The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานฉบับสุดท้าย_เล่มที่ 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ONEP-EEC, 2021-12-22 13:33:58

รายงานฉบับสุดท้าย_เล่มที่ 1

รายงานฉบับสุดท้าย_เล่มที่ 1

รายงานฉบับสุดทา้ ย

ไนเตรท-ไนโตรเจน (ไมโครกรมั ลติ ร) ตะกวั่ (ไมโครกรัม ลติ ร)

๒ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒

๓ ๒๕.๔๐ ๑๐.๓๐ ๓๔ ๔.๒๓ ๒๖.๓๐ ๐.๒๙๖ / <๐.๕ / /
๙ ๔๒.๑๐ ๓๕ / ๒.๒๐ ๒.๒๓ /
๑ ๒๖.๙๐ ๓.๓๖ ๕๘ ๔๒.๖๐ ๑๕๐ ๑.๖๐๐ / <๐.๕ / /
๗ ๕๘ ๓๑.๕๐ / ๒.๓๐ ๒.๕๒ /
๖๔ ๖.๗๐ ๔.๓๒ ๐.๑๙๒ / -- -
๘๘.๕๐ ๑๕.๓๐ / -- -
๑๖.๒๐ ๑๗๔ ๕.๘๐ ๑.๖๐ ๑๐๕ ๑.๖๐๐ /
๐ ๖.๒๘ ๑๙.๘๐ -- - ๓.๔๕๐ /
๘ ๑๖๗ ๓๒.๘๐ -- - ๑.๐๙๐ /
๖ ๒๐.๒๐ ๑๓.๔๐ /
๔ ๓๐.๕๐ ๓.๔๙ ๓๔ ๑๗.๒๐ ๔.๔๔ ๐.๒๐๒ / <๐.๕ / /
๗ ๙.๖๘ ๓.๔๓ /
๘ ๑๘ ๖.๐๓ ๑๗ ๒.๑๐ ๑๘๐ ๑.๐๓๐ / <๐.๕ ๒.๔๓ /
๒ ๑๑.๔๐ / /
๗ ๒๑.๒๐ ๑๖.๔๐ ๔๖ ๑๕.๙๐ ๘.๕๖ ๐.๗๗๗ / <๐.๕ / /
๙ ๖.๗๑ ๒.๒๒ /
๓ ๔๔ ๔.๗๙ ๒๙ ๑.๓๘ ๖.๖๓ ๓.๖๓๐ / <๐.๕ / /
๗ ๑๑.๕๐ ๖.๘๙
๔๓ ๕.๗๔ ๑๐.๑๐ <๐.๑ <๐.๕ / /

๒๗ ๗.๐๙ ๑๑๖ ๐.๓๒๑ <๐.๕ ๐.๗๒ /

๓๕ ๔.๘๒ ๖.๓๗ ๑.๓๗๐ <๐.๕ / /

๒๕ ๖.๖๐ ๕.๓๓ ๐.๕๕๖ <๐.๕ ๑.๓๒ ๐.๘๓

๕๔ ๐.๘๐ ๑.๗๔ ๐.๑๖๙ ๑.๑๐ / /

๑๘ ๑.๕๙ ๑๒.๗ ๐.๕๓๖ <๐.๕ ๐.๘๓ ๐.๗

๕๐ ๑๗.๖๐ ๑๗.๓๐ <๐.๑ <๐.๕ / /

๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๘

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม

ลาดับ ชื่อสถานี ประเภท ฤดู ความเป็นกรด-ด่าง

๑๐ หาดทรายแก้ว (เกาะเสม็ด) ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒
๑๑ ทา่ เรอื หนา้ ดา่ น (เกาะเสม็ด)
๑๒ อา่ วไผ่ (เกาะเสม็ด) ฝน ๘.๔๐ ๘.๒๓ ๘.๕๔ ๘.๒๘ ๘.๓๔
๑๓ อ่าวไผ่ (เกาะเสมด็ ) ๔ แลง้ ๗.๗๕ ๘.๒๐ ๘.๓๐ ๗.๙๘ ๖.๕๖
๑๔ อา่ วทบั ทมิ (เกาะเสมด็ )
๑๕ อา่ วทบั ทมิ (เกาะเสมด็ ) ฝน ๘.๔๐ ๘.๕๓ ๘.๕๑ ๘.๒๙ ๘.๓๔
๑๖ อ่าวพรา้ ว (เกาะเสม็ด) ๖ แลง้ ๗.๗๒ ๘.๑๐ ๘.๓๐ ๗.๙๓ ๖.๗๓
๑๗ อา่ วพรา้ ว (เกาะเสม็ด)
๑๘ ปากคลองแกลง ฝน ๘.๔๐ ๘.๕๙ ๘.๕๓ ๘.๓๘ ๘.๒๙
๔ แล้ง ๗.๗๘ ๘.๒๑ ๘.๓๐ ๗.๙๑ ๗.๗๖

ฝน ๘.๔๐ ๘.๖๔ ๘.๔๘ ๘.๒๗ ๘.๔๒
๔ แลง้ ๗.๗๗ ๘.๒๐ ๘.๓๕ ๗.๙๔ ๗.๑๕

ฝน ๘.๔๐ ๘.๕๒ ๘.๕๐ ๘.๓๒ ๘.๓๓
๔ แล้ง ๗.๗๕ ๘.๒๐ ๘.๓๓ ๗.๙๒ ๗.๖๐

ฝน ๘.๔๐ ๘.๖๘ ๘.๕๑ ๘.๓๒ ๘.๓๘
๔ แลง้ ๗.๘๑ ๘.๑๗ ๘.๓๙ ๗.๘๘ ๗.๗๑

ฝน ๘.๔๐ ๘.๖๙ ๘.๕๒ ๘.๓๗ ๘.๓๔
๔ แลง้ ๗.๗๓ ๘.๑๐ ๘.๒๙ ๗.๙๒ ๖.๕๐

ฝน ๘.๔๐ ๘.๗๖ ๘.๔๘ ๘.๓๐ ๘.๒๙
๔ แล้ง ๗.๗๓ ๘.๒๑ ๘.๓๗ ๗.๘๖ ๗.๗๓

ฝน ๘.๔๐ ๘.๗๘ ๘.๓๔ ๘.๑๖ ๘.๓๒
๖ แล้ง ๗.๗๖ ๘.๒๐ ๘.๓๘ ๗.๙๐ ๗.๔๓

โครงการจัดทาแผนส่ิงแวดล้อมในพื้นทีเ่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕

รายงานฉบบั สุดทา้ ย

ไนเตรท-ไนโตรเจน (ไมโครกรมั ลิตร) ตะกั่ว (ไมโครกรัม ลติ ร)

๒ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒

๔ ๒๘ ๔.๒๐ ๒๕ ๐.๗๙ ๕.๖ <๐.๑ / ๓.๙๐ ๑.๓๘ /
๖ ๑๗.๖๐ ๖.๘๘ ๕๓ ๔.๑๙ ๓.๕๖ ๐.๑๑๒ / <๐.๕ / /
๔ ๖.๓๓ ๒.๓๘ ๑๕ ๒.๒๔ ๔.๙๔ <๐.๑ / <๐.๕ / /
๓ ๗๘.๘๐ ๑๙๒ ๔๑ ๕.๓๓ ๘.๘๑ ๐.๒๕๔ <๓ <๐.๕ / /
๙ ๑๘.๖๐ ๘๑.๒๐ ๓๒ ๖.๒๒ ๔๖.๓ ๐.๓๑๘ / ๐.๖๐ / /
๖ ๘.๙๙ ๑๗.๔๐ ๓๗ ๙.๗๘ ๖.๐๕ ๐.๓๐๓ / <๐.๕ / /
๒ ๙.๙๔ ๑๓ ๒๗ ๑.๑๔ ๒๔.๒ ๐.๒๗๐ / <๐.๕ / /
๕ ๒๑.๖๐ ๒๑.๗๐ ๙๘ ๖.๔๕ ๘.๕๗ <๐.๑ / <๐.๕ / /
๓ ๑๗.๒๐ ๔.๖๘ ๒๓ ๒.๖๔ ๖๑.๔ ๐.๓๕๙ / <๐.๕ / /
๐ ๗.๕๖ ๒๘.๙๐ ๕๒ ๖.๘๖ ๘.๓๔ ๐.๑๐๓ / <๐.๕ / /
๘ ๖.๐๕ ๘.๐๙ ๒๖ ๑.๐๗ ๒๖๖ ๐.๑๘๔ / <๐.๕ / /
๑ ๑๗.๗๐ ๒๕.๗๐ ๕๖ ๗.๐๕ ๖.๑๔ <๐.๑ / <๐.๕ / /
๔ ๑๑.๖๐ ๗.๓๓ ๒๔ ๐.๗๘ ๔.๒๓ ๐.๒๑๔ / <๐.๕ / /
๐ ๖.๒๓ ๓๙.๘๐ ๔๔ ๕.๑๘ ๔.๓๙ <๐.๑ / ๑.๒๐ / /
๙ ๑๓ ๒๐.๖๐ ๑๘ ๐.๘๓ ๑๒.๓ ๐.๔๑๕ / <๐.๕ / /
๓ ๙.๐๙ ๗.๓๑ ๔๐ ๒.๗๓ ๖.๙๗ ๐.๑๐๒ / ๐.๗๐ / /
๒ ๑๓๙ ๒.๙๕ ๒๓ ๐.๒๘ ๕.๐๓ ๐.๓๑๑ / <๐.๕ ๐.๖๑ /
๓ ๒๑.๑๐ ๓.๖๔ ๔๘ ๕.๗๘ ๘.๑๔ ๐.๒๖๙ / <๐.๕ / /

๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๙

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม

ลาดับ ชื่อสถานี ประเภท ฤดู ความเป็นกรด-ดา่ ง

๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒

ฝน ๘.๑๐ ๘.๗๘ ๘.๓๐ ๗.๘๓ ๘.๕๗

๑๙ แหลมแมพ่ ิมพ์ ๔ แลง้ ๗.๘๐ ๗.๕๓ ๘.๒๙ ๗.๗๔ ๗.๗๐
ฝน ๘.๑๐ ๘.๐๖ ๘.๑๖ ๗.๙๒ ๘.๑๙

๒๐ หาดพยนู ๔ แลง้ ๖.๗๐ ๖.๘๓ ๘.๑๒ ๗.๕๓ ๗.๓๑
ฝน ๗.๘๐ ๗.๓๕ ๗.๗๙ ๘.๐๓ ๗.๗

๒๑ หาดนา้ ริน แล้ง - - ๘.๓๒ ๗.๕ ๗.๓๘
๔ - ๘.๑๔ ๗.๙๒ ๗.๙๓

ฝน -

๒๒ เกาะกฏุ ี (ดา้ นตะวันตก) แล้ง - - ๘.๓๗ ๗.๘๕ ๕.๙๕
๒ - ๘.๕๗ ๘.๔๔ ๘.๓๘

ฝน -

แล้ง - - ๘.๓ ๗.๕๖ ๕.๖๓
๒๓ เกาะกฏุ ี (หนา้ บ้านพักอุทยาน) ๒ - ๘.๕๖ ๘.๖๙ ๘.๓๘

ฝน -

หมายเหตุ: ๑) การวเิ คราะห์เทยี บเกณฑ์มาตรฐานของค่าสารแขวนลอยตอ้ งใชข้ ้อมลู รายเดือน ณ

ปลี ะ ๒ คร้งั ข้อมูลจงึ ไมเ่ พยี งพอท่ีจะสามารถวเิ คราะห์เทียบเกณฑ์มาตรฐานได้

๒) / หมายถึง ตรวจไมพ่ บ

ทมี่ า : กรมควบคุมมลพษิ (๒๕๖๔)

โครงการจดั ทาแผนสิง่ แวดล้อมในพื้นทเี่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕

รายงานฉบบั สุดทา้ ย

ไนเตรท-ไนโตรเจน (ไมโครกรมั ลิตร) ตะกั่ว (ไมโครกรัม ลติ ร)

๒ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒

๗ ๒๒.๙๐ ๖ ๒๔ ๒.๗๔ ๔.๖๒ ๐.๘๕๑ / <๐.๕ ๐.๕๙ /

๐ ๑๗.๗๐ ๒.๕๔ ๕๖ ๖.๑๘ ๑๑.๑๐ <๐.๑ / <๐.๕ / /
๙ ๒๐.๕๐ ๒๑.๘๐ ๑๒ ๑.๑๕ ๔.๓๑ ๑.๕๖๐ <๓ <๐.๕ ๑.๑๔ /
๑ ๑๖๗ ๓๒.๖๐ ๔๙ ๒.๐๓ ๖๐ ๐.๕๐๘ <๓ ๑.๗๐ ๐.๕๓ /

๗ ๖.๗๖ ๓๖.๑๐ ๔๙ ๒.๑๒ ๓๘.๓ ๐.๓๔๗ / <๐.๕ ๑.๕๖ ๑.๐๘
๘ - - ๔๕ ๓.๓๖ ๒.๙๓ - - <๐.๕ / /
๓ - - ๓๓ ๒.๖๘ ๙๓.๔ - - <๐.๕ ๑.๐๓ ๑.๖๔
๕ - - ๓๕ ๑๐.๓ ๙.๒๔ - - ๐.๘ / /
๘ - - ๓๑ ๑.๒๒ ๖๕.๗ - - ๒.๓ / /
๓ - - ๕๐ ๕.๕๑ ๑๐.๒ - - ๑.๗ / /
๘ - - ๑๕ ๐.๕๒ ๒๘.๕ - - ๑.๖ / /

ณ วนั ท่ีและเวลาเดียวกนั เพ่ือหาค่าเฉลร่ี ายปี แต่จากข้อมลู กรมควบคุมมลพิษเปน็ การกรวดนา้ ทะเล

๕-๒๕๖๙ ๔ - ๓๐

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย

๔.๑.๓.๓ แนวโน้มและสาเหตุการเปล่ียนแปลงคุณภาพนา้ ทะเล
จากผลการประเมินจุดตรวจวัด ระหว่าง พ.ศ.๒๕๕๙ – ๒๕๖๓ (สานักงานสิ่งแวดล้อมภาคท่ี
๑๓ (ชลบุร)ี , ๒๕๕๙; ๒๕๖๐; ๒๕๖๑; ๒๕๖๒; ๒๕๖๓) พบวา่ คุณภาพน้าทะเลสว่ นใหญ่อยู่ในระดับดี มากกว่า
รอ้ ยละ ๕๐ รองลงมาคือคุณภาพน้าทะเลระดับพอใช้ ประมาณร้อยละ ๓๐ และในระดับเสื่อมโทรม ประมาณ
ร้อยละ ๑๐ ต้ังแต่ปี พ.ศ.๒๕๕๙ – ๒๕๖๓ และเมื่อพิจารณาทิศทางการเปล่ียนแปลงคุณภาพน้าทะเล พบว่า
บางจุดท่ีมีคุณภาพน้าทะเลดีขึ้น บางจุดมคี ุณภาพน้าทะเลเท่าเดิม และบางจุดมีคุณภาพน้าทะเลเส่ือมโทรมลง
มีรายละเอียดสรุปได้ดังนี้ จุดตรวจวัดที่คุณภาพน้าทะเลดีมาก จานวน ๒ จุด ในปีพ.ศ. ๒๕๖๒ และจานวน ๑
จุด ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ จานวนจุดตรวจวัดคุณภาพน้าทะเลดี พบว่ามีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นจากจานวน ๒๑
จุด ในปี พ.ศ. ๒๕๕๙ เป็น ๒๖ จุด ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ จานวนจุดตรวจวัดคุณภาพน้าทะเลพอใช้ มีการ
เปล่ียนแปลงลดลง จากจานวน ๑๗ จุด ในปี พ.ศ. ๒๕๕๙ เป็น ๑๓ จุด ในปีพ.ศ. ๒๕๖๓ จานวนจุดตรวจวัด
คุณภาพน้าทะเลเส่ือมโทรม ในระหวา่ งพ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๖๓ มีการเปล่ยี นแปลงเพิ่มข้นึ เพยี งเลก็ น้อย พบว่ามี
การเปล่ียนแปลงจาก จานวน ๖ จุด ในปี พ.ศ. ๒๕๕๙ เป็น ๗ จุด ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ จานวนจุดตรวจวัด
คุณภาพน้าทะเลเสื่อมโทรมมาก ในระหว่างพ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๖๓ ไม่มีการเปล่ียนแปลง แสดงรายละเอียดใน
ตารางที่ ๔ – ๑๑

ตารางที่ ๔ - ๑๒ ผลการประเมนิ คุณภาพน้าทะเลในพืน้ ท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก ระหว่างปี พ.ศ.
๒๕๕๙ - ๒๕๖๓

คุณภาพ พ.ศ. ๒๕๕๙ พ.ศ. ๒๕๖๐ พ.ศ. ๒๕๖๑ พ.ศ. ๒๕๖๒ พ.ศ. ๒๕๖๓
นา้ ทะเล
จานวนจดุ รอ้ ยละ จานวนจดุ รอ้ ยละ จานวนจุด รอ้ ยละ จานวนจุด รอ้ ยละ จานวนจดุ รอ้ ยละ

ดีมาก ๐๐ ๐๐ ๐๐ ๒๔ ๑๒

ดี ๒๑ ๕๗ ๒๖ ๕๑ ๒๗ ๕๗ ๒๙ ๕๔ ๒๖ ๕๔

พอใช้ ๑๗ ๓๘ ๒๓ ๔๕ ๑๖ ๓๔ ๑๙ ๓๕ ๑๓ ๒๗

เสอื่ มโทรม ๖ ๑๓ ๒๔ ๔๙ ๔๗ ๗ ๑๕

เสอื่ มโทรมมาก ๑๒ ๐๐ ๐๐ ๐๐ ๑๒

รวม ๔๕ ๑๐๐ ๕๑ ๑๐๐ ๔๗ ๑๐๐ ๕๔ ๑๐๐ ๔๘ ๑๐๐

ท่มี า: สานักงานสิ่งแวดลอ้ มภาคที่ ๑๓ (ชลบุร)ี , (๒๕๕๙: ๒๕๖๐; ๒๕๖๑; ๒๕๖๒)

สาเหตุของการเปล่ียนแปลงคุณภาพน้าทะเล จากการตรวจสอบคุณภาพน้าทะเล พบว่ามีการ
ปนเป้ือนบริเวณท่าเรือ แหล่งชุมชนหนาแน่น แหล่งเพาะเล้ียงสัตว์น้า และเป็นแหล่งท่องเท่ียว ซึ่งมีคลองไหล
ผ่านชมุ ชน แหล่งท่องเที่ยวกอ่ นระบายสู่ทะเล โดยพจิ ารณาผลการศกึ ษาคุณภาพน้าผิวดินและคณุ ภาพนา้ ทะเล
ชายฝ่ังในเชิงพื้นท่ี พบว่า คุณภาพน้าผิวดินและคุณภาพน้าทะเลที่มีแนวเช่ือมกันและมีค่าเกินเกณฑ์มาตรฐาน
ใน ๓ บริเวณหลัก (ดังภาพท่ี ๔ - ๑๓) ๑) บริเวณ Z-A3 แม่น้าบางปะกง ที่มีแหล่งกาเนิดมลพิษหลักจาก
สถานที่เพาะเล้ียงสัตว์น้า กิจกรรมเมืองและย่านการค้า รวมถึงอุตสาหกรรม ๒) บริเวณ Z-B แม่น้าระยอง
ท่ีมีแหล่งกาเนิดมลพิษจากเมืองและย่านการค้า รวมถึงอุตสาหกรรมและสถานท่ีราชการและสถาบันต่าง ๆ
และ ๓) บริเวณ Z-C แม่น้าประแสร์ มีแหล่งกาเนิดมลพิษจากสถานท่ีเพาะเล้ียงสัตว์น้าและอุตสาหกรรม

โครงการจัดทาแผนส่งิ แวดล้อมในพนื้ ที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๓๑

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ท้าย

นอกจากนี้ยังพบว่าคุณภาพน้าทะเลชายฝั่งในบางจุดที่เส่ือมโทรมตามชายฝ่ังเกิดจากกิจกรรมบริเวณชายฝั่ง
โดยรอบ เช่น บริเวณเมืองพทั ยา เป็นต้น

จากผลการพิจารณาผลการศึกษาคุณภาพน้าผิวดินและคุณภาพน้าทะเลชายฝั่งในเชิงพ้ืนท่ี
บริเวณ Z-A Z-B และ Z-C ยังพบพ้ืนท่ีในบริเวณ Z-D ซึ่งเป็นบริเวณที่ไม่ได้เชื่อมโยงกับแม่น้าสายหลักทมี่ ีการ
ตรวจวัดคุณภาพแมน่ ้า แต่หากพิจารณากิจกรรมในพื้นที่ พบวา่ บริเวณ D มกี ิจกรรมของพื้นทช่ี ายฝ่งั ทะเลเป็น
ย่านการค้า พื้นที่เมือง รวมถึงกิจกรรมในภาคอุตสาหกรรม ท่ีเชื่อมโยงกับคลองสาขาในพ้ืนที่ ซึ่งเป็นประเด็น
สาคัญท่ีอาจเช่ือมโยงไปสู่คุณภาพน้าทะเลชายฝั่งที่เกินค่ามาตรฐาน เช่น คลองบ่อตะเคียน คลองกะปิ ในโซน
Z-D1 หากพิจารณาในบริเวณ Z-D3 จะเห็นได้ว่ามีกิจกรรมในพ้ืนที่เป็นพื้นที่เมือง ย่านการค้า อยู่บริเวณท่ีมี
คลองสาขาไหลสูพ่ น้ื ที่นา้ (คลองนาเกลอื ) ทะเลชายฝั่งท่มี ีจุดตรวจเกินค่ามาตรฐาน

จากการเก็บตัวอย่างคุณภาพน้าเพ่ือติดตามตรวจสอบคุณภาพน้าในบริเวณคลองสาขา พบ ๒๒
จุดตรวจวัดที่มีค่าดัชนีคุณภาพน้าผิวดินอยู่ในช่วงเสื่อมโทรมถึงเสื่อมโทรมมาก และจาก แสดงให้เห็นคุณภาพ
น้าผวิ ดนิ ทมี่ กี ารเชื่อมโยงกนั ในระดบั ลุ่มน้า ซ่ึงจะเห็นไดช้ ัดในโซน Z-A และโซน Z-B

โดยในโซน Z-A1 ซ่ึงอยู่ในพ้ืนท่ีจังหวัดฉะเชิงเทรา พบจุดตรวจวัด C1 – C3 คือ คลองท่าลาด
C4 คลองสียัด และ C5 ห้วยกะพง มีค่าดัชนีคุณภาพน้าผิวดินเสื่อมโทรม ซึ่งคลองเหล่าน้ีไหลเชื่อมลงสู่แม่น้า
บางปะกงในโซน Z-A2 พบจุดตรวจวัด CB1 คลองอ้อมแก้ว CB2 คลองสะพาน CB3 คลองลาพาง CB4 คลอง
ป่าแดง และ CB5 คลองตะเคียน มีคา่ ดัชนีคณุ ภาพน้าผิวดินเส่อื มโทรมมาก ไหลลงสู่แม่น้าบางปะกงในโซน A3
ด้านล่าง ความเชื่อมโยงท่ีเกิดข้ึนน้ีอาจเป็นผลให้คุณภาพน้าในแม่น้าบางปะกงเกินมาตรฐานและเช่ือมโยงไปสู่
คณุ ภาพน้าทะเลทเี่ กนิ มาตรฐานในโซน Z-A3

นอกจากในโซน Z-A แล้วหากพิจารณาพื้นท่ีใน โซน Z-B อยู่ในพ้ืนท่ีจังหวัดระยอง จะเห็น
ความเชือ่ มโยงของระบบลุ่มน้าเช่นกัน จะเห็นได้วา่ มีจุดตรวจวัด RY1 ห้วยภูไทร RY2 คลองหนิ ลอย RY3 ซึ่งมี
คุณภาพน้าผิวดินอยู่ในระดับเส่อื มโทรมมาก และคลองปลวกแดง RY4 คลองระเวิง RY5 คลองใหญ่ มีคณุ ภาพ
น้าผวิ ดนิ อยใู่ นระดบั เสอ่ื มโทรม ซึ่งคลองเหล่าน้ีไหลรวมเป็นแม่น้าระยองและไหลลงสูท่ ะเล และพบคุณภาพน้า
ทะเลในโซน Z-B เกนิ ค่ามาตรฐาน

คุณภาพน้าทะเลชายฝ่ังส่งผลให้เกิดปรากฏการณ์น้าทะเลเปลี่ยนสี หรือข้ีปลาวาฬ ซึ่งเป็น
ปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึนตามธรรมชาติและเกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ จากการเพ่ิมปริมาณอินทรีย์สารบริเวณ
ชายฝั่ง เช่น น้าเสียจากบ้านเรือนชุมชน จากกิจกรรมทางการเกษตร อุตสาหกรรมและการขยายตัวของการ
เพาะเลี้ยงสัตว์น้าชายฝ่ัง ซ่ึงปรากฏการณ์น้าทะเลเปล่ียนสีส่งผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
ชลบรุ ีและระยอง

ดังน้ันแนวทางการแก้ไขปัญหาคุณภาพน้าทะเลจาเป็นต้องได้รับการจัดการร่วมกับคุณภาพน้า
ผวิ ดนิ และคุณภาพน้าท้ิงจากภาคเกษตรกรรม ภาคชุมชน และภาคอุตสาหกรรม โดยหากพิจารณา จากตาราง
ที่ ๔ - ๑๓ ที่ได้แสดงให้เห็นปัญหาและอุปสรรคของระบบบาบัดน้าเสียชุมชนในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาค

โครงการจดั ทาแผนส่ิงแวดล้อมในพน้ื ที่เขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๓๒

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม รายงานฉบับสดุ ทา้ ย

ตะวันออก คือ ระบบบาบดั นา้ เสียเมืองพัทยา (ซอยวดั หนองใหญ่) พบปัญหาน้าเสียไหลลงคลองสาธารณะออก
สทู่ ะเลบริเวณบางละมุง ในส่วนของระบบบาบัดน้าเสียองค์การบริหารส่วนจังหวัดชลบุรี พบปัญหาบ้านเรือนที่
อยู่ลึกไปในพ้ืนท่ีริมทะเล จะปล่อยน้าเสียลงทะเลโดยตรง หากพิจารณาความเช่ือมโยงของปัญหาดังกล่าว
ประเด็นการจัดการน้าเสียที่ยังไม่คลอบคลุมในทุกพ้ืนที่ อาจเป็นปัจจัยหน่ึงท่ีก่อให้เกิดปัญหาคุณภาพน้าทะเล
ชายฝง่ั ทเ่ี สอื่ มโทรมลง

โครงการจดั ทาแผนสิ่งแวดล้อมในพ้นื ที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๓๓

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม รายงานฉบบั สดุ ท้าย

ภาพท่ี ๔ - ๑๓ คุณภาพน้าผิวดิน คณุ ภาพน้าทะเล และแหล่งกาเนิดมลพิษในพ้ืนทเ่ี ขตพฒั นาพิเศษภาค
ตะวันออก

โครงการจัดทาแผนสงิ่ แวดลอ้ มในพ้ืนทเ่ี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๓๔

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม รายงานฉบับสดุ ทา้ ย

๔.๑.๔ การจดั การน้าเสยี ชุมชน
๔.๑.๔.๑ สถานการณ์นา้ เสยี ชมุ ชน
ปริมาณน้าเสียท่ีเกิดข้ึนจากชุมชนในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒

มีทั้งสิ้น ๔๔๗,๒๑๔.๖๕ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน สามารถบาบัดได้รวม ๑๕๑,๘๐๐ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน
หรอื คดิ เป็นรอ้ ยละ ๓๓.๙๔ ดังแสดงในตารางท่ี ๔ - ๑๓ และภาพท่ี ๔ - ๑๔ หากพิจารณาปรมิ าณนา้ เสียราย
จังหวัด พบว่า จังหวัดชลบุรมี ีปริมาณน้าเสียสูงสุด คือ ๒๓๐,๖๖๓.๔๐ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน สามารถกาจัดน้า
เสียได้ในปริมาณ ๑๓๙,๕๐๐ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คิดเป็นร้อยละ ๖๐.๔๘ ของปริมาณน้าเสียที่เกิดข้ึน
รองลงมาคอื จังหวัดระยอง มีปริมาณน้าเสียที่เกิดขึน้ ๑๐๙,๑๑๔.๓๕ ลูกบาศกเ์ มตรต่อวนั แตม่ ีศักยภาพในการ
บาบัดน้อยที่สุด คือ ๓,๓๘๑ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คิดเป็นร้อยละ ๓.๑๐ ของปริมาณน้าเสียที่เกิดข้ึน และ
จงั หวัดฉะเชิงเทรามปี ริมาณน้าเสียท่ีเกิดข้ึน ๑๐๗,๔๓๖.๙๐ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน และได้รบั การบาบัด ๘,๙๑๙
ลกู บาศกเ์ มตรตอ่ วนั คดิ เป็นร้อยละ ๘.๓๐ ของปริมาณนา้ เสยี ทเี่ กดิ ขนึ้

ตารางที่ ๔ - ๑๓ ปรมิ าณน้าเสยี ชุมชนที่เกดิ ขน้ึ และปริมาณนา้ เสียทส่ี ู่ระบบนาบัดน้าเสียในพน้ื ท่เี ขต

พัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

จงั หวัด จานวนประชากร ปริมาณนา้ เสยี ท่ีเกิดขึ้น * ปรมิ าณน้าเสียท่ีรับ ร้อยละของน้า
(คน)
(ลบ.ม วัน) การบาบดั (ลบ.ม วัน) เสียทีบ่ าบดั ได้

ฉะเชิงเทรา ๗๑๖,๒๔๖ ๑๐๗,๔๓๖.๙๐ ๘,๙๑๙ ๘.๓๐

ชลบุรี ๑,๕๓๗,๗๕๖ ๒๓๐,๖๖๓.๔๐ ๑๓๙,๕๐๐ ๖๐.๔๘

ระยอง ๗๒๗,๔๒๙ ๑๐๙,๑๑๔.๓๕ ๓,๓๘๑ ๓.๑๐

รวม ๒,๙๘๑,๔๓๑ ๔๔๗,๒๑๔.๖๕ ๑๕๑,๘๐๐ ๓๓.๙๔

หมายเหต:ุ * คานวณมาจากข้อมูลโครงการพัฒนาและปรบั ปรงุ ข้อมลู อัตราการเกดิ น้าเสียและปรมิ าณความสกปรกของ
แหล่งกาเนิดประเภทชุมชน กรมควบคมุ มลพษิ , ๒๕๖๓ โดยประเมนิ จากจานวนประชากร ณ เดือนธนั วาคม พ.ศ.
๒๕๖๒ คณู กับอัตราการเกิดน้าเสยี ของชมุ ชน ปีฐาน พ.ศ.๒๕๖๓ ซง่ึ เทา่ กับ ๑๕๐ ลติ ร/คน/วนั

ทมี่ า: รายงานการตดิ ตามประเมนิ ผลประสทิ ธภิ าพ ระบบบาบัดน้าเสยี รวมชุมชนและระบบบาบัดนา้ เสยี แบบกลมุ่ อาคาร
ประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๓, สานักงานสิง่ แวดล้อมภาคท่ี ๑๓ (ชลบุรี), ๒๕๖๓

โครงการจัดทาแผนส่ิงแวดล้อมในพืน้ ทีเ่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๓๕

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสุดทา้ ย

ภาพท่ี ๔ - ๑๔ ปรมิ าณนา้ เสยี ชุมชนทีเ่ กดิ ขน้ึ และปรมิ าณนา้ เสียชุมชนท่เี ขา้ สรู่ ะบบบาบดั น้าเสีย
ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

ในส่วนของข้อมูลระบบบาบัดน้าเสีย พ้ืนที่จังหวัดฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยอง มีระบบบาบัด
น้าเสยี รวมชุมชน จานวน ๑๘ แห่ง ประกอบด้วยระบบบาบัดน้าเสียแบบตะกอนเร่ง (Activated Sludge, AS)
จานวน ๘ แห่ง ระบบบาบัดน้าเสียแบบเติมอากาศ (Aerated Lagoons, AL) จานวน ๓ แห่ง ระบบบาบัดน้า
เสียแบบบ่อผ่ึง (Stabilization Ponds, SP) จานวน ๒ แห่ง ระบบบาบัดน้าเสียแบบโปรยกรอง (Trickling
Filter, TF) จานวน ๒ แห่ง และระบบบาบัดน้าเสียแบบเติมอากาศ (Fixed Film Aeration) จานวน ๑ แห่ง
และไม่ทราบรูปแบบจานวน ๒ แห่ง ซ่งึ ผลการประเมินสถานภาพของระบบบาบัดน้าเสีย สรุปได้ดังตารางท่ี ๔
- ๑๔ และ และมีรายละเอียด ดงั นี้

๑) ระบบบาบัดน้าเสียที่มีปริมาณน้าเสียเข้าสู่ระบบมากกว่าความสามารถในการรองรับน้าเสีย
คดิ เป็นร้อยละมากกว่า ๑๐๐ ของความสามารถในการรองรับน้าเสีย มีจานวน ๑ แห่ง คือ ระบบบาบัดน้าเสีย
เมืองพทั ยา (ซอยวดั หนองใหญ)่ จังหวัดชลบุรี

๒) ระบบบาบัดน้าเสียท่ีมีปริมาณน้าเสียเข้าสู่ระบบมากกว่าร้อยละ ๗๕ ของความสามารถใน
การรองรบั น้าเสีย มีจานวน ๓ แห่ง คือ ระบบบาบัดน้าเสียเทศบาลเมืองแสนสุข (แสนสขุ เหนือ) จังหวัดชลบุรี
ระบบบาบัดน้าเสีย องค์การบริหารส่วนตาบลเพ (เกาะเสม็ดอ่าวลูกโยน) จังหวัดระยอง และ องค์การบริหาร
สว่ นตาบลเพ (เกาะเสมด็ หาดทรายแกว้ ) จังหวัดระยอง

๓) ระบบบาบัดน้าเสียท่ีมีปริมาณน้าเสียเข้าสู่ระบบอยู่ในช่วงร้อยละ ๕๐ – ๗๕ ของ
ความสามารถในการรองรับน้าเสีย มีจานวน ๕ แห่ง คือ ๑) ระบบบาบัดน้าเสียเทศบาลตาบลบางเสร่ ๒)
ระบบบาบัดน้าเสียเมืองพัทยา (วัดบุณย์กัญจนาราม) ๓) ระบบบาบัดน้าเสียเทศบาลเมืองศรีราชา ๔) ระบบ
บาบัดนา้ เสยี เทศบาลเมืองแสนสุข (ใต้) และ ๕) เทศบาลเมืองพนสั นิคม จงั หวัดชลบุรี

โครงการจดั ทาแผนสิง่ แวดลอ้ มในพื้นทีเ่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๓๖

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ทา้ ย

๔) ระบบบาบัดน้าเสียท่ีมีปริมาณน้าเสียเข้าสู่ระบบเพียงร้อยละ ๑๐ – ๕๐ ของความสามารถ
ในการรองรับน้าเสีย มีจานวน ๕ แห่งคือ ๑) เทศบาลนครแหลมฉบัง ๒) องค์การบริหารส่วนจังหวัดชลบุรี
จั งห วั ด ช ล บุ รี ๓ ) เท ศ บ า ล ต า บ ล บ้ า น เพ ๔ ) เท ศ บ า ล น ค ร ร ะ ย อ ง จั งห วั ด ร ะ ย อ ง แ ล ะ
๕) เทศเมอื งฉะเชิงเทรา จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา

๕) ระบบบาบัดน้าเสียท่ีมีปริมาณน้าเสียเข้าสู่ระบบน้อยกว่าร้อยละ ๑๐ ของความสามารถใน
การองรับน้าเสีย มีจานวน ๑ แหง คือ เทศบาลเมืองมาบตาพุด จงั หวดั ระยอง

๖) ระบบบาบดั น้าเสียที่ไมได้เดินระบบ มจี านวน ๒ แห่ง คือ ๑) เกาะล้าน (หาดแสม) ๒) เกาะ
ลา้ น (หาดตาแหวน) จงั หวดั ชลบรุ ี

หากพจิ ารณาแยกรายจงั หวัด พบว่า
จังหวดั ฉะเชิงเทรา มรี ะบบบาบัดน้าเสียท้ัง ๒ แห่งในจงั หวดั ฉะเชงิ เทรา มปี รมิ าณน้าเสียเข้า
สรู่ ะบบเพียงร้อยละ ๑๐ – ๕๐
ในส่วนของจังหวัดชลบุรี มีระบบบาบัดน้าเสียจานวน ๑๑ แห่ง (ไม่ได้เดินระบบ ๒ แห่ง)
พบว่า ระบบบาบัดน้าเสียท่ีมีปริมาณน้าเสียเข้าสู่ระบบมากกว่าความสามารถในการรองรับน้าเสียคิดเป็นร้อย
ละมากกว่า ๑๐๐ ของความสามารถในการรองรับน้าเสีย มีจานวน ๑ แห่ง ระบบบาบัดน้าเสียท่ีมีปริมาณน้า
เสียเข้าสู่ระบบมากกว่าร้อยละ ๗๕ ของความสามารถในการรองรับน้าเสีย มีจานวน ๑ แห่ง ระบบบาบัดน้า
เสียท่ีมปี ริมาณน้าเสียเข้าสู่ระบบอยู่ในช่วงร้อยละ ๕๐ – ๗๕ ของความสามารถในการรองรับน้าเสีย มีจานวน
๕ แห่ง ระบบบาบัดน้าเสียที่มีปริมาณน้าเสียเข้าสู่ระบบเพียงร้อยละ ๑๐ – ๕๐ ของความสามารถในการ
รองรบั น้าเสีย มจี านวน ๒ แห่ง
จังหวัดระยอง ระบบบาบัดน้าเสียที่มีปริมาณน้าเสียเข้าสู่ระบบมากกว่าร้อยละ ๗๕ ของ
ความสามารถในการรองรับน้าเสีย มีจานวน ๒ แหง ระบบบาบัดน้าเสียท่มี ีปริมาณน้าเสียเข้าสู่ระบบเพียงร้อย
ละ ๑๐ – ๕๐ ของความสามารถในการรองรบั น้าเสีย มีจานวน ๒ แห่ง และมีระบบบาบัดน้าเสยี ที่มีปรมิ าณน้า
เสยี เข้าสูร่ ะบบนอ้ ยกวา่ ร้อยละ ๑๐ ของความสามารถในการองรบั นา้ เสยี มจี านวน ๑ แห่ง

โครงการจดั ทาแผนสงิ่ แวดลอ้ มในพ้ืนท่เี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๓๗

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม

ตารางท่ี ๔ - ๑๔ การประเมนิ สถานภาพของระบบบาบัดนา้ เสียชมุ ชนของระบบบา

ระบบบาบดั นา้ เสยี ชนิดระบบบาบดั ปรมิ าณน้าเสยี (ลบ.ม. วนั )

ศกั ยภาพ เข้าระบบ รอ้ ยละ พ
(ตร
ระบบ

จงั หวัดฉะเชงิ เทรา

๑. ทต. SP ๕,๐๐๐ ๒,๐๐๐ ๔๐.๐๐ ๖.
บางคลา้

๒. ทม.ฉะเชงิ เทรา AS (OD) ๒๔,๐๐๐ ๖,๙๑๙ ๒๘.๘๓ ๑๑

รวมจงั หวัดฉะเชิงเทรา ๒๙,๐๐๐ ๘,๙๑๙ ๓๐.๗๖

จงั หวัดชลบรุ ี

๓. ทต. AL ๕,๔๐๐ ๓,๔๘๒ ๖๔.๔๘ ๔.
บางเสร่

๔. ทม.พนสั นิคม SP ๕,๐๐๐ ๓,๔๐๐ ๖๘.๐๐ ๒.
AL ๗,๕๐๐ ๑,๐๐๐ ๑๓.๓๓ ๙.
๕. ทน.แหลมฉบงั AS (SBR) ๔๓,๐๐๐ ๒๑,๖๙๙ ๕๐.๔๖ N
๖. เมืองพทั ยา
(วดั บณุ ย์กัญจนาราม) AS ๖๕,๐๐๐ ๗๖,๕๑๗ ๑๑๗.๗๒ N

๗. เมืองพัทยา (ซอยวดั
หนองใหญ่)

โครงการจัดทาแผนสิ่งแวดลอ้ มในพน้ื ที่เขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕

าบดั นา้ เสยี ในพ้นื ท่เี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก รายงานฉบับสุดท้าย

ครอบคลุมพืน้ ท่ี ปญหา/อปุ สรรคของระบบ การบริหาร
พ้ืนที่ รอ้ ยละ จัดการ
ร.กม.)

.๕๓ ๑๐๐.๐๐ ปัญหาเกย่ี วกบั ระบบ เชน่ ระบบชารดุ สถานีสูบชารุด อปุ กรณ์ อปท.
ชารดุ ฯลฯ อปท.

๑.๗๖ ๙๒.๐๐ - นา้ เค็มจากภายนอกไหลเข้าระบบทาให้เครื่องจักรและระบบ
ทอ่ สง่ น้าเสียชารดุ

- ขาดความเข้าใจและความรว่ มมอื ร่วมใจ บ้านเรือนเกา่ ไม่ได้ อจน.

เช่อื มตอ่ ทอ่ นา้ ทิง้ ลงทอ่ รวบรวมนา้ เสยี ของเทศบาล

.๗๒ ๖๐.๐๐ - ระบบรวบรวมน้าเสยี ไมค่ รอบ- คลมุ พ้ืนที่ (ขาดหมู่ ๔ และ ๕)

- นา้ เสียจาก ทต. นาจอมเทียนไหลลน้ เขา้ มาในพื้นที่

.๗๖ ๙๐.๐ น้าเข้าระบบปริมาณมากในฤดฝู น สภาพนา้ น่งิ ไม่ไหลเวียน มี อปท.
ตะกอนเขียวสง่ ผลตอ่ ประสิทธิภาพการบาบัดของระบบ

.๓๐ ๑๐.๐ - ระบบทอ่ รวบรวมนา้ เสยี ไมไ่ ดผ้ า่ นท่ตี งั้ ของชุมชนทาใหน้ ้าเสยี อปท.
จากชมุ ชนส่วนใหญ่ไม่เขา้ ส่รู ะบบ

N/A N/A - ปัญหาน้าเสยี จาก ทต. นาจอมเทยี นไหลเขา้ ระบบ บรษิ ัท
เอกชน

- น้าเสีย ทต. หนองปรือ ทต. หนองปลาไหลบางสว่ นไหลเข้าสู่ บริษัท

N/A N/A ระบบโซนวัดหนองใหญ่ เอกชน

- ระบบรวบรวมไม่ครอบคลมุ พนื้ ท่ีทง้ั หมด ขาดบางส่วนพื้นทน่ี า

เกลอื ถึงแยกกระทิงลาย ส่งผลให้นา้ เสยี ไหลลงคลองสาธารณะ

๕-๒๕๖๙ ๔ - ๓๘

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม

ระบบบาบดั นา้ เสยี ชนดิ ระบบบาบดั ปรมิ าณน้าเสีย (ลบ.ม. วนั )

ศักยภาพ เข้าระบบ ร้อยละ พ
(ตร
ระบบ

๘. เกาะล้าน(หาดแสม) Trickling Filter ๓๐๐ -N
Trickling Filter ๙๐๐ -๘
๙. เกาะล้าน (หาดตา
แหวน) ๕๙.๒๔ ๒.

๑๐. ทม.ศรรี าชา AS (OD) ๑๘,๐๐๐ ๑๐,๖๖๔

๑๑. ทม.แสนสุข (เหนือ) AS (OD) ๑๔,๐๐๐ ๑๑,๐๖๓ ๗๙.๐๒ ๑๐
๑๒. ทม.แสนสขุ (ใต)้ AS (OD) ๙,๐๐๐ ๕,๔๕๙ ๖๐.๖๖ ๑๐

๑๓. อบจ.ชลบรุ ี AS ๒๒,๕๐๐ ๗,๒๑๖ ๓๒.๐๗ ๓๖

รวมจังหวดั ชลบุรี ๑๙๐,๖๐๐ ๑๓๙,๕๐๐ ๗๓.๒๐

โครงการจดั ทาแผนสิง่ แวดล้อมในพ้นื ท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕

รายงานฉบับสดุ ทา้ ย

ครอบคลุมพ้ืนที่ ปญหา/อุปสรรคของระบบ การบริหาร
พืน้ ที่ รอ้ ยละ จดั การ
ร.กม.) ออกสูท่ ะเลบริเวณบางละมงุ
อปท.
N/A N/A - การเปิดประตรู ะบายนา้ บริเวณพทั ยาใตช้ ว่ งฝนตกทาให้นา้ เสยี อปท.
๘.๗ N/A คา้ งท่อไหลส่ทู ะเล อจน.
เป็นพืน้ ท่ีที่มชี ุมชนไม่มากจึงมนี า้ เสียเขา้ สรู่ ะบบน้อย
.๑๐ ๕๑.๗๕ ปัญหาเกย่ี วกบั ระบบ เช่น ระบบชารดุ สถานีสูบชารดุ อุปกรณ์ อจน.
ชารดุ ฯลฯ อจน.
๐.๐๐ ๕๐.๐๐ - พ้ืนที่ใหบ้ รกิ ารยงั ไมค่ รอบคลุมท้ังพื้นที่ ขาดตามแนวฝั่งทะเล บริษัท
๐.๐๐ ๕๐.๐๐ ร้อยละ ๒๐ เอกชน

๖.๐๐ ๙๓.๐๐ - น้าเสียจาก ทน. เจา้ พระยาสรุ ศักดเิ์ ขา้ สู่ระบบ ทาใหต้ ้องบาบดั
นา้ เสยี จากนอกพ้ืนที่
ปัญหาเกยี่ วกบั ระบบ เชน่ ระบบชารดุ สถานีสูบชารุด อุปกรณ์
ชารุด ฯลฯ
ปัญหาเกย่ี วกบั ระบบ เช่น ระบบชารุด สถานสี ูบชารดุ อุปกรณ์
ชารดุ ฯลฯ
- ประสทิ ธภิ าพของระบบบาบดั มีแนวโนม้ ลดลงส่งผลใหค้ ุณภาพ
น้าทีผ่ ่านการบาบดั ไมผ่ า่ นเกณฑ์มาตรฐาน

- ระบบทอ่ รวบรวมนา้ เสยี ครอบคลุม ๔ เทศบาล (ทต.บาง
ทราย/ทม.ชลบุรี/ทม.บา้ นสวน และ ทต.เสม็ด) ทต.เสม็ด
รวบรวมนา้ เสียได้เพยี งร้อยละ ๑๐ ของพนื้ ท่ี เนอ่ื งจากบ้านเรือน
สว่ นใหญ่ไมไ่ ด้เชอื่ มต่อทอ่ เข้าส่รู ะบบ และบา้ นเรอื นทีอ่ ยรู่ มิ
ทะเล ปล่อยนา้ เสียลงทะเลโดยตรง

๕-๒๕๖๙ ๔ - ๓๙

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม

ระบบบาบดั น้าเสยี ชนดิ ระบบบาบดั ปริมาณน้าเสยี (ลบ.ม. วัน)
จงั หวดั ระยอง
ศักยภาพ เขา้ ระบบ รอ้ ยละ พ
(ตร
ระบบ

๑๔. ทต.บ้านเพ AS (OD) ๘,๐๐๐ ๙๘๕ ๑๒.๓๑ ๒๐

๑๕. ทม.มาบตาพดุ AL ๑๕,๐๐๐ ๑,๒๑๖ ๘.๑๑ ๓๐

๑๖. อบต.เพ (เกาะเสม็ด ๓๐๐ ๒๘๐ ๙๓.๓๓ N
อ่าวลกู โยน) ๑,๐๐๐ ๙๐๐ ๙๐.๐๐ N
๑๗. อบต.เพ (เกาะเสมด็
หาดทรายแกว้ )

๑๘. ทน.ระยอง Fix Film ๑,๐๐๐ ๒๕๐ ๒๕.๐๐ N
Aeration

รวมจงั หวัดระยอง ๒๕,๓๐๐ ๓,๓๘๑ ๑๓.๓๖

รวมพ้นื ท่ี EEC ๒๔๔,๙๐๐ ๑๕๑,๘๐๐ ๖๙.๒๓

ท่มี า: รายงานการติดตามประเมนิ ผลประสิทธภิ าพ ระบบบาบดั น้าเสยี รวมชมุ ชนและระบบบาบดั น

ประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๓, สานกั งานสงิ่ แวดลอ้ มภาคท่ี ๑๓ (ชลบุรี), ๒๕๖๓ และสานกั ง

หมายเหต:ุ N/A คอื ไม่มีข้อมลู

โครงการจัดทาแผนสงิ่ แวดล้อมในพ้นื ที่เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕

ครอบคลุมพืน้ ท่ี ปญหา/อปุ สรรคของระบบ รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย
พื้นท่ี รอ้ ยละ
ร.กม.) การบรหิ าร
จดั การ

- นา้ เสียเข้าระบบบาบดั นอ้ ยกวา่ ทีอ่ อกแบบไว้ เน่อื งจากขาดการ อจน.

๐.๐๐ ๗๐.๐๐ เชือ่ มท่อจากแหลง่ กาเนดิ น้าเสียเขา้ สู่ระบบรวบรวมในหลาย

พ้ืนที่

- มีปรมิ าณน้าเขา้ สูร่ ะบบน้อย จงึ ทาให้ระบบบาบัดนา้ เสยี เเดนิ อจน.

๐.๐๐ ๒๕.๐๐ ระบบไม่เต็มท่ี และอาจมีนา้ เสยี ขังอยู่ในระบบนานเกินกว่าทคี่ วร

จะเป็น

N/A N/A การจัดการน้าเสยี ยังไมค่ รอบคลุมพ้ืนทช่ี ุมชนทั้งหมด อปท.

N/A N/A ปญั หาเกย่ี วกบั ระบบ เช่น ระบบชารุด สถานสี ูบชารดุ อปุ กรณ์ อปท.
ชารุด ฯลฯ

- นา้ ทะเลไหลยอ้ นเขา้ ระบบบาบดั นา้ เสยี อจน.

N/A ๕๐.๐๐ - ระบบบาบดั น้าเสียที่ใชง้ านเปน็ Cluster เล็ก ๆ ทจ่ี ัดการน้า

เสยี ชุมชนไดเ้ ฉพาะพ้นื ท่ี อกี หลายพืน้ ทย่ี ังไม่มกี ารจดั การ

น้าเสีย แบบกล่มุ อาคาร
งานทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อมจังหวัดชลบุร,ี ๒๕๖๓

๕-๒๕๖๙ ๔ - ๔๐

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม รายงานฉบับสดุ ทา้ ย

ที่มา: ดัดแปลงมาจากสานกั งานสง่ิ แวดลอ้ มภาคที่ ๑๓ (ชลบรุ )ี , ๒๕๖๓

ภาพที่ ๔ - ๑๕ แสดงทตี่ ง้ั ระบบบาบดั นา้ เสียรวมชุมชนในพืน้ ท่ีภาคตะวนั ออก ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

โครงการจดั ทาแผนส่งิ แวดล้อมในพนื้ ทเ่ี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๓๘

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม รายงานฉบบั สดุ ท้าย

ตารางที่ ๔ - ๑๔ ได้รวบรวมข้อมูลปัญหาและอุปสรรคของระบบบาบัดน้าเสียในพื้นท่ีเขต
พฒั นาพิเศษภาคตะวันออกพบว่า ในจังหวัดฉะเชิงเทรา มีเพียงเทศบาลตาบลบางคล้าท่ีพื้นท่ีบริการของระบบ
บาบัดน้าเสียครอบคลุมร้อยละ ๑๐๐ ของพื้นท่ีเทศบาล ในส่วนของระบบบาบัดน้าเสียเทศบาลเมือง
ฉะเชงิ เทรา ครอบคลุมพื้นทบ่ี รกิ ารร้อยละ ๙๒ ของพ้ืนท่ี และพบปญั หาและอุปสรรคของระบบบาบัดนา้ เสียใน
จังหวัดฉะเชิงเทรา เป็นปัญหาเกี่ยวกับระบบ เช่น ระบบชารุด สถานีสูบชารุด อุปกรณ์ชารุด ฯลฯ รวมถึง
ปญั หาจากนา้ เค็มจากภายนอกไหลเข้าระบบทาให้เครื่องจกั รและระบบทอ่ สง่ นา้ เสยี ชารดุ เรว็

ในส่วนของจังหวัดชลบุรี จากข้อมูลท่ีรวบรวมได้ในส่วนของพื้นที่บริการ พบว่า เทศบาลเมือง
พนัสนิคม และ องค์การบริหารส่วนจังหวัดชลบุรี มีพื้นท่ีบริการครอบคลุมมากกว่าร้อยละ ๙๐ จากข้อมูลหาก
พจิ ารณาถงึ ปัญหาและอุปสรรค พบวา่ ระบบรวบรวมนา้ เสียยังไมค่ รอบคลุมพน้ื ทีเ่ ขตการปกครองของเทศบาล
รวมถึงมีน้าเสียจากนอกพ้ืนท่ีไหลเข้ามายังระบบบาบัด เช่น เทศบาลตาบลบางเสร่ พบปัญหาน้าเสียจาก
เทศบาลตาบลนาจอมเทียนไหลล้นเข้ามาในพื้นท่ี ระบบบาบัดน้าเสียเมืองพัทยา (วัดบุณย์กัญจนาราม) พบ
ปัญหาน้าเสียจากเทศบาลตาบลนาจอมเทียนไหลเข้าระบบ เทศบาลเมืองศรีราชา มีน้าเสียจาก เทศบาลนคร
เจา้ พระยาสรุ ศกั ดิเ์ ขา้ สรู่ ะบบ ทาใหต้ อ้ งบาบดั น้าเสยี จากนอกพื้นที่เพมิ่ ข้ึน

จังหวัดระยอง พบปัญหาและอุปสรรค คือ เทศบาลตาบลบ้านเพมีน้าเสียเข้าระบบบาบัดน้อย
กว่าท่ีออกแบบไว้ เนื่องจากขาดการเช่ือมท่อจาก แหล่งกาเนิดน้าเสียเข้าสู่ระบบรวบรวมในหลายพ้ืนที่
เช่นเดียวกับเทศบาลเมืองมาบตาพุดและ ระบบบาบัดน้าเสียขององค์การบริหารส่วนตาบลเพ (เกาะเสม็ดอ่าว
ลูกโยน) ท่ีมีปริมาณน้าเข้าสู่ระบบน้อย การจัดการน้าเสียยังไม่ครอบคลมุ พนื้ ที่ชุมชนทัง้ หมด เปน็ ตน้

จากข้อมูลข้างต้นแสดงให้เห็นถึงพื้นที่บริการของระบบบาบัดท่ียังไม่ครอบคลุมพื้นที่เขต
การปกครองของแต่ละองค์การปกครอง รวมถึงระบบบาบัดน้าเสียทมี่ ีเป็น Cluster เล็กๆ ท่ีสามารถจัดการน้า
เสยี ชุมชนได้เฉพาะพื้นท่ี ดงั นั้นจึงควรมีการเชอื่ มโยงให้เกิด Cluster การจัดการน้าเสียทีเ่ ป็นระบบในพื้นท่ีเขต
พัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก

โครงการจัดทาแผนสิ่งแวดลอ้ มในพืน้ ท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๓๙

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม รายงานฉบบั สดุ ท้าย

ภาพท่ี ๔ - ๑๖ แนวเส้นท่อของระบบบาบดั น้าเสียชุมชนในจังหวัดฉะเชิงเทรา

โครงการจัดทาแผนส่ิงแวดลอ้ มในพน้ื ท่ีเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๔๐

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม รายงานฉบบั สุดทา้ ย

ภาพท่ี ๔ - ๑๗ แนวเส้นทอ่ ของระบบบาบดั น้าเสียชุมชนในจงั หวดั ชลบรุ ี

โครงการจัดทาแผนส่ิงแวดล้อมในพื้นท่เี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๔๑

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม รายงานฉบบั สุดท้าย

ภาพที่ ๔ - ๑๘ แนวเส้นท่อของระบบบาบัดน้าเสียชุมชนในจังหวดั ระยอง

โครงการจัดทาแผนส่งิ แวดลอ้ มในพืน้ ท่เี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๔๒

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดทา้ ย

ภาพท่ี ๔ - ๑๙ คุณภาพนา้ ทะเล ระบบบาบัดนา้ เสียและแหลง่ กาเนิดมลพษิ ในพนื้ ท่ีเขตพฒั นาพิเศษภาค
ตะวันออก

โครงการจัดทาแผนสงิ่ แวดลอ้ มในพื้นทเ่ี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๔๓

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดท้าย

๔.๑.๔.๒ แนวโนม้ และสาเหตุน้าเสียชุมชน
แนวโน้มปริมาณน้าเสียชมุ ชน ในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ตั้งแต่ ปี พ.ศ.๒๕๖๐ –
๒๕๖๒ พบว่า หากพิจารณาในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก มีแนวโน้มเพิ่มข้ึนของปริมาณน้าเสียเพ่ิม
มากข้ึน โดยมีอัตราเพ่ิม ๗,๐๓๒ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน หากพิจารณาในรายจังหวัด พบว่า จังหวัดฉะเชิงเทรา
จังหวดั ชลบุรี และจงั หวดั ระยอง มีแนวโน้มของปริมาณน้าเสียเพ่ิมมากขึ้น โดยมีอัตราเพิ่ม ๘๘๙ ๔,๑๐๓ และ
๒,๐๔๑ ลูกบาศก์เมตรตอ่ วัน ตามลาดับ ดังรายละเอยี ดในตารางที่ ๔ - ๑๕ และ ภาพท่ี ๔ - ๒๐

ตารางท่ี ๔ - ๑๕ แนวโนม้ ปรมิ าณน้าเสียชมุ ชนปี ระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๒

จงั หวดั ปรมิ าณนา้ เสยี ชมุ ชนทีเ่ กิดขนึ้ (ลบ.ม วนั )

พ.ศ. ๒๕๖๐ พ.ศ. ๒๕๖๑ พ.ศ. ๒๕๖๒

ฉะเชงิ เทรา ๑๐๕,๖๕๙.๘๕ ๑๐๗,๒๕๑.๓๕ ๑๐๗,๔๓๖.๙๐

ชลบรุ ี ๒๒๒,๔๕๗.๓๕ ๒๓๐,๓๑๖.๗๕ ๒๓๐,๖๖๓.๔๐

ระยอง ๑๐๕,๐๓๓.๔๕ ๑๐๘,๔๘๗.๔๐ ๑๐๙,๑๑๔.๓๕

รวม ๔๓๓,๑๕๐.๖๕ ๔๔๖,๐๖๕.๕๐ ๔๑๙,๙๑๔.๓๕

หมายเหต:ุ * คานวณมาจากข้อมลู โครงการพฒั นาและปรบั ปรุงขอ้ มลู อตั ราการเกดิ นา้ เสียและปรมิ าณความสกปรกของ

แหล่งกาเนดิ ประเภทชุมชน กรมควบคุมมลพิษ, ๒๕๖๓ โดยประเมินจากจานวนประชากร ณ เดือนธันวาคม

พ.ศ. ๒๕๖๒ คณู กบั อัตราการเกิดนา้ เสียของชุมชน ปีฐาน พ.ศ. ๒๕๖๓ ซึ่งเทา่ กับ ๑๕๐ ลติ ร/คน/วัน

ทมี่ า: รายงานการติดตามประเมนิ ผลประสิทธภิ าพ ระบบบาบัดนา้ เสียรวมชมุ ชนและระบบบาบดั นา้ เสีย แบบกล่มุ อาคาร,

สานกั งานส่งิ แวดลอ้ มภาคท่ี ๑๓ (ชลบรุ )ี , ๒๕๖๐; ๒๕๖๑; ๒๕๖๓

ภาพท่ี ๔ - ๒๐ แนวโนม้ ปริมาณน้าเสียชุมชนในพืน้ ที่ ๓ จังหวดั ปี พ.ศ.๒๕๖๐ – ๒๕๖๒

สาเหตุของน้าเสียชุมชน เกิดจากระบบบาบัดน้าเสียยังไม่ครอบคลุมพ้ืนท่ีชุมชน ทาให้ชุมชน
ปล่อยนา้ เสียสู่ลารางสาธารณะ รวมถงึ สู่ทะเลในชุมชนท่อี ยู่ตามแนวชายฝงั่ ทะเล นอกจากน้ีในบรเิ วณที่มีระบบ
บาบัดน้าเสียในบางแห่งไม่สามารถรวบรวมน้าเสียเข้าสู่ระบบบาบัดได้ตามศักยภาพของระบบบาบัดท่ีมีและ

โครงการจดั ทาแผนสิ่งแวดลอ้ มในพ้ืนทเ่ี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๔๔

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม รายงานฉบบั สุดทา้ ย

การเชื่อมท่อน้าเสียจากบ้านเรือนเข้าสู่ระบบยังไม่ครอบคลุมท้ังพื้นท่ีรับผิดชอบ ปัญหาน้าเสียจากนอกพ้ืนที่
รับผิดชอบเข้าสู่ระบบรวบรวมน้าเสีย ทาให้ต้องบาบัดน้าเสียมากขึน้ เช่น เทศบาลเมืองศรีราชา เทศบาลเมือง
แสนสุข และ เมืองพัทยา ในขณะเดียวกันระบบบาบัดน้าเสียบางแห่งได้รับผลกระทบจากการรุกของน้าเค็ม
และขยะที่ลอยมากับน้าเสียทาให้อุปกรณ์และระบบเสียหายชารุด ระบบบาบัดน้าเสียมีสภาพทรุดโทรมขาด
การซ่อมบารุงเน่ืองจากไม่มีงบประมาณ ประกอบกับเทศบาลไม่มีความพร้อมในการออกเทศบัญญัติในการ
จัดเก็บค่าบริการบาบัดน้าเสีย ดังนั้นการแก้ไขปัญหาน้าเสียชุมชนจึงจาเป็นต้องขยายระบบบาบัดน้าเสียให้
ครอบคลุมพื้นทช่ี มุ ชน เนื่องจากมกี ารเชอื่ มโยงกบั คณุ ภาพนา้ ผิวดนิ และคุณภาพน้าทะเลชายฝ่งั

๔.๑.๔.๓ การคาดการณ์ปรมิ าณน้าเสยี ชุมชนท่เี กดิ ขน้ึ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๗๐
การพัฒนาพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก ส่งผลตอ่ การเพิ่มข้ึนของประชากรและแรงงาน
ที่จะเข้ามาในพื้นที่ทั้ง ๓ จังหวัด ซึ่งจากการคาดการณ์จานวนประชากรของสานักงานคณะกรรมการนโยบาย
เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (สกพอ.) พบวา่ จะมปี ระชากรและประชากรแฝงเพิม่ ข้ึนเป็น ๖,๐๙๐,๘๒๔ คน
ในปี พ.ศ. ๒๕๗๐ เม่อื นาจานวนประชากรปี พ.ศ. ๒๕๗๐ มาวิเคราะหห์ าแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงปริมาณน้า
เสียในพ้ืนท่ี EEC โดยใช้อัตราการเกิดน้าเสียของชุมชน ปีฐาน พ.ศ. ๒๕๖๓ ซึ่งเท่ากับ ๑๕๐ ลิตรต่อคนต่อวัน
(กรมควบคุมมลพิษ, อ้างใน ๒๕๕๓ สานักงานส่ิงแวดล้อมภาคที่ ๑๓ (ชลบุรี), ๒๕๖๓) ในการวิเคราะห์การ
คาดการณ์ปริมาณน้าเสียชุมชนในกรณีที่มีการพัฒนาพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษพิเศษภาคตะวันออก ปี พ.ศ.
๒๕๖๔ – ๒๕๗๐ พบว่า
ในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก จะมีปริมาณน้าเสียชุมชน ๗๑๐,๙๗๔ ลูกบาศก์เมตร
ต่อวนั ในปี พ.ศ.๒๕๖๔ และใน ปี พ.ศ. ๒๕๗๐ จะมปี รมิ าณน้าเสียชมุ ชนเกดิ ข้นึ ๙๑๓,๖๒๔ ลูกบาศก์เมตรต่อ
วนั ซ่ึงมีแนวโน้มเพิ่มข้นึ โดยมีอัตราการเพิ่มขึ้น ๓๓,๕๐๗ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน โดยมีค่าความเช่ือมั่นของขอ้ มูล
อยูท่ ีร่ ้อยละ ๙๙.๘๓ หากพจิ ารณาแยกรายจังหวัด พบวา่
ในจังหวัดฉะเชิงเทรา ในปี พ.ศ. ๒๕๖๔ จะมีปริมาณน้าเสียชุมชน ๑๒๙,๘๓๒ ลูกบาศก์เมตร
ต่อวัน ใน ปี พ.ศ. ๒๕๗๐ จะมีปริมาณน้าเสียชุมชนเกิดขึ้น ๑๔๙,๐๖๔ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน ซ่ึงมีแนวโน้ม
เพ่ิมข้ึนโดยมีอัตราการเพ่ิมข้ึน ๓,๑๙๗.๑ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน โดยมีค่าความเช่ือม่ันของข้อมูลอยู่ท่ีร้อยละ
๙๙.๘๕
จังหวัดชลบุรี จะมีปริมาณนา้ เสียชุมชน ๔๐๑,๗๒๗ ลูกบาศกเ์ มตรต่อวัน ในปี พ.ศ. ๒๕๖๔ ใน
ปี พ.ศ. ๒๕๗๐ จะมีปริมาณน้าเสียชุมชนเกิดขึ้น ๔๘๗,๕๖๖ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน ซึ่งมีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นโดยมี
อตั ราการเพิม่ ขึน้ ๑๔,๐๙๔ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน โดยมีคา่ ความเชื่อมนั่ ของข้อมลู อยู่ที่ร้อยละ ๙๙.๖๕
จังหวัดระยองในปี พ.ศ. ๒๕๖๔ จะมีปริมาณน้าเสียชุมชน ๑๗๙,๔๑๖ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน
และใน ปี พ.ศ. ๒๕๗๐ จะมีปริมาณน้าเสียชุมชนเกิดข้ึน ๒๗๖,๙๙๓ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน ซ่ึงมีแนวโน้มเพิม่ ขึ้น
โดยมอี ัตราการเพิม่ ขนึ้ ๑๖,๒๑๖ ลูกบาศก์เมตรตอ่ วนั โดยมีค่าความเชื่อมน่ั ของข้อมลู อย่ทู ่ีร้อยละ ๙๘.๕๗

โครงการจดั ทาแผนสิ่งแวดล้อมในพ้ืนที่เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๔๕

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม รายงานฉบับสุดทา้ ย

ตารางท่ี ๔ - ๑๖ การคาดการณ์ปริมาณน้าเสยี ชุมชนในกรณที มี่ ีการพัฒนาพ้นื ทเ่ี ขตพฒั นาพิเศษ

ภาคตะวนั ออก ปี พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๗๐

ปรมิ าณนา้ เสยี ชมุ ชน (ลบ.ม. วัน) ความสามารถของระบบใน
การบาบัดของพน้ื ที่ EEC
ปี พ.ศ. ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง พืน้ ท่ี EEC (ลบ.ม./วัน)** ณ ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

๒๕๖๒* ๑๐๗,๔๓๗ ๒๓๐,๖๖๓ ๑๐๙,๑๑๔ ๔๔๗,๒๑๕ ๒๔๔,๙๐๐
๒๕๖๔F ๑๒๙,๘๓๒ ๔๐๑,๗๒๗ ๑๗๙,๔๑๖ ๗๑๐,๙๗๔ ๒๔๔,๙๐๐

๒๕๖๕F ๑๓๒,๗๐๐ ๔๑๘,๘๐๒ ๑๘๙,๙๕๒ ๗๔๑,๔๕๔ ๒๔๔,๙๐๐

๒๕๖๖F ๑๓๕,๗๐๐ ๔๓๔,๕๙๕ ๒๐๓,๐๔๗ ๗๗๓,๓๔๑ ๓๒๙,๙๐๐

๒๕๖๗F ๑๓๘,๘๑๓ ๔๔๙,๐๘๙ ๒๑๘,๑๘๓ ๘๐๖,๐๘๕ ๓๒๙,๙๐๐

๒๕๖๘F ๑๔๒,๐๓๕ ๔๖๑,๐๕๙ ๒๓๕,๒๑๖ ๘๓๘,๓๑๐ ๓๒๙,๙๐๐

๒๕๖๙F ๑๔๕,๔๔๔ ๔๗๔,๑๒๘ ๒๕๔,๕๑๙ ๘๗๔,๐๙๑ ๓๒๙,๙๐๐

๒๕๗๐F ๑๔๙,๐๖๔ ๔๘๗,๕๖๖ ๒๗๖,๙๙๓ ๙๑๓,๖๒๔ ๓๒๙,๙๐๐

หมายเหต:ุ ๑) จานวนประชากรทคี่ าดการณ์ นามาคณู กับอตั ราการเกดิ น้าเสยี ของชมุ ชน ๑๕๐ ลิตร/คน/วนั

๒) จานวนประชากรที่คาดการณ์เปน็ การคาดการณ์ประชากรจังหวัดในเขตพฒั นาพเิ ศษของสานักงาน

คณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๗๐

๓) F คอื Forecast

๔) *จากรายงานการติดตามประเมินผลประสทิ ธภิ าพ ระบบบาบดั นา้ เสยี รวมชมุ ชนและระบบบาบัดนา้ เสยี แบบ

กลมุ่ อาคาร, สานักงานส่ิงแวดลอ้ มภาคที่ ๑๓ (ชลบรุ ี), ๒๕๖๓ (ยงั ไม่มกี ารนาเสนอข้อมลู ปริมาณปริมาณนา้

เสยี ชุมชนของ ปพี .ศ. ๒๕๖๓)

๕) ** ศักยภาพความสามารถของระบบในการบาบดั ของพน้ื ท่ี ปีพ.ศ. ๒๕๖๖ โดยเพิม่ จากโครงการระยะที่ ๑

โครงการเพม่ิ ประสทิ ธิภาพระบบบาบดั เสยี เมืองพทั ยา (ซอยวดั หนองใหญ)่

ภาพที่ ๔ - ๒๑ ปรมิ าณน้าเสยี ชุมชนในกรณที ี่มกี ารพัฒนาพ้นื ที่เขตพฒั นาพิเศษพเิ ศษภาคตะวนั ออก
ปี พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๗๐

โครงการจดั ทาแผนสงิ่ แวดล้อมในพ้ืนท่เี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๔๖

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ทา้ ย

๔.๑.๔.๔ คณุ ภาพน้าทิง้ ของระบบบาบัดนา้ เสยี ในพ้ืนท่เี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก ปี

พ.ศ. ๒๕๖๓

จากรายงานการติดตามประเมินผลประสิทธิภาพ ระบบบาบัดน้าเสียรวมชุมชนและระบบบาบัด

น้าเสีย แบบกลุ่มอาคาร, สานักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ ๑๓ (ชลบุรี), ๒๕๖๓ ซึ่งได้มีการติดตามผลการ

ตรวจสอบคุณภาพน้าเข้า-น้าทิ้งของระบบบาบัดน้าเสียในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกโดยมีท้ังหมด ๗

พารามิเตอร์ คือ ๑) อุณหภูมิ (Temperature) ๒) ค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) ๓) ค่าปริมาณออกซิเจน

(Bilogical Oxygen Demand: BOD) ๔) ของแข็งแขวนลอย (Suspended Solids: SS) ๕) น้ามันและไขมัน

(Grease & Oil) ๖) ฟอสฟอรัสท้ังหมด (Total Phosphorus: TP) และ ๗) ไนโตรเจนท้ังหมด (Total

Nitrogen: TN)

โดยพบว่าระบบบาบดั ทม่ี คี า่ นา้ ท้ิงเกนิ ค่ามาตรฐาน ได้แก่

จังหวัดชลบุรี พบว่า คณุ ภาพน้าท้ิงจากระบบบาบัดน้าเสียเทศบาลเมืองพนัสนิคม มคี ่าความเป็น

กรด - ดา่ งของน้าท้งิ เท่ากบั ๙.๗๐ ซง่ึ เกินคา่ มาตรฐาน คอื ต้องอยูร่ ะหวา่ ง ๕.๕ - ๙.๐ และ คุณภาพน้าทง้ิ จาก

ระบบบาบัดน้าเสียองค์การบริหารสวนจังหวัดชลบุรี พบค่า ของแข็งแขวนลอย (Suspended Solids: SS)

ของนา้ ทิ้ง เท่ากับ ๓๕ มิลลกิ รัมตอ่ ลิตร ซ่ึงเกนิ ค่ามาตรฐานน้าทิ้งท่กี าหนดไวใ้ ห้น้อยกว่า ๓๐ มิลลิกรัมต่อลิตร

นอกจากนั้นยังพบค่าน้ามันและไขมัน (Grease & Oil) ในคณุ ภาพน้าทิ้งของระบบบาบดั น้าเสียองคก์ ารบริหาร

ส่วนจังหวัดชลบุรี เมืองพัทยา (ซอยวัดหนองใหญ่) เมืองพัทยา (ซอยวัดบุณย์กัญจนาราม) และเทศบาลนคร

แหลมฉบงั เกนิ ค่ามาตรฐาน (ต้องนอ้ ยกวา่ หรือเทา่ กับ ๕ มลิ ลกิ รัมต่อลติ ร)

จังหวัดระยอง พบว่า คุณภาพน้าท้ิงจากระบบบาบัดน้าเสียเกาะเสม็ด – หาดทรายแก้ว

มีคา่ ฟอสฟอรัสท้ังหมด (Total Phosphorus) ของนา้ ท้ิงเทา่ กบั ๓.๑๒ มิลลิกรมั ตอ่ ลิตร ซ่ึงเกินคา่ มาตรฐานน้า

ท้งิ ทก่ี าหนดไว้ใหต้ ้องน้อยกว่าหรือเทา่ กบั ๒ มิลลิกรัมต่อลติ ร

ในส่วนของจังหวัดฉะเชงิ เทราไม่พบพารามเิ ตอร์ทเ่ี กินเกณฑ์ รายละเอยี ดดังตารางท่ี ๔ - ๑๗

ตารางที่ ๔ - ๑๗ ผลการตรวจสอบคณุ ภาพนา้ เข้า-น้าทง้ิ ของระบบบาบดั นา้ เสยี ในพนื้ ที่เขตพัฒนาพิเศษ

ภาคตะวันออก ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ แยกรายสถานี

จงั หวดั ระบบบาบดั น้าเสยี Temp pH BOD SS Grease & Oil (mg/l) TP TN
ฉะเชิงเทรา (°C) (mg/l) (mg/l) (mg/l) (mg/l)
๓๑.๕๐
ชลบุรี เทศบาลตาบลบางคล้า Inf ๓๑.๕๐ ๖.๘๙ ๒.๐๐ <๓๐ ๓.๓๐ ๐.๑๔ ๙.๗๒
เทศบาลเมืองฉะเชงิ เทรา Eff ๒๘.๙๐ ๐.๐๓ ๒.๕๘
เทศบาลตาบลบางเสร่ Inf ๓๑.๓๐ ๖.๕๐ ๐.๓๐ <๓๐ ๒.๖๐ ๐.๕๓ ๑.๔๘
เทศบาลเมอื งพนสั นคิ ม Eff ๒๙.๖๑ ๐.๘๓ ๖.๒๓
องคการบริหารสวนจังหวัดชลบุรี Inf ๒๙.๖๖ ๗.๗๖ ๑๑.๙๐ ๓๘ ๓.๙๐ ๒.๐๑ ๑๕.๗๗
เมอื งพัทยา (ซอยวัดหนองใหญ่) Eff ๓๐.๗๐ ๑.๓๐ ๘.๘๔
เมืองพทั ยา (ซอยวัดบณุ ยก์ ัญจนาราม) Inf ๓๐.๗๐ ๗.๖๐ ๑.๐๐ <๓๐ ๓.๕๐ ๐.๙๘ ๒.๑๖
Eff ๓๐.๘๐ ๐.๘๘ ๒.๐๔
Inf ๓๑.๗๐ ๕.๕๙ ๓๐.๒๖ ๓๑.๖๘ ๓.๙๐ ๐.๙๔ ๖.๕๒
Eff ๓๑.๑๐ ๐.๗๓ ๖.๑๐
Inf ๓๑.๓๐ ๗.๓๙ ๑๒.๕๔ ๒๐.๒๕ ๒.๑๐ ๑.๑๕ ๒.๗๒
Eff ๓๑.๓๐ ๑.๓๖ ๑๒.๐๐
Inf ๗.๖๓ ๘.๕๐ <๓๐ ๒.๔๐ ๑.๔๒ ๑๕.๔๐

๙.๗๐ ๕.๘๐ ๙๐ ๓.๔๐

๗.๑๒ ๒๒.๓๐ <๓๐ ๖.๕๐

๗.๖๗ ๑.๓๐ ๓๕ ๖.๑๐

๗.๒๖ ๑๖.๙๐ <๓๐ ๘.๘๐

๗.๓๐ ๑.๑๐ <๓๐ ๗.๔๐

๗.๔๐ ๑๐.๘๐ <๓๐ ๗.๘๐

โครงการจัดทาแผนสิง่ แวดลอ้ มในพ้นื ทีเ่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๔๗

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม รายงานฉบบั สดุ ท้าย

จังหวดั ระบบบาบดั นา้ เสยี Temp pH BOD SS Grease & Oil (mg/l) TP TN
(°C) (mg/l) (mg/l) (mg/l) (mg/l)

Eff ๓๑.๕๐ ๗.๔๙ ๑๒.๗๐ <๓๐ ๗.๗๐ ๑.๗๖ ๑๖.๘๐

เทศบาลเมืองศรีราชา Inf ๒๙.๒๙ ๗.๒๒ ๔๐.๐๖ ๓๐.๓๑ ๓.๘๘ ๒.๑๕ ๒๔.๖๗
Eff ๒๗.๙๑ ๗.๔๑ ๙.๒๑ ๙.๗๓ ๑.๖๕ ๐.๗๔ ๔.๒๙

เทศบาลนครแหลมฉบงั Inf ๓๑.๑๐ ๗.๓๓ ๑๖.๗๐ ๔๔.๐๐ ๘.๔ ๐.๙๐ ๕.๓๑
Eff ๓๑.๑๐ ๗.๖๙ ๑๐.๙๐ <๓๐ ๖.๐๐ ๑.๔๔ ๑๗.๔๐

แสนสุขเหนือ Inf ๓๑.๑๙ ๗.๐๕ ๓๗.๔๕ ๑๘.๗๗ ๓.๐๒ ๑.๕๘ ๒๖.๑๘
Eff ๓๑.๐๑ ๗.๐๓ ๑๓.๐๒ ๑๒.๐๑ ๑.๔๐ ๐.๔๕ ๘.๘๐

แสนสุขใต้ Inf ๓๑.๐๕ ๗.๐๕ ๑๘.๐๘ ๓๒.๖๔ ๕.๒๒ ๒.๑๖ ๓๗.๐๐
Eff ๓๐.๘๘ ๗.๐๕ ๙.๔๔ ๒๐.๐๕ ๒.๗๒ ๒.๐๐ ๘.๓๓

เทศบาลตาบลบ้านเพ Inf ๓๐.๕๑ ๗.๘๗ ๒๑.๕๖ ๓๗.๘๓ ๕.๗๓ ๑.๙๗ ๑๐.๗๖
Eff ๒๙.๙๙ ๗.๗๕ ๑๔.๖๑ ๒๒.๙๙ ๑.๘๒ ๐.๗๖ ๓.๕๑

เทศบาลเมอื งมาบตาพุด Inf ๒๘.๕๑ ๗.๑๙ ๑๔.๖๖ ๒๓.๔ ๓.๕๒ ๒.๗๗ ๑๕.๓๘
ระยอง Eff ๒๘.๑๙ ๖.๙๙ ๘.๖๗ ๑๒.๕๘ ๑.๖๒ ๑.๓๕ ๔.๕๗
Inf ๓๐.๘๐ ๗.๕๕ ๑๔.๕๐ ๘๒.๐๐ ๔.๐๐ ๑.๖๕ ๑.๔๐
เกาะเสมด – หาดทรายแกว้ Eff ๓๑.๑๐ ๗.๕๗ ๖.๖๐ <๓๐ ๐.๔๐ ๓.๑๒ ๓.๐๕

ชุมชนเทศบาลนครระยอง Inf - - ๑๔.๙๔ ๓๖.๖๔ ๓.๔๒ ๓.๐๓ ๓๔.๙๖
Eff - - ๗.๘๙ ๒๘.๔๕ ๒.๐๘ ๑.๘๑ ๑๓.๑๙

ค่ามาตรฐานนา้ ทิง้ Eff ≤๔๐ ๕.๕-๙.๐ ≤๒๐ ≤๓๐ ≤๕ ≤๒ ≤๒๐

ท่ีมา: รายงานการตดิ ตามประเมินผลประสทิ ธภิ าพ ระบบบาบดั น้าเสยี รวมชุมชนและระบบบาบดั น้าเสยี แบบกลมุ่ อาคาร,

สานกั งานสง่ิ แวดลอ้ มภาคที่ ๑๓ (ชลบรุ ี), ๒๕๖๓

หมายเหต:ุ ๑) Inf คือ นา้ เสียทีเ่ ขา้ สูร่ ะบบบาบดั (Influent), Eff คือ น้าท้ิงผา่ นการบาบดั (Effluent)

๒) ค่ามาตรฐานคณุ ภาพน้าท้ิง ตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม เรื่อง กาหนดมาตรฐาน

ควบคมุ การระบายนา้ ทิง้ จาก ระบบบาบัดนา้ เสยี รวมของชุมชน วันท่ี ๗ เมษายน ๒๕๕๓

ภายใต้แผนส่ิงแวดล้อมในพ้ืนท่ีพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ระยะท่ี ๑ มีโครงการที่เก่ียวกับการจัดการ
น้าเสียรวม ๕ โครงการ ได้รับงบประมาณรวม ๑ โครงการ คือ ระบบบาบัดเสียเมืองพัทยา ยังไม่ได้รับ
งบประมาณ (อยู่ระหว่างออกแบบรายละเอียดและตั้งของงบประมาณ) จานวน ๒ โครงการ คือ ระบบบาบัด
น้าเสียรวมอาเภอปลวกแดง ระบบบริหารจัดการน้าเสียในพื้นที่เขตควบคุมมลพิษจังหวัดระยอง และซึ่ง
ปริมาณน้าเสียในภาพรวมยังคงมีปริมาณมากกว่าความสามารถในการบาบัด และหากพิจารณาคุณภาพน้าใน
ลาน้าท่มี ีคุณภาพเสอ่ื มโทรมเปรยี บเทียบกบั สถานะการบาบัดน้าเสยี พบว่า (ภาพท่ี ๒ - ๗)

๑) คลองพานทอง ตาบลท่าข้าม จังหวัดฉะเชิงเทรามีคุณภาพน้าในระดับเสื่อมโทรมมาก แต่การใช้
ประโยชน์ที่ดินริมคลองยังไม่มีระบบรวบรวมและบาบัดน้าเสีย คลองนครเนื่องเขต คลองท่าไข่ แม่น้าบางปะ
กง จ.ฉะเชิงเทรา มีคุณภาพในระดับเสือ่ มโทรม ไหลผ่านเขตปกครอง ๓๑ เขตปกครอง มีเพียง ๔ เขตปกครอง
ทมี่ รี ะบบรวบรวมและบาบดั นา้ เสยี

๒) คลองตาหรุ จังหวัดชลบุรี มีคุณภาพในระดับเส่ือมโทรม การใช้ประโยชน์ท่ีดินริมคลองยังไม่มีระบบ
รวบรวมและบาบัดนา้ เสยี

๓) แม่น้าระยอง แม่น้าประแสร์ จังหวัดระยอง มีคุณภาพน้าในระดับเส่ือมโทรม แม่น้าระยอง มีระบบ
บาบัดน้าเสียเฉพาะในพ้ืนท่ีตาบลท่าประดู่ และตาบลเนินพระ และได้รับงบประมาณก่อสร้างเพิ่มเติมตามแผน

โครงการจดั ทาแผนสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๔๘

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสุดท้าย

สิง่ แวดล้อมในพนื้ ที่พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ระยะที่ ๑ อกี ๒ พ้ืนท่ี คือระบบบาบัดน้าเสียรวมอาเภอปลวก
แดง ระบบบริหารจัดการน้าเสียในพ้ืนที่เขตควบคุมมลพิษจังหวัดระยอง ส่วนแม่น้าประแสร์ การใช้ประโยชน์
ท่ีดนิ ริมแมน่ า้ ยังไมม่ รี ะบบรวบรวมและบาบัดนา้ เสยี

จากสถานการณ์คณุ ภาพน้าเสียในลาน้าและศักยภาพการบาบดั น้าเสยี ของการใช้ประโยชน์ที่ดินริมคลอง

การสนับสนุนและส่งเสริมให้มีกระบวนการบาบัดน้าเสียท่ีครอบคลุมพ้ื นที่ท่ีคลองหรือแม่น้า

สายสาคญั ไหลผา่ น เป็นสิ่งจาเปน็ ท่ตี อ้ งได้รับการผลกั ดันในแผนสิง่ แวดล้อมในพ้นื ท่ีพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก

ระยะที่ ๒ ต่อไป

๔.๑.๔.๕ เปา้ หมายการจัดการนา้ เสียชุมชน
จากปัญหาและอุปสรรคท่ีเกิดขึ้นของการดาเนินงานระบบบาบัดน้าเสียชุมชน การบริหาร
จัดการสามารถดาเนินการได้ดังนี้
๑) เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการน้าเสียชุมชน โดยสนับสนุนการปรับปรุงประสิทธิภาพระบบ
บาบัดน้าเสียให้สามารถบาบัดน้าเสียได้ตามเกณฑ์มาตรฐานกาหนดและดาเนินการอย่างต่อเน่ือง อาทิ
(๑) สนับสนุนงบประมาณในการซ่อมบารุงระบบบ้าบัดน้าเสีย (๒) หน่วยงานส่วนกลางกาหนดกลไกการ
สนับสนุนให้องค์ปกครองส่วนท้องถ่ินได้รับการจัดสรรงบประมาณเพื่ อเพ่ิมประสิทธิภาพระบบบาบัดน้าเสีย
ท่ีเหมาะสมกับบริบทและความจาเปน็ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
๒) ส่งเสริมให้มีระบบบาบัดน้าเสียรวมในพื้นท่ีท่ีต้ังอยู่ริมน้า (Central Wastewater
Treatment Plant) หรือแบบกลุ่มอาคาร (Cluster Wastewater Treatment Plant) ท้ังบริเวณริมแม่น้า
และชายทะเล
๓) ส่งเสริมให้มีการบาบัดน้าเสีย ณ แหล่งกาเนิด โดยจัดหาระบบบาบัดน้าเสียเบื้องต้น อาทิ
ถังดักไขมันในอาคารบ้านเรือน ติดตั้งบ่อเกรอะโดยเฉพาะบ้านเรือนริมแม่น้า เพื่อลดปัญหาความสกปรกของ
นา้ เสียกอ่ นปล่อยลงสู่สง่ิ แวดลอ้ ม
๔) ส่งเสริมให้มีระบบบาบัดน้าเสียในพื้นท่ีท่ีติดกับพ้ืนที่คุ้มครองส่ิงแวดล้อมเมืองพัทยา และ
เขตควบคุมมลพิษเมืองพัทยา เพ่อื สนับสนนุ การดาเนนิ งานใหเ้ ปน็ ไปตามนโยบายของรฐั
๕) หน่วยงานส่วนกลางควรทบทวนกฎ ระเบียบท่ีเก่ียวข้องเพ่ือสนับสนุนให้มีการเก็บค่าบาบัด
นา้ เสยี ไดค้ รอบคลุมทกุ พน้ื ที่
๖) ควรจัดต้ังเครือข่ายองค์กรชุมชนเพื่อช่วยเฝ้าระวังคุณภาพน้าในแม่น้าคูคลองของชุมชน
และส่งเสริม/สนับสนุน ให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติโดยเฉพาะแหล่งน้า
สาธารณะในชมุ ชนใหค้ รอบคลุมในทุกพนื้ ท่ี
๗) สนับสนุนงบประมาณให้มีการประยุกต์ภูมิปัญญาท้องถ่ิน เพื่อการอนุรักษ์และพัฒนาแม่น้า
คูคลอง
๘) จัดทาแผนจัดการน้าเสียในภาพรวมระดับจังหวัด และจัดประชุมชี้แจงแผนจัดการน้าเสีย
ให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีความจาเป็น ต้องดาเนินการจัดให้มีระบบบาบัดน้าเสีย และสนับสนุน
ใหม้ กี ารดาเนนิ การตามแผน

โครงการจัดทาแผนสง่ิ แวดล้อมในพนื้ ท่เี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๔๙

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสุดทา้ ย

๔.๑.๔.๖ น้าเสียจากภาคอตุ สาหกรรม
จากข้อมูลของกรมโรงงานอุตสาหกรรม (๒๕๖๓) พบว่า ในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาค
ตะวันออก มีจานวนโรงงานทั้งหมด ๘,๐๑๒ โรงงาน โดยแบ่งเป็นโรงงานนอกนิคมอุตสาหกรรม จานวน
๕,๒๑๑ โรงงาน และโรงงานในนิคมอุตสาหกรรมจานวน ๒,๘๐๑ โรงงาน หากพิจารณาในรายจังหวัด พบว่า
จังหวัดฉะเชิงเทรา มีโรงงานในนิคมอุตสาหกรรม จานวน ๓๓๔ โรงงาน และไม่พบข้อมูล จานวนโรงงานนอก
นิคมอุตสาหกรรม ในส่วนของจังหวัดชลบุรี มีจานวนโรงงานทั้งหมด ๕,๐๖๒ โรงงาน แบ่งเป็น โรงงานนอก
นิคมอุตสาหกรรม จานวน ๓,๔๐๙ โรงงาน และโรงงานในนิคมอุตสาหกรรม จานวน ๑,๖๕๓ โรงงาน ใน
จังหวัดระยอง มีจานวนโรงงานทั้งหมด ๒,๙๕๐ โรงงาน โดยแบ่งเป็นโรงงานนอกนิคมอุตสาหกรรม จานวน
๑,๘๐๒ โรงงาน และโรงงานในนิคมอุตสาหกรรม จานวน ๑,๑๔๘ โรงงาน รายละเอยี ดดัง ตารางที่ ๔ - ๑๘
นอกเหนือจากน้ัน จากข้อมูลกรมโรงงานอุตสาหกรรม (๒๕๖๓) พบว่า จานวนโรงงานนอก
อุตสาหกรรมที่มีขนาดต่ากว่า ๕๐ แรงม้าในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก มี ๑๓๖ โรงงาน โดยพบใน
พ้ืนท่จี งั หวัดชลบรุ ี จานวน ๘๗ โรงงาน และในจงั หวดั ระยองจานวน ๔๙ โรงงาน

ตารางที่ ๔ - ๑๘ โรงงานนคิ มอตุ สาหกรรมในพ้นื ท่เี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก ปี พ.ศ. ๒๕๖๓

จงั หวดั โรงงานนอกนิคมอุตสาหกรรม โรงงานในนิคมอตุ สาหกรรม รวม
๓๓๔ ๓๓๔
ฉะเชงิ เทรา -
๑,๖๕๓ ๕,๐๖๒
ชลบุรี ๓,๔๐๙ ๑,๑๔๘ ๒,๙๕๐
๒,๘๐๑ ๘,๐๑๒
ระยอง ๑,๘๐๒

พนื้ ที่ EEC ๕,๒๑๑

ทม่ี า: กรมโรงงานอตุ ากกรรม (๒๕๖๓)

การปลอ่ ยน้าเสียจากภาคอุตสาหกรรมในพ้ืนทเี่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
กรมโรงงานอุตสาหกรรมได้รายงานปรมิ าณน้าทิ้งเฉลยี่ ที่กักเก็บภายในโรงงาน และปรมิ าณนา้ ทิง้ เฉลย่ี ท่ี
ระบายออกนอกโรงงาน พบว่า ในปี พ.ศ. ๒๕๖๐ มีปริมาณน้าท้ิงเฉล่ียท่ีระบายออกนอกโรงงาน
๑,๒๕๕,๑๗๐.๕๔ ลูกบาศก์ต่อวัน และเพ่ิมขึ้นเป็น ๑,๒๕๓,๓๗๕.๙๐ ลูกบาศก์ต่อวัน ในปี พ.ศ. ๒๕๖๑ ส่วน
ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ มีปริมาณน้าทิ้งเฉล่ียที่ระบายออกนอกโรงงาน ๑,๒๐๖,๑๗๗.๔๘ ลูกบาศก์ต่อวัน ซึ่งลดลง
จากปี พ.ศ. ๒๕๖๑ และพบว่ามีปริมาณน้าท้ิงเฉลี่ยที่ระบายออกนอกโรงงานเพ่ิมข้ึนเป็น ๑,๓๐๙,๔๕๙.๐๔
ลกู บาศก์ต่อวัน ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ รายละเอียดดังตารางท่ี ๔ - ๑๙ เห็นได้วา่ แนวโนม้ ของปริมาณนา้ ทง้ิ เฉล่ีย
ที่ระบายออกนอกโรงงานมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น ในขณะท่ีปริมาณเฉลี่ยน้าทิ้งกักเก็บภายในโรงงานมีแนวโน้ม
ลดลง

โครงการจดั ทาแผนส่ิงแวดลอ้ มในพืน้ ท่ีเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๕๐

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ท้าย

ตารางท่ี ๔ - ๑๙ ปริมาณการปลอ่ ยนา้ เสยี จากโรงงานอุตสาหกรรม ระหวา่ งปี พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๓

พ.ศ. ปรมิ าณเฉล่ยี นา้ ทิ้งกักเกบภายในโรงงาน ปริมาณนา้ ทิ้งเฉลีย่ ท่ีระบายออกนอกโรงงาน
(ลบ.ม. วนั ) (ลบ.ม. วัน)

๒๕๖๐ ๕,๓๐๐,๒๑๐.๗๕ ๑,๒๕๕,๑๗๐.๕๔

๒๕๖๑ ๔,๖๐๙,๒๐๒.๕๗ ๑,๒๕๓,๓๗๕.๙๐

๒๕๖๒ ๔,๑๔๑,๙๖๖.๒๙ ๑,๒๐๖,๑๗๗.๔๘

๒๕๖๓ ๓,๕๗๐,๙๑๖.๘๐ ๑,๓๐๙,๔๕๙.๐๔
ทีม่ า: กรมโรงงานอุตสาหกรรม (๒๕๖๑)

นอกจากน้ี ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรมได้จัดทารายงานปริมาณน้าเสียที่ระบายออกจากโรงงาน
เป็นข้อมูลท่ีโรงงานอุตสาหกรรมแต่ละแห่งรายงานเขา้ มายังกรมโรงงานอุตาสากรรม ซ่ึงมีการรายงาน ๒ รอบ
ต่อปี พบประเภทโรงงานอุตสาหกรรมทป่ี ลอ่ ยน้าเสียมากทสี่ ุด ๑๐ อันดับแรก ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ (ตารางที่ ๔ -
๒๐) โดย ๓ อนั ดับแรก คือ อับดบั ที่ ๑ โรงงานประกอบกิจการเกยี่ วกับการถลุง หลอม หล่อ รีด ดึง หรือผลิต
เหลก็ หรือเหล็กกล้าในขั้นตน้ (iron and steel basic industries) มีปริมาณการปล่อยน้าเสีย ๔๕๗,๑๘๖.๙๔
ลูกบาศก์เมตรต่อวัน อันดับท่ี ๒ โรงงานปรับคุณภาพของเสียรวม (central waste treatment plant)
มีปริมาณการปล่อยน้าเสีย ๓๕๙,๗๓๐.๘๕ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน และอันดับท่ี ๓ โรงงานอุตสาหกรรมการทา
ยางแผ่นรมควัน การทายางเครป ยางแท่ง ยางน้า หรือการทายางให้เป็นรูปแบบอ่ืนใดท่ีคล้ายคลึงกันจากยาง
ธรรมชาติ มปี รมิ าณการปล่อยน้าเสีย ๒๐๑,๔๔๓.๔๕ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน ท้ังนี้หากพิจารณาข้อมลู ในตารางที่
๔ - ๒๐ พบว่ามีประเภทโรงงานการทายางแผ่นรมควัน การทายางเครป ยางแท่ง ยางน้า หรือการทายางให้
เป็นรูปแบบอ่ืนใดท่ีคล้ายคลึงกันจากยางธรรมชาติ มีปริมาณการปล่อยน้าเสียอยู่ในอันดับที่ ๓ (รอบการ
รายงานท่ี ๒๕๖๓/๑) และอันดับท่ี ๖ (รอบการรายงานท่ี ๒๕๖๓/๒) คอื ๒๐๑,๔๔๓.๔๕ และ ๑๒๕,๘๙๕.๒๗
ลกู บาศก์เมตรต่อวัน ตามลาดับ นอกจากน้ันยังมีโรงงานการทาแป้ง มีปริมาณการปล่อยน้าเสียอยู่ในอันดับ ๔
(รอบการรายงานที่ ๒๕๖๓/๑) และอันดับท่ี ๙ (รอบการรายงานท่ี ๒๕๖๓/๒) คือ ๒๐๑,๑๗๘.๓๕ และ
๙๑,๙๒๑.๕๓ ต่อวนั

ตารางที่ ๔ - ๒๐ ประเภทโรงงานอุตสาหกรรมในพ้นื ที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกทปี่ ลอ่ ยนา้ เสยี มาก

ที่สดุ ๑๐ อนั ดับแรก ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓

อันดบั รอบการ ประเภทโรงงาน ปรมิ าณรวม
รายงาน (ลบ.ม วัน)

๑ ๒๕๖๓/๑ ๕๙ โรงงานประกอบกิจการเก่ียวกบั การถลุง หลอม หล่อ รีด ดึง ๔๕๗,๑๘๖.๙๔

หรอื ผลิตเหล็ก หรือเหล็กกลา้ ในขนั้ ต้น (iron and steel

basic industries)

๒ ๒๕๖๓/๑ ๑๐๑ โรงงานปรบั คณุ ภาพของเสยี รวม (central waste ๓๕๙,๗๓๐.๘๕

treatment plant)

๓ ๒๕๖๓/๑ ๕๒ (๓) การทายางแผ่นรมควนั การทายางเครป ยางแทง่ ยางนา้ ๒๐๑,๔๔๓.๔๕

โครงการจัดทาแผนสง่ิ แวดลอ้ มในพื้นท่ีเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๕๑

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม รายงานฉบับสดุ ท้าย

อันดบั รอบการ ประเภทโรงงาน ปรมิ าณรวม
รายงาน (ลบ.ม วัน)

หรอื การทายางใหเ้ ปน็ รูปแบบอนื่ ใดที่คล้ายคลึงกันจากยาง ๒๐๑,๑๗๘.๓๕
ธรรมชาติ ๑๔๑,๓๕๐.๗๖
๑๒๕,๘๙๕.๒๗
๔ ๒๕๖๓/๑ ๙ (๒) การทาแป้ง
๑๐๘,๔๙๗.๓๕
๕ ๒๕๖๓/๒ ๑๐๑ โรงงานปรบั คณุ ภาพของเสยี รวม (central waste ๙๘,๖๐๙.๔๕
treatment plant)
๙๑,๙๒๑.๕๓
๖ ๒๕๖๓/๒ ๕๒ (๓) การทายางแผ่นรมควัน การทายางเครป ยางแท่ง ยางนา้ ๘๒,๙๕๗.๔๘
หรอื การทายางให้เปน็ รปู แบบอ่ืนใดท่ีคล้ายคลงึ กนั จากยาง
ธรรมชาติ

๗ ๒๕๖๓/๑ ๑๑ (๓) การทาน้าตาลทรายดิบ หรือนา้ ตาลทรายขาว
๘ ๒๕๖๓/๑ ๓๘ (๒) การทากระดาษ กระดาษแข็ง หรอื กระดาษที่ใชใ้ นการ

กอ่ สรา้ งชนดิ ที่ทาจากเสน้ ใย (fiber) หรอื แผ่นกระดาษไฟ
เบอร์ (fiberboard)
๙ ๒๕๖๓/๒ ๙ (๒) การทาแป้ง

๑๐ ๒๕๖๓/๑ ๔๒ (๑) การทาเคมภี ัณฑ์ สารเคมี หรอื วัสดเุ คมี
ทมี่ า: กรมโรงงานอตุ สาหกรรม (๒๕๖๓)

๔.๑.๕ คณุ ภาพอากาศและเสียง
๔.๑.๕.๑ สถานการณ์คณุ ภาพอากาศในบรรยากาศ
สานักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ ๑๓ (ชลบุรี) ร่วมกับกรมควบคุมมลพิษได้ตรวจวัดค่าคุณภาพ

อากาศ จานวน ๖ พารามิเตอรหลัก ได้แก่ ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2)
กา๊ ซคาร์บอนมอนดอกไซด์ (CO) ก๊าซโอโซน (O3) ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๑๐ ไมครอน (PM10) และฝุ่นละออง
ขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) และมีสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศรวม ๙ สถานี (ภาพที่ ๕ – ๒๑) โดย
ต้ังอยู่ในเขตจังหวัดระยอง ๕ สถานี ได้แก่ สานักงานสาธารณสุขอาเภอปลวกแดง (28T) โรงพยาบาลส่งเสริม
สุขภาพตาบลมาบตาพุด (29T) สถานีสานักงานเกษตรจังหวัดระยอง (30T) ศนู ย์วิจัยพืชไรร่ ะยอง (31T) สถานี
ศูนย์ราชการจังหวัดระยอง (74T) จังหวัดชลบุรี ๓ สถานี ได้แก่ สนามกีฬาเทศบาลแหลมฉบัง (32T)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านเขาหิน (33T) สานักงานสิ่งแวดล้อมภาคท่ี ๑๓ (34T) และจังหวัด
ฉะเชิงเทรา ๑ สถานี คอื เทศบาลตาบลทุ่งสะเดา อ.แปลงยาว (60T) จากภาพจะเหน็ ไดว้ ่าสถานตี รวจวดั อยู่ใน
โซนที่มีการใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทพ้ืนที่เมือง อาคารส่ิงปลูกสร้าง และโซนที่มีกิจกรรมในภาคอุตสาหกรรม
จากผลการตรวจวัดพบว่า ค่าก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) ก๊าซคาร์บอน
มอนดอกไซด์ (CO) ก๊าซโอโซน (O3) ในพ้ืนที่ ๓ จังหวัดไม่เกินค่ามาตรฐาน แต่ในส่วนของฝุ่นละอองขนาดไม่
เกิน ๑๐ ไมครอน (PM10) และฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) พบว่าคุณภาพอากาศเกินค่า
มาตรฐาน ดังตารางที่ ๔ - ๒๑

โครงการจดั ทาแผนสิง่ แวดล้อมในพื้นท่เี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๕๒

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม รายงานฉบับสุดท้าย

ตารางที่ ๔ - ๒๑ ผลการตรวจวดั คณุ ภาพอากาศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓

พารามเิ ตอร์

PM10 PM2.5

SO2 O3 (ไมเกิน ๑๒๐ µgm/ลบ.ม.) (ไม่เกิน ๕๐ µgm/ลบ.

จงั หวดั สถานี (๑ ชม.ไม่ NO2 CO (๑ ชม.ไม่ ม.)
เกนิ ๓๐๐ เกนิ ๑๐๐
ฉะเชิงเทรา เทศบาลต.ทุง่ สะเดา อ.แปลงยาว (60T) (๑ ชม.ไมเ่ กิน (๑ ชม.ไม่เกิน % ของ
ppb) ๑๗๐ ppb) ๓๐ ppm) ppb)
µgm/ลบ.ม. % ของคร้งั µgm/ลบ. ครั้งท่ี
๐ – ๘๑ ๐ – ๕๑ N/A ๐ – ๙๙ ทีเ่ กิน ค่า ม. เกิน คา่
มาตรฐาน มาตรฐ

าน

๒๑ – ๑๓๔ ๐.๒ ๔ – ๘๕ ๐.๒

สนามกีฬาเทศบาลแหลมฉบงั (32T) ๐ – ๓๘ ๐ – ๗๗ N/A ๐ – ๙๙ ๑๒ – ๙๙ - ๔ – ๖๗ ๐.๒

โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตาบลบา้ น N/A ๐ – ๙๙ N/A ๐ – ๙๗ ๑๗ – ๑๕๕ ๐.๒ ๕ – ๗๗ ๐.๒
เขาหนิ (33T)

ชลบรุ ี สานักงานสง่ิ แวดล้อมภาคที่ ๑๓ (34T) N/A ๐ – ๖๕ N/A ๐ – ๙๘ ๖ – ๑๑๑ - ๓ – ๗๑ ๐.๒

สานกั งานสาธารณสุขอาเภอปลวกแดง ๐ – ๔๖ N/A ๐ – ๘๓ ๑๕ – ๑๔๗ ๐.๑ ๕ – ๙๐ ๐.๒
(28T) ๐ – ๑๕

โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตาบลมาบ

ตาพุด (29T) ๐ – ๖๘ ๐ – ๖๐ ๐ – ๓.๘๐ ๐ – ๙๙ ๑๗ – ๑๓๑ ๐.๑ ๕ – ๘๒ ๐.๒

สถานีสานักงานเกษตรจังหวัดระยอง อ.

เมือง (30T) ๐ – ๙ ๐ – ๘๙ ๐ – ๒.๕๐ ๐ – ๙๔ ๙ – ๑๓๓ ๐.๑ ๓ – ๘๖ ๐.๑

ศูนยว์ จิ ัยพชื ไรร่ ะยอง (31T) ๐ – ๖๐ ๐ – ๕๑ ๐ – ๒.๒๐ ๐ – ๙๘ ๑๕ – ๑๒๖ ๐.๑ ๓ – ๘๕ ๐.๒

สถานีศูนย์ราชการจังหวัดระยอง อ. ๐ – ๔๘ ๐ – ๘๖ ๐ – ๑.๘๐ ๑ – ๙๗ ๑๖ – ๑๓๕ ๐.๑ ๔ – ๙๖ ๐.๒
ระยอง เมอื ง (74T)

หมายเหต:ุ ๑) ข้อมูลปี พ.ศ. ๒๕๖๓ เก็บรวบรวมในช่วงเดอื นมกราคม – ตลุ าคม

๒) กา๊ ซซลั เฟอรไ์ ดออกไซด์ (SO2) กา๊ ซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) ก๊าซคาร์บอนมอนดอกไซด์ (CO) และก๊าซ
โอโซน (O3) ไมพ่ บจานวนครั้งที่เกนิ คา่ มาตรฐาน จงึ ไมม่ ีการแสดงข้อมูล % ของครง้ั ทเี่ กนิ คา่ มาตรฐาน
ที่มา: รายงานสถานการณแ์ ละคณุ ภาพอากาศประเทศไทย, กรมควบคุมมลพษิ , ๒๕๖๓

โครงการจัดทาแผนสง่ิ แวดลอ้ มในพื้นทเี่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๕๓

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ทา้ ย

ภาพท่ี ๔ - ๒๒ จุดตรวจวัดคุณภาพอากาศในพน้ื ทีเ่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก

โครงการจดั ทาแผนสิง่ แวดลอ้ มในพื้นทเ่ี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๕๔

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม รายงานฉบบั สุดท้าย

แนวโนม้ คุณภาพอากาศแยกรายสารมลพิษ
จากข้อมูลรายงานคุณภาพอากาศของกรมควบคุมมลพิษ ซึ่งแสดงค่าเฉล่ียรายเดือน แยกราย
สถานี ในการพิจารณาข้อมูลแนวโน้มคุณภาพอากาศแยกตามพารามิเตอร์ ได้นาค่าเฉลี่ยรายเดือนมาเฉลยี่ เป็น
ค่าเฉล่ียรายปีของแต่ละจังหวัด ซ่ึงมีพารามิเตอร์และหน่วยวัด มีดังนี้ ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2): ส่วนใน
พันล้านส่วน หรือ ppb ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2): ส่วนในพั นล้านส่วน หรือ ppb ก๊าซ
คารบ์ อนมอนอกไซด์ (CO) สว่ นในล้านสว่ น หรือ ppm ก๊าซโอโซน (O3) : ส่วนในพันล้านส่วน ฝุ่นละอองขนาด
ไม่เกนิ ๑๐ ไมครอน (PM10) : ไมโครกรัมต่อลูกบาศกเ์ มตร หรือ มคก./ลบ.ม. หรือ µg./m3 ฝนุ่ ละอองขนาดไม่
เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) : ไมโครกรัมตอ่ ลูกบาศกเ์ มตร หรอื มคก./ลบ.ม. หรอื µg./m3
โดยผลของการทบทวนรายงานคุณภาพอากาศของกรมควบคุมมลพิษ ระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๕๙
– ๒๕๖๓ พบว่า พ้ืนที่เขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก
สารมลพิษทมี่ ีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น ได้แก่ ค่าเฉลี่ยของปริมาณก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2)
มีปริมาณ ๘.๖๓ ในปี พ.ศ.๒๕๕๙ และเพิ่มข้ึนเปน็ ๑๐.๗๘ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ค่าเฉลยี่ ของปรมิ าณของปริมาณ
คาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) ระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๖๓ อยู่ในช่วง ๐.๕๖ - ๐.๕๗ ppm ค่าเฉลี่ยของ
ปริมาณฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๑๐ ไมครอน (PM10) ในปี พ.ศ. ๒๕๕๙ มีปริมาณ ๓๙.๑๔ ไมโครกรัมต่อ
ลกู บาศก์เมตร และเพิม่ ขน้ึ เปน็ ๔๓.๗๑ ไมโครกรมั ตอ่ ลูกบาศกเ์ มตร ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ และฝุน่ ละอองขนาดไม่
เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ซ่ึงมีข้อมูลในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ และ พ.ศ. ๒๕๖๓ พบว่า ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ ค่าเฉล่ีย
ของฝนุ่ ละอองขนาดไม่เกนิ ๒.๕ ไมครอนสูงขน้ึ จากปี พ.ศ. ๒๕๖๒ เล็กน้อย
สารมลพิษที่มีแนวโน้มลดลง ได้แก่ ค่าเฉลี่ยของปริมาณก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) มี
ปริมาณ ๒.๖๙ ppb ในปี พ.ศ. ๒๕๕๙ และมีปริมาณลดลงเป็น ๑.๗๔ ppb ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ ค่าเฉลี่ยของ
ปริมาณก๊าซโอโซน (O3) ในปี พ.ศ. ๒๕๕๙ มีปริมาณก๊าซโอโซน ๒๖.๗๔ ppb ลดลงเป็น ๒๒.๒๗ ppb ในปี
พ.ศ. ๒๕๖๓ อย่างไรก็ตามค่าเฉล่ียสารมลพิษ ปี พ.ศ. ๒๕๕๙ - ๒๕๖๓ ในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาค
ตะวนั ออกทุกพารามเิ ตอร์ยงั ไม่เกนิ เกณฑม์ าตรฐาน

ตารางท่ี ๔ - ๒๒ คา่ เฉลีย่ สารมลพษิ ปี พ.ศ. ๒๕๕๙ - ๒๕๖๓ ในพืน้ ท่เี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก

สารมลพษิ ค่ามาตรฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙ พ.ศ. ๒๕๖๐ พ.ศ. ๒๕๖๑ พ.ศ. ๒๕๖๒ พ.ศ. ๒๕๖๓
(รายปี)*
ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) ๔๐ ๒.๖๙ ๒.๒๗ ๒.๑๘ ๑.๙๘ ๑.๗๔
กา๊ ซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) ๓๐ ๘.๖๓ ๙.๐๗ ๑๑.๖๓ ๑๑.๔๙ ๑๐.๗๘
ก๊าซคารบ์ อนมอนอกไซด์ (CO) ๙ ๐.๕๖ ๐.๕๗ ๐.๕๖ ๐.๕๖ ๐.๕๗
กา๊ ซโอโซน (O3) ๗๐ ๒๖.๗๔ ๒๓.๐๐ ๒๔.๙๑ ๒๐.๘๐ ๒๒.๒๗
ฝุ่นละอองขนาดไมเ่ กนิ ๑๐ ไมครอน (PM10) ๑๒๐ ๓๙.๑๔ ๓๗.๔๙ ๔๑.๓๖ ๔๔.๖๑ ๔๓.๗๑
ฝนุ่ ละอองขนาดไมเ่ กิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ๕๐ ๑๘.๓๙ ๑๘.๗๑
- - -
ท่ีมา: *กรมควบคุมมลพษิ

โครงการจัดทาแผนส่งิ แวดลอ้ มในพน้ื ที่เขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๕๕

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม รายงานฉบบั สุดทา้ ย

จงั หวัดฉะเชิงเทรา
สารมลพิษที่มีแนวโน้มเพ่ิมสูงข้ึน ได้แก่ ค่าเฉลี่ยของปริมาณก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2)
เท่ากับ ๒.๐๘ ppb ในปี พ.ศ. ๒๕๕๙ และมีปรมิ าณ ๑.๕๐ ppb ใน ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ ค่าเฉล่ียของปริมาณก๊าซ
ไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) มีปริมาณ ๘.๖๗ ในปี พ.ศ.๒๕๕๙ และเพิ่มข้ึนเป็น ๑๐.๕๐ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒
และลดลงเป็น ๙.๘๓ ppb ค่าเฉล่ียของปริมาณฝนุ่ ละอองขนาดไมเ่ กนิ ๑๐ ไมครอน (PM10) มปี ริมาณ ๓๘.๒๕
ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตรใน ปี พ.ศ. ๒๕๕๙ และในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ มีปริมาณ ๕๐.๑๗ ไมโครกรัมต่อ
ลูกบาศก์เมตร
สารมลพิษที่มีแนวโน้มลดลง ได้แก่ ค่าเฉลี่ยของปริมาณก๊าซโอโซน (O3) ใน ปี พ.ศ. ๒๕๕๙
มีปรมิ าณกา๊ ซโอโซน ๒๒.๖๗ ppb ลดลงเปน็ ๒๑.๐๘ ppb ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓

ตารางท่ี ๔ - ๒๓ ค่าเฉลี่ยสารมลพิษ ปี พ.ศ. ๒๕๕๙ - ๒๕๖๓ ในจังหวัดฉะเชิงเทรา

สารมลพษิ พ.ศ. ๒๕๕๙ พ.ศ. ๒๕๖๐ พ.ศ. ๒๕๖๑ พ.ศ. ๒๕๖๒ พ.ศ. ๒๕๖๓
กา๊ ซซลั เฟอรไ์ ดออกไซด์ (SO2) ๒.๐๘ ๒.๒๕ ๒.๔๒ ๒.๕๐ ๑.๕๐
กา๊ ซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) ๘.๖๗ ๖.๑๗ ๑๐.๐๐ ๑๐.๕๐ ๙.๘๓
ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) -----

กา๊ ซโอโซน (O3) ๒๒.๖๗ ๒๑.๖๗ ๒๒.๔๒ ๑๙.๙๒ ๒๑.๐๘
ฝุ่นละอองขนาดไม่เกนิ ๑๐ ไมครอน (PM10) ๓๘.๒๕ ๓๖.๕๘ ๔๑.๑๗ ๔๕.๐๘ ๕๐.๑๗
ฝุน่ ละอองขนาดไมเ่ กิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ๑๕.๘๙ ๑๘.๘๓
- - -

จงั หวดั ชลบรุ ี
สารมลพิษที่มีแนวโน้มเพ่ิมสูงขึ้น ได้แก่ ค่าเฉล่ียของปริมาณของปริมาณคาร์บอนมอนอกไซด์
(CO) มีค่าเฉลี่ยในปี พ.ศ. ๒๕๕๙ เท่ากับ ๐.๕๗ และเพิ่มในเป็น ๐.๕๘ ๐.๖๘ ๐.๖๑ และ ๐.๖๔ ppm
ในปี พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๓ ตามลาดับ ปริมาณฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๑๐ ไมครอน (PM10) มีค่าเฉล่ียในปี
พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๖๓ เท่ากับ ๔๐.๙๒ ๔๐.๓๙ ๔๒.๙๒ ๔๔.๒๘ และ ๔๐.๗๕ ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร
ตามลาดบั

สารมลพิษที่มีแนวโน้มลดลง ได้แก่ ค่าเฉล่ียของปริมาณก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2)
มคี า่ เฉล่ียในปี พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๖๓ เทา่ กับ ๒.๓๓ ๑.๘๓ ๑.๕๐ ๑.๓๓ และ ๑.๕๐ ppb ตามลาดับ คา่ เฉล่ีย
ของปริมาณของก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) ท่ีมีค่าเฉล่ียในปี พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๖๓ เท่ากับ ๑๓.๕๐
๑๒.๒๘ ๑๓.๔๔ ๑๒.๘๖ และ ๑๒.๒๕ ppb ตามลาดับ ค่าเฉลี่ยของปริมาณของปริมาณก๊าซโอโซน (O3)
มีค่าเฉลี่ยในปี พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๖๓ เท่ากับ ๒๗.๕๘ ๒๔.๔๔ ๒๙.๕๖ ๒๓.๖๑ และ ๒๑.๑๗ ppb
ตามลาดับค่าเฉลี่ยของปริมาณฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) มีแนวโน้มมีค่าเฉลี่ยในปี พ.ศ.
๒๕๕๙ – ๒๕๖๓ เท่ากับ ๑๙.๓๓ ไมโครกรมั ต่อลูกบาศก์เมตร เพิ่มข้ึนเป็น ๒๔.๕๐ ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์
เมตร ในปี พ.ศ. ๒๕๖๑ และมปี ริมาณ ๑๙.๐๓ ไมโครกรัมตอ่ ลูกบาศก์เมตร ใน ปี พ.ศ. ๒๕๖๓

โครงการจัดทาแผนสิ่งแวดล้อมในพื้นท่ีเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๕๖

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม รายงานฉบบั สดุ ท้าย

ตารางท่ี ๔ - ๒๔ คา่ เฉลีย่ สารมลพิษ ปี พ.ศ. ๒๕๕๙ - ๒๕๖๓ ในจงั หวดั ชลบรุ ี

สารมลพษิ พ.ศ. ๒๕๕๙ พ.ศ. ๒๕๖๐ พ.ศ. ๒๕๖๑ พ.ศ. ๒๕๖๒ พ.ศ. ๒๕๖๓

กา๊ ซซัลเฟอรไ์ ดออกไซด์ (SO2) ๒.๓๓ ๑.๘๓ ๑.๕๐ ๑.๓๓ ๑.๕๐

กา๊ ซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) ๑๓.๕๐ ๑๒.๒๘ ๑๓.๔๔ ๑๒.๘๖ ๑๒.๒๕

กา๊ ซคารบ์ อนมอนอกไซด์ (CO) ๐.๕๗ ๐.๕๘ ๐.๖๘ ๐.๖๑ ๐.๖๔

กา๊ ซโอโซน (O3) ๒๗.๕๘ ๒๔.๔๔ ๒๙.๕๖ ๒๓.๖๑ ๒๑.๑๗

ฝุ่นละอองขนาดไมเ่ กิน ๑๐ ไมครอน (PM10) ๔๐.๙๒ ๔๐.๓๙ ๔๒.๙๒ ๔๔.๒๘ ๔๐.๗๕

ฝนุ่ ละอองขนาดไมเ่ กนิ ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ๑๙.๓๓ ๒๒.๐๐ ๒๔.๕๐ ๒๐.๖๑ ๑๙.๐๓

จงั หวดั ระยอง
สารมลพิษที่มีแนวโน้มเพิ่มสูงข้ึน ได้แก่ ค่าเฉลี่ยของปริมาณของก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์
(NO2) มีค่าเฉล่ียในปี พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๖๓ เท่ากับ ๓.๗๑, ๘.๗๕, ๑๑.๔๔, ๑๑.๑๒ และ ๑๐.๒๕ ppb
ตามลาดบั ค่าเฉลี่ยของปริมาณของปริมาณคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น โดยมีค่าเฉล่ียในปี
พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๖๓ เท่ากับ ๐.๕๕, ๐.๕๖, ๐.๖๑, ๑.๓๗ และ ๐.๕๔ ppm ตามลาดับ ปริมาณฝุ่นละออง
ขนาดไม่เกิน ๑๐ ไมครอน (PM10) มีค่าเฉล่ียในปี พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๖๓ เท่ากับ ๓๘.๒๗ ๓๕.๕๐ ๔๐.๐๐
๔๔.๔๗ และ ๔๐.๒๒ ไมโครกรัมตอ่ ลูกบาศกเ์ มตร ตามลาดับ
สารมลพิษที่มีแนวโน้มลดลง ได้แก่ ค่าเฉล่ียของปริมาณก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) ในปี
พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๖๓ เท่ากับ ๓.๖๗ ppb และลดลงอย่างต่อเน่ือง โดยในมี พ.ศ.๒๕๖๓ มีค่าเท่ากับ ๒.๒๒
ppb ค่าเฉลี่ยของปริมาณของปริมาณก๊าซโอโซน (O3) มีแนวโน้มลดลง โดยมีค่าเฉลี่ยในปี พ.ศ. ๒๕๕๙ –
๒๕๖๓ เท่ากับ ๒๙.๙๗, ๒๒.๙๐, ๒๒.๗๗, ๑๘.๘๘ และ ๒๔.๕๕ ppb ตามลาดับ ค่าเฉลี่ยของปริมาณ
ปรมิ าณฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) มีแนวโน้มลดลงเช่นกัน โดยมีค่าเฉล่ียในปี พ.ศ. ๒๕๕๙
– ๒๕๖๓ เท่ากบั ๒๒.๘๓ ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร และในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ มีค่าเท่ากบั ๑๘.๒๘ ไมโครกรัม
ต่อลกู บาศก์เมตร รายละเอยี ดดังตารางที่ ๔ - ๒๕

ตารางที่ ๔ - ๒๕ คา่ เฉลีย่ สารมลพิษ ปี พ.ศ. ๒๕๕๙ - ๒๕๖๓ ในจงั หวัดระยอง

สารมลพิษ พ.ศ. ๒๕๕๙ พ.ศ. ๒๕๖๐ พ.ศ. ๒๕๖๑ พ.ศ. ๒๕๖๒ พ.ศ. ๒๕๖๓
กา๊ ซซัลเฟอรไ์ ดออกไซด์ (SO2) ๓.๖๗ ๒.๗๒ ๒.๖๓ ๒.๑๒ ๒.๒๒
กา๊ ซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) ๓.๗๑ ๘.๗๕ ๑๑.๔๔ ๑๑.๑๒ ๑๐.๒๕
กา๊ ซคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) ๐.๕๕ ๐.๕๖ ๐.๖๑ ๑.๓๗ ๐.๕๔

กา๊ ซโอโซน (O3) ๒๙.๙๗ ๒๒.๙๐ ๒๒.๗๗ ๑๘.๘๘ ๒๔.๕๕

ฝ่นุ ละอองขนาดไมเ่ กนิ ๑๐ ไมครอน (PM10) ๓๘.๒๗ ๓๕.๕๐ ๔๐.๐๐ ๔๔.๔๗ ๔๐.๒๒
ฝนุ่ ละอองขนาดไม่เกนิ ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ๒๒.๘๓ ๑๘.๘๓ ๒๐.๓๐ ๑๘.๖๘ ๑๘.๒๘

สถานการณสารอนิ ทรยี ์ระเหยงา่ ย (VOCs) ในบรรยากาศ
ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ กรมควบคุมมลพิษ มีการตรวจวัดสารอินทรีย์ระเหยง่ายในบรรยากาศ
(Volatile Organic Compounds VOCs) ในพ้ืนท่ีจังหวัดระยอง เพื่อติดตามเฝ้าระวังสถานการณ์สารอินทรีย์

โครงการจัดทาแผนสงิ่ แวดลอ้ มในพืน้ ท่เี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๕๗

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม รายงานฉบับสดุ ท้าย

ระเหยง่ายในบรรยากาศ ๙ ชนิด ตามท่ีได้กาหนดไว้เป็นมาตรฐานค่าสารอินทรีย์ระเหยง่ายในบรรยากาศ
โดยท่ัวไปในเวลา ๑ ปี (ตามประกาศคณะกรรมการส่งิ แวดล้อมแห่งชาติฉบับท่ี ๓๐ (พ.ศ. ๒๕๕๐) ลงวันท่ี ๑๔
กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๐ ประกาศในราชกิจจานุเบกขาเล่ม ๑๒๔ ตอนพิเศษ ๑๔๓ ลงวันที่ ๒๘ กันยายน
๒๕๕๐) จากการรวบรวมข้อมูลสถานการณ์ และการจดั การปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย
ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ กรมควบคุมมลพิษ ตรวจวัดจากสถานีเก็บตัวอย่างสารอินทรีย์ระเหยง่ายในจังหวัดระยอง
จานวน ๑๑ สถานี พบว่า มีการตรวจพบค่าที่เกินกว่าค่ามาตรฐาน ๓ ชนิด คือ Benzene 1,3–Butadiene
และ 1,2 – Dichloromethane รายละเอยี ดดงั ตารางที่ ๔ – ๒๙

ตารางท่ี ๔ - ๒๖ เปรยี บเทียบคา่ เฉลย่ี ๒๔ ช่วั โมงเฉล่ียรายปีกับคา่ มาตรฐานเฉลี่ยรายปขี องสารอินทรีย์

ระเหยงา่ ย ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

สถานี Vinyl 1,3- Dichloro Chloro 1,2- Benzene Trichloro 1,2-Dichloro Tetrachloro
๑) วัดหนองแฟบ Chloride Butadiene methane form Dichloro ethylene propane ethylene
ethane ๒.๑
๐.๑๐ ๐.๓๓ ๑.๓๖ ๐.๐๗ ๐.๐๑ ๐.๐๗ ๐.๐๒
๐.๒

๒) วดั มาบชลูด ๐.๐.๔ ๐.๐๕ ๑.๖๓ ๐.๒๒ ๐.๓ ๑.๙ ๐.๐๑ ๐.๑๑ ๐.๐๒

๓) ที่ทาการชมุ ชนบา้ นพลง ๐.๕๙ ๐.๕๒ ๑.๒๖ ๐.๐๙ ๐.๔ ๕.๐ ๐.๐๔ ๐.๐๗ ๐.๐๓

๔) สถานเี มอื งใหม่มาบตาพุด ๐.๘๔ ๑.๐๘ ๑.๕๙ ๐.๐๙ ๐.๘ ๓.๕ ๐.๐๕ ๐.๐๗ ๐.๐๑

๕) โรงพยาบาลสง่ เสรมิ ๐.๑๔ ๐.๖๙ ๑.๔๔ ๐.๐๘ ๐.๔ ๓.๔ ๐.๐๔ ๐.๐๘ ๐.๐๑
สุขภาพ ตาบลมาบตาพุด

๖) ศูนยบ์ รกิ ารสาธารณสขุ ๐.๑๑ ๐.๐๖ ๑.๒๖ ๐.๐๗ ๐.๕ ๒.๕ ๐.๐๔ ๐.๐๘ ๐.๐๒
บา้ นตากวน

๗) ชมุ ชนเนนิ พะยอม ๐.๑๐ ๐.๐๑ ๔.๔๙ ๐.๑๑ ๐.๒ ๒.๔ ๐.๐๕ ๐.๐๗ ๐.๐๓
(หมู่บ้านนพเกตุ)

๘) โรงพยาบาลสง่ เสรมิ ๐.๐๒ ๐.๐๑ ๐.๘๑ ๐.๑๐ ๐.๓ ๑.๗ ๐.๐๑ ๐.๑๑ ๐.๐๖
สุขภาพตาบลบา้ นหนองจอก

๙) วดั ปลวกเกต ๐.๐๒ ๐.๐๔ ๐.๗๖ ๐.๐๗ ๐.๓ ๑.๖ ๐.๐๑ ๐.๐๗ ๐.๐๑

๑๐) คลินิกชุมชนอบอุ่น ๐.๐๒ ๐.๐๑ ๐.๘๙ ๐.๑๐ ๐.๓ ๑.๖ ๐.๐๑ ๐.๐๗ ๐.๑
เทศบาลนครระยอง

๑๑) บรเิ วณ กม.๕ ใกลค้ า่ ย ๐.๐๒ ๒.๑๑ ๐.๖๗ ๐.๐๖ ๐.๓ ๓.๓ ๐.๐๔ ๐.๑๒ ๐.๐๑
มหาสุรสงิ หนาท

ค่ามาตรฐานเฉล่ยี รายปี ๑๐ ๐.๓๓ ๒๒ ๐.๔๓ ๐.๔ ๑.๗ ๒๓ ๕ ๒๐๐
(มคก./ลบ.ม.)

หมายเหต:ุ หน่วย คือ ไมโครกรมั /ลูกบาศกเ์ มตร

ข้อมูลในปี พ.ศ.๒๕๖๓ จานวนตวั อย่าง ไม่ครบ ๑๒ เดอื น

ท่มี า: สถานการณแ์ ละการจดั การปัญหามลพษิ ทางอากาศและเสยี ง ของประเทศไทย ปี ๒๕๖๒, กรมควบคมุ มลพษิ , ๒๕๖๒

แนวโนม้ ค่าเฉล่ียรายปขี องสารอนิ ทรยี ์ระเหยง่าย ปี พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๖๓
จากรายงานสถานการณ์สารอินทรีย์ระเหยง่ายใน ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ พบว่า มีการตรวจพบค่าท่ี
เกินกว่าค่ามาตรฐาน ๓ ชนิด คือ 1,3–Butadiene และ 1,2 – Dichloromethane Benzene ซึ่งสอดคล้อง
กับข้อมูลค่าเฉลี่ยรายปีของสารอินทรีย์ระเหยง่าย ปี พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๖๓ โดยสาร 1,3–Butadiene
มีค่าเฉล่ียเกินค่ามาตรฐาน (๐.๓๓ ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร) ในปี พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๓ ส่วนสาร

โครงการจดั ทาแผนสิ่งแวดลอ้ มในพน้ื ทีเ่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๕๘

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดทา้ ย

1,2-Dichloromethane มีค่าเฉลี่ยเกินค่ามาตรฐาน (๐.๔๐ ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร) ในปี พ.ศ. ๒๕๖๐ -
๒๔๖๑ และสาร Benzene พบว่า ต้ังแต่ ปี พ.ศ. ๒๕๕๙ - ๒๕๖๓ มีค่าเฉลี่ยเกินค่ามาตรฐานในทุกปี (๐.๗๐
ไมโครกรมั ต่อลูกบาศกเ์ มตร)

หากพิจารณาแนวโน้มของค่าเฉลี่ยรายปีของสารอินทรีย์ระเหยง่าย ปี พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๖๓
ข อ งส ารอิ น ท รีย์ ระ เห ย ง่าย ๓ ช นิ ด ท่ี มี ค่ าเฉ ล่ี ย เกิ น ค่ าม าต รฐ าน คื อ 1 ,3 –Butadiene แ ล ะ
1,2 – Dichloromethane Benzene จาการประมาณการแนวโน้มท่ีมีอยู่และคาดการณ์คา่ ในอนาคต ของสาร
1,3–Butadiene พบว่า สารดังกล่าว มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น เช่นเดียวกับสาร 1,2 – Dichloromethane ท่ีมี
แนวโน้มเพ่ิมสูงขึ้น แต่ในส่วนของสาร Benzene มีการเปลี่ยนแปลงของค่าเฉล่ียในแต่ละปีไม่คงท่ี คือ
มีปริมาณ ๒.๒๖ ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ใน ปี พ.ศ. ๒๕๕๙ และเพิ่มข้ึนเป็น ๒.๕๘ และ ๓.๐๑
ไมโครกรมั ต่อลูกบาศก์เมตร ในปี พ.ศ. ๒๕๖๐ และ พ.ศ. ๒๕๖๑ ตามลาดับ และลดลงเหลอื ๑.๗๗ ไมโครกรัม
ต่อลูกบาศก์เมตร ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ และเพิ่มข้ึนเป็น ๒.๖๖ ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓
รายละเอยี ดดังตารางที่ ๔ - ๒๗ และ ภาพท่ี ๔ - ๒๓

ตารางที่ ๔ - ๒๗ แนวโน้มค่าเฉลีย่ รายปขี องสารอนิ ทรยี ์ระเหยงา่ ย ระหวา่ งปี พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๖๓

สารอินทรียร์ ะเหยง่าย พ.ศ. ๒๕๕๙ พ.ศ. ๒๕๖๐ พ.ศ. ๒๕๖๑ พ.ศ. ๒๕๖๒ พ.ศ. ๒๕๖๓ ค่ามาตรฐาน
เฉลย่ี รายปี

Vinyl Chloride ๐.๒๙ ๐.๑๙ ๑.๑๙ ๐.๖๒ ๐.๑๘ ๑๐

1,3-Butadiene ๐.๓๐ ๐.๓๑ ๐.๙๕ ๐.๓๖ ๐.๔๖ ๐.๓๓

Dichloromethane ๐.๙๕ ๑.๒๕ ๑.๑๔ ๐.๘๗ ๑.๕๔ ๒๒

Chloroform ๐.๐๖ ๐.๑๕ ๐.๑๔ ๐.๑๖ ๐.๑๐ ๐.๔๓

1,2-Dichloroethane ๐.๓๓ ๐.๕๕ ๐.๔๒ ๐.๓๐ ๐.๓๘ ๐.๔๐

Benzene ๒.๒๖ ๒.๕๘ ๓.๐๑ ๑.๗๗ ๒.๖๖ ๑.๗๐

Trichloroethylene ๐.๔๑ ๐.๓๘ ๐.๐๔ ๐.๒๒ ๐.๐๓ ๒๓

1,2-Dichloropropane ๐.๐๓ ๐.๑๔ ๐.๐๓ ๐.๐๗ ๐.๐๘ ๕

Tetrachloroethylene ๐.๐๘ ๐.๐๗ ๐.๐๖ ๐.๐๗ ๐.๐๒ ๒๐๐

หมายเหต:ุ หน่วย คือ ไมโครกรมั /ลูกบาศก์เมตร

ท่ีมา: กรมควบคุมมลพษิ , ๒๕๖๓

โครงการจดั ทาแผนส่ิงแวดล้อมในพ้นื ท่ีเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๕๙

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รายงานฉบับสุดทา้ ย

Vinyl Chloride 1,3-Butadiene
Dichloromethane Chloroform

Trichloroethylene 1,2-Dichloropropane

ภาพที่ ๔ - ๒๓ แนวโนม้ คา่ เฉลย่ี รายปีของสารอินทรยี ร์ ะเหยงา่ ยแยกรายพารามิเตอร์ ปี พ.ศ. ๒๕๕๙ –

๒๕๖๒

โครงการจัดทาแผนส่ิงแวดลอ้ มในพ้ืนทีเ่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๖๐

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย

Tetrachloroethylene

ภาพท่ี ๔ – ๒๒ (ตอ่ ) กรา แนวโนม้ ค่าเฉล่ียรายปขี องสารอนิ ทรยี ร์ ะเหยง่ายแยกรายพารามเิ ตอร์ ปี พ.ศ.
๒๕๕๙ – ๒๕๖๒

แนวทางการแก้ไขปญหามลพษิ ทางอากาศในเขตควบคมุ มลพิษ
ประเทศไทยได้มีการกาหนดอัตราการระบายมลพิษจากแหล่งกาเนิด (Emission Rate
Determination) ซึ่งได้ระบุไว้ในแนวทางในการประเมินผลกระทบด้านคุณภาพอากาศด้วยแบบจาลองทาง
คณติ ศาสตร์ในรายงานการวเิ คราะหผ์ ลกระทบส่ิงแวดล้อม สาหรับโครงการด้านอุตสาหกรรมและด้านพลังงาน
ในพื้นท่ีมาบตาพุดและพื้นที่อ่ืน ๆ โดยแนวทางฯ ดังกล่าว ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการส่ิงแวดล้อม
แห่งชาติ (กก.วล.) ในการประชุม คร้ังที่ ๖/๒๕๕๖ เมื่อวันท่ี ๒๙ สิงหาคม ๒๕๕๖ ซ่ึงได้กล่าวถึงพ้ืนท่ีเขต
ควบคุมมลพิษ จังหวัดระยองได้มีการประเมินผลกระทบด้านคุณภาพอากาศข้ันคัดกรองตามแนวทางของ EPA
เป็นเกณฑ์ในการจาแนกระดับการควบคุมอัตราการระบาย NOx และ SO2 จากแหล่งกาเนิดมลพิษใหม่และ/
หรือที่มีการเปลี่ยนแปลงอัตราการระบายเพ่ิมขึ้น โดยการเปรียบเทียบค่าความเข้มข้นสูงสุดที่ได้จากการ
ประเมิน (Maximum Ground Level Concentration) กับระดับผลกระทบท่ีมีนัยสาคัญ (Significant
Impact Level หรือ SIL) ซง่ึ ใชเ้ ปน็ เกณฑใ์ นการคดั กรอง ดังน้ี
๑) ค่าความเข้มข้นสูงสุดจากแบบจาลองฯ ไม่เกินค่า SIL ให้ใช้ค่าอัตราการระบายมลพิษ
ตามทนี่ าเข้าแบบจาลองฯ ในกรณที ี่คา่ ความเข้มข้นมลพิษจากผลการตรวจวัดในพืน้ ท่ีน้อยกว่ารอ้ ยละ ๘๐ ของ
ค่ามาตรฐานคณุ ภาพอากาศในบรรยากาศ
๒) ค่าความเข้มข้นสูงสุดจากแบบจาลองฯ เกินค่า SIL หรือในกรณีที่พบค่าความเข้มข้น
มลพิษจากผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศในพื้นท่ีศึกษาตั้งแต่ร้อยละ ๘๐ ของค่ามาตรฐาน
คุณภาพอากาศในบรรยากาศ ให้ใช้ค่าอัตราการระบายมลพิษตามหลักการ ๘๐ : ๒๐ คือ ปรับลดอัตราการ
ระบายมลพิษจากค่าที่ดาเนินการจริง (Maximum Actual Emission) ของโครงการเดิม (Emission Offset)
หรือของโครงการอ่ืน ๆ (Emission Trading) แลว้ แต่กรณี เพ่ือนาอัตราการระบายมลพิษไปใหก้ ับแหล่งกาเนิด
มลพิษใหมแ่ ละ/หรือที่มีการเปล่ียนแปลงอัตราการระบายเพ่ิมข้ึนของโครงการตั้งใหม่ หรือโครงการขยายกาลัง
การผลิต หรือการเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการ ได้ไม่เกินร้อยละ ๘๐ ของมลพิษที่ปรับลดลง (ปัทมา
ดอกมะขาม, ๒๕๖๐)

โครงการจัดทาแผนส่งิ แวดล้อมในพื้นทเ่ี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๖๑

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ทา้ ย

มาตรการปรับลดและสารองสัดส่วนค่าการระบายมลพิษ สาหรับการปรับปรุงการ
ประกอบการในอนาคต หากผู้ประกอบการลดอัตราการระบายมลพิษจากค่าท่ีดาเนินการได้จริง ค่าท่ีปรับ
ลดลงได้ร้อยละ ๒๐ ผู้ประกอบการต้องคืนให้กับรัฐบาล ส่วนอีกร้อยละ ๘๐ ให้ผู้ประกอบการนาไปใช้ในการ
ปรับปรุงการ ประกอบกิจการในอนาคต หรือแลกเปลี่ยนกับผู้ประกอบการรายอื่นที่ต้องการขยายโรงงาน
ภายใต้เงื่อนไขว่าโครงการต้องไม่ทาให้ "ยอดรวม" ของอัตราการระบายมลพิษในพ้ืนท่ีเพิ่มมากขึ้น จุดท่ีต้ัง
โครงการต้องมีค่าความเข้มข้นคุณภาพอากาศในบรรยากาศไม่สูงกว่าเดิม และบริเวณท่ีได้รับผลกระทบสูงสุด
จากโครงการ ต้องมคี ่าไม่เกินมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศ

สถานการณก์ ารระบายและการจดั การมลพษิ อากาศ NOx และ SO2
จากรายงานการศึกษาสถานภาพการจัดการมลพิษทางอากาศในพ้ืนท่อี ุตสาหกรรมมาบตาพุด
และศักยภาพในการขยายตัวของอุตสาหกรรมตามศักยภาพในการรองรับด้านคุณภาพอากาศของพื้นที่ และ
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายสาหรับการพัฒนาอุตสาหกรรมในพื้นที่มาบตาพุดอย่างยั่งยืน (สานักงาน
คณะกรรมการนโยบายคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก, ๒๕๖๓) ได้เสนอผลของอัตรา
การระบาย NOx และ SO2 โดยใช้ข้อมูลที่ได้จากค่าควบคุมในรายงาน EIA (หรือค่าท่ีได้รับอนุญาตทางบัญชี)
ของโรงงานอุตสาหกรรมแต่ละแห่งในพื้นที่เขตควบคุมมลพิษมาบตาพุด ในช่วงระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๕๐ -
๒๕๖๒ พบวา่ ในปพี .ศ. ๒๕๖๒ ค่าการระบายจากแหล่งกาเนดิ ภาคอตุ สาหกรรมในพน้ื ที่เขตควบคุมมลพษิ มาบ
ตาพุดลดลงจากปี พ.ศ. ๒๕๕๐ (ซ่ึงเป็นปีที่เรม่ิ นาหลักเกณฑ์การปรับลดอัตราการระบายมลพิษ ๘๐ : ๒๐ มา
ใช้) โดยมีค่าระบาย NOx ลดลงประมาณร้อยละ ๑๓ (หรือลดลงประมาณ ๓๑๔ กรัมต่อวินาที โดยในปีพ.ศ.
๒๕๕๐ และ พ.ศ. ๒๕๖๒ มีค่าการระบาย ๒,๔๓๐.๒๐ และ ๒,๑๑๖.๔๔ กรัมต่อวนิ าที ตามลาดับ) และค่าการ
ระบาย SO2 ลดลงประมาณร้อยละ ๒๐ (หรือลดลงประมาณ ๔๓๙ กรัมต่อวินาที โดยในปีพ.ศ. ๒๕๕๐ และ
พ.ศ. ๒๕๖๒ มคี ่าการระบาย ๒,๑๗๗.๒๗ และ ๑,๗๓๘.๒๑ กรัมต่อวินาที ตามลาดับ) ในขณะที่จานวนปล่อง
ระบาย NOx และ SO2 เพิ่มข้ึน จาก ๒๙๕ ปล่อง เป็น ๔๑๖ ปล่อง และ ๑๗๙ ปล่อง เป็น ๒๒๒ ปล่อง
ตามลาดับ สาเหตุที่ทาให้ค่าการระบายมลพิษทางอากาศในพื้นท่ีเขตควบคุมมลพิษมาบตาพุดมีการ
เปลี่ยนแปลงพบว่าเกิดจาก ๓ สาเหตุหลัก ได้แก่ ๑) การใช้หลักเกณฑ์ ๘๐ : ๒๐ เป็นสาเหตุหลัก ด้วยวิธีการ
จัดการและควบคุมการระบายมลพิษทางอากาศ เช่น เปล่ียนเชื้อเพลิง ลดปริมาณซัลเฟอร์ในเช้ือเพลิง รวมถึง
การเลือกใช้เทคโนโลยีท่ีเหมาะสมเพ่ือควบคุมหรือบาบัดมลพิษ ๒) การใช้ค่า SIL พบว่า ค่าการระบาย NOx
และ SO2 มีแนวโน้มเพ่ิมข้ึนเล็กน้อยและเกิดข้ึนเฉพาะโครงการที่อยู่ในนิคมอุตสาหกรรมในช่วงปีพ.ศ. ๒๕๕๖
– ๒๕๖๒ สาหรับโครงการต้ังใหม่หรือขยายกาลังการผลิตหรือเปล่ียนแปลงรายละเอียดโครงการได้ใช้ค่า SIL
สอดคล้องตามแนวทางในการประเมินผลกระทบด้านคุณภาพอากาศด้วยแบบจาลองทางคณิตศาสตร์ สาหรับ
โครงการด้านอุตสาหกรรมและด้านพลังงานในพื้นที่มาบตาพุดและพื้นท่ีอ่ืน ๆ ท่ีได้รับความเห็นชอบจาก
กก.วล. ในการประชุมครั้งท่ี ๖/๒๕๕๖ เมอื่ วันที่ ๒๙ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ กล่าวคือ “กรณีความเข้มข้นสูงสุด
จากแบบจาลองไม่เกินค่า SIL ให้ใช้ค่าอัตราการระบายมลพิษตามท่ีนาเข้าแบบจาลอง ในกรณีที่ค่าความ
เข้มข้นมลพิษจากผลการตรวจวัดในพ้ืนที่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของค่ามาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศ
และ ๓) การใช้วิธีการอ่ืน ส่งผลให้ค่าการระบาย NOx และ SO2 ลดลง เชน่ การใชค้ ่า Max Actual การเปลย่ี น

โครงการจัดทาแผนสิง่ แวดลอ้ มในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๖๒

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม รายงานฉบับสดุ ท้าย

ชนิดเช้อื เพลิง เชน่ เปลี่ยนจากนา้ มนั เตาเป็นก๊าซธรรมชาติ การทบทวนรายละเอียดการประเมินคา่ การระบาย
ใหม่เพอ่ื ความถกู ตอ้ ง เปน็ ต้น

โดยสรุปผลจากการศึกษาและประเมินการแพร่กระจายมลพิษ NOx และ SO2 ด้วย
แบบจาลองอากาศ AERMOD โดยใช้ “ค่าควบคุมในรายงาน EIA” พบว่า ค่าควบคุม NOx และ SO2 ท่ีมีการ
รวบรวมจากโครงการทั้งหมดที่เก่ียวข้อง ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ มีท้ังสิ้น ๒,๑๑๖.๔๔ กรัมต่อวินาที และ
๑,๗๓๘.๒๑ กรัมต่อวินาที ตามลาดับ ซึ่งได้นาค่าควบคุมที่ โครงการต่าง ๆ ถือครองอยู่ท้ังหมด รวมถึง
โครงการท่ีไม่ได้ดาเนินการยกเลิกค่าการระบาย ไปเข้าแบบจาลอง AERMOD ซึ่งยังพบว่าผลการศึกษา NOx
“ค่าควบคุมในรายงาน EIA” มีค่าความเข้มข้นไนโตรเจนไดออกไซด์สูงสุด ๑ ช่ัวโมง ณ ตาแหน่ง ที่เกิดความ
เข้มข้นสูงสุด และ ณ จุดสังเกตเพ่ิมเติม ๗ จุด ทั้งหมดมีค่าสูงกว่าค่ามาตรฐาน คุณภาพอากาศสาหรับ
ไนโตรเจนไดออกไซด์กาหนดไว้ไม่เกิน ๓๒๐ ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร สาหรับค่าเฉล่ีย ๑ ชั่วโมง และผล
การศึกษาซัลเฟอรไ์ ดออกไซด์ “ค่าควบคุมในรายงาน EIA” มคี ่าความเข้มขน้ สงู สุด ๑ ชว่ั โมง ณ ตาแหน่งท่ีเกิด
ความเข้มข้นสูงสุด เกินกว่าค่ามาตรฐานคุณภาพอากาศสาหรับซัลเฟอร์ไดออกไซด์ท่ีกาหนดไว้ไม่เกิน ๗๘๐
ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร สาหรับค่าเฉล่ีย ๑ ช่ัวโมง สรุปได้ว่า เมื่อพิจารณาที่ "ค่าควบคุมในรายงาน EIA"
ซ่ึงโครงการทั้งหมดในพ้ืนที่ถือครองค่าการระบายอยู่ จะยังเกินความสามารถในการรองรับมลพิษ นั่นแสดงว่า
ในพื้นที่ศึกษาไม่มีความสามารถในการรองรับการปล่อยสารมลพิษในทางบัญชีได้เพ่ิมเติม หรือไม่มี
Hypothetical Carrying Capacity แล้ว แม้ว่าจากการประเมินการแพร่กระจายมลพิษ NOx และ SO2 ด้วย
แบบจาลอง ที่ "ค่าที่ตรวจวัดจริง" ที่มีการระบายอยู่จริงในปัจจุบัน พบว่าผลจากแบบจาลองสาหรับ NOx เมื่อ
พิจารณาอัตราส่วน NOx : NO2 ประมาณ ร้อยละ ๕๐ - ๖๐ จะมีค่าค่อนข้างใกล้เคียงค่ามาตรฐานเฉล่ีย ๑
ชว่ั โมง และนอ้ ยกวา่ ค่ามาตรฐานสาหรับคา่ เฉลย่ี ๑ ปี แตอ่ ยา่ งไรก็ตาม โรงงานเหลา่ นี้ยังสามารถระบายมลพิษ
เต็มจานวนท่ไี ดร้ บั อนุญาตทางบัญชไี ด้

ดังนั้น ปัจจุบันจึงยังไม่สามารถนา Hypothetical Carrying Capacity ใช้ได้ และควร
ดาเนินการใช้ หลักเกณฑ์ ๘๐ : ๒๐ ต่อไปจนกระท่ังสามารถควบคุมค่าควบคุมในรายงาน EIA (หรือค่าทาง
บัญชี) ของทุกโครงการของท้ังพ้ืนท่ีจนเทียบเท่ากับค่าที่ตรวจวัดจริงปัจจุบัน อย่างไรก็ตาม มาตรการจะเป็น
อุปสรรคต่อการลงทุนกลุ่มนักลงทุนใหม่ รวมทั้งยังไม่มีฐานข้อมูลเพื่อการวิเคราะห์การวางแผนการลงทุน
ตลอดจนองค์ความรู้ของหน่วยงานหน่วยงานราชการท่ีกากับดูแลอาจยังไม่เพียงพอ ซ่ึงควรมีหน่วยงานกลาง
สาหรบั การรวบรวมข้อมูล เพื่อวิเคราะห์และผลักดันให้มีการบริหารจัดการมลพิษ NOx และ SO2 อย่างสมดุล
โดยไดม้ ขี ้อเสนอแนะ ดังนี้

ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบายเพ่ือบรหิ ารจดั การมลพิษอากาศ NOx และ SO2
๑) ขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบายในการประเมินคณุ ภาพอากาศดว้ ยแบบจาลองอากาศ AERMOD
การจัดการคุณ ภาพอากาศกรณีไนโตรเจนไดออกไซด์และซัลเฟอร์ไดออกไซด์น้ัน
แบบจาลองอากาศ AERMOD สามารถใชเ้ ปน็ เคร่ืองมือในการจัดการได้ดี สาหรับไนโตรเจนไดออกไซด์มีเฉพาะ
คา่ มาตรฐานคุณภาพอากาศเฉลี่ย ๑ ชวั่ โมง และ ๑ ปี เท่าน้ัน ดังนั้นควรพิจารณากาหนดค่ามาตรฐานคณุ ภาพ
อากาศเฉล่ยี ๒๔ ชว่ั โมง เปน็ การเพม่ิ เตมิ

โครงการจัดทาแผนส่ิงแวดล้อมในพ้นื ทเ่ี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๖๓

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม รายงานฉบับสดุ ท้าย

หน่วยงานกากับดูแลควรพิจารณาทบทวนการดาเนินการกับผู้ประกอบการแต่ละรายท่ี
เกี่ยวข้อง และดาเนินการใช้มาตรการ ๘๐:๒๐ ต่อไป โดยมีจุดหมายในการลดการปล่อยมลพิษใน“ค่าควบคุม
ในรายงาน EIA” หรอื ทางบญั ชีจนกระทง่ั ใกลเ้ คียงกับคา่ ที่สารวจพบจรงิ ในปัจจบุ ัน

หน่วยงานภาครัฐควรมีการสรุปจากผลตรวจวัด “ความเข้มข้นสารมลพิษทางอากาศที่มี
อยู่เดิม (Background)” ในปีก่อนหน้าและใช้เป็นค่า “Background” ท่ีเหมือนกัน เพื่อความเป็นมาตรฐาน
ของการประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อมในเขตอตุ สาหกรรมมาบตาพดุ

๒) ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบายในการบรหิ ารจดั การมลพษิ อากาศ NOx และ SO2
ห น่ ว ย งาน ภ าค รัฐค ว รมี ศู น ย์ อ าน ว ย ก ารด้ า น ส่ิ งแ ว ด ล้ อ ม (The Centre for
Environmental Administration) ของทั้งพื้นที่ และมีระบบฐานข้อมูลกลาง (Central Database System)
ที่มีข้อมูลที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งมีระบบส่งเสริมความรู้ การสนับสนุนทางวิชาการ การให้คาปรึกษาแนะนา การ
แลกเปล่ียนความคิดเห็น สาหรับเจ้าหน้าที่ภาครัฐ ภาคเอกชน (ครอบคลุมทั้งฝ่ายบริหารและผู้ปฏิบัติงาน)
รวมถึงภาคประชาชน ครอบคลมุ ทกุ มติ ขิ องการจัดการมลพิษ เกดิ เครอื ขา่ ยและกระบวนการมีส่วนรว่ ม
การประเมินคุณภาพอากาศด้วยแบบจาลองทางคณิตศาสตร์ หน่วยงานภาครัฐควร
จัดเตรียมความเข้มข้นสารมลพิษทางอากาศท่ีระบายจากโครงการเดิม (Background) และใช้เป็นค่า
“Background” ที่เหมอื นกัน เพ่อื เป็นมาตรฐานของการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอ้ มในพื้นท่ี นอกจากนี้ควร
จัดเตรียมผลการตรวจวัดคณุ ภาพอากาศในบรรยากาศทั่วไปรายสถานีครอบคลมุ พื้นท่ีอุตสาหกรรม เพ่ือเป็นค่า
กลางและเป็นมาตรฐานให้กบั โครงการตั้งใหม่ หรือขยายกาลงั การผลิต หรือเปล่ียนแปลงรายละเอียดโครงการ
ในพื้นท่ีได้นาไปใช้ประกอบการประเมนิ คุณภาพอากาศ และในกรณีพื้นที่สูง เช่น ภูเขา การใช้แบบจาลองควร
กาหนดตารางกริดผู้ได้รับผลกระทบ (Grid Receptor) บริเวณดังกล่าวให้ละเอียดขึ้นกว่าบริเวณพื้นท่ีราบ
เพือ่ ให้แน่ใจวา่ บรเิ วณตาแหนง่ ท่ีมคี ่าความเข้มข้นสูงสุด (Maximum concentration หรือเรยี กวา่ “Cmax”)
การพิจารณาทบทวนกรอบการใช้หลักเกณฑ์ ๘๐ : ๒๐ จัดให้มีหน่วยงานกลางทาหน้าท่ี
กากับดูแลและพัฒนาพ้ืนท่ีอุตสาหกรรมในเขตควบคุมมลพิษมาบตาพุด (พื้นที่ในและนอกเขตนิคม
อุตสาหกรรม) ดาเนินการพิจารณาทบทวนการปรับลดอัตราการระบายมลพิษจากการใช้ มาตรการ ๘๐:๒๐
และทบทวนความสามารถหรือศักยภาพในการรองรับมลพิษทางอากาศของพ้ืนท่ี สาหรับหนว่ ยงานที่เกี่ยวข้อง
ควรพิจารณาทบทวน และกาหนดให้มีการใช้มาตรการ ๘๐:๒๐ กับอุตสาหกรรม ที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อ
คุณภาพอากาศ เนื่องจากปัจจุบันมาตรการดังกล่าวไม่ได้ถูกประกาศใช้บังคับเป็นกฎหมาย แต่เป็นคาส่ังทาง
ปกครองท่ีเป็นเง่ือนไขหรือคาส่ังเฉพาะรายโรงงานอุตสาหกรรมที่เข้าขา่ ยต้องทาจัดทารายงาน EIA หรือ EHIA
หรือ IEE เท่านั้น หน่วยงานอนุญาตควรติดตามผลของการใช้มาตรการ ๘๐:๒๐ ของโครงการท่ีได้รับอนุญาต
โดยพิจารณาจากค่าการระบายจริงรายโครงการ โดยเสนอแนวทางปฏิบัติสาหรับโรงงานท่ีเปิดดาเนินการแล้ว
และไม่มีการเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการ ภายหลังได้รับการอนุญาตรายงาน (EIA/EHIA/IEE) ในช่วง
ระยะเวลา ๑๐ ปี (หรือตามที่กาหนด)
การพัฒนาและส่งเสริมการใช้กลไกทางเศรษฐศาสตร์ส่ิงแวดล้อม การพิจารณาเพ่ิมหรือ
ทบทวนนโยบายและมาตรการส่งเสริมการลงทุนเพื่อการจัดการส่ิงแวดล้อมสาหรับอุตสาหกรรม เช่น ควร
ส่งเสริมให้มี Emission Trading ผ่านกระบวนการการมีส่วนร่วม โดยจัดตั้งหน่วยงานกลางและ กลไก

โครงการจัดทาแผนสงิ่ แวดลอ้ มในพ้ืนที่เขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๖๔

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม รายงานฉบับสุดท้าย

Emission Trade ที่ชัดเจนและยุติธรรม โดยเสนอให้มีการดาเนินงานใน ๒ กรณี ได้แก่ กรณีท่ี ๑ สาหรับ
โรงงานท่ีเปิดดาเนินการแล้ว และมีค่าการระบายสารอง : โรงงานสามารถเก็บค่า การระบายสารองไว้ใช้ได้ใน
อนาคต และสามารถนาไป Trade ได้ตามความต้องการ และกรณที ี่ ๒ สาหรบั โรงงานทย่ี ังไมก่ ่อสรา้ งและได้รับ
ค่าการระบาย : โรงงานจะต้องดาเนินการก่อสร้างภายใน ๕ ปี (หรือตามท่ีกาหนด) หากไม่ดาเนินการภายใน
ระยะเวลาที่กาหนด จะต้องคืนค่าการระบาย ร้อยละ ๒๐ ต่อปี (หรือตามท่ีกาหนด) จนกว่าจะดาเนินการ
ก่อสรา้ ง หากโรงงานมีค่าการระบายไม่เพียงพอ โรงงานจะต้องการทาการ Trade จากหน่วยงานกลางเพ่ิมเติม
ซงึ่ การดาเนินงานทั้ง ๒ กรณีนี้จะช่วยใหเ้ กิดการใช้โควตาค่าการระบาย และมีการนาเทคโนโลยีควบคุมมลพิษ
อากาศที่ทันสมัยเข้ามาใช้ในกระบวนการผลิต ส่วนเงินท่ีได้จากมูลค่าการซื้อขายจาก Emission Trade
หน่วยงานกลางควรจ่ายคืนใหก้ ับชมุ ชนในพ้ืนท่ี เพ่อื ใช้ในการพฒั นาพ้ืนทอี่ ยา่ งยั่งยืน โดยผา่ นกระบวนการการ
มสี ่วนร่วมกับชุมชนและทกุ ภาคสว่ นในการกาหนดแนวทางเก่ียวกับการนาเงนิ ไปใชป้ ระโยชนต์ อ่ ไป

การพัฒนาและส่งเสริมความรู้การบริหารจัดการมลพิษเชิงพ้ืนท่ี ท้ังที่เป็นความจาเป็นใน
ปจั จุบันและในอนาคตใหแ้ ก่เจ้าหนา้ ท่ีและบคุ ลกรภาครัฐทั้งส่วนกลางและสว่ นภูมภิ าค ภาคเอกชน (ครอบคลุม
ทั้งฝ่ายบริหารและ ผู้ปฏิบัติงาน) รวมถึงภาคประชาชนอย่างต่อเนื่อง รวมถึงการติดตามและประเมินผลที่มี
ประสทิ ธิภาพ นอกจากน้ีควรจดั ใหม้ ีช่องทางการแลกเปล่ยี นข้อคิดเหน็ เพอื่ เกิดการพัฒนาและปรับปรุงจากผู้ท่ี
เก่ียวข้องอย่างแท้จริง และจัดให้มีการวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ภายในประเทศให้ทันสมัย เช่น การประสาน
ความร่วมมือกับสถาบันการศึกษา มหาวิทยาลัย พฒั นาการเรียนการสอน เปน็ ต้น

สถานการณ์การระบายและการจดั การมลพิษอากาศ สารอินทรีย์ระเหย (VOCs)
จากรายงานการศึกษาสถานภาพการจัดการมลพิษทางอากาศในพื้นทีอ่ ุตสาหกรรมมาบตาพุด
และศักยภาพในการขยายตัวของอุตสาหกรรมตามศักยภาพในการรองรับด้านคุณภาพอากาศของพื้นที่ และ
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายสาหรับการพัฒนาอุตสาหกรรมในพ้ืนที่มาบตาพุดอย่างยั่งยืน (สานักงาน
คณะกรรมการนโยบายคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก, ๒๕๖๓) ทไี่ ด้รวบรวมข้อมูลการ
ระบาย VOCs จากโครงการต่าง ๆ ในพ้ืนที่เขตควบคุมมลพิษมาบตาพุดที่มีการรายงานข้อมูลไว้ในฐานข้อมูล
ของการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย รอบที่ ๒/๒๕๖๒ รวมถึงผลการตรวจวัด VOCs จากรายงานการ
ติดตามตรวจสอบและมาตรการลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม รอบที่ ๒/๒๕๖๒ พบว่ามีข้อมูลการระบาย VOCs
ของโครงการท้ังหมด ๗๔ โครงการ มีการระบาย VOCs ในรูป TVOC จากทุกกิจกรรมคิดเป็น ๓,๙๙๐.๐๕ ตัน
ต่อปี โดยมาจากแหลง่ กาเนดิ ประเภทถังกักเก็บ (Storage Tank) มากที่สุด คิดเป็น ๑,๔๘๖.๕๘ ตันตอ่ ปี (ร้อย
ละ ๓๗.๓ ของการระบายทั้งหมด) รองลงมาคือ การเผาไหม้ (Combustion) คิดเป็น ๑,๑๒๙.๔๓ ตันต่อปี
(รอ้ ยละ ๒๘.๓) และการร่ัวซึมจากอุปกรณ์ (Fugitives) คิดเป็น ๕๓๓.๖๔ ตนั ตอ่ ปี (รอ้ ยละ ๑๓.๔)
เมื่อจาแนกพ้ืนที่อุตสาหกรรมที่มีการระบาย TVOC จากทุกกิจกรรมมากท่ีสุด พบว่านิคม
อุตสาหกรรมมาบตาพุดมีการระบาย TVOC รวมสูงสุด คิดเป็น ๒,๒๖๓.๑๖ ตันต่อปี (ร้อยละ ๕๖.๗ ของการ
ระบายท้ังหมด) รองลงมา คือ นิคมอุตสาหกรรมดับบลิวเอชเอ ตะวันออก (มาบตาพุด) คิดเป็น ๑,๔๑๕.๐๔
ตันต่อปี (รอ้ ยละ ๓๕.๕) โดย นคิ มอุตสาหกรรม ๒ แหง่ ข้างต้นมีการระบาย VOCs รวมกนั มากกวา่ ร้อยละ ๙๐
ส่วนนิคมอุตสาหกรรมผาแดงและโรงงานนอกพื้นท่ีนิคมอุตสาหกรรม มีการระบาย TVOC น้อยท่ีสุด (๐.๕๗
และ ๐.๒๗ ตันตอ่ ปี ตามลาดับ หรือรอ้ ยละ ๐.๐๑)

โครงการจัดทาแผนสิง่ แวดลอ้ มในพืน้ ท่ีเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๖๕

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม รายงานฉบบั สดุ ท้าย

เมื่อพิจารณานิคมอุตสาหกรรมที่มีการระบาย TVOC จากแต่ละกิจกรรมมากที่สุด พบว่าการ
ระบาย TVOC จากกิจกรรมการเผาไหม้ การขนถ่าย (Load/Unload) และระบบเผาท้ิง (Flare) มาจากนิคม
อตุ สาหกรรมมาบตาพดุ มากท่สี ุด ส่วนการร่ัวซึมจากอุปกรณ์ ถงั กักเก็บ และระบบบาบัดน้าเสีย (Wastewater
Treatment) มีการระบายจากนิคมอุตสาหกรรมดับบลิวเอชเอตะวันออก (มาบตาพุด) มากที่สุด และเมื่อ
รวบรวมข้อมูลการระบาย TVOC เปรียบเทียบระหว่างประเภทอุตสาหกรรมและแหล่งกาเนิด VOCs พบว่า
อุตสาหกรรมประเภทปิโตรเคมี มีการระบาย VOCs รวม ๖๕ โครงการ มีการระบาย TVOC จากทุก
แหล่งกาเนิดสูงสุดถึง ๓,๖๖๖.๙๕ ตันต่อปี หรือ ร้อยละ ๙๑.๙ ของการระบายท้ังหมด รองลงมาคือ โรงกลั่น
นา้ มนั มกี ารระบายรวม ๓๐๓.๔๗ ตันต่อปี สว่ นโรงงานผลติ ก๊าซมีการระบายต่าท่สี ุดคดิ เปน็ ๐.๓๙ ตันต่อปี

ผลการประเมินความสามารถในการรองรับสารอนิ ทรีย์ระเหย (VOCs)
ผลการศึกษาด้วยแบบจาลองพบว่าความเข้มข้นของสารเบนซีน สาร 1,3-บิวทาไดอีน และ
สาร 1,2-ไดคลอโรอีเทนสูงสุดในเวลา ๒๔ ช่ัวโมงที่เกิดในพ้ืนที่ศึกษา เท่ากับ ๑๕๗.๘๐, ๔๗.๑๖ และ
๒,๙๔๗.๔๙ ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร มีค่าเกินกว่ามาตรฐานค่าเฝ้าระวังสาหรับสารอินทรีย์ระเหยง่ายใน
บรรยากาศโดยท่ัวไปในเวลา ๒๔ ช่ัวโมง ซ่งึ กาหนดใหม้ ีค่าไมเ่ กนิ ๗.๖, ๕.๓ และ ๔๘.๐ ไมโครกรัมตอ่ ลกู บาศก์
เมตร ตามลาดบั ส่วนค่าความเข้มข้นของสารเบนซีน สาร 1,3-บิวทาไดอนี และสาร 1,2-ไดคลอโรอีเทน สูงสุด
เฉลีย่ ๑ ปี ที่เกิดในพ้ืนท่ีศึกษา เท่ากับ ๕๕.๔๖, ๑๓.๖๖ และ ๘๙๔.๘๓ ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร มีค่าเกิน
กว่ามาตรฐาน ซึ่งกาหนดให้มีค่าไม่เกิน ๑.๗, ๐.๓๓ และ ๐.๔ ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ตามลาดับ
นอกจากนี้รายงานฯ ได้เปรียบเทียบผลการประเมินด้วยแบบจาลองอากาศ AERMOD กับค่าจากการตรวจวัด
จริงใน ๒ วิธี คือ Scattering Plot และ Q-Q Plot ผลการศึกษาพบว่าเมื่อพล๊อตด้วยวิธี Scattering Plot
แบบจาลองทางคณิตศาสตร์ มีความสามารถในการทานายความเข้มข้นสารมลพิษได้ถูกต้องเพียงร้อยละ
๒.๗๕, ๑.๑๔ และ ๔.๑๙ สาหรับสารเบนซีน สาร 1,3-บิวทาไดอีน และสาร 1,2-ไดคลอโรอีเทน ตามลาดับ
ส่วนการพล๊อตด้วยวิธี Q-Q Plot พบว่าการกระจายของข้อมูลที่ได้จากการทานายโดยใช้แบบจาลองอากาศมี
ความสอดคล้องกับค่าที่ได้จากการตรวจวัดจริงร้อยละ ๘๙.๘๐, ๗๔.๑๗ และ ๙๖.๒๐ สาหรับสารเบนซีน สาร
1,3-บิวทาไดอีน และสาร 1,2-ไดคลอโรอีเทน ตามลาดับ อย่างไรก็ตามแบบจาลองอากาศ AERMOD ยังไม่
สามารถอธิบายการกระจายของข้อมูลของสารเบนซีน และสาร 1,3-บิวทาไดอีน ได้เพียงพอ ถึงแม้ว่า
แบบจาลองอากาศ AERMOD จะสามารถอธิบายการกระจายของข้อมูลความเข้มข้นของสาร 1,2-ไดคลอโร
อีเทน ได้เกินกว่าร้อยละ ๙๕ แต่หากพิจารณาค่าความเข้มข้นท่ีทานายได้และค่าผลการตรวจวัดโดยเฉพาะ
ค่าสูงสุดจะเห็นได้ว่ามีความแตกต่างกันอย่างมาก ดังนั้นจึงสรุปได้ว่าแบบจาลองอากาศ AERMOD ยังมี
ข้อจากัดและต้องใช้มาตรการจัดการรูปแบบอ่ืนมาเสริมใน การจัดการกับ VOCs ทั้ง ๓ ชนิด ในพื้นท่ีศึกษา
ดังน้ันจึงมขี อ้ เสนอแนะทีไ่ ด้จากผลการศึกษา ดงั น้ี
๑) ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ในการประเมินคุณภาพอากาศของโรงงานอุตสาหกรรมใน
การจัดการ VOCs ท่แี หลง่ กาเนิดแบบรายโรงงาน โดยมีมาตรการที่แตล่ ะโรงงานควรดาเนนิ การ คือ
การใช้ LDAR Program เป็นโปรแกรมการตรวจวัดเพ่ือสารวจและซ่อมบารุง (Leak
Detection and Repair Program) ซ่ึงเป็นแนวทางในการจัดการ VOCs โดยการเฝ้าระวังและการควบคุม
แก้ไข โดย VOCs บางส่วนท่ีมีการระบายออกจากพื้นท่ีโรงงานอุตสาหกรรมมาจากแหล่งกาเนิดประเภทรั่ว

โครงการจดั ทาแผนสงิ่ แวดล้อมในพ้นื ที่เขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๖๖

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม รายงานฉบบั สุดทา้ ย

ระเหย (Fugitive Source) ซ่ึงวธิ ีการดังกล่าวจะบังคับให้ผู้ประกอบการต้องมีการสารวจการรั่วระเหยและตาม
ดว้ ยการซ่อมบารงุ ถ้าพบวา่ มกี าร “รัว่ ” (Leak) ของอุปกรณ์ตามเวลากาหนด

การใช้มาตรการการตรวจวัดความเข้มข้นสารมลพิษรอบโรงงาน (Fenceline
Monitoring) ช่วยในการเฝ้าระวังผลกระทบที่อาจเกิดข้ึนจากการปลดปล่อย VOCs โดยวิธีการดาเนินการ
สามารถอ้างอิงได้จาก US.EPA Method 325A และ 325B ซึ่งผลการดาเนนิ การจะถูกนามาพิจารณาค่าความ
แตกต่างของความเข้มข้นที่พบ เช่น ในกรณีของสารเบนซีน หากพบวา่ ค่าความเข้มข้นเฉลี่ย ๑ ปี ของค่าความ
แตกตา่ งท่ไี ด้มีคา่ เกนิ กวา่ ๙ ไมโครกรัมตอ่ ลกู บาศก์เมตร ทางโรงงานจะตอ้ งมมี าตรการจัดการหรอื แก้ไขต่อไป

การจัด ท า VOCs (VOCs Inventory) เป็ น กระบ วน การท าบั ญ ชีป ริม าณ VOCs
โดยรายงานผลเปรียบเทียบ (Benchmarking) กบั ผลการปฏิบตั ทิ ่ดี ี

๒) ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ในการควบคมุ มลพิษ VOCs ด้วยมาตรการกฎหมาย
การควบคมุ และเน้นจดั การ VOCs ๓ ชนิด ได้แก่ สารเบนซีน สาร 1,3-บวิ ทาไดอนี และสาร
1,2- ไดคลอโรอีเทน อย่างต่อเน่ือง เน่ืองจากผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศที่ตรวจวัดโดยกรม
ควบคุมมลพิษและ กนอ. ของปีพ.ศ. ๒๕๖๒ ยังคงมคี ่าความเข้มข้นของสาร VOCs ทั้ง ๓ ชนดิ เฉล่ียรายปีเกิน
มาตรฐานในบางพ้นื ท่ี
การทบทวนค่ามาตรฐานหรือการบังคับใช้กฎหมายค่ามาตรฐานสารอินทรีย์ระเหยใน
บรรยากาศ เฉล่ียในเวลา ๑ ปี ให้สอดคล้องกับสภาพปัจจุบันของพื้นที่ โดยเมื่อเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐาน
สารอินทรีย์ระเหยในบรรยากาศของต่างประเทศ โดยเฉพาะสารเบนซีนจะพบว่าค่ามาตรฐานของ ไทย
(ค่าเฉล่ีย ๑ ปี ไม่เกิน ๑.๗ ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร) มีความเข้มงวดมากกว่าอีกหลายประเทศ เช่น ญ่ีปุ่น
เกาหลีใต้ แคนาดา แอฟริกาใต้ รวมถึงสหราชอาณาจักรและสหภาพยุโรป หรือค่ามาตรฐานสาร 1,3-บิวทา
ไดอีน พบว่าค่ามาตรฐานของไทย (ค่าเฉลี่ย ๑ ปี ไม่เกิน ๐.๓๓ ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร) มีความเข้มงวด
กว่าประเทศนิวซีแลนด์และสหราชอาณาจักร ทาให้การดาเนินการลด VOCs ภาคอุตสาหกรรมโดยใช้ค่า
มาตรฐานท่ีกาหนดอยู่ในปัจจุบันเป็นเกณฑ์นั้นเป็นไปได้ยาก รวมถึงการบังคับใช้ค่ามาตรฐานในพ้ืนท่ี
อุตสาหกรรมกับพ้ืนท่ีชุมชนทั่วไปท่ีใช้ตัวเลขเดียวกันทาให้เกิดปัญหากับชุมชน หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องจึงควร
ทบทวนค่ามาตรฐานหรือค่าควบคุมต่าง ๆ ให้เหมาะสมมากข้ึน โดยข้อแนะนาในการกาหนดค่ามาตรฐานของ
สหภาพยุโรประบุการกาหนดค่ามาตรฐานไว้ว่า ๑) การกาหนดค่ามาตรฐานควรกาหนดจากการสังเกตหรือ
สารวจโดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ หรือพิจารณาค่าผลกระทบต่อสุขภาพหรือส่ิงแวดล้อมของสารน้ัน ๆ ท่ี
เกิดข้ึนจริง โดยยังไม่ต้องคานึงถึงการใช้เทคโนโลยีหรือวิธีการทางเศรษฐศาสตร์เพื่อควบคุมหรอื ลดผลกระทบ
จากสารน้ัน ๒) ค่ามาตรฐานควรเป็นตัวเลขที่เหมาะสมกับทุกสภาพพ้ืนท่ี (Universality) ทั้งน้ียกเว้นพ้ืนที่
พิเศษ เช่น พื้นที่อนุรักษ์ เป็นต้น และ ๓) ต้องปฏิบัติได้จริง (Practicality) โดยมีข้อแนะนากรณีที่ผู้ปล่อย
มลพิษ (โรงงาน) ไม่สามารถปฏิบัติตามค่ามาตรฐานนั้นในเวลาอันสั้นได้ ควรมีการบังคับใช้กฎหมายแบบค่อย
เปน็ คอ่ ยไป (Timescales for Compliance) โดยอาจแบง่ เป็นระยะ ๆ ตามจานวนปีทกี่ าหนด
การออกกฎหมายควบคุม VOCs ให้มีความชัดเจน ครอบคลุมแหล่งกาเนิดและโรงงานท่ี
เกี่ยวข้อง โดยไม่ซ้าซ้อนหรือสร้างความสับสนกับกฎหมายเดิม และบังคับใช้อย่างเท่าเทียมกัน เนื่องจาก
ปัจจุบันการควบคุม VOCs จากแหล่งกาเนิดของภาคอุตสาหกรรมที่กาหนดยังเน้นจากการร่ัวซึมและปล่อง

โครงการจดั ทาแผนสงิ่ แวดลอ้ มในพ้นื ทเี่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๖๗

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดทา้ ย

ระบายเป็นหลัก ในส่วนของแหล่งกาเนิดอื่น ๆ นั้นยังเป็นลักษณะแนวทาง หรือ ข้อแนะนาที่ยังไม่ได้บังคับใช้
เป็นกฎหมายทช่ี ดั เจน เป็นแบบสมัครใจหรือเน้นความร่วมมือ ทาใหก้ ารควบคมุ VOCs ยงั ไม่ครอบคลมุ ท้ังหมด
ทั้งนี้ปัจจุบันมีกฎหมายที่อยู่ระหว่างศึกษาและรอประกาศบังคับใช้ เช่น (ร่าง) ประกาศการรายงานการใช้หอ
เผาท้ิง พ.ศ. …. (ร่าง) มาตรการควบคุมการระบายไอสารอินทรีย์ระเหยจากการประกอบระบายไอสารอินทรีย์
ระเหยจากถังกกั เก็บ พ.ศ. .... ฯลฯ ท้ังน้กี ารออกกฎหมายใหม่ควรรบั ฟงั ความเห็นจากผ้มู ีส่วนไดเ้ สียที่เกย่ี วขอ้ ง
และต้องไม่ซ้าซ้อนหรอื สร้างความสับสนเม่ือเปรยี บเทียบกับกฎหมายฉบับเดมิ นอกจากนีค้ วรมีการบังคับใช้ทุก
โรงงานอย่างเท่าเทียมกนั เช่น โรงงานที่อยู่นอกพ้ืนที่นิคมอุตสาหกรรมที่เป็นแหล่งกาเนิดมลพิษท่ีสาคัญต้องมี
มาตรการหรือไม่ การตรวจสอบจากหน่วยงานทเ่ี ก่ยี วข้องไมห่ ย่อนยานไปกวา่ โรงงานในพนื้ ทีน่ คิ มอตุ สาหกรรม

การทบทวนหรือปรับปรุงกฎหมายท่ีเก่ียวข้องกับการตรวจวัดและการรายงานข้อมูล
VOCs เพื่อลดความซ้าซ้อน เนื่องจากโรงงานอุตสาหกรรมโดยเฉพาะในพ้ืนที่นิคมอุตสาหกรรมต้องมีการ
ตรวจวัดการระบาย VOCs และส่งรายงานไปยังหน่วยงานกากับดูแลที่มหี ลายหน่วยงาน ซ่งึ รอบการส่งรายงาน
หรือรูปแบบการรายงานข้อมูลไม่ตรงกัน ทาให้เสียเวลาและแรงงานในการจัดทารายงานแต่ละฉบับ รวมถึงทา
ให้ฐานข้อมูลแต่ละหน่วยงานที่มีไม่ตรงกัน นอกจากนี้ในการจัดทารายงาน EIA ควรพิจารณาผ่อนผันสาหรับ
โรงงานท่ีปรับปรุงโครงการโดยไม่เพ่ิมกาลังการผลิตหรือไม่ได้เพ่ิมการระบายมลพิษอย่างมีนัยสาคัญไม่ต้อง
จัดทารายงาน EIA ฉบับใหม่ โดยให้เพ่ิมรายละเอียดโครงการและการประเมินมลพิษต่าง ๆ ลงไปในรายงาน
ฉบับเดิม

๓) ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบาย ในการควบคมุ มลพิษ VOCs ด้วยการบรหิ ารจัดการ
ควรมีระบบฐานข้อมูลกลาง (Central Database System) ท่ีมีข้อมูลที่เกี่ยวข้องในการ
จัดการ VOCs ท้ังหมด เพ่ือเป็นกลไกติดตามการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ เช่น การจัดทาฐานข้อมูลบัญชี
VOCs (VOCs Inventory) ในภาพรวมของพื้นท่ี ข้อมูลคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป มาตรการ
จัดการของนิคมอตุ สาหกรรมและโรงงานที่ดาเนินการในพนื้ ที่ เปน็ ต้น ทั้งในเขตนิคมอุตสาหกรรมและนอกเขต
นิคมอุตสาหกรรมต้องสร้างความร่วมมือระหว่างกรมควบคุมมลพิษ กรมโรงงานอุตสาหกรรม สานักงาน
คณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (สกพอ.) อุตสาหกรรมจังหวัด สา นักงาน
ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อมจังหวัด และร่วมกับหน่วยงานปกครองส่วนท้องถ่ินท้ังหมดในพื้นที่ รวมถึง
ทบทวน แก้ไข บทบาทหรืออานาจกากับดูแลของหน่วยงานเดิมซ่ึงมักเกิดปัญหาความไม่ครอบคลุมหรือไปทับ
ซ้อนกบั หน่วยงานอ่นื
ควรทบทวนตาแหน่งที่ต้ังของสถานีตรวจวัด VOCs ท่ีมีอยู่เดิมว่ายังมีความเหมาะสม
หรือไม่ เน่ืองจากสถานีตรวจวัด VOCs ในพ้ืนที่ โดยเฉพาะสถานีท่ีอยู่ในพื้นที่ชุมชนท่ีรับผิดชอบดูแลโดยกรม
ควบคุมมลพิษ ซึ่งตั้งอยู่ในพื้นที่เดิมมานานหลายปี แต่สภาพการใช้ประโยชน์ที่ดินในปัจจุบันของพ้ืนท่ีเขต
ควบคุมมลพิษมาบตาพุดมีการเปล่ียนแปลงไปจากเดิม มีการขยายตัวของพ้ืนท่ีชุมชน และปริมาณการจราจร
ทางบกที่มีความหนาแน่นมากขึ้น สถานีตรวจวัด VOCs ท่ีอยู่ในระดับผิวพื้น อาจได้รับผลกระทบจากสาร
VOCs ท่มี าจากยานพาหนะในพนื้ ท่ี
เพิ่มหรือทบทวนนโยบายและมาตรการส่งเสริมการลงทุนเพ่ือการจัดการสิ่งแวดล้อม
สาหรับอุตสาหกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการส่งเสริมสนับสนุนอุปกรณ์หรือเทคโนโลยีกับโรงงานท่ีเป็น

โครงการจดั ทาแผนส่งิ แวดล้อมในพื้นท่ีเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๖๘

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดทา้ ย

แหล่งกาเนิดมลพิษสาคัญ เช่น โรงงานอุตสาหกรรมที่มกี ารผลิต และ/หรือใช้สารเบนซีน สาร 1,3-บิวทาไดอีน
สาร 1,2-ไดคลอโรอีเทน อุตสาหกรรมกล่ันน้ามัน คลังน้ามัน รวมถึงกลุ่มท่าเรืออุตสาหกรรมซ่ึงมีกิจกรรมขน
ถ่ายมากให้ครอบคลุมท้ังโรงงานเดิมและโรงงานที่จะต้ังใหม่ เช่น การลดภาษีเงินได้นิติบุคคล ลดภ าษีนาเข้า
เคร่ืองจักรหรือระบบบาบัดมลพิษ รวมถึงส่งเสริมเทคโนโลยีที่นาผลิตภัณฑ์พลอยได้หรือสาร VOCs ที่ระบาย
ทิ้งมาใช้ประโยชน์ใหม่ นอกจากนี้ควรสร้างแรงจูงใจโดยเพ่ิมเง่ือนไขสิทธิประโยชน์ในการลงทุนสาหรับกรณี
ขยายหรือสร้างโรงงานใหม่โดยไม่ระบายมลพิษเพิ่มจากโครงการเดิม หรือ การท่ีโรงงานเคยระบายมลพิษสูง
แล้วสามารถลงทุนการจัดการสิ่งแวดล้อมจนค่าการระบายมลพิษจากโรงงานลดลงอย่างมีนัยสาคัญ หรือกรณี
โครงการที่ใช้เทคโนโลยีหรือแนวปฏิบัติท่ีทันสมัย (Best Available Technology/Best Practices) ท้ังนี้ต้อง
พิจารณาศักยภาพของโรงงานด้วย เช่น โรงงานที่มีเงินลงทุนค่อนข้างจากัดอาจติดขัดเรื่องเงินลงทุนสาหรับใช้
ในการเปล่ยี นอปุ กรณล์ ด มลพิษซ่ึงมีราคาค่อนข้างสูง

ควรมีระบบการรายงานค่าความสามารถในการรองรับมลพิษ (Carrying Capacity) ของ
พ้ืนท่ีเขตควบคุมมลพิษมาบตาพุด โดยมีการศึกษาการรองรับ VOCs ของพ้ืนที่อย่างต่อเนื่อง เช่น ทุก ๒-๓ ปี
และรายงานค่าว่าในแตล่ ะปีพ้นื ทีย่ ังสามารถรองรับมลพิษไดห้ รือไม่ ซ่ึงจะเป็นประโยชนต์ ่อหนว่ ยงานภาครัฐใน
การประเมนิ ผลมาตรการดาเนนิ การลด VOCs ตา่ ง ๆ ว่าไดผ้ ลหรอื ไม่ และ เป็นประโยชน์ตอ่ การตัดสนิ ใจขยาย
การลงทนุ หรอื สร้างโรงงานใหมข่ องภาคเอกชน

สนับสนุนให้มีโครงการศึกษาการระบายและแพร่กระจาย VOCs จากแหล่งกาเนิดอ่ืนท่ี
ไม่ใช่ อตุ สาหกรรมให้มากขึน้ เนอ่ื งจากการดาเนินการลด VOCs ให้มปี ระสิทธิผลควรครอบคลมุ การจัดการกับ
แหล่งกาเนิดต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้อง ดังนั้นควรเพ่ิมโครงการการรวบรวมข้อมูลและการประเมินการปลดปล่อย
VOCs จากแหล่งกาเนิดอื่นนอกเหนือจากภาคอุตสาหกรรมให้มากข้ึน โดยเฉพาะจากยานพาหนะ โดย
ผู้รับผิดชอบโครงการควรเป็นหน่วยงานกลางซึ่งมีอานาจ หรือ บทบาทในการกากับดูแลที่ครอบคลุมท้ังพื้นที่
เขตควบคมุ มลพษิ มาบตาพุดรวมถงึ พน้ื ทต่ี อ่ เน่ือง

ควรมีระบบส่งเสริมความรู้ การสนับสนุนทางวิชาการ การให้คาปรึกษาแนะนา การ
แลกเปล่ียน ความคิดเหน ทั้งสาหรับเจ้าหน้าที่ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน ครอบคลุมทุกมิติของการ
จัดการ VOCs โดยการอบรมเร่ือง นโยบาย กฎหมาย มาตรการที่ต้องดาเนินการ รวมถึงแนวปฏิบัติท่ีดีและ
เทคโนโลยกี ารควบคุม VOCs สถานการณ์มลพษิ ในปัจจุบนั

สนับสนุนการสร้างเครือข่ายระหว่างภาครัฐส่วนกลาง ภาครัฐส่วนท้องถ่ิน ภาคเอกชน
(ผู้ประกอบการ) และชุมชนทั้งหมดท่ีตั้งอยู่ในพ้ืนที่ เพ่ือให้การบริหารจัดการการติดตาม ประเมินผลเพ่ือลด
VOCs เปน็ ไปอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ รวมถึงเพ่ิมการแลกเปลย่ี นองค์ความรแู้ ละความเขา้ ใจระหว่างกันให้มากขน้ึ

เพิ่มการเผยแพร่ข้อมลู ผลตรวจวดั ด้านสิ่งแวดล้อมและแนวทางการจัดการเพ่ือลด VOCs
ไปยัง หน่วยงานท้องถ่ินและชุมชนให้มากข้ึนและต่อเน่ือง โดยใช้กลไกของหน่วยงานระดับพื้นที่ เช่น านักงาน
นิคมอุตสาหกรรม โรงงานในพื้นท่ี หน่วยงานราชการท้องถ่ิน เช่น สานักงานสาธารณสุข จังหวัด เทศบาล
องค์การบริหารส่วนตาบล เพ่ือให้ภาคส่วนที่เก่ียวข้องนาข้อมูลไปใช้ประโยชน์ เช่น การประเมินผลกระทบต่อ
สุขภาพของประชาชนในพ้นื ที่ เปน็ ต้น รวมถงึ สรา้ งความเชอ่ื มนั่ แกช่ มุ ชนโดยรอบ

โครงการจดั ทาแผนสงิ่ แวดลอ้ มในพืน้ ทเี่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๖๙


Click to View FlipBook Version