The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by j.yosatorn, 2022-03-30 13:40:49

แบบฝึกทักษะนักเรียนเรียนร่วม

คณิตศาสตร์

s เอกสารชุดแนวทางพฒั นาการเรียนรู้

ชดุ ท่ี 4 สาหรบั นักเรียนท่ีมคี วามบกพร่องทางการเรียนรู้

เลม่ ท่ี 1
เทคนคิ วธิ กี ารและสื่อ

สาหรบั นักเรยี นที่มีความบกพรอ่ งทางการเรียนรู้
ด้านคณติ ศาสตร์

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ กษาขนั้ พ้นื ฐาน

เอกสารชุดแนวทางการพฒั นาการเรียนรู้
สาหรับนักเรียนทมี่ ีความบกพรอ่ งทางการเรียนรู้

ชดุ ท่ี 4
เทคนิควธิ กี ารและสอื่
สาหรบั นักเรียนที่มีความบกพรอ่ งทางการเรยี นรู้ด้านคณิตศาสตร์

เล่มท่ี 1

สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ

เรอ่ื ง เทคนคิ วิธกี ารและสื่อสาหรบั นักเรยี นท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้
ผู้จัดพมิ พ์ ดา้ นคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1
กลมุ่ สง่ เสริมการจัดการศึกษาในศนู ยก์ ารศกึ ษาพิเศษและเรียนรว่ ม
สานักบรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ สานกั งานคณะกรรมการ
การศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

คานาครงั้ ท่ี

เอกสาร “ชุดแนวทางพัฒนาการเรียนรู้ สาหรับนักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้”
ฉบับน้ีได้ปรับปรุงมาจากเอกสารท่ีได้จัดทาและเผยแพร่ในปี พ.ศ.2555 โดยที่ผ่านมาพบว่าเอกสารชุด
ดังกล่าว เป็นประโยชน์กับครูผู้สอนและผู้ท่ีเกี่ยวข้องในการพัฒนาผู้เรียนที่มีความบกพร่องในการเรียนรู้
ดา้ นต่าง ๆ ได้เป็นอยา่ งดี ดังนนั้ เพอ่ื ใหก้ ารพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาสาหรบั ผ้เู รยี นท่ีมคี วามบกพร่อง
ทางการเรียนรู้มีประสิทธิภาพย่ิงขึ้น สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานจึงได้ปรับปรุง พัฒนา
เอกสารดังกล่าวให้มีความชัดเจนสมบูรณ์ยิ่งขึ้น เพื่อให้ครูผู้สอนนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในการพัฒนา
ผู้เรยี นทีม่ คี วามบกพรอ่ งทางการเรยี นรูไ้ ดอ้ ย่างมีคุณภาพต่อไป

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานขอขอบคุณผู้มีส่วนร่วมในการจัดทาเอกสารชุดน้ี
หวังเป็นอย่างย่ิงว่าเอกสารชุดนี้จะเป็นประโยชน์ต่อครูผู้สอน ผู้ปกครอง และผู้เก่ียวข้องทุกระดับ เพ่ือ
พัฒนาคุณภาพการศึกษาและคุณภาพชวี ติ ของผู้เรยี นที่มคี วามบกพร่องทางการเรยี นรู้

สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน

คานา

เอกสารชุด “แนวทางพัฒนาการเรียนรู้ สาหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้” นี้ได้
จัดทาและเผยแพร่ครั้งแรกในปี พ.ศ.2551 โดยในคร้ังนั้นได้จัดทาเป็นเอกสาร 5 เล่ม คือ เล่มที่ 1 ความรู้
พ้ืนฐานและแนวทางพัฒนานักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ เล่มท่ี 2 การเตรียมความพร้อม
สาหรับนักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้เล่มที่ 3 เทคนิค วิธีการและส่ือ สาหรับนักเรียนที่มี
ความบกพร่องทางการเรียนรู้ ด้านการอ่าน เล่มท่ี 4 เทคนิควิธีการและส่ือสาหรับนักเรียนที่มี
ความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านการเขียน และเล่มที่ 5 เทคนิควิธีการและส่ือสาหรับนักเรียนที่
มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ด้านคณิตศาสตร์ โดยที่ ผ่านมาพบว่าเอกสารชุดดังกล่าวเป็นประโยชน์
กับครูผู้สอนและผู้ท่ีเก่ียวข้องในการใช้เป็นแนวทางในการพัฒนานักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้
ดา้ นต่างๆไดเ้ ป็นอยา่ งดี

อย่างไรก็ตามเพื่อให้เอกสารชุดน้ีมีความเป็นปัจจุบันและมีความสมบูรณ์ มากย่ิงขึ้น
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐานจึงเห็นควรปรับปรุงเอกสารดงั กล่าว โดยในการปรับปรุงครงั้ น้ี
นอกจากความเหมาะสมของเทคนิค วิธีการและสอื่ สาหรับนกั เรียนทม่ี คี วามบกพร่องทางก ารเรีย น รู้แ ล้ ว
ยังได้คานึงถึงความสะดวกของครู และผู้ที่เก่ียวข้องในการนาไปใช้ด้วยเป็นสาคัญ ด้วยเหตุน้ีจึงได้จัดพิมพ์
เอกสารชุดน้ีแบ่งออกเป็น 4 ชุด จานวน 14 เล่ม เพ่ือให้เอกสารแต่ละเล่มมีขนาดไม่หนาจนเกินไปโดย
ประกอบดว้ ยเอกสารตา่ ง ๆ ดงั น้ี

เอกสารชุดที่ 1 การเตรียมความพร้อมสาหรับนักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้
ประกอบดว้ ยเอกสาร 3 เล่ม

เอกสารชุดท่ี 2 เทคนิค วิธีการและส่ือ สาหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้
ด้านการอ่าน ประกอบด้วยเอกสาร 3 เล่ม

เอกสารชุดท่ี 3 เทคนิค วิธีการและส่ือ สาหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้
ดา้ นการเขยี น ประกอบดว้ ยเอกสาร 3 เล่ม

เอกสารชุดที่ 4 เทคนิค วิธีการและส่ือ สาหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้
ดา้ นคณิตศาสตร์ ประกอบด้วยเอกสาร 5 เลม่

สาหรับเอกสารน้ีเป็นเล่มท่ี 1 ในเอกสารชุดที่ 4 เทคนิควิธีการและสื่อ สาหรับนักเรียนท่ีมีความ
บกพร่องทางการเรียนรู้ ด้านคณิตศาสตร์ ซ่ึงในเอกสารจะกล่าวถึงสภาพปัญหา แนวทางพัฒนาเทคนิค
วิธีการและสื่อการเรียนการสอน รวมทั้งกิจกรรมการจัดการเรียนรู้และแบบฝึก ท่ีจะนาไปสู่ การแก้ไข
ปญั หาที่ เกิดกับนักเรียนที่ มีความบกพร่องทางการเรยี นรู้ ด้านคณิตศาสตรไ์ ด้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งน้ีใน
การนาไปใชค้ รูผู้สอน ผู้ปกครองและผู้ ทเ่ี กี่ยวข้องอาจพจิ าณาปรบั เปลีย่ นไดต้ ามความเหมาะสม

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ขอขอบคุณผู้มีส่วนร่วมในการจัดทาเอกสารชุดน้ี
หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารนี้ จะก่อให้เกิดประโยชน์ ต่อครูผู้สอน ผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้องทุกระดับซึ่งจะ
ได้นาไปประยุกต์ใช้ เพื่อพัฒนานักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ได้อย่างเหมาะสม กล่าวคือ
นักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ แต่ ละคนจะได้รับการช่วยเหลือและส่งเสริมให้ได้รับการพัฒนา
เต็มศักยภาพซึง่ ยอ่ มส่งผลโดยตรงต่อคุณภาพการศึกษาและคณุ ภาพชวี ิตของผู้เรยี น

(นายชินภัทร ภูมริ ัตน)
เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน

คาชี้แจง

เอกสารชดุ แนวทางการพฒั นานักเรยี นทมี่ ีความบกพร่องทางการเรียนรู้เล่มน้ี จัดทาขึน้
เพ่ือให้ครผู ู้สอนไดใ้ ช้เป็นแนวทางในการพฒั นาคุณภาพการจัดการเรียนการสอน สาหรับนักเรยี นทีม่ ี
ความบกพร่องทางการเรียนรู้ รายละเอียดของเอกสารท้ังหมดมี 14 เลม่ ดงั น้ี

เลม่ ท่ี 1 ความรพู้ ื้นฐานและแนวทางพัฒนานกั เรียนทม่ี ีความบกพร่องทางการเรยี นรู้

เล่มที่ 2 การเตรียมความพร้อมนักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ด้านสมาธิ
ด้านการรับรู้ทางการเห็น และด้านการรับรทู้ างการได้ยนิ

เล่มที่ 3 การเตรียมความพร้อมนักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ด้านการประสาน
ความสัมพันธร์ ะหว่างสายตากับมือ และการเตรียมความพร้อมด้านวชิ าการ

เล่มที่ 4 เทคนิค วิธีการสาหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านการอ่าน
การเตรยี มความพร้อมนักเรยี นทีม่ ีความบกพรอ่ งทางการเรยี นรู้

เล่มท่ี 5 เทคนิค วิธีการ สาหรับนักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านการอ่าน
การอ่านเบือ้ งตน้

เล่มท่ี 6 เทคนคิ วิธีการสาหรบั นักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านการอ่าน การอ่าน
คล่อง และอา่ นจับใจความ

เลม่ ท่ี 7 เทคนคิ วิธกี ารสาหรับนักเรียนท่ีมีความบกพรอ่ งทางการเรียนรู้ด้านการเขียน ปญั หา
การเขยี นพยัญชนะ สระ วรรณยุกตแ์ ละเลขไทย

เล่มท่ี 8 เทคนิค วิธีการสาหรับนักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ดา้ นการเขียน ปัญหา
การเขียนพยญั ชนะ สระ และเลขกลับดา้ นคล้ายมองจากกระจกเงา การเขียนพยัญชนะ และตวั เลขไทยที่
มลี ักษณะคล้ายกนั และการเขยี นตัวหนังสอื ท่ีอา่ นไม่ออก

เล่มท่ี 9 เทคนิค วิธกี ารสาหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ดา้ นการเขียน ปัญหา
การเขียนเรียงลาดับพยัญชนะ สระและวรรณยุกต์ผิดตาแหน่ง การเขียนสะกดคาผิด คาพ้องเสียง คาท่ีมี
ตัวสะกด และการเขียนไมไ่ ด้ใจความ

เล่มท่ี 10 เทคนิค วิธีการสาหรับนักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์
ปัญหาการบอกค่าและความหมายของจานวนนับ การจาสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ การจาแนกตัวเลข
ที่คล้ายกัน การนับเรียงลาดับจานวน การจาและเขียนตัวเลขแทนจานวน และการอ่านและการเขียน
จานวนนับ

เล่มที่ 11 เทคนิค วิธีการสาหรับนักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์
ปัญหาการบวกจานวนท่ีมีหนึ่งหลักและสองหลัก การเขียนประโยคสัญลักษณ์และหาคาตอบจากโจทย์
ปญั หาการบวก การลบจานวนท่ีมีหนึ่งหลักและสองหลัก และการเขียนประโยคสัญลักษณ์และหาคาตอบ
จากโจทย์ปัญหา

เล่มท่ี 1 เทคนิค วิธีการสาหรับนักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์
ปญั หาการคูณ การหาร และการบวกลบเศษสว่ น

เล่มท่ี 13 เทคนิค วิธีการสาหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์
ปัญหาการเรียงลาดับวันในสัปดาห์ การเรยี งเดือนในรอบปี การอ่านเวลา การบอกตาแหน่งและทิศทางการ
เปรียบเทียบและวัดความยาว การช่ังและการนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน การตวงและการนาไปใช้ใน
ชวี ติ ประจาวนั และเงนิ

เล่มท่ี 14 เทคนิค วิธีการสาหรับนักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์
ปัญหารูปเรขาคณิตสองมิติ การเขียนรูปเรขาคณิตสองมิติ การบอกและจาแนกรูปเรขาคณิตสามมิติ
ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับแบบรูปและความสัมพันธ์ของรูปด้านรูปร่าง ขนาด สี และจานวน การเก็บ
รวบรวมและนาเสนอขอ้ มูล การอา่ นแผนภูมิ การเขยี นแผนภมู ิ และ ความสมเหตุสมผลในการคาดการณ์

แนวทางการใช้เอกสารชุดแนวทางการพัฒนา

นกั เรยี นทม่ี ีความบกพรอ่ งทางการเรยี นรู้

ครูผสู้ อนควรดาเนนิ การ ดังน้ี

1. ใช้แบบคดั กรองผู้ที่มคี วามบกพร่องทางการเรียนรู้ ตามกฎกระทรวงฯ เพ่ือทราบความบกพร่อง
ทางการเรียนรดู้ ้านการอา่ น การเขียน หรอื ด้านคณติ ศาสตร์

2. ประเมินความสามารถและทักษะการเรยี นรูข้ องเด็กเปน็ รายบุคคล

3. วางแผนจัดการเรียนการสอนเป็นรายบุคคล โดยจัดทาแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล
(IEP) และแผนการสอนเฉพาะบคุ คล (IIP)

4. ให้เลอื กใช้เอกสาร ชุดแนวทางการพัฒนานกั เรยี นท่มี ีความบกพร่องทางการเรียนรู้ใหส้ อดคลอ้ ง
กบั แผนการจดั การศกึ ษาเฉพาะบุคคล (IEP) และแผนการสอนเฉพาะบุคคล (IIP) ของผู้เรยี นเปน็ รายบุคคล

5. ควรใช้สอื่ การเรียนการสอนท่ีเหมาะสมและกระตนุ้ ให้ผเู้ รยี นปฏบิ ัติกิจกรรมอย่างมีความสขุ โดย
คานงึ ถึงความสนใจของผูเ้ รยี นเปน็ สาคญั

6. วัดและประเมินผลการเรียนรขู้ องผู้เรียนอย่างต่อเน่ืองและสม่าเสมอด้วยเคร่ืองมือและวิธีการท่ี
เหมาะสม

7. นาผลการประเมินไปปรบั ปรุงแผนการจดั การศกึ ษาเฉพาะบคุ คล (IEP) และแผนการสอนเฉพาะ
บุคคล (IIP)

สารบญั

เรือ่ ง หนา้

คานา
สารบญั
บทนา
ความสาคญั ................................................................................................................................................ 1
สภาพปัญหา............................................................................................................................................... 1
จุดประสงค์................................................................................................................................................. 2
ปญั หา............................................................................................................................. ............................ 3
แนวการจัดการเรยี นรูส้ าหรับนักเรยี นที่มีความบกพร่องทางการ เรียนร้ดู ้านคณติ ศาสตร์………................. 6
วิธใี ชเ้ ทคนคิ วิธีการและสือ่ การเรียนการสอนสาหรบั นกั เรยี นท่ีมีความบกพร่องทางการเรยี นรู้
ด้านคณิตศาสตร์…………………………………………………………………………………………………………………………. 7
การวดั และประเมนิ ผล................................................................................................................................ 8
สรปุ การนาเทคนิค วิธีการ ส่ือไปใชก้ ับนักเรยี นท่มี ีความบกพร่องทางการเรยี นรู้ดา้ นคณิตศาสตร์...............9

กจิ กรรมการจัดการเรยี นรู้ สาหรับนกั เรยี นทมี่ ีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ด้านคณติ ศาสตร์

สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ…………………………………………………………………………………………….. 10
ปัญหาท่ี 1 การบอกค่าและความหมายของจานวนนบั ............................................................................ 10

แผนการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ท่ี 1 เรือ่ ง จานวนอะไรเอย่ .................................................... 11
แผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรูท้ ี่ 2 เร่อื ง หยิบ 1,2,3…......................................................... 17
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรทู้ ี่ 3 ฉันหยบิ ได้...................................................................... 22
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ี 4 คหู่ นูอยู่ไหน....................................................................28
ปญั หาท่ี 2 การจาลกั ษณะตัวเลขและสัญลกั ษณ์ทางคณติ ศาสตร์........................................................... 37
แผนการจดั กิจกรรมการเรียนรทู้ ี่ 5 จาฉนั ไดไ้ หม.................................................................. 38
แผนการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ที่ 6 การจาสัญลักษณ์ควรจา............................................... 48

เร่ือง หน้า

ปัญหาท่ี 3 การจาแนกตวั เลขที่คลา้ ยกนั ............................................................................................... 53
แผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ที่ 7 หาคใู่ หห้ นหู นอ่ ย......................................................... 54

ปัญหาท่ี 4 การนับเรียงลาดับจานวน.................................................................................................... 59
แผนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรทู้ ่ี 8 ฉนั นับได้..................................................................... 60
แผนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ท่ี 9 เปรยี บเทยี บจานวน.................................................... 67
แผนการจัดกิจกรรมการเรยี นรูท้ ี่ 10 เรียงเลขต่อกัน.......................................................... 73

ปญั หาท่ี 5 การจาและเขียนตัวเลขแทนจานวน..................................................................................... 80
แผนการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ที่ 11 เติมให้เต็ม.................................................................. 81

ปญั หาท่ี 6 การอ่านและเขยี นจานวนหลายหลัก.................................................................................... 97
แผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ท่ี 12 สมี หศั จรรย์................................................................. 98
แผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรทู้ ่ี 13 มัดครบสบิ .................................................................103

บรรณานกุ รม........................................................................................................................................ 109
ภาคผนวก............................................................................................................................................. 110

การสอนด้วยวิธี Touch Mat……………………………………………………………………………….. 111
ตัวอยา่ งส่ือ........................................................................................................................ 122
คณะทางานปรับเอกสาร........................................................................................................................ 132

บทนา

ความสาคัญ

ความบกพร่องทางการเรียนรู้ (Learning Disability : LD) หรือ แอลดี หมายถึง ความบกพร่อง
อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือมากกว่าหน่ึงอย่างทางกระบวนการพ้ืนฐานทาง จิตวิทยาที่เก่ียวข้องกับความเข้าใจ
หรือการใช้ภาษา การพูด การอ่านการเขียน การสะกดคา หรือการคิดคานวณทางคณิตศาสตร์
ความบกพร่องทางการเรียนรู้นับเป็น ประเภทของความพิการ หรือบกพร่องท่ีพบมากที่สุด
ในประชากรวัยเรียน โดยคิดเป็น ประมาณร้อยละ 5 ของประชากรวัยเรียน และคิดเป็นประมาณร้อยละ
50 ของจานวน นักเรียนที่มีความพิการหรือบกพร่องทุกประเภทรวมกัน ดังนั้นในการจัดการเรียนการสอน
สาหรับเด็กกลุ่มน้ี ซึ่งเป็นเด็กที่มีสติปัญญาปกติ ถ้าหากครูผู้สอนไม่มีความเข้าใจเก่ียวกับ ความบกพร่อง
และลกั ษณะของปัญหาที่เด็กประสบแล้ว ย่อมส่งผลให้การจัดการเรียนการสอนไม่ตอบสนองต่อการเรียนรู้
และสภาพความบกพร่องท่ีต้องการแก้ไขหรือพัฒนา และ ยังอาจส่งผลให้เด็กเหล่านี้ขาดความเช่ือม่ัน
ในตนเอง รวมทั้งอาจมปี ัญหาพฤติกรรมหรอื ปัญหาอ่นื ๆ ตามมาได้

เน่ืองจากคณิตศาสตร์เป็นวิชาท่ีเป็นนามธรรม และประกอบด้วยสัญลักษณ์ ดังนั้น อาจยาก
ต่อการเรียนรู้และเข้าใจ โดยเฉพาะสาหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์
อาจมีลักษณะความบกพร่องด้านดังกล่าวแตกต่างกันไป เช่น เด็กบาง คนมีปัญหาในการรับรู้เก่ียวกับ
สัญลักษณ์ซึ่งส่งผลให้มีปัญหาในการเรียนคณิตศาสตร์ หรือ เด็กบางคนมีปัญหาในการอ่านก็อาจส่งผลใน
การทาโจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ เป็นต้น โดย ความรุนแรงของปัญหาในด้านการเรียนคณิตศาสตร์
อาจแตกตา่ งกนั ไปในแต่ละบุคคล

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว จึงเห็นความสาคัญ
ในการเสริมสร้างการเรียนรู้ของนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ โดยมุ่งหวังจะให้เกิดความ
เสมอภาคทางการศึกษาและให้เด็กเหล่าน้ีได้เรียนรู้อย่างมี ประสิทธิภาพเช่นเดียวกับเด็กท่ัวไป จึงได้จดั ทา
เอกสารวิธีการและส่ือการเรียนรู้สาหรับ นักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ข้ึน
เพื่อเป็นแนวทางหน่ึงในการให้ความช่วยเหลือนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ทางด้าน
คณติ ศาสตร์

สภาพปัญหา

นักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ ท่ีพบได้ในโรงเรียนทั่วไปจะมีความ
ยากลาบากในเรื่องต่อไปนี้

1. ความคิดรวบยอดพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ เช่น เรอ่ื งขนาด ความยาว นา้ หนัก ทิศทาง ตาแหน่ง
รปู เรขาคณิต เวลา พื้นสัมผัส สี ลกั ษณะเสน้ การจาแนก การเปรียบเทียบ จัดหมวดหมู่ เรยี งลาดบั จานวน
เป็นต้น

2. ระบบจานวน เช่น ค่าและความหมายของจานวนค่าประจาหลัก การกระจายจานวนตาม

1

ค่าประจาหลัก เป็นต้น
3. ข้ันตอนกระบวนการในการคิดคานวณ เช่น ไม่สามารถจาและหรือเขียนสัญลักษณ์แทนการ

กระทาทางคณติ ศาสตร์ข้ันตอนในการบวกลบคูณหารการทดและการกระจายจานวนในการลบ เป็นตน้
4. การนาทักษะทางคณิตศาสตร์ไปใช้ในชีวิตประจาวัน เช่น การเรียงลาดับที่ของขนาด จานวน

การบอกความสมั พนั ธ์ของหนว่ ยการวดั เปน็ ต้น
5. การนับจานวนการจาแนกตัวเลขจานวนทค่ี ล้ายคลึงกัน การบอกคา่ ของตวั เลขในจานวนต่าง ๆ

การอ่านจานวนทม่ี หี ลายหลัก
6. ภาษาคณิตศาสตร์ เช่น การบอกสัญลักษณ์ การบวก การเปรียบเทียบขนาด ตาแหน่ง ทิศทาง

เวลา นา้ หนัก สว่ นสูง ความยาว เป็นต้น
7. ข้อเทจ็ จรงิ พนื้ ฐานของจานวน เชน่ ไม่เข้าใจจานวนมากกวา่ หรอื น้อยกวา่
8. การบอกความเหมือนหรอื ความต่างกนั ของวัตถสุ งิ่ ของ รปู ภาพ จานวนทีเ่ ทา่ กนั หรือตา่ งกัน
9. การเรียงลาดบั จานวนจากมากไปหานอ้ ย หรือจากน้อยไปหามาก
10. การเขียนตวั เลขที่คล้ายกนั หรือสลับทกี่ นั เช่น 6-9, 3-8, 1-7, 12-21
11. การรบั ร้ทู างการไดย้ นิ โจทย์ปญั หาทางคณติ ศาสตร์ ทาให้ไมเ่ ข้าใจโจทย์ และคาถามทาง

คณติ ศาสตร์ทาให้ตอบไม่ตรงคาถาม
12. การเขยี นคา่ ประจาหลกั ไมต่ รงหลกั จานวน
13. การใช้เส้นจานวน
14. การนับเรยี งวันใน 1 สัปดาห์ / เดือน / ปี
15. การนับเพม่ิ การนบั ลด ครง้ั ละเทา่ ๆ กนั
16. การแกโ้ จทย์ปัญหาคณิตศาสตร์
17. การจาแนกรูปเรขาคณิตสองมติ ิและรูปเรขาคณติ สามมติ ิ
18. การหาความสมั พันธ์ของแบบรปู เชน่ แบบรปู ทีเ่ ปน็ รปู ภาพ จานวน สี สัญลกั ษณ์ต่าง ๆ เป็นต้น
19. การอา่ นแผนภูมิรูปภาพ แผนภูมแิ ท่ง กราฟ แผนผัง และทศิ ทาง
20. การหาเหตุผลเชงิ ปรมิ าณ

จุดประสงค์

1. เพ่ือให้นักเรยี นที่มีความบกพร่องทางการเรียนรูด้ ้านคณิตศาสตร์ มีพัฒนาการในการเรียนได้
อยา่ งมีคณุ ภาพ

2. เพื่อให้ครูผู้สอนได้แนวทางในการแก้ปัญหานักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางการ เรียนรู้ด้าน
คณติ ศาสตร์

3. เพื่อผู้ที่เก่ียวข้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนักเรียนที่มีความบกพร่อง ทางการเรียนรู้ด้าน
คณติ ศาสตร์

2

ปัญหา ปญั หาทางการเรยี นรู้ด้าน กิจกรรมการแก้ปัญหา
1. การบอกคา่ และความหมายของ
สาระ กจิ กรรมที่ 1 จานวนอะไรเอย่
1. จานวนและการ จานวนนับ กิจกรรมท่ี 2 หยิบ 1,2,3…
กิจกรรมท่ี 3 ฉนั หยบิ ได้
ดาเนนิ การ 2. การจาสญั ลกั ษณท์ างคณิตศาสตร์ กิจกรรมท่ี 4 คหู่ นูอยู่ไหน
3. การจาแนกตัวเลขที่คล้ายกนั
4. การนบั เรียงลาดับจานวน กิจกรรม จาฉันได้ไหม

5. การจาและเขยี นตัวเลขแทนจานวน กจิ กรรม หาค่ใู ห้หนูหน่อย
6. การอ่านและเขยี นจานวนท่มี หี ลาย
กิจกรรมท่ี 1 ฉนั นับได้
หลัก กจิ กรรมท่ี 2 เปรียบเทยี บจานวน
7. การบวกจานวนทีม่ หี นึ่งหลักและสอง กิจกรรมที่ 3 เรยี งเลขตอ่ กัน

หลัก กิจกรรม เติมใหเ้ ตม็

8. การเขียนประโยคสญั ลกั ษณแ์ ละหา กจิ กรรมที่ 1 สมี หัศจรรย์
คาตอบจากโจทย์ปญั หาการบวกงา่ ย ๆ กจิ กรรมท่ี 2 มดั ครบสบิ

9. การลบจานวนทมี่ ีหน่งึ หลกั และสอง กิจกรรมที่ 1 ใบไมน้ าโชค
หลกั และหาคาตอบจากโจทย์ปญั หา กจิ กรรมที่ 2 การบวกโดยการสมั ผสั
กจิ กรรมท่ี 3 บวกงา่ ยนดิ เดยี ว
10. การเขยี นประโยคสัญลักษณแ์ ละหา กจิ กรรมท่ี 4 ผลบวกนอ้ ยกวา่ 10
คาตอบจากโจทย์ปญั หาการลบ กจิ กรรมท่ี 5 ผลลัพธไ์ ม่เกนิ 20
กจิ กรรมท่ี 6 การบวกแนวตง้ั ทไ่ี มม่ ีการทด
11. การคณู กจิ กรรมท่ี 7 การบวกจานวนทมี่ สี องหลกั มี

12. การหาร ทด
กจิ กรรมที่ 8 ทดดว้ ยลกู คิด

กจิ กรรมท่ี 1 คาทีม่ คี วามหมาย
กจิ กรรมท่ี 2 ปัญหาพาสนุก

กจิ กรรมท่ี 1 เหลือเทา่ ไหร่
กจิ กรรมที่ 2 ดาวกระจาย

กิจกรรมที่ 1 เกมใบค้ า
กิจกรรมท่ี 2 ลบหรรษาพาสนกุ

กิจกรรมท่ี 1 นับเพิม่
กิจกรรมที่ 2 ฝาแฝดออมทรัพย์
กิจกรรมที่ 3 มาคูณกันเถอะ
กิจกรรมที่ 4 ผลไม้ทฉ่ี ันชอบ
กิจกรรมที่ 5 คณู แบบ Touch Math
กิจกรรมท่ี 6 ฉันไปซ้ือของ

กจิ กรรมท่ี 1 ความหมายของการหาร
กิจกรรมท่ี 2 ความสัมพันธ์การคณู กบั การ

หาร
กจิ กรรมที่ 3 โจทย์ปัญหาการหาร

3

สาระ ปัญหาทางการเรียนรู้ด้าน กจิ กรรมการแก้ปญั หา
2. การวดั
กจิ กรรมที่ 4 การหารเลขคณติ แบบตาราง
3. เรขาคณิต
4. พีชคณติ 13. การบวกลบเศษส่วน กิจกรรมท่ี 1 เศษสว่ นสดใสด้วย สสี ัน

กจิ กรรมท่ี 2 มาบวกเศษสว่ นกนั เถอะ

กิจกรรมท่ี 3 ไมเ่ ทา่ กนั ก็บวกได้

กิจกรรมที่ 4 ลบเศษส่วนกนั เถอะ

กิจกรรมท่ี 5 ไมเ่ ท่ากนั ก็ลบได้

14. การเรยี งลาดับวันในสปั ดาห์ การเรยี ง กจิ กรรมที่ 1 กจิ กรรมวันใดมากอ่ น

เดือนในรอบปี และการอ่านเวลา กจิ กรรมท่ี 2 เม่ือวาน วันนี้ พร่งุ นี้

กจิ กรรมที่ 3 เดอื นใดมากอ่ นหลัง

กิจกรรมที่ 4 เดือนทผ่ี า่ นมา เดอื นนี้

เดอื นตอ่ ไป

กจิ กรรมที่ 5 เวลานเี้ วลาอะไร

15. การบอกตาแหนง่ และทิศทาง กิจกรรมท่ี 1 ฉนั อยทู่ ีไ่ หนเอย่

กิจกรรมที่ 2 เธออยไู่ หน

กจิ กรรมท่ี 3 โบนัสจัดหอ้ ง

16. การเปรยี บเทยี บและวดั ความยาว กจิ กรรมที่ 1 มาวดั กันเถอะ

กจิ กรรมท่ี 2 เปรยี บเทียบกันนะจะ๊

กิจกรรมท่ี 3 หน่วยมาตรฐาน

17. การช่ังและการนาไปใชใ้ น กิจกรรมที่ 1 เครอื่ งชงั่ 2 แขน

ชีวติ ประจาวนั กิจกรรมที่ 2 มาเปรยี บเทยี บนา้ หนกั กัน

เถอะ

กิจกรรมท่ี 3 ตาชง่ั วเิ ศษ

กิจกรรมที่ 4 ช่ังได้ชั่งดี

18. การตวงและการนาไปใชใ้ น กจิ กรรมที่ 1 ตวงนา้ หรรษา

ชวี ติ ประจาวนั กจิ กรรมท่ี 2 ตวงนา้ มหาสนุก

19. เงนิ กจิ กรรม ค่าของเงนิ

20. รปู เรขาคณติ สองมติ ิ กจิ กรรมท่ี 1 แยกฉนั ให้ถกู

กิจกรรมท่ี 2 ลลี าหาพวก

กิจกรรมที่ 3 สเี่ หล่ียมอยทู่ ไ่ี หน

21. การเขียนรูปเรขาคณติ สองมติ ิ กจิ กรรมที่ 1 สองมิตหิ ลากหลาย

กจิ กรรมท่ี 2 ส่เี หลี่ยมเดินเล่น

กจิ กรรมท่ี 3 สมมาตรได้อย่างไร

22. การบอกและจาแนกรปู เรขาคณิต กจิ กรรมที่ 1 ฉนั คือรูปเรขาคณิตสามมิติอะไร

สามมติ ิ กจิ กรรมที่ 2 พิระมดิ ยอดแหลม

กจิ กรรมท่ี 3 สรา้ งรปู เรขาคณติ

กจิ กรรมท่ี 4 สว่ นสงู รปู เรขาคณติ สามมติ อิ ยู่

ทีไ่ หน

23. ความคดิ รวบยอดเกยี่ วกับแบบรปู กจิ กรรม บอกได้เติมได้

และความสัมพนั ธข์ องรปู ดา้ นรูปรา่ ง

4

สาระ ปัญหาทางการเรยี นรู้ด้าน กจิ กรรมการแกป้ ญั หา
24. ความคิดรวบยอดเกีย่ วกบั แบบรูป กิจกรรม ฉันอยไู่ หน
และความสมั พนั ธข์ องรปู ดา้ นขนาด
25. ความคดิ รวบยอดเก่ยี วกบั แบบรปู กจิ กรรม เติมสีสรา้ งสรรค์
และความสัมพนั ธข์ องรูปดา้ นสี
26. ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับแบบรปู กจิ กรรม ต่อไปเปน็ อะไรเอย่
และความสัมพันธ์ของรปู เรขาคณติ
27. ความคดิ รวบยอดเกี่ยวกบั แบบรูป กจิ กรรม บอกไดไ้ หม
และความสมั พันธข์ องจานวน
กิจกรรม ตารางแสนกล
5. การวิเคราะห์ ข้อมูลและ 28. การเกบ็ รวบรวมและนาเสนอข้อมูล
ความน่าจะเป็น กิจกรรมท่ี 1 อ่านสกั นิดคิด สกั หนอ่ ย
29. การอ่านแผนภูมิ กิจกรรมที่ 2 อ่านไดท้ าได้
กิจกรรมที่ 3 วงกลมมหศั จรรย์
30. การเขยี นแผนภมู ิ กิจกรรมที่ 4 เกมชงิ เหรียญ
กจิ กรรมที่ 1 แผนภูมิรูปภาพ แสนสนกุ
31. ความสมเหตสุ มผลในการคาดการณ์ กจิ กรรมท่ี 2 แท่งสี่เหลยี่ มหรรษา
กิจกรรมที่ 1 คาดเดาเรา้ ใจ
กิจกรรมที่ 2 ตามล่าหาความจรงิ

5

แนวการจดั การเรยี นร้สู าหรับนักเรยี นทีม่ คี วามบกพรอ่ งทางการ เรยี นรู้ด้านคณิตศาสตร์

แนวการจัดการเรียนรู้สาหรับนักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ มีแนว
การจดั การเรยี นรู้ ดังนี้

1. ให้นักเรียนประเมินความสามารถของตนเองในการเรียนคณิตศาสตร์ นักเรียนจะได้ทราบว่า
สิ่งใดทาได้ ส่ิงใดทาไมไ่ ด้

2. ใหน้ กั เรยี นมสี ว่ นรว่ มในการกาหนดสือ่ ที่จะเรียน
3. พยายามใช้เทคนิควิธีการถ่ายทอดให้นักเรียนประสบผลสาเร็จ และพึงระวังอย่าให้
คณิตศาสตรท์ าลายภาพพจน์ทม่ี ีต่อตนเอง
4. ดาเนนิ การเสริมวิชาการใหน้ ักเรยี นเป็นรายบคุ คล
5. แยกขน้ั ตอนการสอนออกเป็นข้ันย่อย ๆ หลาย ๆ ขนั้ ตอน (Task Analysis)
6. เลือกใชเ้ ทคนคิ วธิ กี ารสอนหลากหลายวธิ ี เพื่อให้มคี วามเหมาะสมกับนักเรียน เป็นรายบุคคล
7. ใชก้ ิจกรรมหลาย ๆ กิจกรรมในการสอน เพือ่ ให้เดก็ เกิดความคดิ รวบยอดและสรุปแนวคิดได้
8. ให้นักเรียนมีโอกาสได้เรียนรู้จากประสบการณ์หรือกิจกรรมตามความถนัด แล้วจึง
เพมิ่ ระดบั ความยากง่ายตามความสามารถของนักเรยี น
9. เนน้ ย้าซ้าทวนกฎเกณฑต์ ่าง ๆ โดยใช้ภาษาของนักเรยี น
10. ใช้ส่ือที่เป็นรูปธรรมเป็นเครื่องนาทางเม่ือนักเรียนเข้าใจความคิดรวบยอดแล้ว จึงเน้น
กระบวนการคดิ ทีเ่ ป็นนามธรรม
11. สอนใหน้ กั เรียนสามารถคาดคะเนหรือประเมินคาตอบ
12. มกี ารทาสัญญารว่ มกันระหวา่ งครูกับนักเรียน
13. จับคูเ่ พ่ือนรใู้ จใหช้ ่วยเหลอื (Buddy)
14. เน้น ยา้ ซา้ ทวน คาส่ัง หลกั การ วธิ ีการ ข้ันตอน
15. ให้โอกาสนกั เรียนในการเลือกกจิ กรรมทีป่ ฏิบตั ิ
16. ตรวจสอบความเขา้ ใจนักเรียนก่อนสอนทุกคร้ัง
17. ให้เวลากับนกั เรียนในการทากจิ กรรมหรอื ปฏิบตั ิงาน
18. ฝกึ ให้นกั เรียนรจู้ ักการสงั เกต จดจา และบันทึกขอ้ มลู
19. เปิดโอกาสใหใ้ ช้เครือ่ งคานวณได้ (Calculator)
20. ให้นกั เรยี นพบความสาเร็จ และเสริมแรงให้นักเรียนมกี าลงั ใจ
21. ใช้กระบวนการวิจัยเพอ่ื พฒั นาการเรียนการสอน
22. ปรับเนอื้ หาสาระหลักสตู รตามความเหมาะสมกับนักเรียนเฉพาะบุคคล
23. ศึกษาวเิ คราะห์ผ้เู รยี นเพื่อรู้จดุ เดน่ จดุ ดอ้ ย
24. ครูควรทาความเข้าใจกับนักเรียนปกติ บุคคลรอบข้างของนักเรียนให้เข้าใจข้อจากัดของ
นักเรียนทบี่ กพรอ่ งทางการเรียนรู้ และนาบคุ คลน้นั เข้ามาร่วมเป็นผ้ชู ่วยเหลือพัฒนานกั เรียน
25. ใหก้ ารเสริมแรงเชงิ บวก เช่น การชมเชย ยกย่อง ให้รางวัล

6

วิธใี ชเ้ ทคนคิ วธิ ีการและส่อื การเรยี นการสอน
สาหรับนักเรยี นท่มี ีความบกพร่องทางการเรยี นรดู้ ้านคณติ ศาสตร์

1. ให้นักเรียนประเมินความสามารถของตนเองในการเรียนคณิตศาสตร์ นักเรียนจะได้ทราบว่า
สง่ิ ใดทาได้ สงิ่ ใดทาไมไ่ ด้

2. สอนตอ่ จากสง่ิ ทน่ี กั เรียนรแู้ ลว้
3. ใหน้ กั เรียนมีสว่ นร่วมในการกาหนดสง่ิ ท่จี ะเรยี น (ต้งั จดุ มงุ่ หมายดว้ ย)
4. พยายามแสวงหาวิธีทาให้นักเรียนประสบผลสาเร็จและพึงระวังอย่าให้คณิตศาสตร์ ทาลาย
ภาพพจน์ที่มีตอ่ ตนเอง
5. ควรเน้นการเสริมวิชาการให้นักเรียนเป็นรายบุคคลโดยเฉพาะอย่างยิ่งนักเรียนท่ีเรียนไม่ทัน
เพ่อื น
6. แยกข้ันตอนการสอนออกเป็นขน้ั ยอ่ ย ๆ หลาย ๆ ข้ันตอน (Task Analysis)
7. หากนักเรียนไม่ประสบความสาเร็จเม่ือครูสอนโดยใชว้ ธิ ีหนึ่ง ครคู วรเปลีย่ น วิธีสอน เพราะวิธี
เดมิ อาจนาไปส่คู วามล้มเหลว
8. ใช้กิจกรรมหลาย ๆ กิจกรรมในการสอนความคิดรวบยอด จะช่วยให้นักเรียนสามารถสรุป
แนวคิดได้
9. ให้นักเรียนมีโอกาสได้เรียนรู้จากประสบการณ์หรือกิจกรรมตามความถนัด แล้วจึงเพ่ิมระดับ
ความยากขน้ึ ตามระดบั ความสามารถ
10. เนน้ ย้า ซา้ ทวนกฎเกณฑ์ต่างๆ โดยใช้ภาษาของนกั เรียน
11. ใช้ส่ิงท่ีเป็นรูปธรรมเป็นเครื่องนาทาง เม่ือนักเรียนเข้าใจความคิดรวบยอด แล้วจึงเน้น
กระบวนการคิดทเ่ี ปน็ นามธรรม
12. สอนใหน้ ักเรยี นสามารถคาดคะเนหรือประเมินคาตอบ
13. การทาสญั ญาร่วมกันระหวา่ งครูกับนักเรียน
14. ออกคาสง่ั ให้งา่ ย ชดั เจน เจาะจง
15. จับคู่เพอ่ื นรู้ใจให้ชว่ ยเหลือ
16. เนน้ ย้า ซา้ ทวน คาสั่ง หลกั การ วธิ ีการ ข้นั ตอน
17. เตรียมงานทีห่ ลากหลายให้นักเรียนมโี อกาสไดเ้ ลอื กปฏบิ ตั ิ
18. ก่อนลงมือปฏิบัติกิจกรรม ครูต้องแน่ใจว่า นักเรียนเข้าใจข้ันตอน วิธีการภาระงาน มิฉะน้ัน
การทากิจกรรมอาจไมม่ ีความหมาย
19. ให้เวลาเรียนอย่างเพียงพอ นักเรียนท่มี ีความบกพรอ่ งทางการเรยี นรอู้ าจใช้ เวลานาน จึงจะ
เกิดทักษะ
20. แนะนาวิธีการสังเกต จดจา บนั ทึกขอ้ มลู
21. สาหรับนกั เรียนบางคนอาจใช้เครอื่ งคิดคานวณในการคิดคานวณได้
22. ฝกึ การแกป้ ัญหาคณิตศาสตรโ์ ดยไม่ใช้เครอ่ื งคิดคานวณ
23. จัดกลุ่มปัญหาที่คล้ายคลึงกันเข้าด้วยกัน แบ่งโจทย์ปัญหาออกเป็นส่วนๆ ให้ง่ายต่อ
การทาความเขา้ ใจ

7

24. ถ้านักเรียนมีปัญหาในการคัดลอกงาน อาจให้เพ่ือนหรือครูช่วยคัดลอกให้ก่อนท่ีจะให้
นกั เรียนทางานตามภาระงานน้ันด้วยตนเอง

25. หลังจากอธิบายจากตัวอย่าง ให้นักเรียนทางานท่ีคล้ายคลึงกับตัวอย่างก่อนท่ีจะให้โจทย์
พลกิ แพลง

26. ใหน้ ักเรียนพบความสาเร็จและเสริมแรงให้นกั เรยี นมกี าลงั ใจ
27. ใชก้ ระบวนการวิจัยเพอื่ พฒั นาการเรยี นการสอน

การวดั และประเมินผล

1. วิธีการวัด
- สังเกตพฤติกรรมในการเรียนหรอื การปฏบิ ตั กิ ิจกรรม
- ตรวจแบบฝึกทักษะหรอื ผลงานการปฏบิ ตั งิ าน

2. เคร่อื งมือการวดั
- แบบสังเกตพฤติกรรมในการเรยี นหรือการปฏิบตั กิ จิ กรรม
- แบบบันทกึ การตรวจแบบฝกึ ทักษะหรอื ผลงานการปฏิบัตงิ าน

3. เกณฑก์ ารประเมิน
- แสดงพฤติกรรมในการเรียนหรือการปฏบิ ัติกิจกรรม ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80
- คะแนนแบบฝกึ ทักษะหรอื ผลงานการปฏิบตั งิ าน ผ่านเกณฑร์ ้อยละ 80

เทคนคิ วธิ ีการ ส่ือ นวตั กรรมทางคณติ ศาสตรส์ าหรบั นักเรียนทม่ี คี วามบกพร่องทางการเรียนร้ทู ่ี
นาเสนอในเอกสารเล่มน้ี เป็นเพียงการนาเสนอทางเลือกให้ครูได้ใช้เป็น แนวทางการพัฒนาเทคนิค วิธีการ
สื่อ นวัตกรรมของครูหรือครูจะนาไปใช้กับนักเรียน โดยตรงหรือเลือกใช้เฉพาะกิจกรรมท่ีเหมาะสมกับ
นักเรียนและบริบทของโรงเรียน ซ่ึงครู ควรได้นาไปปรับเพิ่มหรือลดให้เหมาะสมกับนักเรียนเป็นสาคัญ
เสยี กอ่ น

การปรบั เปลยี่ นวิธีการเรยี นการสอนคณิตศาสตร์สาหรับนักเรยี นทม่ี ีความบกพรอ่ งทางการเรียนรู้
ดา้ นคณิตศาสตร์

1. ปรบั เปล่ียนเนื้อหาสาระ หลักสูตร ตามความเหมาะสมกับนกั เรยี นเฉพาะบุคคล
2. ปรับเปล่ยี นวธิ กี ารปฏิบตั ขิ องครูตอ่ นกั เรยี น
3. ปรับเปลยี่ นวธิ ใี นการเรียนรขู้ องนักเรยี น เช่น เพ่มิ เวลาในการทาแบบฝกึ ทักษะเปน็ ตน้
4. ปรับเปลี่ยนวิธีการสอน เช่น จัดเนือ้ หาหรือกิจกรรมออกเป็นข้ันตอนยอ่ ย ๆ เปน็ ต้น
5. ใหน้ ักเรียนมีทางเลือกในการทางานหรือกิจกรรม เชน่ ใชเ้ คร่อื งคิดคานวณตอบปากเปล่าหรือ
การพมิ พแ์ ทนการเขียนตอบ
6. เปลี่ยนระบบการเรียนการสอน เช่น สอนเป็นรายบุคคล ให้เพ่ือนช่วยเพื่อน ใช้คอมพิวเตอร์
ชว่ ยสอน เปน็ ต้น
7. ใชก้ ระบวนการวจิ ยั ในชั้นเรยี นมาแก้ปญั หาอย่างเปน็ ระบบ

8

8. เรียนรู้จากสื่อของจริง เช่น การจัดลาดับสิ่งของการเปรียบเทียบ ขนาด สี รูปร่าง ระยะทาง
เปน็ ต้น

9. การออกคาสงั่ ที่ชดั เจน เจาะจง ส้ัน ไม่ซับซอ้ น
10. การทาสญั ญารว่ มกนั ระหว่างครูกบั นกั เรียน
11. จบั คู่เพื่อน (Buddy) ใหแ้ กน่ ักเรยี น

สรปุ การนาเทคนิค วธิ ีการ สอื่ ไปใชก้ ับนักเรียนทม่ี ีความบกพรอ่ งทางการเรียนรู้
ด้านคณิตศาสตร์

การที่ครูจะนาเทคนิค วธิ ีการ สื่อ สาหรับนักเรียนท่ีบกพร่องทางการเรียนรไู้ ปพัฒนานักเรียนได้
อย่างมีประสิทธิภาพครูควรปฏบิ ตั ิดังนี้

1. ศกึ ษาวิเคราะห์ผเู้ รียนจนรู้จุดเด่น จุดด้อย หรอื ส่งิ ท่ผี เู้ รยี นทาไมไ่ ด้
2. เลือกปัญหาที่เร่งด่วนจาเป็นมาแก้ไขก่อน จากนั้นจึงแก้ปัญหาท่ีมีความสาคัญ ในลาดับต่อ ๆ
ไป ไม่ควรแก้ไขหลาย ๆ เร่ืองไปพรอ้ มกัน
3. ในการออกแบบกิจกรรม หรือจัดการเรียนรู้ครูควรได้จัดลาดับข้ันเนื้อหาที่จะสอนออกเป็น
ขัน้ ตอนยอ่ ย ๆ (Task Analysis) ตามระดับพ้นื ฐานความสามารถของผู้เรียน
4. ระหว่างการพัฒนานักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ครูควรบันทึกพฤติกรรมของ
ผูเ้ รียนระหว่างการพัฒนาและนาไปใช้วางแผนการพัฒนาให้เหมาะสมกบั นักเรียนให้เกดิ ประสิทธิภาพมาก
ขนึ้
5. ครูควรเน้นการจดั ประสบการณ์จากการลงมือปฏิบัตจิ รงิ โดยยกตัวอยา่ งประกอบให้มากและ
เนน้ ย้า ซา้ ทวน สงิ่ ที่เรยี น
6. ครูควรทาความเข้าใจกับนักเรียนปกติ บุคคลรอบข้างของนักเรียนให้เข้าใจข้อจากัดของ
นักเรียนท่ีบกพร่องทางการเรียนรู้และนาบุคคลเหล่านั้นเข้ามาร่วมเป็นผู้ช่วยเหลือพัฒนานักเรียน
กล่มุ เป้าหมายตอ่ ไป
7. ครูควรให้เวลากับนักเรียนในการคิด หรือทากิจกรรม โดยพิจารณานักเรียนเป็นหลัก
ไมค่ วรเร่งรบี ใจร้อนเกนิ ไป
8. ครูควรให้แรงเสริมเชิงบวกให้มากที่สดุ การชมเชย ยกย่อง ให้รางวัลพิเศษจะช่วยให้นักเรียน
มกี าลังใจ มีเจตคตทิ ่ีดี และร่วมกิจกรรมอย่างมีความสุข
สาหรับเอกสารเล่มน้ีเป็นเอกสารเล่มท่ี 1 ในชุดที่ 4 เทคนิค วิธีการและสื่อ สาหรับนักเรียนที่มี
ความบกพรอ่ งทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ โดยจะประกอบด้วยปัญหาและเทคนคิ การแก้ปัญหาสาหรับ
นกั เรยี นท่ีมคี วามบกพร่องทางการเรยี นรดู้ ้านคณติ ศาสตรเ์ ก่ียวกบั ปัญหาต่อไปนี้
ปัญหาท่ี 1 การบอกค่าและความหมายของจานวน
ปัญหาท่ี 2 การจาสญั ลกั ษณท์ างคณติ ศาสตร์
ปญั หาท่ี 3 การจาแนกตวั เลขทคี่ ล้ายกนั
ปญั หาที่ 4 การนับเรียงลาดับจานวน
ปญั หาท่ี 5 การจาและเขียนตัวเลขแทนจานวน
ปญั หาท่ี 6 การอา่ นและเขยี นจานวนท่ีหลายหลกั

9

10

แผนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ที่ 1
เรอ่ื ง จานวนอะไรเอ่ย

1. ปัญหา การบอกคา่ และความหมายของจานวนนับ 1–5

2. ระดบั ช้นั ช้ันประถมศึกษาปที ี่1–3

3. กจิ กรรมท่ี 1 จานวนอะไรเอ่ย

4. จุดประสงค์การเรยี นรู้
1. บอกจานวนสิ่งของหรอื บัตรภาพและใช้สัญลักษณ์แทนจานวนได้
2. บอกค่าจานวนได้

5. สอดคล้องกับสาระท่ี 1 จานวนและการดาเนนิ การ
มาตรฐานการเรยี นรทู้ ่ี ค 1.1 เข้าใจถงึ ความหลากหลายของการแสดงจานวนและการใช้จานวน

ในชีวิตจรงิ

6. วธิ ีดาเนนิ กจิ กรรม
1. ครสู นทนาและซักถามเกย่ี วกับชื่อส่งิ ของต่างๆที่จัดเตรยี มไว้
2. ครูสาธติ โดยการหยิบสงิ่ ของตามจานวน ครูนบั จานวนส่งิ ของและให้นักเรียนนับตามจากน้ันครู

หยิบบัตรตวั เลขที่เปน็ Touch Math ท่ีเท่ากับจานวน (ครศู กึ ษา Touch Math ในภาคผนวก)
3. ครหู ยิบบตั รตัวเลขครั้งละ 1 บัตรแบบ Touch Math โดยการนบั จุดต่อ ให้นักเรยี นหยิบส่ิงของ

ทีม่ ตี ามจานวนท่ีครูกาหนด พร้อมกบั อา่ นบตั รตวั เลขที่เปน็ Touch Math โดยให้นักเรียนเรยี นรู้ 1 2 3 4
5 ตามลาดับ เช่น

4. ครูนาบัตรภาพให้นกั เรยี นดนู ักเรยี นหยิบบตั รตวั เลขและฝกึ การนบั แบบ Touch Math ทม่ี คี า่
เทา่ กบั บตั รภาพพร้อมกบั อา่ น

11

5. นักเรียนปฏิบัตกิ ิจกรรม ตามข้อ 3 – 4 จานวน 1 - 5
6. ใหน้ กั เรียนเลน่ เกมจบั คู่ ระหว่างบัตรภาพกบั บัตรตวั เลข Touch Math 1 – 5 ใครจับคู่
ได้มากทีส่ ดุ เปน็ ผ้ชู นะ
7. ให้นกั เรยี นทาแบบฝึกทกั ษะ
7. สอื่ /อุปกรณ์
1. ของจรงิ
2. ของจาลอง
3. บตั รภาพ
4. บัตรตวั เลข TouchMath
5. แบบฝกึ ทักษะ
8. การวดั และประเมนิ ผล
8.1 วิธกี าร

- ตรวจแบบฝึกทักษะ
8.2 เครอ่ื งมือ

- แบบบนั ทกึ คะแนน
8.3 เกณฑ์

- ทาแบบฝกึ ทักษะได้ร้อยละ 80

12

แบบบนั ทึกคะแนน
แผนการจัดกิจกรรมการเรยี นรทู้ ่ี .......................... เร่ือง.................................................

ช่ือ แบบฝึก ัทกษะ ่ที .... รวม รอ้ ยละ สรปุ
เลขท่ี แบบฝึกทักษะที่ .... ผา่ น ไม่ผ่าน
แบบฝึก ัทกษะ ่ีท ....
แบบฝึก ัทกษะที่ ....

คะแนนเต็ม

ลงชื่อ .......................................ผปู้ ระเมนิ
…………./………………………/…………………
เกณฑ์การประเมิน ผา่ นต้งั แตร่ อ้ ยละ 80

13

สอื่ Touch Math

การรบั รู้ทางการใช้สายตา การฟังและการสมั ผัส ตัวเลขแตล่ ะตวั จะมีลักษณะพเิ ศษ คือ

- มีจดุ อยูบ่ นเสน้ ตวั เลข ตามจานวนตวั เลขน้นั เช่น

ตวั เลข 1 มจี ดุ 1 จุด มคี า่ เป็น 1
ตวั เลข 2 มจี ดุ 2 จดุ มคี า่ เป็น 2
ตวั เลข 3 มจี ุด 3 จดุ มคี า่ เป็น 3
ตวั เลข 4 มจี ดุ 4 จดุ มคี า่ เป็น 4
ตวั เลข 5 มจี ุด 5 จุด มคี า่ เป็น 5

- เลข 6 ข้ึนไป มจี ุดและมีวงกลมล้อมจดุ ในการนบั ครูสอนให้นบั เลขท่ีมีวงกลมซ้อน 2 คร้ัง

(จุด 2 ช้ัน)

ตัวเลข 6 มจี ุด 2 ช้ัน 3 จดุ มคี า่ เปน็ 6

ตัวเลข 7 มีจุด 2 ชน้ั 3 จดุ จุดชน้ั เดียว 1 จดุ มคี า่ เปน็ 7

ตวั เลข 8 มจี ดุ 2 ชัน้ 4 จดุ มคี ่าเปน็ 8

ตวั เลข 9 มีจุด 2 ชนั้ 4 จดุ จุดชนั้ เดียว 1 จดุ มีค่าเปน็ 9

หมายเหตุ
1. ในเด็ก LD จะไมไ่ ดม้ องถงึ ตัวเลข แต่จะมองแคจ่ ุดเท่านัน้
2. ครูผู้สอนควรเน้นสีท่ีมีความแตกต่างกันระหว่างตัวเลขกับจุดที่กากับอย่างเห็น

ชดั เจน
3. จดุ ที่มี 2 ชัน้ ควรมคี วามแตกต่างอย่างเห็นชัดเจน
4.ในขณะนับครูควรให้เด็กสมั ผัสจุดไปพรอ้ มกับการนับ
จุด 1 ชั้น สมั ผสั จุด 1 ครัง้ นบั 1

จดุ 2 ชนั้ สมั ผัสจุด 2 ครงั้ นับ 1 – 2 (แต่ต้องนบั ตามลาดบั ของจุด) เช่น

14

แบบฝกึ ทกั ษะท่ี 1

ชอ่ื ......................................................................................ชน้ั .................เลขท่ี..............
คาชีแ้ จง ใหท้ าเครอื่ งหมาย X ลงบนภาพท่ีมีจานวนตามท่ีกาหนดให้

4
1
5
2
3

15

แบบฝกึ ทกั ษะท่ี

ชือ่ ......................................................................................ชัน้ .................เลขท่ี..............

คาชแี้ จง ใหน้ ักเรียนจบั คู่ภาพกับตัวเลขท่ีมีค่าเทา่ กัน

16

แผนการจัดกจิ กรรมการเรียนรูท้ ่ี
เรอ่ื ง หยบิ 1... ...3...

1. ปัญหา การบอกค่าและความหมายของจานวนนับ

. ระดบั ชัน้ ชั้นประถมศึกษาปีท1่ี –3

3. กิจกรรมที่ หยิบ 1...2...3...

4. จุดประสงค์การเรยี นรู้
นักเรยี นบอกค่าและความหมายของจานวนไดถ้ ูกตอ้ ง

5. สอดคล้องกับสาระท่ี 1 จานวนและการดาเนินการ
มาตรฐานการเรียนรทู้ ่ี ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจานวนและการใชจ้ านวน

ในชวี ิตจริง

6. วิธดี าเนนิ กิจกรรม
1. ใหน้ ักเรียนน่งั เป็นวงกลมแลว้ สนทนาซักถามเก่ียวกบั สื่อทีค่ รเู ตรยี มไวส้ าหรบั การจดั กจิ กรรม

วา่ มีอะไรบา้ ง
2. ครสู าธติ การเล่นเกมให้นกั เรยี นดู โดยครูเปิดเพลงและปรบมอื ตามจังหวะ ครูปดิ เพลงแล้วพูด

ว่า “หยบิ เลข 3” พรอ้ มกบั ชูบัตรเลข 3 ให้นักเรยี นดูแล้วครูหยิบลูกปดั ท่ีเตรียมไว้ 3 ลูกใสถ่ าด
3. นกั เรียนปฏบิ ัติกจิ กรรมตามทีค่ รกู าหนด โดยครบู อกจานวน นกั เรียนหยิบลกู ปัดตามจานวน

ทคี่ รูบอก
4. ใหน้ กั เรยี นจับคู่ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมในขอ้ ที่ 3 เปลย่ี นจากครูเป็นนักเรยี น
5. ทบทวนเรอื่ งจานวนโดยครูบอกจานวน 1-10 นกั เรยี นชูบตั รจานวน 1-10 พร้อมกับอ่าน

จานวนพรอ้ มกับชมเชยนกั เรยี นทีป่ ฏิบตั กิ ิจกรรมได้ถูกต้อง
6. ให้นกั เรยี นทาแบบฝึกทักษะ

7. ส่ือ/อปุ กรณ์
1. ลูกปัด
2. ถาดลกู ปดั
3. บตั รตัวเลข 1-10
4. แบบฝกึ ทกั ษะ

17

8. การวดั และประเมนิ ผล
8.1 วิธกี าร
- ตรวจแบบฝกึ ทกั ษะ
8.2 เครอ่ื งมือวัด
- แบบบันทึกคะแนน
8.3 เกณฑ์
- คะแนนผ่านรอ้ ยละ 80

18

แบบบันทึกคะแนน
แผนการจดั กิจกรรมการเรยี นรูท้ ่ี ........................ เรื่อง.................................................

ช่ือ แบบฝึก ัทกษะ ่ที .... รวม ร้อยละ สรุป
เลขท่ี แบบฝึกทักษะที่ .... ผา่ น ไมผ่ า่ น
แบบฝึก ัทกษะ ่ีท ....
แบบฝึก ัทกษะที่ ....

คะแนนเต็ม

ลงชอื่ .......................................ผปู้ ระเมิน
…………./………………………/…………………
เกณฑ์การประเมิน ผา่ นตงั้ แต่รอ้ ยละ 80

19

แบบฝกึ ทักษะที่ 1

ช่อื ......................................................................................ช้ัน.................เลขท่ี..............
คาชแ้ี จง ใหน้ ักเรียนจับคภู่ าพกบั ตัวเลขที่มคี ่าเทา่ กัน

ได้......................................คะแนน
สรปุ  ผา่ น  ไม่ผา่ น

20

21

แผนการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ที่ 3
เรือ่ ง ฉันหยิบได้

1. ปัญหา การบอกคา่ และความหมายของจานวนนบั

. ระดับช้นั ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 1–3

3. กจิ กรรมที่ 3 ฉันหยิบได้

4. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. นักเรยี นบอกค่าจานวนแทนจานวนสิ่งของได้
2. นักเรียนจบั คู่จานวนเลขกับภาพได้

5. สอดคล้องกับสาระท่ี 1 จานวนและการดาเนนิ การ
มาตรฐานการเรยี นรู้ท่ี ค 1.1 เข้าใจถงึ ความหลากหลายของการแสดงจานวนและการใชจ้ านวน

ในชีวิตจรงิ

6.วธิ ดี าเนินกิจกรรม
1. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกนั สนทนาและซักถามเก่ยี วกับชื่อสิ่งของต่าง ๆ ที่ ครูจัดเตรียมไว้
2. นกั เรยี นฝกึ ร้องเพลง จานวน 1- 10
- หยบิ บตั รตัวเลขไทยจานวน ๑-๑๐ แลว้ หยิบส่งิ ของจานวนเทา่ กบั ๑-๑๐
- หยิบบัตรตวั เลขอารบกิ จานวน 1-10 แลว้ หยิบบัตรภาพทเี่ ตรยี มไว้ใหเ้ ท่ากบั จานวน 1-10
3. ให้นักเรยี นจับคู่ฝกึ กจิ กรรม ฉนั หยบิ ได้
4. นักเรยี นทาแบบฝึกทักษะ

7. ส่อื /อปุ กรณ์ ดินสอ ยางลบ ก้อนหนิ ฯลฯ
1. ของจริง เช่น หุ่นจาลอง รปู ภาพสตั ว์ สิง่ ของ
2. ของจาลอง เชน่ บตั รภาพสตั ว์ สิง่ ของ
3. รูปภาพ เช่น เลขไทยและเลขฮนิ ดอู ารบิก
4. บตั รตัวเลข 1-10
5. แบบฝึกทกั ษะ

22

8. การวัดและประเมนิ ผล
8.1 วิธีการ
- ตรวจแบบฝกึ ทกั ษะ
8.2 เครือ่ งมือ
- แบบบันทึกคะแนน
8.3 เกณฑ์
- ทาแบบฝกึ ทักษะได้ถูกต้องใหข้ ้อละ 1 คะแนนท้ัง 2 รายการต้องไดค้ ะแนน
ร้อยละ 80

ขอ้ เสนอแนะ
1. สิ่งของที่นามาใหน้ กั เรยี นนบั อาจเปลยี่ นได้ตามความสนใจของนักเรยี น
2. ถ้าจานวนนกั เรยี นมากกว่า 1 คน อาจให้มีการแขง่ ขันเพื่อความสนุกสนาน
3. ปรบั เปลี่ยนตวั เลขและจานวนตามความยากง่ายและระดบั ความสามารถของนกั เรียน
4. ครูควรสรา้ งแบบฝึกทกั ษะใหส้ อดคล้องกับเน้ือหาและกิจกรรม

23

แบบบันทึกคะแนน
แผนการจดั กิจกรรมการเรยี นรูท้ ่ี ........................ เรื่อง.................................................

ช่ือ แบบฝึก ัทกษะ ่ที .... รวม ร้อยละ สรุป
เลขท่ี แบบฝึกทักษะที่ .... ผา่ น ไมผ่ า่ น
แบบฝึก ัทกษะ ่ีท ....
แบบฝึก ัทกษะที่ ....

คะแนนเต็ม

ลงชอื่ .......................................ผปู้ ระเมิน
…………./………………………/…………………
เกณฑ์การประเมิน ผ่านตงั้ แต่รอ้ ยละ 80

24

แบบฝกึ ทกั ษะท่ี 1

ชื่อ.................................................................................ชั้น................เลขที่.............
คาชี้แจง ใหน้ กั เรยี นโยงเส้นจับคู่ระหวา่ งตัวเลขกับภาพ

ได้......................................คะแนน
สรุป  ผ่าน  ไมผ่ ่าน

25

แบบฝึกทกั ษะที่

ชอื่ .................................................................................ช้ัน................เลขท่ี.............
คาชแ้ี จง ให้นกั เรียนโยงเส้นจบั คูร่ ะหวา่ งตวั เลขกับภาพ







ได้......................................คะแนน
สรุป  ผ่าน  ไมผ่ า่ น

26

แบบฝึกทกั ษะที่ 3

ช่ือ.................................................................................ชั้น................เลขท่ี.............
คาชแี้ จง ใหน้ ักเรยี นเขียนตวั เลขไทยหรือตวั เลขอารบิกท่ีหายไปให้ตรงกับภาพ

1



2



4

ได้......................................คะแนน
สรุป  ผา่ น  ไมผ่ า่ น

27

แผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ที่ 4
เรอื่ ง คู่หนอู ย่ไู หน

1. ปญั หา บอกคา่ และความหมายของจานวนนับ

2. ระดบั ชน้ั ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 1–3

3. กจิ กรรมที่ 4 ค่หู นูอยไู่ หน

4. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1. นกั เรยี นบอกคา่ ของจานวนได้
2. นกั เรียนจับคู่ จานวนที่เป็นเลขไทย จานวนที่เป็นเลขฮินดอู ารบิกกบั ภาพทก่ี าหนดใหไ้ ด้

5. สอดคล้องกับสาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
มาตรฐานการเรยี นรทู้ ี่ ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจานวนและการใช้จานวน

ในชวี ิตจรงิ

6. วิธดี าเนนิ กจิ กรรม
1. ครนู าบัตรภาพ บัตรจานวนให้นักเรียนดู พร้อมท้ังบอกจานวนของภาพ
2. ครตู ิดบัตรภาพบนกระดานให้ตวั แทนนกั เรียนหาบัตรจานวนท่เี ป็นตวั เลขไทยและบตั รจานวน

ที่เป็นตัวเลขฮนิ ดูอารบิกเพ่ือแสดงจานวนของภาพ
3. แบง่ นกั เรียนเป็น 3 กล่มุ กลมุ่ ท่ี 1 ถือบตั รภาพ กล่มุ ท่ี 2 ถือบตั รจานวนทีเ่ ป็นตวั เลขไทยและ

กลุ่มท่ี 3 ถือบตั รจานวนที่เปน็ ตวั เลขฮินดูอารบกิ
4. ตวั แทนกลมุ่ ที่ 1 ชบู ตั รภาพ นักเรยี นกลุ่มที่ 2 และกลุ่มท่ี 3 รว่ มกนั หาบตั รจานวนทีถ่ ูกต้อง

เพ่อื แสดงจานวนของภาพใหเ้ พื่อนดู ครตู รวจสอบความถูกตอ้ งจนครบจานวนบัตรตัวเลข
5. ครูแจกบัตรจานวนท่ีเปน็ ตัวเลขไทยหรือตวั เลขฮนิ ดูอารบิกหรือตวั อักษรให้นักเรียนคนละ

1 บัตร (อยา่ งใดอย่างหนงึ่ ) นักเรียนจบั คู่ราวงพร้อมกับร้องเพลง เมอื่ เพลงจบใหน้ ักเรยี นจบั กลุ่มจานวน
ท่มี ีค่าเทา่ กันเชน่ 2 - ๒ - สอง, 4 - ๔ - ส่ี ครแู ละนักเรยี นร่วมกันสรุปความถูกต้อง

6. ให้นักเรียนทาแบบฝึกทักษะ

7. สื่อ/อุปกรณ์
1. บตั รภาพ
2. บตั รจานวน 1 - 10 (ตัวเลขไทยและตัวเลขฮินดูอารบกิ )
3. เพลงจบั คู่
4. แบบฝกึ ทกั ษะ

28

8. การวดั และประเมนิ ผล
8.1 วิธกี าร
- ตรวจแบบฝึกทักษะ
8.2 เคร่ืองมือ
- แบบบันทกึ คะแนน
8.3 เกณฑ์
- บอกคา่ จานวนโดยการจบั คู่ภาพกับจานวนได้ถูกต้องให้ครั้งละ 1 คะแนน
- จับค่ใู นแบบฝึกทักษะได้ข้อละ 1 คะแนน ทงั้ 2 รายการต้องไดค้ ะแนนร้อยละ 80

ขอ้ เสนอแนะ
1. ในการนาบัตรจานวนมาใชค้ วรใหเ้ หมาะสมกบั ระดบั ความสามารถของแตล่ ะบุคคล
2. ฝกึ ทักษะซา้ หลาย ๆ ครั้งโดยเปลย่ี นกจิ กรรมใหห้ ลากหลาย
3. ครูควรจะสร้างแบบฝกึ ทักษะใหส้ อดคล้องกับเน้ือหาและกิจกรรม
4. ให้แรงเสรมิ ตามความเหมาะสม

29

แบบบันทกึ คะแนน
แผนการจัดกจิ กรรมการเรียนร้ทู ี่ ....................... เรอ่ื ง.................................................

ช่ือ แบบฝึก ัทกษะ ่ที .... รวม ร้อยละ สรปุ
เลขท่ี แบบฝึกทักษะที่ .... ผา่ น ไมผ่ า่ น
แบบฝึก ัทกษะ ่ีท ....
แบบฝึก ัทกษะที่ ....

คะแนนเต็ม

ลงชือ่ .......................................ผู้ประเมิน
…………./………………………/…………………
เกณฑ์การประเมิน ผา่ นต้ังแตร่ อ้ ยละ 80

30

ภาคผนวก

31

32

33

แบบฝึกทักษะท่ี 1

ชื่อ.................................................................................ช้นั ................เลขที่.............
คาชี้แจง ใหน้ ักเรียนจับคจู่ านวนและภาพ

ได้......................................คะแนน
สรปุ  ผา่ น  ไม่ผา่ น

34

แบบฝึกทกั ษะท่ี

ชื่อ.................................................................................ชนั้ ................เลขที่.............
คาช้แี จง ใหน้ กั เรียนจับคจู่ านวนและภาพ

ได้......................................คะแนน
สรุป  ผา่ น  ไม่ผา่ น

35

แบบฝึกทักษะที่ 3

ช่อื .................................................................................ช้นั ................เลขที่.............
คาช้แี จง ใหน้ ักเรยี นวาดภาพเท่ากับจานวนตัวเลขท่ีกาหนด

๓5



๔6

8๙

10 1

ได้......................................คะแนน
สรปุ  ผ่าน  ไมผ่ า่ น

36

ปัญหาท่ี 2 การจาลักษณะตัวเลขและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์
กิจกรรมท่ี 1 จำฉันได้ไหม แก้ปัญหำกำรจำลกั ษณะตวั เลข
กิจกรรมท่ี 2 สญั ลกั ษณ์ควรจำ แก้ไขปัญหำกำรจำสญั ลกั ษณ์ทำงคณิตศำสตรไ์ ม่ได้

37

แผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ท่ี 5
เร่ือง จาฉันไดไ้ หม

1. ปญั หา การจาตวั เลข

. ระดบั ชั้น ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 1-3

3. กจิ กรรมท่ี 1 จาฉันได้ไหม

4. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1. นกั เรียนบอกลกั ษณะ 1–10 ตัวเลขไทยและตัวเลขฮินดูอารบิกไดถ้ ูกต้อง
2. นกั เรยี นเขยี นตวั เลขแทนจานวนได้

5. สอดคล้องกับสาระที่ 1 จานวนและการดาเนนิ การ
มาตรฐานการเรยี นรู้ท่ี ค 1.1 เขา้ ใจถึงความหลากหลายของการแสดงจานวนและการใช้จานวน

ในชวี ิตจริง

6. วธิ ีดาเนินกิจกรรม
1. นักเรยี นดบู ัตรตวั เลข 1-10 อารบิก พร้อมกับบตั รภาพค่กู นั ให้นกั เรยี นสังเกตและจาตวั เลข

ท่มี ลี กั ษณะคลา้ ยสว่ นใดส่วนหนึง่ ของภาพ ดังนี้

เลข 1 เหมอื นดอกไม้ เลข 2 เหมือนคอห่าน

1 2

เลข 3 เหมือนผีเสอ้ื เลข 4 เหมอื นเรือใบ

3 4

38

เลข 5 เหมือนปากสิงโต เลข 6 เหมอื นลาตวั กระตา่ ย

5 6

เลข 7 เหมือนสายยางฉดี น้า เลข 8 เหมอื นลิง

7 8

เลข 9 เหมือนต้นถั่วงอก เลข 10 เหมอื นกบ

9 10

2. นักเรยี นดบู ัตรตวั เลข 1-10 ไทย พร้อมกับบตั รภาพคู่กนั ให้นกั เรยี นสงั เกตลักษณะ
ความเหมือนหรือคลา้ ยกับภาพจากบัตรภาพ เชน่

เลขไทย เลข ๒ เหมือนแมวนอนขด

เลข ๑ เหมือนหอยทาก ๒



39


Click to View FlipBook Version