สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม
ตารางท่ี ๓ - ๕ โครงสร้างสนิ คา้ สง่ ออกสินคา้ ไทยไปยังสหรฐั อเมรกิ า
ชื่อสนิ ค้า มลู ค่า: ลา้ นเหรียญ
๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓
๒๕๖๐
(ม.ค.-ธ.ค.) (ม.ค.-ธ.ค.)
รวมท้ังสน้ิ ๒๖,๕๗๐.๔ ๒๘,๐๔๑.๐ ๓๑,๓๔๘.๔ ๓๑,๓๔๘.๔ ๓๔,๓๘๑.๒ ๘.๔๕
๑. สินค้า ๑,๔๖๐.๙ ๑,๔๕๑.๑ ๑,๕๒๕.๐ ๑,๕๒๕.๐ ๑,๕๐๒.๕ ๕.๒๓
เกษตรกรรม
(กสิกรรม,
ปศสุ ัตว,์
ประมง)
๒. สนิ คา้ ๒,๕๒๑.๖ ๒,๕๑๔.๗ ๒,๕๗๕.๖ ๒,๕๗๕.๖ ๓,๐๒๘.๓ ๕.๐๓
อตุ สาหกรรม
การเกษตร
๓. สนิ ค้า ๒๒,๕๔๓.๐ ๒๔,๐๑๔.๓ ๒๗,๒๓๗.๘ ๒๗,๒๓๗.๘ ๒๙,๘๔๒.๕ ๙.๐๐
อุตสาหกรรม
๔. สนิ คา้ แร่และ ๔๔.๙ ๖๐.๙ ๑๐.๐ ๑๐.๐ ๘.๐ ๔๓๓.๑๐
เช้อื เพลงิ
๕. อืน่ ๆ - - - - --
(ธุรกรรมพเิ ศษ) ๑๐๐.๐๐
ที่มา: ศนู ย์เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร สานกั งานปลดั กระทรวงพาณชิ ย์ โดยความรว่ มมือ
โครงการจดั ทาแผนสิ่งแวดล้อมในพื้นทเ่ี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕
รายงานฉบับสุดทา้ ย
อตั ราขยายตวั (%) ๒๕๖๓ ๒๕๖๐ สดั ส่วน (%) ๒๕๖๓
๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒
(ม.ค.- ๑๐๐.๐๐ (ม.ค.-
(ม.ค.- ธ.ค.) ๕.๕๐ (ม.ค.- ธ.ค.)
ธ.ค.) ๙.๖๗ ธ.ค.) ๑๐๐.๐๐
๕.๕๓ ๑๑.๓๐ ๑๑.๘๐ -๑.๔๗ ๑๐๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐ ๔.๓๗
-๐.๖๗ ๕.๐๙ ๕.๐๙ ๕.๑๘ ๔.๘๖ ๔.๘๖
-๐.๒๗ ๒.๔๒ ๒.๔๒ ๑๗.๕๗ ๙.๔๙ ๘.๙๗ ๘.๒๒ ๘.๒๒ ๘.๘๑
๖.๕๓ ๑๓.๔๒ ๑๓.๔๒ ๙.๕๖ ๘๔.๘๔ ๘๕.๖๔ ๘๖.๘๙ ๘๖.๘๙ ๘๖.๘๐
๓๕.๔๖ -๘๓.๕๗ -๘๓.๕๗ -๒๐.๐๒ ๐.๑๗ ๐.๒๒ ๐.๐๓ ๐.๐๓ ๐.๐๒
---- - - - - -
อจากกรมศุลกากร
๕-๒๕๖๙ ๓ - ๑๔
สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย
สาหรับการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับนโยบายทางด้านส่ิงแวดล้อมของสหรัฐฯ จาเป็นต้องพิจารณา
ห ล า ย ด้ า น โด ย เฉ พ าะ ก ารเต รี ย ม ค ว าม พ ร้อ ม ใน ก าร พั ฒ น า ทั ก ษ ะ ก าลั งค น ข อ งป ระ เท ศ
(Reskill/Upskill/Newskill) ซ่ึงประเทศไทยได้ตระหนักถึงประเด็นการพัฒนาเศรษฐกิจควบคู่กับส่ิงแวดล้อม
โดยมีการบรรจุไว้ในยุทธศาสตร์ที่ ๕ ในแผนพัฒนาประเทศ ๒๐ ปี คอื ด้านการสร้างการเตบิ โตบนคุณภาพชีวิต
ท่ีเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยมีเป้าหมาย ๔ ประเด็นดังนี้ ๑) อนุรักษ์และรักษาทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมให้คนรุ่นต่อไปได้ใช้อย่างยั่งยืน ๒) ฟ้ืนฟูและสร้างฐานทรัพยากรธรรมชาติและ
สงิ่ แวดล้อม เพ่อื ลดผลกระทบทางลบจากการพัฒนาสงั คมเศรษฐกิจของประเทศ ๓) ใช้ประโยชน์และสร้างการ
เติบโตบนฐานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมให้สมดุลภายในขีดความสามารถของระบบนิเวศ และ
๔) ยกระดับกระบวนทัศน์เพื่อกาหนดอนาคตประเทศด้านทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมบน
หลักของการมสี ว่ นร่วม และธรรมาภบิ าล
สาหรับการพัฒนาคนเพอ่ื ใหส้ อดคลอ้ งกบั ยุทธศาสตร์ ๕ นัน้ อยู่ในส่วนของการพัฒนาศกั ยภาพคนและ
การใช้เทคโนโลยีท่ีเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม รวมทั้งการส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมท่ีพึงประสงค์ด้าน
ส่ิงแวดล้อม โดยการพัฒนาทักษะท่ีสอดรับกับอุตสาหกรรมศักยภาพซึ่งต้องอาศัยจากทุกภาคส่วนท่ีเกี่ยวข้อง
ได้แก่ ภาครัฐ สถาบันการศึกษาและความร่วมมือจากภาคเอกชน ในการเพ่ิมสมรรถนะแรงงานเพ่ือให้สามารถ
เพิ่มผลิตภาพแรงงานในยุคที่มีการใส่ใจส่ิงแวดล้อมนั้น ทักษะที่จาเป็นในอนาคตประกอบด้วย
๑) ความสามารถด้าน IT เช่นระบบปฏิบัติการหรือการออกแบบโปรแกรม เครือข่ายคอมพิวเตอร์ การรักษา
ความปลอดภัยข้อมูล ๒) ความรู้ด้านเทคโนโลยีการผลิต ๓) การจัดทาและวิเคราะห์ข้อมูลด้านเทคโนโลยี
รวมท้ังการบริหารจัดการ ๔) สถิติท่ีเก่ียวข้องกบั สายการผลิต คิดค้นนวัตกรรมหรือกระบวนการผลิต และการ
สร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ ๕) ทักษะด้านความคิด เช่นการมีความยืดหยุ่นทางความคิด และความสามารถในการ
ตัดสินใจ การเจรจาต่อรองและการแก้ไขปัญหา เป็นต้น แสดงในภาพที่ ๓ - ๑๓ ซึ่งทักษะเหล่าน้ีเมื่อผนวกกับ
การใช้เทคโนโลยที ่ีเปน็ มติ รกบั สิ่งแวดลอ้ มจะชว่ ยเพิม่ โอกาสทางการค้ากบั สหรฐั ฯ ได้มากขึน้
ภาพที่ ๓ - ๑๓ ทกั ษะทีจ่ าเป็นในการเพม่ิ สมรรถนะแรงงาน ๓ - ๑๕
โครงการจดั ทาแผนส่งิ แวดลอ้ มในพ้นื ทเี่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม รายงานฉบับสดุ ท้าย
ด้วยทาเลของภาคตะวันออกที่เป็นศูนย์กลางของอนุภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่มีโอกาสพัฒนา
ประเทศไปสู่การเป็นศูนย์กลางด้านการค้าการลงทุนและการให้บริการโลจิสติกส์ที่เช่ือมโยงภูมิภาคต่าง ๆ ทั่ว
โลก อย่างไรก็ตาม แนวโน้มเศรษฐกิจการเมืองท่ีสัมพันธ์เช่ือมโยงกับนโยบายระหว่างประเทศโดยเฉพาะ
ประเทศสหรัฐอเมริกาภายใต้การบริหารของโจ ไบเดน ที่ผลักดันนโยบายส่ิงแวดล้อมที่ให้ความสาคัญกับการ
ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกผ่านกลไกความตกลงและการกาหนดเง่ือนไขทางการค้าท่ีไม่ใช่ภาษี ทาให้
ประเทศไทยต้องพัฒนากระบวนการผลติ และสินคา้ ที่เป็นมติ รต่อสง่ิ แวดล้อมทส่ี อดคล้องตามมาตรฐานสากล
๓.๒ สถานการณแ์ ละแนวโนม้ ประชากร
๓.๒.๑ สถานการณ์ประชากร
พ้นื ที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออกมีจานวนประชากรรวมทง้ั ส้นิ ๓,๐๑๓,๑๖๗ คน แยกเป็นประชากร
ในจังหวัดฉะเชิงเทรา ๗๒๐,๑๑๓ คน ประชากรในจังหวัดชลบุรี ๑,๕๕๘,๓๐๑ คน ประชากรในจังหวัดระยอง
๗๓๔,๗๕๓ คน (กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย, ๒๕๖๒) สาหรับความหนาแน่นของประชากร จากการ
ท่ีประชากรในพ้ืนท่ีมีจานวนเพ่ิมข้ึนอย่างต่อเน่ือง (ภาพที่ ๓ - ๑๔) ทาให้ความหนาแน่นของประชากรเพิ่มข้ึน
ตามไปด้วย โดยในภาพรวมของเขตพ้ืนที่พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก มีความหนาแน่นของประชากรเพิ่มขึ้น
จาก ๑๙๗ คนต่อตารางกิโลเมตรในปี พ.ศ. ๒๕๕๓ เป็น ๒๒๗ คนต่อตารางกิโลเมตร ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒
โดยจังหวัดชลบุรี มีความหนาแน่นของประชากรสูงสุด ตามด้วยจังหวัดระยอง และจังหวัดฉะเชิงเทรา โดยมี
ความหนาแน่นของประชากรในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ อยู่ที่ ๓๕๗ ๒๐๗ และ ๑๓๕ คนต่อตารางกิโลเมตร ตามลาดับ
ประชากรร้อยละ ๕๓ ในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกอาศัยอยู่ในเมืองหรือเขตเทศบาล ในปี พ.ศ.
๒๕๖๒ จังหวัดชลบุรีมีสัดส่วนของคนที่อาศัยในเขตเมืองสูงสุดคือร้อยละ ๖๙ ตามด้วยจังหวัดระยอง ร้อยละ
๔๙ และจังหวัดฉะเชิงเทรา ร้อยละ ๒๒ ตามลาดับ โดยในช่วง ๑๐ ปี ระหว่าง ปี พ.ศ. ๒๕๕๓ - ๒๕๖๒
สัดส่วนของผู้อาศัยในเขตเมืองเพ่ิมขึ้นเล็กน้อย โดยจังหวัดชลบุรีและระยองมีแนวโน้มของการอยู่อาศัยในเขต
เมอื งเพมิ่ ขึ้นเลก็ นอ้ ยในขณะท่ีจงั หวดั ฉะเชิงเทรามีแนวโน้มค่อนขา้ งคงที่ (ภาพที่ ๓ - ๑๕)
ภาพที่ ๓ - ๑๔ จานวนประชากร ในพน้ื ทเ่ี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก ปี พ.ศ. ๒๕๕๓ - ๒๕๖๒
แยกรายจงั หวัด
โครงการจดั ทาแผนส่ิงแวดล้อมในพ้นื ท่เี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๑๖
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม รายงานฉบับสุดทา้ ย
ภาพที่ ๓ - ๑๕ สัดสว่ นของผ้อู าศยั ในเขตเมอื ง (ร้อยละ) ในพ้ืนท่เี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก
ปี พ.ศ. ๒๕๕๓ - ๒๕๖๒ แยกรายจังหวัด
นอกจากประชากรตามข้อมูลทะเบียนบ้านของกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทยแล้ว ยังมปี ระชากร
แฝงท่ีเข้ามาอยู่อาศัย มาเรียนหนังสือหรือมาทางานในพ้ืนที่ โดยไม่ได้ย้ายทะเบียนบ้าน ประกอบไปด้วย
ประชากรท่ีเดินทางไป-กลับหรือท่ีเรียกว่า ประชากรแฝงกลางวัน (Commuter Population) และประชากร
แฝงกลางคืน (Non-registered population) หรือผู้ท่ีอาศัยอยู่ในพื้นท่ีโดยไม่มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในพ้ืนท่ี
อยอู่ าศัย (อาจมชี ื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในจังหวดั อื่น หรือในต่างประเทศ หรือไมม่ ีช่ือในท่ใี ดเลย) จากการสารวจ
การย้ายถิ่นของประชากรของสานักงานสถิติแห่งชาติ ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ พบว่า จังหวัดชลบุรี มีประชากรแฝง
จานวน ๕๓๘,๐๐๐ คน จงั หวัดระยอง มปี ระชากรแฝงจานวน ๔๐๐,๓๗๙ คน จังหวัดฉะเชิงเทรา มีประชากร
แฝงจานวน ๒๐๔,๒๘๖ คน รวมประชากรแฝงในพ้ืนทท่ี งั้ ส้ิน ๑,๑๔๒,๖๖๕ คน
๓.๒.๒ การเปลี่ยนแปลงส่วนประกอบสาคญั : การเกดิ การตายและการยา้ ยถ่นิ และการคาดการณ์
ประชากร
การพิจารณ าวิเคราะห์สถิติการเกิด การตายและการย้ายถ่ินย้อนหลัง เป็นส่ิงสาคัญ ต่อ
การทาความเข้าใจการเปลี่ยนแปลงจานวน โครงสร้างประชากรและการคาดการณ์ประชากร สาหรับประชากร
ในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พบว่า ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ประชากรมีจานวนการเกิดอยู่ท่ี ๔๒,๙๔๐ คน
หรอื คิดเป็นอตั ราการเกิดเทา่ กบั ๑๔ คนตอ่ ประชากรพันคน มีจานวนการตายอยูท่ ่ี ๒๓,๓๒๔ คน หรอื คิดเป็น
อัตราการตายเท่ากับ ๘ คนต่อประชากรพันคน และมีอัตราการเพิ่มตามธรรมชาติร้อยละ ๐.๗ โดยจังหวัด
ชลบุรีเป็นจังหวัดท่ีมีอัตราการเกิดและอัตราการเพิ่มตามธรรมชาติสูงที่สุด ตามด้วยจังหวัดระยองและจังหวัด
ฉะเชิงเทรา ตามลาดับ และในช่วง ๑๐ ปีท่ีผ่านมา อัตราการเกิดมีแนวโน้มลดลง (ภาพท่ี ๓ – ๑๖) อัตราการ
ตายมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น (ภาพที่ ๓ - ๑๗) และอัตราการเพิ่มตามธรรมชาติมีแนวโน้มลดลงเกือบสองเท่า
(ภาพที่ ๓ - ๑๘)
โครงการจัดทาแผนสิ่งแวดล้อมในพ้ืนทเ่ี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๑๗
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สดุ ท้าย
ภาพท่ี ๓ - ๑๖ อตั ราการเกดิ (ต่อประชากร ๑,๐๐๐ คน) ในพ้นื ทเี่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก
ปี พ.ศ. ๒๕๕๓ - ๒๕๖๒ แยกรายจงั หวดั
ภาพท่ี ๓ - ๑๗ อตั ราการตาย (ต่อประชากร ๑,๐๐๐ คน) ในพื้นที่เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก
ปี พ.ศ. ๒๕๕๓ - ๒๕๖๒ แยกรายจังหวัด
โครงการจัดทาแผนส่ิงแวดล้อมในพนื้ ท่เี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๑๘
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม รายงานฉบบั สุดทา้ ย
ภาพที่ ๓ - ๑๘ อัตราการเพ่มิ ตามธรรมชาติ (ร้อยละ) ในพ้ืนท่เี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก
ปี พ.ศ. ๒๕๕๓ - ๒๕๖๒ แยกรายจงั หวดั
สาหรับการย้ายถิ่นจากการแจ้งย้ายทะเบียนบ้าน ข้อมูลของกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย
ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ พบว่า ในชว่ ง ๑๐ ปี ระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๕๓ - ๒๕๖๒ ในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก
มีคนย้ายถิ่นเข้าจานวน ๒,๐๐๔,๘๗๗ คน มีคนย้ายออกจานวน ๑,๘๑๘,๓๓๕ คน คิดเป็นจานวนการย้ายถ่ิน
สุทธิ ๑๘๖,๕๔๒ คน โดยจังหวัดชลบุรี มีย้ายถ่ินสุทธิมากที่สุดคือ ๘๙,๐๗๘ คน ตามด้วยจังหวัดระยอง
๖๙,๕๙๐ คน และฉะเชิงเทรา ๒๗,๘๗๔ คน ตามลาดับ ภาพท่ี ๓ - ๑๙ แสดงอัตราการย้ายถิ่นสุทธิของพ้ืนที่
ดังกลา่ ว ระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๕๓ - ๒๕๖๒ แยกรายจังหวัด จะเห็นได้ว่า ในทุกจังหวัดมแี นวโน้มของการย้ายถ่ิน
สทุ ธลิ ดลง แมว้ า่ จงั หวดั ชลบุรี ไดม้ ีแนวโนม้ เพิม่ ขนึ้ ในช่วงระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๒
ภาพท่ี ๓ - ๑๙ อัตราการยา้ ยถน่ิ สุทธใิ นพ้นื ท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ตอ่ ประชากรร้อยคน)
ปี พ.ศ. ๒๕๕๓ - ๒๕๖๒ แยกรายจงั หวัด
โครงการจัดทาแผนสง่ิ แวดลอ้ มในพนื้ ท่เี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๑๙
สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม รายงานฉบับสุดทา้ ย
สาหรับจานวนคนต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตให้ทางานในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ระหว่างปี
พ.ศ. ๒๕๕๓ - ๒๕๖๒ พบว่า มีจานวนเพ่ิมขึ้น ๓ เท่า จากจานวนท้ังหมด ๑๐๓,๓๕๕ คน ในปี พ.ศ. ๒๕๕๓
เป็น ๓๐๕,๓๙๖ คน ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ และโดยเฉพาะตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๘ เป็นต้นมา โดยจังหวัดมีมีสัดส่วน
การเพิ่มขึ้นสูงสุดได้แก่ จังหวัดระยองและฉะเชิงเทรา ที่มีจานวนเพ่ิมขึ้น ในสัดส่วนเท่ากันคือ ๓.๒ เท่า และ
จงั หวัดชลบุรี มจี านวนเพิ่มข้ึน ๒.๘ เทา่ ตามลาดับ โดยจานวนคนตา่ งด้าวที่ได้รับอนุญาตให้ทางาน ณ ปี พ.ศ.
๒๕๖๒ มีจานวนมากที่สุดท่ีจังหวัดชลบุรี จานวน ๑๖๓,๗๑๓ คน ตามด้วยจังหวัดระยอง มีจานวน ๙๑,๔๙๐
คน และจังหวัดฉะเชิงเทรา มีจานวน ๕๐,๑๙๓ คน ตามลาดับ (ภาพท่ี ๓ - ๒๐) ทั้งนี้ คนต่างด้าวที่ย่ืนขอ
ใบอนุญาตทางานมี ๓ ประเภท ได้แก่ ๑) ประเภทช่วั คราว ๒) ประเภทส่งเสรมิ การลงทนุ และกฎหมายอืน่ และ
๓) ประเภทมาตรา ๑๒ โดยพบว่าจากข้อมูลจานวนสถิติผู้ย่ืนขอใบอนุญาตทางานในจังหวัดชลบุรีและ
ฉะเชิงเทรา มีสัดส่วนของประเภทชั่วคราวมากท่ีสุด โดยจังหวัดชลบุรี มีสัดส่วนสูงถึงร้อยละ ๙๔ ของผู้ยื่นขอ
ท้ังหมด และร้อยละ ๖๐ ในจังหวัดฉะเชิงเทรา ส่วนจังหวัดระยองน้ัน ต้ังแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๙ เป็นต้นมา มี
สัดส่วนการยื่นขอของประเภทการส่งเสริมการลงทุนและกฎหมายอ่ืนมากที่สุด อยู่ที่ร้อยละ ๕๖ ในขณะที่
ประเภททางานชัว่ คราวอย่ทู ี่รอ้ ยละ ๔๒
ภาพท่ี ๓ - ๒๐ จานวนคนตา่ งดา้ วท่ไี ด้รับอนุญาตทางานระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๖๒ แยกรายจังหวัด
โครงการจัดทาแผนสง่ิ แวดล้อมในพ้นื ท่เี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๒๐
สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสุดทา้ ย
ภาพท่ี ๓ - ๒๑ สดั ส่วน (ร้อยละ) ของประเภทการยน่ื ขอใบอนญุ าตทางานรวม ระหวา่ งปี
พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๖๒ แยกรายจงั หวัด
ภาพท่ี ๓ - ๒๒ สดั ส่วน (ร้อยละ) ของประเภทท่ไี ด้รับใบอนุญาตให้ทางานรวมระหว่างปี
พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๖๒ แยกรายจังหวดั
ท้ังนี้ หากการเพ่ิมข้ึนของคนต่างด้าวท่ีได้รับอนุญาตให้ทางานในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกมี
การเพิ่มข้ึนในอัตราเท่ากับช่วงเวลา ๑๐ ปีที่ผ่านมา เป็นไปได้ว่าภายในปี พ.ศ. ๒๕๗๒ จะมีประชากรกลุ่มนี้
๙๑๖,๑๘๘ คน
๓.๒.๓ การเปลี่ยนแปลงโครงสรา้ งอายุประชากร
เมื่อวเิ คราะห์โครงสร้างอายุประชากรของประชากรในเขตพ้ืนท่ีพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ภาพท่ี ๓ -
๒๓) พบว่ามีแนวโนม้ การลดลงของสัดส่วนเด็ก (๐ - ๑๔ ปี) คิดเป็นร้อยละ ๑๘.๖ ของประชากรทง้ั หมด และมี
แนวโน้มของการเพ่ิมขึ้นของสัดสว่ นผู้สูงอายุ (๖๐ ปีขึ้นไป) คิดเป็นร้อยละ ๑๔.๓ ของประชากรทั้งหมด ซ่ึงถือ
วา่ เป็นสังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) โดยมีอัตราวัยภาระพ่ึงพิงเท่ากับ ๔๙ คน ต่อประชากรวยั แรงงานหนึ่ง
โครงการจัดทาแผนสิง่ แวดลอ้ มในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๒๑
สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย
รอ้ ยคน แยกเปน็ วยั ภาระพ่ึงพิงเดก็ ๒๘ คนตอ่ ประชากรวัยแรงงานหน่ึงร้อยคน วัยภาระพ่ึงพิงผูส้ ูงอายุ ๒๑ คน
ต่อประชากรวยั แรงงานหนงึ่ ร้อยคน
ภาพท่ี ๓ - ๒๓ โครงสรา้ งอายุประชากรในเขตพื้นท่ีพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ปี พ.ศ.๒๕๖๒
ภาพที่ ๓ - ๒๔ แสดงโครงสร้างอายุประชากรในจังหวัดฉะเชิงเทรา ซึ่งมีสัดส่วนเด็ก
(๐ - ๑๔ ปี) คิดเป็นร้อยละ ๑๗.๓ ของประชากรท้ังหมด และมีสัดส่วนผู้สูงอายุ (๖๐ ปีข้ึนไป) คิดเป็นร้อยละ
๑๗.๑ ของประชากรทั้งหมด โดยมีอัตราวัยภาระพึ่งพิงเท่ากับ ๕๒ คน ต่อประชากรวัยแรงงานหน่ึงร้อยคน
และมีสัดส่วนวัยภารพ่ึงพิงเด็กและผู้สูงอายุเท่า ๆ กัน คือเป็นวัยภาระพ่ึงพิงเด็ก ๒๖ คนต่อประชากรวัย
แรงงานหนึ่งรอ้ ยคน วยั ภาระพง่ึ พิงผู้สงู อายุ ๒๖ คนตอ่ ประชากรวัยแรงงานหน่งึ ร้อยคน
ภาพท่ี ๓ - ๒๔ โครงสรา้ งอายุประชากรของจังหวดั ฉะเชิงเทรา ปี พ.ศ.๒๕๖๒
ภาพที่ ๓ - ๒๕ แสดงโครงสร้างอายุประชากรในจังหวัดชลบุรี ซ่ึงมีสัดส่วนเด็ก (๐ - ๑๔ ปี)
คิดเป็นร้อยละ ๑๘.๙ ของประชากรทั้งหมด และมีสัดส่วนผู้สูงอายุ (๖๐ ปีข้ึนไป) คิดเป็นร้อยละ ๑๓.๕ ของ
ประชากรท้ังหมด โดยมีอัตราวัยภาระพึ่งพิงเท่ากับ ๔๘ คน ต่อประชากรวัยแรงงานหนึ่งร้อยคน แยกเป็นวัย
ภาระพึ่งพิงเด็ก ๒๘ คนต่อประชากรวัยแรงงานหนึ่งร้อยคน วัยภาระพึ่งพิงผู้สูงอายุ ๒๐ คนต่อประชากรวัย
แรงงานหนงึ่ รอ้ ยคน
โครงการจัดทาแผนสิ่งแวดลอ้ มในพน้ื ที่เขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๒๒
สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม รายงานฉบับสุดท้าย
ภาพท่ี ๓ - ๒๕ โครงสร้างอายปุ ระชากรของจังหวัดชลบุรี ปี พ.ศ.๒๕๖๒
ภาพที่ ๓ - ๒๖ แสดงโครงสร้างอายุประชากรในจังหวัดระยอง ซึ่งมีสัดส่วนเด็ก (๐ - ๑๔ ปี) คิดเป็น
ร้อยละ ๑๙ ของประชากรทั้งหมด และมีสัดส่วนผู้สูงอายุ (๖๐ ปีขึ้นไป) คิดเป็นร้อยละ ๑๓ ของประชากร
ทั้งหมด โดยมีอัตราวัยภาระพ่ึงพิงเท่ากับ ๔๗.๘ คน ต่อประชากรวัยแรงงานหนึ่งร้อยคน แยกเป็นวัยภาระ
พึ่งพิงเด็ก ๒๘.๔ คนต่อประชากรวัยแรงงานหน่ึงร้อยคน วัยภาระพึ่งพิงผู้สูงอายุ ๑๙.๔ คนต่อประชากรวัย
แรงงานหน่งึ ร้อยคน
ภาพท่ี ๓ - ๒๖ โครงสร้างอายุประชากรของจังหวดั ระยอง ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
๓.๒.๔ การคาดการณ์ประชากร
การคาดการณ์ประชากรของสานักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกระหวา่ งปี
พ.ศ. ๒๕๕๙ - ๒๕๗๐ (สานักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (สกพอ.), ๒๕๖๑)
พบว่า พ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออกจะมีประชากรรวมท้ังสิน้ ๓,๙๓๙,๕๘๕ คน ในปี พ.ศ. ๒๕๕๙ จาก
ก าร ค า ด ก า รณ์ จ ะ เพิ่ ม ข้ึ น เป็ น ๖ ,๐ ๙ ๐ ,๘ ๒ ๔ ค น ใน ปี พ .ศ . ๒ ๕ ๗ ๐ ดั งร าย ล ะ เอี ย ด ใน
ตารางท่ี ๓ - ๖ หากพิจารณาประชากรตามทะเบียนบ้าน พบว่า ในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
โครงการจัดทาแผนส่ิงแวดลอ้ มในพ้นื ท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๒๓
สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สดุ ท้าย
มจี านวนเพ่ิมสูงข้ึนจาก ๒,๘๘๗,๖๗๑ คน ในปี พ.ศ. ๒๕๕๙ เป็น ๓,๔๓๒,๙๙๖ คน ในปี พ.ศ. ๒๕๗๐ ในสว่ น
ของประชากรแฝง คาดว่าจะมจี านวน ๒,๖๕๗,๘๒๘ คน ใน ปี พ.ศ. ๒๕๗๐ หากพจิ ารณาในรายจังหวดั พบวา่
จังหวัดฉะเชิงเทรา มีประชากรรวมทั้งสิ้น ๗๙๗,๑๐๙ คน ในปี พ.ศ. ๒๕๕๙ จากการคาดการณ์
จะเพ่ิมขึ้นเปน็ ๙๙๓,๗๖๒ คน ในปี พ.ศ. ๒๕๗๐ หากพิจารณาประชากรตามทะเบียนบ้าน คาดว่าจะมีจานวน
๘๒๑,๖๓๗ คน ในส่วนของประชากรแฝง คาดว่าจะมีจานวน ๑๗๒,๑๒๕ คน ใน ปี พ.ศ. ๒๕๗๐
จงั หวัดชลบรุ ี มีประชากรรวมทั้งส้ิน ๒,๑๘๗,๖๕๐ คน ในปี พ.ศ. ๒๕๕๙ จากการคาดการณ์ จะเพ่ิมข้ึน
เป็น ๓,๒๕๐,๔๔๒ คน ในปี พ.ศ. ๒๕๗๐ หากพิจารณาประชากรตามทะเบียนบ้าน คาดว่าจะมีจานวนเพม่ิ ขึ้น
เป็น ๑,๗๔๖,๖๒๐ คน ในส่วนของประชากรแฝง คาดว่าจะมีจานวนเพิ่มขึ้นเป็น ๑,๕๐๓,๘๒๒ คน
ใน ปี พ.ศ. ๒๕๗๐
จังหวัดระยอง มีประชากรรวมท้ังสิ้น ๙๕๔,๘๒๖ คน ในปี พ.ศ. ๒๕๕๙ จากการคาดการณ์ จะเพ่ิมข้ึน
เป็น ๑,๘๔๖,๖๒๐ คน ในปี พ.ศ. ๒๕๗๐ หากพิจารณาประชากรตามทะเบียนบ้าน คาดว่าจะมจี านวนเพมิ่ ขึ้น
เป็น ๘๖๔,๗๓๙ คน ในส่วนของประชากรแฝง คาดว่าจะมีจานวนเพิ่มข้ึนเป็น ๙๘๑,๘๘๑ คน
ใน ปี พ.ศ. ๒๕๗๐
โครงการจัดทาแผนสงิ่ แวดล้อมในพนื้ ทเี่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๒๔
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม
ตารางท่ี ๓ - ๖ การคาดการณ์ประชากรในพ้ืนท่ีเขตพฒั นาพเิ ศษของสานกั งานคณ
จังหวดั ประชากร
๒๕๕๙* ๒๕๖๐** ๒๕๖๐F ๒๕๖๑** ๒๕๖๑F ๒๕๖๒ ๒๕๖๒
ฉะเชิงเทรา ทะเบียนบ้าน ๗๐๔,๓๙๙ ๗๐๙,๘๘๙ ๗๐๙,๗๙๔ ๗๑๕,๐๐๙ ๗๑๖,๗๑๕ ๗๒๐,๑๑๓ ๗๒๗,๔๐
แฝง ๙๒,๗๑๐ - ๙๓,๖๔๗ - ๙๗,๐๙๑ - ๑๐๑,๗๙
รวม ๗๙๗,๑๐๙ - ๘๐๓,๔๔๒ - ๘๑๓,๘๐๕ - ๘๒๙,๒๐
ชลบรุ ี ทะเบยี นบ้าน ๑,๔๘๓,๐๔๙ ๑,๕๐๙,๑๒๕ ๑,๕๕๔,๖๘๒ ๑,๕๓๕,๔๔๕ ๑,๕๗๒,๘๙๔ ๑,๕๕๘,๓๐๑ ๑,๕๙๙,
แฝง ๗๐๔,๖๐๑ - ๗๔๒,๙๗๗ - ๘๐๐,๔๒๑ - ๘๖๗,๘๔
รวม ๒,๑๘๗,๖๕๐ - ๒,๒๙๗,๖๖๐ - ๒,๓๗๓,๓๑๔ - ๒,๔๖๗,
ระยอง ทะเบียนบา้ น ๗๐๐,๒๒๓ ๗๑๑,๒๓๖ ๗๑๗,๓๕๘ ๗๒๓,๓๑๖ ๗๒๘,๖๐๓ ๗๓๔,๗๕๓ ๗๔๔,๑๙
แฝง ๒๕๔,๖๐๓ - ๒๖๔,๐๐๔ - ๒๙๓,๖๕๒ - ๓๒๙,๑๓
รวม ๙๕๔,๘๒๖ - ๙๘๑,๓๖๒ - ๑,๐๒๒,๒๕๕ - ๑,๐๗๓,
EEC ทะเบยี นบา้ น ๒,๘๘๗,๖๗๑ ๒,๙๓๐,๒๕๐ ๒,๙๘๑,๘๓๕ ๒,๙๗๓,๗๗๐ ๓,๐๑๘,๒๑๒ ๓,๐๑๓,๑๖๗ ๓,๐๗๐,
แฝง ๑,๐๕๑,๙๑๔ - ๑,๑๐๐,๖๒๘ - ๑,๑๙๑,๑๖๓ - ๑,๒๙๘,
รวม ๓,๙๓๙,๕๘๕ - ๔,๐๘๒,๔๖๓ - ๔,๒๐๙,๓๗๔ - ๔,๓๖๙,
หมายเหต:ุ F = จานวนประชากรจากการคาดการณ์
* ประชากรปีฐาน
** จานวนประชากรที่แท้จรงิ (กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย, ๒๕๖๒)
ท่ีมา: สานักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก, ๒๕๖๑
โครงการจดั ทาแผนส่ิงแวดล้อมในพ้นื ทเี่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕
รายงานฉบบั สุดทา้ ย
ณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก พ.ศ. ๒๕๕๙ - ๒๕๗๐
ปี พ.ศ.
๒F ๒๕๖๓F ๒๕๖๔F ๒๕๖๕F ๒๕๖๖F ๒๕๖๗F ๒๕๖๘F ๒๕๖๙F ๒๕๗๐F
๐๘ ๗๓๙,๓๓๗ ๗๕๑,๕๓๑ ๗๖๓,๖๗๕ ๗๗๕,๗๐๒ ๗๘๗,๓๙๗ ๗๙๘,๘๖๓ ๘๑๐,๒๖๗ ๘๒๑,๖๓๗
๙๔ ๑๐๗,๒๖๖ ๑๑๔๐๑๔ ๑๒๐,๙๙๒ ๑๒๘,๙๖๔ ๑๓๘,๐๒๕ ๑๔๘,๐๓๕ ๑๕๙,๓๕๙ ๑๗๒,๑๒๕
๐๒ ๘๔๖,๖๐๓ ๘๖๕,๕๔๕ ๘๘๔๖๖๘ ๙๐๔,๖๖๖ ๙๒๕,๔๒๒ ๙๔๖,๘๙๘ ๙๖๙,๖๒๗ ๙๙๓,๗๖๒
,๒๙๙ ๑,๖๒๘,๐๒๓ ๑,๖๕๕,๔๖๙ ๑,๖๘๒,๗๒๑ ๑,๗๐๔,๕๙๑ ๑,๗๒๑,๙๒๔ ๑,๗๓๐,๔๒๕ ๑,๗๓๘,๖๔๐ ๑,๗๔๖,๖๒๐
๔๙ ๙๔๒,๖๒๗ ๑,๐๒๒,๗๑๑ ๑,๑๐๙,๒๙๕ ๑,๑๙๒,๗๐๗ ๑,๒๗๒,๐๐๒ ๑,๓๔๓,๓๐๔ ๑,๔๒๒,๒๑๕ ๑,๕๐๓,๘๒๒
,๑๔๘ ๒,๕๗๐,๖๕๐ ๒,๖๗๘,๑๘๐ ๒,๗๙๒,๐๑๖ ๒,๘๙๗,๒๙๘ ๒,๙๙๓,๙๒๖ ๓,๐๗๓,๗๒๙ ๓,๑๖๐,๘๕๕ ๓,๒๕๐,๔๔๒
๙๐ ๗๖๑,๗๐๓ ๗๗๙,๖๑๗ ๗๙๗,๕๙๖ ๘๑๓,๐๔๗ ๘๒๘,๑๒๗ ๘๔๐,๓๘๐ ๘๕๒,๕๗๔ ๘๖๔,๗๓๙
๓๓ ๓๗๐,๑๕๐ ๔๑๖,๔๘๖ ๔๖๘,๗๔๙ ๕๔๐,๕๙๗ ๖๒๖,๔๒๕ ๗๒๗,๗๒๔ ๘๔๔,๒๒๑ ๙๘๑,๘๘๑
,๓๒๔ ๑,๑๓๑,๘๕๓ ๑,๑๙๖,๑๐๔ ๑,๒๖๖,๓๔๖ ๑,๓๕๓,๖๔๔ ๑,๔๕๔,๕๕๒ ๑,๕๖๘,๑๐๔ ๑,๖๙๖,๗๙๕ ๑,๘๔๖,๖๒๐
,๘๙๘ ๓,๑๒๙,๐๖๓ ๓,๑๘๖,๖๑๘ ๓,๒๔๓,๙๙๓ ๓,๒๙๓,๓๔๐ ๓,๓๓๗,๔๔๘ ๓,๓๖๙,๖๖๘ ๓,๔๐๑,๔๘๑ ๓,๔๓๒,๙๙๖
,๗๗๖ ๑,๔๒๐,๐๔๓ ๑,๕๕๓,๒๑๑ ๑,๖๙๙,๐๓๗ ๑,๘๖๒,๒๖๘ ๒,๐๓๖,๔๕๒ ๒,๒๑๙,๐๖๓ ๒,๔๒๕,๗๙๕ ๒,๖๕๗,๘๒๘
,๖๗๔ ๔,๕๔๙,๑๐๖ ๔,๗๓๙,๘๒๙ ๔,๙๔๓,๐๒๙ ๕,๑๕๕,๖๐๗ ๕,๓๗๓,๙๐๐ ๕,๕๘๘,๗๓๑ ๕,๘๒๗,๒๗๖ ๖,๐๙๐,๘๒๔
๕-๒๕๖๙ ๓ - ๒๕
สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม รายงานฉบับสุดท้าย
ภาพท่ี ๓ - ๒๗ คาดการณแ์ นวโนม้ ประชากรในพ้นื ที่เขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก
ปี พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๗๐
ภาพท่ี ๓ - ๒๘ คาดการณ์แนวโน้มประชากรในจังหวดั ฉะเชงิ เทรา ปี พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๗๐
โครงการจดั ทาแผนสิง่ แวดลอ้ มในพ้ืนทเ่ี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๒๖
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม รายงานฉบับสุดทา้ ย
ภาพที่ ๓ - ๒๙ คาดการณแ์ นวโนม้ ประชากรในจังหวัดชลบรุ ี ปี พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๗๐
ภาพท่ี ๓ - ๓๐ คาดการณแ์ นวโน้มประชากรในจังหวัดระยอง ปี พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๗๐
๓.๒.๕ จานวนนักทอ่ งเท่ยี ว
ในเขตพืน้ ท่ีพิเศษภาคตะวนั ออกเปน็ พ้ืนที่ทอ่ งเท่ยี วท่ีสาคญั และไดร้ ับความนิยมจากนักท่องเที่ยวท้ังชาว
ไทยและชาวต่างประเทศ ทั้งแบบมาเย่ียมเยือน (พักค้างคืน) และแบบทัศนาจร และมีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นเร่ือย ๆ
จาก ๑๖,๔๓๖,๑๔๓ คน ในปี พ.ศ. ๒๕๕๓ ข้ึนมาเป็นเกือบสองเท่าคือ ๒๙,๙๔๗,๐๓๐ คนในปี พ.ศ. ๒๕๖๒
โครงการจดั ทาแผนส่ิงแวดลอ้ มในพ้ืนที่เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๒๗
สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ท้าย
สถานการณ์การท่องเท่ียวในพื้นที่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของ COVID - 19 ท่ีส่งผลกระทบไปท่ัว
โลก ทาให้จานวนนักท่องเท่ียวทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศลดลงมากเหลือเพียงแค่ ๑๐,๖๕๐,๓๓๗ คน
ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ ภาพท่ี ๓ - ๓๑ แสดงจานวนนักท่องเที่ยวชาวไทย โดยจังหวัดชลบุรีมีจานวนผู้มาเยือนสูง
ท่ีสุดตามด้วยจังหวัดระยอง และฉะเชิงเทรา ตามลาดับ ภาพที่ ๓ - ๓๒ แสดงจานวนนักท่องเท่ียว
ชาวต่างประเทศ โดยจะเห็นได้ว่า จังหวัดชลบุรีเป็นที่นิยมของชาวต่างประเทศมากท่ีสุด อย่างไรก็ตาม จาก
สถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID-19 ซึ่งยังไม่แน่ชัดว่าจะดีข้ึนเม่ือใด จึงทาให้ไม่สามารถคาดการณ์ได้
อย่างละเอียด แต่หากสถานการณ์ดีขึ้นภายในปี พ.ศ. ๒๕๖๔ นี้ จานวนนักท่องเท่ียวจะค่อย ๆ เพ่ิมมากข้ึน
และอาจทาให้ภายในปี พ.ศ. ๒๕๖๙ นักท่องเที่ยวจะมีจานวนเท่า ๆ กับนักท่องเท่ียวในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ หรือ
มากกว่า
ภาพท่ี ๓ - ๓๑ จานวนผู้มาเยอื นชาวไทยในเขตพื้นท่พี ิเศษภาคตะวนั ออก ระหวา่ งปี พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๖๓
แยกรายจงั หวัด
ภาพที่ ๓ - ๓๒ จานวนผู้มาเยือนชาวต่างประเทศในเขตพืน้ ทพ่ี ิเศษภาคตะวนั ออก ระหวา่ งปี
พ.ศ. ๒๕๕๓ - ๒๕๖๓ แยกรายจังหวัด
โครงการจัดทาแผนส่ิงแวดล้อมในพ้ืนท่ีเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๒๘
สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ท้าย
การคาดการณ์จานวนนักท่องเท่ียว (ผู้มาเยือน) ในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก โดยในปี
พ.ศ. ๒๕๕๙ มีจานวนนักท่องเท่ียว (ผู้มาเยือน) ท้ังหมด ๒๖,๒๒๙,๕๐๓ คน คาดการณ์จะเพิ่มข้ึนเป็น
๙๗,๗๒๐,๙๔๑ คน ในปี พ.ศ. ๒๕๗๐ ในส่วนของนักท่องเท่ียวชาวต่างชาติ มีจานวน ๙,๑๗๖,๘๔๒ คน
ในปี พ.ศ. ๒๕๕๙ และจะเพ่ิมเป็น ๓๕,๐๓๔,๐๒๖ คน ในปี พ.ศ. ๒๕๗๐ ตารางท่ี ๓ - ๗ หากพิจารณาระดับ
จงั หวัด พบว่า
จังหวัดฉะเชิงเทรา มีจานวนนักท่องเที่ยว (ผู้มาเยือน) ท้ังหมด ๓,๐๔๗,๖๕๑ คน ในปี พ.ศ. ๒๕๕๙
คาดการณ์จะเพ่ิมข้ึนเป็น ๙,๐๕๕,๗๙๘ คน ในปี พ.ศ. ๒๕๗๐ ในส่วนของนักท่องเท่ียวชาวต่างชาติ มีจานวน
๒๙,๒๑๒ คน ในปี พ.ศ. ๒๕๕๙ และจะเพม่ิ เปน็ ๖๘,๗๙๒ คน ในปี พ.ศ. ๒๕๗๐
จังหวัดชลบุรี มีจานวนนักท่องเที่ยว (ผู้มาเยือน) ทั้งหมด ๑๖,๒๕๒,๐๐๙ คน ในปี พ.ศ. ๒๕๕๙
คาดการณ์จะเพิ่มขึ้นเป็น ๗๑,๘๓๓,๑๕๒ คน ในปี พ.ศ. ๒๕๗๐ ในส่วนของนกั ท่องเที่ยวชาวต่างชาติ มีจานวน
๘,๖๓๖,๙๕๑ คน ในปี พ.ศ. ๒๕๕๙ และจะเพ่ิมเป็น ๓๓,๖๘๔,๓๘๒ คน ในปี พ.ศ. ๒๕๗๐ จากข้อมูลจะเห็น
ได้ว่า จังหวัดชลบุรีมีจานวนนักท่องเท่ียวรวม และนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ สูงกว่าจังหวัดฉะเชิงเทราและ
จังหวดั ระยอง
จังหวัดระยอง มีจานวนนักท่องเที่ยว (ผู้มาเยือน) ทั้งหมด ๖,๙๒๙,๘๔๓ คน ในปี พ.ศ. ๒๕๕๙
คาดการณ์จะเพิ่มข้นึ เปน็ ๑๖,๘๓๑,๙๙๑ คน ในปี พ.ศ. ๒๕๗๐ ในส่วนของนักทอ่ งเที่ยวชาวต่างชาติ มีจานวน
๕๑๐,๖๗๙ คน ในปี พ.ศ. ๒๕๕๙ และจะเพ่ิมเปน็ ๑,๒๘๐,๘๕๒ คน ในปี พ.ศ. ๒๕๗๐
ตารางท่ี ๓ - ๗ คาดการณจ์ านวนนกั ท่องเท่ียว (ผู้มาเยือน) ในพื้นทเ่ี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก
นักทอ่ งเทย่ี ว EEC ฉะเชงิ เทรา ชลบุรี ระยอง
(ผูม้ าเยือน)
รวมผมู้ าเยือน ผมู้ าเยือน รวมผู้มาเยอื น ผมู้ าเยอื น รวมผู้มาเยือน ผู้มาเยอื น รวมผมู้ าเยอื น ผูม้ าเยอื น
ชาวตา่ งชาติ ชาวตา่ งชาติ ชาวต่างชาติ ชาวตา่ งชาติ
๒๕๕๙* ๒๖,๒๒๙,๕๐๓ ๙,๑๗๖,๘๔๒ ๓,๐๔๗,๖๕๑ ๒๙,๒๑๒ ๑๖,๒๕๒,๐๐๙ ๘,๖๓๖,๙๕๑ ๖,๙๒๙,๘๔๓ ๕๑๐,๖๗๙
๒๕๖๐** ๒๗,๙๖๓,๐๐๘ ๙,๘๓๐,๐๘๕ ๓,๒๓๙,๘๙๙ ๓๐,๘๕๒ ๑๗,๔๐๓,๑๖๑ ๙,๒๗๒,๐๑๗ ๗,๓๑๙,๙๔๘ ๕๒๗,๒๑๖
๒๕๖๐F ๒๙,๘๘๙,๒๗๓ ๑๑,๓๖๕,๑๙๐ ๓,๑๔๕,๑๗๖ ๓๐,๒๓๔ ๑๙,๕๐๒,๔๑๑ ๑๐,๗๙๖,๑๘๙ ๗,๒๔๑,๖๘๖ ๕๓๘,๗๖๖
๒๕๖๑** ๒๙,๓๘๑,๗๗๔ ๑๐,๒๒๗,๒๙๗ ๓,๔๐๘,๕๗๓ ๓๒,๐๔๖ ๑๘,๒๑๑,๕๓๙ ๙,๖๔๒,๓๒๒ ๗,๗๖๑,๖๖๒ ๕๕๒,๙๒๙
๒๕๖๑F ๓๓,๒๖๙,๒๑๑ ๑๒,๘๑๐,๙๕๖ ๓,๓๖๖,๒๒๕ ๓๒,๐๖๕ ๒๒,๐๓๗,๗๒๔ ๑๒,๑๙๙,๖๙๓ ๗,๘๖๕,๒๖๒ ๕๗๙,๑๙๘
๒๕๖๒F ๓๗,๑๗๓,๒๙๔ ๑๔,๔๔๔,๖๕๘ ๓,๖๖๙,๑๘๕ ๓๔,๖๓๐ ๒๔,๙๔๖,๗๐๔ ๑๓,๗๘๕,๖๕๓ ๘,๕๕๗,๔๐๕ ๖๒๔,๓๗๕
๒๕๖๓F ๔๑,๖๓๘,๐๗๙ ๑๖,๒๘๙,๒๘๐ ๔,๐๕๔,๔๕๐ ๓๗,๕๗๔ ๒๘,๒๖๔,๖๑๕ ๑๕,๕๗๗,๗๘๘ ๙,๓๑๙,๐๑๔ ๖๗๓,๙๑๘
๒๕๖๔F ๔๖,๗๑๗,๐๙๗ ๑๘,๓๗๑,๔๗๔ ๔,๕๐๐,๔๓๙ ๔๑,๑๘๑ ๓๒,๐๘๐,๓๓๘ ๑๗,๖๐๒,๙๐๑ ๑๐,๑๓๖,๓๒๐ ๗๒๗,๓๙๒
๒๕๖๕F ๕๒,๖๒๐,๒๖๗ ๒๐,๗๒๑,๑๕๐ ๕,๐๑๗,๙๙๐ ๔๔,๗๖๓ ๓๖,๕๗๑,๕๘๖ ๑๙,๘๙๑,๒๗๘ ๑๑,๐๓๐,๖๙๑ ๗๘๕,๑๐๙
๒๕๖๖F ๕๙,๓๕๓,๑๖๗ ๒๓,๑๙๐,๖๑๔ ๕,๖๒๐,๑๔๘ ๔๘,๗๖๒ ๔๑,๗๒๘,๑๗๙ ๒๒,๒๗๘,๒๓๑ ๑๒,๐๐๔,๘๓๙ ๘๖๓,๖๒๐
๒๕๖๗F ๖๗,๑๖๓,๖๙๗ ๒๕,๗๓๔,๕๙๘ ๖,๓๒๒,๖๖๗ ๕๓,๑๘๙ ๔๗,๗๗๘,๗๖๖ ๒๔,๗๒๘,๘๓๗ ๑๓,๐๖๒,๒๖๕ ๙๕๒,๕๗๓
๒๕๖๘F ๗๖,๑๖๑,๓๔๕ ๒๘,๔๓๕,๘๘๒ ๗,๑๔๔,๖๑๔ ๕๗,๙๒๔ ๕๔,๘๐๒,๒๔๔ ๒๗,๓๒๕,๓๖๕ ๑๔,๒๑๔,๔๘๘ ๑,๐๕๒,๕๙๓
๒๕๖๙F ๘๖,๒๑๗,๙๕๘ ๓๑,๖๐๐,๔๗๘ ๘,๐๓๗,๖๙๐ ๖๓,๑๒๑ ๖๒,๗๑๒,๐๓๕ ๓๐,๓๗๖,๖๙๗ ๑๕,๔๖๘,๒๓๓ ๑,๑๖๐,๖๕๙
๓๕,๐๓๔,๐๒๖ ๙,๐๕๕,๗๙๘ ๖๘,๗๙๒ ๗๑,๘๓๓,๑๕๒ ๓๓,๖๘๔,๓๘๒ ๑๖,๘๓๑,๙๙๑ ๑,๒๘๐,๘๕๒
๒๕๗๐F ๙๗,๗๒๐,๙๔๑
หมายเหต:ุ F คือ คาดการณ์
* ข้อมลู ปฐี าน
** จานวนที่แทจ้ รงิ จากสานกั งานสถิตจิ ังหวดั
ที่มา: แผนภาพรวมเพอื่ การพฒั นาเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก (พ.ศ.๒๕๖๐ - ๒๕๖๕) , สกพอ., ๒๕๖๑
โครงการจัดทาแผนสิง่ แวดลอ้ มในพ้นื ท่ีเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๒๙
สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสุดท้าย
ภาพท่ี ๓ - ๓๓ คาดการณ์จานวนนักทอ่ งเท่ียว (ผู้มาเยือน) ในพน้ื ท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก
ภาพที่ ๓ - ๓๔ คาดการณ์จานวนนักทอ่ งเที่ยวชาวต่างชาติในพื้นทเ่ี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก
๓.๒.๖ สถานการณก์ ารจา้ งงานในพ้นื ท่ีเขตพัฒนาพิเศษ แยกรายจังหวดั
๓.๒.๖.๑ สถานการณก์ ารจ้างงานจงั หวดั ฉะเชิงเทรา
จานวนผู้มีงานทาในจังหวัดฉะเชิงเทรา พบว่า จานวนผู้มีงานทาในจังหวัดฉะเชิงเทรามีจานวน
ลดลง ๗,๐๔๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๑.๕๘ (จาก ๔๔๕,๔๖๔ คน ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ เป็น ๔๓๘,๔๒๔ คน
ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓) จากภาพที่ ๓ - ๓๕ แสดงให้เห็นว่าเมื่อเปรียบเทียบกับปีก่อนหน้า พบว่า จานวนแรงงาน
โครงการจดั ทาแผนสง่ิ แวดล้อมในพน้ื ที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๓๐
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสุดท้าย
ภาคการเกษตรมีจานวนเพ่ิมขนึ้ ๒๖,๙๒๗ คน ขณะท่ีแรงงานนอกภาคการเกษตรมีจานวนลดลง ๓๓,๙๖๗ คน
เมื่อเปรียบเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ พบว่า มีจานวนผู้ว่างงานเพ่ิมข้ึน ๒,๓๘๔ คน
(จาก ๒,๑๙๑ คน ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ เพ่ิมขึ้นเป็น ๔,๕๗๕ คน ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓) คิดเป็นอัตราการว่างงาน
เพ่ิมขน้ึ จากรอ้ ยละ ๐.๕ เป็นรอ้ ยละ ๑.๐
ทีม่ า: สานกั งานสถิตจิ งั หวัดฉะเชิงเทรา
ภาพท่ี ๓ - ๓๕ จานวนผู้มงี านทาในจังหวดั ฉะเชิงเทรา จาแนกตามอตุ สาหกรรม ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ - ๒๕๖๓
๓.๒.๖.๒ สถานการณ์การจา้ งงานจังหวัดชลบรุ ี
ในส่วนของจังหวัดชลบุรี เม่ือคานวณตัวเลขผู้มีงานทาในช่วงไตรมาสที่ ๒ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓
พบว่า อัตราการจ้างงานนอกภาคเกษตรมีจานวนสูงกว่าอัตราการจ้างงานในภาคเกษตร มีอัตราร้อยละ
๙๒.๘๐ เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า พบว่า อัตราการจ้างงานนอกภาคอุตสาหกรรมเพ่ิมข้ึนร้อยละ ๙๓.๙๐
จากไตรมาสที่ ๑ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ ซ่ึงอาจเป็นผลมาจากการขยายตัวอยา่ งต่อเนื่องในภาคอุตสาหกรรมและภาค
การผลิตอื่น ๆ ภายในจังหวัดชลบุรี ดังแสดงในภาพท่ี ๓ - ๓๖ อย่างไรก็ตาม เม่ืออัตราการว่างงานในพื้นท่ี
จังหวัดชลบุรี พบว่า ในช่วงไตรมาสท่ี ๒ ของปี พ.ศ. ๒๕๖๓ จานวนผู้ว่างงานในพื้นท่ีจังหวัดชลบุรีมีทั้งสิ้น
๒๓,๕๔๑ คน หรือคิดเป็นร้อยละ ๒.๓๖ ของอัตราการว่างงานของกาลังแรงงานท้ังหมด ซึ่งเพิ่มขึ้นจากเดิม
๑๘,๓๔๙ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๑.๘๔ ของกาลงั แรงงานท้งั หมด ซึ่งมีจานวนเพม่ิ ข้ึน
โครงการจัดทาแผนสงิ่ แวดล้อมในพื้นที่เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๓๑
สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม รายงานฉบับสุดทา้ ย
ท่ีมา: สานักงานสถิติจงั หวัดชลบรุ ี
ภาพท่ี ๓ - ๓๖ อัตราการจา้ งงานในและนอกภาคการเกษตรจังหวัดชลบรุ ี ปพี .ศ. ๒๕๖๒ - พ.ศ. ๒๕๖๓
๓.๒.๖.๓ สถานการณก์ ารจ้างงานจงั หวัดระยอง
จากรายงานของสานักงานสถิติจังหวัดระยอง เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อนหน้า
พบว่า อัตราการจ้างงานนอกภาคเกษตรในช่วงไตรมาส ๒ ของปี พ.ศ. ๒๕๖๓ มีอัตราร้อยละ ๘๕.๓๑
ซึ่งเพิ่มข้ึนร้อยละ ๔.๕๓ และเพ่ิมข้ึนจากไตรมาสท่ี ๑ ของปี พ.ศ. ๒๕๖๓ ถึงร้อยละ ๑.๙ นับเป็นผล
สืบเนื่องมาจากการขยายตัวอย่างต่อเน่ืองของภาคอุตสาหกรรมของจังหวัดระยอง ส่งผลให้ภาคการเกษตร
มีการปรับตัวลดลงอย่างต่อเน่ือง ดังแสดงในภาพท่ี ๓ - ๓๗ เม่ือพิจารณาอัตราการว่างงาน พบว่า จังหวัด
ระยองมีจานวนผู้ว่างงานทั้งสิ้น ๘,๐๑๖ คน คิดเป็นอัตราการว่างงานร้อยละ ๑.๓๗ ของกาลังแรงงานทั้งหมด
ซ่ึงเพ่ิมขึ้น ๔,๖๕๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๘๐ ของกาลังแรงงานท้ังหมด ซึ่งเพ่ิมขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้าท่ีมี
จานวน ๓,๓๕๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๕๗ ของอัตรากาลังแรงงานทั้งหมด โดยอาจเป็นผลสืบเน่ืองจากการ
ปรับตัวของผู้ประกอบการในภาคอุตสาหกรรมท่ีมีความจาเป็นต้องปรับตัวตามสภาวะเศรษฐกิจ ณ ขณะนั้น
ประกอบกับผู้จบการศึกษาใหม่บางส่วนยังไม่ได้เข้าสู่ตลาดแรงงาน หรือมีคุณสมบัติไม่ตรงตามความต้องการ
ของสถานประกอบการ
โครงการจดั ทาแผนส่ิงแวดล้อมในพนื้ ท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๓๒
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสุดทา้ ย
ท่ีมา: สานักงานสถติ ิจงั หวัดระยอง
ภาพท่ี ๓ - ๓๗ อัตราการจา้ งงานในและนอกภาคการเกษตรจังหวัดระยอง ไตรมาส ๒ ปีพ.ศ. ๒๕๖๓
๓.๒.๗ การคาดการณก์ ารจ้างงานในพนื้ ทเี่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก
จากตารางท่ี ๓ - ๘ ได้แสดงข้อมูลการจ้างงานในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พบว่า ในปี
พ.ศ. ๒๕๕๙ มีการจ้างงานในพื้นท่ี ๒,๐๐๖,๓๗๗ คน และคาดการณ์ว่าจะเพ่ิมสูงข้ึนเป็น ๒,๘๕๙,๒๓๘ คน
ในปี พ.ศ. ๒๕๗๐ หากพิจารณาในระดับจังหวัด พบว่า ท้ังสามจังหวัดจะมีการจา้ งงานที่เพิ่มสูงขนึ้ โดยจังหวัด
ฉะเชิงเทราจะมีการจ้างงาน ๕๘๗,๘๘๖ คน จังหวัดชลบุรีจะมีการจ้างงาน ๑,๕๓๕,๖๓๑ คน และจังหวัด
ระยอง จะมีการจา้ งงาน ๗๓๕,๗๒๐ คน ในปี พ.ศ. ๒๕๗๐
ตารางที่ ๓ - ๘ การคาดการณก์ ารจ้างงานในพน้ื ที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก
ปี พ.ศ. EEC การจ้างงาน ชลบุรี ระยอง
๒๕๕๙* ๒,๐๐๖,๓๗๗ ฉะเชิงเทรา ๑,๐๔๗,๒๐๗ ๕๓๖,๘๓๙
๒๕๖๐** ๒,๐๒๘,๕๖๘ ๑,๐๕๙,๕๕๖ ๕๔๙,๑๖๖
๒๕๖๐F ๒,๐๖๑,๖๘๔ ๔๒๒,๓๓๑ ๑,๐๗๕,๑๔๒ ๕๕๙,๔๐๘
๒๕๖๑** ๒๐๔๓๑๕๓ ๔๑๙๘๔๖ ๑,๐๕๑,๒๕๒ ๕๖๒๗๖๕
๒๕๖๑F ๒,๑๒๒,๘๙๕ ๔๒๗,๑๓๔ ๑,๑๑๔,๒๖๕ ๕๗๒,๓๒๔
๒๕๖๒** ๒๐๙๖๐๖๒ ๔๒๙๑๓๖ ๑๐๗๒๓๙๕ ๕๘๒,๒๙๐
๒๕๖๒F ๒,๒๑๓,๓๗๗ ๔๓๖,๓๐๖ ๑,๑๗๒,๓๗๖ ๕๙๐,๓๕๘
๒๕๖๓F ๒,๓๑๕,๕๒๖ ๔๔๑๓๗๗ ๑,๒๓๗,๗๘๖ ๖๑๐,๘๒๑
๒๕๖๔F ๒,๔๑๘,๔๗๑ ๔๕๐,๖๔๓ ๑,๓๐๒,๖๑๐ ๖๓๑,๙๘๐
๒๕๖๕F ๒,๕๒๓,๗๗๒ ๔๖๖,๙๒๐ ๑,๓๖๙,๒๒๓ ๖๕๓,๔๔๗
๒๕๖๖F ๒,๖๑๕,๐๗๘ ๔๘๓,๘๘๑ ๑,๔๒๔,๕๐๕ ๖๗๒,๐๙๐
๒๕๖๗F ๒,๖๙๕,๖๕๔ ๕๐๑,๑๐๒ ๑,๔๖๙,๕๐๓ ๖๙๐,๔๕๑
๒๕๖๘F ๒,๗๕๐,๔๑๘ ๕๑๘,๔๘๓ ๑,๔๙๒,๐๓๙ ๗๐๕,๔๙๙
๕๓๕,๗๐๐
๕๕๒,๘๘๐
โครงการจัดทาแผนสิง่ แวดล้อมในพืน้ ทเี่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๓๓
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย
การจ้างงาน
ปี พ.ศ. EEC ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง
๗๒๐,๕๗๗
๒๕๖๙F ๒,๘๐๔,๘๘๓ ๕๗๐,๒๖๓ ๑,๕๑๔,๐๔๔ ๗๓๕,๗๒๐
๒๕๗๐F ๒,๘๕๙,๒๓๘ ๕๘๗,๘๘๖ ๑,๕๓๕,๖๓๑
หมายเหต:ุ F คอื คาดการณ์
* ข้อมลู ปฐี าน
** จานวนที่แทจ้ ริง จากสานักงานสถิตจิ ังหวดั
ทม่ี า: แผนภาพรวมเพอื่ การพฒั นาเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๕) , สกพอ., ๒๕๖๑
ภาพที่ ๓ - ๓๘ คาดการณ์การจ้างงานในพ้นื ทีเ่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก
จากตารางท่ี ๓ - ๙ แสดงข้อมูลคาดการณ์กาลังแรงงานในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
โดยพบว่า ในปี พ.ศ. ๒๕๕๙ พื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกมีการกาลังแรงงาน ๒,๔๑๔,๑๔๔ คน
และจะเพ่ิมขึ้นเป็น ๓,๐๒๒,๐๒๘ ในปี พ.ศ. ๒๕๗๐ ทั้งนี้ในระดับจังหวัดฉะเชิงเรา ชลบุรี และระยอง มีการ
คาดการณ์กาลังแรงงาน จะเพ่ิมขึ้นเป็น ๖๐๓,๖๖๑ ๑,๖๗๓,๘๙๘ และ ๗๔๔,๔๖๙ คน ในปี พ.ศ. ๒๕๗๐
ทง้ั นี้หากพิจารณาร่วมกับขอ้ มูลการคาดการณ์การจ้างงานในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก จะเห็นได้ว่า
กาลังแรงงาน มมี ากกวา่ การจ้างงาน ทง้ั ในภาพรวมของ EEC และระดบั จังหวัด
ตารางที่ ๓ - ๙ คาดการณก์ าลงั แรงงานในพนื้ ทีเ่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
ปี พ.ศ. EEC กาลังแรงงาน ชลบรุ ี ระยอง
๒๕๕๙ ๒,๔๑๔,๑๔๔ ฉะเชิงเทรา ๑,๔๓๙,๓๓๒ ๕๔๖,๒๔๗
๒๕๖๐F ๒,๔๕๒,๐๕๒ ๑,๔๕๔,๒๘๕ ๕๖๔,๕๙๕
๒๕๖๑F ๒,๔๙๕,๔๙๔ ๔๒๘,๕๖๕ ๑,๔๗๔,๘๙๖ ๕๗๗,๗๕๖
๔๓๓,๑๗๒
๔๔๒,๘๔๒
โครงการจดั ทาแผนส่ิงแวดลอ้ มในพน้ื ท่ีเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๓๔
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย
กาลังแรงงาน
ปี พ.ศ. EEC ฉะเชงิ เทรา ชลบรุ ี ระยอง
๕๙๖,๑๓๖
๒๕๖๒F ๒,๕๕๘,๙๕๙ ๔๕๗,๙๗๐ ๑,๕๐๔,๘๕๓ ๖๑๖,๙๙๗
๖๓๘,๕๗๕
๒๕๖๓F ๒,๖๒๙,๗๑๗ ๔๗๕,๑๖๖ ๑,๕๓๗,๕๕๓ ๖๖๐,๔๗๔
๖๗๙,๔๙๙
๒๕๖๔F ๒,๗๐๐,๖๐๑ ๔๙๓,๑๑๑ ๑,๕๖๘,๙๑๕ ๖๙๘,๒๔๑
๗๑๓,๖๐๔
๒๕๖๕F ๒,๗๗๑,๙๙๒ ๕๑๑,๓๕๖ ๑,๖๐๐,๑๖๒ ๗๒๙,๐๐๒
๗๔๔,๔๖๙
๒๕๖๖F ๒,๘๓๔,๖๑๘ ๕๒๙,๗๙๕ ๑,๖๒๕,๓๒๔
๒๕๖๗F ๒,๘๙๑,๖๔๕ ๕๔๘,๐๘๔ ๑,๖๔๕,๓๒๐
๒๕๖๘F ๒,๙๓๕,๑๑๐ ๕๖๖,๓๕๘ ๑,๖๕๕,๑๔๗
๒๕๖๙F ๒,๙๗๘,๕๒๖ ๕๘๔,๘๗๐ ๑,๖๖๔,๖๕๔
๒๕๗๐F ๓,๐๒๒,๐๒๘ ๖๐๓,๖๖๑ ๑,๖๗๓,๘๙๘
ที่มา: แผนภาพรวมเพ่อื การพัฒนาเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๕) , สกพอ., ๒๕๖๑
ภาพที่ ๓ - ๓๙ การคาดการณ์กาลังแรงงานในพื้นท่ีเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก
อน่ึง จากขอ้ มูลสภาพัฒน์ฯ (สศช.) เกี่ยวกับสถานการณ์เศรษฐกิจล่าสุดในไตรมาส ๓ ประจาปี
พ.ศ. ๒๕๖๓ พบตัวเลขการว่างงานซึ่งมีความสัมพันธ์กับภาวะเศรษฐกิจ ประมาณ ๗.๓๗ แสนคน คิดเป็น
สัดส่วนร้อยละ ๑.๙๐ ท้ังน้ี พบว่า จานวนผู้ว่างงานเพ่ิมขึ้น ๓.๕๕ แสนคน (จาก ๔.๒๙ แสนคน เป็น ๗.๘๔
แสนคน) โดยผลกระทบจากภาวะว่างงาน ไม่เพียงกระทบต่อภาคเศรษฐกิจ แต่อาจนาไปสู่ปัญหาทางสังคม
ดังนั้น หน่วยงานที่เก่ียวข้องท้ังภาครัฐและเอกชนจึงควรให้ความสาคัญกับการวางแผน “การพัฒนาคน”
เพื่อให้มีความรู้ความสามารถและก้าวทันเทคโนโลยีอยู่เสมอ เพ่ือเตรียมความพร้อมหากเกิด “วิกฤติการ
ว่างงาน” ในอนาคตโดยมีหนุ่ ยนตอ์ ุตสาหกรรมเป็นตัวการสาคญั
โครงการจดั ทาแผนสงิ่ แวดล้อมในพืน้ ที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๓๕
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดท้าย
๓.๒.๘ การวางแผนกาลงั แรงงานและแรงงานตา่ งด้าว
ปัจจุบันประเทศไทยกาลังก้าวสู่ประเทศกาลังพัฒนาท่ีมีรายได้สูง (Upper Income Developing
Country) ตลอดจนการก้าวสู่สังคมผู้สูงวัยและมีอัตราการเพิ่มของประชากรต่า แรงงานภายในประเทศเริ่ม
เคล่ือนย้ายจากภาคเกษตรกรรมเข้าสู่ภาคอุตสาหกรรมอย่างเต็มรูปแบบ ส่งผลให้เกิดการขาดแคลนแรงงาน
ทกั ษะและไร้ทกั ษะจานวนมาก มคี วามจาเปน็ ต้องใช้แรงงานไร้ทักษะจากประเทศเพอื่ นบา้ น อาทิ สาธารณะรัฐ
แห่งสหภาพเมียนมา สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ราชอาณาจักรกัมพูชา และสาธารณรัฐประชาธิปไตย
ประชาชนลาว เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด ควรมีการประสานความร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อนบ้าน มีการ
บริหารแรงงานต่างด้าวอย่างเท่าเทียม ทั้งในด้านการพัฒนาทักษะ การถ่ายทอดทักษะและองค์ความรู้จาก
แรงงานต่างด้าวสแู่ รงงานไทยกม็ คี วามสาคัญเช่นเดียวกนั
ความสาเรจ็ ขององคก์ รภายในอตุ สาหกรรมทกุ ประเภทล้วนถูกขับเคลื่อนโดยทรพั ยากรมนุษย์ โดยอาศัย
บุคลากรท่ีมีทักษะ ความรู้ ความสามารถท่ีเหมาะสม จากการอนุมัติเงินลงทุนในหลายโครงการและมีมูลค่า
มหาศาลในพื้นท่ี EEC หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องต่าง ๆ ควรหันมาให้ความสาคัญต่อการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
ของนวัตกรรมและเทคโนโลยี ตลอดจนทาความเข้าใจต่อการเปล่ียนแปลงของตลาดแรงงาน รวมถึงเก็บ
รวบรวมและวิเคราะห์ลักษณะเฉพาะเบื้องต้นของอุตสาหกรรมท้ัง ๑๐ ประเภท ไม่ว่าจะเป็นอุตสาหกรรมท่ี
กาลงั จะถูกเปล่ยี นแปลง (First S-curve) หรอื อุตสาหกรรมใหม่แห่งอนาคต (New S-curve) จากการประมาณ
การแรงงานของกระทรวงแรงงานในแต่ละภาคอุตสาหกรรมดังแสดงในตารางที่ ๓ - ๑๐ พบว่า ในปี พ.ศ.
๒๕๖๕ อตุ สาหกรรมท่องเที่ยวกลุม่ รายไดด้ ีและการท่องเท่ยี วเชิงสขุ ภาพ มีความต้องการแรงงานมากที่สุดเป็น
จานวนกว่า ๒๔,๕๙๖ คน รองลงมา ได้แก่ อุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่และอุตสาหกรรมการเกษตรและ
เทคโนโลยีชีวภาพ จานวน ๒๑,๘๙๗ คน ไม่เพียงเท่านั้นยังพบอีกว่า ในปี พ.ศ. ๒๕๗๐ อุตสาหกรรมการ
ท่องเที่ยวกลุ่มรายได้ดีและการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ต้องการแรงงานมากที่สุดเช่นเดียวกับ ปี พ.ศ. ๒๕๖๕
ซ่ึงมีความต้องการแรงงานสูงถึง ๕๙,๔๗๖ คน และอุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่และอุตสาหกรรมการเกษตร
และเทคโนโลยชี วี ภาพ ต้องการแรงงานจานวน ๔๗,๗๓๒ คน
ตารางท่ี ๓ - ๑๐ การประมาณการจานวนแรงงานไทย แยกตามประเภทอตุ สาหกรรม ในเขตพฒั นาพเิ ศษ
ภาคตะวนั ออก (EEC)
อตุ สาหกรรม พ.ศ. ๒๕๖๐ พ.ศ. ๒๕๖๕ พ.ศ. ๒๕๗๐
ยานยนตส์ มยั ใหม่ ๑๐,๐๓๖ ๒๑,๘๙๗ ๔๗,๗๓๒
อเิ ลก็ ทรอนกิ สอ์ จั ฉริยะ ๔,๔๙๔ ๕,๒๒๗ ๗,๓๙๗
การท่องเทย่ี วกล่มุ รายไดด้ แี ละการท่องเที่ยวเชงิ สขุ ภาพ ๙,๖๘๒ ๒๔,๕๙๖ ๕๙,๔๗๖
การเกษตรและเทคโนโลยีชวี ภาพ ๑๑,๑๕๔ ๒๑,๘๙๗ ๔๗,๗๓๒
การแปรรปู อาหาร ๔,๓๘๘ ๙,๔๒๘ ๒๑,๔๐๔
หนุ่ ยนต์ ๑๕ - -
การบนิ และโลจิสตกิ ส์ ๗,๑๒๑ ๑๓,๓๐๙ ๒๘,๓๐๘
เช้อื เพลงิ ชวี ภาพและเคมชี ีวภาพ ๑,๐๗๔ ๒,๔๖๑ ๘,๒๙๑
ดจิ ทิ ัล ๒,๔๘๕ ๔,๑๐๔ ๘,๒๙๑
โครงการจัดทาแผนสิง่ แวดลอ้ มในพน้ื ทีเ่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๓๖
สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย
อุตสาหกรรม พ.ศ. ๒๕๖๐ พ.ศ. ๒๕๖๕ พ.ศ. ๒๕๗๐
การแพทย์ครบวงจร ๙,๔๔๙ ๑๒,๕๒๕ ๒๐,๙๗๗
รวม (คน) ๕๙,๘๙๘ ๑๑๕,๔๔๔ ๒๔๙,๖๐๘
ท่ีมา: รายงานการศกึ ษาวิเคราะห์ฐานข้อมูลแรงงานและประมาณการความต้องการแรงงาน โดย กระทรวงแรงงาน สานกั งาน
ปลดั กระทรวง กองเศรษฐกจิ การแรงงาน (๒๕๖๐)
การประมาณแรงงานในภาพรวมของพ้ืนที่โครงการ EEC ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๗๐ จากรายงานการ
วิเคราะห์การประมาณการความต้องการแรงงานของกระทรวงแรงงานภายในพื้นที่ เขตพัฒนาพิเศษภาค
ตะวนั ออก ในชว่ งปี พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๗๐ โดยใช้การประมาณการของระดับการศึกษา วเิ คราะห์เป็นรายปีใน
ภาพรวม พบว่า ในระยะเวลา ๑๐ ปี จะมีการจ้างงานเพ่ิมข้ึนประมาณ ๑๙๑,๑๑๙ คน โดยกลุ่มที่จะถูกจ้าง
งานมากที่สุด ได้แก่ กลุ่มวุฒิวิชาชีพ โดยจะมีการจ้างงานเพิ่มข้ึนมากถึง ๘๓,๑๘๔ คน รองลงมาเป็นกลุ่มวุฒิ
ปริญญาตรี ซ่ึงจะถูกจ้างงานเพ่ิมข้ึน ๖๒,๙๘๐ คน และกลุ่มมัธยมศึกษาปีที่ ๓ หรือต่ากว่า จะถูกจ้างงาน
เพ่มิ ข้นึ ๒๙,๓๖๖ คน ตามลาดบั
ตารางที่ ๓ - ๑๑ การประมาณการจานวนแรงงานไทย แยกตามระดับการศกึ ษา ในเขตพัฒนาพิเศษภาค
ตะวันออก (EEC) จาแนกตามระดบั การศกึ ษา
ระดับการศึกษา ม.๓ หรอื ต่ากวา่ ม.๖ วชิ าชพี ปริญญาตรี สูงกว่าปริญญาตรี รวม (คน)
พ.ศ. ๒๕๖๑ ๓,๘๒๒ ๑,๐๕๒ ๒,๔๒๐ ๒,๓๒๕ ๒๗๖ ๙,๘๙๕
พ.ศ. ๒๕๖๒ ๔,๑๕๘ ๑,๑๔๘ ๒,๔๔๑ ๒,๒๙๓ ๑๘๒ ๑๐,๒๒๒
พ.ศ. ๒๕๖๓ ๔,๕๑๐ ๑,๒๔๕ ๒,๖๕๓ ๒,๔๘๗ ๑๙๖ ๑๑,๐๙๑
พ.ศ. ๒๕๖๔ -๑๓,๙๔๔ -๒,๕๖๖ ๑๗,๖๕๗ ๑๐,๖๒๓ ๒๔๗ ๑๒,๐๑๗
พ.ศ. ๒๕๖๕ ๒,๗๘๑ ๑,๐๑๔ ๕,๐๔๖ ๓,๙๑๑ ๒๕๔ ๑๓,๐๐๖
พ.ศ. ๒๕๖๖ ๗,๓๒๘ ๒,๘๕๘ ๑๒,๗๓๗ ๑๐,๑๕๕ ๖๕๙ ๓๓,๗๓๗
พ.ศ. ๒๕๖๗ ๓,๗๙๖ ๘๗๔ ๙,๒๓๓ ๗,๑๐๙ ๔๕๑ ๒๑,๔๖๓
พ.ศ. ๒๕๖๘ ๕,๐๖๖ ๑,๘๔๔ ๙,๒๖๖ ๗,๒๐๘ ๔๖๗ ๒๓,๘๕๑
พ.ศ. ๒๕๖๙ ๕,๖๒๐ ๒,๐๔๑ ๑๐,๒๙๘ ๘,๐๐๐ ๕๑๘ ๒๖,๔๗๗
พ.ศ. ๒๕๖๙ ๖,๒๒๙ ๒,๒๕๗ ๑๑,๔๓๓ ๘,๘๖๙ ๕๗๔ ๒๙,๓๖๒
พ.ศ. ๒๕๖๙ ๒๙,๓๖๖ ๑๑,๗๖๗ ๘๓,๑๘๔ ๖๒,๙๘๐ ๓,๘๒๔ ๑๙๑,๑๒๑
ท่มี า: รายงานการศึกษาวเิ คราะหฐ์ านข้อมูลแรงงานและประมาณการความตอ้ งการแรงงาน โดย กระทรวงแรงงาน
สานักงานปลดั กระทรวง กองเศรษฐกิจการแรงงาน (๒๔๖๐)
อย่างไรก็ตาม ในปี พ.ศ. ๒๕๖๖ มีการประมาณการไว้ว่าจะเป็นปีท่ีมีการจ้างงานมากท่ีสุดท่ีจานวน
๓๓,๗๓๗ คน รองลงมา ได้แก่ ปี พ.ศ. ๒๕๗๐ โดยจะมีการจ้างงานเป็นจานวน ๒๙,๓๖๒ คน และ
ในปี พ.ศ. ๒๕๖๙ จะมีการจ้างงานอยู่ท่ี ๒๖,๔๗๗ คน ตามลาดับ ในขณะที่ปีที่มีการจ้างงานน้อยที่สุดเป็น
จานวนเพียง ๙,๘๙๕ คน จะอยู่ในปี พ.ศ. ๒๕๖๑ โดยวิเคราะห์จานวนการจ้างงานจะเพ่ิมมากขึ้นหรือลด
น้อยลง ข้ึนอยู่กบั ความมน่ั คงของโครงการฯ และผ้ปู ระกอบการ
โครงการจดั ทาแผนสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๓๗
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม รายงานฉบับสดุ ทา้ ย
๓.๒.๙ การวเิ คราะหผ์ ลกระทบจากสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ -19 ต่อการคาดการณ์
ประชากร
จากการแพร่ระบาดของโรคโควดิ -19 ในประเทศไทยต้ังแตป่ ี พ.ศ.๒๕๖๓ ถงึ ปจั จุบัน ได้ส่งผลกระทบต่อ
หลายภาคส่วน โดยเฉพาะภาคส่วนอุตสาหกรรมในเขตพื้นท่ีพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก โดยพบว่าในช่วงการ
ระบาดของโรคระลอกท่ี ๑ และ ๒ จนถึงต้นปี พ.ศ.๒๕๖๔ ผู้ประกอบการในเขตพ้ืนท่ีพัฒนาพิเศษภาค
ตะวันออกชะลอการรบั แรงงานเข้าทางานทงั้ แรงงานไทยและแรงงานตา่ งดา้ ว ดงั น้นั จงึ คาดการณ์บนสมมติฐาน
ท่ีว่าจานวนประชากรแฝงในปี พ.ศ. ๒๕๖๔ ชะลอตัวหรือคงที่เท่ากับปี พ.ศ.๒๕๖๓ และจากการแพร่ระบาด
ของรวดเร็วของโควิด-19 ระลอกที่ ๓ ตั้งแต่เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๔ เป็นต้นมา มีอุตสาหกรรมหลาย
ประเภทที่ได้รับผลกระทบมากโดยเฉพาะอุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่ อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
อุตสาหกรรมการบิน ซึ่งเป็นประเภทอุตสาหกรรมท่ีเช่ือมโยงกับอุตสาหกรรมในเขตพื้นที่พัฒนาพิเศษภาค
ตะวันออก อย่างไรก็ตาม ยังมีอุตสาหกรรมบางประเภทท่ีได้รับผลกระทบน้อยหรือปานกลาง หรือมีการเพิ่ม
กาลังการผลิต เช่น อุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร อุตสาหกรรมการแพทย์และอุปกรณ์ทางการแพทย์
อุตสาหกรรมดิจิทัล ดังนั้น หากพิจารณาผลกระทบดังกล่าวต่อประเภทอุตสาหกรรมในเขตพ้ืนที่พัฒนาพิเศษ
ภาคตะวันออกซงึ่ มปี ระเภทอุตสาหกรรมท่ีหลากหลายแล้ว อาจทาให้ในภาพรวมแรงงานแฝงในปี พ.ศ. ๒๕๖๕
ลดลงรอ้ ยละ ๑ และจากการที่รฐั บาลมีเป้าหมายให้คนส่วนใหญ่ไดร้ บั การฉีดวัคซีนปอ้ งกันโรคโควิด-19 ภายใน
ส้นิ ปี พ.ศ. ๒๕๖๔ และปี พ.ศ. ๒๕๖๕ อาจทาให้เศรษฐกิจและการจ้างงานในโรงงานอุตสาหกรรมกระเต้ืองขึ้น
เล็กนอ้ ยแต่ยงั คงลดลงที่รอ้ ยละ ๐.๕ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๖ และกลับสู่สภาวะคงตัวในปี พ.ศ. ๒๕๖๗ หลังจากน้ัน
หากสถานการณ์กลับสสู่ ภาวะปกติแล้ว การเพิ่มขึ้นของการจ้างงานหรือแรงงานแฝงจะค่อย ๆ เพ่ิมขนึ้ ในอัตรา
รอ้ ยละ ๐.๕ ๐.๗๕ และ ๑ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๘ ๒๕๖๙ และ ๒๕๗๐ ตามลาดบั ทง้ั นี้การเพ่มิ ขึน้ ของแรงงานแฝง
จะไม่เพ่ิมขึ้นสูงกว่าอัตราการเพ่ิมขึ้นก่อนการระบาดของโควิด - 19 เน่ืองจากเหตุผลหลัก ๆ สองประการคือ
การปรับตัวของโรงงานอุตสาหกรรมในช่วงหลังและโดยเฉพาะในช่วงโควิด - 19 ท่ีหันมาพึ่งพาเทคโนโลยีใน
การผลิตเพ่ิมข้ึนเพ่ือทดแทนแรงงานคน และโครงการสนับสนุนให้คนในพ้ืนที่เขตพื้นท่ีพัฒนาพิเศษภาค
ตะวันออกได้มีโอกาสในการศึกษาที่ตรงกับความต้องการของโรงงานอุตสาหกรรมในพ้ืนที่มากขึ้น ซึ่งหาก
โครงการดังกล่าวทาได้สาเร็จ จะทาให้คนในพื้นท่ีทางานในพื้นที่ภมู ิลาเนามากข้ึนกว่าการอพยพออกไปหางาน
ทานอกพ้ืนที่ และส่งผลต่ออัตราการเคลื่อนย้ายเข้ามาทางานของแรงงานต่างถ่ิน ทั้งแรงงานไทยและแรงงาน
ต่างด้าว ดงั นั้นจึงทาให้ประชากรแฝงเพ่ิมขึน้ จาก ๑,๑๔๒,๖๖๕ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ เป็น ๑,๓๓๔,๓๔๖ คน ในปี
พ.ศ. ๒๕๗๐ และเม่ือรวมกับประชากรในพื้นท่ีแล้วเพ่ิมขึ้นจาก ๔,๑๕๕,๘๓๒ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ เป็น
๔,๗๔๔,๔๕๑ คน ในปี พ.ศ. ๒๕๗๐
โครงการจดั ทาแผนส่งิ แวดลอ้ มในพนื้ ทเ่ี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๓๘
สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดทา้ ย
ตารางท่ี ๓ - ๑๒ การคาดการณ์ประชากรของ ๓ จงั หวัดทง้ั ประชากรตามทะเบยี นบ้าน*และประชากร
แฝง ปีพ.ศ. ๒๕๖๒ – ๒๕๗๐ จากผลกระทบของโรคโควดิ -19
ปี พ.ศ.
จังหวัด ประชากร ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ ๒๕๖๖ ๒๕๖๗ ๒๕๖๘ ๒๕๖๙ ๒๕๗๐
ชลบรุ ี ทะเบยี น ๑,๕๕๘,๓๐๑ ๑,๕๘๗,๒๘๕ ๑,๖๑๖,๘๐๙ ๑,๖๔๖,๘๘๒ ๑,๖๗๗,๕๑๔ ๑,๗๐๘,๗๑๕ ๑,๗๔๐,๔๙๗ ๑,๗๗๒,๘๗๑ ๑,๘๐๕,๘๔๖
แฝง ๕๓๘,๐๐๐ ๕๙๑,๘๐๐ ๕๙๑,๘๐๐ ๕๓๒,๖๒๐ ๕๐๕,๙๘๙ ๕๐๕,๙๘๙ ๕๓๑,๒๘๘ ๕๗๑,๑๓๕ ๖๒๘,๒๔๙
รวม ๒,๐๙๖,๓๐๑ ๒,๑๗๙,๐๘๕ ๒,๒๐๘,๖๐๙ ๒,๑๗๙,๕๐๒ ๒,๑๘๓,๕๐๓ ๒,๒๑๔,๗๐๔ ๒,๒๗๑,๗๘๖ ๒,๓๔๔,๐๐๖ ๒,๔๓๔,๐๙๕
ระยอง ทะเบยี น ๗๓๔,๗๕๓ ๗๔๗,๔๖๔ ๗๖๐,๓๙๕ ๗๗๓,๕๕๐ ๗๘๖,๙๓๓ ๘๐๐,๕๔๗ ๘๑๔,๓๙๖ ๘๒๘,๔๘๕ ๘๔๒,๘๑๘
แฝง ๔๐๐,๓๗๙ ๔๔๐,๔๑๗ ๔๔๐,๔๑๗ ๓๙๖,๓๗๕ ๓๗๖,๕๕๗ ๓๗๖,๕๕๗ ๓๙๕,๓๘๕ ๔๒๕,๐๓๙ ๔๖๗,๕๔๓
รวม ๑,๑๓๕,๑๓๒ ๑,๑๘๗,๘๘๑ ๑,๒๐๐,๘๑๒ ๑,๑๖๙,๙๒๕ ๑,๑๖๓,๔๘๙ ๑,๑๗๗,๑๐๔ ๑,๒๐๙,๗๘๑ ๑,๒๕๓,๕๒๔ ๑,๓๑๐,๓๖๐
ฉะเชงิ เทรา ทะเบยี น ๗๒๐,๑๑๓ ๗๒๕,๑๕๔ ๗๓๐,๒๓๐ ๗๓๕,๓๔๑ ๗๔๐,๔๘๙ ๗๔๕,๖๗๒ ๗๕๐,๘๙๒ ๗๕๖,๑๔๘ ๗๖๑,๔๔๑
แฝง ๒๐๔,๒๘๖ ๒๒๔,๗๑๕ ๒๒๔,๗๑๕ ๒๐๒,๒๔๔ ๑๙๒,๑๓๑ ๑๙๒,๑๓๑ ๒๐๑,๗๓๘ ๒๑๖,๘๖๘ ๒๓๘,๕๕๕
รวม ๙๒๔,๓๙๙ ๙๔๙,๘๖๘ ๙๕๔,๙๔๕ ๙๓๗,๕๘๕ ๙๓๒,๖๒๐ ๙๓๗,๘๐๓ ๙๕๒,๖๓๐ ๙๗๓,๐๑๖ ๙๙๙,๙๙๖
รวม ทะเบยี น ๓,๐๑๓,๑๖๗ ๓,๐๕๙,๙๐๓ ๓,๑๐๗,๔๓๔ ๓,๑๕๕,๗๗๓ ๓,๒๐๔,๙๓๕ ๓,๒๕๔,๙๓๔ ๓,๓๐๕,๗๘๕ ๓,๓๕๗,๕๐๔ ๓,๔๑๐,๑๐๕
แฝง ๑,๑๔๒,๖๖๕ ๑,๒๕๖,๙๓๒ ๑,๒๕๖,๙๓๒ ๑,๑๓๑,๒๓๙ ๑,๐๗๔,๖๗๗ ๑,๐๗๔,๖๗๗ ๑,๑๒๘,๔๑๑ ๑,๒๑๓,๐๔๒ ๑,๓๓๔,๓๔๖
รวม ๔,๑๕๕,๘๓๒ ๔,๓๑๖,๘๓๕ ๔,๓๖๔,๓๖๖ ๔,๒๘๗,๐๑๒ ๔,๒๗๙,๖๑๒ ๔,๓๒๙,๖๑๑ ๔,๔๓๔,๑๙๖ ๔,๕๗๐,๕๔๖ ๔,๗๔๔,๔๕๑
หมายเหต:ุ คาดการณ์ตามเง่อื นไข คือ ตราการเพมิ่ คดิ ตามอัตราเฉล่ยี ๕ ปี (พ.ศ.๒๕๕๘ - ๒๕๖๒) ของแต่ละจังหวัด (อตั ราการ
เพมิ่ ของจังหวัดชลบุรี: ระยอง: ฉะเชงิ เทรา อยู่ท่ี: ๑.๘๖: ๑.๗๓: ๐.๗๐)
จากการคาดการณ์จานวนประชากรในปี พ.ศ. ๒๕๗๐ ท่ีจะมีจานวนประชากรเพ่ิมข้ึนในพื้นที่เขต
พัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในพ้ืนทหี่ ากขาดการเตรียมความ
พร้อมเพื่อรองรับความต้องการท่ีเพ่ิมข้ึนของจานวนประชากรดังกล่าว อาทิ ระบบบาบัดน้าเสีย ระบบ
การจัดการขยะมูลฝอย การจัดการสมดุลน้า รวมถึงคุณภาพสิ่งแวดล้อมท่ีอาจได้รับผลจากการปล่อยของเสีย
จากการใชป้ ระโยชนข์ องมนษุ ย์
๓.๓ สถานการณ์นโยบายและโครงการการพัฒนาพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกท่ีอาจมีผลต่อ
คณุ ภาพสิง่ แวดล้อม
กรอบยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙) ได้กาหนดวิสัยทัศน์ของประเทศไทยคือ
“ประเทศมีความม่ันคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิ จ
พอเพยี ง” โดยเปา้ หมายในอนาคตคอื การเปน็ ประเทศพฒั นาแลว้ ท่ีมีบทบาทสร้างสรรค์ในสังคมโลก รายได้ต่อ
หัวสูง มีความเหลื่อมล้าน้อย/ทุกคนมีท่ียืนในสังคม สังคมเป็นธรรมและคุณภาพ เป็นสังคมนวัตกรรมท่ีมีฐาน
การผลิตและบริการกว้างขวาง โดยมีฐานบริการท่ีเข้มข้น เป็นสังคมผู้ประกอบการที่ผลิตได้ขาย มีความเป็น
มิตรกับส่ิงแวดล้อม มีความม่ันคงด้านอาหาร พลังงาน และน้า ภาครัฐมีขนาดเล็ก โปร่งใส ทันสมัย
และมีประสิทธิภาพ ด้วยเหตุน้ีโครงการพัฒนาพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก จึงเป็นความหวังในการ
พลิกโฉมภาคการผลิตของประเทศไทย โดยมุ่งดันผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ (GDP) ให้เติบโตมากถึงร้อย
ละ ๖.๔ ต่อเน่ือง ๑๐ ปี เร่ิมจากการส่งเสริมกิจกรรมทางเศรษฐกิจภายในพื้นท่ี อาทิ การพัฒนาศักยภาพคน
และชุมชน การส่งเสรมิ การจา้ งงาน ฯลฯ ไม่เพียงเฉพาะในพื้นท่ี ๓ จังหวัด แต่มุ่งเตรียมความพร้อมสาหรับคน
ไทยทง้ั ประเทศ
โดยแผนภาพรวมเพ่อื การพัฒนาเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๕ ได้กาหนดกรอบ
เวลาดาเนินการพัฒนาในพื้นที่ โดยแบ่งออกเป็น ๓ ระยะสอดคล้องกับเป้าหมายการเห็นผลสัมฤทธ์ิ คือ
เป้าหมายระยะเร่งด่วนดาเนินงานใน พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๑ เป้าหมายระยะปานกลาง ดาเนินงานในช่วง
โครงการจดั ทาแผนส่ิงแวดล้อมในพน้ื ท่เี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๓๙
สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดทา้ ย
พ.ศ. ๒๕๖๒ – ๒๕๖๔ และเป้าหมายระยะถัดไป ดาเนนิ งานตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๖๕ เป็นต้นไป ภายใต้กรอบเวลา
การดาเนินงานดงั กล่าว มีการกาหนดกรอบแนวทางการพัฒนารวม ๖ แนวทาง ประกอบดว้ ย
แนวทางท่ี ๑ : พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบสาธารณูปโภค
แนวทางที่ ๒: การพฒั นาอตุ สาหกรรมเปา้ หมายทใี่ ช้เทคโนโลยีขัน้ สงู และนวัตกรรม
แนวทางที่ ๓: การพฒั นาและส่งเสรมิ การท่องเทย่ี ว เพื่อยกระดับการท่องเทีย่ วในเขตพัฒนา
พเิ ศษภาคตะวนั ออกสู่การท่องเท่ียวระดับโลกอย่างยง่ั ยืน
แนวทางที่ ๔: การพัฒนาบุคลากร การศึกษา การวจิ ัย เทคโนโลยี และนวตั กรรม
แนวทางที่ ๕: การพฒั นาเมืองใหมอ่ จั ฉรยิ ะน่าอยู่ มหานครการบนิ ภาคตะวันออก และ
ศนู ยก์ ลางการเงนิ
แนวทางที่ ๖: การพัฒนาโครงสรา้ งพน้ื ฐานดานดิจิทลั
เพื่อสนับสนุนแนวทางการพัฒนาทั้ง ๖ แนวทาง ในช่วงเวลาตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๐ จะนาไปสู่
การดาเนินโครงพ้ืนฐานขนาดใหญ่ทั้งในและระหว่างพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก โดยโครงการต่าง ๆ
ท่จี ะเกดิ ข้ึนในพ้นื ทที่ สี่ าคญั (ภาพที่ ๓ - ๔๐)
โครงการจดั ทาแผนสงิ่ แวดล้อมในพ้ืนทเ่ี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๔๐
สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม รายงานฉบบั สดุ ท้าย
ที่มา: ดัดแปลงจาก สานักงานคณะกรรมนโยบายเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (๒๕๖๑)
ภาพที่ ๓ - ๔๐ โครงการพัฒนาขนาดใหญ่ในพนื้ ท่ี EEC ทจี่ ะเกดิ ขึ้นตามแผนภาพรวมเพ่อื การพัฒนาเขต
พฒั นาพิเศษภาคตะวันออก
๓.๓.๑ ประเภทและทต่ี ้ังของโครงการพัฒนาพ้ืนท่เี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก
การดาเนินโครงการต่าง ๆ ของพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกสามารถสรุปได้ดังนี้ (สานักงาน
คณะกรรมการนโยบายเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (สกพอ.), ๒๕๖๒)
โครงการจดั ทาแผนส่ิงแวดลอ้ มในพื้นทีเ่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๔๑
สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดทา้ ย
๓.๓.๑.๑ เขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษ หมายถึง พ้ืนท่ีภายในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
ตามที่ กพอ. กาหนดตาม พระราชบัญญัติเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๑ การจัดตั้งเขตส่งเสริม
เศรษฐกิจพิเศษ มี ๒ รูปแบบ ได้แก่
๑) เขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษเพ่ือกิจการพิเศษ หมายถึง พื้นท่ีท่ีจัดต้ังข้ึนเพ่ือจัดทา
โครงสร้างพ้ืนฐาน และระบบสาธารณูปโภคท่ีมีประสิทธิภาพ มีความต่อเน่ืองและเชื่อมโยงกันอย่างเป็นระบบ
โดยสมบูรณ์พัฒนาพื้นท่ี ให้มีความทันสมัย โดยได้ประกาศจัดต้ังไปแล้ว จานวน ๖ เขต พ้ืนท่ีรวมประมาณ
๑๙,๐๕๔ ไร่ รองรบั การลงทุนรวมประมาณ ๘๖๑,๓๘๐ ลา้ นบาท ประกอบดว้ ย
ตารางที่ ๓ - ๑๓ กจิ กรรมเป้าหมายในเขตส่งเสรมิ เศรษฐกิจพิเศษเพ่ือกิจการพิเศษ
ช่ือเขตส่งเสริม กิจกรรมเปา้ หมาย ท่ตี ั้ง จานวนพื้นที่
เศรษฐกิจพิเศษ เงินลงทนุ
เขตสง่ เสรมิ เศรษฐกิจพเิ ศษเพื่อกจิ การพเิ ศษ พ้นื ท่ี ๖,๕๐๐ไร่
เงนิ ลงทุน
๑) เขตสง่ เสรมิ เมือง เปน็ ศูนยก์ ลางการบนิ เชอื่ มต่อระบบ ขนส่ง บริเวณสนามบนิ อตู่ ะเภา ๒๙๐,๐๐๐ล้าน
บาท
การบนิ ภาค สินคา้ กลมุ่ S-curve และเป็น อีกหนึ่งสนามบิน ตาบลพลา อาเภอเมอื ง
พ้นื ท่ี ๗,๘๕๓ ไร่
ตะวนั ออก (EECa) นานาชาติทีจ่ ะใชใ้ น การขนส่งผูโ้ ดยสารจาก จงั หวดั ระยอง เงินลงทุน
๒๒๒,๕๔๔ ลา้ น
พื้นท่ี ออี ซี ี ไปยังสนามบินหลักในประเทศไทย บาท
จนถงึ ประเทศในอาเซียน และ ท่าอากาศยาน พ้นื ท่ี ๘๓๐ ไร่
เงินลงทุน
ทัว่ โลก ๕๐,๐๐๐ ลา้ น
บาท
๒) เขตส่งเสรมิ พัฒนารถไฟความเรว็ สงู เช่ือม ๒ สนามบนิ ตลอดแนวโครงการต้งั แต่ พื้นท่ี ๓,๓๐๒ ไร่
เงินลงทนุ
รถไฟ ความเรว็ สงู เส้นโครงการเรมิ่ จากสนามบนิ ดอนเมอื งผา่ น สนามบินดอนเมอื งถงึ ๒๘๗,๕๘๖ ลา้ น
บาท
เช่อื ม ๓ สนามบนิ สถานีกลางบางซอื่ มักกะสนั ลาดกระบัง สนามบนิ อ่ตู ะเภา รวมพื้นท่ี
(EECh) สวุ รรณภมู ิฉะเชงิ เทรา ชลบุรี พัทยา และสิ้นสดุ พฒั นาบรเิ วณสถานี
ทบ่ี รเิ วณใตอ้ าคารผู้โดยสารหลังที่ ๓ ของ มกั กะสนั และศรรี าชา
สนามบนิ อูต่ ะเภา ประกอบด้วย ๑๐ สถานี
ระยะทางรวม ๒๒๐ กิโลเมตร พื้นท่ตี ลอดแนว
โครงการฯ
๓) เขตสง่ เสรมิ พฒั นาเป็นศนู ย์กลางการลงทุนและ พฒั นา อาเภอศรรี าชา จงั หวดั ชลบุรี
อตุ สาหกรรมและ กาลงั คนด้านดจิ ิทัล ใชเ้ ปน็ พนื้ ที่สรา้ งสรรค์
นวตั กรรมดิจทิ ลั นวัตกรรมดจิ ิทัล และ เป็นพืน้ ท่ีส่งเสรมิ การ
(EECd) ลงทนุ ของธุรกิจ ดิจิทลั ระดับโลก
๔) เขตสง่ เสรมิ เป็นแหลง่ สร้างและสะสมองคค์ วามรู้ ด้าน ตาบลปา่ ยุบใน อาเภอวัง
นวตั กรรม ระเบยี ง เทคโนโลยแี ละนวตั กรรม เพื่อ ชว่ ยยกระดับ จนั ทร์ จงั หวดั ระยอง
เศรษฐกิจพเิ ศษ พน้ื ทีเ่ ขตพฒั นาพิเศษ ภาคตะวันออก และ
ภาคตะวนั ออก พฒั นายกระดบั อตุ สาหกรรมเดมิ รวมถึงสรา้ ง
(Eastern ให้เกิด อุตสาหกรรมใหม่รองรับการค้าและ การ
Economic ลงทุนดา้ นการวิจัยและนวตั กรรม ด้านชวี ภาพ
Corridor of จากภาคเอกชนท้ังในและ ต่างประเทศ
Innovation: EECi)
โครงการจัดทาแผนสิง่ แวดลอ้ มในพืน้ ที่เขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๔๒
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม รายงานฉบับสดุ ท้าย
ชื่อเขตส่งเสรมิ กจิ กรรมเปา้ หมาย ทีต่ ั้ง จานวนพ้ืนท่ี
เศรษฐกิจพิเศษ เงนิ ลงทุน
๕) เขตสง่ เสรมิ ศูนย์ รองรับอตุ สาหกรรมเป้าหมายพิเศษ การแพทย์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
นวตั กรรม พืน้ ท่ี ๕๖๖ ไร่
การแพทย์ครบ และสุขภาพครบวงจร และ กิจการอื่นท่ี ศูนย์พัทยา อาเภอบางละมุง เงินลงทุน
วงจร ธรรมศาสตร์ ๘,๐๐๐ ล้านบาท
(พัทยา) (EECmd) เกย่ี วข้อง โดยมเี ปา้ หมาย ในการเป็นศนู ยก์ ลาง จังหวดั ชลบุรี
พน้ื ที่ ๓.๖๙ ไร่
๖) เขตส่งเสรมิ ของกิจกรรม ส่งเสริมดา้ นนวตั กรรม การวิจยั ขัน้ เงินลงทนุ
การแพทย์ จีโนมิกส์ ๑,๒๕๐ ลา้ นบาท
มหาวิทยาลยั บูรพา สูง และพฒั นาศูนยน์ วตั กรรมทางดา้ น
(บางแสน) (EECg)
การแพทย์ (Medical Hub) และ อตุ สาหกรรม
ตอ่ เน่อื งอื่น ๆ เปน็ ศูนยก์ ลางพฒั นาสุขภาพ
พลานามัย ผูส้ งู อายุ เพือ่ รองรับการกา้ วสสู่ งั คม
ผู้สงู อายขุ องประเทศไทย เปน็ ต้น
สง่ เสริมใหเ้ กดิ การลงทุนเกดิ ศนู ยบ์ รกิ าร อาคารคณะเภสชั ศาสตร์
ทดสอบทางการแพทย์ จโี นมิกสใ์ น EEC รองรบั มหาวทิ ยาลยั บรู พา (บาง
อุตสาหกรรม เปา้ หมายพเิ ศษการแพทยแ์ ละ แสน) จังหวดั ชลบรุ ี
สุขภาพครบวงจร และกจิ การอ่ืนท่ี เก่ียวขอ้ ง
๒) เขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษเพ่ืออุตสาหกรรมเป้าหมาย หมายถึง พ้ืนที่เพื่อรองรับ
การลงทุน ๑๒ อุตสาหกรรมเป้าหมายพิเศษ ที่มีการพัฒนาระบบสาธารณูปโภค สิ่งอานวยความสะดวก และ
บริการ ท่ีจาเป็นต่อการประกอบกิจการอุตสาหกรรมครบถ้วน ตามมาตรฐานสากล โดยได้ประกาศจัดต้ังไป
แล้วจานวน ๒๓ เขต พ้ืนที่รวมประมาณ ๙๐,๐๐๘ ไร่ รองรับการลงทุนรวมประมาณ ๑,๓๘๐ ล้านล้านบาท
โดยไดจ้ ดั ต้งั เป็น ๒ รูปแบบ ประกอบดว้ ย
๒.๑) รูปแบบนิคมอุตสาหกรรม หมายถึง พ้ืนท่ีทาการจดั สรรทีด่ ินเพอื่ ขายหรือให้
เช่า ตามกฎหมายว่า ด้วยการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) โดยมีการกาหนดการใช้ประโยชน์
ที่ดิน เพื่อรองรับ ๑๒ อุตสาหกรรมเป้าหมายพิเศษ และมีการพัฒนาระบบสาธารณูปโภค ส่ิงอานวยความ
สะดวก และบริการ ท่ีจาเป็นต่อการประกอบการอุตสาหกรรม พ้ืนทร่ี วม ๘๘,๐๘๒ ไร่ เงนิ ลงทนุ ๑,๓๑๕ ล้าน
ล้านบาท โดยในปีพ.ศ. ๒๕๖๐ ได้มีการประกาศเขตส่งเสริมอุตสาหกรรมเป้าหมาย ๒ แห่ง ได้แก่ นิคม
อุตสาหกรรม Smart Parkอจังหวัดระยอง และนิคมอุตสาหกรรมเหมราช อีสเทิร์นซีบอร์ด ๔ จังหวัดระยอง
พนื้ ที่ประกาศเขตรวม ๓,๓๖๖ ไร่ โดยเปน็ พ้นื ทีล่ งทนุ ๒,๓๐๐ ไร่ วงเงนิ ลงทนุ ๒.๑ แสนล้านบาท เพื่อเป็นเขต
สง่ เสรมิ กิจการอุตสาหกรรมรองรับอุตสาหกรรมเป้าหมาย ต่อมาในปพี .ศ. ๒๕๖๑ ได้มีการประกาศเขตส่งเสริม
นคิ มอุตสาหกรรมเป้าหมายอีก ๑๙ แห่ง ทาให้พนื้ ทใ่ี หมร่ องรับอุตสาหกรรมเป้าหมายอีก ๒๖,๒๐๕5 ไร่ ต้งั อยู่
ในจังหวัดระยอง ๖ แห่ง จังหวัดชลบุรี ๑๒ แห่ง และจังหวัดฉะเชิงเทรา ๑ แห่ง โดยนิคมอุตสาหกรรมเหล่าน้ี
ผ่านการประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อมและเปดิ ดาเนินการอยแู่ ล้ว
๒.๒) รูปแบบอุตสาหกรรมเป้าหมายพิเศษเฉพาะด้าน (Cluster) หมายถึง การ
พัฒนาพื้นที่เพ่ือขาย หรือให้เช่า ตามกฎหมายอ่ืน ท่ีไม่ใช่ กฎหมายว่าด้วยการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศ
ไทย รองรับอุตสาหกรรม เป้าหมายพิเศษเฉพาะด้าน (Cluster) ด้านใดด้านหน่ึงเท่านั้น และกิจการอ่ืนที่
โครงการจดั ทาแผนส่ิงแวดล้อมในพนื้ ทีเ่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๔๓
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสุดทา้ ย
สอดคล้องกับอุตสาหกรรมเป้าหมายพิเศษเฉพาะด้าน (Cluster) พื้นท่ีรวม ๑,๙๒๖ ไร่ เงินลงทุน ๑๔,๔๘๐
ลา้ นบาท
ตารางท่ี ๓ – ๑๓ (ตอ่ ) กจิ กรรมเปา้ หมายในเขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษเพ่ือกจิ การพเิ ศษ
ชอื่ เขตสง่ เสรมิ กิจกรรมเป้าหมาย ทต่ี ัง้ จานวนพนื้ ท่ี เงนิ
เศรษฐกิจพเิ ศษ ลงทุน
เขตสง่ เสริมเศรษฐกิจพิเศษเพอื่ กิจการอตุ สาหกรรม
๑) รปู แบบนิคมอุตสาหกรรม
๑.๑ นิคมอตุ สาหกรรม รองรบั อตุ สาหกรรมเปา้ หมาย พเิ ศษ และมกี าร ฉะเชงิ เทรา ๑ แห่ง พนื้ ท่ีรวม ๘๘,๐๘๒
ใน พน้ื ที่ EEC จานวน พฒั นาระบบ สาธารณปู โภค สง่ิ อานวยความ ชลบรุ ี ๑๒ แห่ง ไร่ เงินลงทนุ
๒๑ แหง่ สะดวก และบรกิ ารท่จี าเป็นตอ่ การ ระยอง ๘ แหง่ ๑,๓๑๕ ลา้ นลา้ น
ประกอบการอตุ สาหกรรม บาท
๒) รปู แบบอุตสาหกรรมเปา้ หมายพเิ ศษเฉพาะด้าน (Cluster)
๒.๑ กลุม่ อุตสาหกรรม รองรบั อุตสาหกรรมเป้าหมาย พเิ ศษยานยนต์ ตาบลลาดขวางและ พื้นที่ ๑.๖๙๔ ไร่
ยานยนตอ์ นาคต บ้าน สมยั ใหม่ และ กิจการอ่นื ที่เกี่ยวขอ้ งท่ี คลอง ประเวศ อาเภอ เงนิ ลงทนุ ๑,๐๐๐
โพธ์ิ สอดคลอ้ ง กับอตุ สาหกรรมเปา้ หมายพเิ ศษ บ้านโพธิ์ จังหวัด ลา้ นบาท
ยานยนตส์ มยั ใหม่ ฉะเชิงเทรา
๒.๒ กลมุ่ พาณิชย์ รองรบั อตุ สาหกรรมเปา้ หมาย พิเศษโลจสิ ติกส์ ตาบลบางสมัคร อาเภอ พ้ืนที่ ๒๓๒ ไร่ เงนิ
อิเลก็ ทรอนกิ ส์ บางปะ และกจิ การอ่ืน ที่เก่ียวขอ้ งทสี่ อดคล้องกบั บางปะกง จงั หวดั ลงทนุ ๑๓.๔๘๐
กง อตุ สาหกรรมเป้าหมายพเิ ศษ โลจสิ ตกิ ส์ ฉะเชิงเทรา ลา้ นบาท
๓.๓.๑.๒ โครงการสาคัญเร่งดว่ น มี ๔ โครงการ คอื
๑) โครงการศูนย์ซ่อมบารุงอากาศยานอู่ตะเภา ใช้พื้นที่ ๒๐๐ ไร่ ดาเนินงานภายใน
พื้นที่ ๖,๕๐๐ ไร่ ของสนามบนิ อู่ตะเภา
๒) โครงการพัฒนาท่าเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด ระยะที่ ๓ เพื่อรองรับการนาเข้า
วัตถุดิบในการผลิตพลังงาน และการขยายตัวของอุตสาหกรรมปิโตรเคมีข้ันสูง พ้ืนก่อสร้างท่าเรือประมาณ ๑,๐๐๐
ไร่ รองรับการขนส่งสินค้าเหลวและก๊าซไดเ้ พิ่มเติมอีก ๒๐ ล้านตนั /ปี
๓) โครงการพัฒนาท่าเรือแหลมฉบงั ระยะที่ ๓ อยู่ด้านทิศใต้ของท่าเรือปัจจุบัน ขนาด
พน้ื ท่ี ๑,๖๐๐ ไร่ รองรบั ตู้สนิ ค้าเพิ่มเติมได้อกี ๗ ล้านตู้/ปี และรองรบั การส่งออกรถยนต์ได้เพิ่มข้ึนอีก ๑ ลา้ นคนั /ปี
ซึง่ จะทาใหท้ ่าเรือแหลมฉบัง มีปริมาณสินค้าผ่านท่าเรือมากติดอันดับ ๑ ใน ๑๐ ของโลก และ
๔) รถไ ทางคู่เช่ือม ๓ ท่าเรือ คือ แหลมฉบัง มาบตาพุด และจุกเสม็ด ท่ีเช่ือมโยงเข้าสู่
พ้ืนท่ีอุตสาหกรรม ยกระดับโลจิสติกส์ด้านการขนส่งสินค้าเพื่อลดต้นทุนด้านโลจิสติกส์ รายละเอียดตาแหน่งของ
โครงการฯ แสดงในภาพท่ี ๓ - ๔๑
โครงการจดั ทาแผนสิง่ แวดล้อมในพนื้ ท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๔๔
สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม รายงานฉบับสดุ ท้าย
ภาพท่ี ๓ - ๔๑ เขตสง่ เสริมเศรษฐกิจพเิ ศษในพืน้ ท่เี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก
โครงการจดั ทาแผนสง่ิ แวดล้อมในพ้ืนที่เขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๔๕
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย
๓.๓.๒ การวิเคราะห์ผลกระทบของโครงการพฒั นาอตุ สาหกรรมเปา้ หมาย New S-curve
ปัจจุบันโครงการพัฒนาเขตพัฒ นาพิเศษภาคตะวันออกได้กลายเป็นการลงทุนขนาดใหญ่
เพื่อยกระดับพ้ืนท่ีภาคตะวันออกให้เป็นเขตเศรษฐกิจท่ีดีท่ีสุดและทันสมัยท่ีสุดในภูมิภาคอาเซียน เป็นประตูสู่
ภูมิภาคเอเชีย จีน อินเดีย มีความเช่ือมโยงระหว่าง ๒ มหาสมุทร ได้แก่ มหาสมุทรอินเดียและ มหาสมุทร
แปซิฟิก ม่งุ เน้นให้เป็นจุดศูนย์กลางทางด้านการลงทุนและสถานที่ท่องเท่ียวระดับโลก โดยการพัฒนาประเทศ
ไปสู่ยุคประเทศไทย ๔.๐ ที่มุ่งเน้นการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมสมัยใหม่ในการสร้างมูลค่าเพิ่ม เพื่อรองรับ
การลงทุนในกลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมายท่ีสาคัญของประเทศ โดยกาหนดพ้ืนท่ีเป้าหมาย ๓ จังหวัดนาร่อง
ได้แก่ ฉะเชิงเทรา ชลบุรี และ ระยอง ครอบคลุมพื้นที่กว่า ๑๓,๐๐๐ ตารางกิโลเมตร โดยแบ่งบทบาทการ
พัฒนาเชิงพ้ืนท่ีออกเป็นเขตพื้นท่ีอุตสาหกรรม เขตพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐาน และเขตพัฒนาเมือง ภายใต้
แนวคดิ เมืองแหง่ ความสมดลุ ระหว่างสถานที่ทางานและท่ีพักอาศยั แบ่งตามพื้นทีไ่ ด้ ดังนี้
๑. จังหวัดฉะเชิงเทรา มีบทบาทเปน็ พ้ืนที่อาศยั ท่ที ันสมยั ตอบสนองวิถีชวี ิตสมัยใหม่ เป็นศูนย์กลางการ
ขนส่งระบบรางและรถไฟความเร็วสูง ตลอดจนเป็นประตูสู่ภูมิภาคต่าง ๆ รองรับการเคลื่อนย้ายหน่วยงาน
ภาครัฐและการ พฒั นาไปสู่ศูนย์ราชการแห่งใหมใ่ นอนาคต
๒. จังหวัดชลบุรี มีบทบาทเป็นเมืองแห่งการศึกษา ค้นคว้า วิจัย และพัฒนานวัตกรรม เป็นศูนย์กลาง
ด้าน การศึกษา ศูนย์ฝึกแรงงาน และศูนย์พัฒนาทักษะนานาชาติ เพ่ือตอบสนองและให้สอดคล้องต่อความ
ต้องการดา้ น อุตสาหกรรมแหง่ อนาคต
๓. จงั หวัดระยอง มีบทบาทเป็นพนื้ ที่ตงั้ อุตสาหกรรมปิโตรเคมี และอุตสาหกรรมพลังงาน โดยกาหนดให้
มาบตาพุด เป็นฐานอุตสาหกรรมปิโตรเคมีในทวีปเอเชียและศูนย์กลางด้านโรงกล่ันน้ามันและพลังงานของ
ประเทศไทย เพื่อพฒั นาสู่การเปน็ ศนู ยก์ ลางอุตสาหกรรมชวี ภาพในอนาคต
จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับท่ี ๑๒ ท่ีมุ่งพัฒนาศักยภาพอุตสาหกรรม โดยเฉพาะ
เรื่อง อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ (Creative Economy) เพ่ือเพิ่มศักยภาพ ๑๐ อุตสาหกรรมเป้าหมายใหม่
ท่ีเรียกว่า S-Curve ซ่ึงเป็น ๒ กลไกขับเคลื่อนเศรษฐกิจท่ีสาคัญทางด้านนวัตกรรมเพื่อยกระดับขีด
ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ และเพ่ือให้หลุดพ้นจากกับดักของประเทศที่มีรายได้ปานกลาง
โดยได้จาแนกกลุ่มอตุ สาหกรรมออกเป็น ๒ รูปแบบ ได้แก่
๑. รูปแบบอุตสาหกรรมเดิม (First S-Curve) เป็นการลงทุนในกลุ่มอุตสาหกรรมที่มีอยู่แล้ว
ภายในประเทศ เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพในการใช้ปัจจัยการผลิต โดยจะเป็นการลงทุนที่ส่งผลต่อการเติบโตทาง
เศรษฐกิจในระยะสั้นและ ระยะกลาง ครอบคลุม ๕ อุตสาหกรรม ได้แก่ อุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่
(Next-Generation Automotive) อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ (Smart Electronics) อุตสาหกรรม
ทอ่ งเทีย่ วกลุ่มรายไดด้ ีและท่องเท่ียวเชงิ สุขภาพ (Affluent, Medical and Wellness Tourism) อุตสาหกรรม
เกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ (Agriculture and Biotechnology) และอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารแห่ง
อนาคต (Food for the Future)
๒. รูปแบบอุตสาหกรรมอนาคต (New S-Curve) เป็นการลงทุนในอุตสาหกรรมใหม่ เพ่ือเปล่ียนแปลง
รูปแบบสินค้าและเทคโนโลยี โดยอุตสาหกรรมเหล่านี้จะเป็นกลไกสาคัญในการขับเคล่ือนเศรษฐกิจ
(New Growth Engines) ของประเทศ ครอบคลุม ๕ อุตสาหกรรม ได้แก่ หุ่นยนต์เพ่ืออุตสาหกรรม
โครงการจัดทาแผนสิง่ แวดลอ้ มในพืน้ ท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๔๖
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ท้าย
(Robotics) อุตสาหกรรมการบินและโลจิสตกิ ส์ (Aviation and Logistics) อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและ
เคมีชีวภาพ (Biofuels and Biochemicals) อุตสาหกรรม ดิจิทัล (Digital) และอุตสาหกรรมการแพทย์ครบ
วงจร (Medical Hub) เพ่ือให้บรรลุเป้าหมายดังกล่าว โครงการพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC)
จึงมีการกาหนด กลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมายที่ได้รับการส่งเสริมเพื่อให้เกิดการลงทุนอย่างเป็นรูปธรรม ได้แก่
๑) อตุ สาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่ (Next-Generation Automotive) ๒) อุตสาหกรรมอเิ ล็กทรอนิกสอ์ ัจฉริยะ
(Smart Electronics) ๓) อตุ สาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชวี ภาพ (Agriculture and Biotechnology)
๔) อุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร (Food for the Future) ๕) อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวกลุ่มรายได้ดีและ
การท่องเท่ียวเชิงสุขภาพ (Affluent, Medical and Wellness Tourism) ๖) อุตสาหกรรมหุ่นยนต์
(Robotics) ๗) อุตสาหกรรมการบนิ และโลจสิ ติกส์ (Aviation and Logistics) ๘) อุตสาหกรรมการแพทย์ครบ
วงจร (Medical Hub) ๙) อตุ สาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมชี ีวภาพ (Biofuels and Biochemicals) ๑๐)
อุตสาหกรรมดิจิทัล (Digital) โดยเพ่ิมอุตสาหกรรมเป้าหมาย (S-Curve) อีก ๒ ประเภท ได้แก่ ๑๑)
อุตสาหกรรมการป้องกันประเทศ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของกิจกรรมทางการทหารของไทย โดยให้
ความสาคญั กบั การวจิ ัยและพัฒนา ตลอดจนการยกระดับประสิทธิภาพให้ก้าวทันเทคโนโลยี ๑๒) อตุ สาหกรรม
การพัฒนาบุคลากรและการศึกษา เพ่ือส่งเสริมความร่วมมือกับทางสถาบันการศึกษา อาชีวศึกษา
มหาวิทยาลัย และบรษิ ัทเอกชน ท้ังในและต่างประเทศ เพื่อทาการพัฒนาระบบการศึกษาและกาลังคนให้ตรง
ตามความต้องการและไดม้ าตรฐานสากล
ด้วยเหตุน้ี การพัฒนาพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก จึงเป็นความหวังในการพลิกโฉมภาคการ
ผลิตของประเทศไทย โดยมุ่งดันผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ (GDP) ให้เติบโตมากถึงร้อยละ ๖.๔ ต่อเนื่อง
๑๐ ปี เริ่มจากการส่งเสริมกิจกรรมทางเศรษฐกิจภายในพื้นท่ี อาทิ การพัฒนาศักยภาพคนและชุมชน
การส่งเสริมการจ้างงาน ฯลฯ ไม่เพียงเฉพาะในพื้นท่ี ๓ จังหวัด แต่มุ่งเตรียมความพร้อมสาหรับคนไทย
ทงั้ ประเทศ โดยมีหลักการ ๓ ประการ ดังน้ี
๑. พื้นที่โครงการพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) เป็นระเบียงเศรษฐกิจทางฝ่ัง ตะวันออก
ของกรุงเทพมหานคร สามารถลดความแออัดในเขตกรุงเทพฯ และเมื่อผนึกรวมโครงการอีอีซี เข้ากับ พ้ืนที่
กรุงเทพฯ กจ็ ะกลายเปน็ พน้ื ทแ่ี หง่ มหานครน่าอยู่
๒. โครงการพัฒนาเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (EEC) จะกลายเป็นพื้นที่เชื่อมโยงภาคอสี าน ตอนบน
และตอนล่างมาสู่อ่าวไทย ด้วยการขนส่งท้ังทางรถไฟและทางถนนมายังท่าเรือแหลมฉบัง ท่าเรือสัตหีบ และ
ทา่ เรือมาบตาพดุ นบั เปน็ การเช่อื มรวมศูนยก์ ารผลติ ของประเทศไทยไว้ด้วยกนั
๓. โครงการพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (EEC) เป็นการเชื่อมโยงพื้นที่ ๓ จังหวัดเข้ากับ การ
พัฒนาจังหวัดอ่ืน ๆ ในภาคตะวันออก เช่น ปราจีนบุรี สระแก้ว จันทบุรี และตราด โดยมุ่งเน้นไปที่เขต
เศรษฐกิจพเิ ศษชายแดนตราดและสระแก้ว
อย่างไรก็ตาม นพดล วิริยาภรณ์ และเอกพร รักความสุข (๒๕๖๒) ศึกษาการออกแบบการพัฒนา
โครงสร้างพ้ืนฐานภายใต้โครงการพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ซ่ึงยังคงมีปัญหาและอุปสรรค
ตลอดจนผลกระทบท้งั ในระดับพืน้ ท่ีและระดับประเทศ ดังนี้
โครงการจัดทาแผนสงิ่ แวดลอ้ มในพืน้ ทีเ่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๔๗
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม รายงานฉบับสุดท้าย
ดา้ นปัญหาและอุปสรรค
๑) การวางผังเมือง พบว่า ผังเมืองในเชิงลึกยังมีความไม่เหมาะสม เพราะไม่สามารถผสมผสานพื้นที่ให้
ชมุ ชนและอตุ สาหกรรมอย่รู ว่ มกนั ได้อย่างชัดเจน เนื่องจากภาครัฐมเี พยี งผงั เมอื งในภาพรวมเท่านั้น
๒) ขาดแผนพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคม เน่ืองด้วยข้อจากัดในการพัฒนาและเชื่อมโยง
ด้าน คมนาคมทางอากาศ ดังนั้นควรพัฒนาเพ่ิมศักยภาพด้านการขนส่งทางอากาศ โดยการเพิ่มช่องทาง
Taxiway ตลอดจนการ ขนส่งระบบราง ควรมีการเพ่ิมเส้นทางการขนส่งที่ใช้พลังงานไฟฟ้า เพื่อพัฒนาเป็น
เมืองที่เป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม
๓) ด้านสาธารณูปโภค พบว่า ระบบประปายังมีประสิทธิภาพต่ากว่าพ้ืนที่เขตพิเศษของประเทศ เพื่อน
บ้าน และระบบพลงั งานไฟฟา้ ควรมกี าลงั ผลิตไฟฟ้าและมีเสถยี รภาพมากย่ิงขึ้น ควรมีระบบการจัดการและการ
คัด กรองขยะท่ีดี เพ่ือรองรับปริมาณขยะท่ีอาจเกิดขึ้นในอนาคต รวมถึงการพัฒนาระบบเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
ความเรว็ สงู
๔) การดึงดูดนักลงทุน ยังคงมีปัญหาโดยเฉพาะแรงจูงใจและสิทธิประโยชน์สาหรับภาคอุตสาหกรรม
เมื่อ เปรียบเทียบกบั ตา่ งประเทศแลว้ พบวา่ ประเทศไทยยงั คงขาดการส่งเสริมการลงทุนโดยเฉพาะการให้สทิ ธิ
ประโยชน์ทาง ภาษรี ะดับท้องถ่ินซง่ึ อาจสามารถดงึ ดูดนักลงทนุ คุณภาพใหเ้ ขา้ มาลงทนุ ในพื้นทไ่ี ด้มากขึ้น
๕) แรงงานขาดทักษะทจ่ี าเปน็ ต่อการปฏิบตั งิ านด้านอุตสาหกรรมที่สามารถยกระดับมาตรฐานผลิตภาพ
และนวัตกรรมผู้ประกอบการและบุคลากรในสาขาของอุตสาหกรรมเป้าหมาย และองค์ความรู้ที่ย่ังยืนระหว่าง
หน่วยงาน ภาครัฐ ภาคเอกชน และองค์กรต่างประเทศ ทั้งนี้เพราะประเทศไทยกาลังเผชิญปัญหาการลดลง
ของผลิตภาพและกาลงั แรงงาน
๖) ขาดแผนการสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างชุมชน การช่วยเหลือบรรเทาในความเดือดร้อน
เสริมสร้าง ภูมิปัญญาท้องถิ่น การพัฒนาคนในชุมชน เพื่อสรา้ งเครือข่ายผู้นาชมุ ชน การเฝ้าระวังตลอดจนการ
ประชาสมั พนั ธ์ในรปู แบบท่ีเหมาะสม
ดา้ นผลกระทบท้งั ในระดับพื้นทแ่ี ละระดบั ประเทศ
๑) ผลกระทบระดับพื้นท่ีและชุมชน พบว่า โครงการอีสเทิร์นซีบอร์ดในอดีตได้สร้างผลกระทบต่อพ้ืนที่
เชิง ลบมากกวา่ เชิงบวก อาทิ ผลกระทบดา้ นมลภาวะ ด้านสุขภาพ และดา้ นสิง่ แวดล้อม ตลอดจนมลภาวะทาง
กลิ่น การลักลอบทิ้งกากของเสีย การปล่อยน้าเสียลงในแม่น้าและชายฝ่ัง คุณภาพน้าด่ืมน้าใช้ และการกาจัด
ขยะ เป็นต้น
๒) ผลกระทบระดับประเทศ เป็นผลกระทบด้านเศรษฐกิจและสังคม ด้านความม่ันคงและด้านการ
ปกครอง บริหารราชการแผ่นดิน ซึง่ อาจมที งั้ ผลกระทบเชงิ บวกและเชิงลบ ดงั นี้
ผลกระทบเชิงบวก เป็นปัจจัยด้านเศรษฐกิจและสังคมท่ีสามารถพัฒนาให้ประเทศก้าวสู่ประเทศ
อุตสาหกรรม อย่างสมบูรณ์ สร้างความม่ันคง มั่งค่ัง ให้กับประเทศ เพิ่มรายได้ในภาพรวม อันจะส่งผลต่อ
ประชากรภายในพ้ืนท่ี โครงการฯ และท่ัวประเทศมีรายไดเ้ พ่มิ ข้ึน เพราะมีการลงทุนทั้งภาครัฐและเอกชนภาย
ไม่น้อยกว่า ๑.๕ ล้านล้านบาท ทาให้เกิดการจ้างงานใหม่มากกว่าหนึ่งแสนอัตราต่อปี สามารถดึงดูด
นกั ท่องเท่ียวใหเ้ ข้ามาในพน้ื ท่เี พ่ิมข้นึ ๑๐ ล้านคนตอ่ ปี สร้างรายได้ไม่นอ้ ยกว่า ๔.๕ ล้านบาท สง่ ผลให้เกิดฐาน
โครงการจัดทาแผนส่ิงแวดล้อมในพนื้ ที่เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๔๘
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม รายงานฉบับสุดทา้ ย
ภาษีใหม่ซึ่งเป็นรายได้ของประเทศประมาณหนึ่งแสนล้านบาทจากผลิตภัณฑ์มวลรวม (GDP) ในประเทศที่
สูงข้นึ และสามารถลดต้นทนุ ด้านการขนสง่ โลจสิ ติกสไ์ ด้ถงึ สีแ่ สนลา้ นบาทตอ่ ปี
ผลกระทบเชิงลบ เป็นประเด็นทางด้านความม่ันคง และด้านการปกครอง เน่ืองจากต้องปรับแก้
กฎหมาย กฎระเบียบ รวมทั้งข้อบังคับท่ีสาคัญ เพ่ือเปิดโอกาสให้นักลงทุนต่างชาติเข้ามาลงทุนภายในพ้ืนที่
ตลอดจนการเข้ามาพกั อาศัยในราชอาณาจักร การครอบครองกรรมสิทธิ์ที่ดิน การยกเว้นอากร หรือแมแ้ ต่การ
ลดหย่อนภาษีตา่ ง ๆ ซ่ึงอาจนามาสู่ การสูญเสยี รายได้ และความมัน่ คงของชาติในอนาคต
สรปุ ผลกระทบจาก New S-Curve
ส่ิงที่ควรคานึงควบคู่กับการพัฒนาอุตสาหกรรมพื้นฐานเพื่อนาไปสู่อุตสาหกรรมขั้นสูงในอนาคต คือ
ผลกระทบ ด้านแรงงาน จากการนาเครื่องมือเคร่ืองจักรและนวัตกรรมสมัยใหม่เข้ามาใช้ในกระบวนการผลิต
ส่งผลให้มีการลดการ จ้างแรงงานมนุษย์ ยกตัวอย่าง เหตุการณ์การประกาศลดการจ้างงานโดยสมัครใจ จาก
บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย แม้บริษัทจะให้เหตุผลว่าเกิดจากภาวะเศรษฐกิจชะลอตัว ส่งผลต่อยอด
การผลิต แต่มิอาจปฎิเสธได้ว่าเหตุผลหน่ึงคือ ความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยีการผลิต ที่ส่งผลให้มีการลด
ความจาเป็นในการจา้ งแรงงานมนษุ ย์
อย่างไรก็ตาม แม้พื้นที่ ๓ จังหวัดนาร่องโครงการพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) มี
ยุทธศาสตร์ท่ีดี พร้อมท้ังมีเทคโนโลยีการผลิตก้าวหน้าและทดแทนแรงงานมนุษย์ได้มากเพียงใด ก็ยังมีความ
จาเป็นต้องใช้แรงงานมนษุ ย์ใน การควบคุมเครื่องจักรอยู่เป็นจานวนมาก บริษัทผู้ผลิต หรือนักลงทุนจึงมักมอง
หาทาเลที่ต้ังโรงงานในประเทศที่มีค่าแรง ต่ากว่า เพ่ือลดต้นทุนการผลิต จึงอาจเป็นการเสียโอกาส หาก
บริษัทผู้ผลิตหันไปต้ังโรงงานในประเทศเพ่ือนบ้าน เช่น เมียนมา กัมพูชา ลาว ฯลฯ เพื่อผลิตและนาเข้ามาสู่
ประเทศไทยเนอ่ื งจากมีค่าแรงทต่ี ่ากว่า
จากข้อมูลสภาพัฒน์ฯ (สศช.) เกี่ยวกับสถานการณ์เศรษฐกิจล่าสุดในไตรมาส ๓ ประจาปี พ.ศ. ๒๕๖๓
พบตัวเลขการว่างงานซ่ึงมีความสัมพันธ์กับภาวะเศรษฐกิจ ประมาณ ๘.๗๓ แสนคน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ
๑.๙๐ ขณะที่ข้อมูลจากสานักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ประจาเดือน
พฤศจิกายน ปี พ.ศ.๒๕๖๓ พบผู้ว่างงานจานวน ๗.๘๔ แสนคน ท้ังนี้ เม่ือเปรียบเทียบสถานการณ์แรงงานใน
ชว่ งเวลาเดียวกนั ของปี พ.ศ. ๒๕๖๓ พบว่า จานวนผู้วา่ งงานเพ่ิมขน้ึ ๓.๕๕ แสนคน (จาก ๔.๒๙ แสนคน เป็น
๗.๘๔ แสนคน)
อนึ่ง ผลจากภาวะว่างงาน ไม่เพียงกระทบต่อภาคเศรษฐกิจ แต่อาจนาไปสู่ปัญหาทางสังคม อาทิ การ
เพิ่มข้ึนของ ตัวเลขอาชญากรรมรายวัน ปัญหายาเสพติดให้โทษ ฯลฯ อย่างหลีกเล่ียงไม่ได้ ด้วยเหตุนี้
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องท้ังภาครัฐ และเอกชนจึงควรให้ความสาคัญกับการวางแผน “การพัฒนาคน” เพื่อให้มี
ความรู้ความสามารถและก้าวทันเทคโนโลยีอยู่ เสมอ เพ่ือเตรียมความพร้อมหากเกิด “วิกฤติการว่างงาน” ใน
อนาคตโดยมีหนุ่ ยนต์อตุ สาหกรรมเปน็ ตัวการสาคญั
๓.๓.๓ การวเิ คราะหผ์ ลกระทบของโครงการพัฒนาในพื้นท่เี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออกตอ่ การ
เตบิ โตทางเศรษฐกจิ
โครงการพัฒนาในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกก่อให้เกิดการลงทุนทางเศรษฐกิจและสร้าง
รายได้ให้พื้นท่ีและประเทศจานวนมาก โดยเมื่อโครงการเหล่าน้ีทาการสร้างแล้วเสร็จจะทาให้เกิดกระแส
โครงการจัดทาแผนส่งิ แวดล้อมในพื้นที่เขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๔๙
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม รายงานฉบับสุดทา้ ย
หมุนเวียนทางธุรกิจและสามารถสร้างความเจริญในพ้ืนท่ี อาทิเช่น โครงการรถไฟฟ้าความเร็วสูงเช่ือมสาม
สนามบิน โครงการทา่ เรืออตุ สาหกรรม มาบตาพุด ระยะที่ ๓ สนามบินอู่ตะเภาและเมืองการบินภาคตะวนั ออก
ทา่ เรือแหลมฉบัง ระยะท่ี ๓ โครงการศูนยซ์ ่อมบารงุ อากาศยานอตู่ ะเภา และโครงการเขตสง่ เสรมิ อุตสาหกรรม
และนวัตกรรมดจิ ิทัล ดังตารางที่ ๓ – ๑๔
ตารางที่ ๓ – ๑๔ โครงการพฒั นาในพื้นทเ่ี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก
โครงการพัฒนาโครงสรา้ งพ้นื ฐานท่ีสาคญั รปู แบบการลงทุน เปดิ ดาเนนิ การ
ในพ้ืนท่ี EEC พ.ศ. ๒๕๖๘ โดยการรถไฟแหง่
- PPP Net Cost ประเทศไทย
๑) โครงการรถไ ความเรวสูงเชอ่ื มสาม - ระหวา่ งการรถไฟแหง่ ประเทศไทย (รฟท.)
สนามบิน และ บรษิ ทั รถไฟความเร็วสูงสายตะวนั ออก พ.ศ. ๒๕๖๗ โดยนคิ มอุตสาหกรรม
เชื่อมสามสนามบิน จากดั แหง่ ประเทศไทย
๒) ทา่ เรืออตุ สาหกรรม มาบตาพุด ระยะที่ - PPP Net Cost
๓ - การนิคมอตุ สาหกรรมแห่งประเทศไทยได้ลง พ.ศ. ๒๕๖๗ โดยกองทัพเรือ
นามในสัญญาร่วมลงทุนกับบรษิ ัท กัลฟ์ เอม็ ที
๓) สนามบินอู่ตะเภาและเมอื งการบนิ ภาค พี แอลเอ็นจี เทอรม์ ินอล จากัด (GMTP) พ.ศ. ๒๕๖๘ โดยการทา่ เรอื แหง่
ตะวันออก ประเทศไทย
๔) ท่าเรือแหลมฉบัง ระยะท่ี ๓ พ.ศ. ๒๕๖๖ โดยบริษทั การบินไทย
จากัด (มหาชน)
๕) โครงการศนู ย์ซ่อมบารงุ อากาศยานอู่ พ.ศ. ๒๕๖๕ บริษัท ทสท
ตะเภา โทรคมนาคม จากดั
๖) โครงการเขตส่งเสรมิ อุตสาหกรรมและ
นวตั กรรมดจิ ทิ ลั
ในการศึกษาได้นาโครงการรถไ ความเรวสูงเช่ือมสามสนามบิน และท่าเรืออุตสาหกรรม มาบตาพุด
ระยะท่ี ๓ มาวเิ คราะหถ์ ึงผลของการพัฒนาโครงการท่ีมตี ่อเศรษฐกิจในพน้ื ทม่ี ีรายละเอียดดงั นี้
๑) โครงการรถไ ความเรวสูงเชื่อมสามสนามบิน ได้ลงนามสัญญาร่วมลงทุนแล้ว เม่ือวันท่ี ๒๔
ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๖๒ เป็นโครงการลงทุนในรปู แบบการให้เอกชนร่วมลงทนุ PPP Net Cost ระหว่างการรถไฟ
แห่งประเทศไทย (รฟท.) และ บริษัท รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกเชื่อมสามสนามบิน จากัด โครงการรถไฟ
ความเรว็ สงู เชือ่ มสามสนามบนิ เกิดจากการรวบรวม ๓ โครงการทีเ่ กี่ยวขอ้ ง ประกอบด้วย
๑) โครงการระบบขนส่งทางรถไฟเช่ือมสนามบินสุวรรณภูมิและสถานีขนส่งผู้โดยสารอากาศยาน
ในเมือง (แอร์พอร์ตเรลลิงก์ส่วนปัจจุบัน) ซ่ึงเปิดให้บริการตั้งแต่สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ โดยมีระยะทาง ๒๘.๘
กิโลเมตร ประกอบด้วย ๘ สถานี และมีปริมาณผโู้ ดยสารเฉลยี่ ตอ่ วนั ประมาณ ๕๐,๐๐๐ – ๗๐,๐๐๐ คนต่อวัน
๒) โครงการระบบรถไฟเชอ่ื มสนามบินสุวรรณภูมิ ส่วนต่อขยายช่วงดอนเมือง – บางซื่อ - พญาไท
(แอร์พอร์ตเรลลิงก์ส่วนต่อขยาย) ซ่ึงเป็นโครงการท่ีอยู่ในแผนยุทธศาสตร์การให้เอกชนร่วม ลงทุนในกิจการ
ของรัฐ พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๖๒ โดยมรี ะยะทาง ๒๑.๖ กโิ ลเมตร
โครงการจดั ทาแผนสงิ่ แวดล้อมในพื้นที่เขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๕๐
สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม รายงานฉบับสุดท้าย
๓) โครงการรถไฟความเร็วสูง สายกรุงเทพ-ระยอง ซึ่ง รฟท. ได้ดาเนินการจ้างท่ีปรึกษาเพ่ือศึกษา
และวิเคราะห์โครงการให้เอกชนร่วมลงทุนในการก่อสร้าง และบริหารการจัดเดินขบวนรถไฟความเร็วสูง
ตามพระราชบัญญัตกิ ารใหเ้ อกชนรว่ มลงทุนในกจิ การของรฐั พ.ศ. ๒๕๕๖ โดยมรี ะยะทาง ๑๙๓.๕ กโิ ลเมตร
ท้ังนี้ แนวเส้นทางโครงการจะผ่านพื้นที่ ๕ จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ ฉะเชิงเทรา
ชลบุรี และระยอง ใช้แนวเส้นทางระบบขนส่งมวลชนทางรางของโครงการเดิม และมีการออกแบบใหม่เฉพาะ
บริเวณเชื่อมต่อเข้าสนามบินสุวรรณภูมิ (ขาออก) และสนามบินอู่ตะเภา (ขาเข้า) โครงการดังกล่าวมีมูลค่า
ลงทุน ๒๒๔,๕๔๔.๓๖ ลา้ นบาท แบง่ เป็นระบบขนส่งทางรถไฟเช่ือมท่าอากาศยานดอนเมอื ง สวุ รรณภูมิ และอู่
ตะเภา ๑๖๘,๗๑๘ ล้านบาท การพัฒนาพื้นที่เพ่ือสนับสนุนบริการรถไฟ ๔๕,๑๕๕.๒๗ ล้านบาท และสิทธิการ
เดินรถไฟแอร์พอร์ตลงิ ก์ ๑๐,๖๗๑.๐๙ ล้านบาท ระยะเวลาดาเนินโครงการ ๕๐ ปี คาดวา่ จะการก่อสร้างเสร็จ
ปี พ.ศ. ๒๕๖๖ – ๒๕๖๗ ปริมาณผู้โดยสาร ๑๔๗,๒๐๐ คนต่อเที่ยวต่อวัน นอกจากเป็นการต่อเชื่อมระบบ
โครงสร้างพื้นฐานในพ้ืนท่ีสาคัญเข้าด้วยกันแล้ว ภาครัฐยังคาดหวังว่า การพัฒนาโครงการรถไฟความเร็วสูง
เช่ือมสามสนามบิน จะเป็นจุดเริ่มของการพัฒนาเมืองโดยรอบสถานี นาความเจริญสู่ชุมชน เกิดการกระจาย
รายไดใ้ หป้ ระชาชนในพื้นทไ่ี ดม้ ีทีท่ ามาหากนิ
ผลการวิเคราะห์ปริมาณผู้โดยสารในปีเปิดให้บริการโครงการฯ ปี พ.ศ. ๒๕๖๖ คาดการณ์ว่าจะมี
ปริมาณ ผู้โดยสารรถไฟในเมือง ช่วงดอนเมือง – สุวรรณภูมิ จานวน ๑๐๖,๐๑๐ คนต่อเที่ยวต่อวัน และเพิ่ม
เปน็ ๒๑๑,๙๗๐ คนต่อเที่ยวต่อวัน ในปี พ.ศ. ๒๖๑๖ และสาหรับปรมิ าณผู้โดยสารรถไฟความเร็วสูง ช่วงดอน
เมือง-อู่ตะเภา ในปี พ.ศ. ๒๕๖๖ จะมีปริมาณผู้โดยสารเป็นจานวน ๔๑,๑๙๐ คนต่อเที่ยวต่อวัน และเพ่ิมเป็น
๙๕,๘๔๐ คนตอ่ เท่ยี วต่อวนั ในปี พ.ศ. ๒๖๑๖
การประมาณการผลตอบแทนทางการเงนิ ของโครงการฯ ในส่วนของรถไฟท่ีระยะเวลาโครงการ ๕๐ ปี
ซ่ึงประกอบด้วยการก่อสร้าง ๕ ปี และการให้บริการเดินรถและบารุงรักษา ๔๕ ปี มีมูลค่าปัจจุบันสุทธิ (Net
Present Value – NPV) -๑๐๗,๘๕๕.๘๓ ล้านบาท อัตราผลตอบแทนทางการเงิน (Financial IRR) ร้อยละ
๒.๑๒ ซ่ึงจะเห็นได้ว่าโครงการฯ ในส่วนของรถไฟไม่มีความคุ้มค่าทางการเงิน ท้ังน้ี เนื่องจากโครงการฯ มี
ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจที่คุ้มค่าจึงเป็นโครงการท่ีควรลงทุน เพ่ือสร้างโครงสร้างพื้นฐานของประเทศรองรับ
การเจรญิ เตบิ โตของเศรษฐกจิ และสังคมในอนาคต
- ช่วงระยะเวลา ๕๐ ปีแรก: เป็นช่วงที่มีการลงทุนโครงการฯ และการดาเนินงานโครงการฯ
ตลอดจน บารุงรักษาโครงการฯ โดยพบว่ามีมูลค่าการลงทุนของโครงการฯ ทั้งหมดจานวน ๒๒๔,๕๔๔ ล้าน
บาท หรือประมาณ ๑๘๒,๕๒๔ ล้านบาท (มูลค่าปัจจุบัน โดยคิดอัตราลดท่ีร้อยละ ๕) อย่างไรก็ตามการท่ี
ภาครัฐร่วมลงทุนกับภาคเอกชนภายใต้โครงการฯ ในช่วงระยะเวลา ๕๐ ปีแรกนี้ ด้วยประสิทธิภาพของ
ภาคเอกชนที่อาจสามารถแบ่งเบาภาระการลงทุนของภาครัฐ โดยภาครัฐสามารถนากาไรจากภาคเอกชน
บางส่วนมาชดเชยเงินลงทุนของภาครัฐ ซ่ึงจะช่วยประหยัดงบประมาณของภาครัฐภายใต้มาตรการสนับสนุน
โครงการฯ ที่ตอ้ งชาระเปน็ ตวั เงนิ ซ่ึงครอบคลมุ ทงั้ ในส่วนของเงนิ ลงทุนและเงินท่ีใชใ้ นการดาเนินงานโครงการฯ
ตลอดจนบารุงรักษาโครงการฯ ซ่ึงเป็นค่าใช้จ่ายของภาครัฐท่ีสนับสนุนให้ภาคเอกชน เป็นจานวนเงินไม่เกิน
๑๑๙,๔๒๕ ล้านบาท (มลู ค่าปจั จุบนั ) ซ่ึงถือเป็นตน้ ทนุ ของภาครัฐภายใตโ้ ครงการน้ี
โครงการจดั ทาแผนสิ่งแวดลอ้ มในพนื้ ทเ่ี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๕๑
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดทา้ ย
- ช่วงระยะเวลา ๕๐ ปีหลังจนถึง ๑๐๐ ปี ตามอายุของโครงสร้างของโครงการฯ เป็นช่วงที่ภาครัฐ
สามารถได้รับผลประโยชน์ตอบแทนจากโครงการฯ อย่างเต็มที่ เนื่องจากทรัพย์สินและกรรมสิทธิ์ทั้งหมด
กลับมาสู่ภาครัฐ โดยอย่างน้อยภาครัฐจะได้รับผลประโยชน์ทางการเงินและเศรษฐกิจจากโครงการฯ ตลอด
๑๐๐ ปี รวมทงั้ สิน้ ประมาณ ๖๕๒,๐๐๐ ล้านบาท (มูลค่าปัจจุบัน) โดยประกอบด้วย
๑) ภาษีที่รัฐคาดว่าจะเก็บได้เพิ่มประมาณ ๓๐,๙๐๐ ล้านบาท (อัตราคิดลดทางด้านเศรษฐกิจร้อยละ
๓)
๒) มูลค่าเพิ่มจากการพัฒนาเศรษฐกิจตลอดแนวเส้นทางโครงการ และการพัฒนาเมืองการบินภาค
ตะวันออก รวมประมาณ ๓๖๔,๖๐๐ ลา้ นบาท (อัตราคิดลดทางด้านเศรษฐกจิ ร้อยละ ๓)
๓) มูลค่าการประหยัดเวลาการเดินทางของประชาชน ประหยัดค่าใช้จ่ายเชื้อเพลิงและยานพาหนะของ
ประชาชน ลดการเกิดอุบัตเิ หตุบนท้องถนน ลดมลภาวะทางส่ิงแวดล้อมประมาณ ๑๒๘,๖๐๐ ล้านบาท (อตั รา
คดิ ลดทางด้านเศรษฐกจิ รอ้ ยละ ๓)
๔) รายได้ท่ีเกิดจากโครงการฯ ทางตรง ประมาณ ๑๒๗,๙๐๐ ล้านบาท (อัตราคิดลดของเอกชนร้อยละ
๖.๐๖ ในปีท่ี ๑ - ๕๐ และอัตราคดิ ลดตามเงนิ เฟ้อร้อยละ ๒.๕ ในปีท่ี ๕๑ - ๑๐๐)
ตารางที่ ๓ – ๑๕ แสดงรูปแบบงานและผลตอบแทนโครงการรถไ ความเรวสูงเชื่อมสามสนามบนิ
รปู แบบงาน เงนิ ลงทนุ (ลา้ นบาท)
ระบบขนสง่ ทางรถไฟเช่ือมทา่ อากาศยานดอนเมือง-สุวรรณภมู ิ-อตู่ ะเภา
การพัฒนาพ้ืนทีเ่ พือ่ สนับสนนุ บรกิ ารรถไฟ ๑๖๘,๗๑๘
สิทธกิ ารเดินรถไฟแอร์พอรต์ ลิงค์
รวมทงั้ หมด ๔๕,๑๕๕
ความสาเรจของโครงการตามเป้าหมายในระยะเวลา ๑๐๐ ปี ๑๐,๖๗๑
ผลตอบแทนทางเศรษฐกจิ จากโครงการรถไฟฟ้าเชอ่ื ม 3 สนามบิน (ล้านบาท)
กรณีผลกระทบจากวิกฤตทิ างเศรษฐกิจ เช่น โควิด-19 (ลา้ นบาท)* ๒๒๔,๕๔๔
หมายเหต:ุ *อ้างอิงจากวิกฤตติ ม้ ยาก้งุ เศรษฐกจิ ถดถอย ๗.๖% ๑๐๐% ๗๕% ๕๐%
ท่มี า: ๑) ธาริศร์ อสิ สระยง่ั ยืนและณฐั วี โฆษะฐิ, ๒๕๖๔ ๒) จากการคานวณ
๖๕๒,๐๐๐ ๔๘๙,๐๐๐ ๓๒๖,๐๐๐
๖๐๒,๔๔๘ ๔๕๑,๘๓๖ ๓๐๑,๒๒๔
๒) โครงการพัฒนาท่าเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุดระยะที่ ๓ เป็นหนึ่งในโครงการพัฒนาโครงสร้าง
พ้ืนฐานในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกเพ่ือรองรับการลงทุนของภาครัฐ โดยมีเป้าหมายในการพัฒนา
ท่าเทียบเรอื สาหรับรองรับการขนถ่ายกา๊ ซธรรมชาติและสินคา้ เหลวในกลุ่มอุตสาหกรรมปโิ ตรเคมี โดยการนิคม
อตุ สาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) ได้ดาเนนิ การศกึ ษาโครงการพัฒนาท่าเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด ระยะ
ท่ี ๓ ซ่ึงเป็นพ้ืนที่ตามแผนพัฒนาระยะกลาง เพื่อรองรับความต้องการของลูกค้าและเพ่ือให้สอดคล้องกับ
นโยบายและยุทธศาสตร์ของการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ถึงปี พ.ศ. ๒๕๕๙
ทก่ี าหนดใหโ้ ครงการพฒั นาทา่ เรืออุตสาหกรรมมาบตาพดุ ระยะที่ ๓ เป็นโครงการที่ตอ้ งดาเนินการและถือเป็น
สว่ นหนึ่งในการสนบั สนนุ โครงการส่งเสริมการขนส่งแบบ Green Logistic
ปี พ.ศ. ๒๕๕๗ การนคิ มอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยได้ดาเนินการศึกษาความเหมาะสมทางเศรษฐกิจ
วิศวกรรม และออกแบบเบื้องต้น (Conceptual Design) สาหรับโครงสร้างพ้ืนฐานหลักของท่าเรือท่ีสาคัญ
โครงการจัดทาแผนสิ่งแวดลอ้ มในพืน้ ท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๕๒
สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม รายงานฉบบั สุดทา้ ย
รวมถึงส่ิงอานวยความสะดวกที่จาเป็นอื่น ๆ ตลอดจนจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบทางด้าน
ส่ิงแวดล้อมและสุขภาพ (รายงาน EHIA) ของโครงการฯ ซ่ึงต่อมาได้รับการพิจารณาเห็นชอบรายงานจาก
คณะกรรมการส่งิ แวดลอ้ มแห่งชาติแลว้ เมอื่ วันที่ ๒๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๒
การดาเนินการพฒั นาท่าเรอื อุตสาหกรรมมาบตาพดุ ระยะท่ี ๓ ออกเปน็ ๒ ช่วง ดงั นี้
ช่วงท่ี ๑ : การคัดเลือกเอกชนร่วมลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน โดยเอกชนท่ีร่วมลงทุนน้ันจะได้สิทธิในการ
พัฒนาพื้นท่ีท่าเทียบเรือความยาวหน้าท่า ๑,๔๑๕ เมตร และพ้ืนท่ีหลังท่าเทียบเรือประมาณ ๒๐๐ ไร่ เป็น
ระยะเวลา ๓๐ ปี โดยเมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๖๒ ดาเนินการโดยการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
ไดล้ งนามในสญั ญาร่วมลงทนุ กับบรษิ ัท กัลฟ์ เอม็ ทพี ี แอลเอ็นจี เทอร์มนิ อล จากัด (GMTP)
ชว่ งท่ี ๒ : การคัดเลือกเอกชนร่วมลงทุนบนพ้ืนที่ที่ได้จากการถมทะเลในชว่ งท่ี ๑ ประกอบด้วยพื้นที่ ๒
แปลง คือพ้ืนที่พัฒนาท่าเทียบเรือความยาวหน้าท่า ๘๑๔ เมตร พ้ืนท่ีหลังท่าเทียบเรือประมาณ ๒๐๐ ไร่ และ
พื้นท่สี าหรับคลังสินค้าหรอื ธรุ กิจท่ีเกยี่ วเนอื่ งประมาณ ๑๕๐ ไร่ เปน็ ระยะเวลา ๓๐ ปี
โครงการพัฒนาท่าเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด ระยะท่ี ๓ มเี น้อื ท่ีประมาณ ๑,๐๐๐ ไร่ แบ่งเป็นพื้นท่ีถม
ทะเลหลังท่า เพ่ือใช้งานประมาณ ๕๕๐ ไร่ และพื้นท่ีบ่อเก็บกักตะกอนดินเลนระหวา่ งกอ่ สรา้ งประมาณ ๔๕๐
ไร่ ความยาวหนา้ ทา่ รวมกันประมาณ ๒,๒๐๐ เมตร ประกอบดว้ ย
๑) งานส่วนพ้นื ที่ถมทะเลและสาธารณูปโภคพื้นฐาน (Infrastructure) จานวนเงินลงทนุ ๑๒,๙๐๐ ลา้ น
บาทประกอบด้วยงานต่าง ๆ ดังต่อไปน้ี (๑) งานขุดลอกร่องน้าเดินเรือ (Navigation Channel) (๒) แอ่งกลับ
เรือ (Maneuvering Basin) (๓ ) งาน ถมท ะเล (Reclamation) (๔ ) งาน ก่อสร้างเขื่อน หิ น กัน ท ราย
(Revetment) (๕) งานก่อสร้างเขื่อนกันคล่ืน (Breakwater) (๖) ท่าเทียบเรือบริการ (๗) งานระบบ
สาธารณปู โภค และงานอปุ กรณ์ควบคมุ การเดินเรือ
๒) งานส่วนการก่อสร้างท่าเทียบเรือ บนพื้นที่ถมทะเล (Superstructure) สาหรับการพัฒนาท่าเทียบ
เรือเพ่อื รองรับการขนถ่ายสินค้า จาแนกไดด้ งั นี้
(๑) ท่าเทียบเรือสินค้าเหลว มีพ้ืนท่ี ๒๐๐ ไร่ ความยาวหน้าท่า ๘๑๔ เมตร มีท่าเทียบเรือ
จานวน ๒ ท่า มลู ค่าเงินลงทุนประมาณ ๔,๓๐๐ ลา้ นบาท
(๒) ท่าเทียบเรือก๊าซ มีพ้ืนท่ี ๒๐๐ ไร่ ความยาวหน้าท่า ๑,๔๑๕ เมตร มีท่าเทียบเรือ
จานวน ๓ ท่า มลู คา่ เงนิ ลงทุนประมาณ ๓๕,๐๐๐ ลา้ นบาท
(๓) คลงั สนิ ค้าหรอื ธุรกิจทีเ่ ก่ียวเน่ือง พนื้ ที่ ๑๕๐ ไร่ มูลค่าเงนิ ลงทุนประมาณ ๓,๒๐๐ ล้านบาท ถึง
๒๘,๐๐๐ ล้านบาท
โดยการพัฒนาโครงการพัฒนาทา่ เรืออตุ สาหกรรมมาบตาพุด ระยะที่ ๓ มีส่วนสาคัญต่อการดงึ ดดู การ
ลงทุนท้ังในและต่างประเทศ โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมเป้าหมายทั้ง First S-Curve และ New S-Curve ซ่ึง
จะเป็นผลให้เกิดการพัฒนาในมิติต่าง ๆ ท้ังมิติทางเศรษฐกิจและมิติทางสังคม อันจะก่อให้เกิดการพัฒนา
ภายในพื้นที่อย่างเป็นรูปธรรม เกิดการจ้างงาน และสร้างรายได้ให้กับคนในท้องถ่ิน รวมถึงเป็นการยกระดับ
คุณภาพชวี ิตทีด่ ขี ึน้ สง่ ผลตอ่ ภาพรวมการเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกิจได้อย่างยงั่ ยนื
โครงการจดั ทาแผนสงิ่ แวดล้อมในพ้ืนท่เี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๕๓
สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดท้าย
ตารางที่ ๓ – ๑๖ แสดงรปู แบบงานและผลตอบแทนโครงการพฒั นาทา่ เรอื อุตสาหกรรมมาบตาพดุ
ระยะที่ ๓
รปู แบบงาน เงนิ ลงทุน(ลา้ นบาท)
๑) งานส่วนพนื้ ทีถ่ มทะเลและสาธารณูปโภคพื้นฐาน ๑๒,๙๐๐
๒) งานสว่ นการกอ่ สร้างท่าเทยี บเรือ บนพนื้ ทีถ่ มทะเล ๔๒,๕๐๐
๔,๓๐๐
๒.๑) ท่าเทยี บเรือสินคา้ เหลว ๓๕,๐๐๐
๒.๒) ทา่ เทียบเรอื ก๊าซ ๓,๒๐๐
๒.๓) คลงั สนิ คา้ หรอื ธุรกิจที่เกี่ยวเนื่อง ๕๕,๔๐๐
รวมท้งั หมด
๑๐๐% ๗๕% ๕๐%
ความสาเรจของโครงการพฒั นาท่าเรืออุตสาหกรรมมาบตาพดุ ระยะที่ ๓ ตามเปา้ หมาย ๘๕,๓๐๐ ๖๓,๙๗๕ ๔๒,๖๕๐
ผลตอบแทนทางเศรษฐกจิ จากโครงการพฒั นาท่าเรอื อุตสาหกรรมมาบตาพดุ ระยะที่ ๓ (ลา้ นบาท) ๗๘,๘๑๗ ๕๙,๑๑๓ ๓๙,๔๐๙
กรณผี ลกระทบจากวกิ ฤติทางเศรษฐกจิ เชน่ โควดิ -19 (ล้านบาท)*
หมายเหตุ: *อ้างอิงจากวิกฤตติ ม้ ยากงุ้ เศรษฐกจิ ถดถอย ๗.๖ %
ทม่ี า: ๑) Thailand Development Report,๒๕๖๒
๒) จากการคานวณ
๓.๓.๔ การวเิ คราะหผ์ ลกระทบโครงการพัฒนาในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกต่อคุณภาพ
สง่ิ แวดล้อม
โครงการโครงสร้างพื้นฐานในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกที่ได้รับการอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี
เพ่ือรองรับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในเขตพื้นที่ดังกล่าว ประกอบด้วยหลายโครงการ โดยเม่ือโครงการ
เหล่านี้ทาการสร้างแล้วเสรจ็ จะทาให้เกิดกระแสหมุนเวียนทางธุรกิจและสร้างความเจริญและการพัฒนาที่มีต่อ
พื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก อย่างไรก็ตาม โครงการโครงสร้างพ้ืนฐานท่ีเป็นโครงการขนาดใหญ่ ย่อม
ส่งผลกระทบต่อคุณภาพทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม จึงได้มีกระบวนการดาเนินงานได้มีการจัดทา
รายงานการประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์ (Strategic Environmental Assessment: SEA) การ
ประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (Environmental Impact Assessment: EIA) เพ่ือป้องกัน คุ้มครอง และ
รักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้ ดังเช่น การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ได้เสนอรายงาน
การประเมินผลกระทบส่ิงแวดล้อมสาหรับโครงการ กิจการ หรือการดาเนินการท่ีอาจมีผลกระทบต่อ
ทรพั ยากรธรรมชาติ คณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ ม สุขภาพ อนามัย คุณภาพชีวิต ของประชาชนในชมุ ชนอย่างรุนแรง
ในการศึกษาได้นาโครงการพัฒนาท่าเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด ระยะท่ี ๓ โครงการก่อสร้างท่า
เทียบเรือแหลมฉบัง ระยะท่ี ๓ การประเมินส่ิงแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์โครงการพัฒนาพ้ืนท่ีวังจันทร์
วลั เลย์ และการประเมนิ ผลกระทบสิ่งแวดล้อมเชงิ ยทุ ธศาสตร์ โครงการพัฒนาน้าตน้ ทนุ ลุ่มนา้ ปราจนี บรุ ี –
บางปะกง และโครงการพัฒนาเมืองใหม่ตามโครงการรถไ ความเรวสูงเช่ือม ๓ สนามบิน มาวิเคราะห์ถึง
ผลของการพฒั นาโครงการท่ีมีตอ่ คณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ มในพน้ื ท่ีมีรายละเอยี ดดังน้ี
๓.๓.๔.๑ โครงการพฒั นาทา่ เรอื อตุ สาหกรรมมาบตาพดุ ระยะท่ี ๓
โครงการพัฒนาท่าเรืออตุ สาหกรรมมาบตาพุด ระยะที่ ๓ ของการนคิ มอุตสาหกรรมแหง่ ประเทศ
ไทย ให้สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) และ สผ. ได้นาเสนอ
โครงการจัดทาแผนส่ิงแวดล้อมในพื้นทเี่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๕๔
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ท้าย
คณะกรรมการผู้ชานาญการพิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมโครงการโครงสร้างพื้นฐาน
ทางน้า พิจารณาและให้ปรับปรุงแกไ้ ข ๑๓ ประเด็นหลัก ได้แก่ ๑) ด้านรายละเอียดโครงการ ๒) ด้านคุณภาพ
อากาศและเสียง ๓) ด้านทรัพยากรดิน ๔) ด้านการจัดการน้า ๕) ด้านสมุทรศาสตร์และวิศวกรรมชายฝั่ง ๖)
ด้านนิเวศวิทยาทางทะเล และคุณภาพน้าทะเลชายฝ่ัง ๗) ด้านการประมงและเพาะเล้ียงสัตว์น้า ๘) ด้านอาชี
วอนามัยและความปลอดภัย ๙) ด้านการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ ๑๐) ด้านการคมนาคมขนส่ง ๑๑)
ด้านเศรษฐกิจ - สังคม และการมีส่วนร่วมของประชาชน ๑๒) มาตรการป้องกันแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม
และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบส่ิงแวดล้อม และ๑๓) ประเด็นอื่น ๆ รวม ๔ ครั้ง โดยมีประเด็น
ผลกระทบท่ีสาคัญต่อทรัพยากรธรรมชาติ คือ ผลกระทบด้านสมุทรศาสตร์และวิศวกรรมชายฝั่ง และด้าน
นิเวศวิทยาทางทะเล ในขณะท่ีการพัฒนาสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจของประเทศ แต่ชุมชนประมงทอ้ งถิ่นมพี ื้นท่ี
ทามาหากินลดลง ภายใต้กระแสการพัฒนาที่เป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม การมีส่วนร่วมของภาคประชาชนเป็น
สิ่งจ าเป็ น แล ะควรให้ ความสาคัญ ต่ อการมีส่วน ร่วมอย่างน้ อย ควรอยู่ ใน ระดั บ การเป็ น หุ้ น ส่วน ใน การร่วม
พิจารณากาหนดทศิ ทางการพัฒนาในพืน้ ท่ี
๓.๓.๔.๒ โครงการก่อสร้างท่าเทียบเรอื แหลมฉบัง ระยะที่ ๓
โครงการก่อสร้างท่าเทียบเรือแหลมฉบังข้ันที่ ๓ ตั้งอยู่ในอาเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี โดยพ้ืนที่
ถมทะเลเพ่ือกอ่ สร้างโครงการกอ่ สร้างท่าเทยี บเรือแหลมฉบงั ข้นั ท่ี ๓ มีพื้นทป่ี ระมาณ ๓,๓๗๕ ไร่ เนื่องจากการ
ท่าเรือแห่งประเทศไทย (กทท.) ได้พัฒนาท่าเรือแหลมฉบัง ข้ันท่ี ๑ และขั้นที่ ๒ แล้วเสร็จ ซึ่ง กทท.ได้
พจิ ารณาขีดความสามารถของทา่ เรือแหลมฉบังที่มีอยู่เปรยี บเทียบกับการพยากรณ์ปริมาณตู้สินค้าท่ีจะเพิ่มข้ึน
ในอนาคตแล้ว กทท. จึงได้วางแผนพัฒนาโครงการก่อสรา้ งท่าเรือแหลมฉบงั เพ่ิมข้ึนในบรเิ วณใกลเ้ คยี งกับข้ันที่
๑ และขั้นท่ี ๒ มีช่ือโครงการก่อสร้างท่าเรือแหลมฉบังข้ันที่ ๓ โดยจะทาการก่อสร้างให้มีโครงสร้างพ้ืนฐาน
ท่าเรือ และสิ่งอานวยความสะดวกอ่ืน ๆ ตลอดจนโครงข่ายและระบบการขนส่งต่อเนื่องทจี่ าเป็นต่าง ๆ ในเขต
พ้ืนที่ท่าเรือแหลมฉบังท่ีจะเช่ือมต่อกับภายนอกให้เพียงพอ และมีความพร้อมที่จะรองรับกับการขยายตัวของ
ปริมาณเรอื และสินค้าประเภทตา่ ง ๆ ได้ทนั ทว่ งที โดยไม่ให้ประสบปญั หาดา้ นความแออัด และกอ่ ใหเ้ กิดความ
เสียหายต่อเศรษฐกิจโดยส่วนรวม และส่งผลกระทบกับขีดความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ
องคป์ ระกอบของทา่ เรือ จะแบ่งเปน็ ๒ พนื้ ที่ คือ
พนื้ ที่ท่าเรือและพื้นท่ีหลังท่า โดยพื้นที่ท่าเทยี บเรือประกอบด้วยท่าเรือ ๔ ประเภท ได้แก่ ท่าเรือ
ขนส่งตู้สินค้า (E1 E2 F1 และ F2) ท่าเรือขนส่งรถยนต์ (Ro-Ro) (E0) ท่าเรือชายฝ่ัง และท่าเรือบริการ
สาหรับพ้ืนท่ีหลังท่า (ท่ีต้องถมทะเล) เป็นพ้ืนท่ีที่อยู่ติดกับท่าเรือและอยู่หลังท่าเรือ จะใช้ประโยชน์ตาม
วัตถุประสงค์ต่าง ๆ ได้แก่ เป็นพื้นท่ีกองต้สู ินค้าอยู่ตดิ กับทา่ เรือขนส่งตู้สินค้าและท่าเรอื ชายฝงั่ พนื้ ทจี่ อดรถอยู่
ติดกับท่าเรือขนส่งรถยนต์ พื้นที่ตั้งอาคารสานักงาน พื้นที่สาหรับระบบสาธารณูปโภคต่าง ๆ เช่น ถนน ทาง
รถไฟ เป็นต้น
พน้ื ทีท่ ่ีจะพัฒนาเปน็ โครงการทา่ เรือแหลมฉบัง ข้นั ที่ ๔ ในอนาคต
โครงการก่อสร้างท่าเทียบเรือแหลมฉบังข้ันที่ ๓ ของ การท่าเรือแห่งประเทศไทยโครงการ
ก่อสร้างท่าเทียบเรือแหลมฉบังขั้นที่ ๓ ของ การท่าเรือแห่งประเทศไทย เป็นโครงการท่ีเข้าข่ายประเภท
โครงการที่ต้องจัดทารายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมสาหรับโครงการ กิจการ หรือการดาเนินการที่
โครงการจัดทาแผนสงิ่ แวดล้อมในพ้ืนทีเ่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๕๕
สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม รายงานฉบับสดุ ท้าย
อาจมีผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติ คุณภาพสิ่งแวดล้อม สุขภาพ อนามัย คุณภาพชีวิต ของประชาชนใน
ชุมชนอย่างรุนแรง ตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เร่ือง กาหนดโครงการ กิจการ
หรือการดาเนินการที่อาจมีผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติ คุณภาพส่ิงแวดล้อม สุขภาพ อนามัย คุณภาพ
ชีวิต ของประชาชนในชุมชนอย่างรุนแรง ซ่ึงต้องจัดทารายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม และ
หลกั เกณฑ์ วิธกี าร และเงอ่ื นไขในการจัดทารายงานการประเมนิ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม พ.ศ. ๒๕๖๒ กาหนดให้
“ประเภทโครงการ กิจการ หรอื การดาเนินการถมท่ีดนิ ในทะเล หรอื ทะเลสาบ นอกแนวเขตชายฝ่งั เดมิ ยกเว้น
การถมทะเลที่เป็นการฟนื้ ฟูสภาพชายหาด ท่ีมขี นาดตัง้ แต่ ๓๐๐ ไร่ ขึ้นไป” และจัดให้มกี ารรบั ฟงั ความคิดเห็น
ของผู้มสี ่วนได้เสีย และประชาชนและชมุ ชนทีเ่ กย่ี วข้อง
คณะกรรมการผู้ชานาญการฯ ได้พิจารณา รวม ๔ คร้ัง โดยประเด็นสาคัญที่กระทบต่อ
ทรัพยากรธรรมชาติ คือการเปล่ียนแปลงสัณฐานวิทยาชายฝั่งและสมุทรศาสตร์ ซ่ึงรายงานการประเมินผล
กระทบสิง่ แวดล้อมสรปุ ถงึ ผลกระทบตอ่ สภาพสัณฐานวทิ ยาและชายฝัง่
มีความรุ่นแรงอยู่ในระดับปานกลาง มีผลกระทบหรือก่อให้เกิดการเปล่ียนแปลงสภาพทาง
สณั ฐานวิทยาและชายฝ่ังเล็กน้อย และเป็นผลกระทบทเ่ี กดิ ขึน้ ในบริเวณใกล้เคยี งพื้นทีโ่ ครงการ
ขนาดของผลกระทบ: อยู่ในระดับต่า เนื่องจากเกิดการเปล่ียนแปลงชายหาดเพียงเล็กน้อย และ
การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวเป็นเพียงการลดอัตราการสะสมตัวของตะกอนให้น้อยลงเท่านั้น แต่ชายหาดยังคงมี
การสะสมตัวของตะกอน
ขอบเขตของผลกระทบ: อยู่ในระดับปานกลาง ออกนอกเขตพื้นท่ีโครงการ แต่ยังคงอยู่ภายใน
วงจากดั คือ บริเวณดา้ นใต้ของปากคลองบางละมุงเท่าน้ัน
ระยะเวลาของผลกระทบ: เกดิ ขึน้ ในระยะยาว ตลอดอายโุ ครงการ
การพัฒนาโครงการขนาดใหญ่ทม่ี ีผลกระทบตอ่ ระบบนิเวศที่มคี วามรุ่นแรงระดบั ปานกลางตลอด
อายุโครงการ เป็นสิ่งท่ีต้องการกระบวนการมีส่วนร่วมจากภาคประชาสังคมในพื้นที่อย่างน้อยควรอยู่ในระดับ
การเป็นหนุ้ ส่วนในการร่วมพิจารณากาหนดทศิ ทางการพัฒนาในพื้นท่ี ซ่ึงแผนสิ่งแวดล้อมควรพิจารณาผลกั ดัน
การมสี ่วนร่วมใหอ้ ยใู่ นระดับการเป็นหุน่ ส่วน
๓.๓.๔.๓ การศึกษาและประเมนิ สิ่งแวดล้อมระดับยทุ ธศาสตรโ์ ครงการพัฒนาพน้ื ท่ีวงั จันทร์
วลั เลย์
การพัฒนาพื้นท่ีดังกล่าวเป็นไปเพ่ือให้เกิดเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก
(EECi) ที่ดาเนินงานหน่วยงานเอกชนร่วมมือกับหน่วยงานรัฐด้านการวิจัยวิทยาศาสตร์ บนที่ดินกรรมสิทธิ์
เอกชนขนาดพืน้ ที่ ๓,๐๐๐ ไร่ ณ ตาบลป่ายุบ อาเภอวังจันทร์ จงั หวัดระยอง โดยมุ่งเป้าไปท่ีการเป็นศูนย์กลาง
การวิจัยและนวัตกรรม ๓ ด้าน คือ (๑) หุ่นยนต์และระบบอัจฉริยะ (ARIPOLIS) (๒) ชีววิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยชี ีวภาพ (BIOPOLIS) และ (๓) เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (SPACE INNOPOLIS) โดยได้มี
การออกแบบใหม้ ีโครงสรา้ งพนื้ ฐานดา้ นการวิจัยและการพัฒนา เช่น ศนู ย์พัฒนาวิสาหกิจเริ่มต้น ศูนย์วเิ คราะห์
ทดสอบและโครงสร้างพื้นฐานคุณภาพของประเทศ โครงสร้างพื้นฐานเพ่ือการขยายผลงานวิจัยสู่การใช้
ประโยชน์ เช่น โรงงานต้นแบบ (Pilot Plant) และโรงงานสาธิต (Demonstration Plant) รวมถึงส่ิงอานวย
โครงการจัดทาแผนส่งิ แวดล้อมในพนื้ ท่เี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๕๖
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม รายงานฉบบั สุดทา้ ย
ความสะดวกต่อนวัตกรและผู้ที่เก่ียวข้อง ได้แก่ ท่ีพักอาศัย สถานที่พบปะสังสรรค์ สถานท่ีออกกาลังกาย พ้ืนที่
สเี ขียว โรงแรม โรงเรียนนานาชาตหิ รอื โรงเรียนสองภาษา เป็นตน้
นิยามการศึกษาและประเมินส่ิงแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์เบื้องต้น (Preliminary SEA)
โครงการพัฒนาพ้ืนท่ีวังจันทร์วัวเลย์ได้จัดให้มีการศึกษาและประเมินส่ิงแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์เบ้ืองต้น
(Preliminary SEA) ซ่ึงเป็นการประเมินผลกระทบท้ังทางบวกและทางลบจากการพัฒนาโครงการ ในมิติด้าน
ส่ิงแวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคม โดยมีกระบวนการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อกาหนดทิศทางการ
พัฒนาและเปน็ แนวทางในการจัดทารายงานผลกระทบส่ิงแวดล้อมของโครงการที่เกยี่ วข้อง (บริษัทยูไนเต็ด แอ
นาลิสต์ เอนจิเนียริ่ง คอนซัลแต้นท์ จากัด., มปป.) โดยเนื้อหาต่อไปจะเป็นการแสดงถึงการทบทวนเนื้อหา
บางสว่ นที่เก่ยี วขอ้ งกับมิตดิ า้ นสิ่งแวดล้อมของรายการศึกษาดังกล่าว
ปจจัยด้านส่ิงแวดล้อมที่ถูกคานึงถึง โดยในมิติด้านส่ิงแวดล้อมนั้นได้มีการศึกษาครอบคลุม
ประเด็นด้าน คุณภาพอากาศ เสียง คุณภาพน้าผิวดินและนิเวศวิทยาทางน้า คุณภาพน้าใต้ดินและน้าบาดาล
นเิ วศวิทยาบนบก การใช้ประโยชน์ท่ีดนิ การระบาน้าและการป้องกันน้าท่วม การจัดการมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล
เป็นต้น โดยปัจจัยด้านคุณภาพอากาศ คุณภาพน้าใต้ดินและน้าบาดาล การระบายน้าและการป้องกันน้าท่วม
จะถูกใช้ในการประเมินศักยภาพเชิงพ้ืนท่ี ในขณะท่ีปัจจัยด้าน การใช้ประโยชน์ที่ดิน คุณภาพน้าผิวดินและ
นิเวศวิทยาทางน้า การจัดการมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล และคุณภาพอากาศ จะถูกใช้ในการประเมินทางเลือก
(ซึ่งเปน็ ผลจากการคัดกรองหาเกณฑ์การประเมนิ ที่สาคญั โดยผู้เชย่ี วชาญ)
การวิเคราะห์ศักยภาพเชิงพื้นที่ในมิติส่ิงแวดล้อม ดังท่ีได้กล่าวในตอนน้ัน การศึกษาได้มีการ
วเิ คราะหศ์ ักยภาพเชงิ พื้นที่ โดยเน้นไปท่ี ๓ ปจั จัยหลักดงั น้ี
(๑) ศักยภาพการรองรับมลพิษทางอากาศ เนื่องจากท่ีตั้งของโครงการอยู่ติดกับภูเขา การ
ประเมินศักยภาพของพ้ืนที่ได้ระบุถึงข้อจากัดของศักยภาพของการรองรับมลสารเมื่อเทียบกับสภาพพื้นท่ีเปิด
โล่ง อย่างไรก็ดีเนื้อหาของการศึกษายังได้แสดงถึงการทดสอบค่าอัตราการระบายมลสาร (Emission loading)
ผ่านแบบจาลองคณิตศาสตร์ โดยคานึงถึงจานวนปล่องสูงสุดที่คาดการณ์ว่าจะเกิดขึ้นในโครงการ แล้วมีการ
สรุปวา่ พ้ืนท่มี ศี กั ยภาพในการรองรบั การระบายมลสารได้
(๒) ศักยภาพของคุณภาพน้าใต้ดินและน้าบาดาล การศึกษาได้มีการจัดและวิเคราะห์ข้อมูล
คุณภาพน้าใต้ดินและน้าบาดาลอย่างละเอียด และสรุปได้ว่าคุณภาพน้าใต้ดินและน้าบาดาลในพ้ืนที่นั้นมีสาร
ฟลูออไรด์ แมงกานีสและเหล็กมาก ประกอบกับปริมาณน้าใต้ดินและน้าบาดาลมไี ม่มาก และสรุปว่าไม่มีความ
เหมาะสมในการนามาใช้งานในโครงการ
(๓) ศักยภาพการรองรับการระบายน้าของพ้ืนท่ี เนื่องพ้นื ที่โครงการตั้งอยใู่ นแนวร่องน้าประกอบ
กับการออกแบบโครงการมีการเปล่ียนแปลงสิ่งปกคลุมดินให้เป็นส่ิงปลูกสร้างร้อยละ ๕๐ ของพ้ืนท่ีจึงอาจ
ส่งผลกระทบต่อการระบายน้าในพื้นท่ี ดังน้ันจึงมีการเสนอการจัดทาบ่อเก็บน้าเพ่ือหน่วงน้าเพื่อไม่ให้เกิดการ
เปลีย่ นแปลงของปรมิ าณนา้ ทา่ จากสภาพปจั จบุ ัน
มติ ทิ างส่ิงแวดล้อมทถี่ กู ใชใ้ นการประเมินทางเลือก การวเิ คราะห์ประเมนิ ทางเลอื กของการ
พัฒนาได้อาศยั ๔ ปจั จัยทางสิง่ แวดลอ้ มใชเ้ ปน็ เกณฑใ์ นการให้ค่าคะแนนเปรียบเทยี บทางเลอื กของการพฒั นา
โดยปัจจัยทางสิ่งแวดล้อมทถ่ี ูกใชเ้ ปน็ เกณฑ์ ได้แก่
โครงการจดั ทาแผนส่ิงแวดลอ้ มในพ้นื ทีเ่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๕๗
สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดทา้ ย
(๑) ปัจจัยด้านการใช้ประโยชน์ที่ดิน ชวี้ ัดโดยการสูญเสียพื้นที่ป่าหรอื พื้นที่เกษตรจากการพัฒนา
โครงการพฒั นาพน้ื ทว่ี ังจันทรว์ ัลเลย์
(๒) ปัจจัยด้านคุณภาพน้าผิวดินและนิเวศวิทยาทางน้า ชี้วัดโดยลักษณะน้าเสียและการจัดการ
ของโครงการพฒั นาพ้นื ที่วงั จนั ทร์วลั เลย์
(๓) ปัจจัยการกาจัดมูลฝอยและส่ิงปฏิกูลท้ังขยะมูลฝอยในชุมชนและขยะมลู ฝอยจากการวจิ ัย ชี้
วดั โดยปรมิ าณและการจัดการของเสยี จากกจิ กรรมในโครงการพฒั นาพน้ื ทวี่ ังจนั ทรว์ ลั เลย์
(๔) ปัจจยั ด้านคณุ ภาพอากาศ ชวี ัดโดยจานวนแหล่งกาเนิดมลพษิ (จานวนปล่อง)
ปัจจัยท้ัง ๔ ปัจจัยดังกล่าวถูกนามาใช้ในการประเมินทางเลือกของการพัฒนา ๓ ทางเลอื ก ซึ่งท้ัง
๓ ทางเลือกนั้นแตกต่างกันในแง่ของลาดับการก่อสร้าง (แต่ไม่ได้มคี วามแตกต่างกันในแง่ขององค์ประกอบและ
การออกแบบในภาพรวม) โดยทางเลอื ก ๓ ทางได้แก่ (๑) ทางเลือกท่ี ๑ เป็นทางเลือกของการดาเนินโครงการ
ระยะท่ี๑* ก่อน (๒) ทางเลือกท่ี ๒ คือการดาเนินโครงการระยะท่ี ๑ และระยะท่ี ๒** พร้อมกัน และ (๓)
ทางเลือกที่ ๓ คือ การดาเนินโครงการระยะท่ี ๑ ระยะที่ ๒ และพื้นท่ีอานวยความสะดวก*** พร้อมกัน ซึ่งผล
การประเมินโดยคณะผู้เชี่ยวชาญฯ พบว่า ทางเลือกท่ี ๑ ได้คะแนนในมิติด้านส่ิงแวดล้อมมากสุดหรือกล่าวอีก
นัยหน่ึงวา่ มผี ลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมน้อยที่สดุ
หมายเหตุ:
* โครงการระยะท่ี๑ ประกอบด้วย พื้นท่ีศูนย์วิจัยและนวัตกรรม พ้ืนที่ควบคุมสาหรับศูนย์ข้อมูล ใช้พ้ืนท่ีบริเวณศูนย์
สาธารณูปโภคสว่ นกลาง และพ้ืนทส่ี เี ขียว พนื้ ท่อี า่ งเกบ็ นา้ และลาราง พน้ื ท่ีสว่ นกลางสาหรบั สาธารณูปโภค
** โครงการระยะที่ ๒ มีขนาดพื้นท่ีประมาณ ๑,๒๐๐ ไร่ เน้นที่การก่อสร้างเฉพาะสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐาน ได้แก่
งานภูมิสถาปัตยกรรม ถนน ลู่วิ่ง ทางจักรยาน ระบบสายส่งไฟฟ้าและระบบไฟฟ้าแสงสว่าง ระบบสื่อสาร และระบบรักษา
ความปลอดภัย
*** พน้ื ท่อี านวยความสะดวก ประกอบด้วย พื้นท่ีพาณิชยกรรม พน้ื ทีพ่ กั อาศยั พนื้ ทีน่ ันทนาการ พืน้ ท่ีโรงเรียน
การคาดการณ์ผลกระทบและแนวทางการบรรเทา แม้ว่าจะมีการประเมินทางเลือกที่ให้ผล
กระทบที่น้อยที่สุด แต่ยังได้มีการคาดการณ์ถึงผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมจากการพัฒนาโครงการ ๔ ด้าน
ไดแ้ ก่
- ทรัพยากรและคุณภาพน้า ได้แก่ ประเด็นด้านความพอเพียงของแหล่งน้า และประเด็น
ดา้ นคณุ ภาพนา้ จากนา้ ทิง้ หรือกิจกรรมของโครงการ
- คุณภาพอากาศ ได้แก่ ผลกระทบจากฝุ่นละองและมลพิษทางอากาศจากกิจกรรมของ
โครงการ
- การใช้ประโยชน์ที่ดิน ทั้งในด้านของการลดลงของพื้นที่ป่าหรือพ้ืนท่ีการเกษตรจากการ
พัฒนาโครงการ และในด้านของความสอดคล้องกับกฎระเบียบด้านการใช้ประโยชน์
ที่ดิน (ซึง่ จะกล่าวถึงรายละเอยี ดในหัวขอ้ ถัดไป)
- ขยะมูลฝอย ในแงข่ องการจัดการขยะและของเสยี จากกจิ กรรมในโครงการ
โครงการจัดทาแผนสง่ิ แวดลอ้ มในพืน้ ทเี่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๕๘
สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม รายงานฉบบั สุดทา้ ย
โดยการศึกษาได้มีการเสนอแนวทางและมาตรการในการลดผลกระทบที่คานึงจากก ารประเมิน
ศักยภาพเชิงพ้ืนทีแ่ ละการคาดการณ์ผลกระทบดงั กลา่ ว ดงั ตัวอย่างตอ่ ไปนี้
ตวั อย่างแนวทางด้านทรัพยากรและคณุ ภาพน้า รวมถึงศักยภาพการระบายน้า
- การนาน้าท้ิงทผ่ี ่านกระบวนการบาบดั มาใชป้ ระโยชน์
- การเพ่มิ ประสิทธภิ าพระบบบาบดั นา้ เสียใหม้ คี วามสามารถในการบาบัดสูง
- การศึกษาและออกแบบระบบกักเก็บน้าภายในโครงการให้เพียงพอสาหรับการหน่วงน้า
๓ ชั่วโมง กอ่ นระบายออกสู่ภายนอกพื้นท่ีโครงการ
ตวั อย่างแนวทางด้านคุณภาพอากาศ
- การปรับปรุงระบบควบคุมมลพิษอากาศ เพื่อ ลดปัญหามลพิษต่อสิ่งแวดล้อมโดยรอบ
พ้ืนทพี่ ฒั นาฯ
- การจัดให้มีระบบติดตามตรวจสอบ คุณภาพอากาศ ภายในบริเวณพื้นที่ โครงการและ
บริเวณโดยรอบ เพื่อตรวจสอบประสิทธิภาพการควบคุม มลพิษอากาศและเผยแพร่ผล
การตรวจสอบแก่ชุมชน
- การพิจารณาความเป็นไปได้ในการกาหนดพ้ืนท่ีกันชนโดยรอบโครงการ หรือโดยรอบ
กจิ การทีม่ ีความเสี่ยง
ตวั อย่างแนวทางด้านการใชป้ ระโยชนท์ ี่ดนิ
- การส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมการปลูกป่าในพื้นท่ี รวมท้ังส่งเสริมการประกอบ
อาชพี เกษตรกรรมในทอ้ งถ่ิน
- จัดสรรใหม้ พี นื้ ทส่ี ีเขยี วอยา่ งนอ้ ยตามเกณฑท์ กี่ าหนด
ตวั อย่างแนวทางดา้ นการจัดการมูลฝอย
- การลดปริมาณของเสียโดยส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีการผลิตท่ีสะอาดเพื่อลดปริมาณ
ของเสยี
- การนาของเสยี กลบั มาใชป้ ระโยชน์
กฎระเบียบด้านการใช้ประโยชน์ที่ดิน ในแง่ของความสอดคล้องกับกฎระเบียบด้านการใช้
ประโยชน์ที่ดิน เดิมท่ีพ้ืนท่ีโครงการวังจันทร์วัลเลย์อยู่ในพ้ืนท่ีเขตการใช้ประโยชน์ท่ีดินประเภทอนุรักษ์ชนบท
และเกษตรกรรม ท่ีห้ามทากจิ การหลายประเภท ต่อมามีการเปลี่ยนแปลงกฎระเบียบดังกลา่ วสาหรับพื้นท่ีเขต
นวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ให้ใช้ประโยชน์ได้มากย่ิงข้ึนเช่น ที่อยู่อาศัย พาณิชยกรรม
อุตสาหกรรม สถาบันการศึกษา ฯลฯ และแม้ว่าจะยังคงมีข้อห้ามบางประการแต่มีการเพ่ิมข้อยกเว้นสาหรับ
“กิจกรรมทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับการวิจยั และพัฒนา” ดังที่ขอ้ กาหนดการใช้ประโยชนท์ ด่ี ินตามกฎกระทรวงให้ใช้บังคับ
ผังเมืองรวม จังหวัดระยอง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๑ มีการระบุการห้ามใช้ประโยชน์เพื่อกิจการ ดังเช่น “การ
ประกอบกจิ การท่ีใช้ถา่ นหินเปน็ เช้ือเพลิงในการเผาไหม้ไม่วา่ จะเป็นเช้ือเพลงิ หลักหรือเชื้อเพลิงรอง เว้นแต่เป็น
การดาเนินการเพ่ือการวิจัยและพัฒนา” “สถานท่ีเก็บวัตถุไวไฟ วัตถุระเบิดได้ วัตถุมีพิษ หรือวัตถุกัมมันตรังสี
เว้นแต่เป็นการดาเนินการเพ่ือการวิจัยและพัฒนา” และ “กาจัดเก็บวัตถุอันตรายตามกฎหมายว่าด้วยวัตถุ
โครงการจดั ทาแผนสิ่งแวดลอ้ มในพน้ื ท่เี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๕๙
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม รายงานฉบบั สุดทา้ ย
อันตราย กมั มันตรังสี เวน้ แต่เป็นการดาเนินการเพ่ือการวิจัยและพัฒนา” เป็นต้น ซ่ึงทางการศกึ ษาได้ชี้ให้เห็น
ถึงขอ้ จากดั และโอกาสดงั กลา่ ว
๓.๓.๔.๔ โครงการศกึ ษาเพื่อการประเมินผลกระทบส่ิงแวดล้อมเชิงยุทธศาสตร์ โครงการ
พฒั นานา้ ตน้ ทนุ ลุ่มน้าปราจนี บุรี - บางปะกง
โครงการศึกษาเพ่ือการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมเชิงยุทธศาสตร์ โครงการพัฒนาน้าต้นทุน
ลมุ่ น้าปราจีนบุรี-บางปะกง (สานักงานทรัพยากรน้าแห่งชาติ, ๒๕๖๓) เนือ่ งจากพื้นทีต่ อ้ งประสบกบั ปัญหาแล้ง
ท่วมซ้าซากทกุ ปีเพราะการไม่มีแหล่งเกบ็ กักน้าเพียงพอ ประกอบกับบริเวณพ้ืนที่ตอนบนของลุม่ น้ามคี วามลาด
ชนั สูง ทาให้ปริมาณน้าหลากไหลลงท่วมพ้ืนท่รี าบทา้ ยลุ่มนา้ ในช่วงฤดูฝน แต่พอถึงชว่ งฤดูแลง้ จะประสบปัญหา
ขาดแคลนน้าเพราะปรมิ าณน้าทา่ สว่ นใหญ่จะไหลออกสู่ทะเล และยังมีปัญหาการรุกตัวของน้าเคม็ จากอ่าวไทย
เน่ืองจากช่วงท้ายของแม่น้ามีความลาดชันน้อย ทาให้น้าเค็มรุกล้าจากปากแม่น้าบางปะกงลึกเข้ามาในแม่น้า
มากกว่า ๑๐๐ กิโลเมตร โดยเฉพาะช่วงฤดแู ล้งไม่มีปรมิ าณน้าท่าเพียงพอต่อการผลกั ดันน้าเค็มสง่ ผลกระทบให้
น้าเค็มรุกล้าไปจนถึงแม่น้าปราจีนบุรี และมีผลกระทบต่อคุณภาพน้าท่ีจะนาไปใช้เพื่อการเกษตรและการผลิต
น้าประปาเพ่ืออุปโภค-บริโภค นอกจากนี้พื้นที่ลุ่มน้าปราจีนบุรี-บางปะกงเป็นพ้ืนที่ที่มีการเติบโตของ
ภาคอตุ สาหกรรมค่อนข้างสูงทาให้ความต้องการใช้นา้ เพิ่มขน้ึ อย่างตอ่ เน่ืองส่งผลกระทบให้ปญั หาขาดแคลนน้า
มีแนวโนม้ ทรี่ นุ แรงขึ้นรวมถงึ เกดิ การแย่งนา้ ระหว่างภาคการเกษตรและภาคอตุ สาหกรรม
การ พิ จ ารณ ากาห น ด ท างเลื อก การ พั ฒ น าพื้ น ที่ ลุ่ ม น้ าป ร าจี น บุ รี -บ างป ะกงอ ย่ างย่ั งยื น จ าก
การศึกษาของโครงการดังกล่าว ได้ข้อสรุปว่าการพัฒนาน้าต้นทุนเพื่อการอุปโภค-บริโภค การเกษตรพื้นถ่ิน
และการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ (พื้นที่ลุ่มน้าตอนบน) พร้อมทั้งจะต้องพัฒนาน้าต้นทุนเพื่อรองรับการเติบโตของ
ชุมชนเมืองและเขตเศรษฐกิจ (พื้นท่ีลุ่มน้าตอนกลางและพื้นที่ลุ่มน้าตอนปลาย) ซ่ึงเป็นการบริหารจัดการ
ทรัพยากรน้าภายใต้แผนการสร้างความมั่นคงในภาคการอุปโภค-บริโภคและภาคเกษตรให้เพียงพอกับความ
ต้องการของภาคประชาสังคมและตามรูปแบบระบบการเพาะปลูกพืชปัจจุบันร่วมกับการพัฒนาการท่องเที่ยว
เชิงนิเวศท่ีมีส่วนสาคัญในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สภาพสังคม วัฒนธรรม เอกลักษณ์
และวิถีชีวิตดั้งเดิมในชุมชนท้องถ่ิน และยังเป็นการพัฒนาเพ่ือรองรับการเติบโตของชุมชนเมืองและเขต
เศรษฐกิจจะเป็นการยกระดับคุณภาพชีวิตของภาคประชาสังคมในพื้นท่ีลุ่มน้าปราจีนบุรี-บางปะกงให้ดียิ่งขึ้น
และมีรายได้เพิ่มสูงกว่าค่าเฉล่ียในระดับประเทศ (สูงกว่า ๑๓๖,๕๒๑.๙๙ บาท/คน/ปี-ค่าเฉลี่ย ๒๓ ปี (พ.ศ.
๒๕๓๘ - ๒๕๖๐) พร้อมทั้งเป็นการพัฒนาระบบเศรษฐกิจของพ้ืนท่ีลุ่มน้าฯ ให้บรรลุวิสัยทัศน์การพัฒนาพื้นท่ี
ลมุ่ น้าปราจนี บุรี-บางปะกงอย่างย่ังยนื โดยมีข้อเสนอแนะเพอื่ การพัฒนาพนื้ ท่ีลุ่มน้าปราจีนบุรี-บางปะกงอย่าง
ยัง่ ยืนตามผลการประเมนิ ส่งิ แวดลอ้ มระดบั ยุทธศาสตรส์ รปุ ได้ดังน้ี
๑) โครงการพัฒนาพัฒนาแหล่งเก็บกักน้าและระบบส่งน้าท้ังในแผนงานการสร้างความม่ันคง
ของน้าภาคการผลิตและแผนงานการจัดการน้าท่วมและอุทกภัยจาเป็นต้องมีโครงการศึกษาความเหมาะสม
และผลกระทบสิ่งแวดลอ้ มกอ่ นการดาเนินการโครงการ
๒) การพัฒนานาน้าบาดาลมาใช้เพ่ือการอุปโภค-บริโภคต้องคานึงถึงคุณภาพน้าบาดาลเป็นหลัก
เนื่องจากสภาพธรณีวิทยาและอุทกธรณีวิทยาส่วนใหญ่เป็นชั้นดินเค็ม ประกอบกับบางพ้ืนท่ีจัดเป็นพื้นท่ี
ออ่ นไหวตอ่ การปนเป้อื น โดยเฉพาะพื้นทที่ ี่มีการใชป้ ระโยชน์ทด่ี ินอยา่ งหนาแนน่ ในภาคชุมชนและสงิ่ ปลกู สรา้ ง
โครงการจัดทาแผนสงิ่ แวดล้อมในพืน้ ทเี่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๖๐
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สดุ ท้าย
ภาคการเกษตรและภาคอุตสาหกรรมอาจส่งผลกระทบให้คุณภาพน้าบาดาลมีการปนเป้ือนความเค็ม เช้ือ
แบคทีเรยี และโลหะหนักได้
๓) การพัฒนาโครงการในพ้ืนที่สงวน-อนุรักษ์โดยส่วนใหญ่จะเป็นความต้องการจากภาค
ประชาชนเป็นหลัก แต่ทางปฏิบัติไม่สามารถดาเนินการโครงการได้ จาเป็นต้องมีการพัฒนาโครงการในพื้นที่
อื่น ๆ ท่ีสามารถแก้ไข/บรรเทาปัญหาตามความต้องการของภาคประชาชนได้โดยต้องมีการหาแนวปฏิบัติท่ีดี
(Best Practice) จากทุกหนว่ ยงานท่ีเก่ียวขอ้ งทั้งส่วนกลางและสว่ นภูมภิ าค
๔) การพัฒนาแหล่งเก็บกักน้าและการจัดสรรน้าในพ้ืนที่ลุ่มน้าตอนกลางและตอนปลายต้อง
พิจารณาถึงความต้องการของภาคประชาชนในพื้นที่ลุ่มน้าเป็นลาดับแรกเน่ืองจากภาคประชาชนมีการ
ประกอบอาชีพแตกต่างกันส่งผลกระทบให้มีความต้องการน้าแตกต่างกันกล่าวคือภาคประชาชนท่ีประกอบ
อาชีพการเกษตรจะมีความต้องการน้าจืดเพ่ือการเพาะปลูกพืชและภาคประชาชนที่มีอาชีพเพาะเลี้ยงสัตว์น้า
ต้องการน้ากร่อย ฯลฯ ดังน้ันการพัฒนาโครงการใด ๆ ต้องเน้นให้ภาคประชาชนในพื้นท่ีมีส่วนร่วมในทิศ
ทางการพฒั นาใหม้ ากท่สี ดุ เพ่อื ลดปญั หาความขดั แย้งทจี่ ะตามมาในอนาคตภายหลังจากการพฒั นาโครงการ
๕) การพัฒนาโครงการในแผนงานส่งเสริมการท่องเท่ียวท้องถ่ิน ได้แก่ การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
และท่องเที่ยวเชิงเกษตรต้องพัฒนาให้สอดคล้องกับเอกลักษณ์ของพ้ืนท่ีที่เป็น วิถีชุมชนเกษตรและมี
ขนบประเพณีและวัฒนธรรมท่ีเป็นเอกลักษณ์เฉพาะถิ่นโดยการสนับสนุนให้ต้อนรับและบริการด้วยไมตรีจิต
แบบไทย (Thai Hospitality) เพือ่ สร้างเสริมประสบการณ์และความประทับใจแก่ผู้มาเยี่ยมเยือนอาจทาให้เกิด
การประชาสัมพนั ธก์ ารท่องเทย่ี วในรูปแบบทเ่ี รียกว่า “พลงั แหง่ การบอกตอ่ ”
๖) โครงการจัดสรรที่ดินทากินให้แก่กลุ่มราษฎรที่บุกรุกแผ้วถางได้ถือครองท่ีดินอย่างถูกต้อง
ตามกฎหมายในรูปหมู่บ้านป่าไม้ตามแผนงานด้านการบริหารจัดการต้องกาหนดมาตรการการใช้ท่ีดินและ
ข้อตกลงระหว่างหน่วยงานภาครัฐด้วยกันโดยเฉพาะหน่วยงานเจ้าของพ้ืนที่กับหน่วยงานภาครัฐที่ทาการ
พัฒนารวมถึงภาคเกษตรกรที่ใช้ประโยชน์
๗) โครงการจัดโซนนิ่งพ้ืนที่การเกษตรตามชนิดพืชที่ปลูกให้สอดคล้องกับศักยภาพของ
สมรรถนะดินและปริมาณน้าต้นทุนควบคู่การประกันราคาผลผลิตตามแผนงานส่งเสริมการปลูกพืชมูลค่าสูง/
เกษตรเชิงวถิ ี จะช่วยให้จานวนผลผลิตทางการเกษตรของพืชเศรษฐกิจแต่ละชนิดอยู่ในปริมาณที่เหมาะสมกับ
ระบบตลาดรองรับผลผลิต เป็นการป้องกันผลผลิตล้นระบบตลาดและช่วยควบคุมปริมาณการใช้น้าในการ
เพาะปลกู ทาให้ลดความขดั แยง้ ในกจิ กรรมการใช้นา้ และส่งผลดีในการบรหิ ารจดั การล่มุ น้า
๘) โครงการพัฒนาแหล่งกักเก็บน้าขนาดเล็กในไร่นาตามแผนงานการสร้างความมั่นคงของน้า
ภาคการผลิต ต้องดาเนินการขุดสระเก็บน้าให้มีความลึกและแคบเพ่ือลดการสูญเสียน้าและเป็นการจัดการ
พื้นท่ีให้เกิดประโยชน์สูงสุดเนื่องจากราคาประเมินที่ดินค่อนข้างสูงโดยเฉพาะพ้ืนท่ีลุ่มน้าตอนกลางและตอน
ปลาย
หากพิจารณาผลจากการประเมินผลกระทบส่ิงแวดล้อมเชิงยุทธศาสตร์ เป็นการให้กรอบแนว
ทางการพัฒนาท่ีครอบคลุมผลกระทบและวิธกี ารดาเนินการ พร้อมเสนอแนวทางปอ้ งกันและแกไ้ ขผลกระทบท่ี
อาจจะเกิดข้ึนหากมีการดาเนินโครงการ โดยอาจต้องมีกระบวนการศึกษาเชิงลึกเพ่ิมเติมในบางกรณีก่อน
พจิ าณาตัดสินใจดาเนนิ โครงการ ในขณะท่ี แผนส่ิงแวดลอ้ มมีประเดน็ หลากหลายครอบคลมุ ดงั นั้น จึงควรเป็น
โครงการจัดทาแผนสิ่งแวดล้อมในพื้นทเี่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๖๑