The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by j.yosatorn, 2022-03-30 13:40:49

แบบฝึกทักษะนักเรียนเรียนร่วม

คณิตศาสตร์

เพลงใหญ่เลก็

เลก็ แล้วก็ใหญ่ เอ้าใหญ่แลว้ กเ็ ล็ก เอ้าเล็กเลก็ เลก็

เล็กแลว้ ก็ใหญ่ เอา้ ใหญใ่ หญ่ เอ้าใหญแ่ ลว้ ก็เลก็













6.1 นำบัตรภาพมาใหน้ กั เรียนเปรียบเทียบโดยแสดงท่าทาง ใหญห่ รือเลก็ เชน่
ครนู ำภาพมาใหน้ กั เรียนพจิ ารณาภาพดา้ นหนา้

ภาพท่ี 1




ที












ด้านหนา้
ดา้ นหลงั


6.2 เม่ือนกั เรียนพจิ ารณาภาพแล้วใหน้ ำอกี ภาพหน่ึงใหด้ ูภาพดา้ นหลงั แล้วให้
นกั เรียนทายว่าใหญ่กว่าหรอื เลก็ กว่าภาพท่ี 1 โดยให้แสดงท่าทาง เชน่



หนู














ภาพท่ี 2 ดา้ นหนา้
ภาพท่ี 2 ดา้ นหลงั


73

6.3 เมอ่ื นกั เรยี นตอบ ครกู ็พลิกเฉลยจะพบว่าใหญ่กวา่ ดังน้นั นกั เรยี นทท่ี ายวา่
ใหญก่ ว่าถูกต้อง เชน่













6.4 เลือกภาพตอ่ ไปมาใช้กจิ กรรมเช่นเดยี วกันจนครบ 5 ภาพโดยเปรียบเทยี บ
ขนาดสิ่งของตงั้ แต่ 3 ส่งิ ข้ึนไป




สดุ
หนู



่ี





ดา้ นหน้า
ด้านหลัง
ด้านหน้า
ด้านหลัง
ด้านหน้า
ด้านหลงั



เกง่
เลย








ดา้ นหน้า
ดา้ นหลงั
ด้านหนา้
ดา้ นหลงั




6.5 ให้นักเรียนพิจารณาเรียงลำดับจากใหญไ่ ปหาเลก็ ทั้ง 5 ภาพ ครูแนะนำว่า
ควรพิจารณาทีละคจู่ นครบทงั้ 5 ภาพ หลงั จากนน้ั ให้พลกิ กลบั จะได้คำว่า “หนเู ก่งท่สี ดุ เลย”




หน
ู เกง่
สดุ
เลย



่ี







74

6.6 ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปการเรียงลำดับจากใหญ่ไปหาเล็ก จากมาก

ไปหาน้อย หมายถึง การเรียงลำดับจากสิ่งของท่ีใหญ่ที่สุดหรือมากท่ีสุดแล้วต่อด้วยใหญ่
รองลงมาจนกว่าจะเล็กท่ีสุดหรือจำนวนน้อยที่สุด และการสรุปการเรียงลำดับจากน้อย

ไปหามากใชใ้ นลักษณะเดียวกัน

7. นักเรียนทำแบบทดสอบเรียงลำดับจากใหญ่ไปหาเล็ก และจากน้อยไปหามาก
โดยการใชส้ ่อื ในการทดสอบ



การวัดและประเมินผล

1. สงั เกตการปฏบิ ัตกิ จิ กรรม

2. คะแนนจากแบบทดสอบ

3. ความพอใจของนกั เรยี นในการร่วมกจิ กรรม



เกณฑก์ ารประเมนิ

ปฏิบัติกิจกรรมไดผ้ า่ นทกุ รายการ ถอื วา่ ผา่ น



ข้อเสนอแนะ

1. เกมน้ีสามารถเปรียบเทียบในเร่ืองอ่ืน ๆ เช่น น้ำหนัก (หนัก-เบา) รูปร่าง
(อ้วน-ผอม /หนา-บาง ) ความยาว (สงู -ต่ำ/ส้ัน-ยาว ) เปน็ ต้น

2. ฝึกทักษะเพ่ิมเติมโดยใหน้ กั เรียนเปรียบเทียบจากสง่ิ ของใกล้ตวั ก่อน

3. เกณฑก์ ารประเมนิ ผู้สอน อาจกำหนดตามความเหมาะสมของนักเรยี น

4. ครูควรบันทึกพฤติกรรมนักเรยี นระหว่างการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม




















75

แบบสังเกตการปฏิบัติกจิ กรรมมาเปรยี บเทยี บกนั นะจะ๊



ช่อื ........................................................................................ช้นั ...............เลขที.่ .............





สงั เกตการปฏบิ ัต


ที
่ รายการ
การเปรียบเทยี บ
การเรยี งลำดบั


ผ่าน
ไมผ่ า่ น
ผา่ น
ไมผ่ ่าน
คะแนน



1.
ปฏบิ ัติกิจกรรมเปรยี บเทยี บ










1.1 ใหญ่ – เล็ก








1.2 หนา – บาง









1.3 ยาว – สนั้








1.4 สูง – ต่ำ










1.5 หนัก – เบา














1.6 อ้วน - ผอม


2.
แบบทดสอบ










3.
นกิจักกเรรียรมน
มีความพอใจในการร่วม















สรปุ ผ่าน ไมผ่ ่าน














76


อ่ื ประกอบการปฏิบตั ิกิจกรรม การเรียงลำดับจากใหญไ่ ปหาเลก็

และจากน้อยไปหามาก



ำชี้แจง จงเรยี งลำดบั จากใหญไ่ ปหาเล็ก




หน
ู เก่ง






ดา้ นหนา้


ด้านหลัง
ด้านหนา้
ด้านหลงั



ท่
ี สุด








ดา้ นหนา้
ดา้ นหลัง
ดา้ นหนา้
ดา้ นหลัง



เลย








ดา้ นหนา้
ดา้ นหลงั



คำชีแ้ จง จงเรยี งลำดบั จากน้อยไปหามาก






ยอด
เยย่ี ม
จงั




ดา้ นหน้า
ดา้ นหลัง


ดา้ นหน้า
ด้านหลัง
ด้านหน้า
ด้านหลงั



เลย
คะ่




ดา้ นหนา้
ด้านหลัง
ด้านหนา้
ดา้ นหลงั

77

ปญั หาที่ 17. การชัง่ และการนำไปใช้ในชวี ติ ประจำวัน





กิจกรรมท่ี 1 ตาชั่งวเิ ศษ

กิจกรรมที่ 2 ช่งั ไดช้ ่ังดี


78

ปญั หา การชั่งและการนำไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวัน



ระดบั ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 1 - 4



กจิ กรรมที่ 1 ตาชง่ั วเิ ศษ



จุดประสงคก์ ารเรียนร้

1. บอกหน่วยการชั่งเป็นกโิ ลกรัม เป็นขดี ได้

2. ชง่ั สงิ่ ของและบอกนำ้ หนักได

3. นำคณิตศาสตรไ์ ปใช้ในชีวติ ประจำวนั ได้

4. นกั เรยี นมคี วามพอใจในการรว่ มกิจกรรม



สอ่ื /อุปกรณ์

1. เครอื่ งช่ัง เชน่ เครือ่ งชงั่ สปรงิ เครื่องชั่งนำ้ หนักตัว เครื่องช่ังยา เป็นต้น

2. ภาพเครื่องชัง่ ชนดิ ตา่ ง ๆ

3. ของจริง เช่น สม้ มะนาว สมดุ หนงั สือ เปน็ ตน้



วิธกี ารดำเนินกจิ กรรม

1. ครูสนทนาซักถามนักเรียนเกี่ยวกับเครื่องช่ังชนิดต่างๆ และหน่วยการช่ังท่ี
พบเหน็ ในชีวิตประจำวนั







2. ครูนำส่ิงของที่มีน้ำหนัก 1 กิโลกรัม วางบนเคร่ืองช่ังสปริงแล้วให้นักเรียน
สังเกตเขม็ ที่หน้าปัดของเคร่อื งช่งั ซ่ึงเขม็ ชีท้ ่เี ลข 1 ครบู อกสงิ่ ของนี้ มนี ำ้ หนกั 1 กโิ ลกรมั
เราใช้อักษรย่อ กก. ครอู ธิบายตอ่ วา่ น้ำหนัก 1 กโิ ลกรัม มี 1,000 กรมั ใชอ้ กั ษรย่อ ก.

3. ครูจัดกิจกรรมเหมือน ข้อ 2 จนนักเรียนรู้และเข้าใช้การช่ังส่ิงของที่มีน้ำหนัก

1 กโิ ลกรัม






79

4. จากนั้นเปลี่ยนเป็นสิ่งของท่ีมีน้ำหนักเป็นขีดและบอกน้ำหนัก ครูนำสิ่งของท่ีมี
น้ำหนัก 1 ขีด วางบนเครือ่ งช่ัง ใหน้ กั เรียนสังเกตเข็มทหี่ น้าปดั ของเคร่ืองชง่ั ซงึ่ เข็มชีท้ ่ขี ดี
1 ช่องเลก็ ครูบอกสงิ่ ของน้ี มีนำ้ หนกั 1 ขีด ครอู ธบิ ายต่อว่า นำ้ หนัก 1 ขดี มี 100 กรมั

ใชอ้ กั ษรยอ่ ก. และ 1 กิโลกรัม มี 10 ขดี

ใหน้ ักเรยี นฝึกทักษะโดยการชงั่ ของจริงอื่นๆ ท่เี ตรยี มไวพ้ ร้อมกบั บอกน้ำหนักเป็น
ขีดและกิโลกรมั ทั้งรายบคุ คลและกลุม่ ย่อย

5. ให้นักเรยี นชัง่ สิ่งของที่นักเรยี นสนใจ 5 อยา่ ง และวาดภาพสิ่งของที่นักเรยี นช่ัง
ลงในแบบบันทกึ การช่ังสิ่งของ

6. ให้นักเรียนทำแบบฝึกทักษะบอกหน่วยการช่ังของส่ิงของ และแบบฝึกทักษะ
การเปรียบเทยี บหน่วยการชั่ง



การวัดและประเมนิ ผล

1. สงั เกตความถูกตอ้ งของการปฏิบตั ิกิจกรรม

2. ตรวจความถูกตอ้ งของแบบฝกึ

3. ความพอใจของนกั เรยี นในการร่วมกจิ กรรม



เกณฑก์ ารประเมนิ

1. ปฏบิ ัติกจิ กรรมไดผ้ ่าน ทุกรายการ ถือวา่ ผ่าน

2. ทำแบบฝกึ ทกั ษะบอกหนว่ ยการชงั่ ของสงิ่ ของ และการเปรยี บเทยี บหนว่ ยการชงั่
ไดถ้ กู ตอ้ ง



ข้อเสนอแนะ

1. กิจกรรมการชั่งมีปัญหาในการนำไปใช้การบอกหน่วยของน้ำหนัก ควรปฏิบัติ
กจิ กรรมซำ้ หลายครงั้ จนนกั เรียนมีทกั ษะ

2. ครคู วรบันทึกพฤติกรรมนักเรียนระหว่างปฏิบตั ิกิจกรรม












80

แบบสงั เกตการปฏบิ ัตกิ จิ กรรม ตาชัง่ วเิ ศษ



ชอื่ ........................................................................................ชน้ั ...............เลขที่..............





ผลการปฏบิ ตั


ที่
รายการ
ผ่าน
ไมผ่ ่าน
หมายเหตุ



1.
ปฏิบตั กิ จิ กรรมการช่ัง







2.
ทำแบบฝึกทักษะบอกหน่วยการชั่งของ



ส่งิ ของ




3.
ทำแบบฝึกเปรยี บเทียบหนว่ ยการชง่ั





4.
นักเรยี นมีความพอใจในการรว่ มกจิ กรรม








สรุป ผา่ น ไมผ่ า่ น


































81


บบฝึกทักษะบอกหน่วยการช่งั ของสิ่งของ



ชอ่ื ........................................................................................ชัน้ ...............เลขท.่ี .............



คำช้แี จง ให้นักเรียนชั่งสิ่งของที่กำหนด และบอกหน่วยน้ำหนักท่ีชั่ง เป็นกิโลกรัม เป็น

กรมั หรือเปน็ ขดี




ส่ิงของท่ชี ัง่
หน่วยการชงั่





ส้ม








อง่นุ










กงุ้










ผักกาด










ปลา









หมายเหต ุ ครเู ปล่ยี นสิ่งของทีช่ ั่งได้ตามความเหมาะสม


82

แบ
บฝึกทกั ษะการเปรยี บเทียบหนว่ ยการชง่ั



ชอ่ื ........................................................................................ชนั้ ...............เลขท.ี่ .............




> <คำช้แี จง ใหน้ กั เรยี นเติมเคร่ืองหมายมากกวา่ ( ) นอ้ ยกว่า ( ) หรือเทา่ กับ ( = )

ลงใน








วั อยา่ ง 1 กิโลกรมั
=
10 ขีด




ครึ่งกโิ ลกรมั

2 ขดี




1 ขีด

200 กรมั



1
,000 กรมั

1 กโิ ลกรัม




2 กิโลกรมั

1,500 กรัม



400 กรัม

4 ขดี













ได้ ...................คะแนน



สรุป ผ่าน ไมผ่ า่ น














83

ปัญหา การช่งั และการนำไปใช้ในชีวติ ประจำวัน



ระดบั ชั้น ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 - 4



กิจกรรมท่ี 2 ชั่งได้ช่งั ดี



จุดประสงค์การเรยี นรู

1. นักเรียนบอกความสมั พันธ์ระหว่างหนว่ ยการช่งั ได้

2. บอกน้ำหนกั ของสิ่งของทชี่ ่งั ได

3. นำการช่ังไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั ได้

4. นกั เรยี นมคี วามพอใจในการรว่ มกิจกรรม



สื่อ/อุปกรณ

1. เคร่อื งชง่ั เช่น เครื่องช่ังสปรงิ เคร่อื งช่ังนำ้ หนักตัว เครอ่ื งช่ังยา เปน็ ตน้

2. ภาพเคร่อื งช่ังชนิดต่าง ๆ

3. ของจรงิ เช่น ผลไม้ชนิดต่าง ๆ



วธิ กี ารดำเนนิ กจิ กรรม

1. ครูถามน้ำหนักตัวของนักเรียน 3 – 4 คน ให้นักเรียนตอบน้ำหนักของตนเอง
เชน่ 30 กโิ ลกรัม 32 กิโลกรัม 35 กโิ ลกรมั เป็นต้น

2. ครูแนะนำเพม่ิ เติมว่า นำ้ หนกั 1 กิโลกรัม เทา่ กับน้ำหนกั 1,000 กรมั แลว้ ถาม
นักเรยี นว่า สม้ 2 กิโลกรมั หนักเทา่ กบั ก่ีกรัม

3. ครูติดแถบโจทย์ ครั้งละ 1 ชุด แล้วให้นักเรียนออกมาแข่งขันกันเขียนคำตอบ
ลงบนกระดาน ดังนี้

4,000 กรัม = กิโลกรัม



2,400 กรัม = กิโลกรมั กรัม



ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง




84

4. ครูแจกกระดาษให้นักเรียนคนละ 1 แผ่น ให้นักเรียนแต่ละคนกำหนดหน่วย
เป็นกรัม โดยต้องมากกว่า 1,000 กรัม ข้ึนไป เช่น 1,500 กรัม นักเรียนออกมานำเสนอ

น้ำหนักคร้ังละ 1 คน แล้วให้เพื่อนบอกน้ำหนักที่เท่ากันเป็นก่ีกิโลกรัม และก่ีกรัม เช่น
บอกวา่ 1 กโิ ลกรัม กับ 500 กรัม และรว่ มกนั ตรวจสอบความถกู ต้อง

5. ครูและนักเรียนรว่ มกนั สรุปวา่ เราสามารถนำความรไู้ ปใชห้ าคำตอบเกี่ยวกับ

การช่ังส่งิ ของตา่ ง ๆ ในชีวติ ประจำวนั ได

6. ให้นกั เรียนทำแบบฝึกทักษะเรือ่ งความสมั พนั ธ์ระหวา่ งหนว่ ยการชงั่



การวดั และประเมินผล

1. สงั เกตความถูกตอ้ งของการปฏิบตั กิ ิจกรรม

2. ตรวจความถูกตอ้ งของการฝึกทกั ษะบอกความสมั พนั ธ์ระหว่างหนว่ ยการชง่ั

3. ความพอใจของนักเรียนในการร่วมกิจกรรม



เกณฑก์ ารประเมิน

1. ปฏบิ ตั ิกจิ กรรมการช่งั ไดถ้ กู ต้องทุกรายการ ถอื ว่าผ่าน

2. ทำแบบฝกึ ทักษะบอกความสมั พนั ธ์ระหวา่ งหน่วยการชงั่ ได้ทกุ ขอ้



ข้อเสนอแนะ

1. กิจกรรมการช่ังมีปัญหาในการนำไปใช้ การบอกหน่วยของน้ำหนัก ควรปฏิบัติ
กิจกรรมซำ้ หลายคร้งั จนนักเรียนมที ักษะ

2. ครูควรบนั ทกึ พฤติกรรมนักเรียนระหวา่ งปฏบิ ัตกิ จิ กรรม




















85

แบบสงั เกตการปฏิบตั ิกิจกรรม ช่งั ไดช้ งั่ ด



ชือ่ ........................................................................................ชั้น...............เลขท่.ี .............





ผลการปฏิบตั ิ


ที่
รายการ
ผ่าน
ไม่ผ่าน
หมายเหตุ



1.
ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมการชั่ง







2.
ทำแบบฝึกทกั ษะบอกความสัมพนั ธ์




ระหว่างหนว่ ยการชั่ง


3.
นักเรียนมีความพอใจในการรว่ มกจิ กรรม












สรุป ผา่ น ไมผ่ ่าน



































86


บบฝึกทกั ษะบอกความสมั พันธ์ระหว่างหน่วยการชง่ั



ช่อื ........................................................................................ชนั้ ...............เลขท่.ี .............



คำชแี้ จง ใหน้ ักเรยี นเติมคำตอบให้ถกู ตอ้ ง




1.
1 กโิ ลกรัม
= ………….. กรมั







2.
3,000 กรัม
= …………… กิโลกรัม









3.
500 กรัม
= …………… ขดี







4.
20 ขีด
= ……………. กรมั









5.
4,500 กรัม



=
…………กิโลกรัม ..........



ได้ ...................คะแนน



สรุป ผา่ น ไมผ่ ่าน


















87

ปัญหาที่ 18. การตวง และการนำไปใช้ในชวี ิตประจำวนั





กจิ กรรมที่ 1 ตวงนำ้ หรรษา

กิจกรรมที่ 2 ตวงน้ำแสนสนกุ


88

ปัญหา การตวงและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวนั



ระดับชั้น ประถมศึกษาปีท่ี 1 - 4



กจิ กรรมท่ี 1 ตวงนำ้ หรรษา



จดุ ประสงคก์ ารเรยี นร
ู้
1. นกั เรยี นบอกหนว่ ยการตวงไดถ้ กู ตอ้ ง

2. นกั เรยี นตวงสง่ิ ของท่ีกำหนดได้

3. นักเรียนมีความพอใจในการร่วมกิจกรรม



สื่อ/อปุ กรณ์

1. เครื่องมือการตวง เชน่ ลติ ร กระบอกตวง ถว้ ยตวง แก้ว ขนั พลาสตกิ ถังนำ้

2. รปู ภาพเครือ่ งมอื การตวง

3. นำ้ สี ทราย ข้าวสาร น้ำตาลทราย เมลด็ ถ่วั เขียว เป็นต้น



วธิ ีการดำเนนิ กิจกรรม

1. ครสู นทนาซกั ถามนกั เรียนเก่ียวกบั เคร่ืองมือ อปุ กรณต์ า่ ง ๆ ทีน่ ำมาใช้ตวงได้
ในชีวติ ประจำวัน









2. ใหน้ ักเรียนฝกึ ปฏบิ ตั ิตวงเมลด็ ถ่ัวเขียว โดยใช้ภาชนะตวง ทไ่ี มม่ ีหนว่ ยมาตรฐาน
ในการตวง เช่น แก้วน้ำ กระบอก ขัน ถ้วย เป็นต้น โดยการสาธิตและอธิบายเพ่ิมเติม
วา่ การตวงเมลด็ ถว่ั เขียวตอ้ งใชไ้ มป้ าดให้พอดีปากแกว้










89

3. นักเรียนนำแก้วน้ำมาตวงน้ำใส่ขันพลาสติก โดยแนะนำให้นักเรียนตวงให้เต็ม
พอดีแลว้ ใหน้ กั เรยี นนบั จำนวนคร้ังท่ตี วงนำ้ กี่แกว้ จึงจะเต็มขันพลาสติก (บนั ทึกผล)

4. ครูนำเครื่องมือการตวงท่ีเป็นเคร่ืองมือมาตรฐาน เช่น ลิตร กระบอกตวง

ถว้ ยตวง มาใหน้ ักเรยี นสงั เกตรปู รา่ งลกั ษณะพรอ้ มแนะนำชอื่ และบอกประโยชน์ในการนำ
ไปใช

5. นักเรียนเล่นทายเคร่ืองมือการตวงมาตรฐานจากของจริงหรือจากรูปภาพ
เคร่ืองตวง เช่น









6. ให้นักเรียนใช้ถ้วยตวง ตวงน้ำสีจำนวน 200 มิลลิลิตร พร้อมแนะนำให้
นักเรยี นอ่านปริมาณน้ำในถ้วยตวง วา่ มีความจุ 200 มิลลิลิตร แลว้ ครอู ธบิ ายเพม่ิ เตมิ ว่าน้ำ
สใี นถ้วยนมี้ ีความจุ 200 มลิ ลลิ ิตร

7. ให้นักเรียนทดลองตวงน้ำสี 300 , 400, 500 มิลลิลิตรทีละคน โดยครู และ
เพ่อื น สงั เกตพฤตกิ รรมการตวงและความถูกต้องในการตวง

8. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเก่ียวกับวิธีการตวงสิ่งของต่างๆ และการอ่าน
หนว่ ยในการตวงทถี่ กู ตอ้ ง

9. นักเรียนฝึกอ่านความจุ ของสิ่งของท่ีใช้หรือพบในชีวิตประจำวัน เช่น ความจุ
ของนม น้ำ ยา น้ำปลา นำ้ มนั เปน็ ตน้

10. ฝึกทักษะการตวงซำ้ ๆ อย่างอสิ ระ



การวดั และประเมินผล

1. สังเกตการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมการตวงและบอกหน่วยการตวง

2. ความพอใจของนักเรียนในการร่วมกิจกรรม



เกณฑ์การประเมนิ

1. ปฏิบตั ิกิจกรรมการตวง และบอกหนว่ ยการตวงได้ผา่ นทกุ กิจกรรม ถือวา่ ผ่าน

2. นักเรยี นมคี วามพอใจในการรว่ มกิจกรรม ในระดบั ผา่ น




90

ข้อเสนอแนะ

1. อุปกรณท์ ใ่ี ชต้ วงใหเ้ ลอื กใช้ตามความเหมาะสม

2. อุปกรณ์เช่นถว้ ยตวงอาจใช้สขี ีดทำสัญลกั ษณ์เกย่ี วกบั ขนาด

3. กิจกรรมการตวงควรฝึกทักษะการใช้หน่วยเพิ่มเติมและฝึกโดยใช้บัตรงานหรือ
แบบฝกึ ทักษะกไ็ ด

4. ครูควรบันทึกพฤติกรรมนกั เรยี นระหว่างการปฏบิ ัติกิจกรรม





แบบสังเกตการปฏิบัติกจิ กรรม ตวงนำ้ หรรษา



ชื่อ........................................................................................ช้นั ...............เลขท่.ี .............





ผลการปฏบิ ัติ


ที่
รายการ
ผา่ น
ไม่ผา่ น
หมายเหต




1.
บอกหน่วยการตวง








2.
ปฏิบตั ิกจิ กรรมการตวง


300 มิลลลิ ิตร ได้ ไมไ่ ด้


400 มลิ ลลิ ิตร ได้ ไม่ได


500 มิลลลิ ติ ร ได ้ ไม่ได




3.
นกั เรียนมีความพอใจในการรว่ มกจิ กรรม









สรุป ผา่ น ไม่ผ่าน
















91

ปัญหา การตวง การเปรยี บเทยี บการตวงและการนำไปใช้ในชีวติ ประจำวัน



ระดับชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 1 - 4



กจิ กรรมท่ี 2 ตวงน้ำแสนสนุก



จุดประสงคก์ ารเรียนร
ู้
1. นกั เรียนบอกหน่วยการตวงไดถ้ ูกต้อง

2. นักเรียนตวงสง่ิ ของท่กี ำหนดได้

3. นักเรียนมคี วามพอใจในการรว่ มกจิ กรรม



สอ่ื /อปุ กรณ์

1. เคร่อื งมือการตวงที่มหี น่วยเปน็ มาตรฐาน เช่น ลติ ร ถว้ ยตวง

2. รปู ภาพเคร่อื งมือการตวง

3. นำ้



วิธีการดำเนนิ กิจกรรม

1. ทบทวนบทเรียนโดยครูสนทนาซักถามเก่ียวกับเคร่ืองมือการตวงที่มีหน่วยเป็น
มาตรฐานทใี่ ช้ในชวี ติ ประจำวนั











2. ให้นักเรียนฝึกปฏิบัติการตวงท่ีจำนวน 1 ลิตร โดยใช้เคร่ืองมือการตวงท่ีมี
หน่วยเป็นมาตรฐาน แลว้ ครอู ธิบายเพิม่ เติมว่า 1 ลติ ร มี 1,000 มิลลลิ ติ ร ใช้อกั ษรยอ่ ว่า ล.










92

3. ให้นักเรียนฝกึ ปฏิบัติการตวงทีจ่ ำนวน 500 มลิ ลลิ ติ ร โดยใช้เครอื่ งมอื การตวงท่ี

มีหน่วยเปน็ มาตรฐาน แลว้ ครูอธบิ ายเพิม่ เติมว่า 500 มลิ ลิลิตร มีคา่ เทา่ กบั ครึง่ ลิตรหรอื ½

ลติ ร ใช้อกั ษรย่อวา่ มล.











4. ใหน้ ักเรยี นฝึกตวงจำนวน 1 ลิตร และคร่งึ ลติ ร ทีละคนหนา้ ห้องเรียนพรอ้ มทั้ง
ใหน้ ักเรยี นอา่ นปรมิ าณนำ้ ในถ้วยตวงวา่ มคี วามจุ 1 ลติ รและครึ่งลิตร

5. ให้นักเรียนทดลองตวงน้ำ 600 มิลลิลิตร 750 มิลลิลิตร 800 มิลลิลิตร 850
มิลลิลติ ร 950 มิลลิลติ รทลี ะคนโดยครูและเพ่ือนตรวจสอบความถกู ต้อง

6. นักเรียนฝึกอ่านความจุของส่ิงของท่ีใช้หรือพบในชีวิตประจำวัน เช่น ความจุ
ของนำ้ มนั นำ้ เชือ่ ม น้ำอดั ลม เปน็ ต้น

7. ฝกึ ทกั ษะการตวงซ้ำ ๆ จนนักเรียนเกดิ ทักษะการตวงอย่างอสิ ระ



การวดั และประเมนิ ผล

1. สังเกตการปฏบิ ตั ิกิจกรรมการตวงและบอกหนว่ ยการตวงทีเ่ ปน็ หน่วยมาตรฐาน

2. ความพอใจของนักเรียนในการรว่ มกิจกรรม



เกณฑ์การประเมนิ

ปฏบิ ตั ิกิจกรรมไดผ้ ่านทุกกจิ กรรม ถอื วา่ ผ่าน



ขอ้ เสนอแนะ

1. กิจกรรมการตวง ควรฝึกทกั ษะการใช้หนว่ ยเพม่ิ เตมิ และฝึกโดยใชบ้ ตั รงานหรอื
แบบฝกึ ทกั ษะก็ได

2. ครูควรบันทึกพฤติกรรมนักเรยี นระหว่างปฏบิ ตั ิกิจกรรม








93

แบบสงั เกตการปฏบิ ัติกจิ กรรม ตวงน้ำแสนสนุก



ช่ือ........................................................................................ชนั้ ...............เลขท.่ี .............





ผลการปฏบิ ตั


ท่
ี รายการ
ผา่ น
ไม่ผา่ น
หมายเหต



1.
600 มลิ ลิลติ ร











2.
750 มิลลลิ ติ ร




3.
800 มิลลลิ ิตร



4.
850 มลิ ลิลิตร






5.
นักเรียนมีความพอใจในการร่วมกจิ กรรม










สรุป ผา่ น ไมผ่ ่าน
































94

ปัญหาท่ี 19. การวดั และการนำไปใช้ในชวี ติ ประจำวนั





กิจกรรม วัดได้ไม่ยาก


95

ปัญหา การวดั และการนำไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั



ระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 1 - 4



กิจกรรม วัดได้ไม่ยาก



จุดประสงค์การเรยี นรู้

1. ใช้เครอื่ งมอื วดั ได้อย่างเหมาะสม

2. บอกหน่วยการวัดได้ถูกต้อง

3. วดั ความยาวได้ถกู ตอ้ ง

4. นำทักษะการวดั ไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวัน

5. นักเรียนมีความพอใจในการรว่ มกิจกรรม



สื่อ/อปุ กรณ์

1. เครือ่ งมือวดั ความยาวของจริงท่ีจะนำมาวดั ความยาว เช่น สายวัดตวั ไม้บรรทัด
ตลับเมตร เปน็ ต้น











2. สิ่งของตา่ ง ๆ เช่น ยางลบ ปากกา สมุด หนงั สือ โตะ๊ กระดาน ประตู หน้าตา่ ง
หอ้ งเรียน เปน็ ต้น

3. แบบฝกึ ทักษะการวัดความยาว



วธิ ีการดำเนนิ กิจกรรม

1. ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาและซักถามเกี่ยวกับเครื่องมือการวัดความยาว
ว่ามอี ะไรบา้ งใหน้ ักเรียนตอบ พร้อมทงั้ ดขู องจรงิ และรปู ภาพประกอบ

2. ครแู นะนำเครอื่ งมอื การวดั ความยาวแตล่ ะชนดิ พรอ้ มสาธติ วธิ กี ารใชเ้ ครอ่ื งมอื ให้
นกั เรยี นด


96

3. ใหน้ ักเรยี นวดั ความยาวของดินสอของตนเอง และบอกว่ามคี วามยาวเทา่ ไร ครู
และเพื่อนตรวจสอบความถูกต้อง

4. ให้นักเรียนทดลองวัดความยาวของสิ่งต่างๆ รอบตัว ครูสังเกตการเลือกใช้
เครื่องมือ และตรวจสอบความถูกตอ้ งในการวัด

5. นักเรยี นจับคู่กนั วัดสว่ นสงู พรอ้ มทง้ั บนั ทึกผลการวดั

6. ครูสาธิตการวัดความยาวที่มีค่าไม่ตรงหน่วย เช่น ความยาว 2 เซนติเมตร 5
มิลลิเมตร พร้อมกับแนะนำหน่วยย่อย การวัดความยาว (หน่วยต่างๆ) ให้นักเรียนทราบ
เช่น เซนตเิ มตร มิลลเิ มตร

7. ให้นักเรียนทำแบบฝกึ ทักษะการเปรียบเทยี บหน่วยวดั ความยาว

8. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันสรุปการวัดความยาว ความสงู

9. ให้นักเรยี นฝกึ ปฏิบัตซิ ้ำอย่างมอี สิ ระ



การวัดและประเมินผล

1. สงั เกตการปฏิบตั ิกจิ กรรมการวดั ความยาว

2. ตรวจความถูกตอ้ งของการทำแบบฝึกทักษะ

3. ความพอใจของนักเรียนในการรว่ มกจิ กรรม



เกณฑก์ ารประเมนิ

ปฏิบตั กิ ิจกรรมได้ผา่ นทกุ กจิ กรรม ถอื ว่าผา่ น



ขอ้ เสนอแนะ

1. ควรให้นักเรียนฝึกทักษะวัดความยาวโดยใช้เคร่ืองมือวัดที่แตกต่างกัน โดยให้
ปฏิบัตจิ ริงเปน็ รายบุคคลและกลมุ่ ย่อย

2. ครคู วรบันทึกพฤติกรรมนกั เรยี นระหวา่ งปฏบิ ัตกิ จิ กรรม














97

แบบสงั เกตการปฏิบตั ิกจิ กรรม วดั ไดไ้ ม่ยาก



ช่ือ........................................................................................ชน้ั ...............เลขท.ี่ .............




ผลการปฏบิ ตั ิ


ที่
รายการ
ผา่ น
ไม่ผ่าน
หมายเหตุ



1.
วดั ความกวา้ ง หรือความยาวของหนงั สอื







2.
วัดความกวา้ ง หรอื ความยาวของสมดุ






3.
วัดความยาวหรอื ความสูงของโตะ๊






4.
วัดความกวา้ งของประต







5.
วดั ความยาว หรอื ความกว้างของห้องเรยี น





6.
นักเรยี นมคี วามพอใจในการร่วมกจิ กรรม









สรปุ ผ่าน ไมผ่ ่าน





























98

แบ
บฝกึ ทกั ษะการวัดความยาว




ชอื่ ........................................................................................ชัน้ ...............เลขที่..............



คำชี้แจง ให้นักเรียนวดั ความยาวต่อไปน้โี ดยใช้ไมบ้ รรทดั



1. ความยาวของเส้นตรง





ตอบ ยาว.............เซนติเมตร



2. ความสงู ของโคมไฟ





ตอบ สูง...........เซนติเมตร



3. ความยาวของแตร





ตอบ แตรยาว................น้วิ



4. ความยาวของหนังสือ





ตอบ หนงั สือยาว .................. เซนติเมตร






เกณฑก์ ารประเมิน


นักเรยี นทำแบบฝึกวัดความยาวไดถ้ ูกตอ้ ง 3 ขอ้ ถอื วา่ ผา่ น

สรุป
ผา่ น ไมผ่ า่ น





99

ปญั หาท่ี 20 . เงิน และการนำไปใช้ในชวี ติ ประจำวนั




กจิ กรรม ค่าของเงนิ


100

ปัญหา การแลกเงนิ และการนำไปใช้ในชวี ิตประจำวนั



ระดับชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 2 - 3



กจิ กรรมที่ 2 คา่ ของเงิน




จดุ ประสงคก์ ารเรียนร
ู้
1. บอกค่าของเงิน

2. แลกเงินได

3. เช่อื มโยงความรเู้ ร่ืองเงินไปใช้ในชวี ิตประจำวันได้

4. นักเรียนมคี วามพอใจในการร่วมกิจกรรม




ส่อื /อปุ กรณ

1. เงินเหรียญชนิดต่างๆ ธนบตั รชนดิ ต่างๆ

2. เงินเหรยี ญจำลอง ธนบตั รจำลอง

3. ตารางจำนวนเงินสง่ิ ของทตี่ อ้ งการแลก

4. กระดาษเปลา่




วธิ กี ารดำเนนิ กิจกรรม

1. ครแู ละนักเรียนร่วมกนั ร้องเพลง “รวมเงนิ ” พร้อมทง้ั แสดงท่าทางประกอบ




เพลงรวมเงิน




รวมเงนิ รวมเงนิ วนั น้


รวมกนั ใหด้ ี อย่าให้มผี ดิ พลาด


ผ้หู ญิงนนั้ เป็นเหรยี ญบาท (ซำ้ )


ผชู้ ายเกง่ กาจเปน็ ห้าสบิ สตางค์






(จำนวนเงินอาจปรบั เปลีย่ นได้ตามความเหมาะสม)




101

2. ครูสนทนาเรื่องเงินของไทย โดยให้ตัวแทนนักเรียน 3 คน ออกมาหยิบเงิน
เหรยี ญ คนละ 1 เหรียญ แล้วเขยี นจำนวนเงนิ บนกระดาน

ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั ตรวจสอบความถกู ต้อง

3. ครูหยิบเงินธนบัตรฉบับละย่ีสิบบาท 1 ฉบับมาติดบนกระดานให้ตัวแทน
นักเรียนออกมาหยบิ เงนิ ท่ีมคี า่ เท่ากบั ธนบัตร (ตามประสบการณข์ องนกั เรียน เชน่ เหรียญ
สบิ บาท 2 เหรยี ญ เหรียญห้าบาท 4 เหรยี ญ)

ครแู ละนกั เรยี นร่วมกนั ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง

ครูดำเนินกิจกรรมอีกคร้ัง โดยครูติดตารางจำนวนเงินและส่ิงที่ต้องการแลกบน
กระดาน ใหน้ กั เรียนครงั้ ละ 1 คน ออกมาหยิบเงนิ จำลองและเขียนคำตอบ ดงั น้ี




สง่ิ ที่กำหนด





สิ่งทต่ี ้องการแลก จำนวนทแี่ ลกได













....................................ฉบับ







..................................เหรยี ญ


เหรยี ญ 5 บาท







..................................เหรียญ


เหรียญ 10 บาท
เหรียญ 2 บาท


102

ครแู ละนกั เรียนรว่ มกนั ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง

4. นักเรียนจับคู่กันเขียนจำนวนเงินในธนบัตรและส่ิงที่ต้องการแลกลงในกระดาษ
เพอ่ื รว่ มกจิ กรรม ดังน ้ี

- ครูกำหนดจำนวนเงินและสิ่งท่ีต้องการแลกบนกระดานให้นักเรียนแต่ละคน
แข่งขนั กันออกมาเขยี นจำนวนทแ่ี ลกได้ ค่ใู ดตอบเสร็จกอ่ นและถูกต้องเป็นผู้ชนะ

- ผู้ชนะนำจำนวนเงินและส่ิงท่ีต้องการแลกมาติดบนกระดานเพื่อให้นักเรียน
ท่ีเหลือแขง่ ขันกันออกมาเขียนจำนวนทแ่ี ลกได

- ดำเนินกิจกรรมเช่นน้ีจนครบทุกค
ู่
ครูและนกั เรยี นรว่ มกันตรวจสอบความถูกต้อง

5. ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 3-4 คน ช่วยกันกำหนดจำนวนเงิน
ลงในกระดาน เพ่ือร่วมกจิ กรรม ดังนี

- ครกู ำหนดจำนวนเงนิ 1 จำนวน

- ตัวแทนแต่ละกลุ่มออกมาติดจำนวนธนบัตร หรือเงินเหรียญจำลองให้มี
จำนวนเงินที่กำหนด (ห้ามซ้ำกัน) กลุ่มใดเสร็จก่อนและถูกต้องได้ 2 คะแนน กลุ่มอื่น ๆ

ท่ีตอบได้ถูกต้องได้ 1 คะแนน กลุ่มท่ีเสร็จก่อนนำจำนวนเงินมาติดบนกระดาน พร้อมท้ัง
จัดกลุ่มธนบัตร หรือเหรียญให้มีจำนวนเงินเท่าท่ีกำหนด กลุ่มอ่ืนตรวจสอบความถูกต้อง
ถา้ ถูกต้องได้ 1 คะแนน

- ดำเนนิ กจิ กรรมเชน่ นี้จนครบทุกกล่มุ

ครูและนักเรยี นร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง และสรุปคะแนน

6. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพ่ือสรุปว่า “ธนบัตรและเงินเหรียญท่ีมีค่าเท่ากัน
ใชแ้ ทนกันหรือแลกกนั ได”้

7. ใหน้ กั เรียนฝกึ ทกั ษะ เรอ่ื งการแลกเงิน




การวัดและประเมนิ ผล


1. สงั เกตความถกู ตอ้ งของการปฏิบตั ิกิจกรรม

2. ตรวจสอบความถกู ต้องของแบบฝึกทักษะ

3. ความพอใจของนกั เรยี นในการรว่ มกจิ กรรม




เกณฑก์ ารประเมิน


1. ปฏิบัติกจิ กรรมได้ถกู ตอ้ งผ่านทกุ รายการ ถือว่า ผ่าน

2. ทำแบบฝึกทกั ษะการแลกเงนิ ไดถ้ กู ต้อง


103

ข้อเสนอแนะ

1. ครจู ดั ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมการแลกเงนิ ซำ้ หลายๆ คร้ังจนนักเรยี นมีทักษะ

2. ครูควรบันทกึ พฤตกิ รรมนกั เรยี นระหว่างปฏิบัตกิ จิ กรรม





แบบสังเกตการปฏิบตั ิกิจกรรม ค่าของเงิน



ชือ่ ........................................................................................ชัน้ ...............เลขท่ี..............





ผลการปฏบิ ตั


ท่ี
รายการ
ผ่าน
ไมผ่ า่ น
หมายเหต




1.
ปฏิบัตกิ จิ กรรมการแลกเงนิ





ทำแบบฝึกทกั ษะการแลกเงิน




2.



3.
นกั เรยี นมคี วามพอใจในการรว่ มกิจกรรม














สรปุ ผ่าน ไมผ่ ่าน























104


บบฝกึ ทักษะค่าของเงนิ




ช่ือ........................................................................................ช้ัน...............เลขท่.ี .............



คำชแี้ จง จงบอกช่ือและคา่ ของเงนิ เหรียญ






ด้านหน้า

ดา้ นหลงั







ตวั อย่าง


เหรียญ ห้าสบิ สตางค์ มคี ่า 50 สตางค











1. เหรียญ.................มคี า่ ................บาท














2. เหรียญ.................มคี า่ ................บาท







เหรียญ.................มคี ่า................บาท





3.






เหรียญ.................มีคา่ ................บาท





4.

105


บบฝึกทกั ษะคา่ ของเงิน



ชอ่ื ........................................................................................ชนั้ ...............เลขที่..............



คำช้แี จง จงบอกชือ่ และคา่ ของธนบัตร





ตัวอย่าง


ธนบัตรย่สี ิบบาท







1.


มีค่า 20 บาท










มีค่า บาท




2.







มีคา่ บาท




3.











มีคา่ บาท




4.







มคี า่ บาท






106

แบ
บฝึกทกั ษะค่าของเงนิ




ช่อื ........................................................................................ชน้ั ...............เลขที่..............



คำชี้แจง จงบอกวา่ ในแตล่ ะข้อมเี หรยี ญชนดิ ใดบ้าง ชนิดละก่ีเหรียญ



1.









มเี หรยี ญ_______________________รวม ______________________เหรียญ

มีเหรียญ_______________________รวม ______________________เหรียญ



2.









มเี หรยี ญ_______________________รวม ______________________เหรยี ญ

มีเหรียญ_______________________รวม ______________________เหรียญ

มีเหรยี ญ_______________________รวม ______________________เหรียญ



3.









มเี หรยี ญ_______________________รวม ______________________เหรยี ญ

มเี หรียญ_______________________รวม ______________________เหรยี ญ

มีเหรียญ_______________________รวม ______________________เหรียญ


107


บบฝึกทักษะการทอนเงนิ




ช่อื ........................................................................................ชน้ั ...............เลขที่..............



คำช้แี จง ซ้อื ของแลว้ ไดร้ บั เงนิ ทอนเทา่ ไร


ตัวอย่าง
ใหเ้ งิน
60 บาท

54 บาท



54 บาท
20 บาท
6 บาท




20 บาท


20 บาท


ไดร้ บั เงินทอน________________บาท



1.
ใหเ้ งิน
........
บาท


2
8 บาท
20 บาท
บาท

20 บาท



ไดร้ ับเงินทอน________________บาท



2.


ให้เงิน
........


37 บาท


50 บาท
บาท


บาท

ได้รบั เงินทอน________________บาท



3.


ให้เงนิ
........


175 บาท

100 บาท

100 บาท
บาท


บาท

ไดร้ ับเงินทอน________________บาท


108

แบ
บฝึกทักษะการรคู้ า่ ของเงนิ



ช่ือ........................................................................................ชั้น...............เลขที.่ .............



คำชี้แจง ให้นกั เรียนหาจำนวนเงนิ ท่กี ำหนดให้แตล่ ะขอ้ มีเพียงพอสำหรบั ซื้อสนิ ค้าหรอื ไม




ตวั อยา่ ง






25 บาท
10 บาท
10 บาท
พอ




1 บาท
1 บาท
1 บาท
ไมพ่ อ







1.


46 บาท
20 บาท
10 บาท
พอ




10 บาท
ไมพ่ อ


1 บาท
1 บาท




2.





32 บาท
20 บาท
พอ





10 บาท
5 บาท
ไมพ่ อ









3.
27 บาท
20 บาท
1 บาท
1 บาท
พอ





5 บาท
1 บาท
1 บาท
ไมพ่ อ






4.
72 บาท

20 บาท





10 บาท
พอ



ไม่พอ


109

บรรณานกุ รม






กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). คู่มือการใช้แบบทดสอบความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้าน

คณติ ศาสตร์. กรงุ เทพมหานคร: สำนักพิมพ์การศาสนา.

ดารณี ศักด์ิศิริผล และคณะ. (2552). แบบฝึกอ่านเขียนเรียนรู้กับลุงฮูก ชุดที่ 5 การหาร

และโจทย์ปัญหา เล่ม 1 ความหมายของการหารและความสัมพันธ์กับการคูณ.

กรุงเทพมหานคร: บรษิ ทั โกลบอลเอด็ จำกดั .

ดารณี ศักด์ิศิริผล และคณะ. (2552). แบบฝึกอ่านเขียนเรียนรู้กับลุงฮูก ชุดท่ี 1 จำนวน

และตัวเลข เล่ม 2 การเขียนตัวเลขไทยแทนจำนวน. กรุงเทพมหานคร: บริษัท

โกลบอลเอ็ด จำกัด.

ดารณี ศักดิ์ศิริผล และคณะ. (2552). แบบฝึกอ่านเขียนเรียนรู้กับลุงฮูก ชุดที่ 1 จำนวน

และตัวเลข เลม่ 1 จำนวนนับ 1 ถงึ 10 และ 0. กรงุ เทพมหานคร: บรษิ ทั โกลบอลเอด็

จำกดั .

ผดงุ อารยะวญิ ญู. (2544). เดก็ ท่มี ีปญั หาในการเรียนร.ู้ กรุงเทพมหานคร: สำนกั พมิ พ์แว่นแกว้ .

ผดุง อารยะวญิ ญู. (2546). วิธสี อนเด็กเรยี นยาก. กรุงเทพมหานคร: สำนกั พมิ พ์แวน่ แกว้ .

ไพเราะ พุม่ ม่ัน. (2537). กิจกรรมสง่ เสรมิ พัฒนาการด้านความคิดรวบยอด. กรงุ เทพมหานคร:

สำนกั พิมพแ์ ว่นแกว้ .

ไพเราะ พมุ่ มน่ั . (2546). กิจกรรมสง่ เสรมิ พัฒนาการดา้ นความคิดรวบยอด. กรงุ เทพมหานคร:

สำนกั พมิ พ์แว่นแกว้ .

หน่วยศึกษานิเทศก์. คู่มือครูแนวการจัดกิจกรรมเพื่อช่วยเหลือเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้

ด้านคณิตศาสตร์. สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน ISBN.97480051-3.

Bakken, J.P. Strategy Instruction Ideas for Students with Learning Disabilities.

Illinois State University.

Lerner, J. (2006). Learning Disabilities: Theories,Diagnosis,and Teaching Strategies.

Boston : Houghton Mifflin Company.








110

ภาคผนวก


111

การสอนด้วยวธิ ี Touch Math





วิธที เี่ กีย่ วข้องกบั ประสาทสมั ผสั

Touch Math เป็นการใช้ประสาทสมั ผสั หลายด้านผสมผสานกัน เปน็ การออกแบบ
เพื่อการได้ยิน การมองเห็น และการสัมผัส/การเรียนรู้ผ่านการเคลื่อนไหว นักเรียนได้เห็น
พูด ได้ยิน และสัมผัส โดยการสัมผัสจุดบนตัวเลขต่างๆ จึงทำให้เขาเรียนรู้ได้ดีกว่าเพราะ
เขาเรียนรผู้ า่ นหลากหลายช่องทางการเรยี นร
ู้


ให้นกั เรียนไดเ้ คลอ่ื นท่หี รอื เดนิ

Touch Math ก็คือ การสัมผัสจุด เม่ือได้สัมผัสจะทำให้เกิดการเรียนรู้ไปในตัว

การนับท่ีเป็นรูปแบบการสัมผัสจุด เป็นสื่อการสอนที่ใช้ได้ผลกับนักเรียนโดยมีหลักการ
เรยี นรเู้ ปน็ รูปธรรม เปน็ ภาพท่ชี ัดเจนหรอื เปน็ สัญลักษณ์ ในการสมั ผสั จุดนักเรียนสามารถ
ใช้ดินสอเขียนตามลงไปบนกระดาษหรือการใช้นิ้วมือลากตามจุดได้ น่ีเป็นการเรียนรู้ที่
สำคัญของเด็กทม่ี คี วามบกพรอ่ งทางการเรียนรู้



การใช้ส่อื การมองเพ่ือการช่วยเหลือ

การสอนในระดับแรกด้วยวิธี Touch Math เป็นการสอนให้นักเรียนใช้การมอง

ซ่ึงเป็นการพัฒนาเร่ืองทิศทาง ซ้าย ขวา ลดการมองตัวเลขแบบกลับหัวกลับหาง ทำให้
การคำนวณง่ายขึ้นและลดการคำนวณ นักเรียนมีทัศนคติที่ดี มีความม่ันใจ มีความ
กระตือรือร้น ในการทำเลขท่ีมีความสลับซับซ้อนหรือยากข้ึนไป วิธีน้ี เหมาะสำหรับเด็ก
อายุ 6 ปี หรือเด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ที่อาจจะกลัวตัวเลขที่เต็มหน้ากระดาษ
แต่หน้ากระดาษของเราจะไม่ยุ่งเหยิง เพราะจะใช้ตัวพิมพ์ที่มีขนาดใหญ่ท่ีเหมาะสม และ
ตัวเลขท่ีเป็นปัญหา การสอน Touch Math เป็นเร่ืองสนุกและไม่ซับซ้อน ทำให้เด็กทำ
คณิตศาสตร์ได ้

การใช้การสมั ผสั /การนับท่เี ป็นรูปแบบนั้น เดก็ เล็กๆ สามารถเรียนร้จู ำนวนได้จาก
จุดทีแ่ สดง




112

ข้ัน
ตอนในการใช้ตัวเลขโดยการใช้การสมั ผัส (Touch Math)






1ต. ัวกาอรยฝกึา่ ปงร
ะสาทสมั ผสั ระหวา่ งตากบั มอื โดยการใชก้ จิ กรรมระบายสี (color code)







ชื่อ........................................................................


ขอ้ เสนอแนะให้นกั เรยี นลงสตี ามจุดทกี่ ำหนดให้และถามนกั เรยี นวา่ เม่ือลงสตี ามจุดแล้ว

เป็นรปู ภาพอะไร


สีเขยี ว
สสี ้ม


113

2. เรียนรู้โดยนำรูปภาพ เป็นตัวนำสายตา และให้นักเรียนเปรียบเทียบกับตัวเลขที่มี
ภาพนำสายตา (Touchpoint Object) กับตัวเลขจุด (TouchPoint) ท่ีอยู่ด้านล่างที่มี
ลักษณะเหมือนกัน เพื่อให้นักเรียนสามารถจำภาพสัญลักษณ์ตัวเลข แล้วค่อยถอดจุดออก
จากตัวเลขเหลอื เฉพาะสัญลกั ษณ์ตัวเลขธรรมดา



ตัวอย่าง


หนึ่ง
สอง






































114

3. การนับตัวเลขโดยการใช้การสัมผัส (Touch Math) ต้ังแต่ 6 ถึง 9 อาจใช้วงกลม
รอบจุดแล้วให้นับซ้ำอีกคร้ังหน่ึง ทั้งนี้เพื่อป้องกันจำนวนจุดท่ีมีจำนวนมากเกินไป
บนตัวเลขนัน้ ๆ



ตวั อยา่ ง























4. การนบั จดุ ของตวั เลข Touch Math








2


2
3






3
2
, 2



2
3
3,


5
5, 6






, 2


7
, 2
, 2
3,
9
3,

5, 6
7, 8


3,
5, 6


5, 6
7, 8




115

5. การเขยี นตวั เลข



ตวั อย่าง




























116

117

6. การร้คู า่ ตวั เลข



ตัวอย่าง จับคตู่ วั เลขใหต้ รงกบั รูปภาพ












118

7. การบวกโดยการนบั ภาพบนตัวเลข ของ Touch Math Object จะมีภาพบนตวั เลข
เท่าจำนวนตวั เลข



ตัวอยา่ ง







ชอื่ำ.ช..้แี...จ..ง...จ..ง.ห...า..ผ..ล..บ...ว..ก..ใ..ห..ถ้..กู...ต..อ้..ง..
..................
........ ชัน้ ....................... เลขท.่ี ....................








รวม


119

ช่อื ....................................................................... ชั้น....................... เลขท.่ี ....................



คำช้แี จง จงหาผลบวกใหถ้ ูกตอ้ ง


120

8. การบวกเลขดว้ ยตัวเลขจดุ

ตวั อย่าง 5 บวก 7 ในระยะแรกให้นับจดุ ของเลข 5 มี 5 จุด จากนัน้ นบั ตอ่ ที่เลข 7
โดยเรม่ิ จากจดุ เร่ิมตน้ คำตอบคอื 12




2
1




3


5
4




12
6
7


8
9




10
11













จากน้ันเรมิ่ ถอดจดุ ในตัวบวกออกเพ่อื ใหเ้ ด็กคิดเอง

























สุดท้ายเรมิ่ ถอดจดุ ทั้งตัวตัง้ และตวั บวกเปน็ ตวั เลข


121

9. การลบเลข

ตวั อยา่ ง 9 -7 ในระยะแรกใหน้ ับจดุ ของตวั ตง้ั คือเลข 9 จากตำแหนง่ สุดท้าย โดย

หักออก 7 คำตอบคอื 2


1 2


9
3 4


5 6


7 8














จากน้ันเร่ิมถอดจุดในตัวลบออกเพื่อให้เด็กคิดเอง สุดท้ายเริ่มถอดจุดท้ังตัวตั้งและ
ตัวลบเป็นตวั เลข เหมอื นกับการบวก



10. การคูณโดยการนับจุดบนตวั เลข

การคูณเป็นการบวกตัวตั้งซ้ำกี่เท่า ซึ่งนักเรียนอาจจะใช้กิจกรรมนับเม็ดลูกคิดมา
ก่อนเพอื่ ใหเ้ ข้าใจความหมายของการคณู

ตวั อยา่ ง 7x2 คอื 7 บวกตวั เอง 2 ครง้ั ดังนัน้ เดก็ จะนับตัวตงั้ 2 รอบ คำตอบคอื 14




1 2
8 9

14
7




12
13
5 6
3 4
10 11











ละตัวคจูณาเกปน็น้ันตเัวรเิ่มลถขอเดหจมุดือในนกตับัวคกูณารอบอวกกเพจื่อาใกหน้เ้ันดอ็กาคจิดจเะอนงำตสาุดรทา้างยกเารร่ิมคถูณอมดาจชุด่วทย้ังใตนัวกตา้ัรง
คดิ อีกกไ็ ด้ (หาข้อมลู เพ่มิ เติมจาก TouchMath.com)




122


Click to View FlipBook Version