The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by j.yosatorn, 2022-03-30 13:40:49

แบบฝึกทักษะนักเรียนเรียนร่วม

คณิตศาสตร์

7. การบวกโดยการนบั ภาพบนตัวเลข ของ Touch Math Object จะมีภาพบนตวั เลข
เท่าจำนวนตวั เลข



ตัวอยา่ ง







ชอื่ำ.ช..้แี...จ..ง...จ..ง.ห...า..ผ..ล..บ...ว..ก..ใ..ห..ถ้..กู...ต..อ้..ง..
..................
........ ชนั้ ....................... เลขท.่ี ....................








รวม


113

ช่อื ....................................................................... ชั้น....................... เลขท.่ี ....................



คำช้แี จง จงหาผลบวกใหถ้ ูกตอ้ ง


114

8. การบวกเลขดว้ ยตัวเลขจดุ

ตวั อย่าง 5 บวก 7 ในระยะแรกใหน้ ับจุดของเลข 5 มี 5 จุด จากนัน้ นบั ตอ่ ทเี่ ลข 7
โดยเรม่ิ จากจดุ เร่ิมตน้ คำตอบคอื 12




2
1




3


5
4




12
6
7


8
9




10
11













จากน้ันเรมิ่ ถอดจดุ ในตัวบวกออกเพ่อื ใหเ้ ด็กคดิ เอง

























สุดท้ายเรมิ่ ถอดจดุ ทั้งตัวตัง้ และตวั บวกเปน็ ตัวเลข


115

9. การลบเลข

ตวั อยา่ ง 9 -7 ในระยะแรกใหน้ ับจดุ ของตวั ตง้ั คือเลข 9 จากตำแหนง่ สุดท้าย โดย

หักออก 7 คำตอบคอื 2


1 2


9
3 4


5 6


7 8














จากน้ันเร่ิมถอดจุดในตัวลบออกเพื่อให้เด็กคิดเอง สุดท้ายเริ่มถอดจุดท้ังตัวตั้งและ
ตัวลบเป็นตวั เลข เหมอื นกับการบวก



10. การคูณโดยการนับจุดบนตวั เลข

การคูณเป็นการบวกตัวตั้งซ้ำกี่เท่า ซึ่งนักเรียนอาจจะใช้กิจกรรมนับเม็ดลูกคิดมา
ก่อนเพอื่ ใหเ้ ข้าใจความหมายของการคณู

ตวั อยา่ ง 7x2 คอื 7 บวกตวั เอง 2 ครง้ั ดังนัน้ เดก็ จะนับตัวตงั้ 2 รอบ คำตอบคอื 14




1 2
8 9

14
7




12
13
5 6
3 4
10 11











ละตัวคจูณาเกปน็น้ันตเัวรเิ่มลถขอเดหจมุดือในนกตับัวคกูณารอบอวกกเพจื่อาใกหน้เ้ันดอ็กาคจิดจเะอนงำตสาุดรทา้างยกเารร่ิมคถูณอมดาจชุด่วทย้ังใตนัวกตา้ัรง
คดิ อีกกไ็ ด้ (หาข้อมลู เพ่มิ เติมจาก TouchMath.com)




116

ตัวอย่างสอ่ื สำหรบั เดก็ ทมี่ ีความบกพร่องทางการเรียนรู้









จชำุดนCวaนrตrวัyเลaขn
d Borrow Line


ชว่ ยสอนค่าของตวั เลขและการบวก ลบ จำนวนทีม่ สี องหลัก









เสน้ จำนวน

จะช่วยใหเ้ ดก็ จัดระบบตัวเลขอยา่ งเป็นแบบแผน













อุปกรณค์ ณิตศาสตรแ์ ท่งจำนวน MeasureLine

เปน็ บรรทดั 12 หน่วยเพื่อการคำนวณ















อุปกรณค์ ณิตศาสตรแ์ ทง่ จำนวน เศษส่วน

เปน็ แท่งหลกั เศษสว่ นเพือ่ การคำนวณ








117

เศษสว่ น
ลูกเตา๋ เศษสว่ น

ชุด เส้นจำนวนเศษสว่ น FractionLine
บตั รเศษสว่ น

อุปกรณท์ ส่ี อนให้เด็กเข้าใจรูปเศษสว่ น









กระดาษเสน้ จำนวน เศษสว่ น

เพ่ือการคำนวณ













เศษสว่ นพซิ ซา่
































118

จำนวนเงนิ

ชดุ Coin-U-Lator

อุปกรณท์ ีบ่ อกคา่ ของเหรยี ญเงนิ การนบั เงนิ













ร้านขายของจำลอง

































ตารางแลกเงิน












119

เวลา

นาฬกิ าวงกลม

จะมี 2 ขนาดสอนเรอ่ื งเวลา การบอกเวลา

















บัตรเวลา


















120

การคำนวณ

เครื่องคดิ เลขขนาดใหญ่



งา่ ยต่อการมอง การหาตวั เลข และการกดป่มุ คำนวณ











ตาราง 100 ช่องเกย่ี วกบั การบวก ลบ คณู

ช่วยในการคำนวณการบวก การลบ การคณู







ตวั บล็อคตอ่ คำนวณ












ลกู คดิ แทง่ หลกั

ใชค้ ำนวณเลขตามหลัก















ไมค้ ดิ คำนวณการบวกลบคณู หาร










121

บตั รภาพประโยคสญั ลักษณ









กระดาษหาคำตอบและแผ่นพลาสติกส




122

กราฟ

































พน้ื ท
่ี


บลอ็ คพน้ื ท่ีตาราง




123

รูปเรขาคณิต
กระดานสรา้ งรปู เรขาคณติ











































แท่งตอ่ รูปทรงเรขาคณติ








124

การวัด ไมบ้ รรทดั































รอ้ ยละ




125

การชัง่ น้ำหนกั












126

คณะทำงานปรับเอกสาร



เทคนิค วธิ กี ารและสอ่ื

สำหรับนักเรียนทม่ี คี วามบกพร่องทางการเรียนร้ดู า้ นคณิตศาสตร์



ทป่ี รกึ ษา

1. นายชนิ ภัทร ภูมิรัตน เลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน

2. นายสมเกียรติ ชอบผล รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน

3. นายเสนห่ ์ ขาวโต รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน

4. นายชยั พฤกษ์ เสรรี กั ษ์ รองเลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน

5. นางเบญจา ชลธารน์ นท์ ข้าราชการบำนาญ (อดตี ผ้ตู รวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ)

6. นางสุจินดา ผ่องอกั ษร ทีป่ รึกษาด้านการศกึ ษาพเิ ศษและผ้ดู ้อยโอกาส

7. นายธีระ จนั ทรรัตน์ ผูอ้ ำนวยการสำนกั บรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ



ผูท้ รงคณุ วฒุ ทิ ีเ่ ป็นผตู้ รวจพจิ ารณาเอกสาร

1. นางสุจินดา ผอ่ งอกั ษร ทป่ี รกึ ษาดา้ นการศึกษาพเิ ศษและผดู้ อ้ ยโอกาส

2. นางดารณี ศักด์ศิ ิริผล มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ ประสานมิตร

3. นางเกตมุ ณี มากมี มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเชยี งใหม



ผกู้ ำหนดกรอบในการปรับเอกสาร

1. นางสุจนิ ดา ผอ่ งอกั ษร ทป่ี รึกษาดา้ นการศกึ ษาพิเศษและผดู้ ้อยโอกาส

2. นางผอ่ งศรี สุรัตนเ์ รอื งชัย สำนกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ

3. นางสาวเจษฎา กติ ติสนุ ทร สำนกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ



คณะผู้ปรบั เอกสาร

1. นางเรืองรอง ศรแก้ว โรงเรยี นบา้ นอโุ มงค์

สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาสมทุ รปราการเขต 1

2. นางเรไร ตาปนานนท์ โรงเรียนวัดพระยาปลา สังกัดกรุงเทพมหานคร

3. นางสายสวาท อรรถมานะ รองผู้อำนวยการศนู ย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 9

4. นายยทุ ธนา ขำเก้ือ รองผอู้ ำนวยการศนู ย์การศึกษาพเิ ศษ เขตการศกึ ษา 4

5. นางสาวพรรณา นรนิ ทร ศูนยก์ ารศึกษาพเิ ศษ สว่ นกลาง

6. นางนภัสวรรณ อปุ ศร ี โรงเรียนวดั สระแก้ว

สำนักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษานครราชสีมา เขต 1




127

7. นางกนษิ ฐา ลถี้ าวร โรงเรียนวดั ด่านสำโรง


สำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาสมุทรปราการ เขต 1

8. นางวรรณภิ า ภัทรวงศ์สินธ ุ์ โรงเรยี นชมุ ชนบ้านหนองบัวระเหว
สำนกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาชัยภูมิ เขต 3

9. นางจุฬาภรณ์ ด้วงบาง โรงเรยี นบา้ นคลองนำ้ เย็น

สำนักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาสโุ ขทัย เขต 1

10. นางกฤติยา กรนิ่ ใจ โรงเรียนชุมชนบา้ นหลุมรงั

สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษากาญจนบรุ ี เขต 2

11.นางอารีรตั น์ สงวนทรพั ย์ โรงเรยี นบา้ นโคกเจรญิ

สำนักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาพังงา

12. นายสมชาย กาซอ โรงเรยี นชุมชนบ้านสะนงิ

สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาปัตตานี เขต 1

13. นางสาวสกุ ัญญา จิวฒั นาชวลิตกุล โรงเรยี นบ้านกอแนะเหนือ

14. นางผ่องศรี สรุ ัตน์เรอื งชัย สำนกั บรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ

15. นางสาวเจษฎา กิตติสนุ ทร สำนักบริหารงานการศึกษาพเิ ศษ



บรรณาธกิ าร
นกั วิชาการศึกษาชำนาญการ

นางสาวพรรณี คณุ ากรบดินทร์ สำนักบริหารงานการศกึ ษาพเิ ศษ

สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน



โรงเรียนบา้ นท่าทุ่ม

ภาพปก
สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษากาญจนบุรี เขต 1

นางทองพนู สร้อยดอกจิก













128

คณะทำงาน


พัฒนาเทคนคิ วธิ กี ารและสื่อสำหรบั นักเรียนที่มคี วามบกพร่องทางการเรยี นรู้


ตามคำสง่ั สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน ที่ 267/2547 และ 670/2548

คณะกรรมการที่ปรึกษา




1. นางพรนิภา ลิปพะยอม เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน

2. นายดเิ รก พรสมี า รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน

3. นายชนิ ภัทร ภมู ริ ัตน รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน

4. นางเบญจา ชลธาร์นนท ์ ทป่ี รกึ ษาด้านการศกึ ษาพิเศษและผู้ด้อยโอกาส

5. นายวิริยะ นามศริ พิ งศ์พันธ ์ุ ท่ปี รึกษารัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธิการ




คณะกรรมการดำเนินงาน

ประธานกรรมการ



1. นางเบญจา ชลธารน์ นท์ ทปี่ รกึ ษาด้านการศึกษาพิเศษและผู้ดอ้ ยโอกาส
2. นายธรี ะ จนั ทรรตั น ์ ผอู้ ำนวยการสำนักบรหิ ารงานการศกึ ษาพิเศษ รองประธานกรรมการ

3. นางสุจินดา ผอ่ งอกั ษร ผ้เู ชี่ยวชาญสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน รองประธานกรรมการ

4. นางสมบรู ณ์ อาศริ พจน์ ผ้อู ำนวยการศูนยก์ ารศึกษาพิเศษส่วนกลาง กรรมการ

5. นางสมพร หวานเสร็จ ผู้อำนวยการศนู ย์การศกึ ษาพเิ ศษ เขตการศกึ ษา 9 จงั หวัดขอนแกน่ กรรมการ

6. นางศรีจิตต์ ขวญั แก้ว ผอู้ ำนวยการศนู ยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษ เขตการศกึ ษา 4 จังหวัดตรงั กรรมการ

7. นางสาวอารีย์ เพลินชัยวาณชิ ผูอ้ ำนวยการศนู ยก์ ารศกึ ษาพิเศษ เขตการศกึ ษา 7 จงั หวดั พษิ ณุโลก กรรมการ

8. นางยุพิน คำปัน ผู้ชว่ ยผู้อำนวยการศูนย์การศึกษาพเิ ศษ เขตการศึกษา 8 จงั หวดั เชียงใหม่ กรรมการ

9. นางอรอนิ ทร์ คลองม่ิง ผชู้ ่วยอำนวยการศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษ เขตการศกึ ษา 11 จังหวัดนครราชสีมา กรรมการ

10. นางสาวบษุ บา ตาไว ผอู้ ำนวยการศูนย์การศกึ ษาพเิ ศษ ประจำจงั หวัดสุโขทยั กรรมการ

11. นายนะรงษ์ ชาวเพ็ชร ผ้อู ำนวยการศนู ย์การศกึ ษาพิเศษ ประจำจังหวัดสรุ ินทร ์ กรรมการ

12. นางสาววลั ยา สุทธิพิบูลย์ ศนู ยก์ ารศกึ ษาพิเศษสว่ นกลาง กรุงเทพมหานคร กรรมการ

13. นายอำนวย ทิมมี ศึกษานิเทศก์ สำนกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาสุโขทยั เขต 1 กรรมการ

14. นางสาวเพญ็ พรรณ กรงึ ไกร ศกึ ษานิเทศก์ สำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาพระนครศรอี ยธุ ยา เขต 2 กรรมการ

15. นางอัจฉราวรรณ มะกาเจ ศึกษานเิ ทศก์ สำนักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาสมทุ รปราการ เขต 1 กรรมการ

16. นางจินตนา อมั พรภาค ศกึ ษานิเทศก์ สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาสุโขทยั เขต 1 กรรมการ

17. นางสุพรรณี ออ่ นจาก โรงเรียนวดั ราษฎรศ์ รัทธาราม สำนักการศึกษากรงุ เทพมหานคร กรรมการ

18. นางจฬุ าภรณ์ ดว้ งบาง โรงเรยี นบา้ นคลองนำ้ เยน็ สำนักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาสุโขทยั เขต 1 กรรมการ

19. นางสาวเรไร ตาปนานนท์ โรงเรียนวดั พระยาปลา สำนักการศกึ ษากรุงเทพมหานคร กรรมการ

20. นางเรืองรอง ศรแกว้ โรงเรียนบา้ นอุโมงค์ สำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาลำพูน เขต 1 กรรมการ

21. นางละออ จันทรเดช โรงเรยี นอนุบาลปทมุ ธานี สำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาปทุมธานี เขต 1 กรรมการ


129

22. นางสุจริต เทอดกิติวรางค์ โรงเรียนอนบุ าลพังงา สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาพงั งา กรรมการ

23. นางทรรศนีย์ ปัน้ ประเสริฐ โรงเรยี นบา้ นหนองไก่แกว้ สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาราชบุรี เขต 2 กรรมการ

24. นางจงจิตร์ เนตรวงษ ์ โรงเรียนอนบุ าลร้อยเอด็ สำนักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษารอ้ ยเอด็ เขต 1 กรรมการ

25. นางอารมย์ บญุ เรอื งรอด โรงเรียนหนองสองตอน สำนักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษากาญจนบุรี เขต 1 กรรมการ

26. นางประทมุ ช้างอย่ ู โรงเรยี นวดั พิกุลเงิน สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษานนทบุรี เขต 2 กรรมการ

27. นางละมยั ชิดดี โรงเรยี นบ้านเมอื งปักสามัคคี สำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษานครราชสีมา เขต 3 กรรมการ

28. นายดำรงวุฒิ ดอกแก้ว โรงเรยี นวัดพระหลวง สำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาแพร่ เขต 2 กรรมการ

29. นางเลก็ ฤทยั คำศรรี ะภาพ โรงเรยี นชุมชนคำตานาหนองสูง สำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาอุดรธานี เขต 3 กรรมการ

30. นางโสภิศ แสงสีศร ี โรงเรยี นวัดปากคลอง (ศทุ ธยาลยั อทุ ศิ ) สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาเพชรบุรี เขต 1 กรรมการ

31. นายสุมนตรี คำขวา โรงเรยี นบา้ นสำนักพมิ าน สำนกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษานครราชสมี า เขต 5 กรรมการ

32. นางอธั ยา กาญจนดิษฐ ์ โรงเรยี นไทยรฐั วิทยา 77 (บ้านโนนสนั ต)ิ สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาชมุ พร เขต 1 กรรมการ

33. นางทพิ วรรณ มผี วิ โรงเรยี นวัดสกุณาราม สำนกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาชัยนาท กรรมการ

34. นางพจงจิตต์ กษมาภรณ์ โรงเรยี นวัดพรหมสาคร สำนกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาสิงห์บรุ ี กรรมการ

35. นางสัณห์สริ ิ นาคยา โรงเรยี นวัดประยุรวงศาวาส สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต 3 กรรมการ

36. นางเยาวนติ ย์ พรหมเรือง โรงเรียนนคิ มสงเคราะห์ สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาระนอง กรรมการ

37. นางวรรณิภา ภัทรพงศ์สินธุ์ โรงเรียนชุมชนบ้านหนองบวั ระเหว สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาชัยภูมิ เขต 3 กรรมการ

38. นางฐิติยาภรณ์ หลอ่ สวุ รรณ โรงเรยี นอนบุ าลศรเี ทพ (สวา่ งวัฒนา) สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาเพชรบรู ณ์ เขต 3 กรรมการ

39. นางประไพ จิตบรรเทา โรงเรยี นชมุ ชนบงึ บา สำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาปทมุ ธานี เขต 2 กรรมการ

40. นางกฤติยา กรม่ิ ใจ โรงเรยี นชุมชนบ้านหลุมรงั สำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษากาญจนบรุ ี เขต 2 กรรมการ

41. นางสำรวย พนั ธุรตั น์ โรงเรียนประชาผดุงวิทย์ (ฟอ้ งฟงุ้ อุทิศ) กรรมการ

สำนกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1

42. นางสาววงเดอื น อภิชาติ โรงเรียนราชวินิต สำนักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต 1 กรรมการ

43. นางทิพย์วรรณ เตมียกลุ โรงเรียนวดั พรหมสาคร สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาสิงห์บุร ี กรรมการ

44. นางเสาวนยี ์ เพ็ชรสงค ์ โรงเรียนวดั ไตรสามคั คี สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 กรรมการ

45. นางนภสั วรรณ อปุ ศร ี โรงเรยี นวัดสระแก้ว สำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษานครราชสีมา เขต 1 กรรมการ

46. นางสมสนิท นามราช โรงเรยี นเทศบาลสวนสนกุ สำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาขอนแกน่ เขต 1 กรรมการ

47. นางสาวลออ เอยี่ มอ่อน โรงเรยี นหนองหลวง สำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษากำแพงเพชร เขต 1 กรรมการ

48. นางพรนิภา ตอสกุล โรงเรียนอนบุ าลชัยภูมิ สำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาชัยภมู ิ เขต 1 กรรมการ

49. นางบปุ ผา ลว้ นเล็ก โรงเรียนบา้ นท่าฝา สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาแพร่ เขต 2 กรรมการ

50. นางจฬุ าภรณ์ ดว้ งบาง โรงเรยี นบ้านคลองน้ำเยน็ สำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาสโุ ขทัย เขต 1 กรรมการ

51. นางกนษิ ฐา ลี้ถาวร โรงเรียนวัดด่านสำโรง สำนักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาสมุทรปราการ เขต 1 กรรมการ

52. นางสาวสำเนยี ง ศริ ิเกดิ โรงเรียนวดั บางโฉลงใน สำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาสมุทรปราการ เขต 2 กรรมการ

53. นางเริงหทยั นกิ รมสุข โรงเรยี นวัดไตรสามัคคี สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 กรรมการ

54. นายพะโยม ชิณวงศ ์ โรงเรียนโสตศกึ ษาจงั หวดั นครปฐม กรรมการ

55. นายชศู กั ด์ิ ชูมาลยั วงศ ์ โรงเรยี นพจิ ิตรปัญญานกุ ูล กรรมการ

56. นายพชิ ิต ฤทธิ์จรูญ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร กรรมการ


130

57. นางเจนจิรา เทศทมิ วทิ ยาลยั ราชสดุ า มหาวทิ ยาลยั มหิดล กรรมการ

58. นางสาวเกยรู วงศก์ ้อม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดสุ ิต กรรมการ

59. นางสาวดสุ ิตา ทินมาลา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนดสุ ิต กรรมการ

60. นางทิพย์วรรณ แจม่ ไพบูลย์ ศึกษานเิ ทศก์ สำนักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาฉะเชิงเทรา เขต 1 กรรมการ

61. นางสาวปนัดดา วงคจ์ นั ตา ศูนยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษ เขตการศกึ ษา 9 จงั หวัดขอนแกน่ กรรมการ

62. นายทิวัตถ์ มณโี ชต ิ สำนักบรหิ ารงานการศกึ ษาพิเศษ กรรมการ

63. นางผอ่ งศรี สุรัตนเ์ รอื งชัย สำนักบรหิ ารงานการศกึ ษาพิเศษ กรรมการ

64. นางสาวอนงค์ ผดงุ ชวี ิต สำนักบริหารงานการศกึ ษาพิเศษ กรรมการ

65. นางสริ กิ านต์ วรี ะพนั ธ ์ สำนกั บรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ กรรมการ

66. นางสาวธาริสา เรอื นไทย สำนกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพิเศษ กรรมการ

67. นางสาวสภุ าพร ทับทมิ สำนกั บริหารงานการศึกษาพเิ ศษ กรรมการ

68. นางสาวสชุ าดา กังวานยศศกั ดิ์ สำนกั บริหารงานการศกึ ษาพิเศษ กรรมการ

69. นางสาวลดั ดา จลุ านุพนั ธ์ สำนักบริหารงานการศึกษาพเิ ศษ กรรมการ

70. นางกมลจติ ร ดวงศร ี สำนักบริหารงานการศกึ ษาพเิ ศษ กรรมการและเลขานุการ

71. นางยพุ นิ พนอำพน สำนักบรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ กรรมการและผ้ชู ว่ ยเลขานกุ าร

72. นางชนาทพิ ย์ วฒั นวงศ ์ สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กรรมการและผชู้ ่วยเลขานกุ าร

73. นางสาวเจษฎา กิตตสิ นุ ทร สำนักบริหารงานการศกึ ษาพิเศษ กรรมการและผชู้ ่วยเลขานุการ

74. นางสาวอญั ทิการ์ ศุภธรรม สำนกั บริหารงานการศึกษาพเิ ศษ กรรมการและผชู้ ว่ ยเลขานุการ

75. นางสาวจริ ัฐยา แก้วปอ่ ง สำนักบริหารงานการศกึ ษาพิเศษ กรรมการและผู้ชว่ ยเลขานกุ าร

76. นางยวุ ดี กงั สดาล สำนกั บริหารงานการศึกษาพเิ ศษ กรรมการและผชู้ ่วยเลขานกุ าร

77. นางสาวสิรเิ พ็ญ เอีย่ มสกลุ สำนกั บรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ กรรมการและผ้ชู ่วยเลขานกุ าร






131



สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

เอกสารชดุ แนวทางพัฒนาการเรียนร
ู้

ชุดท่ี 4
สำหรับนักเรยี นทม่ี คี วามบกพรอ่ งทางการเรียนรู้


เลม่ ที่ 4

เทคนิค วธิ ีการและสื่อ

สำหรบั นักเรยี นท่ีมีความบกพรอ่ ง

ทางการเรยี นรดู้ า้ นคณติ ศาสตร


สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

เอกสารชดุ แนวทางการพฒั นาการเรยี นร
ู้
สำหรับนักเรยี นทีม่ ีความบกพรอ่ งทางการเรยี นร้









ชุดที่ 4

เทคนคิ วธิ กี ารและสื่อสำหรับ

นักเรยี นท่มี ีความบกพรอ่ งทางการเรียนรดู้ ้านคณติ ศาสตร


เลม่ ท่ี 4


























สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน

กระทรวงศึกษาธิการ

เร่ือง เทคนคิ วิธีการและส่อื สำหรบั นักเรียนทม่ี ีความบกพรอ่ งทางการเรียนรู

ด้านคณติ ศาสตร์ เล่มที่ 4

ผู้จัดพิมพ์ กล่มุ การจดั การศกึ ษาเรียนร่วม

สำนกั บริหารงานการศกึ ษาพเิ ศษ

สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน

กระทรวงศกึ ษาธิการ

จำนวนพมิ พ ์ 2,500 เลม่

ปีท่พี มิ พ ์ 2554

ISBN 978-616-202-383-5

คำนำ




เอกสารชุด “แนวทางพัฒนาการเรียนรู้ สำหรับนักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้”
น้ี ได้จัดทำและเผยแพร่คร้ังแรกในปี พ.ศ. 2551 โดยในครั้งน้ันได้จัดทำเป็นเอกสาร 5 เล่ม คือ
เล่มท่ี 1 ความรู้พื้นฐานและแนวทางพัฒนานักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ เล่มที่ 2
การเตรียมความพร้อมสำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ เล่มที่ 3 เทคนิค วิธีการและ
สื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านการอ่าน เล่มท่ี 4 เทคนิค วิธีการและส่ือ
สำหรับนักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านการเขียน และเล่มท่ี 5 เทคนิค วิธีการและส่ือ
สำหรับนักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ โดยท่ีผ่านมาพบว่าเอกสารชุด

ดังกล่าว เป็นประโยชน์กับครูผู้สอนและผู้ที่เกี่ยวข้องในการใช้เป็นแนวทางในการพัฒนานักเรียนที่มี
ความบกพร่องทางการเรียนรู้ดา้ นต่าง ๆ ไดเ้ ปน็ อย่างดี

อย่างไรก็ตามเพ่ือให้เอกสารชุดนี้มีความเป็นปัจจุบันและมีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐานจงึ เห็นควรปรบั ปรงุ เอกสารดงั กล่าว โดยในการปรับปรุง
คร้ังน้ี นอกจากความเหมาะสมของเทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการ
เรียนรู้แล้ว ยังได้คำนึงถึงความสะดวกของครูและผู้ท่ีเกี่ยวข้องในการนำไปใช้ด้วยเป็นสำคัญ

ด้วยเหตุนี้จึงได้จัดพิมพ์เอกสารชุดน้ีออกเป็น 1 เล่มกับอีก 4 ชุด เพื่อให้เอกสารแต่ละเล่มมีขนาด

ไมห่ นาจนเกนิ ไป โดยประกอบด้วยเอกสารต่าง ๆ ดังนี



เอกสาร ความรพู้ น้ื ฐานและแนวทางพฒั นานกั เรยี นทม่ี คี วามบกพรอ่ งทางการเรยี นรู้

เอกสารชดุ ท่ี 1 การเตรียมความพรอ้ มสำหรับนักเรียนทีม่ ีความบกพรอ่ งทางการเรียนรู้
ประกอบด้วยเอกสาร 2 เล่ม

เอกสารชดุ ที่ 2 เทคนิค วธิ ีการและสือ่ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพรอ่ งทางการเรยี นรู้
ด้านการอ่าน ประกอบดว้ ยเอกสาร 6 เลม่

เอกสารชดุ ที่ 3 เทคนิค วธิ กี ารและสื่อ สำหรบั นักเรยี นทมี่ คี วามบกพรอ่ งทางการเรยี นรู้
ด้านการเขยี น ประกอบดว้ ยเอกสาร 3 เลม่

เอกสารชดุ ที่ 4 เทคนิค วิธกี ารและสอ่ื สำหรับนักเรียนท่มี ีความบกพร่องทางการเรียนรู้
ดา้ นคณติ ศาสตร์ ประกอบด้วยเอกสาร 5 เล่ม



สำหรับเอกสารน้ีเป็นเล่มที่ 4 ในเอกสารชุดท่ี 4 เทคนิค วิธีการและส่ือ สำหรับนักเรียนท่ี
มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ ซ่ึงในเอกสารจะกล่าวถึงสภาพปัญหา แนวทาง
พัฒนา เทคนิควิธีการและสื่อการเรียนการสอน รวมทั้งกิจกรรมการจัดการเรียนรู้และแบบฝึก ท่ีจะนำ
ไปสู่การแก้ไขปัญหาท่ีเกิดกับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ ท้ังนี้ในการนำไปใช้ครูผู้สอน ผู้ปกครองและผู้ที่เกี่ยวข้องอาจพิจาณาปรับเปลี่ยนได้
ตามความเหมาะสม

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ขอขอบคุณผู้มีส่วนร่วมในการจัดทำเอกสาร
ชุดนี้ หวังเป็นอย่างย่ิงว่าเอกสารนี้จะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อครูผู้สอน ผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้อง

ทุกระดับซ่ึงจะได้นำไปประยุกต์ใช้ เพ่ือพัฒนานักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ได้อย่าง

เหมาะสม กล่าวคือนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้แต่ละคนจะได้รับการช่วยเหลือและ

ส่งเสริมให้ได้รับการพัฒนาเต็มศักยภาพซ่ึงย่อมส่งผลโดยตรงต่อคุณภาพการศึกษาและคุณภาพชีวิต
ของผู้เรียน








(นายชินภทั ร ภมู ิรัตน)

เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน

สารบัญ



รอ่ื ง

หนา้


คำนำ

สารบัญ

บทนำ

ความสำคัญในการชว่ ยเหลือนักเรยี นทม่ี คี วามบกพรอ่ งทางการเรยี นรู้ด้านคณติ ศาสตร์.............. 1

ปัญหาทางการเรียนรดู้ า้ นคณิตศาสตร์ของนกั เรยี นทีม่ ีความบกพร่องทางการเรยี นร.ู้ .................. 2

จุดประสงค์ในการพฒั นาการเรียนรู้ นักเรยี นทม่ี ีความบกพร่องทางการเรียนร
ู้
ด้านคณติ ศาสตร์....................................................................................................... 3

ปญั หาและเทคนิคการแก้ปญั หา สำหรับนกั เรียนทม่ี ีความบกพรอ่ งทางการเรยี นร
ู้
ดา้ นคณิตศาสตร์....................................................................................................... 4

นวตั กรรมการจัดการเรยี นรู้สำหรบั นกั เรียนท่ีมคี วามบกพร่องทางการเรยี นรู้

ดา้ นคณิตศาสตร.์ ...................................................................................................... 9

วธิ ีใชเ้ ทคนคิ วิธกี ารและสื่อการเรียนการสอนสำหรบั นักเรียนท่มี คี วามบกพร่อง

ทางการเรยี นรู้ด้านคณติ ศาสตร์................................................................................. 9

การวดั และประเมินผล............................................................................................................. 11

การปรับเปลย่ี นวิธีการเรียนการสอนคณิตศาสตรส์ ำหรับนกั เรยี นทีม่ คี วามบกพร่อง

ทางการเรยี นรดู้ ้านคณติ ศาสตร์................................................................................. 11

สรปุ การนำเทคนคิ วิธีการ สอ่ื ไปใช้กับนกั เรยี นท่ีมีความบกพรอ่ งทางการเรียนร้

ด้านคณิตศาสตร.์ ...................................................................................................... 12


จิ
กรรมการจัดการเรยี นรู้ สำหรบั นกั เรียนท่ีมีความบกพรอ่ งทางการเรยี นรู้

ด้านคณิตศาสตร ์



ปญั หาท่ี 14. การเรยี งลำดบั วนั ในสปั ดาห์ การเรยี งลำดบั เดอื นในรอบปี การอา่ นเวลา................. 14

กจิ กรรมที่ 1 กิจกรรมวันใดมากอ่ น........................................................................ 15

กิจกรรมที่ 2 เมอ่ื วาน วันนี้ พรงุ่ น้.ี ......................................................................... 18

กิจกรรมท่ี 3 เดอื นใดมากอ่ นหลัง.......................................................................... 22

กจิ กรรมท่ี 4 เดอื นทีผ่ ่านมา เดือนน้ี เดือนตอ่ ไป.................................................... 26

กิจกรรมที่ 5 เวลานี้ เวลาอะไร.............................................................................. 31

เร่ือ
ง หนา้


ปญั หาที่ 15. การบอกตำแหนง่ และทศิ ทาง............................................................................. 39


กิจกรรมท่ี 1 ฉันอยู่ท่ไี หนเอย่ ............................................................................. 40


กจิ กรรมท่ี 2 เธออย่ไู หน..................................................................................... 43


กจิ กรรมท่ี 3 โบนสั จดั หอ้ ง................................................................................. 45


กจิ กรรมท่ี 4 ทางเดนิ มหัศจรรย.์ ......................................................................... 49


กจิ กรรมท่ี 5 ไปทางไหนจ๊ะ................................................................................. 51


กิจกรรมที่ 6 ทศิ เหนือ ทิศใต้ ทิศไหนบอกมา...................................................... 54


ปัญหาที่ 16. การเปรียบเทียบขนาดของวตั ถุหรือส่งิ ของและรูปภาพ........................................ 58


กจิ กรรมที่ 1 สง่ิ ท่ีมคี วามหมาย........................................................................... 59


กิจกรรมท่ี 2 ภาพนมี้ ีความหมาย....................................................................... 61


กิจกรรมที่ 3 ต่อให้เป็น...................................................................................... 64


กิจกรรมท่ี 4 มาเปรียบเทียบกนั นะจ๊ะ................................................................. 72


ปญั หาที่ 17. การชงั่ และการนำไปใชใ้ นชีวิตประจำวัน.............................................................. 78


กจิ กรรมท่ี 1 ตาชง่ั วิเศษ..................................................................................... 79


กจิ กรรมท่ี 2 ตาชงั่ มหศั จรรย์............................................................................. 84


ปญั หาที่ 18. การตวงและการนำไปใช้ในชวี ติ ประจำวนั ........................................................... 88


กิจกรรมที่ 1 ตวงน้ำหรรษา................................................................................ 89


กิจกรรมท่ี 2 ตวงนำ้ มหาสนุก............................................................................ 92


ปญั หาที่ 19. การวดั และการนำไปใช้ในชีวติ ประจำวนั ............................................................. 95


กิจกรรม วดั ได้ไม่ยาก........................................................................................ 96


ปัญหาท่ี 20. เงินและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวนั .................................................................. 100


กจิ กรรม คา่ ของเงนิ ........................................................................................... 101





บรรณานกุ รม......................................................................................................................... 110


ภาคผนวก............................................................................................................................. 111

การสอนด้วยวิธี Touch Math............................................................................. 112


ตวั อยา่ งสอ่ื ........................................................................................................ 123


คณะทำงาน............................................................................................................................ 135

บทนำ




ความสำคัญในการช่วยเหลือนักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้
ด้านคณิตศาสตร์




ความบกพร่องทางการเรียนรู้ (Learning Disability : LD) หรือ แอลดี หมายถึง
ความบกพร่องอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือมากกว่าหนึ่งอย่างทางกระบวนการพ้ืนฐานทาง
จิตวิทยาที่เกี่ยวข้องกับความเข้าใจหรือการใช้ภาษา การพูด การเขียน ซ่ึงอาจแสดงออก
ถึงความบกพร่องในความสามารถทางการฟัง การคิด การพูด การอ่าน การเขียน

การสะกดคำ หรือการคิดคำนวณทางคณิตศาสตร์ ความบกพร่องทางการเรียนรู้นับเป็น
ประเภทของความพิการหรือบกพร่องท่ีพบมากท่ีสุดในประชากรวัยเรียน โดยคิดเป็น
ประมาณร้อยละ 5 ของประชากรวัยเรียน และคิดเป็นประมาณร้อยละ 50 ของจำนวน
นักเรียนที่มีความพิการหรือบกพร่องทุกประเภทรวมกัน ดังนั้นในการจัดการเรียนการสอน
สำหรับเด็กกลุ่มน้ี ซ่ึงเป็นเด็กที่มีสติปัญญาปกติ ถ้าหากครูผู้สอนไม่มีความเข้าใจเก่ียวกับ
ความบกพร่องและลักษณะของปัญหาท่ีเด็กประสบแล้ว ย่อมส่งผลให้การจัดการเรียนการ
สอนไม่ตอบสนองต่อการเรียนรู้และสภาพความบกพร่องที่ต้องการแก้ไขหรือพัฒนา และ
ยังอาจส่งผลให้เด็กเหล่าน้ีขาดความเชื่อม่ันในตนเอง รวมท้ังอาจมีปัญหาพฤติกรรมหรือ
ปัญหาอน่ื ๆ ตามมาได ้

เนือ่ งจากคณติ ศาสตร์เปน็ วิชาทเ่ี ปน็ นามธรรม และประกอบดว้ ยสัญลักษณ์ ดังนั้น
อาจยากต่อการเรียนรู้และเขา้ ใจ โดยเฉพาะสำหรบั นักเรยี นที่มคี วามบกพรอ่ งทางการเรียน
รู้ด้านคณิตศาสตร์ อาจมีลักษณะความบกพร่องด้านดังกล่าวแตกต่างกันไป เช่น เด็กบาง
คนมีปัญหาในการรบั รเู้ ก่ียวกบั สัญลักษณ์ซึ่งสง่ ผลให้มปี ัญหาในการเรยี นคณิตศาสตร์ หรือ
เด็กบางคนมีปัญหาในการอ่านก็อาจส่งผลในการทำโจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ เป็นต้น โดย
ความรนุ แรงของปญั หาในด้านการเรยี นคณิตศาสตร์อาจแตกต่างกันไปในแต่ละบคุ คล

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว จึงเห็น
ความสำคัญในการเสริมสร้างการเรียนรู้ของนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนร ู้

โดยมุ่งหวังจะให้เกิดความเสมอภาคทางการศึกษาและให้เด็กเหล่าน้ีได้เรียนรู้อย่างมี
ประสิทธิภาพเช่นเดียวกับเด็กท่ัวไป จึงได้จัดทำเอกสารวิธีการและสื่อการเรียนรู้สำหรับ
นักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ขึ้น เพื่อเป็นแนวทางหน่ึงในการ
ให้ความชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่มี ีความบกพรอ่ งทางการเรียนรทู้ างด้านคณติ ศาสตร





1

ปัญหาทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ของนักเรียนท่ีมีความบกพร่อง
ทางการเรยี นร
ู้



นักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ที่พบได้ในโรงเรียน
ท่วั ไป จะมีความยากลำบากในเรื่องตอ่ ไปนี

1. ความคิดรวบยอดพ้ืนฐานทางคณิตศาสตร์ เช่น เรื่องขนาด ความยาว

น้ำหนัก ทิศทาง ตำแหน่ง รูปเรขาคณิต เวลา พื้นสัมผัส สี ลักษณะเส้น การจำแนก

การเปรยี บเทียบ จัดหมวดหมู่ เรยี งลำดับ จำนวน เปน็ ตน้

2. ระบบจำนวน เช่น ค่าและความหมายของจำนวน ค่าประจำหลัก การกระจาย
จำนวนตามค่าประจำหลัก เป็นตน้

3. ข้ันตอนกระบวนการในการคิดคำนวณ เช่น ไม่สามารถจำและหรือเขียน
สญั ลกั ษณ์แทนการกระทำทางคณิตศาสตร์ ข้ันตอนในการบวก ลบ คณู หาร การทดและ
การกระจายจำนวนในการลบ เป็นตน้

4. การนำทักษะทางคณิตศาสตรไ์ ปใช้ในชีวติ ประจำวนั เชน่ การเรียงลำดับที่ของ
ขนาด จำนวน การบอกความสมั พันธข์ องหนว่ ยการวดั เปน็ ตน้

5. การนับจำนวน การจำแนกตัวเลข จำนวนที่คล้ายคลึงกัน การบอกค่าของ
ตวั เลขในจำนวนต่างๆ การอ่านจำนวนท่มี หี ลายหลัก

6. ภาษาคณติ ศาสตร์ เช่น การบอกสัญลักษณ์ การบวก การเปรยี บเทยี บ ขนาด
ตำแหนง่ ทิศทาง เวลา น้ำหนกั ส่วนสงู ความยาว เป็นตน้

7. ขอ้ เท็จจริงพ้ืนฐานของจำนวน เชน่ ไม่เขา้ ใจวา่ 7 น้อยกว่า 15 เป็นต้น

8. การบอกความเหมือนหรือความต่างกันของวัตถุสิ่งของ รูปภาพ จำนวนที

เท่ากนั หรอื ตา่ งกัน

9. การเรยี งลำดบั จำนวน จากมากไปหาน้อย หรือนอ้ ยไปหามาก

10. การเขียน ตวั เลขกลบั ทศิ ทาง เช่น 6-9, 3-8, 1-7, 12 -21

11. การรับรู้ทางการได้ยินตัวเลข โจทย์ และคำถามทางคณิตศาสตร์ ทำให้ตอบ

ไมต่ รงคำถาม

12. การเขียนหลงบรรทัด

13. การใช้เส้นจำนวน

14. การนบั เรยี งวนั ใน 1 สัปดาห์ เดือนใน 1 ปี

15. การนบั เพ่ิม การนบั ลดคร้ังละเท่าๆ กัน


2

16. การแก้โจทย์ปัญหาคณติ ศาสตร

17. การจำแนกรปู เรขาคณติ สองมิตแิ ละรปู เรขาคณิตสามมติ ิ

18. การหาความสัมพันธ์ของแบบรูป เช่น แบบรูปท่ีเป็นรูปภาพ จำนวน สี
สัญลักษณต์ ่างๆ เปน็ ต้น

19. การอา่ น แผนภมู ริ ปู ภาพ แผนภมู แิ ทง่ กราฟ แผนผงั และทิศทาง

20. การหาเหตุผลเชิงปรมิ าณ




จดุ ประสงค์ในการพัฒนาการเรยี นรู้ นักเรยี นทม่ี คี วามบกพรอ่ งทางการ
เรยี นร้ดู า้ นคณติ ศาสตร




1. เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับนักเรียนท่ีมีความบกพร่อง
ทางการเรียนรดู้ า้ นคณิตศาสตร์

2. เพื่อให้ครูผู้สอนได้แนวทางในการแก้ปัญหานักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางการ
เรียนร้ดู ้านคณิตศาสตร์

3. เพ่ือให้นักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ มีพัฒนาการ
ในการเรยี นไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพมากขึน้





3

ปัญหาและเทคนิคการแก้ปัญหาสำหรับนักเรียนท่ีมีความบกพร่อง
ทางการเรยี นร้ดู ้านคณิตศาสตร





สาระ
ปัญหาทางการเรยี นรดู้ ้านคณติ ศาสตร์
เทคนิคการแกป้ ญั หา


1. จำนวนและ
1. การบอกคา่ และความหมายของ
กจิ กรรมท่ี 1 จำนวนอะไรเอย่

การดำเนนิ การ
จำนวนนบั
กิจกรรมท่ี 2 หยบิ 1,2,3…

กจิ กรรมที่ 3 ฉนั หยบิ ได ้

กิจกรรมที่ 4 คู่หนูอย่ไู หน


2. การจำสญั ลักษณ์ทางคณติ ศาสตร์
กิจกรรม จำฉันไดไ้ หม


3. การจำแนกตวั เลขทคี่ ล้ายกนั
กิจกรรมที่ หาคูใ่ หห้ นหู นอ่ ย


4. การนบั เรียงลำดบั จำนวน
กจิ กรรมที่ 1 ฉนั นบั ได ้

กิจกรรมที่ 2 เปรียบเทยี บจำนวน

กจิ กรรมที่ 3 เรียงเลขต่อกนั


5. การจำและเขียนตวั เลขแทนจำนวน
กิจกรรมที่ 1 เตมิ ให้เต็ม

กิจกรรมที่ 2 รอ่ งตัวเลข


6. การอ่านและเขยี นจำนวนท่มี หี ลายหลัก
กิจกรรมท่ี 1 สีมหัศจรรย ์

กจิ กรรมท่ี 2 มัดครบสบิ


7. การบวกจำนวนทม่ี หี นงึ่ หลกั และ
กิจกรรมที่ 1 ใบไมน้ ำโชค

สองหลกั
กจิ กรรมที่ 2 การบวกเลขโดยการ

สมั ผัส

กจิ กรรมท่ี 3 บวกง่ายนิดเดยี ว

กจิ กรรมที่ 4 ผลบวกนอ้ ยกว่า 10

กิจกรรมท่ี 5 ผลบวกน้อยกวา่ 20

กจิ กรรมที่ 6 การบวกแนวตัง้ ไมม่ ี

ทด

กิจกรรมท่ี 7 การบวกจำนวน

สองหลกั ที่มที ด

กิจกรรมที่ 8 การทดดว้ ยลกู คิด


4

สาระ
ปัญหาทางการเรียนรู้ดา้ นคณติ ศาสตร์
เทคนิคการแก้ปัญหา



8. การเขยี นประโยคสัญลกั ษณ์และหา
กจิ กรรมท่ี 1 คำที่มคี วามหมาย

คำตอบจากโจทย์ปัญหาการบวกง่ายๆ
กจิ กรรมท่ี 2 ปญั หาพาสนุก


9. การลบจำนวนทมี่ หี นง่ึ หลกั และ
กิจกรรมที่ 1 เหลอื เท่าไร

สองหลกั
กจิ กรรมท่ี 2 ดาวกระจาย


10. การเขียนประโยคสัญลักษณ์และหา
กจิ กรรมที่ 1 เกมใบ้คำ

คำตอบจากโจทยป์ ัญหาการลบงา่ ยๆ
กิจกรรมที่ 2 ลบหรรษาพาสนุก


11. การคณู
กจิ กรรมที่ 1 นบั เพ่ิม

กิจกรรมท่ี 2 ฝาแฝดออมทรัพย ์

กจิ กรรมท่ี 3 มาคณู กนั เถอะ

กจิ กรรมที่ 4 ผลไม้ทีฉ่ ันชอบ

กิจกรรมท่ี 5 คณู โดยตาราง

กิจกรรมที่ 6 คณู แบบ Touch Math

กิจกรรมท่ี 7 ฉนั ไปซื้อของ


12. การหาร
กจิ กรรมที่ 1 ความหมายของ

การหาร

กิจกรรมท่ี 2 ความสัมพนั ธก์ ารคูณ

กับการหาร

กิจกรรมท่ี 3 โจทยป์ ัญหาการหาร

กจิ กรรมที่ 4 แผนที่ความคิดพชิ ิต

การหาร

กิจกรรมท่ี 5 การหารเลขคณติ

แบบตาราง


13. การบวกลบเศษสว่ น
กิจกรรมที่ 1 เศษส่วนสดใสดว้ ย

สสี นั

กิจกรรมท่ี 2 มาบวกเศษส่วน

กันเถอะ

กจิ กรรมที่ 3 ไม่เทา่ กนั ก็บวกได ้

กิจกรรมที่ 4 ลบเศษส่วนกนั เถอะ

กจิ กรรมท่ี 5 ไมเ่ ทา่ กนั ก็ลบได


5

สาระ
ปญั หาทางการเรยี นรูด้ า้ นคณิตศาสตร
์ เทคนคิ การแก้ปญั หา

2. การวดั

14. การเรียงลำดบั วันในสปั ดาห์ การเรยี ง
กิจกรรมท่ี 1 กิจกรรมวันใดมากอ่ น


ลำดับเดือนในรอบป
ี กจิ กรรมท่ี 2 เมื่อวาน วันน้ี พรุง่ น ี้


กิจกรรมท่ี 3 เดือนใดมากอ่ นหลัง


กจิ กรรมท่ี 4 เดือนทผี่ า่ นมา เดือนน ้ี


เดอื นต่อไป


กิจกรรมท่ี 5 เวลาน้เี วลาอะไร


15. การบอกตำแหนง่ และทิศทาง
กิจกรรมที่ 1 ฉันอยู่ทไ่ี หนเอย่


กจิ กรรมท่ี 2 เธออยูไ่ หน


กิจกรรมท่ี 3 โบนสั จัดหอ้ ง


กิจกรรมท่ี 4 ทางเดินมหศั จรรย ์


กจิ กรรมท่ี 5 ไปทางไหนจ๊ะ


กิจกรรมที่ 6 ทศิ เหนอื ทศิ ใต ้


ทิศไหนบอกมา


16. การเปรียบเทียบขนาดของวตั ถหุ รอื
กิจกรรมที่ 1 ส่ิงท่มี คี วามหมาย


สงิ่ ของและรปู ภาพ
กจิ กรรมที่ 2 ภาพนมี้ คี วามหมาย


กจิ กรรมท่ี 3 ต่อใหเ้ ป็น


กิจกรรมที่ 4 มาเปรียบเทียบกัน


นะจะ๊


17. การชงั่ และการนำไปใช้ในชีวติ ประจำวนั
กิจกรรมที่ 1 ตาช่งั วิเศษ


กิจกรรมท่ี 2 ตาชัง่ มหัศจรรย์


18. การตวงและการนำไปใช้ในชวี ิตประจำวนั
กจิ กรรมที่ 1 ตวงน้ำหรรษา


กิจกรรมที่ 2 ตวงน้ำมหาสนุก


19. การวัดและการนำไปใชใ้ นชีวิต
กิจกรรม วัดไดไ้ ม่ยาก


ประจำวนั


20. เงนิ และการนำไปใชใ้ นชวี ิตประจำวัน
กจิ กรรม คา่ ของเงิน


6

สาระ
ปัญหาทางการเรยี นรูด้ ้านคณิตศาสตร
์ เทคนคิ การแก้ปญั หา


3. เรขาคณติ
21. รูปเรขาคณิตสองมิติ
กิจกรรมที่ 1 แยกฉันให้ถกู


กจิ กรรมที่ 2 ลีลาหาพวก


กิจกรรมท่ี 3 สี่เหลยี่ มอยู่ทไี่ หน


22. การเขยี นรปู เรขาคณิตสองมิต
ิ กิจกรรม 1 สเี่ หลี่ยมเดนิ เล่น


กจิ กรรม 2 สองมติ ิหลากหลาย


กจิ กรรม 3 สมมาตรไดอ้ ย่างไร


23. การบอกและจำแนกรปู เรขาคณิต
กจิ กรรมท่ี 1 ฉนั คือรูปเรขาคณติ


สามมติ ิ
สามมิตอิ ะไร


กจิ กรรมท่ี 2 พริ ะมดิ ยอดแหลม


กิจกรรมท่ี 3 สรา้ งรปู เรขาคณิต


กจิ กรรมท่ี 4 ส่วนสงู รปู เรขาคณติ


สามมิตอิ ย่ทู ีไ่ หน


4. พชี คณติ
24. ความคิดรวบยอดเกีย่ วกบั แบบรูป
กจิ กรรม บอกไดเ้ ติมได


และความสมั พันธข์ องรปู ดา้ นรปู รา่ ง


25. ความคดิ รวบยอดเกี่ยวกับแบบรปู
กิจกรรม ฉนั อย่ไู หน


และความสัมพนั ธข์ องรูปด้านขนาด


26. ความคดิ รวบยอดเกย่ี วกบั แบบรปู
กิจกรรม เตมิ สสี ร้างสรรค์


และความสมั พันธ์ของรูปดา้ นสี


27. ความคดิ รวบยอดเกี่ยวกบั แบบรปู
กิจกรรม ต่อไปเปน็ อะไรเอ่ย


และความสมั พันธข์ องรปู เรขาคณิต


28. ความคดิ รวบยอดเกี่ยวกบั แบบรปู
กิจกรรม บอกไดไ้ หม


และความสัมพนั ธข์ องจำนวน


5. การวิเคราะห ์
29. การเกบ็ รวบรวมและนำเสนอข้อมูล
กจิ กรรม ตารางแสนกล


ขอ้ มลู และ


ความน่าจะเปน็


7

สาระ
ปัญหาทางการเรยี นรู้ดา้ นคณิตศาสตร
์ เทคนิคการแกป้ ัญหา



30. การอา่ นแผนภมู
ิ กจิ กรรมท่ี 1 อา่ นสกั นิดคิด

สักหนอ่ ย

กิจกรรมที่ 2 อา่ นไดท้ ำได้

กจิ กรรมท่ี 3 วงกลมมหศั จรรย์

กิจกรรมท่ี 4 เกมชง่ั เหรียญ


31. การเขียนแผนภมู ิ
กจิ กรรมที่ 1 แผนภมู ิรูปภาพ

แสนสนกุ

กิจกรรมท่ี 2 แท่งสี่เหลี่ยมหรรษา


32. ความสมเหตสุ มผลในการคาดการณ์
กิจกรรมที่ 1 คาดเดาเร้าใจ

กิจกรรมท่ี 2 ตามลา่ หาความจรงิ


8

นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้สำหรับนักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางการ
เรียนรดู้ า้ นคณติ ศาสตร




1. การใชส้ มดุ กราฟ เสน้ ตาราง จดั เปน็ สดมภเ์ พื่อกำกบั การเขยี นตวั เลขให้ตรงหลกั
อา่ นงา่ ยและสับสนน้อยลง

2. แบ่งกิจกรรมทางคณิตศาสตร์ออกเป็นส่วนๆ โดยการใช้สีตีกรอบหรือพับ
กระดาษเปน็ ส่วนๆ ให้นกั เรยี นทำกิจกรรมในแตล่ ะสว่ นที่พบั หรอื ตีกรอบให้เสรจ็ สมบูรณ์

3. เน้นข้อความหรือขีดเส้นใต้หรือการใช้สีเพ่ือแยกความแตกต่างการดำเนินการ
ทางคณติ ศาสตร์ (+, -, x, ÷) รวมทัง้ ข้อความทบ่ี ่งช้ถี ึงวิธีการดำเนนิ การโจทย์แต่ละข้อ

4. ให้นักเรียนได้ใช้อุปกรณ์ช่วยในการคิดคำนวณ เช่น ของจริง ของจำลอง

เสน้ จำนวน ลกู คิด แผนภมู ิ แผนภาพต่างๆ เป็นต้น

5. การสอนการใช้เครื่องคดิ คำนวณ (calculator)




วิธีใชเ้ ทคนคิ วธิ ีการและสอ่ื การเรยี นการสอนสำหรบั นักเรยี นทมี่ คี วาม
บกพร่องทางการเรียนร้ดู ้านคณิตศาสตร์




1. ให้นักเรียนประเมินความสามารถของตนเองในการเรียนคณิตศาสตร์ นักเรียน
จะไดท้ ราบว่าสิ่งใดทำได้ สิ่งใดทำไม่ได้

2. สอนต่อจากสิ่งทน่ี ักเรยี นรแู้ ลว้

3. ให้นกั เรียนมีสว่ นรว่ มในการกำหนดส่ิงทีจ่ ะเรียน (ตงั้ จุดมงุ่ หมายด้วย)

4. พยายามแสวงหาวิธีทำให้นักเรียนประสบผลสำเร็จและพึงระวังอย่าให้คณิตศาสตร์
ทำลายภาพพจน์ที่มตี ่อตนเอง

5. ควรเน้นการเสริมวิชาการให้นักเรียนเป็นรายบคุ คลโดยเฉพาะอย่างยิง่ นักเรียน
ทเ่ี รียนไม่ทนั เพ่ือน

6. แยกข้นั ตอนการสอนออกเป็นขั้นย่อยๆ หลายๆ ขั้นตอน (Task Analysis)

7. หากนักเรียนไม่ประสบความสำเร็จเม่ือครูสอนโดยใช้วิธีหน่ึง ครูควรเปลี่ยน

วธิ สี อน เพราะวธิ ีเดิมอาจนำไปสคู่ วามล้มเหลว

8. ใช้กิจกรรมหลายๆ กิจกรรมในการสอนความคิดรวบยอด จะช่วยให้นักเรียน
สามารถสรปุ แนวคิดได


9

9. ให้นักเรียนมีโอกาสได้เรียนรู้จากประสบการณ์หรือกิจกรรมตามความถนัด

แลว้ จงึ เพมิ่ ระดับความยากข้ึนตามระดับความสามารถ

10. เนน้ ยำ้ ซำ้ ทวนกฎเกณฑ์ต่างๆ โดยใชภ้ าษาของนกั เรียน

11. ใช้สิ่งที่เป็นรูปธรรมเป็นเคร่ืองนำทางเมื่อนักเรียนเข้าใจความคิดรวบยอด

แล้วจึงเนน้ กระบวนการคดิ ที่เปน็ นามธรรม

12. สอนใหน้ ักเรยี นสามารถคาดคะเนหรอื ประเมนิ คำตอบ

13. การทำสญั ญาร่วมกนั ระหวา่ งครกู ับนักเรียน

14. ออกคำสง่ั ใหง้ ่าย ชดั เจน เจาะจง

15. จับคู่เพือ่ นรู้ใจใหช้ ว่ ยเหลือ

16. เนน้ ย้ำ ซำ้ ทวน คำสงั่ หลักการ วธิ กี าร ข้นั ตอน

17. เตรียมงานที่หลากหลายให้นกั เรียนมีโอกาสไดเ้ ลือกปฏบิ ัติ

18. ก่อนลงมือปฏิบัติกิจกรรม ครูต้องแน่ใจว่า นักเรียนเข้าใจข้ันตอน วิธีการ
ภาระงาน มิฉะนน้ั การทำกจิ กรรมอาจไมม่ คี วามหมาย

19. ให้เวลาเรียนอย่างเพียงพอ นักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้อาจใช้
เวลานานจงึ จะเกดิ ทักษะ

20. แนะนำวิธกี ารสังเกต จดจำ บนั ทึกข้อมลู

21. สำหรบั นกั เรียนบางคนอาจใชเ้ คร่อื งคดิ คำนวณในการคดิ คำนวณได้

22. ฝึกการแกป้ ญั หาคณิตศาสตรโ์ ดยไม่ใช้เครือ่ งคิดคำนวณ

23. จัดกลุ่มปัญหาที่คล้ายคลึงกันเข้าด้วยกัน แบ่งโจทย์ปัญหาออกเป็นส่วนๆ

ให้ง่ายตอ่ การทำความเขา้ ใจ

24. ถา้ นกั เรียนมีปญั หาในการคดั ลอกงาน อาจให้เพือ่ นหรอื ครชู ว่ ยคัดลอกใหก้ อ่ น
ทจ่ี ะให้นกั เรียนทำงานตามภาระงานนั้นด้วยตนเอง

25. หลังจากอธิบายจากตัวอย่างให้นักเรียนทำงานที่คล้ายคลึงกับตัวอย่างก่อนที่
จะใหโ้ จทยพ์ ลกิ แพลง

26. ให้นกั เรียนพบความสำเรจ็ และเสริมแรงให้นักเรียนมกี ำลงั ใจ

27. ใชก้ ระบวนการวิจยั และพฒั นา




10

การวดั และประเมินผล




1. การสังเกตพฤตกิ รรม

2. การตรวจผลงานการปฏบิ ัตงิ าน

- ตรวจแบบฝึก

- บอก อธิบาย วิธกี าร ข้นั ตอน

- การทดสอบ

- การตอบคำถาม

- การตรวจสอบรายการ

- การสอบถามเพอ่ื นและบคุ คลทีเ่ กยี่ วขอ้ ง






การปรับเปล่ียนวิธีการเรียนการสอนคณิตศาสตร์สำหรับนักเรียนที่มี
ความบกพร่องทางการเรียนร้ดู า้ นคณิตศาสตร




1. ปรับเปลย่ี นเนื้อหาสาระ หลกั สูตร ตามความเหมาะสมกบั นกั เรียนเฉพาะบุคคล

2. ปรับเปล่ียนวิธกี ารปฏบิ ัติของครูตอ่ นักเรียน

3. ปรับเปล่ียนวิธีในการเรียนรู้ของนักเรียน เช่น เพ่ิมเวลาในการทำแบบฝึกหัด
เปน็ ต้น

4. ปรับเปล่ียนวิธีการสอน เช่น จัดเนื้อหาหรือกิจกรรมออกเป็นขั้นตอนย่อยๆ
เป็นตน้

5. ให้นักเรียนมีทางเลือกในการทำงานหรือกิจกรรม เช่น ใช้เคร่ืองคิดคำนวณ
ตอบปากเปลา่ หรือการพมิ พ์แทนการเขยี นตอบ

6. เปลี่ยนระบบการเรียนการสอน เช่น สอนเป็นรายบุคคล ให้เพ่ือนช่วยเพ่ือน

ใชค้ อมพิวเตอรช์ ว่ ยสอน เปน็ ต้น

7. ใช้กระบวนการวิจัยและพัฒนามาแก้ปญั หาอยา่ งเป็นระบบ

8. เรียนรู้จากสื่อของจริง เช่น การจัดลำดับส่ิงของการเปรียบเทียบ ขนาด ส ี

รปู ร่าง ระยะทาง เป็นตน้


11

9. การออกคำสั่งที่ชัดเจน เจาะจง ส้นั ไมซ่ ับซอ้ น

10. การทำสัญญารว่ มกันระหว่างครูกับนกั เรยี น

11. จบั คู่เพ่อื น (Buddy) ใหแ้ กน่ ักเรียน




สรุปการนำเทคนิค วิธีการ ส่ือ ไปใช้กับนักเรียนท่ีมีความบกพร่อง
ทางการเรยี นร้ดู ้านคณติ ศาสตร




การท่ีครูจะนำเทคนิค วิธีการ สื่อ สำหรับนักเรียนท่ีบกพร่องทางการเรียนรู้ไป
พัฒนานกั เรยี นไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพครูควรปฏิบตั ดิ งั น
้ี
1. ศกึ ษาวเิ คราะห์ผเู้ รยี นจนรจู้ ุดเดน่ จุดดอ้ ย หรือสิง่ ท่ผี ้เู รยี นทำไมไ่ ด้

2. เลือกปัญหาท่ีเร่งด่วนจำเป็นมาแก้ไขก่อน จากน้ันจึงแก้ปัญหาท่ีมีความสำคัญ
ในลำดับตอ่ ๆ ไป ไม่ควรแก้ไขหลายๆ เรอ่ื งไปพรอ้ มกัน

3. ในการออกแบบกิจกรรม หรือจัดการเรียนรู้ครูควรได้จัดลำดับข้ันเนื้อหาท่ีจะ
สอนออกเปน็ ขนั้ ตอนยอ่ ยๆ (Task Analysis) ตามระดับพ้ืนฐานความสามารถของผเู้ รยี น

4. ระหว่างการพัฒนานักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ครูควรบันทึก
พฤติกรรมของผู้เรียนระหว่างการพัฒนาและนำไปใช้วางแผนการพัฒนาให้เหมาะสมกับ
นักเรียนให้เกิดประสิทธิภาพมากข้ึน

5. ครูควรเน้นการจัดประสบการณ์จากการลงมือปฏิบัติจริง โดยยกตัวอย่าง
ประกอบใหม้ ากและเน้นยำ้ ซำ้ ทวน ส่งิ ที่เรยี น

6. ครูควรทำความเข้าใจกับนักเรียนปกติ บุคคลรอบข้างของนักเรียนให้เข้าใจ

ข้อจำกัดของนักเรียนท่ีบกพร่องทางการเรียนรู้ และนำบุคคลเหล่านั้นเข้ามาร่วมเป็นผู้ช่วย
เหลือพัฒนานักเรียนกลุม่ เป้าหมายตอ่ ไป

7. ครูควรให้เวลากับนักเรียนในการคิด หรือทำกิจกรรม โดยพิจารณานักเรียน

เป็นหลกั ไมค่ วรเรง่ รบี ใจรอ้ นเกินไป

8. ครูควรให้แรงเสริมเชิงบวกให้มากท่ีสุด การชมเชย ยกตัวอย่าง ให้รางวัลพิเศษ
จะช่วยใหน้ กั เรยี นมกี ำลังใจและมเี จตคติทีด่ ี และร่วมกิจกรรมอย่างมีความสุข








12

เทคนิค วิธีการ สื่อ นวัตกรรมทางคณิตศาสตร์สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่อง
ทางการเรียนรู้ท่ีนำเสนอในเอกสารเล่มน้ี เป็นเพียงการนำเสนอทางเลือกให้ครูได้ใช้เป็น

แนวทางการพัฒนาเทคนิค วิธีการ ส่ือ นวัตกรรมของครู หรือครูจะนำไปใช้กับนักเรียน
โดยตรงหรือเลือกใช้เฉพาะกิจกรรมที่เหมาะสมกับนักเรียนและบริบทของโรงเรียน ซ่ึงครู

ควรได้นำไปปรับเพม่ิ หรอื ลดให้เหมาะสมกับนักเรยี นเป็นสำคัญเสียกอ่ น




สำหรับเอกสารเล่มนี้เป็นเอกสารเล่มท่ี 4 ในชุดท่ี 4 เทคนิค วิธีการและสื่อ
สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยจะประกอบด้วย
ปัญหาและเทคนิคการแก้ปัญหาสำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้าน
คณิตศาสตร์ เกยี่ วกบั ปญั หาตอ่ ไปน
้ี

ปัญหาท่ี 14 การเรียงลำดับวันในสัปดาห์ การเรยี งลำดับเดอื นในรอบปี การอา่ น

เวลา


ปญั หาที่ 15 การบอกตำแหนง่ และทศิ ทาง


ปัญหาที่ 16 การเปรยี บเทยี บขนาดของวตั ถุหรือสงิ่ ของและรูปภาพ


ปัญหาที่ 17 การชง่ั และการนำไปใชใ้ นชวี ิตประจำวัน


ปญั หาท่ี 18 การตวงและการนำไปใช้ในชวี ติ ประจำวนั




13

สาระท่ี 2 การวดั




ปญั หาท่ี 14. การเรยี งลำดบั วนั ในสปั ดาห์

การเรยี งเดอื นในรอบปี การอา่ นเวลา




กจิ กรรมที่ 1 วนั ใดมาก่อน

กิจกรรมที่ 2 เมอื่ วาน วนั น้ี พรุง่ น้

กิจกรรมที่ 3 เดอื นใดมากอ่ น มาหลงั

กจิ กรรมท่ี 4 เดือนท่ผี า่ นมา เดอื นน้ี เดือนต่อไป

กิจกรรมที่ 5 เวลานี้มีอะไร


14

ปญั หา สบั สนในการเรยี งลำดับวันในสปั ดาห์



ระดับช้ัน ประถมศึกษาปที ่ี 1 – 3



กจิ กรรมท่ี 1 วนั ใดมาก่อน




จุดประสงค์การเรยี นรู้

นักเรียนเรยี งลำดับวนั ใน 1 สัปดาห์ไดถ้ กู ต้อง




สือ่ /อปุ กรณ

1. บตั รรปู ปมู ีชอ่ื วนั ในสัปดาหอ์ ย่บู นรูปปู และพื้นสีบัตรรปู ปตู ามสปี ระจำวนั ดา้ นหลงั
ของบตั รติดแมเ่ หล็ก จำนวน 2 ชดุ สำหรบั ครู 1 ชดุ นกั เรียน 1 ชุด

2. เพลงสปั ดาหห์ น่ึงมี 7 วัน




วิธกี ารดำเนนิ กจิ กรรม

1. ครแู จกบัตรรปู ปู ชอ่ื วนั ในสัปดาห์ ให้นกั เรียนไว้ 1 ชุดอยกู่ บั ครู 1 ชุด แล้วครู
ตดิ บัตรรูปปู สปั ดาห์หนงึ่ มี 7 วนั บนกระดาน








สัปดาห์หน
ึ่งมี 7 วนั




2. ครูถามนักเรียนเป็นทำนอง (ทำนองเพลงนิ้วโป้งอยู่ไหน) ว่า “วันอาทิตย

อยู่ไหน ๆ” พร้อมกับครูยกบัตรรูปปูวันอาทิตย์ขึ้นมาด้วย ให้นักเรียนหาบัตรวันอาทิตย์

ที่เหมือนกับของครู เมื่อหาได้แล้วชูบัตรขึ้นให้ครูเห็น แล้วตอบเป็นทำนองเช่นเดียวกันว่า

“อยนู่ คี่ ะ่ ๆ” หรือ “อยู่น่ีครบั ๆ”

3. ใหน้ กั เรยี นนำบตั รมาติด ตอ่ จากบตั ร สัปดาห์หนึ่งมี 7 วนั ของครู






สปั ดาห์หน
่งึ มี 7 วัน
อาท
ติ ย


15

4. ครูถามนักเรียนต่อ ทำนองเดียวกับกิจกรรมที่ 2 เปลี่ยนวันเป็น วันจันทร ์

“วันจันทร์อยู่ไหน ๆ” เม่ือนักเรียนหาบัตรวันจันทร์ได้แล้ว ตอบว่า “อยู่น่ีค่ะ ๆ” หรือ
“อยนู่ ค่ี รบั ๆ”

5. ให้นักเรียนนำบัตร วนั จนั ทรม์ าตอ่ จากวันอาทติ ย

6. ครูและนกั เรียนดำเนินกจิ กรรมร่วมกันตอ่ ใหค้ รบทงั้ 7 วนั








สปั ดาหห์ น
่งึ มี 7 วนั










อาท
ติ ย
์ จนั
ทร
์ อังค
าร

ธุ











พฤห
ัสบดี
ศกุ
ร์
เสา
ร์








7. เม่อื ครบท้งั 7 วนั แล้ว ครนู ำนักเรียนร้องเพลงสปั ดาห์หนึง่ มี 7 วนั






เพลงสัปดาหห์ นงึ่ มี 7 วัน


สัปดาห์หนง่ึ มเี จ็ดวัน วันอาทติ ย์ วนั จนั ทร์ วนั อังคาร วนั พุธ


พฤหัสฯ ศุกร์ เสาร์ สิ้นสดุ โรงเรยี นเราหยุด พกั ผอ่ นสองวนั




16

ขณะท่รี ้องเพลง ครูช้ีทีว่ ันแต่ละวนั ไปดว้ ย ตามจงั หวะและเน้อื ร้องของเพลง เพ่ือชว่ ย
การจำและเรียงลำดับวันในสัปดาห์ได้อย่างถูกต้อง นำนักเรียนร้องเพลงหลาย ๆ จบจน
นกั เรยี นจำได




การวัดและประเมินผล

1. สงั เกตความถูกต้องของการปฏิบตั ิกจิ กรรม วนั ใดมาก่อน

2. สังเกตความพอใจในการร่วมกจิ กรรม




เกณฑก์ ารประเมิน

นกั เรียนปฏบิ ตั ไิ ด้ผา่ นทุกรายการ ถือวา่ ผา่ น




ข้อเสนอแนะ

1. รูปร่างของบัตร ช่ือวัน อาจปรับเป็นรูปร่างอ่ืน ๆ เช่น รูปผลไม้ รูปของใช ้

ของเลน่ ทำขนาดของบตั รให้มีขนาดใหญ่ มองเห็นได้ทง้ั ชั้นเรียน

2. ปรบั วิธีการเลน่ ให้นกั เรียนออกมาถือบตั รช่อื วัน เรยี งตอ่ กันแทนการนำบตั รช่อื วนั
มาติดบนกระดาน

3. เม่ือนักเรียนจำและเข้าใจดีแล้ว ครูปรับสื่อเป็นบัตรคำธรรมดาไม่ต้องเป็น
รปู ภาพกไ็ ด

4. ครคู วรบันทกึ พฤติกรรมนักเรียนระหวา่ งการปฏบิ ตั ิกิจกรรม



แบบสงั เกตการปฏบิ ตั กิ
ิจกรรม วันใดมาก่อน





ช่ือท..่ี
.............................ร..า..ย..ก...า..ร..
..............................ผ.ผ..ลา่..นก...
า..ร..ป.ชรั้นไะม.เ.ม่ผ...นิา่ ..น.
..
.....เลหขมทา่ี.ย...เ.ห...ต..
ุ....


1.
หาบัตรช่อื วนั ได้ตรงกบั ของครู






2.
จำ และเรยี งชอ่ื วันในสัปดาห






3.
นักเรยี นมคี วามพอใจในการรว่ มกจิ กรรม








สรปุ ผ่าน ไมผ่ ่าน




17

ปัญหา ความเข้าใจความหมายของคำว่า เมอื่ วาน วนั นี้ พรุ่งน ี้



ระดบั ชั้น ประถมศึกษา ปีท่ี 1 – 3



กิจกรรมที่ 2 เม่อื วาน วันน้ี พรงุ่ น้ ี



จุดประสงค์การเรยี นร้

1. เพือ่ ให้นกั เรียนเข้าใจความหมายของคำว่า เมื่อวาน วันนี้ พรุ่งน ี้

2. นักเรียนมีความพอใจในการรว่ มกิจกรรม



ส่อื /อุปกรณ์

1. บัตรคำ



เม่ือวาน วันนี้ พร่งุ นี ้ อดตี ปัจจุบัน อนาคต

2. เพลงสัปดาหห์ นึง่ มี 7 วัน




วธิ กี ารดำเนินกจิ กรรม

1. ครูนำนกั เรียนรอ้ งเพลง สปั ดาห์หน่ึงมี 7 วนั

สปั ดาห์หนงึ่ มเี จด็ วนั วันอาทติ ย์ วนั จันทร์ วันอังคาร วันพุธ

พฤหสั บดี ศกุ ร์ เสาร์ สิน้ สดุ โรงเรยี นเราหยดุ พักผ่อนสองวนั

2. ครแู จกบตั รคำชอื่ วันในหน่งึ สัปดาห์ ให้นกั เรยี นเรยี งลำดับวนั ใน 1 สปั ดาห์ ให้
ถกู ต้อง



วันอาทิตย ์ วันจนั ทร ์ วนั องั คาร วนั พธุ วันพฤหสั บด ี วนั ศกุ ร์ วันเสาร์

3. ครตู ดิ บตั รคำ วนั ใดวนั หนง่ึ บนกระดานดำ ใหน้ กั เรยี นนำบตั รคำชอ่ื วนั ทห่ี ายไป
มาตดิ เชน่


วนั พุธ




วันศุกร์



วันจนั ทร์

จัดกิจกรรมนี้ซำ้ ๆ จนนกั เรยี นเขา้ ใจวา่ วันใดมาก่อน มาหลัง


18

4. ครูอธิบายความหมายของคำว่า “วันนี้” ซึ่งสัมพันธ์กับคำว่า ปัจจุบัน เช่น

ถา้ เรยี นวนั จันทร์ ครกู ต็ ิดบัตร วนั จันทร์ ใหต้ รงกบั ปัจจุบัน และวันน
้ี



ปัจจบุ นั





วนั นี






วนั จนั ทร




5. ครูอธบิ ายความหมายของคำวา่ “พร่งุ น”้ี ซง่ึ สมั พันธก์ ับคำวา่ อนาคต วนั ทย่ี ัง
มาไมถ่ งึ จากกจิ กรรมท่ี 3 ครูถามตอ่ ว่า วันนี้วันจนั ทร์ วันพรุ่งนี้เป็นวันอะไร





ปจั จุบนั
อนาคต






วนั น้
ี พรุ่งน
้ี





วนั จันทร

วันอังคาร




6. ครอู ธิบายความหมายของคำวา่ “เมือ่ วาน” ซ่งึ สัมพนั ธก์ บั คำวา่ อดีต หมายถงึ
วันท่ผี ่านมาแล้ว จากกิจกรรมที่ 5 ครถู ามตอ่ ว่า เมอ่ื วาน เป็นวันอะไร





อดีต
ปจั จุบัน
อนาคต









เมื่อวาน
วนั น้ี
พรงุ่ น
ี้






วันอาทิตย
์ วนั จันทร
์ วนั องั คาร




7. ใหน้ ักเรยี นเลน่ เกม “เม่ือวาน วันนี้ พรงุ่ น้ี อดีต ปจั จุบัน อนาคต” โดยครแู จก
บตั รคำให้นักเรียน




19

อดตี ปจั จุบัน อนาคต เมื่อวาน วันน ้ี พรุ่งน ้ี





วนั อาทติ ย์ วนั จนั ทร ์ วันอังคาร
วนั พธุ วันพฤหัสบดี วันศกุ ร ์ วนั เสาร




โดยครตู ดิ ชื่อวนั ใหต้ รงกับวันที่เรียน เช่นเรียนวันจันทร์
















วันจนั ทร




ใหน้ ักเรียนทีถ่ อื บัตรคำว่า เมื่อวาน วนั นี้ พรงุ่ นี้ มาตดิ ใหต้ รงกบั ความหมายในชอ่ ง วนั จันทร์




ปัจจบุ นั





วนั นี





วันจันทร



ครจู ดั กิจกรรมซำ้ ๆ ใหไ้ ด้คำตอบครบทกุ ช่องตาราง





อดีต
ปจั จุบัน
อนาคต








เมือ่ วาน
วนั น
้ี พรงุ่ นี้







วนั อาทิตย์
วนั จนั ทร
์ วนั องั คาร





20

การวดั และประเมินผล

1. สงั เกตความถกู ต้องของการปฏบิ ัตกิ จิ กรรม เม่อื วาน วันนี้ พรงุ่ น
้ี
2. สังเกตความพอใจของนักเรียนในการร่วมกจิ กรรม




เกณฑ์การประเมิน

นกั เรียนตอ้ งปฏิบัตไิ ด้ผ่านทุกรายการ ถอื วา่ ผ่าน




ข้อเสนอแนะ

1. บตั รคำท่ีมคี วามหมายเดยี วกันควรใช้สเี ดียวกนั เชน่ อดตี สเี ดียวกบั เมื่อวาน
ปจั จบุ นั สเี ดียวกบั วนั น้ี อนาคต สีเดียวกับ พรุ่งน้ี

2. นักเรยี นทุกคนควรได้รว่ มทกุ กิจกรรมโดยท่วั ถงึ

3. ครูควรบนั ทึกพฤติกรรมนกั เรยี นระหวา่ งการปฏิบัตกิ จิ กรรม






แบบสงั เกตการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม เม่อื วาน วันนี้ พรุ่งน้ี



ชื่อ.......................................................................................ชน้ั ...............เลขท.ี่ .............





ผลการประเมิน



่ี รายการ
ผา่ น
ไม่ผา่ น
หมายเหต



1.
เรียงลำดับชอ่ื วนั ใน 1 สปั ดาหไ์ ด้ถูกตอ้ ง





2.
เข้าใจความหมายของคำว่า วนั น้ี พรุ่งน ี้





เม่ือวาน อดตี ปัจจุบนั อนาคต




3.

นักเรียนมีความพอใจในการร่วมกสจิ รกปุ ร ร ม

ผา่ น
ไมผ่ า่ น











21


ญั หา สับสนในการเรยี งลำดบั เดอื นใน 1 ป


ะดับชั้น ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 – 3


กิจกรรมท่ี 3 เดือนใดมากอ่ น มาหลงั

จุดประสงค์การเรียนร
ู้
1. นักเรยี นเรยี งลำดบั เดอื นใน 1 ปี ได้ถกู ต้อง


2. นักเรยี นมีความพอใจในการรว่ มกจิ กรรม

สือ่ /อุปกรณ์

1. บตั รคำชื่อเดือนใน 1 ปี เดือนมกราคม ถึง เดอื นธนั วาคม ด้านหลงั ของบตั รติด

แม่เหลก็ จำนวน 2 ชุด สำหรบั ครู 1 ชุด สำหรับนักเรยี น 1 ชุด

2. แผนภมู ชิ ่ือเดอื น ใน 1 ป


3. บตั รชอื่ นักเรียนทุกคนในห้องเรียน

วธิ กี ารดำเนินกจิ กรรม


1. ครูนำนักเรยี นอ่านแผนภูมเิ ดอื น ใน 1 ปี



แผนภูมิ 1 ปี มี 12 เดือน


1. เดือนมกราคม มี 31 วนั


2. เดือนกุมภาพันธ์ มี 28 วัน หรือ 29 วัน


3. เดอื นมนี าคม มี 31 วนั


4. เดือนเมษายน มี 30 วัน


5. เดือนพฤษภาคม มี 31 วนั


6. เดือนมิถุนายน มี 30 วัน


7. เดอื นกรกฎาคม มี 31 วัน


8. เดอื นสงิ หาคม มี 31 วัน


9. เดอื นกันยายน มี 30 วนั


10. เดือนตุลาคม มี 31 วัน


11. เดอื นพฤศจิกายน มี 30 วัน


12. เดือนธนั วาคม มี 31 วนั


22


Click to View FlipBook Version