สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม รายงานฉบบั สุดทา้ ย
ปี พ.ศ. ๒๕๕๓ ปี พ.ศ. ๒๕๖๔
ภาพที่ ๔ - ๙๖ แสดงปญหาการกดั เซาะเนือ่ งจากโครงสร้างที่กีดขวางการเคลื่อนท่ีของตะกอนในพ้ืนท่ี
จังหวัดชลบรุ ี
๓) การกดั เซาะเนอื่ งจากสาเหตุอ่นื ๆ เชน่ การเปลี่ยนแปลงบริเวณปากแม่น้า การปรบั ตัวเข้า
สู่สมดุลใหม่จากการสะสมตัวของทรายตามธรรมชาติ การเปล่ียนแปลงของธรณีสัณฐานชายฝ่ัง การกัดเซาะ
เนื่องจากเหตุการณ์ลมพายทุ รี่ นุ แรงผดิ ปกติ (สานักงานทรัพยากรทางทะเลและชายฝง่ั ท่ี ๒, ๒๕๖๓)
การบรหิ ารจัดการมีแนวทางคือ การปลูกป่าไมค้ ลุมดินให้เหมาะสมลดการพงั ทลายของชายฝ่ัง
โดยชุมชนมีส่วนร่วม การสร้างแนวป้องกันชะลอความรุนแรงของคลื่นลมที่จะกระทบเข้าชายฝ่ัง การบังคับใช้
กฎหมาย การติดตามตรวจสอบ การสร้างความรู้ ความเข้าใจ และความตระหนักต่อความรุนแรงของปัญหา
การกัดเซาะชายฝั่ง การจดั ทาข้อมลู พ้ืนฐานมีความสาคัญต่อการวางแผนการจัดการชายฝง่ั และการมสี ่วนร่วม
ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียใสการจัดการและทาข้อมูลพื้นฐานเพ่ือการจัดการเป็นท่ียอมรับจากทุกภาคส่วน
(ระยอง) ลดความรุนแรงของกระแสคลื่นกระทบพ้ืนท่ีชายฝ่ัง โดยใช้โครงสร้างสลายพลังคล่ืนท่ีเหมาะสมกับ
พื้นที่ เช่น ใชไ้ มไ้ ผ่หัก เขือ่ นหนิ ท้งิ (ฉะเชงิ เทรา)
๔.๒.๖ ทรพั ยากรพลังงาน
ภายในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกมีโรงงานไฟฟ้าทั้งของภาครัฐและเอกชนรวมกันทั้งส้ิน ๙๗ แห่ง
แบ่งเป็นโรงไฟฟ้าของภาครัฐ ๓ แห่ง (หรือร้อยละ ๓.๐๙ ของโรงไฟฟ้าทั้งหมดในพ้ืนท่ี) และโรงไฟฟ้าของ
ภาคเอกชนอีก ๙๔ แห่ง (ร้อยละ ๙๖.๙๑) ซ่ึงกระจายอยู่ในจังหวัดฉะเชิงเทรา ๑๔ แห่ง จังหวัดชลบุรี ๓๘
แห่ง และจังหวัดระยอง ๔๒ แห่ง มีกาลังการผลิตไฟฟ้ารวมกันทั้งส้ิน ๑๙,๐๔๙.๐๙ เมกะวัตต์ แบ่งเป็นกาลัง
การผลิตไฟฟ้าของภาครฐั ร้อยละ ๑๙.๒๘ และภาคเอกชนร้อยละ ๘๐.๗๒ โดยเช้ือเพลิงท่ีโรงไฟฟ้าใช้ผลิตส่วน
ใหญ่เป็นเช้ือเพลิงจากพลังงานฟอสซิล เช่น ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน และน้ามันดีเซล คิดเป็นร้อยละ ๖๓.๙๒
ส่วนโรงไฟฟ้าท่ีใช้เชื้อเพลิงจากพลังงานทดแทน เช่น ก๊าซชีวภาพ พลังงานแสงอาทิตย์ ขยะชุมชน คิดเป็นร้อย
โครงการจัดทาแผนส่งิ แวดลอ้ มในพ้ืนท่ีเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๖๘
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม รายงานฉบับสุดทา้ ย
ละ ๓๖.๐๘ เป็นพื้นที่ที่มีปริมาณการไฟฟ้าสูงเป็นอันดับต้นของประเทศ (สานักงานคณะกรรมการกากับ
กจิ การพลงั งาน, ๒๕๕๘ อา้ งใน สกพอ., ๒๕๖๑)
ข้อมูลการใช้พลังงาน (Demand)
๑) ข้อมูลท่ัวไป
ข้อมูลทั่วไปการใช้พลังงานในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกใน ๓ จังหวัด ระหว่างปี
๒๕๕๙ - ๒๕๖๒ มรี ายละเอยี ด ดงั นี้
การใช้พลังงานในจังหวัดฉะเชิงเทรา ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ พบว่า มีจานวนครัวเรือนที่มีไฟฟ้า
๓๐๕,๐๗๘ ครัวเรือน และมีปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าสูงสุดเท่ากับ ๙๕๔.๕๑ เมกกะวัตต์ และมีจานวน
อาสาสมัครพลังงานในจังหวดั ๑๑๘ คน ดังตารางท่ี ๔ - ๙๘
การใช้พลังงานในจังหวัดชลบุรี ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ พบว่า มีจานวนครัวเรือนท่ีมีไฟฟ้า
๑,๐๔๗,๔๖๔ ครัวเรือน และมีปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าสูงสุดเท่ากับ ๒,๕๑๙.๔๘ เมกกะวัตต์ และมี
จานวนอาสาสมคั รพลังงานในจังหวัด ๕๕ คน
การใช้พลังงานในจังหวัดระยอง ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ พบว่า มีจานวนครัวเรือนท่ีมีไฟฟ้า
๔๘๙,๖๐๒ ครัวเรือน และมีปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าสูงสุดเท่ากับ ๒,๑๔๔.๔๗ เมกกะวัตต์ และมีจานวน
อาสาสมคั รพลังงานในจังหวัด ๔๐๐ คน
ตารางท่ี ๔ - ๙๘ ข้อมลู ทั่วไปการใชพ้ ลังงานจงั หวดั ระยอง ระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๖๒
ขอ้ มูลท่ัวไปการใช้พลงั งาน พ.ศ. ๒๕๕๙ พ.ศ. ๒๕๖๐ พ.ศ. ๒๕๖๑ พ.ศ. ๒๕๖๒
๗๐๙,๘๘๙ ๗๑๕,๐๐๙ ๗๒๐,๑๑๓
จงั หวัดฉะเชงิ เทรา จานวนประชากรรวม (คน) ๗๐๔,๓๙๙ ๒๘๙,๓๗๒ ๒๙๗,๓๖๒ ๓๐๕,๑๒๑
๒๘๙,๒๘๐ ๒๙๗,๒๗๘ ๓๐๕,๐๗๘
จานวนครัวเรอื นรวม (ครัวเรอื น) ๒๘๑,๗๗๘ ๙๒ ๘๔ ๔๓
๘๖๗.๖๖ ๘๔๒.๔๐ ๙๕๔.๕๑
จานวนครัวเรอื นทมี่ ีไฟฟา้ ใช้ (ครัวเรอื น) ๒๘๑,๖๗๕ ๑๑๘ ๑๑๘ ๑๑๘
จานวนครัวเรือนทไ่ี มม่ ีไฟฟ้าใช้ (ครวั เรือน) ๑๐๓ ๑,๕๐๙,๑๒๕ ๑,๕๓๕,๔๔๕ ๑,๕๕๘,๓๐๑
๙๘๕,๔๖๙ ๑,๐๑๖,๘๐๖ ๑,๐๔๗,๔๗๓
ปรมิ าณการใช้พลงั งานไฟฟ้าสงู สดุ (MW) ๗๙๗.๕๔ ๙๘๕,๔๖๗ ๑,๐๑๖,๗๘๔ ๑,๐๔๗,๔๖๔
๒
จานวน อส.พน. ในจังหวัด (คน) ๑๑๘ ๒๑๒๒.๖๖ ๒๒ ๙
๕๕ ๒,๓๑๔.๙๔ ๒,๕๑๙.๔๘
จังหวัดชลบรุ ี จานวนประชากรรวม (คน) ๑,๔๘๓,๐๔๙ ๗๑๑,๒๓๖
๔๕๗,๘๓๓ ๕๕ ๕๕
จานวนครัวเรือนรวม (ครัวเรอื น) ๙๔๙,๘๒๙ ๔๕๗,๘๐๐ ๗๒๓,๓๑๖ ๗๓๔,๗๕๓
๓๓ ๔๗๓,๕๙๗ ๔๘๙,๖๑๗
จานวนครวั เรือนทม่ี ีไฟฟา้ ใช้ (ครัวเรือน) ๙๔๙,๘๐๙ ๑๗๙๑.๗๓ ๔๗๓,๕๘๒ ๔๘๙,๖๐๒
๐
จานวนครวั เรอื นทไี่ มม่ ไี ฟฟา้ ใช้ (ครวั เรือน) ๒๐ ๑๕ ๑๕
๒,๐๘๔.๐๑ ๒,๑๔๔.๔๗
ปรมิ าณการใช้พลงั งานไฟฟ้าสงู สดุ (MW) ๕๕๘๔.๒๗
๔๐๐ ๔๐๐
จานวน อส.พน. ในจังหวัด (คน) ๕๕
จงั หวัดระยอง จานวนประชากรรวม (คน) ๗๐๐,๒๒๓
จานวนครวั เรอื นรวม (ครัวเรอื น) ๔๔๒,๘๕๘
จานวนครวั เรือนที่มีไฟฟา้ ใช้ (ครวั เรอื น) ๔๔๒,๘๕๔
จานวนครวั เรือนที่ไมม่ ีไฟฟา้ ใช้ (ครวั เรอื น) ๔
ปรมิ าณการใช้พลังงานไฟฟ้าสงู สดุ (MW) ๑๘๑๔.๘๘
จานวน อส.พน. ในจังหวัด (คน) ๐
ทมี่ า: กองยุทธศาสตรแ์ ละแผนงาน สานักงานปลดั กระทรวงพลังงาน, ๒๕๖๓
โครงการจดั ทาแผนสิง่ แวดลอ้ มในพน้ื ทเ่ี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๖๙
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม รายงานฉบับสดุ ทา้ ย
๒) ปริมาณการใช้พลังงานเชงิ พาณิชย์ (Demand)
ปริมาณการใช้พลังงานเชิงพาณิชย์ (Demand) ในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกใน ๓
จังหวัด ระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๕๙ ถึง พ.ศ. ๒๕๖๒ ใน ๕ ประเภท ได้แก่ ไฟฟ้า น้ามันเบนซิน น้ามันดีเซล LPG
และ NGV ทั้งนี้จากข้อมูลปริมาณการใช้พลังงานตามตารางท่ี ๔ - ๙๙ ปริมาณการใช้พลังงานท่ีมีแนวโน้ม
เพิ่มข้ึน คือ ไฟฟ้า น้ามันเบนซิน และน้ามันดีเซล โดยมีปริมาณการใช้พลังงานสูงสุดในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ และ
จงั หวดั ชลบรุ มี ีปรมิ าณการใช้พลังงานมากที่สดุ มีรายละเอยี ด ดังนี้
ปริมาณการใช้ไฟฟ้าในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ จังหวัดชลบุรีมีปริมาณการใช้ไฟฟ้าสูงสุด ๑๒,๘๕๑.๓๘
กิกะวัตต์-ช่ัวโมง รองลงมาจังหวัดระยอง ๑๐,๕๗๐.๗๗ กิกะวัตต์-ช่ัวโมง และจังหวัดฉะเชิงเทรา ๕,๑๘๒.๗๑
กิกะวัตต์-ช่ัวโมง
ปริมาณการใช้น้ามันเบนซินในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ จังหวัดชลบุรีมีปริมาณการใช้น้ามันเบนซิน
๑,๐๙๘.๖๑ ล้านลิตรต่อวัน รองลงมาจังหวัดระยอง ๒๐๙.๔๗ ล้านลิตรต่อวัน และจังหวัดฉะเชิงเทรา
๑๔๘.๖๗ ล้านลติ รตอ่ วัน
ปริมาณการใช้น้ามันดีเซลในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ จังหวัดชลบุรีมีปริมาณการใช้น้ามันดีเซล
๓,๑๙๖.๔๓ ล้านลิตรต่อวัน รองลงมาจังหวัดระยอง ๔๓๑.๒๗ ล้านลิตรต่อวัน และจังหวัดฉะเชิงเทรา
๓๕๑.๒๙ ลา้ นลิตรต่อวนั
ทั้งนี้ปริมาณการใช้พลังงาน LPG และ NGV มีแนวโน้มปริมาณไม่แน่นอน โดยที่จังหวัด
ฉะเชิงเทรามปี ริมาณการใช้ LPG สูงสุดที่ ๑๒๖.๒๑ พันตนั ต่อวัน ในปี ๒๕๖๐ และปริมาณการใช้ NGV สูงสุด
ท่ี ๒๐๐ ตันต่อวัน ในปี ๒๕๖๑ และจังหวัดชลบุรีมีปริมาณการใช้ LPG สูงสุดท่ี ๒๕๘.๘๑ พันตันต่อวัน ในปี
พ.ศ. ๒๕๖๑ และปริมาณการใช้ NGV ๖๕๐ ตันต่อวัน ในปี พ.ศ.๒๕๖๑ และจังหวัดระยองมีปริมาณการใช้
LPG สูงสุดท่ี ๑๓๖.๔๐ พันตันต่อวัน ในปี พ.ศ.๒๕๕๙ และปริมาณ การใช้ NGV ๙๙ ตันต่อวัน
ในปี พ.ศ. ๒๕๖๑
ตารางที่ ๔ - ๙๙ ปรมิ าณการใช้พลังงานเชิงพาณชิ ย์พ้ืนที่เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก ระหว่างปี
พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๖๒
ปรมิ าณการใช้พลังงาน พ.ศ. ๒๕๕๙ พ.ศ. ๒๕๖๐ พ.ศ. ๒๕๖๑ พ.ศ. ๒๕๖๒
จังหวดั ฉะเชงิ เทรา ไฟฟ้า (GWh/ป)ี ๔,๗๓๒.๗๔ ๔,๘๘๐.๗๗ ๕,๐๘๒.๘๔ ๕,๑๘๒.๗๑
๑๕๑.๔๗ ๑๔๘.๕๔ ๑๔๘.๕๖ ๑๔๘.๖๗
น้ามันเบนซนิ (ลา้ นลติ ร/วนั ) ๓๑๙.๔๖ ๓๓๒.๖๓ ๓๕๐.๔๗ ๓๕๑.๒๙
น้ามนั ดีเซล (ล้านลติ ร/วนั )
LPG (พันตัน/วัน) ๑๑๗.๒๙ ๑๒๖.๒๑ ๑๒๕.๕๕ ๑๒๐.๗๒
NGV (ตนั /วนั ) ๐ ๐ ๒๐๐ ๑๗๘
จงั หวดั ชลบุรี ไฟฟ้า (GWh/ป)ี ๑๑,๖๙๕.๙๙ ๑๑,๙๘๑.๙๗ ๑๒,๔๕๔.๐๔ ๑๒,๘๕๑.๓๘
น้ามันเบนซิน (ล้านลิตร/วัน) ๙๕๒.๐๔ ๑,๐๙๖.๐๗ ๑,๐๔๑.๙๒ ๑,๐๙๘.๖๑
นา้ มันดีเซล (ล้านลติ ร/วนั ) ๒,๓๓๐.๑๗ ๒,๖๗๘.๙๙ ๒,๘๖๕.๔๔ ๓,๑๖๙.๔๓
LPG (พนั ตนั /วัน)
๒๔๙.๐๗ ๒๕๐.๕๘ ๒๕๘.๘๑ ๒๔๕.๐๒
NGV (ตัน/วนั ) ๐ ๐ ๖๕๐ ๖๐๓
โครงการจดั ทาแผนส่ิงแวดล้อมในพ้นื ทีเ่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๗๐
สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ทา้ ย
ปรมิ าณการใช้พลังงาน พ.ศ. ๒๕๕๙ พ.ศ. ๒๕๖๐ พ.ศ. ๒๕๖๑ พ.ศ. ๒๕๖๒
จงั หวัดระยอง ไฟฟา้ (GWh/ป)ี ๑๐,๔๐๙.๙๒ ๑๐,๘๑๐.๓๕ ๑๐,๕๐๕.๗๕ ๑๐,๕๗๐.๗๗
นา้ มนั เบนซนิ (ล้านลิตร/วนั ) ๑๗๘.๓๖ ๑๘๕.๓๔ ๑๙๗.๐๑ ๒๐๙.๔๗
นา้ มนั ดีเซล (ล้านลิตร/วนั ) ๓๖๒.๙๖ ๓๙๒.๗๐ ๔๐๕.๔๓ ๔๓๑.๒๗
LPG (พนั ตัน/วัน) ๑๓๖.๔๐ ๑๓๖.๒๗ ๑๒๕.๔๘ ๑๒๑.๖๐
NGV (ตนั /วนั ) ๐ ๐ ๙๙ ๘๐
หมายเหต:ุ GWh คือกกิ ะวัตต์ตอ่ ปี
ที่มา: กองยุทธศาสตร์และแผนงาน สานักงานปลัดกระทรวงพลงั งาน
๓) ข้อมูลสถานการณพ์ ลังงานไ า้
ปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าสูงสุดของจังหวัดฉะเชิงเทราในปี พ.ศ. ๒๕๖๐ มีความต้องการ
ไฟฟ้าสูงสุดท่ี ๘๖๗.๖๖ เมกะวัตต์ และเพิ่มขึ้นเป็น ๙๕๔.๕๐ เมกะวัตต์ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ โดยกาลังการผลิต
ติดต้งั ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ อยู่ท่ี ๒,๒๖๐.๗๐ เมกะวตั ต์
ปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าสูงสุดของจังหวัดชลบุรีในปี พ.ศ. ๒๕๖๐ มีความต้องการไฟฟ้า
สูงสุดท่ี ๒,๑๒๒.๖๖ เมกะวัตต์ และเพิ่มขึ้นเป็น ๒,๕๑๙.๔๘ เมกะวัตต์ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ โดยกาลังการผลิต
ติดตงั้ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ อยู่ท่ี ๓,๐๑๑.๒๗ เมกะวัตต์
ปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าสูงสุดของจังหวัดระยองในปี พ.ศ. ๒๕๖๐ มีความต้องการไฟฟ้า
สูงสุดท่ี ๑,๗๙๑.๗๓ เมกะวัตต์ และเพิ่มขึ้นเป็น ๒,๑๔๔.๔๗ เมกะวัตต์ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ โดยกาลังการผลิต
ตดิ ตัง้ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ อยู่ท่ี ๖,๖๐๖.๗๘ เมกะวัตต์
ตารางท่ี ๔ - ๑๐๐ เปรียบเทยี บปริมาณการใช้พลังงานไ ้าสงู สุดกับกาลงั การผลติ ไ า้ ติดต้งั ระหว่าง
ปี พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๒
พืน้ ท่ี สถานการณพ์ ลังงานไ ้า พ.ศ. ๒๕๖๐ พ.ศ. ๒๕๖๑ พ.ศ. ๒๕๖๒
ฉะเชงิ เทรา ปริมาณการใชพ้ ลงั งานไฟฟ้าสูงสดุ ๘๖๗.๖๖ ๘๔๒.๔๐ ๙๕๔.๕๑
กาลงั การผลิตไฟฟ้าตดิ ต้ัง ๒,๒๕๗.๑๒ ๒,๒๖๐.๗๐ ๒,๒๖๐.๗๐
ชลบรุ ี ปริมาณการใชพ้ ลงั งานไฟฟ้า ๒,๑๒๒.๖๖ ๒,๓๑๔.๙๔ ๒,๕๑๙.๔๘
กาลงั การผลติ ไฟฟ้า ๓,๐๐๒.๖๔ ๓,๐๐๒.๖๔ ๓,๐๑๑.๒๗
ระยอง ปริมาณการใช้พลงั งานไฟฟ้า ๑,๗๙๑.๗๓ ๒,๐๘๔.๐๑ ๒,๑๔๔.๔๗
กาลงั การผลิตไฟฟ้า ๕,๙๑๒.๗๗ ๖,๔๖๙.๒๗ ๖,๖๐๖.๗๘
ท่ีมา: กองยทุ ธศาสตรแ์ ละแผนงาน สานกั งานปลดั กระทรวงพลงั งาน
หมายเหต:ุ หนว่ ยเปน็ เมกะวตั ต์ และปรมิ าณการใชพ้ ลังงานไฟฟา้ สงู สดุ หรอื ความต้องการใช้พลังงานไฟฟา้ สงู สดุ ณ วนั และ
เวลาหนึ่งของปี และกาลังการผลิตไฟฟ้าตดิ ต้ังคือกาลงั การผลติ ทส่ี ามารถผลิตไดใ้ ห้เพยี งพอต่อความตอ้ งการใช้ไฟฟา้ สงู สดุ
๔) ปรมิ าณการใชพ้ ลังงานไ า้ รายสาขา (Demand)
ปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้า รายสาขา (Demand) ในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
ใน ๓ จังหวัด ใน ๕ สาขา ได้แก่ ครัวเรือน ธุรกิจ อุตสาหกรรม เกษตรกรรม และอ่ืน ๆ พบการใช้พลังงาน
ไฟฟ้า ใน ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ดังตารางท่ี ๔ - ๑๐๑ ปริมาณการใช้ไฟฟ้าของท้ังสามจังหวัดสูงสุดใน
ภาคอุตสาหกรรม รองลองมาคือภาคครวั เรอื น ภาคธุรกิจ และภาคเกษตรกรรม โดยจังหวดั ชลบรุ ีมีการใชไ้ ฟฟ้า
โครงการจัดทาแผนสง่ิ แวดลอ้ มในพ้นื ทเ่ี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๗๑
สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม รายงานฉบับสดุ ท้าย
สูงสุด รองลงมาคือจังหวัดระยอง และจงั หวัดฉะเชิงเทรา และเมอ่ื พจิ ารณาแนวโน้มปริมาณการใช้ไฟฟ้า พบว่า
ปรมิ าณการใชไ้ ฟฟ้าของทุกภาคมีแนวโน้มสูงขึน้ มีรายละเอียดแยกรายจงั หวดั ได้ ดงั นี้
ตารางที่ ๔ - ๑๐๑ ปริมาณการใชพ้ ลงั งานไ ้ารายสาขาในพน้ื ที่ ๓ จงั หวดั ระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๕๙ –
๒๕๖๒
จังหวดั รายละเอยี ด ปริมาณการใช้พลังงานไ ้า รายสาขา (Demand) (MWh/ป)ี
๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒
๑.ครวั เรอื น ๕๕๙.๕๖ ๕๗๕.๐๔ ๕๙๒.๙๐ ๖๕๒.๒๓
๒.ธุรกจิ ๒๙๒.๑๒ ๓๐๔.๘๘ ๓๑๗.๘๘ ๓๔๕.๒๗
ฉะเชงิ เทรา ๓.อุตสาหกรรม ๓,๘๕๕.๕๒ ๓,๙๗๕.๔๘ ๔,๑๔๘.๖๓ ๔,๑๕๕.๙๔
๔.เกษตรกรรม ๒.๒๓ ๓.๑๖ ๓.๗๙ ๒๑.๗๐
๕.อ่ืน ๆ ๒๓.๒๔ ๒๒.๒๐ ๑๙.๖๕ ๗.๕๖
รวม ๔,๗๓๒.๗๔ ๔,๘๘๐.๗๗ ๕,๐๘๒.๘๔ ๕,๑๘๒.๗๑
๑.ครัวเรอื น ๑,๙๗๘.๕๖ ๒,๐๐๖.๙๓ ๒,๐๓๔.๕๖ ๒,๒๔๓.๕๙
๒.ธรุ กจิ ๑,๖๖๕.๒๔ ๑,๖๙๕.๙๘ ๑,๗๒๗.๘๐ ๑,๘๓๕.๓๓
ชลบุรี ๓.อุตสาหกรรม ๗,๙๐๑.๘๗ ๘,๑๑๘.๖๑ ๘,๕๕๔.๓๗ ๘,๗๔๓.๖๖
๔.เกษตรกรรม ๐.๐๒ ๐.๐๒ ๐.๐๒ ๒๕.๖๔
๕.อื่น ๆ ๑๕๐.๓๐ ๑๖๐.๔๔ ๑๓๗.๒๙ ๓.๑๖
รวม ๑๑,๖๙๕.๙๙ ๑๑,๙๘๑.๙๗ ๑๒,๔๕๔.๐๔ ๑๒,๘๕๑.๓๘
๑.ครวั เรือน ๘๖๓.๑๒ ๘๘๑.๑๒ ๘๙๙.๕๒ ๙๙๒.๙๖
๒.ธุรกจิ ๓๙๒.๖๑ ๔๐๙.๕๙ ๔๒๓.๗๔ ๔๖๐.๖๘
ระยอง ๓.อุตสาหกรรม ๙,๐๕๓.๒๕ ๙,๔๔๓.๖๐ ๙,๑๒๔.๑๒ ๙,๑๐๓.๗๑
๔.เกษตรกรรม ๔๓.๐๓ ๒๕.๒๔ ๑๔.๐๓ ๔.๕๒
๕.อื่น ๆ ๕๗.๙๑ ๕๐.๘๐ ๔๔.๓๔ ๘.๙๑
รวม ๑๐,๔๐๙.๙๒ ๑๐,๘๑๐.๓๕ ๑๐,๕๐๕.๗๕ ๑๐,๕๗๐.๗๗
*หมายเหตุ MWh คอื เมกะวตั ต-์ ช่วั โมง
ท่ีมา: กองยุทธศาสตรแ์ ละแผนงาน สานกั งานปลดั กระทรวงพลังงาน, ๒๕๖๓
ท้ังนี้จากข้อมูลสถานการณ์พลังงานไฟฟ้าของพื้นท่ี ๓ จังหวัด กาลังการผลิตไฟฟ้ามีความเพียงพอต่อ
ค ว าม ต้ อ งก ารใช้ พ ลั งงาน ไฟ ฟ้ าสู งสุ ด น อ ก จ าก น้ี ส ถ าน ก ารณ์ ค วาม มั่ น ค งข อ งระบ บ ไฟ ฟ้ า
ในภาคตะวันออกสานักนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงานได้จัดทาแผนพัฒนากาลังผลิตไฟฟ้า
ของประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐ (สานักงานนโยบายและแผนพลังงาน, ๒๕๖๓) โดยมีการพิจารณา
ความมั่นคงของระบบไฟฟา้ ในภาคตะวันออก ถึงความต้องการไฟฟา้ ท่ีเพิ่มขึ้นเฉลีย่ รอ้ ยละ ๓.๕ และคาดการณ์
ความต้องการไฟฟ้าสูงสุดท่ี ๑๐,๐๓๓ เมกะวัตต์ จากการพัฒนาในพ้ืนท่ี จึงมีความจาเป็นต้องพัฒนาโรงไฟฟ้า
เพิ่มเติมในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๖๘ - ๒๕๘๐ โดยจะมีกาลังการผลิตไฟฟ้าตามสัญญารวม ๑๔,๖๕๓ เมกะวัตต์
ในส้ินปี พ.ศ. ๒๕๘๐ ไฟฟ้าเป็นเงื่อนไขท่ีสาคัญต่อความสาเร็จในการพัฒนาอุตสาหกรรม การท่องเท่ียวและ
โครงการจดั ทาแผนสง่ิ แวดล้อมในพน้ื ท่เี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๗๒
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม รายงานฉบับสดุ ท้าย
บริการต่าง ๆ รวมท้ังคุณภาพในการดารงชีวิต ดังน้ัน การมีปริมาณไฟฟ้าท่ีเพียงพอ และมีกระแสไฟฟ้าที่มี
คุณภาพที่ตรงกับความต้องการใช้งานนั้น เป็นประเด็นที่สาคัญประการหน่ึงในการดาเนินการพัฒนา การ
คาดการณ์กาลังการผลิตและความต้องการใช้ไฟฟ้าใน EEC สรุปว่าปริมาณการผลิตไฟฟ้ามีมากกว่าความ
ตอ้ งการใช้ไฟฟา้ ในพื้นที่ โดยได้คานงึ ถงึ ความต้องการใช้ไฟฟ้าที่เพ่ิมขึ้นจากการพัฒนา EEC แล้ว อย่างไรก็ตาม
ส่ิงท่ีต้องคานึงถึงในการพัฒนาในอนาคตคือการทาให้ไฟฟ้าที่ผลิตได้มีคุณภาพตรงกับความต้องการใช้ไฟฟ้า
โดยเฉพาะของอุตสาหกรรมเป้าหมาย และระบบสนับสนนุ ตา่ ง ๆ
ทม่ี า: สานกั งานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลงั งาน
หมายเหตุ: ๑. ไฟฟ้าบางส่วนที่ผลติ ในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออกจะมีการส่งออกไปรองรับความต้องการทก่ี รงุ เทพมหานครและพื้นท่ี
ใกล้เคียง (ข้อมูล ณ ปี ๒๕๖๐ ปริมาณไฟฟ้าบางส่วนท่ีผลิตในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกจะมีการส่งออกไปรองรับ
ความตอ้ งการที่กรงุ เทพมหานคร และพน้ื ทใ่ี กล้เคยี ง ประมาณ ๓,๐๐๐-๓,๕๐๐ MW)
๒. ไม่รวมผูผ้ ลติ ไฟฟ้าเอกชนทผ่ี ลติ ไฟฟ้าใช้เองหรือจาหนา่ ยใหล้ กู คา้ โดยตรงโดยไม่ขายเขา้ ระบบของการไฟฟา้ (IPS)
๓. ไม่รวมกาลังการผลิตไฟฟ้าจากบริษัท เนชั่นแนล พาวเวอร์ ซัพพลาย จากัด (NPS) ๕๔๐ MW เน่ืองจากติดปัญหาด้าน
ผลกระทบตอ่ ส่ิงแวดลอ้ ม
ภาพท่ี ๔ - ๙๗ การคาดการณก์ าลงั การผลติ และความต้องการไ ้าในเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก
๔.๒.๗ ทรพั ยากรแร่
ทรัพยากรแร่ สามารถจดั กลุม่ ตามการใชป้ ระโยชนต์ ามยุทธศาสตรก์ ารบริหารจดั การทรัพยากรแร่ (แผน
แม่บทการบริหารจัดการแร่ พ.ศ. ๒๕๕๐ – ๒๕๕๔) ออกเป็น ๒ กลุ่ม คือ ๑) กลุ่มแร่เพื่อการพัฒนา
สาธารณูปโภคพน้ื ฐานและโครงการขนาดใหญ่ของรัฐ และ ๒) กลมุ่ แรเ่ พื่อสนับสนุนเศรษฐกิจและอตุ สาหกรรม
โดยกลุ่มแร่เพ่ือการพัฒนาสาธารณูปโภคพ้ืนฐานและโครงการขนาดใหญ่ของรัฐสามารถแบ่งกลุ่มแร่เป็น ๒
กลุ่มย่อย ดังนี้ กลุ่มแร่เพ่ืออุตสาหกรรมซีเมนต์ และกลุ่มแร่เพื่อการก่อสร้าง ส่วนกลุ่มแร่เพ่ือสนับสนุน
เศรษฐกิจและอุตสาหกรรมสามารถแบ่งกลุ่มแร่ออกเป็น ๓ กลุ่มย่อยดังนี้ แร่โลหะมีค่า แร่โลหะ และ
แรอ่ ุตสาหกรรม
โครงการจดั ทาแผนสิ่งแวดล้อมในพนื้ ทีเ่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๗๓
สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย
สาหรับพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก มีจานวนแหล่งแร่ทั้งหมด ๑๗๒ แปลง และมีจานวน
ประทานบัตรของแร่อยู่ที่ ๑๐๖ แปลง และปัจจุบันยังมีการยื่นคาขอสัมปทานบัตรท่ียังไม่ได้อนุมัตจิ านวน ๑๑
แป ล ง โด ยกลุ่ม แร่ที่ มี การย่ืน ขอสัม ป ท าน บั ตรเพิ่ ม ได้ แก่ หิ น ปู น เพ่ื ออุตส าห ก รรม ก่ อสร้าง
ในบริเวณจังหวัดฉะเชิงเทราจานวน ๓ แปลง จังหวัดระยองจานวน ๖ แปลง หินอุตสาหกรรมชนิดหินแกรนิต
บรเิ วณจังหวัดฉะเชิงเทราจานวน ๒ แปลง คาดวา่ หากมกี ารอนมุ ัติสมั ปทานบัตรเพิม่ จะทาใหม้ กี ารใชป้ ระโยชน์
จากทรพั ยากรแรเ่ พ่มิ มากขึ้นและทาให้ปริมาณแร่สารองในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออกลดลง ดังนัน้ จึง
มีการสารวจแหล่งแร่ในพ้ืนท่ีและทาการแบ่งเขตของทรัพยากรแร่เพ่ือป้องกันการใช้ทรัพยากรแร่ท่ีมีมากเกิน
ความจาเป็น โดยแบ่งเขตออกเป็นเขตสัปทานแร่ เขตพัฒนาแร่ เขตสงวนแร่ และเขตอนุรกั ษ์แร่ นอกจากน้ียัง
พบว่ามีการขุดบ่อทราย บ่อหินในพื้นท่ีท่ีไม่ใช่เขตสัมปทานแร่ในพ้ืนท่ี ซึ่งบ่อทราย บ่อหินที่พบส่วนมากจะอยู่
ในพ้ืนท่ีจังหวัดชลบุรี ได้แก่ อาเภอบ้านบึง อาเภอพานทอง อาเภอพนัสนิคม และอาเภอบางละมุง
จังหวัดระยองพบบ่อทราย บ่อหินส่วนมากที่อาเภอปลวกแดง อาเภอนิคมพัฒนา และอาเภอบ้านค่าย
สว่ นจังหวัดฉะเชิงเทราพบบ่อทราย บ่อหินในอาเภอสนามชัยเขต และอาเภอพนมสารคาม ตามลาดับ ทั้งน้ีใน
พ้ืนที่ที่มีการขุดบ่อทราย บ่อหินส่วนใหญ่พบว่ามีหลายพื้นท่ีที่เป็นพ้ืนท่ีใกล้เคียงกับพ้ืนที่เหมืองเก่าที่ประทาน
บัตรหมดอายุ ได้แก่ พื้นท่ีอาเภอบ้านบึง อาเภอศรีราชา อาเภอเมืองชลบุรี อาเภอพนัสนิคม และอาเภอบางละ
มงุ จังหวดั ชลบุรี อาเภอปลวกแดง อาเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง และอาเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชงิ เทรา
ดังตารางท่ี ๔ - ๑๐๒ และ ภาพที่ ๔ - ๙๘ โดยเหมืองเก่าในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกมีพ้ืนท่ีโดยรวม
ทั้งหมด ๔๔,๗๑๒.๘๓ ตารางกิโลเมตร ซ่ึงพ้ืนท่ีเหมืองเก่าสามารถนามาพัฒนาเพื่อเพิ่มพื้นท่ีเขียวให้กับเขต
พัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออกได้ในอนาคต
ตารางท่ี ๔ - ๑๐๒ กลมุ่ แร่และชนิดของแหล่งแรใ่ นพ้ืนท่ี EEC จดั กลุ่มตามการใชป้ ระโยชน์
จังหวดั ชนิดแร่ หินอตุ สาหกรรม จานวน จานวน เน้ือท่ี ปรมิ าณสารอง หมายเหตุ
แหล่ง ประทานบตั ร (ตร.กม.) (ล้านเมตรกิ ตัน)
-
๑.กลุ่มแรเ่ พอ่ื การพัฒนาสาธารณูปโภคพ้ืนฐานและโครงการขนาดใหญข่ องรฐั ๑.๔๑ ๙๖.๕๑
-
กลุ่มแร่เพอื่ อตุ สาหกรรมซเี มนต์ ๕๗.๐๖ ๑๒.๓๗ -
-
ระยอง หนิ ปูนเพอ่ื อุตสาหกรรม ๙- -
ปูนซีเมนต์ -
-
กลมุ่ แร่เพ่ือการกอ่ สรา้ ง
หนิ อุตสาหกรรมชนิด ๑๒ ๕
หินแกรนติ
ฉะเชิงเทรา หนิ อตุ สาหกรรมชนิดหินแอนดิ ๔ - ๓.๕๓ ๖๔๔.๙๒
ไซต์
หินอุตสาหกรรมชนิดหินปนู ๑ ๒ ๑.๔๕ ๕๘๖.๘๗
หนิ แกรนิตเพ่อื อุตสาหกรรม ๔๔ ๑๓ ๔๒๙.๔๘ ๙๕๙,๙๐๙.๐๖
กอ่ สร้าง
ชลบรุ ี หินปูนเพ่อื อุตสาหกรรม ๒๑ ๑๘ ๕๗.๓๗ ๔,๙๘๔.๗๙
กอ่ สรา้ ง
หนิ ไนส์เพื่ออุตสาหกรรม ๑ - ๓๐.๕๓ ๙๗๓.๐๗
โครงการจัดทาแผนสงิ่ แวดล้อมในพื้นทเ่ี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๗๔
สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ท้าย
จังหวัด ชนดิ แร่ หนิ อตุ สาหกรรม จานวน จานวน เนือ้ ที่ ปริมาณสารอง หมายเหตุ
แหลง่ ประทานบัตร (ตร.กม.) (ล้านเมตรกิ ตนั )
ก่อสรา้ ง
ทรายและกรวดก่อสร้าง ๔ - ๑.๔๔ ๑.๕๔ -
หินปูนเพ่อื อตุ สาหกรรม ๙ ๓ ๕.๒๓ ๑,๑๑๔.๐๖ ย่ืนขอสมั ปทาน
ก่อสรา้ ง บัตรเพ่ิม ๒ แปลง
ระยอง หนิ แกรนิตเพ่ืออุตสาหกรรม ๔ ๓ ๒๖.๒๕ ๑๓,๒๖๒.๑๑ ยืน่ ขอสมั ปทาน
ก่อสรา้ ง บัตรเพ่ิม ๓ แปลง
ทรายนา้ จืด ๑๒ ๔๖ ๓๖๙.๗๙ ๖๖๑.๔๗ -
ทรายทะเล ๑ - ๑๐๕.๐๙ ๔๕๐* -
๒.กลุ่มแรเ่ พื่อสนับสนุนเศรษฐกจิ และอุตสาหกรรม
แรโ่ ลหะมคี ่า
ฉะเชิงเทรา ทองคา (พื้นทีศ่ ักยภาพทางแร่) ๔ - ๖๙๕.๑๙ --
ชลบรุ ี แรท่ องคา ๒ - ๑๔.๕๙ ๖๔.๔๔*** -
ระยอง แรท่ องคา ๒ - ๑.๑๗ ๕.๔๕** -
แร่โลหะ
เหล็ก ๒ - ๑.๔๙ ๖.๖๕ -
ฉะเชิงเทรา ทองแดง ตะก่วั สงั กะสี พลวง ๕ - ๑,๑๔๔.๔๒ --
แมงกานีส (พ้ืนท่ีศักยภาพทาง
แร่)
ชลบรุ ี แรพ่ ลวง ๔ - ๙.๖๔ ๔๙.๖๑๕**** -
แรเ่ หลก็
๒ - ๔.๐๔ --
ระยอง แรเ่ หล็ก ๑ - ๐.๐๔ ๐.๐๑ -
แรอ่ ุตสาหกรรม
ทรายแกว้ ๑ - ๔๙.๙๔ ๑๓๘.๙๗ -
ฉะเชิงเทรา ฟลูออไรด์ ๒ - ๐.๑๙ ๒.๑๒ -
หินไซอีไนต์
๑ - ๕.๕๘ ๒,๕๐๐ -
หนิ อตุ สาหกรรมชนิดหินปนู ๑ - ๑.๔๕ ๕๘๖.๘๗ -
ชลบรุ ี แรเ่ ฟลด์สปาร์ ๑ - ๐.๒๕ ๐.๐๖๘ -
แรด่ ิน
๔ - ๑.๙๔ ๔๗.๐๕ -
เฟลด์สปาร์ ๗ - ๒.๙๘ ๓๐.๕๐ -
แร่ดินขาว ๓ - ๑.๔๗ ๔.๒๗ -
ระยอง หนิ ปูนเพอื่ อุตสาหกรรมเคมี ๓ - ๑.๐๔ ๑๑๐.๗๔ -
ทรายแก้ว ๕ ๑๖ ๗๗.๓๗ ๑๓๘.๓๙ ย่ืนขอสัมปทาน
บตั รเพ่มิ ๖ แปลง
รวม ๕๖๘ ๑๐๖ ๓,๑๐๑.๔๒ ๙๘๖,๓๘๑.๙๑๓ -
หมายเหตุ: * หนว่ ยเป็น ล้านลกู บาศกเ์ มตร ** หน่วยเปน็ เมตริกตนั *** หนว่ ยเปน็ กโิ ลกรัม **** หน่วยเปน็ ตนั
ที่มา: กรมทรัพยากรธรณี (๒๕๕๑; ๒๕๕๔)
โครงการจดั ทาแผนสิง่ แวดลอ้ มในพื้นทีเ่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๗๕
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม รายงานฉบับสุดทา้ ย
ภาพท่ี ๔ - ๙๘ ขอบเขตแหล่งแร่ในพืน้ ที่เขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก
โครงการจัดทาแผนสง่ิ แวดล้อมในพนื้ ทเ่ี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๗๖
สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย
๔.๓ สถานการณพ์ ้ืนที่สาคญั ทางสิ่งแวดล้อม
๔.๓.๑ พ้ืนทีค่ มุ้ ครองส่ิงแวดลอ้ ม
การกาหนดพน้ื ทค่ี ุ้มครองสงิ่ แวดล้อมตามกฎหมายทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ประกอบด้วย
๔.๓.๑.๑ เขตพื้นท่ีคุ้มครองส่ิงแวดล้อม ตามมาตรา ๔๓-๔๕ ในพระราชบัญญัติส่งเสริมและ
รักษาคุณภาพส่ิงแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๓๕ เป็นพื้นที่อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมที่กาหนดข้ึน เพื่อใช้กลไกทาง
กฎหมายเป็นเครื่องมือในการ “ยับยั้ง” การดาเนินการหรือ “ส่งเสริม” การดาเนินการใด ๆ อันเป็นการฟ้ืนฟู
ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมในพนื้ ท่ีใดพนื้ ทห่ี นง่ึ (ดูภาพที่ ๔ - ๙๙ ประกอบ)
เจตนารมณ์ของการประกาศพื้นท่ีคุ้มครองส่ิงแวดล้อม เพ่ือป้องกันพื้นท่ีที่มีลักษณะเฉพาะ
ตามธรรมชาติ หรือมีคุณค่าทางธรรมชาติ ศิลปกรรม (พ้ืนที่ต้นน้าลาธาร พ้ืนท่ีท่ีมีระบบนิเวศตามธรรมชาติท่ี
แตกต่างจากพื้นที่อ่ืนโดยทั่วไป พื้นท่ีที่มีระบบนิเวศตามธรรมชาติ ท่ีอาจถูกทาลายหรืออาจได้รับผลกระทบ
จากกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ไดโ้ ดยง่าย พ้ืนท่ีทีม่ ีคุณค่าทางธรรมชาติหรอื ศิลปกรรมอันควรแกก่ ารอนุรักษ์) ที่
ยังไมม่ ีกฎหมายในเร่ืองของการอนรุ กั ษเ์ ขา้ มาคุ้มครองดแู ลพืน้ ที่จากการถูกทาลายหรือการได้รับผลกระทบจาก
การกระทาของมนุษย์ ควบคุมและแก้ไขปัญหาคุณภาพส่ิงแวดล้อมท่ีรุนแรงเข้าข้ันวิกฤตในพ้ืนที่ท่ีมีกฎหมายต่าง
ๆ ควบคุมอยู่แล้วให้กลับคืนสู่สภาพเดิมภายในกาหนดระยะเวลา และควบคุมการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและ
สงิ่ แวดลอ้ มใหถ้ กู ตอ้ งสอดคลอ้ งกับสภาพของพ้นื ทแ่ี ละเกดิ ประโยชน์มากทสี่ ุด
ประโยชนข์ องพ้นื ท่ีคุ้มครองส่ิงแวดล้อม
๑. เพื่ออนุรักษ์ คุ้มครอง ดูแล สงวนรักษาไว้ซึ่งความสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่ิงแวดล้อมท่ีมีอยู่ในพ้ืนท่ีที่เป็นแหล่งต้นน้าลาธาร หรือมีระบบนิเวศน์ตามธรรมชาติแตกต่างไปจากพ้ืนที่อื่น
หรืออาจได้รับผลกระทบจากกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์โดยง่าย หรือเป็นพ้ืนที่ที่มีคุณค่าทางธรรมชาติหรือ
ศิลปกรรมอันควรแก่การอนุรักษ์ และพื้นท่ีน้ันยังไม่ได้ถูกประกาศเป็นเขตอนุรักษ์ และไม่มีกฎหมายอ่ืน
คมุ้ ครอง ดูแล (ตามมาตรา ๔๓ พระราชบญั ญตั สิ ง่ เสริมและรกั ษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕)
๒. เพื่อฟื้นฟคู ุณภาพสิง่ แวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาตทิ ่เี สอื่ มโทรม จนอยู่ในภาวะวกิ ฤตให้
มีสภาพดขี ึน้ ในพื้นท่ีทไี่ ด้มกี ารกาหนดใหเ้ ป็นเขตอนรุ ักษ์ เขตผังเมืองรวม เขตผงั เมืองเฉพาะ เขตควบคมุ อาคาร
เขตนคิ มอตุ สาหกรรม หรือเขตควบคุมมลพษิ แตป่ รากฎว่ามีสภาพปญั หาคุณภาพสง่ิ แวดลอ้ มรนุ แรงเข้าขั้น
วกิ ฤต ตอ้ งรีบแก้ไขโดยทันที และสว่ นราชการท่ีเกย่ี วข้องไมม่ ีอานาจตามกฎหมายหรือไมส่ ามารถแกไ้ ขปญั หา
ได้ (ตามมาตรา ๔๕ พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕)
ในพ้ืนทเ่ี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก มีการดาเนินการประกาศพ้ืนทค่ี ุ้มครองส่ิงแวดลอ้ ม ๑
แห่ง คือ บริเวณพ้ืนท่ีอาเภอบางละมุง และ อาเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี และอยู่ระหว่างการพิจารณาของ
คณะกรรมการกฤษฎีกา จานวน ๒ เขตพ้ืนที่ ได้แก้ บรเิ วณอ่างเก็บนา้ หนองปลาไหล ดอกกราย และคลองใหญ่
จงั หวดั ระยอง และ บรเิ วณปากแมน่ า้ บางปะกง จังหวัดฉะเชงิ เทราและจังหวัดชลบุรี มรี ายละเอียดดังนี้
(๑) พ้ืนท่ีท่ีได้รับการประกาศแล้ว คือ ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่ิงแวดล้อม เร่ือง กาหนดเขตพ้ืนท่ีและมาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม ในบริเวณพ้ืนท่ี อาเภอบางละมุง
และอาเภอสัตหีบ จงั หวดั ชลบุรี พ.ศ. ๒๕๖๓ กาหนดระยะเวลาการบังคบั ใช้ ๕ ปี ต้ังแต่วันท่ี ๒๕ กรกฎาคม
๒๕๖๓ ถึงวันท่ี ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๖๘ เจตนารมณ์ของการประกาศ เพ่ือคุ้มครองทรัพยากรธรรมชาติท่ีกาลัง
โครงการจดั ทาแผนส่งิ แวดลอ้ มในพ้นื ที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๗๗
สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม รายงานฉบับสุดท้าย
เสื่อมโทรม และแก้ไขปัญหาส่ิงแวดล้อมท่ีทวีความรุนแรงอย่างต่อเนื่อง โดยประกาศกระทรวงฯ ครอบคลุม
พื้นท่ีในอาเภอบางละมุง และอาเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี และได้แบ่งพ้ืนท่ีเป็น ๒ บริเวณ คือ บริเวณที่ ๑
ได้แก่ พื้นท่ีบนแผ่นดินใหญ่ และพื้นท่ีเกาะล้าน เกาะครก และเกาะสาก บริเวณท่ี ๒ ได้แก่ พ้ืนที่น่านน้าทะเล
โดยกาหนดมาตรการบังคับใช้ ๑๗ ข้อ มีสาระสาคัญสรปุ ไดด้ ังนี้ ขอ้ ๕ ห้ามก่อสร้าง ดัดแปลง หรือเปลี่ยนการ
ใช้อาคารใด ๆ ให้เป็นอาคาร ดังต่อไปน้ี โรงงานทุกประเภท อาคารปศุสัตว์เพื่อการค้า ฌาปนสถาน ข้อ ๖
การกาหนดพื้นที่และหลักเกณฑ์ การก่อสร้าง ดัดแปลง หรือเปล่ียนการใช้อาคารใด ๆ ข้อ ๗ การกาหนด
หลักเกณฑ์การวัดความสูงของอาคาร ข้อ ๘ การกาหนดการห้ามกระทาการหรือประกอบกิจกรรม ข้อ ๙ การ
ก่อสร้าง ดัดแปลง หรือเปลี่ยนการใช้อาคารเป็นโรงแรมตามกฎหมายว่าด้วย โรงแรม อาคารอยู่อาศัยรวมตาม
กฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร อาคารชุดตามกฎหมายว่าด้วย อาคารชุด หรือหอพักตามกฎหมายว่าด้วย
หอพัก กาหนดให้มีการติดตั้งหรือจัดให้มีบ่อดักไขมันและระบบบาบัด น้าเสียก่อนปล่อยลงสู่ท่อหรือทางน้า
สาธารณะ โดยระบบและน้าเสียท่ีบาบัดแล้วต้องเป็นไปตามมาตรฐานที่กฎหมายกาหนด ข้อ ๑๐ การก่อสร้าง
ดดั แปลง หรอื เปลี่ยนการใช้อาคารเป็นโรงแรมตามกฎหมายว่าด้วย โรงแรม อาคารอยู่อาศัยรวมตามกฎหมาย
ว่าด้วยการควบคุมอาคาร หรืออาคารชุดตามกฎหมายว่าด้วย อาคารชดุ ท่ีอยู่ห่างจากแนวชายฝั่งทะเลเกินกว่า
๕๐ เมตร หรืออยู่ห่างจากแนวชายเกาะเกินกว่า ๕๐ เมตร กรณีท่ีเกาะนั้นไม่มีแนวชายฝั่งทะเล และมีจานวน
ห้องพักต้ังแต่ ๑๐ ห้อง ถึง ๒๙ ห้อง ต้องดาเนินการตามข้อกาหนดท้ายประกาศนี้ ข้อ ๑๑ การกาหนดให้
จัดทาและเสนอรายงานผลกระทบสิง่ แวดล้อมเบ้ืองตน้ หรือรายงานการประเมนิ ผลกระทบส่ิงแวดล้อม ข้อ ๑๒
ให้เจ้าของอาคารหรือโครงการหรือกิจการ ตามข้อ ๑๑ (๑) (ก) (ข) (ค) (ง) และ (จ) เฉพาะท่าเทียบเรอื ประมง
เก็บสถิติและข้อมูลแสดงผล และจัดทารายงานสรุปผลการทางานของระบบบาบัดน้าเสีย ข้อ ๑๓ การแต่งตั้ง
คณะกรรมการกากับดูแลและติดตามผลการคุ้มครองส่ิงแวดล้อมจังหวัดชลบุรี ข้อ ๑๔ กาหนดหน้าท่ีและ
อานาจของคณะกรรมการกากับฯ ในข้อ ๑๓ ส่วนข้อ ๑๕ - ข้อ ๒๑ เป็นบทเฉพาะกาลที่รองรับที่เกี่ยวกับการ
บงั คับใชก้ ฎหมาย
(๒) พื้นที่อยู่ระหว่างการดาเนินการประกาศ ๒ พื้นที่ ได้แก่
(๒.๑) ร่างกฎกระทรวงกาหนดให้พ้ืนท่ีอาเภอปลวกแดง อาเภอบ้านค่าย และอาเภอนิคม
พัฒนา จังหวดั ระยอง เป็นเขตพ้ืนท่ีคุ้มครองส่ิงแวดล้อม เจตนารมณ์ของการประกาศ เพ่ือคุ้มครองพ้ืนท่ีต้น
น้า และอ่างเก็บน้าหนองปลาไหล อ่างเก็บน้าดอกกราย และอ่างเก็บน้าคลองใหญ่ ที่ตั้งอยู่ในพื้นท่ีลุ่มน้าคลอง
ใหญ่ (แม่น้าระยอง) เป็นพื้นที่รับน้าและเก็บกักน้าท่ีไหลลงมาตามธรรมชาติ จากต้นน้าเทือกเขากองซองและ
เขาพนมศาสตร์ ซ่ึงมีแม่น้าและร่องน้าสาขาย่อยจานวนมาก เนื่องจากการพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออก
ส่งผลใหเ้ กิดการขยายตัวของชมุ ชนเมืองและการเพิ่มข้ึนของประชากรในพนื้ ที่ รวมทั้งเกิดการเปลี่ยนแปลงการ
ใช้ประโยชน์ท่ีดิน โดยมีพ้ืนท่ีอุตสาหกรรมและพื้นท่ีชุมชนท่ีอยู่อาศัยเพ่ิมข้ึน ซ่ึงการเพ่ิมขึ้นของกิจกรรมและ
ปัจจยั ดงั กล่าวส่งผลกระทบโดยตรงถงึ ศักยภาพของแหล่งน้าตน้ ทนุ ทงั้ ๓ อ่าง โดยกาหนดมาตรการห้ามกระทา
การหรือประกอบกิจการ มาตรการบริหารจัดการและกากับดูแลผลการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม และการจัดทา
แผนฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในพ้ืนที่ดังกล่าว เพื่อป้องกันและรักษาไว้เป็นแหล่งน้าดิบที่มี
คุณภาพสาหรบั การอุปโภคบรโิ ภค อตุ สาหกรรม และเกษตรกรรมในระยะยาวต่อไป ทั้งนี้ คณะรฐั มนตรไี ด้มีมติ
โครงการจัดทาแผนส่งิ แวดล้อมในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๗๘
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม รายงานฉบับสุดทา้ ย
ให้อนุมัติหลักการต่อร่างกฎกระทรวงฯ ดังกล่าวแล้ว เมื่อวันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๙ ปัจจุบันอยู่ในระหว่าง
ขัน้ ตอนการพจิ ารณาของคณะกรรมการกฤษฎกี า
(๒.๒) ร่างประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม เร่ืองกาหนดเขตพื้นท่ี
และมาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม ในท้องท่ีตาบลบางปะกง ตาบลท่าข้าม ตาบลสองคลอง อาเภอบางปะ
กง จังหวัดฉะเชิงเทรา และท้องที่ตาบลคลองตาหรุ อาเภอเมือง จังหวัดชลบุรี พ.ศ. …. เจตนารมณ์ของ
การประกาศ เน่ืองจากบริเวณปากแม่น้าบางปะกงเป็นพ้ืนท่ีเปราะบาง และมีความอุดมสมบูรณ์ เป็นระบบ
นิเวศทม่ี คี วามหลากหลายทางชวี ภาพสงู เป็นพ้นื ท่ชี ุ่มน้าท่ีมีความสาคญั ระดับชาติ เป็นที่อยอู่ าศยั แหลง่ อาหาร
ที่วางไข่และอนุบาลตัวอ่อนให้กับสัตว์และพืชนานาชนิด โดยมีรายงานการพบโลมาอย่างน้อย ๓ ชนิด ได้แก่
โลมาอิรวดีหรือโลมาหัวบาตร โลมาเผือกหรือโลมาหลังโหนก และโลมาหัวบาตรหลังเรียบ ซ่ึงแสดงถึงความ
อุดมสมบูรณ์และยังเป็นแหล่งท่องเท่ียวท่ีมีความสาคัญอีกแห่งหน่ึง ประกอบกับพื้นท่ีดังกล่าวคุณภาพ
สิ่งแวดล้อมมีแนวโน้มเสื่อมโทรมลงอย่างมากจากกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ จึงมีความจาเป็นต้องกาหนด
มาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมทีเ่ หมาะสมและสอดคล้องกบั สภาพการณ์ในปัจจุบัน และเพื่อให้เกิดความสมดุล
ในการพฒั นาควบคู่กบั การอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มในเขตพ้ืนที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อมดังกล่าว
ทั้งนี้ คณะรัฐมนตรีได้มีมติให้อนุมัติหลักการต่อร่างกฎกระทรวงฯ ดังกล่าวแล้ว เม่ือวันท่ี ๓ ตุลาคม ๒๕๖๐
ปจั จบุ นั อย่ใู นระหวา่ งข้ันตอนการพจิ ารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกา
อยา่ งไรกต็ าม ในพน้ื ที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออกยังมพี ้นื ท่ที ่ีสามารถจะประกาศเป็นพน้ื ท่ี
คุ้มครองส่ิงแวดล้อมตามหลักเกณฑ์การประกาศพื้นท่ีคุ้มครอง เป็นการประกาศตามพระราชบัญญัติส่งเสริม
และรักษาคุณภาพส่ิงแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ ท่ีกาหนดหลักเกณฑ์พื้นท่ีท่ีเข้าข่ายการประกาศตาม
มาตรา ๔๓ และมาตรา ๔๕ ได้ ทั้งพื้นที่ที่ยังคงต้องมีความสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม
เช่น พน้ื ท่ีท่ีต้องการอนุรกั ษ์เพอื่ เกษตรกรรมย่งั ยืนทจ่ี ะสง่ เสรมิ ความมั่นคงทางอาหารให้กับพื้นท่ี พืน้ ที่ทม่ี ีความ
หลากหลายทางชีวภาพ รวมทั้งพนื้ ท่ีท่มี ีสภาพปัญหาคณุ ภาพสง่ิ แวดล้อมรุนแรงเข้าขั้นวิกฤต ตอ้ งรีบแก้ไขโดย
ทันที โดยจาเป็นต้องศึกษารายละเอียดของสถานการณ์ ปัญหาและแนวทางแก้ไขเพ่ือนาไปกาหนดเป็น
มาตรการตามมาตรา ๔๔ ในพรบ.ดังกลา่ ว
๔.๓.๑.๒ การคุ้มครองทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ัง ในหมวด ๓ ในพระราชบัญญตั ิส่งเสริม
การบริหารจดั การทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ัง พ.ศ. ๒๕๕๘ ตามมาตรา ๑๘ การกาหนดป่าชายเลนอนุรกั ษ์
มาตรา ๒๐ การกาหนดพ้ืนที่คุ้มครองทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ัง มาตรา ๒๑ การกาหนดพื้นท่ีท่ีจะใช้
มาตรการในการป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง มาตรา ๒๓ การกาหนดมาตรการคุ้มครองตามมาตรา ๑๘ มาตรา
๒๐ และมาตรา ๒๒ ซง่ึ ในปัจจบุ ันในพน้ื ทเี่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก ไดม้ กี ารดาเนินการ ดังน้ี
๔.๓.๑.๓ การอนรุ ักษท์ รัพยากรทางทะเลและชายฝ่ง
นอกจากการประกาศเขตพื้นที่คุ้มครองส่ิงแวดล้อม ในพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพ
สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๓๕ ตามมาตร ๔๓ ๔๔ และ ๔๕ แล้ว ยังมีการกาหนดพื้นที่ป่าชายเลน พ้ืนท่ี
คุ้มครองทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง พื้นที่ใช้มาตรการคุ้มครองทรัพยากรปะการงั จากกจิ กรรมท่องเที่ยวดา
น้า พื้นท่ีใช้มาตรการคุ้มครองทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ัง และพื้นท่ีใช้มาตรการ ๒๑ ในการป้องกันการกัด
โครงการจดั ทาแผนสิง่ แวดลอ้ มในพ้ืนทเ่ี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๗๙
สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดท้าย
เซาะชายฝั่ง ในพระราชบัญญัติส่งเสริมการบริหารจัดการทรพั ยากรทางทะเลและชายฝ่ัง พ.ศ. ๒๕๕๘ ในพื้นท่ี
ดงั ตอ่ ไปนี้
(๑) การอนรุ กั ษ์ทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ง จังหวดั ฉะเชงิ เทรา
ร่างกฎกระทรวงกาหนดให้พื้นที่ป่าชายเลนในจังหวัดฉะเชิงเทราเป็นพ้ืนที่ป่าชายเลนอนุรักษ์
พ.ศ. .... ตามความในมาตรา ๔ และมาตรา ๑๘ ประกอบกับมาตรา ๒๓ แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมการ
บรหิ ารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง่ พ.ศ. ๒๕๕๘ เจตนารมณ์ของการประกาศ เนอื่ งจากบริเวณพื้นท่ี
ป่าชายเลนในจงั หวดั ฉะเชิงเทรา เนอ้ื ที่ประมาณ ๑,๔๗๙ ไร่ ประกอบดว้ ยทรัพยากรธรรมชาติทีส่ าคัญและมีค่า
เช่น พันธุ์ไม้ ของป่า และสัตว์ป่านานาชนิด ตลอดจนทิวทศั น์ที่สวยงาม สมควรกาหนดให้เป็นพื้นท่ีป่าชายเลน
อนุรักษ์ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ัง พ.ศ. ๒๕๕๘ รวมท้ัง
กาหนดมาตรการคุ้มครอง เพ่ือประโยชน์ในการสงวน การอนุรักษ์ และการฟ้ืนฟูพ้ืนที่ป่าชายเลนให้คงสภาพ
ธรรมชาติและมีสภาพแวดล้อมและระบบนิเวศที่มีความสมบูรณ์ ทั้งน้ี ร่างกฎกระทรวงผ่านคณะกรรมการ
ระดับชาตแิ ละเตรยี มนาเสนอ
(๒) การอนุรกั ษท์ รพั ยากรทางทะเลและชายฝ่ง จังหวัดระยอง
ร่างกฎกระทรวงกาหนดให้พื้นที่ป่าชายเลนในจังหวัดระยองเป็นพ้ืนท่ีป่าชายเลนอนุรักษ์
พ.ศ. .... ตามความในมาตรา ๔ และมาตรา ๑๘ ประกอบกับมาตรา ๒๓ แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมการ
บริหารจดั การทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง พ.ศ. ๒๕๕๘ เจตนารมณ์ของการประกาศ เนื่องจากบรเิ วณพ้ืนท่ี
ป่าชายเลนในจังหวัดระยอง เนื้อท่ีประมาณ ๑๒,๗๕๗ ไร่ ประกอบด้วยทรัพยากรธรรมชาติท่ีสาคัญและมีค่า
เช่น พันธไุ์ ม้ ของป่า และสัตว์ป่านานาชนิด ตลอดจนทิวทัศน์ที่สวยงาม สมควรกาหนดให้เปน็ พ้ืนที่ป่าชายเลน
อนุรักษ์ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ัง พ.ศ. ๒๕๕๘ รวมท้ัง
กาหนดมาตรการคุ้มครอง เพ่ือประโยชน์ในการสงวน การอนุรักษ์ และการฟื้นฟูพ้ืนท่ีป่าชายเลนให้คงสภาพ
ธรรมชาติและมีสภาพแวดล้อมและระบบนิเวศท่ีมีความสมบูรณ์ ท้ังน้ี ร่างกฎกระทรวงผ่านคณะกรรมการ
ระดับชาติและเตรยี มนาเสนอ
(๓) การอนุรักษท์ รัพยากรทางทะเลและชายฝ่ง จังหวดั ชลบุรี
ร่างกฎกระทรวงกาหนดให้พ้ืนที่ป่าชายเลนในจังหวัดชลบุรีเป็นพื้นท่ีป่าชายเลนอนุรักษ์
พ.ศ. .... ตามความในมาตรา ๔ และมาตรา ๑๘ ประกอบกับมาตรา ๒๓ แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมการ
บริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง พ.ศ. ๒๕๕๘ ทั้งน้ี ร่างกฎกระทรวงยังอยู่ระหว่างการพิจารณา
ของสานกั เลขาธิการคณะรฐั มนตรี
(๔) พ้ืนทีค่ ุ้มครองทรพั ยากรทางทะเลและชายฝ่ง
ร่างกฎกระทรวงกาหนดให้บริเวณหมู่เกาะมัน อาเภอแกลง จังหวัดระยอง เป็นเขตพื้นท่ี
คุ้มครองทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ัง พ.ศ. .... อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๒๐ และมาตรา ๒๓ แห่ง
พระราชบัญญัติส่งเสรมิ การบรหิ ารจัดการทรพั ยากรทางทะเลและชายฝงั่ พ.ศ. ๒๕๕๘ โดยพืน้ ท่ีดังต่อไปน้เี ป็น
เขตพืน้ ทใี่ ห้ใชม้ าตรการคุ้มครองทรพั ยากรทางทะเลและชายฝ่ังตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดไว้ในกฎกระทรวงนี้
(๑) บริเวณที่ ๑ ได้แก่ พื้นท่ีบนแผ่นดินนับจากแนวชายฝั่งท่ีน้าทะเลข้ึนสูงสุดเข้าไปใน
แผ่นดินของเกาะมันใน กาหนดให้เปน็ เขตอนุรักษแ์ ละการศึกษาวจิ ยั
โครงการจัดทาแผนสิง่ แวดล้อมในพื้นทีเ่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๘๐
สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ทา้ ย
(๒) บริเวณท่ี ๒ ได้แก่ บริเวณแนวปะการังของเกาะมันใน และพื้นท่ีน่านน้าทะเลภายใน
เส้นล้อมรอบต่อไปนี้ จุดที่ ๙ ๑๓๙๖๖๖๙N, ๗๙๑๖๔๘E จุดท่ี ๑๐ ๑๓๙๖๖๖๙N, ๗๙๒๙๐๒E จุดท่ี ๑๑
๑๓๙๕๐๘๘N, ๗๙๒๙๐๒E จุดที่ ๑๒ ๑๓๙๕๐๘๘N, ๗๙๑๖๔๘E กาหนดให้เป็นเขตอนุรักษ์และการ
ศกึ ษาวิจยั
(๓) บริเวณที่ ๓ ได้แก่ (ก) พื้นที่ต้ังแต่แนวน้าขึ้นสูงสุดลงมาจนถึงแนวปะการังธรรมชาติ
ของเกาะมันนอก และพื้นที่น่านน้าทะเลภายในเส้นล้อมรอบดังต่อไปนี้ จุดท่ี ๒๑ ๑๓๙๑๔๑๗N, ๗๙๓๐๗๖E
จุดที่ ๒๒๑๓๙๑๔๑๗N, ๗๙๓๗๕๙E จุดที่ ๒๓ ๑๓๙๐๕๒๑N, ๗๙๓๗๕๙E จุดท่ี ๒๔ ๑๓๙๐๕๒๑N,
๗๙๓๐๗๖E (ข) พ้ืนที่ตั้งแต่แนวน้าขึ้นสูงสุดลงมาจนถึงแนวปะการังธรรมชาติของเกาะมันกลาง และพื้นท่ี
น่านน้าทะเลภายในเส้นล้อมรอบดังต่อไปน้ี จุดที่ ๑๓ ๑๓๙๔๙๒๙N, ๗๙๒๐๕๓E จุดท่ี ๑๔ ๑๓๙๔๙๒๙N,
๗๙๒๘๐๗E จุดที่ ๑๕ ๑๓๙๓๖๑๒N, ๗๙๒๘๐๗E จุดที่ ๑๖ ๑๓๙๓๖๑๒N, ๗๙๒๐๕๓E (ค) พื้นที่ตั้งแต่แนว
นา้ ขึน้ สูงสดุ ลงมาจนถึงแนวปะการังธรรมชาติของหินฝร่ัง และพ้ืนท่ีน่านน้าทะเลภายในเส้นล้อมรอบดังต่อไปน้ี
จุดที่ ๑๗ ๑๓๙๒๑๙๕N, ๗๙๓๑๕๓E จุดที่ ๑๘ ๑๓๙๒๑๙๕N, ๗๙๓๗๐๖E จุดที่ ๑๙ ๑๓๙๑๘๖๘N,
๗๙๓๗๐๖E จุดท่ี ๒๐ ๑๓๙๑๘๖๘N, ๗๙๓๑๕๓E (ง) พ้ืนท่ีต้ังแต่แนวน้าข้ึนสูงสุดลงมาจนถึงแนวปะการัง
ธรรมชาติของหินต่อยหอย และพ้ืนที่น่านน้าทะเลภายในเส้นล้อมรอบดังต่อไปนี้ จุดที่ ๕ ๑๓๙๘๔๒๔N,
๗๙๑๓๖๘E จุดที่ ๖ ๑๓๙๘๔๒๔N, ๗๙๒๕๖๗E จุดที่ ๗ ๑๓๙๖๗๑๗N, ๗๙๒๕๖๗E จุดที่ ๘ ๑๓๙๖๗๑๗N,
๗๙๑๓๖๘E
(๔) บริเวณที่ ๔ ได้แก่ พ้ืนที่น่านน้าทะเลถัดจากบริเวณที่ ๒ และ ๓ ภายในเส้นล้อมรอบ
ดังต่อไปน้ี จุดท่ี ๑ ๑๓๙๙๓๔๙N, ๗๘๙๓๙๘E จุดที่ ๒ ๑๓๙๙๓๕๐N, ๗๙๕๙๑๙E จุดที่ ๓ ๑๓๘๗๕๘๔ N,
๗๙๕๙๑๙E จุดท่ี ๔ ๑๓๘๗๕๘๔N, ๗๘๙๓๙๗ E ท้ังนี้ ร่างกฎกระทรวงยังอยู่ระหว่างการพิจารณาของสานัก
เลขาธิการคณะรฐั มนตรี
(๕) มาตรการคุม้ ครองทรัพยากรปะการังจากกิจกรรมท่องเทย่ี วดาน้า
ร่างประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมเรื่อง มาตรการคุ้มครองทรัพยากรปะการัง
จากกิจกรรมท่องเที่ยวดาน้า พ.ศ. .... เจตนารมณ์ของการประกาศ เน่ืองด้วยปรากฏว่าแนวปะการังของ
ประเทศไทย ซง่ึ เป็นทรพั ยากรทางทะเลและชายฝั่ง อาจถูกทาลายหรือได้รับความเสยี หายอย่างร้ายแรงเขา้ ขั้น
วิกฤติจากการประกอบกิจกรรมท่องเที่ยวดาน้าในบริเวณแนวปะการัง และมีความจาเป็นอย่างย่ิงท่ีต้องมีการ
สงวน คุ้มครอง และอนรุ ักษแ์ นวปะการงั ไว้เพื่อการใช้ประโยชน์อยา่ งยง่ั ยืน อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๔
วรรคหนึ่ง และมาตรา ๒๒ แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ัง พ.ศ.
๒๕๕๘ ทงั้ นี้ ร่างกฎกระทรวงยงั อยรู่ ะหวา่ งการพจิ ารณาของสานักเลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรี
(๖) พื้นท่ีใช้มาตรการคุม้ ครองทรัพยากรทางทะเลและชายฝง่
รา่ งประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม เร่ือง มาตรการคุ้มครองทรัพยากรทางทะเล
และชายฝั่ง ในพื้นท่ีบริเวณเกาะสะเก็ด ตาบลมาบตาพุด อาเภอเมือง จังหวัดระยอง เจตนารมณ์ของการ
ประกาศ เน่ืองโดยปัจจุบันแนวปะการังและทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ังในพ้ื นท่ีเกาะสะเก็ด ตาบล
มาบตาพุด อาเภอเมือง จังหวัดระยอง อาจถูกทาลายหรือได้รับความเสียหายอย่างร้ายแรงเข้าขั้นวิกฤติจาก
การพัฒนาของนิคมอุตสาหกรรม จึงมคี วามจาเป็นอย่างยิ่งทีต่ ้องมีการสงวน ค้มุ ครอง และอนุรักษ์แนวปะการัง
โครงการจัดทาแผนสงิ่ แวดล้อมในพืน้ ทเี่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๘๑
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดท้าย
และทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งไว้เพื่อการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๔
วรรคหน่ึง และมาตรา ๒๒ แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง พ.ศ.
๒๕๕๘ เพ่ือประโยชน์ในการกาหนดมาตรการคุ้มครองทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ังให้เหมะสมและ
สอดคล้องกบั ลักษณะของพื้นท่ี ให้จาแนกพื้นทีอ่ อกเป็น ๔ บริเวณ ได้แก่
(๑) พื้นท่ีบริเวณท่ี ๑ (ก) ห้ามการทิ้งขยะมูลฝอย ส่ิงปฏิกูล ปล่อยน้าเสีย หรือทาให้เกิดมลพิษ
ที่ส่งผลทาให้คุณภาพชายหาดเส่ือมโทรมหรือเสียสภาพความเป็นธรรมชาติ ซ่ึงอาจมีผลกระทบต่อทรัพยากร
ทางทะเลและชายฝ่ัง (ข) ห้ามการก่อสร้างหรือดาเนินกิจกรรมหรือกระทาการใด ๆ ท่ีอาจเป็นอันตราย หรือ
ก่อให้เกิดผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง เว้นแต่เป็นการดาเนินการของหน่วยงานของรัฐเพื่อ
คุ้มครองทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ัง หรือเพื่อรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเลซ่ึงต้องดาเนินการเท่าที่
จาเป็น กลมกลืนกับสภาพแวดลอ้ ม ไม่เป็นการทาลายสภาพทางธรรมชาติในลักษณะท่ีไม่สามารถฟ้ืนฟูกลบั มา
ได้ดังเดิม และต้องแจ้งให้อธิบดีทราบล่วงหน้าก่อนเร่ิมดาเนินการก่อสร้างไม่น้อยกว่าสามสิบวันพร้อมย่ืนแบบ
แปลนหรือแผนผังการก่อสร้างประกอบการแจ้งด้วย (ค) ห้ามกระทาหรือดาเนินกิจกรรมใด ๆ ท่ีก่อให้เกิดการ
เปลย่ี นแปลงลกั ษณะทางธรณสี ัณฐาน หรอื สภาพทางธรรมชาติของชายหาด หรอื ทาให้ทัศนยี ภาพของชายหาด
เสียไป (ง) ห้ามกระทาด้วยประการใด ๆ ให้เป็นอันตรายต่อสัตว์และพืช เว้นแต่เป็นการดาเนินการของ
หน่วยงานของรัฐเพื่อการศึกษาวิจัย โดยแจ้งให้อธิบดีทราบล่วงหน้าก่อนเริ่มดาเนินการศึกษาวิจัยไม่น้อยกว่า
สามสิบวันพรอ้ มยื่นโครงการศึกษาวจิ ยั ประกอบการแจ้งดว้ ย
(๒) พืน้ ท่บี ริเวณท่ี ๒ (ก) ห้ามการทิ้งขยะมูลฝอย สิง่ ปฏิกลู ปล่อยน้าเสยี หรอื ทาให้เกดิ มลพษิ ที่
เป็นการทาลาย ก่อให้เกิดความเสียหาย ตลอดจนส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมของแนวปะการัง ซาก
ปะการัง กัลปังหา สัตว์น้าในแนวปะการัง หรือสัตว์ทะเลหายาก (ข) ห้ามกระทาหรือดาเนินกิจกรรมใด ๆ ที่
เปน็ การทาลาย ทาให้เสียหาย หรอื อาจเปน็ อันตราย ตลอดจนส่งผลกระทบตอ่ สภาพแวดล้อมของแนวปะการัง
ซากปะการัง กลั ปังหา สัตว์นา้ ในแนวปะการงั หรอื สัตว์ทะเลหายาก (ค) ห้ามท้ิงสมอเรอื ในบรเิ วณแนวปะการัง
กรณีท่ีประสงค์จะจอดเรือ ให้กระทาโดยวิธีการผูกเรือกับทุ่นจอดเรือในบริเวณและวิธีที่อธิบดีประกาศกาหนด
(ง) ห้ามให้อาหารสัตว์น้า (จ) ห้ามทาการประมงลอบปู ดาหอย และอวนลากทุกชนิด (ฉ) ห้ามสร้างสิ่งปลูก
สร้างใด ๆ เว้นแต่ได้รับอนุญาตตามกฎหมายท่ีเกี่ยวข้อง โดยให้ทาการก่อสร้างในบริเวณที่จะก่อให้เกิดความ
เสียหายน้อยที่สุดแก่แนวปะการัง ซากปะการัง กัลปังหา หรือสัตว์น้าในแนวปะการัง และต้องแจ้งให้อธิบดี
ทราบล่วงหน้าก่อนเริ่มดาเนินการก่อสร้างไม่น้อยกว่าสามสิบวันพร้อมย่ืนแผนผังบริเวณ แบบแปลน และ
รายการประกอบแบบแปลนประกอบการแจ้งด้วย
(๓) พ้นื ทบี่ ริเวณที่ ๓ (ก) ห้ามการท้งิ ขยะมลู ฝอย ส่ิงปฏกิ ูล ปล่อยน้าเสยี หรือทาให้เกดิ มลพิษท่ี
เป็นการทาลาย ก่อให้เกิดความเสียหาย ตลอดจนส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมของแนวปะการัง ซาก
ปะการัง กัลปังหา สัตว์น้าในแนวปะการัง หรือสัตว์ทะเลหายาก (ข) ห้ามกระทาหรือดาเนินกิจกรรมใด ๆ ท่ี
เปน็ การทาลาย ทาใหเ้ สียหาย หรอื อาจเปน็ อันตราย ตลอดจนสง่ ผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมของแนวปะการัง
ซากปะการัง กัลปังหา สัตว์น้าในแนวปะการัง หรือสัตว์ทะเลหายาก (ค) ห้ามการทาประมงลอบปู ดาหอย
และอวนลากทุกชนิด (ง) ห้ามการขุด การถมทะเล การขุดลอกร่องน้า หรือการกอ่ สร้างทุกชนดิ ลงทะเล เว้นแต่
เป็นการดาเนินโครงการของหน่วยงานของรฐั เพือ่ ประโยชน์ตอ่ ทางราชการ และเพ่ือประโยชน์สาธารณะ หรือ
โครงการจัดทาแผนสิ่งแวดล้อมในพ้นื ที่เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๘๒
สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รายงานฉบับสดุ ท้าย
การดาเนินการเพ่ือความปลอดภัยในการเดินเรือ โดยจัดให้มาตรการป้องกันตะกอนที่เกิดขึ้นและต้องไม่
กอ่ ใหเ้ กิดความเสยี หายหรอื ความเปลีย่ นแปลงตอ่ ระบบนเิ วศของทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง่
(๔) พืน้ ทบี่ ริเวณที่ ๔ (ก) ห้ามทาใหเ้ กิดมลพิษ และเททิ้งของเสีย ที่ส่งผลทาใหค้ ุณภาพชายหาด
เสื่อมโทรมหรือเสียสภาพความเป็นธรรมชาติ ซ่ึงอาจมีผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (ข) ห้าม
กระทาหรือดาเนินกิจกรรมใด ๆ ท่ีก่อให้เกิดการเปล่ียนแปลงลักษณะทางธรณีสัณฐาน หรือสภาพทาง
ธรรมชาติของชายหาด หรือทาให้ทัศนียภาพของชายหาดเสียไป เว้นแต่การดาเนินโครงการของหน่วยงานของ
รัฐเพื่อประโยชน์ต่อทางราชการและเพื่อประโยชน์สาธารณะ ในการคุ้มครองทรัพยากรทางทะเลและช ายฝั่ง
ทง้ั น้ี ดาเนนิ การเท่าท่ีจาเป็น กลมกลนื กับสภาพแวดล้อม ไมเ่ ป็นการทาลายสภาพทางธรรมชาติในลักษณะที่ไม่
สามารถฟื้นฟูกลับมาได้ดังเดิม และต้องแจ้งให้อธิบดีทราบล่วงหน้าก่อนเร่ิมดาเนินการไม่น้อยกว่าสามสิบวัน
พร้อมยื่นแบบโครงการและแผนดาเนินการประกอบการแจ้งด้วย (ค) ห้ามกระทาหรือดาเนินกิจกรรมใด ๆ ที่
ทาให้เกดิ ตะกอนลงสู่แนวปะการังซึ่งอาจมีผลกระทบต่อแนวปะการัง (ง) การเปล่ียนแปลงสภาพพ้ืนที่และการ
ปรับภูมิทัศน์ซ่ึงอาจมีผลกระทบต่อชายหาดต้องจัดให้มีมาตรการป้องกันตะกอนดินไหลลงทะเลรวมท้ัง
มาตรการป้องกันการปนเปื้อนของฝุ่นและวัสดุลงสู่ชายฝ่ัง ชายหาดและทะเล ท้ังน้ีต้องดาเนินการเท่าที่จาเป็น
กลมกลนื กบั สภาพแวดลอ้ มไมเ่ ปน็ การทาลายสภาพทางธรรมชาติในลักษณะทไ่ี ม่สามารถฟนื้ ฟูกลับมาไดด้ ังเดิม
และต้องแจ้งให้อธิบดีทราบล่วงหน้าก่อนเร่ิมดาเนินการไม่น้อยกว่าสามสิบวันพร้อมยื่นแบบโครงการและแผน
ดาเนินการประกอบการแจ้งดว้ ย ท้งั นี้ รา่ งกฎกระทรวงผา่ นคณะกรรมการระดบั ชาตแิ ละเตรยี มนาเสนอ
(๗) พน้ื ทใี่ ช้มาตรการในการปอ้ งกนั การกดั เซาะชายฝง่
ร่างกฎกระทรวงกาหนดเขตพื้นท่ีเขตการปกครองพิเศษพัทยา อาเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี เป็น
พ้ืนท่ีใช้มาตรการในการป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง พ.ศ. .... เจตนารมณ์ของการประกาศ เน่ืองในปัจจุบัน
ปัญหาการกัดเซาะชายฝ่ังมีความรุนแรงและเป็นอันตรายต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน จึงมีการ
ดาเนินการแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทีไ่ ม่เหมาะสม โดยไม่คานึงถงึ สภาพทางธรรมชาตขิ องพ้ืนที่ ซึ่งทาให้
เกิดการรบกวนสมดุลของตะกอนชายฝั่งจนอาจทาให้เสถียรภาพชายฝ่ังพังลง ส่งผลกระทบต่อทรัพยากรทาง
ทะเลและชายฝ่ัง ชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน ประกอบกับปัจจบุ ันไม่มีมาตรการที่ใช้ในการป้องกันการกัด
เซาะชายฝั่ง มาตรการเพื่อรักษาความสมบูรณ์ของสภาพธรรมชาติชายฝั่งและการกาหนดไม่ให้มีกิจกรรมของ
มนุษย์เข้าไปเก่ียวข้องหรือรบกวนเสถียรภาพชายฝ่ัง ดังนั้น จึงจาเป็นต้องออกกฎกระทรวงโดยอาศัยอานาจ
ตามความในมาตรา ๔ และ มาตรา ๒๑ แห่งพระราชบัญญัติส่งเสรมิ การบรหิ ารจัดการทรัพยากรทางทะเลและ
ชายฝ่ัง พ.ศ. ๒๕๕๘ โดยให้พ้ืนท่ีตั้งแต่แนวชายฝั่งทะเลออกไปในทะเลเป็นระยะ ๑,๐๐๐ เมตร ของเขตการ
ปกครองพิเศษพัทยา อาเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี ภายในแนวเขตตามแผนท่ีแนบท้ายกฎกระทรวงเป็นเขต
พ้ืนท่ีใช้มาตรการในการป้องกันการกัดเซาะชายฝ่ัง ท้ังน้ี ร่างกฎกระทรวงผ่านคณะกรรมการระดับชาติและ
เตรยี มนาเสนอ
โครงการจัดทาแผนส่งิ แวดลอ้ มในพื้นทีเ่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๘๓
สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสุดทา้ ย
ภาพท่ี ๔ - ๙๙ ขอบเขตพื้นทค่ี ุม้ ครองส่ิงแวดล้อมและเขตควบคมุ มลพิษ ตามพระราชบัญญตั ิส่งเสรมิ และ
รกั ษาคุณภาพส่งิ แวดลอ้ มแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ และขอบเขตพื้นที่คมุ้ ครองทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ง
ตามพระราชบัญญตั สิ ่งเสรมิ การบรหิ ารจดั การทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ง พ.ศ. ๒๕๕๘
โครงการจัดทาแผนสิง่ แวดล้อมในพ้ืนท่ีเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๘๔
สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม รายงานฉบับสุดทา้ ย
๔.๓.๒ เขตควบคุมมลพษิ
๔.๓.๒.๑ เขตควบคุมมลพิษเขตเมอื งพัทยา จังหวดั ชลบุรี
ประกาศคณะกรรมการส่ิงแวดล้อม ฉบับที่ ๑ (พ.ศ.๒๕๓๕) ออกตามความในพระราชบัญญัติ
ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ เรื่อง กาหนดให้ท้องที่เขตเมืองพัทยาเป็น
เขตควบคุมมลพษิ โดยต้ังแต่วนั ที่ ๗ สงิ หาคม ๒๕๓๕ เป็นต้นมา
ทั้งนี้เมืองพัทยาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้ร่วมกันจัดทาและดาเนินการตามแผนปฏิบัติการ
เพ่ือลดและขจัดมลพิษของเขตควบคุมมลพิษเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ –
๒๕๕๙ ซ่ึงสามารถลดและขจัดมลพิษของเมืองพัทยาได้ในระดับหนึ่ง และเพ่ือให้การดาเนินการเป็นไปตาม
พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๖๐ ใน พ.ศ. ๒๕๕๙
เมืองพัทยาจึงได้จดั ทาแผนปฏิบัติการเพ่ือลดและขจดั มลพิษของเขตควบคุมมลพิษเมืองพัทยาฯ ปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔ (สานักงานทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมจงั หวดั ฉะเชิงเทรา, ๒๕๕๙) ภายใตก้ าร
สนับสนุนด้านเทคนิควิชาการจากกรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยมี
วัตถุประสงค์ ๑) เพ่ือลดปริมาณการระบายมลพิษจากแหล่งกาเนิด ๒) เพื่อบาบัดและกาจัดมลพิษท่ีถูกปล่อย
ออกสู่ส่ิงแวดล้อมอย่างถูกหลักวิชาการ ๓) เพื่อเฝ้าระวังคุณภาพส่ิงแวดล้อมในพ้ืนที่อย่างต่อเนื่องสม่าเสมอ
และ ๔) เพ่ือสง่ เสริมการมสี ่วนของประชาชนและทุกภาคสว่ นในการจดั การมลพิษ ซึง่ เป้าหมายและตัวชว้ี ัดของ
การจัดทาแผนปฏิบัติการฯ ๑) น้าทะเลชายฝงั่ ของเมืองพัทยาได้รับการติดตามตรวจสอบและเฝ้าระวังคุณภาพ
นา้ เป็นประจาทุกปีและมีคุณภาพอยูใ่ นเกณฑ์ดี ๒) นา้ เสียทีเ่ กิดขึ้นได้รับการบาบัด ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ ๙๐ และ
๓) ขยะมูลฝอยท่ีเกดิ ขนึ้ ไดร้ ับการจดั การถูกหลกั วิชาการ รอ้ ยละ ๑๐๐
(๑) สถานการณ์คณุ ภาพสิ่งแวดลอ้ มในเขตควบคมุ มลพษิ จงั หวัดชลบุรี
ในแผนปฏิบัติการเพื่อลดและขจัดมลพิษในเขตควบคุมมลพิษเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี
พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔ ได้มีการจดั ทารายงานสถานการณส์ ่งิ แวดลอ้ มในเขตควบคุมมลพิษจังหวัดชลบรุ ี ดังนี้
(๑.๑) สถานการณป์ ญหามลพิษทางนา้
- ระบบบาบัดน้าเสียรวมของชุมชนเมืองพัทยาทางานไม่เต็มประสิทธิภาพเนื่องจาก
มีปริมาณน้าเสียเข้าสู่ระบบสูงกว่าความสามารถของระบบจะรับได้ เคร่ืองจักรอุปกรณ์ใช้งานมานาน และมี
งบประมาณเพื่อการซอ่ มแซมบารงุ ไม่เพียงพอ ซ่งึ ทาให้ประสิทธิภาพในการบาบัดน้าเสียลดลง และคุณภาพน้า
ท้ิงมีค่าเกนิ มาตรฐาน
- เริ่มเกิดปัญหาการระบายน้าเสียลงทะเล สาเหตุมาจากท่อรวบรวมน้าเสียมี
ขนาดเล็ก และมักเกิดการอุดตันในเส้นท่อ มีผลทาให้ระบบรวบรวมน้าเสียมีประสิทธิภาพลดลง ไม่สามารถ
รองรับปริมาณนา้ เสยี ท่ีเพมิ่ มากข้ึน
- การขยายระบบไมท่ นั ต่อปรมิ าณนา้ เสียทเี่ กดิ ขน้ึ เน่อื งจากการเพ่ิมประสิทธิภาพ
การปรับปรุงประสทิ ธภิ าพระบบบาบดั นา้ เสียต้องอาศยั รฐั บาลอุดหนุน ซึง่ ตอ้ งใชเ้ วลา
- สภาพพ้ืนท่ีท่ีมกี ารขยายตัวของกิจกรรมอย่างหนาแน่นอาจเป็นอุปสรรคต่อการ
ก่อสร้างท่อรวบรวมนา้ เสยี เพิ่มเติมเพื่อที่จะส่งเข้าสู่ระบบบาบัดทีม่ ีการกอ่ สร้างแล้ว ทาให้น้าเสียบางส่วนไม่ได้
รบั การบาบัด
โครงการจัดทาแผนสิ่งแวดล้อมในพ้ืนท่ีเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๘๕
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม รายงานฉบับสดุ ท้าย
- การจัดเก็บค่าบริการบาบัดน้าเสียเพียงพอเฉพาะการเดินระบบและบารุงรักษา
ระบบเทา่ นัน้
(๑.๒) สถานการณ์ขยะมูลฝอยและของเสียอนั ตาย
เนือ่ งจากเมอื งพทั ยาเป็นเมอื งท่องเท่ียวท่ีมีช่ือเสียง เปน็ ที่รู้จกั ท้ังชาวไทยและชาวตา่ งชาติ มี
นักท่องเที่ยวเดินทางมาท่องเที่ยวแต่ละปีจานวนมาก ส่งผลให้ปริมาณขยะเพิ่มสูงขึ้นเร่ือย ๆ ต้องเสียค่าใช้จ่าย
ในการว่าจ้างบริษัทเอกชนขนขยะท่ีเกิดข้ึนไปกาจัด ณ บริษัท ทีพีไอ โพลีน จากัด จังหวัดสระบุรี ปีละกว่า
๒๐๐ ล้านบาท และปริมาณขยะสะสมในพื้นที่เกาะล้าน เนื่องจากไม่สามารถขนส่งขยะมูลฝอยข้ึนมาบนฝ่ังได้
ในบางชว่ งเวลาทีอ่ ากาศแปรปรวนหรือเรอื ชารดุ
(๒) แผนปฏบิ ัติการเพ่ือลดและขจดั มลพิษในเขตควบคุมมลพิษเมอื งพัทยา
แผนปฏิบัติการเพ่ือลดและขจัดมลพิษในเขตควบคุมมลพิษเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี พ.ศ.
๒๕๖๐ – ๒๕๖๔ แบ่งเป็น ๖ แผนงานย่อย ประกอบด้วย (๑) แผนงานบาบัดฟื้นฟู (๒) แผนงานบังคับใช้
กฎหมาย (๓) แผนงานสรา้ งจิตสานกึ และความตระหนัก (๔) แผนงานเฝา้ ระวังและปอ้ งกนั (๕) แผนงานศึกษา
เชงิ ปฏิบัติ และ (๖) แผนงานตดิ ตามและประเมินผล มีจานวนทั้งหมด ๒๙ โครงการ/กิจกรรม ซ่ึงมีรายละเอยี ด
ดังต่อไปน้ี
(๒.๑) แผนงานบาบัด ื้น ู ประกอบด้วยด้านน้า ๖ แผนงาน/โครงการ และด้านขยะ ๒
แผนงาน/โครงการ ดงั นี้
แผนงานบาบัด ้นื ูดา้ นน้า
๑) เพ่ิมประสิทธิภาพระบบรวบรวมและบาบัดน้าเสียซอยวัดหนองใหญ่ โดยการ
จดั ทารายงานการวเิ คราะห์ผลกระทบส่ิงแวดล้อม และกอ่ สร้างเพิ่มประสทิ ธิภาพระบบรวบรวมและบาบัดนา้ เสีย
๒) เพิ่มประสิทธิภาพระบบระบายน้าเสียในพื้นที่เมืองพัทยา โดยการศึกษา
ออกแบบระบบระบายน้าเสยี และกอ่ สรา้ งเพิ่มประสิทธิภาพระบบระบายน้าเสยี
๓) เพิ่มประสิทธิภาพระบบรวบรวมและบาบัดน้าเสียในพื้นท่ีเกาะล้าน โดย
การศกึ ษาออกแบบระบบรวบรวมและระบบบาบัดน้าเสีย และกอ่ สร้างระบบรวบรวมและบาบัดนา้ เสยี
๔) ก่อสร้างระบบรวบรวมและบาบัดน้าเสียในพ้ืนที่ใกล้เคียง ๔.๑) ทต.นาจอม
เทียน โดยการปรับปรุงผลการศึกษาออกแบบระบบรวบรวมและบาบัดน้าเสีย และก่อสร้างระบบรวบรวมและ
บาบัดน้าเสีย ๔.๒) ทต.หนองปรือ โดยการศึกษาออกแบบระบบรวบรวมและบาบัดน้าเสีย และก่อสร้างระบบ
รวบรวมและบาบดั นา้ เสีย
๕) โครงการบาบัดน้าเสียตามแนวชายฝ่ังนาจอมเทียน โดยการศกึ ษาออกแบบการ
รวบรวมนา้ เสยี ตามแนวชายฝ่ังนาจอมเทยี นเข้าสรู่ ะบบบาบัดน้าเสียซอยวดั บุญย์กญั จนาราม และกอ่ สรา้ งระบบ
รวบรวมนา้ เสยี
๖) ก่อสร้างระบบบาบัดน้าเสียแบบ onsite/cluster ในชุมชนหนาแน่นท่ีไม่มีท่อ
รวบรวมน้าเสียเข้าระบบบาบัดน้าเสียรวม โดยการศึกษาออกแบบก่อสร้างระบบบาบัดน้าเสีย และก่อสร้าง
ระบบบาบดั นา้ เสีย
โครงการจัดทาแผนสิ่งแวดลอ้ มในพน้ื ทเี่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๘๖
สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม รายงานฉบับสดุ ท้าย
แผนงานบาบดั น้ื ดู ้านขยะ
๑) ก่อสร้างศูนย์กาจัดขยะมูลฝอยแห่งใหม่ตาม Roadmap ของจังหวัดชลบุรี โดย
การศกึ ษากาหนดแนวทางการดาเนินงาน และก่อสรา้ งศนู ยก์ าจดั ขยะมลู ฝอย
๒) จัดการขยะมูลฝอยบนเกาะล้าน โดยการศึกษารูปแบบท่ีเหมาะสมการจัดการ
ขยะมูลฝอยในพ้ืนท่ีเกาะล้าน และออกแบบรายละเอียด จัดทารายงานผลกระทบส่ิงแวดล้อมเบื้องต้น (IEE) /
รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบส่ิงแวดลอ้ ม (EIA) ระบบกาจัดขยะมูลฝอย ก่อสร้างระบบกาจัดขยะมูลฝอย และ
จดั การขยะมูลฝอยตกคา้ ง ประมาณ ๓๐,๐๐๐ ตนั
(๒.๒) แผนงานบงั คบั ใช้กฎหมาย ประกอบดว้ ย ๗ แผนงาน/โครงการ
๑) ออกข้อบัญญัติหรือประกาศเมืองพัทยาว่าด้วย การลดและคัดแยกขยะมูลฝอย
จากแหล่งกาเนิด เพ่ือนากลับมาใช้ประโยชน์, การจัดเก็บค่าธรรมเนียมกาจัดขยะมูลฝอย และกาหนดให้
บ้านเรือนและสถานประกอบการในเขตเมืองพัทยา ต่อเช่ือมท่อระบายน้าเสียกับท่อรวบรวมน้าเสียของเมือง
พทั ยาและจ่ายคา่ ธรรมเนยี ม
๒) บูรณาการการบังคับใช้กฎหมายในการระบายน้าทิ้งและการจัดการขยะให้
ครอบคลุม กฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร, กฎหมายว่าด้วยโรงแรม, กฎหมายว่าด้วยการจัดสรรท่ี ดิน,
กฎหมายว่าด้วยการส่งเสรมิ และรกั ษาคุณภาพสง่ิ แวดล้อม และกฎหมายวา่ ด้วยการสาธารณสขุ
๓) ติดตามตรวจสอบการระบายน้าเสียจากสถานประกอบการท่ีไม่ได้เช่ือมต่อท่อ
ระบายนา้ เสยี รวมของเมืองพัทยา
๔) ควบคุมการดัดแปลงอาคารมาเป็นโรงแรมให้มีการจัดการน้าเสีย และขยะมูล
ฝอยทเี่ กดิ ขึ้น
๕) ตรวจสอบการดาเนินการตามมาตรการในรายงาน EIA/IEE ของแหล่งกาเนิด
มลพษิ
๖) กากับดูแลให้เจ้าของโครงการจัดทารายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการในรายงาน
EIA/IEE สง่ ให้ ทสจ. สผ.
๗) กากับการขอต่อใบอนุญาตโรงแรมให้ผู้ประกอบการต้องแนบรายงานผลการ
ปฏิบัติตามมาตรการในรายงาน EIA/IEE ในการยื่นขอต่อใบอนุญาต และต้องตรวจสอบการปฏิบัติตาม
มาตรการ ที่กาหนดไว้ในรายงาน EIA/IEE กอ่ นการตอ่ ใบอนุญาต
(๒.๓) แผนงานสร้างจติ สานกึ และความตระหนัก ประกอบดว้ ย ๓ แผนงาน/โครงการ
๑) รณรงค์สร้างจิตสานึกการมีส่วนร่วมในการลด และคัดแยกขยะมูลฝอยจาก
แหลง่ กาเนดิ พืน้ ทเี่ มืองพัทยาและเกาะลา้ น
๒) รณรงค์ส่งเสริมให้ประชาชน ผู้ประกอบการใช้น้าอย่างประหยัด ลดปริมาณ
ความสกปรกของน้าทง้ิ และการนานา้ กลบั มาใช้ประโยชน์
๓) สร้างความรู้ความเข้าใจและส่งเสริมการปฏิบัติตามกฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกับ
มลพิษแกผ่ ้ปู ระกอบการและแหลง่ กาเนิดมลพิษ
โครงการจัดทาแผนส่ิงแวดล้อมในพ้ืนที่เขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๘๗
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม รายงานฉบับสดุ ท้าย
(๒.๔) แผนงานเฝา้ ระวังและปอ้ งกนั ประกอบด้วย ๓ แผนงาน/โครงการ
๑) ตดิ ตามตรวจสอบคุณภาพนา้ ทะเลชายฝ่งั เมืองพทั ยา
๒) ติดตามตรวจสอบคุณภาพนา้ ทะเลชายฝั่งเมืองพทั ยา (งบดาเนนิ งาน)
๓) ติดตามตรวจสอบคุณภาพอากาศในพื้นที่เมืองพัทยาโดยรถตรวจวัดคุณภาพ
อากาศเคล่ือนท่ี
(๒.๕) แผนงานศึกษาเชิงปฏิบัติ ประกอบด้วย ๔ แผนงาน/โครงการ
๑ ) ศึกษ าศักยภ าพ การรองรับ (Carrying Capacity) เพื่ อกาหน ดป ริมาณ
นักท่องเทย่ี ว/มาตรการรองรบั
๒) ศกึ ษาท่ีมาของสารตะกว่ั และปรอทในนา้ ทะเลชายฝ่ัง
๓) ศึกษาวิจยั การปรับปรุงประสทิ ธภิ าพระบบบาบัดน้าเสียเกาะล้านรองรับนา้ เคม็
๔) ปรับปรุงข้อมูลแหล่งกาเนิดมลพิษ
(๒.๖) แผนงานตดิ ตามและประเมินผล ประกอบด้วย ๒ แผนงาน/โครงการ
๑) กากับดูแลและติดตามการดาเนินงานตามแผนปฏิบัตกิ ารเพื่อลดและขจัดมลพษิ ฯ
ในพ้ืนที่เขตควบคุมมลพษิ
๒) ตดิ ตามประเมินผลการดาเนินงานพ้ืนท่ีเขตควบคมุ มลพษิ
๔.๓.๒.๒ เขตควบคมุ มลพิษ จังหวัดระยอง
ประกาศคณะกรรมการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับท่ี ๓๒ (พ.ศ. ๒๕๕๒) เร่ือง กาหนดให้ท้องท่ี
เขตตาบลมาบตาพุด ตาบลห้วยโป่ง ตาบลเนินพระ และตาบลทับมา อาเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง ทั้ง
ตาบล ตาบลมาบข่า อาเภอนิคมพัฒนา จังหวัดระยอง ท้ังตาบล และตาบลบ้านฉาง อาเภอบ้านฉาง จังหวัด
ระยอง ทงั้ ตาบล รวมท้ังพ้ืนทท่ี ะเลภายในแนวเขตเป็นเขตควบคุมมลพษิ
ท้ังน้ีจังหวัดระยองได้ดาเนินการตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม
แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ โดยจดั ทาแผนปฏิบตั ิการเพ่อื ลดและขจัดมลพิษในเขตควบคุมมลพิษจังหวัดระยอง พ.ศ.
๒๕๖๐ – ๒๕๖๔ ต่อมาได้มีการทบทวนและปรับปรุงแผนปฏิบัติการฯ ให้สอดคล้องกับสถานการณ์
เป็นระยะ ๆ ใน พ.ศ. ๒๕๖๑ และ พ.ศ. ๒๕๖๔ ไดม้ ีการปรับปรุงแผนปฏิบัติการฯ โดยใน พ.ศ. ๒๕๖๔ ได้ปรับ
เพ่ิมระยะเวลาของแผนปฏิบัติการฯ เป็น พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๖ เพ่ือให้ครอบคลุมระยะเวลาการดาเนินงาน
โครงการสาคัญ ๆ ที่จะส่งผลต่อการแก้ไขปัญหามลพิษในพ้ืนท่ี โดยมีวัตถุประสงค์ ๑) เพื่อใช้เป็นกรอบและ
แนวทางในการควบคุม ลดและขจัดมลพิษในเขตควบคุมมลพิษ จังหวัดระยอง มลพิษของประเทศท่ีทันต่อ
สถานการณ์ และ ๒) เพื่อเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการควบคุม ลดและขจัดมลพิษในเขต
ควบคุมมลพษิ จังหวดั ระยอง ทมี่ ีการกาหนดเป้าหมาย ทิศทาง และผลักดันการดาเนินการใหเ้ กดิ ผลร่วมกัน ซึ่ง
เป้าหมายของแผนปฏิบัติการเพื่อลดและขจัดมลพิษในเขตควบคุมมลพิษ จังหวัดระยอง พ.ศ.๒๕๖๐ - ๒๕๖๖
๑) คุณภาพส่ิงแวดล้อมดีขึ้นและอยู่ในเกณฑ์ที่กาหนดไว้ และ ๒) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงาน
ราชการที่เกย่ี วข้อง ผปู้ ระกอบการ ภาคเอกชน และภาคส่วนอ่ืน ๆ มีส่วนร่วมในการจัดการมลพิษเพิ่มข้ึน
โครงการจดั ทาแผนสงิ่ แวดลอ้ มในพนื้ ที่เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๘๘
สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม รายงานฉบบั สุดท้าย
(๑) สถานการณ์คณุ ภาพสิ่งแวดลอ้ มในเขตควบคมุ มลพษิ จงั หวดั ระยอง
ในแผนปฏิบัติการเพ่ือลดและขจัดมลพิษในเขตควบคุมมลพิษจังหวัดระยอง พ.ศ. ๒๕๖๐ –
๒๕๖๔ ได้มีการจัดทารายงานสถานการณส์ ่ิงแวดล้อมในเขตควบคมุ มลพิษจงั หวัดระยอง ดังนี้
สถานการณ์คณุ ภาพนา้ ผวิ ดนิ ในคลองสาธารณะ ผลการติดตามสถานการณ์คุณภาพนา้ ผิวดิน
ในคลองสาธารณะพิจารณาโดยใช้ดัชนีคุณภาพน้า (Water Quality Index: WQI) ในพื้นท่ีนิคมอุตสาหกรรม
มาบตาพุดและบริเวณใกล้เคียง จานวน ๑๔ สาย ระหว่าง พ.ศ. ๒๕๕๒ – ๒๕๖๓ พบว่า คุณภาพน้าที่อยู่ใน
เกณฑ์เสื่อมโทรม มีจานวน ๑๐ สาย ได้แก่ คลองพยูน คลองบางกระพรุน คลองบางเบิด คลองชากหมาก
คลองตากวน คลองทับมา คลองหนองผักหนาม คลองกระเฉด คลองหนองคล้า และคลองน้าตก และคณุ ภาพ
น้าที่อยู่ในเกณฑ์เส่ือมโทรมมาก มีจานวน ๔ สาย ได้แก่ คลองน้าหู คลองห้วยใหญ่ คลองหลอด และคลองน้า
ดา ทั้งนี้ ใน พ.ศ. ๒๕๖๓ มีคลองสาธารณะในพ้ืนท่ีมีคุณภาพน้าอยู่ในเกณฑ์ดี จานวน ๒ คลอง ได้แก่
คลองบางกระพรุน และคลองกระเฉด
สถานการณ์คุณภาพน้าใต้ดิน ผลการติดตามสถานการณ์คุณภาพน้าใต้ดิน จากการติดตาม
คุณภาพน้าบ่อตื้นของประชาชนในพื้นที่เขตควบคุมมลพิษจังหวัดระยอง โดยการตรวจสอบคุณภาพน้าบ่อต้ืน
ในพ้ืนท่ีมาบตาพุดและพื้นที่ใกล้เคียง จานวน ๒ ครั้งต่อปี จานวน ๓๙ บ่อ รวม ๗๘ ตัวอย่าง พิจารณาเทียบ
กับมาตรฐานคุณภาพน้าใต้ดินตามประกาศคณะกรรมการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับท่ี ๒๐ (พ.ศ. ๒๕๔๓)
ผลการตรวจวัด ระหว่าง พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๖๓ พบพารามิเตอร์ ท่ีสูงเกินค่ามาตรฐานคุณภาพนา้ ใตด้ ิน ได้แก่
แมงกานีส 1,2-ไดคลอโรอีเทน และคาร์บอนเตตระคลอไรด์ และเหล็ก เกินค่ามาตรฐานคุณภาพน้าบาดาลเพื่อ
การบริโภค สารอินทรีย์ระเหยง่ายท่ีเกินค่ามาตรฐาน ได้แก่ 1,2-ไดคลอโรอีเทน และคาร์บอนเตตระคลอไรด์
เกินค่ามาตรฐานคุณภาพน้าใต้ดินในบริเวณชุมชนโขดหิน โดยมีแนวโน้มลดลงแต่ยังคงเกินค่ามาตรฐาน
คอ่ นข้างสูง
สาหรับโลหะหนักที่พบเกินค่ามาตรฐานคุณภาพน้าใต้ดิน ได้แก่ แมงกานีส และเหล็กเกินค่า
มาตรฐานคุณภาพน้าบาดาลเพ่ือการบริโภค โดยเกินค่ามาตรฐานค่อนข้างสูง บริเวณที่พบค่าโลหะหนักเกินค่า
มาตรฐาน ได้แก่ ชุมชนซอยรว่ มพัฒนา วัดมาบชลูด วดั มาบตาพุด และบา้ นพยูน
ท้ังนี้ โลหะหนักท่ีมีค่าสูง (แมงกานีส เหล็ก และสารหนู) เน่ืองมาจากสภาพทางธรณีวทิ ยาตาม
ธรรมชาติ สาหรับการปนเปือ้ นสารอินทรยี ์ระเหยงา่ ยทีต่ รวจพบเกนิ มาตรฐานคุณภาพนา้ ใต้ดินในบอ่ นา้ ต้ืนของ
ประชาชน กรมควบคุมมลพิษได้แจ้งขอ้ มูลผลการตรวจวัดและให้คาแนะนาแกป่ ระชาชน ซึง่ ประชาชนในพื้นที่
ดังกล่าวไม่ได้นาน้าจากบ่อท่ีตรวจพบการปนเป้ือนสูงเกินมาตรฐานมาใช้บริโภคและอุปโภค โดยประชาชนใช้
นา้ ประปาในการบรโิ ภคและอุปโภค
สถานการณ์น้าทะเลชายฝง่ และตะกอนดิน ผลการติดตามสถานการณ์คณุ ภาพนา้ ทะเลชายฝ่ัง
ในเขตควบคุมมลพิษจังหวัดระยอง บริเวณนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด และพื้นที่ใกล้เคียง ได้มีการเก็บ
ตวั อย่างน้าทะเล จานวน ๒๒ จุด ตะกอนดนิ ๕ จดุ และสมุ่ เก็บตวั อย่างสัตว์น้าทะเลบางชนิดทีเ่ ป็นตัวแทนของ
ห่วงโซ่อาหารครอบคลุมพ้ืนที่ต้ังแต่บริเวณปากคลองบางกะพรุน ปากคลองบางเบิด จุดระบายน้าโรงไฟฟ้า
โกลว์ภายในท่าเทียบเรือ จุดสูบน้าเข้าและออกของระบบระบายความร้อนโรงไฟฟ้าบีแอลซีพี ปากคลองชาก
หมาก หาดทรายทองบริเวณกระชังเล้ยี งหอย และปากคลองตากวน
โครงการจดั ทาแผนสง่ิ แวดลอ้ มในพนื้ ท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๘๙
สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม รายงานฉบับสดุ ทา้ ย
ผลการติดตามสถานการณ์คุณภาพน้าทะเลชายฝ่ัง ระหว่าง พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๖๓ พบว่า
คุณภาพน้าทะเลชายฝ่ัง ส่วนใหญ่อยู่ในระดับเสื่อมโทรม และพอใช้ โดยคุณภาพน้าทะเลชายฝั่งอยู่ในเกณฑ์
พอใช้ พบในบริเวณจุด ปากคลองบางกะพรุน ระบายน้าโรงไฟฟ้าโกลว์ภายในท่าเทียบเรือ จุดสูบน้าเข้าและ
ออกของระบบระบายความร้อนโรงไฟฟา้ บแี อลซีพี และหาดทรายทอง และคุณภาพน้าทะเลชายฝั่งอยู่ในเกณฑ์
เสื่อมโทรม พบในบริเวณจุดปากคลองตากวนและปากคลองชากหมากส่วนใหญ่
ทั้งน้ีใน พ.ศ. ๒๕๖๓ สถานการณ์คุณภาพน้าชายฝ่ังจากผลการคานวณดัชนีคุณภาพน้าทะเล
(MWQI) จานวน ๒๒ จุด ส่วนใหญ่อยใู่ นระดับดแี ละพอใช้ พบระดับเสื่อมโทรม ๑ จุด หาดสุชาดา อยู่ในพ้ืนที่
เขตควบคุมมลพิษ พารามิเตอร์ท่ีตรวจวัดส่วนใหญ่เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้าทะเลประเภทท่ี ๓
และประเภทที่ * (คุณภาพน้าทะเลเพื่อการเพาะเล้ียง และคุณภาพน้าทะเล เพื่อการอุตสาหกรรม และท่าเรือ
ตามล้าดับ) พารามิเตอร์ที่เกินค่ามาตรฐาน ได้แก่ ไนเตรท – ไนโตรเจน ฟอสเฟต-ฟอสฟอรัส แบคทเี รียกลุ่มโค
ลิฟอร์มท้งั หมด แบคทีเรยี กลุ่มฟคี อลโคลฟิ อร์ม และปิโตรเลยี มไฮโดรคาร์บอนทั้งหมด
ผลการติดตามการปนเป้ือนของตะกอนดิน จากการสุ่มเก็บตะกอนดิน ๕ จุด พบพารามิเตอร์ที่
เกินเกณฑ์ คือ ทองแดงพบว่าเกินเกณฑ์กาหนด ๓ จุด โดยพบว่ามีค่าสูงสุดที่จุด ปากคลองตากวน มีค่า ๔๖
mg/kg (เกณฑ์มาตรฐานเท่ากับหรือไม่เกิน ๒๕ mg/kg) และสังกะสีพบว่าเกินเกณฑ์กาหนด ๔ จุด โดยพบว่า
มคี ่าสงู สุดที่จดุ ปากคลองซากหมาก มีค่า ๕๗๐ mg/kg (เกณฑม์ าตรฐานเท่ากบั หรอื ไม่เกนิ ๑๐๒ mg/kg)
ผลการติดตามตัวอย่างสัตว์น้าในทะเล พบว่าไม่พบการปนเป้ือนเกินเกณฑ์มาตรฐาน ซึง่ เป็นไป
ตามเกณฑ์มาตรฐานอาหารที่มี สารปนเป้ือนตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ ๙๘ (พ.ศ. ๒๕๒๙) ลง
วันที่ ๒๑ มกราคม ๒๕๒๙ และฉบับท่ี ๒๗๓ (พ.ศ. ๒๕๔๖) ลงวันท่ี ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๔๖ เร่ือง มาตรฐาน
อาหารทม่ี ีสารปนเปอื้ นตามล้าดับ
สถานการณ์คุณภาพอากาศ ปัญหามลพิษทางอากาศในเขตควบคุมมลพิษจังหวัดระยอง
มแี หลง่ กาเนิดมาจากโรงงานอุตสาหกรรมท้งั ในและนอกเขตนิคมอุตสาหกรรม การคมนาคมขนสง่ การเผาในที่
โล่ง กิจกรรมในชุมชน รวมทงั้ กิจการท่ีเปน็ อนั ตรายตอ่ สุขภาพต่าง ๆ
หน่วยงานที่ดาเนินการตรวจวัดสารมลพิษทางอากาศพ้ืนฐานในชั้นบรรยากาศใกล้ผิวดิน ใน
พื้นท่ีเขตควบคุมมลพิษ ได้แก่ กรมควบคุมมลพิษ (คพ.) มีการติดตามผลตรวจวัดคุณภาพอากาศจาก ๓ สถานี
คือ สถานีตรวจวัดบริเวณโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลมาบตาพุด สถานีตรวจวัดบริเวณศูนย์ราชการ
จังหวดั ระยอง และสถานตี รวจวัดบริเวณศูนย์วิจัยพืชไร่ ซ่ึงมีจอแสดงผลคุณภาพอากาศประจาสถานี ส่วนการ
นิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) มีการติดตามผลตรวจวัดคุณภาพอากาศจาก ๔ สถานี คือสถานีวัด
ตากวน ตาบลมาบตาพุด สถานีเมืองใหม่มาบตาพุด ตาบลมาบตาพุด สถานีวัดหนองแฟบ ตาบลห้วยโป่ง และ
สถานีวัดมาบชะลูด ตาบลหว้ ยโป่ง นอกจากน้ียังมีพื้นท่ีเฝ้าระวงั ใกลเ้ คียง ซ่ึงกรมควบคมุ มลพิษมสี ถานีตรวจวัด
คณุ ภาพอากาศเพม่ิ เติมอีก จานวน ๑ สถานี ได้แก่ สถานตี รวจวัดบริเวณสานักงานเกษตร จังหวัดระยอง
สถานการณ์คุณภาพอากาศ พ.ศ. ๒๕๖๓ พบค่าสูงสุดที่สถานีศูนย์ราชการจังหวัดระยอง
ค่าเฉล่ีย ๒๔ ชั่วโมงอยู่ในช่วง ๑๖ – ๑๓๕ ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร (ค่ามาตรฐานคุณภาพอากาศ ไม่เกิน
๑๒๐ ไมโครกรัมต่อลกู บาศกเ์ มตร) และค่าเฉลี่ย ๑ ปีเท่ากับ ๔๑.๗ ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร (ค่ามาตรฐาน
ไม่เกิน ๕๐ ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร) รองลงมาคือ สถานีสานักงานเกษตรจังหวัดระยอง ค่าเฉลี่ย ๒๔
โครงการจัดทาแผนสง่ิ แวดลอ้ มในพื้นท่ีเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๙๐
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ท้าย
ชั่วโมงอยู่ในช่วง ๙ – ๑๓๓ ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร และค่าเฉล่ีย ๑ ปีเท่ากับ ๓๒.๕ ไมโครกรัมต่อ
ลูกบาศก์เมตร โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลมาบตาพุด ค่าเฉล่ีย ๒๔ ช่ัวโมงอยู่ในช่วง ๑๗ – ๑๓๑
ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร และค่าเฉลย่ี ๑ ปีเท่ากับ ๓๘.๓ ไมโครกรัมต่อ ลูกบาศก์เมตร และศูนย์วิจัยพืชไร่
ระยอง ค่าเฉลย่ี ๒๔ ช่วั โมงอยใู่ นชว่ ง ๑๕ – ๑๒๖ ไมโครกรมั ต่อลูกบาศก์เมตร และคา่ เฉลยี่ ๑ ปเี ท่ากับ ๓๕.๖
ไมโครกรมั ตอ่ ลูกบาศกเ์ มตร
สถานการณ์สารอินทรีย์ระเหยง่าย (VOCs) กรมควบคุมมลพิษได้ติดตามสถานการณ์
สารอินทรีย์ระเหยง่ายในบรรยากาศโดยทั่วไปทั้งในพ้ืนท่ีเขตควบคุมมลพิษและบริเวณใกล้เคียงอย่างต่อเนื่อง
ต้ังแต่ พ.ศ. ๒๕๕๐ จานวน ๑๑ สถานี คือ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลมาบตาพุด วัดมาบชลูด โรงเรียน
วดั หนองแฟบ เมืองใหม่มาบตาพุด บ้านพลง ศูนย์บริการสาธารณสุขบ้านตากวน หมู่บ้านนพเกตุ (เนินพยอม)
วดั ปลวกเกตุ โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตาบลหนองจอก คลินคิ ชุมชนอบอนุ่ และคา่ ยมหาสรุ สงิ หนาท
พบวา่ ภาพรวมสถานการณ์สารอินทรยี ร์ ะเหยง่ายในเขตควบคุมมลพิษจังหวดั ระยอง มแี นวโน้ม
ดีข้ึนในช่วง พ.ศ. ๒๕๕๕ และ พ.ศ. ๒๕๖๒ โดยเฉพาะใน พ.ศ. ๒๕๖๒ มีค่าเฉลี่ยสารเบนซีน 1,2 ไดคลอโรอี
เทน และ 1,3 บิวทาไดอีนอยใู่ นเกณฑ์มาตรฐาน ท้งั น้ี ในปี ๒๕๖๓ สถานการณ์สาร 1, 3 บิวทาไดอีน และสาร
1, 2 ไดคลอโรอีเทน ในพื้นท่ีส่วนใหญ่มีแนวโน้มลดลง ในขณะที่สารเบนซีนในพื้นท่ีส่วนใหญ่มีแนวโน้มสูงข้ึน
เมื่อพิจารณารายสถานี พบว่าในพ้ืนท่ีเขตควบคุมมลพิษ ผลตรวจวัดสารเบนซีนเกินค่ามาตรฐาน ทุกสถานี
ในขณะท่ีสาร 1,2 ไดคลอโรอีเทน เกินค่ามาตรฐานท่ีเมืองใหม่มาบตาพุด ศูนย์บริการสาธารณสุขบ้านตากวน
และบ้านพลง ส่วนสาร 1,3 บิวทาไดอีน เกินค่ามาตรฐานที่เมืองใหม่มาบตาพุด รพ.สต.มาบตาพุด และ
บ้านพลง
(๒) แผนปฏิบตั กิ ารเพื่อลดและขจดั มลพิษในเขตควบคมุ มลพษิ จังหวดั ระยอง
จงั หวัดระยอง ไดจ้ ัดทาแผนปฏิบัติการเพื่อลดและขจัดมลพิษในเขตควบคุมมลพิษ พ.ศ.๒๕๖๐
-๒๕๖๖ ซึ่งประกอบด้วย ๖ แผนงาน ประกอบด้วย (๑) แผนงานบาบัดและฟื้นฟู (๒) แผนงานสร้างจิตสานึก
และความตระหนกั (๓) แผนงานบังคบั ใช้กฎหมาย (๔) แผนงานศึกษาเชิงปฏิบตั ิการ (๕) แผนงานเฝ้าระวงั และ
ปอ้ งกัน และ (๖) แผนงานติดตามและประเมนิ ผล โดยมีจานวนโครงการท้งั สน้ิ ๖๗ โครงการ ซึง่ มีรายละเอียด
ดังตอ่ ไปนี้
(๒.๑) แผนงานบาบัดและ ้ืน ู ประกอบด้วยด้านคุณภาพอากาศ ๓ โครงการ ด้าน
คุณภาพนา้ ๖ โครงการ และดา้ นขยะมูลฝอย ๙ โครงการ รวม ๑๘ โครงการ ดงั น้ี
แผนงานบาบดั และ ืน้ ู ดา้ นคณุ ภาพอากาศ
๑) โครงการจัดทาแนวป้องกัน (Protection Strip) (กรมโรงงานอุตสาหกรรม :กรอ.)
๒) โครงการสารวจและปรบั ปรงุ เตาเผาศพ (อบจ.ระยอง)
๓) โครงการปรับลดมลพิษจากปัญหาการจราจร (อบจ.ระยอง /สานกั งานนโยบาย
และแผนการขนสง่ และจราจร : สนข.)
แผนงานบาบดั และ น้ื ู ดา้ นคณุ ภาพนา้
๑) โครงการก่อสร้างระบบรวบรวมและระบบบาบัดน้าเสียในพ้ืนที่เขตควบคุม
มลพษิ จงั หวดั ระยอง (พื้นทีจ่ ดั การน้าเสยี ทน.นครระยอง) (อบจ.ระยอง)
โครงการจัดทาแผนส่งิ แวดลอ้ มในพืน้ ทเี่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๙๑
สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย
๒) โครงการปรับปรงุ และเพิ่มประสิทธิภาพระบบรวบรวมน้าเสยี เทศบาล
เมืองมาบตาพุด (อจน. /ทม.มาบตาพดุ )
บ้านฉาง ๓) โครงการก่อสร้างระบบบาบดั น้าเสีย ทต.บ้านฉาง (อจน. /ทต.บา้ นฉาง)
๔) โครงการก่อสร้างระบบบาบัดน้าเสียแบบกลุ่มอาคาร ทม.บ้านฉาง (อจน. /ทม.
๕) โครงการปรบั ปรงุ คุณภาพน้าในคลองสายหลักในเขตควบคมุ มลพิษ (ทม.มาบตา
พุด/อปท. ในเขตควบคมุ มลพษิ (รวม ๗ แห่ง)
๖) โครงการฟื้นฟูการปนเป้ือนสารอินทรีย์ระเหยง่าย (VOCs) ในน้าใต้ดินในพ้ืนท่ี
ชมุ ชนโขดหิน เขตควบคมุ มลพิษจังหวัดระยอง และดาเนนิ การฟ้ืนฟตู ามผลการศึกษา (คพ.)
แผนงานบาบัดและ ้นื ู ดา้ นขยะมลู ฝอย
(อบจ.ระยอง) ๑) โครงการก่อสร้างระบบหมักก๊าซชีวภาพ (อบจ.ระยอง)
๒) โครงการเพิ่มประสิทธิภาพในการเก็บขนขยะมูลฝอยในเขตควบคุมมลพิษ
๓) โครงการเพิ่มศักยภาพในการจัดการขยะมูลฝอย (อบจ.ระยอง และบริษัทโก
ลบอลเพาเวอร์ซนิ เนอร์ย่ี จากัด)
๔) โครงการปรับปรุงบ่อฝังกลบขยะมูลฝอยให้เป็นสวนสาธารณะเพิ่มพื้นท่ีสีเขียว
(ทน.ระยอง/ทม.มาบตาพุด)
๕) โครงการกาจัดขยะสะสมเพื่อจัดการให้ถูกหลักสุขาภิบาล (อปท.ในเขตควบคุม
มลพษิ )
๖)โครงการก่อสรา้ งระบบกาจดั ส่งิ ปฏิกูลทถ่ี ูกหลกั สุขาภิบาล (ทน.ระยอง)
๗) โครงการจัดตั้งศูนย์รวบรวมของเสยี อนั ตรายชมุ ชนของจงั หวัดระยอง (อบจ.)
๘) โครงการก่อสร้างศูนยก์ าจดั มลู ฝอยติดเช้ือเขตบริการสขุ ภาพที่ ๖ (อบจ.ระยอง)
๙) โครงการกอ่ สรา้ งระบบกาจัดกากอตุ สาหกรรม (กนอ./บริษัท SCG)
(๒.๒) แผนงานสรา้ งจติ สานึกและความตระหนัก ประกอบดว้ ย ๒ โครงการ ดังนี้
๑) โครงการสร้างจติ สานึกในการรักษาสิ่งแวดล้อม (๕ โครงการย่อย) ๑. โครงการ
ส่งเสริมการคัดแยกขยะมูลฝอยต้นทาง (อบจ.ระยอง /อปท. ในเขตควบคุมมลพิษ) ๒. โครงการส่งเสริม
กิจกรรม 3R ในชุมชน (อบจ.ระยอง /อปท. ในเขตควบคุมมลพิษ) ๓. โครงการโรงเรียนสีเขียว (Green
school) (อบจ.ระยอง /อปท. ในเขตควบคุมมลพิษ), ๔. โครงการส่งเสริมการคัดแยกและกาจัดมูลฝอยติดเชื้อ
อย่างถกู หลักวิชาการ (อบจ.ระยอง /อปท. ในเขตควบคุมมลพิษ) และ ๕. โครงการส่งเสริมการลดและเลิกการ
เผาขยะ/วสั ดเุ หลือใช้ (อบจ.ระยอง /อปท. ในเขตควบคมุ มลพิษ)
๒) โครงการเสริมสร้างความเข้าใจระหว่างภาคเอกชนและประชาชน (๓ โครงการ
ย่อย) ประกอบด้วย ๑. โครงการธรรมาภิบาลส่ิงแวดล้อม (ธงขาวดาวเขียว): แผนการตรวจเยี่ยมโรงงานของ
กนอ. ร่วมกับชุมชน (กนอ.), ๒. โครงการอุตสาหกรรมสีเขียว (กรอ.) และ ๓. โครงการการมีส่วนร่วมของ
ประชาชน (CSR) (กรอ. /กนอ.)
โครงการจัดทาแผนสง่ิ แวดลอ้ มในพน้ื ท่ีเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๙๒
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ท้าย
(๒.๓) แผนงานบังคับใช้กฎหมาย ประกอบด้วยด้านการพัฒนากฎหมาย มาตรฐาน
มาตรการ ๖ โครงการ และด้านการบังคับการตามกฎหมาย มาตรฐาน มาตรการ ๑๓ โครงการ รวม ๑๙
โครงการ ดังน้ี
แผนงานบังคบั ใชก้ ฎหมาย ดา้ นการพัฒนากฎหมาย มาตรฐาน มาตรการ
๑) การกาหนดค่าขีดความสามารถในการรองรับสารเบนซีนของพ้ืนท่ีสาหรับ
โรงงานอตุ สาหกรรมเคมปี ระเภท ๔๒ และ ๔๔ (คพ.)
๒) การพฒั นามาตรฐานควบคุมการระบายสาร 1,3-บิวทาไดอีน ในอากาศ (คพ.)
๓) การพัฒนามาตรฐานควบคุมการปล่อยทิ้งสารเบนซีนในอากาศจากโรงกลั่น
นา้ มันปิโตรเลยี ม (คพ.)
๔) การจัดทากฎหมายควบคุมการระบายไอสาร VOCs จากการประกอบกิจการ
ถังเก็บและจากหอเผาท้ิงของโรงงานอุตสาหกรรม และได้มีการเสนอโครงการจัดทาระบบการรายงาน
สารอินทรีย์ระเหยในกิจกรรมหอเผาทิ้ง ถังกักเก็บ และการซ่อมบารุง เพื่อเป็นระบบรองรับในการรายงานผล
จดั เกบ็ ขอ้ มลู และประมวลผลข้อมลู โดยเป็นดาเนนิ การจัดทากฎหมายและจดั ทาระบบควบคกู่ นั ไป (กรอ.)
๕) การกาหนดมาตรฐาน/มาตรการควบคุมการระบายอากาศเสียจากเรอื ท่ีมีการ
ขนถ่าย หรือขนส่งนา้ มันเชือ้ เพลิงและสารเคมี (กรมเจ้าท่า : จท.)
๖) การทบทวนมาตรฐาน/มาตรการในการควบคุมการระบาย VOCs จาก
แหลง่ กาเนดิ (คพ.)
แผนงานบังคับใช้กฎหมาย ด้านการบังคับการตามกฎหมาย มาตรฐาน
มาตรการ
๑) การกากับดูแลการระบายสาร VOCs ทางอากาศในพื้นท่ีนิคมอุตสาหกรรม
อาทิ ท่าเรอื โรงงาน คลังน้ามนั (การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย : กนอ.)
๒) การกากับดูแลการระบายสาร VOCs ทางอากาศของโรงงานนอกพื้นท่ีนิคม
อตุ สาหกรรม (สานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดระยอง : สอจ.)
๓) การส่งเสริมการปฏิบัติตามกฎหมายและเพ่ิมประสิทธิภาพการบังคับกับรถที่
ระบายมลพิษเกินมาตรฐาน (สานักงานตารวจภธู รอาเภอเมืองระยอง : สภอ. /สานักงานขนส่งจังหวดั ระยอง :สขจ.)
๔) การกาหนดมาตรการและกากับดูแลการระบายสาร VOCs จากสถานีบริการ
น้ามนั (สานกั งานพลังงานจังหวดั ระยอง : สพจ.)
๕) การกากับดูแลโรงงานอุตสาหกรรมในนิคมอุตสาหกรรม ให้ส่งกาก
อุตสาหกรรมท้งั ประเภทอันตรายและไม่อนั ตรายเข้าสโู่ รงงานกาจัดกากอุตสาหกรรม (กนอ.)
๖) การกากับดูแลโรงงานอุตสาหกรรมนอกนิคมอุตสาหกรรมให้ส่งกา ก
อตุ สาหกรรมท้งั ประเภทอันตรายและไมอ่ ันตรายเข้าสู่โรงงานกาจดั กากอตุ สาหกรรม (สอจ.)
๗) การตรวจสอบและบังคับการตามกฎหมายกับประชาชนที่กาจัดขยะ/วัสดุ
เหลือใชโ้ ดยการเผา (อบจ.ระยอง /อปท. ในเขตควบคุมมลพิษ)
๘) การกากับดแู ลการจัดการน้าเสียจากโรงงานในนิคมอุตสาหกรรม (กนอ.)
โครงการจดั ทาแผนสิง่ แวดลอ้ มในพื้นท่ีเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๙๓
สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม รายงานฉบับสุดทา้ ย
๙) การกากับดแู ลการจัดการน้าเสียจากโรงงานนอกนคิ มอุตสาหกรรม (สอจ.)
๑๐) การกากับดแู ลการจัดการน้าเสยี จากอาคารขนาดใหญ่ (สสภ.)
๑๑) การแกป้ ญั หาการลกั ลอบปลอ่ ยของเสยี จากเรอื ลงส่แู หล่งน้า (จท.)
๑๒) การควบคุมโรงงานอุตสาหกรรมในนิคมอุตสาหกรรมให้ดาเนินการแก้ไข
ปัญหาการปนเปื้อนสาร VOCs ในดินและน้าใต้ดินตามกฎกระทรวงและประกาศกระทรวงอตุ สาหกรรมว่าด้วย
การควบคมุ การปนเปอ้ื นดินและน้าใตด้ ินภายในบริเวณโรงงาน (กนอ.)
๑๓) การควบคุมโรงงานอุตสาหกรรมนอกนิคมอุตสาหกรรมให้ดาเนินการแก้ไข
ปัญหาการปนเปื้อนสาร VOCs ในดินและน้าใต้ดินตามกฎกระทรวงและประกาศกระทรวงอตุ สาหกรรมวา่ ด้วย
การควบคมุ การปนเปอ้ื นดนิ และนา้ ใต้ดนิ ภายในบรเิ วณโรงงาน (สอจ.)
(๒.๔) แผนงานศึกษาเชิงปฏบิ ัติการ ประกอบด้วยด้านคุณภาพอากาศ ๒ โครงการ ด้าน
คุณภาพน้า ๑ โครงการ ด้านกากของเสียอันตราย ๑ โครงการ และด้านการป้องกัน ควบคุมโรค และภัย
สขุ ภาพ ๑ โครงการ รวม ๕ โครงการ ดังนี้
แผนงานศึกษาเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร ด้านคุณภาพอากาศ
๑) โครงการศึกษาการแพร่กระจายของสารไดออกซิน ฟิวแรนในอากาศบริเวณ
พ้นื ทนี่ ิคมอตุ สาหกรรมและพน้ื ที่ที่อยู่อาศัย จ.ระยอง (กรมส่งเสรมิ คุณภาพสิง่ แวดล้อม : สส.)
๒) ศึกษาการกระจายตัวของสารโพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน (PAHs)
ในบรรยากาศในพ้ืนท่ีนิคมอตุ สาหกรรมมาบตาพุดและผลกระทบตอ่ สุขภาพประชาชน (สส.)
แผนงานศึกษาเชิงปฏบิ ตั กิ าร ด้านคณุ ภาพน้า
๑) โครงการวิจัยเพื่อการบริหารจัดการและบาบัดฟื้นฟูพ้ืนท่ีปนเป้ือนสารอันตราย
ในดินและ น้าใต้ดิน (สส.) (๔ โครงการย่อย) ประกอบด้วย ๑) โครงการวิจัยรูปแบบการใช้เทคนิคแบบ
ผสมผสานในการบาบัดฟื้นฟูดินและน้าใต้ดิน ในแหล่งกาเนิดการปนเปื้อนสารอินทรีย์ระเหยและพ้ืนท่ีได้รับ
ผลกระทบโดยรอบของชุมชนโขดหิน เขตควบคุมมลพิษจังหวัดระยอง ๒) โครงการวิจัยเพ่ือการจัดการความ
เสี่ยงระบบนิเวศชายฝั่งทะเลบริเวณพื้นท่ีเขตควบคุมมลพิษจังหวัดระยองจากการปนเป้ือนสารอันตรายกลุ่ม
สารอินทรีย์ระเหยและกึ่งระเหยและสารกลุ่มโลหะหนักเพื่อการบริโภคอย่างยั่งยืน ๓) โครงการศึกษา
ความสัมพันธ์การปนเปื้อนของสารอันตรายอุบัติใหม่ในแหล่งน้าสาหรับการอุปโภคบริโภคกับการใช้ประโยชน์
ท่ีดินบริเวณพื้นที่เขตควบคุมมลพิษจังหวัดระยองเพื่อการป้องกันความเส่ียงต่อสุขภาพประชาชน และ
๔.) โครงการศึกษาความเหมาะสมเทคนิคการบาบัดฟื้นฟูพื้นที่ปนเป้ือนสารอันตรายกลุ่มสารอินทรีย์ระเหย
และกง่ึ ระเหยในดินและน้าใต้ดินบริเวณเขตควบคุมมลพษิ จงั หวัดระยอง
๒) โครงการศึกษาการปนเป้ือนสารอินทรีย์ระเหยง่าย (VOCs) ในน้าใต้ดิน และ
วธิ ีการฟน้ื ฟู ในพื้นที่ชุมชนโขดหิน เขตควบคมุ มลพิษจังหวัดระยอง (คพ.)
แผนงานศึกษาเชิงปฏบิ ตั กิ ารดา้ นกากของเสยี อันตราย
๑) โครงการวิจัยเพ่ือการบริหารจดั การและบาบัดฟ้ืนฟูพ้ืนท่ีปนเป้ือนสารอันตราย
ในดินและน้าใต้ดิน โดยมีโครงการย่อยประกอบด้วย โครงการวิจัยพัฒนากลไกเพ่ือยกระดับขีดความสามารถ
โครงการจัดทาแผนสิง่ แวดล้อมในพน้ื ทเี่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๙๔
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม รายงานฉบบั สุดทา้ ย
ของทุกภาคสว่ นด้านการปอ้ งกันและจัดการพ้ืนทีป่ นเป้ือนสารอันตรายจากอุตสาหกรรมโดยกระบวนการมีส่วน
รว่ ม กรณีศกึ ษาเขตควบคุมมลพษิ จงั หวัดระยอง (สส.)
แผนงานศกึ ษาเชิงปฏบิ ัติการ ด้านการป้องกนั ควบคุมโรค และภยั สุขภาพ
๑) โครงการพัฒนาระบบเฝา้ ระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพในพื้นที่เขต
พฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก (กรมควบคุมโรค: คร.)
(๒.๕) แผนงานเฝ้าระวังและป้องกัน ประกอบด้วยด้านคุณภาพอากาศ ๒ โครงการ ด้าน
คณุ ภาพนา้ ๒ โครงการ ดา้ นกากของเสียอันตราย ๒ โครงการ และดา้ นอ่นื ๆ ๙ โครงการ รวม ๑๕ โครงการ ดังน้ี
แผนงานเฝ้าระวังและป้องกัน ดา้ นคุณภาพอากาศ
๑) การติดตามตรวจสอบคุณภาพอากาศในบรรยากาศ (๕ กิจกรรมย่อย)
ประกอบด้วย ๑) การติดตามตรวจสอบคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไปโดยสถานีตรวจวัดอัตโนมัติ
(คพ.) ๒) การตรวจวัดและเฝ้าระวังสารอินทรีย์ระเหยง่ายในบรรยากาศ (VOCs) ในพื้นที่เขตควบคุมมลพิษ
(คพ.) ๓) โครงการจ้างเหมาบริหารจัดการศูนย์เฝ้าระวังและควบคุมคุณภาพส่ิงแวดล้อม (EMCC) (กนอ.), ๔)
การติดตามตรวจสอบคุณภาพอากาศโดยท่ัวไป และ VOCs ในบรรยากาศในพ้ืนท่ี ทม.มาบตาพุด (ทม.มาบตา
พุด) และ ๕) วางระบบและเชื่อมโยงข้อมูลผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศและ VOCs ระหว่างหน่วยงาน และ
การเผยแพรข่ อ้ มูลสสู่ าธารณะ (คพ.)
๒) โครงการก่อสร้างสถานีตรวจวดั คณุ ภาพอากาศพร้อมจอแสดงผล จังหวัดระยอง
(อบจ.ระยอง)
แผนงานเฝ้าระวังและปอ้ งกัน ด้านคุณภาพนา้
๑) การติดตามตรวจสอบและเฝ้าระวังคุณภาพน้าในพื้นท่ี (๕ กิจกรรมย่อย)
ประกอบด้วย ๑) การติดตามตรวจสอบคุณภาพน้าแหล่งน้าผิวดิน (คลองสาธารณะ) (คพ./สสภ.๑๓) ๒) การ
ติดตามตรวจสอบคุณภาพน้าทะเล ตะกอนดิน และเน้ือเย่ือสัตว์น้า (คพ./สสภ.) ๓) การติดตามตรวจสอบ
คุณภาพน้าใต้ดิน (คพ.) ๔) การเฝ้าระวังคุณภาพน้าและแพลงก์ตอนพืช บริเวณชายฝ่ังทะเลของอ่าวตากวน
(กรมประมง: กปม.) และ ๕) การเก็บตัวอย่างและวิเคราะห์คุณภาพน้าพื้นท่ีนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด และ
ระบบบาบัดนา้ เสียส่วนกลางสานักงานนคิ มอตุ สาหกรรมมาบตาพุด (สนพ.)
๒) โครงการติดตง้ั สถานตี รวจวัดคุณภาพนา้ อตั โนมัติ พร้อมจอป้าย (ทม. มาบตาพุด)
แผนงานเฝ้าระวังและป้องกนั ด้านกากของเสียอันตราย
๑) โครงการเฝ้าระวัง/ป้องกันการลักลอบทิ้งขยะ สารเคมี และกากของเสีย
อนั ตราย (อปท.ในพนื้ ท)ี่
๒) โครงการรองรับอบุ ตั ิภัยฉกุ เฉินจากสารเคมี (ปภ.จ.)
แผนงานเฝ้าระวงั และป้องกัน ด้านอน่ื ๆ
๑) โครงการตรวจสุขภาพและเฝ้าระวังโรคของประชาชนในเขตควบคุมมลพิษและ
เขตอตุ สาหกรรม จงั หวัดระยอง ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔ (สสจ. ระยอง)
๒) โครงการพัฒนาศักยภาพโรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพ
รัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ระยอง (รพ.เฉลิมพระเกยี รตฯิ )
โครงการจดั ทาแผนส่งิ แวดล้อมในพนื้ ท่ีเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๙๕
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดทา้ ย
๓) โครงการเสรมิ สร้างศักยภาพเครอื ข่าย ทสม. ระยอง (ทสจ.)
๔) การกากับดูแลการระบายมลพิษและสาร VOCs จากยานพาหนะและ
สาร VOCs จากยานพาหนะ (สขจ.)
๕) การกากับดูแลการระบายมลพิษและสาร VOCs จากยานพาหนะ (สภ.ระยอง)
๖) โครงการเสริมสร้างศักยภาพชุมชนด้านป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
(สานักงานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยจงั หวดั ระยอง : ปภ.จ.)
๗) โครงการเสริมสร้างศักยภาพจังหวัดระยองด้านการป้องกันและขจัดมลพิษทาง
นา้ เนอ่ื งจากน้ามนั (จท.)
๘) โครงการพัฒนาระบบการจัดบริการด้านผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษ
สิ่งแวดล้อมและการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสารเคมี (รพ. ระยอง)
๙) โครงการพัฒนาระบบการจัดทาทาเนียบการปลดปล่อยและเคล่ือนย้ายมลพิษ
(PRTR) (กรอ. /คพ.)
(๒.๖) แผนงานติดตามและประเมินผล ประกอบด้วย ๘ โครงการ ดงั น้ี
๑) การกากับติดตามการแก้ไขปัญหามลพิษในพื้นท่ีมาบตาพุดและบริเวณใกลเ้ คียง
จ.ระยอง (ทสจ.)
๒) การประชุมคณะทางานติดตามตรวจสอบและแก้ไขปัญหา VOCs ในพื้นท่ีมาบ
ตาพดุ และบรเิ วณใกลเ้ คยี งจงั หวัดระยอง (ทสจ.)
๓) การประชุมคณะกรรมการติดตามตรวจสอบและแก้ไขปัญหา VOCs ในพ้ืนที่
มาบตาพุดเขตประกอบการอตุ สาหกรรมไออาร์พีซี และบรเิ วณใกล้เคียง จงั หวดั ระยอง (ทสจ.)
๔) การประชุมคณะอนุกรรมการกากับดูแลและติดตามผลการดาเนินงานตาม
แผนปฏิบัตกิ ารเพอ่ื ลดและขจัดมลพษิ ในเขตควบคุมมลพิษจังหวดั ระยอง (ทสจ.)
๕) การประชมุ คณะอนุกรรมการพจิ ารณาการจดั การมลพิษในเขตควบคุมมลพิษ (คพ.)
๖) โครงการติดตามประเมินผลการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติการเพ่ือลดและขจัด
มลพษิ ในเขตควบคมุ มลพิษจังหวัดระยอง พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๖ (ทสจ.)
๗) โครงการประเมินผลเพ่ือยกเลกิ เขตควบคุมมลพิษตามแผนการปฏิรปู ประเทศ (คพ.)
๘) โครงการศกึ ษาความเหมาะสมในการพิจารณาประกาศยกเลิกเขตควบคมุ มลพิษ
ทุกพนื้ ที่ (นารอ่ งเขตควบคุมมลพษิ มาบตาพุด) (สป.ทส.)
นอกจากนี้มีการการกาห นดอัตราการระบ ายมลพิ ษ จากแหล่งกาเนิด (Emission Rate
Determination) ซ่ึงได้ระบุไว้ในแนวทางในการประเมินผลกระทบด้านคุณภาพอากาศด้วยแบบจาลองทาง
คณิตศาสตร์ในรายงานการวเิ คราะห์ผลกระทบส่งิ แวดลอ้ ม สาหรับโครงการดา้ นอตุ สาหกรรมและดา้ นพลังงาน
ในพ้ืนที่มาบตาพุดและพ้ืนท่ีอ่ืน ๆ โดยแนวทางฯ ดังกล่าว ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการส่ิงแวดล้อม
แห่งชาติ (กก.วล.) ในการประชุม คร้ังที่ ๖/๒๕๕๖ เมื่อวันท่ี ๒๙ สิงหาคม ๒๕๕๖ ซ่ึงได้กล่าวถึงพื้นท่ีเขต
ควบคุมมลพิษ จังหวัดระยองได้มีการประเมินผลกระทบด้านคุณภาพอากาศขั้นคัดกรองตามแนวทางขอ EPA
เป็นเกณฑ์ในการจาแนกระดับการควบคุมอัตราการระบาย NOx และ SO2 จากแหล่งกาเนิดมลพิษใหม่และ/
โครงการจดั ทาแผนสง่ิ แวดลอ้ มในพื้นทเ่ี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๙๖
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม รายงานฉบับสุดท้าย
หรือท่ีมีการเปลี่ยนแปลงอัตราการระบายเพ่ิมขึ้น โดยการเปรียบเทียบค่าความเข้มข้นสูงสุดที่ได้จากการ
ป ร ะ เมิ น (Maximum Ground Level Concentration) กั บ ร ะ ดั บ ผ ล ก ร ะ ท บ ที่ มี นั ย ส า คั ญ
(SignificantImpact Level หรอื SIL) ซ่งึ ใชเ้ ป็นเกณฑ์ในการคดั กรอง ดังน้ี
๑) ค่าความเข้มขน้ สงู สดุ จากแบบจาลองฯ ไม่เกินค่า SIL ให้ใช้ค่าอัตราการระบายมลพิษ ตามท่นี าเข้า
แบบจาลองฯ ในกรณีท่คี า่ ความเข้มข้นมลพษิ จากผลการตรวจวัดในพน้ื ที่น้อยกวา่ ร้อยละ ๘๐ ของค่ามาตรฐาน
คุณภาพอากาศในบรรยากาศ
๒) ค่าความเข้มข้นสูงสุดจากแบบจาลองฯ เกินค่า SIL หรือในกรณีท่ีพบคา่ ความเข้มข้นมลพิษจากผล
การตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศในพ้ืนท่ีศึกษาต้ังแต่ร้อยละ ๘๐ ของค่ามาตรฐานคุณภาพอากาศใน
บรรยากาศ ให้ใชค้ า่ อตั ราการระบายมลพษิ ตามหลักการ ๘๐/๒๐
คือ ปรับลดอัตราการระบายมลพิษจากค่าท่ีดาเนินการจริง (Maximum Actual Emission) ของ
โครงการเดิม (Emission Offset) หรือของโครงการอื่น ๆ (Emission Trading) แล้วแต่กรณี เพ่ือนาอัตราการ
ระบายมลพิษไปให้กับแหล่งกาเนิดมลพิษใหม่และ/หรือท่ีมีการเปล่ียนแปลงอัตราการระบายเพ่ิมข้ึ นของ
โครงการต้ังใหม่ หรอื โครงการขยายกาลังการผลิต หรอื การเปล่ยี นแปลงรายละเอยี ดโครงการ ไดไ้ มเ่ กนิ ร้อยละ
๘๐ ของมลพิษทป่ี รับลดลง (ปัทมา ดอกมะขาม, ๒๕๖๐)
๔.๔ สถานการณ์เหตุฉุกเฉินและเร่อื งรอ้ งเรยี น
๔.๔.๑ สถานการณ์เหตุฉุกเฉนิ
จากข้อมลู ของสานักงานสง่ิ แวดลอ้ มภาคท่ี ๑๓ (ชลบรุ ี) (๒๕๖๐, ๒๕๖๑, ๒๕๖๒) ไดร้ ายงานเหตฉุ ุกเฉนิ
อบุ ัตภิ ัยด้านมลพษิ และการลักลอบท้ิงกากของเสีย มีประเดน็ เรอื่ ง สารเคมรี ่ัวไหล การลกั ลอบทิง้ กากของเสีย
และวัตถอุ ันตราย เหตเุ พลงิ ไหม้ เรอื บรรทกุ สินคา้ ล่มในทะเล ดงั น้ี
๑) สารเคมรี ั่วไหล
จงั หวัดระยอง
(๑) ก๊าซออกซิเจนร่วั ไหลจากบริษัท บางกอกอนิ ดสั เทรียลแกส จากัด นิคมอุตสาหกรรมมาบตา
พุด ไมมีผไู้ ดรบั บาดเจบ็ สาเหตุเกิดจากท่อระบายออกซิเจนรั่วไหล บรษิ ัทฯ ได้ทาการฉีดน้าเพ่ือป้องกันการฟุ้ง
กระจายของก๊าชออกซิเจน น้าท่ีใช้ระงับเหตุกักเก็บไว้ภายในโรงงานรอการตรวจสอบคุณภาพน้า ศูนย์ EMCC
ทาการตรวจสอบคณุ ภาพอากาศอยู่ในเกณฑ์ปกติ (เกดิ เหตุ ณ วนั ที่ ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๖๐)
(๒) ก๊าซแอมโมเนียรั่วไหลจากบริษัท อุตสาหกรรมน้าแข็งระยอง จากัด ตาบลหนองตะพาน
อาเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง ชุมชนท้ายลมได้รับผลกระทบจากการสูดดมก๊าซแอมโมเนีย และน้าเสยี ซ่ึงเกิด
จากการดกั จับกา๊ ซไหลลงท่อระบายน้าสาธารณะ ทาให้มีสัตว์น้าตาย สานกั งานอุตสาหกรรมจังหวัดระยอง ส่ัง
ปิดปรับปรุงแก้ไข ๑๕ วัน องค์การบริหารส่วนตาบลหนองตะพาน สั่งให้โรงงานฟ้ืนฟูคูน้าสาธารณะหน้า
โรงงาน ให้คุณภาพน้าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน สานักงานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อมจังหวัดระยอง เก็บ
ตัวอย่างน้า ส่งตรวจวิเคราะห์ ณ ห้องปฏิบัติการของสานักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ ๑๓ (ชลบุรี) จานวน ๒
ตัวอยา่ ง (เกดิ เหตุ ณ วนั ที่ ๑๓ มิถุนายน ๒๕๖๐)
(๓) สารพาราไซลีน ร่ัวไหลบริเวณท่อสง่ ก๊าซจากหอกล่ัน ระหว่างทดสอบเดินเคร่ืองโรงอะโรเม
ตกิ ส ๒ ของ บริษัท พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จากดั (มหาชน) สาขา ๕ ใน นิคมอุตสาหกรรมอาร์ไอแอล ตาบล
โครงการจัดทาแผนสงิ่ แวดล้อมในพน้ื ท่ีเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๙๗
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สดุ ท้าย
มาบตาพุด อาเภอเมือง จังหวัดระยอง ทีมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินของบริษัทฯ สามารถหยุดการร่ัวไหลและระงับ
เหตุได้ บรษิ ัทฯ ได้ตรวจสอบคุณภาพอากาศโดยรอบชุมชน พบค่า VOCs อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน เจ้าหน้าท่ีของ
โรงงานไดรับผลกระทบจากการสูดดม ๑ ราย ถูกนาตัวส่งโรงพยาบาล น้าเสียจากการระงับเหตุถกู รวบรวมเข้า
ระบบบาบัด ศูนย์ควบคุมมลพษิ จงั หวัดระยอง ตรวจวัดสาร VOCs พบคา่ อยู่ในช่วง ND - ๑.๖ ppm (เกิดเหตุ
ณ วันท่ี ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๖๐)
(๔) สารพาราไซลีนของ บริษัท สยามมิตซุย จากัด ตั้งอยู่ในนิคมอุตสาหกรรมเหมราช รั่วไหล
ออกจากแนวท่อขนาด ๘ น้ิว เทศบาลเมืองมาบตาพุด ประกาศภาวะฉุกเฉินระดับ ๑ ศูนย์ควบคุมมลพิษ
จงั หวัดระยอง รว่ มกับหน่วยงานที่เกี่ยวขอ้ งตรวจสอบการปนเป้อื นและตกค้างในส่ิงแวดล้อมบริเวณชุมชนดา้ น
ท้ายลม พบสารตกค้างในดินในปริมาณสูง เข้มข้น ๒,๒๓๕ ppm ส่วนในอากาศพบปริมาณเล็กน้อย ในช่วง
๐.๕ - ๑.๐ ppm ศูนย์ควบคุมมลพิษจังหวัดระยองแนะนาให้ขนย้ายดิน และหินท่ีปนเป้ือนไปบาบัดตามหลัก
วิชาการ และฉีดพน่ ด้วยสารไฮโดรเจนเปอรอ์ อกไซดเ์ พอ่ื กาจัดกลน่ิ (เกิดเหตุ ณ วันที่ ๑๒ สิงหาคม ๒๕๖๐)
จังหวดั ชลบุรี
(๕) สารเคมีร่ัวไหลท่ีโรงงานบรษิ ัท ไทย เมกิ (2012) จากัด ตั้งอยู่ท่ีนิคมอุตสาหกรรมอมตะซิต้ี
ชลบุรี หมู่ที่ ๗ ตาบลดอนหัวฬอ อาเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี ประกอบกิจการชุบโลหะ มีสาเหตุเกิดจาก
ปัญหาการควบคมุ อุณหภมู ขิ องขั้นตอนการล้างชน้ิ งาน ส่งผลให้เกิดไอกรดไนตรกิ (Fume) ที่มีความเข้มข้นเกิน
กว่าระบบบาบัดไอกรดจะรองรับได้ จึงก่อให้เกิดไอกรดไนตริกแพร่กระจายออกสู่บรรยากาศ ต่อมาการนิคมฯ
ไดมีคาสั่งปิดโรงงานดังกล่าวเพ่ือปรับปรุงระยะเวลา ๓๐ วัน และส่งรถตรวจวัดคุณภาพอากาศเคล่ือนท่ีเข้า
ตรวจสอบในพื้นที่ชมุ ชนโดยรอบบรเิ วณโรงงานดังกล่าว (เกิดเหตุ ณ วันที่ ๒๕ ตลุ าคม ๒๕๖๐)
(๖) รถบรรทุกสารเคมีพลิกคว่า เป็นรถขนาดบรรจุ ๒๕ ตัน ของบริษัท ไทย เอ็มเอ็มเอ จากัด
จากนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด นาส่งท่าเรือแหลมฉบัง จุดเกิดเหตุบริเวณถนนสาย ๓๖ ช่วง กม. ๒๐ บ้าน
คลองใหญ่ ตาบลโปง อาเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี มีสารเคมีหกรั่วไหลแบบซึม พบเลข UN 1247 ช่ือ สาร
Methyl Methacrylate Monomer ไม่มีผู้บาดเจ็บ หรือเสียชีวิต ภาชนะบรรจุไม่แตกรว่ั ไหล และตรวจไมพ่ บ
ไอสารเคมี (เกิดเหตุ ณ วนั ท่ี ๑๔ ธันวาคม ๒๕๖๐)
(๗) รถบรรทุกลักลอบทิ้งสารเคมีลงท่อระบายน้าสาธารณะส่งผลให้มีกลิ่นสารเคมีรุนแรงแสบ
จมูก จึงเกิดการร้องเรียนว่านา้ ในลารางสาธารณะสง่ กลิน่ เหม็นในพ้ืนท่ีเทศบาลตาบลนาป่า และเทศบาลตาบล
หนองไม้แดง จังหวัดชลบุรี สานักงานส่ิงแวดล้อมภาคที่ ๑๓ เก็บตัวอย่างน้าส่งตรวจวิเคราะห์ทาง
หอ้ งปฏิบัตกิ าร ตอ่ มาสามารถจบั กุมรถบรรทุก ๑๐ ล้อ ซ่ึงลักลอบทงิ้ สารเคมีลงสู่รางระบายน้าสาธารณะ และ
สานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดชลบุรี ได้เก็บตัวอย่างสารเคมีในรถบรรทุกส่งตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ
(เกดิ เหตุ ณ วันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๖๒)
(๘) วันที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๓ เกิดเหตุสารเคมีร่ัวไหลภายในพ้ืนท่ีศูนย์รีไซเคิลของ
บริษัท แชมป์เคมิคัลแอนดโ์ ลจิสติกส์ จากัด ตาบลบ้านเก่า อาเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี โดยพบว่ารถบรรทุก
สารเคมีของ บริษัท เอกอุทัย จากัด ต้นทางจากตาบลบ้านใหม่อาเภอปากเกร็ดจังหวัดนนทบุรีอยู่ระหว่างขน
สินค้าไปส่งลูกค้าคือ บริษัท วินโพรเสส จากัด ตาบลมาบตาพุด อาเภอเมือง จังหวัดระยอง เกิดอุบัติเหตุ
ถังบรรทุกสารเคมีส่วนท้ายเกิดรอยรั่วทั้งสองข้างเกิดกลุ่มควันสารเคมีสีเหลืองออกมาจากรอยรั่วจากการ
โครงการจดั ทาแผนส่ิงแวดล้อมในพน้ื ท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๙๘
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สดุ ท้าย
สอบถามเบ้ืองต้นจากพนักงานของ บริษัท แจ้งว่าเป็น "กรดซัลฟูริกที่ใช้แล้ว” จากการวัดความเป็นกรด-ด่าง
(pH) ของดินท่ถี กู ปนเปื้อนพบค่าเทา่ กบั ๒ – ๓
(๙) วันที่ ๒๒ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๓ พบรถบรรทุกกรดซัลฟูริกเข้มข้น 98% ปริมาณ ๑๓ ตัน
เกิดรั่วไหลบริเวณถนนเลียบทางพิเศษช่วงกม. ๑๑๖ + ๓๐๐ สาเหตุของการรั่วไหลคาดว่าเกิดจากสภาพถัง
บรรจุกรดซัลฟรู ิกมีสภาพไมพ่ ร้อมใชง้ านมีรอยผุทาให้กรดซัลฟูริกรวั่ ไหลออกจากถังบรรจลุ งสู่ถนนและไหลลงสู่
ทางระบายน้าถนนเลียบทางพิเศษ จากตรวจสอบคุณภาพน้าโดยการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) ของ
แหลง่ นา้ บริเวณเหนือจดุ รัว่ ไหลพบคา่ pH = ๗.๔๗ และในจดุ ท่ีมกี ารรว่ั ไหลพบวา่ pH =๐.๒๓ เนือ่ งบริเวณจุด
ทีเ่ กิดเหตฉุ กุ เฉนิ อยหู่ า่ งจากชมุ ชนจงึ ไมไ่ ดร้ ับผลกระทบเรือ่ งไอระเหยของกรด
๒) การลักลอบท้ิงกากของเสียและวัตถุอันตราย
จังหวัดฉะเชิงเทรา
มีการลักลอบท้ิงกากของเสียอุตสาหกรรมจานวนมากลงในบริเวณอ่างเก็บน้าลุ่มน้าโจน แห่งท่ี
๑๖ ตาบลเขาหินซ้อน อาเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา ทาให้น้าและดินในบรเิ วณอ่างเก็บน้าล่มุ น้าโจน
แห่งที่ ๑๖ มีค่าความเป็นกรดสูงและปนเป้ือนโลหะหนักหลายชนิด ส่งผลให้ประชาชนในบริเวณใกล้เคียงไม่
สามารถใช้น้าในอ่างเก็บน้าเพ่ือการอุปโภคบริโภค และกระทบต่อคุณภาพส่ิงแวดล้อมในพ้ืนท่ีอย่างกว้างขวาง
ที่มา: คาส่ังจังหวัดฉะเชิงเทรา ที่ ๙๕๙/๒๕๖๓ จาก http://www.oic.go.th/FILEWEB/CABINFOCEN
TER40/DRAWER033/GENERAL/DATA0000/00000720.PDF)
จงั หวัดระยอง
(๑) การลักลอบท้ิงกากอุตสาหกรรมสารเคมี ใกล้อ่างเก็บน้าหนองปลาไหล ในพื้นที่องค์การ
บริหารส่วนตาบลแม่น้าคู หมู่ ๒ ตาบลแม่น้าคู อาเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง จากการตรวจสอบสานักงาน
สิ่งแวดล้อมภาคที่ ๑๓ (ชลบุรี) ร่วมกับสานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดระยอง และกรม
ควบคุมมลพิษ พบว่ากากของเสียมีลักษณะคล้ายปูนขาว ด้านนอกมีสีน้าตาล กล่ินคล้ายแป้งมันสาปะหลัง มี
ปริมาณประมาณ ๓ คันรถบรรทุก เมื่อละลายในน้ากลั่น และวัดค่า pH ได้ อยู่ในช่วง ๔.๒ – ๘.๔ สันนิษฐาน
ว่าเป็นปูนท่ีใช้บาบัดมลพิษทางอากาศเพื่อจับไอกรด แล้วทาปฏิกิริยากลายเป็นยิปซ่ัม (เกิดเหตุ ณ วันที่ ๒๐
เมษายน ๒๕๖๐)
(๒) การลักลอบนาน้ามันใช้แล้วมาปล่อยลงสู่ท่อระบายน้าสาธารณะ ระยะทางประมาณ ๗๐๐
เมตร ทาให้เกิดเป็นคราบน้ามันท่ีผิวน้า มีกล่ินเหม็นฉุนรุนแรงจากตัวทาละลายที่ผสมอยู่ในน้ามันดังกล่าว
เทศบาลฯ ร่วมกับ บรษิ ัทรับกาจดั กากของเสยี สูบน้าผสมคราบน้ามันไปกาจัด ประมาณ ๘,๐๐๐ ลิตร และฉีด
พน่ ดว้ ยสาร Degreaser (เกิดเหตุ ณ วนั ท่ี ๑๗ ตุลาคม ๒๕๖๐)
จงั หวดั ชลบรุ ี
(๓) การลักลอบทิ้งวัตถุอันตรายในถังแกลลอนสีฟ้าสภาพปิดฝามิดชิด ขนาด ๒๐ ลิตร จานวน
๖ ใบ พบว่าเป็นกรดไฮโดรฟลูออริ ( HF) โดยสารอันตรายท้ังหมดมีค่า pH ต่ากว่า ๒ ทั้ง ๖ ถัง สานักงาน
อุตสาหกรรมจังหวัดชลบุรีรับดาเนินการเคลื่อนย้ายและดาเนินการตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง (เกิดเหตุ ณ วันที่
๑๖ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๑)
โครงการจดั ทาแผนสง่ิ แวดลอ้ มในพ้ืนที่เขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๙๙
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสุดท้าย
(๔) การลักลอบท้ิงของเสียที่เป็นตัวทาละลายหรือน้ามันใช้แล้ว มีกล่ินเหม็นรุนแรง ทาให้หญ้า
ตาย เป็นการลักลอบทิ้งในจุดเดิม ๒ แห่ง และจุดใหม่ ๑ แห่ง บริเวณริมถนนตรงข้ามสานักงานที่ดินจังหวัด
ชลบุรี สาขาศรีราชา จากการตรวจวัดค่า pH พบว่าค่อนข้างเป็นด่าง เบ้ืองต้นสานักงานสิ่งแวดล้อมภาคท่ี ๑๓
(จังหวัดชลบุรี) ได้แนะนาให้ใช้ทรายกลบเพ่ือลดผลกระทบด้านกล่ิน และป้องกันการไหลซึมไปลงลาราง
สาธารณะ แลว้ ขนยา้ ยไปกาจดั กับบริษัทที่ไดร้ ับอนญุ าต (เกิดเหตุ ณ วันท่ี ๑๖ มิถุนายน ๒๕๖๑)
๓) เหตุเพลิงไหม้
จงั หวัดชลบุรี
(๑) เพลิงไหม้ ภายในบริษัท เอ็น ๑๕ เทคโนโลยี จากัด ตั้งอยู่ในนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร
เฟส ๘ ตาบลพานทอง อาเภอพานทอง จงั หวัดชลบุรี เป็นโรงงานรับของเสยี ประเภทไม่อันตรายจากโรงงานใน
นิคมอมตะนคร มาทาเป็นเชื้อเพลิง (RDF) โดยจุดเกิดเหตุอยู่ในโกดัง ที่เก็บของเสีย ทางโรงงานสามารถ
ควบคุมเพลิงได้ ไม่มีผู้ได้รับบาดเจ็บและเสียชีวิต สานักงานส่ิงแวดล้อมภาคที่ ๑๓ (ชลบุรี) ตรวจวัดค่ามลพิษ
ทางอากาศในบรเิ วณจดุ เกิดเหตุ พบวา่ มีคา่ ปกติ (เกิดเหตุ ณ วนั ที่ ๒๐ มนี าคม ๒๕๖๐)
(๒) เพลิงไหม้ บริษัท เอสพีซี อินเตอรปริ้น จากัด เลขท่ี ๒๒๙/๙ หมู ๒ ตาบลคลองตาหรุ
อาเภอเมือง จังหวัดชลบุรี ในเมืองอุตสาหกรรมทองโกรว ประกอบกิจการพิมพ์ ส่ิงพิมพ์ทุกชนิด และทาแบบ
แม่พิมพ์ คุณภาพอากาศ พบค่า Peak ของมลพิษทางอากาศบริเวณชุมชนบ้านเก่า ซึ่งอยู่ใต้ลมห่างจุดเกิดเหตุ
ประมาณ ๑.๙ กิโลเมตร ตรวจวัดไม่พบค่ามลพิษทางอากาศ ส่วนน้าจากการดับเพลิงอาจถูกระบายลงทาง
ระบายน้าฝน และอาจมีการปนเป้ือนลงแหล่งน้าสาธารณะเนื่องจากไม่มีการปิดก้ันทางระบายน้า (เกิดเหตุ ณ
วนั ท่ี ๒๒ มีนาคม ๒๕๖๐)
(๓) เพลงิ ไหมก้ องวัสดหุ ลังอาคารของ บรษิ ทั โฟร์ซนั ส์ (ประเทศไทย) จากัด เลขที่ ๑๒๑/๔ หมู่
๓ ตาบลบ้านบึง อาเภอบ้านบึง จังหวัดชลบุรี ซ่ึงประกอบกิจการรีไซเคิลตูเย็นเก่า ไม่มีผู้บาดเจ็บหรือเสียชีวิต
ไมม่ นี ้าดบั เพลงิ ไหลล้นออกนอกบริเวณโรงงาน (เกิดเหตุ ณ วันท่ี ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๖๐)
(๔) เพลงิ ไหมโ้ รงงานหมอนนุ่มเพราะเนื้อนิ่ม ในพ้ืนที่ตาบลหมอนนาง อาเภอพนัสนิคม จังหวัด
ชลบุรี ซง่ึ ผลติ ที่นอนจากวัสดุรไี ซเคิล ไม่พบผู้บาดเจบ็ หรือเสียชีวิต บรเิ วณโดยรอบโรงงานมีชุมชนไม่หนาแน่น
ชุมชนได้รับกล่ิน ควันเป็นระยะตามทิศทางของกระแสลม การตรวจวัดคุณภาพอากาศเบื้องต้นภายในพื้นท่ี
โรงงาน พบ VOCs มคี ่าอย่ใู นช่วง ๑.๙ - ๒.๑ ppm (เกดิ เหตุ ณ วนั ท่ี ๒๑ เมษายน ๒๕๖๑)
(๕) เพลิงไหม้โรงงานบริษัท เอ็น.พี.เอส. จากัด (เดิมชื่อ บริษัท โกบอล เอเซีย แปซิฟค) เอ็นไว
รอนเมนทอล โพรเทคช่ัน จากัด) ตาบลหนองรี อาเภอเมือง จังหวัดชลบุรี ซ่ึงประกอบกิจการรับซื้อของเก่า
รบั จ้างตดั บด พลาสตกิ ในวนั ท่ี ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๑ และสานักงานส่งิ แวดลอ้ มภาคท่ี ๑๓ (ชลบุรี) ได้รับ
การประสานจากองคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลหนองรี เพ่อื เกบ็ ตัวอย่างน้าดบั เพลิงทปี่ นเปอื้ นสง่ ตรวจวเิ คราะห์ทาง
หอ้ งปฏิบตั ิการ (เกดิ เหตุ ณ วันท่ี ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๑)
(๖) เพ ลิงไหม้ตู้คอนเทนเนอร์บรรจุสารเคมี Calcium Hypochlorite ในเรือ KMTC
HONGKONG ท่ีอยู่ในท่าเทียบเรือ บริษัท ไทยแหลมฉบัง เทอรมินัล จากัด L-A2 ทาให้เกิดการระเบิดและมี
การแพรก่ ระจายของสารเคมีทางอากาศ (เกิดเหตุ ณ วนั ที่ ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๖๒)
โครงการจัดทาแผนสง่ิ แวดลอ้ มในพื้นทีเ่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๓๐๐
สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม รายงานฉบบั สุดทา้ ย
(๗) เกิดเหตุเพลิงไหม้โรงงานท่ีอยู่ใกล้กันจานวน ๒ แห่งภายในสวนอุตสาหกรรมมังกรทองคือ
บริษัท ซูเปอร์ดีมัลติมีเดีย (ประเทศไทย) จากัด เป็นโรงงานคัดแยกวัสดุไม่ใช้แล้วและ บริษัท ไม่มีช่ือเป็น
โรงงานอุตสาหกรรมประกอบกิจการการล้างบดหรือย่อยหล่อหลอมพลาสติก จากการตรวจวัดคุณภาพอากาศ
(ฟอร์มัลดไี ฮด์และ VOC) ในบริเวณจุดเกิดเหตุ พบค่าเล็กน้อยส่วนชุมชนภายนอกไม่พบสารดังกล่าวและได้ทา
การตรวจวัดคุณภาพน้าเสียจากการดับเพลิงพบว่ามีค่า pH เท่ากับ ๑๒ ซึ่งน้าส่วนใหญ่ไหลลงระบบบาบัดน้า
เสียรวมของสวน (เกิดเหตุ ณ วันท่ี ๒๖ ธนั วาคม ๒๕๖๒)
(๘) เพลิงไหม้ขยะในศูนย์กาจัดขยะมูลฝอยแบบฝังกลบของเทศบาลเมืองศรีราชา อาเภอศรี
ราชา จังหวัดชลบุรี เมื่อวนั ท่ี ๑ มกราคม ๒๕๖๓ ส่งผลให้เกิดผลกระทบดา้ นกล่ินเหม็นฝนุ่ ละอองและสารเคมี
ที่เกิดจากขยะที่เผาไหม้เป็นบริเวณกว้าง จากการประเมินพบว่า มีประชาชนได้รับผลกระทบมากกว่า 1,000
คน จากการตรวจวัดคุณภาพอากาศ ได้แก่ H2S, Total VOC, CO, PM2.5 และ PM10 ในชมุ ชนบริเวณใกล้เคียง
ด้วยเครื่องมอื ตรวจวดั คุณภาพอากาศ ทง้ั นีย้ งั ไม่มรี ายงานผลกระทบตอ่ สขุ ภาพในระดบั รนุ แรง
(๙) เพลิงไหม้ลานดินโล่งร้านรับซ้ือของเก่าซึ่งใช้เก็บของเก่า เช่น ซากตู้เย็นเก่า เคร่ืองใช้ไฟฟ้า
ต่าง ๆ ที่รอรีไซเคิลในพื้นท่ีหมู่ ๑ ตาบลบ่อวิน อาเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ก่อให้เกิดกลุ่มควันดาหนาแน่น
กระจายไปท่ัวบริเวณเป็นวงกว้าง จนต้องมีการอพยพชาวบ้านที่อยู่ใกล้เคียงออกนอกพื้นท่ีชั่วคราว หลังจาก
จากการตรวจวดั คุณภาพอากาศ ไดแ้ ก่ H2S, CO, PM2.5 และ PM10 พบวา่ ค่าปริมาณฝุน่ ละอองในบรรยากาศมี
ปริมาณค่อนข้างสูงและได้ประสานยังศูนย์ควบคุมมลพิษจังหวัดระยองเพ่ือขอรับการสนับสนุนเครื่องมือ
ตรวจวัดคุณภาพอากาศสารไซยาไนต์ (HCM) และฟอร์มัลดีไฮด์ในบรรยากาศเน่ืองจากสารไซยาไนด์ (HCN)
และฟอรม์ ัลดีไฮด์เป็นสารที่ปลดปล่อยออกมาจากการเผาไหม้พลาสติกบางประเภทและส่งผลกระทบอันตราย
ต่อสขุ ภาพ (เกดิ เหตุ ณ วนั ที่ ๗ มกราคม ๒๕๖๓)
(๑๐) เพลิงไฟไหม้ บริษัท แอ็บโซลูทเพาเวอร์เวิลด์ที่ตั้ง ๖๖ หมู่ ๔ ตาบลท่าบุญมีอาเภอเกาะ
จันทร์ จังหวัดชลบุรี ประกอบกิจการรับซื้อของเก่า จากการตรวจวัดคุณภาพอากาศด้วยอุปกรณ์ตรวจวัด
คุณภาพอากาศภาคสนามแบบพกพา ณ บริเวณสถานท่ีเกิดเหตุพบค่าสารอินทรีย์ระเหยง่าย (VOC) อยู่ท่ีช่วง
ระหว่าง ๐.๐๐ – ๐.๐๗ ppm และคา่ ฟอร์มาดีไฮด์อยู่ท่ีชว่ งระหวา่ ง ๐.๐๔ – ๐.๑๗ ppm สว่ นเศษซากวสั ดุท่ี
เหลือจากการเผาไหม้ภายในโรงงานจะดาเนินการขออนุญาตสานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดชลบุรีดาเนินการ
ส่งไปกาจดั อย่างถูกต้องตอ่ ไป (เกดิ เหตุ ณ วนั ที่ ๓ มนี าคม ๒๕๖๓)
(๑๑) เกิดเหตุเพลิงไหม้โกดังเก็บเยื่อกระดาษรีไซเคิลภายใน บริษัท ทูเก็พเตอร์คอนเทนเนอร์
แอนด์เซอร์วิส จากัด หมู่ ๙ ตาบลสุรศกั ดิ์ อาเภอศรรี าชา จงั หวดั ชลบุรี จากตรวจสอบพื้นท่ีพบว่าบริเวณท่เี กิด
เหตุมีการเก็บเย่ือกระดาษรีไซเคิลเป็นจานวนมากและไม่มีการเก็บสินค้าประเภทอื่นในบริเวณพื้นที่ดังกล่าว
ประกอบกับการท่ีฝนตกในพ้ืนท่ีทาให้ควันจากเพลิงไหม้ไม่กระจายออกเป็นพื้นที่วงกว้างส่วนน้าเสียจากการ
ดับเพลิงถูกกักเก็บอยู่ในพ้ืนท่ีไม่มีการระบายออกสู่ภายนอกพร้อม ทั้งสอบถามประชาชนในพ้ืนที่ใกล้เคียง
พบว่าประชาชนไม่ได้รับผลกระทบจากควันท่ีเกิดจากเพลิงไหม้จากเย่ือกระดาษหรือน้าเสียท่ีเกิดจากการ
ดบั เพลงิ ในพ้นื ทแี่ ต่อยา่ งใด (เกดิ เหตุ ณ วันท่ี ๒๒ กนั ยายน ๒๕๖๓)
จังหวดั ฉะเชิงเทรา
โครงการจดั ทาแผนสงิ่ แวดล้อมในพื้นทีเ่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๓๐๑
สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม รายงานฉบับสุดทา้ ย
(๑) เพลิงไหม้โรงงานบริษัท ยู เอ โทมัส จากัด ผลิตสินค้าประเภทถุงเท้ายาง ต้ังอยู่ในนิคม
อุตสาหกรรม TFD ต.ทา่ สะอ้าน อ.บางปะกง จ.ฉะเชิงเทรา ไม่มีผ้ไู ด้รับบาดเจบ็ หรอื เสียชวี ิต ไม่มีการร้องเรียน
จากชุมชนใกล้เคียง แต่ได้มีการตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศบริเวณชุมชนใกล้เคียงเพื่อเฝ้าระวัง
คณุ ภาพอากาศ (เกิดเหตุ ณ วันท่ี ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๐)
(๒) เพลิงไหม้เป็นบ่อฝังกลบขยะอุตสาหกรรมของ บริษัท เอเชีย รีไซเคิล เทคโนโลยี จากัด
จงั หวัดฉะเชิงเทรา ซึ่งเป็นโรงงานประเภท ๑๐๕ ประกอบกจิ การคัดแยกและ ฝังกลบส่งิ ปฏิกูลหรือวัสดทุ ี่ไมใช้
แลว้ ท่ีไม่เป็นของเสยี อนั ตราย ต้ังอยใู่ นหมู่ท่ี ๙ ต.เขาหินซ้อน อ.พนมสารคาร จ.ฉะเชิงเทรา ทาให้เกิดกลมุ่ ควัน
จานวนมาก สถานท่ีเกดิ เหตตุ ้ังอยู่ห่างไกลชุมชน สามารถควบคุมเพลิงไว้ได้ ไมมกี ารลกุ ลามไปยงั บา้ นเรือนของ
ประชาชน (เกดิ เหตุ ณ วนั ที่ ๑๒ ธนั วาคม ๒๕๖๐)
จังหวดั ฉะเชิงเทรา
(๑) เพลิงไหมโรงงานบริษัท ยู เอ โทมัส จากัด ผลิตสินคาประเภทถุงเท้ายาง ต้ังอยู่ในนิคม
อุตสาหกรรม TFD ต.ท่าสะอ้าน อ.บางปะกง จ.ฉะเชิงเทรา ไม่มีผู้ไดรับบาดเจ็บหรือเสียชีวิต ไมมีการ้องเรียน
จากชุมชนใกล้เคียง แต่ได้มีการตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศบริเวณชุมชนใกล้เคียงเพื่อเฝ้าระวัง
คณุ ภาพอากาศ (เกดิ เหตุ ณ วันท่ี ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๐)
(๒) เพลิงไหมเป็นบ่อฝังกลบขยะอุตสาหกรรมของ บริษัท เอเชีย รีไซเคิล เทคโนโลยี จากัด
จังหวัดฉะเชิงเทรา ซ่ึงเป็นโรงงานประเภท ๑๐๕ ประกอบกิจการคดั แยกและ ฝงกลบส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใช้
แล้วที่ไม่เป็นนของเสียอันตราย ต้ังอยู่ในหมู่ที่ ๙ ต.เขาหินซ้อน อ.พนมสารคาร จ.ฉะเชิงเทรา ทาให้เกิดกลุ่ม
ควันจานวนมาก สถานทีเ่ กิดเหตุตง้ั อยู่ห่างไกลชุมชน สามารถควบคุมเพลิงไวได ไมมีการลุกลามไปยังบา้ นเรอื น
ของประชาชน (เกิดเหตุ ณ วนั ที่ ๑๒ ธนั วาคม ๒๕๖๐)
๔) เรอื บรรทกุ สินคา้ ล่มในทะเล
จังหวัดชลบุรี
(๑) เรือบรรทุกสินคา ภัทรมารีน ๖ ของบริษัท ภัทรทรานสปอรต จากัด ซึ่งบรรทุกตู้คอนเทน
เนอร์จานวน ๗๒ ตู้ ได้เสียการทรงตัวและจมลงบริเวณเขตจอดเรือศรีราชา Area G บริเวณใกล้เกาะท้ายตา
หมื่น จังหวัดชลบุรี ทาให้ตู้สินคาเกษตรลอยในทะเล แต่ไม่พบการร่ัวไหลของคราบน้ามัน (เกิดเหตุ ณ วันที่
๑๓ มิถนุ ายน ๒๕๖๑)
(๒) การชนกันของเรือสนิ ค้า จานวน ๒ ลา (บารจ JPI 57 และ บารจ PSL 61) ในขณะที่กาลัง
ขนถ่ายสินค้าจากเรือ Southampton บริเวณด้านเหนือของเกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี เนื่องจากเกิดฝนตกและ
ลมกรรโชกอย่างรุนแรง ทาให้เรือบาร์จท้ังสองลากระแทกกันอย่างรุนแรง โดยเรือบาร์จ PSL 61 จมลง สวน
เรือบาร์จ JPI 57 หลุดลอยไปและต่อมาก็ไดจมลง สานักงานส่ิงแวดล้อมภาคที่ ๑๓ (ชลบุรี) และหน่วยงานท่ี
เก่ียวข้องร่วมได้เข้าตรวจสอบความเสียหายที่มีผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม (เกิดเหตุ ณ วันท่ี ๓๑ กรกฎาคม
๒๕๖๒)
๔.๔.๒ เรอ่ื งรอ้ งเรียนดา้ นส่งิ แวดล้อม
จากข้อมูลของสานักงานส่ิงแวดล้อมภาคที่ ๑๓ เรื่องร้องเรียนด้านส่ิงแวดล้อม ของจังหวัดฉะเชิงเทรา
จังหวัดชลบุรี และจังหวัดระยอง พบว่ามีเร่ืองร้องเรียนจานวน ๙๑ เร่ือง ในปี พ.ศ. ๒๕๖๐ ๑๐๘ เร่ือง ในปี
โครงการจดั ทาแผนส่งิ แวดล้อมในพ้ืนทีเ่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๓๐๒
สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย
พ.ศ. ๒๕๖๑ และ ๑๑๐ เรือ่ ง ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ และในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ ๔๘ เรื่อง โดยเป็นเหตรุ ้องเรียน เร่ือง
น้าเสีย มากที่สุด คือ ๔๑ เร่ือง ในปีพ.ศ. ๒๕๖๐ ๔๙ เร่ือง ในปีพ.ศ. ๒๕๖๑ ๕๓ เรื่องในปีพ.ศ. ๒๕๖๒ และ
๒๖ เร่ืองในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ รองลงมาคือ เร่ือง กลิ่นเหม็น นอกจากนี้เรื่องร้องเรียนด้านสิ่งแวดล้อมมีจานวน
สูงสุดในจังหวดั ชลบรุ ี โดยในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ มจี านวน ๗๗ เรือ่ ง ดงั ตารางท่ี ๔ - ๑๐๓
โครงการจัดทาแผนส่ิงแวดล้อมในพ้ืนทเี่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๓๐๓
สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม
ตารางที่ ๔ - ๑๐๓ สรุปจานวนเรอื่ งรอ้ งเรยี นด้านส่งิ แวดล้อม ปี พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒
จังหวดั ประเภทข
นา้ เสีย
กล่ินเหมน เสยี งดัง ข
ปี พ.ศ. ๖๐ ๖๑ ๖๒ ๖๓ ๖๐ ๖๑ ๖๒ ๖๓ ๖๐ ๖๑ ๖๒ ๖๓ ๖๐
ฉะเชิงเทรา ๒ ๑๓ ๑๐ ๗ ๕ ๑ - ๑ ๑ ๒ ๑ ๑ -
ชลบุรี ๓๐ ๒๑ ๓๑ ๑๒ ๒๒ ๒๑ ๒๒ ๘ ๗ ๙ ๑๕ ๔ -
ระยอง ๙ ๑๕ ๑๒ ๗ - ๑ - ๑ - - - - -
รวม ๔๑ ๔๙ ๕๓ ๒๖ ๒๗ ๒๓ ๒๒ ๑๐ ๘ ๑๑ ๑๖ ๕ ๐
ทีม่ า : รายงานสถานการณค์ ุณภาพส่งิ แวดล้อมภาคตะวนั ออก, สานกั งานสิ่งแวดลอ้ มภาคท่ี ๑๓ (๒
โครงการจัดทาแผนส่ิงแวดลอ้ มในพ้นื ที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕
รายงานฉบับสุดท้าย
๒๕๖๓
ของเหตุร้องเรียน (เรอ่ื ง)
ของเสยี อนั ตราย ขยะมลู ฝอย ฝุ่นละออง อ่ืน ๆ
๖๑ ๖๒ ๖๓ ๖๐ ๖๑ ๖๒ ๖๓ ๖๐ ๖๑ ๖๒ ๖๓ ๖๐ ๖๑ ๖๒ ๖๓
๕๓๘ - - ๓ - - - ๑๒ - - - -
๒๒ - - ๗ - ๒๘๒๓๓๕๖๔๒
๑๒ - ๑ - - ๑ - ๑ - ๑๑ - -
๘๗ ๐๘๓๒๙๒๕๓๖๗๔๒
๒๕๖๐, ๒๕๖๑, ๒๕๖๒, ๒๕๖๓)
๕-๒๕๖๙ ๔ - ๓๐๔
สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม รายงานฉบบั สุดท้าย
เร่อื งรอ้ งเรียนทางด้านส่ิงแวดล้อม
หากพิจารณาข้อร้องเรียนด้านสิ่งแวดล้อม ซ่ึงเก็บรวบรวมโดยสานักงานทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม จังหวัดฉะเชิงเทรา และจังหวัดระยอง ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ (ข้อมูลในช่วงเดือน ๑ มกราคม ถึง ๓๐
กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๓) ซึ่งข้อร้องเรียนนี้ได้รวบรวมมาจากหลายแหล่งข้อมูล เช่น กรมควบคุมมลพิษ ศูนย์
ดารงธรรม ภาคประชาชน เครือข่าย ทสม. สื่อสังคมออนไลน์ เป็นต้น และจากศูนย์ดารงธรรมจังหวัดชลบุรี
ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ (ขอ้ มูลในช่วงเดอื น ๑ มกราคม ถึง ๓๑ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๖๓) พบว่า
จังหวัดฉะเชิงเทรา มีจานวน ๓๔ เร่ือง (สานักงานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมจังหวัด
ฉะเชิงเทรา, ๒๕๖๓) ตารางที่ ๔ - ๑๐๔ โดยสามารถแบ่งเป็น
๑) เรอื่ งร้องเรยี นทางด้านมลพษิ ทางอากาศ (กลนิ่ เหมน็ /ฝุ่นละออง/เขม่าควนั ) จานวน ๒๑ เรอ่ื ง
๒) เรอ่ื งรอ้ งเรียนทางดา้ นมลพษิ ทางนา้ (นา้ เสยี /น้าผิวดิน/นา้ ใต้ดิน/นา้ ทะเล) จานวน ๖ เรอ่ื ง
๓) เร่ืองรอ้ งเรยี นในเรือ่ งขยะมูลฝอย สง่ิ ปฏิกูลหรอื วัสดทุ ี่ไม่ใชแ้ ลว้ จานวน ๑ เรอื่ ง
๔) เรื่องรอ้ งเรยี นอ่ืน ๆ / ไมร่ ะบุประเภทจานวน ๖ เร่อื ง
จงั หวัดชลบุรี มจี านวน ๑๖ เรื่อง (ศนู ยด์ ารงธรรมจงั หวัดชลบรุ ี, ๒๕๖๓) โดยสามารถแบง่ เปน็
๑) เรอ่ื งร้องเรียนทางด้านมลพษิ ทางอากาศ (กลิ่นเหมน็ /ฝนุ่ ละออง/เขม่าควัน) จานวน ๖ เรื่อง
๒) เรื่องรอ้ งเรยี นทางดา้ นมลพิษทางเสยี งและแรงสั่นสะเทือน จานวน ๙ เรอ่ื ง
๔) เรื่องรอ้ งเรียนอ่นื ๆ / ไมร่ ะบุประเภทจานวน ๑ เรื่อง
จังหวัดระยอง มีจานวน ๔๕ เร่ือง (สานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดระยอง,
๒๕๖๓) โดยสามารถแบง่ เป็น
๑) เรือ่ งร้องเรียนทางด้านมลพิษทางอากาศ (กลิ่นเหม็น/ฝุ่นละออง/เขม่าควัน) จานวน ๑๙ เรือ่ ง
๒) เรื่องรอ้ งเรียนทางด้านมลพิษทางเสยี งและแรงสนั่ สะเทือน จานวน ๔ เรื่อง
๓) เรื่องร้องเรียนทางด้านมลพิษทางนา้ (นา้ เสีย/นา้ ผิวดนิ /น้าใต้ดนิ /นา้ ทะเล) จานวน ๑๓ เรือ่ ง
๔) เรื่องรอ้ งเรียนในเรอ่ื งขยะมลู ฝอย สง่ิ ปฏกิ ลู หรือวัสดุทไี่ ม่ใชแ้ ลว้ จานวน ๖ เรอ่ื ง
ตารางที่ ๔ - ๑๐๔ เรือ่ งรอ้ งเรยี นด้านสงิ่ แวดล้อม ใน ปี พ.ศ. ๒๕๖๓
ประเดนปญหามลพิษสิง่ แวดล้อม ฉะเชงิ เทรา ชลบรุ ี ระยอง
๖ ๑๙
๑) มลพิษทางอากาศ (กลิน่ เหมน็ /ฝนุ่ ละออง/เขม่าควัน) ๒๑ ๙ ๔
- ๑๓
๒) มลพิษทางเสยี งและแรงสั่นสะเทือน - - ๖
๑ -
๓) มลพิษทางน้า (นา้ เสยี /นา้ ผิวดนิ /น้าใต้ดิน/น้าทะเล) ๖ ๑๖ ๔๒
๔) ขยะมลู ฝอย สิ่งปฏกิ ูลหรอื วัสดทุ ่ีไมใ่ ช้แล้ว ๑
๕) อน่ื ๆ/ไม่ระบุประเภท ๖
รวม ๓๔
โครงการจดั ทาแผนส่งิ แวดล้อมในพนื้ ท่เี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๓๐๕
สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม รายงานฉบับสดุ ทา้ ย
จากประเด็นเร่ืองร้องเรยี นในตารางที่ ๔ - ๑๐๕ มีรายละเอียดแยกตามประเภท ดังนี้
๑) เรือ่ งรอ้ งเรียนทางดา้ นมลพิษทางอากาศ
ตารางที่ ๔ - ๑๐๕ เร่ืองรอ้ งเรียนทางด้านมลพิษทางอากาศ พ.ศ. ๒๕๖๓
ลาดับที่ ชือ่ เร่อื งร้องเรียน ประเภท วนั ท่แี ละรับเร่ือง
จังหวัดฉะเชงิ เทรา
๑ กล่นิ เหมน็ จากการเลีย้ งสุกร ม.๒ ต.เสม็ดเหนือ อ.บางคลา้ ฉะเชงิ เทรา กลิ่นเหม็น ๒-ม.ค.-๖๓
ฝนุ่ ละออง ๘-ม.ค.-๖๓
๒ ปัญหาฝนุ่ ละอองจากรา้ นผสมแกลบ ม.๑๓ ต.ดงน้อย อ.ราชสาส์น ฉะเชงิ เทรา กลน่ิ เหม็น
เขมา่ ควัน ๒๙-ม.ค.-๖๓
ปญั หาไฟไหมร้ ้านรับซ้ือของเก่า (ซ้าอาจมขี ยะอันตราย) และยา้ ยไปพกั อกี จุดหนงึ่ ฝนุ่ ละออง
๓ ต.บางปะกง อ.บางปะกง ฉะเชงิ เทรา ๓-ก.พ.-๖๓
ฝ่นุ ละออง
รถบรรทุกดนิ หนิ ทราย สรา้ งความเดือดรอ้ น ฝนุ่ ละอองรบกวน รร. วดั ม.๔ ต.เขา กล่ินเหม็น ๒๖-ก.พ.-๖๓
๔ หนิ ซ้อน อ.พนมสารคาม เขมา่ ควนั
ฝุ่นละออง ๒๖-ก.พ.-๖๓
ไฟไหม้บอ่ ขยะเกา่ ม.๑๗ ต.นครเน่อื งเขต อ.เมอื ง ฉะเชิงเทรา กลน่ิ เหม็น
๕ เขม่าควนั ๔-ม.ี ค.-๖๓
ฝนุ่ ละออง
ปัญหาการเผาขยะ ใกลว้ ัดด่านเงิน ม.๔ ต.แปลงยาว อ.แปลงยาว ฉะเชิงเทรา ๔-ม.ี ค.-๖๓
๖ กลิ่นเหม็น
๕-มี.ค.-๖๓
ได้รับความเดอื ดรอ้ นจากฟาร์มเล้ียงไก่ “ประนอม” ม.๗ ต.หนองแหน อ.พยมสาร ฝุ่นละออง ๒๔-ม.ี ค.-๖๓
๗ คาม ฉะเชิงเทรา ๓๐-มี.ค.-๖๓
กลิน่ เหมน็ ๑๗-เม.ย.-๖๓
บริษัทคอลติ ี้ แซนด์ คอรป์ อเรช่ัน จากดั ก่อใหเ้ กิดฝนุ่ ละอองฟุ้งกระจาย ม.๘ ต.เขา กลน่ิ เหม็น ๑๗-เม.ย.-๖๓
๘ หนิ ซอ้ น อ.พนมสารคาม ฉะเชิงเทรา กลน่ิ เหม็น
กลน่ิ เหม็น ๘-พ.ค.-๖๓
โรงงานเค โอ เค รไี ซเคลิ แซนด์ เซอรว์ สิ จากดั สง่ กลน่ิ เหม็น ม.๕ ต.เสม็ดเหนือ อ. ๑๘-ม.ิ ย.-๖๓
๙ บางคลา้ ฉะเชิงเทรา ฝุน่ ละออง ๘-ก.ค.-๖๓
๑๐ กลิน่ เหมน็ จากฟาร์มเลย้ี งเปด็ ม.๑๓ ต.หนองแหน อ.พนมสารคาม ฉะเชิงเทรา ๒๙-ก.ค.-๖๓
๑๑ ได้รับความเดือดรอ้ นจากบอ่ ท้งิ ขยะเทศบาลเมือง ต.บางขวัญ อ.เมอื ง ฉะเชิงเทรา กลิ่นเหม็น ๓๐-ก.ค.-๖๓
๑๒ กลิน่ ทนิ เนอร์จากบริษทั รโี มทโซลชู ่ัน (ประเทศไทย) จากดั ม.๒ ต.บ้านใหม่ อ.เมือง กล่นิ เหมน็ /ฝุน่ ละออง ๗-ส.ค.-๖๓
๑๖-ส.ค.-๖๓
ฝุน่ ละอองจากบริษัท เกษตรรงุ่ เรอื งพืชผล จากดั ม.๑๑ ต.บางปะกง อ.บางปะกง ฝนุ่ ละออง ๒๗-ต.ค.-๖๓
๑๓ ฉะเชงิ เทรา กลิ่นเหมน็
กลิ่นเหม็น
ไดร้ ับความเดือดรอ้ นกลนิ่ เหม็นจากโรงงานในพืน้ ท่ี ม.๒๙ ต.เขาหนิ ซ้อน อ.พนม กลน่ิ เหมน็
๑๔ สารคาม ฉะเชงิ เทรา กลน่ิ เหมน็
๑๕ ไดร้ ับความเดือดร้อนจากบริษทั วนิชชัย ทาใหเ้ กิดฝุ่นละอองและกลน่ิ เหมน็ ฝนุ่ ละออง
๑๖ กิจการเผาถา่ น ถ.หมู่บา้ นศลิ าทอง ต.เขาหนิ ซ้อน อ.พนมสารคาม ฉะเชิงเทรา
๑๗ การรอ้ งเรียนฟารม์ สุกร กล่นิ เหม็น ๓-มค-๖๓
๑๘ การร้องเรียนปญั หามลพษิ จากการประกอบกจิ การเล้ียงไขไ่ ก่ ฝุ่นละออง ๖-มค-๖๓
๑๙ ได้รับความเดอื ดร้อนจากกลน่ิ เหมน็ รบกวน
๒๐ ได้รับความเดอื นรอ้ นจากกลน่ิ สี หมบู่ า้ นสุนันตา ต.หน้าเมือง อ.เมือง ฉะเชงิ เทรา
๒๑ การร้องเรียนปญั หามลพษิ จากการประกอบกจิ การสีขา้ ว
ชลบุรี
ไดร้ บั ความเดอื ดรอ้ นกลิ่นเหมน็ จากสารเคมี บ.ไมดา้ วนั จก. ต.บางนาง – ต.บา้ น
๑ เก่า อ.พานทอง
๒ ปัญหาฝุ่นละอองจากการเผาไร่อ้อย ต.หนองไผ่แกว้ อ.บา้ นบึง
โครงการจดั ทาแผนส่งิ แวดลอ้ มในพื้นทีเ่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๓๐๖
สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย
ลาดบั ที่ ช่อื เรอื่ งรอ้ งเรยี น ประเภท วันทีแ่ ละรับเร่ือง
กลนิ่ เหม็น เสยี งดัง ๒๔-กค-๖๓
มลพิษ กล่ินเหม็นและเสียงรบกวนจากโรงงานหลอมพลาสตกิ สรุ ียภ์ ทั ร ต.บึง อ.ศรี ๒๖-สค-๖๓
กลน่ิ เหมน็ ๑-ธ.ค.-๖๓
๓ ราชา จ.ชลบรุ ี กลน่ิ เหมน็ ๑๕-ธ.ค.-๖๓
ฝนุ่ ละออง
การเผายางรถยนตเ์ พอ่ื เป็นเช้อื เพลิงในการประกอบอาหาร ม.7 ต.พลูตาหลวง อ. ๑๓-ม.ค.-๐๖
กลิ่นเหม็น เขม่าควนั
๔ สตั หบี ๒๐-พ.ย.-๐๕
กลน่ิ เหมน็ ๑๑-ธ.ค.-๐๕
๕ ขอความอนุเคราะห์ แกป้ ญั หาเพลงิ ไหม้และกลนิ่ จากบอ่ ขยะเทศบาลเมอื งศรรี าชา ๑๒-ธ.ค.-๐๕
กลนิ่ เหม็น ๒๖-ธ.ค.-๐๕
๖ ร้องเรียน บ.ไดกิ อลมู ิเนียม อนิ ดสั ตรี จก. มลพษิ ทางเสยี ง , ฝ่นุ ละออง ฝุ่นละออง ๒-ม.ค.-๐๖
กลิ่นเหมน็
จงั หวัดระยอง ๑๖-ม.ค.-๐๖
กลน่ิ เหม็น
โรงงานบรษิ ทั ดีสดุ พลาสตกิ แพคเกจจง้ิ (ประเทศไทย) จากดั เลขท่ี ๗/๑๐๕ หมู่ท่ี ๒๕-ก.พ.-๐๖
กล่ินเหม็น
๑ ๔ ตาบลมาบยางพร อาเภอปลวกแดง จงั หวดั ระยอง ประกอบกิจการผลิตถุง ๑๐-ม.ี ค.-๐๖
กลน่ิ เหมน็ ๑๗-ม.ี ค.-๐๖
กระสอบ พลาสตกิ (ประชาชน) ๑๖-เม.ย.-๐๖
กล่ินเหมน็
โรงงานบรษิ ทั สาปะหลงั พัฒนา จากดั เลขท่ี ๗๗ หมูท่ ี่ ๖ ตาบลบา้ นฉาง อาเภอ ๑๓-พ.ค.-๐๖
กลิ่นเหมน็ ๒๓-เม.ย.-๐๖
๒ บ้านฉาง จังหวดั ระยอง ประกอบกจิ การผลิตแป้งมนั สาปะหลัง และแป้งมนั ๑๔-พ.ค.-๐๖
กลิ่นเหม็น นา้ เสีย ๒๒-พ.ค.-๐๖
สาปะหลงั แปรรปู (คพ.) กล่นิ เหม็น เขม่าควนั
๓ โรงงานบรษิ ทั เนเชอรลั อารต์ แอนด์ เทคโนโลยี จากดั ตาบลละหาร อาเภอปลวก ฝนุ่ ละออง
แดง จงั หวัดระยอง ประกอบกจิ การผลติ ยางแทง่ TTR (คพ.) กล่นิ เหมน็ เขมา่ ควัน
๔ รถบรรทุกขนดินว่งิ เสน้ ถนนก้นหนอง-ซอยตรอกบา้ นใหม่ หมูท่ ี่ ๒ ตาบลตะพง ฝนุ่ ละออง
อาเภอเมอื งระยอง จังหวัดระยอง (สป.ทส.) กลน่ิ เหมน็ ฝุ่นละออง
๕ โรงงานบริษัท แสงไทยเมตลั ดรมั จากัด เลขที่ ๑๖๒ หมูท่ ่ี ๑๑ ตาบลหนองละลอก ฝนุ่ ละออง
อาเภอบา้ นคา่ ย จงั หวัดระยอง ประกอบกิจกาทาถังเหล็กและถงั โลหะ (คพ.)
โรงงานบรษิ ัท เจเนซิส เอ็นจิเนียรงิ่ แอนด์ เทคนคิ คัลเซอรว์ สิ จากัด เลขที่ ๑๑๑/๒
๖ หมูท่ ี่ ๓ ตาบลชากบก อาเภอบา้ นค่าย จังหวดั ระยอง ประกอบกจิ การผลติ เครอื่ ง
ถา่ ยเทความร้อน (กอ.รมน.รย.)
โรงงานบรษิ ัท ซี เอ็ม อนิ เตอร์ พลาสตกิ จา้ กัด เลขท่ี ๒๓๘ หมูท่ ่ี ๕ ตาบลมาบยาง
๗ พร อาเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ประกอบกิจการลา้ ง โม่ บดยอ่ ยพลาสตกิ ผลิต
เมด็ พลาสติกรีไซเคลิ และวสั ดพุ ลาสติกเสริมคอนกรีต (ประชาชน)
โรงงานบริษัท แสงตะวันพลาสตกิ ๒๐๑๒ (ประเทศไทย) จากดั และบริษทั ซันโพ
๘ ลพี ลาส แอนด์ อิเล็คทรอนคิ จากดั หมทู่ ี่ ๔ ตาบลแม่นา้ คู้ อาเภอปลวกแดง จงั หวดั
ระยอง ประกอบกจิ การผลติ เม็ดพลาสติกรีไซเคลิ (ศดธ.รย./ศดธ.อ.ปลวกแดง)
โรงงานบริษทั ยูนิคอร์น เคม อินดสั ทรี จากดั เลขท่ี ๒๕๔ หมู่ที่ ตาบลหนอง
๙ ละลอก อาเภอบ้านคา่ ย จงั หวดั ระยอง ประกอบกิจการผลิตสารส้ม และกรดกา้ มะ
ถัน (ศดธ.รย.)
๑๐ ศูนยก์ าจัดขยะมลู ฝอยรวมแบบครบวงจรจงั หวัดระยอง หมูท่ ี่ ๓ ตาบลนา้ คอก
อาเภอเมอื งระยอง จงั หวัดระยอง (คพ.)
บริษัท อีสเทริ ์นปลาปน่ จากัด และบริษทั บา้ นแกลงอตุ สาหกรรมปลาป่น จากดั
๑๑ ตาบลแกลง อาเภอเมอื งระยอง จงั หวัดระยอง ประกอบกจิ การผลติ ปลาป่น (ศนู ย์
ดารงธรรมจงั หวดั ระยอง)
๑๒ การเผาขยะในพน้ื ทแ่ี คม้ ปท์ ี่พกั ของคนงานบริเวณ ดา้ นหลงั หมบู่ า้ นทรพั ย์เจริญ
ตาบลตะพง อาเภอเมอื งระยอง จงั หวัดระยอง (ประชาชน)
๑๓ บรษิ ัท บรหิ ารจดั การไม้ยางพาราระยอง จากัด ตาบลบางบตุ ร อาเภอบา้ นคา่ ย
จงั หวัดระยอง ประกอบกจิ การแปรรปู ไมย้ างพารา (กรมควบคุมมลพิษ)
๑๔ ลานตากกากแป้งมนั สาปะหลงั ตาบลทงุ่ ควายกนิ อาเภอแกลง จงั หวดั ระยอง (กรม
ควบคุมมลพิษ)
๑๕ บรษิ ทั ไทย-อบลิ ิตี เอ็นจเิ นยี ร่ิง จากัด ตาบลสานักทอ้ น อาเภอบา้ นฉาง จังหวดั
โครงการจดั ทาแผนส่งิ แวดลอ้ มในพน้ื ท่เี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๓๐๗
สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม รายงานฉบับสดุ ทา้ ย
ลาดับที่ ชอ่ื เรือ่ งรอ้ งเรยี น ประเภท วันที่และรบั เร่อื ง
๑๖ ระยอง ประกอบกจิ การทาโครงสร้างเหลก็ ถงั น้าและงานทอ่ (ประชาชน)
บริษทั ไออารพ์ ีซี จ้ากดั (มหาชน) ต้งั อยบู่ ริเวณตาบลเชงิ เนนิ อาเภอเมืองระยอง ฝนุ่ ละออง จากการขน ๘-ม.ิ ย.-๐๖
จังหวัดระยอง ประกอบกจิ การท่าเทยี บเรือขนถา่ ยถา่ นหนิ และผลิตไฟฟา้ (ศูนย์ ถา่ ยถา่ นหนิ
ดารงธรรมจังหวัดระยอง) กล่ินเหม็น ๑๖-มิ.ย.-๐๖
เขม่าควัน ๒๕-มิ.ย.-๐๖
๑๗ บริษทั ไออารพ์ ซี ี จากัด (ประกอบกจิ การเก่ียวกับปโิ ตรเคมี (ศูนยด์ ารงธรรมจงั หวัด เสียงดงั ๒๐-ส.ค.-๐๖
ระยอง) เสียงดัง ๙-ก.ย.-๐๖
๕-ส.ค.-๐๖
๑๘ สถานประกอบการกิจสะอาด ประกอบกจิ การลานตากกากมันสาปะหลัง (ศนู ย์ กล่นิ เหมน็ ฝุ่นละออง
ดารงธรรมจงั หวัดระยอง) ๓๑-ส.ค.-๐๖
กลน่ิ เหมน็
บริษัท ซินหยว่ นดา้ รบั เบอร์ (ประเทศไทย) จากดั ตั้งอยหู่ มู่ที่ ๖ ตาบลกองดนิ
๑๙ อาเภอแกลง จงั หวัดระยอง ประกอบกิจการผลิตยางแท่งเอสทีอาร์ ๒๐ และยาง
คอมพาวน์ (กรมควบคุมมลพษิ )
๒) เรอ่ื งรอ้ งเรียนทางด้านมลพิษทางเสียงและแรงสั่นสะเทอื น
ตารางที่ ๔ - ๑๐๖ เรื่องรอ้ งเรียนทางดา้ นมลพิษทางเสียงและแรงสัน่ สะเทือน ปี พ.ศ. ๒๕๖๓
ลาดับ เรอ่ื ง ประเภท วันทีร่ ับ
เร่ือง
ชลบุรี
๓๐ ม.ค.
๑ ขอให้ตรวจสอบรา้ นแบกะดิน ถ.จอมเทยี น-พทั ยาสาย ๒ เปดิ ใหบ้ รกิ ารตง้ั แต่ ๑๖.๐๐ – ๐๖.๐๐ น. และ เสียงดัง ๖๓
สง่ เสียงดงั รบกวน เสยี งดัง
๔ ก.พ. ๖๓
๒ รอ้ งเรียนร้าน The Angel Bar จัดงานเล้ยี งเปิดเพลงเสียงดังรบกวน ม.๑๒ ถ.หาดจอมเทียน ซ.จอมเทยี น
๗ ต.หนองปรือ ๒๔ ส.ค.
๖๓
๓ รอ้ งเรียนผูป้ ระกอบกจิ การซอ่ มเคร่อื งตัดหญา้ เสียงดงั และมีกลิน่ เหมน็ เสยี งดัง
๒๔ ส.ค.
๔ ไดร้ ับความเดอื ดรอ้ น ร้านเมามนั เปิดเพลงเสียงดัง เปิดเกนิ เวลา และมวั่ สุม เสยี งดัง ๖๓
๕ ไดร้ บั ความเดอื ดรอ้ นจากกจิ การโรงงาน (บ.เคพเี อ็นสตลี จก.) เสยี งดงั ม.1 ต.หนองรี อ.เมืองชลบุรี เสยี งดัง ๒๘ ก.ย.
๖๓
๖ บา้ นข้างเคยี งซอ่ มรถยนตแ์ ละทดสอบรถยนต์เสยี งดงั ม.๓ ต.หนองชาก อ.บา้ นบึง จ.ชลบุรี เสยี งดงั
๓๐ ก.ย.
๗ ไดร้ บั ความเดอื ดร้อนจากรา้ นเหลา้ ช่อื ร้านเมามัน เปดิ เพลงเสยี งดัง ถ.มาบมะยม ต.แสนสขุ อ.เมอื งชลบุรี เสียงดัง ๖๓
เสยี งดงั
๘ เสยี งดงั รบกวนในเวลากลางคนื จากร้านบาร์และร้านขายเครอื่ งดืม่ ฟุตบาททางเดนิ ชายหาดจอมเทยี น เสยี งดงั ๒๔ ก.ย.
ปากซอย ๑๙ ๖๓
เสียงดัง
๙ ได้รบั ความเดอื ดรอ้ นจากรา้ นเกมส์สง่ เสียงดัง มวั่ สมุ โครงการตึกน้า ๒๖ ต.ค.
๖๓
จงั หวัดระยอง
๑ พ.ย. ๖๓
๑ ร้านอาหารรา่ สุรา ถนนราชชมุ พล ตาบลเนินพระ อาเภอเมืองระยอง (ทต.เนนิ พระ)
๑๕-ม.ค.-
๒ รา้ นสิงห์สนุก ถนนราชชุมพล ตาบลเนินพระ อาเภอเมืองระยอง จงั หวัดระยอง (ทต.เนนิ พระ) เสียงดัง ๖๓
๓ รา้ นแมนมอเตอรไ์ ซด์ ซอยทางไผ่ ๓ ตาบลเชงิ เนนิ อาเภอเมอื งระยอง จงั หวัดระยอง ประกอบกิจการซอ่ ม เสียงดัง ๑๕-ม.ค.-
๖๓
๖-ก.พ.-๖๓
โครงการจดั ทาแผนสิง่ แวดล้อมในพ้นื ทเี่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๓๐๘
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม รายงานฉบับสุดทา้ ย
รถมอเตอรไ์ ซด์ (ทน.รย.)
๔ โรงงานทพิ ประมวลคา้ ไม้ ตาบลหนองละลอก อาเภอบา้ นคา่ ย จังหวัดระยอง ประกอบกจิ การทา้ วงกบ เสียงดัง ๑๘-ก.พ.-
ประตหู นา้ ตา่ ง (ศดธ.รย.) ๖๓
๓) เรอื่ งร้องเรยี นทางด้านมลพษิ ทางน้า
ตารางที่ ๔ - ๑๐๗ เร่ืองร้องเรยี นทางด้านมลพิษทางนา้ ในจงั หวัดระยอง ปี พ.ศ. ๒๕๖๓
ลาดับที่ ช่ือเร่อื งรอ้ งเรียน ประเภท วันทร่ี บั เรื่อง
นา้ เสีย ๔-มี.ค.-๖๓
จงั หวัดฉะเชงิ เทรา นา้ เสีย ๒๖-ก.พ.-๖๓
นา้ เสยี ๑๓-ม.ี ค.-๖๓
๑ ฝายหว้ ยกรอกเคยี นเนา่ เสยี มปี ลาตาย ม.๕ ต.ทา่ ตะเกยี บ อ.ท่าตะเกยี บ ฉะเชงิ เทรา น้าเสีย ๑๓-เม.ย.-๖๓
น้าเสีย ๑๗-เม.ย.-๖๓
บริษทั ไทยแฟกซ์ แมนูแฟคทอร่ี จากัด ปล่อยนา้ เสยี ลงคลองบางไผ่ ต.คลองนา อ.เมอื ง น้าเสีย ๑๑-ส.ค.-๖๓
๒ ฉะเชิงเทรา น้าเสยี ๒-ม.ี ค.-๖๓
นา้ เสยี ๒๘-ก.พ.-๖๓
บรษิ ัทผลิตอาหารสัตว์ ช่อื เพรชกสั โต จากดั ปล่อยนา้ เสียลงคลองสาธารณะ ม.๘ ต.คลอง น้าผวิ ดนิ ๕-มี.ค.-๖๓
น้าท้ิง/นา้ เสีย ๒๒-เม.ย.-๖๓
๓ หลวงแพง่ อ.เมือง ฉะเชิงเทรา
นา้ ทิง้ /น้าเสยี ๑๘-พ.ค.-๖๓
๔ เลา้ หมูปล่อยนา้ เสยี ลงคลองสาธารณะ ต.บ้านใหม่ อ.เมือง ฉะเชิงเทรา น้าเสยี ๑๓-ม.ิ ย.-๖๓
๕ ลกั ลอบปล่อยนา้ เสยี ลงคลองแสนแสบ ต.บางน้าเปรย้ี ว อ.บางนา้ เปรย้ี ว ฉะเชิงเทรา น้าผวิ ดิน ๑๗-มิ.ย.-๖๓
๖ ขอใหแ้ กไ้ ขปัญหานา้ เสยี ต.บางน้าเปรี้ยว น้าท้งิ /น้าเสยี ๘-มิ.ย.-๖๓
จังหวัดระยอง น้าเสยี ๒๐-ม.ิ ย.-๖๓
๑ โรงงานบริษัท เวลิ ด์เฟลก็ จากดั (มหาชน) ตาบลแมน่ า้ คู้ อาเภอปลวกแดง จังหวดั ระยอง นา้ ทิ้ง/น้าเสยี ๒๔-ก.ค.-๖๓
ประกอบกิจการผลติ ยาง (ศดธ.รย./ศดธ.อ.ปลวกแดง)
น้าทง้ิ /น้าเสีย ๑๓-ส.ค.-๖๓
๒ โรงไฟฟา้ บริษทั บแี อลซพี ี เพาเวอร์ จากัด ท่าเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด ตาบลมาบตาพดุ
อาเภอเมอื งระยอง จงั หวดั ระยอง (คพ.)
๓ บอ่ นา้ ตนื้ ตาบลมาบขา่ อาเภอนิคมพัฒนา จงั หวัดระยอง (ทต.มาบข่าพฒั นา)
บริษทั แมค็ ไคย์ รับเบอร์ (ประเทศไทย) จากดั ต้งั อยภู่ ายในนิคมอุตสาหกรรมอมตะซติ ี ระยอง
๔ ตาบลมาบยางพร อาเภอปลวกแดง จงั หวัดระยอง ประกอบกจิ การผลิตท่อยาง และฟองน้ากัน
รวั่ ซมึ (ประชาชน)
๕ โครงการภัทรโฮม (หม่บู า้ นจดั สรร) ต้ังอยู่บรเิ วณ ตาบลนา้ คู้ อาเภอปลวกแดง จงั หวัดระยอง
(ศนู ยด์ ารงธรรมจังหวัดระยอง)
๖ มีการลักลอบระบายนา้ เสยี สดี าลงท่อระบายนา้ สาธารณะรมิ ถนนภายในพ้นื ทนี่ คิ มอตุ สาหกรรม
มาบตาพดุ และไหลลงคลอง (สือ่ สงั คมออนไลน์)
มีการปลอ่ ยนา้ เสยี ลงคลองสาธารณะ (คลองทบั มา) บริเวณพื้นทีใ่ กลก้ บั ศนู ยก์ าจดั ขยะมูลฝอย
๗ รวมฯ หมทู่ ี่ ๗ ตาบลทบั มา อาเภอเมอื งระยอง จังหวัดระยอง (ศนู ยด์ ารงธรรมอาเภอเมอื ง
ระยอง)
บริษทั ฮงเวย่ (ประเทศไทย) จากัด ตาบลนิคมพฒั นา อาเภอนคิ มพฒั นา จงั หวัดระยอง
๘ ประกอบกจิ การคดั แยกวัสดทุ ไี่ ม่ใชแ้ ลว้ ทีไ่ ม่เปน็ ของเสียอนั ตราย (เครอื ขา่ ย ทสม.กลุม่ เฝ้าระวงั
นา้ ผิวดิน จงั หวัดระยอง)
๙ น้าในคลองหัวรถมสี ดี าสง่ กลิน่ เหมน็ ไหลออกสทู่ ะเลบริเวณหาดแมร่ า้ พงึ ตาบลตะพง อาเภอ
เมอื งระยอง จงั หวัดระยอง (สื่อสงั คมออนไลน)์
บริษัท เอน็ ดับเบ้ลิ ยู ที อนิ เตอรเ์ นช่ันแนล จากดั และบริษทั แอมเบอร์ วดู้ อินโนเวชัน่
๑๐ (ประเทศไทย) จากัด ตัง้ อยหู่ มู่ท่ี ๒ ตาบลทางเกวียน อาเภอแกลง จงั หวดั ระยอง ประกอบ
กจิ การแปรรูปไม้ (ศูนย์ดารงธรรมจงั หวดั ระยอง)
บรษิ ทั โหลว่ หยาง หลงเมน เฟอร์รอ-อลั ลอย แฟคทอรี่ (ประเทศไทย) จากดั ตงั้ อยูภ่ ายในนิคม
๑๑ อุตสาหกรรมอมตะซิตี ตาบลมาบยางพร อาเภอปลวกแดง จงั หวดั ระยอง ประกอบกจิ การผลิต
สารเคมี (e-petition กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม)
โครงการจัดทาแผนสงิ่ แวดล้อมในพ้นื ทีเ่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๓๐๙
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดท้าย
๔) เร่ืองร้องเรยี นในเรือ่ งขยะมลู ฝอย สง่ิ ปฏิกูลหรอื วสั ดทุ ี่ไมใ่ ชแ้ ลว้
ตารางท่ี ๔ - ๑๐๘ เรอ่ื งร้องเรยี นในเรอื่ งขยะมูลฝอย ส่ิงปฏิกลู หรอื วัสดุทีไ่ ม่ใชแ้ ล้ว ปี พ.ศ. ๒๕๖๓
ลาดบั เรอื่ ง ประเภท วนั ที่รบั เร่อื ง
๑๑-ส.ค.-๖๓
จังหวัดฉะเชงิ เทรา ขยะ
๑๕-ม.ค.-๖๓
๑ ไดร้ บั ความเดอื ดรอ้ นจากการลกั ลอบทงิ้ ขยะ วัสดทุ ่ไี ม่ใชแ้ ล้ว ๓-มี.ค.-๖๓
๑๙-เม.ย.-๖๓
จังหวดั ระยอง ขยะมูลฝอย ๒๐-พ.ค.-๖๓
กากอุตสาหกรรม ๑-มิ.ย.-๖๓
การลักลอบนา้ ขยะอุตสาหกรรมประเภทฉนวนใยแก้วหุ้มเบาะรถยนต์มาท้งิ และฝงั กลบ รกุ ล้าทส่ี าธารณะ ๕-มิ.ย.-๖๓
ขยะ/วสั ดทุ ไ่ี มใ่ ช้
๑ บรเิ วณพน้ื ท่ี ส.ป.ก. บา้ นทรพั ย์แสน่ หมทู่ ี่ ๑ ตาบลเขาน้อย อาเภอเขาชะเมา จงั หวัดระยอง
แล้ว น้าเสยี
(ประชาชน) วสั ดทุ ่ีไม่ใชแ้ ลว้
(เปลอื กทุเรียน)
๒ ผูเ้ ช่าร้านค้าขายของ บริเวณทา่ เรือโชคกฤษดา แยกจ่าพรา้ ว ตาบลเพ อาเภอเมอื งระยอง ขยะมลู ฝอย
จงั หวดั ระยอง ทิง้ ขยะลงทะเลทกุ วัน (ศดธ.รย.) วสั ดทุ ไ่ี มใ่ ชแ้ ลว้
๓ บรษิ ัท จี สตีล จากดั (มหาชน) ตาบลหนองละลอก อาเภอบา้ นคา่ ย จงั หวดั ระยอง ประกอบ
กจิ การผลิตเหล็กแผ่นรีดร้อนชนิดม้วน (ศนู ยด์ ารงธรรมจังหวดั ระยอง)
๔ การลกั ลอบท้ิงและฝงั กลบขยะ/วสั ดทุ ี่ไม่ใช้แลว้ ในทดี่ นิ ของเอกชนพน้ื ทีห่ มู่ที่ ๕ ตาบลปลวก
แดง อาเภอปลวกแดง จงั หวัดระยอง (องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลปลวกแดง)
๕ บรษิ ัท อู๋ เจยี่ มู่ ไทย เทรดด้งิ จากดั ตั้งอย่บู ริเวณ หม่ทู ่ี ๖ ตาบลทุ่งควายกิน อาเภอแกลง
จังหวัดระยอง ประกอบกจิ การหอ้ งเย็นถนอมผลไม้ (ประชาชน)
การลักลอบนาขยะมลู ฝอยเขา้ มาทงิ้ และฝังกลบ
๖ ในพ้นื ทสี่ ว่ นบุคคลบริเวณหมู่ที่ ๕ บา้ นหนองไทร ตาบลทงุ่ ควายกินอาเภอแกลง จังหวดั
ระยอง (องค์การบริหารส่วนตาบลทุ่งควายกิน)
๕) เรื่องรอ้ งเรียนอ่ืน ๆ ไม่ระบปุ ระเภท ประเภท วันทแี่ ละรับเรอ่ื ง
ตารางท่ี ๔ - ๑๐๙ เรอื่ งรอ้ งเรียนอน่ื ๆ ไมร่ ะบุประเภท ใน ปี พ.ศ. ๒๕๖๓
ลาดบั ชอื่ เร่ืองรอ้ งเรยี น
๑ ขอให้แกไ้ ขปญั หาเรื่องสารเคมีอันตราย อ.พานทอง อ่ืน ๆ ๖ กพ ๖๓
ฉะเชิงเทรา อ่ืน ๆ ๗-ม.ค.-๖๓
๑ บริษัท วิจติ รา ดีเวลลอปเม้นท์ จากดั สอบถามการสร้างโรงงานรไี ซเคลิ ในพ้นื ที่ ม.๑ ต.เขา ไมร่ ะบปุ ระเภท ๓๐-ม.ค.-๖๓
หนิ ซ้อน อ.พนมสารคาม ฉะเชิงเทรา ไมร่ ะบุประเภท ๓-ก.พ.-๖๓
ไม่ระบุประเภท ๑๗-มิ.ย.-๖๓
๒ เหตเดือดร้อนจากโรงงานทาตคู้ อนเทนเนอร์ ต.ทา่ ไข่ อ.เมือง ไมร่ ะบุประเภท ๘-ก.ค.-๖๓
๑๗-ส.ค.-๖๓
๓ ไดร้ บั ความเดอื ดรอ้ นจากโรงปูนซีเมนต์ตรานกอนิ ทรีย์ ม.๑ ต.คลองอดุ มชลจร อ.เมอื ง อืน่ ๆ
๔ การร้องเรยี นปัญหามลพษิ จากการประกอบกจิ การจาหนา่ ยอปุ กรณก์ ารเกษตร
๕ การรอ้ งเรียนปญั หามลพษิ จากโรงงานอตุ สาหกรรม
๖ การใช้พื้นทข่ี องธนารักษ์พ้นื ทฉ่ี ะเชิงเทราโดยผู้มอี ทิ ธพิ ล
โครงการจัดทาแผนสิง่ แวดลอ้ มในพน้ื ทเ่ี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๓๑๐
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม รายงานฉบับสุดท้าย
หมายเหต:ุ แสดงเฉพาะจดุ ท่สี ามารถหาพกิ ัดได้
ภาพท่ี ๔ - ๑๐๐ ตาแหน่งเรอื่ งร้องเรยี นแยกตามประเภท ในจงั หวดั ฉะเชิงเทรา ปี พ.ศ. ๒๕๖๓
โครงการจดั ทาแผนส่งิ แวดลอ้ มในพน้ื ท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๓๑๑
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม รายงานฉบับสดุ ทา้ ย
หมายเหต:ุ แสดงเฉพาะจดุ ทสี่ ามารถหาพิกัดได้
ภาพท่ี ๔ - ๑๐๑ ตาแหนง่ เรื่องร้องเรียนแยกตามประเภท ในจังหวัดชลบุรี ปี พ.ศ. ๒๕๖๓
โครงการจดั ทาแผนสง่ิ แวดลอ้ มในพนื้ ทีเ่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๓๑๒
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม รายงานฉบบั สุดท้าย
หมายเหต:ุ แสดงเฉพาะจดุ ที่สามารถหาพิกดั ได้
ภาพที่ ๔ - ๑๐๒ ตาแหน่งเรอื่ งร้องเรยี นแยกตามประเภท ในจงั หวัดระยอง ปี พ.ศ. ๒๕๖๓
โครงการจดั ทาแผนสง่ิ แวดล้อมในพ้ืนที่เขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๓๑๓
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สดุ ท้าย
๔.๔.๓ เร่ืองร้องเรียนดา้ นสิ่งแวดล้อมอื่น ๆ
กรณีตัวอย่างปญหาคนกับช้าง เน่ืองจากการขยายตัวของเมือง และการขยายพ้ืนท่ีเพาะปลูกของการ
ทาเกษตรเชิงอุตสาหกรรม ทาให้พ้ืนท่ีป่าที่และพ้ืนท่ีแหล่งอาหารแหล่งน้าท่ีช้างใช้อยู่อาศัยและหากินลดลง
ส่งผลให้ช้างออกมาหากนิ นอกพื้นที่ป่า ซึ่งรวมถึงการออกมาหากินนอกพ้ืนที่เขตรักษาพันธ์ุสตั ว์ป่าเขาอ่างฤาไน
และปา่ รอยต่อ ๕ จงั หวดั จงึ เกิดการปะทะกันระหว่างชา้ งและคน (ไทยพบี ีเอส, ๒๕๖๒) เราจงึ สามารถพบข่าว
ของการท่ชี ้างจากเขตรกั ษาพันธ์ุสัตว์ป่าเขาอ่างฤาไนออกมาหาอาหารในพ้ืนที่เกษตรทม่ี ักจะมีทัง้ อาหารและน้า
ที่ช้างต้องการ เช่น สวนบวบ สวนแตงกวา สวนทเุ รียน ไร่ขา้ วโพด ไรม่ ัน ไร่อ้อย หรือแม้แต่การเข้ามาอาศัยอยู่
ในสวนป่าสักของเกษตรกรในพ้ืนท่ีใกล้เคียง ในกรณีท่ีพบช้างออกมาเป็นโขลงใหญ่ถึง ๓๐ ตัว บางครั้งเข้ากิน
ออ้ ยในไร่เสยี หายกวา่ คร่งึ หรอื บางสถานการณ์พบช้างเข้ามาหากินถึงในตวั เมือง (มตชิ นออนไลน์, ๒๕๖๔: เช้า
น้ีท่ีหมอชิต, ๒๕๖๔: ไทยรฐั ออนไลน์, ๒๕๖๓) นอกจากนั้น หน่ึงในปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึนในฤดูท่ีมีการขนอ้อย
คือการที่ช้างออกมาบนถนนและขวางรถรถบรรทุกอ้อยพร้อมดึงอ้อยจากรถบรรทุก และเริ่มเกิดพฤติกรรม
เลียนแบบจากเดิม ๑ ตัว เพิ่มเป็น ๑๑ ตัว จนต้องเกิดการพยายามในการปรับพฤติกรรมของช้าง และมนุษย์
จากเดิมที่ผู้ขับรถบรรทุกมักจะยอมให้ช้างเอาอ้อยไปจากรถบรรทุกจนทาให้ช้างเกิดความเคยชินเป็นนิสัย
เจ้าหน้าที่จึงได้มีการอบรมผู้ขับข่ีรถบรรทุกอ้อยให้ค่อย ๆ เคล่ือนรถเพ่ือไม่ให้ช้างนาอ้อยไปจากรถ และให้
รถบรรทุกช่วยเป็นกาบังให้กับรถเล็ก (ไทยพีบีเอส, ๒๕๖๒: ประชาสัมพันธ์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและ
พันธุ์พืช, ๒๕๖๔) สาหรบั ข้อเรียกรอ้ งอ่ืน ๆ เพิ่มเติมนอกจากทไ่ี ด้รายงานไปแลว้ จะทาการรวบรวมข้อมลู ต่อไป
โครงการจดั ทาแผนส่งิ แวดล้อมในพน้ื ที่เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๓๑๔
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รายงานฉบบั สุดทา้ ย
๔.๕ สถานการณ์ด้านคณุ ภาพชีวิต
ผลการจัดเกบ็ ข้อมลู ความจาเปน็ พ้นื ฐาน (จปฐ.) ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ของสานักงานพฒั นาชุมชนจังหวัด
ทงั้ ๓ จังหวดั ในพ้นื ท่ีเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก มีดงั นี้
จังหวัดชลบุรี คุณภาพชีวิตของคนจังหวัดชลบุรีปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ภาพรวมทั้งเขตเมืองและเขตชนบท
จานวน ๑๑อาเภอ ๓๑๓,๒๒๐ ครัวเรือน ประชากรท้ังหมด จานวน ๕๘๒,๒๗๘ คน แยกเป็นเพศชาย
๒๘๔,๒๒๔ คน เพศหญิง ๒๙๘,๐๕๔ คน ครัวเรือนท่ีตกเกณฑ์รายได้เฉลี่ยต่ากว่า ๓๘,๐๐๐ บาทต่อคนต่อปี
จานวน ๑ ครัวเรือน มีรายได้เฉล่ีย ๑๓๒,๓๗๙.๕๕ บาทต่อคนต่อปี ดัชนีความสุขของคนจังหวัดชลบุรีท่ีได้
รวบรวมไว้ของสานักงานพัฒนาชุมชน จังหวัดชลบุรี รวม ๓๑ ตัวชี้วัด อยู่ในระดับ ๘.๓๔ (คะแนนเต็มเท่ากับ
๑๐) (สานกั งานพัฒนาชมุ ชนจงั หวดั ชลบรุ ,ี ๒๕๖๒)
จังหวัดระยอง จัดเก็บข้อมูลจากครัวเรือนที่มีผู้อาศัยจริง (ทั้งท่ีมีเลขบ้านและไม่มีเลขบ้าน) จานวน ๘
อาเภอ ๑๕๒,๗๔๙ ครัวเรือน ประชากรท้ังหมด ๓๖๓,๓๑๓ คน แยกเป็นเพศชาย ๑๗๘,๖๘๑ คน เพศหญิง
๑๘๔,๖๓๒ คน มีรายได้บุคคลเฉลี่ย ๑๒๔,๖๐๗.๗๓ บาทต่อปีต่อคน ดัชนีความสุขของคนจังหวัดระยองท่ีได้
รวบรวมไว้ของสานักงานพัฒนาชุมชน จังหวัดระยอง รวม ๓๑ ตัวช้ีวัด อยู่ในระดับ ๗.๘๖ (สานักงานพัฒนา
ชุมชนจังหวัดระยอง, ๒๕๖๒)
ขอ้ มูลด้านสุขภาพ เป็นตัวแปรหน่ึงทส่ี ามารถบง่ บอกได้ถึงคณุ ภาพชีวิตของคนในพื้นที่ EEC เชน่ กนั โดย
จากการรวบรวมข้อมูลสถานการณ์การเจ็บป่วยในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก เม่ือวิเคราะห์แยกราย
จังหวัดพบว่า จังหวัดฉะเชิงเทรา มีสาเหตุการเจ็บป่วยของผู้ป่วยใน ระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๕๘ - ๒๕๖๒ ท่ีมี
จาน วน ผู้ป่ วย ม าก ที่ สุด ๕ อั น ดั บ แรก ได้ แ ก่ ๑ ) ป อ ด บ ว ม ๒ ) ก ารบ าด เจ็บ บ ริเวณ ร่างก าย
๓) ภาวะแทรกซ้อนอื่น ๆ ของการตั้งครรภ์และการคลอด ๔) ภาวะอื่น ๆ ในระยะปริกาเนิด และ ๕) ต้อ
กระจกและความผิดปกติของเลนส์อื่น ๆ ส่วนสาเหตุการเจ็บป่วยของผู้ป่วยนอก ระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๕๘ -
๒๕๖๒ ท่ีมีจานวนผู้ป่วยมากทีส่ ุด ๕ อันดับแรก ได้แก่ ๑) ความดันโลหิตสูงท่ีไม่มีสาเหตุนา ๒) การติดเชือ้ ของ
ทางเดินหายใจส่วนบนแบบเฉียบพลันอ่ืน ๆ ๓) เบาหวาน ๔) เน้ือเย่ือผิดปกติ และ ๕) ความผิดปกติของฟัน
และโครงสร้าง สาหรับสาเหตุการตาย ระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๕๘ - ๒๕๖๒ ที่มีจานวนผู้เสียชีวิตมากที่สุด ๕
อนั ดับแรก ได้แก่ ๑) เนื้องอกรา้ ย ๒) ปอดบวม ๓) โรคหลอดเลือดในสมอง ๔) โรคหัวใจ ๕) โลหิตเป็นพษิ โดย
จะเห็นว่า สาเหตุการป่วยของผู้ป่วยในส่วนใหญ่เป็นโรคติดเช้ือ โดยเฉพาะโรคปอดบวมและภาวะแทรกซ้อน
อื่น ๆ ของการต้ังครรภ์และการคลอด ส่วนสาเหตุการป่วยของผู้ปว่ ยนอก มที งั้ โรคไมต่ ดิ ตอ่ เชน่ ความดนั โลหิต
สูงและเบาหวาน และโรคติดเช้ือ ได้แก่ การติดเชื้อของทางเดินหายใจส่วนบนแบบเฉียบพลัน และสาเหตุของ
การเสยี ชวี ิตท่ีสาคัญ มีท้ังโรคไม่ติดตอ่ (เนอื้ งอกร้าย หลอดเลือดในสมอง หวั ใจ) และโรคติดเชอ้ื (ปอดบวมและ
โลหิตเปน็ พิษ (ตารางที่ ๔ - ๑๑๐)
สาหรับจังหวัดชลบุรี มีสาเหตุการเจ็บป่วยของผู้ป่วยใน ระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๕๙-๒๕๖๓ ที่มีจานวน
ผู้ป่วยมากที่สุด ๕ อันดับแรก ได้แก่ ๑) ปอดบวม ๒) การดูแลมารดาอ่ืน ๆ ท่ีมีปัญหาเก่ียวกับทารกในครรภ์
และถุงน้าคร่า และปัญหาที่อาจจะเกิดได้ในระยะคลอด ๓) ภาวะแทรกซ้อนอ่ืน ๆ ของการต้ังครรภ์และการ
คลอด ๔) ภาวะอื่น ๆ ในระยะปริกาเนิด และ ๕) การบาดเจ็บภายในกะโหลกศีรษะ ส่วนสาเหตุการเจ็บป่วย
ของผู้ป่วยนอก ระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๕๙ - ๒๕๖๓ ที่มีจานวนผู้ป่วยมากท่ีสุด ๕ อันดับแรก ได้แก่ ๑) ความดัน
โครงการจดั ทาแผนส่ิงแวดล้อมในพ้ืนท่ีเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๓๑๔
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รายงานฉบบั สุดท้าย
โลหิตสูงที่ไม่มีสาเหตุนา ๒) การติดเชื้อของทางเดินหายใจส่วนบนแบบเฉียบพลันอื่น ๆ ๓) เบาหวาน ๔)
เนื้อเย่ือผิดปกติ และ ๕) การบาดเจ็บบริเวณร่างกาย สาหรับสาเหตุการตาย ระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๕๙-๒๕๖๓ ท่ี
มีจานวนผู้เสียชีวิตมากท่ีสุด ๕ อันดับแรก ได้แก่ ๑) โรคชรา ๒) หัวใจล้มเหลว ไม่ระบุรายละเอยี ด ๓) การติด
เช้ือในกระแสเลือด ๔) ไม่ชัดเจนและไม่ระบุรายละเอียด ๕) หัวใจล้มเหลว โดยจะเห็นว่า สาเหตุการป่วยของ
ผูป้ ่วยในส่วนใหญเ่ ป็นโรคติดเชื้อ โดยเฉพาะโรคที่เก่ยี วกับมารดาและทารก สว่ นสาเหตุการปว่ ยของผู้ป่วยนอก
เปน็ โรคไม่ตดิ ตอ่ เช่น ความดนั โลหติ สงู และเบาหวาน ในขณะที่สาเหตุของการเสียชวี ิตส่วนใหญ่เกิดจากโรคไม่
ติดตอ่ โดยเฉพาะโรคชราและโรคหวั ใจ (ตารางที่ ๔ - ๑๑๑)
ตารางที่ ๔ - ๑๑๐ จานวนผปู้ ่วยและผู้เสยี ชีวิตจากสาเหตตุ า่ ง ๆ ๕ ลาดบั แรกของจังหวดั ฉะเชงิ เทรา
ระหว่าง ปี พ.ศ. ๒๕๕๘-๒๕๖๒
ลาดบั สาเหตุ จานวน
ผปู้ ่วยใน
ปอดบวม ๒๓,๓๗๗
๑ การบาดเจบ็ บริเวณรา่ งกาย ๑๐,๕๘๐
๒
๓ ภาวะแทรกซ้อนอ่ืน ๆ ของการต้งั ครรภแ์ ละการคลอด ๘,๙๐๕
๔ ภาวะอน่ื ๆ ในระยะปริกาเนดิ ๘,๖๙๙
๕ ตอ้ กระจกและความผิดปกตขิ องเลนส์อ่นื ๆ ๘,๓๗๔
ผู้ป่วยนอก
ความดนั โลหิตสงู ทีไ่ มม่ สี าเหตนุ า ๑,๑๒๑,๓๙๖
๑ การติดเชอ้ื ของทางเดินหายใจส่วนบนแบบเฉยี บพลนั อ่นื ๆ ๘๗๙,๖๒๙
๒
๓ เบาหวาน ๘๕๑,๘๓๖
๔ เนื้อเยือ่ ผิดปกติ ๖๔๐,๘๗๓
๕ ความผดิ ปกติของฟนั และโครงสร้าง ๔๖๘,๒๘๘
ผเู้ สยี ชวี ิต เน้อื งอกรา้ ย ๕,๓๒๙
๑ ปอดบวม ๒,๖๗๐
๒ โรคหลอดเลือดในสมอง ๑,๖๐๗
๓
๔ โรคหวั ใจ ๑,๔๓๑
๕ โลหติ เป็นพษิ ๑,๒๙๒
ท่ีมา: ขอ้ มลู จากสานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั ฉะเชิงเทรา (๒๕๖๔)
โครงการจดั ทาแผนสิ่งแวดล้อมในพ้ืนที่เขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๓๑๕