The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิจัย กทม ฉบับสมบูรณ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by piyarat.pan, 2022-06-19 22:23:14

วิจัย กทม ฉบับสมบูรณ์

วิจัย กทม ฉบับสมบูรณ์

รายงานการวิจัยฉบบั สมบูรณ
เร่อื ง

การศึกษาสภาพปจ จบุ ัน การจดั การเรียนการสอน ปญหาและแนวทางแกไ ข
เพือ่ ยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของโรงเรียนระดับมธั ยมศกึ ษา
สังกัดกรุงเทพมหานคร

A Study on Current State of Teaching Management, Problems
and Solutions for Improving Learning Achievement of

Secondary Schools under Bangkok Metropolitan Administration

ผศ.ดร.สพุ จน ทรายแกว
ดร.นารี คูหาเรอื งรอง

รายงานวจิ ยั ฉบับน้ีเปน การวจิ ัยภายใต
โครงการวจิ ยั และวเิ คราะหข อ มูลสภาพการจัดการเรียนการสอน

ของโรงเรยี นระดบั มธั ยมศึกษา สังกดั กรงุ เทพมหานคร
ปงบประมาณ 2564





รายงานการวจิ ัยฉบับสมบูรณ
เรื่อง

การศึกษาสภาพปจจบุ ัน การจดั การเรียนการสอน ปญหาและแนวทางแกไข
เพือ่ ยกระดับผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นของโรงเรยี นระดับมัธยมศกึ ษา
สังกดั กรุงเทพมหานคร

A Study on Current State of Teaching Management, Problems
and Solutions for Improving Learning Achievement of

Secondary Schools under Bangkok Metropolitan Administration

ผศ.ดร.สุพจน ทรายแกว
วิทยาลัยนวัตกรรมการจดั การ

ดร.นารี คูหาเรืองรอง
โรงเรยี นสาธิต

รายงานวิจัยฉบับนเ้ี ปนการวจิ ัยภายใต
โครงการวจิ ยั และวเิ คราะหข อ มูลสภาพการจัดการเรียนการสอน

ของโรงเรียนระดบั มธั ยมศึกษา สังกดั กรงุ เทพมหานคร
ปงบประมาณ 2564

ชื่อวิจัย : การวิจัยเรื่อง สภาพปจจุบัน การจัดการเรียนการสอน ปญหาและแนวทางแกไข
เพอ่ื ยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของโรงเรยี นระดับมธั ยมศึกษา สังกดั กรุงเทพมหานคร

ช่อื ทปี่ รึกษาโครงการวจิ ยั : ดร.นารี คูหาเรืองรอง
หนว ยงาน : มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั วไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทมุ ธานี
ปท่ที ำการวจิ ัย : ปงบประมาณ 2564

บทคดั ยอ

การวิจัยและวิเคราะหขอมูลสภาพปจจุบันการจัดการเรียนการสอนปญหาและแนว
ทางแกไข เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรูของโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา สังกัด
กรุงเทพมหานคร มีวัตถุประสงค เพื่อรวบรวมและวิเคราะหขอมูลสภาพการจัดการเรียนรู
สภาพการจัดการเรียนการสอนจริงจากวีดิทัศนบันทึกการสอนของครูผูสอน และลงพื้นท่ีศึกษา
วิธีการจัดการเรียนการสอน ปญหาแนวทางแกไข และถอดบทเรียนความเปนเลิศและโดดเดนใน
การจัดการเรียนรูเพ่ือยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรูของโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา สังกัด
กรุงเทพมหานคร วิจัยครั้งนี้เปนการศึกษาวิจัยเชิงสำรวจ ใชระเบียบวิธีการวิจัยเชิงปริมาณ
(Quantitative Methods) กลุมตัวอยาง ไดแก ครูผูสอน จำนวน 488 คน ผูบริหารสถานศึกษา
จำนวน 86 คน ประธานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจำนวน 86 คน รวมจำนวน 560 คน
ปงบประมาณ 2564 ไดจากการใชสตู รของทาโรยามาเน แลว สุมตัวอยาง แบบงา ย (Simple Random
Sampling) โดยวิธีการจับฉลาก เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ไดแก แบบสอบถาม แบบประเมินและ
ประเด็นคำถามการสนนากลุม โดยผานการตรวจสอบจากผูเชี่ยวชาญ 3 คน การวิเคราะหขอมูล
ใชโปรแกรมสถิติสำเร็จรูปสำหรับการวิจัย (SPSS) วิเคราะหขอมูลดวยสถิติเชิงพรรณนา ไดแก
คา ความถี่ คา รอ ยละ คา เฉล่ยี และคา สวนเบย่ี งเบนมาตรฐาน ผลการวจิ ัย พบวา

ขั้นตอนที่ 1 การรวบรวมและวิเคราะหขอมูลสภาพปจจุบัน ปญหาและความตองการ
จัดการเรียนรูเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรูของโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา สังกัด
กรงุ เทพมหานคร 8 กลุมสาระการเรียนรู ชัน้ มัธยมศึกษาปท่ี 1 – 6 โดยสอบถามผาน Google Form
พบวา โดยรวมครูผสู อน ผบู ริหารสถานศึกษา และประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เห็น
วามีการปฏิบัติอยูในระดับมาก สอดคลองกับผลสรุปการตอบคำถามปลายเปดเกี่ยวกับปญหาและ
ความตองการจัดการเรียนรู ที่พบวา ครูมีปญหาดานเวลาและชองทางการพัฒนาตนเองโดยมีความ
ตองการอบรมแบบ Online On-Demand ดานการเตรียมการจัดการเรียนรู ดานการจัดการเรียนรู
ดานการวัดและประเมินผล และการบริหารชั้นเรียน มีปญหาขาดความรู ความเขาใจและทักษะ
การจัดกระบวนการเรียนรู การวัดและประเมินผลอยางเปนระบบแบบ Active Learning ครูมีความ
ตองการพัฒนาผานการโคชที่สอดคลองกับรูปแบบการจัดการเรียนรูเพื่อยกระดับผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนรู ตองการเครื่องมือจัดการเรียนรู สื่ออุปกรณ การพัฒนาครูใหสอดคลองกัน
ดานคุณภาพนักเรียน มีปญหาดานความรูในเนื้อหาและการถายทอดสื่อสารความรู การนำความรูไป
ใชประโยชนในทองถิ่น มีปญหาดานนักเรียนที่อยูสภาวะครอบครัวไมสมบูรณ ปญหาเศรษฐกิจวิกฤติ



ปญ หาพฤติกรรมไมพงึ ประสงค นักเรยี นเขา ใหม มีผลการเรยี นรูระดับปรับปรงุ ที่มาเขา เรียนจำนวน
มาก ครูมีความตองการสงเสริมความเปนเลิศดานวิชาการตามกลุมศักยภาพของนักเรียนควบคู
การเปนพลเมืองที่เขมแข็ง ของสังคม การดูแลชวยเหลือนักเรียนอยางเปนระบบ ดานการ
บริหารจัดการเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน พบวา ผูบริหารสถานศึกษามีปญหาขาดการนำ
ขอมูลสารสนเทศมาใชพัฒนาการจัดการเรียนรู โดยมีความตองการพัฒนาผูบริหารแบบออนไลน ให
สามารถออกแบบการบรหิ ารแนวใหมทร่ี องรบั การเปลยี่ นแปลงของสังคม และเรียนรกู ับโคชที่ประสบ
ความสำเร็จ การไดรบั การสนบั สนุนเครอ่ื งมือจัดการเรยี นรู ส่ืออุปกรณก ารสอนทสี่ อดคลองกบั วิธีสอน
ตลอดหลักสูตรทุกกลุมสาระการเรยี นรทู กุ ระดับช้ันและทุกสภาวะความไมพรอ มของนกั เรียน

ขั้นตอนที่ 2 ผลการประเมินวิธีการจัดการเรียนการสอนจากวีดิทัศนบันทึกการสอน
ของครูผูสอนของโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร 8 กลุมสาระการเรียนรู
ช้ันมัธยมศึกษาปท ี่ 1 – 6 โดยผรู งคุณวุฒิ พบวา โดยรวมมีผลการประเมินอยใู นระดับดี

ขั้นตอนที่ 3 ผลการลงพื้นที่ศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน ปญหาแนวทางแกไข และ
ถอดบทเรียนความเปนเลิศและโดดเดนในการจัดการเรียนรู เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู
ของโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร พบวา กลุมครู กลุมผูบริหาร กลุมหัวหนาครู
วิชาการ กลุมหัวหนากลุมสาระการเรียนรูและกลุมผูนำชุมชน มีความคิดเห็นสอดคลองกัน กลาวคือ
โรงเรียน มีความโดดเดนเปนเลิศดานทักษะความดีงามท่ีเปนพื้นฐานการเรียนรูวิชาหลักใหประสบ
ความสำเร็จตามอัตลักษณ“ผูเรียนแหงมหานครพรอมคุณธรรม” ดานปญหา พบวาขาดรูปแบบ
และกระบวนการจัดการเรียนรูแบบ Active Learning และการตอบโจทยนักเรียนท่ีมีความแตกตาง
ระหวางบุคคลเพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา เครื่องมือจัดการเรียนรูและการสนับสนุนสื่อ
อุปกรณไมสอดคลองกับรูปแบบการสอน ผลการทดสอบ O-Net จึงอยูในระยะเริ่มพัฒนายกระดับ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู แนวทางแกไขโรงเรียนสวนใหญใชรูปแบบการจัดการเรียนรูแบบ Active
Learning และจดั ทำเคร่อื งมือจัดการเรียนรูส่ืออุปกรณแตยงั ขาดกระบวนการท่ีดีและยังไมสอดคลอง
กันตลอดหลักสูตรและไมมีรูปแบบการลดความเหลือ่ มล้ำทางการศึกษาของนกั เรียนและสรา งคลังวีดี
ทัศนการสอนของครูและนำมาใชเมื่อมีเหตุการณว กิ ฤติ

คำสำคัญ สภาพปจจุบันปญหาและความตองการการจัดการเรียนรู, การยกระดับผลสัมฤทธิ์
ทางการเรยี นรู



Research Title : A Study on Current State of Teaching Management, Problems and
Solutions for Improving Learning Achievement of Secondary
Schools under Bangkok Metropolitan Administration
Author : Asst Prof Dr.Supot Saikaew, Dr.Naree Kuharueangrong
Faculty : Valaya Alongkorn Rajabhat University under the Royal patronage
Budget Year : Fiscal Year 2021
Abstract

A study on current state of teaching management, problems and solutions for
improving learning achievement of secondary schools under Bangkok Metropolitan
Administration aimed to collect and analyze data of the actual learning-teaching
situation from a recorded videoclips, and to study the methods of teaching, problems
and solutions for improving learning achievement of secondary schools under Bangkok
Metropolitan Administration. The study was a survey research using Quantitative
Methods. 560 samples from Fiscal Year 2021 included 488 teachers, 86 school
administrators, 86 principals of the Basic Education Commission, followed Yamane
formula, were selected by Simple Random Sampling. The instruments, examined by 3
experts, were questionnaires, evaluation form, and focus group discussion.
The statistics for data analysis were SPSS, frequency, mean, and standard deviation.

The results were found that
1. Data collection and analysis of current state of teaching management,
problems and solutions for improving learning achievement of secondary schools
under Bangkok Metropolitan Administration from Mattayom 1-6 in 8 subject areas via
Google Form showed that overall teachers, school administrators and principals of the
Basic Education Commission was at high level conforming to the conclusion of the
open-ended questions and the needs of learning management. It showed that teachers
faced with time management problems, lack of Online On-Demand platform for self-
improvement in learning management, measurement and evaluation, and classroom
management. In addition, lacking of knowledge, understanding and skills in learning
management and measurement and evaluation in Active Learning caused the needs
to improve by coaching in accord with the teaching management for improving learning
achievement, and to access learning tools and teaching materials. In term of students’
quality, the problems were students lacked knowledge, communication skill and
ability to apply their knowledge to the local area, students came from dysfunctional



family with economic crisis, new students had low academic performance. Teachers
had the needs to promote students’ academic excellence together with being an
active citizen in the society through student care and support system. In management
for improving learning achievement aspect, school administrators lacked ability to
employ information technology for improving teaching management. The online
platform for administrator development was needed in order to create new
management method in the change of the society. In addition, training with a
successful coach was needed to support learning tools and teaching materials
conforming to teaching methods from every level in all subject areas, and in every
disadvantaged state of students.

2. The result of the teaching evaluation by the experts from watching
videoclip of teachers in 8 subject areas in secondary schools under Bangkok
Metropolitan Administration from Mattayom 1-6 showed at high level.

3. The field study of teaching management, problems and solutions, and
lessons from excellent learning management for improving learning achievement of
secondary schools under Bangkok Metropolitan Administration found that teachers,
school administrators, academic affairs teachers, heads of subject areas department,
and community leaders agreed that schools were outstanding in term of morality skills
as a basic knowledge of core subjects according to the identity “ Learners of the
Metropolis with Morality”. The problems found in the study were the lack of Active
Learning management, and reducing an educational inequality among students.
Learning tools, and support of teaching materials did not go together with the teaching
methods. The ONET result was in the early stage of raising the learning achievement.
The solutions showed in the study were employing Active Learning methods in
teaching, providing the learning tools and teaching materials, although it lacked of
proper process, did not follow the curriculum, and no form of reducing an educational
inequality among students showed. In addition, creating video bank that teachers can
access when in crisis was needed.
Keywords: current state, problems and the need of teaching management,
improving learning achievement



กิตตกิ รรมประกาศ

การวจิ ยั และวเิ คระหข อมลู สภาพปจ จุบนั การจัดการเรยี นการสอน ปญ หา และแนวทางแกไข
เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรูของโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร
ไดร ับการสนบั สนุนเปน ทนุ อดุ หนุนจากสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร ดำเนินงานโดยมหาวิทยาลัย
ราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ ปงบประมาณ 2564 ผูวิจัยจึงขอขอบคุณ
สำนักการศกึ ษา กรงุ เทพมหานคร ท่ไี ดใ หท นุ อุดหนนุ การวิจยั คร้ังน้ี

ขอขอบคุณ ผศ.ดร.สุพจน ทรายแกว อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ
ในพระบรมราชูปถัมภ ที่เปนผูรวมงานวิจัยและใหคำปรึกษาตลอดระยะเวลาดำเนินการวิจัย รวมท้ัง
ผูทรงคุณวุฒิ คณาจารย ที่คอยใหคำปรึกษา ชวยตรวจเครื่องมือวิจัย ชวยใหขอคิดเห็นการออกแบบ
งานวจิ ัย ทำใหง านวจิ ัยมคี ุณภาพย่งิ ขึ้น

ขอขอบคุณ ผูบริหาร นักวิชาการ ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน นักเรียน ประธานชุมชน
และชุมชนที่เกี่ยวของของโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร ทุกคนที่ชวยสนับสนุน
สงเสริม กระบวนการวิจัยตั้งแตการวางแผนดำเนินงาน การปฏิบัติตามแผน การสังเกตเก็บรวบรวม
ขอมูลและประเมินสะทอนคิดเพื่อพัฒนางานวิจัยใหสมบูรณยิ่งขึ้นทุกขั้นตอนการสอบถามความ
คิดเห็นผานชอ งทาง Google Form การประเมนิ วีดที ศั นบนั ทึกการสอนของครูผูสอนโดยผูท รงคุณวุฒิ
และการลงพ้ืนท่ี ถอดบทเรียนโรงเรยี นท่ีโดดเดน เปนเลิศ การเปน กลมุ ตัวอยา งรวมทัง้ การอำนวยความ
สะดวกในการเกบ็ ขอมูลภาคสนามใหข อ มลู และเขารว มโครงการวิจยั ครั้งนี้

ผูวิจัยจะนำขอมูลที่ไดจากการวิจัยมาใชจัดทำขอเสนอเชิงนโยบายเสนอตอ สำนักการศึกษา
กรุงเทพมหานครเพื่อนำไปใชประกอบการวางแผน ตัดสินใจพัฒนาการศึกษาโดยยกระดับผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนรเู พื่อประโยชนตองานดานวิชาการและการบูรณาการการพัฒนาสงั คมกรุงเทพมหานคร
และประเทศชาติตอไป คุณคาและประโยชน ทั้งหลายที่เกิดขึ้น คณะผูวิจัยขอมอบเปนเครื่องบูชาแด
บดิ า มารดา ครอู าจารยและผูม ีพระคณุ ทกุ ทา น

คณะผูวจิ ยั
ผศ.ดร.สพุ จน ทรายแกว

ดร.นารี คหู าเรอื งรอง



สารบัญ หนา

บทคัดยอ ค
Abstract จ
กติ ตกิ รรมประกาศ ฉ
สารบญั ฌ
สารบัญตาราง ฐ
สารบัญภาพ 1
บทท่ี 1 บทนำ 5
5
1.1 ความเปน มาและความสำคัญของปญหา 6
1.2 คำถามการวจิ ยั 10
1.3 วตั ถุประสงคของการวจิ ยั 10
1.4 ขอบเขตการวิจยั
1.5 ประโยชนท ่ีจะไดร บั 12
1.6 นิยามศพั ทเ ฉพาะ 22
บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยท่ีเกย่ี วขอ ง 32
2.1 รูปแบบการเรียนรูและพฒั นาการเรยี นการสอนยคุ ใหม 54
2.2 การยกระดับผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน 57
2.3 แนวคิดทฤษฎีท่ีเกี่ยวของกับประสทิ ธิภาพกการจดั กิจกรรมการเรียนรู 61
2.4 ขอ มลู พนื้ ฐานสำนกั การศกึ ษา กรงุ เทพมหานคร 64
2.5 งานวจิ ัยทเี่ กยี่ วของ 66
2.6 กรอบแนวคิดการวิจยั 71
บทที่ 3 ระเบียบวธิ ีวจิ ยั 73
3.1 ประชากรและกลมุ ตวั อยา ง 73
3.2 เครื่องมอื ที่ใชในการวจิ ัย 73
3.3 การสรางเคร่ืองมือและการตรวจสอบคุณภาพเครอ่ื งมอื 74
3.4 การเกบ็ รวบรวมขอมลู 74
3.5 การวิเคราะหขอมลู
3.6 เกณฑการแปลผล
3.7 ระยะเวลาในการวจิ ัย
3.8 สถติ ทิ ี่ใชในการวิเคราะหขอมูล



สารบัญ (ตอ )

หนา

บทท่ี 4 ผลการวจิ ัย

4.1 ผลการวจิ ัย 77
4.2 ขอ มูลสว นบคุ คลของครผู ตู อบแบบสอบถาม 78
4.3 ผลการศกึ ษาความคดิ เหน็ ของครผู สู อนเกยี่ วกับสภาพปจจุบัน 80
การจัดการเรยี นรขู องโรงเรยี นระดับมธั ยมศึกษา สังกัดกรงุ เทพมหานคร
4.4 คำถามปลายเปดเกีย่ วกับปญ หาและความตอ งการจัดการเรียนรู 219
เพ่อื ยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนของโรงเรียน ระดับมธั ยมศกึ ษา
สงั กัดกรงุ เทพมหานครจากการท่คี รูแสดงความคดิ เหน็ เกย่ี วกบั ปญหา
และความตอ งการจดั การเรียนรเู พ่ือยกระดบั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน
ของโรงเรยี นระดับมัธยมศกึ ษา สงั กดั กรงุ เทพมหานคร 8 กลมุ สาระการเรยี นรู .
4.5 การสอบถามผูบริหารของโรงเรยี นระดบั มธั ยมศกึ ษา 221
สงั กัดกรุงเทพมหานคร ทีม่ ตี อระดบั ปฏบิ ตั กิ ารจัดการเรยี นการสอน
ตามสภาพปจจบุ นั ปญหาและความตอ งการจัดการเรียนรเู พื่อยกระดับ
ผลสมั ฤทธิ์ ทางการเรยี นของโรงเรียนระดบั มธั ยมศึกษา
สังกัดกรงุ เทพมหานคร
4.6 คำถามปลายเปดเกยี่ วกบั ปญหาและความตองการจดั การเรยี นรู 228
เพื่อยกระดบั ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นของโรงเรยี น ระดบั มัธยมศกึ ษา
สังกดั กรุงเทพมหานครจากการทผี่ ูบ รหิ ารสถานศกึ ษาแสดงความคิดเหน็
เกย่ี วกับปญ หาและความตองการจดั การเรียนรเู พื่อยกระดบั ผลสัมฤทธิ์
ทางการเรยี นของโรงเรียนระดบั มัธยมศึกษา สงั กดั กรุงเทพมหานคร
8 กลุม สาระการเรยี นรู .
4.7 การสอบถามประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพื้นฐาน 231
ของโรงเรยี นระดบั มัธยมศกึ ษา สังกดั กรุงเทพมหานคร
ทมี่ ีตอ ระดบั ปฏบิ ตั กิ ารจดั การเรยี นการสอนตามสภาพปจ จุบัน
ปญหาและความตอ งการจดั การเรียนรูเพอื่ ยกระดับผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนของโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา สงั กัดกรุงเทพมหานคร
4.8 คำถามปลายเปด เกย่ี วกับปญหาและความตอ งการจัดการเรยี นรู 238
เพอื่ ยกระดับผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นของโรงเรียน ระดับมธั ยมศึกษา
สงั กดั กรงุ เทพมหานครจากการทปี่ ระธานคณะกรรมการ
สถานศึกษาขั้นพืน้ ฐาน แสดงความคดิ เหน็ เกี่ยวกับปญ หาและ
ความตองการจดั การเรียนรูเพื่อยกระดับผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นของ
โรงเรยี นระดบั มัธยมศกึ ษา สงั กดั กรงุ เทพมหานคร 8 กลมุ สาระการเรียนรู



สารบัญ (ตอ )

หนา

4.9 สรปุ ผลการตอบคำถามปลายเปดเก่ียวกับปญหาและความตองการ 240
จัดการเรยี นรู เพื่อยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นของโรงเรยี น
ระดบั มัธยมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร 8 กลุม สาระการเรยี นรู
ตามความคิดเห็นของครูผสู อน ผูบริหารสถานศึกษาและ
ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน
4.10 ข้ันตอนที่ 2 ศึกษาวิเคราะหวิธกี ารจัดการเรียนการสอนจากวีดิทัศน 241
บนั ทึกการสอนของครผู สู อนในโรงเรยี นระดบั มธั ยมศึกษา
สังกดั กรุงเทพมหานคร
4.11 ข้ันตอนที่ 3 การดำเนนิ การเกบ็ ขอ มูลดานความเปน เลิศและความโดดเดน 300
ของโรงเรยี นระดับมธั ยมศึกษา สังกดั กรุงเทพมหานคร
4.12 สรปุ ผลการศึกษาจากการลงพ้นื ทสี่ ถานศึกษาท่มี ีความโดดเดน เปน เลศิ 333
4.13 ผลการศึกษาการสนทนากลมุ ผเู ชย่ี วชาญ ครูและบคุ ลากร 4 กลุม 342
ไดแ ก ผูบ ริหารสถานศกึ ษา หัวหนาครวู ิชาการ หวั หนา กลุม สาระการเรียนรู
และผแู ทนชุมชนของโรงเรียนระดับมธั ยมศึกษา สงั กัดกรุงเทพมหานคร
บทท่ี 5 อภิปรายและวิจารณผล

5.1 สรุปผลการวิจัย 344
5.2 วจิ ารณผลการวจิ ยั 348
5.3 ขอ เสนอแนะจากการวิจัย 351
บรรณานุกรม 353

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก รายช่อื ผทู รงคุณวฒุ ิและผูเชย่ี วชาญตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมอื 358
ภาคผนวก ข เครื่องมือเพ่ือการวิจยั 361
ภาคผนวก ค คาดชั นีความสอดคลอ งระหวา งขอคำถามกับเนื้อหา 413
ภาคผนวก ง คาความเชอื่ มนั่ ของแบบสอบถาม 476
ภาคผนวก จ ประชากรและกลมุ ตวั อยา ง 479
ภาคผนวก ฉ รปู ภาพ 484
ประวัตผิ ูวจิ ยั 493



สารบญั ตาราง หนา
56
ตารางที่ 78
ตารางท่ี 1 แสดงจำนวนโรงเรียน สังกดั กรงุ เททพมหานคร 80
ตารางที่ 2 แสดงขอมลู สวนบุคคลของครผู ตู อบแบบสอบถาม 97
ตารางที่ 3 แสดงสภาพปจ จุบันการจัดการเรยี นรูของโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา 113
130
สงั กดั กรุงเทพมหานคร ช้ันมธั ยมศกึ ษาปท ี่ 1 – 6 กลมุ สาระการเรยี นรู 148
ภาษาไทย ตามความคิดเหน็ ของครูผสู อน 165
ตารางท่ี 4 แสดงสภาพปจจบุ ันการจดั การเรียนรูของโรงเรียนระดบั มัธยมศกึ ษา 183
สังกดั กรงุ เทพมหานคร ชนั้ มธั ยมศึกษาปท่ี 1 – 6 กลมุ สาระการเรียนรู 200
คณิตศาสตรต ามความคิดเหน็ ของครูผสู อน 217
ตารางท่ี 5 แสดงสภาพปจ จุบันการจัดการเรียนรูของโรงเรียนระดบั มธั ยมศกึ ษา 221
สังกัดกรุงเทพมหานคร ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที่ 1 – 6 กลุมสาระการเรยี นรู 222
วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี ตามความคิดเหน็ ของครผู สู อน.
ตารางท่ี 6 แสดงสภาพปจจุบันการจัดการเรยี นรูของโรงเรียนระดับมธั ยมศึกษา
สังกัดกรุงเทพมหานคร ชน้ั มธั ยมศึกษาปท่ี 1 – 6 กลุมสาระการเรียนรู
สงั คมศึกษาศาสนาและวฒั นธรรม ตามความคิดเหน็ ของครูผสู อน
ตารางท่ี 7 แสดงสภาพปจจบุ ันการจัดการเรียนรูของโรงเรียนระดบั มัธยมศึกษา
สังกดั กรุงเทพมหานคร ชั้นมัธยมศกึ ษาปท ี่ 1 – 6 กลมุ สาระการเรยี นรู
ภาษาตา งประเทศ ตามความคิดเหน็ ของครูผสู อน
ตารางที่ 8 แสดงสภาพปจ จุบันการจัดการเรยี นรูของโรงเรียนระดบั มธั ยมศกึ ษา
สังกดั กรงุ เทพมหานคร ช้ันมธั ยมศึกษาปท่ี 1 – 6 กลมุ สาระการเรียนรู
สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ตามความคดิ เหน็ ของครูผูสอน
ตารางท่ี 9 แสดงสภาพปจ จบุ ันการจัดการเรียนรูของโรงเรียนระดับมธั ยมศึกษา
สงั กดั กรุงเทพมหานคร ช้นั มัธยมศกึ ษาปท ่ี 1 – 6 กลุม สาระการเรยี นรศู ิลปะ
ตามความคดิ เห็นของครผู ูสอน
ตารางท่ี 10 แสดงสภาพปจจุบนั การจดั การเรียนรูของโรงเรยี นระดับมธั ยมศึกษา
สงั กัดกรุงเทพมหานคร ชัน้ มธั ยมศึกษาปท ่ี 1 – 6 กลมุ สาระการเรียนรู
การงานอาชีพ ตามความคดิ เหน็ ของครูผูส อน
ตารางที่ 11 สรปุ ผลการศึกษา สภาพปจ จบุ ันการจัดการเรยี นรูข องโรงเรียน
ระดับมธั ยมศกึ ษา สังกดั กรงุ เทพมหานคร 8 กลุมสาระการเรียนรู
ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 1 – 6 ตามความคิดเห็นของครูผสู อน.
ตารางท่ี 12 แสดงขอมลู สว นบุคคลของผบู ริหารสถานศึกษา
ตารางที่ 13 แสดงสภาพปจ จุบนั การจัดการเรยี นรูของโรงเรยี นระดับมัธยมศึกษา
สังกดั กรงุ เทพมหานคร ตามความคดิ เหน็ ของผบู รหิ ารสถานศึกษา



สารบญั ตาราง (ตอ)

ตารางท่ี หนา

ตารางที่ 14 สรปุ ผลการศึกษา แสดงสภาพปจ จุบนั การจดั การเรียนรูของโรงเรยี น 228
ระดบั มธั ยมศึกษา สงั กัดกรงุ เทพมหานคร ตามความคดิ เห็นของ
ผูบ ริหารสถานศึกษา
ตารางท่ี 15 แสดงขอมลู สว นบุคคลของประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พื้นฐาน 231
ตารางท่ี 16 แสดงสภาพปจ จุบันการจดั การเรียนรูของโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา 232
สงั กัดกรงุ เทพมหานคร ตามความคดิ เหน็ ของประธานคณะกรรมการ
สถานศกึ ษาข้ันพื้นฐาน
ตารางท่ี 17 สรปุ ผลการศึกษา แสดงสภาพปจ จุบนั การจดั การเรยี นรูของโรงเรยี น 238
ระดบั มัธยมศึกษา สังกดั กรงุ เทพมหานคร ตามความคดิ เหน็ ของ
ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน
ตารางที่ 18 ขอมูลท่วั ไปของครทู ี่จัดการเรยี นการสอนจากวีดิทศั น 241
บันทกึ การสอนของครูผสู อน โรงเรยี นระดับมัธยมศกึ ษา สงั กดั กรงุ เทพมหานคร
ตารางที่ 19 แสดงผลการประเมิน วธิ กี ารจดั การเรียนการสอนจากวีดิทัศน 243
บันทึกการสอนของครูผสู อน ของโรงเรยี นระดับมธั ยมศกึ ษา
สังกัดกรุงเทพมหานคร ชั้นมธั ยมศึกษาปที่ 1 – 6
กลมุ สาระการเรยี นรภู าษาไทย
ตารางท่ี 20 แสดงผลการประเมนิ วิธกี ารจัดการเรียนการสอนจากวดี ทิ ัศน 250
บนั ทึกการสอนของครผู สู อน ของโรงเรียนระดับมัธยมศกึ ษา
สังกดั กรงุ เทพมหานคร ชั้นมธั ยมศึกษาปท ี่ 1 – 6
กลุมสาระการเรียนรคู ณติ ศาสตร
ตารางท่ี 21 แสดงผลการประเมนิ วิธีการจัดการเรียนการสอนจากวีดิทัศน 257
บนั ทึกการสอนของครผู สู อน ของโรงเรียนระดบั มัธยมศกึ ษา
สังกัดกรุงเทพมหานคร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 – 6
กลมุ สาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
ตารางท่ี 22 แสดงผลการประเมนิ วิธีการจดั การเรยี นการสอนจากวดี ทิ ัศน 264
บนั ทกึ การสอนของครูผสู อน ของโรงเรียนระดบั มธั ยมศกึ ษา
สงั กดั กรงุ เทพมหานคร ชัน้ มธั ยมศึกษาปท ี่ 1 – 6
กลุม สาระการเรียนรสู งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
ตารางท่ี 23 แสดงผลการประเมนิ วิธีการจัดการเรยี นการสอนจากวดี ทิ ัศน 271
บนั ทกึ การสอนของครูผูส อน ของโรงเรียนระดบั มัธยมศกึ ษา
สงั กัดกรงุ เทพมหานคร ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 1 – 6
กลุมสาระการเรียนรภู าษาตา งประเทศ



สารบญั ตาราง (ตอ ) หนา
278
ตารางที่
ตารางที่ 24 แสดงผลการประเมนิ วธิ ีการจัดการเรียนการสอนจากวดี ทิ ัศน 285

บันทึกการสอนของครผู ูส อน ของโรงเรยี นระดับมธั ยมศกึ ษา 291
สังกดั กรุงเทพมหานคร ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที่ 1 – 6
กลุม สาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศกึ ษา 298
ตารางที่ 25 แสดงผลการประเมนิ วธิ ีการจัดการเรียนการสอนจากวดี ทิ ัศน
บันทกึ การสอนของครผู ูส อน ของโรงเรียนระดบั มัธยมศึกษา 301
สงั กัดกรุงเทพมหานคร ชนั้ มัธยมศึกษาปที่ 1 – 6 303
กลมุ สาระการเรยี นรูศลิ ปะ 304
ตารางท่ี 26 แสดงผลการประเมนิ วิธีการจดั การเรียนการสอนจากวดี ิทัศน 305
บันทึกการสอนของครูผสู อน ของโรงเรียนระดับมัธยมศกึ ษา 306
สังกดั กรุงเทพมหานคร ช้นั มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 1 – 6 308
กลุมสาระการเรยี นรกู ารงานอาชพี 309
ตารางท่ี 27 สรุปผลการประเมนิ วธิ ีการจัดการเรยี นการสอนจากวีดทิ ัศน 310
บนั ทึกการสอนของครูผสู อน ของโรงเรยี นระดบั มธั ยมศึกษา 311
สังกดั กรุงเทพมหานคร 8 กลมุ สาระการเรยี นรู ชนั้ มัธยมศกึ ษาปท่ี 1 – 6 312
ตารางท่ี 28 แสดงขอ มลู ท่วั ไปของผูใ หขอมูลในการสนทนากลุม 314
ตารางท่ี 29 แสดงสวนบุคคลของผเู ขารว มสนทนากลุม โรงเรยี นประชาบำรงุ 315
ตารางท่ี 30 ผลการถอดบทเรียนโรงเรียนทีม่ คี วามเปนเลิศและโดดเดน
ในการยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน
ตารางที่ 31 แสดงสว นบุคคลของผเู ขารว มสนทนากลุม โรงเรียนวัดไทร (ถาวรพรหมานุกูล)
ตารางท่ี 32 ผลการถอดบทเรียนโรงเรียนท่มี ีความเปน เลศิ และโดดเดน
ในการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น
ตารางที่ 33 แสดงสวนบคุ คลของผูเขารวมสนทนากลุม โรงเรยี นวัดนมิ มานรดี
ตารางที่ 34 ผลการถอดบทเรียนโรงเรยี นที่มคี วามเปน เลิศและโดดเดน
ในการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น
ตารางท่ี 35 แสดงสว นบคุ คลของผูเขารว มสนทนากลุมโรงเรียนหนองจอกพิทยานสุ รณ
ตารางท่ี 36 ผลการถอดบทเรียนโรงเรียนที่มีความเปนเลศิ และโดดเดน
ในการยกระดบั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น
ตารางท่ี 37 แสดงสวนบุคคลของผูเขารว มสนทนากลมุ โรงเรยี นบานขุนประเทศ
ตารางท่ี 38 ผลการถอดบทเรียนโรงเรยี นท่มี ีความเปนเลศิ และโดดเดน
ในการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น
ตารางท่ี 39 แสดงสว นบุคคลของผเู ขารวมสนทนากลมุ โรงเรยี นมนตจ รัสสงิ หอ นสุ รณ



สารบัญตาราง (ตอ ) หนา
316
ตารางที่ 317
ตารางท่ี 40 ผลการถอดบทเรียนโรงเรียนท่มี คี วามเปน เลศิ และโดดเดน 318
318
ในการยกระดบั ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน 320
ตารางท่ี 41 แสดงสวนบคุ คลของผเู ขารวมสนทนากลมุ โรงเรียนไทยนิยมสงเคราะห 322
ตารางที่ 42 ผลการถอดบทเรียนโรงเรยี นท่มี ีความเปน เลิศและโดดเดน 323
326
ในการยกระดบั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น 325
ตารางที่ 43 แสดงสว นบุคคลของผูเขารวมสนทนากลมุ โรงเรียนบานลำตน กลวย 328
ตารางท่ี 44 ผลการถอดบทเรียนโรงเรียนที่มคี วามเปนเลศิ และโดดเดน 329
331
ในการยกระดับผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น 332
ตารางท่ี 45 แสดงสว นบุคคลของผูเ ขารวมสนทนากลุม โรงเรยี นมธั ยมสวุ ทิ ยเ สรอี นสุ รณ
ตารางท่ี 46 ผลการถอดบทเรียนโรงเรียนทม่ี คี วามเปน เลศิ และโดดเดน

ในการยกระดับผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน
ตารางท่ี 47 แสดงสว นบุคคลของผูเขารว มสนทนากลุม โรงเรียนมธั ยมปุรณาวาส
ตารางท่ี 48 ผลการถอดบทเรียนโรงเรียนทม่ี คี วามเปน เลิศและโดดเดน

ในการยกระดบั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น
ตารางที่ 49 แสดงสว นบุคคลของผูเขารว มสนทนากลุมโรงเรียนมธั ยมวดั สุทธาราม
ตารางท่ี 50 ผลการถอดบทเรียนโรงเรยี นที่มีความเปนเลิศและโดดเดน

ในการยกระดบั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน
ตารางท่ี 51 แสดงสวนบคุ คลของผเู ขารว มสนทนากลุมโรงเรียนมัธยมนาคนาวาอปุ ถมั ภ
ตารางท่ี 52 ผลการถอดบทเรียนโรงเรียนทม่ี คี วามเปน เลิศและโดดเดน

ในการยกระดบั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน

สารบัญแผนภาพ ฐ

แผนภาพท่ี หนา
ภาพท่ี 1 กรอบการวจิ ยั 63

บทท่ี 1
บทนำ

1.1 ความเปน มาและความสำคัญของปญ หา

จากการที่สังคมมีลักษณะเปนพลวัตเกิดการเปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็วในบางดาน เชน
ดานการผลิตดานเทคโนโลยี เปนตน บางครั้งกาวหนาและบางครั้งถดถอยจนเขาสูภาวะวิกฤติ
กลาวคือ ในชวงของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2564) ประเทศไทย
จะยังคงประสบสภาวะแวดลอมและบริบทของการเปลี่ยนแปลงตาง ๆ ที่อาจกอใหเกิดความเสี่ยงท้ัง
จากภายในและภายนอกประเทศ อาทิ กระแสการเปด เศรษฐกิจเสรี ความทาทายของเทคโนโลยีใหมๆ
การเขา สูส งั คมผสู ูงอายุการเกิดภัยธรรมชาติทรี่ ุนแรง ประกอบกบั สภาวการณด านตา ง ๆ ทั้งเศรษฐกิจ
สังคมทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของประเทศในปจจุบันที่ยังคงประสบปญหาในหลายดาน
เชน ปญหาผลิตภาพ การผลิต ความสามารถในการแขงขัน คุณภาพการศึกษา ความเหลื่อมล้ำทาง
สังคม เปนตน (สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, 2558: 1) ดังน้ัน
การจัดการกบั ปญ หาและความทาทายท่จี ะตามมา คอื การสรางคุณภาพการศึกษาทส่ี ามารถรับมือกับความ
เปลี่ยนแปลงและผลิตพลเมืองที่เขมแข็ง ชวยแกไขวิกฤติความขัดแยงและพัฒนาประเทศที่ตอบสนอง
ตอ ความตองการของประชาชนสวนใหญ ไดตามเจตนารมณของการปฏิรูปการศึกษาปจจุบัน (สภาปฏิรูป
แหง ชาต,ิ 2558:10) โดยเฉพาะอยา งย่งิ คนจะตอ งเปน คนที่มคี ณุ ภาพจากพลวตั ทางสังคมโลกไดเคล่ือน
ตัวอยา งรวดเร็วคนท่ีจะดำรงอยูใ นสังคมอยางมีความสุขจะตองเปนคนที่สามารถพึ่งตนเองและพัฒนา
ตนเองได รูจักคิด รูจักแกปญหา รูจักวิเคราะหสถานการณ มีความคิดริเริ่มสรางสรรค เปนคนท่ีมี
คุณธรรมและจริยธรรม สถานการณ การพัฒนากำลังคนของไทยเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงเชิง
โครงสรางที่สำคัญ ไดแก การเปนสังคมสูงวัยสงผลใหประเทศขาดกำลังคนในเชิงปริมาณ ผูเรียน
ระดับพื้นฐานยังมีผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาขั้นพื้นฐานต่ำกวาคาเฉลี่ยของกลุมประเทศที่มีระดับการ
พัฒนาที่ใกลเคยี งกัน การเรียนรูในระบบยังไมเ ชื่อมโยงกับวิถีชีวติ เด็กและเยาวชนสวนหนึง่ มที ัศนคติ
เชิงลบตอการศึกษาจึงตองสรางโอกาสใหไดรับ การพัฒนาความรูตามแนวทางพหุปญญาพรอมทั้ง
สรางทัศนคติเชิงบวกตอการศึกษา เพื่อสรางการเติบโตของความคิด และการพัฒนาตนเองใหทำส่ิง
ใหมๆ ประกอบกับผลิตภาพแรงงานที่ตกต่ำลงในชวงสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา2019 (COVID -19) เพิ่มปญหาดานกำลังคนเชิงคุณภาพจนอาจเปนขอจำกัดในการขยายตัว
ทางเศรษฐกิจ การเติบโตของนวัตกรรม แหลงความรูระดับโลกออนไลนที่มีตนทุนและราคาต่ำ วงจร
ชีวิตของความรูสั้นลงโดยเฉพาะดานดิจิทัลและเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงเร็ว และแนวโนมความตองการ
เรียนรตู ามความสนใจรายบุคคล รวมถึงภาคเอกชนที่เรมิ่ ใหความสำคัญกับการสรรหาและการจางงาน
ตามสมรรถนะในการทำงานมากกวาคุณวุฒิทางการศึกษา อีกทั้งสถานการณการแพรระบาดของโรคอุบัติ
ใหมสงผลตอวิถีการดำรงชีวิตและพฤติกรรมของคน และสะทอนถึงบทบาทของเครือขาย
ภาคประชาสังคม ที่มีความเขมแข็งในการรวมแกไขปญหาตาง ๆ แตยังขาดการสนับสนุนที่มี

2

ประสิทธิภาพจากภาครัฐ จึงตองเรงขยายผลและตอยอดประเด็นการพัฒนาเพื่อนำไปสูก ารพลิกโฉม
กำลังคนสมรรถนะสูงที่มีภาวะผูนำสูงสามารถสรางการเปลี่ยนแปลงและเพิ่มขีดความสามารถของ
ประเทศได แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 – 2570) หมุดหมายที่ 12
ไทยมีกำลังคน สมรรถนะสูงมุงเรียนรูอยางตอเนื่อง ตอบโจทยการพัฒนาแหงอนาคต มุงตอบสนอง
เปา หมายหลกั ของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบบั ท่ี 13 จำนวน 2 เปา หมาย ไดแก การ
พัฒนาคนสำหรับยุคใหม โดยการพัฒนาคนทุกชวงวัยไดรับการพัฒนาในทุกมิติการพัฒนากำลังคน
สมรรถนะสูง สอดคลองกับความตองการของภาคการผลิตเปาหมาย สามารถสรางงานอนาคต และ
สรางผปู ระกอบการอจั ฉริยะท่ีมคี วามสามารถในการสรางและใชเทคโนโลยีและนวัตกรรม รวมทง้ั การมุงสู
สังคมแหงโอกาสและความเปนธรรม ดวยการสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต ทั้งการพัฒนาระบบนิเวศ
เพื่อการเรียนรูตลอดชีวิต และพัฒนาทางเลือกในการเขาถึงการเรียนรูสำหรับผูท่ีไมสามารถเรียนใน
ระบบการศึกษาปกติ จึงไดกำหนดเปาหมายการพัฒนาคุณภาพคนโดยเฉพาะการพัฒนาผูเรียนระดับพื้นฐาน
ใหมีความตระหนักรูในตนเองมีสมรรรถนะที่จำเปนตอการเรียนรู การดำรงชีวิตและการทำงาน โดย
การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะและขับเคลื่อนสู การปฏิบัติเพื่อใหผูเรียน สามารถจัดการตนเอง
มีความสามารถในการสื่อสาร สามารถรวมพลังทำงานเปนทีม มีการคิดขั้นสูงดวยการจัดการเรียนรูเชิงรุกมี
คุณธรรม จริยธรรมและเปนพลเมืองที่เขมแข็ง (สำนักงานสภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ,
2564:121-125)

คุณภาพการศึกษาเปนประเด็นที่ประเทศตาง ๆ ทั่วโลกใหความสนใจกันอยางกวางขวาง เพราะ
ถือวา เปนตวั ชว้ี ดั ทสี่ ำคัญดานสถานภาพทางเศรษฐกจิ และสังคมของประเทศ แตม ุมมองในการพัฒนา
คุณภาพการศึกษาเพื่อสามารถตอบสนองผูมีสวนไดสวนเสียซึ่งมีทั้งผูรับบริการการศึกษาซึ่งไดแก
นกั เรียน พอ แม ผปู กครอง และชมุ ชนนน้ั อาจแตกตางกันไปตามบริบท ความเชือ่ หรือกระบวนทัศนใน
การพัฒนาในแตละยุคสมัย การพัฒนาคุณภาพการศึกษาเปนกระบวนการเปลี่ยนแปลงหรือปรับปรุง
พฒั นาการจัดการศกึ ษาเพื่อใหไดผลลัพธตามมาตรฐานที่กำหนดไวและจะตองสรางความพึงพอใจของ
ผูปกครอง ชุมชน และสังคมโดยทั่วไป ทั้งนี้การพัฒนาคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาการเรียนรูใน
ปจจุบันและอนาคตตองอาศัยความรับผิดชอบ ทั้งในระดับประเทศ และระดับสถานศึกษา โดย
คำนึงถึงองคประกอบสำคัญ 5 ประการ ไดแก หลักสูตร สื่อการสอนและเทคโนโลยี การประเมินผล
ผูเรียน การพัฒนาครู การประเมินคุณภาพสถานศึกษา และการสนับสนุนทรัพยากรทางการศึกษา
ที่เชอ่ื มโยงกบั ทกั ษะสำหรับศตวรรษท่ี 21 ทงั้ น้ตี องอาศัย แนวคดิ และทฤษฎที างการบริหารการศึกษา
การเรยี นรูแ ละการสอนเปนฐานในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา หากพจิ ารณาถึงสถานการณของการ
พัฒนาระบบการศึกษาของประเทศไทยในภาพรวม อาจเกิดคำถามและการตั้งขอสังเกตเกี่ยวกับ
การพัฒนาที่ขาดความตอเนื่องในเชิงนโยบายและระดับคุณภาพการศกึ ษาที่มีแนวโนมต่ำและลดลงอยาง
ตอเนื่อง อาทิ อัตราการอานออกเขียนไดของนักเรียน ความรูและทกั ษะดานภาษาอังกฤษ รวมทั้งวินัย
ในการอาน เมื่อเทียบกับคุณภาพการศึกษาของกลุมประเทศในอาเซียน พบวา คุณภาพการศึกษาของ
ไทยอยูในลำดับต่ำกวาหลายประเทศในกลุมเดียวกัน จะเห็นไดวาการพัฒนาคุณภาพผูเรียนมี
องคประกอบสำคัญที่จะชวยสงเสริมและผลักดันใหเกิดขึ้นไดคือ วิธีการสอนของครู ซึ่งควรออกแบบ
กระตุนผูเรียนใหร ักการเรยี นรูและมีความมุงมั่นท่ีจะเรียนรูตลอดชีวิต ดวยเหตุนี้ครูจงึ เปน สว นหน่ึงท่ี
สงผลตอคุณภาพของผูเรยี น (รัตนา ดวงแกว , 2554: 123)

3

พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545
ไดกลาวถึงแนวการจัดการศึกษาในมาตรา 26 ใหสถานศึกษาจัดการประเมินผูเรียนโดยพิจารณาจาก
พัฒนาการของผูเรียน ความประพฤติ การสังเกตพฤติกรรมการเรียน การรวมกิจกรรมและการ
ทดสอบควบคูไปในกระบวนการเรียนการสอนตามความเหมาะสมของแตละระดับและรูปแบบ
การศกึ ษาใหส ถานศึกษาใชว ธิ ีการทห่ี ลากหลายในการจัดสรรโอกาสการเขาศึกษาตอ และใหน ำผลการ
ประเมินผูเรียนมาใชประกอบการพิจารณาดวย (สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2557: 8-10)
รัฐบาลไดกำหนดนโยบายดานการศึกษา โดยกำหนดเรงพัฒนาคุณภาพการศึกษา เพิ่มผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนทุกระดับชั้นโดยวัดผลจากการผานการทดสอบมาตรฐานในระดับชาติและนานาชาติขจัด
ความไมรูหนังสือให สิ้นไปจากสังคมไทย จัดใหมีครูดีเพียงพอในทุกหองเรียน เนื่องจากการพัฒนา
คุณภาพการศึกษาเปนกระบวนการที่ จะชวยใหมนุษยไดพัฒนาศักยภาพและความสามารถดานตาง ๆ
ที่จะดำรงชีวติ และประกอบอาชีพไดอยางมีความสุข จงึ เปน ทยี่ อมรบั กันอยางกวางขวางวาประเด็นของ
“คุณภาพการศึกษา” เปนประเด็นที่สำคัญที่สุดประเด็นหนึ่ง ซึ่งสังคมไทยและกระทรวงศึกษาธิการ
กำลังใหความสำคัญเปนอันดับตน ๆ และพยายามพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาทุกแหง
สถานศึกษาจำเปนตองสรางความเชื่อมั่นแกสังคมวาสามารถจัดการศึกษาใหมีคุณภาพตามที่สังคม
คาดหวัง สามารถจัดการเรียนการสอนใหนักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนสูงขึ้นและบรรลุตาม
มาตรฐานการศึกษาที่กำหนดไว ปจจุบันสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานไดให
ความสำคัญในการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนเปนอยางมากโดยไดกำหนดจุดเนน
ดานผูเรียนวา นักเรียนตองมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการทดสอบระดับชาติ (O-NET) กลุมสาระหลัก
เพ่มิ ขึน้ เฉล่ียไมน อยกวา รอยละ 3 (สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน, 2558: 40)

ตามบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัติการบริหารราชการกรุงเทพมหานคร กำหนดให
กรุงเทพมหานคร เปนองคกรปกครองสวนทองถิ่นรูปแบบพิเศษ มีการกำหนดระเบียบ ขอบังคับ และ
นโยบายในการบริหารราชการครอบคลุมภารกจิ ดา นการปกครองและการพฒั นาในมติ ิตา ง ๆ โดยผูวา
ราชการกรุงเทพมหานคร มาจากการเลอื กต้ังและเปนผูกำหนดนโยบายสำหรับการบริหารงาน การจัดการ
ศึกษาของกรุงเทพมหานคร ถือเปนภารกิจสำคัญเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนและเยาวชนใน
พื้นที่กรุงเทพ เพื่อรองรับการพัฒนาและความเปลี่ยนแปลงของสังคมและประเทศชาติ ซึ่งพันธกิจและ
นโยบายหลักของกรุงเทพมหานครตลอดมา ใหความสำคัญและตระหนักถึงความจำเปนของการจัด
การศึกษาที่มีคุณภาพ มีความมุงมั่นที่จะพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน พัฒนาใหเยาวชนในพื้นที่
กรุงเทพมหานครเปนพลเมืองที่มีคุณภาพทั้งองคความรู มีคุณธรรม และมีทักษะในการดำรงชีวิต
สำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร ถือเปนหนวยงานราชการ ในสังกัดกรุงเทพมหานคร ที่มีบทบาท
สำคัญในการขับเคล่ือนนโยบายการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานของกรุงเทพมหานครไปสูการปฏิบัติท่ีเปน
รูปธรรม โดยมีอำนาจหนาที่เกี่ยวกับงานดานการศึกษาขั้นพื้นฐานประเภทสามัญศึกษาของ
กรุงเทพมหานครในการกำหนดนโยบาย การจัดทำแผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานกรุงเทพมหานคร
การจัดการศึกษาในระบบอยางมีคุณภาพ การสงเสริมวิชาชีพครูและบุคลากรทางการศึกษา การสงเสริม
การนำเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารมาใชใ นการบรหิ ารการจัดการเรียนรูเปนศูนยกลาง การพัฒนา
เครือขายสารสนเทศดานการศึกษาการสงเสริมใหโรงเรียน มีระบบการประกันคุณภาพภายใน เพื่อ
นำไปสูการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาอยางตอเนื่อง และใหการดำเนินงานจัดการศึกษา

4

ของกรุงเทพมหานครเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตามที่แผนการศึกษาแหงชาติ และ
แผนพัฒนากรุงเทพมหานครกำหนด ภายใตทิศทางและแนวทางตามแผนพฒั นาการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน
กรุงเทพมหานคร ฉบับท่ี 1 และ 2 ที่ผานมา และแผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานกรุงเทพมหานคร
ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2564 – 2569) ถือเปนแผนการศึกษาสำหรับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของ
กรุงเทพมหานคร มีเปาหมายสำคัญในการวางแผนทางการศึกษา เพื่อกำหนดกรอบทิศทางและ
แนวทางในการดำเนินการ จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของกรุงเทพมหานครใหสอดคลองกับการพัฒนา
ประเทศ และการพัฒนากรุงเทพมหานคร ซึ่งจะสง ผลใหนกั เรียนของโรงเรียนสงั กดั กรงุ เทพมหานครมี
ศักยภาพ ไดรบั บริการการศึกษาที่มคี ุณภาพตามมาตรฐานอยางเทา เทียม ระบบการศกึ ษาที่มีคุณภาพ
สามารถพัฒนาผูเรียนใหบรรลุ ขีดความสามารถเต็มตามศักยภาพ ระบบการบริหารจัดการศึกษาที่มี
ประสิทธิภาพ เพื่อการลงทุนทางการศึกษาที่คุมคาและบรรลุเปาหมาย ระบบการศึกษาที่สนองตอบ
และกาวทันการเปลี่ยนแปลงของโลกที่เปนพลวัตและบริบทที่เปลี่ยนแปลง ภายใตการประยุกตใช
เทคโนโลยีสารเทศและดิจิทัล เพื่อการศึกษาควบคูกับการพัฒนาระบบการศึกษาตามบริบทของ
กรงุ เทพมหานคร ผลจากการประเมนิ ดา นการศึกษาของโรงเรยี นสงั กดั กรุงเทพมหานคร ซึ่งมโี รงเรยี น
ในสังกัด จำนวน 437 แหง ในพนื้ ทจี่ ำนวน 50 สำนักงานเขต โดยจัดการศกึ ษาตง้ั แตร ะดับอนุบาลศึกษา
ระดบั ประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลายและนกั เรยี นเรียนรวม (เด็ก
พิเศษ) ขอมูล ณ วันที่ 17 กันยายน 2563 ในสวนของระดับมัธยมศึกษามีผลการทดสอบทาง
การศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) ปการศึกษา 2562 ยงั ตองไดร บั การพฒั นา เนื่องจากมีคะแนน
เฉลย่ี ต่ำกวาระดับประเทศทกุ วิชา ทง้ั น้ี หากพิจารณาแบบองิ เกณฑโ ดยใชเกณฑรอยละ 50 ตามท่ีกำหนด
ในตัวชี้วัดตามเปาหมายของแผนการศึกษาแหงชาติ ดานคุณภาพการศึกษาที่กำหนดใหรอยละของ
นักเรียนที่มีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) แตละวิชาผานเกณฑ
คะแนน รอยละ 50 ขึ้นไปเพิ่มขึ้น โดยตั้งเปาหมายเมื่อสิ้นสุดแผนฯ ระยะที่หนึ่งในป พ.ศ. 2564 คือรอย
ละ 50 นั้น พบวา ผลการสอบของนักเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานครเองยังคงไมเปน ไปตามเปา หมาย
ซึ่งอาจเกดิ จากเหตผุ ลตาง ๆ ไดแ ก ธรรมชาตขิ องแตละวิชาท่ีมีเน้ือหาและความยากงายไมเทากันรวม
ไปถึงปจจัยดานการจัดการเรียนการสอน และปจจัยดานผูเรียนตาง ๆ จึงมีความจำเปนตองเรง
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใหกับนักเรียนอยางเรง ดวนทุกรายวิชา โดยเฉพาะวิชาภาษาอังกฤษ
วิชาคณิตศาสตร และวิชาวิทยาศาสตร โดยมีคะแนนเฉลี่ยต่ำกวารายวิชาอื่น ๆ คืออยูในชวง 21-31
คะแนน ทั้ง 3 รายวิชาจากผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 และช้ัน
มัธยมศึกษาปที่ 6 ขางตนแสดงใหเห็นถึงความจำเปนในการวางแผนเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนของนักเรียนใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นในแตละรายวิชาโดยเฉพาะในรายวิชาที่ยังมีคะแนน
เฉลี่ยไมถึงกึ่งหนึ่งหรือนอยกวาคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศและพัฒนาในรายวิชาที่มีคะแนนเฉลี่ยสูง
หรือมีแนวโนมสูงขึ้นใหคงคุณภาพหรือดีมากยิ่งขึ้นทัดเทียมกับสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
สังกัดอ่ืน ๆ (สำนักการศึกษากรุงเทพมหานคร, 2563 : 46-52) นอกจากนี้ผลการประเมินคุณภาพ
ภายนอกรอบสาม (พ.ศ. 2554-2558) ของสถานศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร พบวา ระดับการศึกษาข้ัน
พื้นฐาน มีสถานศึกษาเขารับการประเมินจำนวนทั้งหมด 437 แหง ไดรับการรับรอง 426 แหงคิด เปน
รอยละ 97.48 และไมไดรับการรับรองจำนวน 11 แหง คิดเปนรอยละ 2.52 ในจำนวน 11 แหง
เปนโรงเรียน ขนาดเล็ก จำนวน 6 แหง โรงเรียนขนาดกลาง จำนวน 2 แหง และโรงเรียนขนาดใหญ

5

จำนวน 3 แหง ในจำนวนโรงเรียนทีไ่ ดรับ การรับรอง จำแนกอยูในระดับดี จำนวน 394 แหง คิดเปน
รอยละ 90.16 รองลงมาอยูในระดับดีมากจำนวน 32 แหง คิดเปนรอยละ 7.32 สำหรับสถานศกึ ษาที่
ไมไดรับการรับรองเนื่องจากมีผลการประเมินตัวบงชี้ที่ 5 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนอยูในระดับ
พอใช (สำนกั การศกึ ษา กรงุ เทพมหานคร, 2559 : 38-40)

จากจุดออนขางตน ซึ่งเปนประเด็นปญหาที่สงผลตอผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา ดังนั้นสำนัก
การศึกษา กรุงเทพมหานคร จึงมีความมุงมั่นที่จะพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานใหนักเรียนในพื้นท่ี
กรุงเทพมหานคร เปนพลเมืองที่มีคุณภาพ ทั้งองคความรู มีคุณธรรมและมีทักษะในการดำเนินชีวิต
โดยกำหนดวิสัยทัศนความวา “สำนักการศึกษาเปนองคกรหลักในการขับเคลื่อนใหนักเรียน
กรุงเทพมหานคร เปนพลเมืองที่ดี มีองคความรู สรางสรรคนวัตกรรม มีทักษะในการดำรงชีวิตใน
สังคมโลกแหงศตวรรษท่ี 21” จึงไดกำหนดสาระสำคัญของแผนปฏิบัติราชการประจำป พ.ศ. 2564
ใหโรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลักจากการทดสอบระดับข้ัน
พื้นฐาน มีคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น ครูผูสอนและบุคลากรทางการศึกษาของกรุงเทพมหานครมีความเปน
มอื อาชพี นักเรียนมที กั ษะความรูและความสามารถเพ่ิมขน้ึ

ดังนั้น คณะผูวิจัยจึงสนใจที่จะวิจัยและวิเคราะหขอมูลโดยวิจัยเรื่อง สภาพปจจุบัน การจัด
การเรยี นสอน ปญ หาและแนวทางแกไ ข เพ่ือยกระดับผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นของโรงเรียนระดบั มธั ยมศึกษา
สังกัดกรุงเทพมหานคร เพื่อรวบรวมขอมูลและวิเคราะหขอมูลสภาพการจัดการเรยี นการสอน 8 กลุม
สาระการเรียนรูนำมาใชเปนสารสนเทศที่เปนองคความรูพื้นฐานสำหรับจัดทำขอเสนอรูปแบบ
การจัดการเรียนรู การวางแผนและกำหนดยุทธศาสตรการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในภาพรวมของ
โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานครและใชในการกำหนดนโยบายของผูบริหารการศึกษา
ผูบริหารสถานศึกษา ในสังกัดกรุงเทพมหานคร ใหสามารถวางแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ
สถานศึกษา ในดานคุณภาพการบริหารสถานศึกษา ดานคุณภาพการจดั การเรียนรูดานการพัฒนาสื่อ
การสอน ดานการพัฒนาครูและบุคลากร และดานการพัฒนาคุณภาพผูเรียนไดสอดคลองกับสภาพ
ความเปนจริงในปจจุบัน ปญหาและความตองการของผูมีสวนไดสวนเสียของโรงเรียนมัธยมศึกษา
สังกดั กรุงเทพมหานครตอ ไป

1.2 คำถามการวิจยั

1.2.1 สภาพการจดั การเรียนรูของโรงเรียนมธั ยมศึกษา สังกดั กรงุ เทพมหานคร เปน อยางไร
1.2.2 สภาพการจัดการเรียนการสอนจากวีดิทัศนบันทึกการสอนของครูผูสอนของโรงเรียน
มธั ยมศึกษา สังกดั กรุงเทพมหานคร เปนอยา งไร
1.2.3 วิธีการจัดการเรยี นการสอน ปญหา แนวทางแกไข บทเรียนความเปนเลิศและโดดเดน
ในการจัดการเรียนรู เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา สังกัด
กรงุ เทพมหานคร ควรเปนอยางไร

1.3 วตั ถปุ ระสงคของการวิจัย

1.3.1 เพ่ือรวบรวมและวเิ คราะหขอมูลสภาพการจัดการเรียนรูของโรงเรียนระดับมธั ยมศึกษา
สังกัดกรุงเทพมหานคร

6

1.3.2 เพื่อรวบรวมและวิเคราะหสภาพการจัดการเรียนการสอนจากวีดิทัศนบันทึกการสอน
ของครผู ูสอนโรงเรยี นระดับมธั ยมศึกษา สังกดั กรุงเทพมหานคร

1.3.3 เพื่อศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน ปญหา แนวทางแกไข และถอดบทเรียนความเปน
เลิศและโดดเดนในการจัดการเรียนรู เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของโรงเรียนระดับ
มธั ยมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร

1.4 ขอบเขตการวจิ ยั

การวิจัยนี้เปนการสำรวจ สภาพปจจุบัน การเรียนการสอน ปญหาและแนวทางแกไข เพ่ือ
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของโรงเรียน ระดบั มธั ยมศึกษา สังกดั กรุงเทพมหานคร ซึ่งมีขอบเขต
การวจิ ยั ดังตอ ไปนี้

1.4.1 ขอบเขตดานประชากรและกลุม ตัวอยาง
ประชากรทใ่ี ชในการศกึ ษาครั้งน้ี จำแนกเปน 3 ขัน้ ตอนในการวจิ ยั ดังน้ี
ขั้นตอนที่ 1 รวบรวมและวิเคราะหขอมูลสภาพการจัดการเรียนสอนของโรงเรียน

ระดบั มธั ยมศกึ ษา สังกดั กรุงเทพมหานคร
ประชากรที่ใชในการศึกษาในขั้นตอนนี้ คือ บุคลากรของโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา สังกัด

กรุงเทพมหานคร ปการศึกษา 2564 จำนวน 109 โรงเรียน เปนโรงเรียนที่จัดการเรียนการสอนระดับ
มัธยมศึกษาตอนตน จำนวน 100 โรงเรียน โดยมีระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 9 โรงเรียน โดยมี
รายละเอียด ดังน้ี

ครูผูสอน จำนวน 2,226 คน ประกอบดวยครูผูสอนระดับมัธยมศึกษาตอนตน
จำนวน 1,974 คน ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย จำนวน 252 คน

ผูบรหิ ารสถานศกึ ษา จำนวน 109 คน
ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน จำนวน 109 คน

กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาในขั้นตอนนี้ คือ บุคลากรของโรงเรียนระดับ
มัธยมศึกษา สังกัดกรงุ เทพมหานคร ปการศึกษา 2564 ประกอบดวย

ครูผูสอนของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร ปการศึกษา 2564
จำนวน 109 โรงเรียน โดยมีโรงเรียนที่จัดการศึกษาถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 9
โรงเรียน จำแนกตามกลุมสาระการเรียนรู 8 กลุมสาระ ไดแก ภาษาไทย คณิตศาสตร วิทยาศาสตร
และเทคโนโลยี สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ภาษาตางประเทศ สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ
และการงานอาชีพ ไดจากการกำหนดกลุมตัวอยาง โดยใชสูตรของทาโรยามาเน (Taro
Yamane,1973) กลุม สาระการเรียนรู กลมุ ละ 1 คน รวม 8 คน ตอระดบั ช้นั คอื ระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษา
ตอนตนปที่ 1-3 จำนวน 333 คน ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายปที่ 4-6 จำนวน 155 คน
รวมทงั้ ส้นิ 488 คน

ผูบรหิ ารสถานศึกษา จำนวน 86 คน
ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน จำนวน 86 คน

7

ขั้นตอนที่ 2 รวบรวมและวิเคราะหสภาพการจัดการเรียนการสอนจากวีดิทัศน
บันทึกการสอนของครผู สู อนของโรงเรยี นมธั ยมศกึ ษา สงั กดั กรงุ เทพมหานคร

ศึกษาและวิเคราะหสภาพการจัดการเรียนการสอนจากวีดิทัศนบันทึกการสอนของ
ครผู สู อนระดบั ช้นั มัธยมศึกษาตอนตนและระดับมัธยมศึกษาตอนปลายจำนวน 8 กลมุ สาระการเรียนรู
รวมจำนวน 144 คน ดงั นี้

ครูผูสอนในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนตน (ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1-3)
สังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 109 โรงเรียน โดยคัดเลอื กครูผูสอนอยางนอย กลุมสาระการเรียนรู กลุมละ
3 คน ตอช้นั รวมจำนวน 72 คน

ครูผูสอนในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4-6)
สังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 109 โรงเรียน โดยคัดเลือกครูผูสอนอยางนอย กลุมสาระการเรียนรู กลุมละ
3 คนตอ ชนั้ รวมจำนวน 72 คน

ผูใหขอมูล คือ ผูทรงคุณวุฒิ ไดมาดวยวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive
Sampling) โดยแบงผูทรงคุณวุฒิตามกลุมสาระการเรียนรูจำนวน 8 กลุมสาระการเรียนรู สาระการ
เรียนรลู ะ 5 คน รวมทง้ั ส้ิน 40 คน

ขั้นตอนที่ 3 ศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน ปญหา แนวทางแกไข และ
ถอดบทเรียนความเปนเลิศและโดดเดนในการจัดการเรียนรูเ พ่ือยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา
ของโรงเรียนระดบั มธั ยมศกึ ษา สงั กัดกรุงเทพมหานคร

จากการลงพื้นที่ สนทนากลุม (Focus Group) ศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
ปญหา แนวทางแกไข ถอดบทเรียนความเปนเลิศและโดดเดนในการจัดการเรียนรู เพื่อยกระดับ
ผลสมั ฤทธิ์ ทางการศึกษาของโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา สังกัดกรงุ เทพมหานคร จำนวน 12 โรงเรียน
ซึ่งไดมาจากผลการคัดเลือกการประเมินวีดิทัศนบันทึกการสอนของครูผูสอน โรงเรียนระดับ
มธั ยมศึกษา สงั กดั กรงุ เทพมหานคร

ผูใหขอมูล คือ ผูเชี่ยวชาญในสาขาวิชาการบริหารการศึกษา สาขาการวัดผลและ
ประเมินผล และสาขาหรือกลุมงานที่เกี่ยวของกับการจัดการเรียนการสอนเพื่อยกระดับผลสัมฤทธ์ิ
ทางการศึกษา จำนวน 5 คน ประกอบดวย ผูบริหารสถานศึกษา หวั หนากลมุ สาระการเรยี นรู 8 กลุม
สาระการเรียนรู ครูวิชาการและผูแทนชุมชน คณะผูวิจัย 4 คน รวมทั้งสิ้นโรงเรียนละ 20 คน ไดมา
โดยใชวิธีการเลือก แบบเจาะจง (Purposive Sampling) ดำเนินการลงพื้นที่โรงเรียนที่ไดรับการคัดเลือก
จำนวน 12 โรงเรียนประกอบดวย โรงเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนตน จำนวน 8 โรงเรียน โรงเรียน
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 4 โรงเรียน ดำเนินการสนทนากลุม (Focus Group) เปนราย
โรงเรียน โดยกำหนดเกณฑคุณสมบัติผูทรงคุณวุฒิ ดังน้ี 1) ผูบริหารการศึกษาหรือผูบริหาร
สถานศกึ ษาทมี่ ีวิทยฐานะไมต่ำกวา ชำนาญการพเิ ศษข้ึนไปและมปี ระสบการณใ นการบรหิ ารการศึกษา
หรือบริหารสถานศึกษาไมต่ำกวา 5 ป 2) ผูทรงคุณวุฒิ ที่จบการศึกษาในระดับปริญญาเอกดาน
การศึกษา 3) ศึกษานิเทศกที่มีวิทยฐานะชำนาญการพิเศษขึ้นไป และมีประสบการณในการนิเทศ
การศึกษามาไมนอยกวา 5 ป

8

1.4.2 ขอบเขตดา นเนอ้ื หา
ขั้นตอนที่ 1 รวบรวมและวิเคราะหขอมูลสภาพการจัดการเรียนรูของโรงเรียน

ระดับมธั ยมศึกษา สงั กัดกรงุ เทพมหานคร
การรวบรวมและวิเคราะหขอมูลสภาพการจัดการเรียนการสอน จากการสอบถาม

ครูผูสอนผูบริหารสถานศึกษาและประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ของโรงเรียน
มัธยมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร ปการศึกษา 2564 ไดประยุกตมาจากทฤษฎีการสรางความรู
(Constructivism) มีพื้นฐานมาจากพัฒนาการทางสติปญญาของเพียเจต (Jean Piaget, 1969:
98) ซึ่งเนนกลไกการเรียนรู ที่นำไปสูการสรางความรู (Fosnot, 1996:11) และงานวิจัยของ มารีนา ศรี
วรรณยศ (2562) เรื่องการศึกษาสภาพ ปญหา และแนวทางการแกปญหาการจัดการเรียนรวมของ
โรงเรียนเรียนรวมระดับประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร แลวนำมากำหนดเปนขอบขายเนื้อหา
สำหรับครูผูสอน จำนวน 6 ดาน ไดแก 1) ดานการเตรียมตัวของครู 2) ดานการเตรียมการจัดการเรียนรู
3) ดานการจัดการเรียนรู 4) ดานการบริหารจัดการชั้นเรียน 5) ดานการวัดและประเมินผล และ 6)
ดานคุณภาพนักเรียน สำหรับผูบรหิ ารสถานศึกษา จำนวน 7 ดาน โดยเพิ่มเติมจากของครูอีก 1 ดาน
ไดแก 7) ดานการบริหารจัดการเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และสำหรับประธาน
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 7 ดาน โดยเพิ่มเติมจากของครูอีก 1 ดาน ไดแก 7) ดาน
บทบาทการสง เสริมสนับสนนุ และมีสวนรว มเพ่อื ยกระดบั ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน

ขั้นตอนที่ 2 ศึกษาวิเคราะหสภาพการจัดการเรียนการสอนจากวีดิทัศนบันทึก
การสอนของครผู ูสอนของโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา สงั กัดกรุงเทพมหานคร

ศึกษาจากการวิเคราะหวีดิทัศนบันทึกการสอนของครูผูสอนระดับชั้นมัธยมศึกษา
ตอนตนและตอนปลายจำนวน 8 กลุมสาระการเรียนรูโดยกำหนดกรอบเนื้อหาที่ใชในการศึกษา
วิเคราะหที่ไดประยุกตมาจากแนวคิดของกาเยบริกสและเวเกอร (Gagné, Briggs, & Wager, 1992:
190-201) เกี่ยวกับการออกแบบการเรียนการสอนที่ตองมีกลวิธีชวยอำนวยความสะดวกให
กระบวนการเรียนรูเกิดขึ้น โดยการจัดสภาพการเรียนรูหรือเหตุการณเพื่อสงเสริมและสนับสนุนการ
พัฒนาผลการเรียนรูของนักเรียน และงานวิจัยของอุไร ซิรัมยและคณะ(2563) เรื่อง เทคนิคการ
ประเมินการเรียนรูผูเรียนในศตวรรษที่ 21 แลวนำมากำหนดเปนเนื้อหาการศึกษาวเิ คราะหสภาพการ
เรียนการสอนจริงจากวีดิทัศนบันทึกการเรียนการสอนของครู จำนวน 4 ดาน ไดแก 1) สภาพการ
จัดการเรียนรู 2) ดานการบริหารจัดการชั้นเรียน 3) ดานการใชและพัฒนาสื่อการเรียนรู และ
4) การวดั และประเมินผลการเรยี นรู

ขั้นตอนที่ 3 ศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน ปญหา แนวทางแกไข และ
ถอดบทเรียนความเปนเลิศและโดดเดนในการจัดการเรียนรูเ พื่อยกระดับผลสัมฤทธิท์ างการศึกษา
ของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรงุ เทพมหานคร

จากการลงพื้นที่สนทนากลุม (Focus Group) ศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน ปญหา
แนวทางแกไข และถอดบทเรียนความเปนเลิศและโดดเดนในการจัดการเรียนรูเพื่อยกระดับผลสัมฤทธ์ิ
ทางการศึกษา ของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 12 โรงเรียน ไดมาจากการ

9

คัดเลือกจากผลการประเมินวีดิทัศนบันทึกการสอนของครู โดยศึกษางานวิจัยของ ฉลาด จันทรสม
บัติ (2563: 1-7) เรื่อง การพัฒนานวัตกรรมยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของสถานศึกษา
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 2 แลวนำมากำหนดเนื้อการสนทนากลุม
ใน 2 ประเด็น ไดแ ก 1) ประเด็นคำถามผลงานที่เปนเลิศ ประกอบดวย 1.1 ลักษณะความสำเร็จ
ของผลงานที่เปนเลิศ 1.2 ที่มาของผลงานที่เปนเลิศ 1.3 กระบวนการกอเกิดผลงานที่เปนเลิศ 1.4 สิ่งที่
แตกตา งระหวางความคาดหวังกับผลงานที่เกิดจริงและเหตผุ ลท่ีแตกตาง 1.5 สงิ่ ท่ีควรปรับปรุงแกไข 1.6
แนวทางการดำเนินงานตอยอดใหดีขึ้นตอไป และ 2) ประเด็นคำถามความโดดเดนของผลงานที่เปนเลิศ
ประกอบดวย 2.1 จุดเดนของผลงานที่สงผลตอการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2.2 สิ่งที่ทำใหผล
การปฏบิ ตั ิงานออกมาดี 2.3 หลกั ฐานท่แี สดงผลการปฏบิ ัติท่โี ดดเดน

1.4.3 ขอบเขตตัวแปร
ตัวแปรทีใ่ ชใ นการศึกษา
1.4.3.1 ตัวแปรตน สถานะของบุคลากร ไดแก ครูผูสอน ผูบริหารสถานศึกษา

ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พน้ื ฐาน
1.4.3.2 ตวั แปรตาม
1.4.3.2.1. สภาพการจัดการเรียนรูของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัด

กรุงเทพมหานคร ตามความคิดเห็นของครูผูสอน ดังนี้ 1) ดานการเตรียมตัวของครู 2) ดานการ
เตรียมการจัดการเรียนรู 3) ดานการจัดการเรียนรู 4) ดานการบริหารจัดการชั้นเรียน 5) ดานการวัด
และประเมินผล และ 6) ดานคุณภาพนักเรียน สำหรับผูบริหารสถานศึกษา จำนวน 7 ดาน
โดยเพิ่มเติมจากของครูอีก 1 ดาน ไดแก 7) ดานการบริหารจัดการเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียน และสำหรับประธานคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน จำนวน 7 ดาน โดยเพิ่มเตมิ จากของ
ครูอีก 1 ดาน ไดแก 7) ดานบทบาทการสงเสริมสนับสนุนและมีสวนรวมเพื่อยกระดับผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรยี น

1.4.3.2.2 สภาพการจัดการเรียนการสอนจริงจากวีดิทัศนบันทึกการสอนของ
ครูผูสอนของโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร 4 ดาน ไดแก 1) สภาพการจัดการ
เรียนรู 2) ดานการบริหารจัดการชั้นเรียน 3) ดานการใชและพัฒนาสื่อการเรียนรู และ 4) การวัดและ
ประเมินผลการเรียนรู

1.4.3.2.3 วธิ ีการจัดการเรียนการสอน ปญ หา แนวทางแกไข และบทเรียนความเปน
เลิศและโดดเดนในการจัดการเรียนรูเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของโรงเรียนระดับ
มัธยมศกึ ษา สังกดั กรุงเทพมหานคร 2 ประเดน็ ไดแก 1) ผลงานทเ่ี ปนเลิศ ประกอบดวย (1) ลักษณะ
ความสำเร็จของผลงานที่เปนเลิศ (2) ที่มาของผลงานที่เปนเลิศ (3) กระบวนการกอเกิดผลงาน
ท่ีเปนเลิศ (4) สิ่งทแ่ี ตกตา งระหวางความคาดหวังกับผลงานทีเ่ กิดจริงและเหตุผลที่แตกตาง (5) ส่ิงที่ควร
ปรบั ปรุงแกไข (6) แนวทางการดำเนนิ งานตอยอดใหดขี ้ึนตอไป และ 2) ความโดดเดนของผลงานที่เปน
เลิศ ประกอบดวย (1) จุดเดนของผลงานที่สงผลตอการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (2) สิ่งที่ทำ
ใหผ ลการปฏิบตั ิงานออกมาดี (3) หลกั ฐานทแ่ี สดงผลการปฏิบัติทโ่ี ดดเดน

1.4.3.3 ระยะเวลาในการดำเนนิ การวิจยั ระหวา งเดอื นมีนาคม - พฤษภาคม 2565

10

1.5 ประโยชนที่จะไดร ับ

1.5.1 ทำใหทราบขอมูลสภาพการจัดการเรียนการสอน 8 กลุมสาระการเรียนรูเพื่อนำมาใช
เปนสารสนเทศท่ีเปน องคความรพู ้ืนฐานของโรงเรียนมธั ยมศึกษา สังกดั กรุงเทพมหานคร

1.5.2 ทำใหทราบปญหา ความตองการของผูมีสวนไดสวนเสียในการจัดการศึกษาและแนว
ทางแกไขเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร ใหมี
ประสิทธภิ าพสงู

1.5.3 ผลการวิจัยใชเ ปนขอมูลสารสนเทศใหผูบริหารดา นการศึกษาและผทู ี่เก่ียวของนำไปใช
ในการพฒั นาการจัดการเรยี นรเู พ่ือยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทางการศึกษาใหมีประสิทธิภาพสูงของโรงเรียน
มัธยมศึกษา สงั กดั กรุงเทพมหานคร

1.5.4 ไดแนวทางในการจัดการเรียนรู การพัฒนาสื่อการสอนและเทคโนโลยี การพัฒนาครู
และบคุ ลากรทางการศึกษา การวัดและประเมนิ ผล ทเ่ี ปนองคป ระกอบของการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการ
ศึกษา

1.5.5 จัดทำขอเสนอรูปแบบการจัดการเรียนรู การวางแผนและกำหนดยุทธศาสตรการ
พัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาในภาพรวมของโรงเรยี นมัธยมศึกษา สงั กดั กรงุ เทพมหานคร

1.5.6 ใชผลการวิจัยเปนขอมูลการตัดสินใจกำหนดนโยบายของผูบริหารการศึกษา ผูบริหาร
สถานศึกษา ในสังกัดกรุงเทพมหานคร เพื่อสามารถวางแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ
สถานศกึ ษา ในดานคุณภาพการบริหารสถานศึกษา ดานคุณภาพการจัดการเรยี นรู ดานการพัฒนาส่ือ
การสอน ดานการพัฒนาครูและบุคลากร และดานการพัฒนาคุณภาพผูเรียนไดสอดคลองกับสภาพ
ความเปนจริงในปจจุบัน ปญหาและความตองการของผูมีสวนไดสวนเสียของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัด
กรุงเทพมหานคร

1.5.7 สถานศึกษาอื่น ๆ สามารถนำขอมูลสารสนเทศจากงานวิจัยในครั้งนี้ ไปเปนแนวทาง
เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของโรงเรียน ใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลไดอยางกาว
กระโดด

1.6 นยิ ามศพั ทเ ฉพาะ

1.6.1 สภาพการจัดการเรียนรู หมายถึง ระดับปฏิบัติการจัดการเรียนการสอน 8 กลุมสาระการ
เรียนรูของครูผสู อน ของโรงเรยี นมธั ยมศกึ ษา สงั กัดกรุงเทพมหานคร ประกอบดวย 1) ดา นการเตรียม
ตวั ของครู 2) ดา นการเตรียมการจดั การเรียนรู 3) ดา นการจดั การเรยี นรู 4) ดานการบรหิ ารจดั การชั้นเรียน
5) ดานการวัดและประเมินผล 6) ดานคุณภาพนักเรียน 7) ดานการบริหารจัดการเพื่อยกระดับ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 8) ดานบทบาทการสงเสริมสนับสนุนและมีสวนรวมเพื่อยกระดับผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรยี น

1.6.2 ปญหาการจัดการเรียนรู หมายถึง ระดับอุปสรรคหรือเหตุขัดของในการจัดการเรียนรู
เพอื่ ยกระดับผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนของโรงเรียนระดับมธั ยมศึกษา สงั กดั กรุงเทพมหานคร

1.6.3 ความตองการ หมายถึง การที่บุคคลมีความปรารถนาใหผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษามี
ประสทิ ธภิ าพสูงข้ึนทกุ ป เม่อื ไดร ับการตอบสนองแลวบคุ คลกจ็ ะเกิดความสุข ความพึงพอใจ

11

1.6.4 การยกระดับผลสัมฤทธท์ิ างการศึกษา หมายถงึ การดำเนนิ การหรือกิจกรรมใด ๆ เพอื่ ใหผล
ที่เกิดจากกระบวนการเรียนการสอนสงผลทำใหนักเรียนเกดิ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม และสามารถวัด
ได โดยการแสดงออกมาทั้ง 3 ดาน คือ ดานพุทธิพิสัย ดานจิตพิสัย และดานทักษะพิสัย ของโรงเรียน
มัธยมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร รวมทั้งคะแนนการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของนักเรียนช้ัน
มัธยมศึกษาปที่ 3 และชัน้ มธั ยมศึกษาปท่ี 6 ของโรงเรยี นมธั ยมศึกษา สงั กัดกรุงเทพมหานคร ใหมีคะแนน
สูงข้ึนกวา ปการศึกษาทผี่ า นมา

1.6.5 วดี ิทัศนบ นั ทกึ กการสอนของครผู ูสอน หมายถึง ไฟลวดี ิทศั นท่ีครผู ูสอนบันทึกการสอน
หลังจากออกแบบแผนการสอนแลวจำนวน 8 กลุมสาระการเรียนรู ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1-6
ของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรงุ เทพมหานคร

1.6.6 โรงเรยี น หมายถึง โรงเรยี นมธั ยมศึกษา สังกัดกรงุ เทพมหานคร
1.6.7 นักเรียน หมายถึง ผูที่กำลังศึกษาอยูในระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1-6 ของโรงเรียน
มัธยมศึกษา สงั กดั กรงุ เทพมหานคร ปการศึกษา 2564
1.6.8 ครูผูสอน หมายถึง บุคคลผูทำหนาที่จัดการเรียนการสอนของโรงเรียนมัธยมศึกษา
สังกัดกรงุ เทพมหานคร ปการศึกษา 2564
1.6.9 ผูบริหารสถานศึกษา หมายถึง บุคคลผูทำหนาที่เปนผูบริหารงานจัดการศึกษา ไดแก
ผูอำนวยการโรงเรียน รองผูอำนวยการโรงเรียน ผูรักษาการในตำแหนงผูบริหารของโรงเรียนระดับ
มธั ยมศกึ ษา สงั กัดกรงุ เทพมหานคร ปก ารศกึ ษา 2564
1.6.10 ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน หมายถึง บุคคลผูทำหนาที่เปน
ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร ปการศึกษา
2564

บทที่ 2
เอกสารและงานวิจยั ทเี่ กย่ี วของ

การวิจัยเรื่อง “สภาพปจจุบัน การจัดการเรียนสอน ปญหาและแนวทางแกไข เพื่อยกระดับ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร” ผูวิจัยไดศึกษา
วรรณกรรม ที่เกี่ยวขอ ง และนำเสนอสาระสำคัญจากเอกสาร ตำรา และผลงานวจิ ัยที่เกีย่ วขอ ง ดงั นี้

2.1 รูปแบบการเรียนรูแ ละพฒั นาการเรยี นการสอนยคุ ใหม
2.2 การยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน
2.3 แนวคดิ ทฤษฎีท่ีเกีย่ วขอ งกับประสทิ ธภิ าพการจดั กิจกรรมการเรยี นรู
2.4 สาระและมาตรฐานการเรียนรูตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน
2.5 ขอมูลบรบิ ทสำนกั การศกึ ษา กรุงเทพมหานคร
2.6 งานวิจยั ทเี่ ก่ียวของ
2.7 กรอบแนวคดิ การวิจัย

2.1 รูปแบบการเรียนรูแ ละพัฒนาการเรยี นการสอนยุคใหม

ครรชิต มนูญผล (2560: 9 ) กลาววาความกาวหนาทางการสื่อสารมีอยางมากมายในโลก
ปจจุบันสงผลกระทบตอชีวิตความเปนอยูของมนุษยในทั่วทุกมุมโลกการศึกษาจำเปนตองปรับตัวให
กา วทนั ครูผูสอนเปน ผูอ ำนวยความสะดวกเปน ผูจัดการเรยี นรแู ละทำงานรว มกับผเู รียน

โลกยุคนี้เปนยุคของความรูและขอมูลขาวสารผูใดมีความรูและขอมูลมากกวายอมไดเปรียบ
กวาทั้งนี้เนื่องจากขอมูลที่เปนความรูเพิ่มมากขึ้นทุกวันและทุกๆ 5 ป ขอมูลขาวสารจะทวีขึ้นเปน 2
เทา นอกจากนย้ี ังไมม ีใครสามารถสอนความรูท่ีมีอยูในโลกนใี้ หแกเราไดทง้ั หมด โรงเรียนจงึ ควรเตรียม
เด็กๆและเยาวชน ใหรูจักแสวงหาความรูอยางตอเนื่องดวยตนเองเพื่อมิใหเด็กและเยาวชนเหลานั้น
กลายเปนคนลาหลัง และกาวตาม โลกไมทันภายหลังจากออกจากโรงเรียนแลวการสอนใหเ ดก็ เรยี นรู
วธิ ีเรยี นทถี่ กู ตอ ง (Learn how to learn) จึงเปนเรือ่ งท่ีจำเปน อยางยิ่ง โดยครูตองเขา ใจและตระหนัก
เปน อันดับแรกวา เดก็ แตละคนมีลีลาหรือรูปแบบการเรียนรูไมเ หมือนกัน ครทู ่สี ามารถรูวาเด็กแตละ
คนในชั้นมีรูปแบบการเรียนรูเปนแบบใดจะประสบความสำเร็จในการสงผานความรูไปยังนักเรียนทำ
ใหเ ด็กไดพ ฒั นาศกั ยภาพในการเรยี นรูข องตนเองไดอยางเต็มความสามารถมากทีส่ ุด

2.1.1 ความหมายและความสำคญั ของรูปแบบการเรียนรู
พระพรหมพิริยะ ถาวโร (มาลัยรักษ) (2564: 5-6) ใหความหมายของรูปแบบการเรียนรู
หมายถึง ลักษณะทางกายภาพ ความคิด และความรูสึกที่บุคคลใชในการรับรูตอบสนองและมี
ปฏิสัมพันธกับสภาพแวดลอมทางการเรียนอยางคอนขางคงที่ ดังนั้นรูปแบบการคิดและรูปแบบการ
เรยี นรจู งึ เปน ลักษณะของการคิดและลักษณะของการเรยี นทบี่ ุคคลหนึง่ ๆใชห รือทำเปน ประจำอยางไร
ก็ตามรูปแบบ การคิดและรูปแบบการเรียนรูไมไดหมายถึงตัวความสามารถโดยตรงแตเปนวิธีการท่ี
บุคคลใชความสามารถของตนที่มีอยูในการคิดและการเรยี นรูดวยลักษณะใดลักษณะหนึ่งมากกวาอีก

13

ลกั ษณะหนง่ึ หรือลักษณะอืน่ ๆท่ีตนมีอยู ความเกยี่ วขอ งระหวางรูปแบบการคิดและรูปแบบการเรียนรู
แนวคิดเกี่ยวกับรูปแบบการคิดพัฒนาจากความสนใจความแตกตางระหวางบุคคล (Learning Style)
คือรูปแบบการเรียนรูหรือลีลาการเรียนรูของมนุษย มนุษยเรานั้นสามารถรับขอมูลโดยผานเสนทาง
การรับรูได 3 ทาง คือ การรับรูทางสายตาโดยการมองเห็น (Visual Percepters) การรับรูทาง
โสตประสาทโดยการไดยนิ (Auditory Percepters) และการรบั รทู างรางกาย โดยการเคล่ือนไหวและ
การรูสึก (Kinesthetic Percepters) ซึ่งสามารถนำมาจัดเปนรูปแบบการเรียนรูได 3 ประเภทและ
ผเู รยี นแตล ะประเภทจะมคี วามแตกตา งกัน ดังน้ี

2.1.1.1 ผูที่เรียนรูทางสายตา (Visual Learner) จะเรียนรูไดดีจากการเรียนจาก
รูปภาพ แผนผัง แผนภูมิการเรียนลักษณะน้ีเหมอื นเปนการดูหนังแลว จดจำภาพไวไ ดอยางดี มีเนื้อหา
ที่เปนเรื่องเปนราว เวลาที่ผูเรียนจะตองการ จดจำเนื้อหาสวนใดก็สามารถมีวิธีการผูกเรื่องเพื่อจำ
เรื่องราวนัน้ ๆไดด ผี เู รยี นจะเรยี นไดดที างสายตาน้ันจะตองเลอื กเรียนดานสถาปตยกรรม การออกแบบ
และการประกอบอาชพี มัณฑนากร วศิ วกร หมอผาตดั

2.1.1.2 ผูที่เรียนรูทางโสตประสาท (Auditory Learner) จะเรียนรูไดดีที่สุด
ถาไดพูด ไดฟง จะไมสนใจรูปภาพใดๆ แตชอบและสนใจในสิ่งที่ไดฟงซ้ำๆ ชอบเลาเรื่องใหคนอื่นฟง
เวลาอานหนังสือจะตอ งอานออกเสียงดังๆ จึงจะจดจำไดด ี แตม ีขอเสียคือผูเรยี นทางโสตประสาทอาจ
ถูกรบกวนจากเสียงอื่นๆ จนทำใหไมมีสมาธิในการฟงได ผูเรียนประเภทนี้จะพบในกลุมเรียนดาน
ดนตรี กฎหมายและการเมือง สวนใหญจะเปนนักดนตรี พิธีกร นักจัดรายการเพลง นักจิตวิทยา
นกั การเมอื ง

2.1.1.3 ผูท่ีเรยี นรทู างรางกายและความรสู กึ (Kinesthetic Learner) จะเรยี นรูผาน
ทางความรสู กึ การเคลื่อนไหวและรางกายจึงจะจดจำไดดตี องมีการสัมผัสและเกดิ ความรูสึกท่ีดีตอสิ่งท่ี
เรียนดวย เวลานั่งเรียนจะไมอยูนิ่งๆจะไมสนใจบทเรียนเทาที่ควร ไมสามารถจดจอกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
ไดนานๆ กลุมนี้จะมีปญหามากหากผูสอน บรรยายอยูหนาช้ันเรียนอยางเดียว ดังนั้นวิธีการแกป ญ หา
ของผูเรียนกลุมนี้ไดโดยที่ผูสอนจะตองใหผูเรียนรูจักการแสดงออกมากขึ้นหรือใหปฏิบัติจริง เชน
ใหเลนละคร แสดงบทบาทสมมติ มีการสาธิตและทำการทดลอง ผูเรียนกลุมนี้เหมาะกับวชิ าพลศึกษา
วิชากอสราง อาชีพที่เหมาะสม คือ นักกีฬาหรือประเภทนี้จะเนนความคิดสรางสรรค งานเตนรำ
สภาวะ ของบุคคลขณะรับรูมี 3 สภาวะ คือ สภาวะของจิตสำนึก (Conscious) จิตใตสำนึก
(Subconscious) และจิตไรสำนึก (Unconscious) ผูเรียนแตละคนจะมีรูปแบบการเรียนรูที่ตางกัน
มลี ักษณะเฉพาะตัว แตผ เู รียนทกุ คน กไ็ มไ ดเลือกใชแครปู แบบใดรปู แบบหนึ่งอยูต ลอดเวลา แตในทาง
กลับกันนั้นจะใชหลายๆรูปแบบและจะเกี่ยวของกัน แตรูปแบบที่ถนัดมากที่สุดจะถูกใชมากกวา
รูปแบบอื่นในความเปนจริงแลวนั้นไมมีใครสามารถจะจดจำในสิ่งที่เห็นสิ่งที่ไดยินไวไดตลอดเวลาแต
เราจะสามารถจดจำไดด ที ่สี ุดถาเราไดล งมือทำดวยตวั ของเราเอง

2.1.2 ลกั ษณะของการจัดกจิ กรรมท่ีเนนผเู รยี นเปน สำคัญ
อาภรณ ใจเที่ยง (2553:83) กลาววาลักษณะของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เนน
ผูเรยี นเปนสำคญั มีดังนี้

14

1) Active Learning เปนกิจกรรมที่ผูเรียนเปนผูกระทำหรือปฏิบัติดวยตนเองดวย
ความกระตือรือรน เชน ไดคิด คนควา ทดลองรายงาน ทำโครงการ สัมภาษณ แกปญหา ฯลฯ ไดใช
ประสาทสัมผัสตางๆ ทำใหเกิดการเรียนรูดวยตนเองอยางแทจริงผูสอนทำหนาที่เตรียมการจัด
บรรยากาศ การเรียนรู จัดสอ่ื สงิ่ เราเสรมิ แรง ใหค ำปรกึ ษา และสรปุ สาระการเรียนรรู ว มกนั

2) Construct เปนกิจกรรมที่ผูเรียนไดคนพบสาระสำคัญหรือองคการความรูใหม
ดวยตนเองอันเกิดจากการไดศึกษาคน ควาทดลองแลกเปลี่ยนเรียนรูและลงมือปฏบิ ัติจริงทำใหผูเ รยี น
รัก การอา น รกั การศึกษาคนควา เกิดทักษะในการแสวงหาความรู เหน็ ความสำคญั ของการเรียนรู
ซึ่งนำไปสูก ารเปน บุคคลแหง การเรยี นรู (Learning Man) ท่ีพงึ ประสงค

3) Resource เปนกจิ กรรมทผ่ี ูเรียนไดเรยี นรูจากแหลง เรยี นรูตาง ๆ ที่หลากหลายทงั้
บุคคลและเครื่องมือทั้งในหองเรียน และนอกหองเรียนผูเรียนไดสัมผัสและสัมพันธกับสิ่งแวดลอม ท้ัง
ที่เปนมนุษย (เชน ชุมชน ครอบครัว องคกรตาง ๆ) ธรรมชาติและเทคโนโลยี ตามหลักการที่วา“การ
เรียนรูเกดิ ขนึ้ ไดท กุ ท่ี ทุกเวลาและทุกสถานการณ”

4) Thinking เปนกิจกรรมที่สงเสริมกระบวนการคิด ผูเรียนไดฝกวิธีคิดในหลาย
ลักษณะ เชน คิดคลอง คิดหลากหลาย คิดละเอียด คิดชัดเจน คิดถูกทาง คิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดไกล
คิดอยางมีเหตุผล เปนตน ในการฝกใหผูเรียนไดคิดอยูเสมอในลักษณะตาง ๆ จะทำใหผูเรียนเปนคน
คิดเปน แกปญหาเปน คิดอยางรอบคอบมีเหตุผล มีวิจารณญาณในการคิด มีความคิดสรางสรรค มี
ความสามารถในการคิดวิเคราะหที่จะเลือกรับและปฏิเสธขอมูล ขาวสารตางๆ ไดอยางเหมาะสม
ตลอดจนสามารถแสดงความคิดเห็นออกไดอยางชัดเจนและมีเหตุผลอันเปนประโยชนตอการดำรง
ชวี ิตประจำวนั

5) Happiness เปนกิจกรรมที่ผูเรียนไดเ รยี นอยางมีความสุข เปน ความสุขท่ีเกิดจาก
ประการที่หนึ่ง ผูเรียนไดเรียนในสิ่งที่ตนสนใจสาระการเรียนรู ชวนใหสนใจใฝคนควาศึกษาทาทาย
ใหแสดงความสามารถและใหใชศ ักยภาพของตนอยางเต็มท่ี ประการท่สี อง ปฏสิ มั พันธ (Interaction)
ระหวางผูเรียนกับผูสอนและระหวางผูเรียนกับผูเรียน มีลักษณะเปนกัลยาณมิตรมีการชวยเหลือ
เกื้อกูล ซึ่งกันและกัน มีกิจกรรมรวมดวยชวยกันทำใหผูเรียนรูสึกมีความสุขและสนุกสนานกับ
การเรียน

6) Participation เปนกิจกรรมที่ผูเรียนมีสวนรวมในการวางแผนกำหนดงาน
วางเปาหมายรวมกันและมีโอกาสเลือกทำงานหรือศึกษาคนควาในเรื่องที่ตรงกับความถนัด
ความสามารถความสนใจของตนเองทำใหผูเรยี นเรียนดว ยความกระตือรือรน มองเห็นคุณคาของสิ่งท่ี
เรยี นและสามารถ ประยุกตค วามรูน ำไปใชประโยชนใ นชีวติ จรงิ

7) Individualization เปนกิจกรรมที่ผูสอนใหความสำคัญแกผูเรียนในความเปน
เอกตั บุคคล ผูสอนยอมรับในความสามารถความคดิ เห็นความแตกตางระหวา งบุคคลของผูเรียน มุงให
ผูเรียนไดพัฒนาตนเองใหเต็มศักยภาพมากกวาเปรียบเทียบแขงขันระหวางกันโดยมีความเชื่อมั่น
ผูเรยี น ทุกคนมีความสามารถในการเรยี นรูไดแ ละมวี ิธกี ารเรยี นรูท แ่ี ตกตางกนั

8) Good Habits เปนกิจกรรมที่ผูเรียนไดพัฒนาคุณลักษณะนิสัยที่ดีงาม เชน
ความรับผิดชอบความเมตตา กรุณา ความมีน้ำใจ ความขยัน ความมีระเบียบวนิ ัยความเสียสละ ฯลฯ

15

และลักษณะนิสัยในการทำงานอยางเปนกระบวนการ การทำงานรวมกับผูอื่น การยอมรับผูอื่นและ
การเห็นคณุ คา ของงาน

อาภรณ ใจเที่ยง (http://www.sut.ac.th) กลาวถึง ความหมายของการจัดการเรียนการ
สอนทีเ่ นนผูเ รียนเปน สำคัญวา หมายถงึ การจดั กิจกรรมทผ่ี ูเรยี นไดรับประโยชนสูงสุดจากการเรียนได
พัฒนาเต็มตามศักยภาพไดประยุกตความรูไปใชในชีวิตประจำวัน ไดมีความสุขและสนุกกับการเรียน
ตลอดจนมีคณุ ลักษณะดงี ามที่สงั คมพงึ ปรารถนา

เบรนเดอร และ กินนิส (Brandes and Ginnis, 1992: 25) ไดใหความหมายของการเรียน
การสอนทีเ่ นน ผูเรียนเปนศูนยกลางวา หมายถงึ การทผี่ เู รียนเปนผูรับผิดชอบในการเรียนรูของตนเอง
ตั้งแตการวางแผนจัดระบบระเบียบ ลงมือปฏิบัติ และประเมินผลการเรียนรูของตนเอง
ซ่งึ องคป ระกอบ ทง้ั 4 ประการน้เี ปน องคป ระกอบสำคัญของกระบวนการเรยี นรขู องบุคคล (Learning
process) เปนการเรียนเชิงรุก ผูเรียนหาความรูไดจากเอกสารเพื่อน แหลงความรู ครู และ
สิง่ แวดลอม โดยมีปฏสิ มั พันธรว มกันมีกระบวนการคิดและการแกปญ หาอยางมเี หตผุ ล มีหลักวิชาการ
รองรับ สรางองคความรูและประมวลความรูโดยผูสอนเปนผูแนะนำชี้แนะ ใชแหลงขอมูล รวมกัน
กำหนดการเรยี น และการประเมินผล

พิมพันธ เดชะคุปต (2557:7) ใหความหมายไววา การเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสำคัญ
(Child Centered Approach) คอื แนวการจดั การเรียนการสอนทเ่ี นนใหผูเรียนสรางความรูใหมและ
สิ่งประดิษฐใหม โดยการใชกระบวนการทางปญญา(กระบวนการคิด) กระบวนการทางสังคม
(กระบวนการกลุม) และใหผูเรียน มีปฏิสัมพันธและมีสวนรวมในการเรียน สามารถนำความรู ไป
ประยุกตใชไดโ ดยครู มีบทบาทเปน ผูอ ำนวยความสะดวกจัดประสบการณก ารเรียนรใู หแ กผ ูเ รยี น

โดยสรุป พบวาการจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสำคัญ หมายถึง การจัดกิจกรรมท่ี
ผูเรียนเปนผูแสดง ครูเปนโคชผานกระบวนการที่มีขั้นตอนอยางเปนระบบ นักเรียนไดรับประโยชน
สูงสุดจาก การเรียน ไดพัฒนาเต็มตามศักยภาพ ไดประยุกตความรูไปใชในชีวิตประจำวันสรางสรรค
นวตั กรรมได ตลอดจนมีคุณลกั ษณะดงี ามตามความตองการของสงั คม

2.1.3 บทบาทของครูยุคสงั คม New Normal
มารุต พัฒผล (2562 : 1-5) กลาววาบทบาทของผูสอน คือ การสรางแรงปรารถนาแรง
บันดาลใจในการเรียนรู การชี้แนะใหผูเรียนมีจินตนาการ สรางสรรคใหผูเรียนใชศักยภาพของตนเอง
ในการเรียนรูผานการลงมือปฏิบัติ การคิดไตรตรอง และสรางองคความรูไดดวยตนเอง
มีความสามารถในการปรับปรุงและพัฒนาตนเองอยางตอเนื่อง ซึ่งบทบาทผูสอนดังกลาวนี้เปน
รากฐานทางความคดิ เก่ียวกับการโคช เพ่ือพฒั นาศักยภาพผูเรยี น

1) บทบาทการโคช การโคช การฝก ทักษะใหก ับผูเรยี นโดยเนน ใหใชวธิ กี ารเรียนรูของ
ตนเองเปนลักษณะของการเรียนรูสวนบุคคล Personalized learning การโคชเนนชี้แนะผูเรียน
ใหพัฒนาตนเองดวยวิธีการที่สอดคลองกับธรรมชาติและระดับความสามารถของผูเรียนพัฒนา
ไปในทิศทางที่ถูกตอง เกิดการเรียนรูเต็มตามศักยภาพ การโคชเปนบทบาท ของผูสอนที่จะชวยให
ผูเรียนเกิดการเรียนรูและพัฒนาตนเองไดอยางเต็มตามศักยภาพ เปนการชวยทำใหผูเรียนเปนบุคคล
แหงการเรียนรู มีทักษะในการเรียนรู ซึ่งเปนพื้นฐานที่สำคัญของการสรางสรรคนวัตกรรมอันเปน

16

ทักษะจำเปนที่ผูเรียน ทุกคนจำเปนตองมีในโลกปจจุบันและอนาคต และเปน Soft skills ในการโคช
เพื่อเสรมิ สรา งSoft skillsใหเ กดิ กบั ผเู รียนซ่ึงเปน สงิ่ จำเปน ในยุคดจิ ิทัล

2) กระบวนการโคชเพื่อพัฒนาศักยภาพผูเรียน การโคชมีหลายรูปแบบแตกตางกัน
ไปในแตละบริบทของการโคชอนึง่ การโคชในบริบทของการเรยี นการสอน (Instructional coaching)
มีข้ันตอน ดงั นี้

(1) Feed – up การใหขอมูลเพื่อกระตุนการเรียนรูเปนการสรางแรงจูงใจ
ในการเรียนรูที่เนน แรงจูงใจภายในรวมท้ังการสรางแรงบันดาลใจ Passion ในการเรียนรูความสนใจ
ใครรูกอนที่จะเริ่มเขาสูการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู การ Feed-up ที่ดีจะเปนปจจัยสนับสนุนให
ผูเรียน ใชกระบวนการเรียนรูของตนเองอยางเต็มความสามารถ จากการที่ผูเรียนมีแรงจูงใจ
แรงบนั ดาลใจ และ Passion ในการเรียนรู

(2) Power Questions การใชพลังคำถาม เปนการตั้งคำถามเชิงลึกใน
องคค วามรูทีเ่ ปน Main Concept ของการเรียนรูห รือส่งิ ท่ีผเู รียนจะตองมีความรูความเขาใจที่ถูกตอง
แมนยำเพื่อใหผูเรียนมีเปาหมายวาเมื่อเสรจ็ สิ้นกิจกรรมการเรียนรูแลว จะตองตอบคำถามของผูสอน
ใหไดซึ่งการตอบคำถามไดของผูเรียนนั้นจะเปนสิ่งสะทอนวา ผูเรียนเกิดการเรียนรูตามจุดประสงค
ของการเรยี นรูแ ลว

(3) Acting & Checking การประเมินผูเรียนเปนการเปดพื้นที่ใหผูเรียนลง
มือปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรูดวยตนเอง โดยใชกระบวนการเรียนรู (Learning Processes)
ที่หลากหลาย และเหมาะสมสอดคลองกับจุดประสงคการเรียนรู และพรอมกันนี้ผูสอนตรวจสอบ
กระบวนการเรียนรู ของผูเรียนดวยการสังเกตการปฏิบัติการเรียนรูของ ผูเรียน และใหคำชี้แนะ
คำแนะนำท่เี ปน ประโยชน ตอการเรยี นรูข องผเู รียน

(4) Feedback การใหขอมูลยอนกลับอยางสรางสรรคเปนการใหขอมูล
ยอนกลับอยางสรางสรรค แกผูเรียนภายหลังจากเสร็จสิ้นกิจกรรมการเรียนรูแลว เพื่อใหผูเรียน
มองเห็นจุดเดน และจดุ ที่ตองปรับปรุงและพัฒนากระบวนการเรียนรูข องตนเองใหมีประสทิ ธิภาพมาก
ย่งิ ข้นึ ตลอดจนการสะทอนผล การประเมนิ ใหผเู รียนมองเห็นวาตนเองเกดิ การเรียนรูตามจุดประสงค
การเรยี นรหู รือไม อยางไร

(5) Feed – forward การใหขอมูลเพื่อการเรียนรูตอยอด เปนการชี้แนะ
หรือแนะนำผูเรียนใหไปเรียนรู และพัฒนาตนเอง ตอยอดจากการเรียนรูในครั้งนี้เนนการสงเสริมให
ผูเ รยี น มีนิสยั เปนบคุ คลแหงการเรียนรู ซง่ึ เปนรากฐานของการเปนนกั สรางสรรคน วตั กรรมในอนาคต

(6) Lesson learned การถอดบทเรียน เปนการใหผูเรียนสะทอนคิดสิ่งที่
ตนเองไดเรียนรู ตลอดจนการตรวจสอบกระบวนการเรียนรูของตนเอง ระดับความสำเร็จของการ
เรียนรูของตนเอง วิเคราะหจุดเดนและจุดที่ตองปรับปรุงตนเอง ตลอดจนการกำหนดเปาหมายของ
การเรียนรทู มี่ ี พฒั นาการสูงขนึ้ อยา งเหมาะสมกับระดบั ความสามารถของตนเอง ซึ่งการถอดบทเรียน
จะนำไปสู การเปลี่ยนแปลง (transform) กระบวนการคดิ และพฤตกิ รรมการเรียนรูที่ดขี ึน้

กระบวนการโคช ทง้ั 6 ขน้ั ตอนท่ีกลา วมาผูสอนควรนำไปใชอยางตอเนื่องในลักษณะ
วงจรของการโคช (Coaching Cycle) บูรณาการไปกับการจัดการเรียนรูจะเปนการเสริมสราง

17

ศักยภาพผูเรียนไดอยางตอเนื่อง ซึ่งเปนสิ่งสำคัญสำหรับการพัฒนาผูเรียนใหมีความพรอมในการ
ดำรงชีวิตและประกอบอาชพี ในโลกยคุ Digital Transformation

สรปุ ไดวา เปา หมายทางการศึกษายงั คงเปน หัวขอใหญท ี่พอแมใหความสำคัญ ขณะเดียวกันก็
เปนเรื่องที่หลายฝายรวมกันหาคำตอบและแนวทางใหมๆทางการศึกษาการพัฒนาศักยภาพเยาวชน
การจัดการเรียนการสอนตองเปนการเรียนรูท่ีสนุกเราจะจดจำชวงเวลาหรืออารมณชวงนั้นไดชัดเจน
กวาเนื้อหา เมื่อสมองจดจำแลวเวลาที่เรามีความสุขหรือสนุก เราจะอยากทำสิ่งนั้นซ้ำอีก นั่นเปน
เหตุผลที่วาทำไมการเรียนรูจึงควรสนุกสำหรับตัวเอง ความสนุกคือการที่เราไดทาทายกับความกลัว
ของตัวเองไดทำ ในสิ่งที่ไมเคยทำ มีพื้นที่ที่เราสามารถลองผิดลองถูกไดอยางปลอดภัย เพราะฉะน้ัน
นี่จึงเปนการบา นของครูวาจะทำอยางไรเพื่อสรางการเรยี นรูและออกแบบพื้นทีก่ ารเรียนรูใหกับเด็กๆ
เรียนรูบทเรียนตัวเองไดจากที่แนวทางการโคชชิ่งเปนการดึงศักยภาพของโคชชี่ดวยการทำใหโคชช่ี
ตระหนัก ในความสามารถของตนเองใหโ คช ชี่ มีวิธีการในการปฏิบัตเิ พ่ือใหบรรลเุ ปา หมายดวยวิธีของ
ตัวเองนั้น สวนหนึ่งคือการปรับพฤติกรรมของบุคคลถูกหลอหลอมและผานกระบวนการตางๆจน
บันทึกอยูในความจำ ดังนั้นการจะปรับพฤติกรรมจึงจำเปนที่จะตองมีกระบวนการที่จะทำใหบุคคล
ตระหนกั ยอมรับและตอ งการเปล่ียนดวยตัวเอง

2.1.4 วเิ คราะหบ ทบาทครกู ับการพฒั นาการศึกษาไทยยุคสงั คม New Normal
พระพรหมพิรยิ ะ ถาวโร (มาลยั รกั ษ) (2564: 9-10) กลาววา ความปกติใหมของภาค

การศึกษาไทยควรเปนการใหน้ำหนักแบบใหมเพื่อจัดการปญหาเดิมปรากฏการณของสถานการณ
แพรร ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ทที่ ำใหนกั เรยี นไมไดไปโรงเรียน ครูจัดการเรียน
การสอนไมไ ดเหมือนทผี่ านมาทำใหเ กดิ ความตระหนักรใู หมถึงสิ่งท่ีมีความสำคัญและจำเปนแทจริงตอ
การเรยี นรูข องนักเรียน เชน หลักสูตรแกนกลางทม่ี ีอยูเ ดมิ เทอะทะ เกนิ ไปและไมเ หมาะกับบริบทของ
เด็กแตละคน และกฎเกณฑเรื่องการแตงกายและการไวทรงผมไมมีความสำคัญ เมื่อเด็กเรียนรูอยูท่ี
บา น เปน ตน เราควรใชความตระหนกั รูทเ่ี กิดข้นึ จากสถานการณนี้ มาออกแบบอนาคตของการศึกษา
ไทย โดยใหน้ำหนักกับสิ่งที่สำคัญตอการเรียนรูของนักเรียนมากกวา เงื่อนไขที่ถูกกำหนดขึ้นเพื่อ
ตอบสนองนโยบาย แนวคิดหรือผลประโยชนบางอยางที่ไมสอดคลองกับการเรียนรูของนักเรียน เชน
ใหน้ำหนักกับปฏิสัมพันธที่มีคุณภาพระหวางครูและนักเรียน มากกวาจำนวนชั่วโมงที่นักเรียนอยูใน
หอ งเรยี นหรือเรียนผานส่ือโทรทัศนหรือสื่อออนไลน ใหน ำ้ หนักกบั การเรยี นรูทเี่ ช่อื มโยงกับความสนใจ
ของนักเรียน เชื่อมโยงกับชุมชนและบริบทที่นักเรียนอยูมากกวาการเรียนรูอิงตามมาตรฐานแบบ
เดียวกันทั้งประเทศใหน ้ำหนัก กับการประเมินผลเพ่ือการพัฒนาการเรยี นรูของนกั เรยี น (Formative
Assessment) จากชิ้นงานและพฤติกรรมของนักเรียนมากกวาการประเมิน เพื่อการตัดสิน
(Summative Assessment) เพื่อนำไปใช ใหคุณใหโทษแกโรงเรียนและบุคลากรทางการ ศึกษาให
นำ้ หนักกบั การชว ยเหลือนักเรียนทีม่ ีความทาทายในการเรียนควบคูกับการสงเสริมนักเรียนกลุมอื่น ๆ
ใหเต็มตามศักยภาพ เนื่องจากนักเรียนที่ขาดแรงจูงใจในการเรียนเปนทุนเดิมหรือมาจากครอบครัว
ยากจนมีแนวโนมจะหลุดออกจากระบบการศึกษามากขึ้น เมื่อสภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ ใหน้ำหนักกับ
การเรียนรูเพื่อสุขภาพกายและใจควบคูกับการเรียนรูดานวิชาการ สถานการณโรคระบาดสงผลตอ
สุขภาพกายและใจของทุกคนรวมถึงเด็ก ๆ ทุกวัย ความรู ดานวิทยาศาสตรของสมองชี้ใหเห็นวาการ

18

เรียนรูจะเกิดขึ้นไดยากเมื่อเด็กมีความเครียดหรืออยูในภาวะที่เปนอันตราย ครูจึงควรสอดแทรก
เนื้อหาความรูเรื่องสุขภาวะและการดูแลสุขภาพกายและใจ เพื่อให เด็กเรียนรูและปรับตัว ได
ทา มกลางสถานการณค รอบครวั และสังคมท่ีไมแนนอน ใหน ้ำหนกั กบั การจดั สรรทรัพยากรออฟไลนแก
เด็กและ ครอบครัว ควบคูกับทรัพยากรออนไลน เชน จัดสรรหนังสือเด็กใหแกครอบครัวดอยโอกาส
เพื่อเพิ่มโอกาสในการเรียนรูที่บานจัดใหมีอาสาสมัครติดตามสถานการณเด็กในแต ละครอบครัวและ
ใหความรูแกผูปกครองในการดูแลลูกในลักษณะเดียวกันกับอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมูบาน
(อสม.) ที่ใหความรูเรื่องการดูแลสุขภาพ เปนตน ควบคูไปกับการปรับปรุงโครงสรางพื้นฐานทาง
เทคโนโลยีของประเทศ ซึ่งจะเปนประโยชนกับประชาชนในดานตาง ๆ ไมเพียงแคการศึกษาเทานั้น
การสรางความปกติใหมตามขอเสนอนี้สามารถทำไดโดยไมจำเปนตองใชทรัพยากรมหาศาล เพียง
อาศยั การปรับมุมมองของผูกำหนดนโยบายปรบั กระบวนการทำงานของบคุ ลากรทางการศึกษา สราง
ความรวมมือระหวางหนวยงานภาครัฐ และหนวยงานภายนอกที่มีความเชี่ยวชาญในดานตาง ๆ
รวมถงึ ถอดบทเรียนองคความรูจากท้ังใน และตางประเทศ เน่ืองจากแนวทางการจัดการศึกษาท่ีกลาว
มานี้ คือ “ความปกตเิ ดมิ ” ท่เี กิดขนึ้

ในระบบการศึกษาของหลายประเทศทั่วโลก รวมถึงบางโรงเรียนในประเทศไทยท่ี
ปรับการเรียนรูสูศตวรรษที่ 21 มากอนหนานี้ และนาจะยังคงสอดคลองกับโลกในอนาคตมีหรือไมมี
สถานการณแ พรร ะบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ก็ตอ งรว มออกแบบความปกติ
ใหม ที่การศึกษาไทยตองการ (Desirable New Normal) แมไมมีสถานการณแพรระบาดของโรคติด
เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ระบบการศกึ ษาไทยก็กำลงั เปล่ียนแปลงอยตู ลอดเวลาจากปจจัย
ขับเคลื่อนจำนวนมากทั้งดานเศรษฐกิจ เชน สภาวะเศรษฐกิจที่ตกต่ำดานสังคม เชน โครงสราง
ประชากรที่เปลี่ยนแปลง ดานเทคโนโลยี เชน Disruptive Technology ที่ทำใหทักษะที่เปนท่ี
ตองการเปลี่ยนไป และดานการเมืองการปกครอง เชน การดำเนินนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ
เปนตน ผเู ขยี นมองวา สถานการณแ พรระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) เปนทั้ง
“ตัวเรงปฏิกิริยา” ที่ทำใหการเปลี่ยนแปลงท่ีรอทาอยูเกิดขึ้นเร็วขึ้น เชน การนำเทคโนโลยีเพื่อการ
เรียนรูมาใชในวงกวาง และเปน “ตัวหนวงปฏิกิริยา” ใหแผนการบางอยางชะลอออกไป เชน การนำ
รองทดลองใชหลักสูตรฐานสมรรถนะ ในปการศึกษา 2563 การเรงปฏิกิริยาและการหนวงปฏิกิริยา
ของสถานการณแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สงผลใหผูที่เกี่ยวของ
บางสวนตองปรับตัวดวยความจำเปนเชนเดียวกับแรงดึงและแรงผลักของปจจัยขับเคลื่อนตาง ๆ ที่มี
ผลกระทบตอการศึกษาไทยมาโดยตลอด หากขาดการออกแบบเชิงรุกและการตั้งรับปรับตัวของผูมี
สว นไดสว นเสียในภาคการศกึ ษา ก็เปนไปไดส ูงมากวาอนาคตของการศึกษาไทยจะเคลื่อนคลอยไปตาม
แรงเหลานี้จนไมสามารถควบคุมทิศทางไปสูจุดหมายที่ตองการได ดวยเหตุนี้ ผูวิจัยเชื่อวา
การจนิ ตนาการถึงความปกติใหมท่ีกำลังจะมาถึงไมควรถูก ตกี รอบไวด ว ยสถานการณความจำเปนจาก
สถานการณก ารแพรระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) และปจจัยอนื่ ๆ ทีค่ วบคมุ
ไมไดเทานั้น แตควรเปนการจินตนาการถึง “ความปกติใหมที่เปนที่ตองการ” (Desirable New
Normal) จากการหารอื และวางแผนรวมกนั ของบุคคลทีม่ สี วนเก่ยี วของในทกุ ภาคสวน ตัง้ แตผ กู ำหนด
นโยบาย ผูบริหารสถานศึกษา ครู บุคลากรทางศึกษา ผูประกอบการในภาคธุรกิจและภาคประชา
สังคม พอแม ผูปกครอง และที่สำคัญที่สุด คือตัวนักเรียนเอง ครูตองอบรมสั่งสอนฝกฝน สรางเสริม

19

ความรูทักษะและนิสัยท่ีถูกตองดีงามใหเกิดแกศิษยอยางเตม็ ความสามารถดว ยความบรสิ ุทธิใ์ จ ต้ังแต
การเลือกกำหนดกิจกรรมการเรียนที่มุงผลตอการพัฒนาในตัวศิษยอยางแทจริงการจัดใหศิษย
มีความรับผิดชอบ และเปนเจาของการเรียนรู ตลอดจนการประเมินรวมกับศิษย ในผลของการเรียน
และการเพมิ่ พนู การเรียนรภู ายหลังบทเรยี นตา งๆ ดวยความปรารถนาที่จะใหศ ิษยแ ตล ะคนและทุกคน
พัฒนาไดอ ยา งเตม็ ศักยภาพ

การศึกษาไทยในยุค New Normal นอกจากการปรับรูปแบบ New Normal
ในชีวิตประจำวัน “โรงเรียน” ก็ตองมีการปรับรูปแบบการเรียนการสอนเชนกันเพราะจากการระบาด
ของ โรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่สง ผลกระทบใหส ถาบนั การศกึ ษาท่วั ประเทศถูกส่ัง
ปดเพื่อปองกันการแพรระบาดของโรค ทำใหนักเรียน นักศึกษา และ ครูผูสอน ตองปรับตัวเขาสูการ
เรียนการสอนแบบออนไลน เพอ่ื ใหห ลักสูตรยังคงดำเนนิ ตอไปไดอ ยางไมขาดตอน เกิดคำถามมากมาย
วาจะทำอยางไรใน การจัดการให การเรียน การสอน สามารถเขาถึงเด็กนักเรียนทุกคนไดอยางมี
ประสิทธิภาพทุกความทาทายของการจัดการ ไมวาจะเปนระบบอินเทอรเน็ตที่ตองมีความเสถียร
ระบบถายทอด ผานทีวีอุปกรณเทคโนโลยี ในชุมชนที่ขาดแคลนการจัดตารางเรียน พรอมทั้ง
ความสามารถในการสอนออนไลนของครผู ูส อนเอง เปน โจทยส ำคัญท่ีไมอาจมองขามไดและควรไดรับ
การพัฒนา อยางไรก็ตามการปรับตัว ที่เกิดขึ้นทำใหเราเห็นถึงประโยชนมากมาย เพราะนักเรียน
คุนเคยกับการใชเทคโนโลยีในดานที่เปนประโยชนกอนหนานี้การเขาสูโลกออนไลนเปนเพียงแคเพื่อ
การบันเทิง แตเมื่อนักเรียนตองเขาเรียน ในระบบออนไลนทำใหเด็กนกั เรยี นหลายคน คุนเคยกับการ
เรียนรูผานหนาจอคอมพิวเตอร สิ่งนี้ชวยใหพวกเขามีทัศนคติที่ดีตอการเรียนออนไลนและยังฝกใหมี
ความรับผิดชอบตอตัวเองในการจัดการเวลาและการศึกษาเองที่บานแตอยางไรก็ตามการเรียนในยุค
วิถีใหมบทบาททีส่ ำคัญของครูท่ีเปนผูสอนโดยการใหความรูอยางเดียวตองเปลีย่ นแปลงไปเพราะการ
เรียนรูของผูเรียนแตละบุคคล เกิดขึ้นจากการลงมือปฏิบัติดวยตนเองจนมีประสบการณสวนบุคคล
และนำประสบการณเหลา นั้นมาวเิ คราะหและ สังเคราะหเปนองคความรูและเมือ่ ปฏิบัตบิ อ ย ๆ ซ้ำ ๆ
จะพัฒนาเปนทักษะสั่งสมเปนความเชี่ยวชาญในที่สุดการเรียนรู ของแตละบุคคลนั้นเกิดจากการมี
ประสบการณตาง ๆ ของบุคคลนั้นเองและสามารถเรียนรูไดตลอดชีวิตและนำไปสูการเปลี่ยนแปลง
ความคิด และพฤติกรรมโดยเฉพาะดานความคิดนั้นเปนพลังที่นำไปสูการสรางสรรค สิ่งตาง ๆ ที่เปน
ประโยชนตอสวนรวมซึ่งเปน ส่ิงสำคัญและจำเปนสำหรับการดำรงชีวิตอยางมีคุณภาพ ในโลกปจจุบัน
และอนาคต

สำหรบั ประเทศไทย ความทาทายในการเปลย่ี นคร้ังน้ีไมใชแ คการแกไขปญหาเฉพาะ
หนาในสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เทานั้น แตควร
เปนการ “เปลี่ยนวิกฤติใหเปนโอกาส” ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนใหดีกวาเดิม ดังนั้น
มาตรการการเรียนรูของไทยจึงไมควรปรับแคกระบวนการเรียนรูในหองเรียน แตตองปรับใหญทั้ง
ระบบการเรยี นรูท่ีตองสอดคลองกันและเชอ่ื มโยงกับการเรยี นรูของเดก็ โดยควรดำเนินการ ดังนี้

1) กระชับหลักสูตรปรับใหสอดคลองกับสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และสื่อสารใหผูเกี่ยวของทุกภาคสวนทราบหลักสูตรการศึกษา
พื้นฐานของไทย ในปจจุบันเนนเนื้อหามากครูจำเปนตองใชเวลามากเพื่อสอนไดครบถวน และไมเอื้อ
ใหนักเรียนมีสวนรวม (Active Learning) เทาที่ควรและหากยังใชหลักสูตรเดิมในการเรียนการสอน

20

ภายใตสถานการณการ แพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ครูจะตองใชเ วลา
สอนมากข้ึนเพ่ือสอนใหครบถวนการปรับหลักสูตรใหกระชับ ควบคูไปกับจดั ลำดับความสำคัญรวมทั้ง
ผอนคลาย ตัวชี้วัดเรื่องโครงสรางเวลาเรียนจะสามารถชวยลดความกดดัน โดยยังคงคุณภาพขั้นต่ำ
ไวได ตัวอยางของมลรัฐ Alberta ประเทศแคนาดา ไดกระชับหลักสูตรโดยเนนเนื้อหาจำเปนตาม
มาตรฐานของแตละชวงวัย เพื่อใหครูสามารถนำไปวางแผนการสอนและใชเวลาไดอยางเหมาะสม
รวมทัง้ ออกคูมือหลกั สูตรฉบับยอ สำหรบั ผปู กครอง เพือ่ ส่อื สารใหเขา ใจถงึ หลักสูตรทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป

2) หลักสูตรแกนกลางของประเทศไทยจัดประเภทตัวชี้วัดแลว แตตองเพิ่มความ
ชัดเจนในการสื่อสารแกครูและผูปกครอง หลักสูตรแกนกลางของไทยกำหนดตัวชี้วัด “ตองรู” และ
“ควรร”ู ในแตล ะสาระวชิ าแลว แตตอ งเพ่ิมความชัดเจน โดยระบุเน้ือหาจำเปนของแตล ะชวงวัย และ
เปดใหครูมีอิสระในการจัดการเรียนรูเนื้อหาสวนอื่น ๆ ตามความเหมาะสมในขณะเดียวกัน
กระทรวงศึกษาธิการควรใหศึกษานิเทศกทำหนาที่เปนโคชใหกับครู โดยใหคำแนะนำในการเลือก
ตัวช้ีวัดและเนื้อหานอกเหนือจากสว นที่จำเปนเพื่อใหเหมาะกับบริบทและสถานการณของพ้ืนที่ อีกท้ัง
กระทรวงศึกษาธิการควรออกคูมือหลักสูตรฉบบั ยอสำหรับผูป กครอง เพื่อใหผูปกครองเขาใจบทบาท
ใหม และสามารถติดตามการเรียนรูของเด็กได นอกจากน้ี โรงเรียนตองไมละเลยการใหความรูแก
นกั เรียนแตละชวงวยั ในการปองกันตนเองจาก โรคระบาด ซง่ึ องคกรอนามัยโลกไดจ ดั ทำคมู ือไวแ ลว

3) เพิ่มความยืดหยุนของโครงสรางเวลาเรียนและความหลากหลายของรูปแบบ
การเรียนรู ความยืดหยุนในการใชเวลาและการเลือกรูปแบบการเรียนจะทำใหครูสามารถออกแบบ
หนวยการเรียนรูที่เหมาะสมและสงเสริมการเรียนรูรายบุคคล (Personalized Learning) ไดดัง
ตัวอยางของ มลรัฐ Alberta ประเทศแคนาดา ซึ่งมีแนวทางสนับสนุนใหครูจัดการเรียนรูดวยแบบ
ผสมผสาน (Blended learning) โดยแนะนำการกำหนดจำนวนชวั่ โมงการเรยี นรรู ูปแบบตาง ๆ ไดแ ก

(1) ชั่วโมงเรียนรูผานจอสำหรับเด็กแตละชวงวัย โดยคำนึงถึงพัฒนาการ
ดานรา งกาย (ปญ หาดานสายตา) และพฒั นาการดา นสงั คม (ปฏสิ ัมพนั ธก บั ผอู ่ืน)

(2) ชั่วโมงการเรียนรูดวยตนเองที่บานจากการทำใบงาน ชิ้นงาน คนควา
ดวยตัวเอง

(3) ชั่วโมงท่คี รแู ละนักเรียนทำกิจกรรมเรียนรรู วมกัน
สว นในกรณีของสหรฐั อเมริกา พบวา ใหค วามสำคญั ตอการตอบสนองของผูเรียนแต
ละคนแตกตางกัน โดยจัดทำฐานขอมูลของสื่อการเรียนรูตาง ๆ ที่ครูและนักเรียนสามารถเขาถึงได
อยา งอิสระโดยไมเ สียคาใชจาย นอกจากนยี้ งั เปด ชองใหห นวยงานอื่น ๆ และแหลง เรยี นรใู นพน้ื ที่ เชน
พิพิธภัณฑ หองสมุดชุมชน เขามามีสวนรวมในการสนับสนุนการเรียนรูของเด็ก ในขณะที่นิวซีแลนด
เตรียมชุดการเรียนรูพื้นฐานใหนักเรียน ซึ่งประกอบดวยคูมือออนไลน และชุดการเรียนรู (สื่อแหง)
เพื่อใหน กั เรยี นทกุ คนทั้งที่สามารถเขาถึงและไมส ามารถเขา ถงึ ระบบเรยี นออนไลนส ามารถใชเรยี นรไู ด
สรุปไดวา หลักสูตรแกนกลางของไทยเปดใหมีความยืดหยุนในการกำหนดชั่วโมง
เรียน แตก็ยังมีขอกำหนดเกี่ยวกับโครงสรางเวลาเรียนที่คอนขางแข็งตัว ดังนั้น การชวยผอนคลาย
โครงสรางเวลาเรียนลงและเปดชองทางการสื่อสารใหครูไดสอบถามขอสงสัยจะชวยสรางความมั่นใจ
ใหแกครูใน การออกแบบการเรียนรูที่ยืดหยุน นอกจากนี้การเปดใหเอกชน และภาคประชาสังคมที่มี

21

ความเชี่ยวชาญ ดานระบบการเรียนรูและสื่อการเรียนรู เขามามีสวนรวมพัฒนาแลกเปลี่ยนเครื่องมือ
และเทคนิคใหม ๆ ซึง่ จะชว ยเพิม่ ทางเลอื กท่หี ลากหลายและเหมาะสมกบั เดก็ มากข้นึ

2.1.5 การออกแบบหนว ยการเรียนรูแ ละสอนอยางมีแผนท่เี หมาะสม
ในสถานการณที่เปลี่ยนไปครูจะตองเตรียมความพรอมกอนการสอนแบบใหมวิธีการหนึ่ง

คอื การออกแบบหนวยการเรียนรู ซงึ่ จะนำไปสกู ารจัดการเรียนรูฐานสมรรถนะหลังการระบาดของโค
วิดส้นิ สดุ ลง ท้งั นค้ี วรเร่มิ ตน โดยการจัดกลมุ ตัวชี้วัดใหเ ปนหนวยการเรยี นรู ซึ่งจะทำใหแผนการเรียนรู
มีความยืดหยุนตามสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เชน
ครูสามารถออกแบบหนวยการเรียนรูหนว ยละ 2 สัปดาห เพื่อใหสอดคลองกับระยะเวลาการประเมนิ
สถานการณการระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ทง้ั นี้ หากครูสามารถออกแบบ
หนวยการเรียนรแู ตล ะหนวย ใหรอยเรยี งกันอยา งเปน ระบบทงั้ ภาคเรียนหรือทั้งป ก็จะชว ยใหน กั เรียน
สามารถพัฒนาตนเองตามศักยภาพไดดียงิ่ ข้นึ และไดพฒั นาทักษะการเรยี นรูดว ยตนเอง ซ่ึงเปนทักษะ
จำเปนสำหรับการดำรงชีวิตในอนาคต ในทางปฏิบัติการจัดหนวยการเรียนรูสามารถจัดตามเนื้อหา
หรือตามประเด็นท่ีนาสนใจ และยงั สามารถบรู ณาการขามวชิ าหรือในวชิ าเดยี วกนั หลงั จากน้ันครูควร
กำหนดคำถามสำคญั ของแตละหนว ย และวางแผนการติดตามการเรยี นรตู ามตวั ช้ีวัดดา นความรูทักษะ
และเจตคติอยางชัดเจน เลือกสื่อการเรียนรูที่เหมาะสมกับเด็กและสื่อสารกับ พอ แม ผูปกครอง ให
ทราบถงึ บทบาททจี่ ะเปลี่ยนไป เนือ่ งจากการเสริมทกั ษะออกแบบหนว ยการเรียนรู ตั้งคำถาม เลือกใช
สื่ออยางเหมาะสม จะทำใหครูออกแบบหนวยการเรียนรูไดมีคุณภาพมากขึ้น ดังนั้น
กระทรวงศึกษาธิการควรจะสนับสนุนการเพิ่มทักษะเหลานี้ตามความตองการของครูในแตละพื้นท่ี
โดยอาจจะเปดใหผเู ช่ยี วชาญในภาครฐั ภาคเอกชนและประชาสงั คม ชว ยพัฒนาศักยภาพครูใหตรงกับ
ทักษะที่ตองการ และสนับสนนุ ใหมกี ารเพิม่ ทักษะใหแกศึกษานิเทศก เพื่อเปน “โคชหนา งาน” ใหแก
ครตู อไป

2.1.6 การยกระดับการประเมนิ เพ่ือการพฒั นา (Formative assessment)
เพื่อไมใหเด็กเสียโอกาสพัฒนาความรูและทักษะ เมื่อนักเรียนไปโรงเรียนตามปกติ

ไมได ครูกับนักเรียนก็จะมีปฏิสัมพันธตอกันลดลง ทำใหครูไมสามารถติดตามพัฒนาการของนักเรียน
ไดเต็มที่อาจทำใหไมสามารถรูปญหาของนักเรียนไดทันเวลาโดยเฉพาะความรูดานภาษาและการ
คำนวณ ซงึ่ อาจจะสงผลเสียตอการเรียนรูระยะยาว การประเมนิ เพอ่ื พฒั นาจงึ ไมสามารถลดหรือละท้ิง
ไปไดทั้ง การประเมินเพื่อการเรียนรู (Assessment for learning) ของเด็กเพื่อใหครูทราบถึง
กระบวนการเรยี นรู ของเดก็ โดยจะสามารถให Feedback กับเดก็ และปรับแผนการเรียนรูไดตรงตาม
สถานการณ และการประเมินซึ่งทำใหเกิดการเรียนรู (Assessment as learning) ของเด็ก โดยครู
เปด โอกาสใหเ ดก็ ยอ นคิดถึงกระบวนการเรียนของตนเอง กระบวนการน้ีจะทำใหเดก็ มีความรับผิดชอบ
และเปนเจาของ การเรียนรูของตนเองมากขึ้น รวมถึงเมื่อเด็กเขาใจตนเองก็จะเปนโอกาสที่จะวาง
แผนการเรียนรูของตนเองรวมกับผูปกครองและครูได การประเมินเพื่อพัฒนาทั้ง 2 ลักษณะจึงตอง
อาศัยการทำงานรวมกันระหวางเด็ก ผูปกครองและครูมากขึ้น วิธีหนึ่งที่ทำไดคือ การประเมินเพื่อ
พัฒนาอยางไมเปนทางการรายบุคคล (Personalized check-ins) เพื่อติดตามการเรียนรูสขุ ภาพกาย
และสุขภาพจิตของนักเรียนโดยใหผูปกครองเขามามีสว นรวมดวย ในกรณีของเด็กโต อาจจะเพิ่มการ

22

ประเมินตนเองและการประเมินเพื่อน (Self & peer Assessment) เขาไปดวย ซึ่งจะมีประโยชนใน
การชวยฝกทักษะการสะทอนคิดใหเด็กไดอีกทางหนึ่งดวย การประเมิน เพื่อพัฒนาจะประสบ
ความสำเรจ็ กต็ อ เม่อื มีสภาพแวดลอ มท่เี หมาะสม คือ

1) มกี ารเสริมศกั ยภาพครใู นการใชแ ละออกแบบเครื่องมือประเมิน
2) มีการใหเอกชน และภาคประชาสังคมที่มีความเชี่ยวชาญดานการประเมิน
เขา มารวมพัฒนาเครอ่ื งมอื การประเมินใหม ๆ
3) มกี ารเปด เวที (Platform) การแลกเปลี่ยนเรียนรรู ะหวา งครูกบั ผูเ ช่ยี วชาญ
2.1.7 การประเมนิ เพอื่ รบั ผดิ รบั ชอบ (Assessment for accountability)
การประเมินเพื่อรับผิดชอบยังคงควรไวแตควรใหน้ำหนักการประเมินโอกาสทาง
การเรยี น ของเดก็ มากกวา การวัดความรูด ว ยคะแนนสอบ สถานการณโ รคระบาดในปจ จบุ นั ทำใหต อง
ใชรปู แบบการเรยี นการสอน ที่หลากหลาย ดงั นนั้ คณุ ภาพการศกึ ษาท่ีเด็กจะไดรับในแตละพ้ืนที่จะไม
เหมอื นกัน จึงไมส ามารถใชค ะแนนวดั ความรู หรอื ทักษะแบบเดยี วกันเพอ่ื ใหเกิดความรับผิดรับชอบได
มิฉะนั้นก็อาจสงผลใหเกิดความเหลื่อมล้ำมากขึ้น กระทรวงศึกษาธิการจึงควรปรับเกณฑขอสอบวัด
ความรู (Test-Based) มาสกู ารใหน ำ้ หนักกบั ตัวช้ีวัดที่ไมใชดา นวิชาการ (Non- Academic Measure)
มากขึ้น เชน อัตราการเขาเรียน (attendance rate) หรืออัตราการออกกลางคัน (Drop-out Rate)
เปนตน โดยการเก็บขอมูลตัวชี้วัดเหลานี้ที่สามารถใชเทคโนโลยีเขามาชวย เพื่อลดภาระครู เชน
ใชระบบ Google Classroom บันทึกการใชงาน ซึ่งจะชวยทำใหเขตพื้นทีส่ ามารถติดตามและใหการ
สนับสนุนโรงเรียน ไดตรงกบั ความตองการมากขึ้นดวย

2.2 การยกระดบั ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น

2.2.1 ความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเปนภารกิจที่สำคัญที่สุดของสถานศึกษาซึ่งสำนักงาน
การศึกษามีบทบาทหลักในการสนับสนุน สงเสริม อำนวยการใหโรงเรียนไดดำเนินการเพื่อพัฒนา
นักเรียนทุกคนที่ไดเขาเรียน และจบการศึกษาอยางมีคุณภาพสูงตามเกณฑ เปาหมาย และมาตรฐาน
ของหลกั สูตรใหน ักเรยี นไดพ ัฒนาเตม็ ศักยภาพเปน รายบุคคลและทุกคน
สพุ กั ตร พิบูลยจากมหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช
(http://www.gotoknow.ovg/blog/sur001/278591) ไดเสนอแนวคิดในการพัฒนา
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใชแนวคิด “Empowerment Approach และ Theory- Driven
Approach ไวนา สนใจ ดงั มี รายละเอยี ดของกระบวนการยกระดับผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน พอสรปุ ได
ดงั นี้
ขั้นที่ 1 Taking Stock คือ การตรวจสภาพปจจุบันเกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหรือผล
การ ประเมินคุณภาพโรงเรียน เพื่อวิเคราะหวาโรงเรียนเรามีคุณภาพมากนอยเพียงใดเปน
การวิเคราะหและจัดทำฐานขอมูล (Baseline) เชน พิจารณาจากผลการสอบ O-NET, NT หรือ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนประจำปของสถานศกึ ษา

23

ขั้นที่ 2 Setting Goal เปนการกำหนดเปาหมายความสำเร็จ เปนตนวา ภายในป 2565
เราตอ งมี

1) ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในระดับดีมาก
2) กลมุ สาระการเรียนรูห ลักอยางนอยรอยละ 90 อยใู นระดับดีมาก
3) ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน โดยเฉพาะการประเมิน O-NET จะตอ งเพิม่ ขึ้นอยางนอย
รอยละ 3 ของฐานเดมิ
ขั้นที่ 3 Developing Strategies and implementing มุงพัฒนากลยุทธแลวนำกลยุทธ
สกู ารปฏบิ ตั ิ ตวั อยา งของกลยุทธ เชน
1) ขับเคลื่อนหองเรียนคุณภาพ หรือประกันคุณภาพแตละรายวิชาแตละกลุมสาระ
การเรียนรูแมแตครูทุกคนตองตั้งเปา หมายในการพัฒนาคุณภาพ และดำเนินการยกระดับคุณภาพให
ไดต ามเปาหมาย การนยิ ามวา “ผูนำการเปลีย่ นแปลง ก็คือ ผูท่ีทำงานสำเรจ็ ใครสามารถทำผลงานปน้ี
ไดด กี วา ปท แ่ี ลว เรียกวา ผนู ำการเปล่ียนแปลง”
2) ปฏิรูปการบริหารจัดการหองเรียนประจำชั้นกำหนดเกณฑ “หองประจำ
ช้ัน/ ท่ปี รึกษาคณุ ภาพ”
3) บริหารจัดการสถานศึกษาที่เนนการขับเคลื่อนเชิงทฤษฎีอยางเปนระบบตาม
กรอบหลกั วิชา
ขั้นที่ 4 Documenting Progress เปนขั้นตอนการประเมินรวบรวมเอกสารหลักฐานที่แสดง
ถึง ความกาวหนาของงานตามเปาหมาย ทั้งนี้ การดำเนินงานแตละขั้นตอนเนน “การมีสวนรวม”
ของครู อาจารย ผเู ก่ยี วขอ ง ฝา ยตาง ๆ เชน กรรมการสถานศึกษา เครอื ขา ยผูปกครอง สมาคมศิษยเกา
เปนตน นอกจากนี้ ดร.จันทมา นนทิกร (http://info.thaihealth.or.th/library/hot/12444)
โดยโครงการพัฒนาโรงเรียนเขมแข็งดวยการจัดการความรู (Healthy School by Knowledge
Management) มูลนิธิสถาบันวิจัย และพัฒนาการเรียนรู (มสวร.) ไดสังเคราะหวิธีการปฏิบัติที่เปน
เลิศ (Best Practices) เรื่อง การยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน จาก 16 โรงเรียนดีเดนแลวจำแนก
เปน ประเด็นหลกั เพอื่ อธิบายวิธีปฏิบตั ิ ดังนี้
1) การบริหารจัดการเพ่ือยกระดับผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นมวี ิธกี ารดำเนนิ การ ดังนี้

(1) การจัดการความรูเพื่อกำหนดนโยบาย และจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพ
การศกึ ษาของโรงเรียน

(2) การวิเคราะหสภาพการจดั การศกึ ษาของโรงเรียน
(3) การกำหนดยุทธศาสตรในการพัฒนากระบวนการยกระดับผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน
(4) การนิเทศภายในแบบกัลยาณมิตร
(5) การประสานงานกบั ผปู กครองเพ่อื เฝา ระวงั และตดิ ตามแกไขปญหา

24

2.2.2 วิธีการยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน
ดำเนินการได 3 รปู แบบ คอื
รูปแบบที่ 1 การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนใหสูงขึ้นตามเกณฑที่คาดหวงั
มีวธิ กี ารดำเนนิ การ ดงั นี้

1) การปรับเปลย่ี นทาทขี องครูในการจดั การเรยี นรู
2) การกำหนดเกณฑท ค่ี าดหวงั และเกณฑก ารประเมนิ ผล
3) การจดั กลมุ ผเู รียนทเี่ หมาะสม
4) การกำหนดรปู แบบการพัฒนาการเรียนรแู ละการจดั กจิ กรรม
รูปแบบท่ี 2 การยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นเพ่อื มุงสคู วามเปน เลิศ
1) การจดั การเรยี นรแู บบหอ งเรียนพเิ ศษ
2) การจดั กจิ กรรมการเรียนรูเพอ่ื สง เสรมิ ความเปนเลิศ
รูปแบบท่ี 3 การชว ยเหลอื นักเรยี นทไี่ มผ า นเกณฑก ารจบหลักสูตร
1) การดแู ลใกลช ดิ เพื่อปรบั พฤติกรรมและใหโ อกาสนกั เรียน
2) การเพมิ่ พนู ผลสมั ฤทธ์ิเพอ่ื ใหไดตามเกณฑก ารจบหลกั สูตร
3. การจัดหลักสูตรนอกระบบ เปนการจัดหลักสูตรพัฒนาผลสัมฤทธิ์โดยไมติดระบบปกติ
ซึง่ อาจใชน วัตกรรมในการบริหารและดำเนนิ การ
กลาวโดยสรุป แนวคิดหลักการในการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนนี้
โรงเรียน ตองวางแผนการขับเคลื่อนอยางเปนระบบ เชื่อมประสานกับผูเกี่ยวของทุกฝายทั้งภายใน
โรงเรียนและนอกโรงเรียน ทำงานรวมกันอยางบูรณาการ บนพื้นฐานสังคมแหงการเรียนรู โดยมี
เปาหมายที่กำหนดอยางชัดเจน โดยตั้งเกณฑ การมีผลการทดสอบ Ordinary National Education
Test (O-Net) และ National Test (NT) เพิ่มขึ้นรอยละ 3 ในทุกรายวิชา โดยกำหนดแนวทางการ
ดำเนนิ งาน 13 ขน้ั ตอน
1) จัดทำ/ปรับโครงการยกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใหครอบคลุมทุกกิจกรรมท่ี
กำหนด
2) เมื่อวางแผนการสอนตามมาตรฐานและตัวชี้วัดแลวใหโรงเรียนตรวจสอบการ
วิเคราะหหลักสูตรการกำหนดหนวยการเรียนรูวาครอบคลมุ หรือไม หากไมครอบคลุมใหสอนเพิ่ม ใน
สว นทต่ี กหลนไปและครบทุกกลุมสาระการเรยี นรู นำคลังคำศัพทภ าษาไทย ภาษาอังกฤษ ซึ่งเปนคลัง
คำศัพทที่ใชเปนกรอบในการสรางขอสอบโอเน็ต ของ สทศ. ไปใชสอนติวนักเรียนใหครบทุกคำ
(โดยเฉพาะภาษาอังกฤษใหอานออกและบอกความหมายได โดยสอนใหนกั เรียนจำใหไดมากท่ีสุดตาม
ศกั ยภาพของนักเรยี น แตล ะคน)
3) จัดกิจกรรมติวขอสอบตามแนวขอสอบของ สทศ. ในชั้น หรือ กำหนดกิจกรรม
วนั เวลา ใหช ดั เจน
4) ครูผูรับผิดชอบในโรงเรียนทุกคนรวมกันสรางขอสอบตามแนวขอสอบของ สทศ.
แลว แลกเปล่ยี นขอสอบผานเครือขายอนิ เทอรเน็ต

25

5) นำแนวขอสอบ NT / O-NET ไปใชติวขอสอบในชั้นเรียนใหนักเรียนคุนเคยและ
มปี ระสบการณก ารทำขอสอบ (รูปแบบขอ สอบ/กระดาษคำตอบ/การระบายคำตอบฯ)

6) ผูบริหารกำหนดปฏิทินการนิเทศภายในโรงเรียนเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์
ทางการเรยี นใหช ดั เจน (กำหนด วันที่ กจิ กรรมท่ตี องทำ)

7) ผูบริหารติดตามการนำขอสอบ PRE-NT / O-NET ไปใชในสถานศึกษา การนำ
ขอสอบ PRE-NT / O-NET ไปใชในชั้นเรียน ติดตามผลการทำงานของครูผูรับผิดชอบทุกระยะอยาง
ใกลช ิด เพอื่ ใหดำเนนิ งานบรรลุตามแผนงานหรือแกไขปญ หาตาง ๆ ไดท นั เวลา

8) จัดกิจกรรมติวขอสอบใหตอเนื่องกอนถึงวันสอบจริง O-NET / NT สอบเดือน
กมุ ภาพนั ธ

9) จัดสอบเสมือนจริง (ในโรงเรียนของตนเอง) โดยใชขอสอบ กระดาษคำตอบ
การคุมสอบ เวลาสอบ เสมือนจริงทุกประการ โดยใชขอสอบซึ่งจัดทำขึ้นตามแนวขอสอบของ สทศ.
บันทึกผลการสอบ ตรวจคำตอบ และวิเคราะหผลการทดสอบเพื่อปรับปรุงแกไขนักเรียนกอนวันสอบ
จริง

10) จัดกิจกรรมเสริมแรงทางบวก (จัดอาหารวางน้ำหวาน ขนมชวงพักสอบ)
สรา งบรรยากาศผอนคลาย ทำสมาธิกอนเวลาสอบ

11) ประชาสัมพันธความสำคัญของการสอบ NT, O-NET ทกุ สัปดาห
12) ประกาศ/ปา ย นบั เวลาถอยหลัง Count Down ทุกวัน
13) โรงเรียนใหร างวัลนักเรียนท่ีมคี ะแนนสอบสูง/ มคี วามกาวหนา สงู
2.2.3 พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 ฉบับแกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.
2545 และฉบับแกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2553 กับการเรียนรูในการยกระดับผลสัมฤทธ์ิ
ทางการศกึ ษา
ไดมีการประกาศอยางชัดเจนเกี่ยวกับหัวใจของการปฏิรูปการศึกษาคือ การปฏิรูปการ
เรียนรู และหัวใจของการปฏิรูปการเรียนรูคือ การปฏิรูปจากการยึดวิชาเปนตัวตั้ง มาเปนยึดมนุษย
หรือผูเรียนเปนตัวตั้ง หรือที่เรียกวาผูเรียนเปนสำคัญ สิ่งที่ตองทำใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในการจัด
การศกึ ษาไทยคือแนวคิดและการปฏิบัตขิ องผูทเ่ี ก่ียวของกับการจดั การศึกษาโดยตรง รวมไปถึงผูเรียน
ที่จะตองรับรูถึงบทบาทหนาที่ของตน ในฐานะเปนผูเรียนและผูปกครองหรอื ประชาชนทั่วไป จะตอง
รับรแู ละยอมรับ ในรูปแบบหรอื วิธีดำเนนิ การ ทีบ่ ุตรหลานของตนจะไดร ับในลกั ษณะทแี่ ตกตางไปจาก
เดิมการเปลี่ยนแปลงดังกลาว ควรเริ่มตนจากการทำความเขาใจสาระของพระราชบัญญัติการศึกษา
แหงชาติ พ.ศ.2542 ฉบับแกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 และฉบับแกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่3)
พ.ศ.2553 ในสวนที่เกี่ยวของกับแนวการจัดการศึกษา คือ หมวด 4 ซึ่งไดกลาวถึงรายละเอียดท่ี
เกยี่ วของไว 8 เรอ่ื ง ใหญ ๆ คือ
2.2.3.1 หลกั การจัดการศกึ ษา (มาตรา 22)
2.2.3.2 สาระการเรียนรู (มาตรา 23)
2.2.3.3 กระบวนการเรยี นรู (มาตรา 24)
รายละเอียด มดี งั ตอ ไปน้ี

26

หลักการจัดการศึกษา มาตรา 22 ระบุวา หลักการจัดการศึกษาตองยึดหลักวา
ผูเรียน ทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองไดและถือวาผูเรียนมีความสำคัญที่สุด
กระบวนการจัดการศึกษาตองสงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ
ประเด็นสำคัญสาระนี้ คือ ผูเรียนมีความสำคญั ที่สุด หมายความวา ในการจัดการศกึ ษาครหู รือบคุ คล
ท่เี ก่ยี วขอ งจะตองคำนงึ ถึงผูเรยี นเปนอนั ดบั แรกในการจดั การเรยี นการสอน ตองใหผ ูเ รยี นไดมีบทบาท
สำคัญในการเปนผูเรียนเพื่อนำความรูตาง ๆ ไปปฏิบัติได ควรจะเริ่มตนจากการทำความเขาใจที่
ถูกตองเกี่ยวกับความหมายของการเรียนรู เพื่อที่ผูเกี่ยวของจะไดปฏิบัติหนาที่ของตนไดอยางถูกตอง
กลาวคือ ครูจะไดรูวาจะสอนอยางไรใหผูเรยี นเกิดการเรียนรู ผูบริหารโรงเรียนไดรูวาจะสนบั สนุนครู
อยางไรในการจัดประสบการณใหกับผูเ รียนหรอื ตรวจสอบวาการจัดประสบการณการเรียนรูที่ครูทำ
เหมาะสมหรอื ไม ควรใหก ารชวยเหลือและใหกำลังใจครูอยางไร และพอแม ผปู กครองไดรูวาส่ิงท่ีบุตร
หลานควรไดรบั คอื อะไร

ทิศนา แขมมณี (2557: 15) อธิบายความหมายของการเรียนรูวา เปนกระบวนการ
ทางสตปิ ญญาและกระบวนการทางจิตใจของบุคคลในการรับรูสิ่งตางๆ และพยายามสรางความหมาย
ของสิ่งเรา หรือประสบการณที่ตนไดรับ เพื่อใหเกิดความเขาใจในประสบการณนั้นโดยอาศัย
กระบวนการทางสังคมเขามาชวย เปาหมายของการเรียนรูคือการนำความรูไปใชเพื่อปรับปรุง
เปลี่ยนแปลงตนเอง ทั้งทางดานเจตคติ ความรูสึกความคิดความเขาใจและกระบวนการตาง ๆ
ในการดำรงชวี ิต รวมกบั ผูอนื่ และสรุปวาการเรยี นรูเปนกระบวนการทมี่ ลี ักษณะ ดงั ตอไปน้ี

1) การเรียนรูเปนกระบวนการทางสตปิ ญ ญาหรือกระบวนการทางสมอง ซ่ึง
บุคคลใชในการสรางความเขาใจหรือสรางความหมายของสิ่งตางๆ ใหแกตนเอง ดังนั้นกระบวนการ
เรียนรูจึงเปนกระบวนการของการจัดการทำตอขอมูล และประสบการณ มิใชเพียงการรับขอ มูล หรือ
ประสบการณเทา นัน้

2) การเรียนรูเปนงานเฉพาะตนหรือเปนประสบการณสวนตัวที่ไมมีผูใด
เรยี นรหู รอื ทำแทนกันได

3) การเรียนรูเปนกระบวนการทางสังคม เนื่องมาจากบุคคลอยูในสังคมซึ่ง
เปนสิ่งแวดลอมที่มีอิทธิพลตอตน การปฏิสัมพันธทางสังคมจึงสามารถกระตุนการเรียนรูและขยาย
ขอบเขตความรูไ ดดว ย

4) การเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นได ทั้งจากการคิด และการกระทำ
รวมทงั้ การแกป ญ หาและการศกึ ษาวิจัยตางๆ

5) การเรยี นรเู ปนกระบวนการท่ตี ื่นตัว สนุก ทำใหผ ูเ รยี นรูสึกผูกพันเกิดความ
ใฝร กู ารเรยี นรูเปน กจิ กรรมท่ีนำมาซงึ่ ความสนุกและทาทาย

6) การเรียนรูเกิดขึ้นไดในสภาพแวดลอมที่เอื้ออำนวย ทำใหบุคคลเกิด
การเรียนรูไดดี

7) การเรยี นรเู ปนกระบวนการทเี่ กดิ ข้ึนไดทุกเวลาทุกสถานที่

27

8) การเรียนรูมีผลใหบุคคลเกิดความเปลี่ยนแปลงและปรับปรุงตนเองทั้ง
ดานเจตคติ ความรูสึก ความคิด การกระทำเพื่อการดำรงชีวิตอยางปกติสุขและความเปนมนุษยที่
สมบูรณ

9) การเรียนรูเปนกระบวนการตอเนื่องตลอดชีวิตโดยบุคคล จำเปนตอง
เรยี นรูอ ยางสมำ่ เสมอเพ่ือการพัฒนาชวี ิตจิตใจของตนเองเปนการสรางวฒั นธรรมแหงการเรียนรูตลอด
ชีวิตเปน กระบวนการทยี่ ั่งยนื ชว ยพฒั นาทั้งบคุ คลและสังคมอยา งตอเน่อื ง

สาระการเรียนรู มาตรา 23 ระบุวา สาระการเรียนรูที่จัดใหกับผูเรียนตองเนน
ความสำคัญ ทั้งความรู คุณธรรม กระบวนการเรียนรู และบูรณาการตามความเหมาะสมของแตละ
ระดับการศึกษาในเรื่องเก่ียวกบั ตนเอง และความสัมพันธของตนเองกบั สังคม ตลอดจนประวัติศาสตร
ความเปนมาของสังคมไทย การเมืองและการปกครอง ความรู และทักษะดานวิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยี รวมท้ังเรื่องการจัดการคณติ ศาสตร ดา นภาษา การประกอบอาชพี และการดำรงชีวิตอยาง
มีความสุข การใชและการบำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม ความรูเกี่ยวกับศาสนา
ศิลปะ วัฒนธรรม การกีฬา ภูมิปญญาไทย และการประยุกตใชงาน ประเด็นสำคญั ของสาระนีม้ ีความ
สอดคลอง กับการถือวาผูเรียนมีความสำคญั โดยระบุใหสาระการเรียนรูที่พึงจัดใหผูเรียนตองมีความ
เกี่ยวของกับผูเรียนและสังคมที่ผูเรียนอยู ในขณะเดียวกันก็มุงเนนการปลูกฝง และสรางเสริม
คุณสมบตั ิการเปนผูทันสมัย ภายในบรบิ ทของความเปนไทย และจติ สำนึกของการเปน ผูบำรุงรักษาไม
ทำลายทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอมและมรดกไทย ประเด็นสำคัญดังกลาวจะมีผลใหเกิดการ
กำหนดรายละเอียดของเนื้อหาในการเรียนรูของผูเรียนแตละระดับการศึกษา แตละทองถิ่นที่มีความ
แตกตางกันออกไปแตละประเดน็ สาระใหขอบเขตเดียวกัน ดังนั้น ในทางปฏิบัตคิ รูจะตองพิจารณาวา
ควรเลือกสรรเน้อื หาใดทีม่ คี วามเก่ียวขอ งเหมาะสมและเปนประโยชนก ับผูเรยี นทคี่ รูดแู ลรบั ผิดชอบอยู
ภายใตขอ กำหนดของขอบเขตสาระการเรียนรู และบรบิ ทของทอ งถ่ิน แลว นำมาบูรณาการเปนเน้ือหา
การเรียนรูของผูเรียนโดยเฉพาะปจจัยสำคัญของประเด็นนี้คือ ความสามารถในการจัดหลักสูตรแบบ
บรู ณาการของครูซ่ึงวธิ ี จดั หลกั สูตรแบบบรู ณาการนน้ั ทำได 2 แบบ คือ

1) แบบสหวิทยาการ คอื การสรา งหัวเรื่อง (Theme) ขึน้ มา แลวนำความรู
จากวชิ าตา งๆ มาโยงความสัมพันธก บั หัวเรอ่ื งนั้น การจดั แบบนี้ ทำใหผ เู รียนตอ งแสวงหาความรทู ักษะ
และประสบการณจากวิชาตา ง ๆ มากกวา 2 วชิ า เกดิ การเรยี นรทู ่ลี กึ ซ้ึง มีความใกลเ คยี งกับชวี ิตจรงิ

2) แบบพหุวทิ ยาการ คอื การนำเร่ืองใดเรื่องหนง่ึ ไปสอดแทรกในวิชาตาง ๆ
ของหลักสูตรในโรงเรียนซึ่งเปนวิธีที่มีทางเปนไปไดงาย เพราะครูสามารถบูรณาการเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
กับวิชาที่ตนกำลังสอนอยู เชน การบูรณาการเรื่องการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมเขากับเนื้อหา
ในวชิ าตา ง ๆ

กระบวนการเรียนรู มาตรา 24 ระบุวา กระบวนการเรียนรู ตอ งจดั เน้ือหาสาระและ
กิจกรรมใหสอดคลองกับความสนใจ ความถนัด และความแตกตางของนักเรียน ฝกทักษะ
กระบวนการคิดการจัดการ การเผชิญสถานการณและประยุกตใชเพื่อปองกัน และแกไขปญหาให
ผูเรียนเรียนรู จากประสบการณจริงฝกปฏิบัติให ทำได ทำเปน รักการอานและเกิดการใฝรูอยาง
ตอ เนอื่ ง ผสมผสาน สาระความรตู า ง ๆ อยา งสมดลุ รวมทงั้ ปลกู ฝงคุณธรรม คา นยิ ม และคุณลักษณะ
อันพึงประสงคไวใน ทุกวิชา ครูสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดลอม คือ การเรียนรู อำนวยความ

28

สะดวกใหผูเรียน เกิดการเรียนรู และใชการวิจัยเปนสวนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู ทั้งน้ี ครูและ
ผูเรียนอาจเรยี นรูไปพรอมกัน จากสอ่ื และแหลงการเรยี นรูทีห่ ลากหลาย พอแม ผปู กครอง และชุมชน
มีสว นรวมในการจดั การเรยี นรู ใหเ กิดข้ึนไดทุกเวลา ทุกสถานท่ีครูท่ีมีความตั้งใจจะปฏิบัติใหบรรลุตาม
ประเด็นสำคญั ในมาตราน้ี จะตอง มีการสำรวจ และเก็บรวบรวมขอมลู เก่ียวกับผเู รยี นแตละคน เพื่อใช
เปนประโยชนในการจัดประสบการณเพื่อการเรียนรูของผูเรียน นอกจากนั้น ยังจะตองฝกวิทยายุทธ
ในการใชคำถามและที่ใชเปนเครื่องกระตุนใหผูเรียนใชกระบวนการคิด นอกจากนั้น ยังควรศึกษา
วิธีการสอนที่สงเสริมใหผูเรียนไดฝกการคิดซึ่งมีอยูหลายวิธี ไดแก การสอนคิดแบบอุปนัย โดยครู
เตรียมตัวอยาง และนำเสนอตัวอยางยอย ๆ ใหผูเรียนศึกษาและใชเหตุผลสรุปเปนกฎเกณฑหรือ
หลักการเปนความเขา ใจท่เี กิดขึน้ ดวยตวั ผเู รยี นเอง

2.2.4 แนวทางในการยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น
มีผูกลา วถึงแนวทางในการยกระดับผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นไว ดงั นี้
Peter Senge (รศ.สุเทพ พงศศรีวัฒนออนไลน, 2560: 27) กลาววา การประยุกตใชแนวคิด
เรื่ององคการแหงการเรียนรู (Learning organization) การสรางสรรคใหเกิดองคการแหงการเรียนรู
ที่เขมแข็ง ก็คือ การทำใหคนในองคการรูจักเรียนรูการทำงานรวมกันเปนทีมงานที่ดีจนสามารถ
ยกระดบั ผลสำเรจ็ ขององคการใหส ูงย่ิงขึ้น ทงั้ นใ้ี นกระบวนการพฒั นาทีมงานใหเปนทมี งานชั้นยอดจน
สามารถ รวมสรางและรวมขับเคลื่อนวิสัยทัศนรวม (Shared vision) ไดนั้น สมาชิกแตละคนของ
ทีมงานจะไดรับการพัฒนาความรูและทักษะใหมๆ ที่ใชปฏิบัติงาน เพื่อยกระดับผลงานใหสูงขึ้น และ
จากการมีโอกาสทำงานรว มกนั เชนนี้ทำใหสมาชิกของทีมงานไดแลกเปลีย่ นเรียนรูซ่ึงกันและกันพรอม
ไปกบั การเรียนรูวธิ ีทำงานของตนใหม ีประสิทธผิ ลยิ่งข้ึน โดย Senge หลักการ (หรือวินยั ) 5 เพ่ือสราง
โรงเรยี นแหง การเรยี นรู (Learning school) ตามกรอบแนวคิดของ Senge ดงั นี้
หลักการที่ 1: ตองพัฒนาความรอบรูแหงตน (Personal Mastery) ของสมาชิกความรอบรู
แหงตน หมายความวา ทุกคนที่อยูในโรงเรียนที่เปนองคการแหง การเรียนรู จะตองเขาใจวาตนมีสว น
รวมรับผิดชอบตอการสรางผลงานหรือความสำเร็จของโรงเรียนโดยรวม ครูแตละคนจะตองตระหนัก
วา ตนตองปฏิบัติงานในฐานะเปนสมาชิกของทีมงานที่จะตองรวมกันนำพาและยกระดับผลสัมฤทธ์ิ
ของนักเรียนตลอดจนความสำเร็จของผูปกครองและของชุมชนใหสูงขึ้นความรอบรูแหงตนจึง
หมายความวาครูทุกคนจะตองมพี ันธะผูกพนั ตอการประกอบวชิ าชพี ครูของตนเยีย่ งมืออาชีพ และตอง
เปนสมาชิกที่ดี เพื่อชวยเหลือใหทีมงานของตนมีผลงานระดับสูง ยิ่งขึ้นเทาที่จะทำได ครูแตละคน
จะตองมีความผกู พันตอ เพื่อนรวมงานดวยการสรางบรรยากาศที่ดีของที่ทำงาน และรวมมือรวมใจกนั
ยกระดับคุณภาพการเรยี นการสอนของนักเรียนใหดีทีส่ ุด การสรา งความรอบรูแหงตนของครูก็คือการ
รวมการเรียนรูไปกับนักเรียน ครูจึงมีบทบาทตองเปนผู เรียนรู (Teachers as learners) ในขณะท่ี
ปฏบิ ตั ิงานสอนอกี ดว ย
หลักการที่ 2: ตองมีแบบแผนความคิดอาน (Mental Model) แบบแผนความคิดอาน
หมายถึง ความเชื่อที่ฝงลึกอยูภายในบุคคล (Unconscious Assumptions) ที่มีตอสิ่งตางๆ จึงเปน
ปทัสถานที่มีลักษณะไมเปนคำพูด (Unspoken Norms) แตมีอิทธิพลในการกำหนดวาโรงเรียนของ
ตนจะดำเนินการ ตอภารกิจตาง ๆ อยางไร เชน แบบแผนความคิดอานของคนที่เปนนักการศึกษา

29

จะตองตอบตนเองใหไดวา ในฐานะที่เปนมืออาชีพตนจะมีหลักคิดและวิธีการจัดกิจกรรมดานการ
เรียนรูการสอนการบริหารพฤติกรรมบุคคลในโรงเรียน ตลอดจนการใชภาวะผูนำไดอยางไร เปนตน
เนื่องจากแบบแผนความคิด เหลานี้มักไมไดถูกหยิบยกขึ้นมาพิจารณาวามีความเหมาะสมเพียงไร มี
อะไรบางที่โรงเรียนไดทำหรือมอี ะไรบา งที่ควรทำแตย ังไมไ ดทำ ดังนั้น ถาเปนโรงเรยี นแหง การเรยี นรู
แลวประเด็นตาง ๆ ที่เปนแบบแผนความคิดดังกลาวเหลานี้จะถูกหยิบยกขึ้นมาพิจารณาตรวจสอบ
รวมกันของทุกฝายที่มีสวนไดเสีย (Stakeholders) เชน สิ่งที่โรงเรียนเชื่อและใชเปนแนวทางจัด
การศึกษาอยูนั้นสอดคลองกับสิ่งที่เปนวิสัยทัศนของโรงเรียนซึ่งทุกฝายรวมกำหนดขึ้นหรือไมหรือ
นักเรยี นไดร บั การสงเสริมใหเ กิดการเรียนรูอยางเต็มศักยภาพหรือไม และสอดคลองกับความคาดหวัง
ของผูปกครองและชุมชนเพียงไรตลอดจนกฎเกณฑ ระเบียบปฏิบัติ และวิธีการตาง ๆ ที่โรงเรียนใช
ดำเนินการอยูนั้นมีความสอดคลองหรือขัดแยงกับความเชื่อวิถีชีวิตและวิสัยทัศนที่สังคมคาดหวังตอ
โรงเรียนหรอื ไมเ พียงไร เปนตน

หลักการที่ 3: ตองสรางวิสัยทัศนรวม (Shared vision) ของโรงเรียนวิสัยทัศนรวม หมายถึง
ภาพในอนาคตของโรงเรียนที่ทุกคนรวมกันวาดฝน และปรารถนาที่จะใหเกิดขึ้นจริงกับโรงเรียนของ
ตน วสิ ยั ทัศนรวมจงึ ทรงพลังท่ชี ว ยยดึ เหนย่ี วทุกคนใหเ กดิ ความเปนน้ำหน่งึ ใจเดียวขึ้น และมีความรูสึก
รวม ในเปาหมายที่จะตอ งกาวไปใหถึง ดังนั้น วิสัยทัศนร วมจงึ เปนพลังขับเคลือ่ นใหภารกิจทุกอยาง
ของโรงเรียนมุงไปสูเปาหมายเดียวกัน วิสัยทัศนรวมมิไดเกิดขึ้นหรือเปนของผูหนึ่งผูใดโดยเฉพาะ
วิสัยทัศนรวมที่ดี ควรมีความชัดเจนทั้งเปาหมายและแนวทางที่สามารถบรรลุไดจริง และไมควรเปน
เพียงแตข อ ความสัน้ ๆ ท่ีกระชบั ชัดเจนดงึ ดูดใจเทา น้นั แตควรมพี ลงั ในการกำกับพฤติกรรมของบุคคล
ใหปฏบิ ตั ิงานสอนไดต รงกบั ความคาดหวงั อยา งมีความหวงั และมีความเตม็ ใจท่ีจะปฏิบตั ิภารกิจท้ังของ
สวนตนและของทีมงานเต็มความสามารถ โดยยึดหลกั การทำเพ่อื สวนรวมรวมกนั

หลักการที่ 4: สงเสริมใหเกิดการเรียนรูแบบทีม (Team learning) การเรียนรูแบบทีมเปน
ปจจัยที่สำคัญสำหรับโรงเรียนแหงการไดโดยการใชวิธีเสวนา (Dialogue) และวิธีอภิปรายถกปญหา
(Discussion) โดยทีมงานอาจประกอบดวย ผูบริหาร ครูผูสอนและผูปกครอง มารวมกันถกปญหา
ในประเด็นตาง ๆ ที่โรงเรียนดำเนินการอยู เชน วิธีการจัดชั้นเรียน (Classroom Structure) การจัด
ตารางสอน เทคนิควิธีสอน วิธีวัดผลประเมินผล วิธีจูงใจใหนักเรียนมีนิสัยใฝรูใฝเรียน ตลอดจนการ
บรหิ ารจัดการโรงเรยี นในดานตางๆ

หลักการที่ 5: พัฒนาการคิดอยางเปนระบบ (System Thinking) การคิดอยางเปนระบบ
หมายถงึ ความสามารถของสมาชิกในองคการแหง การเรียนรู ทีส่ ามารถมองเหน็ องคก ารในลักษณะของ
ภาพรวม ซึ่งประกอบขึ้นจากองคประกอบยอยตาง ๆ (See the forest for the trees) กลาวคือ
ในโรงเรียนแหงการเรียนรู ครจู ะมีแนวโนมท่ีเห็นวาการปฏบิ ัติงานของแตล ะคนกด็ ี หรือกิจกรรมตาง ๆ
ที่จัดขึ้นก็ดี ลวนมีความสัมพันธเชื่อมโยงตอการดำเนินภารกิจโดยรวมทั้งหมดของโรงเรียน การคิด
อยางเปนระบบ ของโรงเรียนแหงการเรียนรูก็คือสมาชิกจะมีทักษะในการพิจารณาเห็นความสัมพันธ
ของสว นยอ ยท่ีมีตอองคร วมของโรงเรียน และใหก ารยอมรับวา ถาการดำเนินงาน ณ จุดใดจุดหน่ึงเกิด
ปญหาขึ้นก็จะสงผลกระทบตอการดำเนินงานของจุดอื่นดวย ตัวอยางเชน ถาการเรียนการสอนวิชา
คณิตศาสตรในชั้นเรียนหนึ่งเกิดปญหายอมสงผลกระทบตอการเรียนวิชาวิทยาศาสตรของนักเรียน
ตามมา หรือถา การเรยี น การสอนใหนกั เรยี นมีทักษะคอมพวิ เตอรและภาษาอังกฤษเกิดปญหา ก็ยอม

30

สง ผลกระทบตอการจัดการเรยี นการสอนแบบ E – learning ของนักเรยี น เปน ตน กลา วโดยสรปุ การ
คิดอยางเปนระบบเปนวิธีการคิดของบุคคลในการมองสิ่งตาง ๆ ในลักษณะของความสัมพันธระหวาง
สวนยอยกับสวนรวม (Part – whole relationship) ทำใหแตละคนมองภาพรวมของโรงเรียนขณะ
ปฏบิ ตั งิ านไดช ดั เจน

2.2.5 การบริหารจัดการเพอื่ ยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น
การบริหารจดั การเพ่อื ยกระดบั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น มีวธิ กี ารดำเนนิ การ ดงั น้ี

2.2.5.1 การจัดการความรูเพื่อกำหนดนโยบายและจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาของโรงเรยี น

2.2.5.2 การวเิ คราะหส ภาพการจัดการศกึ ษาของโรงเรียน
2.2.5.3 การกำหนดยุทธศาสตรการพัฒนากระบวนการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทาง
การเรยี น
2.2.5.4 การนิเทศภายในแบบกัลยาณมติ ร
2.2.5.5 การประสานงานกบั ผปู กครองเพือ่ เฝา ระวังและติดตามแกไขปญ หา
2.2.6 วธิ กี ารยกระดบั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น ดำเนินการได 3 รปู แบบ คือ
รูปแบบที่ 1 การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนใหสูงขึ้นตามเกณฑ
ทคี่ าดหวงั มวี ิธกี ารดำเนินการ ดังน้ี

1) การปรบั เปลยี่ นทาทีของครใู นการจดั การเรียนรู
2) การกำหนดเกณฑท ีค่ าดหวังและเกณฑก ารประเมนิ ผล
3) การจดั กลมุ ผูเ รียนที่เหมาะสม
4) การกำหนดรปู แบบการพฒั นาการเรียนรแู ละการจดั กจิ กรรม
รปู แบบท่ี 2 การยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนเพื่อมุง สคู วามเปนเลิศ
1) การจดั การเรยี นรูแบบหอ งเรียนพิเศษ
2) การจดั กิจกรรมการเรยี นรเู พือ่ สง เสริมความเปน เลศิ
รปู แบบที่ 3 การชวยเหลอื นักเรียนที่ไมผา นเกณฑการจบหลักสูตร
1) การดูแลใกลชดิ เพอ่ื ปรบั พฤตกิ รรมและใหโ อกาสนักเรยี น
2) การเพิ่มพูนผลสัมฤทธิ์เพื่อใหไดตามเกณฑการจบหลักสูตร
Thomas Sergiovanni (1994) ไดกลาวถึง ชุมชนแหงการเรียนรูที่สงผลตอการยกระดับผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรยี นของนกั เรียนโดยแบง ตามดาน ไดด ังนี้
ดานการพัฒนาองคการ (Developing the organization) มีกระบวนการ
ที่เปนเครือขายเชื่อมโยงทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน ดังนั้น ผูนำสถานศึกษาตองสามารถทำให
โรงเรียนไดทำหนาทเี่ ปน ชุมชนแหง วชิ าชีพดานการเรียนรเู พ่ือสนับสนุนและสงเสริมการปฏิบัติภารกิจ
ทางวิชาชีพของสมาชิกที่เกี่ยวของ ทั้งครูผูสอนและนักเรียน ตลอดจนผูเกี่ยวของอื่น ๆ
ผูนำสถานศกึ ษา จงึ มีบทบาท ในประเด็นตอไปน้ี
1) เสริมสรางความแข็งแกรงดานวัฒนธรรมของโรงเรียน (Strengthening
School Culture) โดยผูนำสามารถพัฒนาวัฒนธรรมของโรงเรียนที่ฝงรากลึกดวยคานิยม ปทัสถาน

31

ความเช่อื และทศั นคติรวมกันของสมาชิกทุกคนในองคกร ท่นี ำไปสคู วามเอื้ออาทร (Caring) และความ
ไววางใจ (Trust) ตอกัน เพราะวัฒนธรรมของโรงเรียนจะเปนตัวกำหนดแนวทางและบริบทตาง ๆ
ของการทำงานรว มกนั เพือ่ นำไปสูเปาหมายเดยี วกนั ของโรงเรียน

2) ทำการปรับปรุงแกไขโครงสรางองคการของโรงเรียน (Modifying
Organization Structure) ผูนำสถานศึกษามหี นาท่ีตอ งตรวจสอบดแู ล และปรับปรงุ โครงสรางองคกร
เพื่อใหมีความยืดหยุน คลองตัวและสอดคลองกับคุณลักษณะของการเปนโรงเรียนแหงการเรียนรู
ซ่งึ ไดแ ก การจัดโครงสรา งงาน และการมอบหมายงานท่เี นนรูปแบบทีมงานมากข้ึน การจดั ตารางเวลา
ของครูที่คิดใหเปนภาระงานที่ประกอบดวย ชั่วโมงสอน ชั่วโมงครูพบปะเพื่อปรึกษาหารือเพื่อน
รวมงาน การวางแผนการสอน การประเมินผลการเรียน การแกปญหาและการพัฒนานักเรียนเฉพาะราย
เปนตน ครูควรมีภาระงานรับผิดชอบตอวันตอสัปดาหที่ไมหนักจนเกินไป ผูนำตองปรับปรุงเกณฑ
การประเมินใหความดีความชอบที่ยึดผลการทำงานแบบทีม และตองเปนไปเพื่อการสรางคุณภาพ
การเรยี นรูข องนักเรียนใหสงู ขึน้ การปรับปรงุ หองเรียนใหเหมาะกับวิธีการสรางคุณภาพการเรยี นรูของ
นักเรียนสูงขึ้น การปรับปรุงหองเรียนใหเหมาะสมกับวิธีสอนของครู และวิธีการเรียนรูของนักเรียน
มีการจัดหาวัสดุอุปกรณเครื่องมือ และทรัพยากรเพื่อการเรียนรูอื่น ๆ อยางเพียงพอ ตองพยายาม
หาทางลดงานเชิงธุรการของครใู หน อยลง ตองปรับปรงุ กฎเกณฑร ะเบียบตาง ๆ ท่ีไมเ ออ้ื ตอ การจัดการ
เรียนรูสมัยใหม เปนตน โครงสรางองคกรของโรงเรียนจึงเปนกรอบหลักของการปฏิบัติงาน
โดยโครงสรางอาจชวยสงเสริมหรืออาจกลายเปนอุปสรรคตอการทำหนาที่ของครูใหบรรลุเปาหมาย
ของโรงเรียนแหงการเรียนรูก็ได ผูนำที่ชาญฉลาดจึงพยายามปรับปรุงแกไขโครงสรางใหมีลักษณะ
และเงอ่ื นไขเชงิ บวกตอการสอนและการเรียนรขู องครูและนักเรยี น

3) สรางกระบวนการใหเกิดความรวมมือรวมใจ (Building Collaborative
Process) ผูนำสถานศึกษาตองสงเสริมใหการปฏบิ ัติภารกิจของโรงเรียนเปนไปในลักษณะที่ใหโอกาส
แกครูอาจารยไดเขามามีสวนรวมในการตัดสินใจตอประเด็นสำคัญที่มีผลกระทบตอตัวครู หรือตอการ
ปฏิบัติงานดานวิชาชีพของครู ดวยวิธีการมีสวนรวมเชนนี้ ผูนำสามารถที่จะนำพาโรงเรียนไปสู
ผลสำเรจ็ ตามเปาหมายทั้งสว นบุคคล และโรงเรียนโดยรวมไดอยา งราบรืน่

4) การบริหารจัดการสภาพแวดลอม (Managing The Environment)
ผูนำสถานศึกษาจำเปนตองทำงานรวมกับตัวแทนกลุมตางๆ ที่เปนสภาพแวดลอมของโรงเรียน
ซึ่งไดแก ผูปกครอง สมาชกิ ของชุมชน นักการเมอื ง ภาคธรุ กจิ เอกชน ตลอดจนหนว ยงานภาคราชการ
ทั้งหลาย ที่แวดลอมโรงเรียน เพื่อใหคนเหลานี้เขาใจ และมีภาพลักษณที่เปนบวกตอวิสัยทัศน และ
เปาหมาย ของโรงเรียน และใหการสนับสนุนปจจัยดานตาง ๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งทรัพยากรเพ่ือ
การเรียนรจู ากชมุ ชนตอโรงเรยี น การสรา งสมั พนั ธภาพอนั ดีตอกนั กับหนว ยงานและบคุ คลดงั กลา ว จึง
เปนบทบาทสำคัญ สำหรับผูนำแตตองคำนึงถึงการวางตำแหนงแหงที่ (Positioning) ของโรงเรียนใน
ทามกลางสภาพแวดลอมดังกลาวไดอยางเหมาะสม ไมมากหรือนอยเกินไป และตองเปนไปเพ่ือ
ผลประโยชนของสวนรวมเปนสำคญั

สรปุ ไดวา แนวทางการยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทางการศึกษานน้ั สถานศึกษาตองกำหนดเปาหมาย
รวมกัน มีแนวทาง รูปแบบที่เปนระบบชัดเจนและมีการวัดและประเมินผลพัฒนา ตอยอดอยาง
ตอเนือ่ งจนเปนวฒั นธรรมของสถานศกึ ษา

32

2.3 แนวคดิ ทฤษฎีที่เกย่ี วของกบั ประสิทธภิ าพการจัดกจิ กรรมการเรียนรู

2.3.1 ความหมายของการเรียนรู
การเรียนรูเปนพื้นฐานของการดำเนินชีวิตของมนุษย มนุษยอาศัยกระบวนการเรียนรูท่ี
ถูกตอง และมปี ระสิทธภิ าพเพ่ือตอบสนองความตองการสองอยางคือ ความตอ งการการปรับตัวเองให
เขากับสภาวะตาง ๆ ที่มีทั้งการเกิดขึ้นดำรงอยูแ ละมีการเปลี่ยนแปลง และอีกประเภทหนึ่งคือ ความ
ตองการเรียนรูเพื่อจัดการสรรพสิ่งตางๆ ใหมีการเปลี่ยนแปลงไปสูสภาพที่ตนตองการจึงมีการเรยี นรู
สิ่งใหมๆ อยูเสมอ ในหลากหลายรูปแบบเพื่อเพิ่มพูนความฉลาดเฉลียวและประสบการณ มี
ความสามารถในการคิดแกปญหาที่จะตองเผชิญในชีวิตประจำวัน และเพื่อใหสามารถดำรงชีวิตอยู
อยา งมคี วามสุข
การเรียนรูเนนเรื่องเกี่ยวกับพฤติกรรม เพราะการเรียนรูจะสงผลใหเกิดการปรับปรุง
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมได ทั้งพฤติกรรมที่บุคคลแสดงออกหรือทีเ่ รียกกันวาพฤติกรรมเปดเผย (Over
Behavior) เชน พฤติกรรมบุคคลที่เปลี่ยนแปลงไปหลังเขารับการฝกอบรม เปนตน และพฤติกรรมที่
ไดเรียนรูและเก็บไวเปนความรูสึกในใจ ซึ่งเรียกวา พฤติกรรมซอนเรน (Covert Behavior) เปน
พฤติกรรมที่มีในจิตใจบุคคลกอนที่จะแสดงพฤติกรรมเปดเผย อาทิ บุคคลทราบวาการขาดเรียนบอย
ๆ จะเปนเหตุทำใหไดรับการลงโทษ อาจจะโดยการตักเตือนดวยวาจา หรือถูกดำเนินการทางวินัย
จากการเรียนรูน้ที ำใหเ กิดพฤตกิ รรมซอนเรน ทที่ ราบถึงเหตุและผลของการกระทำ คอื เหตุขาดเรียนจะ
ทำใหเ กดิ ผลคอื ถูกลงโทษ ดังนั้น บคุ คล จงึ มพี ฤตกิ รรมเปด เผยในลกั ษณะงดเวน การกระทำ คือไมขาด
เรียน ประเด็นสำคัญของการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่เกิดขึ้นดังกลาวขางตนจะสังเกตเห็นไดวา
เนื่องจากการตั้งใจฝกฝนอบรมใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในจิตใจแลวจึงเกิดการเปลี่ยนแปลงใน
พฤติกรรม ดังนั้น พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรูจึงเปน พฤติกรรมจงใจ (Voluntary Behavior) มิใช
เปนพฤติกรรมอันเนื่องจากการเจริญเติบโต หรือการเจ็บปวยของรางกาย และจิตใจรวมตลอดถึง
พฤติกรรมทเี่ กิดข้ึนโดยธรรมชาติ หรอื พฤตกิ รรมสะทอนตอบ (Reflexive Behavior) เชน การกะพริบ
ตาเมื่อมีแสงจา เปนตน นอกจากนั้น พฤติกรรมเรียนรู อันเกิดจากการฝกฝนอบรมดว ยความต้ังใจจะ
เปนพฤติกรรมทีม่ ีลักษณะคอนขางถาวรที่ตดิ ตวั บุคคลผูนั้น อาทิ เชนเมื่อผานการฝกวธิ กี ารแกปญหา
บุคคลก็จะมีความรูและทักษะในการแกปญหา แตความรูและทักษะท่ีทำใหเกิดพฤติกรรมการ
แกปญหานี้ ไมจำเปนตองเกิดข้ึนโดยทันที และบุคคลจะสรา งพฤตกิ รรม เพื่อแกปญหาตามเวลา และ
สถานการณทเี่ หมาะสม
เบญจวรรณ กี่สุขพันธ (2559:10-12) ใหความหมายการเรียนรูวา เปนกระบวนการ
เปลี่ยนแปลงทางพฤตกิ รรมทเ่ี กิดจากความสมั พันธระหวางสงิ่ เราและการตอบสนองโดยอาศัยการรับรู
ผา นประสาท สัมผสั ท้งั 5 ซึง่ ไดแ ก ตาประมาณ 75% หูประมาณ 13% กายสัมผสั ประมาณ 6% ปาก
และจมูกประมาณ 3% ซึ่งการเรียนรูนี้อาจจะเปนทางใดทางหนึ่งหรือหลาย ๆ ทางผสมกันการ
ตอบสนองสง่ิ เรา เพยี งคร้งั หรอื สองคร้ังอาจไมทำใหเรามั่นใจไดวาการเรียนรูเ กิดขนึ้ หรือไม เพราะอาจ
เปนเพียงการลองผิดลองถูกซึ่งเปนชวงของการแสวงหาวิธีการตอบสนองที่ดีที่สุดตอสิ่งเราใน
สภาพการณนั้น การเรียนรู จะเกิดขึ้นอยางสมบูรณตอเมื่อไดวิธีการตอบสนองที่ดี และพัฒนาการ
ตอบสนองตอ สงิ่ เรานัน้ จนตดิ เปน นิสยั ซึ่งจะตองอาศัยการฝก ฝน และการกระทำซำ้ ๆ

33

เรืองวิทย นนทภา (2549: 43) ไดกลาววา การเรียนรู คือการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมโดย
จัดประสบการณในรูปแบบตาง ๆ ใหผูเรียนโดยวิธีปอนสิ่งเรา(Stimulus) แลวใหผูเรียนตอบสนอง
(Response) ออกมาในแนวทางที่พึงประสงค จนเกิดเปนพฤติกรรมทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปจากเดิมซึ่งไมใช
ผลจากการตอบสนองทีเ่ กิดขึ้นตามธรรมชาติ ไดแก สัญชาตญาณ หรือวุฒิภาวะ หรือผลเปลี่ยนแปลง
ชั่วคราวของรางกายจากความเมื่อยลา พิษของยา เปนตน ดังนั้น การเรียนรูจึงหมายถึงกระบวนการ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมจากเดมิ ไปสูพฤติกรรมใหมทีค่ อนขางถาวร และพฤติกรรมใหมที่เกิดขึ้นนี้ตอ ง
เปนผลมาจากประสบการณ หรือการฝกฝน โดย บลูม (Bloom, 1981: 56-57) ไดอธิบาย ถึงการ
เปลีย่ นแปลงเม่ือมนษุ ยเกิดการเรียนรูวาเมื่อเกดิ การเรยี นรูจะเกดิ การเปล่ียนแปลงพฤติกรรม ดังน้ี

1) การเปลี่ยนแปลงทางดานความรูความเขาใจ และความคดิ (Cognitive Domain)
หมายถึง การเรยี นรเู ก่ยี วกบั เนอ้ื หาสาระใหมก จ็ ะทำใหผ เู รียนเกิดความรคู วามเขาใจสิ่งแวดลอมตาง ๆ
ไดมากข้ึนเปน การเปลีย่ นแปลงทเี่ กดิ ข้นึ ในสมอง

2) การเปลี่ยนแปลงทางดานอารมณความรูสึก ทัศนคติ คานิยม (Affective
Domain) หมายถึง เมื่อบุคคลไดเ รียนรูส่ิงใหมก็จะทำใหผ ูเ รียนเกดิ ความรูสกึ ทางดานจิตใจ ความเช่ือ
ความสนใจ

3) การเปลี่ยนแปลงทางดานความชำนาญ (Psychomotor Domain) หมายถึง
การที่บุคคลเกิดการเรียนรูทั้งในดานความคิด ความเขาใจ และเกิดความรูสึกนึกคิด คานิยม
ความสนใจดวยแลว ไดนำเอาสิง่ ท่ไี ดเ รียนรไู ปปฏิบัติ จงึ ทำใหเกิดความชำนาญมากข้นึ เชน การใชเทา
วาดภาพ

สรุปไดวา การเรียนรู หมายถึง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคลที่เกิดจากกระบวน
การเรียนรู การนำความรูไปปฏิบัตจิ ริงเกิดการเรียนรูใหมโ ดยมีสภาพสิ่งแวดลอ มการเรยี นรูที่สงเสรมิ
ใหเกิดการเรียนรูซ ึ่งเปน พ้ืนฐานสำคัญของการดำรงชวี ิตของมนุษย

2.3.2 รปู แบบของการเรยี นรูกับการเรียนการสอน
เบญจวรรณ กี่สุขพันธ (2559:15-20) กลาววา มนุษยมีวิธีการเรียนรูและแกปญหาใน
รูปแบบ ที่แตกตางกันนกั การศึกษาและนักวชิ าการไดพยายามศึกษาเพือ่ นำมาใชประโยชน ซึ่งสรุปได
4 รูปแบบ คอื

2.3.2.1 สรางประสบการณที่เปนรูปธรรม (Concrete Experience) เปนวิธี
การเรยี นรู ในลักษณะใหร ูจริงซ่ึงความรูทั้งมวลจะติดตราตรึงใจบุคคลนั้นไปตลอดกาล เชน มนุษยได
เรยี นรูวา รุง กนิ นำ้ มี 7 สีจะนานเทา ไรบุคคลกย็ งั จำความรนู ้ไี ด เปนตน

2.3.2.2 สังเกตปรากฏการณท เ่ี กิดขน้ึ (Reflective Observation) เปน วิธีการเรียนรู
ดวยวิธกี ารสังเกตปรากฏการณที่เกิดขึ้น แลวสรุปเปน ความรูตอ ไป เชน กอนที่จะมีเหตกุ ารณอบุ ตั ิภยั
คลื่นยักษสึนามิเกิดขึ้นนั้น จะสังเกตเห็นน้ำทะเลตามชายฝงจะลดลงมากผิดปกติ และมีสีเปลี่ยนไป
มีสัตวน้ำเล็กๆวายวนไปมา ดังนั้น การสังเกตปรากฏการณเหลานี้แลวก็นำมาเปนขอสรุปเปนความรู
หากพบการเปลี่ยนแปลงลักษณะนี้แสดงวาอาจจะมีคลื่นยักษสึนามิเกิดขึ้นได จึงควรระวังเตรียมตัว
ปองกนั ลว งหนา เพือ่ ใหเ กิดการสญู เสียนอยที่สุด เปน ตน

34

2.3.2.3 เกิดความคิดในเชิงนามธรรม (Abstract Conceptual) เปนวิธีการเรียนรู
ท่ใี ชความคิดในการพจิ ารณาปรากฏการณห รือความรูทงั้ ปวง แลวสรา งเปนหลักการข้ึนโดยใชห ลักเหตุ
และผล เชน หลายคนพยายามอธบิ ายความหมายของ คำวา “กก๊ิ ” ซงึ่ เปน คำที่นิยมใชในหมูเด็กวัยรุน
ไทยและแพรกระจายในทุกสังคม การอธิบายความหมายคอนขางเปนนามธรรม ยังหาความหมายที่
แทจริงไมได บุคคลจึงพินิจพิจารณาพฤติกรรมที่แสดงถึงความหมายของคำวา “กิ๊ก” โดยใชหลักเหตุ
และผลจึงสรุป ไดวา “กิ๊ก” คือ การที่บุคคลผูกพันใกลชิดกันและกันเปนพิเศษ มากกวาการเปนคูรัก
แตไ มไ ดเ รียกวา เปน สามี หรือภรรยา ใหเ รยี กความสัมพันธ ลกั ษณะนี้วา “กก๊ิ ” เปน ตน

2.3.2.4 ชอบการทดลอง (Active Experimentation) เปนวิธีการเรียนรูที่เกิดจาก
ผลของการทดลอง เชน มนุษยคนพบระบบกระแสไฟฟาดวยการทดลองใหฟาผาเวลาฝนตก ทดลอง
หลายครั้ง จนสรุปไดวาเวลาฟาผาจะเกิดประกายไฟฟา เปนตน โดยปกติมนุษยจะเรียนรูโดยใช
รปู แบบการเรียนรทู ัง้ 4 แบบ ในลกั ษณะผสมผสานมากนอย แตกตา งกนั ตามบริบทตา ง ๆ ในดา นการ
เรียนการสอน ผูเรียน แตละคนจะมีความหลากหลาย และแตกตางกันทั้งทางดานกายภาพ รางกาย
จิตใจ พื้นฐานสวนบุคคล รวมทั้งวิธีการเรียนรูที่ผูเรียนบางคนอาจเรียนรูไดดีจากการแขงขัน บางคน
อาจเรียนรูไดดี จากการรวมมือกนั ทำงาน หรือแลกเปลีย่ นความคิดเห็นกบั เพ่ือน เปนตน ดังน้ันผูสอน
จึงมีความจำเปน จะตอ งศึกษา คน หา และ วเิ คราะหลกั ษณะหรือวธิ ีการเรียนของผเู รียนแตละคน ท่ีทำ
ใหเ กดิ การเรียนรไู ดด ี โดยใชร ูปแบบการเรียนรู (Learning Styles) ในลกั ษณะใดจงึ จะเหมาะสมและมี
ประสิทธิภาพ เพื่อจะไดนำไปใชในการออกแบบการจัดการเรียน รูใหตอบสนองความตองการของ
ผเู รียน และเปน การสงเสริมใหเ กิดการเรียนรูเติมตามศกั ยภาพ ตอ ไป

เบญจวรรณ ก่สี ขุ พนั ธ (2559:20-22) จำแนกรปู แบบการเรียนรูกับการเรยี นการสอนไดเปน
2 ประเภท ไดแก

1) รูปแบบการเรียนรูกับการเรียนการสอนที่จำแนกตามพฤติกรรมของผูเรียน ซึ่งสามารถ
แบง ไดเปน 6 แบบ ดังนี้

(1) แบบแขงขัน (Competitive) เปนผูเรียนที่สนใจจะเรียนเพื่อเอาชนะเพื่อนและ
ผูสอน รางวัลจากการแขงขันเปนสิ่งที่ผูเรียนกลุมนี้พอใจผูเรียนกลุมนี้มีความคิดวาการเรียนรูใน
หอ งเรียนจะตอ ง มกี ารแพหรือชนะและตนจะตอ งเปน ผชู นะเสมอ

(2) แบบรวมมือ (Collaborative) เปนผูเรียนที่จะเรียนไดดีจากการแลกเปลี่ยนความ
คิดเห็นกับเพื่อน และผูสอนพยายามรวมมือกับผูสอนและเพื่อนในกิจกรรมการเรียนการสอน ชอบ
ทำงานรวมกับผูอื่น มีความคิดเห็นวาหองเรยี นเปนแหลงการเรียนรู ที่เหมาะสำหรับการมีปฏิสัมพันธ
ทางสังคมและเรยี นรเู นอ้ื หาวชิ า

(3) แบบหลีกเลี่ยง (Avoidant) เปนคนที่ไมสนใจในเนื้อหาวิชาที่เรียนในชั้นเรียน
โดยทั่วไปไมชอบมีสวนรว มในการทำกจิ กรรมการเรยี นการสอน และไมสนใจสิ่งที่เกดิ ข้ึนในหอ งเรยี น

(4) แบบมีสวนรวม (Participant) เปนผูที่ตองการเรียนรูเนื้อหาวชิ าและชอบเขาชัน้
เรียนมีความรูสึกวาตนตองมีสวนรวมใหมากที่สุดเทาที่จะทำได เฉพาะกิจกรรมการเรียนรูในชั้นเรียน
เทานนั้ แตไ มสนใจกจิ กรรมนอกหลกั สตู รหรือกจิ กรรมอน่ื ๆ ทีไ่ มเ กี่ยวขอ งกบั การเรยี นรูใ นชั้นเรยี น


Click to View FlipBook Version