The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานฉบับสุดท้าย_เล่มที่ 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ONEP-EEC, 2021-12-22 13:33:58

รายงานฉบับสุดท้าย_เล่มที่ 1

รายงานฉบับสุดท้าย_เล่มที่ 1

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสุดท้าย

ที่มา: จากการแปลภาพถา่ ยจากดาวเทยี ม

ภาพที่ ๔ - ๔๔ พ้ืนที่ส่งิ ปกคลมุ ดนิ และการใช้ประโยชน์ที่ดนิ ในพ้นื ที่เขตพัฒนาพเิ ศษตะวันออก

โครงการจดั ทาแผนสิ่งแวดลอ้ มในพ้ืนท่เี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๒๐

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ทา้ ย

๕) การใช้ประโยชน์ทีด่ ินในพ้นื ที่เขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออกในภาพรวม
พืน้ ที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้างของกรมพัฒนาที่ดิน ระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๕๖, ๒๕๕๙ และ ๒๕๖๓
พบว่ามีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น จาก ๙๕๖,๙๒๓ เพ่ิมข้ึนเป็น ๑,๐๙๐,๔๓๙ และ ๑,๑๙๐,๗๘๑ ไร่ ตามลาดับ คิด
เป็นร้อยละ ๑๑.๕๔ ๑๓.๑๕ และ ๑๔.๓๖ ตามลาดับ ทั้งน้ีเน่ืองจากโครงการพัฒนาบริเวณชายฝ่ังทะเลภาค
ตะวันออกท่ีทาให้เกิดการปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจของประเทศครง้ั ใหญ่ เพื่อให้ประเทศไทยกลายเป็นฐาน
การผลิตของอุตสาหกรรมหลายประเภท เช่น ปิโตรเคมี ยานยนต์ และอิเล็กทรอนิกส์ ดังนั้นคาดได้ว่าใน
อนาคตจะมีพ้ืนที่ชมุ ชนและส่ิงปลูกสร้างสูงขึ้น เน่ืองจากยังมีการพัฒนาโครงสรา้ งพื้นฐานท่ีสาคัญในพ้ืนท่ี เช่น
รถไฟความเร็วสูงเชื่อม ๓ สนามบิน สนามบินอู่ตะเภาและเมืองการบินตะวันออก รถไฟทางคู่เช่ือม ๓ ท่าเรือ
ท่าเรือแหลมฉบัง ระยะที่ ๓ ท่าอุตสาหกรรมมาบตาพุด ระยะท่ี ๓ ท่าเรือพาณิชย์สัตหีบ อุตสาหกรรม
เป้าหมายและเขตส่งเสริมอุตสาหกรรมเป้าหมาย เขตนวัตกรรมพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก เขต
ส่งเสริมอุตสาหกรรมและนวัตกรรมดิจิทัล การท่องเท่ียว การพัฒนาบุคลากร การศึกษา วิจัยละเทคโนโลยี
รวมถึงการพัฒนาเมืองใหม่ ดังน้ัน ตามมาตราท่ี ๒๙ แห่งพระราชบัญญัติเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ.
๒๕๖๑ ให้สานักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (๒๕๖๑) จัดทานโยบายและแผน
ภาพรวมเพ่ือการพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก แผนการใช้ประโยชน์ที่ดินในภาพรวม แผนพัฒนา
โครงสร้างพื้นฐานและระบบสาธารณูปโภค แผนการดาเนินงานและแผนการให้บริการภาครัฐแบบเบ็ดเสร็จ
ครบวงจรท่ีสะดวกและรวดเรว็ พร้อมทั้งกาหนดหน่วยงานของรัฐท่ีเก่ียวข้อง ทั้งน้ีโครงการยทุ ธศาสตร์สาคัญท่ี
จะต้องปรากฏในแผนการใช้ประโยชน์ท่ีดินเพ่ือให้มีพื้นท่ีรองรับโครงการลงทุนเหล่านี้อย่างเหมาะสม และ
ประชาชนในพ้ืนท่ีได้รับประโยชน์สูงสุด รวมทง้ั การใชพ้ ื้นทอี่ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพเปน็ ไปตามพระราชบญั ญตั ิ
สานักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (สกพอ.) ได้จัดทาแผนการใช้
ประโยชน์ทด่ี ินในภาพรวม เปน็ แผนงานหนงึ่ ในมาตรา ๒๙ แห่งพระราชบญั ญัติเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
พ.ศ.๒๕๖๑ มีวัตถุประสงค์เพื่อกาหนดทิศทางการใช้ท่ีดินใน EEC สาหรับกิจกรรมสาคัญต่าง ๆ ในช่วง
ระยะเวลา ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๘๐) โดยมรี ายละเอียดดงั ตารางที่ ๔ - ๕๖

ภายใต้แผนการใชป้ ระโยชน์ทด่ี ินในภาพรวม มีแผนการใช้ที่ดินสาหรับพ้ืนที่พฒั นาเมืองใหม่
และพนื้ ท่ีศูนยก์ ลางเศรษฐกิจ ซ่ึงจะดาเนินงานในพื้นที่ของรัฐและเอกชน โดยส่งเสริมให้พัฒนาในลกั ษณะเมือง
ใหม่อัจฉริยะน่าอยู่ ส่วนท่ีพัฒนาโดยรัฐจะเป็นโมดูลที่พึ่งพาตนเองได้และสามารถขยายโมดูลมาเชื่อมต่อได้ใน
อนาคต ออกแบบให้มีขนาดเล็ก ลดการใช้รถยนต์ส่วนตัว ส่งเสริมให้ใช้ระบบขนส่งสาธารณะ จักรยาน และ
ทางเท้า เพ่ิมพ้ืนที่สีเขียวในเมือง มีสถานที่สาธารณะที่ใช้ประโยชน์ร่วมกัน และมีการใช้พื้นท่ีแบบผสมผสาน
โดยควรมีพ้ืนที่ขนาดประมาณ ๑๒,๕๐๐ ไร่ รองรับประชากร ๑๕๐,๐๐๐ คน และให้ขยายอีก ๕ โมดูล
ในอีก ๑๕ ปีข้างหน้า รองรับประชากร ๑๕๐,๐๐๐ คน โดยปัจจุบันอยู่ระหว่างการศึกษาเพ่ือกาหนดตาแหน่ง
ท่ีตั้งท่ีเหมาะสม สาหรับการพัฒนาเมืองใหม่อัจฉริยะน่าอยู่ของเอกชนกาหนดให้อยู่ในพื้นท่ีรัศมีไม่เกิน ๑๐
กิโลเมตรจากโครงสร้างพื้นฐานหลัก เช่น สถานีรถไฟความเร็วสูงท้ัง ๑๐ สถานี สนามบินอู่ตะเภา เขต
นวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษตะวันออก เขตส่งเสริมอุตสาหกรรมและนวัตกรรม เป็นต้น ซ่ึงต้องมีการ
กาหนดแผนการใชป้ ระโยชนท์ ่ีดินใหเ้ หมาะสมตามหลักวชิ าการผังเมอื ง

โครงการจัดทาแผนสงิ่ แวดล้อมในพืน้ ท่เี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๒๑

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม รายงานฉบบั สดุ ท้าย

การกาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกถูกกาหนด ตาม
แผนผังการใชป้ ระโยชน์ท่ดี ินและแผนผังการพฒั นาโครงสร้างพื้นฐานและระบบสาธารณูปโภคเขตพฒั นาพิเศษ
ภาคตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๒ ได้ประกาศใช้เมื่อวันที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๖๒ ในท้องท่ีจังหวัดฉะเชิงเทรา
กรุงเทพมหานคร จังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดชลบุรี และจังหวัดระยอง และให้ผังเมืองรวมการกฎหมายว่า
ด้วยการผังเมอื งในส่วนที่บังคบั ใช้ในพ้ืนที่ EEC อยกู่ ่อนวนั ที่ประกาศใช้แผนผังน้ันเปน็ อนั ยกเลิกไป แผนผังการ
ใช้ประโยชน์ท่ีดินในพ้ืนท่ี EEC เป็นกรอบใหญ่ในการพัฒนาใช้ท่ีดินใน ๖ ด้าน คือ ๑) แผนผังการใช้ประโยชน์
ที่ดิน ๒) แผนผังระบบสาธารณูปโภค ระบบเทคโนโลยีและการส่ือสารและระบบควบคุมและขจัดมลภาวะ
๓)แผนผังคมนาคมและขนส่ง ๔) แผนผงั ระบบการตั้งถิ่นฐานและภูมสิ ังคม ๕) แผนผังระบบการบริหารจัดการ
น้า และ ๖) แผนผังระบบป้องกันอุบัติภัย โดยการกาหนดประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน ๔ กลุ่ม ๑๑ ประเภท
ได้แก่ พื้นท่ีพัฒนาเมือง พ้ืนท่ีพัฒนาอุตสาหกรรม พ้ืนที่พัฒนาเกษตรกรรม พื้นท่ีอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม (สานักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก, ๒๕๖๒) นอกจากนี้ กรม
โยธาธิการและผงั เมอื งตอ้ งนาแผนผังการใช้ประโยชน์ทด่ี ิน EEC ไปจัดทาและวางผังเมืองจังหวัดและอาเภอ ซึ่ง
เป็นผังเมืองที่ลงรายละเอียดเพิ่มข้ึน ครอบคลุม ๓๐ อาเภอ แบ่งเป็น จังหวัดฉะเชิงเทรา ๑๑ อาเภอ จังหวัด
ชลบุรี ๑๑ อาเภอ และจังหวัดระยอง ๘ อาเภอ ซ่ึงอยู่ระหว่างการดาเนินการชั้นตอนจัดทาผังเมืองตาม
พระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๖๒ (แผนผังการใช้ประโยชน์ท่ีดินและแผนผังการพัฒนาโครงสร้าง
พื้นฐานและระบบสาธารณปู โภคเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก พ.ศ. ๒๕๖๒ แสดงในบทท่ี ๒)

โครงการจัดทาแผนส่งิ แวดล้อมในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๒๒

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม รายงานฉบับสดุ ทา้ ย

ตารางท่ี ๔ - ๕๖ แผนการใชป้ ระโยชนท์ ่ดี ินในภาพรวม

แผนการใช้ที่ดิน ประมาณการใช้งานพน้ื ท่ี หมายเหตุ
ในระยะแรก (ไร)่

๑. เขตส่งเสรมิ เศรษฐกจิ พเิ ศษ สาหรบั ๑๘,๔๘๔.๐๐ เขตสง่ เสริมท่ปี ระกาศใน
กิจการพิเศษ ราชกิจจานุเบกษา ๔ เขต

๒. เขตสง่ เสรมิ เศรษฐกจิ พเิ ศษสาหรบั ๘๖,๗๕๕.๐๐ เขตส่งเสริมท่ีประกาศใน
อตุ สาหกรรมเป้าหมายพเิ ศษ ราชกิจจานเุ บกษา ๒๑ เขต

๓. โครงสร้างพื้นฐานขนาดใหญ่ และ ๑๓,๘๗๐.๐๐ ท่าเรือมาบตาพดุ
สาธารณปู โภค ท่าเรือแหลมฉบงั

๔. พื้นท่พี ฒั นาเมอื งใหม่ และพื้นท่ี อย่างน้อย ๑๕,๕๐๐ ประมาณการจาก
ศูนย์กลางธรุ กจิ • โมดูล ๑ ของเมืองใหม่ อจั ฉรยิ ะนา่ อยู่ ๑๒,๕๐๐
ไร่
• พื้นทศ่ี นู ย์กลางการเงนิ ๕๐๐ ไร่
• พ้ืนที่มหานครการบินภาคตะวนั ออก ๒,๕๐๐ ไร่

๕. พ้ืนที่พัฒนารองรับศนู ย์กลางโลจิสตกิ ส์ ๑,๕๐๐.๐๐ การศกึ ษาของ สนข. บริเวณ จ.ฉะเชงิ เทรา

๖. แหล่งทอ่ งเที่ยวสาคญั ใชพ้ ้นื ทีเ่ ดมิ ประมาณการจากแหลง่ ทอ่ งเท่ียวปัจจบุ ัน

๗. พ้นื ที่เกษตร แหลง่ น้า พนื้ ทอ่ี นรุ ักษ์ ๘,๒๐๒,๘๑๔.๘๑ ยผ. และ สกพอ. จะพจิ ารณาตามหลกั วิชาการ
ทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม และ ผงั เมอื งเพ่ือจดั ทาแผนผงั การใชป้ ระโยชนท์ ่ีดิน
พืน้ ทีน่ ิคมอุตสาหกรรมเดมิ สถานรี ถไฟฟา้ ตาม พรบ. ต่อไป
ประปา

รวมตัวเลขประมาณการใชท้ ่ีดนิ ๘,๓๓๘,๙๒๓.๘๑

หมายเหต:ุ * พืน้ ท่ีอ่นื นอกเหนือจากน้ี เช่น เมอื งอจั ฉรยิ ะน่าอยทู่ ลี่ งทนุ โดยภาคเอกชน คณะอนกุ รรมการจัดทาแผนผังกร
พฒั นาเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก ซ่งึ มีอธิบดกี รมโยธาธิการและผงั เมืองเปน็ ประธาน จะเป็นผพู้ ิจารณาตาม
หลักการวชิ าการผงั เมือง

ทมี่ า: สานักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก, ๒๕๖๑

จากการทบทวนแผนผังการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๒ ร่วมกับ
เขตจัดการตามภูมินิเวศของการศึกษาแสดงในตารางที่ ตารางท่ี ๔ - ๕๗ และภาพท่ี ๔ - ๔๕ พบว่า พ้ืนที่เขต
จัดการภูมินิเวศเกษตรกรรม บริเวณโซน A ในแผนผังการใช้ประโยชน์ท่ีดิน เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
พ.ศ. ๒๕๖๒ ได้กาหนดการใช้ประโยชน์ท่ีดินประเภทศูนย์กลางพาณิชยกรรม ชุมชนเมือง พ้ืนท่ีรองรับการ
พัฒนาเมือง นอกจากน้ันยังมีเขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษเพือ่ กิจการพิเศษ บริเวณโซน E เขตส่งเสริมเศรษฐกิจ
พิเศษเพื่อกิจการอุตสาหกรรม (ในพ้ืนที่จังหวัดระยอง) และการใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทพ้ืนที่พัฒนา
อุตสาหกรรม บริเวณโซน C ในส่วนของเขตจัดการภูมินิเวศป่าต้นน้าหากพิจารณาแผนผังการใช้ประโยชน์ใน
ท่ีดิน เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๒ ซึ่งได้มีการกาหนดการใช้ประโยชน์ท่ีดินประเภทพัฒนา
อตุ สาหกรรม บรเิ วณโซน D ซ่ึงเป็นพ้ืนท่ีเขตจดั การภูมินิเวศป่าต้นน้า จากการทบทวนแผนผงั การใช้ประโยขน์

โครงการจดั ทาแผนส่งิ แวดล้อมในพื้นทเี่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๒๓

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ทา้ ย

ท่ีดินร่วมกับเขตจัดการภูมินิเวศพบว่ามีบางบริเวณที่มีการกาหนดกิจกรรมไม่สอดคล้องกับเขตจัดการตาม ภูมิ
นิเวศ ดังกลา่ ว

ท้ังนี้ หากพิจารณาร่วมกับประเด็นความสามารถในการรองรับทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ใน
กรณีของเขตจัดการภูมินิเวศเกษตรกรรมแต่แผนผังการใช้ประโยชน์ที่ดินกาหนดให้มีการพัฒนา ส่งผลต่อ
ปริมาณข้าวท่ีผลิตได้ในพื้นท่ี (Food Availability) จากการประเมิน พบว่า ในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาค
ตะวันออก จังหวัดฉะเชิงเทรามีความมั่นคงด้านอาหาร สามารถผลิตข้าวได้ในปริมาณท่ีมากกว่าความต้องการ
ของคนในจังหวัด ร้อยละ ๑,๒๘๓.๑๙ ในขณะท่ีจังหวัดชลบุรีและจังหวัดระยอง ไม่มีความม่ันคงด้านอาหาร
ผลิตข้าวได้ในปริมาณท่ีน้อยกว่าความต้องการของคนในจังหวัด ร้อยละ ๖๒.๓๗ และร้อยละ ๓๔.๔๓
ตามลาดับ ท้ังนี้จากผังหากมีการพัฒนาพื้นที่พัฒนาอุตสาหกรรม แผนผังการใช้ประโยชน์ในท่ีดิน เขตพัฒนา
พิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๒ รองรับการพัฒนาเมืองเขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษเพื่อกิจการพิเศษ เขต
ส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษเพ่ือกจิ การอตุ สาหกรรม รวมถึงพ้ืนที่เพอื่ พัฒนาอุตสาหกรรม ซึ่งจะขยายตัวและแทนท่ี
การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ซึ่งอาจส่งผลให้ความสามารถในการผลิตอาหารของพ้ืนท่ีลดลงได้
รวมถึงการซ้อนทับพื้นท่ีเขตจัดการภูมินิเวศป่าต้นน้า กับแผนผังการใช้ประโยชน์ในท่ีดิน เขตพัฒนาพิเศษภาค
ตะวนั ออก พ.ศ. ๒๕๖๒ ซึ่งได้มีการกาหนดการใช้ประโยชน์ท่ีดินประเภทพัฒนาอุตสาหกรรมซ้อนทับกับพ้ืนท่ี
เขตจัดการภมู ินเิ วศป่าต้นน้า ในประเดน็ ดงั กล่าวอาจส่งผลต่อความสามารถในการรองรับด้านความหลากหลาย
ทางชีวภาพ ซ่ึงการลดลงของพ้ืนท่ีป่าไม้จะส่งผลต่อความหลากหลายทางชีวภาพของพ้ืนท่ี รวมถึงคุณภาพของ
ส่ิงแวดล้อม ซึ่งควรมีมาตรการป้องกันปัญหาสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดข้ึนจากการพัฒนาอุตสาหกรรม อย่างไรก็
ตามอุตสาหกรรมที่จะเกิดขึ้นใหม่ที่จะลงทุนในพ้ืนท่ี EEC ได้มีการส่งเสริมอุตสาหกรรมท่ีเป็นมิตรกับ
สงิ่ แวดลอ้ มมากข้ึนจะทาใหผ้ ลกระทบลดลงได้

โครงการจัดทาแผนสงิ่ แวดลอ้ มในพ้นื ทเี่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๒๔

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม

ตารางท่ี ๔ - ๕๗ การทบทวนแผนผังการใชป้ ระโยชน์ทดี่ ินกบั เขตจดั การภูมินิเวศใน

เขตป่าชายเลน เขตปา่ ต้นนา้ เขตเกษต
X
ศนู ยก์ ลางพาณิชยกรรม X X
X X
ชุมชนเมอื ง X
X
รองรบั การพัฒนาเมอื ง
X
เขตสง่ เสริมเศรษฐกิจพเิ ศษเพื่อกจิ การพเิ ศษ
X
เ ข ต ส่ ง เ ส ริ ม เศ ร ษ ฐ กิ จ พิ เศ ษ เพ่ื อ กิ จ ก า ร X
อุตสาหกรรม

แหล่งนา้

พฒั นาอุตสาหกรรม

ชมุ ชนชนบท

สง่ เสรมิ เกษตรกรรม

พระราชกฤษฎีกากาหนดให้เปน็ เขต
ปฏิรปู ท่ีดิน

ท่โี ลง่ เพอ่ื การรกั ษาคณุ ภาพสิง่ แวดล้อม

อนุรกั ษ์ปา่ ไม้

โครงการจดั ทาแผนสิง่ แวดล้อมในพืน้ ทเ่ี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕

รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย

นเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก

ตรกรรม เขตเมืองและชุมชน เขตอตุ สาหกรรม เขตพนื้ ท่ีชมุ่ น้า เขตทะเลและเกาะ
X X
X
X
X

XX

XX X X
X X X

X
X

๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๒๕

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม

ภาพท่ี ๔ - ๔๕ การใช้ประโยชน์ทีด่ นิ เขตพฒั น

โครงการจดั ทาแผนสง่ิ แวดล้อมในพืน้ ทเี่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕

รายงานฉบบั สดุ ท้าย

นาพิเศษภาคตะวนั ออกกบั เขตจดั การภูมินเิ วศ ๔ - ๑๒๖

๕-๒๕๖๙

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย

๔.๑.๑๐.๒ สง่ิ แวดลอ้ มทางธรรมชาติ
จากข้อมูลของสานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมได้จาแนกแหล่ง
ธรรมชาติออกเป็นประเภทต่าง ๆ โดยพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกประกอบไปด้วย ๓ จังหวัด ได้แก่
ฉะเชิงเทรา ชลบรุ ี และระยอง มีแหล่งธรรมชาติท้งั หมด ๒๔ แหลง่ ได้แก่ นา้ ตก ๒ แหลง่ เกาะ ๓ แหล่ง ภูเขา
๓ แหล่ง ธรณีสัณฐานและภูมิลักษณวรรณา ๑ แหล่ง และชายหาด ๑๕ แหล่ง ดงั ตารางท่ี ๔ - ๕๘
แหล่งธรรมชาติของพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกส่วนใหญ่ถูกใช้ประโยชน์เพื่อการ
ท่องเทยี่ วกระจกุ ตัวอยู่บรเิ วณทางทิศตะวนั ตกและทิศใต้ของพื้นท่เี ปน็ สว่ นใหญ่ ดงั ภาพท่ี ๔ - ๔๖

ตารางท่ี ๔ - ๕๘ แหลง่ ธรรมชาตใิ นพ้นื ทีเ่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก

ลาดับ แหล่งธรรมชาติ ที่ตงั้ ประเภทการใช้ประโยชน์

ภเู ขา

๑ เขาหนิ ช้อน อาเภอพนมสารคาม ฉะเชิงเทรา สวนรกุ ขชาตสิ มเดจ็ พระป่ินเกล้า

๒ เขาสามมุก อาเภอเมือง จงั หวัดชลบรุ ี แหลง่ ทอ่ งเทีย่ วชมวิว และศาลเจ้าแมเ่ ขาสามมุข
๓ เขายายดา อาเภอเมอื ง จงั หวัดระยอง เป็นท่ีต้ังของสถานีส่งสญั ญาณโทรทศั น์ของหลาย ๆ
หนว่ ยงาน ไดแ้ ก่ สถานโี ทรทัศนช์ อ่ ง ๓ ชอ่ ง ๕ ช่อง
นา้ ตก อาเภอเขาชะเมา จงั หวดั ระยอง ๗ ชอ่ ง ๑๑ และสถานีวิทยทุ หารเรอื
๔ น้าตกเขาชะเมา
เปน็ แหล่งท่องเทยี่ วพกั ผ่อนหยอ่ นใจ และการศกึ ษา
๕ นา้ ตกธรรมรส อาเภอวังจนั ทร์ จังหวดั ระยอง วจิ ยั ในพ้นื ที่
เปน็ แหล่งพักผอ่ นหย่อนใจของผมู้ าปฏบิ ตั ธิ รรมและ
เกาะ การศึกษาวิจัยในทอ้ งถนิ่

๖ เกาะขาม อาเภอสัตหีบ จงั หวดั ชลบรุ ี เปน็ แหล่งทอ่ งเท่ียว
เปน็ แหล่งทอ่ งเทย่ี ว
๗ เกาะสีชงั อาเภอเกาะสีชัง จังหวัดชลบรุ ี เปน็ แหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว

๘ เกาะแสมสาร อาเภอสัตหบี จงั หวดั ชลบรุ ี เป็นแหล่งทอ่ งเที่ยวและนันทนาการ

ธรณีสัณฐานและภมู ลิ กั ษณวรรณา เปน็ แหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว
เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีช่ือเสียงของคนชาวต่างชาติ
๙ เขาชีจรรย์ อาเภอสตั หบี จังหวดั ชลบรุ ี และชาวไทย
เป็นแหล่งท่องเที่ยว สถานที่พักผ่อนเล่นน้า และ
ชายหาด กจิ กรรมกีฬาทางน้า
เป็ น แห ล่งท่ องเที่ ยวแล ะท ากิจกรรม ใน เชิ ง
๑๐ หาดบางแสน อาเภอเมือง จงั หวัดชลบุรี นนั ทนาการ
เปน็ แหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว
๑๑ หาดพัทยา อาเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี

๑๒ หาดจอมเทยี น อาเภอบางละมุง จังหวัดชลบรุ ี

๑๓ หาดบางเสร่ อาเภอสัตหีบ จังหวดั ชลบุรี

๑๔ หาดลกู ลม อาเภอ สัตหบี จังหวัดชลบรุ ี

โครงการจดั ทาแผนสิง่ แวดล้อมในพืน้ ทีเ่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๒๗

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม รายงานฉบับสดุ ท้าย

ลาดับ แหลง่ ธรรมชาติ ท่ตี ้งั ประเภทการใช้ประโยชน์

๑๕ หาดพยนู อาเภอบา้ นฉาง จงั หวัดระยอง สถานทท่ี อ่ งเทีย่ ว พักผ่อน

๑๖ หาดพลา อาเภอบ้านฉาง จังหวดั ระยอง เปน็ สถานที่ทอ่ งเที่ยว พักผอ่ นในวนั หยดุ

๑๗ หาดเพ อาเภอเมือง จังหวดั ระยอง เปน็ แหล่งทอ่ งเท่ียวและเป็นท่าเรอื ข้ามไปเกาะเสมด็

๑๘ ห าดแสงจันทร์/ห าด อาเภอเมือง จงั หวัดระยอง พ้ืนท่ีชายหาดส่วนใหญ่มีการทาประมงตลอดแนว

สชุ าดา ชายหาด มีการจอดเรือประมงพ้ืนบ้าน และเป็น

แหลง่ ท่องเทย่ี ว

๑๙ หาดนา้ ริน อาเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง เป็นแหลง่ ทอ่ งเทีย่ ว

๒๐ หาดปากน้าระยอง/หาด อาเภอเมอื งระยอง จังหวัดระยอง บริเวณปากน้ามีการทาประมง หาดทรายบริเวณนี้

แหลมเจริญ ค่อนข้างสกปรก ห่างจากปากน้าออกไปมีการสร้าง

บ้านพักตากอากาศ และที่พักผ่อน เพ่ือรองรับ

นกั ท่องเท่ียว

๒๑ หาดปากคลองแกลง อาเภอเมอื งระยอง จงั หวัดระยอง เป็นแหล่งทอ่ งเทย่ี ว

๒๒ หาดแหลมแม่พิมพ์ อาเภอแกลง จงั หวัดระยอง เปน็ แหล่งท่องเทยี่ ว มรี ้านค้าบังกะโลเรียงรายตลอด

แนว นอกจากนี้ยังมีกลุ่มประมงพ้ืนบ้านใช้เป็นท่ี

จอดเรอื

๒๓ หาดแมร่ าพึง อาเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง เป็นแหลง่ ท่องเท่ยี ว

๒๔ หาดทรายแก้ว อาเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง เป็นแหลง่ ทอ่ งเทีย่ ว

ท่ีมา: กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

(๒๕๖๑)

โครงการจดั ทาแผนสิ่งแวดลอ้ มในพนื้ ท่เี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๒๘

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม รายงานฉบบั สดุ ท้าย

ภาพท่ี ๔ - ๔๖ ตาแหน่งแหล่งธรรมชาตใิ นพื้นท่เี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก

โครงการจดั ทาแผนส่งิ แวดลอ้ มในพ้นื ท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๒๙

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดท้าย

๔.๑.๑๐.๓ สิง่ แวดลอ้ มทางศลิ ปกรรม
สิ่งแวดล้อมศิลปกรรม หมายถึง “สิ่งแวดล้อมท่ีมีความเก่ียวเนื่องกับส่ิงท่ีมนุษย์ได้สร้างหรือ
กา้ หนดขึ้นทัง้ ในอดตี และปัจจบุ ัน ท่ีมีคณุ คา่ ในทางศิลปะ วัฒนธรรม ประวัตศิ าสตร์ โบราณคดี เทคโนโลยี (ภูมิ
ปัญญาท้องถ่ิน) และรวมถึงแหล่งศิลปกรรมที่นับเป็นส่วนหน่ึงของสิ่งแวดล้อมด้วย” สานักงานนโยบายและ
แผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม, ๒๕๕๕ a., หน้า ๑๕)
ส่ิงแวดล้อมทางศิลปกรรม ในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ได้แก่ เขตพื้นท่ีเมืองเก่า
ยา่ นชมุ ชนเก่า และแหล่งโบราณสถานและโบราณวัตถุ มีรายละเอยี ดดงั นี้
๑) เขตพืน้ ท่ีเมืองเก่า
ในเขตพ้ืนที่พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก มีพ้ืนท่ีที่ได้รับประกาศคณะกรรมการอนุรักษ์และ
พฒั นากรงุ รัตนโกสินทร์ และเมืองเก่า จานวน ๒ พ้ืนท่ี คอื

๑) เขตพ้ืนที่เมืองเก่าระยอง มีเน้ือที่รวม ๐.๑๑ ตารางกิโลเมตร ได้รับการประกาศ
ณ วันท่ี ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๕๘ ภาพท่ี ๔ - ๔๗ และ

๒) เขตพื้นท่ีเมืองเก่าฉะเชิงเทรา มีเนื้อที่รวม ๓.๙๖ ตารางกิโลเมตร ได้รับการ
ประกาศ ณ วนั ท่ี ๙ พฤษภาคม ๒๕๖๔ ภาพท่ี ๔ - ๔๘

วตั ถุประสงค์ของการประกาศเขตพื้นที่เมืองเก่าเพื่อให้เป็นมรดกทางวัฒนธรรมท่ีสืบ
ทอดความเจริญรุ่งเรืองดา้ นศิลปวฒั นธรรมอันยิง่ ใหญ่ของชาติตลอดไป

โครงการจัดทาแผนสิง่ แวดล้อมในพนื้ ทเ่ี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๓๐

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม รายงานฉบับสดุ ท้าย

ภาพที่ ๔ - ๔๗ เขตพืน้ ทเ่ี มืองเก่าระยอง

โครงการจดั ทาแผนส่งิ แวดลอ้ มในพน้ื ท่เี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๓๑

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย

ภาพที่ ๔ - ๔๘ เขตพ้นื ที่เมืองเกา่ ฉะเชิงเทรา

โครงการจดั ทาแผนสิ่งแวดลอ้ มในพน้ื ทเี่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๓๒

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสุดทา้ ย

๒) แหลง่ โบราณสถาน และโบราณวัตถุ

พื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกพบแหล่งศิลปกรรมท้ังหมด ๒๖๐ แห่ง แบ่งออกเป็น
ประเภทชุมชนโบราณ เมืองโบราณ และอทุ ยานประวตั ิศาสตร์ ๘ แห่ง ประเภทพพิ ิธภัณฑ์ สถาปตั ยกรรม และ
พระราชวงั ๑๖ แห่ง ประเภทยา่ นชุมชนเกา่ ๓๐ แห่ง ประเภทวัด วัดรา้ ง และศาสนสถาน ๑๘๔ แห่ง ประเภท
แหล่งโบราณคดีทั้งท่ีขุดค้นแล้ว และยังไม่ได้ขุดค้น โบราณวัตถุ เมืองเก่า และเมืองประวัติศาสตร์ ๑๔ แห่ง
และประเภทอนุสาวรีย์ อนสุ รณส์ ถาน และสถานหลกั เมือง ๘ แห่ง รายละเอียดดงั ตาราง ๔ – ๖๓

ตารางที่ ๔ - ๕๙ จานวนแหลง่ ศลิ ปกรรมในพ้นื ทีเ่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก

จงั หวดั ประเภทแหล่งศลิ ปกรรม รวม
ยา่ น วดั
ชมุ ชนโบราณ พิพธิ ภณั ฑ์ ชมุ ชนเก่า วดั รา้ ง ศาสน แหล่งโบราณคดี อนุสาวรีย์ ๑๐๗
เมืองโบราณ สถาปตยกรรม ท้งั ท่ขี ุดค้นแลว้ อนุสรณส์ ถาน ๔๖
พระราชวงั สถาน และยงั ไมไ่ ดข้ ดุ ค้น สถานหลักเมือง ๑๐๗
อุทยาน โบราณวัตถุ เมอื ง ๒๖๐
ประวตั ศิ าสตร์ ๗ ๑๑ ๖๖ ๕
๖ ๑๔ ๒๑ เก่า เมอื ง ๒
ฉะเชิงเทรา ๕ ๓ ๕ ๙๗ ประวตั ิศาสตร์ ๑
๑๖ ๓๐ ๑๘๔ ๘
ชลบุรี ๓ ๑๓
-
ระยอง - ๑
๑๔
รวม ๘

ทม่ี า : กรมศลิ ปากร (๒๕๖๔)

จังหวัดฉะเชิงเทราพบแหล่งศิลปกรรมทั้งหมด ๑๐๗ แห่ง แบ่งออกเป็นประเภทชุมชนโบราณ
เมืองโบราณ และอุทยานประวัติศาสตร์ ๕ แห่ง ประเภทพิพิธภัณฑ์ สถาปัตยกรรม และพระราชวัง ๗ แห่ง
ประเภทย่านชุมชนเก่า ๑๑ แห่ง ประเภทวัด วัดร้าง และศาสนสถาน ๖๖ แห่ง ประเภทแหล่งโบราณคดีทั้งที่
ขดุ ค้นแล้ว และยังไม่ได้ขุดค้น โบราณวัตถุ เมืองเก่า และเมืองประวัติศาสตร์ ๑๓ แห่ง และประเภทอนสุ าวรีย์
อนสุ รณ์สถาน และสถานหลักเมือง ๕ แห่ง รายละเอียดดังตารางท่ี ๔ – ๖๔

ตารางท่ี ๔ - ๖๐ แหล่งศิลปกรรมจังหวัดฉะเชิงเทรา

อาเภอ ตาบล ช่อื ประเภทแหลง่ ศลิ ปกรรม

คลองเข่ือน คลองเขือ่ น วัดบ้านกลว้ ย วดั วัดร้าง ศาสนสถาน

บางคล้า บางตลาด อุทยานพระพิฆเนศ องค์ยนื วัด วัดร้าง ศาสนสถาน
บางคลา้ ชุมชนตลาดบางคลา้ ยา่ นชุมชนเก่า
ปากนา้ วดั ปากนา้ โจโ้ ล้ วัด วดั รา้ ง ศาสนสถาน
เสมด็ ใต้ วดั หวั สวน วัด วัดรา้ ง ศาสนสถาน

เสมด็ เหนือ วัดเสมด็ เหนือ (ราษฎรย์ นิ ด)ี วัด วัดร้าง ศาสนสถาน

บางคล้า วดั โพธ์บิ างคล้า วดั วัดรา้ ง ศาสนสถาน

บางคล้า วัดแจง้ บางคล้า วัด วัดรา้ ง ศาสนสถาน

ปากน้า วดั กกสบั (ใน) วดั วดั รา้ ง ศาสนสถาน

โครงการจัดทาแผนส่ิงแวดลอ้ มในพืน้ ท่ีเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๓๓

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดท้าย

อาเภอ ตาบล ชื่อ ประเภทแหลง่ ศิลปกรรม
บางนา้ เปรี้ยว เสมด็ ใต้
บา้ นเสม็ดใต้ แหล่งโบราณคดีทั้งที่ขุดคน้ แล้ว และยัง
บางปะกง ปากนา้
บ้านโพธ์ิ ไม่ไดข้ ดุ ค้น โบราณวัตถุ
แปลงยาว บางคล้า
อนุสรณ์สถานพระสถูปเจดีย์ อนุสาวรีย์ อนุสรณ์สถาน สถานหลัก
บึงน้ารักษ์
บางนา้ เปรีย้ ว สมเด็จพระเจ้าตากสนิ มหาราช เมือง
บางขนาก
บางน้าเปรี้ยว อนุสรณ์สถานพระสถูปเจดีย์ อนุสาวรีย์ อนุสรณ์สถาน สถานหลัก
โพรงอากาศ
ศาลาแดง สมเดจ็ พระเจ้าตากสนิ มหาราช เมือง
ศาลาแดง
สงิ โตทอง ชมุ ชนตลาดคลอง ๑๖ ย่านชุมชนเกา่
ศาลาแดง
วัดโพธ์เิ ยน็ วดั วดั รา้ ง ศาสนสถาน
ศาลาแดง
วัดปากคลองบางขนาก วัด วดั ร้าง ศาสนสถาน
ทา่ สะอา้ น
วดั โพธิเ์ ยน็ วดั วัดรา้ ง ศาสนสถาน
เขาดนิ
บางเกลอื วัดโพรงอากาศ วัด วัดรา้ ง ศาสนสถาน
บางววั
ทา่ สะอ้าน วดั สว่างอารมณ์ วดั วัดร้าง ศาสนสถาน
สองคลอง
บางกรูด วัดไผ่ดาเจรญิ ศขุ วัด วดั รา้ ง ศาสนสถาน

เทพราช วดั พุทธอุดมวิหาร วัด วดั รา้ ง ศาสนสถาน
ดอนทราย
บา้ นโพธ์ิ แหลง่ โบราณคดบี งึ ไผด่ า แหลง่ โบราณคดีทั้งท่ีขุดค้นแล้ว และยัง
ลาดขวาง
หนองบัว ไมไ่ ดข้ ุดคน้ โบราณวัตถุ
สบิ เอ็ดศอก
หมู่บ้านบงึ ไผ่ดา แหล่งโบราณคดีทั้งที่ขุดค้นแล้ว และยัง
หวั สาโรง
ไม่ได้ขดุ ค้น โบราณวตั ถุ
วงั เย็น
ชุมชนท่าสะอา้ น ชุมชนโบราณ เมืองโบราณ อุทยาน

ประวตั ศิ าสตร์

วดั เขาดนิ (วดั ปถวปี พั ตาราม) วดั วัดรา้ ง ศาสนสถาน

วดั สุคันธศลี าราม(วดั หอมศลี ) วัด วดั รา้ ง ศาสนสถาน

วัดอสุ ภาราม (วดั บางววั ) วัด วดั ร้าง ศาสนสถาน

วัดท่าสะอา้ น วัด วัดร้าง ศาสนสถาน

วัดหงษ์ทอง (วัดกลางนา้ ) วัด วดั รา้ ง ศาสนสถาน

หมู่บา้ นท่าถั่ว ชุมชนโบราณ เมืองโบราณ อุทยาน

ประวตั ศิ าสตร์

ชุมชนตลาดคลองสวน ย่านชมุ ชนเกา่

วัดดอนทราย วัด วดั รา้ ง ศาสนสถาน

วดั สนามจันทร์ วดั วัดร้าง ศาสนสถาน

วัดหัวเนนิ วัด วดั ร้าง ศาสนสถาน

วดั ดอนสีนนท์ วัด วดั ร้าง ศาสนสถาน

แหล่งโบราณคดโี คกพนมราม แหลง่ โบราณคดที ั้งท่ีขดุ คน้ แล้ว และยัง

ไมไ่ ด้ขดุ คน้ โบราณวตั ถุ

หมู่บ้านหวั สาโรง ชุมชนโบราณ เมืองโบราณ อุทยาน

ประวัตศิ าสตร์

หอดูดาวเฉลิมพระเกียรติ ๗ พิพธิ ภณั ฑ์ สถาปัตยกรรม พระราชวัง

โครงการจดั ทาแผนส่งิ แวดล้อมในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๓๔

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ท้าย

อาเภอ ตาบล ชื่อ ประเภทแหลง่ ศิลปกรรม

รอบพระชนมพรรษา

แปลงยาว วดั แปลงยาว วัด วัดร้าง ศาสนสถาน
หวั สาโรง
แปลงยาว วดั หัวสาโรง วัด วดั รา้ ง ศาสนสถาน

บา้ นปากด่าน แหลง่ โบราณคดีท้ังที่ขดุ ค้นแล้ว และยัง

ไมไ่ ด้ขุดค้น โบราณวัตถุ

พนมสารคาม บา้ นซ่อง พิพิธภณั ฑ์ไทยพวน พิพิธภณั ฑ์ สถาปตั ยกรรม พระราชวัง
พนมสารคาม
ชุมชนตลาดพนมสารคาม (ท่า ยา่ นชมุ ชนเกา่

เกวยี น)

ทา่ ถ่าน ชมุ ชนบ้านท่าลาดเหนือ ย่านชมุ ชนเก่า
บา้ นซ่อง
พนมสารคาม ชุมชนบา้ นหวั กระสงั ข์ ยา่ นชุมชนเกา่
ท่าถ่าน
วัดเมอื งกาย วัด วัดรา้ ง ศาสนสถาน

วัดพระพุทธทักษิณดิลก (วัดท่า วดั วัดร้าง ศาสนสถาน

ลาดใต)้

ทา่ ถ่าน วดั ทา่ ลาดเหนือ (วัดหลวงป่จู ีน) วัด วดั ร้าง ศาสนสถาน
ท่าถา่ น
วั ด โ ค ก หั ว ข้ า ว (วั ด อุ ด ม วัด วดั ร้าง ศาสนสถาน

ธญั ญาหาร)

พนมสารคาม วดั เตาเหลก็ วัด วัดร้าง ศาสนสถาน
พนมสารคาม
พนมสารคาม วดั มหาเจดยี ์ วดั วดั รา้ ง ศาสนสถาน
พนมสารคาม
เมืองเกา่ วดั เมอื งกาย วัด วัดรา้ ง ศาสนสถาน
เมืองเก่า
เมอื งเก่า วดั ทา่ เกวยี น วดั วัดรา้ ง ศาสนสถาน
เมืองเก่า
หนองยาว วัดโพธ์ใิ หญ่ วัด วดั ร้าง ศาสนสถาน
หนองยาว
หนองแหน วัดจอมมณี (กองขวา) วดั วดั รา้ ง ศาสนสถาน
ท่าถ่าน
วดั เมืองแมด วัด วัดรา้ ง ศาสนสถาน

วัดชลวารี(วดั บา้ นเล้อ) วัด วัดรา้ ง ศาสนสถาน

วดั นาเหล่าบก วัด วดั รา้ ง ศาสนสถาน

วัดหนองป่าตอง วดั วัดร้าง ศาสนสถาน

วัดหนองแหน วดั วัดร้าง ศาสนสถาน

แหล่งโบราณคดีหัวข้าว (โคกหัว แหลง่ โบราณคดีทั้งท่ีขุดคน้ แล้ว และยัง

ข้าว) ไมไ่ ดข้ ดุ ค้น โบราณวัตถุ

เมืองเก่า แหลง่ โบราณคดบี ้านบึงกระจับ แหลง่ โบราณคดที ั้งท่ีขดุ ค้นแล้ว และยัง

ไม่ได้ขดุ ค้น โบราณวตั ถุ

หนองแหน แหล่งโบราณคดีบ้านสระสอง แหล่งโบราณคดที ั้งที่ขดุ ค้นแล้ว และยัง

ตอน ไม่ได้ขุดคน้ โบราณวตั ถุ

ทา่ ถ่าน ศาลหลักเมืองพนมสารคาม อนุสาวรีย์ อนุสรณ์สถาน สถาน หลัก

เมอื ง

เมืองฉะเชิงเทรา หน้าเมอื ง ยา่ นชมุ ชนเมืองแปดริว้ ชุมชนโบราณ เมืองโบราณ อุทยาน

ประวัตศิ าสตร์

โครงการจดั ทาแผนสง่ิ แวดล้อมในพื้นที่เขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๓๕

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม รายงานฉบบั สุดท้าย

อาเภอ ตาบล ช่อื ประเภทแหล่งศลิ ปกรรม

หน้าเมือง ตลาดหนา้ เมือง ชุมชนโบราณ เมืองโบราณ อุทยาน

ประวัติศาสตร์

หนา้ เมือง อ า ค า ร ศ า ล า ก ล า งจั งห วั ด พิพิธภัณฑ์ สถาปตั ยกรรม พระราชวงั

ฉะเชงิ เทรา (หลังเดิม)

หนา้ เมือง อาคารไปรษณีย์หลงั เก่า พิพธิ ภัณฑ์ สถาปัตยกรรม พระราชวัง

หน้าเมอื ง อาคารพทุ ธสมาคม (ศาลเก่า) พพิ ิธภณั ฑ์ สถาปัตยกรรม พระราชวัง

หน้าเมือง พระตาหนักกรมหม่ืนมรุพงศ์ พิพิธภัณฑ์ สถาปัตยกรรม พระราชวงั

สิริพั ฒ น์ (จวนผู้ว่าราชการ

จงั หวดั )

หนา้ เมอื ง พิพิธภั ณ ฑ์ เมืองฉะเชิงเทรา พพิ ธิ ภณั ฑ์ สถาปัตยกรรม พระราชวัง

(ต า ห นั ก ก ร ม ห มื่ น ม รุ พ งษ์

ศิริพฒั น)์

คลองนครเนอ่ื งเขต ชุมชนตลาดนครเนือ่ งเขต ย่านชุมชนเกา่

หนา้ เมือง ชุมชนตลาดบา้ นใหม่ ยา่ นชมุ ชนเกา่

คลองหลวงแพ่ง ชมุ ชนตลาดหลวงแพง่ ย่านชมุ ชนเก่า

คลองเปรง ชมุ ชนบา้ นตลาดเปรง็ ยา่ นชุมชนเกา่

หน้าเมอื ง ชมุ ชนย่านการคา้ ฉะเชงิ เทรา ยา่ นชมุ ชนเก่า

คลองนครเนื่องเขต วดั ชนะสงสารพิทยาธร วดั วดั ร้าง ศาสนสถาน

บางแก้ว วดั สมั ปทวนนอก วดั วดั รา้ ง ศาสนสถาน

บางแกว้ วัดเกาะจันทาราม วดั วัดร้าง ศาสนสถาน

บางแก้ว วดั สมานรตั นาราม วดั วัดร้าง ศาสนสถาน

บางตนี เป็ด โบสถเ์ ซน็ ต์ปอล วัด วดั รา้ ง ศาสนสถาน

บางพระ วดั บางปรง วดั วัดรา้ ง ศาสนสถาน

บ้านใหม่ วัดพยัคฆอนิ ทาราม วดั วดั รา้ ง ศาสนสถาน

บ้านใหม่ วัดสายชล ณ รังษี วัด วัดรา้ ง ศาสนสถาน

วังตะเคยี น วัดนครเน่ืองเขต (วดั ต้นตาล) วดั วัดร้าง ศาสนสถาน

หน้าเมอื ง วดั โสธรวรารามวรวหิ าร วัด วดั ร้าง ศาสนสถาน

หน้าเมือง วัดปิตุลาธิราชรังสฤษฎ์ (วัด วดั วัดรา้ ง ศาสนสถาน

เมอื ง)

หน้าเมอื ง วดั เทพนิมติ ร วดั วดั ร้าง ศาสนสถาน

หนา้ เมอื ง วัดจนี ประชาสโมสร (เลง่ ฮกยี่) วัด วัดร้าง ศาสนสถาน

หนา้ เมอื ง วัดภกิ ขสุ งั ขรณ์ (วัดแหลมใต้) วัด วัดรา้ ง ศาสนสถาน

หน้าเมือง วดั อุภยั ภาติการาม วดั วดั ร้าง ศาสนสถาน

ทา่ ไข่ ประตูนา้ ทา่ ไข่ แหลง่ โบราณคดีทั้งท่ีขุดคน้ แล้ว และยัง

ไมไ่ ด้ขุดคน้ โบราณวตั ถุ

หนา้ เมอื ง ปอ้ มและกาแพงเมืองฉะเชิงเทรา แหลง่ โบราณคดที ้ังท่ีขุดค้นแล้ว และยัง

ไมไ่ ดข้ ุดค้น โบราณวตั ถุ

โครงการจดั ทาแผนสง่ิ แวดลอ้ มในพืน้ ทเ่ี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๓๖

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม รายงานฉบับสดุ ท้าย

อาเภอ ตาบล ชอื่ ประเภทแหล่งศลิ ปกรรม
หน้าเมือง
ศาลหลักเมอื งฉะเชงิ เทรา อนุสาวรีย์ อนุสรณ์สถาน สถานหลัก

เมอื ง

หนา้ เมอื ง อนสุ าวรียพ์ ระยาศรีสุนทรโวหาร อนุสาวรีย์ อนุสรณ์สถาน สถานหลัก

(นอ้ ย อาจารยางกรู ) เมอื ง

ราชสาส์น ดงนอ้ ย วัดสะแกงาม วดั วัดรา้ ง ศาสนสถาน
ดงนอ้ ย
วั ด เก า ะ แ ก้ ว เว ฬุ วั น (วั ด วดั วัดรา้ ง ศาสนสถาน

ตะวนั ออก)

ดงน้อย วัดหินดาษ(วัดตะวันตก) วดั วดั ร้าง ศาสนสถาน
ดงน้อย
บางคา วัดนา้ ฉ่า (ราษฎร์ศรัทธาธรรม) วดั วัดรา้ ง ศาสนสถาน
บางคา
เมอื งใหม่ วัดญาณรังษี (วัดเตาอิฐ) วัด วดั ร้าง ศาสนสถาน
เมอื งใหม่
วัดจรเขต้ าย วัด วดั ร้าง ศาสนสถาน

วดั ไผข่ วาง วดั วดั รา้ ง ศาสนสถาน

วัดเกาะราษฎร์ศรัทธาธรรม (วัด วัด วัดรา้ ง ศาสนสถาน

เปิกบาก)

ดงนอ้ ย บ่อนไก่พระรถ แหล่งโบราณคดีท้ังที่ขุดค้นแล้ว และยัง

ไมไ่ ดข้ ดุ ค้น โบราณวตั ถุ

ดงนอ้ ย บ่อนางสิบสอง แหล่งโบราณคดีท้ังท่ีขุดคน้ แล้ว และยัง

ไมไ่ ด้ขุดคน้ โบราณวัตถุ

สนามชัยเขต ทา่ กระดาน วดั ทา้ วอ่ไู ทย วัด วดั รา้ ง ศาสนสถาน
ลาดกระทิง
วัดพระธาตุวาโย (วัดห้วยน้า วดั วดั ร้าง ศาสนสถาน

ทรพั ย)์

ท่ากระดาน แหล่งโบราณคดีสระมหาชยั แหล่งโบราณคดีทั้งที่ขุดคน้ แล้ว และยัง

ไมไ่ ดข้ ุดคน้ โบราณวัตถุ

ท่มี า : กรมศิลปากร (๒๕๖๔)

จังหวัดชลบุรีพบแหล่งศิลปกรรมท้ังหมด ๔๖ แห่ง แบ่งออกเป็นประเภทชุมชนโบราณ เมือง
โบราณ และอุทยานประวัติศาสตร์ ๓ แห่ง ประเภทพพิ ิธภณั ฑ์ สถาปัตยกรรม และพระราชวงั ๖ แหง่ ประเภท
ย่านชุมชนเก่า ๑๔ แห่ง ประเภทวัด วัดร้าง และศาสนสถาน ๒๑ แห่ง และประเภทอนุสาวรีย์ อนุสรณ์สถาน
และสถานหลกั เมอื ง ๒ แหง่ รายละเอียดดงั ตารางที่ ๖ – ๖๕

โครงการจัดทาแผนส่งิ แวดลอ้ มในพืน้ ทเ่ี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๓๗

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม รายงานฉบบั สุดท้าย

ตารางท่ี ๔ - ๖๑ แหล่งศลิ ปกรรมจงั หวัดชลบุรี

อาเภอ ตาบล ช่อื ประเภทแหลง่ ศลิ ปกรรม

เกาะสีชงั ท่าเทววงษ์ เกาะสชี ัง ชุมชนโบราณ เมืองโบราณ อุทยาน
บางละมงุ ประวัตศิ าสตร์
ทา่ เทววงษ์ พระจุฑาธุชราชสถาน พิพิธภณั ฑ์ สถาปัตยกรรม พระราชวงั
ทา่ เทววงษ์ ชุมชนเกาะสชี งั ย่านชุมชนเก่า
ตะเคยี นเตีย้ ลานวฒั นธรรมบา้ นตะเคียนเตย้ี พิพธิ ภัณฑ์ สถาปัตยกรรม พระราชวัง

นาเกลือ ชุมชนตลาดนาเกลอื (พัทยา) ยา่ นชุมชนเกา่

บางละมงุ ตลาดชุมชนจนี โบราณบ้านชากแงว้ ย่านชุมชนเกา่

นาเกลือ จิตภาวนั วิทยาลัย วัด วัดรา้ ง ศาสนสถาน

หว้ ยใหญ่ พระมหามณฑปพุทธบาท วัดญาณสังว วัด วัดร้าง ศาสนสถาน
รารามมหาวหิ าร

บา้ นบึง ห้วยใหญ่ วัดญาณสังวราราม วดั วัดร้าง ศาสนสถาน
พนัสนิคม ห น อ ง ป ล า วัดหนองเกตุใหญ่ วดั วัดร้าง ศาสนสถาน
ไหล
คลองกวิ่ วัดเขานอ้ ยครี วี ัน วดั วัดร้าง ศาสนสถาน
คลองกวิ่ วัดหนองน้าเขยี ว วดั วดั ร้าง ศาสนสถาน
ท่าข้าม โคกพนบดี ชุมชนโบราณ เมืองโบราณ อุทยาน
ประวตั ิศาสตร์
หมอนนาง ชมุ ชนตลาดทุง่ เหยี ง ย่านชมุ ชนเก่า

ไรห่ ลกั ทอง วดั ใต้ต้นลาน วดั วัดรา้ ง ศาสนสถาน

หวั ถนน วัดหัวถนน (หลวงพ่อต้ิว) วัด วดั รา้ ง ศาสนสถาน

สระส่เี หล่ียม สระสเ่ี หลีย่ ม อนุสาวรีย์ อนุสรณ์สถาน สถานหลัก
เมือง

เมืองชลบุรี หนองไมแ้ ดง เมอื งศรีพะโล ชุมชนโบราณ เมืองโบราณ อุทยาน
ประวัตศิ าสตร์

อา่ งศลิ า ตึกมหาราชและตึกราชินี พิพิธภัณฑ์ สถาปตั ยกรรม พระราชวงั
บ า ง ป ล า ศาลากลางและศาลจงั หวัด พพิ ธิ ภณั ฑ์ สถาปตั ยกรรม พระราชวงั
สรอ้ ย
แสนสขุ ชายหาดบางแสน ยา่ นชมุ ชนเก่า
แสนสขุ ชุมชนตลาดหนองมน (บางแสน) ยา่ นชุมชนเกา่

บ า ง ป ล า ชมุ ชนย่านถนนวชริ ปราการ ยา่ นชุมชนเก่า
สร้อย

อ่างศิลา ชุมชนอา่ งศิลา ย่านชุมชนเก่า

อา่ งศิลา ตลาดเก่าอ่างศลิ า ๑๓๓ ปี ยา่ นชมุ ชนเกา่

แสนสุข เขาสามมุข วดั วดั รา้ ง ศาสนสถาน
แสนสุข พระอโุ บสถเกา่ วัดตาลลอ้ ม วดั วดั รา้ ง ศาสนสถาน

โครงการจัดทาแผนสิง่ แวดลอ้ มในพน้ื ที่เขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๓๘

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ท้าย

อาเภอ ตาบล ชื่อ ประเภทแหลง่ ศิลปกรรม
ศรีราชา แสนสขุ
อา่ งศิลา พระอุโบสถเกา่ วดั บางเปง้ วดั วัดร้าง ศาสนสถาน
บางทราย
แสนสุข วัดโกมุทรตั นาราม วดั วดั รา้ ง ศาสนสถาน
เสม็ด
บ้านสวน วดั เขาบางกรวย วดั วัดร้าง ศาสนสถาน
เสมด็
แสนสุข วัดตาลล้อม (พระอโุ บสถเก่า) วัด วดั รา้ ง ศาสนสถาน
แสนสขุ
อา่ งศลิ า วัดเตาปนู วัด วัดรา้ ง ศาสนสถาน
ศรีราชา
ศรรี าชา วดั ธรรมนมิ ิตต์ วดั วดั ร้าง ศาสนสถาน
บางพระ
วดั เสม็ด วดั วดั ร้าง ศาสนสถาน

วดั แสนสุขสทุ ธิวราราม วดั วัดรา้ ง ศาสนสถาน

วดั ใหมเ่ กตงุ าม วัด วดั รา้ ง ศาสนสถาน

วัดอ่างศลิ า วดั วัดร้าง ศาสนสถาน

โรงพยาบาลสมเดจ็ ณ ศรีราชา พิพธิ ภัณฑ์ สถาปัตยกรรม พระราชวงั

ชุมชนตลาดเกา่ ศรรี าชา ยา่ นชมุ ชนเก่า

วัดบางพระวรวิหาร (มณฑปพระพุทธ วดั วดั ร้าง ศาสนสถาน

บาท)

บางพระ อ่างเกบ็ นา้ บางพระ อนุสาวรีย์ อนุสรณ์สถาน สถานหลัก

เมือง

สตั หบี สัตหีบ ชุมชนตลาดสัตหีบ ยา่ นชุมชนเก่า

นาจอมเทยี น ชมุ ชนท้ายตลาดบ้าน ย่านชมุ ชนเกา่

บางเสร่ ชมุ ชนบางเสร่ ยา่ นชมุ ชนเก่า

สัตหบี ชุมชนบ้านเตาถ่าน ย่านชมุ ชนเกา่

หนองใหญ่ คลองพลู สวนเกษตรตาบลคลองพลู พพิ ธิ ภัณฑ์ สถาปตั ยกรรม พระราชวัง

ท่มี า : กรมศิลปากร (๒๕๖๔)

จังหวัดระยองพบแหล่งศิลปกรรมทั้งหมด ๑๐๗ แห่ง แบ่งออกเป็นประเภทพิพิธภัณฑ์
สถาปัตยกรรม และพระราชวัง ๑๖ แห่ง ประเภทย่านชุมชนเกา่ ๓๐ แห่ง ประเภทวัด วดั ร้าง และศาสนสถาน
๑๘๔ แห่ง ประเภทแหล่งโบราณคดีทั้งที่ขุดค้นแล้ว และยังไม่ได้ขุดค้น โบราณวัตถุ เมืองเก่า และเมือง
ประวัติศาสตร์ ๑๔ แห่ง และประเภทอนุสาวรีย์ อนุสรณ์สถาน และสถานหลักเมือง ๘ แห่ง รายละเอียดดัง
ตารางท่ี ๔ – ๖๖

โครงการจัดทาแผนส่ิงแวดลอ้ มในพน้ื ทีเ่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๓๙

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม รายงานฉบบั สดุ ท้าย

ตารางที่ ๔ - ๖๒ แแหล่งศิลปกรรมจังหวดั ระยอง ประเภทแหล่งศลิ ปกรรม
ย่านชมุ ชนเกา่
อาเภอ ตาบล ช่ือ ย่านชมุ ชนเก่า
วัด วดั รา้ ง ศาสนสถาน
แกลง ทางเกวียน ชุมชนตลาดแกลง วดั วัดร้าง ศาสนสถาน
วดั วดั ร้าง ศาสนสถาน
ปากน้ากระแส ชมุ ชนตลาดน้าประแสร์ วัด วัดรา้ ง ศาสนสถาน
เนนิ ฆอ้ โบราณสถานพทุ ธบาทจาลอง วดั วดั รา้ ง ศาสนสถาน
กรา่ วดั กลางกรา่ วัด วัดรา้ ง ศาสนสถาน
วัด วัดร้าง ศาสนสถาน
กองดิน วัดกองดิน วดั วดั ร้าง ศาสนสถาน
วดั วดั ร้าง ศาสนสถาน
ชากโดน วัดเขากระโดน วัด วัดรา้ ง ศาสนสถาน
วดั วดั ร้าง ศาสนสถาน
สองสลงึ วัดเขาพระพทุ ธบาทบอ่ ทอง วัด วัดร้าง ศาสนสถาน
วดั วัดรา้ ง ศาสนสถาน
กองดิน วัดเขาวง วดั วดั ร้าง ศาสนสถาน
สองสลึง วัดครี ีวนาราม(วดั สองสลงึ ) วัด วดั รา้ ง ศาสนสถาน
ชากโดน วัดจารงุ วดั วัดรา้ ง ศาสนสถาน
กองดนิ วดั ชากขนุ วิเศษ วดั วดั รา้ ง ศาสนสถาน
วดั วดั ร้าง ศาสนสถาน
กร่า วัดชากมะกรดู วัด วดั ร้าง ศาสนสถาน
วัด วัดรา้ ง ศาสนสถาน
ปากนา้ ประแสร์ วัดตะเคียนงาม วัด วัดรา้ ง ศาสนสถาน
วัด วัดรา้ ง ศาสนสถาน
เนินฆอ้ วดั ถนนกะเพรา วัด วดั รา้ ง ศาสนสถาน
เนนิ ฆ้อ วดั เนินฆอ้ วัด วัดร้าง ศาสนสถาน
เนินฆอ้ วดั เนนิ ทราย วดั วดั ร้าง ศาสนสถาน
เนนิ ฆอ้ วัดเนินทราย วดั วดั รา้ ง ศาสนสถาน
วัด วัดรา้ ง ศาสนสถาน
ชากโดน วัดบญุ นาค วัด วัดร้าง ศาสนสถาน
วัด วัดรา้ ง ศาสนสถาน
กรา่ วดั ป่ากร่า-อนสุ าวรียส์ ุนทรภู่ วดั วัดร้าง ศาสนสถาน
วัด วัดรา้ ง ศาสนสถาน
ชากพง วดั พลงไสว วดั วดั รา้ ง ศาสนสถาน
พังราด วัดพงั ราด วัด วดั รา้ ง ศาสนสถาน
คลองปูน วัดพบิ ลู ธรรมาราม (วดั คลองปนู )
ทางเกวียน วดั ราชบัลลงั ก์ประดษิ ฐาวราราม

วงั หวา้ วดั วงั หวา้

เนนิ ฆ้อ วัดสมมตุ เิ ทพฐาปนาราม

ชากพง วัดสอโพรง

นคิ มพฒั นา เนินฆอ้ วดั หนองแพงพวย
ทุง่ ควายกิน วดั อดุ มธัญญาวาส
มาบขา่ วดั ซากผักกูด

พนานิคม วัดนพเกา้ พนาราม

มาบขา่ วัดปกรณ์ธรรมาราม

มาบขา่ วดั มาบข่าบุษบาธาราม

บ้านค่าย มาบข่า วดั อษั ฏาธรรมาราม
บ้านคา่ ย วดั กระบกขน้ึ ผ้งึ
หนองตะพาน วัดเกาะอรัญญกิ าวาส (วัดเกาะ)

โครงการจดั ทาแผนส่งิ แวดล้อมในพื้นท่เี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๔๐

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดทา้ ย

อาเภอ ตาบล ช่อื ประเภทแหล่งศลิ ปกรรม
ซากบก วดั ชากกอไผ่ วดั วดั ร้าง ศาสนสถาน
บา้ นฉาง หนองละลอก วัดเชิงเนนิ สทุ ธาวาส วัด วดั รา้ ง ศาสนสถาน
ปลวกแดง หนองละลอก วัดดวนจนั ทร์ วัด วดั ร้าง ศาสนสถาน
เมืองระยอง ตาขนั วัดตาขนั วดั วดั รา้ ง ศาสนสถาน
ตาขัน วดั บ้านเก่าทองธาราม วดั วดั รา้ ง ศาสนสถาน
บ้านค่าย วัดบ้านคา่ ย (ชัยชมภพู ล) วดั วดั รา้ ง ศาสนสถาน
บางบุตร วัดปทุมาวาส วดั วดั รา้ ง ศาสนสถาน
หนองตะพาน วดั ปากปา่ วัด วดั ร้าง ศาสนสถาน
บ้านคา่ ย วัดไผล่ ้อม วดั วดั รา้ ง ศาสนสถาน
หนองละลอก วดั ไร่(วาร)ี (ละหารไร)่ วัด วัดรา้ ง ศาสนสถาน
บางบตุ ร วดั ละหารใหญส่ งั ฆาราม วดั วดั ร้าง ศาสนสถาน
ตาขัน วดั สามคั คคี ุณวาส วดั วัดรา้ ง ศาสนสถาน
หนองละลอก วัดหนองกรบั วัด วัดร้าง ศาสนสถาน
บา้ นคา่ ย วดั หนองกะบอก วัด วัดรา้ ง ศาสนสถาน
ตาขัน วดั หนองตะแบก วดั วัดรา้ ง ศาสนสถาน
บางบุตร วัดหนองพะวา วัด วัดรา้ ง ศาสนสถาน
หนองตะพาน วัดหนองสะพาน วัด วัดร้าง ศาสนสถาน
หนองตะพาน วัดหว้ งหนิ วดั วัดร้าง ศาสนสถาน
บางบุตร วัดหวายกรอง วดั วัดรา้ ง ศาสนสถาน
พลา วัดคลองทราย วดั วัดรา้ ง ศาสนสถาน
พลา วดั คีรภี าวนาราม วัด วัดรา้ ง ศาสนสถาน
สานักท้อน วดั ซากหมากป่าเรไร วัด วดั รา้ ง ศาสนสถาน
พลา วัดเนนิ กระปรอก วดั วดั ร้าง ศาสนสถาน
พลา วดั บา้ นฉาง วดั วัดร้าง ศาสนสถาน
พลา วดั ประชุมมติ รบารุง วัด วดั รา้ ง ศาสนสถาน
พลา วดั พลา วัด วดั รา้ ง ศาสนสถาน
สานักท้อน วดั สมบูรณาราม วดั วดั ร้าง ศาสนสถาน
สานกั ท้อน วดั สระแกว้ วัด วดั ร้าง ศาสนสถาน
แม่น้าคู้ วดั นา้ คู้ วดั วดั ร้าง ศาสนสถาน
ปลวกแดง วดั ไพรสนฑ์ วัด วดั รา้ ง ศาสนสถาน
แม่นา้ คู้ วดั แม่นา้ คู้ใหม่ วดั วัดร้าง ศาสนสถาน
ปากน้า เจดีย์กลางนา้ (บา้ นปากน้า) วดั วัดรา้ ง ศาสนสถาน
ท่าประดู่ เจดีย์วัดเกง๋ (วดั จนั ทอดุ ม) วัด วัดร้าง ศาสนสถาน
กะเฉด ชมุ ชนตลาดกระเฉด ยา่ นชมุ ชนเกา่
เพ ชมุ ชนตลาดบ้านเพ ย่านชุมชนเก่า
ทา่ ประดู่ ชมุ ชนย่านถนนยมจินดาและถนนชุมพล ยา่ นชุมชนเก่า

โครงการจัดทาแผนสงิ่ แวดล้อมในพ้นื ท่เี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๔๑

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ท้าย

อาเภอ ตาบล ชอ่ื ประเภทแหล่งศิลปกรรม
พิ พิ ธภั ณ ฑ์ ส ถาปั ต ย ก รรม
ท่าประดู่ ตึกกพ่ี ง (ตกึ พอ่ สงิ ห-์ แม่กราย) พระราชวงั
พิ พิ ธภั ณ ฑ์ ส ถาปั ต ย ก รรม
ท่าประดู่ บ้านสตั ยอ์ ดุ ม (พพิ ิธภณั ฑ์เมอื งระยอง) พระราชวัง
เมืองเกา่ เมืองประวตั ิศาสตร์
ทา่ ประดู่ เมอื งเกา่ ระยอง วัด วัดร้าง ศาสนสถาน
เนนิ พระ วัดกรองยายชา วดั วัดร้าง ศาสนสถาน
เชิงเนิน วัดเกาะลอย วัด วดั รา้ ง ศาสนสถาน
เพ วัดเขาสาเภาทอง วัด วดั รา้ ง ศาสนสถาน
เชิงเนิน วดั โขดทิมธาราม วดั วัดร้าง ศาสนสถาน
นาตาขวญั วดั ชะวกึ วดั วัดร้าง ศาสนสถาน
ตะพง วดั ช้างชนศิรริ าชบารงุ วดั วัดร้าง ศาสนสถาน
หว้ ยโป่ง วัดซากลูกหญ้า วัด วัดร้าง ศาสนสถาน
บา้ นแลง วดั ตรีมติ รประดิษฐาราม วดั วดั รา้ ง ศาสนสถาน
เชงิ เนนิ วัดตรีรตั นาราม วดั วดั รา้ ง ศาสนสถาน
แกลง วัดตะเคยี นทอง วดั วดั รา้ ง ศาสนสถาน
ตะพง วัดตะพงนอก วัด วดั รา้ ง ศาสนสถาน
ตะพง วัดตะพงใน วัด วัดรา้ ง ศาสนสถาน
ห้วยโปง่ วัดตากวนคงคาราม วดั วัดรา้ ง ศาสนสถาน
ทบั มา วดั ทบั มา วัด วดั รา้ ง ศาสนสถาน
กะเฉด วดั ธรรมสถิต วัด วัดรา้ ง ศาสนสถาน
นาตาขวญั วดั นาตาขวญั วดั วดั รา้ ง ศาสนสถาน
นา้ คอก วดั นา้ คอก(ดอนขดุ ทอง) วดั วัดร้าง ศาสนสถาน
เชิงเนนิ วัดน้าคอกเก่า (คันธวารีธาราม) วัด วดั รา้ ง ศาสนสถาน
เนินพระ วัดเนนิ พระ วัด วดั รา้ ง ศาสนสถาน
เพ วัดในไร่ วดั วดั ร้าง ศาสนสถาน
เชงิ เนิน วัดบ้านดอน วดั วัดรา้ ง ศาสนสถาน
ท่าประดู่ วดั ปา่ ประดู่ วัด วัดรา้ ง ศาสนสถาน
เพ วดั เภตราสุขารมย์ วัด วัดร้าง ศาสนสถาน
หว้ ยโปง่ วดั มาบชลูต วัด วดั รา้ ง ศาสนสถาน
ห้วยโปง่ วดั มาบตาพดุ วัด วดั ร้าง ศาสนสถาน
ตะพง วัดยายตา วัด วดั ร้าง ศาสนสถาน
ท่าประดู่ วดั ล่มุ (วดั ลมุ่ มหาชยั ชุมพล) วดั วัดรา้ ง ศาสนสถาน
บา้ นแลง วดั แลง (วัดบ้านแลง) วดั วัดร้าง ศาสนสถาน
หว้ ยโป่ง วัดหนองแฟบทักขิณาราม วดั วัดร้าง ศาสนสถาน
เนินพระ วดั หนองสนม วดั วัดรา้ ง ศาสนสถาน
ทา่ ประดู่ ศาลเจ้าโจวฮือกง

โครงการจัดทาแผนสงิ่ แวดล้อมในพน้ื ที่เขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๔๒

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย

อาเภอ ตาบล ชื่อ ประเภทแหลง่ ศลิ ปกรรม
วัด วัดรา้ ง ศาสนสถาน
ทา่ ประดู่ ศาลเจ้าแมท่ ับทมิ วดั วดั ร้าง ศาสนสถาน
อนุสาวรีย์ อนุสรณ์สถาน สถาน
ทา่ ประดู่ ศาลเจา้ แมท่ ับทิม หลกั เมอื ง
พิ พิ ธภั ณ ฑ์ ส ถาปั ต ย ก รรม
ทา่ ประดู่ ศาลหลกั เมืองระยอง พระราชวงั

เพ สวนพฤกษชาตโิ สภา

ที่มา : กรมศิลปากร (๒๕๖๔)

โครงการจัดทาแผนสิง่ แวดล้อมในพ้นื ทีเ่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๔๓

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย

ภาพที่ ๔ - ๔๙ แหลง่ ศิลปกรรมในพืน้ ทเี่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก

โครงการจัดทาแผนส่งิ แวดล้อมในพน้ื ท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๔๔

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย

๓) ยา่ นชมุ ชนเกา่
ความหมายและประเภท ย่านชุมชนเก่าถือเป็นสิ่งแวดล้อมศิลปกรรม ประเภทหน่ึง
ซึ่งสานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อมไดใ้ ห้ความหมายของยา่ นชุมขนเก่าไว้วา่
“พ้ืนที่ทางกายภาพท่ีแสดงออกถึงลักษณะของการตั้งถ่ินฐาน/ก่อก้าเนิดที่แตกต่างกันตาม
บริบทแวดล้อม ท้ังที่เป็นเมืองหรือในพื้นที่ชนบท มีพัฒนาการของการตั้งถ่ินฐาน/ก่อก้าเนิดดังกล่าวที่ต่อเนื่อง
มาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ซ่ึงประจักษ์ได้จากท้ังสภาพทางกายภาพที่โดดเด่น เช่น โครงสร้างของชุมชน
ลกั ษณะรูปแบบทางสถาปัตยกรรม และภมู ทิ ัศน์แวดลอ้ ม และ สภาพทางสังคมวัฒนธรรม ภมู ิปญั ญา ประเพณี
และกิจกรรมของชุมชน ประกอบควบคู่กันอย่างเหมาะสม ภายใต้บริบทสิ่งแวดล้อม ท่ีมนุษย์สร้าง (Built
Environment) และสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ (Natural Environment)” (สานักงานนโยบายและแผน
ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม, ๒๕๕๕; หนา้ ๒)
ย่านชุมชนเก่าน้ันถือเป็นส่วนหน่ึงของมรดกวัฒนธรรมซ่ึงมีทั้งมิติที่จับต้องได้ (Tangible) และ
จบั ต้องไม่ได้ (intangible) ที่นอกจากจะอยู่ในรปู ของ ชิ้นงาน สง่ิ ปลูกสร้าง หรอื โครงสร้าง อนั เป็นผลงานของ
บรรพบุรุษ แต่ยังรวมถึง คุณค่าทางจิตวิญญาณ ความรู้ ภูมิปัญญา ขนบธรรมเนียม และแนวทางปฏิบัติใน
สังคมชุมชนนน้ั ๆ อีกดว้ ย (สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม, มปป. a.)
จากนิยามของย่านชุมชนเก่าดังกล่าว จะเห็นได้ว่าย่านชุมชนเก่าน้ันแม้ว่าจะมีสาระทาง
ส่ิงแวดล้อมท่ีมนุษย์สร้างขึ้นอยู่มาก หากแต่จะมีความเกี่ยวข้องกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่าง
แนบแน่นด้วยเช่นกัน ดังเห็นได้จากเกณฑ์การพิจารณาว่าย่านชุมชนเก่าน้ันเป็นยานชุมชนเก่าอันควรอนุรักษ์
หรอื ไม่ จะมีเกณฑ์พิจารณาทางด้าน “ลกั ษณะภูมทิ ัศน์และระบบนิเวศธรรมชาติในย่านชุมชนเก่า” เป็นหนงึ่ ใน
เกณฑ์การพิจารณา ซ่ึงดังกล่าวที่จะดูถึง ลักษณะระบบนิเวศที่เช่ือมโยงกับชุมชน พืชพันธ์ุพื้นถ่ิน รวมถึง
ลักษณะทางนิเวศวัฒนธรรมท่ีร้อยเชื่อมมนุษย์และระบบธรรมชาติเข้าด้วยกัน นอกจากน้ันในเกณฑ์การ
พิจารณาเร่ืองที่ตั้งจะมีเนื้อหาท่ีจะคลอบคลุมประเด็นด้านสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติร่วมอยูด่ ้วย (สานักงาน
นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, มปป. a.)
จากเกณฑ์การพิจารณาดังกล่าว ในบริบทของพ้ืนที่ภาคกลางและภาคตะวันออกนั้น จะมีการ
แบง่ ประเภทของยา่ นชุมชนเกา่ ออกเปน็ ๖ ประเภท ไดแ้ ก่
๑) ชุมชนริมน้า เป็นย่านชุมชนท่ีมีการต้ังถ่ินฐานโดยอาศัยลาน้าเป็นแกนสาคัญ มีการดาเนิน
ชวี ติ การผลติ และลักษณะทางสถาปัตยกรรมทีส่ อดคลอ้ งกับองค์ประกอบของระบบนิเวศลาน้า
๒) ชุมชนรถไฟ เป็นย่านชุมชนที่เกี่ยวเนื่องกับการเกิดข้ึนของสถานีรถไฟและการพัฒนารถไฟ
ซงึ่ มกั จะเป็นลักษณะของย่านการค้า โดยในกรณีที่เป็นสถานีขนาดใหญ่หรอื สถานีชมุ ทาง มกั จะมีกิจกรรมและ
สถาปัตยกรรมที่เกี่ยวขอ้ งกบั รถไฟโดยเฉพาะ
๓) ชุมชนตลาด/การค้า เป็นย่านชุมชนท่ีเคยมีหรือกาลังมีกิจกรรมด้านการค้าเป็นหัวใจสาคัญ
โดยอาจเป็นหรือเคยเป็นย่านการค้าสาคัญของเมืองหรือของละแวกชุมชน โดยอาจประกอบด้วยพื้นท่ีค้าขาย
รว่ มเชน่ ตลาดสด หรอื อาคารเรอื นแถวหรอื หอ้ งแถวสาหรบั การค้าขาย
๔) ชุมชนหมู่บ้าน มักเป็นย่านชุมชนพื้นถิ่นในบริบทชนบท การใช้ชีวิตมีความเชื่อมโยงกับ
สิ่งแวดล้อมโดยรอบในแง่ของการดารงชีพที่มีการปรับเปลี่ยนตามสภาพการณ์ที่เปล่ียนไป (เช่น ตามฤดูกาล)

โครงการจดั ทาแผนสิง่ แวดลอ้ มในพนื้ ที่เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๔๕

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย

ในส่วนของสภาพกายภาพมักประกอบไปด้วยกลุ่มบ้านเรือน บริเวณ บ้าน ลาน เส้นทางสัญ จร
เปน็ องคป์ ระกอบสาคัญ

๕) ชุมชนประมง/เกษตร เป็นย่านชุมชนที่มีความเก่ียวข้องผูกพันกับแหล่งการดารงชีพหรือ
แหล่งการผลิตซ่ึงอาจอยู่ห่างจากพื้นที่ของชุมชน แต่จะมีจุดเช่ือมต่อเช่น ท่าเรือ แพปลา หรือพื้นท่ีในการ
จัดการกับผลผลิต เช่น ลานตากขา้ ว หรอื ตากปลา เปน็ ตน้

๖) ชุมชนชาติพันธุ์ มักเป็นการรวมกลุ่มการตั้งถ่ินฐานของกลุ่มคนในชาติพันธ์ุเดียวกัน
หลายกรณีเกิดจาการอพยพย้ายถิ่นจากประเทศข้างเคียง และมักจะนาพาลักษณะวิถชี ีวิต วัฒนธรรม ประเพณี
องคค์ วามรู้ ดงั เดิมตดิ มาด้วย หากแต่การตัง้ รกรากใหมม่ ักจะมีการปรบั ตวั ทางกายภาพเพอ่ื ให้เข้ากับบริบทใหม่
แต่เอกลักษณแ์ ละคณุ ลกั ษณะของมรดกวฒั นธรรมที่จบั ต้องไม่ได้ยงั คงปรากฏให้เห็นเด่นชดั

การแบ่งประเภทของย่านชุมชนเก่าเหล่าน้ีจะทาให้เห็นภาพรวมของย่านชุมชนเก่าได้กระจ่าง
ชัดยิ่งข้ึน อย่างไรก็ดีการแบ่งประเภทดังกล่าวไม่ได้เป็นการแบ่งออกจากกันอย่างเด็ดขาด บางย่านชุมชนอาจ
เป็นยา่ นท่ีมีคุณลกั ษณะมากกวา่ ๑ ประเภท เช่น การเป็นย่านชมุ ชนประเภทหมู่บ้านท่ีเป็นชุมชนชาตพิ ันธ์เป็น
ต้น ซ่ึงในพ้ืนท่ี ๓ จังหวัดในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกนั้นจะพบย่านชุมชนเก่าที่ขึ้นทะเบียนแล้วอยู่ ๕
ประเภท ดงั จะกล่าวในรายละเอียดในหวั ขอ้ ตอ่ ไป

ย่านชุมชนเก่าในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก
จากข้อมูลทะเบียนย่านชุมชนเก่าน้ัน ในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกมีย่านชุมชนเก่าที่
ได้ขน้ึ ทะเบียนแล้วทั้งหมด ๒๗ ย่านชุมชน โดยอยใู่ นจังหวัดฉะเชิงเทรา ๑๑ ย่านชุมชน ชลบุรี ๑๑ ย่านชุมชน
ระยอง ๕ ย่านชุมชน ตามลาดับ (ดังตารางที่ ๔ - ๖๓) ใน ๒๗ ย่านชุมชนนี้ประกอบด้วยย่านชุมชนประเภท
ชุมชนริมน้า ประเภทชุมชนตลาด/การค้า ประเภทชุมชนหมู่บ้าน ประเภทชุมชนเกษตร/ประมง และประเภท
ชุมชนเป็นชุมชนชาติพันธ์ุ
ยา่ นชุมชนเก่าในจังหวัดฉะเชงิ เทราส่วนใหญ่เป็นชุมชนตลาดริมน้าแต่หลายชุมชนยังคงมีความ
ผูกพันกับพ้ืนท่ีการเกษตรกรรมรอบนอกชุมชน รวมถึงวิถีประมงในแม่น้าลาคลอง อย่างไรก็ดีในจังหวัด
ฉะเชิงเทรายังพบชุมชนชาติพันธุ์ชาวไทพวนในรูปของชุมชนประเภทหมู่บ้านอีกด้วย ส่วนในจังหวัดชลบุรีและ
ระยองมักจะพบยา่ นชุมชนประมงชายฝั่งทะเลผสมกับชุมชนตลาด/การค้า บางชุมชนต้ังอยู่ในพืน้ ที่บริเวณปาก
แม่น้า ปากลาคลอง ทาให้ชุมชนมีลักษณะเฉพาะของนิเวศและทรัพยากรท่ีหลากหลายท้ังนิเวศทะเล นิเวศน้า
จืดนา้ กรอ่ ย รวมถงึ นิเวศท่ีราบริมชายฝงั่ ทะเลสลับกบั เนินเขา

ตารางที่ ๔ - ๖๓ รายการย่านชมุ ชนเก่าจงั หวดั ฉะเชิงเทรา

ลาดับ ชื่อย่านชมุ ชนเก่า ตาแหน่งทต่ี ้ัง ประเภท
๑ ย่านการค้าฉะเชิงเทรา เทศบาลเมอื งฉะเชิงเทรา ชุมชนริมน้า
อ.เมอื ง ชุมชนตลาด/การคา้
๒ ตลาดบา้ นใหม่ เทศบาลเมอื งฉะเชงิ เทรา ชุมชนริมนา้
อ.เมอื ง ชุมชนตลาด/การค้า
๓ ตลาดคลองสวน ตาบลเทพราช ชุมชนรมิ น้า
อ.บา้ นโพธิ์ ชมุ ชนตลาด/การคา้
๔ ตลาดหลวงแพ่ง ตาบลคลองหลวงแพง่ ชุมชนริมน้า

โครงการจัดทาแผนสงิ่ แวดลอ้ มในพ้นื ทีเ่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๔๖

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม รายงานฉบับสดุ ท้าย

ลาดบั ชอ่ื ย่านชมุ ชนเกา่ ตาแหนง่ ที่ตั้ง ประเภท
๕ ตลาดนครเนอื่ งเขต อ.เมือง ชุมชนตลาด/การค้า
๖ ตลาดพนมสารคาม (ตลาดท่าเกวียน) เทศบาลตาบลนครเนือ่ งเขต ชุมชนริมน้า
๗ ตลาดบางคลา้ อ.เมือง ชมุ ชนตลาด/การค้า
๘ ตลาดคลอง ๑๖ ตาบลพนมสารคาม ชุมชนตลาด/การค้า
๙ บ้านทา่ ลาดเหนือ อ.พนมสารคาม
๑๐ บา้ นหัวกระสังข์ เทศบาลตาบลบางคล้า ชมุ ชนริมน้า
๑๑ บา้ นตลาดเปร็ง อ.บางคลา้ ชุมชนตลาด/การค้า
ตาบลบึงนา้ รักษ์ ชมุ ชนรมิ นา้
อ.บางน้าเปร้ียว ชมุ ชนตลาด/การคา้
ตาบลทา่ ถา่ น ชมุ ชนหมู่บา้ น
อ.พนมสารคาม ชมุ ชนชาตพิ ันธุ์
ตาบลบา้ นช่อง ชมุ ชนรมิ น้า
อ.พนมสารคาม ชุมชนชาตพิ ันธุ์
ตาบลคลองเปรง ชุมชนริมนา้
อ.เมือง ชมุ ชนตลาด/การค้า

ตารางที่ ๔ - ๖๔ รายการย่านชมุ ชนเก่าจังหวัดชลบรุ ี

ลาดับ ชอ่ื ย่านชมุ ชนเกา่ ตาแหน่งทีต่ ้ัง ประเภท
๑ ย่านถนนวชริ ปราการ เทศบาลเมอื งชลบรุ ี ชุมชนตลาด/การคา้
๒ ตลาดหนองมน (บางแสน) อาเภอเมอื ง
๓ บางเสร่ เทศบาลเมืองแสนสขุ ชมุ ชนตลาด/การค้า
๔ ตลาดนาเกลือ (พทั ยา) อาเภอเมือง
๕ ตลาดสัตหีบ เทศบาลตาบลบางเสร่ ชมุ ชนประมง/เกษตร
๖ ท้ายตลาดบ้านอาเภอ อาเภอสัตหีบ
๗ ตลาดทุ่งเหยี ง ตาบลนาเกลือ ชุมชนตลาด/การค้า
๘ เกาะสชี ัง อาเภอบางละมุง ชุมชนประมง/เกษตร
๙ ตลาดเกา่ ศรรี าชา เทศบาลเมืองสัตหบี ชุมชนตลาด/การค้า
๑๐ บา้ นเตาถา่ น อาเภอสัตหบี ชุมชนประมง/เกษตร
๑๑ อ่างศิลา ตาบลนาจอมเทียน ชุมชนตลาด/การค้า
อาเภอสตั หีบ ชมุ ชนประมง/เกษตร
ตาบลหมอนนาง ชุมชนตลาด/การคา้
อาเภอพนัสนคิ ม
เทศบาลตาบลเกาะสชี งั ชุมชนประมง/เกษตร
อาเภอเกาะสีชัง
ตาบลศรีราชา ชุมชนตลาด/การค้า
อาเภอศรรี าชา
ตาบลสัตหีบ ชมุ ชนตลาด/การค้า
อาเภอสตั หีบ
ตาบลอ่างศลิ า ชุมชนประมง/เกษตร
อาเภอเมอื ง

โครงการจดั ทาแผนส่ิงแวดลอ้ มในพื้นที่เขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๔๗

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดท้าย

ตารางท่ี ๔ - ๖๕ รายการย่านชมุ ชนเก่า จงั หวดั ระยอง ประเภท
ชุมชนริมนา้
ลาดับ ชื่อยา่ นชมุ ชนเกา่ ตาแหนง่ ทตี่ งั้ ชมุ ชนตลาด/การคา้
ชมุ ชนตลาด/การคา้
๑ ยา่ นถนนยมจนิ ดาและถนนชมุ พล เทศบาลนครระยอง
๒ ตลาดแกลง อาเภอเมือง ชมุ ชนตลาด/การคา้
๓ ตลาดบา้ นเพ เทศบาลเมืองแกลง ชมุ ชนประมง/เกษตร
๔ ตลาดกะเฉด อาเภอแกลง ชุมชนตลาด/การคา้
๕ ปากน้าประแสร์ เทศบาลตาบลบ้านเพ
อาเภอเมือง ชมุ ชนประมง/เกษตร
ตาบลกะเฉด
อาเภอเมือง
เทศบาลตาบลปากนา้ ประแส
อาเภอแกลง

โครงการจดั ทาแผนส่ิงแวดล้อมในพืน้ ทเ่ี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๔๘

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ทา้ ย

ภาพที่ ๔ - ๕๐ เขตพน้ื ทีเ่ มืองเกา่ และย่านชุมชนเก่า ในพ้นื ทีเ่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก

โครงการจัดทาแผนสง่ิ แวดล้อมในพืน้ ทเ่ี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๔๙

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม รายงานฉบบั สดุ ท้าย

โดยมรี ายละเอียดของลกั ษณะโดยสงั เขปและขอบเขตที่ตัง้ ของย่านชุมชนในแตล่ ะจงั หวดั ดงั น้ี
ยา่ นชมุ ชนเกา่ ในจังหวดั ฉะเชงิ เทรา
ย่านการค้าฉะเชิงเทรา เดิมมีประวัติเป็นท่ีตั้งของสุขาภิบาลเมืองฉะเชิงเทรา มณฑลปราจีน มี
ลักษณะเป็นยา่ นตลาดการค้า ริมแม่น้าบางปะกง อดีตเป็นศูนย์กลางของหน่วยราชการ ปัจจุบนั เป็นศนู ย์กลาง
ธรุ กิจมีบริบทความเป็นเมืองค่อนข้างสูง แต่มีขนมไทย น้าอบไทย และผลิตภัณฑ์สมุนไพรเป็นผลิตภัณฑ์สาคัญ
สถานท่ีสาคัญได้แก่ แม่น้าบางปะกง อาคารสานักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ตลาดทรัพย์สิน
ฉะเชิงเทรา ศาลเจ้าแม่กวนอิมลอยน้า (มลู นิธิสว่างศรัทธาธรรม) และ สะพานข้ามแม่น้าบางปะกง (สานักงาน
นโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม, มปป. a.)

ที่มา: สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม (มปป. a., หนา้ ๑๐)

ภาพท่ี ๔ - ๕๑ ขอบเขตและตาแหน่งที่ต้ังยา่ นการคา้ ฉะเชงิ เทรา

ชุมชนตลาดใหม่ ในสมัยรัชกาลที่ ๕ เป็นแหล่งท่ีอยู่ของชาวจีน ๓ เช้ือสายได้แก่ เชื้อสาย
ฮกเก้ียนเชื้อสายแต้จิ๋วและจีนแคระ เคยเป็นแหล่งของโรงสีและแหล่งค้าข้าวและรา แต่ปัจจุบันเลิกราไปแต่
ยังคงมีการค้าขายในห้องแถวไม้เก่าอยู่หลายหลัง เช่นการขายของเก่า ของท่ีระลึก ของเล่นโบราณ รวมถึง
อาหารไทย อาหารจีนและอาหารพ้ืนเมือง (สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม,
มปป. a.)

ทม่ี า: สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม (มปป. a., หนา้ ๑๑)

ภาพที่ ๔ - ๕๒ ขอบเขตและตาแหนง่ ท่ตี งั้ ย่านชมุ ชนตลาดเหนือ

โครงการจดั ทาแผนส่งิ แวดลอ้ มในพืน้ ท่เี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๕๐

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม รายงานฉบับสดุ ท้าย

ชุมชนตลาดคลองสวน เป็นชุมชนตลาดริมน้า(คลองประเวศบุรีรมย์ อายุกว่า ๑๐๐ ปี โดย
ตั้งอยู่บนพื้นที่รอยต่อของจังหวัด ฉะเชิงเทราและจังหวัดสมุทรปราการ มีลักษณะเป็นเรือนแถวไม้สองช้ันตาม
แนวคลอง ซ่ึงยังคงมีร้านค้าเก่าแก่เปิดกิจการอยู่บางส่วน เช่น ร้านกาแฟ ร้านขนม ร้านอาหาร โดยมีสถานที่
สาคัญคือ ตลาดคลองสวน ๑๐๐ ปี โรงเรียนวัดเทพราช มัสยิดอัลวะต้อนียะห์ ศาลเจ้าปึงเถ้ากงซ่ึงภายในมี
ภาพเขยี นสีเก่าแก่ (สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม, มปป. a.)

ที่มา: สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม (มปป. a., หน้า ๑๒)

ภาพที่ ๔ - ๕๓ ขอบเขตและตาแหน่งที่ตั้งยา่ นชมุ ชนตลาดคลองสวน

ชุมชนตลาดหลวงแพ่ง เป็นย่านตลาดเก่าริมคลองประเวศบุรีรมย์ ตั้งอยู่บนพ้ืนท่ีของ ๒
จังหวัดคล้ายกันกับชุมชนตลาดคลองหลวง หากแต่ชุมชนตลาดหลวงแพ่งส่วนหนึ่งตั้อยู่บนแขวงขุมทอง เขต
ลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร และ ตาบล คลองหลวงแพง อาเภอเมือง จังหวัด ฉะเชิงเทรา ซึ่งมีอาคารเรือน
แถวไมเ้ ป็นทอ่ี ยอู่ าศยั และร้านค้าคอ่ นขา้ งหนาแน่น คนในชุมชนสว่ นหน่ึงมีการอบดอกไม้เปน็ อาชีพเสริม และมี
สถานที่สาคัญคือ สุเหร่าหลวงแพ่ง โรงเรียนสุเหร่าหลวงแพ่ง และ วัดราชโกษา (เขตลาดกระบัง) (สานักงาน
นโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม, มปป. a.)

ทีม่ า: สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม (มปป. a., หน้า ๑๓) ๔ - ๑๕๑

ภาพที่ ๔ - ๕๔ ขอบเขตและตาแหนง่ ทต่ี ั้งยา่ นชุมชนตลาดคลองหลวงแพ่ง

โครงการจัดทาแผนส่ิงแวดล้อมในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย

ชมุ ชนตลาดนครเนอ่ื งเขต เป็นชุมชนทม่ี ีการตั้งถนิ่ ฐานอยสู่ องฝัง่ คลอง (คลองนครเนื่องเขต) ที่
ยังมคี ุณภาพดี ชมุ ชนมกี ารทาทาเกษตรทัง้ การทานา และการเลีย้ ง โดยอาศยั ทรัพยากรจากคลอง ท่สี ามารถทา
เกษตรไดต้ ลอดทั้งปี ประชากรอีกส่วนทาอาชีพค้าขาย บางบา้ นมีการทาผลิตภัฑ์จากเขาและกระดูกสัตวเ์ ป็น
อาชีพเสริม (สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม, มปป. a.)

ทมี่ า: สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม (มปป. a., หน้า ๑๔)

ภาพที่ ๔ - ๕๕ ขอบเขตและตาแหน่งท่ตี ้ังยา่ นชมุ ชนตลาดนครเนือ่ งเขต

ชุมชนตลาดพนมสารคาม (ตลาดท่าเกวียน) ส่วนหนึ่งเป็นชุมชนตลาดริมน้าเช่นกันโดยมี
คลองท่าลาดอยู่ทางทิศใต้ของชุมชน ส่วนทางเหนือเป็นชุมชนเกาะตามแนวถนน ๓ สายคือ ถนนพนมพัฒนา
ถนนท่าเกวียนและถนนเทศบาล ในยุคที่เดินทางทางน้า พื้นที่ดังกล่าวเป็นท่าเรอื ที่เรอื ขนข้าวเข้ามาค้าขาย ซึ่ง
เดิมเรียกว่าตลาดท่าเกวยี น โดยมีสถานท่ีสาคัญคือ ตลาดพนมสารคาม, วดั ท่าเกรียน คลองท่าลาด และท่าเรือ
ทา่ เกรียน (สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม, มปป. a.)

ที่มา: สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม (มปป. a., หน้า ๑๕)

ภาพที่ ๔ - ๕๖ ขอบเขตและตาแหน่งทีต่ ง้ั ย่านชุมชนตลาดพนมสารคาม

โครงการจัดทาแผนสิ่งแวดลอ้ มในพ้นื ทเี่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๕๒

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสุดท้าย

ชุมชนตลาดบางคล้า เดิมเป็นเมืองท่าในฝั่งตะวันออกของแม่น้าบางปะกง ปัจจุบันมีลักษณะ
เป็นชุมชนเมืองท่ีมีอาคารพาณิชย์ในแนวริมน้า หากแต่ประชาชนบางส่วนยังคงประกอบกิจกรรมประมง เช่น
การดักลอบปลา จับปลาและกุ้ง ตามลักษณะของแม่น้าท่ีมีท้ังน้าจืดและน้าเค็ม และเป็นส่วนหนึ่งของ
ผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นท่ีข้ึนชื่อ เช่น ปลาโจ้โล้ (ปลากระพงน้าจืด) (สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ
และส่ิงแวดล้อม, มปป. a.)

ท่มี า: สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม (มปป. a., หน้า ๑๖)

ภาพท่ี ๔ - ๕๗ ขอบเขตและตาแหนง่ ท่ตี ั้งยา่ นชมุ ชนตลาดบางคลา้
ชุมชนตลาดคลอง ๑๖ เป็นชุมชนตลาดริมน้าในเขตรอยต่อจังหวัดฉะเชิงเทราและนครนายก
ด้วยว่าพ้ืนที่ตัง้ อยู่บนท่ีราบลุ่ม เหมาะแกก่ ารเกษตร ประชาชนส่วนใหญ่ยังคงทานา มีการทาขนมไทยและเลย้ี ง
สตั ว์เป็นอาชีพเสริม ในอดีตน้าในลาบึงจะมีสีดาคล้ายน้ารักษ์ จึงเรียกว่าบึงน้ารักษ์ และเป็นชื่อเรียกของตาบล
ต่อมา (สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม, มปป. a.)

ทมี่ า: สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม (มปป. a., หนา้ ๑๗)

ภาพท่ี ๔ - ๕๘ ขอบเขตและตาแหนง่ ทีต่ ง้ั ย่านชมุ ชนตลาดคลอง ๑๖
บ้านท่าตลาดเหนือ เดิมเรียก บ้านท่าถ่าน เนื่องจากเป็นท่ีลงถ่าน ตั้งอยู่บริเวณ ริมคลองท่า
ลาด ซึ่งเป็นแหล่งน้าสาคัญ สภาพแวดล้อมนอกชุมชนเป็นไร่นาและสวนเกษตร ชาวชุมชนจึงมีการทานา

โครงการจดั ทาแผนสงิ่ แวดล้อมในพื้นท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๕๓

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม รายงานฉบบั สุดทา้ ย

ทาสวน และค้าขายเป็นหลัก และมีการประดิษฐ์ดอกไม้จันทน์จากกระดาษเป็นอาชีพเสริม มีสถานที่สาคัญคือ
วัดบ้านท่าลาดเหนือ ตลาดท่าลาด คลองท่าลาด และ วัดหนองรี (สานักงานนโยบายและแผน
ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม, มปป. a.)

ท่มี า: สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม (มปป. a., หนา้ ๑๘)

ภาพท่ี ๔ - ๕๙ ขอบเขตและตาแหน่งทต่ี ง้ั ยา่ นชมุ ชนบ้านท่าลาดเหนือ

ชุมชนบ้านหัวกระสังข์ เป็นชุมชนชาวไทพวน ในลักษณะชุมชนหมู่บ้าน โดยพื้นที่บริเวณ
ดังกล่าวเดิมเป็นเส้นทางผ่านของขบวนค้าโคกระบือจากอีสานสู่อาเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี พ้ืนท่ีรอบนอก
หมู่บ้านเป็นท้องนาและสวน ด้วยพื้นที่เป็นท่ีราบเหมาะแกก่ ารเกษตร ชาวชุมชนจึงยังคงทานาและทาสวนเป็น
อาชีพหลัก มีวัดหัวกระสังข์ และ วัดบ้านซ่อง เป็นสถานท่ีสาคัญ (สานักงานนโยบายและแผน
ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม, มปป. a.)

ท่มี า: สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม (มปป, หน้า ๑๙)

ภาพท่ี ๔ - ๖๐ ขอบเขตและตาแหน่งทตี่ ง้ั ยา่ นชุมชนบา้ นห้วยกระสงั ข์

ชุมชนบา้ นตลาดเปรง เปน็ ชุมชนตลาดริมน้า ในพื้นทร่ี าบลมุ่ ท่มี คี ลองเปร็งไหลผ่านซงึ่ เดิมมตี ้น
เปรงขน้ึ อยู่รมิ คลองเป็นจานวนมากจึงถูกเรยี กว่าคลองเปรง ด้วยพ้ืนที่โดยรอบเหมาะแก่การเพาะปลูกและมีน้า
การทานาและเพาะเลี้ยงสัตว์น้าจึงเป็นอาชีพหลักของชาวชุมชน และบ้างมีการทาหัตถกรรมเป็นอาชีพเสริม

โครงการจดั ทาแผนสิง่ แวดล้อมในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๕๔

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ทา้ ย

และมีสถานที่สาคัญคือ ตลาดเปร็ง (ตลาดน้าคลองเปรง), โรงเรียนตลาดเปร็ง (น้อยใจบุญอุทิศ) และ วัดเปร็ง
ราษฎร์บารงุ (สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม, มปป. a.)

ท่มี า: สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม (มปป. a., หนา้ ๒๐)

ภาพที่ ๔ - ๖๑ ขอบเขตและตาแหนง่ ทีต่ ้ังยา่ นชุมชนบา้ นตลาดเปรง
ย่านชุมชนเก่าจังหวัดชลบรุ ี
ชมุ ชนย่านถนนวชิรปราการ เป็นชมุ ชนการค้าขนาดค่อนข้างใหญ่ครอบคลุมพ้ืนทีส่ องตาบลคือ
ตาบลบ้านโขดและตาบลมะขามหย่ง โดยฝั่งตะวันตกของย่านติดกับชายฝั่งทะเล ซึ่งในพื้นท่ีสามารถพบเห็น
อาคารเก่าประเภทอาคารห้องแถวไม้สองช้ันและอาคารแบบตึกในลักษณะดั้งเดิม ประชากรประกอบอาชีพ
หลากหลาย เช่น ค้าขาย ประมง และรับจ้าง โดยมีดอกไม้ประดิษฐ์เป็นผลิตภัณฑ์สาคัญ (สานักงานนโยบาย
และแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม, มปป. a.)

ทีม่ า: สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม (มปป. a., หนา้ ๒๒)

ภาพที่ ๔ - ๖๒ ขอบเขตและตาแหน่งทีต่ ้ังยา่ นถนนวชริ ปราการ

โครงการจดั ทาแผนส่งิ แวดล้อมในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๕๕

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม รายงานฉบับสดุ ท้าย

ชุมชนตลาดหนองมน (บางแสน) เป็นย่านการค้าหนาแน่นโดยเฉพาะการค้าประเภทของ
ฝาก ซ่ึงมีความเชื่อมโยงกับกิจกรรมการท่องเท่ียวจากหาดบางแสน ลักษณะอาคารเป็นอาคารพาณิชย์ท่ีมี
อาคารเก่าอยู่ในบริเวณตลาดและถนนซอย การค้าขายจึงเป็นอาชีพหลัก อย่างไรก็ดี การประมง การแปรรูป
อาหารทะเล สวนมะพร้าว และรับจ้าง ยังคงเป็นอาชีพในพ้ืนที่ด้วยเช่นกัน (สานักงานนโยบายและแผน
ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม, มปป. a.)

ทีม่ า: สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (มปป. a., หนา้ ๒๓)

ภาพที่ ๔ - ๖๓ ขอบเขตและตาแหน่งทีต่ ้งั ย่านตลาดหนองมน

ชุมชนบางเสร่ เป็นชุมชนชาวประมง เดิมเรียกว่า สาเหร่ ตั้งอยู่บนภูมิประเทศแบบท่ีราบ
สลับหุบเขา ติดกับทะเล และมีลาคลองธรรมชาติและอ่างเก็บน้า บริเวณชายฝ่ังมีท่าเรือและแพปลาอยู่หลาย
แห่ง บ้านเรือนส่วนหน่ึงมีลักษณะเป็นเรือนไม้ยกพื้นสูง ต้ังอยู่ตามแนวชายฝั่ง ประชากรส่วนใหญ่ประกอบ
อาชีพประมง ค้าขาย รับจ้างท่ัวไป ทานา ทาไร่มันสาปะหลัง และเล้ียงสัตว์ (สานักงานนโยบายและแผน
ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม, มปป. a.)

ทมี่ า: สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม (มปป. a., หน้า ๒๔) ๔ - ๑๕๖

ภาพท่ี ๔ - ๖๔ ขอบเขตและตาแหนง่ ทต่ี ้ังยา่ นบางเสร่

โครงการจัดทาแผนส่ิงแวดล้อมในพน้ื ทเี่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย

ชุมชนตลาดนาเกลือ (พทั ยา) เป็นย่านชุมชนตลาดและชุมชนประมงที่มีอายุกว่า ๑๐๐ ปี เป็น
การตั้งถ่ินฐานชุมชนแรกบนถนนนาเกลือ ซ่ึงยังสามารถพบเห็นอาคารห้องแถวไม้สองชั้น ย่านชุมชนดังกล่าว
เป็นแหล่งจาหน่ายอาหารทะเลท่ีสาคัญ และปัจจุบันมีความพยายามในการอนุรักษ์วิถีวัฒธรรมของชาวประมง
ในอดีต ผ่านการจัดงาน เดินกินถิ่นนาเกลือ ในลักษณะของถนนคนเดิน (สานักงานนโยบายและแผน
ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม, มปป. a.)

ท่มี า: สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม (มปป. a., หนา้ ๒๕)

ภาพที่ ๔ - ๖๕ ขอบเขตและตาแหนง่ ทีต่ งั้ ย่านตลาดนาเกลือ (พทั ยา)

ชุมชนตลาดสัตหีบ เป็นย่านชุมชนทั้งตลาดการค้าและชุมชนประมง ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลสัต
หีบ ภูมิประเทศมีลักษณะเป็นพื้นที่ราบชายฝั่งทะเลและหุบเขา มีชายหาดที่สะอาด ประชากรส่วนให ญ่
ประกอบอาชีพค้าขาย การประมง และรับราชการ และด้วยว่าในพื้นท่ีมีกองทัพเรือเป็นหนึ่งในแรงขับเคล่ือน
สาคัญ จึงมีผลิตภัณฑ์ผ้าบาติกจากกลุ่มแม่บ้านทหารเรือเป็นผลิตภัณฑ์สาคัญของตาบล (สานักงานนโยบาย
และแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม, มปป. a.)

ทมี่ า: สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม (มปป. a., หนา้ ๒๖) ๔ - ๑๕๗

ภาพท่ี ๔ - ๖๖ ขอบเขตและตาแหนง่ ที่ตัง้ ยา่ นตลาดสัตหีบ

โครงการจัดทาแผนสิ่งแวดล้อมในพ้ืนท่ีเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม รายงานฉบับสดุ ทา้ ย

ชุมชนท้ายตลาดบ้านอาเภอ เป็นย่านชุมชนท่ีมีลักษณะทั้งย่านตลาดการค้า และชุมชน
ชาวประมง ด้วยท่ีตั้งท่ีอยู่ใกล้ชายหาด (หาดบ้านอาเภอ) และยังมีลาคลองท่ีไหลออกทะเลทางทิศใต้ มีอาคาร
เก่าประเภทเรือนไม้สองชั้นพบเห็นได้บ้างในพ้ืนที่ (สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ
สิง่ แวดล้อม, มปป. a.)

ท่มี า: สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม (มปป. a., หนา้ ๒๗)

ภาพที่ ๔ - ๖๗ ขอบเขตและตาแหน่งท่ตี ัง้ ย่านท้ายตลาดบา้ นอาเภอ

ชุมชนตลาดทุ่งเหยี ง เปน็ ย่านชมุ ชนในลักษณะตลาด เกาะตัวตามแนวถนนท้งั สองฝัง่ ตั้งอยบู่ น
ภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่ม พื้นที่โดยรอบยังคงเป็นทุ่งนาข้าว และไร่อ้อย ประชากรทาอาชีพเกษตรกรรมส่วน
หน่ึงทา ปสุสัตว์ (สุกร ไก่) อีกส่วน ทานา ทาอ้อย และมีการทาจักสานเป็นอาชีพเสริม (สานักงานนโยบายและ
แผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม, มปป. a.)

ท่มี า: สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม (มปป. a., หน้า ๒๘)

ภาพท่ี ๔ - ๖๘ ขอบเขตและตาแหน่งท่ตี ั้งย่านตลาดทุ่งเหยี ง

ชุมชนเกาะสีชัง เป็นย่านชุมชนเก่าในภูมินิเวศแบบเกาะ ย่านชุมชนเกาะสีชังเป็นย่านชุมชน
ชาวประมงดั้งเดิมซ่ึงมีพ้ืนที่ต้ังอยู่ทางตอนเหนือของเกาะสีชัง ในตาบลท่าเทวงศ์ ลักษณะของชุมชน

โครงการจัดทาแผนส่งิ แวดลอ้ มในพน้ื ท่ีเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๕๘

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดทา้ ย

มกี ารตั้งถิ่นฐานอยา่ งหนาแน่นตามแนวถนนเลียบชายฝ่ังและใกล้กับท่าเทียบเรือซึ่งมีอยู่หลายท่าในย่านชุมชน
นี้ ชาวชุมชนประกอบอาชีพประมง ค้าขาย และรับจ้างท่ัวไป (สานักงานนโยบายและแผน
ทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม, มปป. a.)

ทม่ี า: สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม (มปป. a., หน้า ๒๙)

ภาพท่ี ๔ - ๖๙ ขอบเขตและตาแหนง่ ท่ตี ัง้ ย่านเกาะสชี งั

ชุมชนตลาดเก่าศรีราชา เป็นย่านตลาดเก่าชายฝ่ังทะเล มีประวัติตั้งแต่สมัยรัชกาลท่ี ๔ ท่ี
เรียกว่า เมืองบางพระ และต้ังเป็นอาเภอบางพระ ในสมัยรัชกาลที่ ๕ ปัจจุบันบริเวณริมชายฝั่งทะเลจะเป็น
ท่ีต้ังของบ้านเรือนของชาวประมง ส่วนพ้ืนที่การค้าซึ่งมักเป็นอาคารพาณิชย์จะอยู่ตามแนวถนนศรีราชานคร
ถนนเจิมจอมพลและถนนสุรศักด์ิ ประชากรส่วนใหญ่ ทาอาชีพ ประมง ค้าขาย และมีการแปรรูปอาหารทะเล
และซอสพริกเป็นอาชีพเสริม โดยมี ตลาดเก่าศรรี าชา และ วัดราษฎร์นิยมธรรม เป็นสถานทีส่ าคัญ (สานักงาน
นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม, มปป. a.)

ท่มี า: สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม (มปป. a., หนา้ ๓๐)

ภาพท่ี ๔ - ๗๐ ขอบเขตและตาแหนง่ ที่ตั้งย่านตลาดเกา่ ศรีราชา

โครงการจัดทาแผนส่ิงแวดล้อมในพ้นื ท่ีเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๕๙

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ท้าย

ชุมชนบ้านเตาถ่าน เป็นชุมชนตลาด มีลักษณะการตั้งถิ่นฐานอยู่โดยรอบวัดสัตตาหีบซ่ึงเป็น
ศูนย์กลางร่วมของชุมชน พ้ืนที่โดยรอบเป็นท่ีราบชายฝ่ังทะเลและหุบเขา ที่มีหาดทรายละเอียดและสะอาด
ซ่ึงจากสภาพชายหาดดังกล่าวแม้ว่าจะมีศักยภาพของการเป็นแห ล่งท่องเที่ยวแต่ประชาชานในพ้ืนที่ยังคง
ประกอบอาชีพประมง ค้าขาย และรับราชการ (สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ
สิง่ แวดลอ้ ม, มปป. a.)

ที่มา: สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม (มปป. a., หน้า ๓๑)

ภาพท่ี ๔ - ๗๑ ขอบเขตและตาแหน่งท่ตี ัง้ ย่านบ้านเตาถ่าน

ชมุ ชนอ่างศิลา เป็นชุมชนหมู่บ้านชาวประมงเก่าแก่ริมชายฝั่งทะเล ท่ีถูกเรียกว่า บ้านอ่างศิลา
หรือ ตลาดอ่างศิลา ย่านชุมชนเก่าดังกล่าวเป็นที่ต้ังของตลาดอาหารทะเล และแหล่งผลิตครกหินซ่ึงทาจาก
หินแกรนิต หรือท่ีเรียนกว่า หินอ่างศิลา ตามชื่อของชุมชน ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ท่ีอาศัยทักษะฝีมือที่ชานาญ
ลักษณะชุมชนเป็นการต้ังถ่ินฐานค่อนข้างหนาแน่นท้ังอาคารบ้านเรือน อาคารพาณิชย์ในรูปแบบของอาคาร
ตึกแถว มีสถานที่สาคัญได้แก่ ตลาดอ่างศิลา ตาหนักมหาราช ตึกขาว และ โรงเรียนพระตาหนัก (สานักงาน
นโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม, มปป. a.)

ทีม่ า: สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม (มปป. a., หนา้ ๓๒) ๔ - ๑๖๐

ภาพท่ี ๔ - ๗๒ แสดงขอบเขตและตาแหน่งท่ตี ั้งย่านอ่างศลิ า

โครงการจดั ทาแผนส่งิ แวดลอ้ มในพ้ืนท่เี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสุดทา้ ย

นอกจากนี้ยังมีชุมชนบ้านซากแง้ว เป็นชุมชนเล็ก ๆ ในพัทยาเขตอาเภอบางละมุง เป็นตลาดจีน
โบราณลักษณะเป็นห้องแถวไม้ ผสมผสานระหว่างความเป็นไทย - จีน อย่างมีอัตลักษณ์เฉพาะตัว บริเวณที่ต้ัง
ของชุมชนประกอบไปด้วยศาลเจ้าแม่ทับทิมท่ีผู้คนในท้องถิ่นให้การเคารพนับถือ เป็นชุมชนชาวจีนแต้จ๋ิว
แผ่นดินใหญ่ท่ีอพยพมาเม่ือ ๑๐๐ กว่าปที ี่แล้ว คาว่าชากแงว้ เช่ือกนั ว่าเป็นการเพย้ี นเสียงมาจากช่อื เดิม หนอง
ชะเเง้ว ตามหลักฐาน แบบในนิราศเมืองแกลงที่สุนทรภู่เขียนไว้ระหว่างการเดินทางจากพระนครกลับมาบ้าน
เกิดท่ีอาเภอแกลงจังหวัดระยองในปีพ.ศ. ๒๓๕๐ ในกลอนนิราศความว่าถึงปากช่องหนองชะแง้วเข้าแผ้วถาง
แม้ค่าค้างอรัญวาได้อาศัย ปัจจุบันชุมชนจีนโบราณชากแง้วได้ก่อตั้งชมรมสง่ เสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้าน
ชากแง้วขนึ้ เพือ่ ผลักดนั และฟื้นฟู ถนนสายวัฒนธรรมไทย - จนี โบราณ จดุ เด่นคอื บา้ นเรือนและวถิ ีชีวติ แบบจีน
โบราณที่หลงเหลืออยู่ภายในชุมชนยังคงสภาพห้องแถวไม้ท่ีเรียงราย เป็นทางยาวไปตลอดแนว แม้บางหลงั ถูก
เปลย่ี นแปลงไป แตบ่ รรยากาศก็ยงั เหมือนได้ย้อนยุคไปหลายสิบปี ถึงแม้ว่าชุมชนบ้านซากแงว้ เป็นชุมนโบราณ
ท่ีมีเอกลักษณ์แต่ชุมชนยงั ไมไ่ ด้ขน้ึ ทะเบยี นเป็นยา่ นชุมชนเกา่

ย่านชมุ ชนเก่า จังหวดั ระยอง
ย่านถนนยมจินดาและถนนชุมพล เป็นย่านธุรกิจเก่า และเป็นส่วนหนึ่งของเมืองเก่า มี
สถาปัตยกรรมในรูปแบบของชโิ น-โปรตุกีส และเรือนไม้สองช้ันอยู่ตามแนวแม่นา้ ระยอง บางส่วนเป็นบ้านของ
บุคคลสาคัญทางประวัติศาสตร์ ปัจจุบันยังคงมีร้านค้า ร้านขนม และอาหาร ท่ีเปิดให้บริการมานาน มีการ
รวมตัวจัดกิจกรรม“เปิดตานานย้อนยุคเมืองระยอง ถนนยมจินดา” และงาน “ภูบุรีศรีระยอง” โดยมีสถานที่
สาคัญคือ ถนนยมจินดา ถนนชุมพล พิพิธภัณฑ์เมืองระยอง ลานวัฒนธรรมชุมชน และ บ้านขุนศรีอุทัยเขตร์
(สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม, มปป. a.)

ท่ีมา: สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม (มปป. a., หน้า ๕๕)

ภาพท่ี ๔ - ๗๓ ขอบเขตและตาแหนง่ ทีต่ ั้งย่านถนนยมจินดาและถนนชมุ พล
ตลาดแกลง นั้นเป็นท้ังย่านการค้าและที่อยู่อาศัยตั้งอยู่หนาแน่นตามแนวถนนสาคัญสามสาย
คือ ถนนสุนทรโวหาร ถนนชานาญบุรีรมย์และถนนเทศบาล ๑ และมีอีกช่ือที่คนท้องถิ่นใช้เรียกคือ “บ้านเก่า
สามย่าน” เดิมลักษณะอาคารเป็นเรือนแถวไม้สองชั้น รองรับกิจกรรมตลาดสดและร้านขายของชา แต่

โครงการจัดทาแผนสงิ่ แวดล้อมในพ้ืนท่เี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๖๑

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ท้าย

ภายหลงั อาคารเรือนแถวถูกไฟไหม้ และมีการปรับเปลีย่ นเป็นอาคารก่ออิฐถอื ปูน (สานักงานนโยบายและแผน
ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม, มปป. a.)

ที่มา: สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม (มปป. a., หน้า ๕๖)

ภาพท่ี ๔ - ๗๔ ขอบเขตและตาแหนง่ ท่ตี งั้ ย่านตลาดแกลง

ตลาดบ้านเพ เป็นชุมชนประมงชายฝ่ังทะเล และย่านการค้าซึง่ เปน็ แหลง่ ค้าของฝากโดยเฉพาะ
อาหารทะเลสดและแปรรูป ลักษณะตลาดเป็นอาคารเก่าประเภทเรือนแถวไม้สองชั้นผสมกับอาคารพาณิชย์
สมัยใหม่ ซ่ึงจะเกาะตัวตามแนวถนนเลียบชายฝ่ังและถนนบนบ้าน แม้ว่าจะมีอาคารสมัยใหม่ปะปนอยู่แต่
บรรยากาศโดยรวมยงั คงมีความเปน็ ชมุ ชนพ้นื บ้านอยู่มาก (สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและ
ส่ิงแวดล้อม, มปป. a.)

ทีม่ า: สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม (มปป. a., หนา้ ๕๗)

ภาพท่ี ๔ - ๗๕ ขอบเขตและตาแหน่งทตี่ ั้งย่านตลาดบ้านเพ
ตลาดกะเฉด เปน็ ยา่ นชมุ ชนการค้าขนาดเล็ก ในเขตพ้ืนที่เมืองหลัก ซ่ึงเปน็ เมืองเก่าของอาเภอ
แกลง ตลาดกะเฉดมีลักษณะเป็นเรือนไม้แบบห้องแถวสองช้ัน แต่ถูกไฟไหม้อยู่หลายหน อาคารหลายหลังจึง
ได้รับความเสียหาย อย่างไรก็ดียังคงมีอาคารในลักษณะดังกล่าวตามแนวถนน ๓๓๒๐ และถนนกะเฉด-

โครงการจดั ทาแผนส่ิงแวดลอ้ มในพ้นื ท่ีเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๖๒

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย

หาดใหญ่ ด้วยท่ีต้ังท่ีอยู่บนที่ราบสลับเนินเขา พื้นท่ีโดยรอบชุมชนจึงเป็นพื้นที่เพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ
(สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม, มปป. a.)

ทม่ี า: สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม (มปป. a., หน้า ๕๘)

ภาพที่ ๔ - ๗๖ ขอบเขตและตาแหน่งท่ีตง้ั ยา่ นตลาดกะเฉด

ปากน้าประแสร์ เป็นชุมชนประมงเก่าแก่ตั้งแต่สมัยอยุธยามีประวัติเป็นเมืองคู่กับเมืองแกลง
โดยต้ังอยบู่ นทรี่ าบชายฝงั่ ทะเลและมีแม่นา้ ประแสรท์ ไี่ หลลงส่ทู ะเล พบการทานากงุ้ และเลี้ยงปลาน้ากรอ่ ยตาม
แนวแม่น้า พื้นท่ีโดยรอบมักปลูกมะม่วงและมะพร้าว การตั้งถ่ินฐานของชุมชนจะเป็นตามแนวแม่น้าประแสร์
และจะหนาแน่นบริเวณปากแม่น้าซ่ึงเป็นย่านการค้าและท่ีอยู่อาศยั และทา่ เรอื ประมงขนาดใหญ่ โดยมีสถานท่ี
สาคัญ ได้แก่ ท่าเทียบเรือสมาคมประมง, ศาลเจ้าพ่อประแสร์, เรือรบประแสร์, คานเรือ (อู่ต่อเรือประมง),
แหลมสน, ศาลกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักด์ิ, สมาคมชาวประมงปากน้าประแสร์ (สานักงานนโยบายและแผน
ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม, มปป. a.)

ท่มี า: สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม (มปป. a., หน้า ๕๙)

ภาพท่ี ๔ - ๗๗ ขอบเขตและตาแหนง่ ทตี่ ้งั ยา่ นปากนา้ ประแสร์
๔) ย่านชุมชนเกา่ กบั การพัฒนาในพ้ืนทเ่ี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก

โครงการจัดทาแผนส่ิงแวดลอ้ มในพืน้ ท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๖๓

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดท้าย

สถานการณ์และแนวโน้มของย่านชุมชนเก่ากับการพัฒนาในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาค
ตะวันออก โดยอาศัยกรอบของ “ความเสี่ยงต่อการสูญสลายของคุณค่า” ของย่านชุมชนเก่าเป็นกรอบนาและ
เสริมดว้ ยแนวคิดและหลกั การของการอนุรกั ษ์ย่านชุมชนเก่า

ความเสี่ยงต่อการสูญสลายของคุณค่า ประกอบไปด้วย ๓ มิติ ได้แก่ มิติด้านการให้คุณค่า มิติ
ด้านองค์ประกอบกายภาพ มิติด้านองค์ประกอบท่ีไม่ใช่กายภาพ) ความเสี่ยงและภัยคุกคามด้านการให้คุณค่า
ความสาคัญ หมายถึง แนวโน้มของการเปล่ียนแปลง เช่น แนวการพัฒนาท่ีลดทอนคุณค่า ลดหรือหยุดความ
ตอ่ เนื่องของกิจกรรมท่ีเกี่ยวขอ้ งกับคุณค่า และส่งผลต่อบูรภาพ (integrity) ทั้งทางกายภาพและไม่ใช่กายภาพ
ร่วมถงึ การเปลยี่ นแปลงทางสงิ่ แวดล้อม ในขณะท่คี วามเส่ียงและภัยคุกคามตอ่ องค์ประกอบทางกายภาพหมาย
รวมถงึ การเปล่ยี นแปลงของรปู แบบสถาปัตยกรรม กรรมสิทธท์ิ ี่ดิน การใชป้ ระโยชน์ท่ีดิน โครงสร้างชมุ ชน และ
ภูมิทัศน์ ส่วนความเส่ียงและภัยคุกคามต่อองค์ประกอบทางกายภาพจะเป็นการวิเคราะห์ถึง การเปลี่ยนแปลง
ต่อกิจกรรมทางวัฒนธรรม การสะดุดหรือการหยุดของกระบวนการของการถ่ายทอดองค์ความรแู้ ละภมู ิปญั ญา
เป็นตน้ (สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม, ๒๕๕๕ a.)

มิตดิ ้านการใหค้ ุณค่า
จากการรวบรวมข้อมูลของแผนด้านต่าง ๆ และเอกสารที่เก่ียวข้องโดย สกพอ.
และทาการวิเคราะห์สาระ (content analysis) ด้วยคาสาคัญท่ีประกอบดว้ ยคาวา่ “ย่านชุมชนเก่า” “ชุมชน
เก่า” และ “มรดกวัฒนธรรม” ในแผนของ สกพอ. ที่คาดว่าจะมีโอกาสเก่ียวข้องกับย่านชุมชนเก่า เช่น แผน
ภาพรวมฯ แผนปฏิบัติงานของสานักงานฯ แผนปฏิบัติการการพัฒนาและส่งเสรมิ การท่องเที่ยวฯ แผนผงั การ
ใช้ประโยชน์ที่ดินฯ เป็นต้น ผลปรากฏว่ายังไม่พบคาสาคัญดังกล่าว จึงยังไม่มีหลักฐานยืนยันทางเอกสารได้ว่า
ยา่ นชุมชนเกา่ ถกู ให้ความคณุ ค่าสาคัญในกรอบแนวคดิ ของการพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกโดยตรง
อย่างไรก็ดีการวิเคราะห์ได้พบโครงการภายใต้คาสาคัญเช่น “ท่องเท่ียววิถีชีวิต
ชุมชน” และ “อุตสาหกรรมท่องเท่ียวเชิงวฒั นธรรม” และมีการให้นิยามศัพท์ “การท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรม”
“การทอ่ งเท่ียวเชิงประวตั ิศาสตร์” “การท่องเที่ยวโดยชุมชนเป็นฐาน” ในแผนพัฒนาการท่องเที่ยวฯ ซ่ึงเป็นคา
สาคญั ทเ่ี ปิดโอกาสในการเพ่ิมเติมและเชอ่ื มโยงกับการใหค้ ณุ ค่าความสาคัญกับยา่ นชุมชนเก่าในพื้นที่เขตพัฒนา
พิเศษภาคตะวันออก
ในขณะที่ในระดับพ้ืนท่ีได้พบความเคลื่อนไหวในเอกสารของสื่ออื่นๆ ดังเช่น กรณี
ตาบลบางเสร่ อาเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี ที่กาลังจะเกิดโครงการ โคลัมเบียพิคเจอร์ส อควาเวิร์ส ในเดือน
ตุลาคม ๒๕๖๕ ซ่ึงโครงการดังกล่าวเป็นโครงการสวนน้าและสวนสนุก ท่ีใช้เน้ือหาจากภาพยนต์ชื่อดังของ
โคลัมเบียร์พิคเจอร์ เช่น จูแมนจ้ี เม็นอินแบล็ค และโฮเทลทรานซิลวาเนีย เป็นแนวคิดของโครงการ โครงการ
ดังกล่าวคาดว่าจะดึงนักท่องเท่ียวเข้ามายังพ้ืนที่จานวนมาก โดยมีโครงสร้างพ้ืนฐานในเขตพัฒนาพิเศษภาค
ตะวันออกเช่น รถไฟความเร็วสูง สนามบินอู่ตะเภา และพลังงานสะอาด รองรับกิจกรรมท่ีจะเกิดขึ้น และด้วย
ว่าโครงการดังกล่าวมีการใช้เทคโนโลยีข้ันสูงท่ีจาลองสภาพการณ์ให้ผู้เข้าชมเสมือนอยู่ในสภาพจริง โครงการ

โครงการจัดทาแผนสิ่งแวดล้อมในพนื้ ทเ่ี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๖๔

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม รายงานฉบับสดุ ท้าย

ดังกล่าวจึงถูกมองว่ามีความเช่ือมโยงกบั เศรษฐกิจดิจิตอลในแง่ของการเปิดโอกาสให้คนไทยได้เรียนรู้การสร้าง
“ดิจติ อลคอนเทนตม์ ลู ค่าสงู ” (Jaturong Kobkaew, ๒๕๖๔)

ในขณะเดียวกันตาบลบางเสร่ยังเป็นที่ตั้งของชุมชนบางเสร่เป็นหนึ่งในย่านชุมชน
เก่าที่ได้รับการขึ้นทะเบียนย่านชุมชนเก่า และเม่ือพิจารณาจากเนื้อหาของโครงการ โคลัมเบียพิคเจอร์ส อควา
เวิร์ส จะยังไม่พบความเช่ือมโยงกับมรดกวัฒนธรรมในพื้นท่ีและยังไม่พบการกล่าวถึงย่านชุมชนเก่าดังกล่าว
และเป็นคาถามที่น่าติดตามในโครงการอื่นว่า การพัฒนาใหม่ที่จะเกิดขึ้นน้ันจะมีความเกี่ยวข้องกับฐานของ
สิง่ แวดล้อมศิลปกรรมประเภทยา่ นชมุ ชนเกา่ หรอื ไม่?

อย่างไรก็ดี ภูมิปัญญาและวิถีชีวิตท้องถ่ินในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกท่ี
ไม่ได้เฉพาะเจาะจงกับย่านชุมชนท้องถ่ินเก่าได้ถูกให้ความสาคัญจากหน่วยงานภาคี เช่น องค์การบริหารการ
พัฒนาพื้นที่พิเศษเพ่ือการท่องเที่ยวอย่างย่ังยืน (อพท.) ท่ีได้มีโครงการในการส่งเสริมการท่องเท่ียวโดยชุมชน
เป็นฐาน โดยมีแนวคิดท่ีจะเชื่อมนักท่องเท่ียวจากเรือสาราญสู่ชุมชนต่าง ๆ ในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาค
ตะวนั ออก รวมถึงการเชอื่ มชมุ ชนกบั ธรุ กิจการจัดประชมุ และนิทรรศการ (MICE) ในแงข่ องการเปน็ แหล่งดูงาน
รับประทานอาหาร และผลิตอาหารว่าง โดย อพท. ได้ยกตัวอย่าง ชุมชนตะเคียนเต้ียท่ีมีฐานของวัฒนธรรมท่ี
เก่ียวข้องกับมะพร้าวต้ังแตก่ ารทาสวนมะพร้าวจนถึงการปรงุ เป็นอาหารชนิดต่าง ๆ ขณะเดียวกัน สกพอ. ได้มี
การสนับสนุนผ่านโครงการอบรมพัฒนาความรู้ให้กับชุมชนตามความต้องการของชุน โดยชุมชนตะเคียนเต้ีย
เป็นหน่ึงใน ๑๒ ชุมชนเป้าหมายท่ีได้รับคัดเลือกในการเขา้ รว่ มโครงการที่เลือกจะอบรมด้านการตลาดและการ
จัดทาแพ็กเก็ตท่องเที่ยว โดยอาศัยงบประมาณจาก “กองทุนอีอีซี” ซึ่งรองผู้อานวยการสานักยุทธศาสตร์ สก
พอ. ได้มองการเช่อื มโยงการส่งเสรมิ อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเชิงคุณภาพกับการพัฒนาชุมชนและสินค้าจาก
ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ในขณะที่ภาคท้องถิ่นเช่น เทศบาลตาบลบ้านฉาง ซ่ึงเป็นเมืองต้นแบบ 5G ได้กล่าวถึงความ
สนใจในการสนับสนุนการท่องเที่ยววิถีชีวิตชุมชน เช่นกัน (Praornpit Katchwattana, ๒๕๖๔) จึงเห็นได้ว่า
ภูมิปัญญาและวิถีชีวิตท้องถ่ิน ได้รับความสนใจจากภาคส่วนการพัฒนาในระดับหน่ึง แม้ว่าจะยังไม่พบข้อมูล
หลักฐานท่เี ช่อื มการให้ความสาคญั และคณุ คา่ ดังกลา่ วกับย่านชมุ ชนเกา่ โดยตรงจงึ ยังคงตอ้ งติดตามขอ้ มลู ต่อไป
แต่จากฐานของความสนใจดังกล่าวจึงมีความเป็นไปได้ในอนาคตท่ีจะมีการให้คุณค่าและความสา คัญกับย่าน
ชมุ ชนเกา่ ในพนื้ ท่ีเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก

มติ ดิ ้านองคป์ ระกอบทางกายภาพและมติ อิ งค์ประกอบท่ีไมใ่ ชก่ ายภาพ
ด้วยว่ามิติด้านองค์ประกอบทางกายภาพและมิติองค์ประกอบที่ไม่ใช่กายภาพใน
บริบทนี้มีความเก่ยี วพันกัน ในหัวข้อนจี้ ึงขอกล่าวถึงทั้งสองประเด็นพร้อมกัน กล่าวคือ มิตอิ งค์ประกอบที่ไม่ใช่
กายภาพที่สาคัญในท่ีนี้คือวิถีวัฒนธรรมการทามาหากินเช่นการประมงน้าจืดและน้ากร่อย การประมงชายฝั่ง
หรือการทานาทาสวน ซ่ึงมีความเช่ือมโยงกับทรัพยากรธรรมชาติในบริบทพ้ืนท่ีซึ่งเป็นส่วนหน่ึงของ
องค์ประกอบทางกายภาพ หากระบบนิเวศที่ให้บริการทรัพยากรเหล่าน้ันเสื่อมโทรมลงก็จะมีผลต่อวิถี
วฒั นธรรมการดารงชพี ได้และสง่ ผลต่อความเสีย่ งตอ่ การสูญสลายของคุณค่าของย่านชมุ ชนเกา่ เหล่าน้นั ในทส่ี ุด
ตัวอย่างเช่น ย่านชุมชนเก่าในจังหวัดฉะเชิงเทราหลายชุมชนเป็นชุมชนริมน้าท่ีมี
ความเชื่อมโยงกบั แม่น้าบางปะกงและลาคลองสาขา เชน่ กิจกรรมการหาปลาโจ้โล้ซึ่งเป็นผลติ ภัณฑ์สาคญั ของ
พ้ืนท่ี แต่จากข้อมูลสถานการณ์ทางทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่บ่งบอกว่าแม่น้าบางปะกงและลา

โครงการจดั ทาแผนสิ่งแวดลอ้ มในพื้นที่เขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๖๕

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม รายงานฉบบั สดุ ท้าย

คลองสาขาบางแห่งมีสภาพเสื่อมโทรมลง การเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศลาน้าเหล่าน้ีจึงสามารถสน่ั คลอนวิถี
วฒั นธรรมริมนา้ ได้ท้งั ทางตรงและทางออ้ ม

หรือในทานองเดียวกัน ย่านชุมชนเก่าในจังหวัดชลบุรีและระยอง ส่วนหนึ่งเป็น
ชุมชนประมงชายฝั่งทะเลท่ีอาศัยทรัพยากรทางทะเลในการดารงชีพ แต่จากข้อมูลสถานการณ์ทาง
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมพบว่าอ่าวบางอ่าวมีสภาพเส่ือมโทรม และมีค่าฟอสเฟตเกินมาตรฐาน
ทัง้ สามจังหวัด การเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศทะเลจึงเป็นหน่ึงในปัจจัยกดดันต่อวิถีวัฒนธรรมประมงชายฝ่ัง
เมื่อปัจจัยของการเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรดังกล่าวผนวกกับปัจจัยของการเปลี่ยนแปลงด้านอ่ืน เช่น
การเปล่ียนแปลงของรปู แบบเศรษฐกิจ การเปลี่ยนแปลงของราคาที่ดนิ และการถือครองท่ีดนิ กลายเป็นแรงขับ
ดันท่ีอาจก่อให้เกิดความเสี่ยงตอ่ การสญู สลายของคุณค่าของย่านชุมชนเกา่ นนั้ เช่นกัน

หน่ึงในหลักการของการอนุรกั ษแ์ ละฟื้นฟูย่านชุมชนเก่าคือ “การเปล่ียนแปลงใด ๆ
ก็ตาม จะต้องมีเป้าหมายเพ่ือปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้คนท้องถิ่นและคุณภาพของสิ่งแวดล้อม
เป็นส้าคัญ” (สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, มปป. a. หน้า ๒๒) และเพ่ือ
บรรลุหลักการดังกล่าว “การรักษาความสัมพันธ์ระหว่างพ้ืนท่ีย่านชุมชนเก่ากับบริบทแวดล้อม ท้ังธรรมชาติ
และที่มนุษย์สร้าง” (สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม, มปป. a. หน้า ๒๗)
จึงเป็นแนวทางสาคญั อันจะนามาสู่ “การรักษาประโยชน์ใช้สอย กิจกรรม ในย่านชมุ ชนเก่า ท่ีหลากหลาย และ
ต่อเน่ืองตามช่วงเวลา และยุคสมัย” (สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม, มปป.
a. หน้า ๒๘) มิเช่นน้ันกิจกรรมวัฒนธรรมการดารงชีพที่อาศัยฐานทรัพยากรธรรมชาติที่ย่านชุมชนเก่าในพ้ืนที่
เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกพ่ึงพาอาจไม่สามารถสืบเนื่องต่อไปได้ การจัดทาแผนสิ่งแวดล้อมฯ อันมีเป้า
เหมายเพ่ือรักษาฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและคุณภาพสิ่งแวดล้อมจึงมีบทบาทต่อการอนุรักษ์ฟ้ืนฟูย่ านชุมชน
เก่าเหล่านี้เช่นกัน

๔.๒ สถานการณด์ า้ นทรัพยากรธรรมชาติ
๔.๒.๑ ทรพั ยากรป่าไมแ้ ละสัตว์ป่า
๔.๒.๑.๑ ทรัพยากรปา่ ไม้
จากข้อมูลพื้นที่ป่าไม้ในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ป พ.ศ. ๒๕๖๒ พบว่า มีพื้นที่ป่า

ไม้ตามกฎหมาย จานวน ๑,๖๕๖,๑๕๗.๗๕ ไร่ โดยจาแนกเป็นพ้ืนท่ีป่าสงวนแห่งชาติ ๑๘ แห่ง พ้ืนท่ีเขตรักษา
พันธุสัตว์ป่า จานวน ๒ แห่ง เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ๒ แห่ง อุทยานแห่งชาติ ๒ แห่ง และวนอุทยานอีก ๑ แห่ง
และพื้นท่ีป่าไม้ในโครงการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ในพื้นท่ีป่ารอยต่อ ๕ จังหวัด (ภาคตะวันออก) อัน
เนอ่ื งมาจากพระราชดาริ ๗ โครงการ

(๑) พื้นท่ีป่าสงวนแห่งชาติ ป่าสงวนแห่งชาติของท้ังสามจังหวัดรวม ๑๘ แห่ง ประกอบด้วย
จังหวดั ฉะเชิงเทรา ๑ แห่ง คือ ป่าแควระบมและป่าสียัด จังหวัดชลบุรี ๙ แห่ง ได้แก่ ป่าเขาเขียว ป่าชมพู่ ป่า
เขาพุ เป็นต้น และจงั หวัดระยอง ๘ แหง่ ไดแ้ ก่ ปา่ กะเฉด ป่าเขาหว้ ยมะหาด เปน็ ตน้ ดังตารางที่ ๔ - ๖๖

ตารางที่ ๔ - ๖๖ พ้ืนทป่ี า่ สงวนแห่งชาตจิ ังหวดั ฉะเชงิ เทรา ชลบรุ ี และระยอง

จังหวัด ปา่ สงวนแหง่ ชาติ พื้นที่ (ตร.กม.) พ้ืนที่ (ไร)่

โครงการจดั ทาแผนส่ิงแวดล้อมในพ้ืนที่เขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๖๖

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดทา้ ย

จังหวัด ปา่ สงวนแห่งชาติ พ้ืนที่ (ตร.กม.) พนื้ ท่ี (ไร่)
๓๗๗.๖๓ ๒๓๖,๐๑๘.๗๕
ฉะเชงิ เทรา (๑ แหง่ ) ป่าแควระบม และปา่ สยี ดั ๘๙.๐๐ ๕๕,๖๒๕.๐๐
๔๕.๗๔ ๒๘,๕๘๙.๐๐
ชลบรุ ี (๙ แหง่ ) ป่าเขาเขยี ว ๘.๗๗
๒.๔๐ ๕,๔๘๒.๐๐
ป่าเขาชมภู่ ๓.๔๐ ๑,๕๐๐.๐๐
๖๐๖.๐๐ ๒,๑๒๕.๐๐
ปา่ เขาพุ ๒๕๗.๐๐ ๓๗๘,๗๕๐.๐๐
๒๗๓.๐๐ ๑๖๐,๖๒๕.๐๐
ปา่ เขาเรอื แตก ๑๖๔.๙๒ ๑๗๐,๖๒๕.๐๐
๔๖.๓๐ ๑๐๓,๐๗๕.๐๐
ปา่ เขาหนิ ดาด และปา่ เขาไผ่ ๒๘.๕๐ ๒๘,๙๓๗.๐๐
๒๒๐.๐๐ ๑๗,๘๑๑.๐๐
ป่าคลองตะเคยี น ๕๐๑.๖๐ ๑๓๗,๕๐๐.๐๐
๑.๐๐ ๓๑๓,๕๐๐.๐๐
ป่าแดง และปา่ ชมุ ชนกลาง ๙.๑๒
๑๔.๕๔ ๖๒๕.๐๐
ปา่ ทา่ บญุ มี และปา่ บ่อทอง ๐.๙๓ ๕,๗๐๐.๐๐
๙,๐๙๐.๐๐
ป่าบางละมุง
๕๘๐.๐๐
ระยอง (๘ แหง่ ) ป่ากะเฉด ป่าเพ และปา่ แกลง

ป่าเขาหว้ ยมะหาด ป่าเขานัง่ ยอง และปา่ เขาครอก

ปา่ คลองระเวงิ - เขาสมเส็ด

ปา่ บ้านนา และป่าทุง่ ควายกนิ

ป่าบ้านเพ

ปา่ ภูเขาหนิ ตั้ง

ป่าเลนประแส และป่าพงั ราด

ป่าหนองสนม

ท่มี า: กรมป่าไม้ (๒๕๖๒ก)

(๒) พ้ืนท่ีเขตรกั ษาพนั ธุสตั วป์ า่ จานวน ๒ แหง่
- เขตรกั ษาพนั ธุส์ ตั วป์ ่าเขาเขียว - เขาชมภู่ ต้ังอยู่ในตาบลหนองรี และตาบลข้างคอก อาเภอ
เมืองชลบุรี ตาบลบางพระ และตาบลหนองขาม อาเภอศรีราชา และตาบลซ้าซาก ตาบลบ้านบึง และตาบล
คลองกิ่ว อาเภอบ้านบึง จังหวัดชลบุรี มีขนาดพื้นท่ี ๙๐,๔๓๗ ไร่ พบสัตว์เล้ียงลูกด้วยนม ได้แก่ กวาง เก้ง เสือ
ดาว หมี เม่น ชะมด อเี ห็น ลิง ค่าง ชะนี หมปู ่า นางอาย กระจง สัตว์เล้ือยคลาน ได้แก่ งู ตะกวด เหี้ย เหา่ ชา้ ง
และสตั ว์สะเทนิ น้าสะเทนิ บก ไดแ้ ก่ กบ เขยี ด เต่า เปน็ ตน้
- เขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าเขาอ่างฤาไน ตั้งอยู่ท่ีหมู่ ๗ ตาบลคลองตะเกรา เป็นพ้ืนท่ีป่าอนุรักษ์
ครอบคลุมพ้ืนที่ ๖๗๔,๓๕๒ ไร่ ต้ังอยู่ใจกลางพ้ืนท่ีป่าผืนใหญ่ เป็นรอยต่อ ๕ จังหวัด คือ ฉะเชิงเทรา ชลบุรี
ระยอง จันทบุรี และสระแก้ว เป็นพ้ืนที่ป่าอุดมสมบูรณ์ผืนสุดท้ายของภาคตะวันออก เป็นแหล่งต้นน้า ลาธาร
ของแม่น้าบางปะกง จงั หวัดฉะเชิงเทรา คลองโตนด จงั หวัดจันทบรุ ี และแมน่ ้าประแสร์ จงั หวัดระยอง มนี ้าตก
อ่างฤาไน หรือ น้าตกบ่อทอง ซ่ึงเกิดจากคลองหมาก บนเขาอ่างฤาไน พบสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ได้แก่ พญา
กระรอกดา กระรอกหลากสี ชะนีมงกฏุ อีเก้ง เปน็ ตน้ ในขณะท่ีสตั วข์ นาดใหญ่ พบชา้ งและกระทงิ สาหรับสัตว์
ปกี พบนกกาฮังหรือนกเงอื กใหญ่ นกเงือกกรามชา้ ง ไก่ฟ้าพญาลอ นกแตว้ แล้วธรรมดา นกกระตดิ๊ ขีห้ มู นกเขา
ใหญ่ นกปรอดสวน นกเอี้ยงสาริกา และเหยี่ยวขาว เป็นต้น สัตว์เลื้อยคลาน ได้แก่ งูเขียวหัวบอนหรืองูง่วง
กลางดง จิ้งเหลนภูเขาเกล็ดเรียบ จ้ิงเหลนหลากลาย ตะกวด และงูสายม่านเกล็ดใต้ตาใหญ่ เป็นต้น และสัตว์
สะเทินน้าสะเทินบก ได้แก่ เขียดหลังปุ่มท่ีราบ เขียดตะปาด เขียดจิก กบหนอง อึ่งอ่างบ้าน และอึ่งอ่างแม่
หนาว (สานักอนรุ ักษส์ ตั ว์ป่า กรมอุทยานแห่งชาติ สัตวป์ ่า และพันธพ์ุ ชื , ม.ป.ป.)

โครงการจัดทาแผนส่ิงแวดล้อมในพน้ื ทเี่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๖๗


Click to View FlipBook Version