The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานฉบับสุดท้าย_เล่มที่ 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ONEP-EEC, 2021-12-22 13:33:58

รายงานฉบับสุดท้าย_เล่มที่ 1

รายงานฉบับสุดท้าย_เล่มที่ 1

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ทา้ ย

ตารางที่ ๔ - ๑๑๑ จานวนผู้ป่วยและผ้เู สียชีวติ จากสาเหตุตา่ ง ๆ ๕ ลาดับแรกของจงั หวัดชลบรุ รี ะหว่าง
ปี พ.ศ. ๒๕๕๙-๒๕๖๓

ลาดับ สาเหตุ จานวน
ผูป้ ่วยใน
๒๗,๓๘๔
๑ ปอดบวม ๒๖,๙๐๓
๒ การดแู ลมารดาอน่ื ๆ ท่ีมีปัญหาเกย่ี วกับทารกในครรภ์ และถุงน้าครา่ และปัญหาที่
๒๔,๕๙๖
อาจจะเกิดได้ในระยะคลอด ๑๔,๔๘๒
๓ ภาวะแทรกซอ้ นอ่นื ๆ ของการตงั้ ครรภแ์ ละการคลอด ๑๓,๙๘๑
๔ ภาวะอนื่ ๆ ในระยะปรกิ าเนดิ
๕ การบาดเจบ็ ภายในกะโหลกศีรษะ ๒,๑๓๒,๑๗๔
ผู้ป่วยนอก ๑,๖๑๗,๙๓๖
๑ ความดันโลหิตสงู ที่ไมม่ ีสาเหตนุ า ๑,๔๓๓,๘๖๓
๒ การตดิ เช้ือของทางเดินหายใจสว่ นบนแบบเฉยี บพลนั อนื่ ๆ ๑,๑๘๗,๘๓๒
๓ เบาหวาน
๔ เน้ือเยอ่ื ผิดปกติ ๙๐๒,๑๓๔
๕ การบาดเจบ็ ในร่างกาย
ผู้เสยี ชวี ติ ๒,๐๘๖
๑ โรคชรา ๑,๙๗๓
๒ หวั ใจล้มเหลว ไมร่ ะบรุ ายละเอยี ด ๑,๑๑๖
๓ การตดิ เชอ้ื ในกระแสเลอื ด
๔ ไม่ชัดเจนและไมร่ ะบุรายละเอยี ด ๘๙๕
๕ หัวใจล้มเหลว ๖๘๖
ท่ีมา: ข้อมูลจากสานกั งานสาธารณสขุ จังหวัดชลบรุ ี (๒๕๖๔)

สาหรับจังหวัดระยอง มีสาเหตุการเจ็บป่วยของผู้ป่วยใน ระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๑ ท่ีมีจานวน
ผปู้ ่วยมากท่ีสุด ๕ อันดับแรก ได้แก่ ๑) ความผิดปกติของต่อมไร้ท่อ ๒) ภาวะแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์ การ
คลอด และหลังคลอด (รวมผ่าคลอด) ๓) โรคความดันโลหิตสูง ๔) โรคเลือดและอวัยวะสร้างเลือดและความ
ผดิ ปกตบิ างชนิดทเี่ ก่ียวกับภูมิคุ้มกัน และ ๕) ภาวะอืน่ ๆ ในระยะปริกาเนิด ส่วนสาเหตุการเจ็บป่วยของผู้ป่วย
นอก ระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๑ ที่มีจานวนผู้ป่วยมากที่สุด ๕ อันดับแรก ได้แก่ ๑) โรคเก่ียวกับต่อมไร้
ท่อ โภชนาการและเมตะบอลซิ มึ ๒) โรคระบบไหลเวยี นเลอื ด ๓) โรคระบบหายใจ ๔) โรคระบบกลา้ มเนอื้ รวม
โครงสร้างและเน้ือยึดเสริม และ ๕) โรคระบบย่อยอาหาร รวมโรคในช่องปาก สาหรับสาเหตุการตาย ระหว่าง
ปี พ.ศ. ๒๕๕๙-๒๕๖๑ ที่มีจานวนผู้เสียชีวิตมากท่ีสุด ๕ อันดับแรก ได้แก่ ๑) มะเร็ง ๒) โรคหลอดเลือดใน
สมอง ๓) โลหิตเป็นพิษ ๔) ปอดบวม และ ๕) หัวใจขาดเลือด โดยจะเห็นว่า สาเหตุการป่วยของผู้ป่วยในส่วน
ใหญ่เป็นโรคไม่ติดต่อ และภาวะแทรกซ้อนก่อน ระหว่างและหลังตั้งครรภ์ สาเหตุการปว่ ยของผู้ป่วยนอกส่วน
ใหญเ่ ปน็ โรคไมต่ ิดตอ่ ในขณะท่ีสาเหตุของการเสียชีวติ ส่วนใหญ่เกิดจากท้ังโรคไมต่ ิดตอ่ และโรคติดเชือ้ (ตาราง
ที่ ๔ - ๑๑๒)

โครงการจัดทาแผนสิ่งแวดลอ้ มในพ้นื ที่เขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๓๑๖

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รายงานฉบบั สุดท้าย

ตารางที่ ๔ - ๑๑๒ จานวนผู้ป่วยและผูเ้ สยี ชวี ติ จากสาเหตุต่าง ๆ ๕ ลาดับแรกของจงั หวดั ระยองระหวา่ ง
ปี พ.ศ. ๒๕๕๙ - ๒๕๖๑

ลาดบั สาเหตุ จานวน
ผู้ป่วยใน (ปีพ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๑)
๓๖,๗๙๔
๑ ความผดิ ปกติเกย่ี วกับตอ่ มไรท้ ่อ ๒๔,๗๒๐
๒ ภาวะแทรกซอ้ นระหว่างตงั้ ครรภ์ การคลอด และหลงั คลอด (รวมผา่ คลอด) ๒๒,๖๕๒
๓ โรคความดันโลหติ สงู ๒๐,๓๕๕
๔ โรคเลอื ดและอวยั วะสร้างเลอื ด และความผิดปกติบางชนดิ ท่เี ก่ยี วกบั ภมู ิคุ้มกัน ๑๘,๐๗๗
๕ ภาวะบางอย่างท่เี กดิ จากปริกาเนดิ
ผปู้ ่วยนอก (ปีพ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๑) ๗๓๙,๘๘๓
๑ โรคเกยี่ วกบั ตอ่ มไร้ท่อ โภชนาการและเมตะบอลซิ ึม ๗๒๓,๔๐๔
๒ โรคระบบไหลเวยี นเลอื ด ๖๓๑,๓๔๓
๓ โรคระบบหายใจ ๔๖๘,๖๑๔
๔ โรคระบบกล้ามเนือ้ รวมโครงสร้างและเนอ้ื ยดึ เสริม ๔๖๗,๖๐๒
๕ โรคระบบยอ่ ยอาหาร รวมโรคในชอ่ งปาก
ผู้เสยี ชวี ิต (ปีพ.ศ. ๒๕๕๙ - ๒๕๖๑) ๒,๐๖๘
๑ มะเรง็ ๙๐๑
๒ โรคหลอดเลอื ดในสมอง ๗๗๒
๓ โลหติ เป็นพิษ ๗๒๒
๔ ปอดบวม ๖๔๖
๕ โรคหัวใจขาดเลือด
ที่มา: ขอ้ มูลจากสานักงานสาธารณสุข จงั หวัดระยอง (๒๕๖๔)

โดยสรุป ในเขตพ้ืนที่พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก โรคที่พบมากที่ทาให้เกิดการเจ็บป่วยและการเสียชีวิต
มีทั้งโรคไม่ติดต่อ ได้แก่ มะเร็ง หัวใจ ความดันและเบาหวาน และโรคติดเช้ือ โดยเฉพาะปอดบวมและ
ภาวะแทรกซ้อนก่อน ระหว่างและหลังคลอดในมารดาและทารก อย่างไรก็ตาม เป็นที่นา่ สังเกตถึงการเจ็บป่วย
ในจังหวัดระยองท่ีมีสาเหตจุ ากโรคเกยี่ วกับต่อมไรท้ ่อที่มจี านวนมาก ทง้ั ในผู้ป่วยในและผปู้ ว่ ยนอก

ทั้งนี้ แนวทางการป้องกันปัญหาโรคทางสุขภาพท่ีมาจากผลกระทบจากการประกอบอุตสาหกรรมควร
เริ่มตั้งแต่การวางแผนตามมาตรการทางกฎหมายด้านสิ่งแวดล้อม เช่น การจัดทารายงานการวิเคราะห์
ผลกระทบส่ิงแวดล้อม (Environmental Impact Assessment : EIA) รวมถึงการประเมินผลกระทบทาง
สุขภาพ (Health Impact Assessment: HIA) ที่ครอบคลุมและรอบด้าน เพ่ือช่วยมลพิษที่จะส่งผลกระทบต่อ
สุขภาพของประชาชน ควรมีการเตรียมพร้อมตั้งแต่ก่อนเร่ิมโครงการรวมทั้งติดตามเฝ้าระวังขณะดาเนิน
โครงการ นอกจากนี้หน่วยงานของภาครัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในพื้นที่ควรมีการตรวจสอบมลพิษท่ี
เกิดขึ้นอย่างต่อเน่ืองและควรมีแผนการดาเนินงานสาหรับความพร้อมสาหรับการป้องกันหรือรั บมือกับปัญหา
มลพษิ ทเ่ี กิดขนึ้

โครงการจดั ทาแผนสิ่งแวดล้อมในพื้นท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๓๑๗

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ทา้ ย

พรชัย สิทธิศรณั ย์กุล (๒๕๖๑) ไดใ้ ห้ขอ้ เสนอแนะสาหรับบุคลากรสาธารณสุขและผู้เก่ียวข้อง
ดงั น้ี

• รัฐบาลมีนโยบายเร่งให้เห็นผล (quick win) ๔ ประเด็นคือแก้จน แก้เหลื่อมล่า แก้โกง เพ่ิม
การมีส่วนร่วมของ ประชาชน

• ส่วนการบรรเทาผลเสียต่อมนุษย์ โดยตรงและโดยอ้อมนั้น อาจกล่าวได้ว่าแนวทางการ
บรรเทานั้นได้ถูกระบุไว้ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ และแผนปฏิรูปประเทศ ดังนั้น
ภาคส่วนที่มีส่วนเก่ียวข้องควรนาแนวทางดังกล่าวไปสู่การปฏิบัติ ตัวอย่างเช่น ในแผนปฏิรูปประเทศ สภา
ปฏิรูปแห่งชาติ (สปช.) มี ประเดน็ และข้อเสนอในการปฏริ ปู ระบบสาธารณสขุ ดงั นี้

๑.๑) การปฏิรูประบบบริการสุขภาพมีข้อเสนอ คือ เปลี่ยนฐานของระบบบริการจาก
“โรงพยาบาลเป็นฐาน” เป็น “พ้ืนที่เป็นฐาน” กาหนดให้มี “คณะกรรมการสุขภาพพ้ืนท่ี/ อาเภอ
(District/Local Health Board)” เน้นระบบการพัฒนา เครือข่ายที่มีทีมผู้ให้บริการสหวิชาชีพ (Matrix
Team) และบริการเป็นกลไกขับเคล่ือนหลัก มีกลไกการเงินท่ีพัฒนาชุดสิทธิ ประโยชน์จาเพาะพ้ืนที่ และ
พัฒนาระบบข้อมูลท่ีมีการเชื่อมโยงท้ังระบบรวมถึงให้มีการปฏิรูปการแพทย์ฉุกเฉินปฏิรูปความรอบรู้และ
สอ่ื สารสุขภาพเพ่ือใหค้ รบสมบูรณ์ของระบบบริการสขุ ภาพ

๑.๒) การปฏิรูประบบการส่งเสริมสุขภาพป้องกันควบคุมโรคและภัยคุกคามสุขภาพมี
ข้อเสนอคือ ยึดหลัก การ “ทุกนโยบายห่วงใยสุขภาพ” (Health in All Policies Approach: HiAP) และให้
ส่วนท้องถ่ินมีบทบาทในการปฏิบัติการโดยให้ชุมชนมีส่วนร่วมในทุกข้ันตอนเพ่ือเสริมสร้างศักยภาพการดูแล
สุขภาพทัง้ ตนเอง ชุมชน บุคคลและครอบครวั ดังแนวทางดงั นี้

(๑ ) ป รับ วิธีการดาเนิ น งานใน ทุ กขั้น ตอน ของห น่วยงาน ทุ กระดับ ต้องใช้
กระบวนการพัฒนานโยบายสาธารณะเพ่ือสุขภาพแบบมีส่วนร่วม (Participatory Healthy Public Policy
Process: PHPPP)

(๒ ) การพั ฒ น ากลไก “คณ ะกรรมการสาธารณ สุข ระดับ จังห วัด ” และ
“คณะกรรมการสาธารณสุขระดับชุมชน หรือท้องถ่ิน” เพื่อให้เกิดการบูรณาการทุกภาคส่วนและเครือข่าย
พันธมิตร (Collective Leadership) ประกอบด้วยหน่วยงานภาครัฐ ภาคประชาชน ภาคทอ้ งถนิ่ ภาคพลเมอื ง
ภาคประชาสังคม และภาควิชาการหรือวิชาชพี

(๓) พัฒนาขีดความสามารถ (Capacity Building) ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
รวมท้งั การสรา้ งส่ิงแวดลอ้ มเพ่ือสขุ ภาพท่ีดี (Healthy Environment)

(๔) การพัฒนากฎหมายเพ่ือการปฏิรูประบบงานการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันและ
ควบคุมโรค และภัยคกุ คามสุขภาพ

๑.๓) การปฏิรูประบบบริหารจัดการและการเงินการคลังด้านสุขภาพมีข้อเสนอ คือ
จดั ตั้งคณะกรรมการนโยบายสขุ ภาพแห่งชาติ ซึง่ จะมคี ณะกรรมการ ๓ ระดบั คือ

(๑) คณะกรรมการกาหนดนโยบายสุขภาพแห่งชาติ (National Health Policy
Board)

(๒) คณะกรรมการสุขภาพเขต (Area Health Board)

โครงการจัดทาแผนส่ิงแวดลอ้ มในพ้ืนท่เี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๓๑๘

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม รายงานฉบับสดุ ทา้ ย

(๓) คณะกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับจังหวัดเพื่ออภิบาลระบบ
สุขภาพในระดับประเทศและระดบั พนื้ ท่ี

สาหรับการปฏิรูประบบการเงนิ การคลังด้านสุขภาพ เนื่องจากค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพเติบโตเร็ว
กว่าการเตบิ โตทาง เศรษฐกจิ รวมท้ังกองทุนประกันสุขภาพภาครฐั ท้ังสามระบบมีการแยกส่วนไม่เหมอื นกันทั้ง
ระดับการจา่ ยและวธิ ีการจา่ ย มีขอ้ เสนอ คอื

(๑) จัดตั้งคณะกรรมการประกันสุขภาพแห่งชาติหรือ สภาประกันสุขภาพแห่งชาติเป็น
หน่วยงานกลางในการบริหาร จัดการกองทุนสุขภาพต่าง ๆ พัฒนาสิทธิประโยชน์ขั้นพ้ืนฐานด้านสุขภาพท่ี
เหมาะสมของประชาชนทกุ คน

(๒) จัดต้ังสานักมาตรฐานและการจัดการสารสนเทศระบบบริการสุขภาพแห่งชาติ (สมสส.)
เพอ่ื เป็นศนู ย์กลางการบรหิ ารจัดการขอ้ มลู สารสนเทศการประกนั สขุ ภาพ

(๓) เพ่ิมภาษีผลิตภัณฑ์หรืออาหารและเคร่ืองดื่มที่เป็นภัยต่อสุขภาพรวมทั้งเพ่ิมการประกัน
สขุ ภาพในกล่มุ ประชากรต่าง ๆ และการพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยคู่ขนานกับแพทย์แผนปัจจุบัน

(๔) การกระจายอานาจการบริหารจัดการจากส่วนกลางสู่ภูมิภาค เช่น ระบบเขตสุขภาพ เพื่อ
เสริมสรา้ ง ประสิทธิภาพและความคมุ้ คา่ ของการใช้งบประมาณด้านสขุ ภาพภาครฐั

ส่วนสภาขับเคล่ือนการปฏิรูปประเทศ (สปท.) มีประเด็นและข้อเสนอในการปฏิรูประบบ
สาธารณสขุ ที่ขับเคลอ่ื น ต่อจากสภาปฏิรูปแหง่ ชาติ (สปช.) ดังน้ี

• การจดั ต้ังคณะกรรมการนโยบายสขุ ภาพแหง่ ชาติ
• การจัดตั้งสานักงานมาตรฐานและการจัดการสารสนเทศระบบบริการสุขภาพแห่งชาติ (สม
สส.)
• การป้องกันและควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพด้านอาหารและโภชนาการในประเด็นการ
จดั เก็บภาษีเครอ่ื งดืม่ ทีม่ ปี ริมาณน้าตาลเกนิ เกณฑ์มาตรฐานสขุ ภาพ
• การปฏิรูปการแพทย์แผนไทยและระบบยาสมุนไพรแห่งชาติพร้อมร่างพระราชบัญญัติ
ผลิตภัณฑส์ มุนไพร พ.ศ. ...และร่างพระราชบัญญตั ิคุ้มครองและส่งเสริมภูมปิ ัญญาการ แพทย์แผนไทย (ฉบับที่
..) พ.ศ. ...
• ระบบการแพทยฉ์ กุ เฉนิ ช่วงก่อนถึงโรงพยาบาล
• การปฏริ ูประบบบรกิ ารปฐมภมู ิ
• การปฏิรูปความรอบรแู้ ละการสื่อสารสุขภาพ
• การปฏริ ปู ระบบหลักประกันสุขภาพของประชาชน : สทิ ธปิ ระโยชน์หลักดา้ นสขุ ภาพ
สาหรับประเดน็ สง่ิ แวดลอ้ มและสขุ ภาพของประชาชนทว่ั ไป มขี อ้ เสนอแนะดงั น้ี
• ดาเนินการให้มีข้อมลู พื้นฐาน (baseline) สิง่ แวดล้อมและสขุ ภาพก่อนมีโครงการและตดิ ตาม
เฝา้ ระวัง (Monitoring and evaluation: M&E)
• ดาเนินการให้ประชาชนมีความรอบรู้สุขภาพ โดยเฉพาะที่เก่ียวกับส่ิงแวดล้อม
(environmental health literacy) เช่น เข้าใจ climate change รู้ว่าตนควรปฏิบัติอย่างไรและลงมือปฏิบัติ

โครงการจัดทาแผนสงิ่ แวดลอ้ มในพ้นื ทเ่ี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๓๑๙

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สดุ ท้าย

เขา้ ใจประเภทต่าง ๆ ของขยะ ลดการเกิดขยะ แยกและจัดการขยะอย่างถูกต้องเหมาะสมเขา้ ใจประเภทต่าง ๆ
ของพลาสติก ลดการใช้ แยกและนากลับมาใชซ้ า้ (reuse and recycle) อยา่ งถกู ต้องเหมาะสม ฯลฯ

• รัฐบาล เขต EEC จังหวัดและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใส่ใจและเข้มงวดเร่ืองคุณภาพ
สิ่งแวดล้อม

• รู้ เข้าใจ เตรยี มปอ้ งกัน/รบั มอื โรคเหตสุ งิ่ แวดลอ้ มท่อี าจมากบั อตุ สาหกรรมใหม่ทีส่ ่งเสรมิ
• ใน EEC จะมีเมืองอัจฉริยะ (Smart city) ต้องหาทางพัฒนาพื้นท่ีนอกเมืองนั้นควบคู่ไปด้วย
ไม่เช่นนนั้ เมืองอัจฉรยิ ะจะถูกล้อมรอบด้วยชุมชนแออัด
โครงสร้างพื้นฐานทางดา้ นสาธารณสขุ
จากตารางที่ ๔ - ๑๑๓ แสดงจานวนสถานบริการสาธารณสุขและจานวนบุคลาการทาง
การแพทย์ในเขตพ้ืนท่ีพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก โดยพบว่ามีจานวนสถานบริการสาธารณสุข (รวมคลินิก)
ท้ังสิ้น ๒,๐๗๑ แห่ง โดยจังหวัดชลบุรีมีจานวนสถานบริการสาธารณสุขมากที่สุด ตามด้วยจังหวัดระยอง และ
ฉะเชิงเทรา ตามลาดับ มีบุคลากรทางการแพทย์ทั้งส้ิน จานวน ๖,๑๑๑ คน โดยจังหวัดชลบุรีมีจานวนสถาน
บุคลากรทางการแพทย์มากที่สุด ตามด้วยจังหวัดฉะเชิงเทรา และระยอง ตามลาดับ และมีจานวนเตียงทั้งส้ิน
๑๒,๓๑๒ เตียง โดยจังหวัดชลบุรีมีจานวนเตียงมากท่ีสุด ตามด้วยจังหวัดระยอง และฉะเชิงเทรา ตามลาดับ
หากวิเคราะห์จานวนแพทย์ต่อประชากร (คิดจากจานวนประชากรในปี พ.ศ. ๒๕๖๒) พบวา่ ในเขตพนื้ ทพ่ี ฒั นา
พิเศษภาคตะวันออก มีสัดส่วนระหว่างจานวนประชากรต่อแพทย์เท่ากับ ๓,๐๓๑: ๑ และหากรวมจานวน
ประชากรแฝง สัดส่วนระหว่างจานวนประชากรท้ังหมดต่อแพทย์เท่ากับ ๔,๑๘๑: ๑ และหากวิเคราะห์จานวน
เตียงต่อประชากรในเขตพื้นท่ีพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พบว่าเท่ากับ ๒๔๕: ๑ และหากรวมประชากรแฝง
จานวนเตยี งตอ่ ประชากรท้งั หมดในเขตพื้นทพ่ี ัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออกเท่ากับ ๓๓๘: ๑

โครงการจัดทาแผนส่งิ แวดลอ้ มในพน้ื ที่เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๓๒๐

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสุดท้าย

ตารางที่ ๔ - ๑๑๓ สถานบริการสาธารณสขุ และจานวนบคุ ลากรทางการแพทย์ในเขตพ้ืนที่พฒั นาพเิ ศษ

ภาคตะวนั ออก แยกรายจงั หวัด

จังหวดั รวม

ชลบุรี ระยอง ฉะเชิงเทรา ๓๖
๒๒
ประเภทสถานบริการสาธารณสขุ ๒๗
๓๓๓
โรงพยาบาลรฐั ๑๖ ๙ ๑๑ ๒๐

โรงพยาบาลเอกชน ๑๔ ๕ ๓ ๑
๑,๖๒๗
สานักงานสาธารณสขุ อาเภอ ๘๘ ๑๑ ๒,๐๗๑

โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตาบล ๑๒๐ ๙๕ ๑๑๘ ๙๙๔
๒๐๖
ศูนย์สาธารณสุขเทศบาล ๑๐ ๑๐ - ๓๘๕
๔,๕๒๖
ศนู ย์สขุ ภาพชมุ ชน -- ๕ ๖,๑๑๑
๑๒,๓๑๒
โรงพยาบาลสังกัดอื่น -๑ -

คลินกิ ทุกประเภท ๙๙๔ ๓๙๓ ๒๔๐

รวม ๑,๑๖๒ ๕๒๑ ๓๘๘

จานวนบุคลากรทางการแพทย์

แพทย์ ๕๓๗ ๒๐๔ ๒๕๓

ทนั ตแพทย์ ๙๐ ๕๐ ๖๖

เภสชั กร ๑๖๘ ๑๐๗ ๑๑๐

พยาบาลวิชาชพี ๑,๘๐๙ ๑,๒๕๐ ๑,๔๖๗

รวม ๒,๖๐๔ ๑,๖๑๑ ๑,๘๙๖

เตยี งผู้ปว่ ย ๓,๐๓๖ ๑,๗๖๕ ๑,๔๓๐

ทมี่ า: รายงานสถติ จิ งั หวัดชลบรุ ี ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑ สานักงานสถติ จิ ังหวัดชลบรุ ,ี ๒๕๖๑

รายงานประจาปี ๒๕๖๑ สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั ระยอง, ๒๕๖๑

รายงานสถติ จิ งั หวัดฉะเชิงเทรา ปี ๒๕๖๓ สานักงานสถติ จิ งั หวดั ฉะเชงิ เทรา, ๒๕๖๓

โครงสร้างพืน้ ฐานทางด้านการศึกษา
พ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกมีจานวนสถานศึกษาท้ังสิ้น ๑,๙๔๕ แห่ง โดยหากพิจารณาแยก
ตามประเภทของสถานศึกษาพบว่า เป็นสถานศึกษาในกระทรวงศึกษาธิการจานวน ๑,๑๔๙ แห่ง คิดเป็นร้อย
ละ ๕๙ ของสว่ นราชการอื่นจานวน ๗๙๖ แห่ง คิดเป็นร้อยละ ๔๑ โดยจังหวัดชลบุรีมีจานวนสถานศึกษามาก
ที่สดุ ตามด้วยจังหวัดฉะเชิงเทรา และระยอง ตามลาดับ (ตารางที่ ๔ - ๑๑๔)

ตารางท่ี ๔ - ๑๑๔ จานวนสถานศกึ ษาในเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก แยกรายจังหวัดและประเภท

ของสถานศกึ ษา

ประเภทสถานศึกษา ชลบรุ ี จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา รวม
๔๘๐ ระยอง ๓๖๙
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ๓๐๙ ๓๑๖ ๑,๑๘๔
สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน (สพฐ.) ๑๒๘ ๓๓๕ ๒๘ ๘๔๖
สานกั งานสง่ เสรมิ การศึกษาเอกชน (สช.) ๓๒ ๒๒๑ ๑๔ ๒๔๙
สานักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา (สอศ.) ๙๓ ๕๗
๑๑

โครงการจัดทาแผนสิ่งแวดลอ้ มในพื้นทีเ่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๓๒๑

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม รายงานฉบับสุดท้าย

ประเภทสถานศึกษา ชลบรุ ี จงั หวดั รวม
ระยอง ฉะเชิงเทรา

สานักบริหารงานการศกึ ษาพิเศษ (สศศ.) -๒ - ๒

สานักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบ (กศน.) ๑๑ ๘ ๑๑ ๓๐

ส่วนราชการอ่นื ๒๘๔ ๒๐๔ ๒๗๘ ๗๖๖

กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และ ๖๔ ๓ ๑๓

นวัตกรรม (อว.)

กระทรวงสาธารณสุข -๑ - ๑

กระทรวงการทอ่ งเทย่ี วและกีฬา ๒- - ๒

กระทรวงพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมุนษย์ - ๓๖ - ๓๖

กระทรวงกลาโหม กองทัพเรือ -๑ - ๑

กรมส่งเสริมการปกครองทอ้ งถ่ิน

- สามัญศึกษา ๔๕ ๒๘ ๑๓ ๘๖

- ศนู ยพ์ ัฒนาเด็กเล็ก ๒๒๘ ๑๒๗ ๒๕๗ ๖๑๒

- องคก์ ารบริหารสว่ นจงั หวัด (อบจ.) -๑ - ๑

สานักงานตารวจแหง่ ชาติ (ตชด.) -๒ ๒ ๔

สานกั งานพระพทุ ธศาสนา ๓๔ ๓ ๑๐

รวม ๗๖๔ ๕๓๙ ๖๔๗ ๑,๙๕๐

ทม่ี า: ขอ้ มลู สารสนเทศด้านการศกึ ษาจงั หวัดชลบรุ ี ปีการศึกษา ๒๕๖๓ สานกั งานศึกษาธิการจังหวัดชลบรุ ี

ข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษาจงั หวดั ระยอง ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ สานกั งานศกึ ษาธิการจังหวดั ระยอง

ข้อมูลสารสนเทศดา้ นการศกึ ษาจังหวดั ฉะเชิงเทรา ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ สานักงานศกึ ษาธิการจงั หวดั ฉะเชงิ เทรา

จากตารางที่ ๔ - ๑๑๕ แสดงจานวนนักเรียน/นักศึกษา และครูผู้สอนในเขตพัฒนาพิเศษภาค
ตะวันออก แยกรายจังหวัดและประเภทของสถานศึกษา โดยพบว่าจังหวัดชลบุรีมีจานวนนักเรียน/นักศึกษา
มากท่ีสดุ ตามด้วยจงั หวัดระยอง และจงั หวัดฉะเชงิ เทรา ตามลาดับ

ตารางท่ี ๔ - ๑๑๕ จานวนนกั เรยี น/นกั ศึกษาและครูผสู้ อนในเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก แยกราย

จงั หวัดและประเภทของสถานศกึ ษา

ประเภทสถานศึกษา จงั หวดั รวม
ระยอง
กระทรวงศึกษาธกิ าร ชลบุรี จานวนนร./ จานวนครู ฉะเชงิ เทรา
สานกั งานคณะกรรมการ นศ. จานวนนร./ จานวน
การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน (สพฐ.) จานวนนร./ จานวน ๑๔๖,๕๙๑ ๘,๓๔๘ จานวนนร./ จานวน
สานกั งานสง่ เสริมการศกึ ษา ๙๓,๒๔๓ ๕,๘๕๒ นศ. ครู นศ. ครู*
เอกชน (สช.) นศ. ครู ๑๒๑,๙๘๒ ๗,๒๕๖ ๑๕,๖๐๔
สานกั งานกคณะกรรมการ ๘๔,๒๘๓ ๕,๖๐๔ ๕๕๑,๘๔๓ ๑๑,๔๕๖
อาชีวศกึ ษา (สอศ.) ๒๘๓,๒๗๐ - ๓๐๕,๘๘๕
สานักบริหารงานการศกึ ษา
พิเศษ (สศศ.) ๑๒๘,๓๕๙ -

๙๙,๐๐๙ - ๒๒,๓๒๑ ๑,๕๑๒ ๑๘,๒๙๖ ๙๓๑ ๑๓๙,๖๒๖ ๒,๔๔๓

๓๘,๕๔๓ - ๑๖,๙๖๒ ๗๒๘ ๑๒,๔๒๖ ๕๖๙ ๖๗,๙๓๑ ๑,๒๙๗

- ๗๑๔ ๑๓๖ ๗๑๔ ๑๓๖

โครงการจัดทาแผนส่ิงแวดล้อมในพนื้ ท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๓๒๒

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดทา้ ย

ประเภทสถานศึกษา จงั หวดั รวม

ชลบุรี ระยอง ฉะเชิงเทรา

จานวนนร./ จานวน จานวนนร./ จานวนครู จานวนนร./ จานวน จานวนนร./ จานวน

นศ. ครู นศ. นศ. ครู นศ. ครู*

สานกั งานส่งเสริมการศกึ ษา ๑๗,๓๕๙ - ๑๓,๓๕๑ ๑๒๐ ๖,๙๗๗ ๑๕๒ ๓๗,๖๘๗ ๒๗๒

นอกระบบ (กศน.)

สว่ นราชการอน่ื ๙๘,๖๕๕ - ๓๔,๐๙๔ ๒,๐๗๕ ๒๓,๖๔๒ ๑,๑๓๒ ๑๕๖,๓๙๑ ๓,๒๐๗

กระทรวงการอุดมศกึ ษา ๔๒,๕๒๔ - ๕,๐๙๐ ๒๙๓ ๖,๘๔๘ ๔๐๐ ๕๔,๔๖๒ ๖๙๓

วทิ ยาศาสตร์ วิจยั และ

นวัตกรรม

กระทรวงสาธารณสุข - ๑๘ ๗ ๑๘ ๗

กระทรวงการทอ่ งเทีย่ วและ ๑,๓๘๓ - -- ๑,๓๘๓

กีฬา

กระทรวงพฒั นาสงั คมและ - - ๑,๑๒๔ ๑๙๔ ๑,๑๒๔ ๑๙๔

ความม่นั คงของมุนษย์

กระทรวงกลาโหม กองทพั เรอื - - ๒๑ ๖ ๒๑ ๖

กรมสง่ เสรมิ การปกครอง -

ทอ้ งถ่ิน ๓๐,๔๕๖ ๒๐,๔๘๖ ๙๓๙ ๗,๓๒๓ ๓๗๑ ๕๘,๒๖๕ ๑,๓๑๐

- สามญั ศึกษา ๒๔,๐๕๑ ๖,๘๒๒ ๕๖๑ ๘,๖๓๒ ๒๘๔ ๓๙,๕๐๕ ๘๔๕

- ศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ ๒๔๓ ๓๘

- องค์การบริหารสว่ นจังหวัด

สานกั งานตารวจแห่งชาติ -- - - ๕๔๒ ๓๓ ๕๔๒ ๓๓

(ตชด.)

สานักงานพระพุทธศาสนา ๒๔๑ - ๒๙๐ ๓๗ ๒๙๗ ๔๔ ๘๒๘ ๘๑

รวม ๓๘๑,๙๒๕ - ๑๘๐,๖๘๕ ๑๐,๔๒๓ ๑๔๕,๖๒๔ ๘,๓๘๘ ๗๐๘,๒๓๔ ๑๘,๘๑๑

หมายเหตุ: *ไม่รวมจังหวดั ชลบรุ ี

ท่ีมา: ขอ้ มูลสารสนเทศดา้ นการศึกษาจงั หวดั ชลบรุ ี ปีการศึกษา ๒๕๖๓ สานกั งานศกึ ษาธิการจงั หวัดชลบรุ ี

ข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษาจังหวัดระยอง ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ สานักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั ระยอง

ข้อมูลสารสนเทศดา้ นการศกึ ษาจังหวัดฉะเชงิ เทรา ปีการศึกษา ๒๕๖๓ สานกั งานศึกษาธิการจงั หวดั ฉะเชงิ เทรา

๔.๖ ปญหาและอุปสรรคด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมท่ีสาคัญในพ้ืนท่ีเขตพัฒนา
พิเศษภาคตะวนั ออกในระยะ ๕ ปที ี่ผ่านมา
๔.๖.๑ ประเดนปญหาและอุปสรรคด้านการจดั การทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมทส่ี าคญั ใน
พืน้ ทเี่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออกใน ๕ ปที ผ่ี ่านมา
ปัญหาและอุปสรรคท่ีเก่ียวข้องกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมใน ๕ ปีท่ีผ่านมาน้ันส่วนหนึ่งจะ

ถูกสะท้อนในเนื้อหาของหัวข้อ การศึกษาสถานการณด์ ้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ในหัวข้อนีจ้ ึงขอ
เน้นถึงปัญหาที่สาคัญในมิติด้านการจัดการ โดยอาศัยข้อมูลจาก ๓ ส่วนหลัก ได้แก่ (๑) แบบสอบถามจาก
ผู้เข้าร่วมประชุมครั้งท่ี ๑ (๒) การประชุมกลุ่มย่อยภายใต้โครงการฯ และการสังเกตการประชุมในเวทีเสวนา
อืน่ ท่ไี ม่ได้อยู่ภายใตโ้ ครงการฯห่างแต่มีเน้ือหาที่เก่ยี วข้องและเป็นประโยชน์ เช่น การเสวนาภาคนี วัตกรรมโดย
บาย SDGs ในบริบท EEC ในวันที่ ๒๔ ธันวาคม ๒๕๖๓ ท่ีผ่านมา (๓) รายงานการศึกษาการจัดการ

โครงการจัดทาแผนสิง่ แวดล้อมในพ้นื ท่ีเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๓๒๓

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย

สิ่งแวดล้อมกรณีนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด ภายใต้การดาเนินงานของสถาบันส่ิงแวดล้อมไทย (Rhodes,
2018) จากการประมวลสังเคราะห์ข้อมูลท้ัง ๓ ส่วนดังกล่าวพบประเด็นปัญหาและความท้าทายที่สาคัญและ
น่าสนใจดงั น้ี

๔.๖.๒ ความทา้ ทายด้านการบูรณาการ
ผลจากแบบสอบถามพบว่าประเด็นปัญหาด้านการบูรณาการถูกให้ความสาคัญอย่างมาก โดยระบุว่า
การบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และภาคประชาชน ชุมชน น้ันยังไม่มี
ความต่อเน่ือง ไม่เป็นรูปธรรม และไม่มีประสิทธภิ าพ ไม่วา่ จะเป็นดา้ นการกากับดแู ล การติดตามตรวจสอบท้ัง
ในด้านของผลกระทบสิ่งแวดล้อมและในระดับโครงการ/กิจกรรม รวมถึงการบูรณาการเพื่อการผลักดัน
แนวทางการพฒั นาบางแนวคิด เชน่ แนวคิดการพฒั นาเมืองอตุ สาหกรรมเชิงนิเวศ เป็นต้น ประเด็นเหล่านี้ถูกช้ี
ว่ามีความท้าทายในด้านของการบูรณาการระหว่างภาคส่วนอย่างจริงจังและมีประสิทธิภาพ นอกจากนั้น
ข้อท้าทายยังรวมถึงมิติการบูรการเชิงพ้ืนท่ีด้วยว่าทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมีความเชื่อมโยงของกับ
จังหวดั ขา้ งเคยี งทกี่ วา้ งกวา่ กรอบเชิงพนื้ ที่ที่กาหนดไวใ้ น ๓ จงั หวดั ของพน้ื ที่เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก
ในด้านของการบูรณาการระหว่างองค์กรและสถาบัน นอกจากประเด็นท้าทายด้านการบูรณาการ
ข้ามภาคส่วนแล้ว แม้แต่การบูรณาการระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ของรัฐเองได้ถูกระบุว่าเป็นปัญหาเช่นกัน
ดังเช่นประเด็นด้านการกากับและดูแลด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะประเด็นปัญหาท่ีมี
ความซับซ้อนนั้นมีหลายหน่วยงานรับผิดชอบ แต่การเช่ือมประสานระหว่างหน่วยงานยังเป็นความท้าทาย
บ้างมีความซ้าซ้อนของบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของแต่ละหน่วยงาน รวมถึงประเด็นด้านการบังคับใช้
กฎหมายซึ่งกฎหมายบางตัวไม่สามารถบังคับได้ด้วยองค์กรเดียวหรือหน่วยงานเดียว หากต้องอาศัย
การความร่วมมือจากหนว่ ยงาน องค์กรที่เกีย่ วขอ้ งอน่ื ๆ ทเ่ี กีย่ วข้อง
ในด้านการประสานกับภาคประชาชน ข้อมูลจากแบบสอบถามพบว่าบางพื้นท่ีประสบกับความท้าทาย
ของลักษณะประชากรท่ีเป็นประชากรแฝงซึ่งเป็นแรงงานจากต่างถ่ิน ทาให้ความสนใจในการเข้าร่วมโครงการ
หรือกิจกรรมท่ีเป็นประเด็นสาธารณะของกลุ่มคนเหล่าน้ียังมีอยู่อย่างจากัด ในขณะที่บางพ้ืนที่ เช่น กรณีของ
มาบตาพุด มีประเด็นด้านความไม่เชื่อมั่นและไมไ่ วใ้ จซงึ่ และกัน โดยเฉพาะระหว่างภาคอุตสาหกรรมและชุมชน
ท้ังในระดับปัจเจกและระดับองค์กรภาคประชาสังคม (Rhodes, 2018) ความพยายามในการสร้างความ
ร่วมมือที่ผ่านมาน้ัน การนัดประชุมมักเกิดข้ึนในช่วงทามาหากินของชุมชน และถูกจัดข้ึนอย่างมียุทธศาสตร์
ชุมชนมักต้องเลือกระหว่างการทามาหากินหรือการเข้าร่วมงานดังกล่าวที่ถู กมองว่าไม่เกิดประโยชน์อย่าง
แท้จริงแต่เปน็ การทาใหธ้ ุรกิจเหล่านน้ั ดดู ีมากกว่า (Rhodes, 2018) ประเด็นความทา้ ทายเหลา่ นี้ส่งผล/มีความ
เชื่อมโยงต่อประเดน็ ปัญหาดา้ นการมีส่วนรว่ มดงั จะกลา่ วในหวั ขอ้ ตอ่ ไป
๔.๖.๓ ข้อจากัดของการมสี ่วนร่วม
ข้อมูลจากแบบสอบถามพบว่าประเด็นปัญหากลุ่มหนึ่งเป็นประเด็นด้านธรรมาภิบาล ตัวแทนทั้งจาก
ภาครัฐ ภาคท้องถิ่น ภาคการศึกษา ภาคประชาสังคมได้ระบุถึงข้อจากัดด้านการมีส่วนร่วมจากภาคประชาชน
ในกระบวนการดาเนินงาน (เช่น กระบวนการ EHIA) และการมีส่วนในการตัดสินใจรวมถึงการเสนอทางเลือก
ในบางกรณีข้อเสนอจากภาคประชาชนน้ันไม่ได้ถูกนาไปพิจารณาในทางปฏิบัติอย่างแท้จริง นอกจากนั้น
ตัวแทนจากท้องถน่ิ ยงั ไดร้ ะบุถงึ ประเด็นด้านการกระจายอานายสู่ท้องถ่ินในการจัดการส่ิงแวดล้อมซ่ึงควรได้รับ

โครงการจัดทาแผนสงิ่ แวดล้อมในพ้นื ท่ีเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๓๒๔

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม รายงานฉบับสดุ ทา้ ย

การขยายความต่อไป แตภ่ าคประชาชนบางสว่ นได้ระบุถงึ ปัญหาจากกฎหมายทีเ่ อ้อื หรอื เปดิ ช่องทางให้เกิดการ
ตัดสินใจแบบบนลงลา่ งมากกว่าจากล่างข้ึนบน

ในขณะท่ีข้อมูลจากแบบสอบถามส่วนหนึ่งได้แสดงความเห็นถึงทิศทางการพัฒนาพ้ืนที่เขตพัฒนาภาค
ตะวันออกที่ไมส่ อดคลอ้ งกับลักษณะของภมู ปิ ระเทศ วถิ ีชีวิต และศักยภาพในการรองรับของพื้นท่ี และเสนอให้
ปรับทิศทางการพัฒนาให้อยู่บนฐานของศักยภาพของสังคมและระบบนิเวศของพ้ืนท่ี แต่การมีส่วนร่วมในการ
เสนอทางเลือกของทิศทางการพัฒนานั้นอาจไมง่ า่ ยนัก ดงั แสดงให้เห็นในขอ้ มูลทีไ่ ด้รบั จากการประชมุ กลุ่มยอ่ ย
และรายงานการศึกษากรณีมาบตาพุด กล่าวคือ แม้ว่าเครือข่ายภาคประชาสังคมจะมีโอกาสในการแสดง
ข้อเสนอและแนวความคิดของทางเลอื ก หากแต่มกั ไมม่ ีผลต่อการตัดสินใจ หรอื ไม่เกดิ การเปล่ียนแปลงตอ่ ใด ๆ
ต่อแผนพัฒนา ด้วยว่าภาคประชาสังคมเหล่าน้ันไม่ได้มีส่วนในอานาจตัดสินใจสุดท้าย ในกรณีของมาบตาพุด
องค์กรภาคประชาสังคมและผู้นาชุมชนได้สะท้อนถึงปัญหาด้านนี้ว่า แม้ว่าตัวแทนชุมชนจะถูกเชิญให้เข้าร่วม
ในกระบวนการตดั สนิ ใจแต่พบว่าการตัดสินใจในเร่ืองใหญ่ ๆ น้ันได้ถูกกาหนดไวแ้ ลว้ และข้อคิดเหน็ จากชมุ ชน
ไมม่ ีผลอะไรต่อการตัดสินใจ และถูกมองว่าชุมชนเป็นผู้ทาให้กระบวนการดาเนนิ งานเกิดความล่าช้า (Rhodes,
2018)

นอกจากนั้นข้อมูลจากการประชุมกลุ่มย่อยยังมีการต้ังข้อสังเกตว่า ในกระบวนการมีส่วนร่วมของ
หน่วยงานภาครัฐในทางปฏิบัติท่ีผ่านมาน้นั เร่มิ มีแนวโน้มของการจดั ตั้งภาคประชาชนของหน่วยงานรัฐเองเช่น
ในรูปของอาสาสมัคร ที่มักถูกใช้เป็นกลุ่มตัวแทนจากภาคประชาชนในข้ันตอน “การมีส่วนร่วม” ทาให้เกิด
คาถามในด้านความครบถ้วนและการเป็นตัวแทนที่แท้จริง ปัญหาของการมีส่วนร่วมในหลาย ๆ ด้านดังกล่าว
นามาส่ปู ระเดน็ ด้านความโปรง่ ใสในการตดั สินใจในทสี่ ดุ (Rhodes, 2018)

๔.๖.๔ ความทา้ ทา้ ยด้านระเบยี บ กฎหมาย
จากผลของแบบสอบถาม ปัญหาทางกฎระเบียบและกฎหมายมีหลายมิติด้วยกัน เช่นมิติด้านข้อจากัด
ของความเข้าใจในตัวกฎ ระเบียบ และกฎหมายของหน่วยงานต่าง ๆ แต่มิติปัญหาท่สี าคัญอีกด้าน คือด้านการ
บังคับใช้ระเบียบกฎหมายที่เป็นรูปธรรมและมีประสิทธิภาพ เช่นในกรณีของ กฎหมายด้านการควบคุม
การใช้ประโยชน์ท่ีดินและผังเมือง ท่ีความเหมาะสมของการใชพ้ ้ืนที่ถูกต้ังคาถาม เช่น ปญั หาของประสิทธภิ าพ
ของมาตรการควบคุมหรือการกาหนดโซนของการขยายเมืองเพ่ือให้ส่งผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมให้น้อยสุด
โดยมีการยกตัวอยา่ งกรณีการขยายตัวของเมืองที่เกิดขึ้นอย่างไม่สัมพันธ์กับความสามารถในการจัดการมลพิษ
ทางน้า ขาดซึ่งแผนการด้านมลพิษท่ีควบคู่กัน การจัดการตามหลังเป็นความยากลาบากจนเกินกาลังของ
ท้องถ่ินในการจัดการ รวมถึงกรณีของการขยายตัวของเมืองสู่พื้นท่ีเกษตรกรรมท่ีอาจส่งผลต่อความสมดุลของ
การใช้พ้ืนที่ในท่ีสุด มิติปัญหาดังกล่าวสอดคล้องกับรายงานการศึกษาในกรณีของมาบตาพุดท่ีระบุถึงปัญหา
ด้าน ความเข้มข้นของกฎหมายและการบังคับใช้กฎหมาย ท่ีบทลงโทษของกฎหมายหลายตัวยังค่อนข้างอ่อน
หากการบังคับใช้กฎหมายเป็นปัญหาท่ีหนักยิ่งกว่า (Rhodes, 2018) ซึ่งข้อมูลจากแบบสอบถามยังได้เผยถึง
ปัจจัยจากผู้มีอิทธิพลที่สามารถส่งผลต่อการจัดการของหน่วยงานรัฐซ่ึงอาจเป็นปัจจัยที่มีควา มเช่ือมโยงต่อ
ปัญหาดา้ นการบังคับใช้กฎหมายดงั กล่าว
ปัญหาทางกฎหมายอีกมิติท่ีได้รับการกล่าวถึงในแบบสอบถาม คือเงื่อนไขของข้ันตอนทางกฎหมายท่ี
สามารถส่งผลต่อความล่าช้าในกระบวนการดาเนินงาน ดังเช่นกระบวนการในการกระจายน้า การจัดการขยะ

โครงการจัดทาแผนส่งิ แวดล้อมในพ้ืนที่เขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๓๒๕

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย

กากอุตสาหกรรม รวมถึงการขออนุญาตใช้พ้ืนที่เพื่อดาเนินโครงการอนุรักษ์พัฒนาและฟ้ืนฟูแหล่งน้า
ทม่ี ีข้นั ตอนตามกฎหมาย จนส่งผลให้ต้องใช้ระยะเวลาในการดาเนินงานและอาจส่งผลกระทบในที่สุดดังเชน่ ใน
เรื่องของการดาเนนิ การดา้ นขยะ ที่ตดิ ขดั ดา้ นกฎระเบียบจนทาใหเ้ กิดมลพิษสะสม

๔.๖.๕ ปญหาและอุปสรรคด้านข้อมูล
ประเด็นปัญหาด้านข้อมูลสามารถแบ่งเป็น ๓ กลุ่มย่อยได้แก่ (๑) ประเด็นด้านฐานข้อมูล (๒) ประเด็น
ด้านการเข้าถึงและการเปิดเผยข้อมูล และ (๓) ประเด็นด้านการสื่อสารข้อมูล ในประเด็นแรกน้ันผลการสารวจ
จากแบบสอบถามพบการระบุถึงการขาดระบบฐานข้อมูลด้านทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมท่ีมีความ
ถูกต้องนา่ เช่ือถอื และเปน็ ปจั จบุ ัน ซึ่งส่งผลต่อประสิทธภิ าพของการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ในที่สดุ
โดยความถูกต้องน่าเช่ือถือของข้อมูลในฐานข้อมูลนั้นเป็นเรือ่ งสาคัญท่ีถูกกล่าวถึงในรายงานการจัดการ
สิ่งแวดล้อมในกรณีของมาบตาพุดเช่นกัน ในกรณีของข้อมูลด้านมลพิษทางอากาศนั้นชุมชนมีการตั้งคาถามกับ
ความถูกต้องของข้อมูลที่นาเสนอที่ป้ายแสดง ว่าเป็นตัวแทนของส่ิงที่เกิดข้ึนจริงหรือไม่ โดยชุมชนสังเกตว่า
ค่าตัวเลขไม่เคยเปล่ียนและแสดงสัญลักษณ์เป็นรูปหน้ายิ้มตลอดเวลา จนกระท่ังชุมชนมีคาถามถึง ความ
ถูกต้องเหมาะสมของตาแหน่งและสถานที่ต้ังท่ีถูกเลือกในการตั้งสถานีตรวจวัดคุณภาพอากา ศซ่ึงมีทั้งของ
ภาครัฐและภาคเอกชน ประเด็นดังกล่าวถูกกล่าวถึงใน “การเสวนาภาคีนวัตกรรมนโยบาย SDGs ในบริบท
EEC” เช่นกัน ซึ่งกาลังมีโครงการศึกษาถึงความถูกต้องของตาแหน่งและสภาพแวดล้อมของสถานีตรวจวัด
คณุ ภาพอากาศเปรียบเทียบกบั มาตรฐานการตดิ ต้ัง
ประเด็นต่อมาคือปัญหาด้านการเข้าถึงและการเปิดเผยข้อมูลซ่ึงถูกระบุในแหล่งข้อมูลทั้ง ๓ แหล่ง
ข้อมูลจากแบบสอบถามได้ระบุถึงปัญหาของการเข้าถึงข้อมูลของพ้ืนที่จริง ในขณะที่ในกรณีของอุตสาหกรรม
ในพื้นท่ีมาบตาพุดนั้นจะเน้นถึงปัญหาการเข้าถึงข้อมูลการประเมินผลกระทบทางสภาพแวดล้อม (EIA) และ
ผลกระทบกระทบทางสภาพแวดล้อมและสุขภาพ (EHIA) ถึงแม้ว่าสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน
(BOI) จะระบุใหม้ ีการทาการดังกล่าว แตก่ ารเข้าถึงรายงานดังกลา่ วนน้ั มีความยากลาบาก ในขณะท่ใี นหน้าเว็ป
ไซต์ของนิคมอุตสาหกรรมในด้านการประเมินผลกระทบทางสภาพแวดลอ้ ม (EIA) มักจะเป็นเพียงข้อมูลความรู้
ด้านส่ิงแวดล้อมท่ัวไป รายงานการประเมินดังกล่าวมักไม่พบในรูปแบบที่เป็นอิเล็กทรอนิกส์ การได้มาซึ่ง
รายงานการประเมินดังกล่าวมักต้องได้รับอนุญาตจากบริษัทท่ีเป็นผู้จ่ายค่าทาการประเมินดังกล่าว และสิ่งที่
ได้มามักเป็นเพียงข้อสรุปสั้น ๆ และได้มาหลังจากโครงการได้รับการอนุมัติแล้ว (Rhodes, 2018) ทาให้ส่งผล
ตอ่ โอกาสในการมีส่วนร่วมของภาคส่วนอื่นตั้งแต่ช่วงเรมิ่ ต้นของกระบวนการในท่ีสุด จากการประชุมกลุ่มย่อย
ในช่วงบ่ายของเวทีการประชุมที่ ๑ ผู้เข้าร่วมประชุมได้กล่าวถึงปัญหาการไม่เปิดเผยข้อมูลท่ีเก่ียวข้องกับ
การพจิ ารณาด้านความเส่ียงภยั ของชุมชนและการเปล่ียนแปลงในพ้นื ทที่ ่กี าลังจะเกดิ ข้ึน
นอกจากนั้นยังมีประเด็นด้านการสื่อสารและนาเสนอข้อมูลในปัญหา ๒ ด้านใหญ่คือ การสื่อสารข้อมูล
ทางเทคนิคที่หลายกรณีค่อนข้างเข้าใจได้ยากสาหรับบุคคลท่ัวไป เช่นกรณีของพ้ืนท่ีอุตสาหกรรมมาบตาพุด
ข้อมูลส่ิงแวดล้อมในเว็บไซตน์ ้ันค่อนข้างมีความท้าทายสาหรับสาธารณะในการทาความเข้าใจ แม้ว่าจะมีความ
พยายามทาสัญลักษณ์ เช่น สี หรือหน้าย้ิม ท่ีป้ายแสดงข้อมูล แต่ชุมชนยังรู้สึกว่าไม่มีความหมายมากนัก
(Rhodes, 2018) ปัญหาอีกด้านของการของการส่ือสารข้อมูลท่ีได้จากผลของแบบสอบถามคือ การสื่อสาร

โครงการจดั ทาแผนสิ่งแวดล้อมในพนื้ ทเี่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๓๒๖

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ทา้ ย

ข้อมูลท่ีเก่ียวข้องกับชุมชน ยังไม่ถูกเอาไปใช้ในการคิดวิเคราะห์ประกอบการวางแผนการพัฒนาและกาหนด
ทิศทางของชมุ ชนอย่างเตม็ ที่

๔.๖.๖ ปญหาด้านการติดตามตรวจสอบ
ในประเด็นด้านการติดตามและตรวจสอบน้ันนอกจากปัญหาของการบูรณาการการดาเนิ นงานของ
หน่วยงานและภาคส่วนต่าง ๆ ท่ีกล่าวไปแล้วในหัวข้อของข้อท้าทายด้านการบูรณกาการ การติดตาม
ตรวจสอบยังประสบกับปัญหาและอุปสรรคด้านอ่ืน ๆ อีกหลายด้าน ซ่ึงข้อมูลจากรายงานกรณีของมาบตาพุต
ได้ชว่ ยขยายความประเด็นปัญหาของการตดิ ตามตรวจสอบดังน้ี
ประการแรก กลไกในการติดตามตรวจสอบท่ีผ่านมานั้นให้ผู้ก่อมลพิษเป็นผู้รายงานผลเอง
(Self-report) ทาให้เกิดคาถามของความเป็นกลาง และประเด็นผลประโยชน์ทับซ้อน (Rhodes, 2018)
ซงึ่ ประเดน็ ดงั กล่าว ผู้ทรงคุณวฒุ ิใน “การเสวนาภาคีนวัตกรรมนโยบาย SDGs ในบรบิ ท EEC” เห็นด้วยว่าเป็น
ปญั หาเชงิ กลไกท่สี าคญั
การตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดล้อมมักอาศัยการเปรียบเทียบข้อมูล ณ จุดปล่อยมลพิษกับเกณฑ์
มาตรฐาน ข้อมูลจากแบบสอบถามได้ช้ีให้เห็นถึงปัญหาของวิธีการดังกล่าวโดยเฉพาะบริเวณพื้นที่
อุตสาหกรรมปิโตรเคมีหนาแน่นว่า “...ถึงแม้ว่าทุกโรงงานจะปล่อยสารเคมีต่าง ๆ ออกมาไม่เกินค่ามาตรฐาน
โรงงานอุตสาหกรรมแต่เน่ืองจากจ้านวนโรงงานอุตสาหกรรมท่ีมีจ้านวนหนาแน่นดังกล่าว ท้าให้สารเคมีท่ี
ระบายออกมาเกินศักยภาพในการรองรับ (Carrying capacity) ของพ้ืนท่ีท้าให้มีการปนเป้ือน VOCs ใน
อากาศในพนื้ ทมี่ าบตาพดุ สงู เกนิ ค่ามาตรฐานอย่างต่อเน่อื ง”
ประการต่อมา การตรวจสอบจากหน่วยงานที่มีหน้าที่กากับดูแลโดยตรงน้ันจะมีการแจ้งผู้ประกอบการ
ก่อนล่วงหน้าในระยะเวลานับเดือน การแจ้งล่วงหน้าเป็นระยะเวลานานดังกล่าวเป็นการเปิดโอกาสให้
ผู้ประกอบการมีการเตรียมตัว ซึ่งทาให้การตรวจสอบอาจไม่สะท้อนการดาเนินการของสถานประกอบการใน
ระยะเวลาปรกติ (Rhodes, 2018)
นอกจากนั้น การมีส่วนรว่ มในการตรวจสอบจากชุมชนผู้รับผลกระทบยังมีอยู่อย่างจากัด เคร่ืองมือและ
ความรู้ในการติดตามคุณภาพสิ่งแวดล้อมโดยชุมชนยังต้องการการพัฒนา เพื่อให้ชุมชนสามารถเก็บข้อมูลและ
ประเมินผลตัวแปรดา้ นสิ่งแวดล้อมด้วยตนเอง และแมว้ ่าในหลายกรณจี ะมกี ลไกการร้องเรยี นเรม่ิ ท่ีถูกพัฒนาใน
เว็บไซต์ของบางสถานประกอบการ แต่หากผู้ร้องเรียนยังต้องระบุตัวตนซ่ึงสามารถส่งผลต่อพฤติกรรมการ
ร้องเรียนได้ (Rhodes, 2018)
ปัญหาด้านการติดตามตรวจสอบเหล่านี้ส่งผลต่อประเด็นด้านคุณภาพส่ิงแวดล้อมต่อมา ผลจาก
แบบสอบถามแสดงให้เห็นถึงข้อวิตกกังวลด้านมลพิษจากสถานประกอบการอุตสาหกรรม ซ่ึงเป็นประเด็นท่ี
หน่วยงานท้องถิ่นและหน่วยงานด้านสิ่งแวดล้อมในระดับพื้นท่ีได้ระบุถึงปัญหาดังกล่าวเป็นปัญหาสาคัญ โดย
หน่วยงานด้านสาธารณะสุขได้เน้นย้าการเช่ือมโยงปัญหาด้านสุขภาพของประชาชนกับปัญหามลพิษจาก
อุตสาหกรรมและทาให้การเฝ้าระวังและป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพมีความซับซ้อนมากย่ิงข้ึน ดังตัวอย่างของ
ปัญหาจากเหมืองหินและโรงโม่หิน ดังข้อความคาตอบในแบบสอบถามว่า “ปัญหาเหมืองหินและโรงโม่หินใน
พ้ืนที่จังหวัดชลบุรีที่ขาดมาตรการในการควบคุมท่ีเข้มงวดท้าให้ฝุ่นจากการประกอบกิจการดังกล่าวปนเป้ือน
ชมุ ชนทา้ ให้ประชาชนบรเิ วณใกลเ้ คียงเปน็ โรคซิลิโคสิส”

โครงการจดั ทาแผนส่ิงแวดล้อมในพนื้ ที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๓๒๗

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม รายงานฉบบั สุดทา้ ย

นอกจากน้ันผลจากแบบสอบถามยงั แสดงให้เห็นถึงความเช่ือมโยงของประเด็นด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม
ที่มีต่อสถานที่ที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม โดยช้ีว่าระบบนิเวศทางน้า เช่น แหล่งน้าผิวดิน
(คู คลอง หนอง) บางส่วนเป็นแหล่งประวัติศาสตร์และแหล่งโบราณคดี ที่สารพิษและน้าเสียจากอุตสาหกรรม
สามารถส่งผลกระทบต่อแหล่งประวัติศาสตร์เหล่าน้ี และผลกระทบอีกส่วนจะมาจากการขยายตัวของเมือง
ภาคการท่องเที่ยวทางทะเล ภาคอุตสาหกรรม ที่สามารถส่งผลกระทบต่อแหล่งโบราณคดี เช่น แหล่งเรือจม
และกาแพงคเู มืองเป็นต้น ซ่ึงโครงการด้านการอนุรักษ์แหล่งวัฒนธรรมในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
ยังมีอยู่อย่างจากัด

๔.๖.๗ ปญหาการดูแลจัดการปนเป้อื นสารพษิ ท่ีเกิดการสะสมในพน้ื ทีแ่ ล้ว
เน่อื งดว้ ยพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกนัน้ สว่ นหน่งึ ครอบคลุมและตอ่ ยอดพ้ืนท่อี ุตสาหกรรมเดิม
เช่นบริเวณมาบตาพุดซง่ึ หลายจดุ ผ่านการทาอุตสาหกรรมอย่างเข้มข้น หากแต่ในกรอบแนวคิดของการจัดการ
สิ่งแวดล้อมที่ผ่านมา ประเด็นด้านการดูแลจัดการปนเปื้อนสารพิษท่ีเกิดการสะสมในพ้ืนท่ีแล้วยังมีการพูดถึง
น้อย ขาดซึง่ แผนงานในการฟ้นื สภาพ (clean up plan) และการระบุถึงผูม้ ีหน้าทร่ี ับผดิ ชอบ (Rhodes, 2018)
๔.๖.๘ ความท้าทายดา้ นความรู้ ความตระหนกั
เสียงสะท้อนจากท้องถิ่นและภาคประชาสังคมในแบบสอบถามได้ ช้ีให้เห็นถึงปัญหาด้านความรู้ความ
ตระหนัก ดังเช่นท่ี ส่ือท้องถ่ินได้ให้ความเห็นว่า “ขาดความต่ืนตัวจากคนในพ้ืนที่ ประชาชนทั่วไปได้เข้ามามี
ส่วนร่วม หรือรับรู้ด้านการพัฒนาพ้ืนที่น้อยมาก ขาดการสร้างความรู้ความเข้าใจในระดับล่างสุด ” หรือท่ี
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหนึ่งได้ชี้ให้เห็นถึง “ปัญหา คือการสร้างจิตส้านึกให้กับคนบางกลุ่มจะต้องมีความ
รักความสะอาด และสิ่งแวดล้อม คนทุกกลุ่มทุกคนยังให้ความส้าคัญกับค้าว่า การอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม การลด
การใช้สารเคมีในพื้นท่ีการเกษตร บ่อกุ้ง บ่อปลา” รวมถึงการขาดความรู้ในเทคโนโลยีทเี่ ป็นมิตรกับส่ิงแวดลอ้ ม
และพลังงานทดแทนเป็นต้น และที่สาคัญคือการขาดซึ่ง “บุคคลต้นแบบ” ในด้านส่ิงแวดล้อมท่ียังมีอยู่อย่าง
จากดั
๔.๖.๙ ขอ้ จากดั ด้านงบประมาณและบคุ คลากร
ขอ้ จากัดดา้ นน้ีเป็นประเด็นท่ีถูกกลา่ วถึงอยา่ งมากในแบบสอบถามโดยเฉพาะจากภาคการปกครองส่วน
ท้องถิ่น รวมถึงจากหน่วยงานด้านส่ิงแวดล้อมในพื้นท่ีท่ีต้ังข้อสังเกตว่า “องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินขาด
แผนงาน/โครงการด้านการจัดการขยะและน้าเสีย เนื่องจากยังไม่มีความพร้อมเรื่องผลการศึกษา งบประมาณ
และทดี่ ินในการกอ่ สร้าง”
๔.๖.๑๐ ขอ้ จากดั และแนวทางบรหิ ารจัดการนา้ ในมมุ มองอดีตคณะกรรมการลมุ่ น้าบางปะกง
จากมุมมองอดีตคณะกรรมการลุ่มน้าบางปะกง และผู้แทนคณะทางานด้านคุณภาพน้า ใน
คณะอนุกรรมการทรัพยากรน้าประจาจังหวัดฉะเชิงเทรา ต่อประเด็นการบริหารจัดการน้าลุ่มน้าบางปะกง
พบว่า มีความพยายามปรับปรุงแนวทางการบริหารจัดน้าด้วยการมีคณะกรรมการลุ่มน้าบางปะกง แต่ยังคงมี
ข้อจากัดในการดาเนินงานในหลายประเด็น เชน่

๑) การเปลยี่ นแปลงตัวบุคคลจากหนว่ ยงานภาครฐั ทาให้แนวคดิ ไม่ตอ่ เนอ่ื งกัน

โครงการจดั ทาแผนสงิ่ แวดลอ้ มในพ้ืนทเี่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๓๒๘

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม รายงานฉบับสุดท้าย

๒) บทบาทของคณะกรรมการลุ่มน้าทาได้เพียงการให้ความเห็น ผ่านฝ่ายเลขาของ
คณะกรรมการลุ่มน้าที่เป็นผู้เสนอเร่ืองต่าง ๆ มาให้พิจารณาตามอานาจหน้าที่ที่กาหนด
เป็นข้อจากัดของคณะกรรมการลุม่ น้าที่ต้องพิจารณาเฉพาะเร่ืองที่ฝ่ายเลขาเสนอซึ่งอาจ
ไม่ครอบคลมุ ปญั หาทเี่ กิดขึ้นในพ้ืนท่ี

๓) หน้าที่คณะกรรมการลุ่มน้ามีหน้าท่ีในการแก้ปัญหา จัดทาแผนต่าง ๆ เช่นแผนป้องกัน
น้าแล้ง น้าท่วม หรือเร่ืองคุณ ภาพน้า แต่การนาแผนไปสู่การปฏิบัติในพื้นที่
คณะกรรมการลุ่มน้าเป็นเพียงผู้ควบคมุ ดูแล แต่ไม่มีอานาจในการสั่งการให้หน่วยงานท่ีมี
หน้าท่ีให้นาแผนไปปฏิบัติ ประกอบกับไมไ่ ดร้ ับความร่วมมอื จากหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องใน
การนาแผนไปปฏิบัติ

๔) ปัญหา และสาเหตุของคุณภาพน้าในแม่น้าบางปะกง มาจากหลายสาเหตุ ทั้งจากการ
พัฒนาและการขาดจิตสานึกรักษ์ส่ิงแวดล้อม การพัฒนาที่เป็นปัญหาต่อคุณภาพน้าใน
ลานา้ เชน่ การปิดกั้นลาน้าด้วยประตนู ้า ช่วงทีป่ ิดประตูจะสะสมของเสียและจะเกิดการ
เน่าเสีย เช่น คลองพานทองที่บางปะกง คลองท่าไข่ คลองนครเนื่องเขต คุณภาพน้าจะ
แย่กว่าแม่น้า เนื่องจากแม่น้ามีน้าจากข้างบน คือ นครนายก ปราจีน สระแก้ว มาเติม
ในช่วงหน้าฝน นอกจากนั้น การอนุญาตให้มีโรงงานในบริเวณพื้นที่รับน้า โดยเฉพาะ
โรงงาน Recycle ที่มีการใช้สารเคมีในกระบวนการผลิต แต่ไม่มีการควบคุมดูแลอย่าง
จริงจังทาให้สารเคมีรั่วไหลลงสู่น้าน้า ประกอบกับการขยายตัวของชุมชนที่เพิ่มมากข้ึน
แต่ขาดระบบาบัดที่มีประสิทธิภาพ รวมถึงการใช้ปุ๋ยเคมีและเคมีภัณฑ์อื่น ๆ ใน
การเกษตรกส็ ่งผลตอ่ คุณภาพนา้ ในลานา้

จากข้อจากัดในการบริหารจัดการน้าดังกล่าว มีข้อเสนอแนะเพ่ือการเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหาร
จัดการน้าดังน้ี

๑) ควรมีการเพิ่มศักยภาพคณะกรรมการลุ่มน้าด้วยองค์ความรู้และข้อมูลท่ีเพียงพอ เช่น อ่างเก็บน้า
คลองสียัดเป็นอ่างขนาดใหญ่แต่อยู่ในพื้นที่เงาฝน ฝนจะตกด้าน จ.ระยอง ปริมาณฝนท่ีจะตกในเขื่อนสียัด
มีไม่มาก เป็นเร่ืองกายภาพ ถ้าคณะกรรมการลุ่มน้าไม่มีความรู้และข้อมูลเพียงพอ ทาให้การพิจารณาไม่ตรง
ตามข้อเท็จจรงิ ในพ้นื ที่

๒) การจัดการน้าควรมองทัง้ ระบบและตงั้ เป้าหมายในการจัดสรรน้าใหช้ ดั เจน
๓) การพัฒนาอุตสาหกรรมควรพิจารณาถึงผลได้ผลเสียท่ีเกิดขึ้นในพื้นที่ เช่น ปริมาณความต้องการ
ใช้น้า มลพิษเกิดข้ึน ขยะจากต่างประเทศ ปัญหาแรงงานข้ามชาติโดยท่ีท้องถ่ินและประเทศไม่ได้ประโยชน์
เท่าท่ีควร แต่ต้องสูญเสียทรัพยากรธรรมชาติและต้องแก้ปัญหามลพิษท่ีเกิดขึ้น นอกจากนั้น การนิคม

โครงการจดั ทาแผนส่ิงแวดลอ้ มในพ้นื ท่เี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๓๒๙

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม รายงานฉบับสดุ ทา้ ย

อุตสาหกรรมควรต้องมีแหล่งน้าของตัวเอง ต้องคานวณว่าจะใช้น้าปีละเท่าไหร่ ต้องมนี ้าสารองให้พอ ถ้าไม่พอ

สามารถซอื้ ไปเตมิ ได้

๔) การกาหนดกิจกรรมการใช้ประโยชน์ที่ดิน ควรคานึงถึงความต้องการของการใช้น้าในกิจกรรมที่

เหมาะสมกบั พืน้ ที่

๕) ชลศาสตร์ที่ทาให้เกิดปัญหาคุณภาพน้าในแม่น้าบางปะกง เนื่องจากว่ามีน้าขึ้น น้าลง วันละ ๒
ครง้ั เคยมีการศึกษาว่าความลึกของลาน้าตา่ กว่าระดบั นา้ ทะเลปานกลาง ๑ เมตร ระดับน้าทะเลปานกลางของ
ชลศาสตร์ของปากอ่าว น้าขึ้นลงจะแตกต่างกันประมาณ ๒ เมตร จากระดับน้าทะเลปานกลาง บางช่วงอาจ
มากกว่าน้นั ทาใหเ้ กดิ นา้ เค็มถึงไปถงึ จงั หวัดปราจนี บุรี

ตารางท่ี ๔ - ๑๑๖ สรปุ สถานการณ์และการเปลย่ี นแปลง แนวโน้มทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมใน

พนื้ ที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก

สถานการณ์ การเปลย่ี นแปลง แนวโน้ม
แมน่ า้ บางปะกง
นา้ ผิวดนิ เกณฑ์พอใช้ คลองทา่ ลาด ดีขน้ึ (จากเสือ่ ม คลองท่าลาด
นา้ ใตด้ นิ เกณฑ์เสื่อมโทรม คลองนครเนื่องเขต
คลองทา่ ไข่ โทรมเปน็ พอใช)้
เกณฑเ์ ส่ือมโทรมมาก คลองตาหรุ
แมน่ า้ ระยอง คงที่ พอใช้ แมน่ ้าบางปะกง
แมน่ า้ ประแสร์
คลองพานทอง คงที่ เสอื่ มโทรม คลองนครเน่ืองเขต

คลองทา่ ไข่

คงที่ เส่อื มโทรม แมน่ า้ ระยอง

มาก คลองพานทอง

เสื่อมโทรมลง คลองตาหรุ

(จากพอใชเ้ ป็นเสอ่ื ม แมน่ ้าประแสร์

โทรม)

ไม่เกนิ เกณฑ์ - สารละลายคลอไรด์ (Cl) ลดลง - สารละลายคลอ
- สารละลายมวลรวมที่ละลายนา้ ได้ (TDS)
(ไมเ่ กนิ เกณฑท์ ่ี ไรด์ สารละลายมวล

อนโุ ลมแตเ่ กินเกณฑ์ รวมท่ลี ะลายนา้

ท่ีเหมาะสม) - สารหนู

- ปรอท

- แคดเมยี ม

- ซลิ ิเนียม

เกนิ เกณฑท์ ี่ - สารหนู (As) คงที่ - ตะกว่ั (Pb)
เหมาะสม - ตะกว่ั (Pb)
- ปรอท (Hg) (ไมเ่ กนิ เกณฑ์ท่ี
เกนิ เกณฑท์ ่ีอนโุ ลม - แคดเมียม (Cd)
- ซิลเิ นยี ม (Se) อนโุ ลมแต่เกินเกณฑ์
เหล็ก (Fe)
ท่ีเหมาะสม)

น้าทะเลชายฝ่ง ดมี าก ๒% เกาะกฏุ ี (หนา้ บ้านพกั อุทยาน) เพ่มิ ขน้ึ - เหล็ก (Fe)
(ตรวจวัด ๕๐ จดุ ) ดี > ๕๔% (เกนิ เกณฑ)์
เพมิ่ ขน้ึ จาก ๐ จุด เปน็ ๑
พอใช้ ๒๗% จุด
เพมิ่ ขนึ้ ๒๑ จุด เปน็ ๒๖
จดุ
ลดลง ๑๗ จุด เปน็ ๑๓

โครงการจัดทาแผนส่งิ แวดล้อมในพน้ื ทีเ่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๓๓๐

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ท้าย

สถานการณ์ การเปลย่ี นแปลง แนวโนม้
จุด
เส่ือมโทรม ๑๕ % ท่าเรือสตั หีบ ตลาดนาเกลอื ทา่ เรอื
เพม่ิ ขนึ้ ๖ จดุ เป็น ๗ จดุ
แหลมฉบงั บางแสน อา่ งศิลา อา่ วชลบุรี หาด
คงที่ ๑ จุดเท่าเดมิ
สชุ าดา

เสื่อมโทรมมาก ๒ % ศรรี าชา (เกาะลอย)

เกินเกณฑ์ เกาะลอย ปากแมน่ า้ ระยอง หาดสุชาดา ปาก

แมน่ ้าประแสร์ ทา่ เรือหน้าดา่ น (เกาะเสมด็ )

อา่ วพรา้ ปากแมน่ ้าบางปะกงฉะเชิงเทรา

ชลบรุ ี

น้าเสียชมุ ชน ปรมิ าณ (บาบดั ได)้ หน่วย: แสนลบ.ม./วัน - แนวโน้มปี พ.ศ.๒๕๖๐ - ปริมาณนา้
(ปรมิ าณ) – ๒๕๖๒ เสยี ชุมชน
EEC ๑๕๑,๘๐๐ (๓๓.๙) EEC เพิม่ ขนึ้ คาดการณ์ปี
นา้ เสยี (คุณภาพ) ฉะเชิงเทรา ๘,๙๑๙ (๘.๓) ฉะเชิงเทรา เพ่ิมขนึ้ พ.ศ. ๒๕๖๔ –
ชลบุรี ๑๓๙,๕๐๐ (๖๐.๕) ชลบุรี เพม่ิ ขน้ึ ๒๕๗๐ เพิ่มขึ้น
พ้นื ที่บริการระบบ ระยอง ๓,๓๘๑ (๓.๑) ระยอง เพ่ิมขน้ึ ท้ังสามจงั หวดั
บาบดั น้าเสยี ฉะเชิงเทรา ไมเ่ กนิ เกณฑ์
นา้ เสยี โรงงานใน ชลบุรี เกินเกณฑ์ (ค่า pH นา้ ท้งิ ค่าของแข็ง เพ่ิมขน้ึ
พ้ืนท่ี EEC แขวนลอย ค่านา้ มนั ไขมัน
ระยอง เกนิ เกณฑ์ (ค่าฟอสฟอรัสท้งั หมด) ค่าสารอนิ ทรียร์ ะเหยงา่ ย มีแนวโน้มมากขึ้น
คุณภาพอากาศ รวม ๑๘ ระบบบาบัด ๑ ระบบบาบัด คือ ทต.บางคลา้ ครอบคลุม ในอนาคต เน่ืองจากการใชเ้ ชอ้ื เพลิง การ
(๙ สถานี ใน ๓ น้าเสยี พนื้ ทบี่ ริการ ๑๐๐% กลั่นและแยกกา๊ ซสงู
จังหวดั ) น้าทิ้งเฉลี่ยกักเก็บ ๓,๕๗๐,๙๑๖.๘๐ ลบ.ม./วนั ลดลง 1,2-Dichlo roethane
สารอินทรยี ร์ ะเหย ภายในโรงงาน คงท่ี Benzene
ง่าย (VOCs) น้าทิ้งเฉลย่ี ระบาย ๑,๓๐๙,๔๕๙.๐๔ ลบ.ม./วัน เพ่มิ ขน้ึ 1,3-Butadiene
ออกนอกโรงงาน สถานีในจงั หวัดระยองเพิม่ ข้ึนแตไ่ ม่มากนัก
คุณภาพเสียง ไม่เกนิ คา่ มาตรฐาน SO2 / NO2 / CO / O3 / PM10 / และอยูใ่ นเกณฑ์มาตรฐาน
การปลอ่ ยก๊าซเรอื น PM2.5 สูงข้ึน
กระจก
เกนิ ค่ามาตรฐาน - 1,3-Butadiene เพิ่มขึ้น
การเปลยี่ นแปลง - 1,2-Dichlo roethane
สภาพภมู อิ ากาศ - Benzene

ระดับเสียงเฉลย่ี (Leq) ๒๔ ชว่ั โมง ยงั ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน

ฤดฝู น ตา่ กว่า ๓๗๐ ppm
ฤดูหนาว > ๔๑๐-๔๓๐ ppm
ฤดรู ้อน >๓๕๐ ppm
เกณฑค์ ่าบรรยากาศ = ๓๕๐ ppm
อุณหภูมิสูงสดุ เฉลีย่ ต่อปี (ชลบรุ แี ละระยอง)
เพ่มิ จาก ๓๓ – ๓๕ oC เปน็ ๓๓ – ๓๗ oC
อุณหภูมติ า่ สุดเฉล่ยี ต่อปี (ชลบุรีและระยอง)
เพิม่ จาก ๒๒ - ๒๔ oC เป็น ๒๕ – ๒๘ oC
นา้ ฝน (ชลบุรี) เพิม่ ข้ึน ๑๕-๒๕%
น้าฝน (ระยอง) เพิม่ ขนึ้ ๒๕-๕๐%

โครงการจดั ทาแผนสิง่ แวดลอ้ มในพ้นื ทเี่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๓๓๑

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม รายงานฉบบั สุดท้าย

ขยะมลู ฝอย (ข้อมลู ปี พ้นื ที่ EEC สถานการณ์ การเปลย่ี นแปลง แนวโน้ม
พ.ศ. ๒๕๖๒) ปริมาณ แนวโนม้ สูงข้ึน
นาไปใช้ประโยชน์ ๑.๖๘ ลา้ นตันตอ่ ปี
Cluster กาจดั ถกู ต้อง ๑๙.๐๒% อัตราการเพิ่มเฉล่ยี ๕ ปี (๒๕๕๘ - ๒๕๖๒)
กาจัดไม่ถกู ตอ้ ง ๔๖.๑๓ % = ๐.๗๐ กก./คน/วัน
สถานท่ีกาจดั ๓๔.๘๖ % แนวโน้มสงู ขึน้
จงั หวัดฉะเชิงเทรา ๗๐ แห่ง (เปดิ ๓๔ แห่ง ปิด ๓๖ แหง่ )
ปรมิ าณ อตั ราการเพม่ิ เฉลีย่ ๕ ปี (๒๕๕๘ - ๒๕๖๒)
นาไปใชป้ ระโยชน์ ๐.๒๗ ล้านตนั ตอ่ ปี =๑.๘๖ กก./คน/วนั
กาจดั ถกู ต้อง ๑๘.๓๗% แนวโน้มสูงขึน้
กาจัดไมถ่ กู ต้อง ๑.๒๐ %
สถานท่กี าจัด ๘๐.๔๓% อัตราการเพม่ิ เฉลย่ี ๕ ปี (๒๕๕๘ - ๒๕๖๒)
จงั หวัดชลบุรี ๑๗ แห่ง (เปดิ ๗ แหง่ ปิด ๑๐ แห่ง) = ๑.๗๓ กก./คน/วัน
ปรมิ าณ แนวโนม้ สงู ขน้ึ
นาไปใชป้ ระโยชน์ ๑.๐๕ ล้านตนั ตอ่ ปี
กาจดั ถกู ต้อง ๒๓.๗๖% เพม่ิ ข้นึ
กาจัดไม่ถูกต้อง ๕๓.๐๕ % เพม่ิ ขึ้น
สถานท่ีกาจดั ๒๓.๒๐%
จงั หวัดระยอง ๒๙ แหง่ (เปดิ ๒๒ แห่ง ปิด ๗ แห่ง) เพิ่มขึ้น
ปรมิ าณ เพิ่มข้นึ
นาไปใชป้ ระโยชน์ ๐.๓๕ ลา้ นตนั ต่อปี
กาจัดถกู ตอ้ ง ๑๔.๙๓% เพม่ิ ข้ึน
กาจัดไม่ถูกตอ้ ง ๘๔.๑๓ %
สถานทก่ี าจดั ๐.๙๔%
ฉะเชงิ เทรา ๒๔ แห่ง (เปิด ๕ แห่ง ปิด ๑๙ แหง่ )
ชลบรุ ี ๓ Cluster (๙๒ ตาบล)
๕ Cluster (๙๒ ตาบล ๒๒ เกาะ
กากของเสีย ระยอง ๑ เขตปกครองพิเศษ)
จงั หวดั ฉะเชิงเทรา ๔ Cluster (๕๗ ตาบล ๖ เกาะ)
อันตราย
ไมอ่ นั ตราย ๗๔,๘๙๒ ตัน
ปรมิ าณของเสยี ๓.๘๒ แสนตัน
อันตรายท่ขี นออก ๖๑,๘๑๘ ตนั
นอกโรงงานฯ
จังหวดั ชลบรุ ี ๒.๓๗ แสนตนั
อันตราย ๙.๘๓ แสนตัน
๑.๘๑ แสนตนั
ไม่อันตราย
๔.๓๒ แสนตนั
ปริมาณของเสีย
อันตรายท่ีขนออก
นอกโรงงานฯ
จงั หวดั ระยอง
อันตราย

โครงการจดั ทาแผนส่งิ แวดลอ้ มในพื้นท่เี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๓๓๒

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม รายงานฉบับสุดท้าย

ไม่อนั ตราย สถานการณ์ การเปลยี่ นแปลง แนวโนม้
ปริมาณของเสยี ๒.๕๘ ล้านตนั เพ่ิมข้ึน
อนั ตรายทข่ี นออก ๓.๘๘ แสนตนั
ทรัพยากรธรรมชาติ นอกโรงงานฯ พน้ื ท่ี EEC แนวโน้ม
ป่าไม้ สถานการณ์ ฉะเชิงเทรา ลดลง
(๒๕๕๖ – ๒๕๖๒) พ้นื ท่ี EEC ๑.๐๒ ล้านไร่ ชลบรุ ี ลดลง
ฉะเชงิ เทรา ๕.๐๒ แสนไร่ ระยอง ลดลง
ปา่ ชายเลน ชลบรุ ี ๓.๔๔ แสนไร่ พืน้ ที่ EEC ลดลง
(๒๕๕๖ – ๒๕๖๑) ระยอง ๑.๘๒ แสนไร่ ฉะเชงิ เทรา ลดลง
พน้ื ท่ี EEC ๘๗,๙๖๐.๗๒ ไร่ ชลบุรี ลดลง
แหลง่ หญา้ ทะเล ฉะเชงิ เทรา ๒๙,๗๑๕.๘๖ ไร่ ระยอง ลดลง
ชลบรุ ี ๒๗,๑๐๗.๖๑ ไร่ เพมิ่ ขน้ึ
ระยอง ๓๑,๑๓๗.๒๕ ไร่
ชลบุรี ๕,๗๐๕.๗๒ ไร่ สมบรู ณ์ปานกลาง-
เล็กนอ้ ย

แนวปะการัง ระยอง ๑๑,๙๒๔.๔๓ ไร่ เสยี หายมาก
ชลบุรี ๖,๔๗๒ ร้อยละ ๒๙.๗
เสียหายมาก
ระยอง ๓,๑๕๑ ร้อยละ ๑๑.๐

การกดั เซาะชายฝ่ง พื้นทก่ี ดั เซาะ (กม.) พ้ืนที่ EEC ๒.๖๕ ลดลง
ทะเล ฉะเชิงเทรา ๐.๐๐ ลดลง
พ้ืนท่ดี าเนินการ ชลบุรี ๐.๘๙ เพมิ่ ข้นึ
ดิน แกไ้ ขแล้ว (กม.) ระยอง ๑.๗๖ ลดลง
พนื้ ที่ EEC ๑๐๗.๔๔
การใชท้ ด่ี นิ พน้ื ท่ีไมก่ ดั เซาะ ฉะเชิงเทรา ๑๓.๙๗ เพม่ิ ข้ึนทงั้ ๓ จงั หวดั
(กม.) ชลบุรี ๖๔.๕๓
ระยอง ๒๘.๙๔
อุดมสมบรู ณ์ต่า พน้ื ที่ EEC ๑๘๒.๓๘
ดนิ เปรย้ี ว กรดสูง ฉะเชงิ เทรา ๒.๕๙
อุดมสมบูรณป์ าน ชลบุรี ๑๐๔.๗๕
กลาง ระยอง ๗๕.๐๔
อุดมสมบรู ณส์ งู ฉะเชิงเทรา ๑.๓๔ ลา้ นไร่
ชลบุรี ๑.๗๕ ลา้ นไร่
พ้นื ที่ชุมชนและส่งิ ระยอง ๑๖๕ ลา้ นไร่
ฉะเชิงเทรา ๑.๗๕ ล้านไร่
ชลบุรี ๓.๔๙ แสนไร่
ระยอง ๒.๑๘ แสนไร่
ฉะเชงิ เทรา ๕๑,๑๙๑ ไร่
ชลบุรี ๒,๙๙๑ ไร่
ระยอง ๒๕,๓๔๓ ไร่
ฉะเชิงเทรา ๖.๙๕

โครงการจดั ทาแผนสิ่งแวดล้อมในพ้ืนท่ีเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๓๓๓

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม รายงานฉบับสดุ ทา้ ย

สถานการณ์ การเปลยี่ นแปลง แนวโน้ม

ปลกู สรา้ ง ชลบุรี ๒๒.๔๑

ระยอง ๑๕.๖๕

พน้ื ที่เกษตรกรรม ฉะเชิงเทรา ๗๐.๘๓ ลดลงท้ัง ๓ จงั หวัด

ชลบุรี ๕๕.๙๖

ระยอง ๖๗.๐๖

พื้นทป่ี ่าไม้ ฉะเชงิ เทรา ๑๖.๑๘ ฉะเชิงเทรา ลด

ชลบุรี ๑๑.๓๔ ชลบรุ ี เพิ่ม

ระยอง ๗.๙๖ ระยอง ลด

พ้ืนท่ีนา้ ฉะเชิงเทรา ๒.๙๖ เพม่ิ ขึ้นท้ัง ๓ จังหวดั

ชลบุรี ๓.๑๗

ระยอง ๔.๑๓

พื้นทเี่ บ็ดเตลด็ ฉะเชงิ เทรา ๓.๐๘ ฉะเชงิ เทรา ลด

ชลบรุ ี ๗.๑๓ ชลบรุ ี เพม่ิ

ระยอง ๕.๒๑ ระยอง เพิ่ม

นา้ พ้นื ท่ี EEC (หน่วย: ล้านลบ.ม.) การคาดการณก์ ารใช้นา้ คา่ สูงสดุ

น้าบาดาล ปริมาณน้า ๑,๐๖๔.๕ พ.ศ. ๒๕๗๐ ๑,๖๐๘.๒
พลงั งาน
แร่ ความต้องการใชน้ า้ ๒,๔๒๐ พ.ศ. ๒๕๘๐ ๑,๖๔๑.๘๖

ฉะเชงิ เทรา (หนว่ ย: ล้านลบ.ม.)

ปรมิ าณน้า ๓๖๐.๑ พ.ศ. ๒๕๗๐ ๑,๕๘๓

ความต้องการใชน้ า้ ๑,๔๕๖ พ.ศ. ๒๕๘๐ ๑,๖๓๗

ชลบุรี (หน่วย: ลา้ นลบ.ม.)

ปรมิ าณนา้ ๑๙๗.๘ พ.ศ. ๒๕๗๐ ๗๘๖.๙

ความต้องการใช้นา้ ๔๗๐ พ.ศ. ๒๕๘๐ ๗๙๗.๖๓

ระยอง (หนว่ ย: ลา้ นลบ.ม.)

ปรมิ าณนา้ ๔๗๔.๓ พ.ศ. ๒๕๗๐ ๙๒๐.๗๖

ความต้องการใชน้ า้ ๔๙๔ พ.ศ. ๒๕๘๐ ๙๖๐.๑๖

ความตอ้ งการใช้นา้ บาดาล (หน่วย: ลา้ นลบ.ม./ปี)

พน้ื ท่ี EEC ๗๘.๘๒

ฉะเชงิ เทรา ๑๐.๐๘

ชลบรุ ี ๓๔.๘๔

ระยอง ๓๓.๙๐

ฉะเชิงเทรา ปรมิ าณการใช้ ๕,๑๘๒.๗๑

(หนว่ ย: MW) กาลงั การผลติ ๒,๒๖๐.๗๐

ชลบรุ ี ปริมาณการใช้ ๑๒,๘๕๑.๓๘

(หน่วย: MW) กาลงั การผลติ ๓,๐๑๑.๒๗

ระยอง ปรมิ าณการใช้ ๑๐,๕๗๐.๗๗

(หน่วย: MW) กาลงั การผลิต ๖,๖๐๖.๗๘

กลุ่มแรเ่ พ่อื การ ฉะเชิงเทรา ๖๒.๐๔ ตร.กม.

พฒั นาสาธารณปู โภค ชลบรุ ี ๕๑๘.๘๒ ตร.กม.

พื้นฐานและโครงการ ระยอง ๕๐๗.๗๗ ตร.กม.

ขนาดใหญ่ของรัฐ

กลมุ่ แร่เพ่อื สนบั สนุน ฉะเชงิ เทรา ๑๘๙๘.๒๖ ตร.กม.

เศรษฐกจิ และ ชลบุรี ๓๐.๔๖ ตร.กม.

โครงการจดั ทาแผนสงิ่ แวดล้อมในพื้นทเ่ี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๓๓๔

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รายงานฉบบั สุดท้าย

สถานการณ์ การเปลย่ี นแปลง แนวโนม้

อุตสาหกรรม ระยอง ๘๔.๐๗ ตร.กม.
พนื้ ท่ที ป่ี ระกาศแลว้
พื้นท่ีท่รี อประกาศ ๒ ฉะเชิงเทรา ๖๒.๐๔ ตร.กม.
พ้นื ท่ี
พ้นื ที่คมุ้ ครอง ประกาศกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ
สิง่ แวดลอ้ ม เขตเมืองพัทยา
จังหวัดชลบรุ ี ส่ิงแวดลอ้ ม เรอื่ ง กาหนดเขตพื้นทีแ่ ละ
เขตควบคุมมลพิษ
มาบตาพดุ จังหวัด มาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม ในบริเวณพื้นที่
ระยอง
อาเภอบางละมุง และอาเภอสตั หบี จังหวัด

ชลบรุ ี พ.ศ. ๒๕๖๓

ร่างกฎกระทรวงกาหนดให้พนื้ ทอี่ าเภอปลวก

แดง อาเภอบ้านคา่ ย และอาเภอนคิ มพฒั นา

จงั หวดั ระยอง เพอื่ คมุ้ ครองพื้นท่ตี ้นนา้ และ

อา่ งเก็บนา้ ท้ัง ๓ แห่ง

ร่างประกาศกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและ

สง่ิ แวดลอ้ ม เรอ่ื งกาหนดเขตพ้ืนทแี่ ละมาตรการ

คมุ้ ครองส่งิ แวดลอ้ ม ในทอ้ งทตี่ าบลบางปะกง

ตาบลทา่ ขา้ ม ตาบลสองคลอง อาเภอบางปะกง

จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา และทอ้ งทีต่ าบลคลองตาหรุ

อาเภอเมอื ง จงั หวดั ชลบรุ ี เพ่อื อนรุ กั ษ์

ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม

ปัญหาการจัดการน้าเสยี มปี รมิ าณน้าเสียเขา้

ระบบสูงกว่าความสามารถของระบบทจ่ี ะรบั

ได้ คุณภาพนา้ ทิ้งเกนิ ค่ามาตรฐาน การระบาย

นา้ เสยี ลงสูท่ ะเลโดยเฉพาะในชว่ งฝนตกหนัก

ที่ตอ้ งระบายนา้ จากทอ่ รวบรวมลงสู่ทะเล

โดยตรง ซึ่งบางสว่ นเปน็ น้าคา้ งท่อมลี ักษณะ

ขุ่นดา

ปญั หาขยะมลู ฝอยจากกทอ่ งเท่ียวจานวนมาก

และยงั ไมม่ ีระบบกาจัดขยะท่ีถกู ต้อง

การขนขยะสะสมของเกาะลา้ นขนึ้ ไปกาจดั ท่ี

ฝงั่ มท.ไมอ่ นุญาตให้ขนข้นึ ฝง่ั โดยให้

ดาเนินการจัดการบนเกาะ (ปจั จบุ นั อยู่

ระหวา่ งดาเนนิ การก่อสร้างเตาเผาขยะบน

เกาะล้าน)

ปัญหาคุณภาพน้าผิวดินเสื่อมโทรในคลอง

สาธารณะ ๑๔ สาย

ปญั หาคุณภาพน้าใต้ดนิ

คณุ ภาพนา้ ทะเลชายฝงั่ อยใู่ นระดบั เสอ่ื มโทรม

และพอใช้ มสี ารปนเป้ือนในตะกอนดิน

คณุ ภาพอากาศและสารอนิ ทรยี ร์ ะเหยง่าย

(VOCs) พบสารเบนซีนเกินคา่ มาตรฐานในทุก

สถานี ในขณะที่ สาร 1,2 ไดคลอโรอีเทน สาร

1,3 บวิ ทาไดอนี เกนิ คา่ มาตรฐานในบางสถานี

เร่ืองร้องเรียนดา้ น จานวน (ครงั้ ) ปญั หาท่ีพบมากทส่ี ดุ

โครงการจัดทาแผนสิ่งแวดลอ้ มในพืน้ ท่เี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๓๓๕

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย

สถานการณ์ การเปลยี่ นแปลง แนวโนม้

สง่ิ แวดลอ้ ม ฉะเชิงเทรา ๑๙ ของเสยี อันตราย
(ที่มา: สสภ.13)
เร่อื งรอ้ งเรยี นด้าน ชลบรุ ี ๓๑ น้าเสีย
สิ่งแวดล้อม
พืน้ ทส่ี ีเขียว ระยอง ๘ น้าเสยี

ประกาศเขตพ้นื ที่ ฉะเชิงเทรา ๓๔ มลพิษทางอากาศ (ทมี่ า: ทสจ. ระยอง; ทสจ.ฉะเชงิ เทรา; ศูนย์
เมืองเกา่
แหลง่ โบราณสถาน ชลบรุ ี ๑๖ มลพษิ ทางเสียง ดารงธรรมชลบุรี)

ย่านชมุ ชนเกา่ ระยอง ๔๒ มลพิษทางอากาศ
(ขึ้นทะเบียนแลว้ ๒๗
ย่านชุมชน) รอ้ ยละของพื้นที่สี พ้ืนที่ EEC ๑๐.๐๖

หมายเหต:ุ เขียวในเขตเมือง ฉะเชงิ เทรา ๓.๗๘

ชลบุรี ๑๑.๘๓

ระยอง ๙.๗๐

ร้อยละของพ้นื ทส่ี ี พนื้ ท่ี EEC ๒๒.๗๗

เขยี วนอกเขตเมือง ฉะเชิงเทรา ๑๗.๑๗

ชลบรุ ี ๒๕.๙๓

ระยอง ๒๒.๐๗

ฉะเชงิ เทรา ๓.๙๖ ตร.กม.

ระยอง ๐.๑๑ ตร.กม.

พ้นื ท่ี EEC ขึ้นทะเบยี นแลว้ ๓๖ แหลง่

รอขน้ึ ทะเบียน ๑๓๙ แหลง่

ฉะเชงิ เทรา ขน้ึ ทะเบยี นแลว้ ๑๔ แหล่ง

รอขน้ึ ทะเบยี น ๔๙ แหลง่

ชลบุรี ขึ้นทะเบียนแลว้ ๑๒ แหล่ง

รอข้ึนทะเบียน ๘๓ แหล่ง

ระยอง ข้นึ ทะเบยี นแลว้ ๑๐ แหลง่

รอขน้ึ ทะเบียน ๗ แหลง่

ฉะเชิงเทรา ๑๑ ยา่ นชมุ ชน

ชลบรุ ี ๑๑ ยา่ นชมุ ชน

ระยอง ๕ ย่านชุมชน

เพ่มิ ขน้ึ การเพิ่มข้ึนในทางทีแ่ ยล่ ง เสือ่ มโทรมลง

การลดลงในทางที่ดีขน้ึ ลดลง

มีปริมาณเพิ่มมากขนึ้ มคี ณุ ภาพทดี่ ีขน้ึ

คงท่ี

๔.๗ ผลการวิเคราะหแ์ รงกดดนั เชอื่ มโยงกบั เขตจัดการภมู นิ ิเวศ
ภายใต้แรงกดดนั ทงั้ สถานการณ์โลกและสถานการณ์ในพื้นทไี่ ดม้ ีการวิเคราะห์ในบทที่ ๓ และ บทที่ ๔ ซ่ึง

สถานการณ์ดังกล่าวอาจมีผลต่อภูมินิเวศที่อาจมีความแตกต่างกัน ซึ่งจะนาไปสู่การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
และสิง่ แวดล้อมทมี่ คี วามสอดคล้องกบั ภมู นิ ิเวศได้ โดยมีผลการวิเคราะหต์ ามตารางที่ ๔ - ๑๑๗

โครงการจัดทาแผนสง่ิ แวดลอ้ มในพื้นทเ่ี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๔ - ๓๓๖

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม

ตารางที่ ๔ - ๑๑๗ การวิเคราะหแ์ รงกดดัน (Pressure) แยกตามเขตจดั การตามภ

แรงกดดนั เขตป่าไม้ เขตพื้นที่ชมุ่ นา้ เขตป่าชายเลน เขตจ
(P) สงู สูง สงู เขต

ระดบั ของ สถานการณ์พนื้ ทป่ี า่ ไม้ แหล่งนา้ ในพนื้ ท่ีฉะเชิงเทรา สถานการณพ์ ื้นทีป่ า่ ชาย คณุ ภาพน
แรงกดดนั * ลดลง จากการ ชลบรุ ี และระยอง ไดแ้ ก่ เลนลดลง และพื้นที่ โทรมชื่อ
คลองนครเนื่องเขต คลอง รอยตอ่ ของฉะเชงิ เทรา คุณภาพน
เปลย่ี นแปลงการใช้ ทา่ ไข่ คลองตาหรุ คลอง และชลบุรีทรี่ อประกาศ ขยะเกาะ
ประโยชนท์ ดี่ นิ และ พานทอง แม่นา้ ประแสร์ เป็นพน้ื ทคี่ มุ้ ครอง เพิ่มขึน้ แ
จากการขุดบอ่ ทราย แมน่ ้าระยอง รวมถงึ อา่ ง ได้รับผล
บ่อหนิ ในพ้ืนทที่ ไี่ ม่ใช่ เกบ็ น้า และบึงธรรมชาติ สง่ิ แวดลอ้ มถูกคุกคามจาก สร้างเขอ่ื
เขตสัมปทานเหมอื งแร่ เช่น บงึ จารุง เปน็ แหลง่ การพัฒนาโครงสรา้ ง สะพานเท
ในพน้ื ทีฉ่ ะเชงิ เทรา ทรัพยากรสัตวน์ า้ และหลอ่ ชายฝง่ั และการบกุ รกุ อาศัยแล
ชลบรุ ี และระยอง อยา่ งตอ่ เน่อื งเพอ่ื ใช้ มสี ภาพส
สง่ ผลตอ่ ประสิทธิภาพ เลีย้ งท้งั พ้ืนทีเ่ กษตร ประโยชนท์ ด่ี นิ เพื่อการ กลาง-เล
ในการกักเก็บก๊าซ อตุ สาหกรรม แต่ ทอ่ งเท่ยี ว และยังไมม่ ี ปะการังม
คาร์บอนไดออกไซต์ สถานการณค์ ุณภาพนา้ ใน แนวทางฟนื้ ฟูทช่ี ัดเจน เสยี หาย-
ปจั จบุ นั มคี ุณภาพที่เสอ่ื ม นอกจากนี้พ้ืนท่ปี า่ ชาย การบุกร
ต่าลง โทรมลงประกอบกับการบกุ เลนมีการเชือ่ มโยงกับ เพอ่ื ใชป้
รกุ อย่างตอ่ เนอื่ งเพือ่ ใช้
ประโยชนท์ ี่ดนิ เพือ่ การ มลพิษทางน้า (คลองสาขา เพอ่ื
ทเี่ ชือ่ มโยงกนั ) ท่องเทย่ี
ท่องเทีย่ ว นยิ มรว

ตา่ ง ๆ
ประกอ
จดั กา

โครงการจดั ทาแผนสิง่ แวดลอ้ มในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕

รายงานฉบับสุดท้าย

ภมู ินเิ วศ

จดั การตามภมู ินิเวศ

ตทะเล เกาะ เขตเกษตรกรรม เขตเมอื งและชุมชน เขตอุตสาหกรรม
สูง
สูง สูง สงู
จานวนประชากรเพมิ่ ข้ึน และ จานวนประชากรเพิ่มข้ึน และ
น้าทะเลเสอ่ื ม พ้ืนทเี่ กษตรลดลงจาก ปรมิ าณความต้องการบริโภค ปริมาณความต้องการบริโภค
เพิ่มขน้ึ ในขณะทพี่ นื้ ท่ีไม่ เพม่ิ ขึน้ ในขณะทพ่ี ื้นท่ีไม่สามารถ
อมโยงกับ ความตอ้ งการใช้พนื้ ท่ี สามารถผลิตอาหารเพือ่ เล้ียง ผลติ อาหารเพื่อเลี้ยงตนเองได้ และ
ตนเองได้ และรูปแบบการ รูปแบบการบริโภคเปลยี่ นเป็นแบบ
น้าผวิ ดิน พบ เพ่ือปลูกสรา้ งอาคาร บรโิ ภคเปลี่ยนเปน็ แบบเมอื ง เมอื งส่งผลต่อการเจ็บปว่ ยดว้ ยโรค
ส่งผลต่อการเจ็บปว่ ยด้วยโรค ไมต่ ิดต่อ ประกอบกบั มีการปล่อย
ะและขยะทะเล จากการพัฒนา ไม่ติดต่อ ประกอบกับมกี าร ก๊าซเรอื นกระจกจากกิจกรรม
ปล่อยกา๊ ซเรอื นกระจกจาก ภาคอุตสาหกรรมและกิจกรรมอืน่
แหลง่ หญ้าทะเล รวมถงึ การเพ่ิมขน้ึ ของ กิจกรรมต่าง ๆ ของเมืองสงู
กวา่ คา่ การรปล่อย GHGs สงู กว่าค่าการรปลอ่ ย GHGs
ลกระทบจากการ นกั ท่องเท่ียวและ ตอ่ คนในระดบั โลก การ
พัฒนาโครงการต่าง ๆ ใน ตอ่ คนในระดบั โลก การพฒั นา
อนกนั คลนื่ แรงงานสง่ ผลต่อความ พน้ื ทม่ี ีอทิ ธิพลตอ่ การ โครงการต่างๆ ในพนื้ ท่ีมีอทิ ธิพล
เปลยี่ นแปลงการใช้ประโยชน์ ตอ่ การเปลย่ี นแปลงการใช้
ทียบเรอื ทพ่ี กั เปราะบางของพื้นท่ี ท่ดี ินโดยรอบ ประโยชนท์ ่ีดนิ แรงงาน
ค่า PM10 มแี นวโนม้ สงู ขน้ึ
ละการประมงทา ประกอบกบั ปรมิ าณน้า ค่า CO2 ในบรรยากาศเกิน ภาคอุตสาหกรรมในพ้นื ที่ EEC
เกณฑม์ าตรฐานจะสามารถ
สมบูรณป์ าน ทใี่ ชใ้ นภาคเกษตรยงั มี รองรับ คณุ ภาพน้าผิวดนิ มจี านวนเพ่ิมขน้ึ ประชากรแฝงใน
และนา้ ทะเลชายฝง่ั ทีเ่ กดิ
ลก็ นอ้ ย แหล่ง ไมเ่ พยี งพอกับความ จากชมุ ชนในภาพรวม พื้นที่ EEC ซ่ึงหมายถึงความ
ปจั จบุ นั อย่ใู นระดบั ที่เสอ่ื ม
มสี ภาพ ตอ้ งการใช้นา้ โทรมมีค่าเหลก็ เกินเกณฑ์ ตอ้ งการใชท้ รพั ยากรในพน้ื ทีเ่ พม่ิ
สูงข้ึน ปริมาณนา้ ตน้ ทุนไม่
-เสียหายมาก เพยี งพอกับความต้องการใชน้ ้า
มปี ญหากากของเสียอนั ตราย
รกุ อยา่ งต่อเนื่อง ขยะมลู ฝอยยังมีสัดส่วนการนา
กลบั มาใช้ประโยชนต์ ่าและมี
ประโยชนท์ ี่ดนิ

อรองรบั การ

ยวท่ไี ด้รบั ความ

วมถงึ กิจกรรม

ๆ ของชมุ ชน

อบกับยังมีการ

ารทยี่ ังไมด่ พี อ

๕-๒๕๖๙ ๔ - ๓๓๗

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม

แรงกดดัน เขตป่าไม้ เขตพน้ื ทช่ี มุ่ นา้ เขตปา่ ชายเลน เขตจ
(P) เขต

๑. ความ ในภาพรวม EEC ระยองมี พ้ืนท่ีปากแมน่ ้าบางปะกง เกาะที่สา
มั่นคงทาง แมน่ า้ ระยอง แม่ประแสร์ จ.ฉะเชิงเทรากบั ชลบุรี เสมด็ จ.ร
อาหาร เป็นแม่นา้ สายหลัก รวมถึง เป็นเขตรอยต่อทจ่ี ะ ลา้ น จ.ช
อา่ งเก็บน้า และบึง กาหนดเป็นพืน้ ท่ีคมุ้ ครอง และกจิ ก
ธรรมชาติ เช่น บึงจารุง ซึ่ง สง่ิ แวดลอ้ ม อยู่ระหวา่ งรอ สูง) เกาะ
ทช.เป็นหนว่ ยดาเนนิ การ ประกาศ ซงึ่ เป็นพืน้ ท่ที ่ีถกู กดดนั สงู
ร่วมกับ อปท.ในพ้ืนท่ี คกุ คาม และเช่อื มโยงกับ ลงพื้นท่ยี
และทส.เคยประชาสัมพนั ธ์ เรอื่ งมลพษิ ทล่ี งมาตามลา แก้ไขได้
และให้ความสาคัญกบั การ นา้ (คลองสาขาทีเ่ ชอื่ มโยง ท่ผี ่านมา
ดาเนนิ การ ในขณะท่ีชลบรุ ี กนั ) กบั แหล่งกาเนิด เยอะมาก

โครงการจัดทาแผนสงิ่ แวดล้อมในพืน้ ที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕

รายงานฉบบั สุดท้าย

จดั การตามภมู นิ เิ วศ

ตทะเล เกาะ เขตเกษตรกรรม เขตเมอื งและชมุ ชน เขตอตุ สาหกรรม

มาตรฐานในบรเิ วณโดยรอบ แนวโน้มเพม่ิ ข้ึนเชน่ เดียวกับขยะ

เขตชมุ ชนเมือง และยังพบ ตดิ เชอื้

ค่าปรอท ตะกวั่ ในบาง นคิ มอุตสาหกรรมมาบตาพุดมี

บริเวณเกนิ เกณฑม์ าตรฐาน คุณภาพนา้ ผวิ ดนิ เส่ือมโทรม-เสอื่ ม

ขยะมูลฝอยยังมีสดั ส่วนการ โทรมมาก คณุ ภาพนา้ ใตด้ ิน พบคา่

นากลบั มาใชป้ ระโยชน์ต่า แมงกานสี 1,2-ไดคลอโรอีเทน และ

และมแี นวโน้มเพม่ิ ขึน้ คารบ์ อนเตตระคลอไรด์ และเหลก็

เชน่ เดียวกบั ขยะติดเช้อื เกนิ คา่ มาตรฐาน

- คณุ ภาพนา้ ทะเลชายฝั่งอยใู่ นระดบั

เส่ือมโทรมและพอใช้ มีสารปนเปอ้ื น

ในตะกอนดนิ

- คณุ ภาพอากาศและสารอินทรีย์

ระเหยงา่ ย พบสารเบนซนี เกนิ คา่

มาตรฐาน ทกุ สถานี ในขณะที่สาร

1,2 ไดคลอโรอีเทน สาร 1,3 บวิ ทาได

อีน เกินคา่ มาตรฐานในบางสถานี

าคญั เช่น เกาะ การเปล่ียนแปลงการ ความตอ้ งการบริโภคเพมิ่ ขึน้ เนอ่ื งจากจานวนประชากรทเ่ี พม่ิ ข้ึน
ระยอง เกาะ ใช้ทีด่ ินเพอ่ื การพฒั นา
ชลบุรี (มีชมุ ชน สง่ ผลให้พ้ืนทีท่ างการ จาก ๔,๑๕๕,๘๓๒คน ในปี ๒๕๖๒ เปน็ ๕,๘๕๙,๕๐๙ คน ในปี
กรรมทอ่ งเทย่ี ว เกษตรถูกเปล่ยี นเปน็
ะเสม็ดแรง พืน้ ทสี่ ่ิงปลูกสรา้ ง และ ๒๕๗๐ โดยรอ้ ยละ ๕๓ ของประชากรดงั กลา่ วอาศยั อยูใ่ นเขต
ง ระดับนโยบาย ท้ิงร้างว่างเปลา่ อยา่ ง
ยังไม่เกดิ การ ต่อเน่ือง สง่ ผลต่อการ เมือง (ปี ๒๕๖๒) ซ่ึงเปน็ พืน้ ทท่ี ่ไี มส่ ามารถผลิตอาหารเลีย้ งตนเอง
จากการพัฒนา ลดลงของผลผลติ ทาง
ามีนกั ท่องเทีย่ ว อาหารในพน้ื ทเ่ี กษตรที่ โดยตอ้ งอาศยั พึงพาแหลง่ อาหารจากพนื้ ท่เี กษตรกรรมเป็นหลกั
ก การจดั การ สาคัญ คอื จังหวดั
(ความสามารถในการรองรับด้านอาหาร : การมอี ยูข่ องขา้ วใน

พน้ื ท่ี EEC + ๕๒๗%, ฉะเชิงเทรา +๑๒๘๓% ชลบุรี ๖๒%

ระยอง –๓๔% )

จากสภาพทางกายภาพและการใชท้ ด่ี นิ ในอดตี จนถงึ ปจั จบุ นั

จ.ระยอง พื้นทีฝ่ งั่ ตะวนั ออกเป็นแหล่งอาหารด้านผลไม้ และ

๕-๒๕๖๙ ๔ - ๓๓๘

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม

แรงกดดัน เขตป่าไม้ เขตพืน้ ที่ชมุ่ นา้ เขตป่าชายเลน เขตจ
(P) คลองสายสนั้ ๆ ทีเ่ กิดจาก มลพิษเชงิ ลมุ่ น้าจากดา้ น เขต
ลมุ่ นา้ ในพน้ื ที่ สว่ น เหนือทีเ่ ป็นแหลง่ ส่งิ แวดล
๒. สขุ ภาพ ฉะเชิงเทรามีแหล่ลงนา้ อุตสาหกรรมและชมุ ชน ท่ีควรจะ
สาคัญคอื แมน่ ้าบางปะกง สาหรบั ชลบุรีป่าชายเลน ศกั ยภาพ
เป็นแหลง่ ทรพั ยากรสัตว์นา้ ถูกเปล่ยี นแปลงด้วยการ เร่ืองขยะ
และหล่อเลยี้ งทัง้ พืน้ ท่ี พัฒนาโครงสรา้ งชายฝั่ง แนวทาง
เกษตร อุตสาหกรรม แต่ และการบกุ รกุ มาอยา่ ง เกาะ สา
สถานการณ์คุณภาพนา้ ใน ต่อเนือ่ ง และยงั ไมม่ ี เกาะเสม
ปจั จุบนั ท่มี ีคณุ ภาพที่เส่ือม แนวทางฟนื้ ฟูท่ีชัดเจน กับชายห
โทรมลง ส่วน จ.ระยอง จะมี ปจั จุบนั ย
บรเิ วณ อ.แกลง ทะเลในร

พ้นื ที่ปา่ ชายเลนและพื้นที่
รอยตอ่ ของฉะเชงิ เทรา
และชลบุรีที่รอประกาศ
เปน็ พ้ืนท่คี มุ้ ครอง
สิ่งแวดลอ้ มถูกคกุ คามจาก
การพฒั นาโครงสรา้ ง
ชายฝั่ง และการบุกรกุ มา
อย่างต่อเนื่อง และยังไมม่ ี
แนวทางฟื้นฟูที่ชดั เจน
นอกจากนีพ้ นื้ ท่ปี า่ ชาย
เลนมีการเชอ่ื มโยงกบั
มลพษิ ทางนา้ (คลองสาขา
ทเ่ี ชอ่ื มโยงกนั )

โครงการจัดทาแผนส่ิงแวดลอ้ มในพืน้ ท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕

รายงานฉบับสดุ ทา้ ย

จดั การตามภูมนิ เิ วศ

ตทะเล เกาะ เขตเกษตรกรรม เขตเมอื งและชมุ ชน เขตอุตสาหกรรม

ลอ้ มยังไมด่ อี ยา่ ง ฉะเชิงเทรา และ ประมงชายฝ่ัง: ควรอนรุ กั ษ์พืน้ ทท่ี ีเ่ ป็นแหล่งป่าไมแ้ ละสวนผลไม้

ะเปน็ มีผลตอ่ จงั หวดั ระยอง และชายฝ่ังธรรมชาตจิ ส่วน จ.ชลบรุ ี เปน็ แหล่งอาหารดา้ นสัตว์

พการรองรับ นา้ : การฟน้ื ฟพู ืน้ ทป่ี ่าชายเลน จดั การมลพิษบนบก/ชายฝั่ง เพ่อื

ะ ซงึ่ คพ. ไดห้ า รกั ษาคุณภาพนา้ ชายฝั่งทะเลท่ีส่งเสรมิ แหล่งอาศยั สัตวน์ า้ และ จ.

งการจัดการขยะ ฉะเชงิ เทรา เปน็ แหล่งอาหารด้านขา้ วทสี่ าคัญของภูมภิ าคต้องการ

าหรบั น้าเสยี แนวทางการพฒั นาภาคเกษตรทเ่ี หมาะสม

มด็ มผี ลกระทบ

หาดทอ่ งเทีย่ ว

ยงั มีคณุ ภาพน้า

ระดับดี

พฤตกิ รรมการบริโภคเปลย่ี นไปเป็นแบบเมอื ง ได้แก่ การกิน การ
สูบบหุ ร่ี มลพษิ ทางอากาศ การด่มื แอลกอฮอล์ และพฤติกรรม
เนอื ยนง่ิ สง่ ผลต่อโรคไม่ติดต่อเร้อื รงั (WHO, 2014) โดยพ้นื ท่ี
EEC พฤติกรรมการบรโิ ภคแบบเมอื งเพิ่มข้ึนจาก รอ้ ยละ ๑๑.๑๒
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ เปน็ ๑๔.๘๙ ในปงี บประมาณ
๒๕๖๓ และหากอตั ราการเพมิ่ ยงั คงไม่เปลยี่ นแปลงคาดการณว์ า่
จะเพิม่ เปน็ รอ้ ยละ ๑๘.๖๖ ในปี ๒๕๗๐
(ความสามารถในการรองรบั ดา้ นภาวะโรคไม่ตดิ ต่อ (NCDs) :
ภาวการณต์ ายดว้ ย NCDs ประชากรโลก คอื ๗๑% : EEC
๕๑.๘๑, ฉะเชิงเทรา ๗๐.๘๙%, ชลบรุ ี ๔๑.๙๗%, ระยอง
๕๐.๖๖%)
ในขณะทสี่ ถานการณ์ดา้ นมลภาวะทางอากาศ กเ็ ป็นสว่ นหนงึ่ ของ
ผลกระทบต่อสุขภาพ ซ่งึ ปัจจบุ ันระดบั ภาวะมลพิษในภาพรวมยัง
อยู่ในระดบั มาตรฐาน แตม่ ีเกินคา่ มาตรฐานบา้ งในบางพ้นื ทแี่ ละ
บางเวลา โดยเฉพาะในพืน้ ท่ีท่มี โี รงงานหนาแน่น ในชณะท่พี น้ื ทีส่ ี

๕-๒๕๖๙ ๔ - ๓๓๙

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม

แรงกดดัน เขตปา่ ไม้ เขตพื้นทช่ี มุ่ นา้ เขตป่าชายเลน เขตจ
(P) เขต

๓. การ ต้นไม้ทั่วไป ๑ ต้น จากการศึกษาของ อบก. (๒๕๕๙) พบวา่ พื้นทปี่ า่ ชายเลน
เปลยี่ นแปลง สามารถดูดซบั CO2 ได้ สามารถดูดซบั กา๊ ซคาร์บอนได้ ๒.๗๕ TCO2/ไร่/ปี
สภาพ ๒๑ กโิ ลกรัมต่อปี แต่ ซ่ึงมากกว่าปา่ บกที่สามารถดูดซบั ได้ ๐.๙๕-๒.๐ TCO2/
ภมู อิ ากาศ หากต้นไม้มีอายุ ๑๐๐ ไร่/ปี
ปี จะสามารถดูดซับ สถานการณพ์ ืน้ ทีป่ า่ ชายเลนใน EEC ลดลง จาก
CO2 ได้ ๑ ตนั ต่อปีต่อ ๒๘,๕๕๘ ไร่ ในปีพ.ศ. ๒๕๕๖ เป็น ๒๗,๒๙๓ ไร่ ในปี
ต้น พ้นื ท่ปี า่ ไมใ้ นเขต พ.ศ. ๒๕๖๓ มสี าเหตจุ ากการบุกรกุ พน้ื ทีป่ า่ ชายเพอื่ ทา
EEC จากร้อยละ ประมงหรอื ท่องเทย่ี ว ซึง่ สง่ ผลใหป้ ระสิทธิภาพในการดูด
๑๒.๕๐ ในปพี .ศ. ซบั ก๊าซ CO2 ของพ้นื ที่ปา่ ชายเลนใน EEC ลดลง
๒๕๕๖ เปน็ รอ้ ยละ
๑๒.๓๙ ในปีพ.ศ.
๒๕๖๓ นั่นหมายถึง
ประสทิ ธิภาพการกกั
เก็บคารบ์ อนในพน้ื ที่
EEC ต่าลง

๔.นโยบาย/ โครงการพัฒนาในเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออกไดก้ ลายเป็นการลงทุนขนาดใหญ่ เพ่ือยกระดับพืน้ ท
โครงการ ภูมินิเวศ ทีม่ ผี ลต่อทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม เศรษฐกิจ และสังคมของพ้ืนท่ี โดยเฉพาะการ
พัฒนา ๒๕๖๓ ในขณะทพี่ ้ืนที่อย่อู าศยั พืน้ ท่พี าณชิ ยกรรม และพน้ื ทอ่ี ุตสาหกรรม เพม่ิ ขึ้น รอ้ ยละ ๒๗.๔๑
เศรษฐกจิ และการบริหารจัดการสง่ิ แวดล้อมด้วย
(ความสามารถในการรองรบั ด้านการใช้ที่ดิน: ความเพยี งพอของพื้นทีผ่ ลิตอาหารต่อคนจึงเป็นประเด็น

โครงการจดั ทาแผนสิง่ แวดลอ้ มในพืน้ ท่ีเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕

รายงานฉบับสดุ ทา้ ย

จดั การตามภมู นิ ิเวศ

ตทะเล เกาะ เขตเกษตรกรรม เขตเมอื งและชมุ ชน เขตอตุ สาหกรรม

เขียวซึ่งเป็นแนวทางการลดและบรรเทามลภาวะในพ้นื ท่ีเมอื งท่มี ี

ความหนาแน่นสูงมีสัดส่วนพน้ื ท่ที ่ีนอ้ ยกว่าค่าทค่ี วรจะเป็นสาหรับ

การสร้างสภาพอากาศทดี่ ีในเมือง

ปริมาณการปลอ่ ยก๊าซ ค่าการปลอ่ ย GHGs ของพน้ื ท่ี EEC ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ เทา่ กับ

เรือนกระจกจากภาค ๓๔.๒๕ ลา้ นตนั คารบ์ อนไดออกไซด์เทยี บเทา่ คิดเป็นคา่ Carbon

การใช้พ้ืนท่ีการเกษตร Footprint (CF) = ๓.๔๗ gha/คนโดยประเมนิ การปลอ่ ยกา๊ ซ

และปา่ ไม้ ในปพี .ศ. เรือนกระจกจาก ๘ กจิ กรรมหลัก ประกอบด้วย การใชไ้ ฟฟ้า

๒๕๖๓ มีปรมิ าณกา๊ ซ การใชพ้ ลงั งานรูปแบบอน่ื (รวมภาคขนสง่ ) การใชน้ ้าประปา การ

เรอื นกระจกคดิ เป็น – บริโภคอาหาร การรวบรวมนา้ เสีย การบาบัดนา้ เสีย การจัดการ

๐.๐๔๑๗๕ TgCO2eq ขยะมูลฝอย และการใช้พนื้ ท่ีและปา่ ไม้

หรือลา้ นตนั (ความสามารถในการรองรบั ดา้ นการเปล่ยี นแปลงสภาพ

คาร์บอนไดออกไซด์ ภูมิอากาศ: CF ในพน้ื ท่ี สูงกว่าคา่ การปล่อย GHGs ต่อคนใน

เทียบเท่า ระดับโลกโดยเฉลยี่ จากการรองรบั กิจกรรมของมนุษย์ (earth

share) ทม่ี คี า่ ๑.๙gha/คน เกือบ ๒ เทา่ )

แนวทางการพฒั นาเมอื งคาร์บอนตา่ เปน็ สง่ิ จาเปน็ ต่อการ

พัฒนาในพืน้ ที่ต่อไป ในขณะทปี่ ระเทศไทยมีเป้าหมายการลดการ

ปลอ่ ยกา๊ ซเรือนกระจกลงร้อยละ ๒๐-๒๕ ภายในปี พ.ศ. ๒๕๗๓

เท่ากบั เป้าหมายในการลดการปลอ่ ยก๊าซเรือนกระจกในพืน้ ที่

EEC อยู่ที่ ๖.๙ – ๘.๖ ล้านตนั คารบ์ อนไดออกไซด์เทียบเท่า

(รายละเอียดปรากฏในหัวขอ้ การขบั เคล่อื นและติดตาม

ประเมินผล ของแผนส่งิ แวดลอ้ มในพื้นที่ EEC)

ทภี่ าคตะวันออกให้เป็นเขตเศรษฐกจิ ท่ีดีท่ีสดุ และทนั สมยั ท่ีสดุ ในภมู ิภาคอาเซยี นนับเปน็ แรงกดดันต่อทุกเขตจัดการ

รเปลย่ี นแปลงการใช้ทดี่ ินในพืน้ ท่ี EEC พบว่า พ้นื ทเ่ี กษตรกรรมลดลงรอ้ ยละ ๔.๙ ในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๕๖ - พ.ศ.

๓๕.๖๔ และ ๒๘.๙๘ ตามลาดบั อยา่ งไรกต็ ามการพัฒนาจาเป็นต้องเนน้ การพัฒนาอุตสาหกรรมควบคู่ไปกับ

นสา้ คัญตอ่ คุณภาพชวี ิตของประชาชน โดยใชค้ า่ คาร์บอนฟุตพร้นิ ท์ (CF) ของพ้ืนท่ี ซ่ึงเปน็ คา่ บ่งชท้ี างพื้นทสี่ ้าหรับ

๕-๒๕๖๙ ๔ - ๓๔๐

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม

แรงกดดนั เขตจ
(P)
เขตป่าไม้ เขตพืน้ ท่ชี มุ่ น้า เขตปา่ ชายเลน เขต
๕. ประชากร
คนหนึ่งคนทีใ่ ช้เพื่อด้ารงชวี ิต เป็นเกณฑ์ท่ใี ช้ช้วี ดั ความสามารถในการรองรบั ในการของพนื้ ท่ีเพาะปลกู

รย. –๓๘)

นักทอ่ งเทยี่ วเพม่ิ ขนึ้ จาก ๑๖,๔๓๖,๑๔๓คน ในปี พ.ศ. ๒๕๕๓ เปน็ เกอื

๒๙,๙๔๗,๐๓๐ คน ในปี พ.ศ.๒๕๖๒ รวมทงั้ จานวนแรงงานในภาคกา

เพ่มิ ขึ้นสง่ ผลต่อการบกุ รุกพนื้ ทป่ี ่าไม้ เขตพื้นท่ชี ุม่ น้า เขตปา่ ชายเลน เข

เกาะ เพอ่ื ใช้ประโยชนท์ ่ดี นิ เพอื่ การท่องเท่ียวและความเสอ่ื มโทรมของ

พ้นื ทธ่ี รรมชาติหากขาดการบรหิ ารจดั การทด่ี ีพอ

๖. พื้นทีป่ ่าไม้ในเขต EEC แหลง่ น้ามีคุณภาพนา้ เสอ่ื ม พ้ืนทป่ี ่าชายเลนลดลง น้าทะเลช
สถานการณ์ ลดลงจากรอ้ ยละ โทรม คอื คลองนครเนอ่ื ง จาก ๒๘,๕๕๘ ไร่ ในปี โทรมร้อย
ทรพั ยากรธรร ๑๒.๕๐ ในปีพ.ศ. เขต คลองทา่ ไข่ จงั หวดั พ.ศ. ๒๕๕๖ เปน็ จานวนจ
มชาติและ ๒๕๕๖ เปน็ รอ้ ยละ ฉะเชงิ เทรา คลองตาหรุ ๒๗,๒๙๓ ไร่ ในปีพ.ศ. ทัง้ หมด
สิง่ แวดล้อม ๑๒.๓๙ ในปีพ.ศ. คลองพานทอง จงั หวัด ๒๕๖๓ กับคุณภ
๒๕๖๓ ชลบรุ ี แมน่ ้าประแสร์ พบขยะท
แมน่ ้าระยอง จังหวัดระยอง ชิ้น/ปี แล
เพม่ิ ขึน้

การขุดบ่อทราย บ่อ ทรพั ยากรชายฝง่ เสอ่ื มโทรม ได้แก่ แห
หนิ ในพืน้ ทท่ี ี่ไมใ่ ชเ่ ขต พบในจงั หวดั ชลบรุ ีและระยอง จานวน
สมั ปทานแร่สว่ นมาก และ ๑๑,๙๒๔.๔๓ ไร่ ตามลาดับ มสี ถ

โครงการจดั ทาแผนส่งิ แวดลอ้ มในพืน้ ท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕

รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย

จดั การตามภมู นิ เิ วศ

ตทะเล เกาะ เขตเกษตรกรรม เขตเมอื งและชมุ ชน เขตอุตสาหกรรม

กต่อหวั โดยความเพียงพอของพืน้ ที่เพอ่ื การด้ารงชีวติ ตอ่ ประชากรหนึง่ คน (%) ใน EEC –๔๒ , ฉท. +๒๑๓, ชบ. -๗๕,

อบสองเท่าคือ จานวนนกั ทอ่ งเท่ยี ว นักท่องเทย่ี วเพ่มิ ขึน้ จาก - แรงงานภาคอุตสาหกรรมใน
ารทอ่ งเทยี่ วที่
ขตทะเลและ และแรงงานทเ่ี พ่มิ ขน้ึ ๑๖,๔๓๖,๑๔๓คน ในปี พ้นื ท่ี EEC มจี านวนเพ่มิ ขน้ึ จาก
งทรพั ยากรใน
ส่งผลต่อความ พ.ศ. ๒๕๕๓เปน็ ๕๙,๘๙๘คน ในปี พ.ศ. ๒๕๖๐
ชายฝั่งเสอื่ ม
ยละ ๑๕ ของ เปราะบางของพืน้ ท่ใี น ๒๙,๙๔๗,๐๓๐คนในปี พ.ศ. เปน็ ๒๔๙,๖๐๘ คน ในปี พ.ศ.
จดุ วัดคณุ ภาพนา้
และเช่อื มโยง การเปลย่ี นแปลงและ ๒๕๖๒ ส่งผลตอ่ คณุ ภาพ ๒๕๗๐
ภาพนา้ ผิวดนิ
ทะเล ๒๖,๔๓๖ ความมีอยขู่ องอาหาร ของสิง่ แวดลอ้ มในเขตเมือง - ประชากรแฝงในพน้ื ท่ี EEC
ละมีปรมิ าณ
ในพืน้ ที่ ท่ีมีสภาพกายภาพเมอื งท่ี เพิ่มขึ้นจาก ๑,๑๔๒,๖๖๕ คน ใน

หนาแน่น ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ เป็น ๑,๓๓๔,๓๔๖

คน ในปี พ.ศ. ๒๕๗๐ ซ่ึงหมายถึง

ความต้องการใช้ทรัพยากรในพื้นท่ี

เพม่ิ สูงขน้ึ

- พ้นื ทีเ่ กษตรกรรม พนื้ ท่สี เี ขียวในเขตเมือง กากของเสยี อันตราย ๗๔๔,๖๙๖

ในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๕๖ - ของพ้นื ที่ EEC เทา่ กบั ตนั /ปี ในปพี .ศ.๒๕๖๓ ปรมิ าณ

พ.ศ. ๒๕๖๓ ลดลง ๑๖๗,๑๖๖ ไร่ คดิ เปน็ รอ้ ย ของเสยี อนั ตรายทข่ี นออกนอก

ร้อยละ ๔.๙ ละ ๑๐.๐๖ ของพ้นื ท่ี โรงงาน ๖๒๙,๘๒๕ ตนั /ปี

ทัง้ หมด

- ปจั จุบนั ปริมาณน้าต้นทนุ มี (๑,๒๑๕.๓๓ ลา้ น ลบ.ม.) ไม่เพยี งพอตอ่ ความตอ้ งการในพื้นท่ี

ทม่ี ากถึง (๒,๓๗๕ ล้าน ลบ.ม.)

หลง่ หญา้ ทะเล ปริมาณน้าเพื่อ คณุ ภาพอากาศอย่ใู นเกณฑ์ (ยกเว้นคา่ สารอินทรีย์ระเหยเกินคา่
น ๕,๗๐๕.๗๒ ไร่ การเกษตรไม่เพียงพอ มาตรฐานพบในเขตอตุ สาหกรรม) และ NO2 CO PM10 มีคา่ เพม่ิ
ถานภาพสมบูรณ์ เนอ่ื งจากภาคเกษตรมี สงู ขนึ้ ซ่ึงเป็นสารมลพิษทเ่ี กิดจากกจิ กรรมเมอื งและอุตสาหกรรม

๕-๒๕๖๙ ๔ - ๓๔๑

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม

แรงกดดัน เขตจ
(P)
เขตปา่ ไม้ เขตพน้ื ทชี่ มุ่ นา้ เขตปา่ ชายเลน เขต
จะอยใู่ นพน้ื ทจี่ งั หวัด
ชลบรุ ี ไดแ้ ก่ อาเภอ ปานกลาง – เล็กน้อย เน่อื งจากการสร
บา้ นบึง อาเภอพาน
ทอง อาเภอพนัสนิคม สะพานเทียบเรอื ทพี่ กั อาศัย รวมถงึ กา
และอาเภอบางละมงุ
จังหวัดระยองพบท่ี พ้นื บ้าน
อาเภอปลวกแดง
อาเภอนิคมพัฒนา แหล่งปะการงั ในจังหวัดชลบรุ ีมีพื้นที่
และอาเภอบา้ นคา่ ย
สว่ นจงั หวัดฉะเชงิ เทรา ส่วนใหญอ่ ยใู่ นสถานภาพเสียหาย-เสียห
พบในอาเภอสนามชัย
เขต และอาเภอพนม ๕๖ และจงั หวัดระยองมีแหลง่ ปะการงั
สารคาม ทง้ั นี้ในพื้นท่ีที่
มกี ารขุดบ่อทราย บอ่ สว่ นใหญ่อยูใ่ นสถานภาพเสยี หาย-เสียห
หนิ ส่วนใหญเ่ ป็นพืน้ ที่
ใกลก้ ับพืน้ ทเี่ หมืองเก่าf ๓๙.๗
ทปี่ ระทานบัตร
หมดอายุ ความยาวชายฝ่งในพ้ืนท่ี EEC เทา่ กบั

กิโลเมตร เปน็ พืน้ ท่ีท่ีชายฝ่งั ถกู กดั เซาะ

กิโลเมตร แต่ได้รบั การดาเนินการแกไ้ ข

๑๐๔.๘๗ กโิ ลเมตร พื้นทที่ ย่ี งั มกี ารกดั

กิโลเมตร

โครงการจัดทาแผนส่ิงแวดลอ้ มในพน้ื ที่เขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕

รายงานฉบับสุดท้าย

จดั การตามภมู นิ เิ วศ

ตทะเล เกาะ เขตเกษตรกรรม เขตเมืองและชมุ ชน เขตอุตสาหกรรม

ร้างเข่อื นกันคลนื่ ความตอ้ งการนา้ อย่างไรกต็ าม PM2.5 กเ็ ปน็ ประเดน็ สาคญั แม้ยงั อย่ใู นเกณฑ์
มาตรฐาน แตก่ ค็ วรมมี าตรการที่เหมาะสม ทง้ั ในภาคการขนสง่
ารทาประมง ๑,๕๙๔ ลา้ นลกู บาศก์

เมตร ในขณะทม่ี ี อุตสาหกรรม และการเผาในท่ีโลง่

๖,๔๗๒ ไร่ ปรมิ าณน้าต้นทนุ คุณภาพนา้ ผิวดินและน้าทะเลชายฝ่งทเ่ี กดิ จากชมุ ชน การทา

หายมากรอ้ ยละ (ภายในพ้ืนท)ี่ ประมง และอตุ สาหกรรม ซงี่ สถานการณค์ ณุ ภาพนา้ ผิวดนิ ใน

ง ๓,๑๕๑ ไร่ ๑,๒๑๕.๓๓ ลา้ นลบ.ม. ภาพรวมปัจจบุ ันอยูใ่ นระดับทีเ่ สื่อมโทรม ซึง่ ตอ้ งการแผนแม่บท

หายมากรอ้ ยละ การจดั การน้าเสียชมุ ชนที่เป็นการวเิ คราะหเ์ ชิงลมุ่ นา้ รวมกับการ

ปฎบิ ัตติ ามกฎหมาย การบรู ณาการรว่ มระหวา่ งหนว่ ยงานในการ

บ ๒๒๙.๓๓ ควบคมุ กากบั ในทกุ กจิ กรรม
ะ ๑๑๐.๐๙
ขเรยี บร้อยแลว้ คณุ ภาพน้าใตด้ ิน คุณภาพนา้ บ่อตื้น ในชุมชนโดยรอบนิคม
ดเซาะอยู่ ๕.๒๒
อุตสาหกรรมมาบตาพุด พบพารามิเตอรท์ ี่เกินมาตรฐานคณุ ภาพ

น้าใต้ดนิ ปริมาณสงู ในบ่อนา้ ตื้น พารามิเตอรโ์ ลหะหลกั ได้แก่

เหลก็ แมงกานีส สว่ นสารอนิ ทรยี ร์ ะเหยงา่ ยทีต่ รวจพบวา่ มีค่าเกิน

มาตรฐานคณุ ภาพนา้ ใตด้ นิ ได้แก่ 1,2 - ไดคลอโรอีเทน และ

คารบ์ อนเดตระคลอไรด์ และไตรคลอโรเอทีลนี สว่ นรายงานผล

การดาเนนิ งานของโครงการจัดการมลพษิ จากแหล่งกาเนิดทีส่ ่งผล

ต่อการปนเปื้อนในดิน นา้ ใต้ดิน และแหลง่ น้าในพน้ื ทช่ี ุมชน

จงั หวัดระยอง พบการปนเปือ้ นเกินค่ามาตรฐาน ๒ พ้นื ที่ คือ รอบ

โรงงานรีไซเคิลขยะอเิ ล็กทรอนิกสแ์ ละนา้ มนั ใชแ้ ลว้ (บ.วนิ โพ

รเสส) อ.บา้ นค่าย จ.ระยอง และรอบบรเิ วณชุมชนโขดหนิ ตาเนิน

พระ อาเมือง จังหวดั ระยอง

พลงั งาน ปริมาณการผลิต ๑๑,๘๗๘ MW/ปี ไมเ่ พยี งพอกบั ความ

ต้องการใชพ้ ลงั งาน ๒๘,๖๐๔ MW/ปี

ขยะมูลฝอย ปรมิ าณ ๑.๖๘ ล้านตัน ในปีพ.ศ. ๒๕๖๒ กาจัดถูกตอ้ ง

๔๖.๑๓ % นาไปใช้ประโยชน์ ๑๙.๐๒% สถานท่ีกาจัด ๗๐ แหง่

(เปิด ๓๔ แหง่ ปิด ๓๖ แห่ง) ปริมาณขยะมีเพ่มิ สูงขึน้ โดยเฉพาะ

๕-๒๕๖๙ ๔ - ๓๔๒

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม

แรงกดดัน เขตปา่ ไม้ เขตพืน้ ท่ชี มุ่ น้า เขตปา่ ชายเลน เขตจ
(P) เขต

เขตควบคมุ นกั ทอ่ งเท

มลพิษ ส่งผลให้ป

พทั ยา กับ สะสมใน

มาบตาพดุ จ. สูงข้นึ

ระยอง

ประกาศเขต การประกาศเขตฯ สามารถควบคุมกากบั การ การประ

พ้นื ท่คี มุ้ ครอง ดาเนินการตามมาตรการในประกาศฯ เพ่ือการพฒั นา สามารถค

สิ่งแวดลอ้ ม เศรษฐกิจทยี่ ัง่ ยืนได้ อยา่ งไรกต็ ามยงั พบปัญหาการถม การดาเน

ทราย ปัญหาดา้ นภูมิทศั นใ์ นพ้ืนท่ี มาตรกา

เพ่อื การพ

ท่ียง่ั ยืนไ

ยังพบปญั

ทราย ปญั

ทัศนใ์ นพ

หมายเหตุ * ระดับของแรงกดดนั พจิ ารณาจากการไดร้ บั แรงกดดนั ของพนื้ ท่ีเขตจดั การภมู ินเิ วศ โด

การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ รวมถึงโครงการพัฒนาที่เกดิ ข้ึน และแรงกดดนั ภายใน คือ การเ

สง่ิ แวดลอ้ มทีเ่ สื่อมโทรมลง โดยเขตจัดการภมู ินเิ วศท่ไี ดร้ ับแรงกดดันทัง้ ปัจจยั ภายในและปัจจัยภาย

โครงการจัดทาแผนสง่ิ แวดล้อมในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕

รายงานฉบบั สุดท้าย

จดั การตามภูมนิ เิ วศ

ตทะเล เกาะ เขตเกษตรกรรม เขตเมืองและชมุ ชน เขตอุตสาหกรรม

ขยะจากนกั ทอ่ งเทย่ี วและแรงงาน

-มลู ฝอยติดเช้ือ ๒,๐๕๖.๙๑ ตนั /ปี ในปี๒๕๖๒ และมปี รมิ าณ

เพ่มิ ขนึ้

-CO2 เกนิ ระดบั ๓๕๐ ppm จากข้อมูลภาพถา่ ยจากดาวเทียม
GOSAT พบปริมาณ CO2 ตา่ สุด คอื ๔๑๐ ppm และปรมิ าณ
สงู สุด ๔๓๐ ppm หากพิจารณารว่ มกับเกณฑม์ าตรฐานของ CO2
ในบรรยากาศ ทีร่ ะดบั ๓๕๐ ppm (Raworth, 2017) ปริมาณ

CO2 ใน EEC มคี า่ เกินเกณฑม์ าตรฐานทบี่ รรยากาศจะสามารถ
รองรบั

ที่ยวจานวนมาก การบังคบั ใช้กฎหมายและการ
ปรมิ าณขยะ
นพ้ืนที่เกาะล้าน ควบคมุ การปลอ่ ยมลพษิ สง่ ผลต่อ

การขยายตวั ของการลงทุน

ภาคอุตสาหกรรม

ะกาศเขตฯ การประกาศเขตฯ สามารถ

ควบคมุ กากบั ควบคมุ กากับการ

นนิ การตาม ดาเนินการตามมาตรการใน

รในประกาศฯ ประกาศฯ เพื่อการพฒั นา

พฒั นาเศรษฐกิจ เศรษฐกิจท่ียัง่ ยืนได้ อยา่ งไร

ได้ อยา่ งไรก็ตาม กต็ ามยังพบปญั หาการถม

ญหาการถม ทราย ปญั หาดา้ นภมู ทิ ศั น์

ญหาดา้ นภมู ิ ในพนื้ ที่

พืน้ ที่

ดยเขตจัดการตามภมู ินเิ วศทไ่ี ดร้ บั แรงกดดันท้ังปจั จัยภายนอก คือ ความมน่ั คงทางอาหาร สขุ ภาพ

เพิม่ ข้ึนของจานวนประชากร การขยายตัวเศรษฐกิจ สถานการณท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละ

ยนอกอย่างนอ้ งหนงึ่ ปจั จัยในแตล่ ะกลมุ่ จะมรี ะดับของแรงกดดนั สูง

๕-๒๕๖๙ ๔ - ๓๔๓

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ท้าย

บทท่ี ๕
การประเมินความสามารถการรองรับ (Carrying Capacity)

ของทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม

การประเมินศักยภาพในการรองรับ (Carrying capacity) เป็นแนวคิดเชิงนิเวศวิทยาที่อยู่บนฐานของ
วิเคราะห์สถานภาพของระบบท่ีการดารงชีวิตอยู่ของสิ่งมีชีวิตจากทรัพยากรท่ีมีอยู่ในระบบนิเวศท่ี สิ่งมีชีวิต
เห ล่ าน้ั น อ าศั ย อยู่ ได้ อย่ างม่ั น ค ง (steady state) ม าก น้ อ ยเพี ยงไร (Steinbrenner Institute for
Environmental Education and Research, Carnegie Mellon University, 2018) หากสถานภาพอยู่ใน
ระดับท่ีเกินศักยภาพในการรองรับ ส่ิงมีชีวิตต้องปรับเปลี่ยนการใช้ทรัพยากร หรือเสาะหาทรัพยากรทางเลือก
(The Environmental Literacy Council, 2015) รวมถึงแนวทางการดารงชีพท่ีลดระดับของการก่อมลภาวะ
และความเสื่อมโทรมของสภาพแวดลอ้ ม

การประเมินศักยภาพในการรองรับจึงเป็นเครื่องมือทางนิเวศท่ีถูกใช้ในการประเมินระดับความยั่งยืน
ของประชากรมนุษย์ในขนาดพื้นท่ีต่าง ๆ เช่น ระดับโลกหรือระดับภูมิภาค (Steinbrenner Institute for
Environmental Education and Research, Carnegie Mellon University, 2018) โดยคานึงถึงขีดจากัด
ของทรัพยากรและระดับมลภาวะรวมถึงความเส่ือมโทรมของสภาพแวดล้อม ท่ีไม่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
ในทางลบอย่างรุนแรง (The Environmental Literacy Council, 2015) ดังน้ันมิติสาคัญในการวิเคราะห์การ
ประเมนิ ศักยภาพในการรองรับจึงประกอบดว้ ยมติ ิการใชท้ รพั ยากร และมิตดิ า้ นมลภาวะ

ในการศึกษานี้ได้ให้ความสาคัญกับภูมินิเวศ ซ่ึงในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกมีภูมิประเทศ
ภูมิวฒั นธรรม ที่หลาหกลาย การจัดการสิ่งแวดล้อมบนความหลากหลายของภูมินเิ วศจะสามารถตอบสนองต่อ
พื้นที่และวิถีชีวิตได้อย่างย่ังยืน ในส่วนนี้จึงเป็นการวิเคราะห์ความสามารถในการรองรับของพ้ืนที่ (Carrying
Capacity: C) ท่ีสอดคล้องกับภูมินิเวศ ประกอบด้วย ๓ ข้ันตอน คือ (๑) หลักเกณฑ์การคัดเลือกประเด็นที่ใช้
ในการประเมินศักยภาพการรองรับด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมของพื้นที่ (๒) การประเมิน
ศักยภาพการรองรับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่สอดคล้องกับภูมินิเวศ และ (๓) การวิเคราะห์แรง
กดดนั และศกั ยภาพการรองรบั ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มที่สอดคล้องกับภูมนิ เิ วศ
๕.๑ หลักเกณฑ์การคัดเลือกประเดนท่ีใช้ในการประเมินศักยภาพการรองรับด้านทรัพยากรธรรมชาติและ

ส่ิงแวดล้อมของพื้นที่
หลกั เกณฑ์การคัดเลือกประเด็นท่ีใช้ในการประเมินความสามารถในการรองรับของทรัพยากรธรรมชาติ
และส่ิงแวดล้อม มาจากการรวบรวมแนวคิดผลกระทบท่ีได้จากการพัฒนาพ้ืนที่เพื่อให้เป็นไปอย่างย่ังยืน ทั้ง
แนวคิดจากเป้าหมายการพัฒนาท่ียั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) PCG แผนยุทธศาสตร์
ชาติ ๒๐ ปี Doughnut economics การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง โดยเปรียบเทียบประเด็นแนวคิดที่ความสาคัญ และคัดเลือกประเดน็ รว่ มท่ีเชื่อมโยงมติ ิด้านทรัพยากร
และส่ิงแวดล้อม ซึ่งพบวา่ มปี ัจจัยที่เป็นประเด็นร่วมท่ีเชื่อมโยงมติ ิดา้ นทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ประกอบด้วย

โครงการจัดทาแผนสง่ิ แวดล้อมในพน้ื ทเ่ี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๖๙ ๕ - ๑

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสุดท้าย

ประเด็นด้านทรัพยากรและสุขภาพ ๓ ปัจจัย คือ น้า อาหาร และสุขภาพ (ความเจ็บป่วย) ในขณะท่ีด้าน
ส่ิงแวดล้อม ประกอบด้วย ๕ ปัจจัย คือ การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ มลภาวะอากาศ คุณภาพน้าทะเล
ความหลากหลายทางชีวภาพ และการเปลย่ี นแปลงการใช้ที่ดิน (ตารางท่ี ๕ - ๒) โดยในแต่ละปจั จยั มดี ัชนีช้วี ัด
และวิธีการวิเคราะห์ท่ีแตกต่างกัน ดังรายละเอียดแสดงใน ตารางที่ ๕ - ๓ ซ่ึงการกาหนดดัชนีช้ีวัด
ความสามารถในการรองรับของแต่ละปัจจัยที่กาหนดสาหรับการประเมินความสามารถในการรองรับ
(Carrying Capacity) ทบทวนจากดัชนีที่ใช้ในงานวิจัยอื่น ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง ประกอบการพิจารณาการมีอยู่ของ
ข้อมูลในพ้ืนท่ีโครงการฯ ท่ีสามารถนามาใช้ในการคานวณระดับความสามารถในการรองรับของปัจจัยท่ีใช้ใน
การประเมนิ ความสามารถในการรองรับแต่ละตวั ได้ภายในกรอบเวลาของการดาเนินโครงการฯ

โครงการจดั ทาแผนสง่ิ แวดล้อมในพ้นื ท่เี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๖๙ ๕ - ๒

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม

ตารางที่ ๕ - ๑ เปรียบเทียบประเดนสาคญั ของแนวคดิ ท่ีสาคัญ

ประเดนสากล ประเดนสากลด้าน SDGs ๓ BCGs ๔
(WEF) ๑ ทรัพยากรธรรมชาติ
และส่งิ แวดลอ้ ม ๒

ขจดั ความยากจน

ความม่ันคงทาง ขจัดความหิวโหย
อาหาร

การดูแลสุขภาพ การมีสขุ ภาพและความ
เปน็ อยทู่ ดี่ ี

การศึกษาทเี่ ท่าเทียม

ความเท่าเทยี มทาง ความเทา่ เทยี มทางเพศ
เพศ

การเพ่ิมของประชากร การจัดการน้าและ
ต่อทรัพยากร เช่น นา้ สุขาภิบาล

พลงั งานสะอาดท่เี ขา้ ถงึ ได้

ภาวะการจา้ งงาน การจา้ งงานที่มีคณุ คา่ และ
การเตบิ โตทางเศรษฐกิจ

เทคโนโลยี อุตสาหกรรม นวัตกรรม
เครอื ข่ายสอ่ื สาร โครงสร้างพ้นื ฐาน

โครงการจัดทาแผนส่ิงแวดลอ้ มในพืน้ ท่เี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕

รายงานฉบับสุดทา้ ย

PCG ๕ Doughnut Econ.๖ ประเดนร่วมในมติ ิ
ทรัพยากร /
ฐานรากสงั คม เพดานนเิ วศ สิ่งแวดลอ้ ม

ความมนั่ คงทาง อาหาร
อาหาร สุขภาพ
สุขภาพ
นา้ และการมอี ยู่ของ
การศกึ ษา นา้ จืด
ความเท่าเทยี มทาง

เพศ
ทรัพยากรน้า การบรโิ ภคน้าจดื

พลงั งาน
รายไดแ้ ละกาจ้าง

งาน
โครงขา่ ย

๕ - ๒๕๖๙ ๕-๓

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม

ประเดนสากล ประเดนสากลด้าน SDGs ๓ BCGs ๔
(WEF) ๑ ทรพั ยากรธรรมชาติ
และส่งิ แวดลอ้ ม ๒ ลดความเหล่อื มล้า
ความไม่เทา่ เทยี มทาง
เศรษฐกิจในสังคม มลภาวะและการ เมืองและถ่นิ ฐานมนษุ ย์ การผลิต/บรโิ
เปล่ยี นแปลงสภาพ อยา่ งยงั่ ยืน ทีย่ ่ังยนื
การเปลย่ี นแปลง
สภาพภมู อิ ากาศ ภมู อิ ากาศ แผนการบริโภคและการ การรบั มอื กา
ผลิตทย่ี ัง่ ยนื เปล่ียนแปล
สภาพภมู ิอาก
การรับมอื การเปลยี่ นแปลง
สภาพภมู ิอากาศ

การใช้ประโยชนจ์ ากมหาสมุทร
และทรพั ยากรทางทะเล

การใชป้ ระโยชน์จากระบบ การอนุรักษ์คว
นเิ วศทางบก หลากหลาย

สังคมสงบสขุ ยุตธิ รรม ไม่
แบ่งแยก

ความร่วมมือเพอื่ การ ความรว่ มมอื เพ
พัฒนาท่ยี ่ังยืน การพัฒนาทยี่ ัง่

โครงการจัดทาแผนสิ่งแวดล้อมในพืน้ ท่เี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕

PCG ๕ Doughnut Econ.๖ รายงานฉบับสุดท้าย

ฐานรากสังคม เพดานนิเวศ ประเดนร่วมในมิติ
ทรัพยากร /
ส่ิงแวดลอ้ ม

ความเท่าเทยี มใน
สงั คม

ทีอ่ ยอู่ าศัย

ภค

าร ภมู อิ ากาศ มลภาวะทางอากาศ มลภาวะทางอากาศ
ลง การเปลย่ี นแปลง การเปลยี่ นแปลง
กาศ สภาพภมู ิอากาศ สภาพภมู อิ ากาศ
คณุ ภาพน้าทะเล
วาม ภาวะความเป็นกรด
ย ของน้าทะเล ความหลากหลายทาง
ชีวภาพ
พอื่ ความหลากหลายทาง
งยืน ชภี าพ

สิทธทิ างการเมอื ง
ความยุติธรรมและ

สันติภาพ

๕ - ๒๕๖๙ ๕-๔

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม

ประเดนสากล ประเดนสากลด้าน SDGs ๓ BCGs ๔
(WEF) ๑ ทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม ๒

การสญู เสยี พน้ื ทป่ี า่ ไม้
ความเสอ่ื มโทรมของดิน

การลงทุนระยะ
ยาว / ระบบ
การเงนิ โลก

การค้าและการลงทนุ
ระหว่างประเทศ

ทม่ี า: ๑ Rosamond Hutt. (2016) What are the 10 biggest global challenges?. World
https://www.weforum.org/agenda/2016/01/what-are-the-10-biggest-global-

๒ Nils Zimmermann (2016) Five of the world’s biggest environmental proble
environmental-problems/a-35915705 access April 2021.

๓United Nations Thailand. (ม.ป.ป.). เปา้ หมายการพฒั นาอยา่ งยัง่ ยืนของประเทศไทย. [สบื คน้
๔ สานักงานพฒั นาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีแหง่ ชาติ (สวทช.). (๒๕๖๓). โมเดลเศรษฐก

/knowledge_post/bcg-by-nstda/
๕Boa, H., et al. (2020). Resources and Environmental Pressure, Carrying Capacity, and
๖Raworth, K. A. (2017). Doughnut for the Anthropocene: humanity’s compass in the

โครงการจดั ทาแผนส่ิงแวดล้อมในพ้นื ทเ่ี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕

รายงานฉบบั สุดทา้ ย

PCG ๕ Doughnut Econ.๖ ประเดนรว่ มในมิติ
ทรพั ยากรดนิ ทรัพยากร /
ฐานรากสงั คม เพดานนเิ วศ สง่ิ แวดลอ้ ม

การเปลยี่ นแปลง การเปลย่ี นแปลงการ การเปลยี่ นแปลงการ
การใช้ทด่ี ิน/การ ใช้ท่ีดนิ ใช้ทีด่ นิ
ปนเปอื้ นสารเคมี
การรองรับไนโตรเจน เป็นการเปลย่ี นแปลง
และฟอสฟอรสั ระดับภูมภิ าคจงึ มี
ข้อจากดั ดา้ นข้อมูล

d Economic Forum. Retrieved 5 February 2021. From
-challenges
ems. Deutsche Welle. https://www.dw.com/en/five-of-the-worlds-biggest-

นเม่อื ๒๑ มกราคม ๒๕๖๔] จากเวบ็ ไซต์ https://www.un.or.th/globalgoals/th/the-goals/
กิจใหม่ BCG. [สืบคน้ เมอื่ ๕ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๔] จากเวบ็ ไซต์ https://www.nstda.or.th/home/

d Governance. A Case Study of Yangtze River Economic Belt, Sustainability.12, 1576.
e 21st century. TheLancet Planetary Health 2017; 1(2): 48-49.

๕ - ๒๕๖๙ ๕-๕

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม

ตารางท่ี ๕ - ๒ ปจจัยการประเมนิ ศักยภาพในการรองรับและเทคนคิ การวเิ คราะห์

ปจจัย ๑Boa (2020)

ตัวชี้วดั วธิ ีการคานวณ ตวั ช

ด้านทรัพยากรและสขุ ภาพ ๒.๑.๒ รอ้
๑.อาหาร ไม่ม่นั คงดา้
ของประชา
ระดบั ปาน

รนุ แ

๒.ทรพั ยากร ตน้ ทุนน้าต่อหวั ปรมิ าณน้า ๒.๔.๑ รอ้
นา้ สดั สวนพื้นท่ีน้า ตน้ ทนุ /จานวน พ้ืนทเี่ กษ
๒.๕.๑ ตัวบ
ประชากร สมบรูณข์ อ
พน้ื ทีน่ า้ /พน้ื ผลผลิตใน
ทดี่ นิ ทง้ั หมด พนั ธกุ รรม
เกบ็ นอก

ธรรม
๖.๑.๑ รอ้
ประชากรท
น้าดมื่ ท่ีป
๖.๓.๑ รอ้
ปรมิ าณน้าเ
การบาบดั ให

โครงการจดั ทาแผนสงิ่ แวดลอ้ มในพ้ืนทีเ่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕

รายงานฉบบั สุดทา้ ย

๒SDG Goals ๓Raworth (2017) อนื่ ๆ
ช้ีวดั วธิ กี ารคานวณ ตัวช้วี ดั วธิ กี ารคานวณ
ตวั ชีว้ ดั วธิ กี าร

คานวณ

อยละความ การมีอยขู่ อง ประชากรทข่ี าด สถิตริ อ้ ยละ
านอาหาร อาหาร (food สารอาหาร (ไมเ่ กนิ รอ้ ย
ากรทม่ี ีใน miles) : การ ละ ๑๑)
นกลางหรือ เขา้ ถึงอาหาร ประชากรท่ีไม่
แรง (รายจ่ายเฉลี่ยต่อ สามารถเข้าถงึ นา้ สถิตริ ้อยละ
หัว/รายได้เฉลี่ยตอ่ (ไม่เกินร้อย
อยละของ ดมื่ สะอาดได้
ษตรยงั่ ยืน หัว) ละ ๙)
บง่ ่ช้คี วาม
องการเก็บ สัดสว่ นของน้าเสีย
นธนาคาร ท่ีเกดิ ขึ้นใน
ครัวเรอื นและ
(หรอื การ อตุ สาหกรรมท่ี
กสถาน
มชาติ)
อยละของ
ที่ใชบ้ รกิ าร
ปลอดภยั
อยละของ
เสียท่ไี ดร้ ับ
หป้ ลอดภยั

๕ - ๒๕๖๙ ๕-๖

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม

ปจจัย ๑Boa (2020)

ตวั ชีว้ ดั วิธีการคานวณ ตัวช

สมดลุ น้าพ้ืนที่ ความตอ้ งการใช้
เกษตรกับพืน้ ท่ี น้าภาคเกษตร/
พ้นื ที่เพาะปลกู
เพาะปลกู ปริมาณการ
สมดุลการใช้นา้ บรโิ ภคน้าในภาค
ของภาคเมืองและ
อตุ สาหกรรมกบั เมืองและ
อุตสาหกรรมและ อุตสาหกรรม/
พนื้ ท่ีอุตสหกรรม
เหมืองแร่ และเหมอื งแร่

๓.สขุ ภาพ ๓.๑.๑. จาน
ทีเ่ สียชวี ตต
ชพี ๑๐๐,

๓.๒.๑ อัตร
ของทารกอ
๕ ปี (การต
เกดิ ๑,๐
๓.๔.๑ โอ
เสียชีวิตของ
อายรุ ะหว่า
ปจี ากโรคไม

โครงการจดั ทาแผนสิง่ แวดล้อมในพนื้ ท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕

๒SDG Goals ๓Raworth (2017) รายงานฉบบั สดุ ท้าย
ชี้วดั วธิ กี ารคานวณ
ตัวช้ีวดั วิธีการ อ่นื ๆ
ไดร้ บั การบาบัด ตัวช้ีวดั วิธกี ารคานวณ
อย่างปลอดภยั /ต่อ
คานวณ
ปรมิ าณน้าเสยี
ท้งั หมด

นวนมารดา ประชากรทีอ่ าศัย สถติ ริ ้อยละ
ต่อการเกิดมี ในประเทศทม่ี ี (ไม่ถึงรอ้ ยละ
,๐๐๐ คน อายขุ ยั นอ้ ยกว่า
๓๙)
ราการตาย ๗๐ ปี
อายุตา่ กว่า
ตายตอ่ การ ๕-๗
๐๐๐ คน)
อกาสการ
งประชากร
าง ๓๐-๗๐
มต่ ิดตอ่ ๔

๕ - ๒๕๖๙

สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม

ปจจยั ๑Boa (2020)

ตัวชีว้ ดั วิธีการคานวณ ตวั ช

กลุ่มโร
๓.๙.๑ ปร
เขตเมืองท่ีไ
ทางอากาศ
เกนิ ค่ามาต

WH

ด้านสง่ิ แวดล้อม Atmospheric สัดส่วนของวันที่
๔. มลพิษทาง Environmental มคี า่ AQI เกนิ
อากาศ Quality index
ระดับ ๓
๕.การ
เปล่ียนแปลง
สภาพ
ภูมอิ ากาศ

๖.ความ ๑๕.๑.๑ ร
หลากหลาย พนื้ ทปี่ า่ ไม้ต
ทางชีวภาพ
ทง้ั ห

๑๕.๒.๑ จ
ของพืช (พืช
สมุนไพร ฯล

โครงการจดั ทาแผนสิ่งแวดลอ้ มในพนื้ ท่เี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕

๒SDG Goals ๓Raworth (2017) รายงานฉบับสุดทา้ ย
ช้ีวดั วธิ กี ารคานวณ
ตัวชวี้ ดั วิธกี าร อน่ื ๆ
รคหลัก ตวั ช้ีวดั วธิ ีการคานวณ
ระชากรใน
ไดร้ บั มลพิษ คานวณ
ศกลางแจ้ง
ตรฐานของ
HO

ร้อยละของ ความเข้มขน้ ของ สูงสุด ๓๕๐ การปลดปล่อย คารบ์ อน
ตอ่ พน้ื ทดี่ ิน CO2 ใน ppm คาร์บอนจาก ฟตุ พร้ินท์
หมด บรรยากาศ กิจกรรมมนุษย์
มากที่สุด ๑๐ ( ๔Van den ระดับความ
จานวนรวม (หน่วย: ppm) Bergh, J.C.J.M., หลากหลาย
ช ผกั ผลไม้ Verbruggen, ทางชวี ภาพของ
ลฯ ทเ่ี ปน็ ๆ อัตราการสญู H.,1999 ) ระบบนเิ วศ
พนั ธุ์ของสง่ิ มชี วี ิต ความหลากหลาย
๕ - ๒๕๖๙ ตอ่ ลา้ นชนิดตอ่ ปี ทางชวี ภาพของ BHI = สดั ส่วน
ระบบนเิ วศ (BDV) ของจานวน
(5พงษศ์ ักด์ิ และ ชนดิ พันธุ์
คณะ, ม.ม.ป)
๖ Biodiversity
Habitat Index
(BHI) (GEO BON

๕-๘

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม

ปจจัย ๑Boa (2020)

ตวั ชว้ี ดั วธิ ีการคานวณ ตัวช

สว่ นประ
Forest

๗.คณุ ภาพนา้ ๑๕.๓.๑ แน
ทะเล ปัญหาทีด่ นิ

๑๕.๔.๑
อนุรกั ษ์/
๑๔.๓.๑ ภ
เปน็ กรดใน
(pH) วัด
ตัวแทน

ตัวอ

๑๔.๔.๑ ส
ฝงู ปลาภาย

ความยง่ั
ชีวภ

๑๔.๗.๑ ร
GDP สาข

๘. การใช้ พน้ื ทีเ่ พาะปลกู / พ้นื ทเ่ี พาะปลูก/
ที่ดิน หัว จานวนประชกร

โครงการจดั ทาแผนสิ่งแวดลอ้ มในพืน้ ทเี่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕


Click to View FlipBook Version