The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by j.yosatorn, 2022-03-30 13:40:49

แบบฝึกทักษะนักเรียนเรียนร่วม

คณิตศาสตร์

แบบฝกึ ทักษะท่ี 6

ชื่อ.............................................................................................. ชั้น............ เลขท่ี...........
คาชีแ้ จง ใหน้ กั เรยี นเขยี นตวั เลขตามรอยประท่ีกาหนด

คาชีแ้ จง ให้นักเรยี นเขียนตวั เลขตามรอยประทก่ี าหนดให้

ได.้ ......................................................... คะแนน
สรปุ ⃝ ผา่ น ⃝ ไมผ่ า่ น

90

แบบฝึกทักษะที่ 7

ช่อื .............................................................................................. ชัน้ ............ เลขที.่ ..........
คาช้ีแจง ให้นกั เรียนเขียนตัวเลขตามรอยประที่กาหนด

ได้.......................................................... คะแนน
สรปุ ⃝ ผา่ น ⃝ ไมผ่ ่าน

91

แบบฝึกทักษะที่ 8

ช่อื .............................................................................................. ชัน้ ............ เลขที.่ ..........
คาช้ีแจง ให้นกั เรียนเขียนตัวเลขตามรอยประที่กาหนด

ได้.......................................................... คะแนน
สรปุ ⃝ ผ่าน ⃝ ไมผ่ ่าน

92

แบบฝึกทักษะที่ 9

ช่อื .............................................................................................. ชนั้ ............ เลขท.ี่ ..........
คาชแ้ี จง ให้นกั เรียนเขยี นตวั เลขตามรอยประท่กี าหนด

ได้ ..........................................................คะแนน
สรปุ ⃝ ผา่ น ⃝ ไม่ผา่ น

93

แบบฝึกทกั ษะที่ 10

ช่อื .............................................................................................. ชั้น............ เลขท่ี...........
คาชี้แจง ใหน้ กั เรยี นเขียนตวั เลขตามรอยประทก่ี าหนด

ได้.......................................................... คะแนน
สรปุ ⃝ ผา่ น ⃝ ไมผ่ ่าน

94

แบบฝึกทกั ษะที่ 11

ช่อื .................................................................................ช้นั ................เลขท่ี.............
คาชี้แจง จงเขยี นคา่ ของตัวเลขเทา่ กบั จานวนภาพท่ีกาหนด

ตวั ตเัวลเลขขไทยย ตตวั เเลลขขอาอรำบรกิ บิก

95

ตวั เลขไทย ตวั เลขอำรบิก

96

97

แผนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12
เรือ่ ง สีมหศั จรรย์

1. ปญั หา การอ่านและเขียนจานวนท่ีมีหลายหลัก

2. ระดับชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 1 – 3

3. กจิ กรรมที่ 1 สีมหัศจรรย์

4. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
นกั เรียนอา่ นจานวนหลักเลขได้ถกู ต้อง

5. สอดคล้องกับสาระที่ 1 จานวนและการดาเนนิ การ
มาตรฐานการเรียนร้ทู ี่ ค 1.1 เขา้ ใจถงึ ความหลากหลายของการแสดงจานวนและการใช้จานวน

ในชวี ิตจริง

6. วิธีดาเนินกิจกรรม
1. ครูนากรอบสีหลกั หนว่ ยมาวาง แล้วทาบตั รตัวเลขใส่ลงไปในกรอบสหี ลักหน่วยแล้วอ่านคา่

ของจานวนน้ันให้นักเรยี นฟัง
2. ครนู ากรอบสจี านวนหลักสิบ มาวางคู่กับกรอบสีหลกั หน่วยให้ถกู หลกั แล้วนาบัตรตวั เลข 2

มาวางเรียงกนั ใหเ้ ป็นจานวน 2 หลัก แลว้ ให้นกั เรียนอ่านจานวนก่อน ตอ่ จากน้นั ครูนาบัตรตวั เลขใส่ลงใน
กรอบสใี หถ้ ูกหลัก ใหน้ ักเรียนอ่านแล้วเปรยี บเทยี บการอ่านจานวนของตนเอง คร้งั ที่ 1 กับ ครั้งท่ี 2
วา่ ต่างกันหรือไม่ ถา้ นักเรียนอ่านผิด ครแู ก้โดยการใหน้ กั เรยี นสังเกตสตี ามหลักเลข

กรอบสแี ต่ละหลกั ใชส้ แี ตกต่างกนั เช่น หลักหน่วยใชส้ ีแดง หลักสบิ ใช้สีเหลือง
3. นักเรียนปฏิบัตกิ ิจกรรมจนคล่อง จนนกั เรยี นสามารถอา่ นจานวนไดถ้ กู ต้อง
4. เมือ่ นกั เรยี นอ่านจานวน 2 หลกั ไดถ้ ูกตอ้ งไม่สลบั หลกั ฝึกการอ่านจานวน 3 หลัก

โดยทากรอบสีหลักร้อยเพ่มิ กรอบสหี ลกั รอ้ ยต้องไม่ซ้ากบั กรอบสหี ลักหน่วย หลกั สิบแล้วดาเนนิ กจิ กรรม
ลักษณะเดยี วกัน

5. นักเรียนทาแบบฝกึ ทักษะ
98

7. สอ่ื /อปุ กรณ์
1. กรอบสี ค่าประจาหลกั เชน่ สเี หลืองแทนหลักหนว่ ย สีแดงแทนหลักสิบ เปน็ ตน้
2. บัตรตวั เลข ลักษณะหนึ่งบัตรมีตัวเลขหน่ึงตัว บตั รหนงึ่ ชดุ มีเลข 0 – 9

8. การวดั และประเมนิ ผล
วธิ กี าร
- ทาแบบฝึกทักษะ 2 ชุด
เคร่ืองมือ
- แบบบันทกึ คะแนน
เกณฑ์
- ทาแบบฝึกแต่ละชดุ ไดถ้ ูกต้อง รอ้ ยละ 80

99

แบบบันทึกคะแนน
แผนการจัดกจิ กรรมการเรียนร้ทู ่ี ....................... เร่อื ง.................................................

ช่ือ แบบฝึก ัทกษะ ่ที .... รวม รอ้ ยละ สรปุ
เลขท่ี แบบฝึกทักษะที่ .... ผา่ น ไม่ผา่ น
แบบฝึก ัทกษะ ่ีท ....
แบบฝึก ัทกษะที่ ....

คะแนนเต็ม

ลงชื่อ .......................................ผปู้ ระเมนิ
…………./………………………/…………………
เกณฑ์การประเมนิ ผา่ นตัง้ แตร่ ้อยละ 80

100

แบบฝึกทกั ษะที่ 1

ช่อื .................................................................................ช้ัน................เลขที่.............

คาช้ีแจง ให้นกั เรยี นเขยี นค่าประจาหลกั ใหถ้ กู ตอ้ ง

20 สิบ หนว่ ย

35 สิบ หน่วย

44 สิบ หน่วย

69 สบิ หน่วย

87 สิบ หน่วย

ได้.......................................................... คะแนน
สรุป ⃝ ผ่าน ⃝ ไมผ่ ่าน

101

แบบฝึกทักษะที่

ช่ือ.................................................................................ชน้ั ................เลขที่.............

คาช้แี จง ใหน้ ักเรียนเขยี นค่าประจาหลกั ให้ถูกต้อง

130 ร้อย สิบ หนว่ ย

258 ร้อย สบิ หนว่ ย

405 รอ้ ย สบิ หนว่ ย

675 ร้อย สบิ หน่วย

834 รอ้ ย สิบ หน่วย

ได้.......................................................... คะแนน
สรุป ⃝ ผา่ น ⃝ ไมผ่ า่ น

102

แผนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรูท้ ่ี 13
เรอ่ื ง มดั ครบสิบ

1. ปญั หา การอ่านและเขยี นจานวนที่มีหลายหลัก
2. ระดับชน้ั ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 1 – 3
3. กจิ กรรมที่ 2 มัดครบสิบ
4. จดุ ประสงค์การเรียนรู้

1. นกั เรียนบอกค่าตัวเลขในแตล่ ะหลกั ได้
2. นักเรยี นเขียนจานวนในรปู กระจายได้
5. สอดคล้องกับสาระท่ี 1 จานวนและการดาเนินการ
มาตรฐานการเรียนรทู้ ี่ ค 1.1 เขา้ ใจถึงความหลากหลายของการแสดงจานวนและ
การใช้จานวนในชีวิตจริง
6.วธิ ดี าเนนิ กิจกรรม
1. ให้นกั เรียนจบั คู่กับเพื่อนชว่ ยกนั นบั หลอดกาแฟทค่ี รูแจกให้
2. ให้นับหลอดกาแฟให้ครบสิบหลอดแล้วใช้ยางรดั ไว้ มัดละสบิ จนหมดหลอด สว่ นทีเ่ หลือ
ไมค่ รบสิบไม่ต้องมดั
3. ครูแนะนากระป๋องหลักเลข หลกั หน่วยและหลักสบิ
4. ให้นักเรยี นนาหลอดกาแฟสองมัดใสล่ งในกระปอ๋ งหลักสบิ ทั้งหมดมีค่า 20

5. นาหลอดกาแฟท่ีไมค่ รบสิบ คือ อีก 7 ใสล่ งในกระป๋องหลักหน่วย นั่นคือ หลอดจะมคี ่าเปน็ 7
6. ครูแนะนาการอ่านคา่ ของตัวเลขในกระป๋องท้ังสองกระป๋องมีค่าเท่ากบั 2 สิบกับ 7 หน่วย
อ่านวา่ 27 (ย่ีสบิ เจ็ด)

103

7. ให้นักเรียนแต่ละค่แู ข่งขันกันใสห่ ลอดกาแฟลงในกระป๋องหลกั เลข ตามจานวนทค่ี รูกาหนด
เชน่ 32 19 48 ฯลฯ จากนัน้ ครูสอนนกั เรยี นให้ร้จู ักตวั เลขในรปู ของการกระจาย เชน่ 32 = 30 + 2,
19 = 10 + 9, 48 = 40 + 8

8. ครูกาหนดตวั เลขใหน้ ักเรยี นแสดงคา่ ประจาหลักตามทีค่ รูกาหนด
8.1 แสดงคา่ โดยนาหลอดกาแฟใสล่ งในกระป๋องหลักเลข
8.2 เขยี นแสดงคา่ ในรปู กระจายลงในแบบบันทึก

9. นักเรียนปฏิบัติกจิ กรรมตาม ขอ้ 8 จนคล่อง
10. นักเรยี นทาแบบฝกึ ทักษะ

7. ส่ือ/อุปกรณ์
1. หลอดกาแฟ ยางรัด
2. กระปอ๋ งหลกั เลข (หลักสบิ หลกั หน่วย)
3. บัตรตัวเลขฮนิ ดูอารบิก
4. แบบฝึกทกั ษะ

8. การวดั และประเมินผล
8.1 วธิ กี าร
- การตอบปากเปล่า
- ทาแบบฝกึ ทักษะ
8.2 เครือ่ งมือ
- แบบบนั ทกึ คะแนนการตอบปากเปล่า
- แบบบันทกึ คะแนนการทาแบบฝึก
8.3 เกณฑ์
- ทากิจกรรมท้ัง 2 รายการได้รอ้ ยละ 80 ข้นึ ไป

104

แบบบันทึกคะแนน
แผนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ท่ี ........................ เรอื่ ง.................................................

ชื่อ แบบฝึก ัทกษะ ่ที .... รวม ร้อยละ สรปุ
เลขที่ แบบฝึกทักษะที่ .... ผา่ น ไม่ผ่าน
แบบฝึก ัทกษะ ่ีท ....
แบบฝึก ัทกษะที่ ....

คะแนนเต็ม

ลงช่อื .......................................ผูป้ ระเมิน
…………./………………………/…………………

105

แบบฝึกทกั ษะท่ี 1

ชื่อ.................................................................................ชัน้ ................เลขท่ี.............

คาชี้แจง ใหน้ กั เรยี นเขยี นคา่ ประจาหลักใหถ้ ูกต้อง

ตัวอยา่ ง หลกั ตวั เลข ค่าประจาหลัก

25 หน่วย 55
สิบ 2 20

หลกั ตวั เลข ค่าประจาหลกั

32 หนว่ ย
สบิ

หลัก ตัวเลข ค่าประจาหลัก

70 หนว่ ย
สบิ

หลัก ตัวเลข ค่าประจาหลัก

87 หน่วย
สบิ

106

หลกั ตัวเลข ค่าประจาหลกั

18 หน่วย
สบิ

หลกั ตัวเลข ค่าประจาหลัก

24 หน่วย
สิบ

107

แบบฝกึ ทักษะที่

ชื่อ.................................................................................ชนั้ ................เลขที่.............
คาช้ีแจง เขยี นจานวนในรปู กระจาย

ได.้ ......................................................... คะแนน
สรุป ⃝ ผา่ น ⃝ ไมผ่ ่าน

108

บรรณานกุ รม

กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). คมู่ อื การใช้แบบทดสอบความบกพร่องทางการเรียนรูด้ า้ น คณติ ศาสตร์.
กรุงเทพมหานคร: สานักพมิ พก์ ารศาสนา.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). ตวั ชวี้ ัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 . กรุงเทพมหานคร : ชมุ นุม
สหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2553.
กรุงเทพมหาคร : ชมุ นมุ สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

ดารณี ศกั ดศ์ิ ริ ิผล และคณะ. (2552). แบบฝกึ อ่านเขยี นเรียนรู้กบั ลุงฮูก ชดุ ที่ 5 การหาร และโจทย์
ปัญหา เล่ม 1 ความหมายของการหารและความสัมพันธ์กับการคูณ. กรุงเทพมหานคร: บริษัท
โกลบอลเอ็ด จากดั .

ดารณี ศักด์ิศริ ิผล และคณะ. (2552). แบบฝึกอา่ นเขยี นเรยี นรู้กบั ลงุ ฮกู ชุดท่ี 1 จานวนและตวั เลข
เล่ม 2 การเขยี นตวั เลขไทยแทนจานวน. กรุงเทพมหานคร: บรษิ ัทโกลบอลเอ็ด จากดั .

ดารณี ศกั ดิ์ศริ ิผล และคณะ. (2552). แบบฝกึ อ่านเขยี นเรียนรู้กับลงุ ฮูก ชุดท่ี 1 จานวนและตวั เลข
เลม่ 1 จานวนนับ 1 ถงึ 10 และ 0. กรงุ เทพมหานคร: บริษัทโกลบอลเอ็ด จากดั .

ผดงุ อารยะวิญญู. (2544). เด็กท่ีมปี ญั หาในการเรยี นรู.้ กรงุ เทพมหานคร: สานักพมิ พแ์ ว่นแก้ว.
ผดงุ อารยะวิญญู. (2546). วิธีสอนเด็กเรยี นยาก. กรุงเทพมหานคร: สานกั พิมพแ์ ว่นแก้ว.
ไพเราะ พมุ่ มั่น. (2537). กิจกรรมสง่ เสริมพฒั นาการด้านความคิดรวบยอด. กรุงเทพมหานคร:สานักพมิ พ์

แว่นแก้ว.
ไพเราะ พมุ่ มน่ั . (2546). กิจกรรมสง่ เสรมิ พัฒนาการดา้ นความคิดรวบยอด. กรงุ เทพมหานคร:สานกั พิมพ์

แวน่ แก้ว.
หน่วยศึกษานิเทศก.์ คู่มือครูแนวการจัดกจิ กรรมเพอ่ื ชว่ ยเหลอื เด็กท่มี ีปญั หาทางการเรยี นรู้

ดา้ นคณติ ศาสตร์. สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาเอกชน ISBN.97480051-3.
Bakken, J.P. Strategy Instruction Ideas for Students with Learning Disabilities. Illinois

State University.
Lerner, J. (2006). Learning Disabilities: Theories, Diagnosis, and Teaching Strategies.

Boston : Houghton Mifflin Company.

109

ภาคผนวก

110

การสอนด้วยวิธี Touch Math

วิธีทเี่ ก่ียวข้องกบั ประสาทสมั ผัส

Touch Math เปน็ การใช้ประสาทสัมผสั หลายดา้ นผสมผสานกัน เป็นการออกแบบเพ่ือการได้ยิน
การมองเหน็ และการสมั ผสั /การเรยี นรู้ผา่ นการเคลื่อนไหว นักเรียนไดเ้ ห็น พูด ได้ยนิ และสัมผสั โดยการ
สมั ผัสจุดบนตวั เลขตา่ งๆ จึงทาให้เขาเรียนรู้ไดด้ ีกวา่ เพราะเขาเรยี นรู้ผา่ นหลากหลายช่องทางการเรียนรู้

ใหน้ กั เรยี นได้เคลอ่ื นที่หรือเดิน

Touch Math ก็คอื การสัมผสั จดุ เมื่อได้สัมผัสจะทาให้เกิดการเรียนรู้ ไปในตัว การนับท่ีเป็น
รูปแบบการสัมผัสจุด เป็นสื่อการสอนท่ีใช้ได้ผลกับนักเรียนโดยมีหลักการเรียนรู้เป็นรูปธรรมเป็นภาพท่ี
ชัดเจนหรือเป็นสัญลักษณ์ ในการสัมผัสจุดนักเรียนสามารถใช้ดินสอเขียนตามลงไปบนกระดาษหรือการใช้
น้ิวมอื ลากตามจดุ ไดน้ ี่เป็นการเรียนรู้ทีส่ าคญั ของเด็กท่มี ีความบกพรอ่ งทางการเรียนรู้

การใช้สื่อการมองเพื่อการชว่ ยเหลอื
การสอนในระดับแรกด้วยวิธี Touch Math เป็นการสอนให้นักเรียนใช้การมองซึ่งเป็นการ

พัฒนาเร่ืองทิศทาง ซ้าย ขวา ลดการมองตัวเลขแบบกลับหัวกลับหาง ทาให้การคานวณง่ายข้ึนและ
ลดการคานวณ นักเรียนมีทัศนคติที่ดี มีความมั่นใจ มีความกระตือรือร้น ในการทาเลขที่มีความ
สลับซับซ้อนหรือยากข้ึนไป วิธีน้ี เหมาะสาหรับเด็กอายุ 6 ปี หรือเด็กที่มคี วามบกพร่องทางการเรยี นรู้ที่
อาจจะกลัวตัวเลขท่ีเต็มหน้ากระดาษแต่หน้ากระดาษของเราจะไม่ยุ่งเหยิง เพราะจะใช้ตัวพิมพ์ที่มีขนาด
ใหญ่ที่เหมาะสม และตัวเลขทเ่ี ป็นปัญหา การสอน Touch Math เป็นเร่ืองสนุกและไม่ซับซ้อน ทำให้
เด็กทำคณติ ศาสตรไ์ ด้

การใช้การสัมผัส/การนับท่ีเป็นรูปแบบนั้น เด็กเล็กๆ สามารถเรียนรู้จานวนได้จากจุดที่แสดง

111

ขั้นตอนในการใช้ตัวเลขโดยการใชก้ ารสัมผัส (Touch Math)

1. การฝึกประสาทสัมผัสระหว่างตากบั มือ โดยการใช้กิจกรรมระบายสี (color code)

ตวั อย่าง

ช่ือ....................................................................................................................................................
ขอ้ เสนอแนะให้นกั เรียนลงสีตามจุดทก่ี าหนดให้และถามนกั เรียนว่าเมอ่ื ลงสีตามจุดแล้วเป็น
รปู ภาพอะไร

สเี ขียว สสี ม้

112

2. เรียนรู้โดยนารูปภาพ เป็นตัวนาสายตา และให้นักเรียนเปรียบเทียบกับตัวเลขท่ีมีภาพนาสายตา

(Touchpoint Object) กับตัวเลขจุด (Touch Point) ท่ีอยู่ด้านล่างที่มีลักษณะเหมือนกัน เพ่ือให้นักเรียน
สามารถจาภาพสัญลักษณ์ตวั เลข แลว้ ค่อยถอดจุดออกจากตัวเลขเหลือเฉพาะสญั ลักษณ์ตัวเลขธรรมดา

ตัวอยา่ ง หนึ่ง สอง

113

3. การนับตวั เลขโดยการใชก้ ารสัมผัส (Touch Math) ต้งั แต่ 6 ถึง 9 อาจใชว้ งกลม รอบจดุ

แล้วใหน้ บั ซ้าอีกคร้งั หนง่ึ ทัง้ น้ีเพื่อป้องกันจานวนจดุ ทมี่ จี านวนมากเกินไป บนตวั เลขนนั้ ๆ

ตวั อยา่ ง

4. การนบั จดุ ของตวั เลข Touch Math

114

5. การเขียนตวั เลข

ตัวอยา่ ง

115

116

6. การรู้คา่ ตวั เลข

ตัวอยา่ ง จบั คูต่ วั เลขใหต้ รงกับรูปภาพ

117

7. การบวกโดยการนับภาพบนตัวเลข ของ Touch Math Object จะมภี าพบนตวั เลข เทา่
จานวนตวั เลข
ชื่อ....................................................................... ชน้ั ....................... เลขท่ี.....................
คาชแ้ี จง จงหาผลบวกให้ถกู ต้อง

รวม

118

ช่อื ....................................................................... ชั้น....................... เลขที่.....................
คาชแ้ี จง จงหาผลบวกให้ถูกต้อง

119

8. การบวกเลขด้วยตวั เลขจดุ

ตวั อยา่ ง 5 บวก 7 ในระยะแรกใหน้ ับจดุ ของเลข 5 มี 5 จุด จากนั้นนับตอ่ ท่ีเลข 7
โดยเริ่มจากจุดเร่มิ ตน้ คาตอบคือ 12

21
3
4
5
67
12
89
10 11

จากนัน้ เรมิ่ ถอดจดุ ในตวั บวกออกเพอื่ ให้เด็กคดิ เอง

สดุ ท้ายเร่ิมถอดจุดทั้งตัวต้ังและตัวบวกเป็นตวั เลข

120

9. การลบเลข

ตวั อย่าง 9 -7 ในระยะแรกให้นับจุดของตัวตง้ั คือเลข 9 จากตาแหน่งสดุ ท้าย โดย
หกั ออก 7 คาตอบคอื 2

จากนั้นเร่ิมถอดจดุ ในตวั ลบออกเพื่อใหเ้ ด็กคดิ เอง สดุ ท้ายเร่มิ ถอดจดุ ท้งั ตวั ต้ังและ ตวั ลบเป็น
ตวั เลข เหมือนกบั การบวก

10. การคณู โดยการนับจดุ บนตวั เลข

การคูณเป็นการบวกตัวต้ังซ้าก่ีเท่า ซึ่งนักเรียนอาจจะใช้กิจกรรมนับเม็ดลูกปัดมาก่อนเพื่อให้เข้าใจ
ความหมายของการคณู ตวั อย่าง 7x2 คือ 7 บวกตัวเอง 2 ครง้ั ดังนั้นเด็กจะนับตัวต้ัง 2 รอบ คาตอบคือ
14

จากนั้นเริ่มถอดจุดในตัวคูณออกเพ่ือให้เด็กคิดเอง สุดท้ายเร่ิมถอดจุดทั้งตัวตั้งและตัวคูณเป็นตัวเลข
เหมือนกับการบวก จากนั้นอาจจะนาตารางการคูณมาช่วยในการคิดอีกก็ได้ (หาข้อมูลเพิ่มเติมจาก
TouchMath.com)

121

ตวั อย่างสือ่ สาหรบั เดก็ ท่มี ีความบกพรอ่ งทางการเรยี นรู้

จานวนตัวเลข

ชุด Carry and Borrow Line

ชว่ ยสอนคา่ ของตวั เลขและการบวก ลบ จานวนทีม่ ีสองหลัก

เสน้ จานวน
จะช่วยให้เด็กจัดระบบตัวเลขอย่างเป็นแบบแผน

อุปกรณ์คณติ ศาสตร์แทง่ จานวน MeasureLine
เปน็ บรรทัด 12 หน่วยเพ่อื การคานวณ

อปุ กรณค์ ณิตศาสตรแ์ ทง่ จานวน เศษส่วน
เป็นแท่งหลักเศษส่วนเพื่อการคานวณ

122

เศษส่วน
ชดุ เส้นจานวนเศษส่วน FractionLine
อปุ กรณ์ที่สอนให้เด็กเข้าใจรปู เศษสว่ น
กระดาษเสน้ จานวน เศษส่วน

เพ่อื การคานวณ

เศษส่วนพซิ ซ่า

ลูกเตา๋ เศษส่วน

บัตรเศษส่วน

123

จานวนเงนิ
ชดุ Coin-U-Lator
อปุ กรณท์ ่ีบอกค่าของเหรียญเงนิ การนับเงิน
ร้านขายของจาลอง

ตารางแลกเงนิ

124

เวลา นาฬกิ าวงกลม
จะมี 2 ขนาดสอนเรื่องเวลา การบอกเวลา
บัตรเวลา

125

การคานวณ เครือ่ งคดิ เลขขนาดใหญ่
งา่ ยต่อการมอง การหาตัวเลข และการกดปุ่มคานวณ

ตาราง 100 ชอ่ งเกี่ยวกบั การบวก ลบ คูณ
ช่วยในการคานวณการบวก การลบ การคูณ

ตัวบล็อคตอ่ คานวณ

ลูกปดั แทง่ หลกั
ใชค้ านวณเลขตามหลัก

ไมค้ ิดคานวณการบวกลบคณู หาร

126

บตั รภาพประโยคสญั ลกั ษณ์
กระดาษหาคาตอบและแผ่นพลาสตกิ สี

127

กราฟ

พื้นที่
บลอ็ คพ้นื ที่ตาราง

128

รปู เรขาคณิต

กระดานสร้างรปู เรขาคณิต
แท่งต่อรูปทรงเรขาคณิต

129

การวดั ไมบ้ รรทัด
ร้อยละ

130

การช่งั น้าหนกั

131

คณะทางานปรับเอกสาร

เทคนิค วธิ ีการและส่ือ
สาหรับนกั เรยี นที่มคี วามบกพรอ่ งทางการเรียนรู้ดา้ นคณติ ศาสตร์

ท่ปี รึกษา เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน
รองเลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน
1. นายชินภทั ร ภูมิรตั น รองเลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน
2. นายสมเกียรติ ชอบผล รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน
3. นายเสนห่ ์ ขาวโต ขา้ ราชการบานาญ (อดีตผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ)
4. นายชยั พฤกษ์ เสรรี กั ษ์ ที่ปรึกษาดา้ นการศึกษาพเิ ศษและผดู้ ้อยโอกาส
5. นางเบญจา ชลธาร์นนท์ ผู้อานวยการสานกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพิเศษ
6. นางสจุ นิ ดา ผอ่ งอักษร
7. นายธรี ะ จันทรรัตน์

ผทู้ รงคุณวฒุ ิที่เปน็ ผตู้ รวจพิจารณาเอกสาร

1. นางสุจนิ ดา ผอ่ งอักษร ทีป่ รกึ ษาดา้ นการศกึ ษาพิเศษและผู้ดอ้ ยโอกาส

2. นางดารณี ศักด์ศิ ริ ผิ ล มหาวทิ ยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ ประสานมติ ร

3. นางเกตุมณี มากมี มหาวทิ ยาลัยราชภฎั เชยี งใหม่

ผกู้ าหนดกรอบในการปรบั เอกสาร

1. นางสุจินดา ผอ่ งอักษร ทีป่ รกึ ษาดา้ นการศึกษาพิเศษและผดู้ ้อยโอกาส

2. นางผ่องศรี สุรัตน์เรืองชยั สานักบรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ

3. นางสาวเจษฎา กิตติสุนทร สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ

132

คณะผปู้ รบั เอกสาร

1. นางเรืองรอง ศรแก้ว โรงเรยี นบ้านอโุ มงค์สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาสมุทรปราการเขต 1

2. นางเรไร ตาปนานนท์ โรงเรียนวดั พระยาปลา สงั กัดกรงุ เทพมหานคร

3. นางสายสวาท อรรถมานะ รองผ้อู านวยการศูนยก์ ารศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 9

4. นายยทุ ธนา ขาเกอื้ รองผ้อู านวยการศนู ยก์ ารศึกษาพเิ ศษ เขตการศกึ ษา 4

5. นางสาวพรรณา นรินทร ศูนยก์ ารศกึ ษาพิเศษ สว่ นกลาง

6. นางนภสั วรรณ อปุ ศรี โรงเรียนวัดสระแกว้ สานกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษานครราชสีมา เขต 1

7. นางกนิษฐา ลถี้ าวร โรงเรียนวดั ด่านสาโรง สานักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษา

สมุทรปราการ เขต 1

8. นางวรรณภิ า ภทั รวงศส์ นิ ธ์ุ โรงเรยี นชุมชนบ้านหนองบวั ระเหว

สานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาชยั ภูมิ เขต 3

9. นางจุฬาภรณ์ ดว้ งบาง โรงเรยี นบา้ นคลองนา้ เย็น สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาสุโขทัย เขต 1

10. นางกฤติยา กรนิ่ ใจ โรงเรยี นชมุ ชนบา้ นหลมุ รงั สานกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษากาญจนบรุ ี

เขต 2

11.นางอารรี ัตน์ สงวนทรัพย์ โรงเรียนบ้านโคกเจริญ สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาพังงา

12. นายสมชาย กาซอ โรงเรยี นชมุ ชนบ้านสะนงิ สานกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาปัตตานี เขต 1

13. น.ส.สุกญั ญา จวิ ฒั นาชวลติ กุล โรงเรียนบ้านกอแนะเหนือ

14. นางผ่องศรี สรุ ตั นเ์ รืองชัย สานกั บรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ

15. นางสาวเจษฎา กติ ตสิ นุ ทร สานักบรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ

133

เอกสารชุดที่ 4 เทคนิค วธิ ีการและสือ่
สาหรับนักเรยี นทมี่ ีความบกพรอ่ งทางการเรยี นร้ดู ้านคณิตศาสตร์

1. นางกานดา พุทธรกั ษา ศึกษานเิ ทศก์ ประธานกรรมการ
2. นายนิรนั ดร์ แสงกุหลาบ
3. นายวารสาร เมืองพวน สานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาชลบรุ ี เขต 1
4. นายประจิต พินธะ
5. นางเพญ็ พรรณ ยุวพัฒน ศึกษานเิ ทศก์ กรรมการ
6. นางสาวจตุพร ธนนั ไชย
7. นางลดั ดาวลั ย์ แย้มทอง สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 4
8. นางสาวอรอุมา ชสู วุ รรณ์
9. นางปัญญดา กนั จินะ ผู้อานวยการโรงเรยี น โรงเรียนพฒั นาคาแกว้ กรรมการ
10. นางฉวีวรรณ โยคิน
สานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาหนองคาย เขต 1

ครู โรงเรียนโพนศิลางามวทิ ยา กรรมการ

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาหนองคาย เขต 1

ครู โรงเรียนวัดขะจาว กรรมการ

สานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 1

ครู โรงเรียนวดั ขะจาว กรรมการ

สานักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาเชียงใหม่ เขต 1

ครู โรงเรยี นอนุบาลตรงั กรรมการ

สานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1

ครู โรงเรียนอนบุ าลตรัง กรรมการ

สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาตรงั เขต 1

ครู ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 8

จังหวัดเชียงใหม่ กรรมการ

ศึกษานิเทศก์ กรรมการและเลขานุการ

สานกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาหนองคาย เขต 1

บรรณาธกิ าร

นางสาวพรรณี คณุ ากรบดินทร์ นักวชิ าการศกึ ษาชานาญการ สานักบริหารงานการศกึ ษาพเิ ศษ
สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน

ภาพปก โรงเรียนบ้านท่าทุ่ม สานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษากาญจนบุรี เขต 1

นางทองพูน สรอ้ ยดอกจิก

134



สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ

เอกสารชดุ แนวทางพัฒนาการเรียนร
ู้

ชุดท่ี 4
สำหรับนักเรยี นทม่ี คี วามบกพรอ่ งทางการเรียนรู้


เลม่ ที่ 2

เทคนิค วธิ ีการและสื่อ

สำหรบั นักเรยี นท่ีมีความบกพรอ่ ง

ทางการเรยี นรดู้ า้ นคณติ ศาสตร


สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

เอกสารชดุ แนวทางการพฒั นาการเรยี นร
ู้
สำหรับนักเรยี นทีม่ ีความบกพรอ่ งทางการเรยี นร้









ชุดที่ 4

เทคนคิ วธิ กี ารและสื่อสำหรับ

นักเรยี นท่มี ีความบกพรอ่ งทางการเรียนรดู้ ้านคณติ ศาสตร


เลม่ ท่ี 2


























สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน

กระทรวงศึกษาธิการ

เร่ือง เทคนคิ วิธีการและส่อื สำหรบั นักเรียนทม่ี ีความบกพรอ่ งทางการเรียนรู

ด้านคณติ ศาสตร์ เล่มที่ 2

ผู้จัดพิมพ์ กล่มุ การจดั การศกึ ษาเรียนร่วม

สำนกั บริหารงานการศกึ ษาพเิ ศษ

สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน

กระทรวงศกึ ษาธิการ

จำนวนพมิ พ ์ 2,500 เลม่

ปีท่พี มิ พ ์ 2554

ISBN 978-616-202-381-1


Click to View FlipBook Version