓ เกนิ ขีดความสามารถ

๕.๖ ความสามารถในการรองรบั ดา้ นการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
การคานวณคาร์บอนฟุตพริ้นท์ (Carbon Footprint: CF) เพื่อให้ได้ปริมาณก๊าซเรือนกระจกท่ีเกิดขึ้นจาก

กิจกรรมในพ้ืนที่และใช้เป็นข้อมูลนาเข้าในการประเมินสถานการณ์การเปล่ียนแปลงภูมิอากาศ ความสามารถในการ
รองรับและวิเคราะห์พ้ืนที่ดูดซับปริมาณก๊าซเรือนกระจกท่ีจาเป็น โดยการประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ถูกคานวณตาม
รูปแบบกิจกรรมของผู้อยู่อาศัยในพ้ืนท่ีผ่านการวิเคราะห์การบริโภคท้ังปริมาณการใช้น้า การใช้ไฟฟ้าและการใช้
พลังงานหรือเช้ือเพลิงในรูปแบบอื่นหรือรวมท้ังการสร้างของเสียและขยะมูลฝอยตามข้อมูลทุติยภูมิท่ีเกิดข้ึนจริงใน
พื้นท่ีหรือตามจานวนประชากรซึ่งทาให้ได้ข้อมูลเป็นปริมาณก๊าซเรือนกระจกในรูปแบบก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
เทียบเท่า (CO2e) ค่าแต่ละค่าที่แสดงถึงคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) หรือเทียบเท่าคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2e) จะถูก
แปลงเป็นพ้ื นท่ีท่ีจาเป็นในการกักเก็บก๊าซเรือนกระจก (Swiader et al., 2020) ตามอัตราการกักเก็บ
คาร์บอนไดออกไซด์ระดับโลกทแ่ี สดงเปน็ เฮกตาร์ทวั่ โลกต่อตนั ของ CO2 [gha/tCO2] และ Equivalence Factor (EQF)
ซ่ึงแตกต่างกันไปในแต่ละประเทศ ซ่ึงสามารถใช้ข้อมูลอ้างอิงได้จาก Global Footprint Network (2019) และค่าที่
คานวณได้จะอยใู่ นรปู พื้นท่ที จ่ี าเปน็ ในการกกั เก็บทจ่ี าเปน็ ต้องมีเพ่ือให้เกิดความสมดุลทางด้านสง่ิ แวดล้อมภายในพน้ื ท่ี
โดยมกี รอบแนวคิดดงั ภาพที่ ๕ - ๕

โครงการจดั ทาแผนสิง่ แวดลอ้ มในพื้นท่เี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๕ - ๔๓

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม รายงานฉบับสุดท้าย

ภาพที่ ๕ - ๕ กรอบแนวความคิดในการดาเนินการ

๕.๖.๑ การกาหนดกจิ กรรมหลักทก่ี ่อใหเ้ กิดการปล่อยและการดูดกลับกา๊ ซเรอื นกระจก
กิจกรรมท่ีก่อให้เกิดก๊าซเรือนกระจกประเภทต่าง ๆ สาหรับการระบุแหล่งปล่อยและดูดกลับก๊าซเรือน
กระจกทีเ่ ก่ยี วขอ้ งภายในขอบเขตการศกึ ษาในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออกสามารถจาแนกแหล่งปลอ่ ย
และดูดกลบั ก๊าซเรือนกระจกออกเป็นการปล่อยกา๊ ซเรอื นกระจกทางตรง การปล่อยกา๊ ซเรอื นกระจกทางอ้อมที่
เกิดจากการใช้พลังงาน และการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทางอ้อมอื่น ๆ ซ่ึงกาหนดข้อมูลกิจกรรม (Activity
Data) ข้อมูลของกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการปล่อยและการดูดกลับของก๊าซเรือนกระจก ตามวัตถุประสงค์ของ
การประเมนิ คาร์บอนฟุตพร้ินท์นี้เพือ่ ต้องการพิจารณาสถานการณ์เพ่ือใชใ้ นการจัดทาแผนทางด้านสิ่งแวดล้อม
ของพนื้ ท่ีในอนาคต ดงั นั้นการศึกษาเบ้อื งต้นจงึ พจิ ารณาในภาพรวมของการบริโภคทรัพยากรจากทุกกิจกรรมที่
เกดิ ขนึ้ ในพนื้ ท่ีทงั้ ๓ จงั หวดั ไดแ้ ก่ ปริมาณการใช้ไฟฟา้ ปรมิ าณการใช้นา้ มันเบนซิน ปริมาณการใชน้ า้ มันดเี ซล
ปริมาณการใช้ก๊าซ LPG หรือก๊าซปิโตรเลียมเหลว ปริมาณการใช้กา๊ ซ NGV หรือก๊าซธรรมชาติสาหรับยานยนต์
ปรมิ าณการใช้น้าประปา ปริมาณขยะมูลฝอยและการจัดการขยะมูลฝอยปริมาณน้าเสียและการจัดการน้าเสีย
ในภาพรวมของจังหวัด จากการรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิท่ีมีอยู่จากหน่วยงานต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องกับกิจกรรมใน
พื้นท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก
๕.๖.๒ ค่าการปลอ่ ยก๊าซเรือนกระจก
ค่าการปล่อยก๊าซเรอื นกระจก (Emission Factor) เปน็ คา่ ทแ่ี สดงปริมาณการปล่อยก๊าซเรอื นกระจกต่อ
หน่วยของผลิตภัณฑ์หรือบริการน้ันๆ โดยพิจารณาเลือกใช้ข้อมูลจากการศึกษาและเผยแพร่โดยองค์กร
ภายในประเทศที่มีส่วนเกี่ยวข้องโดยตรงกับกิจกรรมน้ัน ๆ พร้อมกับพิจารณาใช้ค่าการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
จากฐานข้อมลู ส่ิงแวดล้อมของวัสดุพ้นื ฐานและพลงั งานของประเทศไทย (Thai National LCI database) ซึ่ง
รวบรวมและจัดการโดยองค์กรก๊าซเรือนกระจกและศูนย์เทคโนโลยีโลห ะและวัสดุแห่ งชาติ
(http://www.thailcidatabase.net) หากไม่มีข้อมูลในประเด็นท่ีต้องการจึงพิจารณาใช้ข้อมูลจากงานวิจัยที่
เก่ียวข้องที่ทาในประเทศซึ่งผ่านการตรวจสอบแล้ว (peer-reviewed publications) หรือใช้ฐานข้อมูลที่
เผยแพรท่ วั่ ไป

โครงการจัดทาแผนสิ่งแวดล้อมในพน้ื ทีเ่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๕ - ๔๔

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดท้าย

๕.๖.๓ การประเมนิ ปริมาณการปล่อยและดดู กลับกา๊ ซเรอื นกระจก
การประเมินการปล่อยและดูดกลับก๊าซเรือนกระจก (Carbon Footprint: CF) สามารถประเมินได้จาก
การนาข้อมูลกิจกรรมในภาพรวมของพ้ืนที่ทั้ง ๓ จังหวัดคูณกับค่าการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ของพลังงาน
ไฟฟ้าน้ามันเบนซินน้ามันดีเซลก๊าซ LPG หรือก๊าซปิโตรเลียมเหลว ก๊าซ NGVหรือก๊าซธรรมชาติสาหรับยาน
ยนต์ น้าประปา ขยะมูลฝอยและการจัดการขยะมลู ฝอยน้าเสยี และการจดั การนา้ เสยี ดังสมการที่ ๑

GHG Emissions = Activity Data (AD) × Emission Factor (EF) (๑)
โดยท่ี

GHG Emissions = ปรมิ าณก๊าซเรอื นกระจก (kgCO2e)
AD = ข้อมลู กจิ กรรม (หน่วย)
EF = ค่าการปล่อยกา๊ ซเรือนกระจก (kgCO2e/หน่วย)

ผลการประเมินปริมาณการปล่อยและดดู กลับก๊าซเรอื นกระจกในแต่ละกิจกรรมปรากกฎดงั ตารางที่ ๕ -
๒๖

ตารางท่ี ๕ - ๒๖ การปล่อยก๊าซเรอื นกระจกจากกจิ กรรมในพื้นท่ี

กจิ กรรม EEC ฉะเชงิ เทรา ชลบุรี ระยอง
๗,๖๙๐ ๖,๓๓๐.
๑. การใชพ้ ลงั งานไฟฟ้า ๑,๗๑๒๐ ๓,๑๐๐ ๑,๑๙๐๐ ๒,๐๑๐
๔๒.๐๐ ๑๒.๔๐
๒. การใช้พลงั งานรูปแบบอน่ื ๑,๕๕๕๐ ๑,๖๕๐ ๗๙๙ ๓๗๘
๒๗.๙๖ ๒๑.๑๔
๓. การใช้นา้ (ประปา) ๖๗.๐๐ ๑๒.๘๐ ๐.๑๗ ๐.๐๘
๖.๖๕ ๐.๑๖
๔. การบรโิ ภคอาหาร ๑,๕๕๐ ๓๗๒ -๑๒.๖๐ -๗.๒๐

๕. การจดั การขยะมูลฝอย ๑,๓๒.๓๗ ๘๓.๒๗ ๒,๐๔๒๐.๐๐ ๘,๗๒๐.๐๐

๖. การรวบรวมนา้ เสยี ๐.๓๓ ๐.๐๘

๗. การจดั การนา้ เสีย ๗.๒๗ ๐.๔๓

๘. การใช้พื้นทแ่ี ละปา่ ไม้ -๔๒.๐๐ -๒๒.๐๐

รวม (KgCO2e) ๓๔,๒๔๘.๐๐ ๕,๑๑๐.๐๐

หมายเหต:ุ หน่วยเป็นกิโลกรัมคารบ์ อนไดออกไซดเ์ ทียบเท่า (kgCO2e)

๕.๖.๔ การวเิ คราะห์ความสามารถในการรองรับการเปล่ียนแปลงภูมิอากาศ
ปริมาณก๊าซเรือนกระจกของส่วนประกอบในพ้ืนท่ีดังกล่าวเม่ือถูกนาไปประเมินตามจานวนประชากรท่ี
อาศัยอยู่ในพ้ืนท่ีที่ส่งผลต่อการใช้ทรัพยากรหรือการสร้างของเสียเพ่ือเปลี่ยนเป็นปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์
(CO2) หรือปริมาณเทียบเท่าคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2eq) จากน้ัน CO2 หรือ CO2eq แต่ละค่าจะถูกแปลงเป็น
พ้ืนที่ที่จาเป็นในการดูดซับ CO2 (Swiader et al., 2020) ตามอัตราการกักเก็บคาร์บอนไดออกไซด์ระดับโลก
ท่แี สดงในหนว่ ย gha/TCO2และ Equivalence Factor (EQF) ตามแนวทางการประเมินดังสมการที่ (๒)

โครงการจดั ทาแผนสงิ่ แวดลอ้ มในพ้นื ทเี่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๕ - ๔๕

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดท้าย

(๒)
เมือ่
CFi คาร์บอนฟตุ พร้นิ ท์ในหนว่ ยพ้ืนที่เฮกเตอรต์ ่อจานวนประชากรในแต่ละพน้ื ท่ี (gha per

capita)
GHGi ปริมาณก๊าซเรอื นกระจกของกจิ กรรมหนึง่ ๆ ทเ่ี กดิ ขนึ้ ในพื้นที่ (TgCO2e)
Ai จานวนประชากรในพืน้ ท่ีท่ีส่งผลตอ่ กิจกรรมนั้น ๆ
EQF ปัจจัยความเท่าเทียมกันสาหรับการใช้ท่ดี ินประเภทปา่ ไม้ (equivalent factor for forest

land use type) จากข้อมูลของ Global Footprint Network (2019)
IsCO2 อตั ราการกกั เกบ็ คารบ์ อนไดออกไซด์ระดับโลก (global carbon dioxide sequestration

rate [gha / tCO2] จากขอ้ มูลของ Global Footprint Network (2019)

๕.๖.๕ ความสามารถในการรองรับการเปล่ียนแปลงภูมิอากาศของพ้ืนท่ี
ในภาพรวมของพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกและรายจังหวัด (ยกเว้นจังหวัดฉะเชิงเทราล้วน
แล้วแต่มีค่า) สูงกว่าค่าเฉลี่ยในภาพรวมของประเทศไทยซึ่งมีค่าการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในปี ๒๕๖๐เท่ากับ
๒.๕๘ gha/คนและในภาพรวมของพื้นทีเ่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกมีค่ามากกวา่ พ้ืนที่ของโลกเฉล่ียสาหรับ
การรองรับกิจกรรมของมนุษย์ (earth share) ประมาณ ๑.๙ gha/คนเกือบ ๒ เท่า ซึ่งหมายความว่าพ้ืนที่เขต
พัฒนาพิเศษภาคตะวันออกมีการบริโภคทรัพยากรและปลดปล่อยของเสียที่มากเกินกว่าพ้ืนท่ีรองรับกิจกรรม
เฉลี่ยของโลก ๑.๕๗ gha/คน โดยจังหวัดฉะเชิงเทรา มีการบรโิ ภคทรัพยากรและปลดปล่อยของเสียท่ีมากเกิน
กว่าพ้ืนที่รองรับกิจกรรมเฉลีย่ ของโลก ๐.๒๖ gha/คน จังหวดั ชลบุรีและจังหวัดระยองมีการบริโภคทรัพยากร
และปลดปล่อยของเสียที่มากเกนิ กว่าพื้นท่ีรองรับกิจกรรมเฉล่ียของโลก ๒.๑๒ และ ๑.๗๒ gha/คน ตามลาดับ
ดังภาพที่ ๕ - ๖

ภาพท่ี ๕ - ๖ คาร์บอน ุตพร้ินท์ (gha/คน) ในพนื้ ทเี่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออกปี พ.ศ. ๒๕๖๓

โครงการจัดทาแผนสง่ิ แวดลอ้ มในพนื้ ที่เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๕ - ๔๖

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสุดทา้ ย

๕.๗ ความสามารถในการรองรับด้านความหลากหลายทางชีวภาพของพื้นท่ีพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาค
ตะวันออก
การลดลงของความหลากหลายทางชีวภาพเปน็ อีกหน่ึงประเด็นความกังวลของสงั คมโลกปจั จุบันและใน

การจัดทาแผนสิ่งแวดล้อมเป็นโอกาสในการบูรณาการเรื่องความหลากหลายทางชีวภาพร่วมกับการพัฒนา
เมอื ง (Secretariat of the Convention on Biological Diversity, 2012) ในโครงการจัดทาแผนสง่ิ แวดล้อม
ในพื้นที่พัฒนาเขตพัฒนาพิเศษตะวันออกระยะท่ี ๒ จึงได้วเิ คราะห์ความสามารถในการรองรับร่วมกับประเด็น
อื่น ๆ อย่างไรก็ตาม ในการประเมินความสามารถในการรองรับด้านความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นท่ีมี
หลากหลายวิธี แต่ส่วนใหญ่พึงพาฐานข้อมูลด้านชนิดและปริมาณของพืชและสัตว์ในพื้นท่ีศึกษา ซึ่งเป็น
ข้อจากัดในโครงการฯ ท่ีไม่มีข้อมูลดังกล่าวเพียงพอสาหรับการประเมินความสามารถในการรองรับด้านความ
หลากหลายทางชีวภาพในพื้นท่ีพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษตะวันออก ดังน้ัน จึงได้ประยุกต์แนวคิดการประเมิน
ความหลากหลายทางชีวภาพของระบบนิเวศ (พงษ์ศักด์ิ วิทวัสชุติกุลและคณะ, ๒๕๕๗) มาใช้คานวณหาค่า
ความหลากหลายทางชวี ภาพในพน้ื ท่พี ัฒนาเขตพัฒนาพเิ ศษตะวนั ออก

จากการศึกษาของ พงษ์ศักดิ์ วิทวสั ชุตกิ ลุ และคณะ (๒๕๕๗) สามารถกาหนดคา่ คะแนนควาหลากหลาย
ทางชวี ภาพ (BDV) ของพน้ื ท่ีป่าไมแ้ ละพ้นื ท่ที าการเกษตรชนดิ ต่าง ๆ ของประเทศไทย ไดด้ ังตารางท่ี ๕ - ๒๗

ตารางท่ี ๕ - ๒๗ ค่าคะแนนความหลากหลายทางชีวภาพ (BDV) ตามการใช้ประโยชน์ท่ีดินแต่ละประเภท

ประเภทการใช้ท่ีดินตามตัวช้วี ัด สภาพความสมบูรณ์ของพนื้ ที่ ค่าคะแนนความหลากหลายทาง
ชวี ภาพ (BDV)

ป่าไมผ่ ลดั ใบ สมบรู ณ์ ๕๕

ไมส่ มบรู ณ์ ๒๘

ป่าผลดั ใบ สมบูรณ์ ๔๕
ปา่ กินได้ ไม่สมบรู ณ์ ๒๓
๕๑
ดนิ ลกึ ๒๕
ดนิ ต้ืน

พน้ื ทปี่ ลูกพชื ผสม ดินลกึ ๔๒

ดินต้นื ๒๒

สวนผลไม้ ดินลึก ๓๒
พนื้ ท่ีปลกู พชื ไร่ ดินตน้ื ๑๗
ดินลกึ ๑๖
ดินตน้ื ๑๔

ไรร่ า้ ง - ๑๘

พ้นื ทวี่ ่างเปล่า - ๑๓

เมอื ง - ๐

หมายเหต:ุ * ค่าคะแนนความหลากหลายทางชวี ภาพ (BDV) ของประเภทไรร่ า้ งเปน็ ค่าเฉลยี่ ของชดุ ขอ้ มูลการใชท้ ดี่ ินประเภท
ดงั กล่าว

ทม่ี า: ดัดแปลงจากพงษศ์ ักดิ์ วทิ วสั ชุตกิ ุลและคณะ (๒๕๕๗)

โครงการจัดทาแผนสิง่ แวดลอ้ มในพ้ืนท่ีเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๕ - ๔๗

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ท้าย

๕.๗.๑ การเตรยี มขอ้ มูล
จากคา่ คะแนนความหลากหลายทางชีวภาพของชนดิ ป่าและประเภทพ้ืนท่ีเกษตร สามารถประยุกต์ใช้ใน
การประเมินค่าความหลากหลายทางชีวภาพของนิเวศในระดับต่าง ๆ โดย ในการศึกษาน้ีเป็นการประยุกต์ใช้
กับนิเวศในพ้ืนท่ีของจังหวัดในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษตะวันออก โดยการจาแนกประเภทการใช้ท่ีดินของแต่ละ
จังหวัดตามชนิดและประเภทพื้นที่เกษตรทีมีค่าคะแนนความหลากหลายทางชีวภาพ โดยใช้ข้อมูลสารสนเทศ
ภมู ิศาสตรด์ ้านการใช้ท่ีดนิ ของกรมพัฒนาที่ดิน ซึ่งชุดข้อมูลดังกล่าวสามารถจาแนกประเภทการใช้ที่ดินออกได้
เป็น ๙ ประเภท ดังตารางที่ ๕ - ๒๘

ตารางท่ี ๕ - ๒๘ การใชป้ ระโยชนท์ ดี่ ินตามประเภทการใชท้ ดี่ นิ ชนิดตา่ ง ๆ ในพ้ืนทศ่ี ึกษา

ประเภทการใช้ที่ดนิ ตาม ข้อมลู การใช้ท่ีดินของกรมพัฒนาทดี่ ิน สภาพความสมบูรณข์ องพ้นื ท่ี
ตัวชี้วดั (เงอื่ นไขตามตวั ช้ีวัด)

ปา่ ไมผ่ ลดั ใบ ปา่ ไมผ่ ลดั ใบสมบรู ณ์ สมบรู ณ์

ป่าไมผ่ ลดั ใบรอสภาพฟนื้ ฟู ไม่สมบรู ณ์

ป่าผลดั ใบ ป่าผลดั ใบสมบรู ณ์ สมบรู ณ์
ป่ากนิ ได้ ป่าผลดั ใบรอสภาพฟน้ื ฟู ไม่สมบรู ณ์
พชื ผกั พืชสมุนไพรฯลฯ
ดินลึก
ดินต้นื

พ้นื ท่ีปลกู พืชผสม เกษตรผสมผสาน ไรน่ าสวนผสมฯลฯ ดนิ ลึก

ดนิ ต้นื

สวนผลไม้ ทเุ รยี น มะม่วง เงาะ ฯลฯ ดินลกึ
พนื้ ทปี่ ลกู พชื ไร่ ข้าวโพด ออ้ ย มันสาปะหลงั ฯลฯ ดินตื้น
ดนิ ลกึ
ดินตนื้

ไรร่ า้ ง ไรร่ า้ ง -

พน้ื ทีว่ า่ งเปลา่ ที่ดินเปดิ โลง่ ทงุ่ หญา้ เลยี้ งสตั ว์ -

เมือง ตวั เมืองและย่านการคา้ หมูบ่ า้ น โรงงานอุตสาหกรรม -
นคิ มอตุ สาหกรรมฯลฯ

ทมี่ า: ดดั แปลงจาก บรกิ ารข้อมลู ดนิ และการใชท้ ีด่ ิน กรมพฒั นาทีด่ นิ (๒๕๖๔)

โครงการจดั ทาแผนส่ิงแวดลอ้ มในพนื้ ท่เี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๕ - ๔๘


Click to View FlipBook Version