The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by j.yosatorn, 2022-03-30 13:40:49

แบบฝึกทักษะนักเรียนเรียนร่วม

คณิตศาสตร์

คำนำ




เอกสารชุด “แนวทางพัฒนาการเรียนรู้ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้”
น้ี ได้จัดทำและเผยแพร่ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2551 โดยในคร้ังนั้นได้จัดทำเป็นเอกสาร 5 เล่ม คือ
เล่มท่ี 1 ความรู้พ้ืนฐานและแนวทางพัฒนานักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ เล่มท่ี 2
การเตรียมความพร้อมสำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ เล่มที่ 3 เทคนิค วิธีการและ
สื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านการอ่าน เล่มท่ี 4 เทคนิค วิธีการและสื่อ
สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านการเขียน และเล่มที่ 5 เทคนิค วิธีการและสื่อ
สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ โดยที่ผ่านมาพบว่าเอกสารชุด

ดังกล่าว เป็นประโยชน์กับครูผู้สอนและผู้ท่ีเก่ียวข้องในการใช้เป็นแนวทางในการพัฒนานักเรียนท่ีมี
ความบกพร่องทางการเรยี นรดู้ ้านตา่ ง ๆ ได้เปน็ อย่างดี

อย่างไรก็ตามเพ่ือให้เอกสารชุดน้ีมีความเป็นปัจจุบันและมีความสมบูรณ์มากยิ่งข้ึน
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พนื้ ฐานจงึ เหน็ ควรปรบั ปรุงเอกสารดงั กลา่ ว โดยในการปรบั ปรงุ
คร้ังน้ี นอกจากความเหมาะสมของเทคนิค วิธีการและส่ือ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการ
เรียนรู้แล้ว ยังได้คำนึงถึงความสะดวกของครูและผู้ท่ีเกี่ยวข้องในการนำไปใช้ด้วยเป็นสำคัญ ด้วย

เหตุน้ีจึงได้จัดพิมพ์เอกสารชุดน้ีออกเป็น 1 เล่มกับอีก 4 ชุด เพ่ือให้เอกสารแต่ละเล่มมีขนาดไม่หนา

จนเกินไป โดยประกอบดว้ ยเอกสารต่าง ๆ ดงั น้ี



เอกสาร ความร้พู ้ืนฐานและแนวทางพฒั นานกั เรยี นท่ีมคี วามบกพรอ่ งทางการเรยี นรู้

เอกสารชุดท่ี 1 การเตรยี มความพร้อมสำหรับนกั เรยี นทีม่ ีความบกพรอ่ งทางการเรยี นรู้
ประกอบดว้ ยเอกสาร 2 เล่ม

เอกสารชดุ ท่ี 2 เทคนคิ วิธีการและสอื่ สำหรับนกั เรียนทม่ี ีความบกพรอ่ งทางการเรยี นรู้
ด้านการอา่ น ประกอบดว้ ยเอกสาร 6 เลม่

เอกสารชดุ ท่ี 3 เทคนิค วธิ ีการและสอื่ สำหรบั นักเรยี นทม่ี ีความบกพร่องทางการเรยี นรู้
ดา้ นการเขยี น ประกอบด้วยเอกสาร 3 เลม่

เอกสารชุดท่ี 4 เทคนคิ วธิ กี ารและสือ่ สำหรบั นกั เรยี นทมี่ ีความบกพร่องทางการเรยี นรู้
ด้านคณิตศาสตร์ ประกอบดว้ ยเอกสาร 5 เลม่



สำหรับเอกสารนี้เป็นเล่มที่ 2 ในเอกสารชุดท่ี 4 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนท่ี
มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ ซ่ึงในเอกสารจะกล่าวถึงสภาพปัญหา แนวทาง
พัฒนา เทคนิควิธีการและสื่อการเรียนการสอน รวมท้ังกิจกรรมการจัดการเรียนรู้และแบบฝึก ที่จะนำ
ไปสู่การแก้ไขปัญหาที่เกิดกับนักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ ท้ังน้ีในการนำไปใช้ครูผู้สอน ผู้ปกครองและผู้ที่เกี่ยวข้องอาจพิจาณาปรับเปลี่ยนได้
ตามความเหมาะสม

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ขอขอบคุณผู้มีส่วนร่วมในการจัดทำเอกสาร
ชุดน้ี หวังเป็นอย่างย่ิงว่าเอกสารนี้จะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อครูผู้สอน ผู้ปกครองและผู้เก่ียวข้อง

ทุกระดับซึ่งจะได้นำไปประยุกต์ใช้ เพ่ือพัฒนานักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ได้อย่าง

เหมาะสม กล่าวคือนักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้แต่ละคนจะได้รับการช่วยเหลือและ

ส่งเสริมให้ได้รับการพัฒนาเต็มศักยภาพซึ่งย่อมส่งผลโดยตรงต่อคุณภาพการศึกษาและคุณภาพชีวิต
ของผูเ้ รียน








(นายชนิ ภัทร ภูมิรัตน)

เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน

สารบัญ



รอ่ื ง

หน้า


คำนำ

สารบญั

บทนำ

ความสำคัญในการชว่ ยเหลอื นกั เรยี นทม่ี คี วามบกพรอ่ งทางการเรียนรู้ดา้ นคณิตศาสตร์.............. 1

ปัญหาทางการเรียนรู้ด้านคณติ ศาสตรข์ องนกั เรยี นท่ีมคี วามบกพรอ่ งทางการเรยี นรู้................... 2

จุดประสงคใ์ นการพฒั นาการเรียนรู้ นกั เรยี นท่มี คี วามบกพร่องทางการเรยี นร้

ดา้ นคณติ ศาสตร.์ ...................................................................................................... 3

ปัญหาและเทคนิคการแก้ปญั หา สำหรับนกั เรียนทีม่ ีความบกพรอ่ งทางการเรียนร้

ดา้ นคณิตศาสตร.์ ...................................................................................................... 4

นวัตกรรมการจัดการเรียนร้สู ำหรบั นกั เรยี นทีม่ ีความบกพร่องทางการเรียนรู้

ด้านคณิตศาสตร.์ ...................................................................................................... 9

วธิ ีใชเ้ ทคนิค วธิ กี ารและส่อื การเรียนการสอนสำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่อง

ทางการเรียนรู้ดา้ นคณติ ศาสตร์................................................................................. 9

การวัดและประเมนิ ผล............................................................................................................. 11

การปรับเปลี่ยนวธิ กี ารเรยี นการสอนคณติ ศาสตรส์ ำหรับนกั เรยี นท่มี ีความบกพรอ่ ง

ทางการเรียนรดู้ ้านคณติ ศาสตร์................................................................................. 11

สรปุ การนำเทคนคิ วธิ ีการ สื่อไปใช้กบั นกั เรยี นท่มี ีความบกพร่องทางการเรียนร
ู้
ดา้ นคณติ ศาสตร.์ ...................................................................................................... 12


กิจ
กรรมการจัดการเรียนรู้ สำหรบั นกั เรยี นทมี่ คี วามบกพรอ่ งทางการเรียนร
ู้
ด้านคณติ ศาสตร์



ปัญหาท่ี 7. การบวกจำนวนทม่ี ีหนง่ึ หลกั และสองหลกั .............................................................. 14

กจิ กรรมที่ 1 ใบไมน้ ำโชค..................................................................................... 15

กจิ กรรมที่ 2 การบวกเลขโดยการสมั ผสั ................................................................ 17

กจิ กรรมท่ี 3 บวกงา่ ยนดิ เดียว.............................................................................. 26

กจิ กรรมที่ 4 ผลบวกนอ้ ยกว่า 10.......................................................................... 30

กิจกรรมท่ี 5 ผลบวกน้อยกว่า 20.......................................................................... 36

กิจกรรมท่ี 6 การบวกแนวต้งั ไม่มที ด..................................................................... 45

กจิ กรรมท่ี 7 การบวกจำนวนท่ีมีสองหลกั มีทด...................................................... 47

กจิ กรรมท่ี 8 ทดดว้ ยลกู คดิ ................................................................................... 58

เร่อื
ง หนา้



ปัญหาที่ 8. การเขยี นประโยคสญั ลักษณ์และหาคำตอบจากโจทยป์ ญั หาการบวกงา่ ย ๆ........... 62

กจิ กรรมที่ 1 คำที่มีความหมาย............................................................................ 63

กิจกรรมที่ 2 ปัญหาพาสนุก................................................................................. 66

ปัญหาท่ี 9. การลบจำนวนทม่ี หี นง่ึ หลกั และสองหลัก.............................................................. 72

กจิ กรรมท่ี 1 เหลอื เท่าไร..................................................................................... 73

กจิ กรรมที่ 2 ดาวกระจาย.................................................................................... 80

ปญั หาท่ี 10. การเขียนประโยคสญั ลกั ษณแ์ ละหาคำตอบจากโจทย์ปญั หาการลบง่าย ๆ.............. 86

กิจกรรมที่ 1 เกมใบ้คำ......................................................................................... 87

กิจกรรมท่ี 2 ลบหรรษาพาสนกุ ............................................................................. 91



บรรณานกุ รม......................................................................................................................... 97

ภาคผนวก............................................................................................................................... 99

การสอนดว้ ยวิธี Touch Math............................................................................... 100

ตัวอย่างสือ่ .......................................................................................................... 111


คณะทำงาน............................................................................................................................ 123

บทนำ




ความสำคัญในการช่วยเหลือนักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้
ด้านคณิตศาสตร์




ความบกพร่องทางการเรียนรู้ (Learning Disability : LD) หรือ แอลดี หมายถึง
ความบกพร่องอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือมากกว่าหนึ่งอย่างทางกระบวนการพ้ืนฐานทาง
จิตวิทยาที่เกี่ยวข้องกับความเข้าใจหรือการใช้ภาษา การพูด การเขียน ซ่ึงอาจแสดงออก
ถึงความบกพร่องในความสามารถทางการฟัง การคิด การพูด การอ่าน การเขียน

การสะกดคำ หรือการคิดคำนวณทางคณิตศาสตร์ ความบกพร่องทางการเรียนรู้นับเป็น
ประเภทของความพิการหรือบกพร่องท่ีพบมากท่ีสุดในประชากรวัยเรียน โดยคิดเป็น
ประมาณร้อยละ 5 ของประชากรวัยเรียน และคิดเป็นประมาณร้อยละ 50 ของจำนวน
นักเรียนที่มีความพิการหรือบกพร่องทุกประเภทรวมกัน ดังนั้นในการจัดการเรียนการสอน
สำหรับเด็กกลุ่มน้ี ซ่ึงเป็นเด็กที่มีสติปัญญาปกติ ถ้าหากครูผู้สอนไม่มีความเข้าใจเก่ียวกับ
ความบกพร่องและลักษณะของปัญหาท่ีเด็กประสบแล้ว ย่อมส่งผลให้การจัดการเรียนการ
สอนไม่ตอบสนองต่อการเรียนรู้และสภาพความบกพร่องที่ต้องการแก้ไขหรือพัฒนา และ
ยังอาจส่งผลให้เด็กเหล่าน้ีขาดความเชื่อม่ันในตนเอง รวมท้ังอาจมีปัญหาพฤติกรรมหรือ
ปัญหาอน่ื ๆ ตามมาได ้

เนือ่ งจากคณติ ศาสตร์เปน็ วิชาทเ่ี ปน็ นามธรรม และประกอบดว้ ยสัญลักษณ์ ดังนั้น
อาจยากต่อการเรียนรู้และเขา้ ใจ โดยเฉพาะสำหรบั นักเรยี นที่มคี วามบกพรอ่ งทางการเรียน
รู้ด้านคณิตศาสตร์ อาจมีลักษณะความบกพร่องด้านดังกล่าวแตกต่างกันไป เช่น เด็กบาง
คนมีปัญหาในการรบั รเู้ ก่ียวกบั สัญลักษณ์ซึ่งสง่ ผลให้มปี ัญหาในการเรยี นคณิตศาสตร์ หรือ
เด็กบางคนมีปัญหาในการอ่านก็อาจส่งผลในการทำโจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ เป็นต้น โดย
ความรนุ แรงของปญั หาในด้านการเรยี นคณิตศาสตร์อาจแตกต่างกันไปในแต่ละบคุ คล

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว จึงเห็น
ความสำคัญในการเสริมสร้างการเรียนรู้ของนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนร ู้

โดยมุ่งหวังจะให้เกิดความเสมอภาคทางการศึกษาและให้เด็กเหล่าน้ีได้เรียนรู้อย่างมี
ประสิทธิภาพเช่นเดียวกับเด็กท่ัวไป จึงได้จัดทำเอกสารวิธีการและสื่อการเรียนรู้สำหรับ
นักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ขึ้น เพื่อเป็นแนวทางหน่ึงในการ
ให้ความชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่มี ีความบกพรอ่ งทางการเรียนรทู้ างด้านคณติ ศาสตร





1

ปัญหาทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ของนักเรียนท่ีมีความบกพร่อง
ทางการเรยี นร
ู้



นักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ที่พบได้ในโรงเรียน
ท่วั ไป จะมีความยากลำบากในเรื่องตอ่ ไปนี

1. ความคิดรวบยอดพ้ืนฐานทางคณิตศาสตร์ เช่น เรื่องขนาด ความยาว

น้ำหนัก ทิศทาง ตำแหน่ง รูปเรขาคณิต เวลา พื้นสัมผัส สี ลักษณะเส้น การจำแนก

การเปรยี บเทียบ จัดหมวดหมู่ เรยี งลำดับ จำนวน เปน็ ตน้

2. ระบบจำนวน เช่น ค่าและความหมายของจำนวน ค่าประจำหลัก การกระจาย
จำนวนตามค่าประจำหลัก เป็นตน้

3. ข้ันตอนกระบวนการในการคิดคำนวณ เช่น ไม่สามารถจำและหรือเขียน
สญั ลกั ษณ์แทนการกระทำทางคณิตศาสตร์ ข้ันตอนในการบวก ลบ คณู หาร การทดและ
การกระจายจำนวนในการลบ เป็นตน้

4. การนำทักษะทางคณิตศาสตรไ์ ปใช้ในชีวติ ประจำวนั เชน่ การเรียงลำดับที่ของ
ขนาด จำนวน การบอกความสมั พันธข์ องหนว่ ยการวดั เปน็ ตน้

5. การนับจำนวน การจำแนกตัวเลข จำนวนที่คล้ายคลึงกัน การบอกค่าของ
ตวั เลขในจำนวนต่างๆ การอ่านจำนวนท่มี หี ลายหลัก

6. ภาษาคณติ ศาสตร์ เช่น การบอกสัญลักษณ์ การบวก การเปรยี บเทยี บ ขนาด
ตำแหนง่ ทิศทาง เวลา น้ำหนกั ส่วนสงู ความยาว เป็นตน้

7. ขอ้ เท็จจริงพ้ืนฐานของจำนวน เชน่ ไม่เขา้ ใจวา่ 7 น้อยกว่า 15 เป็นต้น

8. การบอกความเหมือนหรือความต่างกันของวัตถุสิ่งของ รูปภาพ จำนวนที

เท่ากนั หรอื ตา่ งกัน

9. การเรยี งลำดบั จำนวน จากมากไปหาน้อย หรือนอ้ ยไปหามาก

10. การเขียน ตวั เลขกลบั ทศิ ทาง เช่น 6-9, 3-8, 1-7, 12 -21

11. การรับรู้ทางการได้ยินตัวเลข โจทย์ และคำถามทางคณิตศาสตร์ ทำให้ตอบ

ไมต่ รงคำถาม

12. การเขียนหลงบรรทัด

13. การใช้เส้นจำนวน

14. การนบั เรยี งวนั ใน 1 สัปดาห์ เดือนใน 1 ปี

15. การนบั เพ่ิม การนบั ลดคร้ังละเท่าๆ กัน


2

16. การแกโ้ จทยป์ ญั หาคณิตศาสตร

17. การจำแนกรปู เรขาคณิตสองมติ ิและรูปเรขาคณิตสามมิติ

18. การหาความสัมพันธ์ของแบบรูป เช่น แบบรูปที่เป็นรูปภาพ จำนวน สี
สญั ลกั ษณต์ ่างๆ เปน็ ต้น

19. การอา่ น แผนภมู ริ ูปภาพ แผนภูมแิ ท่ง กราฟ แผนผังและทศิ ทาง

20. การหาเหตุผลเชิงปรมิ าณ




จดุ ประสงคใ์ นการพฒั นาการเรียนรู้ นักเรียนท่ีมีความบกพรอ่ งทางการ
เรียนรู้ดา้ นคณิตศาสตร




1. เพ่ือผู้ท่ีเก่ียวข้องมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับนักเรียนที่มีความบกพร่อง
ทางการเรียนรู้ดา้ นคณิตศาสตร

2. เพ่ือให้ครูผู้สอนได้แนวทางในการแก้ปัญหานักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางการ
เรยี นรู้ด้านคณิตศาสตร์

3. เพื่อให้นักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ มีพัฒนาการ
ในการเรยี นได้อย่างมีประสิทธภิ าพมากขนึ้





3

ปัญหาและเทคนิคการแก้ปัญหาสำหรับนักเรียนท่ีมีความบกพร่อง
ทางการเรยี นร้ดู ้านคณิตศาสตร





สาระ
ปัญหาทางการเรยี นรดู้ ้านคณติ ศาสตร์
เทคนิคการแกป้ ญั หา


1. จำนวนและ
1. การบอกคา่ และความหมายของ
กจิ กรรมท่ี 1 จำนวนอะไรเอย่

การดำเนนิ การ
จำนวนนบั
กิจกรรมท่ี 2 หยบิ 1,2,3…

กจิ กรรมที่ 3 ฉนั หยบิ ได ้

กิจกรรมที่ 4 คู่หนูอย่ไู หน


2. การจำสญั ลักษณ์ทางคณติ ศาสตร์
กิจกรรม จำฉันไดไ้ หม


3. การจำแนกตวั เลขทคี่ ล้ายกนั
กิจกรรมที่ หาคูใ่ หห้ นหู นอ่ ย


4. การนบั เรียงลำดบั จำนวน
กจิ กรรมที่ 1 ฉนั นบั ได ้

กิจกรรมที่ 2 เปรียบเทยี บจำนวน

กจิ กรรมที่ 3 เรียงเลขต่อกนั


5. การจำและเขียนตวั เลขแทนจำนวน
กิจกรรมที่ 1 เตมิ ให้เต็ม

กิจกรรมที่ 2 รอ่ งตัวเลข


6. การอ่านและเขยี นจำนวนท่มี หี ลายหลัก
กิจกรรมท่ี 1 สีมหัศจรรย ์

กจิ กรรมท่ี 2 มัดครบสบิ


7. การบวกจำนวนทม่ี หี นงึ่ หลกั และ
กิจกรรมที่ 1 ใบไมน้ ำโชค

สองหลกั
กจิ กรรมที่ 2 การบวกเลขโดยการ

สมั ผัส

กจิ กรรมท่ี 3 บวกง่ายนิดเดยี ว

กจิ กรรมที่ 4 ผลบวกนอ้ ยกว่า 10

กิจกรรมท่ี 5 ผลบวกน้อยกวา่ 20

กจิ กรรมที่ 6 การบวกแนวตัง้ ไมม่ ี

ทด

กิจกรรมท่ี 7 การบวกจำนวน

สองหลกั ที่มที ด

กิจกรรมที่ 8 การทดดว้ ยลกู คิด


4

สาระ
ปัญหาทางการเรียนรู้ดา้ นคณติ ศาสตร์
เทคนิคการแก้ปัญหา



8. การเขยี นประโยคสัญลกั ษณ์และหา
กจิ กรรมท่ี 1 คำที่มคี วามหมาย

คำตอบจากโจทย์ปัญหาการบวกง่ายๆ
กจิ กรรมท่ี 2 ปญั หาพาสนุก


9. การลบจำนวนทมี่ หี นง่ึ หลกั และ
กิจกรรมที่ 1 เหลอื เท่าไร

สองหลกั
กจิ กรรมท่ี 2 ดาวกระจาย


10. การเขียนประโยคสัญลักษณ์และหา
กจิ กรรมที่ 1 เกมใบ้คำ

คำตอบจากโจทยป์ ัญหาการลบงา่ ยๆ
กิจกรรมที่ 2 ลบหรรษาพาสนุก


11. การคณู
กจิ กรรมที่ 1 นบั เพ่ิม

กิจกรรมท่ี 2 ฝาแฝดออมทรัพย ์

กจิ กรรมท่ี 3 มาคณู กนั เถอะ

กจิ กรรมที่ 4 ผลไม้ทีฉ่ ันชอบ

กิจกรรมท่ี 5 คณู โดยตาราง

กิจกรรมที่ 6 คณู แบบ Touch Math

กิจกรรมท่ี 7 ฉนั ไปซื้อของ


12. การหาร
กจิ กรรมที่ 1 ความหมายของ

การหาร

กิจกรรมท่ี 2 ความสัมพนั ธก์ ารคูณ

กับการหาร

กิจกรรมท่ี 3 โจทยป์ ัญหาการหาร

กจิ กรรมที่ 4 แผนที่ความคิดพชิ ิต

การหาร

กิจกรรมท่ี 5 การหารเลขคณติ

แบบตาราง


13. การบวกลบเศษสว่ น
กิจกรรมที่ 1 เศษส่วนสดใสดว้ ย

สสี นั

กิจกรรมท่ี 2 มาบวกเศษส่วน

กันเถอะ

กจิ กรรมที่ 3 ไม่เทา่ กนั ก็บวกได ้

กิจกรรมที่ 4 ลบเศษส่วนกนั เถอะ

กจิ กรรมท่ี 5 ไมเ่ ทา่ กนั ก็ลบได


5

สาระ
ปญั หาทางการเรยี นรูด้ า้ นคณิตศาสตร
์ เทคนคิ การแก้ปญั หา

2. การวดั

14. การเรียงลำดบั วันในสปั ดาห์ การเรยี ง
กิจกรรมท่ี 1 กิจกรรมวันใดมากอ่ น


ลำดับเดือนในรอบป
ี กจิ กรรมท่ี 2 เมื่อวาน วันน้ี พรุง่ น ี้


กิจกรรมท่ี 3 เดือนใดมากอ่ นหลัง


กจิ กรรมท่ี 4 เดือนทผี่ า่ นมา เดือนน ้ี


เดอื นต่อไป


กิจกรรมท่ี 5 เวลาน้เี วลาอะไร


15. การบอกตำแหนง่ และทิศทาง
กิจกรรมที่ 1 ฉันอยู่ทไ่ี หนเอย่


กจิ กรรมท่ี 2 เธออยูไ่ หน


กิจกรรมท่ี 3 โบนสั จัดหอ้ ง


กิจกรรมท่ี 4 ทางเดินมหศั จรรย ์


กจิ กรรมท่ี 5 ไปทางไหนจ๊ะ


กิจกรรมที่ 6 ทศิ เหนอื ทศิ ใต ้


ทิศไหนบอกมา


16. การเปรียบเทียบขนาดของวตั ถหุ รอื
กิจกรรมที่ 1 ส่ิงท่มี คี วามหมาย


สงิ่ ของและรปู ภาพ
กจิ กรรมที่ 2 ภาพนมี้ คี วามหมาย


กจิ กรรมท่ี 3 ต่อใหเ้ ป็น


กิจกรรมที่ 4 มาเปรียบเทียบกัน


นะจะ๊


17. การชงั่ และการนำไปใช้ในชีวติ ประจำวนั
กิจกรรมที่ 1 ตาช่งั วิเศษ


กิจกรรมท่ี 2 ตาชัง่ มหัศจรรย์


18. การตวงและการนำไปใช้ในชวี ิตประจำวนั
กจิ กรรมที่ 1 ตวงน้ำหรรษา


กิจกรรมที่ 2 ตวงน้ำมหาสนุก


19. การวัดและการนำไปใชใ้ นชีวิต
กิจกรรม วัดไดไ้ ม่ยาก


ประจำวนั


20. เงนิ และการนำไปใชใ้ นชวี ิตประจำวัน
กจิ กรรม คา่ ของเงิน


6

สาระ
ปัญหาทางการเรยี นรูด้ ้านคณิตศาสตร
์ เทคนคิ การแก้ปญั หา


3. เรขาคณติ
21. รูปเรขาคณิตสองมิติ
กิจกรรมที่ 1 แยกฉันให้ถกู


กจิ กรรมที่ 2 ลีลาหาพวก


กิจกรรมท่ี 3 สี่เหลยี่ มอยู่ทไี่ หน


22. การเขยี นรปู เรขาคณิตสองมิต
ิ กิจกรรม 1 สเี่ หลี่ยมเดนิ เล่น


กจิ กรรม 2 สองมติ ิหลากหลาย


กจิ กรรม 3 สมมาตรไดอ้ ย่างไร


23. การบอกและจำแนกรปู เรขาคณิต
กจิ กรรมท่ี 1 ฉนั คือรูปเรขาคณติ


สามมติ ิ
สามมิตอิ ะไร


กจิ กรรมท่ี 2 พริ ะมดิ ยอดแหลม


กิจกรรมท่ี 3 สรา้ งรปู เรขาคณิต


กจิ กรรมท่ี 4 ส่วนสงู รปู เรขาคณติ


สามมิตอิ ย่ทู ีไ่ หน


4. พชี คณติ
24. ความคิดรวบยอดเกีย่ วกบั แบบรูป
กจิ กรรม บอกไดเ้ ติมได


และความสมั พันธข์ องรปู ดา้ นรปู รา่ ง


25. ความคดิ รวบยอดเกี่ยวกับแบบรปู
กิจกรรม ฉนั อย่ไู หน


และความสัมพนั ธข์ องรูปด้านขนาด


26. ความคดิ รวบยอดเกย่ี วกบั แบบรปู
กิจกรรม เตมิ สสี ร้างสรรค์


และความสมั พันธ์ของรูปดา้ นสี


27. ความคดิ รวบยอดเกี่ยวกบั แบบรปู
กิจกรรม ต่อไปเปน็ อะไรเอ่ย


และความสมั พันธข์ องรปู เรขาคณิต


28. ความคดิ รวบยอดเกี่ยวกบั แบบรปู
กิจกรรม บอกไดไ้ หม


และความสัมพนั ธข์ องจำนวน


5. การวิเคราะห ์
29. การเกบ็ รวบรวมและนำเสนอข้อมูล
กจิ กรรม ตารางแสนกล


ขอ้ มลู และ


ความน่าจะเปน็


7

สาระ
ปัญหาทางการเรยี นรู้ดา้ นคณิตศาสตร
์ เทคนิคการแกป้ ัญหา



30. การอา่ นแผนภมู
ิ กจิ กรรมท่ี 1 อา่ นสกั นิดคิด

สักหนอ่ ย

กิจกรรมที่ 2 อา่ นไดท้ ำได้

กจิ กรรมท่ี 3 วงกลมมหศั จรรย์

กิจกรรมท่ี 4 เกมชง่ั เหรียญ


31. การเขียนแผนภมู ิ
กจิ กรรมที่ 1 แผนภมู ิรูปภาพ

แสนสนกุ

กิจกรรมท่ี 2 แท่งสี่เหลี่ยมหรรษา


32. ความสมเหตสุ มผลในการคาดการณ์
กิจกรรมที่ 1 คาดเดาเร้าใจ

กิจกรรมท่ี 2 ตามลา่ หาความจรงิ


8

นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้สำหรับนักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางการ
เรียนรดู้ า้ นคณติ ศาสตร




1. การใชส้ มดุ กราฟ เสน้ ตาราง จดั เปน็ สดมภเ์ พื่อกำกบั การเขยี นตวั เลขให้ตรงหลกั
อา่ นงา่ ยและสับสนน้อยลง

2. แบ่งกิจกรรมทางคณิตศาสตร์ออกเป็นส่วนๆ โดยการใช้สีตีกรอบหรือพับ
กระดาษเปน็ ส่วนๆ ให้นกั เรยี นทำกิจกรรมในแตล่ ะสว่ นที่พบั หรอื ตีกรอบให้เสรจ็ สมบูรณ์

3. เน้นข้อความหรือขีดเส้นใต้หรือการใช้สีเพ่ือแยกความแตกต่างการดำเนินการ
ทางคณติ ศาสตร์ (+, -, x, ÷) รวมทัง้ ข้อความทบ่ี ่งช้ถี ึงวิธีการดำเนนิ การโจทย์แต่ละข้อ

4. ให้นักเรียนได้ใช้อุปกรณ์ช่วยในการคิดคำนวณ เช่น ของจริง ของจำลอง

เสน้ จำนวน ลกู คิด แผนภมู ิ แผนภาพต่างๆ เป็นต้น

5. การสอนการใช้เครื่องคดิ คำนวณ (calculator)




วิธีใชเ้ ทคนคิ วธิ ีการและสอ่ื การเรยี นการสอนสำหรบั นักเรยี นทมี่ คี วาม
บกพร่องทางการเรียนร้ดู ้านคณิตศาสตร์




1. ให้นักเรียนประเมินความสามารถของตนเองในการเรียนคณิตศาสตร์ นักเรียน
จะไดท้ ราบว่าสิ่งใดทำได้ สิ่งใดทำไม่ได้

2. สอนต่อจากสิ่งทน่ี ักเรยี นรแู้ ลว้

3. ให้นกั เรียนมีสว่ นรว่ มในการกำหนดส่ิงทีจ่ ะเรียน (ตงั้ จุดมงุ่ หมายด้วย)

4. พยายามแสวงหาวิธีทำให้นักเรียนประสบผลสำเร็จและพึงระวังอย่าให้คณิตศาสตร์
ทำลายภาพพจน์ที่มตี ่อตนเอง

5. ควรเน้นการเสริมวิชาการให้นักเรียนเป็นรายบคุ คลโดยเฉพาะอย่างยิง่ นักเรียน
ทเ่ี รียนไม่ทนั เพ่ือน

6. แยกข้นั ตอนการสอนออกเป็นขั้นย่อยๆ หลายๆ ขั้นตอน (Task Analysis)

7. หากนักเรียนไม่ประสบความสำเร็จเม่ือครูสอนโดยใช้วิธีหน่ึง ครูควรเปลี่ยน

วธิ สี อน เพราะวธิ ีเดิมอาจนำไปสคู่ วามล้มเหลว

8. ใช้กิจกรรมหลายๆ กิจกรรมในการสอนความคิดรวบยอด จะช่วยให้นักเรียน
สามารถสรปุ แนวคิดได


9

9. ให้นักเรียนมีโอกาสได้เรียนรู้จากประสบการณ์หรือกิจกรรมตามความถนัด

แลว้ จงึ เพมิ่ ระดับความยากข้ึนตามระดับความสามารถ

10. เนน้ ยำ้ ซำ้ ทวนกฎเกณฑ์ต่างๆ โดยใชภ้ าษาของนกั เรียน

11. ใช้สิ่งที่เป็นรูปธรรมเป็นเคร่ืองนำทางเมื่อนักเรียนเข้าใจความคิดรวบยอด

แล้วจึงเนน้ กระบวนการคดิ ที่เปน็ นามธรรม

12. สอนใหน้ ักเรยี นสามารถคาดคะเนหรอื ประเมนิ คำตอบ

13. การทำสญั ญาร่วมกนั ระหวา่ งครกู ับนักเรียน

14. ออกคำสง่ั ใหง้ ่าย ชดั เจน เจาะจง

15. จับคู่เพือ่ นรู้ใจใหช้ ว่ ยเหลือ

16. เนน้ ย้ำ ซำ้ ทวน คำสงั่ หลักการ วธิ กี าร ข้นั ตอน

17. เตรียมงานที่หลากหลายให้นกั เรียนมีโอกาสไดเ้ ลือกปฏบิ ัติ

18. ก่อนลงมือปฏิบัติกิจกรรม ครูต้องแน่ใจว่า นักเรียนเข้าใจข้ันตอน วิธีการ
ภาระงาน มิฉะนน้ั การทำกจิ กรรมอาจไมม่ คี วามหมาย

19. ให้เวลาเรียนอย่างเพียงพอ นักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้อาจใช้
เวลานานจงึ จะเกดิ ทักษะ

20. แนะนำวิธกี ารสังเกต จดจำ บนั ทึกข้อมลู

21. สำหรบั นกั เรียนบางคนอาจใชเ้ คร่อื งคดิ คำนวณในการคดิ คำนวณได้

22. ฝึกการแกป้ ญั หาคณิตศาสตรโ์ ดยไม่ใช้เครือ่ งคิดคำนวณ

23. จัดกลุ่มปัญหาที่คล้ายคลึงกันเข้าด้วยกัน แบ่งโจทย์ปัญหาออกเป็นส่วนๆ

ให้ง่ายตอ่ การทำความเขา้ ใจ

24. ถา้ นกั เรียนมีปญั หาในการคดั ลอกงาน อาจให้เพือ่ นหรอื ครชู ว่ ยคัดลอกใหก้ อ่ น
ทจ่ี ะให้นกั เรียนทำงานตามภาระงานนั้นด้วยตนเอง

25. หลังจากอธิบายจากตัวอย่างให้นักเรียนทำงานที่คล้ายคลึงกับตัวอย่างก่อนที่
จะใหโ้ จทยพ์ ลกิ แพลง

26. ให้นกั เรียนพบความสำเรจ็ และเสริมแรงให้นักเรียนมกี ำลงั ใจ

27. ใชก้ ระบวนการวิจยั และพฒั นา




10

การวดั และประเมนิ ผล




1. การสังเกตพฤติกรรม

2. การตรวจผลงานการปฏบิ ตั งิ าน

- ตรวจแบบฝึก

- บอก อธิบาย วธิ ีการ ข้ันตอน

- การทดสอบ

- การตอบคำถาม

- การตรวจสอบรายการ

- การสอบถามเพื่อนและบคุ คลท่ีเกีย่ วขอ้ ง






การปรับเปล่ียนวิธีการเรียนการสอนคณิตศาสตร์สำหรับนักเรียนที่มี
ความบกพรอ่ งทางการเรียนร้ดู า้ นคณิตศาสตร




1. ปรับเปลี่ยนเน้อื หาสาระ หลกั สูตร ตามความเหมาะสมกบั นกั เรยี นเฉพาะบคุ คล

2. ปรบั เปลย่ี นวธิ กี ารปฏบิ ัติของครูต่อนกั เรียน

3. ปรับเปล่ียนวิธีในการเรียนรู้ของนักเรียน เช่น เพ่ิมเวลาในการทำแบบฝึกหัด
เปน็ ต้น

4. ปรับเปลี่ยนวิธีการสอน เช่น จัดเน้ือหาหรือกิจกรรมออกเป็นขั้นตอนย่อยๆ
เป็นต้น

5. ให้นักเรียนมีทางเลือกในการทำงานหรือกิจกรรม เช่น ใช้เครื่องคิดคำนวณ
ตอบปากเปล่าหรือการพิมพแ์ ทนการเขียนตอบ

6. เปล่ียนระบบการเรียนการสอน เช่น สอนเป็นรายบุคคล ให้เพ่ือนช่วยเพ่ือน

ใช้คอมพวิ เตอรช์ ่วยสอน เปน็ ตน้

7. ใชก้ ระบวนการวจิ ัย และพฒั นามาแก้ปญั หาอย่างเปน็ ระบบ

8. เรียนรู้จากสื่อของจริง เช่น การจัดลำดับส่ิงของการเปรียบเทียบ ขนาด ส ี

รปู รา่ ง ระยะทาง เปน็ ต้น


11

9. การออกคำสั่งที่ชัดเจน เจาะจง ส้นั ไมซ่ ับซอ้ น

10. การทำสัญญารว่ มกันระหว่างครูกับนกั เรยี น

11. จบั คู่เพ่อื น (Buddy) ใหแ้ กน่ ักเรียน




สรุปการนำเทคนิค วิธีการ ส่ือ ไปใช้กับนักเรียนท่ีมีความบกพร่อง
ทางการเรยี นร้ดู ้านคณติ ศาสตร




การท่ีครูจะนำเทคนิค วิธีการ สื่อ สำหรับนักเรียนท่ีบกพร่องทางการเรียนรู้ไป
พัฒนานกั เรยี นไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพครูควรปฏิบตั ดิ งั น
้ี
1. ศกึ ษาวเิ คราะห์ผเู้ รยี นจนรจู้ ุดเดน่ จุดดอ้ ย หรือสิง่ ท่ผี ้เู รยี นทำไมไ่ ด้

2. เลือกปัญหาท่ีเร่งด่วนจำเป็นมาแก้ไขก่อน จากน้ันจึงแก้ปัญหาท่ีมีความสำคัญ
ในลำดับตอ่ ๆ ไป ไม่ควรแก้ไขหลายๆ เรอ่ื งไปพรอ้ มกัน

3. ในการออกแบบกิจกรรม หรือจัดการเรียนรู้ครูควรได้จัดลำดับข้ันเนื้อหาท่ีจะ
สอนออกเปน็ ขนั้ ตอนยอ่ ยๆ (Task Analysis) ตามระดับพ้ืนฐานความสามารถของผเู้ รยี น

4. ระหว่างการพัฒนานักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ครูควรบันทึก
พฤติกรรมของผู้เรียนระหว่างการพัฒนาและนำไปใช้วางแผนการพัฒนาให้เหมาะสมกับ
นักเรียนให้เกิดประสิทธิภาพมากข้ึน

5. ครูควรเน้นการจัดประสบการณ์จากการลงมือปฏิบัติจริง โดยยกตัวอย่าง
ประกอบใหม้ ากและเน้นยำ้ ซำ้ ทวน ส่งิ ที่เรยี น

6. ครูควรทำความเข้าใจกับนักเรียนปกติ บุคคลรอบข้างของนักเรียนให้เข้าใจ

ข้อจำกัดของนักเรียนท่ีบกพร่องทางการเรียนรู้ และนำบุคคลเหล่านั้นเข้ามาร่วมเป็นผู้ช่วย
เหลือพัฒนานักเรียนกลุม่ เป้าหมายตอ่ ไป

7. ครูควรให้เวลากับนักเรียนในการคิด หรือทำกิจกรรม โดยพิจารณานักเรียน

เป็นหลกั ไมค่ วรเรง่ รบี ใจรอ้ นเกินไป

8. ครูควรให้แรงเสริมเชิงบวกให้มากท่ีสุด การชมเชย ยกตัวอย่าง ให้รางวัลพิเศษ
จะช่วยใหน้ กั เรยี นมกี ำลังใจและมเี จตคติทีด่ ี และร่วมกิจกรรมอย่างมีความสุข








12

เทคนิค วิธีการ สื่อ นวัตกรรมทางคณิตศาสตร์สำหรับนักเรียนท่ีมีความบกพร่อง
ทางการเรียนรู้ที่นำเสนอในเอกสารเล่มนี้ เป็นเพียงการนำเสนอทางเลือกให้ครูได้ใช้เป็น
แนวทางการพัฒนาเทคนิค วิธีการ สื่อ นวัตกรรมของครู หรือครูจะนำไปใช้กับนักเรียน
โดยตรงหรือเลือกใช้เฉพาะกิจกรรมท่ีเหมาะสมกับนักเรียนและบริบทของโรงเรียน ซ่ึงครู
ควรได้นำไปปรบั เพิ่มหรอื ลดให้เหมาะสมกบั นกั เรียนเป็นสำคัญเสยี กอ่ น



สำหรับเอกสารเล่มนี้เป็นเอกสารเล่มท่ี 2 ในชุดที่ 4 เทคนิค วิธีการและสื่อ
สำหรับนักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยจะประกอบด้วย
ปัญหาและเทคนิคการแก้ปัญหาสำหรับนักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้าน
คณติ ศาสตร์ เกีย่ วกับปญั หาตอ่ ไปน้ี

ปัญหาท่ี 7 การบวกจำนวนทม่ี หี นง่ึ หลกั กับสองหลัก

ปญั หาที่ 8 การเขียนประโยคสัญลักษณ์และหาคำตอบจากโจทย์ปัญหาการบวก

ง่ายๆ

ปัญหาท่ี 9 การลบจำนวนที่มีหนง่ึ หลกั และสองหลกั

ปัญหาท่ี 10 การเขียนประโยคสัญลักษณ์และหาคำตอบจากโจทย์ปัญหาการลบ

ง่ายๆ




13

ปญั หาที่ 7 การบวกจำนวน
ทม่ี หี นงึ่ หลกั กับสองหลกั





กิจกรรมที่ 1 ใบไม้นำโชค แก้ปัญหาการรู้ค่าประจำหลัก


กจิ กรรมท่ี 2 การบวกโดยการสมั ผัส แกป้ ัญหาการหาคำตอบจากโจทย์


การบวก


กจิ กรรมที่ 3 บวกงา่ ยนดิ เดยี ว แกป้ ญั หาการหาคำตอบจากโจทย์


การบวก


กจิ กรรมที่ 4 ผลบวกน้อยกวา่ 10 แก้ปัญหาการหาคำตอบจากโจทย ์


การบวก


กจิ กรรมที่ 5 ผลบวกนอ้ ยกวา่ 20 แก้ปญั หาการหาคำตอบจากโจทย ์


การบวก


กิจกรรมท่ี 6 การบวกแนวตงั้ ทีไ่ ม่มกี ารทด แกป้ ญั หาการหาคำตอบจากโจทย์


การบวก


กิจกรรมท่ี 7 การบวกจำนวน 2 หลัก แก้ปัญหาการหาคำตอบจาก


ท่ีมีการทด โจทย์การบวก


กจิ กรรมที่ 8 การทดด้วยลกู คดิ แก้ปัญหาการหาคำตอบจากโจทย ์


การบวก





14

ปัญหาที่ 7 การบวกจำนวนที่มีหนง่ึ หลกั และสองหลกั



ระดบั ช้ัน ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 – 3



กจิ กรรมท่ี 1 ใบไม้นำโชค



จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

1. บอกความหมายของการบวกได้

2. นักเรียนมคี วามพอใจในการรว่ มกจิ กรรม



สอื่ /อปุ กรณ์

1. ใบไม้

2. ของรางวัล เชน่ ขนม ของเลน่ ทนี่ กั เรยี นชอบ เป็นตน้



วิธีการดำเนนิ กิจกรรม

1. ครูใหน้ กั เรยี นออกไปเก็บใบไมท้ ่รี จู้ กั ภายในบริเวณโรงเรยี นคนละ 10 ใบ

2. ให้นกั เรยี นจับคู่กันแล้วปฏิบัตกิ ิจกรรม ดงั น
ี้
- ใหแ้ ตล่ ะคนนับจำนวนใบไม้ของตนเอง (10 ใบ)

- ให้แต่ละคนู่ ำใบไมม้ าวางกองรวมกนั นับจำนวนแล้วตอบคำถาม

- เดมิ แตล่ ะคนมีใบไม้คนละกใ่ี บ

- ขณะนใี้ บไมเ้ พมิ่ ขึ้นหรือลดลง (เพม่ิ ขนึ้ )

- สองคนมใี บไม้รวมกันกี่ใบ

3. ครูแนะนำว่า “การนำใบไม้มารวมกันแล้วทำให้มีจำนวนใบไม้เพ่ิมข้ึน เรียกว่า
วธิ กี ารบวก”



การวดั และประเมินผล

1. ตรวจความถกู ตอ้ งของการปฏบิ ตั ิกิจกรรม

2. สังเกตความพอใจของนกั เรียนในการรว่ มกจิ กรรม




15

เกณฑ์การประเมนิ ผล

นกั เรยี นปฏิบตั ิได้ผ่านทุกรายการถอื ว่าผา่ น




ข้อเสนอแนะ

1. การใช้คำถามครูควรพูดกระตุ้นให้นักเรียนเกิดความต้องการที่จะร่วมกิจกรรม
โดยพดู เสริมแรงเชงิ บวก

2. ครคู วรเนน้ ให้ทุกคนมสี ว่ นรว่ มกิจกรรมทุกขั้นตอน

3. ครสู ามารถเปล่ียนสือ่ จากใบไมเ้ ป็นอยา่ งอื่นไดต้ ามความเหมาะสม





แบบสงั เกตการปฏบิ ตั กิ ิจกรรม ใบไมน้ ำโชค



ช่ือ...................................................................................ชั้น....................เลขท่.ี .............






ท่ี
รายการ

ผลการประเมิน
หมายเหตุ



ผ่าน
ไมผ่ า่ น




1.
ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมตามขั้นตอน







2.
ตอบคำถามว่าจำนวนเพ่ิมขน้ึ หรอื ลดลง







3.
บอกจำนวนรวมไดถ้ กู ตอ้ ง




4.
บอกความหมายการบวกได้ถกู ต้อง






5.
นักเรียนมคี วามพอใจในการร่วมกิจกรรม










สรุป ผ่าน ไมผ่ า่ น






16

ปญั หาท่ี 7 การบวกจำนวนท่มี หี นึ่งหลกั และสองหลกั



ระดับชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 1 – 3



กิจกรรมท่ี 2 การบวกโดยการสมั ผสั




จดุ ประสงค์การเรยี นรู

1. หาผลบวกจากโจทยท์ ่กี ำหนดใหไ้ ด้

2. นกั เรียนมีความพอใจในการรว่ มกจิ กรรม




สื่อ/อปุ กรณ

1. รูปภาพแอปเป้ลิ

2. ตัวเลขแบบ Touch Math




วธิ ีการดำเนนิ กิจกรรม

1. ครนู ำรอ้ งเพลงแอปเป้ิล พร้อมทำทา่ ประกอบ

2. ครูให้นักเรียนดูภาพแอปเปิ้ล 1 ผล และนักเรียนบอกจำนวน จากนั้นครูให้ดู
2
ภาพลกู แอปเปิล้ อยบู่ นตัวเลขพร้อมกับอธิบาย เปล่ยี นเปน็ จำนวนอ่ืนๆ ให้ครบ (1-9) เชน่








1



2








17

3. ครูให้นักเรียนดูตัวเลขแบบ Touch Math และถามนักเรียนว่าเลขอะไร เช่น

ใหน้ ักเรียนหาผลลัพธ์ การบวกโดยการนบั จดุ ตอ่ (สองจดุ กบั หน่ึงจุดรวมเปน็ สามจดุ ผลลพั ธ์
เป็น 3 ) ปฏิบัตเิ ชน่ นหี้ ลายๆ ครัง้

































4.นกั เรยี นทำแบบฝึกทกั ษะ



การวดั และประเมินผล

1. ตรวจความถกู ตอ้ งของการบอกจำนวนทีก่ ำหนด

2. ตรวจความถกู ตอ้ งของการหาคำตอบจากโจทย์การบวก

3. ความพอใจของนกั เรยี นในการรว่ มกจิ กรรม



เกณฑก์ ารประเมิน

1. นักเรยี นบอกจำนวนทกี่ ำหนดให้ได้ถูกตอ้ งทุกข้อ ถอื วา่ ผา่ น

2. นกั เรียนหาคำตอบจากโจทยก์ ารบวกไดถ้ กู ตอ้ งรอ้ ยละ 60 ขึน้ ไปถือวา่ ผ่าน

3. นกั เรียนมีความพอใจในการปฏิบัตกิ จิ กรรม ในระดบั ผา่ น




18

แบบสังเกตการปฏบิ ัติกจิ กรรม แยกฉันใหถ้ กู



ชือ่ ...................................................................................ชัน้ ....................เลขที่..............






ท่ี
รายการ

ผลการประเมิน
หมายเหตุ


ผา่ น
ไมผ่ ่าน



1.
การบอกจำนวนท่ีกำหนด







2.
การหาคำตอบโจทยก์ ารบวก









3.



นักเรียนมีความพอใจในการร่วมกจิ กรรม






สรุป ผ่าน ไมผ่ า่ น





19


บบฝึกทกั ษะที่ 1




ชือ่ ...................................................................................ช้นั ....................เลขท.่ี .............



คำช้ีแจง ให้นักเรียนนับจำนวนแอปเป้ิลสีแดง และสีเขียวระบายสีภาพตามท่ีกำหนดให

ดังต่อไปนี้



แอปเป้ลิ สแี ดงลูกเล็กมี ลูก



แอปเปิ้ลสแี ดงสีเขียวลกู ใหญ่ ลูก




พรอ้ มหาผลบวกของแอปเปิ้ลท้ังหมด













20


บบฝกึ ทกั ษะที่ 2




ช่ือ...................................................................................ชน้ั ....................เลขที่..............





คำชแ้ี จง จงหาผลบวกให้ถูกตอ้ ง





















































ได้...........................................คะแนน



สรปุ ผล ผ่าน ไมผ่ ่าน


21


บบฝึกทักษะที่ 3




ชื่อ...................................................................................ช้นั ....................เลขที่..............





คำชีแ้ จง จงหาผลบวกใหถ้ กู ตอ้ ง




























































22

ลอ

งทำ

7 - 7 =

6 + 7 =







3 + 7 =

1 + 7 =







ได้...........................................คะแนน



สรปุ ผล ผ่าน ไม่ผ่าน


23


วั อย่างแบบฝกึ ทกั ษะที่ 4




ช่อื ...................................................................................ช้ัน....................เลขท่.ี .............





คำชแี้ จง จงหาผลบวกต่อไปน้






















































ได.้ ..........................................คะแนน



สรปุ ผล ผ่าน ไมผ่ ่าน


24


วั อย่างแบบฝกึ ทักษะท่ี 5



ชอื่ ...................................................................................ช้นั ....................เลขที่..............


คำชแ้ี จง จงหาผลบวกตอ่ ไปน
้ี

















รวม



































ได.้ ..........................................คะแนน



สรปุ ผล ผ่าน ไมผ่ า่ น


25

ปญั หาท่ี 7 การบวกจำนวนทีม่ หี นง่ึ หลกั และสองหลกั



ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 – 3



กิจกรรมที่ 3 บวกงา่ ยนดิ เดียว



จุดประสงคก์ ารเรียนรู้

1. นกั เรยี นสามารถใชเ้ คร่อื งหมายบวกแทนการรวมกัน

2. นักเรยี นสามารถใชเ้ ครอ่ื งหมายเทา่ กบั แทนคำว่า เท่ากบั เทา่ ใดได

3. บวกจำนวนนับงา่ ย ๆ ได้



สอื่ /อุปกรณ

1. ของจรงิ เชน่ ลูกแก้ว ก้อนหิน ไม้ไอศกรีม เปน็ ต้น


2. ของจำลอง เชน่ ผลไม้ หุน่ จำลอง เปน็ ต้น


3. บตั รคำ เชน่ รวมกนั เทา่ กับ เปน็ ต้น
รวมกนั
เท่ากับ


4. บัตรตวั เลข 0 – 9
=


+
5. บัตรเครอ่ื งหมาย

6. แบบฝกึ ทกั ษะ



วิธกี ารดำเนินกจิ กรรม

1. สนทนาและซกั ถามชอ่ื สงิ่ ของทีค่ รูจัดเตรียมไว้เช่นแอปเป้ลิ ไม้ไอศกรมี

2. ครูแจกส่ิงของทน่ี บั ได้ใหก้ บั นกั เรยี น เช่น ไมไ้ อศกรีม

3. ใหน้ ักเรียนหยบิ สง่ิ ของจากกองออกมาวางด้านหนา้ ของนักเรยี น จำนวน 2 อนั

4. ใหน้ กั เรียนหยบิ บตั รตวั เลข 2 วางคกู่ บั สงิ่ ของทอ่ี ยดู่ ้านหนา้

5. ครบู อกนักเรยี นหยิบสิ่งของมาวางด้านหนา้ จำนวน 3 อนั

6. ให้นักเรยี นหยิบบัตรตวั เลข 3 วางค่กู ับสง่ิ ของที่วางอย่ดู ้านหน้า

7. ครูวางบตั รคำ “รวมกัน” ระหว่างบตั รตวั เลข 2 กับบตั รตวั เลข 3

8. ครูถามนกั เรียนว่ามสี ่ิงของทั้งหมดกอ่ี ัน

9. ครูตรวจสอบความถูกต้อง

10. ครเู ฉลยโดยให้นกั เรียนพดู ตาม “สองรวมกบั สามเทา่ กบั ห้า”


26

11. ครูวางบัตรคำวา่ “เท่ากับ” และบัตรจำนวน 5

12. ครูอา่ นทวนพรอ้ มกบั นักเรยี นอกี คร้งั โดยให้นกั เรียนช้ตี าม

13. ครูแนะนำเคร่ืองหมาย “ + ” และเครื่องหมาย “ = ” เพ่ือนำมาใช้แทนคำว่า
รวมกันและเท่ากับ

14. ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมซ้ำตามลำดับข้ันตอน โดยครูเปลี่ยนสิ่งของและ
จำนวนตามระดับและความสามารถของนกั เรยี น

















15. ร่วมกนั สรุปกิจกรรม

16. นักเรียนทำแบบฝึกทักษะ



การวดั และประเมินผล

- สังเกตการปฏิบัติกิจกรรม

- ตรวจแบบฝกึ ทักษะ

- แบบสังเกต

- แบบฝกึ



เกณฑ์การประเมนิ

- ร่วมกิจกรรมทงั้ 5 ขอ้ ผ่านการประเมิน

- ทำแบบฝึกได้ถูกต้องได้ข้อละ 1 คะแนน ได้ร้อยละ 60 ขึ้นไปจึงผ่านการ
ประเมนิ



ข้อเสนอแนะ

เม่ือนักเรียนบวกจากสอื่ ของจริงได้แลว้ ครูอาจเปล่ยี นเป็นสอื่ จำลอง รูปภาพ และ
ลดสอ่ื รปู ภาพออกโดยใช้จำนวนแทนประโยคสญั ลกั ษณ์ตามลำดบั เชน่ 2 + 3 =

และให้นักเรียนหาคำตอบ




27

แบบสังเกตการปฏิบัตกิ ิจกรรม “บวกง่ายนดิ เดียว”




ช่ือ...................................................................................ชนั้ ....................เลขที่..............





ี่ รายการ
ผลการประเมนิ
หมายเหตุ

ผ่าน
ไม่ผ่าน





1.
ใช้สัญลักษณบ์ ัตรตัวเลขแทนจำนวนส่ิงของ








23..


วจวปาาำรงงนะบบโวยัตตันครร
สสตัญัญัวเลลลกัักขษษบณณัต ์์กร
เาครรบอ่ื วงกหมแทายนเกปา็นร
รวม










4.
บวกผลรวมของจำนวนสง่ิ ของ





5.






บวกผลบวกจากประโยคสญั ลักษณ์










ที่กำหนด


สรุป ผ่าน ไมผ่ ่าน

























28


ัวอย่างแบบฝกึ ทักษะท่ี 1



คำชี้แจง เขยี นตวั เลขแทนจำนวนและหาคำตอบ







ตัวอย่าง


รวม
เท่ากับ



2
+
3
=







1.

รวม
เท่ากบั


+
=


2.

รวม
เทา่ กบั


+
=


3.
รวม
เทา่ กับ


+
=


29

ปัญหาท่ี 7 การบวกจำนวนทม่ี ีหน่งึ หลักและสองหลกั



ระดับช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 1-3



กจิ กรรมท่ี 4 ผลบวกน้อยกว่า 10



จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

นกั เรยี นสามารถบวกจำนวนเต็ม 2 จำนวนทม่ี ีผลบวกนอ้ ยกวา่ 10 ได



สอื่ /อุปกรณ์

1. สิง่ ของต่างๆ

2. รปู ภาพ

3. แบบฝกึ ทักษะ



วิธกี ารดำเนินกิจกรรม

1. ครแู ละนกั เรียนร้องเพลงจำนวนนบั

2. นักเรียนฝึกการนำสิ่งของ 2 จำนวนมารวมกันซ่ึงผลบวกจะต้องไม่เกิน 9

(อาจใช้น้วิ มอื หรือสงิ่ ของอ่ืนๆ) ประมาณ 10 ข้อ

3. นักเรยี นฝึกการรวมจำนวน 2 จำนวน ท่ีมีผลลัพธไ์ ม่เกนิ 9 จากภาพไดถ้ ูกตอ้ ง
โดยวาดภาพใน และใสต่ วั เลขใน ดังตวั อยา่ ง








5


30

4. นักเรยี นฝึกการเขียนประโยคสญั ลกั ษณจ์ ากการบวกจำนวน 2 จำนวนท่มี ผี ลบวก
ไม่เกนิ 9 จากรูปภาพ ดังตวั อยา่ ง















4

+ 2 = 6




5. ให้นกั เรียนหาคำตอบโดยใชต้ ัวเลขแทนสิง่ ของ 2 สิง่ มารวมกัน

1) 3 + 2 = 5



2) 5 + 3 = 8



6. ให้นักเรียนหาผลบวก 2 จำนวน ท่ีมีผลบวกไม่เกิน 9 ในแนวนอน โดยเติม


ลบวกลงใน

1) 2 + 4 = 6



2) 5 + 2 = 7



7. ใหน้ กั เรียนหาผลบวกจำนวน 2 จำนวนทมี่ ผี ลบวกไมเ่ กิน 9 ในแนวตั้ง

1) 2)




16

+

24

+






ตอบ 7
ตอบ 6








31

การวัดและประเมินผล

- สงั เกตการร่วมกจิ กรรม

- ตรวจแบบฝึกทกั ษะ

- แบบบันทกึ การสังเกต

- แบบฝึกทักษะ



เกณฑก์ ารประเมิน

- รว่ มกจิ กรรมและนบั ได้ 5 ขอ้ ผ่านการประเมิน

- ตรวจแบบฝกึ ทักษะ ทำไดถ้ ูกตอ้ งร้อยละ 60 ขึ้นไปจงึ จะผา่ นการประเมนิ








เพลง จำนวนนบั




1 2 3 4 1 2 3 4

5 6 7 5 6 7 อีกท้งั 8 และ 9 10 นับอกี ที นบั อกี ท


32

แบบสังเกตการปฏบิ ตั ิกิจกรรมผลบวกนอ้ ยกวา่ 10




ชื่อ...................................................................................ชน้ั ....................เลขท.่ี .............





ผลการประเมนิ


่ี รายการ

ผ่าน
ไมผ่ า่ น
หมายเหตุ

1.
การนับจำนวนส่ิงของ








สิง่ ของจำนวน 1 ชิ้น








ส่งิ ของจำนวน 2 ชิ้น





สิ่งของจำนวน 3 ชิ้น





สิ่งของจำนวน 4 ชนิ้







สิง่ ของจำนวน 5 ช้นิ





สงิ่ ของจำนวน 6 ชนิ้





สิง่ ของจำนวน 7 ช้ิน





สิง่ ของจำนวน 8 ชน้ิ








สิง่ ของจำนวน 9 ช้ิน





2.
การนับสิ่งของสองจำนวนรวมกนั






1) 3 + 2






2) 4 + 3


3) 5 + 4





4) 1 + 7















5) 2 + 6




6) 5 + 2








เกณฑ์การตัดสิน

นับจำนวนสิ่งของและนับสิ่งของสองจำนวนได้ถูกต้องอย่างน้อย 5 ข้อ ถือว่าผ่าน
เกณฑ์การประเมิน




33


ัวอยา่ งแบบฝกึ ทักษะที่ 1




ช่ือ...................................................................................ชน้ั ....................เลขท.่ี .............





คำชี้แจง จงหาผลบวกต่อไปนี้


34

ตัวอย่างแบบฝึกทกั ษะท่ี 2




ชอื่ ...................................................................................ช้นั ....................เลขท่.ี .............


คำชแ้ี จง จงหาผลบวกจากภาพทก่ี ำหนดให้




= 5
= 2
= 1














































35

ปัญหาที่ 7 การบวกจำนวนที่มหี นึ่งหลักและสองหลัก



ระดบั ชั้น ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 – 3



กิจกรรมท่ี 5 ผลบวกน้อยกว่า 20



จุดประสงค์การเรียนร้

1. นักเรยี นสามารถบวกจำนวนเตม็ 2 จำนวนที่มีผลบวกไมเ่ กนิ 20

2. นักเรียนมคี วามพอใจในการร่วมกิจกรรม



สอื่ /อปุ กรณ์

1. สงิ่ ของตา่ ง ๆ

2. รปู ภาพ

3. แบบฝึกทักษะ



วธิ กี ารดำเนินกิจกรรม

1. นักเรียนฝกึ หยิบสิ่งของตงั้ แต่ 10 – 19 ตามที่ครูบอกแลว้ ครูสงั เกตและบนั ทึก



่ี รายการ
ได
้ ไม่ได้
หมายเหตุ

1
หยิบสิ่งของ 10 ชน้ิ




2
หยบิ สง่ิ ของ 11 ชน้ิ




3
หยิบส่ิงของ 12 ช้นิ




4
หยบิ สิ่งของ 13 ชน้ิ




5
หยบิ สง่ิ ของ 14 ช้ิน




6
หยิบสงิ่ ของ 15 ช้ิน




7
หยิบสิ่งของ 16 ชิ้น




8
หยบิ สิง่ ของ 17 ชนิ้




9
หยิบสงิ่ ของ 18 ชิ้น




10
หยบิ สงิ่ ของ 19 ช้นิ






36

2. นกั เรยี นเขยี นจำนวนตั้งแต่ 10 – 19 จากการนบั สิ่งของจริง

3. นักเรียนนับจำนวนรูปภาพที่กำหนดให้และเติมตัวเลขฮินดูอารบิกลงในช่องว่าง
ทางขวามอื




.......................................................

.......................................................


.......................................................

.......................................................


.......................................................

.......................................................


37

4. ให้นกั เรยี นหยบิ ส่ิงของมา 2 กอง ตามที่ครกู ำหนดแตล่ ะกองไม่เกิน 20 และนำ
มารวมกันแลว้ ตอบด้วยปากเปลา่ วา่ มีจำนวนเทา่ ใด

5. นักเรียนหาผลบวกจากรูปภาพ แล้วเติมตัวเลขฮินดูอารบิกลงในช่องว่าง

ดังตัวอยา่ ง



























= 14










6. นักเรียนหาผลบวกของจำนวนสองจำนวนท่ีมี 1 หลัก ผลบวกน้อยกว่า 20

ในแนวนอน



ตัวอย่าง 7 + 5 = 12










38

7. นกั เรยี นหาผลบวกของจำนวนสองจำนวนทม่ี ี 1 หลัก ผลบวกน้อยกวา่ 20 ใน
แนวตงั้ โดยระบายสตี ามจำนวนตวั ตัง้ และตวั บวก

ตวั อยา่ ง



76

+


13
JJJJJ


JJJJJ



ตอบ ๑๓
JJJJJ

JJJJJ






การวัดและประเมนิ ผล

1. สงั เกต การปฏิบตั ิกิจกรรม

2. ตรวจความถกู ต้องของแบบฝึกทักษะ

3. นักเรียนมีความพอใจในการปฏิบตั กิ ิจกรรม



เกณฑ์การประเมิน

1. ปฏิบัติกจิ กรรมไดถ้ กู ตอ้ งทกุ รายการ ถอื วา่ ผา่ น

2. ทำแบบฝึกทักษะได้ถูกตอ้ ง รอ้ ยละ 60 ข้ึนไป ถือว่าผา่ น







แบบสังเกตการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม ผลบวกน้อยกว่า 20




ชอ่ื ...................................................................................ช้ัน....................เลขท่ี..............


ผลการประเมนิ


ที
่ รายการ
ผ่าน
ไม่ผา่ น
หมายเหต



1.
หยิบสิง่ ของได้ถูกตอ้ ง







2.
ทำแบบฝกึ ทกั ษะไดถ้ ูกต้อง









3.

นกั เรียนมคี วามพอใจในการปฏิบัตกิ ิจกรรม





สรุป ผ่าน ไม่ผ่าน



39


บบฝกึ ทกั ษะที่ 1




ชื่อ...................................................................................ชั้น....................เลขท.่ี .............





คำช้ีแจง จงเขียนตัวเลขแทนจำนวน




ตัวอยา่ ง


8................ ................


1.

..........................................

..........................................


2.

..........................................

..........................................


3.

..........................................

..........................................


40


บบฝึกทกั ษะท่ี 2




ชื่อ...................................................................................ช้นั ....................เลขท.่ี .............





คำชแี้ จง ให้นักเรียนวาดภาพ ให้มีจำนวนเท่าท่ีกำหนด แล้วนับจำนวนพร้อมท้ังเขียน

ตัวเลขในชอ่ ง



ตวั อย่าง




= 14


41

1)


42


บบฝึกทกั ษะท่ี 3




ชื่อ...................................................................................ช้ัน....................เลขที่..............



คำช้แี จง ใหน้ กั เรียนระบายสรี ูปภาพเทา่ กับจำนวนและหาคำตอบดงั ตัวอยา่ ง



ตวั อยา่ ง



67

+
JJJJJ


13
JJJJJ


ตอบ ๑๓
JJJJJ


JJJJJ











1.)



58

+





JJJJJ


JJJJJ


......
JJJJJ

JJJJJ


ตอบ ..........







2.)

74

+



JJJJJ

JJJJJ

JJJJJ

......
JJJJJ

ตอบ ..........


43

69

+


3.)


JJJJJ


JJJJJ




......
JJJJJ


ตอบ ..........
JJJJJ









4.)

83

+





JJJJJ


JJJJJ


JJJJJ


......
JJJJJ


ตอบ ..........








5.)

49

+



......


JJJJJ


JJJJJ


JJJJJ


JJJJJ


ตอบ ..........






44

ปญั หาที่ 7 การบวกจำนวนทีม่ หี นงึ่ หลักและสองหลกั



ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1-3



กิจกรรมที่ 6 การบวกแนวตัง้ ที่ไมม่ กี ารทด



จุดประสงคก์ ารเรียนรู้

นักเรียนสามารถบวกจำนวนทีไ่ มม่ ีการทดได้



ส่อื /อุปกรณ

1. แผนภมู ิประโยคสัญลกั ษณ์การบวก

2. แบบฝกึ ทักษะ



วิธกี ารดำเนินกิจกรรม

1. ทบทวนการบวกจำนวนหนง่ึ หลกั และทบทวนเก่ยี วกบั หลักเลข

2. ครูให้นักเรียนดูประโยคสัญญลักษณ์การบวกที่มีตัวตั้งและตัวบวกจำนวนสองหลัก

แลว้ อธบิ ายใหน้ กั เรยี นฟงั

3. นักเรียนหาผลบวกจากประโยคสัญญลักษณ์การบวกท่ีมีตัวตั้งและตัวบวก
จำนวนสองหลกั คนละ 1 ขอ้

4. ครูและนกั เรยี นร่วมกันตรวจพรอ้ มกบั อธิบาย

5. นักเรยี นทำแบบฝกึ ทกั ษะ



การวัดและประเมินผล

- ตรวจแบบฝกึ ทักษะ

- แบบฝึกทักษะ



เกณฑ์การประเมิน

ทำแบบฝกึ ทักษะได้ถกู ตอ้ งขอ้ ละ 1 คะแนน ตอ้ งไดร้ อ้ ยละ 60 จงึ ผ่านการประเมนิ






45


บบฝกึ ทักษะ





ชือ่ำช...แี้ ..จ...ง..ห...า..ค..ำ..ต..อ...บ..จ..า..ก..ป...ร..ะ.โ..ย..ค..ส...ัญ...ญ...ล..ัก..ษ...ณ...์ก...า.ร..บ...ว..ก..ท...ี่ก..ำ..หชนั้นด..ใ..ห..
้..............เลขท.ี่ .............

ตัวอย่าง 25 + 3 =






25


+


3



28







1. 14 + 5 =






14


+


5









2. 36 + 2 =


36


+


2







3. 50 + 8 =

50


+


8







46


Click to View FlipBook Version