สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดท้าย
๒.๔ ผลการดาเนินงานของแผนสิ่งแวดล้อมในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ระยะท่ี ๑
(พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔)
แผนส่ิงแวดล้อมในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๔ เป็นแผนภาพรวมหรือ
กรอบแนวทางการบรหิ ารจัดการทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อมในพ้ืนท่ี EEC ที่ม่งุ หวงั ให้แผนสิ่งแวดล้อม
เป็นส่วนหน่ึงที่สาคัญในการพัฒนาในพ้ืนท่ีระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก เป็นเขตพัฒนาพิเศษท่ี
ทันสมัยท่ีสุดในภูมิภาคอาเซียน ประเทศไทยมีขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศเพิ่มขึ้น หลุดพ้นกับ
ดกั รายไดป้ านกลางเกดิ ความสมดุล และมงุ่ สูเ่ ปา้ หมายของการพฒั นาทยี่ ่งั ยืน
๒.๔.๑ รายละเอียดแผนสงิ่ แวดล้อมในพืน้ ทเี่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก ระยะท่ี ๑ (พ.ศ. ๒๕๖๐
- ๒๕๖๔)
ภายใต้แผนส่ิงแวดล้อมระยะท่ี ๑ น้ีได้มีการกาหนดกรอบแนวคิดท่ีมุ่งสู่ความยั่งยืน ที่ครอบคลุมถึงการ
พัฒนาท่ีสามารถสร้างความเจริญรายได้และคุณภาพชีวิตของประชาชนให้เพ่ิมขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซ่ึงเป็นการ
เจริญเติบโตของเศรษฐกิจที่อยู่บนหลักการใช้การรักษาและการ ้ืน ูฐานทรพั ยากรธรรมชาติอย่างยั่งยนื ไม่
ใช้ทรัพยากรธรรมชาติจนเกินพอดีไม่สร้างมลภาวะต่อส่ิงแวดล้อม จนเกินความสามารถในการรองรับและ
เยียวยาของระบบนิเวศ การผลิตและการบริโภคเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม และสอดคล้องกับเป้าหมายการ
พัฒนาที่ย่ังยืนของสหประชาชาติ (Sustainable Development Goals : SDGs) ทรัพยากรธรรมชาติมี
ความอุดมสมบูรณ์มากขน้ึ และส่ิงแวดล้อมมีคุณภาพดีขึน้ คนมีความรับผิดชอบตอ่ สังคม มีความเอื้ออาทร
เสียสละเพ่อื ผลประโยชน์สว่ นรวม รัฐบาลมีนโยบายทม่ี ุ่งประโยชน์ส่วนรวมอย่างย่ังยืน และใหค้ วามสาคญั กับ
การมีส่วนร่วมของประชาชน ให้ความสาคัญต่อบทบาทที่เข้มแข็งข้ึนของภาคประชาชน สิทธิชุมชน ตาม
แนวทางของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ไทยพุทธศักราช ๒๕๖๐ และทุกภาคส่วนในสังคมยึดถือและ
ปฏบิ ัตติ ามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการพฒั นาในระดับอย่างสมดุล มเี สถยี รภาพ และย่งั ยนื
ทิศทางการจัดการของแผนส่ิงแวดล้อมในพ้ืนท่ีเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก มีกรอบการดาเนินการ
ทส่ี าคัญ ดังน้ี
๑. ปฏิบัติตามตามกฎหมาย คาสั่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติ และนโยบายของรัฐบาลท่ีเกี่ยวข้อง
และให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามข้อสั่งการนายกรัฐมนตรี (พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา) ท่ีให้จัดทาแผน
สงิ่ แวดลอ้ ม เพ่อื ให้เกดิ ความมัน่ ใจเรื่องสง่ิ แวดล้อมในพ้ืนท่ี EEC
๒. สอดคล้องและต่อยอดกับทิศทางของร่างกรอบยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี แผนการปฏิรูปประเทศ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) แผนจัดการคุณภาพ
ส่ิงแวดล้อม พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔ และทิศทางการพัฒนาภาคตะวันออกในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคม แห่งชาติ ฉบับท่ี ๑๒ ซึ่งมุ่งเน้นการเติบโตท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม สร้างสมดุลการพัฒนาในทุกมิติการ
พฒั นาทรัพยากรมนษุ ย์อย่างมีคุณภาพ การสร้างความเป็นธรรมในสังคม และการสร้างภมู ิคุ้มกันตอ่ ความเส่ียง
ในมติ ิต่างๆ อยา่ งยงั่ ยืน
๓. ปฏิบัติตามแนวนโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (พลเอก
สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) ให้จัดทาแผนการดาเนินการเพ่ือการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมและรักษาฐาน
โครงการจดั ทาแผนสงิ่ แวดล้อมในพืน้ ท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๒ - ๕๘
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม รายงานฉบบั สุดท้าย
ทรัพยากรธรรมชาติท่ีสอดคล้องตามแนวทางการพัฒนาพ้ืนที่เขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก โดยแบ่งออกเป็น
๓ ระยะ ไดแ้ ก่
๓.๑ ระยะท่ี ๑ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๓) เป็นระยะการวางแผนหรือก่อนการก่อสร้าง ซึ่งจะ มีการ
เตรียมความพร้อม การพิจารณาและอนุมัติให้ดาเนินโครงการด้านการพัฒนาในพื้นท่ี เช่น โครงสร้างพื้นฐาน
สนามบินอู่ตะเภา รถไฟความเร็วสูงเช่ือมต่อ ๓ สนามบิน เป็นต้น ซึ่งจาเป็นต้องดาเนินการจัดการปัญหา
สิ่งแวดล้อม ในพ้ืนที่ ณ ปัจจุบัน ไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ และมีความพร้อมในการรองรับท่ีจะเกิดขึ้นในอนาคต
รวมท้ัง นาหลักการการป้องกันไว้ก่อน การประเมินผลกระทบส่ิงแวดล้อม มาพิจารณากาหนดมาตรการเพื่อ
ปอ้ งกนั และลดผลกระทบทางส่งิ แวดล้อม ท่ีต้องดาเนนิ การอย่างรวดเร็ว
๓.๒ ระยะที่ ๒ เป็นระยะท่ีเร่ิมการก่อสร้าง ท้ังการก่อสร้างสนามบินอู่ตะเภา โรงซ่อมบารุงอากาศ
ยาน รถไฟความเร็วสงู เช่อื มต่อ ๓ สนามบิน รถไฟรางคู่ ท่าเรือแหลมฉบังและมาบตาพุด รวมท้งั การตั้งกจิ การ
โรงงานอุตสาหกรรมตามอุตสาหกรรมเป้าหมาย ท้ัง ๑๑ ประเภท นอกจากนี้ ในพ้ืนท่ี ๓ จังหวัด จะเกิดการ
พัฒนาเมืองซ่ึงจะมีการก่อสร้างท่ีอยู่อาศัย สถานพยาบาล ระบบสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ สิ่งอานวย
ความสะดวกต่าง ๆ เพือ่ รองรบั ผคู้ นท่ีเข้ามาจานวนมาก มีการเคลอื่ นยา้ ยของแรงงาน นกั ลงทุน ผู้ประกอบการ
และ ประชากรแฝงต่าง ๆ ซึ่งอาจก่อให้เกิดมลพิษทางอากาศ ฝนุ่ ละอองขนาดเล็ก และปญั หาสิ่งแวดล้อมเมือง
อน่ื ๆ จากความตอ้ งการบรโิ ภคอาหาร ใช้พลงั งานและทรพั ยากรธรรมชาตติ า่ ง ๆ ท่เี พิม่ มากขน้ึ
๓.๓ ระยะท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๖ เป็นต้นไป) เป็นระยะการดาเนนิ การอย่างสมบูรณ์และเตม รูปแบบ
โรงงานอุตสาหกรรมและโครงการด้านการพัฒนาต่างๆ จะเปิดดาเนินการให้บริการแก่ประชาชน ดังนั้น การ
เพ่มิ ข้ึนของจานวนนักลงทนุ ผู้ประกอบการ จานวนประชากรแฝงและแรงงานต่างด้าวจะเข้ามาเพื่อรองรับการ
ขยายตัวของภาคเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม การท่องเที่ยวและการบริการ และภาคพาณิชยกรรม การค้าขาย
ต่าง ๆ ท่ีจะเกิดข้ึนอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ดังน้ัน การกากับ ควบคุม ติดตาม และดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมอย่าง
รอบคอบทั้งระบบ และมีการดาเนินการอย่างถูกต้อง แม่นยา และรวดเร็ว จะเป็นปัจจัยสาคัญต่อการรักษา
คณุ ภาพส่ิงแวดล้อม
ดังนั้น แผนสิ่งแวดล้อม ระยะท่ี ๑ นี้ จึงกาหนดให้มีระยะเวลาดาเนินการ ๔ ปี ต้ังแต่ปี พ.ศ. ๒๕๖๑-
๒๕๖๔ ซงึ่ สอดคล้องกับกรอบระยะเวลาของแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐
– ๒๕๖๔) และแผนจดั การคุณภาพสิง่ แวดลอ้ ม พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔ จึงไดก้ าหนดกรอบแนวทางการบริหาร
จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ที่เน้น “จัดการปญหา
ส่ิงแวดล้อมท่ีมีในปจจุบัน เตรียมความพร้อม รู้เท่าทัน ในการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมและรักษา
ทรัพยากรธรรมชาติในอนาคต ควบคู่กับการสร้างเศรษฐกิจสร้างสรรค์และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Creative
and Green Economy) ที่ใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นธรรม โดยเปิด
โอกาสให้ประชาชนกลุ่มต่าง ๆ สามารถเข้าถึงทรัพยากรธรรมชาติได้อย่างเท่าเทียมกัน” หลักการการบริหาร
จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ใช้หลักการเดียวกันกับแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม
(พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) และได้กาหนดแผนสิ่งแวดล้อมในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ระยะที่ ๑ ไว้
ดังนี้
โครงการจดั ทาแผนส่ิงแวดล้อมในพ้ืนทเ่ี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๒ - ๕๙
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสุดทา้ ย
วิสยั ทศั น์
“พ้นื ทเ่ี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออกเติบโต เปน็ มิตรต่อส่ิงแวดลอ้ มและชมุ ชน
กอ่ เกดิ ความม่นั ใจ สมดุล และยัง่ ยืน”
พื้นท่ีเป้าหมาย พื้นท่ีจังหวัดฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยอง และพ้ืนที่ทางทรัพยากรธรรมชาติและ
สงิ่ แวดล้อมท่อี ยู่ในระบบนเิ วศเดยี วกนั หรอื เก่ยี วเนื่องและคาบเก่ยี วกนั
วตั ถปุ ระสงค์
๑. จัดการสง่ิ แวดล้อมให้มคี ุณภาพทดี่ ีเพอ่ื เสรมิ สร้างคุณภาพชวี ิตทีด่ ีของประชาชน
๒. ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาบนพ้ืนฐานการเติบโตท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและการมีส่วน ร่วม
ของชุมชนและประชาชน
๓. อนุรักษ์และฟื้นคืนทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ เพื่อรักษาความสมดุลใน
ระบบนเิ วศและใหม้ กี ารใช้ประโยชน์อยา่ งคมุ้ คา่ และเป็นธรรมสกู่ ารเป็นฐานการพฒั นาทยี่ ่งั ยืน
เป้าประสงค์
๑. สิ่งแวดลอ้ มไดร้ ับการจัดการทด่ี อี ย่างมคี ุณภาพตามมาตรฐาน
๒. ประชาชนในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกได้รับการยกระดับคุณภาพชีวิตอยู่ใน ส่ิงแวดล้อม
เมืองทีด่ ไี ด้มาตรฐานสากล
๓. ฐานทรัพยากรธรรมชาติในพ้ืนท่ีของทุกระบบนิเวศ ได้รับการอนุรักษ์ ฟ้ืนฟู และใช้ประโยชน์
อย่างสมดลุ และเป็นธรรม
ยุทธศาสตร์ มาตรการ และแนวทางปฏิบัติ แผนสิ่งแวดล้อมในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๔ ประกอบด้วย ๔ ยุทธศาสตร์ ๑๑ มาตรการ รวม ๘๖ โครงการ และ ๑๔ โครงการ
เร่งด่วน
ยุทธศาสตร์ท่ี ๑ การจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ดี ประกอบด้วย ๓ มาตรการ จานวน ๒๗
โครงการ และ ๙ โครงการเรง่ ดว่ น
มาตรการ ๑.๑ บาบัด กาจัดของเสีย และควบคุมมลพิษจากแหล่งกาเนิด ตัวชี้วัดคือ ร้อยละ
ประสิทธิภาพการจัดการมลพิษได้อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการและได้คุณภาพสิ่งแวดล้อมตามมาตรฐาน
(เพ่มิ ข้ึน)
มาตรการ ๑.๒ ป้องกันและลดความเสี่ยงการเกิดอุบัติภัยจากสารเคมี มีตัวชี้วัดคือ จานวนการเกิด
อบุ ัติภัยจากสารเคมีและเร่อื งรอ้ งเรียน ลกั ลอบทิ้งของเสียทกุ ประเภท (ลดลง)
มาตรการ ๑.๓ เพ่ิมประสิทธิภาพการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตัวชี้วัด คือ มีการกาหนดนโยบาย
แผน และโครงการขนาดใหญ่ที่เหมาะสม และไม่เกินขีดความสามารถในการรองรับของพื้นท่ี สามารถบ่งชี้
ประเดน็ สาคัญในการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม เพ่อื เปา้ หมายการพัฒนาที่ยงั่ ยืน
ยุทธศาสตร์ท่ี ๒ การส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนอย่างน่าอยู่ ประกอบด้วย
๒ มาตรการ จานวน ๑๔ โครงการ และ ๒ โครงการเร่งดว่ น
โครงการจดั ทาแผนสง่ิ แวดล้อมในพ้ืนท่เี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๒ - ๖๐
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย
มาตรการ ๒.๑ ส่งเสริมการเพิ่มพ้ืนท่ีสีเขียวและสนับสนุนการพัฒนาเมืองในรูปแบบที่เป็นมิตรกับ
สิ่งแวดล้อม มีตัวช้ีวัดคือ ๑) พื้นที่สีเขียวย่ังยืนในเขตเมืองทุกเมือง ไม่น้อยกว่า ๑๐ ตารางเมตรต่อคน
๒) จานวนเมอื งน่าอยูอ่ ย่างยั่งยืน อยา่ งนอ้ ย ๔ เมอื ง ๓) พนื้ ท่ที ่ไี ดร้ บั การพัฒนาสเู่ มืองอตุ สาหกรรมเชงิ นิเวศ
มาตรการ ๒.๒ วางผังการใช้ประโยชน์ที่ดินและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของเมืองให้รองรับการดาเนิน
ชีวิตของคนทุกกลุ่ม มีตัวช้ีวัดคือ จานวนองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินที่มีการบูรณาการการปรับตัวต่อการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศไว้ในแผนพัฒนาทอ้ งถิ่น (เพิม่ ข้นึ )
ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและสร้างความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
ประกอบด้วย ๓ มาตการ จานวน ๘ โครงการ
มาตรการ ๓.๑ ส่งเสริมการผลิต การบริการ และการบริโภคท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม มีตัวช้ีวัด คือ
๑) จานวนแหลง่ ท่องเทีย่ วและสถานประกอบการท่องเทยี่ วทไ่ี ดร้ ับการรบั รองมาตรฐานการท่องเที่ยวไทยและ/
หรือ มาตรฐานที่เก่ียวข้องกับส่ิงแวดล้อม (เพิ่มขึ้น) ๒) จานวนโรงงานอุตสาหกรรมที่เข้าร่วมโครงการ
อตุ สาหกรรมสีเขียวเพิ่มขึ้น และผ่านเกณฑ์ ระดบั ๔ (เพ่ิมขน้ึ )
มาตรการ ๓.๒ ส่งเสริมมาตรการทางเศรษฐศาสตร์เพ่ือความรับผิดชอบต่อสังคมและส่ิงแวดล้อม มี
ตัวชี้วัด คือ ๑) มีการส่งเสริมทางการเงิน/การลงทุนด้านเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อมไม่ก่อไห้เกิดผลกระทบต่อ
สิ่งแวดล้อม และ ๒) มีระบบการกาหนดมาตรการทางเศรษฐศาสตร์ส่ิงแวดล้อม เช่น การเก็บค่าธรรมเนียม
มลพษิ การเก็บคา่ ท้ิงกากของเสยี และปล่อยน้าทิ้ง
มาตรการ ๓.๓ สง่ เสริมการเรียนรู้และการส่ือสารที่เปดิ โอกาสการมสี ่วนร่วมของชุมชนและประชาชน มี
ตัวชี้วัด คือ จานวนกิจกรรมการส่งเสริมการสื่อสารและสร้างการมีส่วนร่วมในการจัดการส่ิงแวดล้อมของภาค
สว่ นทีเ่ กีย่ วขอ้ ง (เพม่ิ ข้นึ )
ยุทธศาสตร์ที่ ๔ การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพ ประกอบด้วย ๓
มาตรการ ๓๗ โครงการ และ ๓ โครงการเร่งดว่ น
มาตรการ ๔.๑ ฟนื้ ฟพู ้นื ท่ปี า่ ต้นน้าลาธาร ทรัพยากรดนิ และความหลากหลายทางชีวภาพ มีตัวชี้วัด คือ
มีพื้นที่ป่าไม้และความหลากหลายทางชีวภาพของพื้นที่มากข้ึน (พ้ืนท่ีป่าไม้ ท้ัง พ้ืนท่ีป่าอนุรักษ์และพื้นที่ป่า
เศรษฐกจิ ป่าชายเลน และปา่ และพื้นทสี่ เี ขียวในเมือง) เพิม่ ขนึ้ ปลี ะร้อยละ ๕
มาตรการ ๔.๒ บริหารจัดการทรัพยากรน้าเพื่อสร้างความม่ันคงของน้าภาคการผลิต มีตัวช้ีวัด คือ
ทรัพยากรน้าทั้งปริมาณและคุณภาพของน้าท่าและการเก็บกักเพียงพอต่อความต้องการทุกภาคส่วน การ
ประกาศพ้ืนที่ค้มุ ครองสิ่งแวดล้อมบรเิ วณแหลง่ ทีส่ าคญั และบริเวณปากแม่น้าชายฝั่งทะเลท่ีเส่อื มโทรม
มาตรการ ๔.๓ อนุรกั ษ์และฟ้ืนฟูทรพั ยากรทางทะเลและชายฝ่ัง มีตัวช้ีวดั คือ ชายฝ่ังท่ีถกู กัดเซาะได้รับ
การจดั การตามแนวทางและมาตรการทเี่ หมาะสม (เพ่มิ ขนึ้ )
๒.๔.๒ ผลการตดิ ตามแผนสิง่ แวดล้อมในพืน้ ทีเ่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก ระยะท่ี ๑ (พ.ศ.
๒๕๖๕ - ๒๕๖๙)
การติดตามการดาเนินงานโครงการตามแผนส่ิงแวดล้อมระยะที่ ๑ ผ่านหนังสือขอความอนุเคราะห์ใน
การตอบข้อคาถาม (ตามระบบติดตามแผนส่ิงแวดล้อม ระยะท่ี ๑) เข้าถึงได้จาก https://eec-
onep.soc.cmu.ac.th/envi_plan/report/index.html ดังภาพท่ี ๒ - ๕ มีผลการติดตามการดาเนินงาน
โครงการจดั ทาแผนส่ิงแวดลอ้ มในพ้ืนที่เขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๒ - ๖๑
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม รายงานฉบับสุดท้าย
โครงการภายใต้แผนสิ่งแวดล้อมในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๔ ดังนี้ (ภาพที่ ๒ –
๕)
ผลการรายงานโครงการทั้งหมด ๘๖ โครงการจาก ๘๖ โครงการ คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ โดยจาแนกเป็น
โครงการในยุทธศาสตร์ท่ี ๑ ร้อยละ ๓๑.๔๐ ยุทธศาสตร์ที่ ๒ ร้อยละ ๑๖.๒๘ ยุทธศาสตร์ท่ี ๓ ร้อยละ ๙.๓๐
และยุทธศาสตรท์ ี่ ๔ ร้อยละ ๔๓.๐๒
ทั้งนี้สถานะด้านงบประมาณของโครงการฯภายใต้แผนสิ่งแวดล้อมฯ มีโครงการท่ีได้รับงบประมาณแล้ว
จานวน ๕๐ โครงการ คิดเป็นร้อยละ ๕๘.๑๔ ของโครงการทั้งหมด (๘๖ โครงการ) โครงการที่ไม่ได้รับ
งบประมาณจานวน ๙ โครงการ คิดเป็นร้อยละ ๑๐.๔๗ ของโครงการท้ังหมด โครงการท่ียังไม่ย่ืนขอ
งบประมาณจานวน ๒ โครงการ คดิ เป็นร้อยละ ๒.๓๓ ของโครงการทัง้ หมด โครงการที่ไม่ไดย้ ื่นของบประมาณ
จานวน ๒๓ โครงการ คิดเป็นร้อยละ ๒๖.๗๔ ของโครงการท้ังหมด และโครงการที่เอกชนลงทุนจานวน ๒
โครงการ คิดเปน็ รอ้ ยละ ๒.๓๓ ของโครงการทง้ั หมด
และสถานะการดาเนินงานของโครงการฯภายใต้แผนส่ิงแวดล้อมฯ มีโครงการท่ีดาเนินการแล้วเสร็จ
จานวน ๓๑ โครงการ คิดเป็นร้อยละ ๓๖.๐๕ ของโครงการทั้งหมด อยู่ระหว่างดาเนินการ/ก่อสร้าง จานวน
๑๘ โครงการ คิดเป็นร้อยละ ๒๐.๙๓ อยู่ระหว่างศึกษาความเหมาะสมและออกแบบรายละเอียด จานวน ๓
โครงการ คิดเป็นร้อยละ ๓.๔๙ ของโครงการทั้งหมด ยังไม่ได้ดาเนินการ ๓ โครงการ คิดเป็นร้อยละ ๓.๔๙
ของโครงการท้ังหมด โครงการที่ไม่ได้ดาเนินการ จานวน ๒๑ โครงการ คิดเป็นร้อยละ ๒๔.๔๒ ของโครงการ
ท้ังหมด และโครงการท่ีขอยกเลกิ จานวน ๑๐ โครงการ คิดเป็นร้อยละ ๑๑.๖๓ ของโครงการท้งั หมด
ภาพที่ ๒ - ๕ ระบบติดตามการดาเนินงานตามแผนสงิ่ แวดลอ้ มในพนื้ ที่เขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก
พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๔
โครงการจดั ทาแผนส่งิ แวดลอ้ มในพืน้ ทเี่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๒ - ๖๒
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย
ภาพที่ ๒ - ๖ ระบบการตดิ ตามการดาเนินงานโครงการตามแผนสิง่ แวดล้อมระยะท่ี ๑
โครงการจดั ทาแผนส่ิงแวดล้อมในพื้นทเ่ี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๒ - ๖๓
สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ตารางที่ ๒ - ๒ สรุปผลการติดตามการดาเนนิ งานโครงการตามแผนสง่ิ แวดลอ้ มระย
งบประม
ยุทธศาสตร์
ได้รับ
ไ ่มได้รับ
๑. การจดั การคุณภาพสิง่ แวดลอ้ มที่ดี ๑๒ ๓
(๒๗ โครงการ / ๙ โครงการเรง่ ด่วน) ๑๐ ๑
๔๑
๒. การสง่ เสรมิ คุณภาพส่ิงแวดล้อมเมอื งและชุมชนอย่างนา่ อยู่ ๒๔ ๔
(๑๔ โครงการ / ๒ โครงการเร่งดว่ น) ๕๐ ๙
๓. การสง่ เสริมการมสี ว่ นรว่ มและสร้างความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คมและส่งิ แวดล้อม
(๘ โครงการ)
๔. การบริหารจดั การทรัพยากรธรรมชาตอิ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
(๓๗ โครงการ / ๓ โครงการเรง่ ดว่ น)
รวม ๘๖ โครงการ (โครงการเรง่ ด่วน ๑๔ โครงการ)
โครงการจัดทาแผนสิง่ แวดล้อมในพ้นื ท่เี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕
๕-๒๕๖๙ ๑ ๙๒ ๗ ยังไมย่ ืน่ ขอ ยะที่ ๑
๐ ๓๐ ๔
๐ ๓๐ ๔ ไมไ่ ด้ยื่นขอ มาณ (จานวนโครงการ)
๑ ๘ ๐ ๑๖ เอกชนลงทุน
๒ ๒๓ ๒ ๓๑
ดาเนินการ
๓ แล้วเสรจ รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย
๖ อย่รู ะหวา่ ง
๐ ดาเนินการ สถานะโครงการ (จานวนโครงการ)
๙ กอ่ สรา้ ง
๑๘ อยู่ระหวา่ ง
ศกึ ษาความ
๒ - ๖๔ ๓ ๒๔๘ เหมาะสม
๐ ๐๔๐ ยงั ไม่ได้
๐ ๐๔ ดาเนนิ การ
๐ ๑๙๒
๓ ๓ ๒๑ ๑๐ ไมไ่ ด้
ดาเนินการ
ขอยกเลิก
โครงการ
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รายงานฉบบั สุดท้าย
๒.๔.๓ ปญหา/อปุ สรรค และแนวทางแกไ้ ขของโครงการในแผนสง่ิ แวดลอ้ มในพืน้ ที่เขตพัฒนาพิเศษ
ภาคตะวนั ออก ระยะท่ี ๑ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๖๙)
ประเดน็ ปญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไขในการดาเนนิ โครงการมี ๕ ประเด็นหลกั ดังน้ี
๑. งบประมาณ พบปัญหาด้านเอกสารการจัดทาคาของบประมาณ การเปลี่ยนแปลง/รายละเอียด
กิจกรรมโครงการ ควรให้ความสาคัญกับการจัดสรรงบประมาณของโครงการฯ ท่ีครอบคลุมการศึกษาความ
เหมาะสมของพ้ืนท่ีด้วย และจัดทางบประมาณบูรณาการในภาพรวมของการพัฒนาในรูปแบบของแผนปฏิบัติ
การดา้ นการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศของประเทศ (แผนระดับที่ ๓) นาเสนอคณะรัฐมนตรีเพ่ือให้เห็น
ความเห็นชอบ นอกจากนี้กิจกรรม/โครงการยังสามารถของบประมาณผ่านการสนับสนุนความรับผิดชอบต่อ
สังคมและส่ิงแวดล้อมขององค์กร (CSR) ของหน่วยงานเอกชน ในส่วนของงบประมาณของ อปท. ควรมีการ
จดั สรรเพ่อื มาสนับสนนุ การดาเนินการด้านสงิ่ แวดลอ้ มใหม้ ากขึ้น
๒. บุคลากร พบปญั หาความเช่ยี วชาญและจานวนบุคลากรในการดาเนินงาน ควรมีการพัฒนาศกั ยภาพ
ของบุคลากรอย่างต่อเนื่อง และจัดทาระบบการข้ึนทะเบียนผู้ตรวจประเมิน โดยกาหนดคุณสมบัติ คุณวุฒิ
การศึกษา รวมท้ังออกระเบียบการจ่ายค่าตอบแทนท่ีเหมาะสม เพื่อสร้างแรงจูงใจจากผู้เชี่ยวชาญในสาขา
วชิ าชพี ต่าง ๆ
๓. ข้อมูล/ความรู้ พบปัญหาการประมวลผลข้อมูล เนื่องจากการขาดความสมบูรณ์ของข้อมูล ควร
พฒั นาระบบขอ้ มูลใหเ้ ช่ือมโยงกบั ฐานข้อมูล ปรับปรุงเกณฑ์ ตัวช้ีวดั จัดทาแบบจาลองคณิตศาสตรค์ ุณภาพน้า
และประมวลผลจดุ แข็ง จดุ อ่อนของพ้ืนทเี่ พื่อนาไปสูก่ ารพฒั นาแก้ปัญหาต่อไป
๔. ปัญหาเชิงนโยบาย พบปัญหาการนานโยบายการพัฒนาในระดับภาคไปสู่การวางแผนการใช้
ประโยชน์ท่ีดินและโครงสร้างพ้ืนฐานในระดับพ้ืนที่ และโครงการที่กาหนดภายใต้แผนสิ่งแวดล้อมฯ ไม่ได้ถูก
บรรจุอยู่ในแผนการดาเนินงานของหน่วยงาน ควรดาเนินการชี้แจงรายละเอียด สร้างความเข้าใจโดยมีการจัด
ประชุมช้ีแจงรายละเอียดของแผนส่ิงแวดล้อมฯ ให้กับหน่วยงานและภาคส่วนท่ีเกี่ยวข้องรับทราบข้อมูลและ
สามารถดาเนนิ งานในส่วนทีเ่ กี่ยวข้องใหเ้ ปน็ ไปในทศิ ทางเดียวกัน
๕. ความร่วมมือ เกิดปัญหาการบูรณาการกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ควรสร้างความตระหนักให้ทุกภาค
ส่วนทีเ่ กี่ยวข้องในพื้นท่ี ไดร้ ู้สกึ ถึงความเป็นเจ้าของโครงการ และจัดประชุมหารอื หน่วยงานและคณะกรรมการ
ที่เก่ียวข้องในเพอื่ สร้างความเขา้ ใจ
๖. พ้ืนท่ีดาเนินการ เกิดปัญหาในด้านความเหมาะสมของพ้ืนท่ีเพื่อดาเนินกิจกรรมโครงการ ควร
พจิ ารณาพ้ืนทีอ่ น่ื ๆ ท่มี ศี กั ยภาพเหมาะสมในดาเนินการ
๒.๔.๔ ผลสัมฤทธข์ิ องแผนส่ิงแวดลอ้ มในเขตพฒั นาพิเศษ ระยะท่ี ๑ ต่อ สถานการณ์
ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม
จากผลการติดตามแผนสิ่งแวดล้อม ระยะที่ ๑ มีโครงการท่ีได้รับอนุมัติงบประมาณ จานวน ๕๐
โครงการ โดยมผี ลสัมฤทธิท์ ีเ่ กิดจากโครงการต่าง ๆ ท่ีประเมินไดจ้ ากผลผลติ และผลลัพธ์ไดด้ งั นี้
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๑ การจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอ้ มท่ีดี
การจัดการน้าเสีย ที่สามารถเพ่ิมประสิทธิภาพของระบบบาบัดน้าเสียเมืองพัทยา (ซอยวัดหนองใหญ่)
ได้ไม่น้อยกว่า ๑๕๐,๐๐๐ ลูกบาศก์เมตร และช่วยให้คุณภาพน้าดีขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ ๒๐ ในปี
โครงการจดั ทาแผนส่ิงแวดลอ้ มในพืน้ ทเ่ี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๒ - ๖๕
สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม รายงานฉบับสดุ ท้าย
พ.ศ. ๒๕๖๖ ท่ีโครงการจะแล้วเสร็จ อย่างไรก็ตามมีโครงการที่ถูกยกเลิกในด้านการจัดการน้าเสียชุมชน
ในขณะท่แี นวโน้มปรมิ าณน้าเสียมีเพมิ่ มากขึ้น ดังนน้ั จงึ เป็นประเดน็ ทคี่ วรพิจารณาในการต้ังโครงการในระยะที่
๒
การจัดการขยะมูลฝอย มีเป้าหมายการฝังกลบของเสียเป็นศูนย์ โดยชุมชนมีการนาขยะมูลฝอยไปใช้
ประโยชน์ ส่งผลให้ไม่มีขยะตกค้างสะสมท่ีเกาะเสม็ด จังหวัดระยอง สาหรับการจัดการกากของเสียอันตรายมี
โรงงานอุตสาหกรรมได้รับการถ่ายทอดความรู้ คาแนะนา และการประยุกต์ใช้หลักการ 3Rs จานวน ๕๐
โรงงาน และมีการตรวจสอบ ติดตามคุณภาพสิ่งแวดล้อมและเฝ้าระวังการปล่อยมลพิษ อุบัติภัยจากสารเคมี
และการลกั ลอบทิ้งสารเคมี
การจัดการมลพิษทางอากาศในพ้ืนที่อุตสาหกรรมมาบตาพุด เพ่ือการพัฒนาอย่างย่ังยืน ส่งผลให้มี
ฐานข้อมูลการระบายและการปรับลดการระบายมลพิษทางอากาศ Nox SO2 ตามหลักเกณฑ์ ๘๐/๒๐ และ
ฐานข้อมูลการระบายสารอินทรยี ์ระเหยง่าย จากแหล่งกาเนิดประเภทโรงงานในพ้ืนที่มาบตาพุด และพ้ืนท่ีที่มี
การปรับลดอัตราการระบายมลพิษตามหลักเกณฑ์ ๘๐/๒๐ มีรายงานการศึกษาสถานภาพการจัดการมลพิษ
ทางอากาศในพื้นที่อุตสาหกรรมมาบตาพุด และบุคคลากรภาครัฐที่เกี่ยวข้องกับการประเมินผลกระทบด้าน
อากาศไดร้ บั การพฒั นาใหม้ คี วามรู้ ความสามารถในการใช้แบบจาลองอากาศ เช่น AERMOD
ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๒ การสง่ เสรมิ คุณภาพส่ิงแวดล้อมเมืองและชมุ ชนน่าอยู่
การสรา้ งสภาพแวดลอ้ มเมืองท่นี ่าอยู่ ประชาชนได้รับการฝึกอบรมเพ่มิ พื้นที่ปา่ ในเมือง การเพาะชาและ
การได้รับกล้าไม้ในการเพาะปลูก เรียนรู้การกักเก็บคาร์บอนจากแปลงสาธิต ช่วยในการเพิ่มพื้นท่ีป่าในเมือง
สามารถเข้ามาใช้ประโยชน์ได้จากการเพ่ิมพ้ืนท่ีสีเขียว และมีเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ระดับ ๔ จานวน ๓
พื้นท่ี
ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๓ การสง่ เสริมการมสี ว่ นร่วมและสรา้ งความรับผิดชอบตอ่ สงั คมและสิง่ แวดล้อม
การมีส่วนร่วมในการลดการใช้ถุงพลาสติกและงดใช้กล่องโฟม การใช้นวัตกรรมในผลิตภัณฑ์ท่ีเป็น
ต้นแบบท่ีปลอดภัยและเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมสามารถใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ เกิดความตระหนักและ
จติ สานึกในการรักษาสิ่งแวดลอ้ ม
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๔ การบริหารจดั การทรพั ยากรธรรมชาติอย่างมีประสทิ ธิภาพ
การ ้ืน ูป่าและพื้นท่ีต้นน้า มีการปลูกป่าจานวน ๕,๐๐๐ ไร่ เพิ่มพ้ืนท่ีแหล่งน้าสาหรับสัตว์ป่าขนาด
ขนาด ๒๑,๐๑๒.๕๐ ลูกบาศก์เมตร จานวน ๕ แห่ง เพ่ิมพ้ืนท่ีแหล่งอาหาร ให้เหมาะสมกับปริมาณชนิดและ
จานวนของสตั ว์ป่า
การจัดการทรพั ยากรนา้ ด้วยการสบู ผันน้าคลองสะพาน-อา่ งเก็บน้าประแสร์เพม่ิ ความจกุ ักเก็บของ
แหล่งน้าของพน้ื ที่ EEC เพม่ิ ข้ึน ๓.๐๒ ล้านลูกบาศกเ์ มตร
จากผลการดาเนินงานของโครงการในแผนส่ิงแวดล้อมระยะท่ี ๑ ถึงแม้ว่าจะสามารถช่วยเพิ่มศักยภาพ
ในการจัดการน้าเสีย ขยะมูลฝอย และคุณภาพอากาศให้ดีข้ึน อย่างไรก็ตามเม่ือทาการเปรียบเทียบกับอัตรา
การเกิดน้าเสีย ปริมาณขยะมูลฝอย ที่จะเกิดข้ึนในปีพ.ศ. ๒๕๗๐ แล้วยังจาเป็นต้องได้รับการจัดการอย่าง
ต่อเนื่อง เช่นเดียวกับทรัพยากรน้าที่มีปริมาณเพิ่มข้ึนแต่ก็ยังไม่เพียงพอกับความต้องการใช้น้าท่ีเพ่ิมขึ้น และ
ส่งเสริมการเพิ่มพื้นที่สีเขียวได้เพียงส่วนหนึ่งในขณะท่ีการสร้างแหล่งกักเก็บก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ท่ีเป็น
โครงการจดั ทาแผนสิง่ แวดล้อมในพ้นื ทีเ่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๒ - ๖๖
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย
วาระสาคัญของโลก ดังน้ันประเด็นคุณภาพสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติดังกล่าวก็ยังจาเป็นท่ีจะต้อง
ได้รับการจัดการอยา่ งตอ่ เน่ืองในแผนสง่ิ แวดล้อมระยะที่ ๒
๒.๔.๕ ความเช่อื มโยงของแผนส่งิ แวดลอ้ ม ระยะที่ ๑ สู่ แผนสงิ่ แวดลอ้ ม ระยะที่ ๒
จากการวิเคราะห์ผลของการติดตามการดาเนินงานโครงการต่างๆ ภายใต้แผนส่ิงแวดล้อมระยะที่ ๑
พบว่าโครงการฯ ส่วนใหญ่อยู่ระหว่างการดาเนินการยังไม่แล้วเสร็จ ส่งผลต่อสถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อมในด้านน้าเสีย ขยะ คุณภาพอากาศ พ้ืนท่ีสีเขียว และทรัพยากรน้า ได้เพียงระดับหน่ึง ท้ังน้ี
เนื่องจากปัญหาด้านงบประมาณ บุคลากรท่ีไม่เพียงพอและขาดความเช่ียวชาญ ความรู้/ข้อมูลที่ยังไม่เป็น
ระบบ รวมถึงยังขาดความร่วมมือและความตระหนกั ท่ียังไมเ่ พียงพอ จึงนาไปสู่การปรับแนวทางการจัดทาแผน
สิ่งแวดล้อมระยะท่ี ๒ ดังตารางท่ี ๒ – ๓ โดยผลจากการทบทวนนโยบาย กฎ ระเบียบ ท่ีเกี่ยวข้องกับ
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม และผลการติดตามแผนส่ิงแวดล้อมระยะที่ ๑ จะนาไปเช่ือมโยงกับการ
กาหนดยุทธศาสตร์ กลยทุ ธ์ และแผนงาน ของแผนสิง่ แวดล้อม ระยะที่ ๒ ตอ่ ไป
โครงการจัดทาแผนสงิ่ แวดล้อมในพ้นื ท่เี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๒ - ๖๗
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม
ตารางท่ี ๒ - ๓ ประเดนทบทวนแผนสงิ่ แวดล้อม ระยะที่ ๑ นาไปสูแ่ นวทางการจัดทา
ประเดน็ ทบทวน แผนส่ิงแวดลอ้ ม ระยะที่ ๑
การดาเนินงาน/ปัญหา/ข้อจากดั
๑. กระบวนการจดั ทาแผน ๑.๑ แหล่งขอ้ มลู ประกอบการทาแผน
-ใช้ขอ้ มูลจากหน่วยงาน ทสจ. เปน็ หลกั
-ข้อมูลไม่สมบูรณ์เพียงพอต่อการประมวลผลเพ่ือการบริหาร
จัดการทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ
๒.การบริหารจัดการแผน ๑.๒ การมสี ว่ นรว่ ม
ภาคส่วนต่าง ๆ มีส่วนร่วมในการช้ีแจงข้อมูล และรับฟังความ
คิดเห็นในภาพรวม
๑.๓ การบรู ณาการแผน
ขาดการบูรณาการแผนในเขตควบคุมมลพิษและพ้ืนที่คุ้มครอง
สง่ิ แวดล้อม
๑.๔ มติ ขิ องแผน
-เน้ น ยุ ท ธศ าส ต ร์ภ าพ รวม เฉ พ าะการบ ริห ารจั ด การ
ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละปรับปรงุ คุณภาพส่ิงแวดลอ้ ม
-ใหค้ วามสาคัญกบั การจัดการนา้ เสียและขยะเปน็ หลกั
๒.๑ ดา้ นงบประมาณ
-ความพร้อมการจัดทาเอกสารขอรับงบประมาณ
-ไม่ได้รับการจัดสรร
-เปล่ียนแผนดาเนนิ งาน
โครงการจัดทาแผนสิง่ แวดลอ้ มในพนื้ ทเี่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕
รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย
าแผนสิ่งแวดล้อม ระยะที่ ๒
แผนสิ่งแวดล้อม ระยะท่ี ๒
ขอ้ เสนอแนะ
- ใช้ข้อมูลจากหน่วยงานราชการและภาคส่วนต่าง ๆ ท่ีมี
การจดั ทา
ร - พิจารณาฐานข้อมูลเป็น ๒ กลุ่ม คือ ข้อมูลทุติยภูมิท่ี
อธิบายสถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม
ต้ังแต่อดีตถึงปัจจุบัน และข้อมูลแบบเปิด เช่น IoT API
เพ่ือออกแบบฐานขอ้ มลู เพ่ือบริหารจดั การ
- สร้างกระบวนการรับฟังความคิดเห็นในภาพรวมและหา
ม แนวทางความรว่ มมอื ภาคส่วนต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้อง เพอ่ื สรา้ ง
ความร่วมมอื ในการขบั เคลอ่ื นแผน
- ทบทวนมาตรการในเขตควบคุมมลพิษและพ้ืนท่ีคุ้มครอง
ง ส่ิงแวดล้อมเพ่ือนามาเป็นส่วนหน่ึงของแผนส่ิงแวดล้อม
ระยะท่ี ๒
- ต้ังเป้าหมายของแผนให้สอดคลอ้ งกับแนวคดิ SDGs BCG
ร (เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสี
เขียว) ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในการกาหนด
มาตรการของแผน
๑ ) จัด ส รรค รอบ ค ลุ ม ต าม - จดั ลาดบั ความเร่งด่วน Flagship
การศึกษาความเหมาะสม - แสวงหาแหล่งทุนภายนอกสนับสนุนโครงการกิจกรรม
๒) จัดทางบบูรณาการเสนอ เช่น การสร้างกลไกจัดต้ังกองทุนการจัดการส่ิงแวดล้อม
เปน็ มตคิ รม. ภาคตะวนั ออก
๕-๒๕๖๙ ๒ - ๖๙
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม
ประเดน็ ทบทวน แผนส่งิ แวดลอ้ ม ระยะที่ ๑
การดาเนนิ งาน/ปญั หา/ข้อจากดั
๒.๒ ดา้ นบคุ ลากร
-ขาดความเชย่ี วชาญ
-ขาดแคลนบุคลากร
-บทบาทหน้าที่ไมส่ อดคล้องกับงาน
๒.๓ ด้านนโยบาย
-นโยบายการใช้ประโยชน์ท่ีดินและการพัฒนาโครงสร้าง
พืน้ ฐานควรคานงึ ถงึ รายละเอียดในระดบั พน้ื ที่
-แผนงานไม่ได้บรรจไุ วใ้ นแผนของหนว่ ยงาน
-ระเบียบที่เป็นอุปสรรคต่อการส่งเสริม เช่น ระเบียบองค์การ
อาหารและยา กาหนดเกณฑ์โรงเรือนในการผลิต ต้องใชท้ ุนสูง ทาให
ผลติ ภณั ฑช์ มุ ชนไม่ไดร้ ับการรับรอง ขาดโอกาสในการพฒั นาเผยแพร่
๒.๔ ด้านบรหิ ารจัดการ
-ขอ้ มลู ขาดความสมบรู ณ์
-ปญั หาการบรู ณาการ
-ความล่าช้าจากการประสานงาน
-ความไมส่ อดคล้องของโครงการกบั บริบทพ้ืนที่
โครงการจัดทาแผนสิ่งแวดล้อมในพ้นื ทีเ่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕
รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย
แผนสงิ่ แวดล้อม ระยะท่ี ๒
ข้อเสนอแนะ
๑) พฒั นาศกั ยภาพ - โครงการพฒั นาศักยภาพ
๒) สรา้ งแรงจูงใจ - เชงิ โครงสรา้ งพิจารณาจดั สรรบุคลากรด้านส่งิ แวดล้อมใน
ระดับพน้ื ท่ีองค์การบริหารสว่ นท้องที่
- ศึกษาทบทวนบทบาทหน้าท่ีบูรณาการการดาเนินงาน
ดา้ นสิง่ แวดลอ้ มเชิงภมู นิ เิ วศ
- ส่งเสริมสนับสนนุ กลไกการมีสว่ นร่วมเสริมพลงั การจัดการ
สง่ิ แวดล้อมในรูปแบบภาคเี ครือข่าย
๑) จดั ทาแผนแมบ่ ท - การจดั ทาแผนที่สอดคลอ้ งกับพื้นท่ีภูมินเิ วศ
ง ๒) ขบั เคลื่อนเมอื งอุตสาหกรรม
เชิงนเิ วศ
ร
ห้
๑) ข้อมูล/ความรู้ ศึกษาทา - ส่งเสริมสนับสนุนให้มีคลังข้อมูลด้านส่ิงแวดล้อมเพื่อการ
ความเข้าใจ พัฒนาระบบข้อมูล จดั การสง่ิ แวดล้อมพน้ื ที่ภาคตะวันออก
เชื่อมโยงตัวช้ีวัด วิเคราะห์ - ส่งเสริมสนับสนุนขับเคล่ือนกลไกการมีส่วนร่วมให้เกิด
จุดออ่ นจุดแข็งพ้นื ที่ ความร่วมมือจากทุกภาคส่วนในการดาเนินงานจัดการ
๒) ปรับปรุงเกณ ฑ์ช้ีวัดให้มี ส่งิ แวดล้อมในระดบั พ้นื ทใี่ ห้ครอบคลมุ
ความยืดหยุน่ ตามบริบทพืน้ ที่ - เสริมสร้างกลไกการสื่อสารองค์กรเพื่อให้เข้าถึงแผนการ
๓) ความร่วมมือ สร้างความ จัดการส่ิงแวดล้อม เช่น การประสานความร่วมมือ การจัด
ต ระ ห นั ก ทุ ก ภ าค ส่ วน จั ด ให้ มีการสัมมนาผ ลักดันแผนสู่การป ฏิ บั ติ รวม ท้ัง
๕-๒๕๖๙ ๒ - ๗๐
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม
ประเดน็ ทบทวน แผนสิง่ แวดล้อม ระยะท่ี ๑
การดาเนนิ งาน/ปญั หา/ขอ้ จากดั
๓. ผลการดาเนินงาน ๓.๑ ยุทธศาสตร์ การจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม
โครงการ ๓.๑.๑ การจดั การนา้ เสยี
- สามารถเพิ่มประสทิ ธิภาพระบบบาบัดนา้ เสยี เมอื งพทั ยา และ
พัฒนาคณุ ภาพดขี ้นึ ได้ไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ ๒๐ โครงการจะแลว้ เสรจ็
ในปี พ.ศ. ๒๕๖๖
- โครงการจัดการน้าเสยี ชุมชน ถกู ยกเลกิ
- แนวโนม้ น้าเสียมเี พมิ่ มากขนึ้
๓.๑.๒ การจัดการขยะมลู ฝอย
-การฝังกลบขยะมูลฝอยเกาะเสม็ด ขยะตกค้างสะสมเป็นศนู ย์
-มีการถ่ายทอดความรู้ หลักการ 3Rs จานวน ๕๐ โรงงาน
๓.๑.๓ การจัดการมลพิษอากาศในพื้นท่ีอตุ สาหกรรมมาบตาพดุ
-มีการจัดทาฐานข้อมูลการระบายและการปรับลดมลพิษทาง
อากาศ NOx SO2 ตามหลกั เกณฑ์ ๘๐:๒๐
-ฐานข้อมูลสารอินทรีย์ระเหยง่าย และพ้ืนท่ีปรับลดอัตราการ
ระบายมลพษิ ตามหลกั เกณฑ์ ๘๐:๒๐
-มีการศึกษาสถานภาพการจัดการมลพิษทางอากาศในพ้ืนท
นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด และประเมินผลการพัฒนาความร
ความสามารถในการใช้แบบจาลองอากาศ เช่น AERMOD
๓.๒ ยทุ ธศาสตร์ การส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอ้ มเมอื งและชุมชน
-ประชาชนได้รับการฝึกอบรม เพิ่มพ้ืนที่สีเขียวในเมือง การ
โครงการจดั ทาแผนสงิ่ แวดล้อมในพ้ืนทเี่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕
รายงานฉบบั สดุ ท้าย
ข้อเสนอแนะ แผนสง่ิ แวดล้อม ระยะท่ี ๒
ประชุมสรา้ งความเขา้ ใจ
กระบวนการติดตาม การสรุปบทเรียนการดาเนินงานเป็น
ะ ควรพจิ ารณาโครงการตอ่ เนอ่ื ง ระยะ ๆ
จ ในแผน ๒ - ทุกประเด็นท่ียังปรากฏสภาพปัญหาต่อเนื่อง จึงนาไปสู่
การวางแผนการดาเนินการต่อเน่ือง และพิจารณาแนว
ทางการจดั การพัฒนาไปส่ใู นทิศทางที่ดีขนึ้
ง ๒ - ๗๑
ร
ท่ี
รู้
ร
๕-๒๕๖๙
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม
ประเด็นทบทวน แผนสง่ิ แวดลอ้ ม ระยะที่ ๑
การดาเนินงาน/ปญั หา/ข้อจากดั
เพาะชากล้าไม้ การปลกู เรียนรกู้ ารเกบ็ คารบ์ อนจากแปลงสาธติ
-มีเมอื งอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ระดบั ๔ จานวน ๓ พน้ื ที่
๓.๓ ยทุ ธศาสตร์ การส่งเสริมการมสี ว่ นร่วม
-การลดใชถ้ งุ พลาสติก และงดใช้กล่องโฟม
-การใช้นวัตกรรมในผลิตภัณฑต์ ้นแบบที่ปลอดภัยและเป็นมิตร
กับส่งิ แวดล้อม สามารถนาไปใช้ในเชงิ พาณชิ ย์
-เกดิ ความตระหนักและจิตสานกึ ด้านส่ิงแวดลอ้ ม
๓.๔ ยทุ ธศาสตร์ การบรหิ ารจดั การทรพั ยากรธรรมชาติ
๓.๔.๑ การฟนื้ ฟูป่าและพืน้ ท่ีต้นนา้
-ปลูกปา่ ๕,๐๐๐ ไร่
-เพ่ิมพื้นที่แหล่งน้าสาหรับสัตว์ป่า ขนาด ๒๑,๐๑๒.๕๐ ลบ.ม.
จานวน ๕ แห่ง
-เพิม่ แหล่งอาหารสัตวป์ ่า
๓.๔.๒ การจดั การทรัพยากรน้า
-สูบผันน้าคลองสะพาน - อ่างเก็บน้าประแสร์ ปริมาณการเก็บ
กักน้าเพิ่มข้ึน ๓.๐๒ ล้าน ลบ.ม. คาดว่าจะแล้วเสร็จในปี พ.ศ.
๒๕๖๔
โครงการจัดทาแผนสิ่งแวดล้อมในพืน้ ทเี่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕
รายงานฉบับสุดท้าย
แผนสิง่ แวดล้อม ระยะท่ี ๒
ข้อเสนอแนะ
ร
.
บ
.
๕-๒๕๖๙ ๒ - ๗๒
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย
ผลการดาเนินงานภายใต้แผนสิง่ แวดล้อมในพืน้ ทพี่ ัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก ระยะที่ ๑ ท่มี เี ป้าหมายให้
ความสาคญั ตอ่ การจัดการขยะและน้าเสยี เป็นสาคญั สามารถสรุปทศิ ทางการดาเนนิ งานข้นั ตอ่ ไปดงั น้ี
กรณกี ารจดั การขยะมูลฝอยชมุ ชนและมูลฝอยตดิ เช้ือ
ภายใต้แผนส่ิงแวดล้อมในพื้นท่ีพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ระยะท่ี ๑ มีโครงการเก่ียวกับการจัดการ
ขยะมูลฝอยชุมชนและมูลฝอยติดเช้ือ ทั้งหมด ๔ โครงการ ผลดาเนินการแล้วเสร็จทั้ง ๔ โครงการ โดยผลลัพธ์
ท่ีได้คือ ขยะมูลฝอยสะสมในชุมชนถูกนาไปใช้ประโยชน์อย่างคุ้มค่า และในพื้นท่ีเกาะเสม็ดมีระบบบริหาร
จัดการขยะใหม่ส่งผลให้ไม่มีขยะตกค้างสะสม นอกจากน้ี การจัดการกากของเสียภาคอุตสาหกรรม มีการ
ดาเนนิ งานจานวน ๑ โครงการ ซึง่ ดาเนนิ การแลว้ เสรจ็ โรงงานอตุ สาหกรรมเป้าหมายได้รับการถา่ ยทอดความรู้
คาแนะนา และการประยุกต์ใช้หลักการ 3Rs จานวน ๕๐ โรงงานและมีเป้าหมายการฝังกลบของเสียเป็นศูนย์
อย่างไรกต็ ามปริมาณขยะในภาพรวมยังคงมีมากกวา่ ความสามารถในการกาจดั และจากการคาดการณป์ ริมาณ
ขยะมูลฝอยในพื้นทเ่ี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๔-๒๕๗๐ (คาดการณ์จากปพี .ศ. ๒๕๖๓) พบว่า
ปริมาณขยะมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นโดยมีอัตราการเพ่ิมขึ้น ๒๖๑.๓๕ ตันต่อวัน ดังน้ัน การสนับสนุนและส่งเสริม
โครงการดา้ นการจัดการขยะมูลฝอยชุมชนและกากของเสียภาคอุตสาหกรรม จึงยังคงมีความสาคัญทต่ี ้องไดร้ ับ
การผลักดันในแผนส่งิ แวดลอ้ มในพน้ื ทพ่ี ัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก ระยะท่ี ๒ ต่อไป
กรณกี ารจัดการน้าเสีย
ภายใต้แผนสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ระยะท่ี ๑ มีโครงการท่ีเกี่ยวกับการ
จัดการน้าเสียรวม ๕ โครงการ ได้รับงบประมาณรวม ๑ โครงการ คือ ระบบบาบัดเสียเมืองพัทยา ส่วนท่ียัง
ไม่ได้รับงบประมาณ (อยรู่ ะหว่างออกแบบรายละเอยี ดและต้งั ของงบประมาณ) จานวน ๒ โครงการ คือ ระบบ
บาบัดน้าเสียรวมอาเภอปลวกแดง ระบบบริหารจัดการน้าเสียในพื้นท่ีเขตควบคุมมลพิษจังหวัดระยอง และซ่ึง
ปริมาณน้าเสียในภาพรวมยังคงมีปริมาณมากกว่าความสามารถในการบาบัด และหากพิจารณาคุณภาพน้าใน
ลานา้ ทมี่ ีคณุ ภาพเสอ่ื มโทรมเปรยี บเทยี บกบั สถานะการบาบัดน้าเสียพบวา่ (ภาพที่ ๒ - ๗)
๑) คลองพานทอง ตาบลท่าข้าม จังหวัดฉะเชิงเทรามีคุณภาพน้าในระดับเส่ือมโทรมมาก แต่การใช้
ประโยชน์ท่ีดนิ ริมคลองยังไม่มรี ะบบรวบรวมและบาบัดน้าเสยี คลองนครเนื่องเขต คลองท่าไข่ แมน่ ้าบางปะกง
จ.ฉะเชงิ เทรา มีคณุ ภาพในระดับเสื่อมโทรม ไหลผ่านเขตปกครอง ๓๒ เขตปกครอง มีเพียง ๔ เขตปกครองท่ีมี
ระบบรวบรวมและบาบัดนา้ เสีย
๒) คลองตาหรุ จังหวัดชลบุรี มีคุณภาพในระดับเสื่อมโทรม การใช้ประโยชน์ที่ดินริมคลองยังไม่มีระบบ
รวบรวมและบาบัดนา้ เสยี
๓) แม่น้าระยอง แม่น้าประแสร์ จังหวัดระยอง มีคุณภาพน้าในระดับเส่ือมโทรม แม่น้าระยอง มีระบบ
บาบัดน้าเสียเฉพาะในพ้ืนท่ีตาบลท่าประดู่ และตาบลเนินพระ และได้รับงบประมาณก่อสร้างเพิ่มเติมตามแผน
สิ่งแวดล้อมในพน้ื ทพ่ี ัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก ระยะที่ ๑ อกี ๒ พ้ืนท่ี คือระบบบาบัดน้าเสียรวมอาเภอปลวก
แดง ระบบบริหารจัดการน้าเสียในพื้นท่ีเขตควบคุมมลพิษจังหวัดระยอง ส่วนแม่น้าประแสร์ การใช้ประโยชน์
ทด่ี นิ ริมแมน่ ้ายงั ไมม่ ีระบบรวบรวมและบาบัดนา้ เสีย
โครงการจดั ทาแผนส่ิงแวดล้อมในพื้นที่เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๒ - ๗๓
สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สดุ ท้าย
จากสถานการณ์คุณภาพน้าเสียในลาน้าและศักยภาพการบาบดั น้าเสียของการใชป้ ระโยชนท์ ่ีดินริมคลอง
การสนับสนุนและส่งเสริมให้มีกระบวนการบาบัดน้าเสียท่ีครอบคลุมพ้ื นที่ท่ีคลองหรือแม่น้า
สายสาคัญไหลผ่าน เป็นส่งิ จาเป็นทีต่ ้องไดร้ บั การผลักดันในแผนสงิ่ แวดล้อมในพื้นท่ีพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก
ระยะที่ ๒ ตอ่ ไป
โครงการจัดทาแผนสิ่งแวดล้อมในพนื้ ทเ่ี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๒ - ๗๔
สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดทา้ ย
ภาพที่ ๒ - ๗ เสน้ ทางน้าทม่ี ีคณุ ภาพนา้ เสื่อมโทรมและตาแหนง่ ระบบบาบดั นา้ เสีย
โครงการจดั ทาแผนสิ่งแวดล้อมในพ้นื ท่เี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๒ - ๗๕
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดท้าย
๒.๕ แนวทางการวิเคราะหข์ ้อมลู เพอื่ การกาหนดยทุ ธศาสตร์ กลยุทธ์ แผนงาน
ในส่วนน้ี เป็นการประเมินด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมของแผนสิ่งแวดล้อมในพื้นท่ีเขต
พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก เพ่ือใช้เป็นข้อมูลสาคัญในการกาหนดยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ และแผนงานของแผน
ส่ิงแวดล้อม ระยะที่ ๒ โดยในการประเมินนี้ได้ใช้แบบจาลอง Pressure-Capacity-Governance Model
(PCG Model) ซ่ึงเป็นเครือ่ งมือที่ใช้ในพ้ืนท่ีแนวเศรษฐกิจ (economic belt) ของแม่น้าแยงซี (Yangze River
Economic Belt) (Bao et al., 2020) ซง่ึ มีบริบททสี่ ามารถเทียบเคียงกับพ้ืนที่เขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก
ประกอบดว้ ย ๓ ส่วนหลกั (ภาพท่ี ๒ - ๘) ไดแ้ ก่
๑) แรงกดดันต่อทรัพยากรและส่ิงแวดล้อม (Resources and Environmental Pressure)
ประกอบด้วย แรงกดดันภายนอกที่เกิดจากความท้าทายของการเปลีย่ นแปลงของโลก แรงกดดันภายในที่มาจาก
กิจกรรมทางเศรษฐกิจ การขยายตัวของประชากร การใช้ทรัพยากร และการก่อมลภาวะของพื้นท่ีเขตพัฒนา
พิเศษภาคตะวนั ออกเอง
๒) ศักยภาพการรองรับด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม (Resources and Environmental
Carrying Capacity) ซึ่งสะท้อนถึงสถานะของความสามารถในการสนับสนุนทรัพยากรต่อการพัฒนา รวมถึง
ความสามารถในการปกป้องรักษาเชงิ สภาพแวดล้อม (Environmental Protective Capability) และการเป็น
ฐานของระบบนิเวศในภูมภิ าค
๓ ) การบ ริห ารจัดการท รัพ ยากรและส่ิงแวดล้อม (Resources and Environmental
Governance) แสดงถึงกิจกรรมเชิงบวกของมนุษย์ในการเพิ่มศักยภาพในการรองรับด้านทรัพยากรและ
ส่ิงแวดลอ้ ม ไม่วา่ จะเปน็ ความกา้ วหน้าทางวิทยาการและทางเทคโนโลยี หรอื การริเริ่มนโยบายทีส่ มเหตุสมผล
ท่มี า: ดัดแปลงจาก Bao et al. (2020)
ภาพที่ ๒ - ๘ การประเมนิ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมตามหลักการ PCG
๒.๕.๑ แรงกดดนั ต่อทรัพยากรและสงิ่ แวดล้อม
๒.๕.๑.๑ แรงกดดันภายนอกต่อทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เป็นประเด็นท้าทายในปัจจุบัน
และอนาคตของโลกที่กาลังเผชิญอยู่ในปัจจุบันและต้องการแนวทางรองรับในอนาคต เป็นประเด็นความท้า
ทายในภาพรวม และ ประเด็นท้าทายในดา้ นทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม มรี ายละเอียดดงั น้ี
โครงการจัดทาแผนส่ิงแวดลอ้ มในพ้นื ท่ีเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๒ - ๗๖
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ทา้ ย
๒.๕.๑.๑.๑ ประเดนความท้าทายในภาพรวม
สภาเศรษฐกิจโลก (The world Economic Forum) ได้ระบุประเด็นท้าทาย
สาคัญระดับโลก ๑๐ ประการท่ีการแก้ไขต้องอาศัยความร่วมมือจากทั้งภาครัฐและเอกชนอย่างจริงจัง
(Rosamond Hutt, 2016) ประกอบดว้ ยประเดน็ ดงั ต่อไปนี้
(๑) ความมั่นคงทางอาหาร
คาดการณ์ว่าภายในปี พ.ศ. ๒๕๙๓ โลกจะต้องเลี้ยงคน ๙ พันล้านคน ทาให้ความ
ต้องการอาหารเพิ่มมากขึ้นกว่าที่เป็นอยู่ในปัจจุบันถึง ร้อยละ ๖๐ ดังน้ัน องค์การสหประชาชาติ
(United Nations) ได้กาหนดให้เรื่องการยุติความอดอยากเป็นเป้าหมายหน่ึงของเป้าหมายการพัฒนาท่ียั่งยืน
โดยกาหนดให้การส่งเสริมการเกษตรยั่งยนื เป็นเป้าหมายลาดับที่ ๒ ในเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนท้ังหมด ๑๗
เป้าหมาย และให้ข้อเสนอแนะว่าการบรรลุเป้าหมายน้ี จาเป็นต้องจัดการกับปัญหาต่าง ๆ มากมาย
ตงั้ แต่ความไมเ่ ท่าเทียมกนั ทางเพศ ไปจนถงึ การพัฒนาทักษะ และภาวะโลกร้อน
ดังนั้น ภาคการเกษตรจาเป็นต้องเพ่ิมผลิตภาพมากขึ้น ในขณะที่การปล่อยก๊าซ
เรือนกระจกและของเสีย รวมถึงการใช้น้าต้องลดลง ความล้มเหลวในการสร้างความมั่นคงทางอาหาร
จะนาไปสภู่ าวะขาดแคลนสารอาหาร ความหิวโหย และอาจมากไปถึงความขัดแย้งในสังคม
(๒) ความไมเ่ ท่าเทยี มทางเศรษฐกจิ ในสังคม
การเติบโตทางเศรษฐกิจในทศวรรษท่ีผา่ นมาอาจทาให้เกิดความมัง่ คั่งเพิม่ ขนึ้ ต่อคน
จานวนมากทั่วโลก แต่ก็มีหลักฐานว่าระบบสังคมการเมือง และเศรษฐกิจในปัจจุบันกาลังทาให้ความไม่เท่า
เทียมกันในสังคมมีความรุนแรงเพ่ิมมากข้ึนแทนที่จะลดลง และมีงานวิจัยชี้ให้เห็นว่าความไม่เท่าเทียมกันของ
รายได้ท่เี พ่มิ ขน้ึ เป็นสาเหตขุ องความเจบ็ ปว่ ยในสังคม
ดังน้ัน ความพยายามเพิ่มการเติบโต จาเป็นตอ้ งแนใ่ จไดว้ ่าผลประโยชน์ทีจ่ ะเกดิ ข้ึน
น้นั ได้กระจายไปถึงทุกคนในสังคม
(๓) ภาวะการจา้ งงาน
องค์การแรงงานระหว่างประเทศประเมินว่ามีการสูญเสียงานมากกว่า ๖๑ ล้าน
ตาแหน่งนับต้ังแต่เร่ิมวิกฤตเศรษฐกิจโลกในปี พ.ศ. ๒๕๕๑ ทาให้มีผู้ว่างงานมากกว่า ๒๐๐ ล้านคนท่ัวโลก
ดังน้ัน ภายในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ ต้องสร้างงานใหม่เกือบ ๕๐๐ ล้านตาแหน่ง สาหรับชดเชยกับแรงงานท่ีว่างงาน
รวมถึงคนรุ่นใหม่ที่จะเติบโตข้ึนเป็นแรงงานในอีกไม่ก่ีปีข้างหน้า ในขณะที่ภาคอุตสาหกรรมก็กาลังประสบ
ปญั หาในการจ้างพนกั งานที่ขาดทกั ษะ
ดังน้ัน แรงงานที่ต้องการสาหรับภาคอุตสาหกรรมในอนาคตจาเป็นต้องมีทักษะ
แรงงานทีข่ าดทักษะจะไม่มตี าแหนง่ งานในภาคอุตสาหกรรมอีกต่อไป
(๔) การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ
กิจกรรมของมนุษย์เกิดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกท่ัวโลกเพ่ิมข้ึนเกือบ ร้อยละ ๘๐
ต้ังแต่ปี ค.ศ. 1970 ทาให้อุณหภูมิพื้นผิวเฉลี่ยของโลกสูงข้ึนเกือบ ๑ องศาเซลเซียส และทาให้บรรยากาศมี
ความเข้มข้นของก๊าซเรือนกระจกอยู่ในระดับสูงสุดใน ๘๐๐,๐๐๐ ปี ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศแสดงให้เห็นจากเหตุการณ์ภาวะความแห้งแล้ง ความถี่และความรุนแรงของพายุท่ีเพ่ิมข้ึน รวมถึง
โครงการจัดทาแผนสง่ิ แวดล้อมในพืน้ ทเี่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๒ - ๗๗
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม รายงานฉบบั สดุ ท้าย
รูปแบบปริมาณน้าฝนท่ีเปล่ียนไป โดยบริษัทประกันได้คาดการณ์ความเสียหายทางเศรษฐกิจที่เกิดจากสภาพ
อากาศจะเพิ่มข้ึนเปน็ สามเท่า นบั ตัง้ แต่ทศวรรษที่ 1980 เปน็ ต้นไป
ดงั นั้น ความเสียหายจากภัยพิบัติอันเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจะ
มีความเส่ียงสูงเพ่ิมมากขึ้นอีก หากอุณหภูมิพ้ืนผิวเฉล่ียของโลกเพิ่มข้ึนเกิน ๒ องศาเซลเซียส ซึ่งเป็นข้อตกลง
ร่วมกันของนานาประเทศในการประชุมที่ กรุงปารีส เม่ือเดอื นธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ ในการจากดั อุณหภูมิโลก
ไมใ่ ห้สูงเกิน ๑.๕ องศาเซลเซยี ส
(๕) ระบบการเงินโลก
วิกฤตการเงินโลกบ่งชี้ให้เห็นถึงจุดอ่อนบางประการของระบบการเงินที่อาจเกิด
จากการท่ีตลาดโลกเช่ือมต่อทั่วถึงกันอย่างรวดเร็ว ความล่าช้าทางนโยบายทางการเงินและข้อจากัดทาง
งบประมาณของรัฐบาล เป็นสิ่งทตี่ ้องมีการปรับปรุงโดยตอ้ งการระบบการเงนิ ทม่ี ีความยดื หยุ่นมากขึ้น สามารถ
ทนต่อแรงสัน่ สะเทือนในตลาดได้ วิกฤตการเงนิ ส่งผลให้ระดบั ความไว้วางใจของประชาชนและความเช่ือม่ันใน
สถาบันการเงินลดลงอย่างมาก ซ่ึงจาเป็นต้องสร้างระบบการทางานที่มีประสิทธิภาพและสร้างความไว้วางใจ
ขนึ้ มาใหม่
ดงั นนั้ การเขา้ ถึงสินเชื่อและการออมเป็นความท้าทายทส่ี าคัญในการต่อสกู้ ับความ
ยากจนทว่ั โลก
(๖) เทคโนโลยเี ครือข่ายการส่อื สาร
อินเทอร์เน็ตได้เปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตและการทางาน การผลิตและการบริโภค ด้วย
การเขา้ ถงึ เช่อื มโยงกันอยา่ งกว้างขวางและรวดเร็ว เทคโนโลยีดิจทิ ัลได้เปล่ียนรปู แบบทางธุรกิจและการบริหาร
จัดการไปจากรูปแบบในอดีตไปอย่างสิ้นเชิง การเปลี่ยนรูปทางเทคโนโลยีท่ีถูกขับเคล่ือนผ่านทางอินเทอร์เน็ต
บนโทรศัพท์มอื ถอื เป็นการเปล่ียนแปลงครัง้ ใหญ่ทีส่ ่งผลต่อสขุ ภาพในระยะยาว ภายในปี ค.ศ. 2025 คาดการณ์
ว่าโทรศพั ท์จะมลี กั ษณะของการฝังไปในรา่ งกาย และทกุ สิง่ จะเชอ่ื มโยงกนั ด้วยเครอื ขา่ ยอินเทอรเ์ นต็
ดังนั้น การเชื่อมโยงทุกส่ิงด้วยเครือข่ายอินเทอร์เน็ตทั่วโลกอาจช่วยให้การบริหาร
จดั การทรัพยากรได้มีประสิทธิภาพมากข้ึน แต่ก็จะสง่ ผลต่อความเป็นสว่ นตัวและความปลอดภัยของข้อมลู และ
ความความสัมพันธส์ ว่ นตวั ของสังคมโลก
(๗) ความเทา่ เทียมทางเพศ
ในปัจจุบันดูเหมือนว่าความเท่าเทียมทางเพศจะมีความใกล้เคียงกัน แต่จาก
รายงานในช่วงทศวรรษท่ผี ่านมา สภาเศรษฐกจิ โลก ประเมนิ วา่ หากต้องการใหม้ ีความเทา่ เทียมทางเพศท่ัวโลก
อย่างแทจ้ รงิ ด้วยอตั ราเรง่ ปัจจบุ ันอาจต้องใชเ้ วลาอีก ๑๑๘ ถึง ๒,๑๓๓ ปี จงึ จะบรรลเุ ปา้ หมาย
ดังนัน้ การบรรลคุ วามเท่าเทียมทางเพศเป็นเร่อื งทีส่ มควรทง้ั ด้านเศรษฐกจิ สขุ ภาพ
การศกึ ษา ไปจนถงึ เรอ่ื งอานาจทางการเมอื ง
(๘) การค้าและการลงทุนระหวา่ งประเทศ
ปัจจุบันการค้าระหว่างประเทศเป็นปัจจัยขับเคลื่อนท่ีสาคัญในการสร้างการเติบโต
ทางเศรษฐกิจของประเทศ แต่ในช่วงที่ผ่านมาขนาดและรูปแบบของเศรษฐกิจโลกได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก
การ ซื้อ ขาย แล ะก าร ล งทุ น แ บ บ เดิ ม ต้ อ งป รั บ ตั ว แ ล ะพั ฒ น ารูป แบ บ ให้ ต ร งกั บ ค ว าม ต้ อ งก ารข อ งสั งค ม ที่
โครงการจัดทาแผนสิง่ แวดลอ้ มในพ้นื ทีเ่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๒ - ๗๘
สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม รายงานฉบับสุดทา้ ย
เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว มีการเปล่ียนแปลงในวิธีการทาธุรกิจมากมาย จากการเติบโตของเศรษฐกิจดิจิทัล
การเพ่ิมขึน้ ของภาคบรกิ าร และการแพรก่ ระจายของเครือขา่ ยการผลติ
ดังน้ัน ในทางตรงกันข้าม กฎระเบียบและข้อตกลงระหว่างประเทศไม่ได้พัฒนาไป
ด้วยความเร็วในระดับเดียวกับการเปลี่ยนรูปแบบของการทาธุรกิจ ภาครัฐก็ต้องการระบบในการกากับดูแลท่ีมี
ประสิทธิภาพ ทนั การเปลยี่ นแปลง
(๙) การลงทุนระยะยาว
ความม่ันคงในเศรษฐกิจและความเป็นอยู่ท่ีดีของสังคมสะท้อนจากการลงทุนระยะ
ยาว แต่จากวิกฤตการเงินโลก ทาให้การเติบโตทางเศรษฐกิจซบเซา และงบประมาณของรัฐบาลที่มีจากัด ทา
ใหก้ ารลงทุนระยะยาวหยุดชะงกั และส่งผลกระทบการเตบิ โตทางเศรษฐกิจท่ัวโลก
ดังนั้น การระดมทุนเพื่อการพัฒนาระบบและบริการพ้ืนฐานท่ีต้องดาเนินการเป็น
ความท้าทายของรัฐบาลภายใต้สถานการณว์ ิกฤตกิ ารเงินโลก
(๑๐) การดูแลสขุ ภาพ
ในปัจจุบันความก้าวหน้าทางการแพทย์ทาให้มนุษย์มีอายุยืนยาวขึ้น แต่อย่างไรก็
ตาม โลกต้องเผชิญกับการแพร่ระบาดของโรคชนิดใหม่ และการเพิ่มขึ้นของโรคไม่ติดต่อ ที่ทาให้ค่าใช้จ่ายใน
การดูแลรักษาเพิ่มข้ึน ในปี พ.ศ. ๒๕๙๓ ประชากรโลกจะเพ่ิมเป็น ๙.๗ พันล้านคน โดยมี ๒ พันล้านคนเป็นผู้มี
อายุมากกว่า ๖๐ ปี
ดังนัน้ จึงจาเป็นตอ้ งจัดหาระบบสุขภาพที่เพียงพอและเหมาะสม
๒.๕.๑.๑.๒ ประเดนความท้าทายโลกท่ีเก่ียวข้องกบั ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ
ส่งิ แวดล้อม
Nils Zimmirmann (2016) ได้สรุปปัญหาด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม
ทเ่ี ป็นความท้าทายท่โี ลกกาลังเผชญิ และต้องได้รบั การแก้ไขอย่างเร่งด่วนหากต้องการรักษาสภาพสง่ิ แวดล้อมท่ี
สง่ เสริมการดารงอยู่ของมนุษย์และส่ิงมีชีวิต ออกเปน็ ๕ ประเด็น ดังนี้
(๑) มลภาวะและการเปล่ยี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ
ก๊าซคาร์บอนไดออกไซดใ์ นบรรยากาศทาหนา้ ในการดูดซบั และสะท้อนรงั สอี ินฟาเรด
ในบรรยากาศของโลก ส่งผลให้อุณหภูมิของอากาศ ดิน และน้าที่พ้ืนผิวทะเลสูงข้ึน หากเป็นสภาวะปกติก็เป็น
ส่ิงดีท่ีช่วยทาให้บรรยากาศเหมาะสมกับการอยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิต แต่ในสภาวะท่ีมากเกินไปจากท่ีในสภาวะ
ปกติ ที่ระดับของ CO2 ในบรรยากาศมีความเข้มข้นอยู่ท่ีระดับ ๒๘๐ ppm เมือ่ ๒๐๐ กว่าปีที่ผา่ นมา ปจั จุบัน
ระดบั ของ CO2 ในบรรยากาศมคี วามเข้มข้นอย่ทู ่ีระดับ ๔๐๐ ppm ซึ่งเป็นระดับท่ีเพิ่มขน้ึ อยา่ งทีไ่ ม่เคยปรากฏ
มาก่อนทั้งด้านปริมาณและความเร็ว อันส่งผลให้เกิดการเปล่ียนแปลงรูปแบบของสภาพภูมิอากาศไปจากเดิม
อย่างส้ินเชงิ และสง่ ผลตอ่ การเปลย่ี นแปลงสภาพแวดลอ้ มอย่างมากมาย
Oliver Godard (2008) ได้สรุปผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศไว้
ดังนี้ ระดับน้าทะเลจะเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเน่ืองแม้จะมีอัตราการเพ่ิมที่ต่ากว่าการเพ่ิมข้ึนของอุณหภูมิ โดย
คาดการณ์การเพ่ิมข้ึนของระดับน้าทะเลท่ีระดับ ๑๐ ถึง ๘๘ เซนติเมตร ภายในปี ค.ศ. 2100 อย่างไรก็ตาม
โครงการจดั ทาแผนสิง่ แวดล้อมในพ้นื ทเี่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๒ - ๗๙
สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม รายงานฉบบั สุดทา้ ย
สาหรับพ้ืนที่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้คาดว่าจะประสบกับปัญหาน้าทะเลท่วมชายฝั่งประมาณในปี
ค.ศ. 2050 ในขณะท่ีการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิจาก ๑ เป็น ๒ องศาเซลเซียส (จากการรายงานของ IPCC เมื่อ
เดือนตุลาคม ปี ค.ศ. 2018 ระบุในรายงานพิเศษ ปัจจุบันอุณหภูมิเฉล่ียของโลกเพ่ิมข้ึนแล้ว ๑.๕ องศา
เ ซ ล เ ซี ย ส ( https://www.un.org/en/sections/issues-depth/climate-change/index.html) ห า ก
อุณหภูมิสูงข้ึนดังท่ีกล่าวในระยะเวลาอันสั้นจะส่งผลต่อการสูญพันธ์ุของส่ิงมีชีวิตคิดเป็น ร้อยละ ๑๕ - ๔๐
ของชนิดของส่ิงมีชีวิตตามธรรมชาติเพราะการสูญเสียพ้ืนที่ท่ีอยู่ท่ีมีสภาวะแวดล้อมท่ีเหมาะสม นอกจากน้ัน
การละลายของธารน้าแข็งที่เร็วข้ึนจะส่งผลต่อความเสี่ยงต่อภัยน้าท่วมในช่วงฤดูฝน และ ๑ ใน ๖ ของ
ประชากรโลกจะพบกับปัญหาขาดแคลนน้าในช่วงแล้ง ปริมาณน้าสารองสาหรับฤดูแล้งจากธารน้าแข็งจาก
เทือกเขาหิมาลัยอาจจะลดลง ๒ ใน ๓ ภายในปี พ.ศ. ๒๕๙๓ มีความเป็นไปไดท้ ่ีสภาพอากาศในระดับภูมิภาค
จะเปลี่ยนแปลงรูปแบบอย่างกะทันหันในบางพ้ืนที่ เช่น ระบบมรสุมในเอเชีย และเอลนีโญในอเมริกาใต้ โดย
การเปล่ียนแปลงจะเกย่ี วข้องด้วยการเปลี่ยนแปลงรูปแบบตามฤดกู าล และรายปี (ภาวะแล้ง และ น้าท่วม) ที่มี
ลักษณะท่ีไม่ใช่การชดเชยระดับผลกระทบท่ีเกิดขึ้นต่อกันเสมอไป ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศจะเปลี่ยนผลผลิตทางการเกษตรอย่างรุนแรง อันเนื่องจากหลายปัจจัย (การสูญหายของแมลงที่ช่วย
ผสมเกสร ความถ่ีของภัยน้าท่วมและภัยแล้ง ความรุนแรงจากไฟป่าและพื้นที่เพาะปลูก การพัฒนาของแมลง
ศัตรูพืช) สภาพแวดล้อมท่ีเสื่อมโทรมจะลดรายได้ทางการเกษตรและการเปลี่ยนแปลงการใช้ท่ีดินจะตามมา
และกับดกั ความยากจนจะยงั คงมีอยตู่ ่อไป
(๒) การสูญเสยี พน้ื ทปี่ ่าไม้
พื้นที่ป่าไม้ที่อุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติถูกทาลายอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะในบริเวณ
เขตร้อน ด้วยการเปลี่ยนพ้ืนทเี่ ปน็ ฟาร์มปศสุ ัตว์ หรือปาลม์ นา้ มัน หรือการปลูกพืชเชิงเด่ยี วอ่ืน ๆ ทาให้สูญเสีย
พ้ืนท่ีท่ีมีความหลากหลายทางชีวภาพ ท่ีทาหน้าท่ีกักเก็บคาร์บอนไดออกไซด์ออกจากชั้นบรรยากาศและ
มหาสมุทร ซ่ึงป่าธรรมชาติที่เหลืออยู่เป็นพ้ืนท่ีที่ต้องการการอนุรักษ์ไว้ และฟื้นฟูพื้นท่ีเสื่อมโทรมด้วยการเพิ่ม
พ้นื ท่ีตน้ ไมพ้ ้นื ถน่ิ
(๓) การสญู พันธข์ุ องชนดิ ของส่ิงมีชีวติ
สัตว์ป่าและสัตว์น้าในทะเลถูกล่าและจับจนสูญพันธ์ุ รวมถึงการทาลายแห่งที่อยู่
อาศัยเป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่ส่งผลต่อการสูญพันธ์ุของชนิดของส่ิงมีชีวิต การสูญพันธ์ุของส่ิงมีชีวิตบางชนิดส่งผล
ต่อการสูญหายของแหล่งบริการระบบนิเวศต่อมนุษย์ เชน่ การช่วยผสมเกสรพืชของแมลงที่ให้ผลผลิตทางการ
เกษตรสงู การรกั ษาความหลากหลายทางชีวภาพต้องการความพยายามร่วมกัน และควรทาให้การอนรุ ักษ์สัตว์
ปา่ อย่ใู นความสนใจทางสงั คมและเศรษฐกจิ
(๔) ความเสอ่ื มโทรมของดนิ
การปรับถมดินเพ่ือการก่อสร้าง การปลูกพืชเชิงเดี่ยว การใช้สารพิษมากเกินไป การ
เปล่ียนแปลงการใช้ท่ีดิน ล้วนสง่ ผลต่อความเสื่อมโทรมของดิน จากการประมาณการของ UN ชถี้ ึงอัตราความ
เส่ือมโทรมของพ้ืนที่เกษตรกรรม ๑๒ ล้านเฮกตาร์ต่อปี ซ่ึงเป็นอัตราที่สูง ดังนั้น การอนุรักษ์ดินจึงมีความ
จาเป็นเนอื่ งจากความม่ันคงทางอาหารข้นึ อยู่กับการรักษาดนิ ใหอ้ ยู่ในสภาพดี
โครงการจดั ทาแผนสิ่งแวดลอ้ มในพ้นื ทเ่ี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๒ - ๘๐
สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดทา้ ย
(๕) การเพม่ิ ของประชากรจานวนมาก
ป ระช ากรเพิ่ มข้ึน อย่างรวดเร็วท่ั ว โลก ส่งผลต่อการเพ่ิ มแรงกดดัน ต่ อ
ทรัพยากรธรรมชาตทิ ีจ่ าเปน็ เช่น นา้ และพลงั งาน
สรุปประเด็นท้าทายที่เก่ียวข้องกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สัมพันธ์กับ
ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ท่ีมีสาเหตุมาจากการเพิ่มขึ้นของก๊าซเรือนกระจกในบรรยากาศ และ
เปน็ ปัจจัยขบั เคล่ือนปญั หาอ่ืน ๆ ตามมา ที่สาคัญคอื ความมั่นคงทางอาหาร ความเส่ียงตอ่ ภยั พิบตั นิ ้าท่วมและ
ฝนแล้งที่ไม่เคยปรากฏมาก่อน (United Nation, n.d.) รวมไปถึงการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ
นาไปสู่ความตระหนักของมวลมนุษยชาติที่ต้องปรับโลกทัศน์ของตนเองเพื่อสร้างการพัฒน าที่เคารพใน
ธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม เช่นเดียวกับพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกที่มุ่งการพัฒนาและส่งเสริม
กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ และนวัตกรรมเพ่อื นาไปสูเ่ มืองนา่ อยู่อัจฉริยะที่ยง่ั ยืนแหง่ อนาคต
๒.๕.๑.๑.๓ ประเดนความท้าทายโลกท่ีสาคัญต่อพ้ืนที่ EEC สามารถพิจารณา
เบื้องต้นได้เป็น ๔ ประเด็นหลัก คือ ความมั่นคงทางอาหาร ความเป็นอยู่และสุขภาพท่ีดี การเปล่ียนแปลง
สภาพภูมิอากาศ และระบบเศรษฐกิจโลก ซ่ึงหากพ้ืนท่ี EEC ได้มีการเตรียมรับมือกับความท้าทายน้ีจะช่วย
หนุนและขับเคล่อื นให้ไปถงึ เปา้ หมายท่วี างไวไ้ ด้ มีรายละเอียด ดงั น้ี
(๑) ความม่ันคงทางอาหาร
วิกฤติอาหารในปี พ.ศ. ๒๕๕๑ เป็นแรงกระตุ้นสาคัญท่ีต้องตระหนักถึงความจาเป็น
ในการเปล่ียนแปลงรากฐานและการตง้ั สมมตุ ิฐานในการขบั เคลือ่ นทางอาหาร และนโยบายทางด้านการค้าและ
การเกษตร โดยนโยบายที่เน้นการเพิ่มผลิตทางการเกษตรในเชิงอุตสาหกรรม ไม่สามารถขจัดปัญหาผู้หิวโหย
และขาดโภชนาการได้ สืบเน่อื งจากความยากจนที่ไมม่ ีกาลังทรัพย์มากพอท่ีจะซื้อหาอาหารได้ หรอื ยากจนเกิน
กว่าจะพึ่งตนเองได้ การให้พลังสาหรับผู้ยากจนให้สามารถเข้าถึงความม่ันคงทางอาหารจึงเป็นความท้าทาย
ลาดับแรกของสังคมโลก ซึ่งจาเป็นต้องเปล่ียนกระบวนทัศน์ทางด้านการพัฒนาการเกษตรจากการปฏิวัติเขียว
(Green Revolution) ไปเป็นลักษณะ การเพ่ิมความเข้มข้น (United Nations, 2013) ในขณะท่ีการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศส่งผลต่อผลิตภาพทางการเกษตร โดยช่วงห่างของอุณหภูมิในแต่ละฤดูและ
รูปแบบของฝนคือปัจจัยควบคุมท่ีเหมาะสมสาหรับผลติ ภาพทางการเพาะปลกู ซึ่งชนิดพันธท์ ่ีเพาะปลูกมีความ
อ่อนไหวต่อการเปล่ียนแปลงของสภาพภูมิอากาศท้องถิ่น ดังนั้น ผลผลิตทางการเกษตรของโลกจึงถูก
คาดการณ์ว่าจะได้รับผลกระทบท่ีทาให้ผลผลิตลดลงภายใต้เงื่อนไขของสภาพภูมิอากาศที่ร้อนข้ึนและรูปแบบ
ของฝนท่ีเปล่ยี นแปลงไป ซ่ึงมาตรการสาคัญที่จะสง่ เสริมต่อการปรับตัวทางภาคเกษตรกรรม คือ การบรับปรุง
การจัดการทรัพยากรน้า และการรักษาเศษวสั ดุทางการเกษตรให้อยู่คมุ หน้าดินสาหรบั การเพมิ่ การดดู ซบั น้าฝน
และลดการระเหยจากหน้าดิน (United Nations, 2021) ในขณะเดียวกันองค์การสหประชาชาติ (Untied
Nation) ได้กาหนดให้เรื่องการยุติความอดอยากเป็นเป้าหมายหน่ึงของเป้าหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืน
โดยกาหนดให้มีการส่งเสริมการเกษตรย่ังยืน ท้ังนี้เน่ืองจากความล้มเหลวในการสร้างความม่ันคงทางอาหาร
จะนาไปสู่ภาวะขาดแคลนสารอาหาร ความหิวโหย และอาจมากไปถึงความขัดแย้งในสังคมได้ เพราะมีการ
คาดการณ์ว่าภายในปี พ.ศ. ๒๕๙๓ โลกจะต้องเล้ียงคน ๙ พันล้านคน ทาให้ความต้องการอาหารเพ่ิมมากขึ้น
กวา่ ทเ่ี ปน็ อยู่ในปจั จบุ นั ถึง ร้อยละ ๖๐ (Rosamond Hutt, 2016)
โครงการจดั ทาแผนสิง่ แวดล้อมในพื้นท่ีเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๒ - ๘๑
สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย
สถานการณ์ภาคการเกษตรของประเทศไทย ในปี พ.ศ. ๒๕๕๒ สัดส่วนของ
มูลค่าเพิ่มของภาคการเกษตรต่อ GDP มีแนวโน้มลดลงจากร้อยละ ๑๑.๕ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๒ เป็นร้อยละ ๘.๑
ในปี พ.ศ. ๒๕๖๑ ประกอบกับแนวโน้มการเปล่ียนแปลงในอนาคตจะส่งผลให้ภาคเกษตรมีความเปาะบาง
เพ่ิมข้ึน กล่าวคือ (๑) การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศจะส่งผลต่อการลดลงของทั้งปริมาณและคุณภาพของ
ผลผลิตการเกษตร (๒) กระแสการดูแลสุขภาพของผู้บริโภคต้องการสินค้าที่มีมาตรฐานค้านความปลอดภัย
การส่งออกสินค้าต้องผ่านมาตรฐานสากลที่เข้มงวดข้ึน และ (๓) การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ และแรงงานเกษตร
อายุน้อยมีแนวโน้มลดจานวนลง เป็นปัจจัยลดทอนผลิตภาพแรงงานในภาคการเกษตร โอกาสสาคัญสาหรับ
ภาคการเกษตรที่จะช่วยลดความเส่ียงคือการลดการพ่ึงพาทรัพยากรธรรมชาติ และเพ่ิมมูลค่าให้กับผลผลิต
ดังน้ัน กรอบยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๖๐ - ๒๕๗๙) ของประเทศไทย จึงกาหนดวิสัยทัศน์ คือ
“ประเทศมีความม่ันคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง” โดยเปา้ หมายในอนาคตคือ การเป็นประเทศพัฒนาแลว้ ท่ีมบี ทบาทสร้างสรรคใ์ นสังคมโลก รายได้ต่อ
หัวสูง มีความเหลื่อมล้าน้อย/ทุกคนมีที่ยืนในสังคม สังคมเป็นธรรมและคุณภาพ เป็นสังคมนวัตกรรมที่มีฐาน
การผลิตและบริการกว้างขวาง มีความม่ันคงด้านอาหาร พลังงาน และน้า การพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิง
นิเวศและเมืองที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม ซ่ึงยุทธศาสตร์ชาติได้ให้ความสาคัญกับการพัฒนาภาคเกษตร
โดยกาหนดให้เป็นส่วนหนึ่งของยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ประกอบด้วย ๕
รูปแบบ คือ เกษตรอัตลักษณ์พื้นถ่ิน เกษตรปลอดภัย เกษตรชีวภาพ เกษตรแปรรูป และเกษตรอัจฉริยะ
อย่างไรก็ตาม เกษตรกรยังคงมีขอ้ จากดั ในหลายดา้ น เช่น แรงงานภาคเกษตรเข้าสู่สงั คมสูงวัย ไม่พร้อมรับการ
เปลี่ยนแปลงหรือการนาความรู้และเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ ๒) เกษตรกรท่ัวไปไม่สามารถบริหารจัดการท่ี
เชื่อมโยงกับระบบตลาดและขาดแคลนทุนในการพัฒนาตนเอง ๓) เผชิญกับภาวะขาดแคลนน้าซึ่งเป็นปัจจัย
การผลิตท่ีสาคัญ และ ๔) สถาบันเกษตรกรในรูปแบบต่าง ๆ ยังไม่สามารถทาหน้าในการสนับสนุนได้อย่าง
เข้มแข็งเพียงพอ (สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, ๒๕๖๔) ทั้งนี้ โอกาสในการลดความ
เสี่ยงของเกษตรกร คือ การเข้าถึงองค์ความรู้ และข้อมูลจากกรณีศึกษาที่ประสบความสาเร็จมากข้ึน
จากภาควชิ าการทัง้ ในมหาวิทยาลยั และเครือขา่ ยปราชญ์ชาวบา้ น
พื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก มีแนวโน้มประชากรท่ีเพ่ิมสูงขึ้นโดย โดยในปี
พ.ศ. ๒๕๖๒ มีจานวน ๓,๐๑๓,๑๖๗ คน และมีประชากรแฝง ๑,๒๙๙,๐๐๐ คน รวมประชากรในพื้นที่ EEC
ทงั้ สน้ิ ๔,๓๑๒,๑๖๗ คน และใน ปี พ.ศ. ๒๕๗๐ คาดการณ์ว่าจะเพิ่มขึ้นเปน็ ๓,๔๓๒,๙๙๖ คน ประชากรแฝง
ในพื้นที่ EEC ๒,๖๕๗,๘๒๘ คน รวมท้ังสิ้น ๖,๐๙๐,๘๒๔ คน ในขณะท่ีมีความต้องการการใช้ประโยชน์ท่ีดิน
เพ่ือการพัฒนาสูงขึ้น ในขณะที่การใช้ประโยชน์ที่ดินเพ่ือเกษตรกรรมลดลงโดยในพ.ศ. ๒๕๕๙ มีพื้นที่เท่ากับ
๕,๔๗๑,๓๖๖ ไร่ ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๖๑ พบว่า ๕,๔๐๔,๑๔๗ ไร่ (กรมพัฒนาท่ีดิน, ๒๕๖๑) น่ันหมายถึง
พื้นท่ีเกษตรกรรมสูญหายไปเกือบ ๗๐,๐๐๐ ไร่ ภายในระยะเวลา ๒ ปี จะเห็นได้ว่าการเพ่ิมข้ึนของประชากร
กับการมอี ยู่ของแหล่งอาหารเป็นไปในทิศทางผกผันกัน (ความสามารถในการเข้าถึงอาหารมีรายละเอียดในบท
ที่ ๓) นอกจากนี้การเดินทางของอาหาร (Food Miles) จะมีระยะทางที่ไกลข้ึนซึ่งส่งผลต่อการใช้เชื้อเพลิงใน
การขนส่งและปริมาณก๊าซคาร์บอนมอนออกไซด์ที่สูงขึ้น นอกจากน้ีหากพ้ืนท่ีได้เผชิญกับภาวะฉุกเฉิน
(Shocks) เช่น กรณีภัยพิบัติ การแพร่ระบาดของโรค หรือผลกระทบของภาวะผันผวนทางเศรษฐกิจของโลก
โครงการจัดทาแผนสงิ่ แวดลอ้ มในพ้ืนท่เี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๒ - ๘๒
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม รายงานฉบับสุดท้าย
เป็นต้น จะส่งผลต่อความสามารถในการมีอยู่ของอาหารในพ้ืนท่ีด้วย ดังน้ันประเด็นความพอเพียงของอาหาร
ในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกจึงควรให้มีความเชื่อมโยงและบูรณาการร่วมกับทรัพยากรและ
ส่งิ แวดล้อมของพื้นที่ด้วย เพ่ือสร้างผลิตภาพทางอาหารท่ีเพียงพอและปลอดภัยกับประชากรที่มากขึ้น จึงเป็น
ส่งิ ทีท่ ้าทายท่พี ้ืนทเ่ี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออกจะต้องเตรยี มรับมอื ในอนาคตด้วย
ความม่ันคงทางอาหาร สัมพันธ์กับปัจจัยท่ีหลากหลายประเด็น โดยประเด็นหลักคือ
สถานการณ์การใช้ประโยชน์ที่ดินโดยเฉพาะภาคเกษตรกรรมท่ีมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเน่ือง และโครงสร้าง
ประชากรที่เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุท้าให้วัยแรงงานลดลงและขาดความพร้อมในการปรับตัวในการใช้เทคโนโลยี
นอกจากนน้ั ยังมีข้อจ้ากดั ในการจัดการด้านตลาด ในขณะที่สถาบนั เกษตรกรในรูปแบบต่าง ๆ ยังไม่สามารถท้า
หน้าในการสนับสนุนได้อย่างเข้มแข็งเพียงพอ รวมถึงความไม่แน่นอนในด้านสภาวะอากาศและภัยพิบัติที่ผัน
ผวนเป็นความเส่ียงในเรื่องความม่ันคงทางอาหารในพ้ืนที่ อย่างไรก็ตามยังมีโอกาสในการส่งเสริมความม่ันคง
ทางอาหารด้วยการรักษาพ้ืนท่ีเกษตรกรรมที่มีอยู่ไม่ให้ลดน้อยลงไปมากกว่าเดิม พร้อมด้วยการส่งเสริม
การเกษตรยั่งยืนอย่างจรงิ จัง ส่งเสริมความสามารถในการเข้าถึงองค์ความรู้และข้อมูลจากกรณีศกึ ษาที่ประสบ
ความส้าเร็จจากภาควิชาการทั้งในมหาวิทยาลัยและเครือข่ายปราชญ์ชาวบ้าน ทั้งนี้ ความล้มเหลวในการสร้าง
ความมั่นคงทางอาหาร จะนา้ ไปสูภ่ าวะขาดแคลนสารอาหาร ความหิวโหย การแยง่ ชงิ ทรัพยากรธรรมชาติ และ
อาจมากไปถงึ ความขดั แยง้ ในสงั คมได้
(๒) ความเป็นอยแู่ ละสุขภาพ
จากรายงานขององค์การอนามัยโลก (World Health Organization, 2013)
ประชากรโลกกาลังเผชิญกับปัญหาโรคไมต่ ิดตอ่ ที่มีผลต่อความเจ็บป่วยและการตายของประชากรโลกมากทสี่ ุด
ประกอบดว้ ย โรคหัวใจและหลอดเลือด (Cardiovascular Diseases) โรคมะเร็ง (Cancer) โรคทางเดินหายใจ
เร้ือรัง (Chronic respiratory Diseases) และโรคเบาหวาน (Diabetes) ซ่ึงเป็นภาระและภัยคุกคามต่อ
สุขภาพของประชากรโลกท่ีท้าทายและกัดกร่อนการพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจในท่ัวโลก สอดคล้องกับ
เป้าหมายการพัฒนาท่ียั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ (Untied Nation) ได้กาหนดให้เร่ืองการมสี ุขภาพและ
ความเป็นอยทู่ ี่ดีเป็นเป้าหมายท่ีสามของเป้าหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืน โดยมีเป้าหมายย่อย คือ ลดการตายก่อน
วัยอันควรจากโรคไม่ติดต่อให้ลดลงหนึ่งในสามผ่านทางการป้องกันและการรักษาโรคและสนับสนุนสุขภาพจิต
และความเป็นอยู่ที่ดีภายในปี พ.ศ. ๒๕๗๓ รวมถึงลดจานวนการตายและการป่วยจากสารเคมีอันตรายและ
จากการปนเปื้อนและมลพิษทางอากาศ น้า และดิน ให้ลดลงอย่างมากภายในปี พ.ศ. ๒๕๗๓ สาเหตุสาคญั คือ
พฤติกรรมการใช้ชีวิตในสังคมเมืองสมัยใหม่ที่นิยมการบริโภคอาหารที่มีสารปรุงแต่งและมีมันสูง ดื่มเคร่ืองดื่ม
แอลกอฮอล์ การสูบบุหร่ี และขาดการออกกาลังกาย ตลอดจนการเผชิญกับมลพิษท่ีเพ่ิมขึ้นตามการขยายตัว
ของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพ โดยเฉพาะสถานการณ์การป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อที่มี
แนวโน้มการเปล่ยี นแปลงระดบั โลกเพมิ่ สงู ขน้ึ อย่างมีนัยสาคญั โดยมีสถิติผเู้ สยี ชวี ติ จากโรค NCDs ตอ่ ปี คดิ เป็น
รอ้ ยละ ๗๑ ของการเสียชีวิตทั้งโลก (World Health Organization, 2018) ซึ่งการดูแลรักษาโรค NCDs เป็น
เร่ืองยากและมีค่าใช้จ่ายสูง และหากไม่มีการจัดการท่ีเหมาะสมจะเกิดเป็นภาระต่อสถานะทางการเงินของ
ผปู้ ่วยและเป็นภาระทางการคลังของประเทศในระยะยาว แต่ในอีกด้านหนงึ่ ทาให้เกิดกระแสความตระหนักใน
การดูแลสุขภาพ โดยมีความต้องการอาหารเพื่อสุขภาพ รวมถึงอุปกรณ์และบริการการดูแลสุขภาพเพิ่มสูงข้ึน
โครงการจดั ทาแผนสงิ่ แวดลอ้ มในพนื้ ท่ีเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๒ - ๘๓
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สดุ ท้าย
ส่งผลต่อความต้องการท่องเท่ียวเชิงสุขภาพเพิ่มสูงขึ้นตามไปด้วย ในขณะที่ การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19
เป็นแรงกดดันให้ผู้ประกอบการด้านบรกิ ารสุขภาพและการท่องเท่ียวต้องยกระดับมาตรฐานด้านความสะอาด
และสุขอนามัยในการให้บริการให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล (สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม
แหง่ ชาต,ิ ๒๕๖๔)
สถานการณ์การเกิดโรค NCDs ของประเทศไทย ที่ซ่ึงประชาชนมีพฤติกรรมการใช้
ชีวิตเป็นไปตามกระแสนิยมในทิศทางเดียวกันกับของกระแสโลก ส่งผลให้มีการเสียชีวิตด้วยโรค NCDs ต่อปี
คดิ เป็นร้อยละ ๗๕ ของการเสียชีวิตท้ังหมดของประชากรในประเทศ (ปิยรตั น์ ชูมี, ๒๕๖๑) สาหรับพ้ืนท่เี ขต
พัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก มีรายละเอยี ดดังนี้
(๒.๑) สถานการณ์การเจบปว่ ยด้วยโรคไม่ตดิ ต่อ
หากพิจารณาข้อมลู ในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พบว่า มีจานวนผู้ป่วย
ด้วยโรคไม่ติดต่อในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ จานวน ๔๔๘,๖๐๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๔.๘๙ ของจานวน
ประชากรทั้งหมด แบ่งได้เป็นกลุ่มผู้ป่วยในกลุ่มโรคหัวใจและหลอดเลือด จานวน ๓๐๒,๙๘๐ คน คิดเป็นร้อย
ละ ๖๗.๕๔ ของจานวนรวมของผู้ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อ ผู้ป่วยในกลุ่มโรคเบาหวาน มีจานวน ๑๓๖,๗๔๘ คน
คิดเป็นร้อยละ ๓๐.๔๘ ของจานวนรวมของผู้ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อ กลุ่มโรคทางเดินหายใจเรื้อรัง จานวน
๕,๓๘๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๑.๒ ของจานวนรวมของผู้ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อ และผู้ป่วยในกลุ่มโรคมะเร็ง
มีจานวน ๓,๔๙๖ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๐.๗๘ ของจานวนรวมของผปู้ ว่ ยด้วยโรคไม่ติดตอ่ หากพิจารณาแยกราย
จงั หวัด พบว่า
จังหวัดฉะเชิงเทรา มีจานวนผู้ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
จานวน ๑๒๐,๘๔๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๖.๗๘ ของจานวนประชากรท้ังหมด พบผู้ป่วยในกลุ่มโรคหัวใจและ
หลอดเลือด จานวน ๘๐,๘๙๐ คิดเป็นร้อยละ ๖๖.๙๔ ของจานวนรวมของผู้ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อ ผู้ป่วยใน
กลุ่มโรคเบาหวาน มีมีจานวนผู้ป่วยในกลุ่มโรคหวั ใจและหลอดเลือด จานวน ๓๗,๙๙๕ คิดเป็นร้อยละ ๓๑.๔๔
ของจานวนรวมของผู้ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อ กลุ่มโรคทางเดินหายใจเรื้อรัง มีจานวนผู้ป่วย ๑๘๙๘ คน คิดเป็น
ร้อยละ ๑.๕๗ ของจานวนรวมของผู้ปว่ ยด้วยโรคไม่ตดิ ต่อ และผ้ปู ่วยในกลุม่ โรคมะเร็ง มีจานวนผู้ปว่ ย ๖๒ คน
คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๐.๐๕ ของจานวนรวมของผปู้ ว่ ยด้วยโรคไม่ตดิ ต่อ
จังหวัดชลบุรี มีจานวนผู้ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
จานวน ๒๑๔,๕๕๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๓.๗๗ ของจานวนประชากรท้ังหมด แบ่งได้เป็นกลุ่มผู้ป่วยในกลุ่ม
โรคหวั ใจและหลอดเลอื ด มีจานวนผู้ป่วยดว้ ยโรคไมต่ ิดต่อ จานวน ๑๔๔,๔๗๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๗.๓๔ ของ
จานวนรวมของผู้ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อ ผู้ป่วยในกลุ่มโรคเบาหวาน มีจานวนผู้ป่วยในกลุ่มโรคเบาหวาน
๖๕,๖๓๕ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๓๐.๕๙ ของจานวนรวมของผู้ปว่ ยด้วยโรคไม่ตดิ ตอ่ กลมุ่ โรคทางเดินหายใจเร้ือรัง
มีจานวนผู้ปว่ ยในกลุ่มโรคทางเดินหายใจเรือ้ รัง จานวน ๒,๐๕๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๑.๓๓ ของจานวนรวมของ
ผู้ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อ และผู้ป่วยในกลุ่มโรคมะเร็ง มีจานวนผู้ป่วยในกลุ่มโรคมะเร็ง จานวน ๒,๓๗๘ คน
คิดเปน็ ร้อยละ ๑.๕๓ ของจานวนรวมของผู้ป่วยดว้ ยโรคไม่ตดิ ตอ่
จังหวัดระยอง มีจานวนผู้ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
จานวน ๑๑๓,๒๑๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๕.๔๑ ของจานวนประชากรท้ังหมด พบผู้ป่วยในกลุ่มโรคหัวใจและ
โครงการจดั ทาแผนสิง่ แวดลอ้ มในพืน้ ทเี่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๒ - ๘๔
สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย
หลอดเลอื ด จานวน ๗๗,๖๑๑ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๖๘.๕๕ ของจานวนรวมของผู้ป่วยดว้ ยโรคไมต่ ดิ ต่อ ผูป้ ่วยใน
กลุ่มโรคเบาหวาน มีมีจานวนผู้ป่วยในกลุ่มโรคหัวใจและหลอดเลือด จานวน ๓๓,๑๑๘ คน คิดเป็นร้อยละ
๒๙.๒๕ ของจานวนรวมของผู้ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อ กลุ่มโรคทางเดินหายใจเรื้อรัง มีมีจานวนผู้ป่วย ๑,๔๒๙
คน คิดเป็นร้อยละ ๑.๒๖ ของจานวนรวมของผู้ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อ และผู้ป่วยในกลุ่มโรคมะเร็ง มีจานวน
ผู้ป่วย ๑,๐๕๖ คน คดิ เป็นร้อยละ ๐.๙๓ ของจานวนรวมของผู้ป่วยดว้ ยโรคไมต่ ดิ ต่อ
จากข้อมูลจะเห็นได้ว่าในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกมีสัดส่วนของผู้ป่วย
ด้วยโรคไม่ติดต่อคิดเป็นร้อยละ ๑๔.๘๙ ของประชากรรวม โดยพบว่า จังหวัดฉะเชิงเทรามีสัดส่วนของผู้ป่วย
ด้วยโรคไม่ติดต่อสูงท่ีสุดคิดเป็นร้อยละ ๑๖.๗๘ รองลงมา คือจังหวัดระยอง คิดเป็นร้อยละ ๑๕.๔๑ และ
จังหวัดชลบุรีคิดเป็นร้อยละ ๑๓.๕๑ และเมื่อพิจารณาสถานการณ์การเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อของจังหวัด
อ่ืน ๆ เช่น จังหวัดสมุทรปราการ มีสัดส่วนของผู้ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อคิดเป็นร้อยละ ๑๑.๐๑ จังหวัด
สมุทรสาคร มีสัดส่วนของผู้ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อคิดเป็นร้อยละ ๑๗.๘๒ และจังหวัดอ่ืนตามภูมิภาค ได้แก่
จงั หวัดสงขลา จังหวัดขอนแกน่ และจังหวดั เชียงใหม่ พบวา่ จงั หวัดสงขลามีสัดสว่ นของผู้ปว่ ยด้วยโรคไม่ติดต่อ
คิดเป็นร้อยละ ๑๗.๘๒ จังหวัดขอนแก่น มีสัดส่วนของผู้ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อ คิดเป็นร้อยละ ๑๗.๔๓ และ
จังหวัดเชียงใหม่ มีสัดส่วนของผู้ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อ คิดเป็นร้อยละ ๑๘.๔๗ รายละเอียดดังตารางท่ี ๒ – ๔
โครงการจดั ทาแผนส่งิ แวดล้อมในพ้ืนทีเ่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๒ - ๘๕
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม
ตารางท่ี ๒ - ๔ การเจบปว่ ยดว้ ยโรคไม่ตดิ ตอ่ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
กล่มุ โรค โรค ฉะเชิงเทรา ชลบรุ ี ระยอง พ้ืนที่ EEC
จานวน(คน) รอ้ ยละ จานวน (คน) รอ้ ยละ จานวน(คน) รอ้ ยละ จานวน(คน) ร้อยละ
หัวใจและ โรคหวั ใจและ
หลอดเลือด หลอดเลอื ด ๑,๑๖๓ ๑.๔๔ ๕,๑๐๖ ๓.๕๓ ๓,๖๔๐ ๔.๖๙ ๙,๙๐๙ ๓.๒๗
โรคเบาหวาน ความดัน ๗๘,๙๐๒ ๙๗.๕๔ ๑๓๒,๙๘๖ ๙๒.๐๕ ๖๗,๒๙๒ ๘๖.๗ ๒๗๙,๑๘๐ ๙๒.๑๔
โรคทางเดิน โลหิตสูง
หายใจเรือ้ รงั โรคหลอด ๘๒๕ ๑.๐๒ ๖,๓๘๗ ๔.๔๒ ๖,๖๗๙ ๘.๖๑ ๑๓,๘๙๑ ๔.๕๘
เลอื ดสมอง ๘๐,๘๙๐ ๖๖.๙๔ ๑๔๔,๔๗๙ ๖๗.๓๔ ๗๗,๖๑๑ ๖๘.๕๕ ๓๐๒,๙๘๐ ๖๗.๕๔
โรคมะเรง รวม ๓๗,๙๙๕ ๓๑.๔๔ ๖๕,๖๓๕ ๓๐.๕๙ ๓๓,๑๑๘ ๒๙.๒๕ ๑๓๖,๗๔๘ ๓๐.๔๘
๑,๘๕๕ ๙๗.๗๓ ๑,๒๓๑ ๘๖.๑๔
รวม ๑,๙๘๗ ๙๖.๕๕ ๕,๐๗๓ ๙๔.๒๑
ปอดอุดกนั้
๔๓ ๒.๒๗ ๗๑ ๓.๔๕ ๑๙๘ ๑๓.๘๖ ๓๑๒ ๕.๗๙
เรื้อรัง ๕,๓๘๕ ๑.๒
โรคถุงลมโป่ง ๑,๘๙๘ ๑.๕๗ ๒,๐๕๘ ๐.๙๖ ๑,๔๒๙ ๑.๒๖ ๒,๑๐๘ ๖๐.๓
๒๑ ๓๓.๘๗ ๑,๔๗๓ ๖๑.๙๔ ๖๑๔ ๕๘.๑๔ ๑๖.๗
พอง ๓๗ ๕๙.๖๘ ๑๙.๑๓ ๙๒ ๘.๗๑ ๕๘๔ ๒๓
รวม ๔๕๕ ๘๐๔ ๐.๗๘
๓,๔๙๖
มะเรง็ เต้านม ๔ ๖.๔๕ ๔๕๐ ๑๘.๙๒ ๓๕๐ ๓๓.๑๔
มะเรง็ ปอด ๖๒ ๐.๐๕ ๒,๓๗๘ ๑.๑๑ ๑,๐๕๖ ๐.๙๓
มะเร็งปาก
มดลูก
รวม
รวมผ้ปู ว่ ยทั้ง ๔ กล่มุ โรค ๑๒๐,๘๔๕ ๑๖.๗๘ ๒๑๔,๕๕๐ ๑๓.๗๗ ๑๑๓,๒๑๔ ๑๕.๔๑ ๔๔๘,๖๐๙ ๑๔.๘๙
จานวนประชากรรวม ๗๒๐,๑๑๓ ๑,๕๕๘,๓๐๑ ๗๓๔,๗๕๓ ๓,๐๑๓,๑๖๗
ท่ีมา: ระบบ Health Data Center (HDC), ๒๕๖๓. กระทรวงสาธารณสขุ เข้าถึงได้จาก
https://hdcservice.moph.go.th/hdc/reports/page.php?cat_id=6a1fdf282fd2818
หมายเหต:ุ ๑) สดั ส่วนของผ้ปู ว่ ยท้ัง ๔ กล่มุ โรค ต่อ จานวนประชากรรวม (กรมการปกครอง กระท
๒) สดั สว่ นของผ้ปู ่วยในแตล่ ะกลมุ่ โรค ตอ่ จานวนรวมผู้ป่วยท้ัง ๔ กลมุ่ โรค
๓) สดั ส่วนของผปู้ ว่ ยในแตล่ ะโรค (โรคย่อยตามกลมุ่ โรค) ตอ่ จานวนผ้ปู ่วยรวมของกลมุ่
โครงการจัดทาแผนสิ่งแวดลอ้ มในพ้ืนท่เี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕
รายงานฉบับสดุ ทา้ ย
สมุทรปราการ สมุทรสาคร สงขลา ขอนแกน่ เชียงใหม่
จานวน (คน) รอ้ ยละ จานวน (คน) ร้อยละ จานวน (คน) รอ้ ยละ จานวน (คน) ร้อยละ จานวน (คน) รอ้ ยละ
๒,๑๘๓ ๒.๒๓ ๓,๒๗๘ ๔.๗๒ ๙,๓๐๔ ๕.๒๑ ๑๐,๒๗๗ ๔.๙๓ ๓,๓๓๔ ๑.๔๒
๙๓,๒๒๕ ๙๕.๑๗ ๕๙,๑๙๔ ๘๕.๒๙ ๑๕๒,๐๔๕ ๘๕.๑๓ ๑๘๑,๙๖๗ ๘๗.๓๘ ๒๒๓,๒๔๕ ๙๕.๐๔
๒,๕๔๙ ๒.๖๐ ๖,๙๓๐ ๙.๙๙ ๑๗,๒๕๕ ๙.๖๖ ๑๖,๐๑๔ ๗.๖๙ ๘,๓๒๕ ๓.๕๔
๙๗,๙๕๗ ๖๖.๑๘ ๖๙,๔๐๒ ๖๖.๖๑ ๑๗๘,๖๐๔ ๗๑.๓๕ ๒๐๘,๒๕๘ ๖๒.๕๔ ๒๓๔,๙๐๔ ๗๐.๙๘
๔๗,๙๙๙ ๓๒.๔๓ ๓๐,๘๓๐ ๒๙.๕๙ ๖๒,๗๗๑ ๒๕.๐๘ ๑๑๓,๒๐๕ ๓๓.๙๙ ๘๔,๗๐๗ ๒๕.๖๐
๑,๕๔๖ ๙๗.๔๘ ๒,๔๐๓ ๘๒.๒๑ ๖,๙๕๔ ๙๖.๓๓
๕,๗๑๗ ๙๒.๓๓ ๙,๔๑๕ ๙๔.๑๒
๔๐ ๒.๕๒ ๕๒๐ ๑๗.๗๙ ๔๗๕ ๗.๖๗ ๒๖๕ ๓.๖๗ ๕๘๘ ๕.๘๘
๑,๕๘๖ ๑.๐๗ ๒,๙๒๓ ๒.๘๑ ๖,๑๙๒ ๒.๔๗ ๗,๒๑๙ ๒.๑๗ ๑๐,๐๐๓ ๓.๐๒
๒๗๙ ๕๘.๔๙ ๖๐๙ ๕๘.๙๕ ๑,๖๑๔ ๕๘.๘๘ ๒,๖๐๓ ๕๙.๙๕ ๘๑๗ ๖๒.๓๒
๑๓๓ ๒๗.๘๘ ๒๓๑ ๒๒.๓๖ ๑๙.๐๔ ๙๐๑ ๒๐.๗๕ ๙๖ ๗.๓๒
๕๒๒
๖๕ ๑๓.๖๓ ๑๙๓ ๑๘.๖๘ ๖๐๕ ๒๒.๐๗ ๘๓๘ ๑๙.๓๐ ๓๙๘ ๓๐.๓๖
๔๗๗ ๐.๓๒ ๑,๐๓๓ ๐.๙๙ ๒,๗๔๑ ๑.๑๐ ๔,๓๔๒ ๑.๓๐ ๑,๓๑๑ ๔.๓๘
๑๔๘,๐๑๙ ๑๑.๐๑ ๑๐๔,๑๘๘ ๑๗.๘๒ ๒๕๐,๓๐๘ ๑๗.๔๓ ๓๓๓,๐๒๔ ๑๘.๔๗ ๓๓๐,๙๒๕ ๑๘.๖๐
๑,๓๔๔,๘๗๕ ๕๘๔,๗๐๓ ๑,๔๓๕,๙๖๘ ๑,๘๐๒,๘๗๒ ๑,๗๗๙,๒๕๔
80eed7d1cfe0155e11
ทรวงมหาดไทย, ๒๕๖๒)
มโรคนน้ั ๆ
๕-๒๕๖๙ ๒ - ๘๖
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม รายงานฉบบั สุดทา้ ย
(๒.๒) แนวโน้มของการเจบปว่ ยด้วยโรคไมต่ ิดตอ่
สาหรับแนวโน้มของการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อ พบว่า ในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษ
ภาคตะวันออก มีสัดส่วนของผ้ปู ่วยดว้ ยโรคไม่ตดิ ต่อในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ คดิ เป็นรอ้ ยละ ๑๑.๑๒ และ
มีแนวโน้มเพิ่มข้ึนอย่างต่อเนื่อง ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ จนถึงปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ท่ีมีสัดส่วน
ของผปู้ ่วยด้วยโรคไมต่ ดิ ต่อร้อยละ ๑๔.๘๙ ของจานวนประชากรทง้ั หมด ท้งั น้จี ากกราฟแสดงใหเ้ ห็นสมการเชิง
เส้นในการประมาณการแนวโน้มท่ีมีอยู่และคาดการณ์ค่าในอนาคต จะเห็นได้ว่าพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาค
ตะวนั ออกจะมแี นวโน้มของสดั ส่วนผ้ปู ว่ ยด้วยโรคไมต่ ิดต่อสูงขน้ึ
จังหวัดฉะเชิงเทรา มีสัดส่วนของผู้ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อในปีงบประมาณ พ.ศ.
๒๕๕๖ คิดเป็นร้อยละ ๑๓.๗๗ และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ จนถึง
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ที่มีสัดส่วนของผู้ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อร้อยละ ๑๖.๗๙ ของจานวนประชากร
ท้ังหมด ท้ังนี้จากกราฟแสดงให้เห็นสมการเชิงเส้นในการประมาณการแนวโน้มท่ีมีอยู่และคาดการณ์ค่าใน
อนาคต จะเห็นได้ว่าจงั หวดั ฉะเชงิ เทราจะมแี นวโน้มของสัดสว่ นผปู้ ่วยดว้ ยโรคไม่ติดต่อสูงขนึ้
จงั หวัดชลบุรี มีสัดส่วนของผู้ป่วยด้วยโรคไม่ติดตอ่ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ คิด
เปน็ ร้อยละ ๘.๙๘ และมีแนวโน้มเพ่ิมข้ึนเปน็ ร้อยละ ๑๓.๗๗ ในปีงบประมาณ ๒๕๖๓ ท้ังนจ้ี ากกราฟแสดงให้
เห็นสมการเชงิ เส้นในการประมาณการแนวโน้มท่ีมอี ยู่และคาดการณ์ค่าในอนาคต จะเห็นไดว้ ่าจังหวัดชลบุรีจะ
มแี นวโน้มของสดั สว่ นผูป้ ่วยดว้ ยโรคไม่ตดิ ตอ่ สงู ขน้ึ
จงั หวัดระยอง มีสดั ส่วนของผู้ป่วยดว้ ยโรคไม่ตดิ ตอ่ ในปปี ีงบประมาณ คดิ เป็นร้อยละ
๑๒.๘๖ เพ่ิมขึ้นเป็นร้อยละ ๑๒.๙๖ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ และมีแนวโน้มลดลงเป็นร้อยละ ๑๒.๘๘
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเน่ืองเป็นร้อยละ ๑๕.๔๑ ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๖๓ ทั้งนี้จากกราฟแสดงให้เห็นสมการเชิงเส้นในการประมาณการแนวโน้มที่มอี ยู่และคาดการณ์ค่าใน
อนาคต จะเห็นได้ว่าจงั หวัดระยองจะมแี นวโน้มของสัดสว่ นผปู้ ่วยด้วยโรคไมต่ ิดตอ่ สงู ขึ้น
แนวโน้มของการเพิ่มข้ึนของสัดส่วนผู้ท่ีเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อของ ๓ จังหวัดใน
พ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก รวมถึงจังหวัดอื่น ๆ ได้แก่ จังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรสาคร
จังหวัดสงขลา ขอนแก่น และเชียงใหม่ พบว่ามีแนวโน้มของการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อสูงข้ึนเช่นกัน
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๖๓ อย่างไรก็ตามหากพิจารณาตามลักษณะพ้ืนที่ โดยนาเอาข้อมูลของ
จงั หวดั จังหวัดสมุทรสาคร ซึ่งเป็นเปรียบเทียบกันในบริบทของเมืองอุตสาหกรรม พบว่า จังหวดั สมุทรปราการ
มีสัดส่วนของผู้ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อคิดเป็นร้อยละ ๑๑.๐๑ จงั หวัดสมุทรสาคร มีสัดส่วนของผู้ป่วยด้วยโรคไม่
ตดิ ตอ่ คิดเป็นรอ้ ยละ ๑๗.๘๒ ท้ังนี้ในการนาเสนอมใิ ชเ่ พยี งการมุ่งเป้าเพอื่ ท่ีจะวเิ คราะห์บรบิ ทของการเป็นพ้นื ท่ี
อุตสาหกรรมกับการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเท่าน้ัน จากข้อมูลข้างต้นที่ได้นาเสนอให้เห็นถึงสาเหตุการ
เจ็บปว่ ยด้วยโรคไม่ติดต่อ อันมีสาเหตุมาจากพฤติกรรมและการใช้ชวี ิต ดังนั้นจึงไดน้ าข้อมูลของเมืองทม่ี ิได้เป็น
เมืองอตุ สาหกรรม แต่เป็นเมืองหลกั ตามภูมิภาคอันได้แก่ จังหวดั สงขลา จังหวัดขอนแกน่ และจังหวัดเชยี งใหม่
พบว่า จังหวัดสงขลามีสัดส่วนของผู้ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อ คิดเป็นร้อยละ ๑๗.๘๒ จังหวัดขอนแก่น มีสัดส่วน
ของผู้ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อ คิดเป็นร้อยละ ๑๗.๔๓ และจังหวัดเชียงใหม่ มีสัดส่วนของผู้ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อ
โครงการจดั ทาแผนส่ิงแวดลอ้ มในพน้ื ทีเ่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๒ - ๘๗
สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย
คิดเป็นร้อยละ ๑๘.๔๗ จากข้อมูลน้ีจะเห็นได้ว่าในพื้นที่จังหวัด จังหวัดสงขลา จังหวัดขอนแก่น แลจังหวัด
เชียงใหม่มีสัดส่วนของผู้ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อสูงกว่าจังหวัดในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก รวมถึง
สูงกว่าจังหวัดสมุทรสาคร และจะเห็นได้ว่าจังหวัดสมุทรปราการมีสัดส่วนของผู้ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อน้อยกว่า
จังหวัดอื่น ๆ
ประเด็นด้านสุขภาพจึงเป็นความท้าทายหนึ่งท่ีสาคัญอย่างยิ่งสาหรับผู้ท่ีเก่ียวข้องใน
การหาแนวทางการจัดการอย่างเหมาะสม การหลีกเลี่ยงการตายและการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อและจาก
สารเคมีอันตรายและการปนเปื้อนมลพิษต่าง ๆ สามารถทาได้ด้วยการสร้างพฤติกรรมและสภาพแวดล้อมท่ี
เหมาะสม (World Health Organization, 2014) การเพิ่มพื้นท่ีวา่ งสีเขียวในเมืองจะช่วยลดความเครียดและ
ช่วยเพ่ิมการออกกาลังกายของผู้อาศัยในเมือง (Charles et al., 2011) และการอาศัยอยู่ใกล้พื้นท่ีสีเขียวใน
เมือง เช่น สวนสาธารณะ มีความสัมพันธ์กับความกังวลทางด้านจิตใจต่าลงและมีสุขภาพท่ีดีข้ึน (Methew
et al., 2013) ดังนั้นข้อมูลการใช้พ้ืนที่และสุขภาพของชุมชนจึงมีความจาเป็นเพ่ือการบริหารจัดการพ้ืนที่ใน
พื้นทเ่ี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออกทส่ี ง่ เสริมการสร้างสุขภาวะท่ีดขี องชุมชนในพื้นท่ี
จากสถานการณ์และแนวทางการหลีกเลี่ยงภาวะเจ็บป่วยด้วยโรค NCDs ดังกล่าว
ประเทศไทยมีโอกาสด้านการท่องเที่ยวทางการแพทย์และสุขภาพ เนื่องจากการรักษาพยาบาลที่มีคุณภาพใน
ระดับสูงและค่ารักษาพยาบาลอยู่ในระดับต่าถึงปานกลางหากเปรียบเทียบกับประเทศท่ีพัฒนาแล้ว จึงทาให้
ได้รับความสนใจจากผู้ป่วยต่างประเทศท่ีจะเข้ามารับบริการทางการแพทย์และสุขภาพ (สถาบันทรัพย์สินทาง
ปัญญาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560) อย่างไรก็ตามหากมีผู้เข้ามารับบริการจานวนมากอาจส่งผลให้อัตรา
คา่ บรกิ ารปรับตัวสูงขึ้นและส่งผลกระทบตอ่ ความสามารถในการเข้าถงึ ของประชาชนในประเทศ จึงเป็นโอกาส
และความท้าทายของประเทศไทยในการพัฒนาประสิทธิภาพและขีดความสามารถในการให้บริการทาง
การแพทย์และการดูแลสุขภาพตามแนวโน้มท่ีเพ่ิมข้ึน (สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ,
๒๕๖๔) ในขณะที่ แผนภาพรวมเพอื่ การพัฒนาเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๔๖๕ กาหนด
เป้าหมายการพัฒนาระดับจังหวัดของจังหวัดชลบุรีให้เป็นเมืองท่องเท่ียวเชิงคุณภาพและการศึกษา เป็น
ศูนย์กลางทางการเงินและการวิจัยและพัฒนา โดยมีแนวทางการพัฒนาส่งเสริมยกระดับการท่องเที่ยวในเขต
พัฒนาพิเศษภาคตะวันออกสู่การท่องเท่ียวระดบั โลกอย่างยั่งยืน โดยเฉพาะการรองรับนักท่องเท่ียวกลุ่มรายได้
ดี และกล่มุ เชิงสขุ ภาพ
สาหรับการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนาสายพันธ์ุใหม่หรือ โควิด-19 (COVID-
19) ส่งผลกระทบต่อภาคเศรษฐกจิ ทง้ั ในภาพรวมและในรายสาขา โดยในภาพรวมของประเทศผลกระทบจาก
การแพร่ระบาดดังกล่าวมีท้ังเชิงบวกและเชิงลบ โดยสถานการณ์โควิดต่ออัตราผลตอบแทนรายสาขาทางด้าน
เศรษฐกิจเมื่อพิจารณาจากดัชนีตลาดหลักทรัพย์พบว่าอัตราผลตอบแทนด้านอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์เป็น
ในเชิงบวกสูง ท้ังนี้ยังรวมถึงผลิตภัณฑ์ยาและเครื่องมือทางการแพทย์ด้วย นอกจากน้ีแล้วยังมีด้านอาหาร
ด้านเครือ่ งจักรมผี ลกระทบเชิงบวกด้วย อยา่ งไรก็ตามผลกระทบเชิงลบจากสถานการณด์ ังกล่าวเกดิ ข้ึนในสาขา
ด้านการเงินการธนาคาร ด้านยานยนต์ ธุรกิจการท่องเที่ยว และด้านภาคการขนส่ง เช่น สายการบินและการ
คมนาคมท่ีได้รับผลกระทบ โดยเฉพาะระลอกใหม่ (เดือนธันวาคม ปี พ.ศ. ๒๕๖๓) ทาให้กิจกรรมการเดินทาง
ในเขตพ้ืนที่ EEC ท้ัง ๓ จังหวัด ได้แก่ ระยอง ชลบุรี และฉะเชิงเทราลดลงถึงราว -๒๒.๖% เทียบกับค่าเฉลี่ย
โครงการจัดทาแผนส่งิ แวดลอ้ มในพ้นื ท่เี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๒ - ๘๘
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย
ชว่ งเดือนกุมภาพันธ์ปที ่ีผา่ นมา (ก่อนการลอ็ คดาวน์ครั้งแรก) โดยเฉพาะปริมาณการเดินทางในจังหวัดระยองท่ี
ลดลงสงู ถึง -๒๙.๕% นอกจากน้ียังมีผลกระทบด้านสงั คมท่มี ีผลตอ่ คณุ ภาพชีวิต คือเร่ืองความมนั่ คงทางอาหาร
โดยในสภาวะปกติการเขา้ ถึงอาหารอาจขึ้นอยู่กับความสามารถทางเศรษฐกิจ แต่ในสภาวะที่ไม่ปกติ เช่น กรณี
การแพร่ระบาดของโรคติดต่อ เช่น โรค COVID-19 การมีระดับเศรษฐกิจท่ีดีอย่างเดียวไม่เพียงพอที่จะสร้าง
ความม่ันคงทางอาหารของประชากรในพ้ืนท่ี ดังท่ีองค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO)
องค์การการค้าโลก (WTO) และองค์การอนามัยโลก (WHO) ร่วมกันออกแถลงการณ์ เรียกร้องประเทศผู้ผลิต
และส่งออกอาหารพิจารณามาตรการจากัดการเดินทางข้ามพรมแดนอันเน่ืองจากสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของ COVID-19 ให้มีผลกระทบต่อระบบการขนส่งสินค้าและอาหารข้ามประเทศให้น้อยที่สุด รวมถงึ การจากัด
การส่งออกอาหารเพื่อหล่อเล้ียงผู้คนในประเทศ ซึ่งจะส่งผลให้เกิดภาวะขาดแคลนอาหารและเกิดเหตุการณ์
แย่งซ้ืออาหารและสินคา้ อุปโภคบริโภคในประเทศที่มีผลผลติ ทางอาหารไม่เพียงพอ (ไทยรัฐ ออนไลน์, ๒๕๖๓)
สาหรับผลกระทบด้านส่ิงแวดล้อมทางบวก คือ การฟ้ืนตัวของระบบนิเวศชั่วคราว จากการปล่อยก๊าซเรือน
กระจกท่ีมีปริมาณลดลงประมาณร้อยละ ๔ - ๘ ในขณะท่ีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ได้เผยแพร่ข้อมูลการกลับมาของพืชพันธุ์ไม้หายากกลับมาเจริญงอกงาม รวมถึงสัตว์หายากออกมาให้พบเห็น
บ่อยครั้งขึ้น และยังมีข้อมูลบ่งช้ีว่าเต่ามะเฟืองขึ้นมาวางไข่บนชาดหาดมากที่สุดในรอบ ๒๐ ปี (สานักงาน
ส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล, ม.ป.ป.) นอกจากนั้นยังพบว่าปริมาณขยะรวมของเขตเมืองต่าง ๆ โดยเฉพาะเมือง
ท่องเท่ียว มีปริมาณที่สดลง โดยในเมืองพัทยาปริมาณขยะรวมลดลงจาก ๘๕๐ ตันต่อวัน เหลือ ๓๘๐ ตันต่อ
วัน ในทางตรงกันข้าม ผลกระทบด้านลบที่เกิดต่อส่ิงแวดล้อมในช่วงการระบาดของโรค COVID-19 คือการ
เพ่ิมข้ึนของขยะติดเช้ือจากหน้ากากอนามัย และขยะพลาสติกจากการใช้บริการฟู้ดเดลิเวอร่ี (TEI, ๒๕๖๓)
และมีการคาดการณ์ว่าภายหลังสถานการณ์การระบาดของโรค COVID-19 บรรเทาลง มีการผ่อนปรน
มาตรการการเดินทาง สถานที่บริการและท่องเที่ยวกลับมาเปิดให้บริการอีกคร้ัง ปริมาณขยะและพลาสติก
ยังจะคงเพิ่มขึ้นต่อเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้บริโภคท่ีนิยมใช้การซื้อของออนไลน์มากข้ึน
จึงมีความกังวลต่อความย่ังยืนของทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม (สานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล,
ม.ป.ป.) ส่ิงสาคัญท่ีต้องดาเนินการเพ่ือสร้างทางรอดให้กับตนเองภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค
COVID-19 คือการให้ความสาคัญต่อการที่รัฐและสังคมต้องร่วมกันเร่งดาเนินการเพ่ือการบรรลุเป้าหมายการ
พัฒนาท่ีย่ังยืน ท่ีสอดคล้องกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และใช้กระบวนการสร้างเสริมสุขภาพขับเคล่ือน
การเปล่ียนแปลงของสังคมท่ีเกิดข้นึ ในปจั จบุ นั (พวงชมพู ประเสรฐิ , ๒๕๖๓)
สุขภาพสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริโภคของสังคมเมืองเป็นสาเหตุหลักของการ
ขยายตัวของโรคไม่ตดิ ต่อ ในขณะที่การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 อาจมผี ลกระทบต่อความม่นั คงทางอาหาร
หากต้องนาเขา้ อาหารจากภายนอกพ้ืนที่ ดงั น้ัน การสร้างสภาพแวดลอ้ มทส่ี วยงาม รกั ษาความหลากหลายทาง
ชวี ภาพท่ีส่งเสริมกจิ กรรมและคุณภาพส่ิงแวดลอ้ มที่ดีตอ่ สขุ ภาพของประชากรเมืองในเมือง การส่งเสริมเกษตร
ยง่ั ยืนในภาคเกษตรกรรมช่วยสร้างแหลง่ อาหารปลอดภัย พร้อมทั้งส่งเสริมความม่นั คงทางอาหารในพื้นที่ และ
เป็นโอกาสในการพัฒนาด้านการท่องเท่ียวด้านสุขภาพในพ้ืนที่ ตามเป้าหมายการพัฒนาในเขตพื้นที่พัฒนา
พิเศษภาคตะวันออก
โครงการจดั ทาแผนสิง่ แวดล้อมในพนื้ ที่เขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ ๒ - ๘๙
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม
ภาพที่ ๒ - ๙ แนวโน้มของการเจบป่วยด้วยโรคไม
โครงการจดั ทาแผนสง่ิ แวดลอ้ มในพ้นื ท่เี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒
รายงานฉบบั สดุ ท้าย
ม่ติดต่อ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๖๓ ๒ - ๙๐
๒๕๖๙
สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม รายงานฉบับสดุ ทา้ ย
(๓) การเปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิอากาศและผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภูมอิ ากาศ
สานักงานศูนย์ข้อมูลข่าวสารการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของ
ประเทศไทย (ม.ม.ป) ได้รวบรวมและสรุปข้อมูลการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลกและประเทศไทย
สามารถสรปุ ได้ดังนี้
ในช่วงเวลาจากปี ค.ศ. 1880 - 2012 อุณหภูมิเฉลี่ยของพื้นแผ่นดินและมหาสมุทร
โลก เพ่ิมข้ึน ๐.๘๕ องศาเซลเซียส จากปี ค.ศ. 1850 ซ่ึงเป็นการเพ่ิมสูงขึ้นของอุณหภูมิท่ีสูงกว่าทุกช่วงเวลาที่
ผ่านมาในอดีต โดยอณุ หภูมิอากาศเฉล่ียมอี ัตราการเพิ่มสูงสุดในบริเวณขั้วโลกของทวีปเอเชียและบางส่วนของ
ทวีปแอฟริกา และยังพบว่าการเกิดคล่ืนความร้อนมีความถ่ีเพ่ิมมากข้ึนในทวีปยุโรป เอเชีย และออสเตรเลีย
ในขณะท่ีการเปลี่ยนแปลงของปริมาณน้าฝนเฉลี่ยของโลกยงั ไม่พบแนวโน้มที่ชดั เจน แต่พบว่าเหตุการณ์ฝนตก
หนกั มีความถ่แี ละความร่นุ แรงเพ่ิมข้ึนอยา่ งชดั เจน
หากพิจารณาแนวโน้มของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในอนาคต ข้อมลู ท่ีมกี าร
นาเสนอในสรุปรายงานข้อค้นพบสาคัญในรายงานฉบับท่ี ๕ ของคณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการ
เปล่ียนแปลงภูมิอากาศ สามารถสรุปการคาดการณ์การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในอนาคตได้ว่า อุณหภูมิ
เฉลี่ยของพ้ืนผิวโลกช่วงปลายศตวรรษท่ี ๒๑ มีแนวโน้มเพ่ิมสูงขึ้น ๐.๓ - ๑.๗ องศาเซลเซียส หากมีมาตรการ
ลดก๊าซเรือนกระจกท่ีเข้มงวด แต่หากมีมาตรการลดก๊าซเรือนกระจกในระดับปานกลาง อุณหภูมิเฉล่ียของ
พ้ืนผวิ โลกชว่ งปลายศตวรรษที่ ๒๑ มีแนวโน้มเพิ่มสงู ขึ้น ๑.๑ – ๓.๑ องศาเซลเซยี ส และหากไม่สนใจในการลด
ก๊าซเรือนกระจกเลยอุณหภูมิเฉลี่ยของพ้ืนผิวโลกช่วงปลายศตวรรษที่ ๒๑ มีแนวโน้มเพิ่มสูงข้ึน ๒.๖ – ๔.๘
องศาเซลเซียส ในขณะที่แนวโน้มทเ่ี กี่ยวข้องกับน้าฝนเฉลย่ี รายปีเม่ือส้ินสุดศตวรรษท่ี ๒๑ จะเพิ่มข้นึ ในบริเวณ
ละติจูด ๖๐ องศาเหนือและใต้ และบริเวณเขตศูนย์สูตรของมหาสมุทรแปซิฟิก ในขณะเดียวกันกับการเกิด
เหตุการณ์สภาวะสุดขีดของหยาดน้าฟ้าจะมีความรุนแรงและมีความถี่เพิ่มขึ้นในเขตอบอุ่นและเขตร้อนช้ืน
รวมถึงลมมรสุมจะอ่อนกาลังลง จากการรายงานของ IPCC (2021) แสดงขอ้ มูลอุณหภูมิเฉลย่ี พื้นผิวโลกในช่วง
พ.ศ. ๒๕๕๔ - ๒๕๖๓ สูงกว่า ในช่วง พ.ศ. ๒๓๙๓ – ๒๔๔๓ ถึง ๑.๐๙ องศาเซลเซียส แต่หากพิจารณา
อุณหภูมิเฉพาะบนพื้นแผ่นดินในช่วงเวลาดังกล่าว จะพบว่าอุณหภูมิเฉล่ียเพ่ิมสูงขึ้นถึง ๑.๕๙ องศาเซลเซียส
แล้ว ซึ่งไวกว่าที่คาดการณ์ไว้ภายในปี ๒๕๗๓ ผลกระทบจากการเพิ่มข้ึนของอุณหภูมิเฉลี่ยของโลกนาไปสู่
ภาวะคล่ืนความร้อน ในบางพื้นที่ต้องเผชิญกับน้าท่วมฉับพลัน หรือภาวะภัยแล้งและภาวะฝนท้ิงช่วงจะเกิดถี่
ขนึ้ ในขณะที่หลายภูมิภาคอาจเผชิญกับความถ่ีของการเกิดพายุที่รุนแรงข้ึน และการรุกล้าของน้าทะเล ความ
เสี่ยงที่เกิดขึ้นนอกจากสุขภาพและทรัพย์สินแล้ว การลดลงของผลผลิตทางการเกษตรเน่ืองจากการ
เปลย่ี นแปลงของสภาพภูมอิ ากาศที่ไม่ถกู ตอ้ งตรงตามฤดูกาลตามธรรมชาติ บางพื้นท่ีการเกษตรอาจประสบกับ
ภยั แล้งยาวนานหรือน้าท่วมซ้าซาก ในขณะเดียวกันสภาพภูมิอากาศท่ีเปลี่ยนแปลงยงั ส่งผลตอ่ การแพร่ระบาด
ของโรคตามฤดูกาลที่มีแนวโน้มรุนแรงข้ึน และยังเป็นปัจจัยส่งเสริมให้เกิดโรคอุบัติใหม่หรืออุบัติซ้าในหลาย
พ้ืนที่ของโลก (สรันยา เฮงพระพรหม, ๒๕๕๒) ดังน้ัน ความพยายามในการควบคุมการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
จึงเป็นประเด็นสาคัญและท้าทายสังคม ภายใต้กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปล่ียนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate Change: UNFCCC) กาห นดให้
โครงการจัดทาแผนสงิ่ แวดลอ้ มในพื้นทีเ่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๖๙ ๒ - ๙๑
สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม รายงานฉบบั สุดท้าย
ทุกประเทศเสนอเป้าหมายและความก้าวหน้าของการดาเนินงานภายในประเทศเพ่ือแก้ไขปัญหาการ
เปล่ียนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ
สาหรับการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย พบว่า อุณหภูมิสูงสุด
อุณหภูมิเฉลี่ย และอุณหภูมิต่าสุดในประเทศไทยมีแนวโน้มเพิ่มข้ึน ๐.๘๖, ๐.๙๕ และ ๑.๔๕ องศาเซลเซียส
ตามลาดบั ซ่ึงประเทศไทยเข้าขา่ ยเป็นประเทศที่มีความเปราะบาง และมคี วามเสีย่ งที่จะได้รบั ผลกระทบรุนแรง
จากการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งได้กาหนดเป้าหมายการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ ภายหลังปี
พ.ศ. ๒๕๖๓ ท่ีร้อยละ ๒๐-๒๕ จากกรณีปกติ โดยสถานการณ์การปล่อยก๊าซเรือนกระจกของประเทศ พบว่า
สาขาพลงั งานมีการปลอ่ ยก๊าซเรอื นกระจกสูงที่สุด คิดเป็นรอ้ ยละ ๗๑.๒๑ ในปี พ.ศ. ๒๕๔๓ และเพิ่มเป็นร้อย
ละ ๗๔.๓๕ ในปีพ.ศ. ๒๕๕๖ รองลงมาคือสาขาเกษตร คิดเป็นร้อยละ ๑๘.๕๔ ในปี พ.ศ. ๒๕๔๓ และลดลง
เป็นร้อยละ ๑๕.๙๘ ในปีพ.ศ. ๒๕๕๖ ส่วนที่เหลือเป็นสาขาอุตสาหกรรม และสาขาของเสีย ในขณะท่ีสาขา
การใช้ประโยชน์ท่ีดินและป่าไม้ เป็นภาคท่ีมีการดูดกลับก๊าซเรือนกระจก และเพื่อให้เป็นไปตามเป้าหมายการ
ลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ จึงได้มีการจัดทาแผนท่ีนาทางการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ
ปี พ.ศ.๒๕๖๔ – ๒๕๗๓ ประกอบด้วยมาตรการในสาขาพลังงานและขนส่ง มาตรการในสาขาการจัดการของ
เสีย และมาตรการในสาขากระบวนการทางอุตสาหกรรมและการใช้ผลิตภัณฑ์ (สานักงานนโยบายและแผน
ทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม, ๒๕๖๒ - ๒๕๖๓)
ภาคตะวันออกเป็นภูมิภาคที่มีอุณหภูมิเพ่ิมข้ึนสูงสุดในประเทศ และหากพิจารณา
เรื่องปริมาณฝน พบว่า ปริมาณฝนสะสมรวมรายปีของประเทศไม่มีแนวโน้มท่ีชัดเจน ซึ่งความแปรปรวนของ
ปรมิ าณฝนสะสมรวมรายปีในประเทศไทยสัมพันธก์ ับหลายปรากฏการณ์ โดยปรากฏการณ์หลักที่มีอิทธิพลใน
การเปลี่ยนแปลงปรมิ าณฝนในประเทศไทย ได้แก่ ระบบมรสมุ เอเชยี และเหตุการณเ์ อลนีโญ่ - ลานิญ่า แต่หาก
พิจารณาช่วงเวลาในฤดูฝน (พ.ค. – ต.ค.) และนอกฤดูฝน พบว่า ปริมาณฝนสะสมในช่วงเดือนนอกฤดูฝนมี
แนวโน้มเพ่ิมขึ้นอย่างมีนัยสาคัญ ในขณะท่ีเหตุการณ์ฝนตกหนักมีแนวโน้มเพ่ิมข้ึนอย่างมีนัยสาคัญ แต่จานวน
วันที่ฝนตกรวมรายปีกลับมีแนวโน้มลดลงอย่างมีนัยสาคัญ ประกอบกับจานวนพายุเขตร้อนที่เคล่ือนเข้าสู่
ประเทศไทยมแี นวโนม้ ลดลงอย่างมนี ัยสาคญั
(๓.๑) ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิอากาศ
จ าก ราย งาน พิ เศ ษ ข อ ง The Intergovernmental Panel on Climate
Change: IPCC (2018) ได้นาเสนอจ้อมูลการเพ่ิมขึ้นของอุณหภูมิเฉล่ียของโลกได้เพิ่มขึ้น ๑.๕ องศาเซลเซียส
จากช่วงก่อนปฏิวัติอุตสาหกรรม ซ่ึง Oliver Godard (2008) ได้นาเสนอข้อมูลประมาณการผลกระทบท่ี
อาจจะเกิดหากอุณหภูมิโลกเพ่ิมในแต่ละองศา ซ่ึงสามารถสรุปได้ถึงผลกระทบท่ีจะเกิดขึ้นต่อมนุษยชาติท่ี
สาคัญ เชน่ อาหาร น้า ระบบนเิ วศ และเหตุการณร์ ุนแรงของสภาพภูมิอากาศ ประเดน็ ความเปน็ ห่วงทางดา้ น
อาหาร เร่ิมท่ีหากอุณหภูมิเพ่ิมขึ้นเกิน ๑ องศาเซลเซียส จะเป็นการเร่ิมต้นของการเพาะปลูกท่ีไม่ได้ผลนาไปสู่
การลดลงของผลผลิตทางการเกษตรในประเทศกาลังพัฒนา และจะทาให้มีความเส่ียงต่อการเพ่ิมขึ้นของ
ผู้อดอยาก และหากอุณหภูมิเพ่ิมเกิน ๓.๕ องศาเซลเซียส เป็นการเร่ิมต้นของการลดลงของผลผลิตทาง
การเกษตรในทุกภูมิภาคของโลก และจะวิกฤติสูงสุดหากอุณหภูมิเกิน ๕ องศาเซลเซียส ในประเด็นด้านน้า
การเพ่มิ ขึ้นของอุณหภูมิ ๑ องศาเซลเซียส ทาให้ธารนา้ แข็งละลายจนหายไปซ่ึงอาจเป็นปญั หาความขาดแคลน
โครงการจดั ทาแผนสง่ิ แวดลอ้ มในพน้ื ท่เี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๖๙ ๒ - ๙๒
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม รายงานฉบับสุดทา้ ย
น้าในบางพื้นที่และจะวกิ ฤติมากหากอุณหภูมิเกิน ๒ องศาเซลเซียส และจะเกิดการเปลี่ยนแปลงของระบบน้า
ในโลกอย่างมีนัยสาคัญ บางพ้ืนท่ีประสบความขาดแคลนน้า และบางพ้ืนท่ีประสบภาวะน้ามาก ซึ่งจะเป็น
ปญั หาวิกฤติโลก หากอุณหภูมิเกิน ๔ องศาเซลเซียส รว่ มกับปัญหาการเพิ่มข้ึนของระดบั น้าทะเลซงึ่ จะกระทบ
กบั ถ่ินที่อยู่อาศัยที่อยู่ใกลช้ ายฝั่ง และเมืองใหญ่ต่าง ๆ ทั่วโลกล้วนตัง้ อยู่ริมชายฝง่ั ผลกระทบในประเด็นระบบ
นิเวศ เริม่ ต้นจากการเพิม่ ข้ึนของอุณหภูมิ ๑ องศาเซลเซยี ส ส่งผลตอ่ ความเส่ือมโทรมของนิเวศปะการงั และจะ
การความเสียหายอย่างถาวรหากอุณหภูมิเพ่ิมเกิน ๒ องศาเซลเซยี ส ในขณะเดียวกนั จะเป็นจุดเริ่มต้นของการ
ล่มสลายของระบบนิเวศป่าฝนอเมซอน และเกิดการแบ่งแยกย่อยของพ้ืนท่ีระบบนิเวศที่ไม่สามารถดารงไว้ซึ่ง
รูปแบบของระบบนิเวศเดิมและจะส่งผลต่อการสูญพันธ์ของส่ิงมีชีวิตหลายสายพันธ์ ผลกระทบดังกล่าวจะมี
ความรุนแรงมากหากอุณหภูมิเพ่ิมเกิน ๔ องศาเซลเซียส ส่วนในกรณีของเหตุการณ์รุนแรงทางสภาวะอากาศ
การเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิโลก ๑ องศาเซลเซียส ทาให้เกิดการเพ่ิมข้ึนของสภาวะอากาศท่ีรุนแรง เช่น พายุ ไฟ
บ่า ภาวะแห้งแล้ง ภาวะนา้ ทว่ ม และคล่นื ความรอ้ น (ภาพที่ ๒ - ๑๐)
ท่มี า: Oliver Godard, (2008)
ภาพท่ี ๒ - ๑๐ ผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศจากการเพ่มิ ข้นึ ของอุณหภมู ิโลก
ผลกระทบต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนมีความแตกต่างกันในระดับของความรุนแรงตามลักษณะ
ภูมิประเทศและภูมิอากาศเฉพาะถิน่ และการผสมผสานของปัจจยั หลาย ๆ ด้าน นาไปสู่ผลกระทบต่อภูมินิเวศ
โครงการจัดทาแผนสิง่ แวดลอ้ มในพ้นื ท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๖๙ ๒ - ๙๓
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม รายงานฉบับสดุ ทา้ ย
อ่ืน เช่น การเปลี่ยนแปลงของพ้ืนที่ต้นน้ามีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงของความมีอยู่ของน้าในภาค
การเกษตร ซ่ึงปัจจัยขับเคล่ือนท่ีสาคัญของภาวะโลกร้อนและการเปล่ียนแปลงระบบน้าฝนที่เกี่ยวข้องกับ
กจิ กรรมของมนษุ ยเ์ ปน็ ผลมาจากการเปล่ยี นแปลงการใช้ที่ดินและมลพิษ (Allen, M.R., et al., 2018)
(๓.๒) การเปลี่ยนแปลงและผลกระทบการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศในพ้ืนที่
เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก
จากการศึกษาของสถานีวิจัยต้นน้าชายฝั่งทะเลตะวันออก (สังกัดส่วนวิจัยต้นน้า
สานักอนุรักษ์และจัดการต้นน้า กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธ์ุพืช) บริเวณเขายายดา จังหวัดระยอง
พบว่ามีการกระจุกตัวตกของฝนบนพื้นที่ต้นน้า (พงษ์ศักดิ์ วิทวัสชุติกุล, ๒๕๖๔) นอกจากนั้น ดร.พงษ์ศักด์ิ
วิทวัสชุติกุล ได้ทาการวิเคราะห์ข้อมูลอากาศท่ีจังหวัดระยองในช่วงเวลาก่อน (ปี พ.ศ. ๒๕๐๔ - ๒๕๓๓) และ
หลัง (ปี พ.ศ. ๒๕๒๔ - ๒๕๔๓) การพฒั นาใหจ้ ังหวดั ระยองเป็นพื้นทอ่ี ตุ สาหกรรมหลัก พบว่าอากาศมีอุณหภูมิ
เฉล่ีย (mean temperature) และอุณหภูมิจุดน้าค้าง (dew point temperature) สูงขึ้น ๐.๒ และ ๐.๓
องศาเซลเซียส ตามลาดับ การเพ่ิมข้ึนของอุณหภูมิอากาศทั้งสองทาให้ระดับความสูง (elevation) ของฐาน
เมฆ (cloud base) ลดต่าลงโดยเฉลี่ยตลอดปี ๑๔ เมตรโดยประมาณเม่ือนาข้อมูลดังกล่าวมาสร้างแนวคิด
(concept) โดยนากฎของ adiabatic lapse rate มาประยุกต์ใช้ร่วมกับกฎของ thermodynamic พบว่าการ
ลดระดับลงของฐานเมฆทาให้อุณหภูมิของก้อนอากาศที่ห่อหุ้มเมฆสูงเพ่ิมขึ้น ก้อนอากาศจะขยายตัวและ
รองรับไอน้าได้มากข้ึน แนวคิดดังกล่าวทาให้เกิดเป็นข้อสังเกตขึ้นมาว่า การรองรับไอน้าของก้อนอากาศท่ีเพิ่ม
มากข้ึนน้ี อาจทาให้ฝนมีโอกาสตกน้อยลง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในบริเวณที่อากาศร้อนและแห้งแล้ง (พ้ืนท่ีเมือง)
และ/หรือ อาจทาให้ฝนตกง่ายขึ้นและมปี รมิ าณมากข้ึนในบริเวณที่อากาศมีความเย็นและชมุ่ ช้ืน เช่น บริเวณที่
เป็นภูเขาสูง และ/หรือ พื้นที่ที่มีป่าไม้ปกคลุมหนาแน่นการพิสูจน์แนวคิดดังกล่าว เริ่มต้นจากการเปรียบเทียบ
ข้อมูลเส้นค่าเฉลยี่ การเคลอื่ นที่ ๑๐ ปีของปรมิ าณนา้ ฝนรายปีในช่วงปี พ.ศ.๒๕๓๘ – ๒๕๕๒ ของสถานวี จิ ยั ต้น
น้าชายฝงั่ ทะเลตะวนั ออก อาเภอเมือง จังหวัดระยอง (ซึง่ เป็นพนื้ ท่ีท่ีค่อนข้างช้ืน เพราะอยใู่ กล้ชิดติดทะเลอ่าว
ไทย ที่เป็นแหล่งน้าขนาดใหญ่ และมคี ่าเฉลี่ยปริมาณน้าฝนรายปีเท่ากับ ๑,๖๓๘.๙ มม.) ระหว่างพื้นท่ีโล่งของ
หมู่บ้านตะพงในกับพื้นที่ป่าไม้บริเวณเขายายดา-ท่าฉุด ซ่ึงมีระยะห่างในแนวราบประมาณ ๘ กิโลเมตร ผล
ปรากฏว่าพื้นท่ีท้ังสองมีแนวโน้มของปริมาณน้าฝนรายปีลดลง โดยปรากฏผลอย่างชัดเจนในบริเวณพ้ืนท่ีโล่ง
(r2 = ๐.๙๐๗๕) มากกวา่ พ้ืนทีป่ า่ ไม้ (r2 = ๐.๓๐๔๖) ดงั แสดงในภาพที่ ๒ – ๑๑
โครงการจดั ทาแผนสิง่ แวดล้อมในพนื้ ท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๖๙ ๒ - ๙๔
สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม รายงานฉบบั สดุ ท้าย
ทมี่ า: พงษศ์ กั ด์ิ วิทวสั ชุตกิ ุล, ๒๕๖๔
ภาพท่ี ๒ - ๑๑ เสน้ ค่าเฉล่ียการเคล่อื นท่ี ๑๐ ปขี องปรมิ าณนา้ ฝนรายปขี องพื้นทโ่ี ลง่ กับพื้นทีป่ ่าไม้
จงั หวัดระยอง
อย่างไรก็ตาม ภายหลังการเปรียบเทียบข้อมูลเส้นค่าเฉล่ียการเคลื่อนที่ ๑๐ ปีของ
เปอร์เซ็นต์ของน้าฝนรายปีที่ตกในช่วงฤดูฝน (เดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม) กลับพบว่ามีแนวโน้มเพ่ิมมาก
ขึ้น โดยปรากฏอย่างเด่นชัดในพ้ืนที่ป่าไม้ (r2 = ๐.๗๑๘๙) มากกว่าพื้นท่ีโล่งแจ้ง (r2 = ๐.๕๕๗๖) ดังแสดงใน
รูปที่ ๒ ผลสรุปของการศึกษาแสดงว่ารูปแบบการตกของฝนไปกระจุกตัวในพ้ืนท่ีท่ีมีต้นไม้หนาแน่น (ปริมาณ
นา้ ฝนที่ตกในพนื้ ท่โี ล่งมแี นวโน้มลดลง) ในขณะท่ีตกของฝนมีแนวโน้มตกในฤดูฝนมากข้นึ
ในขณะท่ีการวิเคราะห์กรณีแนวโน้มการเพ่ิมข้ึนของอุณหภูมิในพ้ืนที่ ดร.พงษ์ศักด์ิ
วิทวัสชุติกุล สรุปได้ว่าอาจส่งผลกระทบกับพ้ืนที่เมือง เช่นกรณี เทศบาลเมืองบ้านฉาง เนื่องจาก มีที่ต้ังและ
สภาพภูมิประเทศประกอบด้วยภูเขาและเนินเขาที่อยู่ทางทิศเหนือ และทะเลทางทิศใต้ จะเป็นตัวส่งเสริมให้
คุณภาพอากาศในระดับ local climate ดีข้ึน อันเนื่องมาจาก ลมภูเขา-ลมหุบเขา และลมบก-ลมทะเล และ
ตามหลักการลดระดบั ลงของฐานเมฆอนั เน่ืองจากการเพิ่มขึน้ ของอุณหภูมิ ในพื้นทคี่ อ้ นข้างช้ืน สง่ ผลให้เกิดการ
ตกของปริมาณน้าฝนท่ีมาก แต่การใช้ประโยชน์ท่ีดินยังไม่สอดคล้องกับฝนท่ีตกหนักจากการเปลี่ยนแปลง
สภาพอากาศ เน่ืองจากการใช้ประโยชน์ท่ีดินท่ีมีแนวโน้มของการปรับเปลี่ยนพ้ืนที่ทาการเกษตรให้เป็นที่อยู่
อาศัยมากข้ึน ทาให้ค่า runoff coefficient หรือ C ใน rational formula (Qp=CIA) มีค่าสูง อัตราการไหล
หลากของน้าท่าท่ีเกิดขึ้นจากการตกของฝนแต่ละครั้ง (Qp) จึงมีค่าสูงตามไปด้วย ในขณะเดียวกันการ
เปล่ียนแปลงของอุณหภูมิเฉลี่ย และอุณหภูมิจุดน้าค้างที่มีค่าสูงขึ้นจากอดีตท่ีผ่านมา ทาให้ระดับฐานเมฆลด
ตา่ ลง ตามกฎ adiabatic lapse rate ฝนจะตกรุนแรงมากขึ้น ค่า rainfall intensity หรอื คา่ I ในสมการจะมี
ค่าสูงข้ึนด้วย แต่แผนการระบายน้าท่วมขังในตัวเทศบาลเมืองบ้านฉางยังไม่สมบูรณ์ จึงเป็นสิ่งท่ีควรนาไป
โครงการจดั ทาแผนสง่ิ แวดลอ้ มในพืน้ ทเี่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๖๙ ๒ - ๙๕
สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม รายงานฉบับสดุ ท้าย
พิจารณาเตรียมการรองรับ เช่นเดียวกับพ้ืนท่ีเมืองอ่ืน ๆ ท่ีควรมีแผนการรองรับเรื่องปัญหาน้าท่วมขังรอการ
ระบาย
ในขณะท่ี การขยายตัวของเมืองและกิจกรรมในพ้ืนที่เขตเศรษฐกิจ มีความต้องการ
ใช้พลังงาน และน้าเพื่อการอุปโภค บริโภค การผลิตทางอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม ตลอดจนเพื่อรักษา
ระบบนิเวศ ดังนน้ั การบริหารจัดการพลังงาน และนา้ รวมถึงผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ
อย่างเหมาะสมจึงเป็นความท้าทายของทุกประเทศโดยเฉพาะในพื้นท่ีเมืองท่ีมีกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เข้มข้น
การเปล่ียนรูปการใช้พลังงานจากฟอสซิลไปสู่การใช้พลังงานทดแทนด้านต่าง ๆ เป็นทิศทางการพัฒนาด้าน
สาขาพลังงานในอนาคต ในขณะที่การรักษาสมดุลของน้าท่าและน้าบาดาล เป็นไดท้ ้ังโอกาสในการส่งเสริมการ
พัฒนาเศรษฐกิจและความเส่ียงต่อความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ การนาน้าบาดาลข้ึนมาใช้เพ่ือ
ตอบสนองความต้องการท่ีเพ่ิมมากข้ึนจาเป็นต้องมีแผนการเดิมน้าลงใต้ดินอย่างเหมาะสม ซึ่งป่าไม้นอกจาก
เป็นสาขาการดูดกลับก๊าซเรือนกระจกและยังเป็นพื้นท่ีที่ให้บริการนิเวศด้านน้าท่าและน้าใต้ดินตามธรรมชาติ
การรักษาคุณภาพและพื้นท่ีป่าไม้จึงมีความสาคัญต่อการพัฒนาพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษ ประกอบกับการเพ่ิม
ความหลากหลายทางชีวภาพในพ้ืนที่เกษตรกรรมให้มีความหลากหลายทางชีวภาพที่ใกล้เคียงกับลักษ ณะของ
ป่าธรรมชาติเป็นอีกโอกาสในการเพิ่มพ้ืนที่ป่าและเพิ่มความสามารถในการบริการนิเวศด้านน้าทา่ และน้าใต้ดิน
(พงษศ์ กั ดิ์ วทิ วัสชตุ กิ ลุ , ๒๕๖๔) ทส่ี ่งเสริมการพฒั นาได้อยา่ งมีสมดลุ ตามธรรมชาติ
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมีผลกระทบต่อสุขภาพและทรัพย์สิน รวมถึงความ
ม่ันคงทางอาหารจากการลดลงของผลผลิตทางการเกษตร โดยมีแหล่งปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่ส้าคัญมาจาก
สาขาพลังงาน สาขาเกษตรกรรม สาขาอุตสาหกรรมและสาขาของเสีย ในขณะที่สาขาการใช้ประโยชน์ที่ดิน
และป่าไม้ เป็นภาคทึ่มีการดูดกลับก๊าซเรือนกระจก ในพ้ืนที่เขตพัฒนามีความต้องการใช้พลังงาน และน้าใน
ปริมาณท่ีเพิ่มขึ้น การบริหารจัดการทรัพยากรพลังงานและน้าจึงเป็นประเด็นท้าทายหลักส้าหรับตอบสนอง
ความต้องการควบคู่ไปกับการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก อย่างไรก็ตาม มีโอกาสในพัฒนาด้วยการเปล่ียน
รปู การใช้พลังงานจากฟอสซิลไปสู่การใช้พลังงานทดแทนด้านต่าง ๆ เป็นทิศทางการพัฒนาด้านสาขาพลังงาน
ในอนาคต ในขณะที่การน้าน้าทา่ และน้าบาดาลมาใชป้ ระโยชน์เพ่ิมมากขึ้น เป็นได้ทั้งโอกาสในการส่งเสริมการ
พัฒนาเศรษฐกิจและความเส่ียงต่อความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ ดังนั้น การเพ่ิมพ้ืนที่สีเขียวและ
ความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่เกษตรกรรมให้มีความหลากหลายทางชีวภาพท่ีใกล้เคียงกับลักษณะของ
ป่าธรรมชาติเป็นอีกโอกาสในการเพิ่มพ้ืนที่ป่าและเพ่ิมความสามารถในการบริการนิเวศด้านน้าทา่ และน้าใต้ดิน
ที่สง่ เสริมการพฒั นาได้อย่างมีสมดุลตามธรรมชาติ
(๓.๓) การประชุมรัฐภาคีกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติวา่ ดว้ ยการเปล่ียนแปลง
สภาพภูมิอากาศ สมัยท่ี ๒๖ (COP 26)
ประเทศไทยในฐานะรัฐภาคีกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลง
สภาพภูมิอากาศ พธิ ีสารเกียวโต และความตกลงปารีส ได้เข้าร่วมการเจรจาเพื่อกาหนดกรอบความร่วมมือระดับ
โลกในการแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยมีพันธกรณีท่ีจะต้องดาเนินการภายใต้กรอบอนุสัญญา
ฯ และความตกลงปารีส เพ่ือขับเคลื่อนการดาเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในประเทศอย่าง
ต่อเน่ืองและย่ังยืน ในขณะท่ีประเทศไทยได้กาหนดเป้าหมายความเป็นกลางทางคาร์บอน (Carbon Neutrality)
โครงการจัดทาแผนสง่ิ แวดล้อมในพน้ื ท่เี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๖๙ ๒ - ๙๖
สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รายงานฉบับสดุ ทา้ ย
ภายในปี ค.ศ. 2050 และเป้าหมายการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ (Net Zero Greenhouse Gas
Emission) ภายในหรือก่อนปี ค.ศ. ๒๐๖๕ ซึ่งผลการประชุม COP ๒๖ อาจส่งผลต่อการกาหนดนโยบายการพัฒนา
ของประเทศ โดยการประชมุ รัฐภาคีกรอบอนสุ ญั ญาสหประชาชาติวา่ ด้วยการเปล่ียนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ สมัย
ท่ี ๒๖ (COP 26) ได้ดาเนินงานในระหว่างวันท่ี ๒๙ ตุลาคม - ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ ณ เมืองกลาสโกว์ สหราช
อาณาจักร มีผู้เข้าร่วมการประชุมจาก ๑๙๖ ประเทศ และผู้แทนจากองค์กรผู้สังเกตการณ์ จานวน ๓๙,๕๐๙ คน
สรปุ สาระสาคัญได้ ดงั น้ี
(๓.๒.๓.๑) สหราชอาณาจักร ในฐานะเจ้าภาพการประชุมฯ ให้ความสาคัญ ต่อเป้าหมาย
การปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ (Net Zero Emission) ภายในปี ค.ศ. 2050 และการลดปริมาณการปล่อยก๊าซ
เรือนกระจกให้ได้ครึ่งหนึ่งในปี ค.ศ. 2030 เพ่ือให้สามารถควบคุมการเพิ่มข้ึนของอุณหภูมิของโลกไม่ให้เกิน ๑.๕
องศาเซลเซียส ด้วยการยกเลิกโรงไฟฟ้าถ่านหิน ซึ่งประเทศพัฒนาแล้วควรทาได้ภายในปี ค.ศ. 2030 และประเทศ
กาลังพัฒนาภายในปี ค.ศ. 2040 โดยสหราชอาณาจักรมีแผนจะยกเลิกรถยนต์ที่ใช้น้ามัน ภายในปี ค.ศ. 2035
และยกเลกิ การขายรถยนต์ดงั กล่าวในปี ค.ศ. 2030 รวมถงึ หยุดการทาลายป่าภายในปี ค.ศ. 2030
ในขณะที่ ประธานาธบิ ดีโจ ไบเดน สหรฐั อเมริกาให้คาม่ันท่ีจะลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
ลง ร้อยละ 50 - 52 จากปี ค.ศ. 2005 ภายในปี ค.ศ. 2030 ส่วนประเทศจีน ได้ตั้งเป้าการปล่อยคาร์บอนสูงสุดก่อนปี
ค.ศ. ๒๐๓๐ และมุ่งสู่การเป็นกลางทางคาร์บอนภายในปี ค.ศ. 2060 นอกจากน้ัน ได้ให้คาม่ันระงับให้
งบประมาณโครงการถ่านหินในต่างประเทศ และเร่ิมลดการใช้ถ่านหินของตนในปี ค.ศ. 2026 ทางด้าน
สาธารณรัฐอินเดีย โดยนายนเรนทรา โมดี นายกรัฐมนตรี ประกาศเป้าหมายการเปน็ กลางทางคารบ์ อนภายใน
ปี ค.ศ. 2070 ซึง่ ช้ากว่าเป้าหมายของ COP26 ถงึ ๒๐ ปี
(๓.๒.๓.๒) ถ้อยแถลงของประเทศไทย โดย พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี
ในฐานะหัวหน้าคณะผู้แทนไทย เม่ือวันท่ี ๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ มีสาระของถ้อยแถลงที่เน้นแสดงจุดยืนของ
ประเทศไทยที่ให้ความสาคัญสูงสุดกับการแก้ไขปัญหาการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ และพร้อมร่วมมือกับ
ทุกประเทศและทุกภาคส่วนเพื่อบรรลุเป้าหมายร่วมกันในการแก้ปัญหา โดยในปัจจุบันสัดส่วนการปล่อยก๊าซ
เรือนกระจกของประเทศไทย คิดเป็นร้อยละ ๐.๗๒ ของการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของทั้งโลก และได้แสดง
เจตนารมณ์ของประเทศไทยท่ีจะยกระดับการแก้ไขปัญหาภูมิอากาศท่ีจะทาใหป้ ระเทศไทยบรรลุเป้าหมายความ
เปน็ กลางทางคาร์บอน (Carbon Neutrality) ภายในปี ค.ศ. 2050 และเปา้ หมายการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิ
เปน็ ศูนย์ (Net Zero Greenhouse Gas Emission) ภายในหรือกอ่ นปี ค.ศ. 2065 ปัจจบุ นั ประเทศไทยได้นาแนวคิด
เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว หรือ BCG Economy (Bio Circular Green Economy) มา
ผนวกในยุทธศาสตร์แห่งชาติ เพ่อื นาไปสู่การปรับกระบวนทัศน์และการพัฒนาเศรษฐกจิ ท่ไี มท่ าลายระบบนเิ วศ
(๓.๒.๓.๓) เป้าหมายของ COP26 จากข้อมูลท่ีเผยแพร่จากเว็บไซต์ทางการของ
COP26 ได้วางเป้าหมายที่ต้องการบรรลุใน ๔ เป้าหมาย (ชยนนท์ รกกาญจนันท์,
๒๕๖๔) ดังนี้
๑) เป้าหมายการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ (Net Zero Emission)
ภายในปี ค.ศ. 2050 และควบคุมการเพิ่มข้ึนของอุณหภูมิของโลกไม่ให้เกิน ๑.๕ องศาเซลเซียส โดยเรียกร้องให้
โครงการจดั ทาแผนสงิ่ แวดล้อมในพ้นื ท่เี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๖๙ ๒ - ๙๗
สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม รายงานฉบับสุดทา้ ย
ประเทศต่าง ๆ เสนอแผนงานยกเลิกการใช้ถ่านหนิ การเรง่ ให้เปลีย่ นมาใช้รถยนตท์ ่ีใชพ้ ลงั งานไฟฟ้า การใช้พลังงาน
หมุนเวียนใหม้ ากข้นึ และการควบคมุ การตัดไมท้ าลายปา่
๒) ส่งเสริมการปรบั ตัวเพื่อปกป้องชุมชนและธรรมชาติ ระบบนิเวศ รวมถึงการ
ฟนื้ ฟรู ะบบนเิ วศและป้องกนั ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ เชน่ น้าทว่ ม ภัยแล้ง และไฟไ้ หม้
๓) ระดมทุน ในปี ค.ศ. 2020 ประเทศที่พัฒนาแลว้ ได้ให้คาม่ันสัญญาทจ่ี ะมอบ
เงินจานวน ๑ แสนล้านดอลลาร์ตอ่ ปี เพือ่ ช่วยเหลือประเทศทย่ี ากจน เพอื่ ใหป้ ระสบความสาเร็จตามเปา้ หมาย
๔) ทางานรว่ มกัน ของภาครฐั บาล ธรุ กจิ และประชาสังคม
(๓.๒.๓.๔) ข้อตกลงทเ่ี กิดขึ้นจากการประชุม
๑) ข้อตกลงลดการตัดไม้ การลงนามในคาประกาศให้คาม่ันต่อการยุติการ
ตัดไม้ทาลายผ่า และฟื้นฟูป่าไม้ภายในปี ค.ศ. 2030 ของผู้นา ๑๐๕ ประเทศ ที่มีพื้นที่ป่าครอบคลุมเน้ือท่ีราว
รอ้ ยละ ๘๕ ของป่าไมท้ ั่วโลก โดยเฉพาะประเทศบราซิลทีม่ ีผืนปา่ อเมซอนท่ีกาลังถูกทาลายเป็นวงกวา้ ง โดยจะ
มีการมอบเงินส่วนหน่ึงให้แก่ประเทศกาลังพัฒนาเพื่อนาไปใช้ฟ้ืนฟูผืนป่าที่ถูกทาลาย แก่ปัญหาไฟป่า และ
สนับสนุนชุมชนพื้นเมืองท่ีต้องพึ่งพาป่าผนในการดารงชีพและปกป้องป่าฝนเขตร้อนขนาดใหญ่อันดับสองของ
โลกบริเวณลมุ่ น้าคองโกแถบแอฟรกิ ากลาง
๒) ขอ้ ตกลงลดการปลอ่ ยก๊าซเรือนกระจก ประธานาธิบดีสหรัฐอเมรกิ า (โจ
ไบเดน) และประธานคณะกรรมาธการยุโรป (เออร์ซูลา วอน แดร์ เลเยน) ประกาศเปิด “ปฎิญญามีเทนโลก”
(Global Methane Pledge) อย่างเป็นทางการ โดยมีเป้าหมายเพื่อลดการปล่อยก๊าซมีเทน ลงร้อยละ ๓๐
จากระดบั การปล่อยในปี ค.ศ. 2020 ภายในปี ค.ศ. 2030 ท้ังน้ีเนอ่ื งจากการประเมินศักยภาพของก๊าซมีเทนท่ี
ทาให้โลกร้อนได้มากกว่าคาร์บอนไดออกไซด์ถึง ๘๐ เท่า โดยมีแหล่งกาเนิดท่ีสาคัญจากระบบย่อยอาหารของ
สัตวเ์ ค้ียวเอ้ือง ขยะจากการฝังกลบ และการผลิตน้ามันและก๊าซ (ชยนนท์ รกกาญจนันท,์ ๒๕๖๔)
(๓.๒.๓.๕) ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงนโยบาย
๑) กฎ ระเบียบ ท่ีเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม และนโยบายการกาหนดราคา
คาร์บอน จะเพ่ิมแรงกดดนั ด้านต้นทุน ตอ่ อตุ สาหกรรมท่มี ีการปลอ่ ยมลพิษ เชน่ สายการบนิ และการขนสง่
๒) เศรษฐกิจสีเขียวมีแนวโน้มได้รับความสาคัญต่อการดาเนินธุรกิจใน
อนาคตเพิ่มมากข้ึน ผู้ขอกู้เงินต้องมีการประเมินความเส่ียงท่ีอาจต้องเผชิญจากการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภูมอิ ากาศ เชน่ ทรพั ย์สินบริเวณพ้นื ทช่ี ายฝ่ังทะเลอาจตอ้ งเผชญิ กับความเสี่ยงจากสภาพอากาศทร่ี ุนแรง
จากเป้าหมายการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ (Net Zero
Emission) ภายในปี ค.ศ. ๒๐๕๐ และควบคุมการเพ่ิมข้ึนของอุณหภูมิของโลกไม่ให้เกิน ๑.๕ องศาเซลเซียส และ
ข้อตกลงในด้านการยุตกิ ารตัดไม้ท้าลายป่า และการลดการปลอ่ ยก๊าซเรือนกระจก ที่เพม่ิ ความสา้ คัญด้านการลดกา๊ ซ
มีเทน โดยใหม้ ีแผนงานยกเลิกการใช้ถ่านหิน เรง่ รัดให้เปลีย่ นมาใช้รถยนตท์ ี่ใช้พลงั งานไฟฟ้า สง่ เสริมการใช้พลังงาน
หมนุ เวยี นใหม้ ากขึ้น และการควบคุมการตดั ไมท้ า้ ลายป่าแนวทางที่สนบั สนุนการฟืน้ ฟผู นื ป่าท่ีถกู ท้าลาย แก่ปัญหา
ไฟป่า และสนับสนุนชุมชนพ้ืนเมืองท่ีต้องพ่ึงพาป่าผนในการด้ารงชีพและปกป้องป่าฝนเขตร้อน จึงเป็นแรง
กดดันและความท้าทายส้าหรับการจัดท้าแผนส่ิงแวดล้อมท่ีจะน้าไปสู่ความส้าเร็จตามเป้าหมาย โดยมีแนวทางการ
ด้าเนินงานภายใต้การประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว หรือ BCG
โครงการจดั ทาแผนส่ิงแวดลอ้ มในพื้นทเี่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๖๙ ๒ - ๙๘
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม รายงานฉบับสดุ ทา้ ย
Economy (Bio Circular Green Economy) มาสู่การปรับกระบวนทัศน์และการพัฒนาเศรษฐกิจท่ีไม่ท้าลายระบบนิเวศ
ด้วยการทา้ งานร่วมกัน ของภาครัฐบาล ธุรกิจ และประชาสังคม
(๔) นโยบายและอนุสญั ญาระหว่างประเทศ
จากสาระสาคัญของ The Biden Plan for a Clean Energy Revolution and
Environmental Justice ท่ีกาหนดเปา้ หมายการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกสทุ ธขิ องประเทศสหรัฐอเมรกิ าให้
เป็นศูนย์และการบรรลุเศรษฐกิจพลังงานสะอาดอย่างสมบูรณ์ ในปี ค.ศ. 2050 น้ัน การดาเนินงานตามแผน
ดังกล่าวยังได้ระบุถึงการผลักดันประเทศอื่น ๆ ในโลก (รวมถึงประเทศไทย) ให้ใช้มาตรการลดการปล่อยก๊าซ
เรอื นกระจกเป็นแนวทางการค้าระหวา่ งประเทศ เช่น การสนับสนุนการปรับคาร์บอน (Carbon Adjustment)
เป็นเงอ่ื นไขในข้อตกลงทางการค้ากบั ประเทศคู่คา้ เป็นต้น (Biden Harris, 2021)
แนวคิดของการปรับคาร์บอนได้มีการประยุกต์ใช้ในกลุ่มประเทศสหภาพยุโรป โดย
ไดม้ ีการเผยแพรร่ ่างกฎหมายว่าด้วยมาตรการปรบั คาร์บอนก่อนข้ามพรมแดน (Carbon Border Adjustment
Mechanism-CBAM) อันจะนาไปสู่การคิดค่าธรรมเนียมต่อสินค้านาเข้าที่มีการลดการปล่อยคาร์บอนได้น้อย
กว่าสหภาพยุโรป ซึ่งมาตรการดังกล่าวจะส่งผลกระทบอย่างมากต่ออุตสาหกรรมที่ส่งออกสินค้าที่มีการ
ปลดปล่อยคาร์บอนสูง (เช่น อุตสาหกรรมซีเมนต์และเหล็ก) ไปยังกลุ่มสหภาพยุโรป แม้ว่าการศึกษาในเร่ือง
ของผลกระทบของกฎหมาย CBAM ต่อประเทศต่าง ๆ น้ัน ประเทศไทยจะไม่อยู่ในประเทศ ๒๐ อันดับแรกท่ี
ได้รับผลกระทบรุนแรง (กรมยุโรป กระทรวงต่างประเทศ, ๒๕๖๔) หากแต่ทิศทางและแนวโน้มของการสร้าง
ข้อกาหนดและเง่ือนไขในทานองดังกล่าวจากกลุ่มประเทศท่ีมีอิทธพิ ลสูงเป็นประเด็นแรงกดดันที่ควรได้รับการ
พจิ ารณาในการกาหนดทิศทางของอุตสาหกรรมในประเทศไทย ซึ่งรวมถึงการพัฒนาอุตสาหกรรมใหม่และการ
ปรับปรุงอุตสาหกรรมเดิมในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกต่อประเด็นด้านการปลดปล่อยคาร์บอนในการ
บริหารจัดการอุตสาหกรรมและส่ิงแวดล้อมของพ้ืนที่เพ่ือเตรียมพร้อมรับมือกับมาตรการระหว่างประเทศที่
เกิดขึน้ ในอนาคต
การดาเนินงานของประเทศไทยนั้น รายงาน Thailand Third Biennial Update
Report : BUR.3 (2020) ที่ปรับปรุงข้อมูลจาก Thailand’s Third National Communication ได้แสดงถึง
การปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากภาคส่วนต่าง ๆ อาทิ ภาคพลังงาน ภาคการผลิตอุตสาหกรรมและการใช้
ผลติ ภณั ฑ์ และภาคของเสีย ซงึ่ ภาคพลังงานน้นั เปน็ ภาคทีม่ ีสดั ส่วนการปลดปล่อยสงู สุด (ร้อยละ ๗๑.๖๕ ของ
การปลดปล่อยท้ังหมด) โดยในรายละเอียดนั้น รายงานดังกล่าวยังทาให้ทราบถึงกิจกรรมการปลดปล่อยก๊าซ
เรือนกระจกท่ีสาคัญในแต่ละภาคส่วน เช่น กิจกรรมการเผาไหมเชื้อเพลิงฟอสซิลในการผลิตไฟฟ้าและความ
รอ้ น (ร้อยละ ๔๒.๘๔ ของการปลดปล่อยจากภาคพลังงาน) กิจกรรมการการขนส่ง (ร้อยละ ๒๗.๒๑ ของการ
ปลดปล่อยจากภาคพลังงาน) กิจกรรมการผลิตแร่ (ร้อยละ ๖๑.๑๖ ของการปลดปล่อยจากภาคอุตสาหกรรม)
อุตสาหกรรมเคมี โลหะและผลิตภัณฑ์ (ร้อยละ ๓๗.๙๖ ของการปลดปล่อยจากภาคอุตสาหกรรม) และ
กิจกรรมจากการปลอ่ ยและบาบัดน้าเสยี (ร้อยละ ๔๙.๕๕ ของการปลดปล่อยในภาคของเสีย) และการทิง้ ขยะ
(ร้อยละ ๔๘.๕๓ ของการปลดปล่อยในภาคของเสีย) ข้อมูลดังกล่าวมีความสาคัญต่อการพัฒนามาตรการใน
การลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากภาคส่วนและกิจกรรมท่ีสาคัญดังกล่าวในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาค
ตะวนั ออก โดยทศิ ทางสาคัญ คือ การพัฒนาบนหลักการเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกจิ สี
โครงการจัดทาแผนส่ิงแวดลอ้ มในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๖๙ ๒ - ๙๙
สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม รายงานฉบบั สดุ ทา้ ย
เขียว (Bio-economy – Circular economy – Green economy: BCG) เพื่ อลดผลกระท บจากการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและมาตรการลดก๊าซเรือนกระจกสากล ซ่ึงสามารถประยุกต์ใช้ในการสนับสนุน
พลังงานทางเลือก โดยการปรับเปลี่ยนรูปแบบพลังงานและการขนส่งจากเชื่อเพลิงฟอสซิลเป็นพลังงาน
หมุนเวียน การส่งเสริมเทคโนโลยีสะอาดและการนากลับมาใช้ใหม่ในภาคอุตสาหกรรมและการลดของเสีย ให้
สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานสากล รวมถงึ การสง่ เสริมการพฒั นาเศรษฐกจิ ชวี ภาพในภาคเกษตรกรรม
ในขณะเดียวกันมีความจาเป็นในการรักษาพ้ืนที่ที่มีการใช้ประโยชน์ที่ดินท่ีสามารถ
ดูดซับก๊าซเรือนกระจกจาก เช่น พื้นที่เพาะปลูกและพ้ืนท่ีป่าไว้ (cropland remaining cropland; forest
land remaining forest land) ซึ่งแม้ว่าภาคการเกษตรจะมีการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกท่ีมีสัดส่วนเป็น
อันดับสองรองจากภาคพลังงาน แต่จากพิจารณาค่าการดูดกลับก๊าซเรือนกระจกสุทธิ (net removal)
จากพื้นทเ่ี พาะปลกู น้ันพบวา่ มคี ่าการดูดกลับมากกวา่ คา่ การปลดปลอ่ ย (การดดู กลับสทุ ธิของพ้ืนท่ีเพาะปลูกอยู่
ท่ี ๗๓,๔๕๗.๙๖ GgCO2eq ในขณะท่ีการปลดปล่อยจากการเพาะปลูกอยู่ ๔๐,๙๖๓.๔๙ GgCO2eq)
ข้อมูลดังกล่าวจึงเป็นประโยชน์ต่อการพิจารณาการจัดการรักษา ฟ้ืนฟู และเพ่ิมพ้ืนที่สีเขียวในพ้ืนท่ีเขตพัฒนา
พิเศษภาคตะวันออกต่อไป อย่างไรก็ตาม ผลกระทบด้านหน่ึงของการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อระบบ
นิ เว ศ คื อ ก ารสู ญ เสี ย ค ว าม ห ล าก ห ล าย ท างชี วิภ าพ โด ย ราย งาน Thailand’s Third National
Communication ได้ระบุถึงความท้าทายของการสูญเสียแหล่งที่อยู่ของส่ิงมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์ไม่ว่าจะเป็น
พน้ื ที่ป่า พื้นทีช่ ุมน้า และแหล่งน้าธรรมชาติเป็นต้น โดยในประเด็นด้านความหลากหลายทางชีวภาพนี้ประเทศ
ไทยได้เข้าร่วมเป็นภาคีของ อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ (Convention on Biological
Diversity) ต้ังแต่วันท่ี ๒๙ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๗ โดยอนุสัญญาฯ ดังกล่าวมีวัตถุประสงค์ในด้านการอนุรักษ์
การใช้ประโยชน์ และการแบ่งปนั ผลประโยชน์ อยา่ งยงั่ ยืน ยุติธรรม และเท่าเทยี ม โดยอนุสญั ญาฯ ดังกลา่ วยัง
มีผลเช่ือมโยงต่อพันธกรณีอื่น อาทิเช่น พิธีสารนาโงยาว่าด้วยการเข้าถึงทรัพยากรพันธุกรรมและการแบ่งปัน
ผลประโยชน์ที่ได้จากการแบ่งปันทรัพยากรพันธุกรรมอย่างยุติธรรมและเท่าเทียม (Nagoya Protocol on
Access to Genetic Resources and Fair and Equitable Sharing of Benefits Arising out of their
Utilization to Convention on Biological Diversity) เพ่ือช่วยขับเคล่ือนวัตถุประสงค์ด้านการแบ่งปัน
ผลประโยชน์อย่างยุติธรรมและเท่าเทียมของอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพเป็นต้น (สานกั งาน
นโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม ๒๕๕๗ ก; ๒๕๕๗ ข).
ประเทศไทยไดม้ ีการเตรียมความพรอ้ มต่อพนั ธกรณีเหล่านี้มาอย่างต่อเนอื่ งดังเห็นได้
จาก ระเบียบคณะกรรมการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพแห่งชาติว่าด้วยหลักเกณฑ์
และวธิ ีการในการเข้าถึงทรพั ยากรชวี ภาพและการได้รบั ประโยชน์ตอบแทนจากทรพั ยากรชวี ภาพ พ.ศ. ๒๕๕๔
เพ่ือเพิ่มเติมเนื้อหาในคุ้มครองและกากับความหลากหลายทางชีวภาพที่ไม่ได้ถูกครอบคลุมใน พรบ. คุ้มครอง
พันธุ์พืช พ.ศ. ๒๕๔๒ และพรบ. คุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย พ.ศ. ๒๕๔๒ เป็นต้น
รวมถึงการจัดทา แผนแม่บทการจัดการบรูณาการจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ พ.ศ. ๒๕๕๘ - ๒๕๖๔
ซึ่งประกอบด้วย ๔ ยุทธศาสตร์ ได้แก่ (๑) บูรณาการคุณค่าและการจัดการความหลากหลายทางชีวภาพโดย
การมีส่วนร่วมในทุกระดับ (๒) อนุรักษ์ และฟ้ืนฟูความหลากหลายทางชีวภาพ (๓) ปกป้องคุ้มครองสิทธิ
โครงการจดั ทาแผนส่งิ แวดล้อมในพน้ื ท่ีเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๖๙ ๒ - ๑๐๐
สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม รายงานฉบบั สดุ ท้าย
ประโยชน์ของประเทศและบริหารจดั การเพ่ือเพิ่มพูนและแบ่งปันผลประโยชน์จากความหลากหลายทางชวี ภาพ
โดยสอดคล้อง กับแนวทางเศรษฐกิจสีเขียว (๔) พัฒนาองค์ความรู้และระบบฐานข้อมูลด้านความหลากหลาย
ทางชีวภาพให้เป็นมาตรฐานสากล ท้ังน้ีในปัจจุบัน ได้มีการยกร่าง พระราชบัญญัติความหลากหลายทาง
ชีวภาพ พ.ศ. .... ซง่ึ จะทาใหม้ กี ารค้มุ ครองความหลากหลายทางชีวภาพได้อยา่ งเป็นรูปธรรมมากขึ้น
แรงผลักดันจากพันธสัญญาจากภายนอกประเทศและนโยบายระดับประเทศ
ดังกล่าวได้ให้กรอบค วามคิดด้านการอนุรักษ์ การใช้ประโยชน์ และการแบ่งปันผลประโยชน์
จากความหลากหลายทางชวี ภาพ ต่อการวางแผนจดั การทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมในพืน้ ที่เขตพฒั นา
พิเศษภาคตะวันออก อาทิเช่น การคานึงถึงกรอบการดาเนินการดังกล่าวกับแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจ
ชีวภาพ (Bio economy) การจัดการการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อความหลากหลายทางชีวภาพ และการบูรณา
การภาคส่วนต่าง ๆ ในการจัดการ รักษา ฟื้นฟู และใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน
พร้อมกับการแบง่ ปันผลประโยชน์อย่างยุติธรรมและเท่าเทยี ม รวมถงึ มิตกิ ารบรู ณาการความร่วมมือเพอ่ื พฒั นา
ฐานข้อมูลในพนื้ ทที่ ี่เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออกเปน็ ต้น
นโยบายและอนุสัญญาระหว่างประเทศผลักดันให้ทิศทางการพัฒนาพื้นท่ีภายใต้
หลักการเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว (Bio-economy – Circular economy
– Green economy: BCG) เพื่อลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและมาตรการลดก๊าซ
เรือนกระจกสากล ประกอบด้วยการพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพ (Bio economy) ด้วยการสนับสนุนพลังงาน
ทางเลือก โดยการปรับเปล่ียนรูปแบบพลังงานและการขนส่งจากเช่ือเพลิงฟอสซิลเป็นพลังงานหมุนเวียน และ
การส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพในภาคเกษตรกรรม การพัฒนาเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular
economy) ด้วยการส่งเสริมเทคโนโลยีสะอาดและการน้ากลับมาใช้ใหม่ในภาคอุตสาหกรรมและการลดของ
เสยี และการส่งเสรมิ อตุ สาหกรรมการผลติ ให้สอดคลอ้ งกับมาตรฐานสากลในดา้ นตา่ ง ๆ (Green economy)
กลา่ วโดยสรปุ สถานการณ์ความทา้ ทายโลก ด้านความม่ันคงทางอาหาร สุขภาพ การ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และนโยบายและสนธิสัญญาระหว่างประเทศ นับเป็นแรงกดดันภายนอกท่ีมีต่อ
พน้ื ทเ่ี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกที่จาเป็นต้องมกี ารเตรียมการรบั มือกบั สถานการณ์ดงั กล่าว
๒.๕.๑.๒ แรงกดดนั ภายในตอ่ ทรพั ยากรและสิ่งแวดลอ้ ม
แรงกดดันภายใน หมายถึง สถานการณ์และการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจ
ประชากร โครงการพัฒนาต่าง ๆ ท่ีมอี ยู่ในพนื้ ท่ีและจะเกิดขึ้นในอนาคตของพ้ืนท่ี (รายละเอียดปรากฏในบทที่
๓) รวมถึงสถานการณ์และแนวโน้มของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาค
ตะวันออก (รายละเอียดปรากฏในบทที่ ๔) สถานการณ์ดังกล่าวนับว่าเป็นแรงกดดันภายในท่ีมีผลต่อ
ความสามารถในการรองรับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
๒.๕.๒ ความสามารถในการรองรับดา้ นทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม (Carrying Capacity)
การประเมินศกั ยภาพในการรองรับ เป็นแนวคิดเชิงนิเวศวิทยาที่อยู่บนฐานของวิเคราะห์สถานภาพของ
ระบบท่ีการดารงชีวิตอยู่ของสิ่งมีชีวิตจากทรัพยากรท่ีมีอยู่ในระบบนิเวศที่ส่ิงมีชีวิตเหล่าน้ันอาศัยอยู่ มีอย่าง
ม่ันคง (steady state) มากน้อยเพียงไร (Steinbrenner Institute for Environmental Education and
Research, Carnegie Mellon University, 2018) หากสถานภาพอยู่ในระดับท่ีเกินศักยภาพในการรองรับ
โครงการจดั ทาแผนสงิ่ แวดลอ้ มในพนื้ ที่เขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๖๙ ๒ - ๑๐๑