สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม รายงานฉบับสุดทา้ ย
การกาหนดกรอบการส่งเสริมสนับสนุนการอนุรักษ์และฟ้ืนฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ใน
ขณะเดียวกันควรพัฒนาช่องทางการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมผ่านกลไกและ
กระบวนการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในระดับการเป็นหุ้นส่วน พร้อมด้วยการบูรณาการกระบวนการวิจัยมา
สู่การบรหิ ารจัดการทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม
๓.๓.๔.๕ การพฒั นาเมืองใหมท่ เี่ กย่ี วข้องกับโครงการรถไ ความเรวสงู เช่ือม ๓ สนามบิน
แผนการส่วนหนึ่งในแผนปฏิบัติการที่ ๕: การพัฒนาเมืองใหม่อัจฉริยะน่าอยู่และศูนย์กลาง
การเงิน ภายใต้แผนภาพรวมเพื่อการพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๕ (สกพอ,
๒๕๖๑) ดังนั้นในหัวข้อนี้กล่าวถึงสถานการณ์และการวิเคราะห์มิติด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมของการ
พัฒนาท่เี กีย่ วข้องดังกลา่ ว
ภายใต้การส่งเสริมเขตเศรษฐกิจพิเศษนั้น เขตส่งเสริมอุตสาหกรรมเป้าหมาย เขตสง่ เสริมกิจการ
พิเศษ เช่น เขตส่งเสริมเมืองการบินภาคตะวันออก และ เขตส่งเสริมรถไฟความเร็วสูงเช่ือม ๓ สนามบิน เป็น
ตัวอย่างของการพัฒนาท่ีจะเกิดข้ึนในพื้นที่ภาคตะวันออก (สกพอ., ๒๕๖๑) ซ่ึงการพัฒนาเหล่านี้นอกจากจะ
ก่อให้เกดิ การเปล่ียนแปลงในพ้ืนท่ีโครงการโดยตรงแล้ว ยังเหนี่ยวนาการพฒั นาอื่นที่เก่ียวขอ้ งในพื้นท่ีขา้ งเคียง
อีกด้วย เช่น การเกิดเมืองใหม่ การพัฒนาพื้นท่ีรอบสถานีรถไฟฟ้าที่ส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงการใช้
พ้ืนท่ี โดยในพื้นทีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก จะมีสถานีรถไฟฟ้าเกิดข้ึน ๕ แห่ง ได้แก่ สถานีฉะเชิงเทรา
สถานีชลบุรี สถานีศรีราชา สถานีพัทยา และสถานีอู่ตะเภา โดยคาดว่าหากเส้นทางรถไฟฟ้าแล้วเสร็จจะเกิด
ผลกระทบต่อการเปลยี่ นแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดนิ รอบสถานีในระยะ ๓ - ๑๐ กโิ ลเมตร ดังตารางที่ ๓ – ๑๗
และจะมพี ื้นทท่ี ่ไี ดร้ บั ผลกระทบเกิดขึน้ ดังตารางท่ี ๓ – ๑๘
ตารางท่ี ๓ - ๑๗ พื้นทที่ ี่อาจมกี ารเปลีย่ นแปลงการใช้ประโยชนท์ ่ดี ินเนอ่ื งจากการพัฒนารถไ ้าความสงู
ในระยะ ๓ กโิ ลเมตรจากสถานีรถไ ้า จังหวดั
ฉะเชิงเทรา
ชื่อสถานี ตาบล อาเภอ
ชลบรุ ี
ฉะเชงิ เทรา หนา้ เมอื ง ทา่ ไข่ บางตีนเปด็ วังตะเคยี น โสธร บางพระ เมอื งฉะเชิงเทรา
ระยอง
ชลบรุ ี บางปลาสรอ้ ย มะขามหย่ง บา้ นสวน หนองรี นาป่า เมืองชลบรุ ี
หนองข้างคอก ห้วยกะปิ
ศรรี าชา ศรีราชา ศรรี าชา(เกาะลอย) สรุ ศกั ดิ์ บางละมงุ
พัทยา หนองปรอื นาเกลอื เขตการปกครองพเิ ศษ บางละมุง
บางพระ ศรีราชา
พลตู าหลวง สัตหีบ
สนามบนิ อู่ตะเภา สานักท้อน และพลา บ้านฉาง
พลตู าหลวง สัตหีบ
โครงการจัดทาแผนส่งิ แวดลอ้ มในพน้ื ท่เี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๖๒
สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดทา้ ย
ตารางท่ี ๓ - ๑๘ พื้นทท่ี ่ีอาจมกี ารเปลี่ยนแปลงการใชป้ ระโยชนท์ ีด่ ินเนอ่ื งจากการพัฒนารถไ า้ ความสูง
ในระยะ ๑๐ กโิ ลเมตรจากสถานีรถไ า้ จังหวัด
ฉะเชิงเทรา
ชือ่ สถานี ตาบล อาเภอ
ฉะเชิงเทรา หน้าเมือง ทา่ ไข่ บ้านใหม่ คลองนา บางตีนเปด็ บางไผ่ เมอื งฉะเชิงเทรา ชลบรุ ี
คลองจุกกระเฌอ บางแกว้ บางขวญั คลองนครเนื่องเขต วัง
ชลบรุ ี ตะเคียน โสธร บางพระ บางกะไห หนามแดง และ บางเตย บางคล้า ชลบุรี
สาวชะโงก เสมด็ ใต้ บางน้าเปรีย้ ว
ศรีราชา โพรงอากาศ บางปะกง ระยอง
พัทยา หนองจอก ชลบุรี
สนามบินอู่ บ้านโพธ์ิ เกาะไร่ คลองขดุ คลองประเวศ ดอนทราย เทพ บ้านโพธิ์ ชลบุรี
ตะเภา ราช ท่าพลับ หนองบัว บางกรดู ลาดขวาง สนามจนั ทร์
ก้อนแก้ว บางเล่า คลองเขือ่ น
มาบไผ่ หนองซ้าซาก บา้ นบงึ
หนองตาลงึ พานทอง
คลองตาหรุ ดอนหวั ฬ่อ นาปา่ บางทราย บางปลาสร้อย เมืองชลบรุ ี
บา้ นโขด บ้านปกึ บา้ นสวน มะขามหย่ง สานกั บก เสม็ด
หนองข้างคอก หนองไม้แดง หนองรี หว้ ยกะปิ อา่ งศลิ า ศรรี าชา
ทุ่งสุขลา บางพระ ศรีราชา
บงึ ศรรี าชา ศรีราชา(เกาะลอย) สรุ ศักดิ์ หนองขาม บางพระ บางละมุง
บางละมงุ เมอื งชลบรุ ี
แสนสขุ เหมอื ง บางละมุง
เขตการปกครองพิเศษ ตะเคียนเต้ีย บางละมุง นาเกลือ โป่ง
หนองปรือ หนองปลาไหล สตั หบี
นาจอมเทียน บ้านฉาง
สานกั ท้อน พลา บา้ นฉาง บางละมงุ
หว้ ยใหญ่ สัตหบี
นาจอมเทยี น บางเสร่ พลูตาหลวง สัตหบี แสมสาร
โครงการจัดทาแผนสิง่ แวดลอ้ มในพืน้ ที่เขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๖๓
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสุดทา้ ย
ภาพท่ี ๓ - ๔๒ การพฒั นาพืน้ ทรี่ อบสถานีรถไ า้ ในระยะ ๓ กิโลเมตร และ ๑๐ กิโลเมตร
โครงการจัดทาแผนสง่ิ แวดล้อมในพ้นื ทเี่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๖๔
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ท้าย
แนวคิดการพัฒนาเมืองรอบศูนย์การเปลี่ยนถ่าย/สถานีขนส่ง (ทีโอดี) (Transit Oriented
Development: TOD) ถูกนามาใช้เป็นหน่ึงในแนวคิดสาคัญในการพัฒนาเมืองใหม่ในเขตพัฒนาพิเศษภาค
ตะวนั ออก (อีอีซี) โดยเฉพาะในพื้นที่รอบสถานีรถไฟความเร็วสูง เช่ือม ๓ สนามบิน โดยแนวทางการนาทีโอดี
มาใช้กับกรณีดังกล่าวจะอยู่บนแนวทางการพัฒนาหลายมิติท่ีไม่ใช่เฉพาะโครงสร้างพ้ืนฐาน เป็นการกระจาย
ความเจริญทางเศรษฐกิจจากการพัฒนาพ้ืนทั้งพื้นพาณิชยกรรมและพื้นที่อยู่อาศัย พร้อมกับการกระจาย
นักท่องเท่ียวไปสู่แหล่งท่องเที่ยวอ่ืน (กรุงเทพธุรกิจ, ๒๕๖๒) โดยในหัวข้อนี้จะกล่าวถึงสถานการณ์ของกรณี
ตัวอย่างเมืองใหม่รอบสถานีฉะเชิงเทรา สถานีศรีราชา และสถานีพัทยา ตามลาดับ และตามด้วย ข้อสรุปของ
มุมมองของภาคประชาชน เช่น ประเด็นของตาแหน่งและรูปแบบ ทรัพยากรน้า และพื้นท่ีเกษตร และการ
อภปิ รายประเดน็ ร่วมดา้ นขนาดของเมอื งทีโอดี
๑) กรณีเมืองใหม่รอบสถานีฉะเชงิ เทรา
สถานีรถไฟความเร็วสูงฉะเชิงเทราถูกวางแผนให้เป็นสถานีใหม่ที่จะอยู่ไปทางเหนือของสถานี
รถไฟฉะเชิงเทราเดิมไปราว ๒ กม. อย่างไรก็ดีการพฒั นาเมืองใหม่รอบสถานฉี ะเชิงเทราน้ันยังไม่มีความชดั เจน
นัก ในการศึกษาของบริษัทที่ปรึกษาในปี พ.ศ. ๒๕๖๐ การพัฒนาเมืองใหม่รอบสถานี (ทีโอดี) ในกรณีของ
ฉะเชิงเทราถูกกาหนดวัตถปุ ระสงคไ์ วเ้ ปน็ พื้นท่ีอยู่อาศัยที่ทันสมัย รองรับการขยายตัวจากกรงุ เทพมหานคร ใน
รูปแบบของเมืองอัจฉริยะ ที่มีสวนสาธารณะและพ้ืนที่สีเขียวเป็นส่วนประกอบสาคัญ (Chotichinda
Consultants Limited, ม.ป.ป.)
นอกจากน้ันยังได้มีการกล่าวถึงโอกาสของการพัฒ นาฉะเชิงเทราในแนวคิดต่าง ๆ เช่น
การศึกษาโอกาสของเมืองฉะเชิงเทราในการเป็นศูนย์ราชการ ซึ่งได้ขอเสนอใน ๒ ลักษณะคือ ศูนย์ราชการใน
ระดบั ภาค หรอื ศนู ยร์ าชการในระดับประเทศ โดยมีเมอื งปุตราไจยา ประเทศมาเลเซยี เป็นกรณีศกึ ษา อย่างไรก็
ดแี นวคิดดงั กล่าวเป็นแผนระยะยาว ทจ่ี ะใช้เวลาในการวางแผนไมต่ ่ากวา่ ๑๕ ปี (Jaturong Kobkaew, 2020)
ในขณะที่ฉะเชิงเทรายังถูกกาหนดเป็นเมืองศูนย์กลางโลจิสติกส์เชื่อมโยงกับทวาย กัมพชู า และจีนตอนใต้ และ
ได้กาหนดแผนการพัฒนาสถานีบรรจุและแยกสินค้ากล่องสินค้า (ไอซีดี: ICD) ในพ้ืนที่ (สกพอ., ๒๕๖๑)
อยา่ งไรก็ดี ยงั ไมม่ กี ารกล่าวถงึ การพฒั นาเมืองใหม่ท่เี ชื่อมกบั ไอซดี ีให้เหน็ มากนัก
ในมุมมองของตัวแทนภาคประชาสังคมในพ้ืนท่ี เม่ือเปรียบเทียบการพัฒนาเมืองใหม่กับการ
พัฒนาพื้นที่อุตสาหกรรมนั้น การพัฒนาเมืองใหม่ยังมีขอ้ กังวลน้อยกว่าการพัฒนาพ้ืนที่อุตสาหกรรม ส่วนหน่ึง
เพราะยังไม่ได้รับข้อมูลของการพัฒนาเมืองใหม่ที่ชัดเจน แต่เคยได้เสนอความต้องการของการพัฒนาเมืองที่มี
อยู่เดิมมากกว่าสร้างเมืองใหม่ มาตรการที่ให้ความสาคัญกับเมืองท่ีมีอยู่แล้วเช่น การศึกษาและส่งเสริมการ
จัดทาผังภูมินิเวศของเมือง การพัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์เมือง การประเมินผลกระทบส่ิงแวดล้อมระดับ
ยุทธศาสตร์สาหรับเมือง หรือการพัฒนาระบบติดตามสิ่งแวดล้อมของเมือง เป็นสิ่งท่ีควรพิจารณาเช่นเดียวกัน
ซึ่งแนวทางดังกล่าวบางส่วนสอดคล้องกับแนวทางที่ทางจังหวัดฉะเชิงเทราได้เริ่มดาเนินการ (จากการ
สมั ภาษณ์)
แนวทางการใช้เทคโนโลยีเมืองอัจฉริยะในการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองได้มีความ
เคล่ือนไหว คล้ายคลึงกับแนวทางของเทศบาลตาบลบ้านฉางแต่ในกรณีนี้เกิดข้ึนในระดับจังหวัด จังหวัด
ฉะเชิงเทราได้จัดต้ังคณะทางานด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ (Smart Environment) และ การบริหารภาครัฐ
โครงการจดั ทาแผนสงิ่ แวดล้อมในพื้นทเ่ี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๖๕
สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดทา้ ย
อัจฉริยะ (Smart Governance) ในการจัดทาแผนและขับเคลื่อนให้จังหวัดฉะเชิงเทราเป็นเมืองอัจฉริยะซ่ึง
ครอบคลุมประเด็นด้านมลภาวะ และการเปล่ียนแปลงสภาวะภูมิอากาศ เช่น การจัดการน้า คุณภาพอากาศ
ของเสยี และภัยพิบตั ิ (สานกั งานจังหวัดฉะเชงิ เทรา, ๒๕๖๔)
๒. กรณีเมอื งใหมร่ อบสถานศี รีราชา
สถานีศรีราชา เป็นหนึ่งในสถานีรถไฟความเร็วสูงเช่ือม ๓ สนามบิน และนอกจากน้ันศรีราชา
ยังถูกระบุให้เป็นสถานีต้นทางของโครงการรถไฟรางคู่ สายศรีราชา-ตราด (ซึ่งเป็นโครงการระยะ ๑๐ ปี) และ
ยังอยู่ในแนวของการขยายตัวจากเมืองสนามบินแนวท่ี ๑ (สัตหีบ บางสะเหร่ จอมเทียน พัทยา ศรีราชา)
นอกจากนั้น อาเภอศรีราชายังเป็นที่ต้ังของอุทยานรังสรรค์นวัตกรรมอากาศ ขนาดพื้นท่ี ๑๒๐ ไร่ ภายใต้เขต
ส่งเสริมนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EECi) และยังเป็นที่ต้ังของเขตส่งเสริมอุตสาหกรรม
และนวัตกรรมดิจิทัล EECd ทมี่ ีพื้นที่กว่า ๗๐๐ ไร่ (สกพอ, ๒๕๖๑) ซ่ึงมีข่าวของการท่ีจะใชแ้ นวคิดของ ทีโอดี
เข้าร่วมด้วย (กรุงเทพธุรกิจ, ๒๕๖๒) ซึ่งคาดว่าน่าจะมีการเชื่อมโยงกับสถานีรถไฟความเร็วสูงสถานีศรีราชา
นอกจากนั้นสถานีศรีราชายังได้ถูกระบุว่าเป็นจุดที่จะมีการพัฒนารอบสถานีไว้ต้ังแต่แรก (ภาพที่ ๓ - ๔๓)
(สกพอ., ๒๕๖๑) ซง่ึ คาดว่าอาจมาจากท่กี ารรถไฟมีที่ดนิ รอบสถานีรถไฟอยูแ่ ล้วจานวนหนึ่ง
ทม่ี า : ภาพดดั แปลงเพมิ่ เตมิ จาก สกพอ. (๒๕๖๑, หน้า ๔ - ๑๔)
ภาพท่ี ๓ - ๔๓ การพัฒนาที่ดนิ รอบสถานรถไ ความเรวสงู ศรรี าชา ในแผนภาพรวมเพ่ือการพฒั นาเขต
พฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก
อย่างไรก็ดีมีมุมมองที่เสนอว่าพื้นท่ีรอบสถานีศรีราชาของการถไฟแห่งประเทศไทยที่มีขนาด
๒๕ ไร่ น้ันเล็กเกินไปไม่สามารถพัฒนาอะไรได้ไม่มาก (The View Desk, ๒๕๖๓) ในขณะท่ีราคาที่ดินเอกชน
โดยรอบสถานีมีการเก็งกาไรจนราคาสูงข้ึนไปมากจนนักลงทุนภาคอสังหาริมทรัพย์ประสบกับความท้าทายใน
การลงทนุ โครงการพฒั นาที่จะคุม้ คา่ (ฐานเศรษฐกิจ, ๒๕๖๑) จึงมกี ารเสนอแนวคิดของการกระจายตัวของการ
พัฒนาเมืองใหม่ออกไปจากศูนย์กลางของสถานีรถไฟ เช่น การเสนอการใช้ระบบขนส่งเสริม (feeder) เพื่อ
เชือ่ มโยงกับสถานท่ีสาคญั อ่นื ๆ (เช่น EECd และ ทา่ เรือแหลมฉบงั ) (สุปรีย์ ศรสี าราญ, ๑๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓)
พร้อมกับมีกลุม่ เอกชนเสนอโครงการเมืองใหม่อีกแหง่ บนที่ดินประมาณ ๖๐๐ ไร่ (ฐานเศรษฐกจิ , ๒๕๖๑)
ข้อเสนอจากภาคเอกชนท่ีน่าสนใจอีกข้อหน่ึงท่ีจะมีผลกับมิติด้านทรัพยากรคือ การเสนอ
แนวทางแก้ปัญหาการเก็งกาไรที่ดินรอบสถานีด้วยการใช้พื้นท่ีป่าเสื่อมโทรมซึ่งรัฐเป็นเจ้าของ ในรัศมี ๕๐ ถึง
โครงการจดั ทาแผนสงิ่ แวดล้อมในพ้นื ท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๖๖
สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม รายงานฉบบั สุดท้าย
๖๐ กม. จากสถานีรถไฟ มาทาการพัฒนาเมืองใหม่ โดยในมุมมองน้ีมีแนวคิดว่าการเปิดพ้ืนท่ีใหม่ดังกล่าวจะ
ชว่ ยให้เกิดการปรับลดราคาท่ดี ินบรเิ วณสถานีรถไฟลง (ฐานเศรษฐกจิ , ๒๕๖๑) แต่เมื่อมองในมติ ิของทรัพยากร
แล้วแนวทางดงั กลา่ วอาจกระทบต่อโอกาสของการฟ้ืนฟูป่าเส่ือมโทรมและการขยายพ้ืนที่ปา่ อุดมสมบรู ณ์ได้ ซ่ึง
แม้ว่าข้อเสนอดังกล่าวยังมคี วามไม่แน่ชัดว่าจะถูกนาไปปฏิบัติจรงิ หรือไม่ แต่เพ่ือป้องกันกรสูญเสียพ้ืนที่สีเขียว
และพ้ืนทป่ี า่ จงึ ควรมีการคานงึ มาตรการเชงิ รกุ ในการรกั ษาฟืน้ ฟูสภาพป่าเหล่านี้
๓. กรณีเมืองใหม่รอบสถานพี ทั ยา
การพัฒนาเมืองใหม่รอบสถานีพัทยาน้ันมีประเด็นด้านความไม่แน่นอนของตาแหน่งที่ตั้งของ
เมืองใหม่เป็นสาคัญ โดยในช่วงปลายปี พ.ศ. ๒๕๖๓ ได้เกิดกระแสข่าวของการย้ายสถานีรถไฟความเร็วสูง
สถานีพัทยา และเนื่องด้วยเมืองใหม่น้ันมีความสัมพันธ์กับสถานี การย้ายตาแหน่งสถานีจึงมีผลสัมพันธ์กับ
ตาแหนง่ ของเมอื งใหมซ่ ึง่ กนั และกนั อยา่ งไรก็ดียงั ไมม่ คี วามแนช่ ัดเกี่ยวกบั การดาเนินงานดังกล่าว
จากกรณีทั้ง ๓ จึงเห็นได้ว่าสถานการณ์ของการพัฒนาเมืองรอบสถานีรถไฟฟ้าความเร็วสูงนั้น
อยู่ในระหว่างการดาเนินงานเช่นในด้านของตาแหน่ง ขนาด และรูปแบบของเมือง ซึ่งคาดว่าความชัดเจนของ
ข้อมูลดังกล่าวจะมีข้ึนต่อไป โดยสามารถสรุปข้อคานึงจากภาคประชาชนและมุมมองในด้านทรัพยากรและ
สง่ิ แวดล้อมดังตอ่ ไปน้ี
สรปุ ขอ้ พิจารณาด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
จากกรณีศึกษาทั้ง ๓ กรณี สามารถสรุปประเด็นข้อคานึงจากภาคประชาสังคมและจากการ
วิเคราะห์ในมิติของทรพั ยากรและส่งิ แวดลอ้ มในด้านตา่ ง ๆ ดังนี้
• การเปิดเผยข้อมูลและทรัพยากรท่ีดิน: การเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของพ้ืนท่ีที่ชัดเจนและ
รปู แบบของการพฒั นาเมอื งใหมย่ งั มีอยอู่ ยา่ งจากัด
• ทรัพยากรป่าไม้: จากข่าวด้านข้อเสนอของภาคเอกชนท่ีมีการเสนอให้ใช้ที่ดินรัฐในส่วนของ
ป่าเส่ือมโทรมในการพัฒนาเมอื งใหม่ แนวทางดังกล่าวอาจกระทบต่อโอกาสของการฟื้นฟูป่าท้ังในรูปแบบตาม
ภมู นิ ิเวศของพน้ื ทีแ่ ละในรูปแบบที่เปน็ ไปได้ตามภูมสิ ังคมเช่น ป่าชมุ ชน หรอื ปา่ ครอบครวั เป็นต้น
• ทรัพยากรน้า: การพัฒนาเมืองใหม่จะมีการดึงดูดผู้คนและกิจกรรมใหม่เข้ามาอยู่ในพื้นท่ีเป็น
จานวนมาก ซึ่งโดยปรกติอัตราการใช้น้าจะสูงข้ึนตาม ซ่ึงทาให้ภาคประชาสังคมมีความเป็นห่วงเรื่องความ
สมดลุ ของทรพั ยากรน้าทีใ่ นสภาวะปจั จุบนั แมย้ งั ไม่เกิดเมืองใหม่ประชาชนยงั ประสบกับความท้าทายดงั กลา่ ว
• พ้ืนที่เกษตร: แม้ว่าพ้ืนที่มีทั้งเกษตรเชิงพาณิชย์และเกษตรเพื่อการพึ่งพาตนเอง การลดลง
ของพ้ืนท่ีเกษตรจากการพัฒนาเมืองใหม่มีผลต่อโอกาสของการสร้างความมั่นคงทางอาหารในพ้ืนที่ ภาค
วชิ าการในบางพื้นท่ีมีความไมเ่ ห็นด้วยกบั การใช้พื้นที่เกษตรขนาดใหญ่เพ่ือรองรับการพัฒนาเมืองใหม่ของกลุ่ม
ธรุ กิจเอกชน
ทีโอดที ่เี ป็นมติ รต่อส่ิงแวดล้อม (Green Transit-Oriented Development: Green
TOD)
ตามหลักวิชาการนั้นการพัฒนาตามแนวคิดทีโอดีจะมีความเก่ียวข้องกับการลดมลพิษและการใช้
พลังงานที่ใช้ในการเดินทาง (ดังจะกล่าวในหัวข้อถัดจากน้ี) ด้วยว่าแนวคิดดังกล่าวยังจากัดอยู่ที่การให้
ความสาคัญกับการเดินทางขนส่งเป็นหลัก เพ่ือให้แนวคิดทีโอดีสามารถตอบสนองต่อประเด็นด้านความย่ังยืน
โครงการจดั ทาแผนสงิ่ แวดล้อมในพ้ืนทเี่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๖๗
สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดทา้ ย
ให้ครอบคลุมได้มากขึ้นจึงได้มีการพัฒนาต่อยอดแนวคิดดังกล่าวด้วยการบูรณาการกับแนวคิด‘ความเป็นเมือง
ท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม’ หรือ กรีนเออร์เบิร์นนิสม์ (Green Urbanism) ในรูปของแนวคิด ‘ทีโอดีท่ีเป็นมิตร
ตอ่ ส่ิงแวดล้อม’ หรือ ‘กรีนทีโอดี’ (Green TOD) ดว้ ยวา่ เป็นกลุ่มแนวคิดสองกลุ่มที่สามารถส่งเสริมซึ่งกันและ
กันได้ (Cervero and Sullivan, 2011; Cervero and Sullivan, 2010)
คุณลักษณะของ ‘กรีนทีโอดี’ ในบริบทของเมืองแถบเอเชีย (เช่นสิงค์โปร์และไทเป) ยังคงมีการ
พัฒนาศึกษามาอย่างต่อเน่ือง เช่น มิติเชิงพื้นท่ีและรูปทรงของย่าน มิติด้านความครบถ้วนของส่ิงอานวยความ
สะดวก มิตดิ ้านพ้ืนท่ีเปิดโล่ง มติ ิด้านความหนาแน่นและการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างผสมผสาน และมิติด้านการ
เดินเท้า (เช่นความเป็นร่มเงา และขนาดทางเท้า) (Niu et al., 2021) ซ่ึงมีบางมิติคล้ายคลึงกับการศึกษาของ
Huang and Wey (2019) อย่างไรก็ดี Huang and Wey (2019) ได้ระบุถึงคุณลักษณะที่เฉพาะเจาะจง
เพ่ิมเติมคือ การออกแบบเมือง การเข้าถึงจุดหมายปลายทาง การพัฒนาระเบียงการขนส่งของพ้ืนท่ีโดยรอบ
การออกแบบอาคารท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การวางแผนการเดินทางคาร์บอนต่า และการใช้พลังงาน
หมุนเวยี น
อย่างไรก็ดีจากบริบทของการศึกษาที่อาศัยกรณีศึกษาของเมืองไทเป (ใต้หวัน) ขอบเขต
การศึกษาวิจัยของ Huang and Wey (๒๐๑๙) ไม่ได้ครอบคลุมหลักการ Green Urbanism ในส่วนที่ ‘ไม่ใช่’
สิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง (non-built environment) เป็นท่ีน่าสนใจว่าบางหลักการที่การศึกษาไม่ได้ครอบคลุม
เช่น ‘หลักการท่ี ๑๑ อาหารท้องถิ่นและการมหี ่วงโซ่อุปทานด้านอาหารท่ีส้ัน’ ที่เสนอโดย Lehmann (2010)
จะมีความเก่ียวข้องกับพ้ืนที่เกษตร และสัมพันธ์กับตาแหน่งที่ตั้งของทีโอดี (เช่น ระหว่างการจัดทาทีโอดีใน
พ้ืนที่ที่เป็นเมืองอยู่แล้ว หรือการจัดทาทีโอดีในพ้ืนท่ีใหม่โดยการเปล่ียนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินจากพ้ืนที่
เกษตรสพู่ ื้นที่เมือง) ซ่ึงสอดคล้องกบั ขอ้ พิจารณาท่ีกลา่ วในหัวข้อทผ่ี า่ นมา
ดังน้ันเพ่ือความครอบคลุมครบถ้วน คุณลักษณะของกรีนทีโอดีในบรบิ ทของอีอีซีจึงมีโอกาสที่จะ
ขยายให้ครอบคลุมหลักการ Green Urbanism มากขึ้น และสามารถใช้เป็นฐานของเครื่องมือการวิเคราะห์
ความสัมพันธ์ของโครงการการพัฒนาทีโอดีกับประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม อย่างไรก็ดีเน่ืองด้วยการพัฒนา
โครงการทีโอดีในเขตพื้นที่อีอีซียังอยู่ในระหว่างการดาเนินงาน ระดับของความเป็นกรีนทีโอดีจึงขึ้นอยู่กับ
รปู แบบในรายละเอียดของโครงการพัฒนาทีดีโอดีแตล่ ะโครงการที่จะเกิดข้ึน แต่หากการพัฒนาทีโอดใี นพ้ืนที่อี
อีซีได้นาแนวคิดกรีนทีโอดีเข้าไปผนวกอาจมีส่วนในการช่วยลดผลกระทบจากการพัฒนาต่อสิ่งแวดล้อมและ
ทรพั ยากรในพื้นทไี่ ด้
อภปิ รายขนาดเมืองทโี อดีกบั การใช้พลังงานและการปลดปล่อยมลพิษและกา๊ ซเรือนกระจก
ของภาคขนส่ง
ขนาดรัศมีของการพัฒนารอบสถานีรถไฟนั้นมีผลต่อขนาดของเมืองโดยตรง ในบริบทของอีอีซนี ั้น
รัศมีรอบสถานียังมีการกล่าวถึงตัวเลขท่ีหลากหลาย เช่น ๑.๖ กม. ๓.๒ กม. และ ๑๐ กม. หรือแม้แต่การตั้ง
เมอื งใหมห่ รอื เมอื งรองซงึ่ มีระยะห่างออกไปมากขึน้ แลว้ ทาระบบขนสง่ เช่อื มกับสถานีหลกั
แนวคิดด้านหนึ่งมองทีโอดีในแนวคิดของเมืองกระชับ (compact city) เช่นท่ีการศึกษาพัฒนา
เมืองกับโครงสรา้ งพื้นฐานการคมนาคมขนส่งได้เน้นเร่อื งเมืองกระชับผ่านแนวคดิ ทโี อดี (กรุงเทพธรุ กิจ, ๒๕๖๒)
สอดคล้องกับที่มีผู้ให้ความเห็นว่าระยะบริการเบื้องต้นของทีโอดีคือรัศมีการเดินและป่ันจักรยานจากสถานีใน
โครงการจัดทาแผนสงิ่ แวดล้อมในพ้นื ทเี่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๖๘
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม รายงานฉบับสดุ ทา้ ย
ระยะเวลา ๕ นาที คือ ๔๐๐ เมตรสาหรับการเดิน และ ๑,๖๐๐ เมตรสาหรับการป่ันจักรยาน ตามลาดับ
(ฐาปนา บุณยประวิต, ๒๕๖๒) ซ่ึงมีความใกล้เคียงกับท่ีหน่วยงานด้านผังเมืองเคยมีการให้ข่าวว่าจะมีการ
ส่งเสริมการพัฒนาเมืองรอบสถานีในระยะ ๑ - ๒ กม. และใช้เครื่องมือด้านการจัดรูปที่ดินแทนการเวนคืน
(ประชาชาตธิ ุรกิจ, ๒๕๖๒)
หากแต่แนวคิดอีกด้านหน่ึงมองทีโอดีในขนาดท่ีใหญ่ข้ึน เช่นการมขี ้อเสนอของรัศมีครอบคลมุ ที่มี
ระยะได้ถึง ๓.๒ กม. โดยมีการแบ่งระดับเมืองเป็นขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ ตามแนวทางของ
ประเทศญ่ีปุ่น (ฐาปนา บุณยประวิต, ๒๕๖๒) นอกจากน้ันยังมีการเสนอข่าวว่าของแนวทางในการให้เอกชน
พฒั นาเมืองใหมใ่ นระยะไม่เกิน ๑๐ กม. จากสถานีหรือโครงสร้างพื้นฐานหลกั อีกดว้ ย (ฐานเศรษฐกิจ, ๒๕๖๑)
จึงอาจกล่าวไดว้ ่าแนวคิดทโี อดใี นที่น้ถี กู กลา่ วถึงในมแี นวทางและรัศมีครอบคลุมทห่ี ลากหลาย
หากมองขอบเขตรัศมีของทีโอดีท่ีมีผลต่อขนาดเมืองท่ียังมีความหลากหลายดังกล่าวผ่านมุมมอง
ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมจะเห็นว่า หากการพัฒนาเป็นไปตามแนวคิดท่ีเน้นพ้ืนท่ีในรัศมีการเดินและป่ัน
จักรยานใน ๕ นาที ตามมุมมองท่ีเชื่อมทีโอดีกับแนวคิดของเมืองกระชับดังท่ีได้กล่าวไปแล้ว การพัฒนา
ดังกล่าวน่าจะมีผลดีกับการลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกและมลพิษของภาคคมนาคมและการใช้
ทรัพยากรต่าง ๆ แต่หากการพัฒนาเมืองรอบศูนย์การเปล่ียนถ่าย/สถานีขนส่งภายใต้อีอีซีนั้นกินรัศมีพื้นที่ที่
กว้างกวา่ ตามมมุ มองอีกด้านหน่งึ ที่ปรากฏในกระแสขา่ ว แนวทางของระบบการคมนาคมของเมอื งใหมด่ ังกลา่ ว
และแนวโน้มของการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกของภาคคมนาคมที่จะเกิดขึ้นเป็นประเด็นที่น่าจับตามอง
ตัวอย่างเช่นหากรูปแบบของการคมนาคมท่ีเพิ่มจากการเดินและจักรยานเป็นการใช้รถยนต์พลังงานไฟฟ้าเป็น
พาหนะอาจช่วยชะลอการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกของเมือง หากแต่ยังควรคานึงถึงผลกระทบด้าน
ส่ิงแวดล้อมตลอดวงจรชีวิตของยานพาหนะ เช่นแหล่งท่ีมาของแร่ในการผลิตเซลล์แบตเตอร่ี และการจัดการ
แบตเตอรี่ที่หมดอายุการใช้งาน รวมถึงการคานึงถึงการใช้ทรัพยากรและการปลดปล่อยมลพิษในกระบวนใน
การสรา้ งเมืองใหมข่ นาดใหญอ่ กี ด้วย
๓.๓.๕ การวเิ คราะห์ผลกระทบของโครงการพฒั นาต่อการใชป้ ระโยชนท์ ดี่ ินในพ้นื ทใ่ี กลเ้ คียงพ้ืนที่
อุตสาหกรรม
การพัฒนาพื้นท่ีอุตสาหกรรมมักจะมีการดึงดูดกลุ่มคนเข้ามาอยู่ในพ้ืนที่และเกิดการดึงดูดพัฒนาที่
เก่ียวข้องเพื่อบริการและรองรับความต้องการใหม่ท่ีเกิดขึ้น เช่น การบริการที่พัก ร้านค้า และสถานบริการ
อ่ืน ๆ จนนามาสู่ความต้องการการใช้ประโยชน์ท่ีดินในรูปของท่ีอยู่อาศัยและพาณิชยกรรม รวมถึง
สาธารณูปโภคและสาธารณูปการอ่ืน ๆ เป็นต้น ความตอ้ งการดังกล่าวในหลายกรณีนามาสู่แรงขับเคล่ือนของ
การเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินในพ้ืนท่ีข้างเคียงพ้ืนที่ถูกพัฒน าเป็นพื้นที่อุตสาหกรรมหรือพ้ืนท่ีท่ีมี
เปา้ หมายในการพัฒนาเป็นพื้นทอ่ี ตุ สาหกรรมในอนาคตอันใกล้
การศึกษาพบปรากฏการณ์ที่เก่ียวข้องกับการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวส่งผลต่อการเปล่ียนแปลงราคาท่ีดิน
โดยรอบพ้ืนที่อุตสาหกรรมท่ีเพิ่มสูงข้ึนเป็นอย่างมาก ซ่ึงเปรียบเสมือนปัจจัยเร่งการเปล่ียนมือท่ีดินโดยรอบ
พืน้ ท่ีอตุ สาหกรรม และเมอ่ื ปรากฏการณ์ดังกล่าวเกิดขน้ึ ในบริบทพนื้ ท่ีให้เช่าเพอ่ื ทาการเกษตรทีเ่ กษตรกรไมไ่ ด้
เป็นเจ้าของท่ีดิน แรงจูงใจในการขายท่ีดินจากราคาที่ดนิ ทส่ี ูงข้ึนส่งผลต่อความเสี่ยงของกลุ่มเกษตรกรเหล่าน้ัน
ทจี่ ะไม่มีโอกาสทากินบนพื้นทน่ี ้ันตอ่ ไป แม้ว่าพ้ืนทเ่ี หล่าน้ันจะถูกกาหนดเป็นพ้ืนท่ีเพื่อส่งเสริมการเกษตรกรรม
โครงการจัดทาแผนส่งิ แวดล้อมในพน้ื ทเี่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๖๙
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ท้าย
หรือพ้ืนที่เพ่ือส่งเสริมคุณภาพส่ิงแวดล้อมในผังการใช้ประโยชน์ที่ดินก็ตาม การสารวจภาคสนามเร่ิมพบเห็น
ความเปล่ียนแปลงการใช้ประโยชน์ท่ีดินเพื่อรองรับการพัฒนาท่ีเก่ียวข้อง เช่นในรูปของการพัฒนาท่ีอยู่อาศัย
ในกรณีพื้นที่คลองอ้อม การเปล่ียนแปลงดังกล่าวเป็นสัญญาณเริ่มต้นที่ช้ีให้เห็นถึงแนวโน้มของแรงกดดัน
ในทางปฏิบัติต่อการลดลงของพ้ืนท่ีเกษตรกรรมซง่ึ เป็นหนึ่งในปัจจัยพืน้ ฐานของความม่ันคงทางอาหารในพ้ืนที่
รวมถึงแรงกดดันท่ีมีต่อการเปลี่ยนแปลงในพ้ืนท่ีท่ีมีคุณค่าและมีความอ่อนไหวทางนิเวศบริการ เช่น พื้นท่ีริม
แหล่งน้า ซึ่งหากควบคุมไม่ดีสามารถส่งผลตอ่ ความสามารถในการรับมือกับการเปล่ียนแปลงและสภาวะวิกฤต
(resilience) ในท่ีสุด ในหัวข้อน้ีจึงขอยกตัวอย่างกรณีศึกษาพื้นท่ี คลองอ้อม ต.เขาดิน อ.บางปะกง จ.
ฉะเชงิ เทรา ดงั นี้
กรณีศึกษาพ้ืนทีบ่ ริเวณคลองออ้ ม ต.เขาดิน อ.บางปะกง จ.ฉะเชงิ เทรา
พื้นที่คลองอ้อมเป็นพื้นที่ท่ีได้รับอิทธิพลการพัฒนาพ้ืนที่อุตสาหกรรม ถึง ๒ ทิศทาง ดังภาพที่ ๓ – ๔๔
โดยอิทธิพลที่ใกล้ท่ีสุดคืออิทธิพลจากการพัฒ นาอุตสาหกรรมทางทิศตะวันออกเฉี ยงใต้ซึ่งตามผังการใช้
ประโยชน์ท่ีดินจะกาหนดพ้ืนที่ดังกล่าวเป็นพื้นท่ี ‘การพัฒนาอุตสาหกรรม’ ซ่ึงปัจจุบันอุตสาหกรรมแบตเตอรี่
ได้เกิดข้ึนแลว้ และกาลังจะเกิดนิคมอุตสาหกรรมที่เก่ียวข้องในอนาคต จากการพัฒนาดังกล่าวการศึกษาได้พบ
อิทธิพลท่ีส่งผลโดยตรงต่อพื้นท่ีคลองอ้อมในปัจจุบัน อิทธิพลต่อมาคืออิทธิพลทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของ
พนื้ ทท่ี ่ีถูกกาหนดเปน็ ‘เขตส่งเสริมอตุ สาหกรรมเป้าหมาย’ ดว้ ยอิทธพิ ลเหล่าน้ีพ้ืนท่ีคลองอ้อมจึงเป็นพืน้ ท่ที ่ีได้
ชอื่ วา่ กาลงั “เนอ้ื หอม” จากคาบรรยายของผใู้ หข้ อ้ มลู สาคัญในพ้ืนท่ี (จากการสัมภาษณ์)
ท่มี า: ดดั แปลงจาก EEC-OSS (2018)
ภาพท่ี ๓ - ๔๔ แสดงอิทธิพลของการพฒั นาพ้นื ท่ีอุตสาหกรรมใกลเ้ คียงต่อพน้ื ท่ีบรเิ วณคลองอ้อม
จากปัจจัยของการพัฒนาพ้ืนที่อุตสาหกรรมในบริเวณดังกล่าว มูลค่าที่ดินบริเวณคลองอ้อมสูงข้ึนราว
๑๐ - ๒๐ เท่า ระหว่างลงพ้ืนท่ีสารวจ ได้พบป้ายเสนอขายท่ีในราคาไร่ละ ๓.๕ ล้าน ซึ่งผู้ให้ข้อมูลสาคัญกล่าว
ว่าราคาเดมิ อยู่ที่ราวไร่ละ ๑ - ๒ แสน จึงเห็นได้วา่ มูลค่าที่ดินที่สูงข้ึนอย่างมากเช่นนี้เป็นแรงจูงใจท่ีมีพลังที่ทา
ใหเ้ จา้ ของท่ีดนิ มคี วามสนใจหรือความต้องการท่ีจะขายทีด่ นิ ของตน
โครงการจดั ทาแผนสิ่งแวดล้อมในพ้ืนทเ่ี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๗๐
สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม รายงานฉบับสุดท้าย
เม่ือเกิดการซ้ือขายแล้วโอกาสที่เจ้าของใหม่จะต้องการนาที่ดินไปใช้ประโยชน์ประเภทอ่ืนท่ีให้
ผลตอบแทนทางตัวเงินท่ีสูงคุ้มค่าแก่การลงทุนท่ีดินท่ีได้ลงทุนไปมีแนวโน้มสูงข้ึนมากเช่นเดียวกัน จาก
การศึกษาภาคสนามเริม่ พบการเปลยี่ นแปลงการใช้ประโยชนท์ ่ีดินท่ีเช่อื มโยงกับอตุ สาหกรรมดงั กล่าว เช่น การ
เกิดการพัฒนาท่ีพักอาศัยที่มีความหนาแน่นสูงรองรับบุคคลากรของภาคอุตสาหกรรมที่กาลังขยายตัวทางทิศ
ตะวันออก (ภาพที่ ๓ - ๔๕) โดยประชาชนในพ้ืนท่ีให้ข้อมูลว่าการพัฒนาท่ีพักอาศัยดังกล่าวเป็นที่พักเพ่ือ
รองรบั บุคคลากรจากตา่ งประเทศ
ภาพท่ี ๓ - ๔๕ การพฒั นาทอี่ ยู่อาศัยเพ่ือรองรับการพัฒนาอุตสาหกรรม
เมื่อการใช้ประโยชน์ที่ดินเปล่ียนแปลงและพ้ืนที่การเกษตรลดลง เกษตรกรกลุ่มหนึ่งจะสูญเสียฐานใน
การทามาหากิน ดว้ ยวา่ กิจกรรมการเกษตรที่เกิดขน้ึ ในพ้ืนท่ีบริเวณคลองออ้ มน้ัน เป็นกิจกรรมท่ีเกิดข้ึนบนการ
เช่าทด่ี ินจากเอกชนเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งประวตั ิการถือครองท่ดี ินนน้ั ย้อนไปไกลและมีความซับซอ้ น เกษตรกรส่วน
ใหญ่ไม่มีที่ดินเป็นของตัวเองมานานมากแล้ว บางพื้นที่ท้ังหมู่บ้านมีเกษตรกรท่ีมีกรรมสิทธ์ิท่ีดินเพียงรายเดียว
นอกน้ันเปน็ การเชา่ ทน่ี าทั้งหมด
และด้วยว่าการทาเกษตรกรมในพ้ืนน้ีเป็นวิธีการทาเกษตรในรูปแบบท่ีเรียกว่า นาขาวัง ซึ่งเป็น
ลักษณะเฉพาะทางวัฒนธรรมการดารงชีพท่ีสอดคล้องกับระบบนิเวศเฉพาะถิ่นดังที่เคยกล่าวมาในหัวข้อก่อน
หน้าน้ี การเปล่ียนแปลงดังกล่าวสามารถสง่ ผลกระทบทางนเิ วศวัฒนธรรมการดารงชีพอกี ด้วย
แต่นอกจากผลกระทบด้านท่ีดินแล้ว เกษตรกรบางสว่ นในพ้นื ที่กาลงั ประสบกับปญั หาทรพั ยากรสัตว์น้า
ในคลองท่ีลดลงซ่ึงสมมุติฐานส่วนหนึ่งคาดว่าการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวมาจากการเปล่ียนแปลงของคุณภาพน้า
ในคลองซ่ึงปัจจัยส่วนหน่ึงมาจากกิจกรรมของมนุษย์ท่ีเปลี่ยนไปตามการใช้ประโยชน์ท่ีดินท่ีเปลี่ยนไป ไม่ว่าจะ
เป็นการเกิดขึ้นของหมู่บ้านจัดสรร โรงงานอุตสาหกรรม หรือการใช้ยาฆ่าเพรียงในการดูแลโรงไฟฟ้า (จากการ
สมั ภาษณ)์
จากการสัมภาษณ์ เกษตรกรท่ีเดิมเคยหาเล้ียงชีพดว้ ยการหาปลาในคลองเป็นอาชีพหลัก กล่าววา่ เม่ือ ๒
- ๓ ปีที่ผ่านมา สภาพความอุดมสมบูรณ์ในคลองเปล่ียนไป จากก่อนหน้าน้ีที่เคยหาปลาไม่ก่ีชั่วโมงได้ปลากว่า
๑ ถัง เปลี่ยนมาเป็นหา ๓ - ๔ วนั ยังไม่ได้ปลาเลย จนทาใหไ้ มส่ ามารถพึ่งพาการหาปลาในคลองเป็นอาชีพหลัก
ได้ เกษตรกรดังกล่าวจึงได้ทาการปรับตัวด้วยการเช่าที่ดินเพ่ิมและปรับท่ีดินนั้นเป็นบ่อเล้ียงสัตว์น้า พร้อมกับ
รับบริการนาเท่ียว ตกปลา ดูหิงห้อยในคลอง ควบคู่กันไป อย่างไรก็ดีแนวโน้มของการเปลี่ยนเจ้าของที่ดินใน
โครงการจัดทาแผนส่ิงแวดล้อมในพน้ื ท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๗๑
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม รายงานฉบับสดุ ทา้ ย
บริเวณนั้นส่งผลโดยตรงต่อความสามารถในการปรับตัวของเกษตรกลุ่มดังกล่าว จากความไม่มั่นคงของที่ดินท่ี
เช่าเพ่ือเล้ียงสัตว์น้าทดแทนทรัพยากรในคลองทเ่ี ปลย่ี นไป
นอกจากทรัพยากรสัตว์น้าในคลองแล้ว ป่าจากริมคลองยังถือเป็นทรัพยากรสาคัญของคนในพื้นที่ จาก
การสมั ภาษณ์กลุ่มพบว่า กว่าร้อยละ ๕๐ ของประชาชนในพนื้ ท่ยี ังใช้ประโยชน์จากป่าจาก ไมว่ า่ จะเป็นการตัด
ใบจากเพ่ือทาขนมจาก การทาหลังคาจาก (ซ่ึงมีแนวโน้มท่ีเป็นที่ต้องการมากขึ้นจากการทาโรงเห็ด
รีสอร์ต ร้านอาหาร) การกินหน่อ หรือนาลูกไปทาลูกจาก ซ่ึงรายได้ท่ีได้จากการขายใบจากนั้นไม่น้อยเลย ใน
รายทชี่ านาญสามารถตดั ได้ ๒๕ มัดต่อวนั ในราคาขาย ๕๐ บาทตอ่ มัด คิดเป็นรายได้ ๑,๒๕๐ บาทตอ่ วัน โดย
เงื่อนไขการตัดน้ันจะเป็นการเช่าสิทธิการตดั จากเจ้าของท่ดี ิน หากมกี ารซื้อขายที่ดินแต่ยังไม่มีการใช้ประโยชน์
ก็ยังสามารถเข้าไปตัดจากได้ จึงเห็นได้ว่าการทามาหากินของคนในพื้นท่ียังมีความเช่ือมโยงกับ
ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นท่ีอยู่สูง การเปล่ียนแปลงของทรัพยากรและการใช้ประโยชน์ท่ีดินในพื้นที่สามารถ
สง่ ผลกระทบตอ่ เศรษฐกจิ ของประชาชนในพื้นท่ีได้โดยตรง
ในมุมของตัวแทนภาคประชาชนในพ้ืนท่ีนั้น พ้ืนที่คลองอ้อมมีลักษณะทางกายภาพคล้ายกับพ้ืนที่บาง
กระเจ้าของกรุงเทพมหานครฯที่ควรได้มีการสงวนรักษาไว้ท้ังในด้านสภ าพแวดล้อมทางธรรมชาติและ
สภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรมการดารงชีพ แต่จากการเปล่ียนแปลงที่เกิดขึ้นน้ัน การสงวนรักษาพื้นที่ดังกล่าว
นบั เปน็ ความทา้ ทายอย่างย่ิง
โดยสรุป การพัฒนาอุตสาหกรรมและการพัฒนาที่เกี่ยวข้องเหล่านี้มีผลต่อมูลค่าท่ีดินโดยรอบพ้ืนที่
อุตสาหกรรมนั้น ๆ แม้ว่าจะเป็นพ้ืนท่ีที่ถูกกาหนดให้เป็นพื้นท่ีเพ่ือส่งเสริมการเกษตรและส่งเสริมคุณภาพ
ส่ิงแวดล้อม กระบวนการทางการตลาดของท่ดี ินดังกลา่ วเปรยี บเสมือนปัจจยั เร่งการเปลี่ยนมือท่ีดินที่อาจสง่ ผล
ต่อการเปล่ียนแปลงการใช้ประโยชนท์ ่ีดินทไี่ ม่ไดเ้ ป็นไปตามเปา้ หมายตามทไ่ี ด้วางแผนไว้และนามาส่คู าถามของ
ศักยภาพในการควบคุมการใช้ประโยชน์ที่ดิน ท่ีเป็นข้อท้าทายท่ีเร้ือรังของประเทศมานาน ซ่ึง สกพอ. เองได้
เหน็ ถงึ ความสาคญั ของประเด็นดังกล่าว ดังท่ีรองเลขาธิการ สกพอ. ไดก้ ลา่ วว่า “ตอนนี้ส่ิงที่สา้ คัญที่สุดคอื การ
ก้ากับ ติดตาม ดูแล ให้การใช้ประโยชน์ที่ดินให้เป็นไปตามแผนผังอีอีซี ที่ได้ประกาศใช้ไป ซึ่ง สกพอ.รวมกับ
หลายภาคส่วนช่วยกัน เช่น กลุ่มพลังสตรี และบัณฑิตอาษา ท่ีจะคอยเป็นหูเป็นตาให้กับภาครัฐ ”
(ไทยพบั บลิก้า, ๒๕๖๓)
และเมื่อปรากฏการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้นในบริบทพื้นที่ให้เช่าเพ่ือทาการเกษตร ที่เกษตรกรไม่ได้เป็น
เจ้าของท่ีดิน แรงจูงใจในการขายที่ดินจากราคาท่ีดินที่สูงขึ้น ส่งผลต่อความเสี่ยงของกลุ่มเกษตรกรเหล่าน้ันที่
จะไม่มีโอกาสทากินบนพื้นที่นั้นต่อไป แม้ว่าพื้นท่ีจะถูกกาหนดเป็นพื้นทีการส่งเสริมการเกษตรและคุณภาพ
ส่งิ แวดลอ้ ม
ซึ่งโดยตามตามผังการใช้ประโยชน์ท่ีดินท่ีเรียกกันว่าผังอีอีซีน้ัน พ้ืนท่ีเกษตรกรรมดูเหมือนจะลดลงจาก
เดิมไม่มากคือจากประมาณร้อยละ ๖๖ เหลือประมาณร้อยละ ๕๘ ของพ้ืนท่ีท้ังหมด (ประชาชาติธุรกิจ,
๒๕๖๒) แตใ่ นทางปฏิบัตกิ ารลดลงของพืน้ ทเ่ี กษตรกรรมอาจมากกว่านนั้ จากผลของกลไกการตลาดและการเก็ง
กาไรท่ีดิน และโอกาสของการขอเปล่ียนผังสีการใช้ประโยชน์ที่ดินจากพ้ืนที่เกษตรเป็นพ้ืนที่ประเภทอื่นใน
อนาคตซ่ึงสามารถเกิดข้ึนได้ในกระบวนการทาผังเมืองในอนาคต หรือแม้แต่การดาเนินการทาผังเมืองอาเภอ
๓๐ อาเภอในเขตพ้ืนท่ีอีอซี ที ่ีกาลังดาเนินการอยู่ ซ่ึงการเปล่ียนแปลงการใชป้ ระโยชน์ท่ีดินน้ันหากไม่ควบคมุ ให้
โครงการจัดทาแผนสิ่งแวดลอ้ มในพื้นท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๗๒
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสุดทา้ ย
ดี สามารถส่งผลต่อความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติในพ้ืนที่ ดังเห็นได้จากตัวอย่างของทรัพยากร
สัตว์น้าในคลอง และ ทรัพยากรป่าจาก ท่ีประชาชนในพ้ืนท่ีพ่ึงพาในการดารงชีพของกรณีศึกษาดังกล่าว
ปรากฏการณ์ของการกลายเป็นเมืองที่ไม่ไดม้ ีการพจิ ารณาอย่างรอบคอบสามารถสง่ ผลกับความสามารถในการ
ปรับตัวและรับมือกับภาวะวิกฤตและความเปล่ียนแปลงอย่างเป็นธรรม (Equitable Resilience) ได้ในที่สุด
(Martin et al. 2018)
๓.๓.๖ ผลกระทบของการแพรร่ ะบาดโควิด-19 ต่อเศรษฐกิจในพื้นท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาค
ตะวนั ออก
สาหรับสถานการณ์ทางเศรษฐกิจก่อนการแพร่ระบาดโควิด-19 น้ัน เศรษฐกิจในพื้นที่ EEC ดาเนิน
ตามแผนการพัฒนาในด้านการลงทุนทางด้านโครงสร้างพ้ืนฐานในเขตพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกมี
มูลค่าการลงทุนมากกว่า ๖ แสนล้านบาท ซ่ึงจะก่อให้เกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจอย่างมหาศาล โดยการพัฒนา
ดังกล่าวมีแนวทางการพัฒนาพร้อมแผนปฏิบัติการ ๖ แนวทาง ได้แก่ ๑) โครงการรถไฟความเร็วสูงเช่ือม ๓
สนามบนิ มูลค่าการลงทนุ ๒๒๔,๕๐๐ ล้านบาท คาดว่าจะเปิดใหบ้ ริการได้ในปี พ.ศ. ๒๕๖๘ โดยมีสาระสาคัญ
ของโครงการ คือ เพื่อพัฒนารถไฟความเร็วสูง โดยใช้โครงสร้างและแนวเส้นทางการเดินรถเดิมของรบบ
รถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแอร์พอร์ตลิงค์(Airport Rail Link) ท่ีเปิดให้บริการอยู่ในปัจจุบัน โดยจะก่อสร้างทาง
รถไฟขนาด ๑.๔๓๕ เมตs (Standard Gauge) ส่วนต่อขยาย ๒ ช่วง จากสถานีพญาไทไปยังสนามบินดอน
เมือง และจากสถานีลาดกระบังไปยังสนามบินอู่ตะเภา พร้อมเชื่อมเข้าออกสนามบิน โดยใช้เขตทางเดิมของ
รฟท. เป็นส่วนใหญ่ ร่วมระยะทาง ๒๒๐ กิโลเมตร โดยวิ่งด้วยความเร็วสูงสุด ๒๕๐ กิโลเมตรต่อชั่วโมง ๒)
โครงการพัฒนาสนามบินอู่ตะเภาและเมืองการบินภาคตะวันออก มูลค่าการลงทุน ๒๙๐,๐๐๐ ล้านบาท
(มูลค่าปัจจุบัน) คาดว่าจะเปิดให้บริการได้ในปี พ.ศ. ๒๕๖๗ โดยมีสาระสาคัญของโครงการ คือ เพ่ือยกระดับ
สนามบนิ อู่ตะเภา ให้ขึ้นเป็นสนามบินหลักของพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออกและเป็นสนามบินหลักแห่ง
ที่ ๓ ของประเทศ เพ่ือรองรับการเจริญเติบโตของอตุ สาหกรรมการบินของประเทศและรองรบั การพัฒนาพ้ืนท่ี
ภายในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกให้เป็นเมืองการบินภาคตะวันออก (Eastern Airport City) ของ
ประเทศไทย รวมท้ังพัฒนาให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการบิน (Aviation Hub) ๓) โครงการพัฒนาท่าเรือ
แหลมฉบังระยะท่ี ๓ ท่าเทียบเรือ F คาดว่าจะเปิดให้บริการได้ในปี พ.ศ. ๒๕๖๘ โดยมีสาระสาคัญของ
โครงการคือ เพ่ือเพิ่มขีดความสามารถของท่าเรือแหลมฉบัง เพื่อรองรับความต้องการขนส่งสินค้าทางทะเล
ระหว่างประเทศที่เพิ่มข้ึนในอนาคต โดยดาเนินการก่อสร้างทาเทียบเรือสาหรับรองรับเรือสินค้าขนาดใหญ่
และสง่ิ อานวยความสะดวกอ่นื ๆ รวมทั้งการพัฒนาศูนย์การขนส่งตู้สินค้าทางรถไฟที่ทา่ เรอื แหลมฉบงั ก่อสร้าง
ทาเทียบเรือชายฝ่ังระหว่างประเทศ (International Coastal Terminal) ปรับปรุงสิ่งอานวยความสะดวกต่าง
ๆ เพื่อเกไ้ ขปัญหาจราจรภายในทาเรอื ตลอดจนโครงขา่ ยแลระบบการขนส่งต่อเนือ่ งท่ีจาเปน็ ในเขตพืน้ ทีท่ า่ เรือ
แหลมฉบังท่ีจะเชื่อมต่อกับภายนอกให้เพียงพอและพร้อมท่ีจะรองรับการขยายตัวของปริมาณเรือและสินค้า
ประเภทต่าง ๆ ๔) โครงการพัฒนาท่าเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด ระยะท่ี ๓ ช่วงท่ี ๑ คาดว่าจะเปิดให้บริการ
ได้ในปี พ.ศ.๒๕๖๘ โดยมีสาระสาคัญของโครงการ คือ พ่ีอรองรับการขนถ่ายก๊าชธรรมชาติ และวัตฤดิบเหลว
สาหรับกลุ่มอุตสาหกรรมปโิ ตรเคมี เพื่อรักษาความม่ันคงดา้ นพลังงานของประเทศและยงั มที าเรือสาธารณให้ม
ริการเพ่ิมมากข้ึน และหลังจากดาเนินการพัฒนาแล้วเสร็จ จะสามารถรองรับสินค้าผ่านท่า (สินค้าด้านปีโตร
โครงการจัดทาแผนสิ่งแวดลอ้ มในพื้นท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๗๓
สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดทา้ ย
เคมี และก๊าซธรรมชาติ การขนส่งสินค้าเหลว ๓๑ ล้านตันต่อปี ๕) โครงการศูนย์ซ่อมบารงุ อากาศยานอูต่ ะเภา
มูลค่าการลงทุน ๑๐,๕๘๘ ล้านบาท (มูลค่าปัจจุบัน) คาดว่าจะปิดให้บริการได้ในปี ๒๕๖๖ โดยมีสาระสาคัญ
ของโครงการคือ เพ่ือพัฒนาโรงซ่อมอัจฉริยะท่ีนาเทคโนโลยี เช่น Big Data, Drone 3D Printing แล: 3D
Scan มาใช้ในการติดตาม ตรวจสอบและซอ่ มบารุงอากาศยานที่เขา้ มารับบริการ ซึ่งมุ่งเน้นไปที่อากาศยานยุค
ใหม่ที่ลาตัวใช้วัสดุผสมพสาน(Composite Material) ในการผลิต เป็นต้น และ ๖) โครงการเขตส่งเสริม
อุตสาหกรรมและนวัตกรรมดิจิทัล (Digital Park Thailand) มูลค่าการลงทุน ๔,๓๔๒ ล้านบาท (มูลค่า
ปัจจุบัน) คาดว่าจะเปิดให้บริการได้ในปี ๒๕๖๕ โดยมีสาระสาคัญของโครงการ คือ เพื่อขยายและปรับปรุง
โครงสร้างพ้ืนฐานด้านดิจิทัลเดิมรองรับการเป็น Data Hub ของอาเซียน โดยมีพ้ืนที่ที่เอกชนผู้ดาเนินโครงการ
สามารถพัฒนาไดข้ นาดประมาณ ๕๖๙ ไร่
นอกจากนี้ได้มีการประกาศเขตส่งเสริมพเิ ศษเพ่ิมเติมเพื่อกิจการอุตสาหกรรมและ Cluster การผลิตที่
จาเป็น จานวน ๒ แห่ง ได้แก่ เขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษเพื่อกิจการอุตสาหกรรมกลุ่มพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บางปะกง และเขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษเพ่ือกิจการอุตสาหกรรมกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์อนาคตบ้านโพธ์ิ
จงั หวัดฉะเชิงเทรา ปัจจุบันมีนกั ลงทุนใหค้ วามสนใจโดยซ้ือ/เชา่ พ้ืนที่ แลว้ ๔๔,๗๒๖ ไร่ จากพ้ืนที่สาหรับขาย/
เช่า ๖๔,๔๘๗ ไร่ จึงมีที่ดินเหลือสาหรับใช้ประโยชน์ รวมท้ังพื้นท่ีใหม่สาหรับรองรับอุตสาหกรรมเป้าหมายได้
อีก ๑๙,๗๖๑ ไร่
และยังมีการสร้างความร่วมมือกับหน่วยงานภายในและต่างประเทศ โดยดาเนินนโยบายดึงดูดนัก
ลงทุนต่างชาติท่ีมีศักยภาพสูงผ่านกิจกรรมประชาสัมพันธ์และการสร้างความเข้าใจ เผยแพร่ข้อมูลท่ีเป็น
ประโยชน์ต่อการชักชวนนักลงทุน รวมถึงการสานต่อความร่วมมือด้วยการลงนามความร่วมมือ (MOU) กับ
หน่วยงานต่าง ๆ จานวน ๓๔ หน่วยงาน ๓ ประเทศ เพ่ือสนับสนุนและผลักดันให้เกิดการยกระดับการพัฒนา
อุตสาหกรรมเปา้ หมายพิเศษ และการลงทุนในพ้ืนท่ี อีอีซี การพัฒนาบคุ ลากร การวจิ ยั และเทคโนโลยี
เพื่อให้เกิดผลตามวัตถุประสงค์ มีการชักชวนนักลงทุนทั้งในและต่างประเทศ โดยความร่วมมือของ
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI) และสถานเอกอัครราชทูตไทย ดาเนินกิจกรรมเพ่ือดึงดูดนัก
ลงทุนให้เข้ามาลงทุนในอุตสาหกรรมเป้าหมายในพื้นที่ อีอีซที ั้งการเข้าร่วมสมั มนา ประชมุ จับคู่ทางธรุ กิจ และ
รว่ มบรรยายเพื่อให้ข้อมูลเชิงลึกเกีย่ วกับการลงทุนใน อีอีซี ในประเทศต่าง ๆ ทาให้มีการขอรบั การส่งเสรมิ การ
ลงทุนในพื้นที่ EEC รอบระยะเวลา ๑๒ เดือน วงเงนิ รวมท้ังสิน้ ๕๗๓,๖๑๒ ล้านบาท ส่วนใหญ่เป็นการลงทุน
ใน ๑๐ อุตสาหกรรมเป้าหมายท่ีใช้เทคโนโลยีขั้นสูง โดยมีกิจกรรมดึงดูดนักลงทุนในประเทศต่าง ๆ ท่ีสาคัญ
สาธารณรัฐประชาชนจนี ประเทศญ่ีปุน่ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี เป็นตน้
อย่างไรก็ตามการแพรร่ ะบาดของโควิด-๑๙ ในประเทศไทยเรมิ่ มาตัง้ แตต่ น้ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๖๒
เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบันและทวีความรุนแรงมากขึ้นเร่ือย ๆ ซึ่งส่งผลกระทบต่อทุกภาคส่วนเป็นอย่างย่ิง
โดยเฉพาะในมติ ิของภาคเศรษฐกิจ แม้ในโตรมาส ๒/๒๕๖๔ จะมีการขยายตัวของเศรษฐกิจร้อยละ ๗.๕ (y-o-
y) เมอื่ เทยี บกับไตรมาสเดียวกนั ในปีก่อนจากผลของฐานทีต่ ่า (ติดลบ -๑๒%) และเม่ือขจดั อทิ ธิพลของฤดูกาล
แล้วการขยายตัวทางเศรษฐกจิ เพิ่มข้นึ ร้อยละ +๐.๔ (q-o-q) แสดงในภาพที่ ๓ - ๑๐ และภาพที่ ๓ - ๑๑ ดังนี้
การแพร่ระบาดระลอกสามของ COVID-19 ทาให้ประชาชนยังระมัดระวังในการใช้จ่าย แม้จะมีการปรับตัวดี
ขน้ึ เล็กน้อยตามการผ่อนคลายมาตรการควบคุมการระบาด แต่ยงั มีผลกระทบต่อเน่ืองไปยังกาลังซ้ือและความ
โครงการจดั ทาแผนส่งิ แวดลอ้ มในพ้ืนทีเ่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๗๔
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม รายงานฉบบั สุดท้าย
เชือ่ ม่ันของผู้บริโภค ในขณะท่มี าตรการเยียวยาจากทางภาครัฐคาดว่าจะช่วยประคองการดารงชีพท่ีจาเป็นของ
ประชาชน แตไ่ ม่สามารถชดเชยผลกระทบทางเศรษฐกิจโดยรวม ขณะทีภ่ าคการท่องเท่ยี วยังไม่ฟนื้ ตัวเนอื่ งจาก
มาตรการจากัดการเดินทางระหว่างประเทศยังมีอยู่ สาหรับการส่งออกสินค้าไปยังต่างประเทศมีแนวโน้มดีขึ้น
ต่อเนื่องตามการฟื้นตัวของอุปสงค์ประเทศคู่ค้า และยังช่วยพยุงการลงทุนภาคเอกชนและการผลิต
ภาคอุตสาหกรรม นอกจากน้ีการใช้จ่ายภาครัฐยังขยายตัวได้เมื่อเทียบกับระยะเดียวกันปีก่อนจากท้ังรายจ่าย
ประจาและรายจ่ายลงทุน ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ อัตราเงินเฟ้อท่ัวไปยังคงปรับลดลง เน่ืองจากผลของฐาน
ต่าในหมวดราคาพลังงานทยอยหมดไป ขณะท่ีอัตราเงินเฟ้อพ้ืนฐานทรงตัวใกล้เคียงกับเดือนก่อน ด้าน
ตลาดแรงงานยังเปราะบาง สาหรับดุลบัญชีเดินสะพัดขาดดุลน้อยกว่าเดือนก่อน จากดุลบริการ รายได้ และ
เงินโอนท่ขี าดดลุ ลดลง ประกอบกบั ดลุ การคา้ เกินดลุ เพม่ิ ขนึ้ ตามทิศทางการส่งออก
เมื่อพิจารณาผลกระทบต่อเศรษฐกิจในเขตเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก หลังจากจานวนผู้ป่วยใน
พ้ืนท่ีมีการเพ่ิมสูงข้ึนมาก และนาไปสู่การใช้มาตรการควบคุมการเดินทางและจากัดกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
ต่าง ๆ อย่างไรก็ตามเศรษฐกิจในไตรมาส ๒ มีการขยายตัวเพ่ิมข้ึนโดยมีการประมาณการว่าเศรษฐกิจจะ
ขยายตัวร้อยละ ๘.๑ (y-o-y) ภาคอุตสาหกรรมขยายตัวสูงจากตามการส่งออกท่ีฟื้นตัวดีตามอุปสงค์ของ
ประเทศคู่ค้าและผลของฐานตา่ ในไตรมาสเดียวกันของปี ภาคเกษตรกรรมขยายตวั ได้ตามการเพ่มิ ขึ้นของผลไม้
และมันสาปะหลัง สาหรับภาคบริการขยายตัวเล็กน้อยจากผลของฐานที่ต่าในไตรมาสเดียวกันปีก่อนท่ีมี
มาตรการปิดเมืองทั่วประเทศ และมีการประกาศเลื่อนวันหยุดเทศกาลสงกรานต์ออกไป ขณะท่ีในปีน้ีมีเพียง
การงดการจัดกิจกรรมทาให้ยังมีการเดินทางข้ามจังหวัดแต่จานวนนักท่องเที่ยวท้ังชาวไทยและต่างชาติยังคง
หดตัวสูงเนื่องจากนักท่องเท่ียวยังขาดความเช่ือม่ันในเร่ืองการควบคุมการแพร่ระบาดของ COVID-19 กลุ่ม
กิจการบริการท่ีจะได้รับผลกระทบนั้นมีความสาคัญไม่น้อยต่อกิจการขนาดเล็กจานวนมาก โดย SMEs ในภาค
บริการในเขต EEC มีจานวนประมาณ ๖๐,๐๐๐ ราย คิดเป็นร้อยละ ๘๕ ของจานวนกิจการทั้งหมด
ที่จดทะเบียนใน EEC ซึ่งมีการจ้างงานรวมประมาณ ๕ แสนคน ถือเป็นแหล่งรายได้ท่ีสาคัญของครัวเรือนใน
พ้ืนที่
ภาพที่ ๓ - ๔๖ อัตราการขยายตวั ทางเศรษฐกิจในพน้ื ท่ี EEC
โครงการจดั ทาแผนสง่ิ แวดลอ้ มในพ้ืนทเ่ี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๗๕
สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดท้าย
๓.๓.๗ การวเิ คราะห์ผลกระทบของการแพร่ระบาดของโรค COVID-19 ต่อเศรษฐกจิ สงั คม และ
สง่ิ แวดล้อม
จากสถานการณ์โรคไม่ติดต่อเป็นภาวะท่ีคุกคามประชากรโลกอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากพฤติกรรมการ
บริโภคและสภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงของโลก จึงเป็นประเด็นท่ีโลกให้ความสาคัญ แต่อย่างไรก็ตามการแพร่
ระบาดของโรค COVID-19 มีผลต่อสุขภาพอย่างฉับพลัน ในยุคโลกาภิวัฒน์เทคโนโลยีด้านการขนส่งทาให้คน
เดินทางได้สะดวกและรวดเร็วขึ้น สามารถเดินทางติดตอ่ กันได้ทว่ั ถงึ กันทั้งโลกในเวลาอนั สั้น แต่ในสถานการณ์
การระบาดของโรคติดต่อ COVID-19 ที่เร่ิมข้ึนเม่ือปลายปี พ.ศ. ๒๕๖๒ และต่อเนื่องมาถึงปัจจุบัน การ
เดินทางถึงกันท่ีสะดวกและรวดเร็วกลายเป็นพาหะของโรคให้แพร่กระจายไปทั่วโลกในเวลาอันรวดเร็วเช่นกัน
พฤติกรรมการเดินทางของประชากรโลกจึงถูกจากัดการเดินทางให้อยู่แต่ในสถานที่พักอาศัยของตนเอง
สถานท่ีท่องเท่ียวและสถานบริการต่าง ๆ หยุดการให้บริการ เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรค COVID-19
ในส่วนน้ีจึงทาการวิเคราะห์การแพร่ระบาดของโรค COVID-19 ท่ีส่งผลกระทบต่อท้ังทางบวกและลบต่อการ
ขบั เคล่ือนเศรษฐกิจ ทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม รวมไปถงึ ผลกระทบทางสังคม
ผลกระทบทางดา้ นเศรษฐกิจ
การแพร่ระบาดของไวรสั โคโรนาสายพันธุ์ใหม่หรือ โควิด-19 (COVID-19) ส่งผลกระทบต่อทุกภาคส่วน
ในสังคมโดยเฉพาะภาคเศรษฐกิจทัง้ ในภาพรวมและในรายสาขา สาหรับในภาพรวมของประเทศผลกระทบจาก
การแพร่ระบาดดังกล่าวมีทั้งเชิงบวกและเชิงลบ โดยสถานการณ์โควิดต่ออัตราผลตอบแทนรายสาขาทางด้าน
เศรษฐกิจเม่ือพิจารณาจากดัชนีตลาดหลักทรัพย์พบว่าอัตราผลตอบแทนด้านอุตสาหกรรมอิเล็ก ทรอนิกส์เป็น
ในเชิงบวกสูง ท้งั น้ียังรวมถงึ ผลิตภัณฑ์ยาและเครื่องมือทางการแพทย์ด้วย นอกจากน้ีแลว้ ยงั มีด้านอาหาร ด้าน
เครือ่ งจกั รมีผลกระทบเชงิ บวกดว้ ย อย่างไรก็ตามผลกระทบเชิงลบจากสถานการณ์ดังกล่าวเกิดข้ึนในสาขาด้าน
การเงินการธนาคาร ด้านยานยนต์ ธุรกิจการท่องเที่ยว และด้านภาคการขนส่ง เช่น สายการบินและการ
คมนาคมทไ่ี ดร้ ับผลกระทบ
สาหรับผลกระทบของการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ โดยเฉพาะระลอกใหม่ (เดือน
ธนั วาคม ปี พ.ศ. ๒๕๖๓) ส่งผลกระทบตอ่ เศรษฐกจิ ในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก จากเกดิ การระบาดของ
COVID-19 ระลอกใหม่ในช่วงสัปดาห์แรกของปี ค.ศ. 2021 ทาให้กิจกรรมการเดินทางในเขตพื้นที่ EEC ทั้ง ๓
จังหวัด ได้แก่ ระยอง ชลบุรี และฉะเชิงเทราลดลงถึงราว -๒๒.๖% เทียบกับค่าเฉลี่ยช่วงเดือนกุมภาพันธ์ปีที่
ผ่านมา (ก่อนการล็อคดาวน์คร้ังแรก) โดยเฉพาะปริมาณการเดินทางในจังหวัดระยองที่ลดลงสูงถึง -๒๙.๕%
ซงึ่ หดตัวใกล้เคียงช่วงลอ็ คดาวน์ในปีที่แล้ว ขณะที่ปริมาณการเดินทางของพ้นื ท่ีนอก EEC โดยเฉล่ียลดลงเพียง
-๖.๓% เท่าน้ันในช่วงต้นปีที่ผ่านมานี้ ผลจากมาตรการควบคุมการแพรร่ ะบาด ประกอบกับความกังวลในภาค
ประชาชนโดยท่ัวไป ส่งผลกระทบต่อปริมาณการเดินทางที่ลดลง ซึ่งมีแนวโน้มส่งผลต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
ในหลายด้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาคบริการ แม้ว่าเศรษฐกิจในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก จะพึ่งพา
อุตสาหกรรมขนาดใหญ่อย่างกลุ่มพลังงาน ปิโตรเคมี ยานยนต์ ฯลฯ โดยมูลค่าทางเศรษฐกิจของ
ภาคอตุ สาหกรรมคดิ เป็นสัดส่วนถงึ ๒ ใน ๓ ของมูลคา่ เศรษฐกจิ รวมใน EEC แตก่ ม็ อิ าจปฏเิ สธได้ว่ากล่มุ กจิ การ
บริการที่จะได้รับผลกระทบนั้นมีความสาคัญไม่น้อยต่อกิจการขนาดเล็กจานวนมาก ขณะท่ี SMEs ในภาค
บริการในเขตพ้ืนท่ี EEC มีจานวนกว่า ๖ หมื่นราย คิดเป็น ๘๕% ของจานวนกิจการท้ังหมดที่จดทะเบียนใน
โครงการจดั ทาแผนส่งิ แวดลอ้ มในพน้ื ท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๗๖
สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม รายงานฉบบั สดุ ท้าย
เขตพื้นท่ี EEC มีการจ้างงานรวมประมาณ ๕ แสนคน นับเป็นแหล่งรายได้ท่ีสาคัญของภาคครัวเรือนภายใน
พื้นท่ีดังกล่าว ทั้งนี้รัฐบาลและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องจึงมีความจาเป็นในการออกนโยบายหรือมาตรการเพ่ือ
หยุดยั้งต้นตอของการระบาดของโรคอันส่งผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจในคร้ังน้ีให้ได้อย่างเร่งด่วน การเร่ง
พัฒนาเขตพื้นที่ EEC ท้ังจากการลงทุนจากภาครัฐและภาคเอกชน โดยเฉพาะอย่างย่ิงการพัฒนาโครงสร้าง
พื้นฐานและการดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศควรมีการดาเนินการอย่างต่อเนื่อง เพ่ือให้ตัวเลขการลงทุนใน
ส่วนนี้ช่วยพลิกฟื้นเศรษฐกิจภายในพ้ืนท่ี EEC ได้อย่างรวดเร็วย่ิงข้ึน ด้วยเหตุนี้การพัฒนาศักยภาพของเขต
พื้นท่ี EEC อย่างต่อเนื่องนี้จะยิ่งทวีความกระหายการลงทุนจากนักลงทุนทุกภาคส่วนภายหลังสถานการณ์
COVID-19 ซึ่งอาจส่งผลต่อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกจิ อย่างก้าวกระโดดของประเทศไทยในอนาคต
ผลกระทบทางด้านสงั คม
ผลกระทบด้านสังคม เป็นอีกประการหน่ึงจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค COVID-19 และที่
สาคัญคือเรื่อง ความม่ันคงทางอาหาร ซึ่งมีความสาคัญต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนในทุกพื้นท่ี
ในสภาวะปกติการเขา้ ถงึ อาหารอาจข้ึนอยกู่ ับความสามารถทางเศรษฐกจิ แต่ในสภาวะท่ีไม่ปกติ เช่น กรณีการ
แพร่ระบาดของโรคติดต่อ เช่น โรค COVID-19 การมีระดับเศรษฐกิจที่ดีอย่างเดียวไม่เพียงพอท่ีจะสร้างความ
ม่ันคงทางอาหารของประชากรในพ้ืนท่ี ดังที่องค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) องค์การ
การค้าโลก (WTO) และองค์การอนามัยโลก (WHO) ร่วมกันออกแถลงการณ์ เรียกร้องประเทศผู้ผลิตและ
ส่งออกอาหารพิจารณามาตรการจากัดการเดินทางข้ามพรมแดนอันเนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
COVID-19 ให้มีผลกระทบต่อระบบการขนส่งสินค้าและอาหารข้ามประเทศให้น้อยท่ีสุด รวมถึงการจากัดการ
ส่งออกอาหารเพือ่ หลอ่ เล้ียงผคู้ นในประเทศ ซึ่งจะสง่ ผลให้เกิดภาวะขาดแคลนอาหารและเกดิ เหตุการณแ์ ย่งซื้อ
อาหารและสินค้าอุปโภคบริโภคในประเทศที่มีผลผลิตทางอาหารไม่เพียงพอ (ไทยรัฐ ออนไลน์, ๒๕๖๓)
เช่นเดียวกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID-19 ในประเทศเกาหลีเหนือท่ีได้รับผลกระทบจากการปิด
พรมแดนของประเทศจีนเพ่ือสกัดการระบาดของโรค ทาให้ราคาข้าวโพดสูงมากและไม่เพียงพอต่อความ
ต้องการของประชากรเกาหลีเหนือโดยเฉพาะบริเวณเมืองตามแนวชายแดนท่ีอาศัยพ่ึงพาการนาเข้าข้าวโพด
จากประเทศจีน (BBC News, 2021)
ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม
ท่ามกลางความตึงเครียดจาการแพร่ระบาดของโรค COVID-19 กลับส่งผลบวกต่อการฟื้นตัวของระบบ
นิเวศชั่วคราว จากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่มีปริมาณลดลงประมาณร้อยละ ๔ - ๘ ในขณะที่กรมอุทยาน
แห่งชาติ สตั วป์ ่า และพันธุ์พืช ได้เผยแพร่ข้อมูลการกลับมาของพืชพนั ธ์ุไม้หายากกลับมาเจรญิ งอกงาม รวมถึง
สัตว์หายากออกมาให้พบเห็นบ่อยครั้งข้ึน และยังมีข้อมูลบ่งช้ีว่าเต่ามะเฟืองข้ึนมาวางไข่บนชาดหาดมากที่สุด
ในรอบ ๒๐ ปี (สานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดจิ ิทัล, ม.ม.ป.) นอกจากนั้นยังพบว่าปรมิ าณขยะรวมของเขตเมือง
ต่าง ๆ โดยเฉพาะเมืองท่องเท่ียว มีปริมาณที่สดลง โดยในพื้นที่กรุงเทพฯ ปริมาณขยะรวมลดลงจากปกติ
๑๐,๕๖๐ ตนั ตอ่ วนั เหลือ ๙,๓๗๐ ตันต่อวัน สว่ นเมอื งพัทยาปริมาณขยะรวมลดลงจาก ๘๕๐ ตนั ตอ่ วัน เหลือ
๓๘๐ ตันต่อวัน ในทางตรงกันข้าม ผลกระทบด้านลบที่เกิดต่อส่ิงแวดล้อมในช่วงการระบาดของโรค COVID-
๑๙ คือการเพ่ิมขึ้นของขยะติดเช้ือจากหน้ากากอนามัย และขยะพลาสติกจากการใช้บริการฟู้ดเดลิเวอร่ี (TEI,
๒๕๖๓) โดยในพ้ืนที่กรุงเทพฯ มีขยะพลาสติกเพ่ิมข้ึนถึงร้อยละ ๖๒ คิดเป็นปริมาณขยะพลาสติกเฉล่ียเพิ่มขึ้น
โครงการจัดทาแผนสงิ่ แวดล้อมในพน้ื ท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๗๗
สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย
จาก ๒,๑๒๐ ตันต่อวัน ในปี ๒๕๖๒ เป็นประมาณ ๓,๔๔๐ ตันต่อวัน ในช่วงเดือนมกราคม ถึงเดือนเมษายน
๒๕๖๓ และมีการคาดการณ์ว่าภายหลังสถานการณ์การระบาดของโรค COVID-19 บรรเทาลง มีการผ่อนปรน
มาตรการการเดินทาง สถานท่ีบริการและท่องเที่ยวกลับมาเปิดให้บริการอีกครั้ง ปริมาณขยะและพลาสติกยัง
จะคงเพ่ิมขึ้นต่อเน่ืองจากการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมของผู้บริโภคที่นิยมใช้การซ้ือของออนไลน์มากข้ึน จึงมี
ความกังวลต่อความย่ังยืนของทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมในยุคของความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี จะ
สร้างภูมิคุ้มกันและช่วยให้การใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้มีประสิทธิภาพมากท่ีสุดได้อย่างไร
(สานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจทิ ัล, ม.ม.ป.)
ส่ิงสาคัญที่ต้องดาเนินการเพ่ือสร้างทางรอดให้กับตนเองภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบ าดของโรค
COVID-19 ที่มาพร้อมกับความก้าวหน้าท่ีเทคโนโลยี ในขณะท่ีผู้คนจาเป็นต้องใช้ชีวิตอยู่แต่ในท่ีพักอาศัยของ
ตนเป็นส่วนใหญ่ นายวิวัฒน์ ศัลยกาธร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เสนอแนะ
แนวทางการดาเนินการภายใต้สถานการณ์ความตึงเครียดดังกล่าวใน ๓ เร่ือง คือ ๑) สร้างระบบสุขภาพ
ปอ้ งกันตนเองให้ได้ เช่น การผลิตหน้ากากใช้เองหรอื ร่วมกันผลติ ร่วมกันใช้ ๒) พึ่งตนเอง สร้างสภาพแวดล้อม
อาหารและอากาศท่ีบริสุทธ์ิเป็นภูมิคุ้มกันตนเอง และ ๓) สร้างสังคมแบ่งปัน ช่วยเหลือกันและกัน แทนที่จะ
เป็นสังคมแข่งขันเหมือนอย่างที่โลกกาลังเป็นอยู่ในปัจจุบัน ในขณะท่ี ดร.ปรีดา อดุลยานนท์ ผู้จัดการกองทุน
สนับสนุนการสรา้ งเสรมิ สุขภาพ (สสส.) ใหค้ วามสาคญั ต่อการท่ีรัฐและสังคมต้องร่วมกันเร่งดาเนินการเพื่อการ
บรรลุเปา้ หมายการพัฒนาที่ยัง่ ยืน ท่ีสอดคล้องกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และใช้กระบวนการสร้างเสริม
สขุ ภาพขบั เคล่ือนการเปลย่ี นแปลงของสงั คมทเ่ี กิดข้ึนในปัจจุบัน (พวงชมพู ประเสรฐิ , ๒๕๖๓)
โครงการจดั ทาแผนสิ่งแวดลอ้ มในพื้นทีเ่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๓ - ๗๘
สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ทา้ ย
บทท่ี ๔
สถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มในเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก
๔.๑ สถานการณส์ ่ิงแวดลอ้ มในพื้นทีเ่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก
๔.๑.๑ คุณภาพนา้ ผวิ ดิน
๔.๑.๑.๑ สถานการณค์ ณุ ภาพน้าผิวดิน
การเฝ้าระวังคุณภาพน้าในแหล่งน้าผิวดิน (แม่น้าและคลองสาขา) ในพืน้ ที่เขตพัฒนาพิเศษภาค
ตะวันออกของประเทศ ซ่ึงครอบคลุมพื้นท่ีศึกษา ๓ จังหวัด คือ จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดชลบุรี และจังหวัด
ระยอง โดยสานักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ ๑๓ (ชลบุรี) ได้เก็บรวบรวมข้อมูลจานวน ๘ แหล่งน้า ประกอบด้วย
แม่น้า ๓ สาย และคลองสาขา ๕ คลอง มีจุดเฝ้าระวังคุณภาพน้าผวิ ดินท้ังหมด ๓๕ จุด (สานักงานส่งิ แวดล้อม
ภาคท่ี ๑๓ (ชลบุรี), ๒๕๖๒) ภาพที่ ๔ - ๑ แสดงภาพกระจายตัวของจุดตรวจวัดคุณภาพน้าผิวดินบน
แหล่งกาเนดิ มลพษิ ได้แก่ แม่น้าบางปะกง (๑๓ จดุ ) คลองนครเนอื่ งเขต (๒ จุด) คลองท่าไข่ (๒ จุด) คลองพาน
ทอง (๒ จุด) และคลองท่าลาด (๒ จุด) ในจังหวัดฉะเชิงเทราแม่น้าระยอง (๘ จุด) แม่น้าประแสร์ (๕ จุด) ใน
จังหวัดระยอง และคลองตาหรุ (๑ จุด) ในจังหวัดชลบุรี โดยตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้าทางด้านกายภาพ เคมี
และแบคทีเรีย จานวน ๔ คร้งั ตอ่ ปี
ผลการประเมินคุณภาพน้าโดยรวมของแหล่งน้าผิวดิน พ.ศ. ๒๕๖๓ ตามวิธีการประเมินดัชนี
คุณภาพน้าแหล่งน้าผิวดิน (Water Quality Index , WQI) ประกอบด้วย ๕ พารามิเตอร์ ได้แก่ ความเป็น
กรด-ด่าง (pH) ออกซิเจนละลาย (DO) แบคทีเรียกลุ่มฟีคัลโคลิฟอร์ม (Fecal ColiformBacteria, FCB) ไนเต
รท (NO3) และความสกปรกในรูปสารอินทรีย์ (Biological Oxygen Demand, BOD) (กรมควบคุมมลพิษ,
๒๕๕๙) โดยเกณฑ์การประเมนิ คุณภาพนา้ ผวิ ดินใน ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ พบว่า (๑) แหล่งน้าผิวดินที่มีคณุ ภาพอยู่ใน
เกณฑ์พอใช้ ได้แก่ แม่น้าบางปะกง และคลองท่าลาด จังหวัดฉะเชิงเทรา (๒) แหล่งน้าผิวดินท่ีมีคุณภาพอยู่ใน
เกณฑ์เสื่อมโทรม ได้แก่ คลองนครเนื่องเขต คลองท่าไข่ จังหวัดฉะเชิงเทรา คลองตาหรุ จังหวัดชลบุรี และ
แม่น้าระยอง และแม่น้าประแสร์ จังหวัดระยอง และ (๓) แหล่งน้าผิวดินท่ีมีคุณภาพน้าเส่ือมโทรมมาก ได้แก่
คลองพานทอง จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา (ดงั ตารางท่ี ๔ - ๑)
โครงการจัดทาแผนสิง่ แวดลอ้ มในพนื้ ทเี่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑
สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดทา้ ย
ตารางท่ี ๔ - ๑ ผลการประเมินคุณภาพน้าโดยรวมของแหลง่ น้าผวิ ดนิ ในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาค
ตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๓
คณุ ภาพน้า คา่ WQI แหลง่ นา้ ผิวดนิ
ดมี าก (๑) ๙๑ - ๑๐๐ -
ดี (๒) ๗๑ - ๙๐ -
พอใช้ (๓) ๖๑ - ๗๐ แม่น้าบางปะกง(+) คลองท่าลาด(+) จ.ฉะเชิงเทรา
เสือ่ มโทรม (๔) ๓๑ - ๖๐ คลองนครเนื่องเขต คลองท่าไข่ จ.ฉะเชงิ เทรา / คลองตาหรุ จ.ชลบุรี / แม่นา้ ระยอง แม่น้าประแสร์(-)
จ.ระยอง
เสอ่ื มโทรมมาก (๕) ๐ - ๓๐ คลองพานทอง(-) จ.ฉะเชิงเทรา
ทมี่ า : สานกั งานสง่ิ แวดล้อมภาคท่ี ๑๓ (ชลบุร)ี (๒๕๖๓)
หมายเหตุ : (+) หมายถึง คณุ ภาพนา้ ดขี ้ึน ๑ ระดับเมื่อเทียบกับ ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
(-) หมายถงึ คุณภาพนา้ เสอ่ื มโทรมลง ๑ ระดบั เม่ือเทียบกบั ปี พ.ศ.๒๕๖๒
โครงการจดั ทาแผนสิง่ แวดลอ้ มในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดทา้ ย
ภาพที่ ๔ - ๑ จดุ วดั คุณภาพน้าและแหล่งกาเนดิ มลพิษในพ้ืนที่เขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก
โครงการจดั ทาแผนสิ่งแวดล้อมในพน้ื ทเี่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๓
สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสุดทา้ ย
๔.๑.๑.๒ แนวโนม้ และสาเหตกุ ารเปลยี่ นแปลงคณุ ภาพนา้ ผิวดิน
การเปล่ียนแปลงสถานการณ์คณุ ภาพน้าผิวดิน พิจารณาจากค่าดัชนีคุณภาพน้าผิวดิน ๕ ระดับ
(Water Quality Index : WQI) (ระดับ ๑ ดีมาก ถึงระดับ ๕ เส่ือมโทรมมาก) ระหว่างปี พ.ศ.๒๕๕๙ –
๒๕๖๓ (สานักงานส่ิงแวดล้อมภาคที่ ๑๓ (ชลบุรี), ๒๕๕๙; ๒๕๖๐; ๒๕๖๑; ๒๕๖๒; ๒๕๖๓) พบว่ามีการ
เปลย่ี นแปลง ๓ ทิศทาง คือ ๑) แหล่งน้าทม่ี ีการเปล่ียนแปลงคุณภาพน้าเส่ือมโทรมลง คือ คลองตาหรุ จังหวัด
ชลบุรี แม่น้าประแสร์ จังหวัดระยอง ซ่ึงเปล่ียนจากคุณภาพน้าระดับพอใช้เป็นเส่ือมโทรม ๒) แหล่งน้าท่ีมีการ
เปล่ียนแปลงคุณภาพน้าเสื่อมโทรมลงเพียงเล็กน้อยถึงไม่เปล่ียนแปลง คือ แม่น้าบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
ซึ่งมีคุณภาพน้าพอใช้ และคลองนครเนื่องเขต คลองท่าไข่ และแม่น้าระยอง ซ่ึงมีคุณภาพน้าเสื่อมโทรม และ
คลองพานทอง ซ่ึงมีคุณภาพน้าเสื่อมโทรมมาก และ ๓) แหล่งน้าที่มีการเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้าผิวในระดับดี
ขึ้น คือ คลองท่าลาด จังหวัดฉะเชิงเทรา ซ่ึงเปล่ียนจากคุณภาพน้าเส่ือมโทรมเป็นพอใช้ (ตารางที่ ๔ - ๒ และ
ภาพที่ ๔ - ๒) สาเหตุของคุณภาพน้าผิวดินที่เส่ือมโทรมเกิดจากการทิ้งน้าเสียจากกิจกรรมต่าง ๆ ทั้งชุมชน
เกษตรกรรม และอุตสาหกรรม อย่างไรก็ตามการจัดการคุณภาพน้าผิวดินจาเป็นต้องพิจารณาเชิงลุ่มน้า แต่
จากการรวบรวมขอ้ มูลเชิงสถิติของคุณภาพน้าผิวดิน พบว่าจดุ ตรวจวัดคุณภาพน้าส่วนใหญ่เป็นแม่น้าสายหลัก
และคลองสาขาหลัก จึงทาให้โครงการฯ จึงเก็บข้อมูลคุณภาพน้าในคลองสายส าขาและสายย่อย
เพือ่ พิจารณาการจัดการนา้ เชิงลมุ่ น้า
ตารางท่ี ๔ - ๒ คา่ ดัชนคี ณุ ภาพน้าผวิ ดิน ระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๕๙ - ๒๕๖๓
คา่ WQI (พ.ศ.)
จังหวัด แหล่งนา้ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓
คะแนน ระดบั คะแนน ระดับ คะแนน ระดับ
คะแนน ระดับ คะแนน ระดับ
๖๓ ๓ ๖๐ ๔ ๖๒ ๓
แมน่ ้าบางประกง ๔๗ ๔ ๖๔ ๓ ๖๓ ๓ ๕๒ ๔ ๔๘ ๔
คลองนครเนื่องเขต ๔๘ ๔ ๕๓ ๔ ๕๑ ๔
คลองทา่ ไข่ ๒๕ ๕ ๔๘ ๔ -๔ ๓๒ ๔ ๒๘ ๕
คลองพานทอง ๕๖ ๔ ๕๙ ๔ ๖๒ ๓
ฉะเชิงเทรา คลองทา่ ลาด ๖๑ ๓ ๕๖ ๔ -๔ ๕๕ ๔ ๔๙ ๔
คลองตาหรุ ๕๔ ๔ ๕๗ ๔ ๕๔ ๔
ชลบรุ ี แมน่ ้าระยอง ๖๕ ๓ ๒๙ ๕ -๕ ๖๗ ๓ ๖๐ ๔
ระยอง แมน่ ้าประแสร์
๕๖ ๔ -๓
๖๒ ๓ -๔
๕๗ ๔ ๖๒ ๓
๖๕ ๓ -๓
ทีม่ า: สานักงานส่ิงแวดลอ้ มภาคที่ ๑๓ (ชลบุรี) (๒๕๕๙: ๒๕๖๐; ๒๕๖๑; ๒๕๖๒; ๒๕๖๓)
โครงการจัดทาแผนสง่ิ แวดล้อมในพื้นท่เี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๔
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม รายงานฉบับสุดทา้ ย
ภาพที่ ๔ - ๒ ดชั นคี ุณภาพนา้ ผวิ ดนิ ตามแหลง่ นา้ ระหวา่ งปี พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๖๓
๔.๑.๑.๓ การตรวจวดั คณุ ภาพนา้ ในคลองสายรองของเขตพ้นื ท่พี ฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก
ในการสารวจพ้ืนที่เพื่อตดิ ตามการตรวจสอบคุณภาพน้า อ้างองิ จากข้อมูลการใช้ประโยชนท์ ่ีดิน
และแหล่งกาเนดิ มลพษิ เชน่ อุตสาหกรรม การเกษตร ชุมชน รอบ ๆ บริเวณแม่น้าสายหลกั สายรอง ซึง่ ในการ
กาหนดจุดเก็บตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้เป็นการเลือกคลองสายสาขาและสายย่อย ที่ยังไม่มีการตรวจสอบ
คุณภาพน้าจากหน่วยงานภาครัฐฯ โดยเก็บตัวอย่างน้า ณ เวลานั้น เพ่ือตรวจสอบคุณภาพน้า ๕ พารามิเตอร์
ซ่ึงได้แก่ ปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้า (Dissolved oxygen; DO) ความสกปรกในรูปของสารอินทรีย์
โครงการจดั ทาแผนสงิ่ แวดล้อมในพ้นื ทเ่ี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๕
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดทา้ ย
(Biochemical oxygen demand; BOD) ปริมาณแบคทีเรียกลุ่มฟีคัลโคลิฟอร์ม (Fecal Coliform Bacteria,
FCB) ปริมาณแบคทีเรียกลุ่มโคลิฟอร์มท้ังหมด (Total Coliform bacteria, TCB) แอมโมเนีย (NH3-N) โลหะ
หนกั เป็นพษิ บางชนดิ และสารปนเป้อื นจากกจิ กรรมทางการเกษตรในบางพืน้ ที่การศึกษา
การกาหนดจุดเก็บตัวอย่างน้าซึ่งประกอบด้วย (๑) จุดอ้างอิง (ภาพท่ี ๔ – ๓ ตาแหน่ง C6) คือ
จุดต้นน้าที่ไม่ได้รับผลกระทบใด ๆ จากกิจกรรมของมนุษย์ (๒) จุดตรวจสอบการเปล่ียนแปลงของคุณภาพน้า
หรือได้รับผลกระทบจากแหล่งกาเนิดมลพิษทางด้านอุตสาหกรรม เกษตรกรรม และชุมชน ประกอบด้วย ๑)
จุดตรวจสอบคุณภาพน้าผิวดนิ ที่อยู่ในช่วงของการใช้ประโยชน์ที่ดินแบบเกษตรกรรม (ตารางที่ ๔ - ๓ ตาแหน่ง
ที่ C1, C3, C4, C5, CB3, CB4, CB5, RY4, RY5, RY6, RY7, และ RY8) ๒) จุดตรวจสอบคุณภาพน้าผิวดินท่ี
อยู่ในช่วงของการใช้ประโยชน์ที่ดินแบบพ้ืนท่ีชุมชน (ตารางที่ ๔ - ๓ ตาแหน่งท่ี C2, CB1, CB2, CB6, CB7)
และ ๓) จุดตรวจสอบคุณภาพน้าผิวดินท่ีอยู่ในช่วงของการใช้ประโยชน์ที่ดินแบบอุตสาหกรรมหรือใกล้เคียง
พื้นท่ีอุตสาหกรรม (ตารางท่ี ๔ - ๓ ตาแหน่งท่ี RY1, RY2, และ RY3) นอกจากน้ีในพ้ืนที่ที่มีการใช้ประโยชน์
ที่ดินในการทาอุตสาหกรรมได้เลือกนอกเขตที่ตั้งของโรงงานอุตสาหกรรมใต้จุดระบายน้าทิ้งในแม่น้าสายรอง
บริเวณที่น้ามีการรวมกับแม่น้าสารรองสายอ่ืน ๆ ท่ีมีการผสมกลมกลืนพอดี นอกจากนี้ได้เพิ่มจุดเก็บตัวอย่าง
นา้ ผวิ ดินทอ่ี ยู่ใกลเ้ คียงพื้นทที่ ่ีมีสรา้ งโรงงานการจดั การขยะ เพอื่ ตรวจสอบสารพิษประเภทโลหะหนกั ท่อี าจจะมี
การปนเป้ือนในแหล่งน้าผิวดินบริเวณใกล้เคียง (ภาพที่ ๔ – ๓ ตาแหน่งท่ี C7) และ (๓) จุดตรวจสอบท้ายน้า
เป็นจุดตรวจสอบบริเวณปากแม่น้าก่อนจะถูกระบายลงสู่ทะเล (ตารางที่ ๔ - ๓ ตาแหน่งที่ RY9) เป็นจุดที่ใช้
ตรวจสอบสถานภาพของแหล่งน้าลาดับสุดท้ายเพื่อประเมินผลกระทบท่ีเกิดขึ้นหลังจากผ่านแหล่งรองรับมล
สารตา่ ง ๆ ตลอดทงั้ ลานา้
ผลจากการศึกษาการตรวจวัดคุณภาพน้าผิวดิน ตามการคานวณดัชนีคุณภาพน้า WQI
(๕ พารามเิ ตอร์) จากการคานวณคะแนนท้ังหมด ๒๒ จุด ปรากฏว่า ผลการประเมินคุณภาพน้าผิวดนิ ส่วนใหญ่
มีคณุ ภาพนา้ ท่ีเส่ือมโทรม และเสือ่ มโทรมมาก (ตารางท่ี ๔ - ๓) มรี ายละเอยี ดดังนี้
จังหวัดฉะเชิงเทรา
จุดตรวจวัดบริเวณคลองท่าลาด คลองสียัด ห้วยกะพง มีคุณภาพน้าเสื่อมโทรม พื้นท่ีโดยรอบ
เป็นพ้ืนท่ีชุมชนที่มีร้านอาหาร วัด และพื้นท่ีเกษตรกรรม ก่อนจะไหลรวมกับแม่น้าบางปะกง เมื่อตรวจวัดค่า
สารฆ่าศัตรูพืชและสัตว์ ได้แก่ คาร์โบฟูราน (Carbofuran) ไม่เกิน ๐.๐๐๘ มิลลิกรัมต่อลิตร และ ไกลโฟเซต
(Glyphosate) ไม่เกิน ๔.๘ มิลลิกรัมต่อลิตร ซึ่งจากการตรวจวัดในตาแหน่งที่ C1 C3 C4 และ C5 ไม่พบสาร
สารกาจัดแมลงและศตั รพู ชื
จุดตรวจวัดบริเวณคลองหนึ่ง คุณภาพน้าเสื่อมโทรมมาก เป็นพ้ืนท่ีที่ใกล้โรงงานจัดการขยะ
สภาพข้างเคียงมีการต้ังของโรงงานอุตสาหกรรม ค่าโลหะหนักท่ีได้ทาการตรวจวัดได้แก่ ทองแดง (Cu) ตะกั่ว
(Pb) นิกเกิล (Ni) สารหนู (As) แคดเมียม (Cd) แมงกานีส (Mn) สังกะสี (Zn) โครเมียม (Cr6+) อยู่ในเกณฑ์ค่า
มาตรฐานควบคมุ ระบายน้าท้ิงจากโรงงานอุตสาหกรรม นิคมอตุ สาหกรรม และเขตประกอบอุตสาหกรรม
จงั หวัดชลบุรี
จุดตรวจวัดคุณภาพน้าบริเวณคลองอ้อมแก้ว คลองสะพาน คลองลาพาง คลองป่าแดง
คลองตะเคียน และคลองบางละมุง คุณภาพน้าเสอ่ื มโทรมมาก พื้นท่ีโดยรอบเป็นชุมชน และพื้นที่เกษตรกรรม
โครงการจัดทาแผนส่งิ แวดล้อมในพนื้ ท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๖
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม รายงานฉบบั สุดท้าย
เช่น อ้อย ยูคาลิปตัส การทานาข้าว กาหนดค่าสารฆ่าศัตรูพืชและสัตว์ ได้แก่ คาร์โบฟูราน (Carbofuran)
ไม่เกิน 0.008 มิลลิกรัมต่อลิตร และ ไกลโฟเซต (Glyphosate) ไม่เกิน ๔.๘ มิลลิกรัมต่อลิตร ซ่ึงผลการ
วเิ คราะห์คา่ สารกาจดั แมลงและศัตรพู ืช ไม่พบสารดงั กล่าวในตัวอย่างน้าทีต่ าแหน่ง CB3 CB4 และ CB5
จดุ ตรวจวดั คุณภาพนา้ หว้ ยพันเสดจ็ คุณภาพน้าเสื่อมโทรม พน้ื ทโี่ ดยรอบเปน็ ชมุ ชน
จังหวดั ระยอง
จดุ ตรวจวดั คุณภาพน้า ห้วยภไู ทร คลองหินลอย และคลองปลวกแดง คุณภาพเสอื่ มโทรมมาก
พื้นทโี่ ดยรอบอยใู่ กลก้ ับเขตอุตสาหกรรม เปน็ น้าที่ไหลมารวมกนั กบั แมน่ า้ ระยอง
จุดตรวจวัดคุณภาพน้าคลองระเวิง และคลองใหญ่ (ไหลมารวมกับแม่น้าระยอง ออกสู่ปาก
แม่น้า) คลองสะพาน และคลองโพล้ และคลองน้าใส (ไหลไปบรรจบแม่น้าประแสร์) คุณภาพน้าเส่ือมโทรม
พน้ื ที่โดยรอบมกี ารทาเกษตรกรรม เชน่ การปลูกปาล์ม ยางพารา และสวนผลไม้ กาหนดคา่ สารฆ่าศตั รูพชื และ
สัตว์ ได้แก่ คารโ์ บฟรู าน (Carbofuran) ไมเ่ กนิ 0.008 มิลลิกรัมตอ่ ลิตร และ ไกลโฟเซต (Glyphosate) ไม่เกิน
๔.๘ มิลลิกรัมต่อลิตร ซ่ึงจากการตรวจวัดในตาแหน่งที่ RY4 RY5 RY6 RY7 และ RY8 ไม่พบสารสารกาจัด
แมลงและศตั รพู ืช สาหรับผลการวิเคราะห์คุณภาพน้าในพื้นท่ีรอบ ๆ โรงงานอตุ สาหกรรมตาแหน่งที่ RY1 RY2
และ RY3 คุณภาพน้า ณ ตาแหนง่ น้ัน ๆ มีความเสื่อมโทรมมาก เทยี บได้กับมาตรฐานแหลง่ น้าผิวดนิ ประเภทท่ี
๕ คือ แหล่งน้าที่ได้รับน้าท้ิงจากกิจกรรมประเภทอุตสาหกรรม และสามารถใช้เป็นประโยชนเ์ พ่ือการคมนาคม
และโลหะหนักที่ได้ตรวจวิเคราะห์ ได้แก่ ทองแดง (Cu) ตะกั่ว (Pb) นิกเกิล (Ni) สารหนู (As) แคดเมียม (Cd)
สังกะสี (Zn) โครเมียม (Cr6+) และ ปรอท (Hg) มีค่าไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานควบคุมระบายน้าทิ้งจากโรงงาน
อตุ สาหกรรม นคิ มอตุ สาหกรรม และเขตประกอบอุตสาหกรรม และมาตรฐานคุณภาพนา้ ในแหล่งนา้ ผิวดนิ ของ
แต่ละประเภทแหล่งนา้
สาหรบั จุดตรวจวัดคลองแกลง เป็นจุดตรวจวัดบรเิ วณปากแม่น้า ก่อนไหลลงส่ทู ะเล คุณภาพน้า
อยใู่ นระดบั เสอื่ มโทรม คา่ มาตรฐานไนเตรต-ไนโตรเจน ทไี่ ดจ้ ากการตรวจวดั ไมเ่ กินคา่ มาตรฐานที่กาหนดไว้
สาเหตุการเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้าผิวดิน จากการพิจารณาคุณภาพนา้ จากแม่น้าและคลองสาย
หลัก และคลองสาขา พบว่าคุณภาพน้ามีความเช่ือมโยงกัน เช่น ห้วยภูไทร คลองหินลอย คลองปลวกแดง
กจิ กรรมการใช้พื้นที่โดยรอบเป็นอุตสาหกรรม ในขณะที่คลองระเวิง และคลองใหญ่ มีการใช้พื้นที่โดยรอบเป็น
เกษตรกรรม ซ่ึงคุณภาพน้าอยู่ในระดับเส่ือมโทรมถึงเสื่อมโทรมมากและเม่ือไหลไปบรรจบกับแม่น้าระยองก็
พบว่ามีคุณภาพน้าเส่ือมโทรม เช่นเดียวกับ คลองสะพาน และคลองโพล้ และคลองน้าใส ไหลไปรวมกับแม่น้า
ประแสร์ก็พบวา่ คณุ ภาพนา้ เสื่อมโทรม โดยกจิ กรรมโดยรอบเป็นเกษตรกรรม
๔.๑.๑.๔ เป้าหมายการจดั การคุณภาพนา้ ผิวดิน
น้าเป็นปัจจัยที่สาคัญในการดารงชีวิตและระบบนิเวศ รวมถึงการพัฒนาพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษ
ภาคตะวันออก หากคุณภาพน้าผิวดินเสื่อมโทรมย่อมส่งผลกระทบกับระบบนิเวศและความปลอดภัยของการ
บริโภคและอปุ โภคจากกิจกรรมตา่ ง ๆ ท่ีตอ้ งใช้นา้ ท้ังภาคชมุ ชน เกษตรกรรม และอตุ สาหกรรม และจะกระทบ
ต่อเนื่องถงึ ค่าใช้จ่ายในการรักษาและฟื้นฟูคุณภาพน้า ดังนั้นการจัดการคุณภาพน้าในพื้นที่จึงจาเป็นอยา่ งย่ิงที่
ต้องได้รับการแก้ไขปัญหาและป้องกันไว้ล่วงหน้า โดยต้องควบคุมการปล่อยน้าทิ้งจากแหล่งกาเนดิ ทุกประเภท
และบังคับใช้กฏหมายอย่างเคร่งครัด การรณรงค์สร้างความตระหนักถึงความสาคัญของคุณภาพน้า
โครงการจดั ทาแผนสิง่ แวดล้อมในพืน้ ทเ่ี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๗
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ท้าย
การรณรงค์ลดใช้สารกาจัดศัตรูพืชในการทาเกษตรกรรม รวมถึงการลดปริมาณน้าทิ้งจากแหล่งกาเนิดต่าง ๆ
และจาเป็นต้องให้มีระบบบาบัดนา้ เสียให้ครอบคลุมพื้นท่ีเมืองและชุมชน นอกจากน้ีและควรมีการจัดการแบบ
เชิงลุม่ นา้ โดยพิจารณาเส้นนา้ และกจิ กรรมตลอดลานา้ หลักและยอ่ ย หรอื จดั ทาแผนแมบ่ ทการจดั การคุณภาพ
น้า เป็นต้น โดยมีเป้าหมายให้คุณภาพแหล่งน้าผิวดินต้องมีค่าดัชนีคุณภาพน้าผิวดินอยู่ในระดับ ๓ (ระดับ
พอใช้) หรอื ดีกว่า
โครงการจัดทาแผนสิง่ แวดลอ้ มในพน้ื ทเี่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๘
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม
ตารางที่ ๔ - ๓ จดุ ตรวจวัดคุณภาพนา้ และค่า WQI (๕ พารามิเตอร)์
จดุ ท่ี ชื่อตาแหนง่ ตาบล อาเภอ จงั หวัด
๑ C1 คลองท่าลาด ปากน้า บางคลา้ ฉะเชิงเทรา
๒ C2 คลองทา่ ลาด พนมสารคาม พนมสารคาม ฉะเชิงเทรา
๓ C3 คลองทา่ ลาด เกาะขนนุ พนมสารคาม ฉะเชงิ เทรา
๔ C4 คลองสยี ดั คูย้ ายหมี สนามชัยเขต ฉะเชงิ เทรา
๕ C5 ห้วยกระพง ทา่ กระดาน สนามชัยเขต ฉะเชิงเทรา
๖ C6 ตน้ คลองระบมปร้าน ท่าตะเกียบ ท่าตะเกียบ ฉะเชิงเทรา
๗ C7 คลองหน่งึ แปลงยาว แปลงยาว ฉะเชงิ เทรา
๘ CB1 คลองอ้อมแกว้ บา้ นเกา่ พานทอง ชลบรุ ี
๙ CB2 คลองสะพาน วดั หลวง พนสั นคิ ม ชลบรุ ี
๑๐ CB3 คลองลาพาง หนองชาก บา้ นบึง ชลบุรี
๑๑ CB4 คลองปา่ แดง หนองอิรณุ บ้านบึง ชลบรุ ี
๑๒ CB5 คลองตะเคยี น บ่อทอง บ่อทอง ชลบุรี
๑๓ CB6 หว้ ยพนั เสดจ็ เขาคันทรง ศรีราชา ชลบุรี
๑๔ CB7 คลองบางละมุง บางละมุง บางละมุง ชลบุรี
๑๕ RY1 ห้วยภไู ทร มาบยางพร ปลวกแดง ระยอง
๑๖ RY2 คลองหนิ ลอย มาบยางพร ปลวกแดง ระยอง
๑๗ RY3 คลองปลวกแดง ปลวกแดง ปลวกแดง ระยอง
๑๘ RY4 คลองระเวิง ปลวกแดง ปลวกแดง ระยอง
๑๙ RY5 คลองใหญ่ หนองไร่ ปลวกแดง ระยอง
๒๐ RY6 คลองสะพาน ชมุ แสง วงั จนั ทร์ ระยอง
โครงการจดั ทาแผนส่งิ แวดลอ้ มในพน้ื ที่เขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕
รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย
คะแนน เกณฑ์ มาตรฐาน
ลักษณะการใช้ประโยชน์ คณุ ภาพน้าผวิ แหล่งน้า
จากพน้ื ทีโ่ ดยรอบ
ดนิ ผวิ ดนิ
เกษตรกรรม
ชุมชน ประเภทที่
เกษตรกรรม
เกษตรกรรม ๔๒ เสอ่ื มโทรม ๔
เกษตรกรรม
ธรรมชาติ ๓๔ เสื่อมโทรม ๔
ใกลโ้ รงงานจดั การขยะ (อตุ สาหกรรม)
ชมุ ชน ๔๓ เส่อื มโทรม ๔
ชุมชน
เกษตรกรรม ๔๘ เส่ือมโทรม ๔
เกษตรกรรม
เกษตรกรรม ๔๕ เสื่อมโทรม ๔
ชุมชน
ชมุ ชน พื้นทีอ่ ้างอิง อยู่ในเขตอทุ ยาน
ใกล้เขตอตุ สาหกรรม
ใกลเ้ ขตอตุ สาหกรรม ๒๘ เสื่อมโทรมมาก ๕
ใกล้เขตอุตสาหกรรม
เกษตรกรรม ๐.๒ เสอ่ื มโทรมมาก ๕
เกษตรกรรม
เกษตรกรรม ๒๕ เสื่อมโทรมมาก ๕
๕-๒๕๖๙ ๕ เสอื่ มโทรมมาก ๕
๒๖ เสื่อมโทรมมาก ๕
๓๐ เสอ่ื มโทรมมาก ๕
๓๑ เสือ่ มโทรม ๔
๑๐ เสื่อมโทรมมาก ๕
๒๘ เสื่อมโทรมมาก ๕
๒๒ เสื่อมโทรมมาก ๕
๒๘ เสื่อมโทรมมาก ๕
๓๖ เสื่อมโทรม ๔
๓๔ เสอ่ื มโทรม ๔
๓๑ เสอ่ื มโทรม ๔
๔- ๙
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
จดุ ที่ ชอ่ื ตาแหน่ง ตาบล อาเภอ จงั หวดั
๒๑ RY7 คลองโพล้ ท่งุ ควายกิน แกลง ระยอง
๒๒ RY8 คลองนา้ ใส สานักทอง เมืองระยอง ระยอง
๒๓ RY9 คลองแกลง แกลง เมอื งระยอง ระยอง
โครงการจดั ทาแผนสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕
รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย
ลักษณะการใชป้ ระโยชน์ คะแนน เกณฑ์ มาตรฐาน
จากพนื้ ทโ่ี ดยรอบ คุณภาพน้าผิว แหลง่ น้า
๔๐ ผิวดนิ
เกษตรกรรม ๓๔ ดิน ประเภทท่ี
เกษตรกรรม ๓๓
ปากแม่นา้ เสื่อมโทรม ๔
เส่อื มโทรม ๔
เสอ่ื มโทรม ๔
๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๐
สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย
ภาพที่ ๔ - ๓ คุณภาพน้าผิวดนิ ในพื้นทจ่ี งั หวดั ฉะเชงิ เทรา จังหวัดชลบุรี และจังหวัดระยอง
โครงการจัดทาแผนสิ่งแวดล้อมในพ้นื ที่เขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๑
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม รายงานฉบบั สุดท้าย
๔.๑.๒ คณุ ภาพนา้ ใตด้ ินและคณุ ภาพนา้ บาดาล
๔.๑.๒.๑ สถานการณ์คณุ ภาพน้าใต้ดิน
จาการตดิ ตามสถานการณ์คุณภาพน้าใตด้ ิน ของพน้ื ทเี่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออกในรายงาน
สถานการณ์คุณภาพน้าใต้ดินของสานักงานสงิ่ แวดล้อมภาคท่ี ๑๓ (๒๕๖๔) และรายงานผลการดาเนนิ งานของ
โครงการจัดการมลพิษจากแหลง่ กาเนิดท่ีส่งผลต่อการปนเป้ือนในดิน นา้ ใต้ดิน และแหล่งน้าในพ้ืนท่ีชุมชนของ
ศูนยว์ จิ ยั และฝกึ อบรมด้านสง่ิ แวดล้อม (๒๕๖๔) มีรายละเอียดดังนี้
จากการรายงานสถานการณ์คุณภาพน้าใต้ดินของสานักงานส่ิงแวดล้อมภาคท่ี ๑๓ ท่ีกรม
ควบคุมมลพิษได้ดาเนินการรติดตามตรวจสอบคุณภาพน้าบ่อตื้น ในชุมชนโดยรอบนิคมอุตสาหกรรมมาบตา
พุด จานวน ๒ คร้ังต่อปี คร้ังที่ ๑ ระหว่างวันท่ี ๒๖ - ๓๑ มกราคม ๒๕๖๓ จานวน ๒๓ บ่อ และคร้ังท่ี ๒
ระหว่างวันท่ี ๑๒ - ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๖๓ จานวน ๖ บ่อ รวม ๒๙ ตัวอย่าง ซึ่งประกอบด้วยพารามิเตอร์
พื้นฐาน คือ โลหะหนัก ๙ ชนิด และ สารอินทรีย์ระเหยง่าย (VOCs) เทียบกับค่ามาตรฐานคุณภาพน้าใต้ดิน
ตามประกาศคณะกรรมการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับท่ี ๒๐ (พ.ศ. ๒๕๔๓) ผลการตรวจวัดคุณภาพน้าบ่อตื้น
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ พบพารามิเตอร์ท่ีมีค่าสูงเกินค่ามาตรฐานคุณภาพน้าใต้ดิน ดังนี้
พารามเิ ตอรโ์ ลหะหลัก ไดแ้ ก่ แมงกานีส โดยมีจานวนตัวอยา่ งเกินเกณฑม์ าตรฐาน ๔ ตวั อย่าง ส่วนสารอนิ ทรีย์
ระเหยง่ายท่ีตรวจพบว่ามีค่าเกินมาตรฐานคุณภาพน้าใต้ดิน ได้แก่ 1,2 - ไดคลอโรอีเทน คาร์บอนเดตระคลอ
ไรด์ และใตรคลอโรเอทีลีน โดยมีจานวนตัวอย่างเกินมาตรฐานพารามิเตอร์ละ ๑ ตัวอย่าง (สานักงาน
ส่ิงแวดล้อมภาคท่ี ๑๓, ๒๕๖๓) รายละเอยี ดดังภาพท่ี ๔ – ๔ และ ตารางท่ี xy
ภาพท่ี ๔ - ๔ จุดตรวจวดั คณุ ภาพนา้ บอ่ ตืน้ พนื้ ทมี่ าบตาพดุ จงั หวดั ระยอง
โครงการจดั ทาแผนสง่ิ แวดล้อมในพน้ื ทีเ่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๒
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม รายงานฉบับสุดทา้ ย
ตารางท่ี ๔ - ๔ คุณภาพน้าบ่อตน้ื พบคา่ พารามเิ ตอรท์ เี่ กนิ มาตรฐานคณุ ภาพน้าใต้ดนิ
พารามเิ ตริ ์ จานวนตัวอยา่ งทไ่ี มเ่ ปน็ ไป คา่ ทพ่ี บสูงสุด พนื้ ที่ท่ีพบสูงสดุ คา่ มาตรฐาน
ตามมาตรฐาน
แมงกานสี ๓.๘ มก./ล. ชมุ ชนวัดมาบตาพุด ≤ ๐.๕ มก./ล.
1,2 – ไดคลอโรอีเทน (ตัวอยา่ งทงั้ หมด ๒๙ ตัวอยา่ ง) ๑๘ มคก./ล. ชมุ ชนโขดหิน ≤ ๐.๕ มก./ล.
๔
๑
คาร์บอนเตตระคลอไรด์ ๑ ๓๓ มคก./ล. ชมุ ชนโขดหิน ≤ ๐.๕ มก./ล.
ไตรคลอโรเอทลี ีน ๑ ๘๓ มคก./ล. ชุมชนโขดหนิ ≤ ๐.๕ มก./ล.
หมายเหตุ: ครัง้ ที่ ๒ เกบ็ ตัวอย่าง จานวน ๖ บอ่ (เนื่องจากพบผู้ติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา่ 2019 ในพ้นื ท่ีจังหวัดระยอง)
ทีม่ า: สานกั งานส่ิงแวดลอ้ มภาคท่ี ๑๓, ๒๕๖๔
ผลจากการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้าบ่อตื้นข้างต้นท่ีตรวจพบพารามิเตอร์กลุ่มโลหะหนักมี
ค่าเกินเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้าใต้ดินมีที่มาจากสภาพทางธรณีวิทยาตามธรรมชาติ ส่วนการปนเปื้อน
สารอินทรีย์ระเหยง่ายที่ตรวจพบเกินมาตรฐานคุณภาพน้าใต้ดินในบ่อน้าต้ืนของประชาชนน้ัน ได้แจ้งผลการ
ตรวจวัด และให้คาแนะนากับผู้ใช้น้าบ่อต้ืนว่าไม่ควรใช้น้าดังกล่าวในการอุปโภคและบริโภค (สานักงาน
สิ่งแวดล้อมภาคท่ี ๑๓, ๒๕๖๔)
รายงานผลการดาเนินงานของโครงการจัดการมลพิษจากแหล่งกาเนิดที่ส่งผลต่อการปนเป้ือน
ในดนิ น้าใตด้ ิน และแหล่งนา้ ในพน้ื ทช่ี มุ ชน (ศูนยว์ ิจัยและฝกึ อบรมดา้ นสง่ิ แวดล้อม, ๒๕๖๔) โดยศนู ย์วจิ ัยและ
ฝึกอบรมด้านส่ิงแวดล้อมร่วมกับหน่วยงานในท้องถ่ินได้ทาการสารวจและเก็บตัวอย่างน้าใต้ดิน น้าผิวดิน และ
ดิน ดาเนินการในปีพ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔ ท้ังหมด ๘ พ้ืนที่ แบ่งเป็นในจังหวัดฉะเชิงเทรา ๖ พื้นท่ี
(ประกอบด้วยพื้นท่ีตาบลท่าข้าม อาเภอบางปะกง ตาบลแปลงยาว อาเภอแปลงยาว ตาบลเกาะขนุน ตาบล
เขาหินซ้อน ตาบลท่าถ่าน อาเภอพนมสารคาม) และจังหวัดระยอง จานวน ๒ พ้ืนที่ (ตาบลบางบุตร อาเภอ
บ้านคา่ ย และตาบลเนินพระ อาเภอเมือง) โดยการวิเคราะห์หาชนิดและปริมาณสารปนเป้ือน ประกอบด้วย สาร
โลหะหนัก จานวน ๕ ชนิด สารอนิ ทรยี ์ระเหยจานวน ๑๖ ชนิด สารพทาเลทจานวน ๔ ชนิดและสารบิสฟินอล
เอ ผลการตรวจวัดการปนเป้ือน พบพารามิเตอรท์ ี่มคี า่ สงู เกินคา่ มาตรฐานคณุ ภาพน้าใต้ดิน มีรายละเอียดดังน้ี
จังหวัดฉะเชิงเทรา พบการปนเป้ือนเกินค่ามาตรฐานคุณภาพน้าใต้ดิน ๒ พื้นท่ี คือ พ้ืนท่ีรอบ
บริเวณบริษัท ไมด้าวัน ตาบลท่าข้าม อาเภอบางปะกง และรอบบริเวณโรงงานรีไซเคิลขยะอิเลคทรอนิกส์และ
น้ามันใชแ้ ล้ว ตาบลทา่ ถ่าน อาเภอพนมสารคาม โดยมีรายละเอยี ดดงั นี้
กรณีรอบบริเวณบริษัทไมด้าวัน จากการเก็บตัวอย่างน้าผิวดิน และตัวอย่างดิน พบสารอินทรีย์
ระเหยชนิด 1,2,2 TCA ในปริมาณสูง ๒,๒๘๘ ไมโครกรัมต่อลิตร ในบ่อน้าท้ิง มากกว่าค่ามาตรฐานน้าใต้ดิน
๔๕๗ เท่า ซึ่งค่ามาตรฐานน้าใต้ดินกาหนดไว้ไม่เกิน ๕ ไมโครกรัมต่อลิตร นอกจากน้ียังพบสารไวนิล คลอไรด์.
TCE, PCE, 1,1-DCE, 1,2-DCA สูงเกินค่ามาตรฐานน้าใต้ดิน ซึ่งสารอินทรีย์ระเหยเหล่าน้ีเป็นสารก่อมะเร็งใน
ส่ิงมีชีวิต มีสาเหตุจากการร่ัวไหลของสารเคมี ส่งกลิ่นเหม็นบริเวณโรงงานและบริเวณลาน้าใกล้เคียงและ
กระทบต่อประชาชน ดงั ภาพที่ ๔ - ๕
โครงการจดั ทาแผนส่ิงแวดล้อมในพ้นื ที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๓
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม รายงานฉบบั สดุ ท้าย
ทม่ี า: ศนู ยว์ จิ ัยและฝึกอบรมดา้ นส่ิงแวดล้อม, ๒๕๖๔
ภาพท่ี ๔ - ๖ คา่ ความเข้มขน้ ของสารปนเป้ือนเทียบกับค่ามาตรฐาน บริเวณโดยรอบบริษทั ไมด้าวัน
กรณีรอบบริเวณโรงงานรีไซเคิลขยะอิเลคทรอนิกส์และน้ามันใช้แล้ว ตาบลท่าถ่าน อาเภอ
พนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา เก็บตัวอย่างน้าใต้ดินจากบ่อน้าตื้นจานวน ๕ ตัวอย่าง เมื่อวันท่ี ๒๒
กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔ พบสารอินทรีย์ระเหยชนิดไวนิลคลอไรด์ ในปริมาณสูง ๑,๒๗๕ ไมโครกรัมต่อลิตรในบ่อน้า
ตื้นของประชาชนมากกว่าค่ามาตรฐานน้าใต้ดิน ๖๓๗ เท่าซึ่งค่ามาตรฐานน้าใต้ดินกาหนดไว้ไม่เกิน ๒
ไมโครกรมั ต่อลิตร นอกจากน้ียังพบสารเบนซิน ๑๑ ไมโครกรมั ต่อลติ รมากกว่าค่ามาตรฐานน้าใต้ดิน ๒ เท่าซ่ึง
คา่ มาตรฐานนา้ ใตด้ ินกาหนดไว้ไมเ่ กนิ ๕ ไมโครกรมั ต่อลิตร ดังภาพที่ ๔ - ๖ สาเหตุเกิดจากการลักลอบปล่อย
ของน้าเสียจากโรงงาน ส่งผลกระทบต่อประชาชนไม่สามารถใช้น้าในบ่อน้าตืน้ ได้ เนอ่ื งจากมีการปนเป้อื นคราบ
นา้ มัน
ทม่ี า: ศูนย์วิจยั และฝึกอบรมดา้ นสงิ่ แวดล้อม, ๒๕๖๔
ภาพที่ ๔ - ๗ คา่ ความเข้มขน้ ของสารปนเป้ือนเทียบกับคา่ มาตรฐาน บริเวณโรงงานรีไซเคิลขยะ
อิเลคทรอนิกส์และน้ามนั ใช้แลว้ ตาบลท่าถ่าน อาเภอพนมสารคาม จังหวดั ฉะเชงิ เทรา
โครงการจัดทาแผนสิง่ แวดล้อมในพื้นท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๔
สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดท้าย
จังหวัดระยอง พบการปนเปื้อนเกินค่ามาตรฐาน ๒ พ้ืนท่ี คือ รอบโรงงานรีไซเคิลขยะ
อิเล็กทรอนิกส์และน้ามันใช้แล้ว (บ.วินโพรเสส) อ.บ้านค่าย จ.ระยอง และรอบบริเวณชุมชนโขดหิน ตาเนิน
พระ อาเมอื ง จังหวัดระยอง โดยมรี ายละเอยี ดดังนี้
กรณีรอบโรงงานรีไซเคิลขยะอิเลกทรอนิกส์และน้ามันใช้แล้ว (บ.วินโพรเสส) อาเภอบ้าน
ค่าย จังหวัดระยอง เก็บตัวอย่างเมืองวันท่ี ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔ ตัวอย่างน้าใต้ดินจานวน ๓ ตัวอย่าง
ตัวอย่างน้าผิวดิน ๕ ตัวอย่าง และตัวอย่างดิน ๑๐ ตัวอย่าง พบการปนเปื้อนสารกลมุ่ พทาเลท โลหะหนกั สาร
บิสฟินอลเอและสารอินทรีย์ระเหยในปริมาณสูง โดยเฉพาะสารไวนิลคลอไรด์ท่ีเป็นสารก่อมะเร็งในสิ่งมีชีวิต
ปริมาณ ๑๖๙ ไมโครกรัมต่อลิตร ในบ่อสระขุดของประชาชนข้างโรงงาน มากกว่าค่ามาตรฐานน้าใต้ดิน ๘๔
เท่าซึ่งค่ามาตรฐานน้าใต้ดินกาหนดไว้ไม่เกิน ๒ ไมโครกรัมต่อลิตร นอกจากนี้ยังพบโลหะหนักชนิด ทองแดง
สังกะสี และตะก่ัว เกินค่ามาตรฐานคุณภาพน้าผิวดิน (ดังภาพที่ ๔ - ๘) โดยในรายงานฯ ระบุว่าเกิดจากการ
รว่ั ไหลของนา้ เสียจากโรงงาน สง่ กลนิ่ เหม็นและทาใหต้ ้นยางของประชาชนที่ปลกู รอบโรงงานยืนต้นตาย
หมายเหต:ุ เสน้ กาหนดคา่ มาตรฐาน
ที่มา: ศนู ยว์ จิ ัยและฝึกอบรมดา้ นสิง่ แวดลอ้ ม, ๒๕๖๓
ภาพท่ี ๔ - ๙ คา่ ความเขม้ ข้นของสารปนเปอื้ นเทียบกับค่ามาตรฐาน บริเวณรอบโรงงานรีไซเคิลขยะ
อเิ ลกทรอนกิ ส์และน้ามันใชแ้ ล้ว (บ.วนิ โพรเสส)
กรณรี อบบรเิ วณชุมชนโขดหิน ต.เนินพระ อ.เมือง จ.ระยอง เก็บตัวอย่างนา้ ใต้ดนิ จานวน ๖
ตวั อย่าง วันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔ พบสารอนิ ทรยี ์ระเหยชนิด CCl๔, TCE, 1,2-DCA และไวนิลคลอไรด์ ใน
บ่อน้าชั้นต้ืนของประชาชนเกินค่ามาตรฐานคุณภาพน้าใต้ดินซ่ึงค่ามาตรฐานน้าใต้ดินกาหนดไว้ไม่เกิน ๕
ไมโครกรัมต่อลิตร นอกจากนี้ยังพบสารพทาเลท ชนิด DBP และ DEHP ในน้าใต้ดิน ซึ่งในรายงานฯ ระบุว่ามี
สาเหตจุ ากการลกั ลอบท้ิงกากของเสียอุตสาหกรรมบรเิ วณในพ้นื ทีช่ ุมชนโขดหิน (ดงั ภาพท่ี ๔ – ๑๐)
โครงการจดั ทาแผนสิ่งแวดลอ้ มในพื้นท่ีเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๕
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม รายงานฉบับสดุ ทา้ ย
หมายเหต:ุ เสน้ กาหนดค่ามาตรฐาน
แหลง่ ทม่ี า: ศนู ยว์ จิ ัยและฝกึ อบรมดา้ นส่งิ แวดล้อม, ๒๕๖๓
ภาพที่ ๔ - ๑๐ คา่ ความเข้มข้นของสารปนเปื้อนเทียบกับค่ามาตรฐานบรเิ วณรอบชุมชนโขดหนิ
รายงานผลการดาเนินงานของโครงการจัดการมลพิษจากแหล่งกาเนิดท่ีส่งผลต่อการปนเปื้อน
ในดิน น้าใต้ดิน และแหล่งนี้ในพ้ืนที่ชุมชน ของศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม เสนอแนะว่าควรมีการ
ตั้งคณะกรรมเพื่อแก้ไขปัญหาการปนเป้ือนสารอันตรายในดินและน้าใต้ดิน บริเวณพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาค
ตะวันออก โดยกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมต้ังคณะทางานแก้ไขการปนเป้ือนสารอันตรายใน
ดินและนา้ ใต้ดิน ในระดับจังหวดั อย่างเร่งดว่ น
๔.๑.๒.๒ สถานการณค์ ณุ ภาพน้าบาดาล
ตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม เร่ือง กาหนดเขตน้าบาดาลและ
ความลึกของน้าบาดาล พ.ศ. ๒๕๕๔ ได้ให้ใหํ้นา้ ใตด้ ินที่อยู่ลึกจากผวิ ดินลงไปเกนิ กว่า ๑๕ เมตร เป็นน้าบาดาล
ทั้งนี้จากรายงานสถานการณ์น้าบาดาล ประจาปีพ.ศ. ๒๕๖๒ (กรมทรัพยากรน้าบาดาล, ๒๕๖๓) เรื่อง
สถานการณ์น้าบาดาลภาคตะวันออก พบว่า ชั้นน้าบาดาลส่วนใหญ่เป็นหินแข็ง ความลึกเฉลี่ยของช้ันน้า
ประมาณ ๒๐ - ๔๐ เมตร ปรมิ าณน้าที่ได้อย่ใู นเกณฑ์น้อยกวา่ ๒ ลกู บาศก์เมตรต่อชั่วโมง คณุ ภาพนา้ บาดาลดี
ส่วนน้าบาดาลตะกอนร่วนกระจายตัวอยู่พื้นที่จังงหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดชลบุรี และจังหวัดระยอง เนื่องจาก
ภาคตะวันออกเป็นที่ต้ังของนิคมอุตสาหกรรมซ่ึงจะมีการลักลอบท้ิงขยะอุตสาหกรรม หรือการรั่วไหลของ
ของเหลวอุตสาหกรรมปิโตรเคมีที่มีผลต่อคุณภาพน้าบาดาล โดยพบว่ามีการปนเปื้อนในช้ันน้าบาดาลในพ้ืนท่ี
ลักลอบทิ้งกากอุตสาหกรรม บริเวณตาบลหนองแหน และพื้นท่ีตาบลบ้านช่อง ตาบลท่าถ่าน จังหวัด
ฉะเชิงเทรา นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด และพ้ืนท่ีลักลอบท้ิงของเสีย ตาบลมาบยางพร จังหวัดระยอง มี
ปรมิ าณสารหนแู ละตะกั่วทม่ี คี า่ เกินเกณฑ์อนุโลมสูงสุด
ช้ันน้าบาดาลในตะกอนร่น คุณภาพน้าบาดาลมีปริมาณเหล็กมีค่า ๐.๕ มิลลิกรัมต่อลิตร และ
แมงกานีสมีค่า ๐.๕-๕.๒ มิลลิกรัมต่อลิตร สูงเกินมาตรฐานน้าบาดาลท่ีใช้บริโภค พบกระจายตัวท้ังพื้นท่ี
ปริมาณโลหะหนักในพื้นท่ีส่วนใหญ่อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานฯ พบปริมาณตะกั่ว มีค่า ๐.๕๕ มิลลิกรัมต่อลิตรสูง
โครงการจดั ทาแผนสงิ่ แวดล้อมในพ้ืนท่เี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๖
สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม รายงานฉบับสดุ ท้าย
เกินเกณฑ์มาตรฐาน ท่ีวัดหนองคล้า ตาบลบ้านบึง อาเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ซ่ึงอยู่ใกล้กับนิคม
อุตสาหกรรมเครือสหพฒั น์ และสารหนู มีค่า ๐.๐๖๐๓ - ๐.๑๔๕๒ มิลลกิ รัมต่อลติ ร เกินมาตรฐานน้าบาดาลท่ี
ใช้บริโภคโดยตรวจพบบริเวณใกล้นิคมอุตสาหกรรม และแหล่งฝังกลบขยะมูลฝอย (ดังภาพท่ี xy) (กรม
ทรัพยากรน้าบาดาล, ๒๕๖๓)
ช้ันน้าบาดาลในหินแข็ง ส่วนใหญ่มีปริมาณโลหะหนักอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานน้าบาดาล ยกเว้น
สารหนู มีค่า ๐,๑๑๕ - ๐.๐๔๖๘ มิลลิกรัมต่อลิตร เกินเกณฑ์ท่ีเหมาะสม แต่ไม่เกินเกณฑ์สูงสุดของมาตรฐาน
น้าบาลท่ีใช้บริโภค ในบริเวณนิคมอุตสาหกรรม และแหล่งฝังกลบขยะมูลฝอย (กรมทรัพยากรน้าบาดาล,
๒๕๖๓)
ท่มี า : รายงานสถานการณน์ า้ บาดาล ประจาปพี .ศ. ๒๕๖๒ (กรมทรพั ยากรน้าบาดาล, ๒๕๖๓)
ภาพท่ี ๔ - ๑๑ พืน้ ที่เฝา้ ระวงั คณุ ภาพน้าบาดาลด้านสารพิษภาคตะวนั ออก
นอกจากนี้จากสรุปรายงานสถานการณ์น้าบาดาลประเทศไทยประจาปี พ.ศ. ๒๕๖๓ (กรมทรัพยากร
น้าบาดาล, ๒๕๖๔) ได้รายงานพ้ืนท่ีท้ิงขยะอิเล็กทรอนิกส์หรือโรงงานรับกาจัดขยะอุตสาหกรรมในพ้ืนที่ภาค
ตะวันออก พบปริมาณสารพิษกลุ่มโลหะหนัก เช่น สารหนู (As), ปรอท (Hg) และสารอินทรีย์ระเหยง่าย
ประเภทเตเตระคลอโรเอทธิลีน (Tetrachloroethylene; PEC), โทลูอีน (Toluene; TU), ไวนิลคลอไรด์
(Vinyl Chloride; VC) สูงเกินเกณฑ์มาตฐานน้าใต้ดินหรือน้าบาดาล เพ่ือการบริโภค เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
ประชาชนผู้ใช้น้าบาดาล ท่ีตาบลบ้านซ่องและตาบลท่าถ่าน อาเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา โดยควร
หลีกเล่ียงการใช้น้าหากจาเป็นต้องปรับปรุงคุณภาพน้าบาดาลก่อนเข้าสู่ระบบประปาของหมู่บ้าน และควร
ศึกษาการแพร่กระจายของสารพิษอันตรายเพ่ือกาหนดมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพ
(กรมทรัพยากรนา้ บาดาล, ๒๕๖๔)
โครงการจดั ทาแผนส่งิ แวดลอ้ มในพ้นื ทเ่ี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๗
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม รายงานฉบบั สุดทา้ ย
๔.๑.๓ คณุ ภาพนา้ ทะเลและชายฝ่ง
๔.๑.๓.๑ สถานการณค์ ุณภาพนา้ ทะเลและชายฝ่ง
จากรายงานสถานการณ์คุณภาพส่ิงแวดล้อมภาคตะวันออกของสานักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่
๑๓ (ชลบุร)ี และรายงานของกรมควบคุมมลพิษในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ (ตารางท่ี ๔ - ๕) แสดงสถานการณ์คณุ ภาพ
น้าทะเลและชายฝั่งในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก โดยใช้ค่าพารามิเตอร์ ได้แก่ ฟอสเฟต-ฟอสฟอรัส
(PO43-p) ไนเตรท-ไนโตรเจน (NO3-N) สารแขวนลอย (SS) ความเป็นกรด-ด่าง (pH) กลุ่มโลหะหนัก ตะกั่ว
(pb) และดัชนีคุณภาพน้าทะเล (MWQI) เพ่ือติดตามตรวจสอบคุณภาพน้าทะเลชายฝั่งในพื้นท่ี ๓ จังหวัด
จานวน ๔๘ จุด พบว่า คุณภาพน้าทะเลส่วนใหญ่อยู่ในเกณฑ์ดี ร้อยละ ๕๔ พอใช้รอ้ ยละ ๒๗ เสอ่ื มโทรม ร้อย
ละ ๑๕ เส่ือมโทรมมาก ร้อยละ ๒ และดีมา ร้อยละ ๒ รายละเอียดดังตารางท่ี ๕ - ๑๓ และเม่ือเปรียบเทียบ
กบั ค่ามาตรฐานคุณภาพน้าทะเลตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๙ พบว่า ฟอสเฟต-
ฟอสฟอรสั (PO43-p) มีค่าเกินเกณฑ์มาตรฐานในจังหวัดฉะเชิงเทราสูงถึง ๘๔.๕๐ ไมโครกรัม รองลงมาไม่เกิน
เกณฑ์มาตรฐานคอื จังหวัดชลบรุ ี มี ๒๕.๘๑ ไมโครกรัม และจังหวัดระยองเทา่ กับ ๑๕.๔๗ ไมโครกรัม ไนเตรท-
ไนโตรเจน (NO3-N) มคี ่าไม่เกินมาตรฐาน จังหวัดฉะเชงิ เทรา ๑๐.๖๐ จงั หวัดชลบรุ ี ๒๔.๗๖ และจังหวัดระยอง
๓๖.๔๔ ความเป็นกรด-ด่าง (pH) มีค่าไม่เกินมาตรฐาน จังหวัดฉะเชิงเทรา ๘.๑๑ จังหวัดชลบุรี ๘.๑๘ และ
จงั หวดั ระยอง ๘.๒๐ โดยพ้นื ทศี่ รรี าชา จงั หวัดชลบุรี บรเิ วณเกาะลอย ๑๐๐ เมตร มีคุณภาพน้าทะเลชายฝง่ั ท่ี
เสื่อมโทรมมาก สาหรบั พ้ืนที่ท่ีมีคุณภาพน้าทะเลชายฝั่งในระดับเสื่อมโทรม ประกอบด้วย ท่าเรือสัตหีบ ตลาด
นาเกลือ ท่าเรือแหลมฉบัง บางแสน อ่างศิลา อ่าวชลบุรี จังหวัดชลบุรี และหาดสุชาดา จังหวัดระยอง (ดั ง
ตารางท่ี ๔ - ๖)
ตารางท่ี ๔ - ๕ พารามิเตอร์วัดคุณภาพนา้ ทะเลและชายฝง่ เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๓
พารามิเตอร์ หนว่ ย(๑) เกณฑ(์ ๑) ค่าเฉลีย่ ระยอง
ฉะเชิงเทรา ชลบุรี
ออกซิเจนละลาย (DO) mg/l ไม่น้อยกวา่ ๔ - --
โคลฟิ อรม์ ท้งั หมด (TCB) MPN/๑๐๐ml ไม่เกนิ ๑,๐๐๐ - --
ฟอสเฟต-ฟอสฟอรสั (PO43-p) ug - P/l ไม่เกนิ ๑๕ ๘๔.๕๐ ๒๕.๘๑ ๑๕.๔๗
ไนเตรท-ไนโตรเจน (NO3-N) ug - P/l ไม่เกิน ๖๐ ๑๐.๖๐ ๒๔.๗๖ ๓๖.๔๔
อณุ หภูมิ (Temp) องศาเซลเซยี ส เปลย่ี นแปลงเพมิ่ ขนึ้ ไมเ่ กิน ๑ - - -
สารแขวนลอย (SS) - - ๗๒.๐๐ ๒๗.๙๘ ๙.๖๔
ความเปน็ กรด-ดา่ ง (pH) - ระหว่าง ๗.๐ - ๘.๕ ๘.๑๑ ๘.๑๘ ๘.๒๐
ตะก่วั (pb) ug/l ไมเ่ กนิ ๘.๕ - --
ทมี่ า: (๑) ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ (๒๕๔๙)
(๒) คานวณคา่ เฉลี่ยจากกรมควบคมุ มลพษิ (๒๕๖๔)
โครงการจัดทาแผนสงิ่ แวดล้อมในพ้ืนทเ่ี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๘
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม รายงานฉบับสุดทา้ ย
ตารางที่ ๔ - ๖ ผลการประเมนิ คุณภาพนา้ ทะเลชายฝ่งในจังหวัดฉะเชิงเทรา ชลบรุ ี และระยอง พ.ศ. ๒๕๖๓
MWQI รอ้ ยละ จดุ เกบตัวอย่าง
ดมี าก (จุด)
(๑) ๒ จังหวัดระยอง : เกาะกุฏี (หน้าบ้านพกั อทุ ยาน: ๑๐๐ ม.)+
(๑ จุด)
ดี ๕๔ จงั หวดั ชลบุรี : ช่องแสมสาร (๑๐๐ ม.), เกาะล้าน (ท่าเรอื : ๑๐๐ ม.) -, เกาะลา้ น (หาดตาแหวน:
(๒) (๒๖ จุด) ๑๐ ม.), พัทยากลาง (Central: ๑๐ ม.)+, พัทยาเหนอื (Selection Hotel: ๑๐ ม.)+, ทา่ เรอื แหลมฉบงั
(ตอนกลาง: ๑๐๐ ม.), ท่าเรือแหลมฉบงั (๕๐๐ ม.), เกาะสีชงี (ศาลาอัษฎางด์: ๑๐๐ ม.), เกาะสชี งั
พอใช้ ๒๗ (หาดถ้าพงั : ๑๐ ม.)
(๓) (๑๓ จุด) จงั หวดั ระยอง : ปากแม่นา้ พงั ราด (๕๐๐ ม.)+, แหลมแมพ่ ิมพ์ (๑๐ ม.), สวนรกุ ขชาติ (๑๐ ม.), ท่าเรือ
ประมง (ตลาดบ้านเพ: ๑๐๐ ม.)+, หาดทรายแก้ว (เกาะเสมด็ ๒ จุด: ๑๐ม., ๑๐๐ ม.), ทา่ เรอื หน้าด่าน
เส่ือมโทรม ๑๕ (เกาะเสม็ด: ๑๐ ม.), อ่าวไผ่ (เกาะเสม็ด ๒ จดุ : ๑๐ ม., ๑๐๐ ม.), อ่าวทับทิม (เกาะเสม็ด ๒ จุด: ๑๐ ม.,
(๔) (๗ จุด) ๑๐๐ ม.), อ่าวพร้าว (เกาะเสม็ด ๒ จุด: ๑๐ ม., ๕๐๐ ม. ), เกาะกฏุ ี (ด้านตะวันตก: ๑๐๐ ม.), หาดแม่
ราพึง(๑๐ ม.), หาดนา้ ริน (๑๐ ม.), หาดพยนู (๑๐ ม.),
เสอ่ื มโทรม ๒ จงั หวดั ชลบุรี : หาดจอมเทยี น (กลาง:๑๐ ม.), พัทยาใต้ (แหลมบาลีฮาย:๑๐ ม.), หวั แหลมฉบัง
มาก (๕) (๑ จุด) (๑๐๐ ม.) -, อา่ วอดุ ม (สะพานปลา:๑๐๐ ม.), เกาะสีชัง (ท่าเทววงษ์: ๑๐๐ ม.) -, บางพระ (๑๐๐ ม.),
๑๐๐ บางแสน (โรงแรมเดอะไทด:์ ๑๐๐ ม.) -, อ่างศลิ า (ฟาร์มหอยนางรม:๕๐๐ ม.), อา่ วชลบรุ ี (๑๐๐ ม.) +
รวม (๔๘ จุด) จังหวัดฉะเชงิ เทรา : ปากแม่นา้ บางปะกง (๕๐๐ ม.)+
จังหวดั ระยอง : ปากแมน่ า้ ระยอง (๕๐๐ ม.)-
จงั หวดั ชลบรุ ี : ท่าเรอื สัตหีบ (๑๐๐ ม.) -, ตลาดนาเกลือ (๑๐๐ ม.) -, ทา่ เรอื แหลมฉบงั (ตอนท้าย:
๕๐๐ ม.), บางแสน (โรงแรมเดอะไทด์:๑๐ ม.), อา่ งศิลา (ท่าเรอื :๑๐๐ ม.), อา่ วชลบุรี (๑๐๐ม.)
จงั หวัดระยอง : หาดสชุ าดา (๑๐๐ ม.) -
จังหวัดชลบรุ ี : ศรรี าชา (เกาะลอย:๑๐๐ ม.) -
ท่มี า : สว่ นแหล่งนา้ ทะเล กรมควบคุมมลพษิ และสานกั งานสิง่ แวดลอ้ มภาคท่ี ๑๓ (ชลบรุ )ี (๒๕๖๔)
หมายเหตุ : - คือ คณุ ภาพนา้ ทะเลเสื่อมโทรมลง ๑ ระดับ เมอื่ เทยี บกับปี พ.ศ. ๒๕๖๒
+ คอื คุณภาพนา้ ทะเลดีขึน้ ๑ ระดับ เมอื่ เทียบกับปี พ.ศ. ๒๕๖๒
การพิจารณามาตรฐานคุณภาพน้าทะเลตามพารามิเตอร์ ตามจุดตรวจวัด ซึ่งประกอบด้วย
ฟอสเฟต – ฟอสฟอรัส (PO43-P), ไนเตรต – ไนโตรเจน (NO3-N), สารแขวนลอย (SS), ความเป็นกรด – ด่าง
(pH), ตะก่ัว (Pb) และค่าดัชนีคุณภาพน้าทะเล (MWQI) ซึ่งพบว่า ในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกมี
ตาแหนง่ ของจดุ ตรวจวดั ท่เี กนิ คา่ มาตรฐาน ดงั นี้ (ตารางท่ี ๔ - ๗)
จุดวัดคุณภาพน้าทะเล ที่มีค่าฟอสเฟต – ฟอสฟอรัส (PO43-P) เกินค่ามาตรฐาน คือ ตาแหน่ง
ปากแม่น้าบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา ท่าเรอื สัตหีบ หาดจอมเทียน (กลาง) ตลาดนาเกลือ ทา่ เรือแหลมฉบัง
(ตอนท้าย) ศรีราชา (เกาะลอย) อ่าวชลบุรี จงั หวัดชลบุรี และในจงั หวดั ระยอง พบตาแหน่งของจุดตรวจวดั ที่มี
โครงการจดั ทาแผนส่งิ แวดลอ้ มในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๑๙
สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รายงานฉบับสุดท้าย
ค่าฟอสเฟต – ฟอสฟอรัส (PO43-P) เกินค่ามาตรฐาน คือ ท่าเรอื หน้าด่าน (เกาะเสม็ด) อ่าวพร้าว (เกาะเสม็ด)
ปากแมน่ า้ ระยอง หาดสชุ าดา
ในส่วนของสถานีจุดตรวจวัดท่ีมีค่าไนเตรต – ไนโตรเจน (NO3-N) เกินค่ามาตรฐาน คือ
ตาแหน่ง ท่าเรือสัตหีบ ท่าเรือแหลมฉบัง (ตอนท้าย) และศรีราชา(เกาะลอย) จังหวัดชลบุรี บริเวณปากแม่น้า
ประแสร์ และหาดสชุ าดา จงั หวัดระยอง
จุดท่ีพบค่า สารแขวนลอย (SS) เกินค่ามาตรฐาน พัทยาใต้ (แหลมบาลีฮาย) พัทยากลาง
(Central) พัทยาเหนือ (Selection Hotel) ตลาดนาเกลือ ท่าเรือแหลมฉบัง(ตอนท้าย) ศรีราชา (เกาะลอย)
เกาะสีชัง (ศาลาอัษฎางด์) บางแสน (โรงแรมเดอะไทด์) อ่างศิลา (ฟาร์มหอยนางรม) จังหวัดชลบุรี และ อ่าว
พรา้ ว (เกาะเสม็ด) จงั หวดั ระยอง
ในสว่ นของตาแหนง่ จุดตรวจวดั ที่มีค่าดัชนคี ุณภาพน้าทะเลเกินค่ามาตรฐาน คือ ทา่ เรือสตั หีบ
ท่าเรือแหลมฉบัง (ตอนท้าย) ศรีราชา (เกาะลอย) บางแสน (โรงแรมเดอะไทด์) อ่างศิลา (ฟาร์มหอยนางรม)
จังหวัดชลบรุ ี และ หาดสุชาดจงั หวดั ระยอง
ตารางท่ี ๔ - ๗ คุณภาพนา้ ทะเลจาแนกตามจดุ ตรวจวดั คณุ ภาพนา้ ทะเลในพื้นทเี่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาค
ตะวันออก ปี พ.ศ. ๒๕๖๓
จุด สถานี ตาแหน่ง จงั หวัด ประเภท คณุ ภาพน้าทะเล พารามเิ ตอร์ท่ีเกนิ คา่
มาตรฐาน
๔๘ Csmb5 ปากแมน่ า้ บางปะกง ฉะเชิงเทรา ๑ เกนิ ค่ามาตรฐาน
ชลบุรี ๒ เกินคา่ มาตรฐาน PO43-p
๒๓ Cbss1 ชอ่ งแสมสาร ชลบุรี ๖ เกนิ ค่ามาตรฐาน NO3-N
ชลบรุ ี ๔ เกนิ คา่ มาตรฐาน PO43-p NO3-N MWQI
๒๔ Cbsh1 ทา่ เรือสตั หบี ชลบรุ ี ๖ ไมเ่ กนิ ค่ามาตรฐาน PO43-p
ชลบุรี ๒ ไม่เกินค่ามาตรฐาน
๒๕ Cbjt0 หาดจอมเทียน (กลาง) ชลบรุ ี ๕ เกินค่ามาตรฐาน SS
ชลบุรี ๔ เกนิ ค่ามาตรฐาน SS
๒๖ Cbpk1 เกาะล้าน (ท่าเรอื ) SS
ชลบรุ ี ๔ เกนิ ค่ามาตรฐาน PO43-p SS
๒๗ Cbtw0 เกาะลา้ น (หาดตาแหวน) PO43-p NO3-N SS
ชลบรุ ี ๑ เกนิ ค่ามาตรฐาน MWQI
๒๘ Cbps0 พทั ยาใต(้ แหลมบาลีฮาย)
เกนิ ค่ามาตรฐาน PO43-p NO3-N SS
๒๙ Cbpc0 พัทยากลาง (Central) MWQI
ไม่เกนิ ค่ามาตรฐาน
๓๐ Cbpn0 พัทยาเหนือ (Selection
Hotel) ไม่เกินค่ามาตรฐาน
ไมเ่ กินค่ามาตรฐาน
๓๑ Cbnm1 ตลาดนาเกลือ ไม่เกินค่ามาตรฐาน
๓๒ Cblb1.3 ทา่ เรือแหลมฉบัง(ตอนท้าย) ชลบุรี ๕ เกินคา่ มาตรฐาน
๓๓ Cblb1.2 ท่าเรือแหลมฉบงั ชลบุรี ๕ ไมเ่ กนิ คา่ มาตรฐาน
(ตอนกลาง)
ชลบุรี ๕
๓๔ Cblb5 ทา่ เรอื แหลมฉบงั ชลบุรี ๕
ชลบุรี ๕
๓๕ Cblb1.1 หัวแหลมฉบงั
๓๖ Cbau1 อา่ วอุดม(สะพานปลา)
๓๗ Cbsr1 ศรรี าชา(เกาะลอย) ชลบรุ ี ๕
๓๘ Cbtl1 เกาะสีชัง (ทา่ เทววงษ์) ชลบรุ ี ๕
โครงการจดั ทาแผนสง่ิ แวดล้อมในพื้นท่เี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๐
สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสุดทา้ ย
จุด สถานี ตาแหน่ง จงั หวัด ประเภท คุณภาพนา้ ทะเล พารามิเตอรท์ ี่เกินค่า
มาตรฐาน
๓๙ Cbad1 เกาะสชี งี (ศาลาอัษฎางด)์ ชลบุรี ๕ เกนิ ค่ามาตรฐาน SS
๔๐ Cbtp0 เกาะสีชัง (หาดถ้าพงั ) ชลบรุ ี ๒ ไมเ่ กนิ คา่ มาตรฐาน
๔๑ Cbbp1 บางพระ ชลบรุ ี ๖ ไมเ่ กนิ คา่ มาตรฐาน
๔๒ Cbbs0 บางแสน(โรงแรมเดอะไทด์) ชลบุรี ๔ เกนิ ค่ามาตรฐาน PO43-P SS MWQI
๔๓ Cbbs1 บางแสน(โรงแรมเดอะไทด์) ชลบุรี ๔ เกนิ คา่ มาตรฐาน PO43-P
๔๔ Cbas1 อ่างศลิ า(ท่าเรอื ) ชลบุรี ๓ เกนิ คา่ มาตรฐาน MWQI
๔๕ Cbas5.1 อา่ งศลิ า (ฟาร์มหอย ชลบรุ ี ๓ เกนิ ค่ามาตรฐาน PO43-P SS MWQI
นางรม)
๔๖ Cbcb1 อ่าวชลบุรี ชลบุรี ๓ เกินค่ามาตรฐาน PO43-P MWQI
๔๗ Cbcb5 อ่าวชลบุรี ชลบุรี ๓ ไม่เกินค่ามาตรฐาน
๑ Rymp5 ปากแมน่ ้าพงั ราด ระยอง ๑ ไม่เกนิ คา่ มาตรฐาน
๒ Ryms5 ปากแม่น้าประแสร์ ระยอง ๑ เกินคา่ มาตรฐาน NO3-N
๓ Rylm0 แหลมแม่พิมพ์ ระยอง ๖ ไม่เกนิ คา่ มาตรฐาน
๔ Rykk5 ปากคลองแกลง ระยอง ๖ ไมเ่ กนิ คา่ มาตรฐาน
๕ Rybg0 สวนรกุ ขชาติ ระยอง ๑ ไมเ่ กินค่ามาตรฐาน
๖ Ryfp1 ทา่ เรือประมง (ตลาดบ้าน ระยอง ๖ ไมเ่ กนิ ค่ามาตรฐาน
เพ)
๗ Rysk0 หาดทรายแกว้ (เกาะเสม็ด) ระยอง ๒ ไมเ่ กินคา่ มาตรฐาน
๘ Rysk1 หาดทรายแก้ว (เกาะเสมด็ ) ระยอง ๒ ไมเ่ กินคา่ มาตรฐาน
๙ Ryfn0 ทา่ เรือหน้าด่าน (เกาะ ระยอง ๑ เกนิ คา่ มาตรฐาน PO43-P
เสมด็ )
๑๐ Ryop0 อา่ วไผ่ (เกาะเสมด็ ) ระยอง ๒ ไมเ่ กนิ ค่ามาตรฐาน
๑๑ Ryop1 อ่าวไผ่ (เกาะเสม็ด) ระยอง ๒ ไม่เกนิ ค่ามาตรฐาน
๑๒ Ryot0 อา่ วทบั ทมิ (เกาะเสม็ด) ระยอง ๒ ไม่เกนิ ค่ามาตรฐาน
๑๓ Ryot1 อา่ วทับทิม (เกาะเสม็ด) ระยอง ๒ ไมเ่ กนิ คา่ มาตรฐาน
๑๔ Ryph0 อา่ วพร้าว (เกาะเสมด็ ) ระยอง ๒ เกินค่ามาตรฐาน PO43-P SS
๑๕ Ryph5 อ่าวพรา้ ว (เกาะเสมด็ )
ระยอง ๒ ไม่เกนิ คา่ มาตรฐาน
๑๖ Rygd1 เกาะกฏุ ี (ด้านตะวันตก) ระยอง ๒ ไม่เกินค่ามาตรฐาน
๑๗ Rygd1.1 เกาะกุฏี (หน้าบ้านพกั ระยอง ๒ ไม่เกนิ คา่ มาตรฐาน
อุทยาน)
๑๘ Ryrp0 หาดแมร่ าพงึ ระยอง ๑ ไมเ่ กนิ ค่ามาตรฐาน
๑๙ Rymr5 ปากแม่น้าระยอง ระยอง ๑ เกนิ คา่ มาตรฐาน PO43-P
๒๐ Rysc1 หาดสชุ าดา
๒๑ Rynr0 หาดน้ารนิ ระยอง ๖ เกนิ คา่ มาตรฐาน PO43-P NO3-N MWQI
ระยอง ๖ ไมเ่ กินค่ามาตรฐาน
๒๒ Rypy0 หาดพยนู ระยอง ๖ ไมเ่ กินค่ามาตรฐาน
ทีม่ า: กรมควบคมมลพษิ (๒๕๖๓)
โครงการจดั ทาแผนสิง่ แวดล้อมในพน้ื ทีเ่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๑
สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม รายงานฉบบั สดุ ท้าย
ภาพท่ี ๔ - ๑๒ แสดงตาแหน่งจุดวดั คณุ ภาพน้าทะเลและแหลง่ กาเนิดมลพษิ ในพนื้ ที่เขตพัฒนาพเิ ศษภาค
ตะวันออก
โครงการจัดทาแผนสิง่ แวดลอ้ มในพ้นื ท่ีเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๒
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ทา้ ย
๔.๑.๓.๒ สถานการณค์ ณุ ภาพนา้ ทะเลตามฤดูกาล
ผลการสารวจคุณภาพน้าทะเลแยกตามฤดูกาลในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
โดยกรมควบคุมมลพิษได้รวบรวมข้อมูลปีละ ๒ คร้ัง ในช่วงฤดูแล้ง และ ฤดูฝน ระหว่างปีพ.ศ. ๒๕๕๘ -
๒๕๖๒ ประกอบด้วย ๔ พารามิเตอร์ ได้แก่ ๑) ความเป็นกรด-ด่าง ๒) ไนเตรท-ไนโตรเจน ๓) ตะก่ัว และ
๔) สารแขวนลอย มรี ายละเอยี ดดังนี้
จังหวัดฉะเชิงเทรา มีจุดวัดคุณภาพน้าทะเล ๑ สถานี คือ สถานีปากแม่น้าบางปะกง โดยใน
ฤดฝู น พบค่าไนเตรท - ไนโตรเจนเกินเกณฑ์คา่ มาตรฐานต่อเน่ืองต้ังแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๘ - พ.ศ. ๒๕๖๒ และมคี ่า
สูงกว่าฤดูแล้ง สาหรับค่าความเป็นกรด – ด่างเกินเกณฑ์ค่ามาตรฐานเพียงค่าเดียวในปี พ.ศ. ๒๕๕๙ ซ่ึงอยู่
ในช่วงฤดฝู น และมีการพบคา่ ตะกั่วในชว่ งฤดฝู นมากกวา่ ชว่ งฤดูแลง้ แต่ทั้งนย้ี ังไมเ่ กินเกณฑ์คา่ มาตรฐาน
จังหวัดชลบุรี มีจุดวัดคุณภาพน้าทะเลท้ังหมด ๒๕ สถานี ดังตารางที่ ๔ - ๘ โดยผลการ
ตรวจวัดคุณภาพน้าทะเลในปีพ.ศ. ๒๕๕๘ พบค่าความเป็นกรด – ด่างเกินเกณฑ์ค่ามาตรฐานในช่วงฤดูแล้ง
โดยมีค่าตา่ กว่า ๗ ทกุ ค่า และในปีพ.ศ. ๒๕๖๒ ยงั พบค่าความเป็นกรด – ด่าง เกินค่ามาตรฐานในสถานีเกาะสี
ชงั (หาดถ้าพงั ) สถานศี รีราชา (เกาะลอย) และสถานอี ่าวอุดม (สะพานปลา) โดยพบในฤดูแลง้ สาหรับค่าไนเต
รท- ไนโตรเจน พบค่าเกนิ มาตรฐานจานวน ๔ สถานี ในปีพ.ศ. ๒๕๖๒ คือ สถานีอา่ วอุดม ๑ และ ๒ สถานีอา่ ง
ศลิ า (ท่าเรือ) สถานีอ่างศิลา (ฟาร์มหอยนางรม) โดยพบในฤดูฝน สาหรับค่าตะกั่วมีพบในบางสถานีเกินเกณฑ์
ค่ามาตราฐาน ได้แก่ บริเวณสถานีพัทยากลาง (พ.ศ. ๒๕๕๘) สถานีบางแสน (โรงแรมเดอะไทด์) และสถานี
เกาะสีชัง (ท่าเทววงษ์) (พ.ศ. ๒๕๖๐) โดยทั้งหมดพบในชว่ งฤดูแล้ง นอกจากน้ีพบค่าตะกว่ั ต่อเนื่องตัง้ แต่ปีพ.ศ.
๒๕๖๐ - ๒๕๖๒ คือ สถานีบางแสน (โรงแรมเดอะไทด์) ๑ สถานีพัทยาใต้ (แหลมบาลีฮาย) สถานีตลาดนา
เกลือ และสถานีหาดจอมเทียน (กลาง) ซ่ึงพบในฤดูฝน แต่ยังมีค่าไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน เป็นสถานีท่ีควรเฝ้า
ระวงั การปนเป้อื นของสารมลพษิ ในนา้ ทะเลชายฝงั่
จงั หวดั ระยองมสี ถานตี รวจวดั คุณภาพนา้ ทะเลทั้งหมด ๒๓ จดุ ดงั ตาราวท่ี ๔ – ๑๑
พบค่าความเป็นกรด – ด่างเกินเกณฑ์ค่ามาตราฐานหลายสถานี โดยในปี พ.ศ. ๒๕๕๙ พบว่า
ส่วนใหญ่อยู่ในช่วงฤดูฝน และในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ อยู่ในช่วงฤดูแล้ง นอกจากนี้ยังพบว่าหลายสถานีมีค่าความ
เป็นกรด – ด่างเกินเกณฑ์ค่ามาตราฐานติดต่อกันสองปี ได้แก่ สถานีอ่าวทับทิม ทั้ง ๒ สถานี (พ.ศ. ๒๕๕๙ –
๒๕๖๐) และเกาะกุฏี (หน้าบ้านพักอุทยาน) (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๑) ในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ พบค่าไนเตรท -
ไนโตรเจนเกิณเกณฑ์ค่ามาตรฐานส่วนใหญ่พบบริเวณปากแม่น้า ได้แก่ ปากแม่น้าประแสร์ ปากแม่น้าพังราด
และปากแม่น้าระยอง โดยพบทั้งในช่วงฤดแู ล้งและฤดูฝน นอกจากนี้บริเวณปากแม่นา้ ประแสร์ยังมคี ่าไนเตรท
- ไนโตรเจนเกิณเกณฑ์ค่ามาตรฐานต่อเนื่องตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๘ - พ.ศ. ๒๕๖๒ ซ่ึงอยู่ในช่วงฤดูฝน จังหวัด
ระยองมีการตรวจพบค่าตะก่ัวทุกสถานีในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ และปี พ.ศ. ๒๕๖๐ แต่ทั้งน้ียังอยู่ในเกณฑ์
มาตราฐาน นอกจากนี้พบค่าตะกั่วต่อเนื่องตั้งแต่ปีพ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๒ คอื สถานีท่าเรือประมง (ตลาดบ้านเพ)
สถานหี าดพยนู สถานีหาดน้าริน ซงึ่ พบในฤดูฝน แต่ยงั มีคา่ ไม่เกินเกณฑม์ าตรฐาน เป็นสถานีทคี่ วรเฝา้ ระวังการ
ปนเปื้อนของสารมลพษิ ในน้าทะเลชายฝ่งั
โดยสรปุ แล้ว พบว่า คา่ ไนเตรท-ไนโตรเจน สว่ นใหญม่ คี า่ สูงในฤดฝู น ทงั้ น้ีอาจเนอ่ื งจากช่วงฤดู
ฝนมีการทาเกษตรกรรมท่ตี ้องใชป้ ๋ยุ จึงทาให้ค่าไนเตรท-ไนโตรเจนสงู ในขณะท่ีคา่ ตะกัว่ มีคา่ สูงในช่วงฤดแู ล้ง
โครงการจดั ทาแผนสิ่งแวดล้อมในพ้นื ที่เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๓
สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สดุ ท้าย
ในขณะที่ค่าความเปน็ กรด-ด่าง พบได้ทง้ั ฤดฝู นและฤดูแล้ง และสว่ นใหญพ่ บวา่ ค่าไนเตรท-ไนโตรเจนมคี ่าเกนิ
เกณฑ์มาตรฐาน
โครงการจัดทาแผนส่งิ แวดล้อมในพ้ืนท่เี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๔
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม
ตารางที่ ๔ - ๙ คณุ ภาพน้าทะเลแยกตามฤดกู าล จงั หวัดฉะเชงิ เทรา
ลาดบั ชอ่ื สถานี ประเภท ฤดู ความเป็นกรด-ด่าง
๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕
๑ ปากแมน่ า้ ๖ แล้ง ๗.๔๘ ๗.๙๖ ๘.๔๐ ๗.๗๖ ๗.๑๓ ๓
บางปะกง ฝน ๗.๗๐ ๖.๘๒ ๘.๐๕ ๘.๔๗ ๗.๒๖ ๒
หมายเหตุ: ๑) การวเิ คราะหเ์ ทียบเกณฑ์มาตรฐานของค่าสารแขวนลอยตอ้ งใชข้ ้อมลู รายเดอื น ณ ว
ละ ๒ ครั้ง ขอ้ มลู จงึ ไมเ่ พียงพอทีจ่ ะสามารถวิเคราะห์เทยี บเกณฑม์ าตรฐานได้
๒) / หมายถงึ ตรวจไม่พบ
ท่มี า : กรมควบคมุ มลพษิ (๒๕๖๔)
ตารางที่ ๔ - ๑๐ คณุ ภาพน้าทะเลแยกตามฤดูกาล จงั หวดั ชลบุรี
ลาดับ ชือ่ สถานี ประเภท ฤดู ๒๕๕๘ ความเป็นกรด-ด่าง ๒
๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑
๑ อ่าวชลบรุ ี ๑ ๓ แล้ง ๗.๓๙ ๗.๘๓ ๘.๐๘ ๗.๖๔
ฝน ๗.๗๐ ๘.๓๓ ๘.๓๘ ๘.๒๙
๒ อ่าวชลบรุ ี ๒ ๓ แลง้ ๗.๔๘ ๗.๕๘ ๘.๐๓ ๗.๖๓
ฝน ๗.๘๐ ๘.๔๖ ๘.๐๘ ๘.๑๒
๓ อา่ งศิลา (ท่าเรอื ) ๖ แล้ง ๗.๗๕ ๘ ๘.๑๘ ๗.๖๒
ฝน ๗.๙๐ ๘.๒๕ ๘.๕๓ ๘.๒๕
๔ อ่างศิลา (ฟารม์ หอยนางรม) ๓ แล้ง ๗.๕๓ ๗.๙๕ ๘.๒๒ ๗.๕๙
ฝน ๗.๙๐ ๘.๓๐ ๘.๕๕ ๘.๒๘
๕ บางแสน (โรงแรมเดอะไทด)์ ๑ ๔ แล้ง ๗.๘๕ ๘.๑๐ ๘.๓๑ ๗.๖๖
ฝน ๘.๑๐ ๘.๐๖ ๘.๙๓ ๘.๒๑
โครงการจัดทาแผนส่งิ แวดล้อมในพืน้ ทเ่ี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕
รายงานฉบับสดุ ทา้ ย
ไนเตรท-ไนโตรเจน (ไมโครกรัม ลติ ร) ตะกัว่ (ไมโครกรัม ลิตร)
๕๕๘ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒
๓๕๓ ๑๕๔ ๓๘ ๑๘๐ ๒๓.๗ ๑.๑๗ / ๑.๘๐ / /
๒๘๒ ๙๒๘ ๑๓๔ ๕๘ ๔๗๕ ๐.๕๓ <๓ ๖.๙๐ ๐.๘๖ ๗.๒๒
วันทแี่ ละเวลาเดียวกนั เพือ่ หาค่าเฉลรี่ ายปี แต่จากข้อมลู กรมควบคมุ มลพิษเปน็ การตรวจนา้ ทะเลปี
ไนเตรท-ไนโตรเจน (ไมโครกรมั ลติ ร) ๒๕๕๘ ตะกว่ั (ไมโครกรมั ลิตร) ๒๕๖๒
๒๕๖๒ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๐.๕๘๒ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ /
๖.๑๓ ๒๐๒ ๑๘๗ ๔๗ ๕๑.๖๐ ๑๓ ๑.๐๘๐ /
๗.๘๗ ๗๖.๔๐ ๑๒๖ ๕๖ ๑๐ ๙๑.๙ ๑.๒๑๐ / ๔.๙๐ ๐.๕๐ /
๖.๔๔ ๒๓๐ ๑๘๑ ๔๖ ๑๒๓ ๙.๑๕ ๐.๖๓๒ / <๐.๕ ๑.๐๖ /
๗.๘๗ ๗๕.๓๐ ๑๐๕ ๕๓ ๕ ๑๕๐ ๐.๔๖๘ / ๒/ /
๗.๐๘ ๓๘.๕๐ ๔๗.๓๐ ๓๗ ๒๕.๔๐ ๑๑.๖๐ ๑.๙๐๐ / <๐.๕ / /
๗.๙๙ ๒๘.๔๐ ๔๒.๗๐ ๔๖ ๑.๔๓ ๑๒๖ ๐.๕๔๓ / ๓/ /
๗.๐๕ ๒๔.๒๐ ๔๗.๓๐ ๓๔ ๒๔.๒๐ ๕.๕๘ ๐.๕๙๖ / ๑.๔๐ ๐.๘๖ /
๗.๘๑ ๑๑.๙๐ ๔๒.๒๐ ๓๒ ๘.๙๐ ๑๓๓ ๐.๗๗๘ / <๐.๕ / ๐.๙๐
๗.๑๗ ๑๗ ๗.๔๘ ๒๐ ๑๔.๗๐ ๓.๒๘ ๑.๗๘๐ / ๒.๒๐ / ๐.๗๔
<๓ <๐.๕ /
๗.๓ ๑๑.๒๐ ๒.๑๑ ๑๗ ๘.๐๘ ๑.๙๔ <๓ ๕.๓๐ ๑.๙๗
๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๕
สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม
ลาดบั ชือ่ สถานี ประเภท ฤดู ๒๕๕๘ ความเป็นกรด-ด่าง ๒
๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑
๖ บางแสน (โรงแรมเดอะไทด์) ๒ ๔ แลง้ ๘.๐๔ ๗.๘๙ ๘.๓๗ ๗.๗๓
ฝน ๘.๑๐ ๘.๓๙ ๙.๐๕ ๘.๐๘
๗ บางพระ ๓ แลง้ ๗.๖๒ ๗.๕๖ ๘.๑๙ ๗.๘๒
ฝน ๘ ๗.๕๒ ๘.๗๒ ๘.๒๙
๘ เกาะสชี ัง (ท่าเทววงษ)์ ๖ แล้ง ๗.๙๙ ๘.๑๕ ๘.๓๔ ๘.๑๗
ฝน ๘.๑๐ ๘.๑๗ ๘.๕๕ ๘.๑๑
๙ เกาะสีชัง (ศาลาอษั ฎางด)์ ๖ แลง้ ๗.๘๗ ๘.๑๒ ๘.๓๒ ๘.๑๒
ฝน ๘.๑๐ ๘.๐๗ ๘.๘๔ ๘.๖๓
๑๐ เกาะสีชงั (หาดถา้ พงั ) ๔ แล้ง ๗.๘๖ ๗.๘๑ ๘.๓๓ ๗.๙๗
ฝน ๘.๒๐ ๗.๗๖ ๘.๓๗ ๘.๓๓
๑๑ ศรรี าชา (เกาะลอย) ๖ แล้ง ๗.๗๐ ๘.๑๓ ๘.๒๔ ๘.๒๒
ฝน ๗.๖๐ ๖.๘๓ ๘.๖๗ ๘.๕๔
๑๒ อ่าวอดุ ม (สะพานปลา) ๖ แล้ง ๗.๕๕ ๘.๑๒ ๘.๒๘ ๗.๕๙
ฝน ๘.๒๐ ๖.๙๒ ๘.๗๘ ๘.๒๒
๑๓ หัวแหลมฉบงั ๕ แล้ง ๗.๔๒ ๘.๒๓ ๘.๓๖ ๗.๖๕
ฝน ๘ ๗.๘๒ ๘.๖๙ ๘.๕๘
๑๔ ท่าเรือแหลมฉบงั (ตอนกลาง) ๕ แลง้ ๗.๑๖ ๘.๑๖ ๘.๓๐ ๗.๖๖
ฝน ๘.๒๐ ๘.๓๔ ๘.๔๗ ๘.๖๒
๑๕ ทา่ เรอื แหลมฉบัง (ตอนทา้ ย) ๕ แล้ง ๗.๑๔ ๘.๑๕ ๘.๕๐ ๗.๖๐
ฝน ๗.๙๐ ๘.๑๒ ๘.๓๕ ๘.๓๕
๑๖ ท่าเรือแหลมฉบงั ๕ แลง้ ๗.๑๐ ๘.๒๕ ๘.๓๗ ๗.๗๘
ฝน ๘.๒๐ ๘.๕๐ ๘.๖๖ ๘.๕๗
โครงการจัดทาแผนสงิ่ แวดลอ้ มในพืน้ ที่เขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕
รายงานฉบบั สุดทา้ ย
ไนเตรท-ไนโตรเจน (ไมโครกรัม ลติ ร) ๒๕๕๘ ตะกว่ั (ไมโครกรมั ลิตร) ๒๕๖๒
๒๕๖๒ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ <๐.๑ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ /
๗.๒๓ ๔.๑๙ ๔.๕๓ ๒๙ ๗.๑๘ ๓.๒๑ ๐.๖๓๘ /
๗.๐๘ ๑๐.๖๐ ๓.๙๘ ๒๒ ๒.๓๒ ๓.๖๒ ๐.๓๖๒ / ๑๑ / /
๖.๙๙ ๑๔.๘๐ ๖.๒๐ ๔๓ ๑๑.๓๐ ๘.๐๖ ๐.๔๒๒ / ๒.๓๐ ๑.๕๑ /
๐.๑๗๐ / ๐.๖๐ / /
๗.๒ ๒๔.๒๐ ๒๔.๗๐ ๑๔ ๑๐.๕๐ ๔๔.๑ ๐.๓๕๒ / <๐.๕ ๔.๘๐ ๐.๙๗
๗.๐๙ ๑๖.๗๐ ๖.๐๔ ๓๙ ๑๙.๖ ๓.๓๗ ๐.๒๗๗ / ๑๒ / /
๗.๙๗ ๔๙.๗๐ ๙๓.๓๐ ๑๔ ๓.๑๙ ๑๑๙ ๐.๒๐๗ / <๐.๕ / /
๗.๒๔ ๔๒.๙๐ ๑๘๕ ๔๐ ๑๕.๒๐ ๑๒.๘๐ ๐.๑๕๕ / <๐.๕ / /
๗.๙๕ ๓๐.๑๐ ๔๗.๙๐ ๒๑ ๐.๕๘ ๖๕.๘ ๐.๑๐๐ / ๑.๔๐ / /
๖.๙๕ ๓.๗๖ ๖.๘๒ ๓๘ ๑๕.๖๐ ๓.๙๔ ๐.๑๗๗ / <๐.๕ / /
๘.๐๗ ๑๕.๔๐ ๑๗.๒๐ ๑๐ ๐.๓๕ ๓๒.๕ ๐.๔๘๖ / <๐.๕ / /
๖.๕๒ ๓๑.๒๐ ๑๙.๖๐ ๔๓ ๑๖.๔๐ ๒๖.๓๐ ๐.๒๙๓ / <๐.๕ / /
๗.๘๔ ๖๖.๔๐ ๖๐.๙๐ ๑๘ ๒.๓๐ ๒๕.๖ ๑.๔๘๐ / ๐.๗๐ / /
๖.๖๙ ๕๔.๕๐ ๑๒.๓๐ ๕๗ ๑๘.๓๐ ๒๖.๓๐ ๐.๓๑๖ / <๐.๕ / /
๗.๙๖ ๒๓.๗๐ ๒๗.๘๐ ๒๑ ๒.๒๒ ๒๐.๒ ๐.๗๕๘ / <๐.๕ ๐.๕๕ /
๗.๐๔ ๓๒.๗๐ ๘.๒ ๔๗ ๒๑.๔๐ ๑๐.๖๐ ๐.๒๓๕ / ๑.๖๐ / /
๘.๑๓ ๕.๙๔ ๕.๓๗ ๑๑ ๓.๔๗ ๑๘.๖ ๐.๒๕๐ / <๐.๕ / /
๖.๖๘ ๓๐.๓๐ ๕ ๓๔ ๔๗.๓๐ ๑๓.๖๐ ๐.๖๘๔ / ๑.๗๐ / /
๗.๗๔ ๑๔.๒๐ ๔๒.๖๐ ๙.๖๐ ๐.๙๐ ๑๙.๔ ๑.๖๐๐ / <๐.๕ / /
๗.๔๑ ๓๓.๒๐ ๓๑.๖๐ ๔๘ ๒๓.๔๐ ๑๕.๓๐ ๐.๑๘๑ /
๗.๙๕ ๓๒.๘๐ ๒๘.๕๐ <๒ ๒๐ ๓๗.๕ ๐.๒๔๕ ๓ ๑.๗๐ / /
๗.๔๒ ๑๓.๔๐ ๔.๖๐ ๔๓ ๙ ๗.๗๕ / <๐.๕ ๐.๙๔
๗.๗๖ ๙.๘๖ ๑๓ ๑๖ ๑.๖๔ ๑๘.๔ / <๐.๕ /
/ <๐.๕ /
๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๖
สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม
ลาดบั ช่ือสถานี ประเภท ฤดู ๒๕๕๘ ความเปน็ กรด-ด่าง ๒
๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑
๑๗ ตลาดนาเกลือ ๖ แล้ง ๖.๙๕ ๗.๘๘ ๘.๒๗ ๗.๖๙
ฝน ๗.๗๐ ๗.๘๒ ๘.๒๙ ๘.๑๘
๑๘ พทั ยากลาง (Central) ๔ แลง้ ๖.๖๕ ๗.๗๒ ๘.๒๐ ๗.๗๒
ฝน ๗.๙๐ ๗.๕๓ ๘.๔๘ ๘.๑๙
๑๙ พทั ยาเหนอื (Selection Hotel) ๔ แล้ง ๖.๒๔ ๗.๘๒ ๘.๑๗ ๗.๖๘
ฝน ๗.๙๐ ๗.๑๖ ๘.๓๓ ๘.๑๖
๒๐ พัทยาใต้ (แหลมบาลีฮาย) ๖ แลง้ ๖.๔๖ ๗.๙๕ ๘.๘๐ ๗.๖๙
ฝน ๗.๙๐ ๗.๗๘ ๘.๔๒ ๘.๒๐
๒๑ เกาะล้าน (หาดตาแหวน) ๔ แลง้ ๗.๔๖ ๗.๘ ๘.๒ ๘.๐๙
ฝน ๘.๑ ๗.๖๘ ๘.๓๑ ๘.๔๕
๒๒ เกาะลา้ น (ทา่ เรอื ) ๔ แลง้ ๗.๔๔ ๘.๑๓ ๘.๓๒ ๘.๔๓
ฝน ๘.๑ ๗.๓ ๘.๔ ๘.๓๓
๒๓ ท่าเรือสัตหบี ๕ แล้ง ๗.๒๓ ๘.๐๕ ๘.๔ ๗.๖๘
ฝน ๘ ๗.๖๓ ๘.๔๙ ๘.๐๙
๒๔ ชอ่ งแสมสาร ๖ แลง้ ๗.๗๔ ๘.๑๔ ๘.๓๙ ๗.๖๖
ฝน ๘.๒ ๘.๔๓ ๘.๔๗ ๗.๘๙
๒๕ หาดจอมเทียน (กลาง) ๔ แล้ง ๖.๕๙ ๗.๘๑ ๘.๒๕ ๘.๒๓
ฝน ๘ ๗.๗๘ ๘.๐๙ ๘.๒๘
หมายเหตุ: การวิเคราะหเ์ ทียบเกณฑม์ าตรฐานของค่าสารแขวนลอยต้องใช้ขอ้ มูลรายเดือน ณ วนั ท
๒ ครง้ั ขอ้ มลู จึงไมเ่ พียงพอท่จี ะสามารถวเิ คราะหเ์ ทยี บเกณฑ์มาตรฐานได้
/ หมายถงึ ตรวจไมพ่ บ
ทมี่ า: กรมควบคุมมลพิษ (๒๕๖๔)
โครงการจัดทาแผนสง่ิ แวดล้อมในพื้นที่เขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕
รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย
ไนเตรท-ไนโตรเจน (ไมโครกรัม ลิตร) ตะก่วั (ไมโครกรัม ลิตร)
๒๕๖๒ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒
๖.๓๙ ๘.๔๑ ๒๘.๘๐ ๓๘ ๔.๓๔ ๔.๓๘ ๐.๓๘๒ / <๐.๕ / /
๗.๖๑ ๕๔.๗๐ ๒.๑๐ ๖.๙๐ ๘.๔๐ ๓๓.๘ ๐.๒๐๒ <๓ <๐.๕ ๓.๐๓ ๑.๒๑
๗.๒๓ ๒๙.๒๐ ๑๗.๓๐ ๕๔ ๒๕.๔๐ ๑.๙๐ ๑๕.๔๐๐ / <๐.๕ ๖.๔๔ /
๗.๙๘ ๔.๐๓ ๓๐.๒๐ ๑๓ ๕.๐๔ ๑๑.๗ ๐.๕๖๑ / ๐.๘๐ ๑.๖๕ /
๗ ๕๒ ๒๔.๔๐ ๓๗ ๓๗.๔๐ ๒.๖๖ ๐.๒๔๔ / <๐.๕ / /
๗.๖๙ ๑๒๐ ๘๔.๙๐ ๒ ๓๗.๘๐ ๙๙.๘ ๐.๓๗๔ / <๐.๕ ๑.๔๘ /
๗.๓๕ ๑๖.๘๐ ๑๗.๒๐ ๔๓ ๑๑.๙๐ ๒.๓๘ ๑.๙๒๐ / ๑.๕๐ / /
๘.๐๓ ๒.๔๒ ๒.๗๑ ๒๗ ๑๔ ๓๒.๒ ๐.๓๙๘ / <๐.๕ ๐.๕๕ ๐.๕๔
๗.๒๙ ๒๕.๗ ๖ ๔๙ ๘.๔๓ ๑๓.๕ ๐.๑๗๒ / <๐.๕ / /
๗.๗๙ ๑๑.๙ ๖.๘๒ ๑๒ ๐.๕๒ ๘.๒๕ ๐.๑๒๓ / <๐.๕ / /
๗.๐๒ ๒๒.๔ ๑.๙ ๔๕ ๖.๓๑ ๑๐.๔ ๐.๑๓๙ / ๑.๖ / /
๗.๙๙ ๔๓ ๖๒.๔ ๑๖ ๓.๔๑ ๑๐.๑ ๐.๒๘๘ / <๐.๕ / /
๖.๕๓ ๒๐.๔ ๑๖ ๔๒ ๘๑.๗ ๒๑ ๐.๑๙๖ / <๐.๕ / /
๗.๖๗ ๔๙.๑ ๔๓.๔ ๒๔ ๒.๗๓ ๔๑.๘ ๐.๓๒๗ / <๐.๕ ๒.๐๑ /
๗.๑๘ ๘.๕๔ ๓.๕ ๔๓ ๓.๕๒ ๖.๔๔ ๐.๑๓๖ / <๐.๕ / /
๘.๐๓ ๗.๕๔ ๓.๕๖ ๒๓ ๑.๔๗ ๔.๖๗ ๐.๔๒๒ / <๐.๕ / /
๗.๖ ๑๓๔ ๓๓.๑ ๓๖ ๗.๑๒ ๒.๑๕ ๐.๙๒๗ / <๐.๕ / /
๘.๐๑ ๑๘.๙ ๖๘.๕ ๒๑ ๑๐.๘ ๑๔๖ ๐.๗๗๕ <๓ <๐.๕ ๑.๖๒ ๐.๙๕
ทแ่ี ละเวลาเดียวกันเพ่อื หาค่าเฉลี่รายปี แต่จากขอ้ มูลกรมควบคุมมลพษิ เปน็ การตรวจนา้ ทะเลปีละ
๕-๒๕๖๙ ๔ - ๒๗
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม
ตารางท่ี ๔ - ๑๑ คณุ ภาพนา้ ทะเลแยกตามฤดกู าล จังหวัดระยอง
ลาดบั ชอ่ื สถานี ประเภท ฤดู ความเปน็ กรด-ด่าง
๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒
๑ ปากแม่นา้ ประแสร์ ๑ แลง้ ๗.๔๒ ๘.๐๘ ๘.๒๗๕ ๗.๖๘ ๗.๒๓
ฝน ๘.๒๐ ๗.๙๔ ๗.๙๓ ๘.๖๓ ๗.๘๙
๒ ปากแม่นา้ พังราด ๑ แล้ง ๗.๕๒ ๘ ๘.๒๐ ๗.๕๙ ๖.๙๑
ฝน ๘.๒๐ ๗.๙๐ ๘.๓๘ ๘.๐๘ ๘.๓๗
๓ บ้านหนองแฟบ แลง้ ๗ ๘.๐๑ - - -
๔
ฝน ๘ ๘.๔๙ - - -
๔ หาดสุชาดา ๔ แลง้ ๗.๔๑ ๘.๒๒ ๘.๕๕ ๗.๗๘ ๗.๖๐
ฝน ๗.๙๐ ๘.๔๐ ๘.๓๒ ๗.๙๓ ๘.๑๘
๕ ปากแม่นา้ ระยอง ๑ แล้ง ๗.๕๘ ๘.๑๙ ๘.๔๐ ๗.๕๕ ๖.๘๖
ฝน ๘ ๘.๗๗ ๘.๓๘ ๘.๑๖ ๘.๓๔
๖ หาดแม่ราพึง ๔ แล้ง ๗.๒๓ ๗.๖๙ ๘.๓๒ ๗.๗๙ ๖.๐๗
ฝน ๘.๑๐ ๘ ๗.๙๙ ๘.๐๖ ๗.๘๘
๗ ท่าเรือประมง ๖ แล้ง ๗.๕๗ ๘.๑๔ ๘.๓๐ ๗.๖๙ ๗.๐๒
(ตลาดบา้ นเพ) ฝน ๘ ๘.๕๘ ๘.๑๙ ๗.๙๑ ๘.๓๗
๘ สวนรุกขชาติ ๔ แล้ง ๖.๙๓ ๘.๐๖ ๘.๑๘ ๗.๙๙ ๗.๐๙
๙ หาดทรายแก้ว (เกาะเสม็ด) ฝน ๘ ๘.๓๓ ๘.๐๔ ๗.๗๘ ๘.๓๓
๔ แล้ง ๗.๘๖ ๘.๑๒ ๘.๓๓ ๗.๙๕ ๗.๔๗
โครงการจัดทาแผนสิง่ แวดล้อมในพ้ืนทีเ่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕