The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by j.yosatorn, 2022-03-30 13:40:49

แบบฝึกทักษะนักเรียนเรียนร่วม

คณิตศาสตร์

บรรณานกุ รม






กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). คู่มือการใช้แบบทดสอบความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้าน

คณติ ศาสตร.์ กรงุ เทพมหานคร: สำนักพมิ พก์ ารศาสนา.

ดารณี ศักดิ์ศิริผล และคณะ. (2552). แบบฝึกอ่านเขียนเรียนรู้กับลุงฮูก ชุดที่ 5 การหาร

และโจทย์ปัญหา เล่ม 1 ความหมายของการหารและความสัมพันธ์กับการคูณ.

กรุงเทพมหานคร: บริษัทโกลบอลเอด็ จำกัด.

ดารณี ศักด์ิศิริผล และคณะ. (2552). แบบฝึกอ่านเขียนเรียนรู้กับลุงฮูก ชุดท่ี 1 จำนวน

และตัวเลข เล่ม 2 การเขียนตัวเลขไทยแทนจำนวน. กรุงเทพมหานคร: บริษัท

โกลบอลเอด็ จำกัด.

ดารณี ศักดิ์ศิริผล และคณะ. (2552). แบบฝึกอ่านเขียนเรียนรู้กับลุงฮูก ชุดที่ 1 จำนวน

และตวั เลข เล่ม 1 จำนวนนับ 1 ถงึ 10 และ 0. กรุงเทพมหานคร: บรษิ ัทโกลบอลเอ็ด

จำกัด.

ผดงุ อารยะวิญญ.ู (2544). เด็กท่ีมปี ัญหาในการเรยี นรู้. กรุงเทพมหานคร: สำนักพมิ พ์แวน่ แกว้ .

ผดงุ อารยะวญิ ญู. (2546). วธิ สี อนเดก็ เรยี นยาก. กรุงเทพมหานคร: สำนักพมิ พแ์ วน่ แก้ว.

ไพเราะ พมุ่ ม่ัน. (2537). กิจกรรมส่งเสรมิ พฒั นาการด้านความคดิ รวบยอด. กรงุ เทพมหานคร:

สำนกั พมิ พ์แว่นแก้ว.

ไพเราะ พุม่ มน่ั . (2546). กจิ กรรมสง่ เสริมพัฒนาการด้านความคดิ รวบยอด. กรงุ เทพมหานคร:

สำนกั พิมพ์แวน่ แกว้ .

หน่วยศึกษานิเทศก์. คู่มือครูแนวการจัดกิจกรรมเพ่ือช่วยเหลือเด็กท่ีมีปัญหาทางการเรียนร
ู้
ด้านคณติ ศาสตร.์ สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาเอกชน ISBN.97480051-3.

Bakken, J.P. Strategy Instruction Ideas for Students with Learning Disabilities.

Illinois State University.

Lerner, J. (2006). Learning Disabilities: Theories,Diagnosis,and Teaching Strategies.

Boston : Houghton Mifflin Company.







97

98

ภาคผนวก


99

การสอนด้วยวธิ ี Touch Math





วิธที เี่ กีย่ วข้องกบั ประสาทสมั ผสั

Touch Math เป็นการใช้ประสาทสมั ผสั หลายด้านผสมผสานกัน เปน็ การออกแบบ
เพื่อการได้ยิน การมองเห็น และการสัมผัส/การเรียนรู้ผ่านการเคลื่อนไหว นักเรียนได้เห็น
พูด ได้ยิน และสัมผัส โดยการสัมผัสจุดบนตัวเลขต่างๆ จึงทำให้เขาเรียนรู้ได้ดีกว่าเพราะ
เขาเรียนรผู้ า่ นหลากหลายช่องทางการเรยี นร
ู้


ให้นกั เรียนไดเ้ คลอ่ื นท่หี รอื เดนิ

Touch Math ก็คือ การสัมผัสจุด เม่ือได้สัมผัสจะทำให้เกิดการเรียนรู้ไปในตัว

การนับท่ีเป็นรูปแบบการสัมผัสจุด เป็นสื่อการสอนที่ใช้ได้ผลกับนักเรียนโดยมีหลักการ
เรยี นรเู้ ปน็ รูปธรรม เปน็ ภาพท่ชี ัดเจนหรอื เปน็ สัญลักษณ์ ในการสมั ผสั จุดนักเรียนสามารถ
ใช้ดินสอเขียนตามลงไปบนกระดาษหรือการใช้นิ้วมือลากตามจุดได้ น่ีเป็นการเรียนรู้ที่
สำคัญของเด็กทม่ี คี วามบกพรอ่ งทางการเรียนรู้



การใช้ส่อื การมองเพ่ือการช่วยเหลือ

การสอนในระดับแรกด้วยวิธี Touch Math เป็นการสอนให้นักเรียนใช้การมอง

ซ่ึงเป็นการพัฒนาเร่ืองทิศทาง ซ้าย ขวา ลดการมองตัวเลขแบบกลับหัวกลับหาง ทำให้
การคำนวณง่ายขึ้นและลดการคำนวณ นักเรียนมีทัศนคติที่ดี มีความม่ันใจ มีความ
กระตือรือร้น ในการทำเลขท่ีมีความสลับซับซ้อนหรือยากข้ึนไป วิธีน้ี เหมาะสำหรับเด็ก
อายุ 6 ปี หรือเด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ที่อาจจะกลัวตัวเลขที่เต็มหน้ากระดาษ
แต่หน้ากระดาษของเราจะไม่ยุ่งเหยิง เพราะจะใช้ตัวพิมพ์ที่มีขนาดใหญ่ท่ีเหมาะสม และ
ตัวเลขท่ีเป็นปัญหา การสอน Touch Math เป็นเร่ืองสนุกและไม่ซับซ้อน ทำให้เด็กทำ
คณิตศาสตร์ได ้

การใช้การสมั ผสั /การนับท่เี ป็นรูปแบบนั้น เดก็ เล็กๆ สามารถเรียนร้จู ำนวนได้จาก
จุดทีแ่ สดง




100

ข้ัน
ตอนในการใช้ตัวเลขโดยการใช้การสมั ผัส (Touch Math)






1ต. ัวกาอรยฝกึา่ ปงร
ะสาทสมั ผสั ระหวา่ งตากบั มอื โดยการใชก้ จิ กรรมระบายสี (color code)







ชื่อ........................................................................


ขอ้ เสนอแนะให้นกั เรยี นลงสตี ามจุดทกี่ ำหนดให้และถามนกั เรยี นวา่ เม่ือลงสตี ามจุดแล้ว

เป็นรปู ภาพอะไร


สีเขยี ว
สสี ้ม


101

2. เรียนรู้โดยนำรูปภาพ เป็นตัวนำสายตา และให้นักเรียนเปรียบเทียบกับตัวเลขที่มี
ภาพนำสายตา (Touchpoint Object) กับตัวเลขจุด (TouchPoint) ท่ีอยู่ด้านล่างที่มี
ลักษณะเหมือนกัน เพื่อให้นักเรียนสามารถจำภาพสัญลักษณ์ตัวเลข แล้วค่อยถอดจุดออก
จากตัวเลขเหลอื เฉพาะสัญลกั ษณ์ตัวเลขธรรมดา



ตัวอย่าง


หนึ่ง
สอง






































102

3. การนับตัวเลขโดยการใช้การสัมผัส (Touch Math) ต้ังแต่ 6 ถึง 9 อาจใช้วงกลม
รอบจุดแล้วให้นับซ้ำอีกคร้ังหน่ึง ทั้งนี้เพื่อป้องกันจำนวนจุดท่ีมีจำนวนมากเกินไป
บนตัวเลขนัน้ ๆ



ตวั อยา่ ง























4. การนบั จดุ ของตวั เลข Touch Math








2


2
3






3
2
, 2



2
3
3,


5
5, 6






, 2


7
, 2
, 2
3,
9
3,

5, 6
7, 8


3,
5, 6


5, 6
7, 8




103

5. การเขยี นตวั เลข



ตวั อย่าง




























104

105

6. การร้คู า่ ตวั เลข



ตัวอย่าง จับคตู่ วั เลขใหต้ รงกบั รูปภาพ












106

7. การบวกโดยการนบั ภาพบนตัวเลข ของ Touch Math Object จะมีภาพบนตวั เลข
เท่าจำนวนตวั เลข



ตัวอยา่ ง







ชอื่ำ.ช..้แี...จ..ง...จ..ง.ห...า..ผ..ล..บ...ว..ก..ใ..ห..ถ้..กู...ต..อ้..ง..
..................
........ ชัน้ ....................... เลขท.่ี ....................








รวม


107

ช่อื ....................................................................... ชั้น....................... เลขท.่ี ....................



คำช้แี จง จงหาผลบวกใหถ้ ูกตอ้ ง


108

8. การบวกเลขดว้ ยตัวเลขจดุ

ตวั อย่าง 5 บวก 7 ในระยะแรกให้นับจดุ ของเลข 5 มี 5 จุด จากนัน้ นบั ตอ่ ที่เลข 7
โดยเรม่ิ จากจดุ เร่ิมตน้ คำตอบคอื 12




2
1




3


5
4




12
6
7


8
9




10
11













จากน้ันเรมิ่ ถอดจดุ ในตัวบวกออกเพ่อื ใหเ้ ด็กคิดเอง

























สุดท้ายเรมิ่ ถอดจดุ ทั้งตัวตัง้ และตวั บวกเปน็ ตวั เลข


109

9. การลบเลข

ตวั อยา่ ง 9 -7 ในระยะแรกใหน้ ับจดุ ของตวั ตง้ั คือเลข 9 จากตำแหนง่ สุดท้าย โดย

หักออก 7 คำตอบคอื 2


1 2


9
3 4


5 6


7 8














จากน้ันเร่ิมถอดจุดในตัวลบออกเพื่อให้เด็กคิดเอง สุดท้ายเริ่มถอดจุดท้ังตัวตั้งและ
ตัวลบเป็นตวั เลข เหมอื นกับการบวก



10. การคูณโดยการนับจุดบนตวั เลข

การคูณเป็นการบวกตัวตั้งซ้ำกี่เท่า ซึ่งนักเรียนอาจจะใช้กิจกรรมนับเม็ดลูกคิดมา
ก่อนเพอื่ ใหเ้ ข้าใจความหมายของการคณู

ตวั อยา่ ง 7x2 คอื 7 บวกตวั เอง 2 ครง้ั ดังนัน้ เดก็ จะนับตัวตงั้ 2 รอบ คำตอบคอื 14




1 2
8 9

14
7




12
13
5 6
3 4
10 11











ละตัวคจูณาเกปน็น้ันตเัวรเิ่มลถขอเดหจมุดือในนกตับัวคกูณารอบอวกกเพจื่อาใกหน้เ้ันดอ็กาคจิดจเะอนงำตสาุดรทา้างยกเารร่ิมคถูณอมดาจชุด่วทย้ังใตนัวกตา้ัรง
คดิ อีกกไ็ ด้ (หาข้อมลู เพ่มิ เติมจาก TouchMath.com)




110

ตัวอย่างสอ่ื สำหรบั เดก็ ทีม่ ีความบกพรอ่ งทางการเรยี นรู้









จชำุดนCวaนrตrวัyเลaขn
d Borrow Line


ชว่ ยสอนค่าของตวั เลขและการบวก ลบ จำนวนที่มีสองหลกั









เสน้ จำนวน

จะช่วยใหเ้ ดก็ จัดระบบตัวเลขอย่างเปน็ แบบแผน













อุปกรณค์ ณิตศาสตรแ์ ท่งจำนวน MeasureLine

เปน็ บรรทดั 12 หน่วยเพอื่ การคำนวณ















อุปกรณค์ ณิตศาสตรแ์ ทง่ จำนวน เศษส่วน

เปน็ แท่งหลกั เศษสว่ นเพือ่ การคำนวณ








111

เศษสว่ น
ลูกเตา๋ เศษสว่ น

ชุด เส้นจำนวนเศษสว่ น FractionLine
บตั รเศษสว่ น

อุปกรณท์ ส่ี อนให้เด็กเข้าใจรูปเศษสว่ น









กระดาษเสน้ จำนวน เศษสว่ น

เพ่ือการคำนวณ













เศษสว่ นพซิ ซา่
































112

จำนวนเงนิ

ชุด Coin-U-Lator

อุปกรณ์ทบี่ อกคา่ ของเหรียญเงนิ การนบั เงนิ













รา้ นขายของจำลอง

































ตารางแลกเงิน












113

เวลา

นาฬกิ าวงกลม

จะมี 2 ขนาดสอนเรอ่ื งเวลา การบอกเวลา

















บัตรเวลา


















114

การคำนวณ

เครื่องคดิ เลขขนาดใหญ่



งา่ ยต่อการมอง การหาตวั เลข และการกดปุ่มคำนวณ











ตาราง 100 ช่องเกย่ี วกบั การบวก ลบ คูณ

ช่วยในการคำนวณการบวก การลบ การคณู







ตวั บล็อคต่อคำนวณ












ลูกคดิ แท่งหลกั

ใชค้ ำนวณเลขตามหลัก















ไม้คดิ คำนวณการบวกลบคณู หาร










115

บตั รภาพประโยคสญั ลักษณ









กระดาษหาคำตอบและแผ่นพลาสติกส




116

กราฟ

































พน้ื ท
่ี


บลอ็ คพน้ื ท่ีตาราง




117

รูปเรขาคณิต
กระดานสรา้ งรปู เรขาคณติ











































แท่งตอ่ รูปทรงเรขาคณติ








118

การวัด ไมบ้ รรทดั































รอ้ ยละ




119

การชัง่ น้ำหนกั












120

คณะทำงานปรับเอกสาร



เทคนิค วิธีการและส่อื

สำหรับนักเรยี นที่มคี วามบกพร่องทางการเรียนร้ดู า้ นคณติ ศาสตร์



ที่ปรกึ ษา

1. นายชนิ ภัทร ภมู ิรตั น เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน

2. นายสมเกียรติ ชอบผล รองเลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน

3. นายเสน่ห์ ขาวโต รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน

4. นายชัยพฤกษ์ เสรีรกั ษ์ รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน

5. นางเบญจา ชลธาร์นนท์ ข้าราชการบำนาญ (อดตี ผตู้ รวจราชการกระทรวงศกึ ษาธิการ)

6. นางสจุ นิ ดา ผ่องอักษร ทป่ี รึกษาด้านการศึกษาพิเศษและผูด้ อ้ ยโอกาส

7. นายธรี ะ จนั ทรรตั น์ ผอู้ ำนวยการสำนกั บริหารงานการศึกษาพิเศษ



ผ้ทู รงคณุ วฒุ ทิ ่เี ปน็ ผตู้ รวจพจิ ารณาเอกสาร

1. นางสุจนิ ดา ผ่องอักษร ที่ปรกึ ษาดา้ นการศกึ ษาพเิ ศษและผู้ด้อยโอกาส

2. นางดารณี ศกั ดิศ์ ริ ิผล มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ ประสานมติ ร

3. นางเกตุมณี มากมี มหาวิทยาลัยราชภฏั เชียงใหม



ผกู้ ำหนดกรอบในการปรับเอกสาร

1. นางสจุ นิ ดา ผ่องอกั ษร ทปี่ รกึ ษาด้านการศึกษาพิเศษและผดู้ อ้ ยโอกาส

2. นางผ่องศรี สรุ ตั นเ์ รอื งชยั สำนกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพิเศษ

3. นางสาวเจษฎา กิตตสิ นุ ทร สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ



คณะผูป้ รับเอกสาร

1. นางเรอื งรอง ศรแกว้ โรงเรยี นบา้ นอโุ มงค์

สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาลำพนู เขต 1

2. นางเรไร ตาปนานนท์ โรงเรียนวัดพระยาปลา สังกัดกรุงเทพมหานคร

3. นางสายสวาท อรรถมานะ รองผู้อำนวยการศูนย์การศึกษาพเิ ศษ เขตการศึกษา 9

4. นายยทุ ธนา ขำเกือ้ รองผู้อำนวยการศนู ย์การศึกษาพเิ ศษ เขตการศกึ ษา 4

5. นางสาวพรรณา นรินทร ศนู ยก์ ารศกึ ษาพิเศษ สว่ นกลาง

6. นางนภัสวรรณ อปุ ศร ี โรงเรยี นวัดสระแก้ว

สำนกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษานครราชสีมา เขต 1




121

7. นางกนิษฐา ลี้ถาวร โรงเรียนวัดดา่ นสำโรง


สำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาสมุทรปราการ เขต 1

8. นางวรรณิภา ภทั รวงศส์ นิ ธ ุ์ โรงเรียนชมุ ชนบ้านหนองบัวระเหว
สำนักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาชัยภมู ิ เขต 3

9. นางจฬุ าภรณ์ ด้วงบาง โรงเรียนบา้ นคลองนำ้ เย็น

สำนักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาสโุ ขทัย เขต 1

10. นางกฤติยา กร่ินใจ โรงเรยี นชุมชนบา้ นหลุมรงั

สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษากาญจนบรุ ี เขต 2

11.นางอารีรตั น์ สงวนทรัพย์ โรงเรียนบา้ นโคกเจริญ

สำนักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาพงั งา

12. นายสมชาย กาซอ โรงเรยี นชมุ ชนบ้านสะนงิ

สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาปัตตานี เขต 1

13. นางสาวสกุ ญั ญา จวิ ฒั นาชวลติ กลุ โรงเรียนบา้ นกอแนะเหนอื

14. นางผอ่ งศรี สุรตั นเ์ รอื งชัย สำนกั บรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ

15. นางสาวเจษฎา กติ ติสนุ ทร สำนกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพิเศษ



สำนกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพิเศษ

สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน

บรรณาธิการ

นางสาวเจษฎา กิตตสิ นุ ทร โรงเรียนบา้ นท่าทุ่ม

สำนักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษากาญจนบุรี เขต 1





ภาพปก

นางทองพูน สรอ้ ยดอกจิก














122

คณะทำงาน


พัฒนาเทคนคิ วธิ ีการและสื่อสำหรบั นกั เรยี นที่มคี วามบกพรอ่ งทางการเรยี นร
ู้

ตามคำส่ังสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน ที่ 267/2547 และ 670/2548

คณะกรรมการทปี่ รึกษา




1. นางพรนิภา ลปิ พะยอม เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน

2. นายดิเรก พรสีมา รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน

3. นายชินภทั ร ภูมริ ัตน รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน

4. นางเบญจา ชลธาร์นนท ์ ทีป่ รึกษาดา้ นการศกึ ษาพิเศษและผ้ดู ้อยโอกาส

5. นายวิริยะ นามศิรพิ งศ์พนั ธ ุ์ ทีป่ รกึ ษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร




คณะกรรมการดำเนินงาน

ประธานกรรมการ



1. นางเบญจา ชลธาร์นนท์ ท่ปี รกึ ษาดา้ นการศกึ ษาพิเศษและผดู้ อ้ ยโอกาส
2. นายธีระ จนั ทรรัตน์ ทป่ี รึกษาดา้ นการศกึ ษาพิเศษและผู้ด้อยโอกาส รองประธานกรรมการ

3. นางสุจินดา ผอ่ งอกั ษร ท่ีปรกึ ษาด้านการศกึ ษาพเิ ศษและผู้ด้อยโอกาส รองประธานกรรมการ

4. นางสมบูรณ์ อาศิรพจน ์ ผู้อำนวยการศนู ย์การศึกษาพเิ ศษส่วนกลาง กรรมการ

5. นางสมพร หวานเสรจ็ ผอู้ ำนวยการศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศกึ ษา 9 จงั หวดั ขอนแกน่ กรรมการ

6. นางศรีจติ ต์ ขวญั แกว้ ผู้อำนวยการศนู ยก์ ารศกึ ษาพิเศษ เขตการศกึ ษา 4 จังหวดั ตรัง กรรมการ

7. นางสาวอารยี ์ เพลนิ ชัยวาณิช ผอู้ ำนวยการศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 7 จังหวัดพิษณโุ ลก กรรมการ

8. นางยุพนิ คำปนั ผชู้ ว่ ยผอู้ ำนวยการศนู ย์การศึกษาพเิ ศษ เขตการศกึ ษา 8 จังหวดั เชยี งใหม ่ กรรมการ

9. นางอรอินทร์ คลองม่งิ ผ้ชู ่วยอำนวยการศนู ย์การศึกษาพเิ ศษ เขตการศกึ ษา 11 จังหวัดนครราชสมี า กรรมการ

10. นางสาวบษุ บา ตาไว ผอู้ ำนวยการศูนยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษ ประจำจังหวัดสุโขทัย กรรมการ

11. นายนะรงษ์ ชาวเพช็ ร ผู้อำนวยการศูนย์การศึกษาพเิ ศษ ประจำจงั หวัดสรุ ินทร ์ กรรมการ

12. นางสาววลั ยา สทุ ธพิ ิบลู ย ์ ศนู ย์การศึกษาพเิ ศษสว่ นกลาง กรงุ เทพมหานคร กรรมการ

13. นายอำนวย ทิมม ี ศึกษานิเทศก์ สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาสุโขทัย เขต 1 กรรมการ

14. นางสาวเพ็ญพรรณ กรงึ ไกร ศกึ ษานิเทศก์ สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 2 กรรมการ

15. นางอัจฉราวรรณ มะกาเจ ศึกษานิเทศก์ สำนักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาสมทุ รปราการ เขต 1 กรรมการ

16. นางจินตนา อัมพรภาค ศึกษานเิ ทศก์ สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาสุโขทัย เขต 1 กรรมการ

17. นางสพุ รรณี อ่อนจาก โรงเรียนวัดราษฎรศ์ รัทธาราม สำนกั การศกึ ษากรงุ เทพมหานคร กรรมการ

18. นางจุฬาภรณ์ ด้วงบาง โรงเรียนบ้านคลองนำ้ เย็น สำนักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาสุโขทยั เขต 1 กรรมการ

19. นางสาวเรไร ตาปนานนท ์ โรงเรียนวดั พระยาปลา สำนกั การศึกษากรงุ เทพมหานคร กรรมการ

20. นางเรืองรอง ศรแก้ว โรงเรียนบา้ นอุโมงค์ สำนกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาลำพูน เขต 1 กรรมการ

21. นางละออ จันทรเดช โรงเรยี นอนุบาลปทมุ ธานี สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาปทุมธานี เขต 1 กรรมการ


123

22. นางสุจริต เทิดกติ วิ รางค์ โรงเรยี นอนบุ าลพังงา สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาพงั งา กรรมการ

23. นางทรรศนีย์ ปัน้ ประเสรฐิ โรงเรยี นบา้ นหนองไก่แกว้ สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาราชบุรี เขต 2 กรรมการ

24. นางจงจิตร์ เนตรวงษ์ โรงเรียนอนุบาลร้อยเอด็ สำนักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษารอ้ ยเอด็ เขต 1 กรรมการ

25. นางอารมย์ บญุ เรอื งรอด โรงเรยี นหนองสองตอน สำนักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษากาญจนบุรี เขต 1 กรรมการ

26. นางประทุม ชา้ งอย่ ู โรงเรยี นวดั พิกุลเงิน สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษานนทบุรี เขต 2 กรรมการ

27. นางละมยั ชิดด ี โรงเรียนบ้านเมอื งปักสามัคคี สำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษานครราชสีมา เขต 3 กรรมการ

28. นายดำรงวุฒิ ดอกแก้ว โรงเรยี นวัดพระหลวง สำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาแพร่ เขต 2 กรรมการ

29. นางเล็กฤทัย คำศรีระภาพ โรงเรยี นชุมชนคำตานาหนองสูง สำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาอุดรธานี เขต 3 กรรมการ

30. นางโสภศิ แสงสีศรี โรงเรยี นวัดปากคลอง (ศทุ ธยาลยั อทุ ศิ ) สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาเพชรบุรี เขต 1 กรรมการ

31. นายสุมนตรี คำขวา โรงเรยี นบา้ นสำนักพมิ าน สำนกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษานครราชสมี า เขต 5 กรรมการ

32. นางอธั ยา กาญจนดษิ ฐ์ โรงเรยี นไทยรฐั วิทยา 77 (บ้านโนนสนั ต)ิ สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาชมุ พร เขต 1 กรรมการ

33. นางทิพวรรณ มีผิว โรงเรยี นวดั สกุณาราม สำนกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาชัยนาท กรรมการ

34. นางพจงจิตต์ กษมาภรณ์ โรงเรยี นวดั พรหมสาคร สำนกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาสิงห์บรุ ี กรรมการ

35. นางสณั ห์สริ ิ นาคยา โรงเรยี นวัดประยุรวงศาวาส สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต 3 กรรมการ

36. นางเยาวนติ ย์ พรหมเรือง โรงเรยี นนคิ มสงเคราะห์ สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาระนอง กรรมการ

37. นางวรรณภิ า ภทั รพงศ์สินธุ ์ โรงเรยี นชุมชนบ้านหนองบวั ระเหว สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาชัยภูมิ เขต 3 กรรมการ

38. นางฐิตยิ าภรณ์ หล่อสุวรรณ โรงเรียนอนบุ าลศรเี ทพ (สวา่ งวัฒนา) สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาเพชรบรู ณ์ เขต 3 กรรมการ

39. นางประไพ จิตบรรเทา โรงเรียนชมุ ชนบงึ บา สำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาปทมุ ธานี เขต 2 กรรมการ

40. นางกฤติยา กรม่ิ ใจ โรงเรยี นชุมชนบ้านหลุมรงั สำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษากาญจนบรุ ี เขต 2 กรรมการ

41. นางสำรวย พันธรุ ตั น ์ โรงเรยี นประชาผดุงวิทย์ (ฟอ้ งฟงุ้ อุทิศ) กรรมการ

สำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1

42. นางสาววงเดือน อภิชาต ิ โรงเรยี นราชวินิต สำนักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต 1 กรรมการ

43. นางทิพย์วรรณ เตมยี กลุ โรงเรยี นวดั พรหมสาคร สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาสิงห์บุร ี กรรมการ

44. นางเสาวนยี ์ เพ็ชรสงค์ โรงเรียนวัดไตรสามคั คี สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 กรรมการ

45. นางนภสั วรรณ อุปศรี โรงเรยี นวดั สระแก้ว สำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษานครราชสีมา เขต 1 กรรมการ

46. นางสมสนทิ นามราช โรงเรยี นเทศบาลสวนสนกุ สำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาขอนแกน่ เขต 1 กรรมการ

47. นางสาวลออ เอ่ียมออ่ น โรงเรยี นหนองหลวง สำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษากำแพงเพชร เขต 1 กรรมการ

48. นางพรนิภา ตอสกลุ โรงเรียนอนบุ าลชัยภูมิ สำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาชัยภมู ิ เขต 1 กรรมการ

49. นางบปุ ผา ล้วนเล็ก โรงเรียนบา้ นท่าฝา สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาแพร่ เขต 2 กรรมการ

50. นางจุฬาภรณ์ ดว้ งบาง โรงเรยี นบ้านคลองน้ำเยน็ สำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาสโุ ขทัย เขต 1 กรรมการ

51. นางกนษิ ฐา ลีถ้ าวร โรงเรียนวดั ด่านสำโรง สำนักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาสมุทรปราการ เขต 1 กรรมการ

52. นางสาวสำเนยี ง ศริ ิเกดิ โรงเรยี นวดั บางโฉลงใน สำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาสมุทรปราการ เขต 2 กรรมการ

53. นางเริงหทัย นกิ รมสขุ โรงเรยี นวัดไตรสามัคคี สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 กรรมการ

54. นายพะโยม ชณิ วงศ ์ โรงเรยี นโสตศกึ ษาจงั หวดั นครปฐม กรรมการ

55. นายชศู กั ดิ์ ชมู าลัยวงศ ์ โรงเรียนพจิ ิตรปัญญานกุ ูล กรรมการ

56. นายพิชิต ฤทธ์จิ รูญ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนคร กรรมการ


124

57. นางเจนจิรา เทศทมิ วทิ ยาลยั ราชสุดา มหาวิทยาลยั มหดิ ล กรรมการ

58. นางสาวเกยรู วงศก์ อ้ ม มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนดสุ ิต กรรมการ

59. นางสาวดสุ ิตา ทินมาลา มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสวนดสุ ติ กรรมการ

60. นางทิพย์วรรณ แจม่ ไพบลู ย ์ ศึกษานิเทศก์ สำนักงานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาฉะเชิงเทรา เขต 1 กรรมการ

61. นางสาวปนัดดา วงคจ์ นั ตา ศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 9 จงั หวดั ขอนแกน่ กรรมการ

62. นายทิวัตถ์ มณโี ชต ิ สำนกั บรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ กรรมการ

63. นางผอ่ งศรี สุรัตนเ์ รอื งชยั สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กรรมการ

64. นางสาวอนงค์ ผดงุ ชวี ิต สำนักบรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ กรรมการ

65. นางสริ กิ านต์ วรี ะพนั ธ ์ สำนักบริหารงานการศึกษาพเิ ศษ กรรมการ

66. นางสาวธาริสา เรอื นไทย สำนักบรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ กรรมการ

67. นางสาวสภุ าพร ทับทิม สำนกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพิเศษ กรรมการ

68. นางสาวสชุ าดา กังวานยศศกั ด ์ิ สำนักบรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ กรรมการ

69. นางสาวลดั ดา จลุ านพุ นั ธ์ สำนักบริหารงานการศกึ ษาพเิ ศษ กรรมการ

70. นางกมลจติ ร ดวงศรี สำนักบริหารงานการศกึ ษาพิเศษ กรรมการและเลขานุการ

71. นางยพุ นิ พนอำพน สำนกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพิเศษ กรรมการและผู้ชว่ ยเลขานกุ าร

72. นางชนาทพิ ย์ วฒั นวงศ ์ สำนักบริหารงานการศึกษาพเิ ศษ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

73. นางสาวเจษฎา กิตติสุนทร สำนักบรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ กรรมการและผชู้ ่วยเลขานกุ าร

74. นางสาวอญั ทิการ์ ศุภธรรม สำนกั บรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ กรรมการและผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร

75. นางสาวจริ ัฐยา แก้วปอ่ ง สำนักบรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ กรรมการและผู้ชว่ ยเลขานกุ าร

76. นางยวุ ดี กงั สดาล สำนกั บรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ กรรมการและผชู้ ว่ ยเลขานุการ

77. นางสาวสิรเิ พ็ญ เอีย่ มสกลุ สำนกั บริหารงานการศกึ ษาพเิ ศษ กรรมการและผู้ชว่ ยเลขานกุ าร






125



สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

เอกสารชดุ แนวทางพัฒนาการเรียนร
ู้

ชุดท่ี 4
สำหรับนักเรยี นทม่ี คี วามบกพรอ่ งทางการเรียนรู้


เลม่ ที่ 3

เทคนิค วธิ ีการและสื่อ

สำหรบั นักเรยี นท่ีมีความบกพรอ่ ง

ทางการเรยี นรดู้ า้ นคณติ ศาสตร


สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

เอกสารชดุ แนวทางการพฒั นาการเรยี นร
ู้
สำหรับนักเรยี นทีม่ ีความบกพรอ่ งทางการเรยี นร้









ชุดที่ 4

เทคนคิ วธิ กี ารและสื่อสำหรับ

นักเรยี นท่มี ีความบกพรอ่ งทางการเรียนรดู้ ้านคณติ ศาสตร


เลม่ ท่ี 3


























สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน

กระทรวงศึกษาธิการ

เร่ือง เทคนคิ วิธีการและส่อื สำหรบั นักเรียนทม่ี ีความบกพรอ่ งทางการเรียนรู

ด้านคณติ ศาสตร์ เล่มที่ 3

ผู้จัดพิมพ์ กล่มุ การจดั การศกึ ษาเรียนร่วม

สำนกั บริหารงานการศกึ ษาพเิ ศษ

สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน

กระทรวงศกึ ษาธิการ

จำนวนพมิ พ ์ 2,500 เลม่

ปีท่พี มิ พ ์ 2554

ISBN 978-616-202-382-8

คำนำ




เอกสารชุด “แนวทางพัฒนาการเรียนรู้ สำหรับนักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้”
น้ี ได้จัดทำและเผยแพร่คร้ังแรกในปี พ.ศ. 2551 โดยในครั้งน้ันได้จัดทำเป็นเอกสาร 5 เล่ม คือ
เล่มท่ี 1 ความรู้พ้ืนฐานและแนวทางพัฒนานักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ เล่มท่ี 2
การเตรียมความพร้อมสำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ เล่มที่ 3 เทคนิค วิธีการและ
สื่อ สำหรับนักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านการอ่าน เล่มท่ี 4 เทคนิค วิธีการและส่ือ
สำหรับนักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านการเขียน และเล่มที่ 5 เทคนิค วิธีการและส่ือ
สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ โดยท่ีผ่านมาพบว่าเอกสารชุด

ดังกล่าว เป็นประโยชน์กับครูผู้สอนและผู้ที่เก่ียวข้องในการใช้เป็นแนวทางในการพัฒนานักเรียนท่ีมี
ความบกพร่องทางการเรยี นรดู้ า้ นตา่ ง ๆ ได้เปน็ อย่างด

อย่างไรก็ตามเพ่ือให้เอกสารชุดนี้มีความเป็นปัจจุบันและมีความสมบูรณ์มากยิ่งข้ึน
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐานจึงเหน็ ควรปรบั ปรุงเอกสารดงั กล่าว โดยในการปรับปรงุ
ครั้งน้ี นอกจากความเหมาะสมของเทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทาง

การเรียนรู้แล้ว ยังได้คำนึงถึงความสะดวกของครูและผู้ท่ีเกี่ยวข้องในการนำไปใช้ด้วยเป็นสำคัญ

ด้วยเหตุน้ีจึงได้จัดพิมพ์เอกสารชุดน้ีออกเป็น 1 เล่มกับอีก 4 ชุด เพื่อให้เอกสารแต่ละเล่มมีขนาด
ไม่หนาจนเกินไป โดยประกอบด้วยเอกสารตา่ ง ๆ ดังน
้ี


เอกสาร ความรู้พืน้ ฐานและแนวทางพฒั นานักเรยี นทมี่ คี วามบกพร่องทางการเรียนรู้

เอกสารชดุ ท่ี 1 การเตรยี มความพร้อมสำหรบั นกั เรียนทม่ี ีความบกพร่องทางการเรียนรู้
ประกอบดว้ ยเอกสาร 2 เลม่

เอกสารชดุ ท่ี 2 เทคนคิ วธิ กี ารและสือ่ สำหรบั นักเรยี นท่มี คี วามบกพร่องทางการเรยี นรู้
ด้านการอ่าน ประกอบด้วยเอกสาร 6 เลม่

เอกสารชดุ ท่ี 3 เทคนคิ วธิ ีการและสือ่ สำหรับนกั เรยี นทม่ี ีความบกพร่องทางการเรยี นรู้
ด้านการเขียน ประกอบดว้ ยเอกสาร 3 เล่ม

เอกสารชดุ ท่ี 4 เทคนิค วธิ กี ารและสอ่ื สำหรับนกั เรยี นทม่ี คี วามบกพรอ่ งทางการเรียนรู้
ด้านคณิตศาสตร์ ประกอบดว้ ยเอกสาร 5 เลม่



สำหรับเอกสารน้ีเป็นเล่มที่ 3 ในเอกสารชุดท่ี 4 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่
มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ ซึ่งในเอกสารจะกล่าวถึงสภาพปัญหา แนวทาง
พัฒนา เทคนิควิธีการและส่ือการเรียนการสอน รวมท้ังกิจกรรมการจัดการเรียนรู้และแบบฝึก ท่ีจะนำ
ไปสู่การแก้ไขปัญหาที่เกิดกับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ ท้ังนี้ในการนำไปใช้ครูผู้สอน ผู้ปกครองและผู้ที่เก่ียวข้องอาจพิจาณาปรับเปล่ียนได้
ตามความเหมาะสม

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ขอขอบคุณผู้มีส่วนร่วมในการจัดทำเอกสาร
ชุดน้ี หวังเป็นอย่างย่ิงว่าเอกสารน้ีจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อครูผู้สอน ผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้อง

ทุกระดับซ่ึงจะได้นำไปประยุกต์ใช้ เพ่ือพัฒนานักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ได้อย่าง

เหมาะสม กล่าวคือนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้แต่ละคนจะได้รับการช่วยเหลือและ

ส่งเสริมให้ได้รับการพัฒนาเต็มศักยภาพซึ่งย่อมส่งผลโดยตรงต่อคุณภาพการศึกษาและคุณภาพชีวิต
ของผเู้ รียน








(นายชนิ ภทั ร ภูมริ ตั น)

เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน

สารบญั



ร่อื ง

หน้า


คำนำ

สารบญั

บทนำ

ความสำคัญในการชว่ ยเหลือนกั เรียนที่มีความบกพรอ่ งทางการเรียนรู้ดา้ นคณติ ศาสตร.์ ............. 1

ปัญหาทางการเรียนรู้ดา้ นคณิตศาสตร์ของนักเรยี นท่มี คี วามบกพร่องทางการเรียนร.ู้ .................. 2

จุดประสงคใ์ นการพัฒนาการเรียนรู้ นักเรียนทม่ี ีความบกพร่องทางการเรียนร
ู้
ดา้ นคณติ ศาสตร.์ ...................................................................................................... 3

ปัญหาและเทคนคิ การแกป้ ัญหา สำหรับนกั เรียนท่มี คี วามบกพร่องทางการเรียนรู

ดา้ นคณติ ศาสตร์....................................................................................................... 4

นวัตกรรมการจดั การเรียนรู้สำหรบั นักเรยี นที่มคี วามบกพร่องทางการเรียนร
ู้
ด้านคณิตศาสตร์....................................................................................................... 9

วิธีใช้เทคนิค วธิ ีการและสื่อการเรยี นการสอนสำหรบั นักเรยี นทมี่ คี วามบกพร่อง

ทางการเรียนร้ดู ้านคณติ ศาสตร์.................................................................................. 9

การวัดและประเมินผล.............................................................................................................. 11

การปรับเปล่ียนวิธกี ารเรียนการสอนคณติ ศาสตร์สำหรบั นักเรียนท่ีมคี วามบกพร่อง

ทางการเรยี นรดู้ ้านคณิตศาสตร์................................................................................. 11

สรปุ แนวทางการพฒั นานกั เรยี นสำหรบั นักเรยี นทมี่ ีความบกพรอ่ งทางการเรยี นรู้

ดา้ นคณติ ศาสตร์....................................................................................................... 12


กิจ
กรรมการจดั การเรียนรู้ สำหรับนกั เรียนท่ีมคี วามบกพรอ่ งทางการเรยี นร
ู้
ดา้ นคณิตศาสตร ์


ปญั หาท่ี 11. การคูณ............................................................................................................ 14

กจิ กรรมท่ี 1 นบั เพม่ิ ........................................................................................ 15

กจิ กรรมท่ี 2 ฝาแฝดออมทรพั ย.์ ....................................................................... 20

กจิ กรรมท่ี 3 มาคณู กนั เถอะ............................................................................. 24

กิจกรรมที่ 4 ผลไมท้ ี่ฉนั ชอบ............................................................................. 29

กจิ กรรมท่ี 5 คณู โดยตาราง.............................................................................. 33

กจิ กรรมที่ 6 คณู แบบ Touch math.................................................................. 43

กิจกรรมที่ 7 ฉันไปซอ้ื ของ................................................................................ 49

เรอื่
ง หน้า




ปญั หาท่ี 12. การหาร.............................................................................................................. 54


กจิ กรรมที่ 1 ความหมายของการหาร.................................................................. 55


กจิ กรรมที่ 2 ความสมั พนั ธก์ ารคูณกับการหาร..................................................... 61


กิจกรรมท่ี 3 โจทย์ปัญหาการหาร........................................................................ 66


กจิ กรรมท่ี 4 แผนท่ีความคดิ พิชติ การหาร............................................................ 72


กจิ กรรมท่ี 5 การหารเลขคณิตแบบตาราง............................................................ 77


ปัญหาที่ 13. การบวกลบเศษสว่ น........................................................................................... 84


กิจกรรมท ่ี 1 เศษส่วนสดใสดว้ ยสสี ัน.................................................................. 85


กิจกรรมที่ 2 มาบวกเศษส่วนกนั เถอะ.................................................................. 90


กจิ กรรมท่ี 3 ไม่เท่ากันกบ็ วกได.้ .......................................................................... 93


กจิ กรรมท่ี 4 ลบเศษสว่ นกนั เถอะ........................................................................ 98


กจิ กรรมที่ 5 ไมเ่ ท่ากนั ก็ลบได.้ ............................................................................ 100





บรรณานกุ รม......................................................................................................................... 103

ภาคผนวก............................................................................................................................. 105

การสอนด้วยวิธี Touch Math.............................................................................. 106


ตวั อยา่ งส่ือสำหรบั เดก็ ที่มีความบกพรอ่ งทางการเรยี นร้ดู ้านคณติ ศาสตร.์ ............. 118


คณะทำงาน............................................................................................................................ 129

บทนำ




ความสำคัญในการช่วยเหลือนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้
ดา้ นคณิตศาสตร์




ความบกพร่องทางการเรียนรู้ (Learning Disability : LD) หรือ แอลดี หมายถึง
ความบกพร่องอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือมากกว่าหน่ึงอย่างทางกระบวนการพ้ืนฐานทาง
จิตวิทยาที่เกี่ยวข้องกับความเข้าใจหรือการใช้ภาษา การพูด การเขียน ซึ่งอาจแสดงออก
ถึงความบกพร่องในความสามารถทางการฟัง การคิด การพูด การอ่าน การเขียน

การสะกดคำ หรือการคิดคำนวณทางคณิตศาสตร์ ความบกพร่องทางการเรียนรู้นับเป็น
ประเภทของความพิการหรือบกพร่องที่พบมากที่สุดในประชากรวัยเรียน โดยคิดเป็น
ประมาณร้อยละ 5 ของประชากรวัยเรียน และคิดเป็นประมาณร้อยละ 50 ของจำนวน
นักเรียนที่มีความพิการหรือบกพร่องทุกประเภทรวมกัน ดังน้ันในการจัดการเรียนการสอน
สำหรับเด็กกลุ่มนี้ ซึ่งเป็นเด็กท่ีมีสติปัญญาปกติ ถ้าหากครูผู้สอนไม่มีความเข้าใจเก่ียวกับ
ความบกพร่องและลักษณะของปัญหาที่เด็กประสบแล้ว ย่อมส่งผลให้การจัดการเรียนการ
สอนไม่ตอบสนองต่อการเรียนรู้และสภาพความบกพร่องท่ีต้องการแก้ไขหรือพัฒนา และ
ยังอาจส่งผลให้เด็กเหล่าน้ีขาดความเชื่อมั่นในตนเอง รวมท้ังอาจมีปัญหาพฤติกรรมหรือ
ปญั หาอน่ื ๆ ตามมาได ้

เน่อื งจากคณติ ศาสตร์เปน็ วิชาทเี่ ปน็ นามธรรม และประกอบดว้ ยสญั ลักษณ์ ดงั น้ัน
อาจยากตอ่ การเรียนรู้และเขา้ ใจ โดยเฉพาะสำหรับนกั เรียนที่มีความบกพรอ่ งทางการเรียน
รู้ด้านคณิตศาสตร์ อาจมีลักษณะความบกพร่องด้านดังกล่าวแตกต่างกันไป เช่น เด็กบาง
คนมีปัญหาในการรับรู้เกีย่ วกบั สัญลกั ษณซ์ ึ่งสง่ ผลให้มปี ญั หาในการเรยี นคณิตศาสตร์ หรอื
เด็กบางคนมีปัญหาในการอ่านก็อาจส่งผลในการทำโจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ เป็นต้น โดย
ความรนุ แรงของปญั หาในดา้ นการเรียนคณติ ศาสตรอ์ าจแตกต่างกนั ไปในแตล่ ะบคุ คล

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว จึงเห็น
ความสำคัญในการเสริมสร้างการเรียนรู้ของนักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนร ู้

โดยมุ่งหวังจะให้เกิดความเสมอภาคทางการศึกษาและให้เด็กเหล่านี้ได้เรียนรู้อย่างมี
ประสิทธิภาพเช่นเดียวกับเด็กท่ัวไป จึงได้จัดทำเอกสารวิธีการและสื่อการเรียนรู้สำหรับ
นักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ขึ้น เพ่ือเป็นแนวทางหน่ึงในการ
ใหค้ วามช่วยเหลือนกั เรียนท่มี ีความบกพรอ่ งทางการเรียนรทู้ างด้านคณติ ศาสตร





1

ปัญหาทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ของนักเรียนท่ีมีความบกพร่อง
ทางการเรยี นร
ู้



นักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ที่พบได้ในโรงเรียน
ท่วั ไป จะมีความยากลำบากในเรื่องตอ่ ไปนี

1. ความคิดรวบยอดพ้ืนฐานทางคณิตศาสตร์ เช่น เรื่องขนาด ความยาว

น้ำหนัก ทิศทาง ตำแหน่ง รูปเรขาคณิต เวลา พื้นสัมผัส สี ลักษณะเส้น การจำแนก

การเปรยี บเทียบ จัดหมวดหมู่ เรยี งลำดับ จำนวน เปน็ ตน้

2. ระบบจำนวน เช่น ค่าและความหมายของจำนวน ค่าประจำหลัก การกระจาย
จำนวนตามค่าประจำหลัก เป็นตน้

3. ข้ันตอนกระบวนการในการคิดคำนวณ เช่น ไม่สามารถจำและหรือเขียน
สญั ลกั ษณ์แทนการกระทำทางคณิตศาสตร์ ข้ันตอนในการบวก ลบ คณู หาร การทดและ
การกระจายจำนวนในการลบ เป็นตน้

4. การนำทักษะทางคณิตศาสตรไ์ ปใช้ในชีวติ ประจำวนั เชน่ การเรียงลำดับที่ของ
ขนาด จำนวน การบอกความสมั พันธข์ องหนว่ ยการวดั เปน็ ตน้

5. การนับจำนวน การจำแนกตัวเลข จำนวนที่คล้ายคลึงกัน การบอกค่าของ
ตวั เลขในจำนวนต่างๆ การอ่านจำนวนท่มี หี ลายหลัก

6. ภาษาคณติ ศาสตร์ เช่น การบอกสัญลักษณ์ การบวก การเปรยี บเทยี บ ขนาด
ตำแหนง่ ทิศทาง เวลา น้ำหนกั ส่วนสงู ความยาว เป็นตน้

7. ขอ้ เท็จจริงพ้ืนฐานของจำนวน เชน่ ไม่เขา้ ใจวา่ 7 น้อยกว่า 15 เป็นต้น

8. การบอกความเหมือนหรือความต่างกันของวัตถุสิ่งของ รูปภาพ จำนวนที

เท่ากนั หรอื ตา่ งกัน

9. การเรยี งลำดบั จำนวน จากมากไปหาน้อย หรือนอ้ ยไปหามาก

10. การเขียน ตวั เลขกลบั ทศิ ทาง เช่น 6-9, 3-8, 1-7, 12 -21

11. การรับรู้ทางการได้ยินตัวเลข โจทย์ และคำถามทางคณิตศาสตร์ ทำให้ตอบ

ไมต่ รงคำถาม

12. การเขียนหลงบรรทัด

13. การใช้เส้นจำนวน

14. การนบั เรยี งวนั ใน 1 สัปดาห์ เดือนใน 1 ปี

15. การนบั เพ่ิม การนบั ลดคร้ังละเท่าๆ กัน


2

16. การแกโ้ จทยป์ ญั หาคณติ ศาสตร์

17. การจำแนกรปู เรขาคณติ สองมติ ิและรปู เรขาคณิตสามมิต

18. การหาความสัมพันธ์ของแบบรูป เช่น แบบรูปท่ีเป็นรูปภาพ จำนวน สี
สญั ลกั ษณต์ ่างๆ เปน็ ตน้

19. การอา่ น แผนภูมิรูปภาพ แผนภูมิแทง่ กราฟ แผนผังและทศิ ทาง

20. การหาเหตุผลเชิงปริมาณ




จดุ ประสงคใ์ นการพัฒนาการเรียนรู้ นกั เรียนทมี่ คี วามบกพร่องทางการ
เรียนรู้ดา้ นคณิตศาสตร์




1. เพ่ือผู้ท่ีเก่ียวข้องมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับนักเรียนที่มีความบกพร่อง
ทางการเรียนรู้ดา้ นคณิตศาสตร์

2. เพ่ือให้ครูผู้สอนได้แนวทางในการแก้ปัญหานักเรียนที่มีความบกพร่องทางการ
เรยี นรู้ด้านคณิตศาสตร

3. เพื่อให้นักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ มีพัฒนาการ
ในการเรยี นได้อย่างมปี ระสิทธิภาพมากขึ้น





3

ปัญหาและเทคนิคการแก้ปัญหาสำหรับนักเรียนท่ีมีความบกพร่อง
ทางการเรียนร้ดู า้ นคณติ ศาสตร์





สาระ
ปญั หาทางการเรยี นรู้ด้านคณติ ศาสตร์
เทคนคิ การแกป้ ญั หา


1. จำนวนและ
1. การบอกคา่ และความหมายของ
กจิ กรรมท่ี 1 จำนวนอะไรเอ่ย

การดำเนินการ
จำนวนนบั
กิจกรรมที่ 2 หยิบ 1,2,3…

กิจกรรมท่ี 3 ฉันหยบิ ได ้

กจิ กรรมท่ี 4 ค่หู นอู ยูไ่ หน


2. การจำสญั ลักษณท์ างคณติ ศาสตร์
กจิ กรรม จำฉันได้ไหม


3. การจำแนกตัวเลขท่คี ลา้ ยกนั
กจิ กรรมท่ี หาคู่ใหห้ นหู น่อย


4. การนับเรยี งลำดบั จำนวน
กจิ กรรมที่ 1 ฉนั นบั ได้

กจิ กรรมที่ 2 เปรยี บเทยี บจำนวน

กิจกรรมท่ี 3 เรียงเลขต่อกนั


5. การจำและเขยี นตวั เลขแทนจำนวน
กจิ กรรมท่ี 1 เตมิ ใหเ้ ตม็

กจิ กรรมที่ 2 รอ่ งตัวเลข


6. การอา่ นและเขียนจำนวนที่มหี ลายหลกั
กจิ กรรมที่ 1 สมี หศั จรรย์

กจิ กรรมที่ 2 มดั ครบสิบ


7. การบวกจำนวนทม่ี ีหนึง่ หลกั และ
กจิ กรรมที่ 1 ใบไมน้ ำโชค

สองหลกั
กจิ กรรมท่ี 2 การบวกเลขโดยการ

สมั ผสั

กิจกรรมท่ี 3 บวกงา่ ยนิดเดยี ว

กิจกรรมที่ 4 ผลบวกน้อยกว่า 10

กิจกรรมที่ 5 ผลบวกน้อยกวา่ 20

กจิ กรรมท่ี 6 การบวกแนวต้ังไมม่

การทด

กจิ กรรมท่ี 7 การบวกจำนวน

สองหลักที่มีการทด

กิจกรรมที่ 8 การทดดว้ ยลูกคิด


4

สาระ
ปญั หาทางการเรยี นรู้ด้านคณิตศาสตร
์ เทคนิคการแก้ปัญหา



8. การเขยี นประโยคสัญลักษณแ์ ละหา
กิจกรรมท่ี 1 คำที่มคี วามหมาย

คำตอบจากโจทยป์ ญั หาการบวกง่ายๆ
กิจกรรมที่ 2 ปญั หาพาสนุก


9. การลบจำนวนทม่ี หี นึ่งหลกั และ
กจิ กรรมท่ี 1 เหลอื เท่าไร

สองหลัก
กิจกรรมที่ 2 ดาวกระจาย


10. การเขยี นประโยคสญั ลกั ษณ์และหา
กิจกรรมท่ี 1 เกมใบ้คำ

คำตอบจากโจทย์ปญั หาการลบง่ายๆ
กจิ กรรมท่ี 2 ลบหรรษาพาสนุก


11. การคูณ
กิจกรรมที่ 1 นบั เพ่ิม

กจิ กรรมที่ 2 ฝาแฝดออมทรัพย ์

กิจกรรมท่ี 3 มาคณู กนั เถอะ

กิจกรรมที่ 4 ผลไม้ทีฉ่ ันชอบ

กจิ กรรมท่ี 5 คณู โดยตาราง

กจิ กรรมท่ี 6 คณู แบบ Touch Math

กจิ กรรมที่ 7 ฉนั ไปซื้อของ


12. การหาร
กจิ กรรมที่ 1 ความหมายของ

การหาร

กิจกรรมท่ี 2 ความสัมพนั ธก์ ารคูณ

กับการหาร

กจิ กรรมที่ 3 โจทยป์ ัญหาการหาร

กจิ กรรมท่ี 4 แผนที่ความคิดพชิ ิต

การหาร

กจิ กรรมที่ 5 การหารเลขคณติ

แบบตาราง


13. การบวกลบเศษส่วน
กิจกรรมที่ 1 เศษส่วนสดใสดว้ ย

สสี นั

กจิ กรรมที่ 2 มาบวกเศษส่วน

กันเถอะ

กิจกรรมท่ี 3 ไม่เทา่ กนั ก็บวกได ้

กจิ กรรมท่ี 4 ลบเศษส่วนกนั เถอะ

กิจกรรมที่ 5 ไมเ่ ทา่ กนั ก็ลบได


5

สาระ
ปญั หาทางการเรยี นรูด้ า้ นคณิตศาสตร
์ เทคนคิ การแก้ปญั หา

2. การวดั

14. การเรียงลำดบั วันในสปั ดาห์ การเรยี ง
กิจกรรมท่ี 1 กิจกรรมวันใดมากอ่ น


ลำดับเดือนในรอบป
ี กจิ กรรมท่ี 2 เมื่อวาน วันน้ี พรุง่ น ี้


กิจกรรมท่ี 3 เดือนใดมากอ่ นหลัง


กจิ กรรมท่ี 4 เดือนทผี่ า่ นมา เดือนน ้ี


เดอื นต่อไป


กิจกรรมท่ี 5 เวลาน้เี วลาอะไร


15. การบอกตำแหนง่ และทิศทาง
กิจกรรมที่ 1 ฉันอยู่ทไ่ี หนเอย่


กจิ กรรมท่ี 2 เธออยูไ่ หน


กิจกรรมท่ี 3 โบนสั จัดหอ้ ง


กิจกรรมท่ี 4 ทางเดินมหศั จรรย ์


กจิ กรรมท่ี 5 ไปทางไหนจ๊ะ


กิจกรรมที่ 6 ทศิ เหนอื ทศิ ใต ้


ทิศไหนบอกมา


16. การเปรียบเทียบขนาดของวตั ถหุ รอื
กิจกรรมที่ 1 ส่ิงท่มี คี วามหมาย


สงิ่ ของและรปู ภาพ
กจิ กรรมที่ 2 ภาพนมี้ คี วามหมาย


กจิ กรรมท่ี 3 ต่อใหเ้ ป็น


กิจกรรมที่ 4 มาเปรียบเทียบกัน


นะจะ๊


17. การชงั่ และการนำไปใช้ในชีวติ ประจำวนั
กิจกรรมที่ 1 ตาช่งั วิเศษ


กิจกรรมท่ี 2 ตาชัง่ มหัศจรรย์


18. การตวงและการนำไปใช้ในชวี ิตประจำวนั
กจิ กรรมที่ 1 ตวงน้ำหรรษา


กิจกรรมที่ 2 ตวงน้ำมหาสนุก


19. การวัดและการนำไปใชใ้ นชีวิต
กิจกรรม วัดไดไ้ ม่ยาก


ประจำวนั


20. เงนิ และการนำไปใชใ้ นชวี ิตประจำวัน
กจิ กรรม คา่ ของเงิน


6

สาระ
ปญั หาทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์
เทคนิคการแก้ปญั หา


3. เรขาคณติ
21. รปู เรขาคณิตสองมติ
ิ กจิ กรรมที่ 1 แยกฉันให้ถูก


กจิ กรรมที่ 2 ลลี าหาพวก


กจิ กรรมที่ 3 สเ่ี หลยี่ มอยูท่ ไี่ หน


22. การเขยี นรูปเรขาคณติ สองมติ
ิ กิจกรรม 1 สีเ่ หลี่ยมเดนิ เลน่


กิจกรรม 2 สองมติ ิหลากหลาย


กจิ กรรม 3 สมมาตรไดอ้ ย่างไร


23. การบอกและจำแนกรูปเรขาคณติ
กิจกรรมที่ 1 ฉันคอื รปู เรขาคณติ


สามมติ
ิ สามมิตอิ ะไร


กิจกรรมท่ี 2 พริ ะมดิ ยอดแหลม


กจิ กรรมท่ี 3 สร้างรปู เรขาคณิต


กิจกรรมที่ 4 สว่ นสงู รูปเรขาคณิต


สามมติ ิอยู่ที่ไหน


4. พชี คณิต
24. ความคดิ รวบยอดเกย่ี วกับแบบรูป
กิจกรรม บอกได้เติมได


และความสัมพนั ธ์ของรูปด้านรูปรา่ ง


25. ความคดิ รวบยอดเก่ียวกับแบบรปู
กจิ กรรม ฉันอยู่ไหน


และความสัมพันธ์ของรูปดา้ นขนาด


26. ความคิดรวบยอดเก่ยี วกับแบบรปู
กจิ กรรม เติมสีสร้างสรรค์


และความสัมพันธข์ องรปู ดา้ นสี


27. ความคดิ รวบยอดเกยี่ วกับแบบรูป
กิจกรรม ตอ่ ไปเปน็ อะไรเอ่ย


และความสมั พันธ์ของรปู เรขาคณิต


28. ความคดิ รวบยอดเกี่ยวกบั แบบรปู
กิจกรรม บอกไดไ้ หม


และความสัมพนั ธข์ องจำนวน


5. การวเิ คราะห์
29. การเกบ็ รวบรวมและนำเสนอข้อมลู
กิจกรรม ตารางแสนกล


ข้อมลู และ


ความนา่ จะเป็น


7

สาระ
ปัญหาทางการเรยี นรู้ดา้ นคณิตศาสตร
์ เทคนิคการแกป้ ัญหา



30. การอา่ นแผนภมู
ิ กจิ กรรมท่ี 1 อา่ นสกั นิดคิด

สักหนอ่ ย

กิจกรรมที่ 2 อา่ นไดท้ ำได้

กจิ กรรมท่ี 3 วงกลมมหศั จรรย์

กิจกรรมท่ี 4 เกมชง่ั เหรียญ


31. การเขียนแผนภมู ิ
กจิ กรรมที่ 1 แผนภมู ิรูปภาพ

แสนสนกุ

กิจกรรมท่ี 2 แท่งสี่เหลี่ยมหรรษา


32. ความสมเหตสุ มผลในการคาดการณ์
กิจกรรมที่ 1 คาดเดาเร้าใจ

กิจกรรมท่ี 2 ตามลา่ หาความจรงิ


8

นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการ
เรียนร้ดู ้านคณิตศาสตร์




1. การใช้สมุดกราฟ เส้นตาราง จัดเป็นสดมภ์เพ่ือกำกับการเขียนตัวเลขให้ตรง
หลักอา่ นง่ายและสบั สนนอ้ ยลง

2. แบ่งกิจกรรมทางคณิตศาสตร์ออกเป็นส่วนๆ โดยการใช้สีตีกรอบหรือพับ
กระดาษเป็นส่วนๆ ใหน้ กั เรยี นทำกจิ กรรมในแต่ละสว่ นทพ่ี บั หรอื ตกี รอบให้เสรจ็ สมบรู ณ

3. เน้นข้อความหรือขีดเส้นใต้หรือการใช้สีเพ่ือแยกความแตกต่างการดำเนินการ
ทางคณิตศาสตร์ (+, -, x, ÷) รวมทั้งขอ้ ความที่บ่งชีถ้ ึงวิธีการดำเนนิ การโจทย์แต่ละขอ้

4. ให้นักเรียนได้ใช้อุปกรณ์ช่วยในการคิดคำนวณ เช่น ของจริง ของจำลอง

เสน้ จำนวน ลูกคดิ แผนภูมิ แผนภาพตา่ งๆ เปน็ ตน้

5. การสอนการใช้เครือ่ งคดิ คำนวณ (calculator)




วธิ ีใชเ้ ทคนิค วธิ กี ารและสื่อการเรียนการสอนสำหรับนกั เรยี นทีม่ คี วาม
บกพร่องทางการเรียนรดู้ ้านคณิตศาสตร์




1. ให้นักเรียนประเมินความสามารถของตนเองในการเรียนคณิตศาสตร์ นักเรียน
จะไดท้ ราบวา่ สิง่ ใดทำได้ สงิ่ ใดทำไมไ่ ด ้

2. สอนตอ่ จากสง่ิ ทน่ี กั เรียนรู้แล้ว

3. ใหน้ กั เรียนมสี ่วนร่วมในการกำหนดส่ิงทีจ่ ะเรยี น (ตัง้ จุดมุ่งหมายด้วย)

4. พยายามแสวงหาวิธีทำให้นักเรียนประสบผลสำเร็จและพึงระวังอย่าให้คณิตศาสตร์
ทำลายภาพพจน์ทม่ี ีตอ่ ตนเอง

5. ควรเน้นการเสริมวชิ าการให้นักเรยี นเปน็ รายบุคคลโดยเฉพาะอย่างยิง่ นักเรยี น
ทเ่ี รียนไมท่ นั เพอื่ น

6. แยกขัน้ ตอนการสอนออกเป็นข้ันยอ่ ยๆ หลายๆ ขน้ั ตอน (Task Analysis)

7. หากนักเรียนไม่ประสบความสำเร็จเมื่อครูสอนโดยใช้วิธีหน่ึง ครูควรเปล่ียน

วธิ สี อน เพราะวธิ เี ดิมอาจนำไปสู่ความล้มเหลว

8. ใช้กิจกรรมหลายๆ กิจกรรมในการสอนความคิดรวบยอด จะช่วยให้นักเรียน
สามารถสรปุ แนวคิดได้


9

9. ให้นักเรียนมีโอกาสได้เรียนรู้จากประสบการณ์หรือกิจกรรมตามความถนัด

แล้วจึงเพิ่มระดบั ความยากขน้ึ ตามระดบั ความสามารถ

10. เนน้ ย้ำ ซ้ำทวนกฎเกณฑ์ต่างๆ โดยใช้ภาษาของนักเรียน

11. ใช้ส่ิงท่ีเป็นรูปธรรมเป็นเครื่องนำทาง เมื่อนักเรียนเข้าใจความคิดรวบยอด

แล้วจึงเน้นกระบวนการคดิ ทเี่ ป็นนามธรรม

12. สอนใหน้ กั เรียนสามารถคาดคะเนหรอื ประเมนิ คำตอบ

13. การทำสัญญาร่วมกันระหวา่ งครกู ับนกั เรยี น

14. ออกคำสง่ั ใหง้ ่าย ชดั เจน เจาะจง

15. จบั ค่เู พอื่ นรูใ้ จให้ช่วยเหลือ

16. เนน้ ยำ้ ซ้ำ ทวน คำส่งั หลกั การ วธิ กี าร ขั้นตอน

17. เตรยี มงานท่ีหลากหลายใหน้ กั เรียนมโี อกาสได้เลือกปฏิบตั ิ

18. ก่อนลงมือปฏิบัติกิจกรรม ครูต้องแน่ใจว่า นักเรียนเข้าใจข้ันตอน วิธีการ
ภาระงาน มิฉะนัน้ การทำกิจกรรมอาจไม่มคี วามหมาย

19. ให้เวลาเรียนอย่างเพียงพอ นักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้อาจใช้
เวลานานจงึ จะเกิดทักษะ

20. แนะนำวิธกี ารสงั เกต จดจำ บนั ทึกขอ้ มูล

21. สำหรบั นกั เรยี นบางคนอาจใชเ้ คร่อื งคิดคำนวณในการคิดคำนวณได้

22. ฝกึ การแก้ปญั หาคณิตศาสตรโ์ ดยไม่ใช้เครอื่ งคดิ คำนวณ

23. จัดกลุ่มปัญหาท่ีคล้ายคลึงกันเข้าด้วยกัน แบ่งโจทย์ปัญหาออกเป็นส่วนๆ

ให้ง่ายตอ่ การทำความเข้าใจ

24. ถ้านักเรยี นมปี ัญหาในการคัดลอกงาน อาจใหเ้ พอ่ื นหรือครูช่วยคดั ลอกให้ก่อน
ทจี่ ะให้นกั เรยี นทำงานตามภาระงานน้นั ดว้ ยตนเอง

25. หลังจากอธิบายจากตัวอย่าง ให้นักเรียนทำงานท่ีคล้ายคลึงกับตัวอย่างก่อนที่
จะให้โจทย์พลิกแพลง

26. ให้นกั เรียนพบความสำเร็จและเสริมแรงใหน้ กั เรียนมีกำลังใจ

27. ใชก้ ระบวนการวิจยั และพัฒนา




10

การวัดและประเมนิ ผล




1. การสังเกตพฤตกิ รรม

2. การตรวจผลงานการปฏบิ ตั งิ าน

- ตรวจแบบฝึก

- บอก อธิบาย วธิ กี าร ข้ันตอน

- การทดสอบ

- การตอบคำถาม

- การตรวจสอบรายการ

- การสอบถามเพอื่ นและบุคคลท่เี ก่ยี วขอ้ ง






การปรับเปลี่ยนวิธีการเรียนการสอนคณิตศาสตร์สำหรับนักเรียนที่มี
ความบกพร่องทางการเรยี นรู้ดา้ นคณิตศาสตร




1. ปรับเปล่ยี นเน้อื หาสาระ หลกั สตู ร ตามความเหมาะสมกับนกั เรยี นเฉพาะบุคคล

2. ปรับเปลยี่ นวธิ ีการปฏิบัตขิ องครตู ่อนกั เรยี น

3. ปรับเปลี่ยนวิธีในการเรียนรู้ของนักเรียน เช่น เพิ่มเวลาในการทำแบบฝึกหัด
เปน็ ต้น

4. ปรับเปล่ียนวิธีการสอน เช่น จัดเนื้อหาหรือกิจกรรมออกเป็นขั้นตอนย่อยๆ
เป็นต้น

5. ให้นักเรียนมีทางเลือกในการทำงานหรือกิจกรรม เช่น ใช้เคร่ืองคิดคำนวณ
ตอบปากเปลา่ หรือการพมิ พแ์ ทนการเขียนตอบ

6. เปล่ียนระบบการเรียนการสอน เช่น สอนเป็นรายบุคคล ให้เพ่ือนช่วยเพ่ือน

ใชค้ อมพวิ เตอร์ช่วยสอน เป็นต้น

7. ใชก้ ระบวนการวจิ ัย และพัฒนามาแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ

8. เรียนรู้จากสื่อของจริง เช่น การจัดลำดับสิ่งของการเปรียบเทียบ ขนาด สี

รูปร่าง ระยะทาง เป็นตน้


11

9. การออกคำสัง่ ที่ชดั เจน เจาะจง ส้นั ไมซ่ ับซ้อน

10. การทำสัญญารว่ มกันระหวา่ งครกู บั นกั เรยี น

11. จับคู่เพ่อื น (Buddy) ให้แกน่ ักเรยี น




สรุปการนำเทคนิค วิธีการ ส่ือ ไปใช้กับนักเรียนที่มีความบกพร่อง
ทางการเรยี นรดู้ ้านคณติ ศาสตร




การที่ครูจะนำเทคนิค วิธีการ ส่ือ สำหรับนักเรียนท่ีบกพร่องทางการเรียนรู้ไป
พัฒนานกั เรยี นได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพครูควรปฏิบัติดงั น้ี

1. ศกึ ษาวเิ คราะห์ผู้เรียนจนรู้จุดเด่น จดุ ด้อย หรือส่ิงทผี่ ู้เรียนทำไมไ่ ด้

2. เลือกปัญหาท่ีเร่งด่วนจำเป็นมาแก้ไขก่อน จากนั้นจึงแก้ปัญหาท่ีมีความสำคัญ
ในลำดับตอ่ ๆ ไป ไม่ควรแก้ไขหลายๆ เรอ่ื งไปพรอ้ มกนั

3. ในการออกแบบกิจกรรม หรือจัดการเรียนรู้ครูควรได้จัดลำดับขั้นเน้ือหาท่ีจะ
สอนออกเป็นขัน้ ตอนยอ่ ยๆ (Task Analysis) ตามระดับพ้นื ฐานความสามารถของผ้เู รยี น

4. ระหว่างการพัฒนานักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ครูควรบันทึก
พฤติกรรมของผู้เรียนระหว่างการพัฒนาและนำไปใช้วางแผนการพัฒนาให้เหมาะสมกับ
นักเรียนให้เกิดประสิทธิภาพมากขึ้น

5. ครูควรเน้นการจัดประสบการณ์จากการลงมือปฏิบัติจริง โดยยกตัวอย่าง
ประกอบใหม้ ากและเนน้ ยำ้ ซำ้ ทวน สง่ิ ทีเ่ รียน

6. ครูควรทำความเข้าใจกับนักเรียนปกติ บุคคลรอบข้างของนักเรียนให้เข้าใจ

ข้อจำกัดของนักเรียนท่ีบกพร่องทางการเรียนรู้และนำบุคคลเหล่าน้ันเข้ามาร่วมเป็นผู้ช่วย
เหลือพฒั นานักเรยี นกลุ่มเป้าหมายตอ่ ไป

7. ครูควรให้เวลากับนักเรียนในการคิด หรือทำกิจกรรม โดยพิจารณานักเรียน

เป็นหลัก ไม่ควรเรง่ รบี ใจรอ้ นเกนิ ไป

8. ครูควรให้แรงเสริมเชิงบวกให้มากท่ีสุด การชมเชย ยกตัวอย่าง ให้รางวัลพิเศษ
จะช่วยใหน้ กั เรยี นมกี ำลงั ใจและมเี จตคตทิ ดี่ ี และรว่ มกิจกรรมอย่างมีความสขุ








12


Click to View FlipBook Version