The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by j.yosatorn, 2022-03-30 13:40:49

แบบฝึกทักษะนักเรียนเรียนร่วม

คณิตศาสตร์

2. ครูแจกบตั รชือ่ เดอื นใน 1 ปี ใหน้ ักเรยี น 1 ชุด แล้วครูติดบัตรชือ่ เดือน ใน 1 ปี
บนกระดาน



























3. ครูถามเดือนเกิดของนักเรียนทีละเดือน จนครบ 12 เดือน เช่น ใครเกิดเดือน
มกราคมบ้าง นักเรียนที่เกิดเดือนมกราคม นำป้ายช่ือของตนเองมาติดให้ตรงกับเดือน
มกราคม ถามจนครบ ท้ัง 12 เดือน ถา้ นกั เรียนจำเดอื นเกิดของตนเองไมไ่ ดค้ รูชว่ ยบอกให้
เพอ่ื ใหน้ ักเรียนได้ร่วมกิจกรรมทุกคน

4. รว่ มกันสรุปจำนวนนกั เรยี นทีเ่ กิดในแต่ละเดอื น เชน่





มก

ราคม

กุมภาพันธ์
มีนาคม
เมษายน
พฤษภาคม
มิถุนายน




ชอื่ น

กั เรยี น

ช่อื น
กั เรียน
ช่ือนกั เรียน
ชือ่ นักเรียน
ช่ือนกั เรียน
ช่อื นกั เรยี น
ชือ่ นักเรียน

ชอ่ื นกั เรยี น
ชือ่ นักเรียน


ชอ่ื น
กั เรียน




23

กรก

ฎาคม

สิงหาคม
กนั ยายน
ตุลาคม
พฤศจิกายน
ธันวาคม




ชือ่ น
ักเรียน
ชอ่ื นักเรียน
ช่อื นักเรียน
ชอ่ื นักเรยี น
ชื่อนักเรยี น
ชอื่ นักเรยี น



5. ให้นักเรียนนำบัตรเดอื นมาวางใหต้ รงกบั เดอื นทห่ี ายไป เชน่








มกราคม
มนี าคม









เมษายน










พฤศจิกายน











กันยายน






6. ให้นกั เรียนนำบัตรช่อื เดือน ท้งั 12 เดอื น มาเรียงลำดับจนครบ 12 เดือน

7. ครูนำแผนภมู เิ ดือนใน 1 ปี ไปจัดปา้ ยนิเทศใหน้ ักเรียนอา่ นทุกวนั




24

การวัดและประเมนิ ผล

1. สังเกตความถกู ตอ้ งของการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม เดอื นใดมากอ่ นมาหลงั

2. สังเกตความพอใจของนักเรียนในการรว่ มกจิ กรรม




เกณฑ์การประเมิน

นักเรยี นต้องปฏิบตั ไิ ดผ้ ่านทกุ รายการ ถอื วา่ ผา่ น




ขอ้ เสนอแนะ

1. บตั รคำช่อื เดือนทง้ั 12 เดอื น ควรใช้สีตา่ งกนั เพ่อื ประโยชนใ์ นการจำ

2. นกั เรียนควรไดร้ ว่ มกจิ กรรมทกุ คน

3 ครูควรบันทึกพฤติกรรมนักเรยี นระหวา่ งการปฏบิ ัตกิ จิ กรรม



แบบสังเกตการปฏบิ ัติกิจกรรม เดอื นใดมากอ่ น มาหลงั



ช่ือ.......................................................................................ชัน้ ...............เลขท.ี่ .............





ผลการประเมิน


ท่
ี รายการ
ผ่าน
ไม่ผ่าน
หมายเหตุ




1.
อ่านชื่อเดือนทัง้ 12 เดือนไดถ้ กู ตอ้ ง







2.
ติดบตั รชอื่ ได้ตรงกับเดอื นเกิดของตนเอง





3.




4.
ติดบตั รเดอื นตามท่กี ำหนดได้ถูกต้อง




5.

เรียงลำดับชอ่ื เดือนได้ถกู ตอ้ ง





นักเรียนมีความพอใจในการร่วมกิจกรรม









สรุป ผา่ น ไมผ่ า่ น









25

ปญั หา การเข้าใจความหมายของคำว่า เดือนทีผ่ า่ นมา เดอื นนี้ เดอื นตอ่ ไป



ระดับช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 – 3



กิจกรรมท่ี 4 เดอื นท่ผี ่านมา เดือนนี้ เดอื นต่อไป




จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

1. เพอื่ ให้นักเรยี นเข้าใจความหมายของคำวา่ เดอื นทีผ่ ่านมา เดอื นน้ี เดอื นต่อไป

2. นักเรียนมีความพอใจในการรว่ มกิจกรรม




สอ่ื /อปุ กรณ์

1. บัตรคำช่ือเดือนใน 1 ปี เดือนมกราคม ถึง เดือนธันวาคม ด้านหลังของบัตร

ติดแม่เหลก็ จำนวน 2 ชุด สำหรบั ครู 1 ชุด สำหรบั นักเรียน 1 ชุด






มกราคม
กมุ ภาพันธ์
มนี าคม
เมษายน









พฤษภาคม
มิถนุ ายน
กรกฎาคม
สิงหาคม







กนั ยายน


ตุลาคม
พฤศจิกายน
ธันวาคม



เดอื นนี
้ เดือนตอ่ ไป

2. บตั รคำ
ปัจจบุ ัน


อนาคต


เดอื นที่ผ่านมา




อดตี


26

วิธกี ารดำเนินกจิ กรรม

1. ครูแจกบัตรคำช่ือเดือนใน 1 ปี ใหน้ ักเรยี นคนละบัตร ใหน้ กั เรยี นช่วยกันนำมา
เรียงลำดบั เดือนใน 1 ปี ใหถ้ ูกต้อง




มกราคม


กุมภาพันธ์
มีนาคม
เมษายน







พฤษภาคม
มิถุนายน
กรกฎาคม
สงิ หาคม









กันยายน
ตลุ าคม
พฤศจกิ ายน
ธันวาคม




2. ครูคืนบัตรคำช่ือเดือนให้นักเรียน แล้วครูนำบัตรคำช่ือเดือนชุดท่ีอยู่กับครูมา
ติด ครั้งละ 1 เดือน ต่อจากนั้นให้นักเรียนนำบัตรช่ือเดือนมาต่อเดือนที่หายไป เพ่ือให้
นกั เรียนเข้าใจว่า เดอื นใดมากอ่ น มาหลัง เช่น






กมุ ภาพนั ธ์









สงิ หาคม









กันยายน




ใช้กจิ กรรมนซี้ ำ้ ๆ จนนักเรยี นเข้าใจวา่ เดอื นใดมาก่อนมาหลงั


27

3. ครูอธิบายความหมายของคำวา่ เดือนนี้ ซึ่งสัมพันธก์ บั คำว่า ปจั จุบัน เช่น ถา้
เดือนทเ่ี รยี นเปน็ เดือนพฤศจิกายน ครูกว็ างบตั รช่ือเดือน ให้ตรงกับบตั รคำวา่ ปจั จุบัน




ปจั จบุ นั



เดือนนี้






พฤศจิกายน



4. ครูอธิบายความหมายของคำว่า เดือนต่อไป ซ่ึงสัมพันธ์กับคำว่า อนาคต
หมายถึงเดือนท่ียังมาไม่ถึง จากกิจกรรมที่ 3 ครูถามต่อว่า เดือนน้ีเป็นเดือนพฤศจิกายน
เดือนต่อไป เปน็ เดอื นอะไร ครูวางบตั รคำ




ปจั จบุ ัน
อนาคต



เดือนนี
้ เดอื นต่อไป








พฤศจกิ ายน
ธันวาคม




5. ครูอธิบายความหมายของคำว่า เดือนท่ีผ่านมา ซึ่งสัมพันธ์กับคำว่า อดีต
หมายถึงเดือนที่ผ่านมาแล้ว จากกิจกรรมที่ 4 ครูถามต่อว่า เดือนน้ีเป็นเดือนพฤศจิกายน
เดือนที่ผ่านมาแลว้ เป็นเดือนอะไร ครูวางบัตรคำ




อดีต
ปัจจุบัน
อนาคต



เดือนน
ี้ เดือนตอ่ ไป


เดือนทีผ่ า่ นมา






ตลุ าคม
พฤศจิกายน
ธันวาคม


28

6. ให้นักเรียนเล่นเกม เดือนท่ีผ่านมา เดือนน้ี เดือนต่อไป โดยครูแจกบัตรคำ
เดือนท่ีผ่านมา เดือนนี้ เดือนต่อไป อดีต ปัจจุบัน อนาคต บัตรเดือนท้ัง 12 เดือน

ใหน้ ักเรยี น ครตู ิดบัตรชอื่ เดอื นใหต้ รงกบั เดือนที่เรยี น เชน่ เรยี นเดือนสงิ หาคม ลงบนกระดาน




















สิงหาคม





ใหน้ ักเรียนนำบตั รคำ มาติดใหถ้ กู ตอ้ ง



การวดั และประเมนิ ผล

1. สังเกตความถกู ต้องของการปฏบิ ตั ิกิจกรรม

2. สังเกตความพอใจของนกั เรียนในการรว่ มกจิ กรรม



เกณฑ์การประเมิน

นกั เรียนตอ้ งปฏิบัติได้ผา่ นทกุ รายการ ถอื วา่ ผา่ น



ขอ้ เสนอแนะ

1. บตั รคำที่มีความหมายเดยี วกัน ควรใช้สีเดยี วกนั เช่น อดีต สเี ดยี วกับ เดอื นที่
ผ่านมา - ปัจจุบัน สีเดียวกับ เดือนน้ี - อนาคต สีเดียวกับ เดือนต่อไป บัตรคำชื่อเดือน
ควรใชส้ ีต่างกัน เพื่อประโยชน์ในการจำ

2. นักเรียนควรได้ร่วมกจิ กรรมทกุ คน

3. ครคู วรบันทึกพฤตกิ รรมนกั เรยี นระหว่างการปฏิบัตกิ จิ กรรม


29

แบบสงั เกตการปฏิบัตกิ จิ กรรม เดือนที่ผา่ นมา เดือนน้ี เดอื นตอ่ ไป



ชอ่ื ........................................................................................ช้นั ...............เลขท.ี่ .............




ท ี


ผลการประเมนิ

รายการ
ผ่าน
ไมผ่ ่าน
หมายเหตุ


1.
เ รยี ง
ลำดับชือ่ เดือนไดถ้ ูกตอ้ ง





2.
เขา้ ใจว่าเดือนใดมาก่อนมาหลัง







3.
เขา้ ใจความหมายของคำวา่ เดือนทีผ่ ่านมา



เดอื นนี้ เดอื นต่อไป อดตี ปัจจุบัน อนาคต


4.
นักเรยี นมคี วามพอใจในการรว่ มกจิ กรรม









สรปุ ผา่ น ไม่ผา่ น



































30

ปัญหา การบอกเวลาเป็นชว่ั โมง และนาที



ระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 2 – 4



กิจกรรมท่ี 5 เวลานเ้ี วลาอะไร




จุดประสงค์การเรียนร
ู้
1. บอกเวลาเป็นชั่วโมงและนาทไี ด

2. เช่อื มโยงความรูค้ วามคิดเร่อื งเวลาในชวี ติ ประจำวนั ได้

3. นักเรียนมีความพอใจในการร่วมกิจกรรม




ส่อื / อุปกรณ

1. นาฬกิ าแบบเข็ม นาฬกิ าแบบตวั เลข นาฬกิ าจรงิ นาฬิกาจำลอง

2. ภาพนาฬิกา

3. บตั รเวลา




วธิ กี ารดำเนนิ กจิ กรรม

1. ครูให้นักเรียนออกมาเล่ากิจกรรมของตนเองเกี่ยวกับการทำกิจกรรมต่าง ๆ

ในวันท่ีผ่านมา คนละ 1 กิจกรรม โดยให้บอกว่า ทำกิจกรรมน้ันในช่วงเวลาใด เช่น

ต่ืนนอนตอนเช้า รับประทานอาหารกลางวันตอนเทีย่ ง กลบั บา้ นตอนเย็น เป็นต้น จากน้ัน
ครูสนทนากับนักเรียนว่า ถ้าต้องการทราบเวลาที่แน่นอนในการดำเนินกิจกรรมดังกล่าว
ควรทำอยา่ งไร (ดูนาฬกิ าบอกเวลา)

2. ครูนำนาฬิกาแบบเข็ม (เรือนท่ี 1) และนาฬิกาแบบตัวเลข (เรือนท่ี 2) มาให้
นักเรยี นสงั เกต โดยตงั้ เวลา 08.00 นาฬกิ า เท่ากัน ครูถามคำถามนกั เรยี นด้วย



รปู นาฬิกา 2 แบบ


08:00



- นาฬิกาท้ังสองแบบต่างกันอย่างไร (นาฬิกาเรือนท่ี 1 บอกเวลาโดยใช้เข็มช้ี
บอกเวลา เรอื นท่ี 2 บอกเวลา โดยใชต้ ัวเลข)


31

- นาฬกิ าทั้งสองแบบบอกเวลาตรงกันหรอื ไม่ (ตรงกัน)

- บอกเวลาเทา่ ไร (8 นาฬกิ า)

- เปน็ การบอกเวลากลางวัน หรอื กลางคืน (กลางวัน)

- ถ้าบอกเวลากลางคนื นาฬกิ า 2 เรอื น บอกเวลาเทา่ ไร (20 นาฬกิ า)

- ทราบได้อยา่ งไร (นบั ต่อจาก 12 ไปอกี 8 เป็น 20 นาฬกิ า)

- ครูและนักเรยี น รว่ มกนั ตรวจสอบความถูกต้องของคำตอบ

- ครูให้นักเรียนสังเกตนาฬิกาแบบเข็ม แลว้ ตอบคำถามดงั น
ี้
* นาฬิกาแบบเขม็ มีเข็มบอกเวลา กีเ่ ขม็ (2 เข็ม)

* เข็มนาฬิกาทั้ง 2 เขม็ เหมือนกัน หรือตา่ งกัน (ต่างกัน)

* ตา่ งกันอยา่ งไร (มคี วามยาวตา่ งกัน ขนาดเลก็ ใหญ่ตา่ ง เคลอ่ื นทตี่ า่ งกนั )

* เข็มสั้นชีท้ ตี่ วั เลขใด (เลข 8) เขม็ ยาวช้ที ต่ี วั เลขใด (12)

* นาฬิกาบอกเวลาเท่าไร (8 นาฬิกา หรอื 20 นาฬิกา)

* เข็มสน้ั บอกเวลาเปน็ ชว่ั โมง หรอื นาที (ช่ัวโมง)

* เข็มยาวบอกเวลาเปน็ ช่วั โมง หรือนาที (นาท)ี

* ถา้ เข็มสั้นที่ชเี้ ลข 8 เข็มยาวช้ีท่เี ลข 12 จะอ่านเวลาไดอ้ ย่างไร

(8 นาฬกิ า หรอื 20 นาฬกิ า)

* 8 นาฬกิ า เป็นการบอกเวลาชว่ งใด (กลางวัน)

- ครูและนกั เรียนร่วมกนั ตรวจสอบความถูกตอ้ ง

- ครูให้นกั เรียนสงั เกตนาฬกิ าแบบตัวเลข แล้วตอบคำถามดงั น
ี้
* มีตัวเลขกจ่ี ำนวน (2 จำนวน)

* มเี คร่อื งหมายอะไร (:)

* ตัวเลขทง้ั สองจำนวน บอกเวลาเหมอื นกันหรอื ไม่ (ไมเ่ หมอื นกัน)

* ตวั เลขหน้าเครอ่ื งหมาย : คือตัวเลขอะไร (เลข 8)

* ตวั เลขหลงั เคร่อื งหมาย : คือตัวเลขอะไร (เลข 00)

* นาฬกิ าบอกเวลาเทา่ ไร (8 นาฬกิ า หรอื 20 นาฬกิ า)

* ตัวเลขหนา้ เครอ่ื งหมาย : บอกเวลาเป็นชว่ั โมง หรือนาที (ชว่ั โมง)

* ตวั เลขหลังเครือ่ งหมาย : บอกเวลาเป็นช่วั โมง หรอื นาที (นาที)


32

ดังนนั้ ถา้ ตัวเลขหนา้ เครอ่ื งหมาย : คือ 08 และตวั เลขหลังเครื่องหมาย : คือ 00 จะ
อา่ นเวลา ได้อยา่ งไร (8 นาฬกิ า หรอื 20 นาฬกิ า)

ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องของคำตอบ โดยครูแนะนำเพ่ิมเติม
ว่านาฬิกาท่ีบอกเวลา โดยใช้ตัวเลขบางเรือนอาจบอกเวลาเป็น 20 . 00 น. ในช่วงเวลา
กลางคนื ทำให้เราสะดวกในการบอกเวลา

3. ครูติดภาพนาฬิกาบนกระดานดำ






06:00




เรอื นท่ี 1 เรือนท่ี 2



- ครถู าม คำถามนักเรยี น ดงั น้ ี

* นาฬกิ า 2 เรือนบอกเวลาตรงกันหรอื ไม่ (ตรงกัน)

* นาฬกิ าเรอื นที่ 1 เขม็ สน้ั ชท้ี ตี่ วั เลขใด (เลข 6) เขม็ ยาวชท้ี ต่ี วั เลขใด (เลข 12)
* นาฬกิ าเรือนท่ี 2 ตัวเลขหนา้ เคร่อื งหมาย : คือตวั เลขใด (เลข 06) ตัวเลข

หลังเคร่อื งหมาย : คอื ตัวเลขใด (เลข 00)

* ถ้าครูกำหนดให้นาฬิกา 2 เรือนน้ี บอกเวลากลางคืน จะตรงกับเวลา

เท่าไร (6 นาฬิกา)

* ถ้าครูกำหนดให้นาฬิกา 2 เรือนน้ี บอกเวลากลางวัน จะตรงกับเวลา

เท่าไร (18 นาฬกิ า)

- ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันตรวจสอบความถกู ตอ้ ง

- ครูดำเนินกิจกรรมลักษณะนี้อีก 2 ครั้ง โดยหมุนเข็มนาฬิกาจำลอง แล้วให้

ตัวแทนนักเรียน 4 คนออกมาเขียนคำอ่าน เวลากลางวัน และ เวลากลางคืน

จากหนา้ ปดั นาฬิกา ครั้งละ 1 คน








33

(กลางวัน 14 นาฬิกา 30 นาที หรือ 14.30 น.)

(กลางคนื 2 นาฬิกา 30 นาที หรอื 02.30 น.)









(กลางวนั 9 นาฬิกา 15 นาที หรือ 9.15 น.)

(กลางคนื 21 นาฬิกา 15 นาที หรือ 21.15 น.)



- ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง และร่วมกันแสดงความคิดเห็น
เก่ียวกับตำแหน่งของเข็มสั้น เมื่อเข็มยาวบอกเวลาเป็นนาที โดยครูนำนาฬิกาจริงมา

หมุนเข็มนาที ให้นกั เรยี นสงั เกตการณ์เคลื่อนที่ของเขม็ สั้น

4. แบ่งนักเรียนเป็น 5 กลุ่ม ฝึกทักษะการบอกเวลาเป็นช่ัวโมง และนาที

โดยแต่ละกลุ่มส่งตัวแทน กลุ่มคร้ังละ 1 คน มาร่วมกิจกรรม โดยครูหมุนเข็มแสดงเวลา

ให้ตัวแทนนักเรียนแข่งขันกันเขียนคำอ่านเวลา กลางวัน และกลางคืน กลุ่มท่ีตอบถูกได้

1 คะแนน ครูและนักเรยี นรว่ มกนั ตรวจสอบความถูกต้อง

5. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปว่า การอ่านเวลาต้องดูทั้งเข็มสั้นและเข็มยาว

โดยทเี่ ขม็ สัน้ เคล่ือนท่ีไปได้ 1 ชอ่ งใหญ่ เวลาผ่านไป 1 ชั่วโมง เข็มยาวเคลอ่ื นทีไ่ ป 1 ช่องใหญ่
เวลาผา่ นไป 5 นาที เขม็ ยาวเคลื่อนที่ได้ครบ 1 รอบ เวลา ผา่ นไป 60 นาที ซึ่งเข็มสน้ั จะ
เคลอ่ื นที่ได้ 1 ช่องใหญ่ ดงั นน้ั 1 ชั่วโมง เท่ากบั 60 นาที

6. ให้นักเรียนทำแบบฝึกทักษะการอ่านเวลาเป็นช่ัวโมง และนาที และทำแบบ

ฝึกทกั ษะการเปรยี บเทยี บการอา่ นเวลา ในเวลากลางวนั และกลางคืน



การวดั และประเมินผล

1. สงั เกตความถูกตอ้ งของการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม

2. ตรวจความถูกต้องของการทำแบบฝึกทักษะ

3. สังเกตความพอใจของนักเรยี นในการร่วมกิจกรรม




34

เกณฑก์ ารประเมนิ

นกั เรียนตอ้ งปฏิบัตกิ จิ กรรมได้ผา่ นทกุ รายการ ถือว่าผา่ น




ขอ้ เสนอแนะ

1. กิจกรรมการอ่านเวลาเป็นชั่วโมง และนาที ควรปฏิบัติกิจกรรมซ้ำ ๆ จน
นักเรียนมที ักษะ

2. นักเรียนควรได้รว่ มกจิ กรรมทุกคน

3. ครูควรบนั ทึกพฤติกรรมนกั เรยี นระหวา่ งการปฏิบตั กิ จิ กรรม





แบบสังเกตการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม เวลานี้เวลาอะไร



ช่อื ........................................................................................ชั้น...............เลขที.่ .............





ผลการประเมิน


ท่ี
รายการ
ผ่าน
ไมผ่ ่าน
หมายเหต



1.
ปฏิบตั กิ จิ กรรมการอ่านเวลาเปน็ ชั่วโมง





และนาท


2.
ทำแบบฝกึ ทกั ษะการอ่านเวลาเปน็ ช่ัวโมง







3.
ทำแบบฝึกทักษะเปรียบเทียบการอ่าน



เวลากลางวนั กลางคืน






4.
นักเรยี นมคี วามพอใจในการรว่ มกจิ กรรม




สรปุ ผ่าน ไมผ่ ่าน














35

แบ
บฝกึ ทกั ษะการดรู ปู นาฬิกา



ชือ่ ........................................................................................ชัน้ ...............เลขท.ี่ .............



คำชแ้ี จง ให้นกั เรียนดูรูปนาฬกิ าแลว้ เติมคำตอบลงในช่องวา่ ง





1.


เขม็ สน้ั ชต้ี ัวเลข .......................



เข็มยาวช้ตี ัวเลข ......................







2.
เข็มสั้นชี้ตัวเลข .......................





เขม็ ยาวชตี้ ัวเลข ......................





3.


เขม็ สนั้ ชตี้ ัวเลข .......................





เขม็ ยาวช้ีตัวเลข ......................








4.
เข็มสน้ั ช้ีตวั เลข .......................




เขม็ ยาวชี้ตัวเลข ......................







36


บบฝึกทักษะการบอกเวลา



ชื่อ........................................................................................ชั้น...............เลขท.ี่ .............



คำช้ีแจง ใหน้ ักเรยี นเตมิ คำตอบ ชว่ งเวลากลางวัน ใหถ้ กู ต้อง ลงในช่อง




1. 2.















เข็มส้นั ชท้ี เี่ ลข

เขม็ ย
าวชท้ี เ่ี ลข
เขม็ ส้นั ชท้ี ่เี ลข

เข็มยาวช้ีทเ่ี ลข


บอกเวลา นาฬกิ า
บอกเวลา นาฬกิ า



3. 4.
















เข็มส้ันชที้ เ่ี ลข
นาฬิกา
เข็มสน้ั ช้ที เี่ ลข
นาฬกิ า

เข็มยาวชที้ ่เี ลข
เขม็ ยาวชี้ทเี่ ลข

บอกเวลา บอกเวลา

37

แบ
บฝึกทักษะการบอกเวลา



ชอ่ื ........................................................................................ชั้น...............เลขท่.ี .............



คำชแ้ี จง ใหน้ ักเรียนวงกลมลอ้ มรอบตวั เลขทีบ่ อกเวลาตามรปู นาฬกิ า




เวลากลางวนั
เวลากลางคนื








38

ปญั หาที่ 15. ปัญหาการบอกตำแหน่งและทศิ ทาง




กจิ กรรมที่ 1 ฉนั อยทู่ ไี่ หนเอ่ย

กจิ กรรมท่ี 2 เธออยไู่ หน

กิจกรรมที่ 3 โบนัสจัดห้อง

กิจกรรมท่ี 4 ทางเดินมหัศจรรย์

กิจกรรมที่ 5 ไปทางไหนจ๊ะ


39

ปัญหา การบอกตำแหนง่ และทิศทาง



ระดบั ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 - 3



กิจกรรมท่ี 1 ฉนั อย่ทู ่ไี หนเอ่ย



จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้

1. เพ่ือให้นักเรียนสามารถบอกตำแหน่งต่างๆ ได้แก่ บน ใต้ ตรงกลาง ริม มุม
ระหว่าง

2. เพื่อฝึกการประสานสมั พันธ์ระหวา่ งกลา้ มเน้ือมือ สายตาและการฟัง

3. เพอ่ื ฝกึ การเคลือ่ นทีไ่ ปตามทิศทางทบ่ี อก

4. นกั เรยี นมีความพอใจในการร่วมกิจกรรม



สื่อ/อุปกรณ์

1. ต๊กุ ตา หนังสอื หรือส่ิงของตา่ ง ๆ ท่ีสามารถหยบิ เคล่ือนทไี่ ด

2. กล่องกระดาษมีฝาปดิ



วธิ ีการดำเนนิ กจิ กรรม

1. ครูนำกล่องกระดาษมาให้นักเรียนดู และอธิบายลักษณะของกล่อง เช่น มีฝา
เปิดได้ ปิดได้ มีฝากล่อง กน้ กลอ่ ง ดา้ นขา้ ง ดา้ นใน มีมมุ กม่ี ุม ฯลฯ









2. ครูนำส่ิงของมาวางบนกล่อง ใต้กล่อง ตรงกลาง บนฝากล่อง ข้างในกล่อง

มมุ กล่อง รมิ กลอ่ ง ระหว่างกลอ่ งกับฝากลอ่ งโดยขณะอธบิ ายต้องสาธิตประกอบใหน้ ักเรยี น
เขา้ ใจทลี ะคำส่ัง








40

3. หลงั จากน้ันให้นกั เรียนนำส่งิ ของวางตามคำสั่งของครู

4. ตัวแทนนักเรียนออกคำสั่งให้เพื่อน ๆ ปฏิบัติตาม เช่น วางบนกล่อง วางใน
กล่อง วางริมกลอ่ ง วางระหว่าง ใหน้ กั เรยี นไดร้ ว่ มกิจกรรมทุกคน




การวดั และประเมินผล


1. สังเกตความถกู ต้องในการปฏิบตั ิกจิ กรรมของนักเรยี น

2. สงั เกตความพอใจของนักเรยี นในการร่วมกิจกรรม



เกณฑ์การประเมนิ

นกั เรียนปฏบิ ัตกิ ิจกรรมไดผ้ า่ นทุกรายการ ถือว่าผา่ น



ขอ้ เสนอแนะ

1. ครูอาจปรับกิจกรรมใช้ของอย่างอื่นแทน และสอนตำแหน่งหลาย ๆ ตำแหน่ง
เพ่มิ เชน่ ซ้าย ขวา ข้างหน้า ข้างหลัง อยู่ขา้ ง ๆ อยูส่ งู อยู่ตำ่ โดยเฉพาะคำวา่ อย่รู ะหว่าง
โดยใช้การปฏบิ ัตหิ ลาย ๆ รปู แบบ

2. ควรจดั กจิ กรรมนี้อยา่ งตอ่ เนอ่ื งหลาย ๆ ครั้ง และครตู ้องออกคำสั่งใหช้ ัดเจนกับ
อุปกรณ์ชนิ้ น้นั ๆ

3. กิจกรรมน้ีใช้กระตุ้นนักเรียนท่ีมีปัญหา ในเร่ืองการมีความคิดรวบยอด ในเร่ือง
ตำแหน่ง การประสานสัมพันธ์ ระหว่างกล้ามเนื้อมือสายตา และการฟังตลอดจนบกพร่อง
เรื่องทิศทาง ส่วนในนักเรียนปกติทั่ว ๆ ไป กิจกรรมน้ีช่วยส่งเสริมให้นักเรียนมีความคิด
รวบยอดในเรื่องตำแหนง่ และเรื่องอ่ืน ๆ ดังกล่าวไดด้ ี

4. ครคู วรบันทกึ พฤตกิ รรมนักเรียนระหวา่ งการปฏิบัตกิ ิจกรรม


















41

แบบสังเกตการปฏิบัตกิ จิ กรรม ฉนั อยูท่ ่ไี หนเอ่ย



ชือ่ ........................................................................................ช้นั ...............เลขท่ี..............





ผลการปฏิบตั


ท่ี
รายการ
ผ่าน
ไม่ผ่าน
หมายเหต



1.
นำสงิ่ ของวางตรงกลางฝากลอ่ งดา้ นบน





2.
นำสิ่งของวางริมฝากล่องข้างซ้ายและข้าง




ขวา


3.
นำส่งิ ของวางขา้ งในกลอ่ ง









4.
นำสิง่ ของวางบนฝากล่อง




5.

นำสิ่งของวางมมุ ขา้ งซ้ายและข้างขวา




ของกลอ่ ง






6.
นกั เรยี นมคี วามพอใจในการรว่ มกิจกรรม







สรุป ผา่ น ไมผ่ า่ น




























42

ปัญหา การบอกตำแหนง่ และทิศทาง



ระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 1 - 3



กจิ กรรมท่ี 2 เธออยไู่ หน



จุดประสงค์การเรยี นรู

1. เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นสามารถบอกตำแหนง่ บน ใต้ มุม ระหวา่ ง ตรงกลางไดถ้ ูกต้อง

2. เพ่ือฝกึ การประสานสัมพันธ์ระหวา่ งกล้ามเน้ือมอื สายตาและการฟัง

3. นักเรียนมคี วามพอใจในการร่วมกจิ กรรม



สือ่ /อปุ กรณ

1. ดินสอ ยางลบ ไมบ้ รรทัด หรือของใกล้ตวั ที่หาไดง้ ่าย

2. เพลง “อยู่ไหนเอ่ย”



วธิ ีการดำเนนิ กิจกรรม

1. ครูสอนนักเรียนร้องเพลงอยู่ไหนเอ่ย โดยพูดให้นักเรียนพูดตามทีละวรรค และ
เมอื่ นักเรียนพูดได้คล่องกฝ็ ึกให้ร้องเพลงทำนองเพลงนวิ้ โป้งอยู่ไหน

2. ครูวางอุปกรณ์ต่าง ๆ ตามโต๊ะ เช่น วางดินสอไว้บนโต๊ะ วางยางลบไว้ใต้โต๊ะ

วางไมบ้ รรทดั ไว้มมุ โต๊ะ เป็นตน้

3. เมื่อนักเรียนร้องเพลง ครูจะชี้ไปที่ของแต่ละช้ิน เช่น ช้ีท่ีไม้บรรทัดนักเรียนจะ
ต้องร้องเพลงตามตำแหนง่ ท่ไี มบ้ รรทดั อยู่




เพลงอยูไ่ หนเอ่ย


ทำนองเพลงน้วิ โปง้ อยไู่ หน




(ดนิ สอ) อยไู่ หน (ซ้ำ) อยู่ (บน) โต๊ะ (ซำ้ )


สุขสบายดีหรือไร (ซำ้ ) ไปก่อนละ สวัสดี (ซ้ำ)




ไปก่อนละ สวัสดี สวสั ดี




(ดินสอ) เปลย่ี นเปน็ ยางลบ ไมบ้ รรทดั ฯลฯ

(บน) เปลีย่ นเป็น ใต้ มมุ ระหว่าง ตรงกลาง ฯลฯ


43

การวัดและประเมินผล

1. สังเกตความถูกตอ้ งของการปฏบิ ตั กิ ิจกรรม

2. สงั เกตความพอใจของนกั เรยี นในการร่วมกจิ กรรม




เกณฑ์การประเมนิ

นักเรียนปฏิบัติกจิ กรรมได้ผ่านทกุ กิจกรรม ถือว่าผา่ น




ขอ้ เสนอแนะ

1. ครูอาจเปล่ียนตำแหน่งสิ่งของไปเร่ือย ๆ ให้นักเรียนตอบหรือให้เป็นผู้เปล่ียน
ตำแหน่งให้เพอื่ น ๆ ตอบ

2. กิจกรรมนี้ช่วยกระตุ้นเด็กที่มีปัญหาในเรื่องการมีความคิดรวบยอดในเร่ืองตำแหน่ง
การประสานสัมพันธ์ระหว่างสายตา และการฟัง ส่วนนักเรียนปกติท่ัว ๆ ไป กิจกรรมน้ีช่วย

ส่งเสริมใหน้ ักเรียนมีความคิดรวบยอดในเรื่องตำแหน่ง และเรอ่ื งอืน่ ๆ ได้ดี

3. ครูควรบนั ทึกพฤติกรรมนักเรียนระหว่างการปฏบิ ตั กิ ิจกรรม





แบบสงั เกตการปฏิบัติกจิ กรรม เธออยไู่ หน



ชอื่ ........................................................................................ชัน้ ...............เลขที.่ .............





ผลการปฏิบัต


ท่ี
รายการ
ผ่าน
ไมผ่ ่าน
หมายเหต



1.
บอกตำแหนง่ บน ใต้





2.
บอกตำแหนง่ มมุ ระหว่าง










3.
นกั เรียนมีความพอใจในการรว่ มกิจกรรม




สรุป ผ่าน ไม่ผา่ น









44

ปัญหา การบอกตำแหนง่ และทศิ ทาง



ระดบั ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 1 - 3



กจิ กรรมที่ 3 โบนสั จดั ห้อง


จดุ ประสงค์การเรยี นร ู้

1. เพื่อใหน้ กั เรยี นสามารถบอกตำแหนง่ ต่าง ๆ ของสง่ิ ของได

2. เพื่อฝกึ การประสานสมั พันธร์ ะหว่างสายตากับการฟัง

3. นักเรยี นมีความพอใจในการร่วมกจิ กรรม



สอ่ื /อปุ กรณ์

1. ภาพการจดั ห้องของโบนสั

2. คำคล้องจองประกอบภาพ



วิธกี ารดำเนนิ กิจกรรม

1. ครูให้นกั เรยี นดภู าพการจัดห้องของโบนัส

2. ครพู ูดคำคลอ้ งจองให้นักเรียนพูดตามพร้อมชี้ภาพประกอบ

3. ครูพูดคำคลอ้ งจอง แล้วให้นกั เรยี นแต่ละคนมาชี้ภาพประกอบตามคำคลอ้ งจอง
แตล่ ะวรรค




โบนสั จดั หอ้ ง




อ.กลั ยา ผิวเกลีย้ ง


โบนสั ช่ือเด็ก ตวั เล็กกว่าใคร

มหี ้องนอนใหญ ่ มีของใช้หลายอย่าง


จดั วางนา่ ด ู ตง้ั ต้มู ุมหอ้ ง

ชน้ั วางของอยหู่ า่ ง ระหว่างเตยี งกบั ตู้


ประตูอยตู่ รงกลาง หนา้ ต่างทั้งสอง


มองเห็นแจกัน มนั อยบู่ นโตะ๊


ฉนั รอ้ งไหโ้ อะ๊ เห็นกรรไกร อย่ใู ต้ม้านงั่



กะละมงั อย่ขู า้ งฝา เดินไปมาเขา้ ออก

อยู่ขา้ งนอกอยู่ขา้ งใน ดวงไฟอยขู่ ้างหนา้

ตะกร้าอยูข่ ้างหลัง จงฟังใหด้

ห้องโบนสั นี ้ สวยดจี ริงเอย


45

การวัดและประเมินผล

1. สังเกตความถูกตอ้ งของการชส้ี ่ิงของทีอ่ ยูต่ ำแหนง่ ตา่ ง ๆ

2. ความพอใจของนกั เรยี นในการร่วมกิจกรรม



เกณฑก์ ารประเมิน

นกั เรียนปฏบิ ัตกิ จิ กรรมได้ผา่ นถูกต้องทกุ กจิ กรรม ถือวา่ ผา่ น



ขอ้ เสนอแนะ

1. ครอู าจใหน้ ักเรียนจดั ห้องโดยการวาดภาพสงิ่ ของลงในภาพตามคำคลอ้ งจอง

2. กิจกรรมนี้ช่วยกระตุ้นนักเรียนที่มีปัญหาด้านการมีความคิดรวบยอดเร่ืองการ
วางตำแหน่ง การประสานสัมพันธ์ระหว่างสายตา และความคิดรวบยอดด้านการวาง
ตำแหนง่ ไดด้ ี

3. ครูควรบนั ทกึ พฤติกรรมนักเรยี นระหวา่ งการปฏบิ ัติกิจกรรม




































46

แบบสังเกตการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม โบนัสจดั หอ้ ง








ชอ่ื 1ท...่ี

.....ค...ว..า.ม...ส..า..ม..า..ร..ถ..ใ..น.ร.ก..าา..ยร..กช..้สีา..ง่ิ.ร.ข.
..อ..ง.ใ..น..ห...้อ..ง..
..........
....ผผ..ล.า่ ..นก..
า..ร..ป..ช
รไนั้ะมเ..มผ่ ..ิน่า..น.
..
....
..เหลขมทาี.่ย..เ..ห..ต...ุ
....



- ตู







- ชั้นวางของ







- ประตู






- หนา้ ต่าง



- แจกัน







- โตะ๊






- กรรไกร






- ม้านง่ั






- กะละมงั












- ดวงไฟ







- ตะกรา้






2.
ความพอใจในการรว่ มกจิ กรรม












สรุป ผา่ น ไม่ผ่าน












47

ภา
พสำหรับนักเรยี น

















48

ปญั หา การบอกตำแหนง่ และทศิ ทาง



ระดบั ชั้น ประถมศึกษาปที ่ี 1- 3



กิจกรรมที่ 4 ทางเดินมหัศจรรย์



จุดประสงค์การเรียนร
ู้
1. เพื่อใหน้ ักเรยี นสามารถเดนิ ไปตามทศิ ทางและหยุดตามตำแหน่งท่ีกำหนดได

2. เพ่ือกระตุ้นการทำงานของการประสานสายตาและการทรงตวั

3. นกั เรยี นมีความพอใจในการรว่ มกิจกรรม



สื่อ/อุปกรณ

1. เชอื ก

2. เพลง



วิธกี ารดำเนนิ กิจกรรม

1. ครูวางเชอื กลงบนพืน้ ให้เปน็ รูปทรงเรขาคณติ ตวั พยัญชนะ ตวั เลข หรืออ่นื ๆ

เช่น ก อ ฉ 8 9

2. ครูสาธิตการเดนิ ไปตามเส้นเชอื กทท่ี ำเป็นรปู ตามขอ้ 1 ดว้ ยเทา้ เปล่าโดยกางมือ
ทัง้ 2 ขา้ งออกใหเ้ สมอไหลแ่ ลว้ พูดขณะเดนิ เดนิ ไปทางซา้ ย หยดุ ทีม่ มุ รปู แลว้ เดินตอ่ ไปมา
หยดุ ทจ่ี ุดเร่มิ ต้น ใหน้ กั เรียนทำตาม เมอื่ นกั เรยี นเดนิ ไดค้ ลอ่ งแลว้ ใหน้ กั เรียน เอามอื ไวข้ ้าง
ลำตัวทง้ั สองขา้ งในขณะเดิน

3. ในขณะที่นักเรียนเดิน ครูอาจเปิดเทปเพลงท่ีเหมาะสมประกอบการบอกตำแหน่ง
ทิศทางทคี่ รกู ำหนดให้เดนิ หรือหยดุ หรือให้นักเรยี นกำหนดกนั เอง



การวดั และประเมินผล

1. สงั เกตการทรงตัวเดินไปตามทศิ ทางและหยดุ ตรงตามตำแหน่งทกี่ ำหนด

2. ความพอใจของนักเรยี นในการรว่ มกจิ กรรม






49

เกณฑก์ ารประเมนิ

นักเรียนปฏบิ ัติได้ผ่านทุกรายการ ถือว่าผา่ น




ขอ้ เสนอแนะ

1. เทปเพลงที่ใช้ควรเป็นทำนองดนตรีที่นุ่มนวล เพ่ือให้นักเรียนผ่อนคลายความ
ตงึ เครยี ด

2. การเดินด้วยเท้าเปล่าจะช่วยให้นักเรียนรับรู้การสัมผัสบริเวณฝ่าเท้ากับผิวของ
เสน้ เชอื กเปน็ การกระตนุ้ ประสาทสัมผสั ได้ แตถ่ ้านกั เรียนเดินแลว้ เจบ็ เทา้ กใ็ ห้ใส่ถงุ เทา้ ได

3. กิจกรรมน้ีใช้สำหรับช่วยกระตุ้นนักเรียนที่มีปัญหาด้านสายตา การทรงตัว
ทิศทาง และประสาทสัมผัสทางกาย หรือ ช่วยเตรียมความพร้อมเร่ืองการเรียนรู้เกี่ยวกับ
ตำแหน่งให้แก่นกั เรยี นทั่ว ๆ ไป

4. ครูควรบันทึกพฤติกรรมนักเรียนระหว่างการปฏิบัตกิ ิจกรรม



แบบสงั เกตการปฏิบัติกิจกรรม เธออยไู่ หน



ชือ่ ........................................................................................ช้ัน...............เลขท่.ี .............




ท ี่

ผลการปฏิบัติ

รายการ
ผ่าน
ไม่ผ่าน
หมายเหตุ



1.
การทรงตัวเดนิ ไปตามทศิ ทางและ





หยุดตรงตามตำแหนง่ ทีก่ ำหนด


2.
นกั เรยี นมีความพอใจในการร่วมกจิ กรรม








สรุป ผา่ น ไมผ่ ่าน















50

ปญั หา การบอกตำแหนง่ และทศิ ทาง



ระดบั ช้ัน ประถมศึกษาปที ี่ 1 - 3



กิจกรรมท่ี 5 ไปทางไหนจะ๊



จุดประสงค์การเรียนรู้

1. เพือ่ ใหน้ ักเรยี นมคี วามคดิ รวบยอดในเร่ืองทศิ ทางและตำแหน่ง

2. เพ่ือฝึกให้นักเรียนสามารถเดิน ซ้าย - ขวา หน้า - หลัง ข้ึน - ลง ไปหน้า -

ถอยหลงั ได้

3. เพ่อื ฝึกให้นักเรียนสามารถลากเส้น ขน้ึ - ลง ไปหน้า - ถอยหลังได

4. เพ่ือฝึกให้นักเรียนสามารถโยนลูกบอล ซ้าย - ขวา หน้า - หลัง ขึ้น - ลง

ไปขา้ งหน้า - ไปข้างหลงั ได้

5. ฝึกการประสานสัมพันธร์ ะหวา่ งกล้ามเนอ้ื มดั ใหญ่ กล้ามเนอื้ มัดเลก็ สายตาและ
การฟัง

6. ใหฝ้ ึกเคลอื่ นที่ไปตามทศิ ทางท่บี อก

7. นกั เรยี นมคี วามพอใจในการรว่ มกิจกรรม



สอื่ /อุปกรณ

1. กระดานดำ ชอล์ก

2. แผ่นกระดานทรงตัว

3. กระดาษแผ่นใหญ ่

4. กระดาษสมดุ ดนิ สอสีหรือสีเทยี น

5. ลกู บอล



วิธีการดำเนินกิจกรรม

1. ครูสั่งให้นักเรียนทำกิจกรรมท่ีจะต้องเดินเคล่ือนท่ีในทิศทางตามคำส่ัง เช่นไป
ขา้ งหนา้ ถอยไปข้างหลงั ว่งิ หรอื เดนิ ไปข้างซา้ ย - ขา้ งขวา ลกุ ขึ้นยนื - นง่ั ลง

2. เมื่อนักเรยี นทำไดค้ ล่องแคลว่ แล้ว ใหน้ ักเรียนเดนิ บนแผน่ กระดานทรงตัว

โดยเดนิ ไปข้างหน้า - เดินถอยหลัง

3. เม่ือนกั เรยี นทำไดค้ ล่องแคล่วแล้ว ใหน้ กั เรียนโยนลูกบอลข้ึน - ลง ไปข้างหนา้ -

ไปข้างหลงั


51

4. ครูวางแผ่นกระดาษแผ่นใหญ่บนพ้ืน ให้นักเรียนใช้ดินสอสีหรือสีเทียนลากเส้น
ไปขา้ งหน้า - ไปขา้ งหลัง ขึ้นขา้ งบน - ลงข้างลา่ ง โดยห้ามยกดินสอ และลากไปตามคำสง่ั
ของคร

5. เมื่อนักเรียนทำได้คล่องแคล่วแล้วให้นักเรียนลากเส้นบนกระดานดำไปข้างหน้า
- ขา้ งหลงั ข้ึนขา้ งบน - ลงขา้ งลา่ ง (ตามจนิ ตนาการของนกั เรียน)

6. เม่อื นกั เรียนทำไดค้ ล่องแคล่วแลว้ ใหน้ ักเรยี นลากเส้นบนกระดาษในสมุด

ซงึ่ อยู่บนโตะ๊ เรยี น โดยลากเส้นไปข้างหน้า - ข้างหลัง ขึ้นข้างบน - ลงขา้ งล่าง



การวดั และประเมนิ ผล

1. สงั เกตความถกู ตอ้ งในการปฏิบัติตามคำบอก

2. ความพอใจของนกั เรียนในการร่วมกิจกรรม



เกณฑ์การประเมิน

นักเรยี นปฏบิ ัติได้ผา่ นถกู ต้องทกุ รายการ ถือว่าผา่ น



ข้อเสนอแนะ

1. หลังจากท่นี ักเรยี นลากเส้นไปหนา้ - ถอยหลัง ขึน้ บน - ลงล่าง จนคลอ่ งแคลว่ แลว้
สนทนาเก่ียวกบั กจิ กรรมในชีวิตประจำวันท่ีต้องใชค้ ำวา่ ไปซา้ ย - ขวา ไปหน้า - ถอยหลัง
บน – ล่าง

2. กิจกรรมนี้ใช้ กระตุ้นพัฒนาการสำหรับนักเรียนที่มีปัญหาด้านการเคล่ือนไหว
ไม่คล่องตัว มีปัญหาด้านการฟังและการขาดความคิดรวบยอดเร่ืองทิศทางตำแหน่ง ส่วน
เดก็ ปกติทั่ว ๆ ไปกจิ กรรมนี้ ชว่ ยสง่ เสริมพฒั นาการดา้ นต่าง ๆ ดังกล่าวได้ดยี ิง่ ขน้ึ

3. ครคู วรบนั ทกึ พฤติกรรมนกั เรียนระหวา่ งการปฏบิ ตั กิ ิจกรรม














52

แบบสงั เกตการปฏิบัติกิจกรรม ไปทางไหนจะ๊



ช่ือ........................................................................................ชน้ั ...............เลขท่.ี .............





ผลการปฏิบัติ



ี่ รายการ
ผา่ น
ไม่ผา่ น
หมายเหตุ


1.

้าย-ขวา










2.
ขา้ งบน-ล่าง






3.
ข้างหน้า-ขา้ งหลงั


4.
เดนิ ขน้ึ -ลง









5.
ถอยหนา้ -ถอยหลงั




6.



นักเรยี นมคี วามพอใจในการร่วมกิจกรรม







สรุป ผ่าน ไมผ่ ่าน































53


ญั หา บอกทิศทใี่ ชใ้ นชวี ติ ประจำวนั


ระดับช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 1 - 3


กิจกรรมที่ 6 ทิศเหนอื ทศิ ใต้ ทิศไหนบอกมา


จดุ ประสงคก์ ารเรียนร้

1. เพอื่ ใหน้ กั เรียนบอกทิศหลัก 4 ทิศได้

2. นำความรเู้ กีย่ วกับทศิ หลัก 4 ทิศ ไปใชใ้ นชีวิตประจำวนั ได้

3. นักเรียนมีความพอใจในการรว่ มกจิ กรรม




สอื่ / อุปกรณ์

1. แผนภมู ทิ ิศหลัก 4 ทิศ

2. บัตรคำ ทิศเหนอื ทศิ ใต้ ทศิ ตะวันออก ทศิ ตะวันตก








ทิศเหนอื


ทศิ ใต
้ ทิศตะวันออก
ทศิ ตะวนั ตก





วธิ กี ารดำเนินกจิ กรรม

1. ให้นักเรียนยืนหันหน้าไปทางท่ีดวงอาทิตย์ขึ้น ครูสนทนากับนักเรียนเก่ียวกับ
การขน้ึ การตกของดวงอาทิตย์ แล้วถามนกั เรยี นว่า ดวงอาทิตย์ขึ้นทางดา้ นใด ให้นักเรียน
ช้ีไปทางด้านท่ีดวงอาทิตย์ข้ึน ครูอธิบายเพ่ิมเติมว่า ด้านท่ีดวงอาทิตย์ข้ึนเราเรียกว่า

“ทิศตะวันออก” ครูติดบัตรคำ ทิศตะวันออกบนกระดาน แล้วถามนักเรียนต่อว่า นักเรียน
เห็นดวงอาทติ ยต์ กทางดา้ นใด ให้นกั เรยี นชไี้ ปทางด้านท่ดี วงอาทิตยต์ ก ครอู ธบิ ายเพ่ิมเตมิ
ว่า ดา้ นทดี่ วงอาทิตยต์ กเราเรียกว่า “ทศิ ตะวนั ตก” ครตู ดิ บัตรคำ ทศิ ตะวนั ตก บนกระดาน




ทิศตะวันตก
ทิศตะวันออก


54

2. ครอู ธบิ ายเพิ่มเตมิ เกย่ี วกับความหมายของทิศ

3. ให้นักเรียนยืนหันหน้าไปทางทิศตะวันออก แล้วถามว่าด้านหลังของนักเรียน
เป็นทศิ อะไร (ทิศตะวนั ตก) ให้นกั เรียนกางแขนออกทง้ั สองขา้ ง แลว้ ครแู นะนำว่า ดา้ นซา้ ย
มือของนกั เรียนเรียกว่าทศิ เหนอื ครแู นะนำต่อ ว่า ด้านขวามือของนักเรยี นเรียกวา่ ทิศใต้










ทศิ เหนอื












ทิศตะวนั ตก
ทิศตะวนั ออก













ทศิ ใต้






4. ให้นักเรียนยืนหันหน้าไปทางทิศเหนือ แล้วถามนักเรียนว่าด้านหลังคือทิศอะไร
(ทศิ ใต้ ) ให้นักเรยี นกางแขนออกท้งั สองขา้ ง แล้วถามวา่ ขวามอื เปน็ ทศิ อะไร (ทศิ ตะวนั ออก)
ครถู ามต่อ ซ้ายมือเปน็ ทิศอะไร (ทศิ ตะวันตก)

5. จัดกิจกรรมลักษณะเดียวกันกับกิจกรรมในข้อ 4 โดยให้ยืนหันหน้าไปทางทิศ
อืน่ ๆ บา้ ง จนนกั เรยี นจำ และเขา้ ใจเร่อื งทศิ ทั้ง 4 ทิศหลัก


55

6. ครแู นะนำให้นกั เรียนรจู้ กั แผนผงั ทศิ หลกั ทงั้ 4 ทิศ ครูแนะนำเพม่ิ เติมว่า ในการ
เขียนทิศลงบนกระดาษ เราเขียนด้านบนของกระดาษเป็นทิศเหนือ ด้านล่างเป็นทิศใต้
ด้านขวามอื เปน็ ทศิ ตะวนั ออก ด้านซา้ ยมอื เปน็ ทิศตะวนั ตก ดงั นี้










ทศิ เหนอื











ทิศตะวนั ตก
ทศิ ตะวันออก









ทิศใต้





ทิศเหนอื




ทิศเหนือ



ทศิ ตะวันออก


ทศิ ตะวันตก






ทศิ ใต



7. ครแู ละนักเรยี นร่วมกันสรปุ ทศิ หลกั 4 ทิศ ไดแ้ ก่ ทศิ เหนือ ทศิ ใต้ ทิศตะวนั ออก
และทศิ ตะวันตก




56

การวดั และประเมินผล

1. สงั เกตความถกู ต้องในการปฏบิ ตั กิ ิจกรรม

2. ความพอใจของนกั เรียนในการรว่ มกจิ กรรม




เกณฑ์การประเมนิ

ปฏิบัติกจิ กรรมได้ผา่ นถูกตอ้ งทกุ รายการ ถอื ว่าผา่ น




ขอ้ เสนอแนะ

ครคู วรบนั ทึกพฤติกรรมนกั เรยี นระหว่างการปฏบิ ัติกจิ กรรม



แบบสังเกตการปฏบิ ัติกิจกรรม ทศิ เหนอื ทิศใต้ ทิศไหน บอกมา



ชือ่ ........................................................................................ชั้น...............เลขท.่ี .............





ผลการปฏบิ ตั ิ

ที่
รายการ

ผ่าน
ไม่ผา่ น
หมายเหตุ


1.
บอกทศิ เหนอื







2.
บอกทิศใต้





3.
ทิศตะวนั ออก






4.
ทิศตะวนั ตก






5.
นักเรยี นมีความพอใจในการร่วมกิจกร
รม








สรุป
ผ่าน ไมผ่ ่าน

















57

ปญั หาที่ 16. การเปรียบเทยี บขนาดของวตั ถ

หรือส่งิ ของและรปู ภาพ (ขนาด น้ำหนัก ความยาว)





กิจกรรมท่ี 1 สงิ่ น้มี คี วามหมาย


กจิ กรรมที่ 2 ภาพน้ีมีความหมาย

กิจกรรมที่ 3 ตอ่ ให้เป็น

กิจกรรมที่ 4 เปรยี บเทยี บกนั นะจ๊ะ


58

ปัญหา การเปรียบเทียบขนาดของวัตถหุ รอื สงิ่ ของและรปู ภาพ



ระดับช้ัน ประถมศึกษาปีที่ 1 - 3



กิจกรรมที่ 1 ส่ิงนมี้ คี วามหมาย



จุดประสงคก์ ารเรียนร
ู้
1. นักเรียนเข้าใจความหมายของคำท่ีใช้ในการเปรียบเทียบสิ่งของ เช่น ใหญ่ -
เล็ก หนา - บาง ส้ัน - ยาว สงู - ต่ำ หนกั - เบา

2. เมอ่ื กำหนดสิ่งของ 2 สง่ิ ให้ สามารถเปรียบเทยี บและระบุขนาดได

3. นักเรียนมีความพอใจในการร่วมกิจกรรม



ส่ือ/ อปุ กรณ

1. สงิ่ ของต่าง ๆ ท่ีมีขนาดใหญ่ - เลก็ หนา - บาง ยาว - สัน้ สูง - ต่ำ หนกั - เบา

เชน่ ดนิ สอ ไม้บรรทัด หนังสือ สมดุ กล่อง ลกู บอล ลูกปงิ ปอง ของเล่น เป็นตน้

2. บตั รคำ ใหญ่ เล็ก หนา บาง ยาว สน้ั สูง ตำ่ หนัก เบา



วธิ ีการดำเนนิ กิจกรรม

1. ครูสนทนากับนักเรียนโดยนำสิ่งของ ชนิดและขนาดต่างๆ ขึ้นมาทีละ1 คู่ เช่น
ลูกบอล กับลกู ปงิ ปอง ใหม้ ี ขนาดใหญ่ - เล็ก และครูถามว่า “ ของสองส่งิ นเี้ รียกว่าอะไร”
(ฟตุ บอล - ลูกปิงปอง)

- ขนาดเทา่ กันหรอื ไม่ (ไม่เท่ากนั / เท่ากัน)

- ขนาดแตกตา่ งกนั อยา่ งไร (ใหญ่ / เล็ก)

และนำของชนดิ อื่น ๆ มาเปรียบเทียบอีกหลาย ๆ ครง้ั จนนกั เรียนเข้าใจคำวา่ ใหญ่ – เลก็







2. ครนู ำสิง่ ของอ่ืน ๆ อีกทีละ 1 คใู่ ห้มลี ักษณะ หนา - บาง ยาว - ส้นั สงู - ตำ่
และหนกั - เบา มาทำกจิ กรรมเช่นเดยี วกบั ข้อ 1

3. เมื่อนักเรียนเข้าใจดีแลว้ ให้นกั เรยี นแบ่งกลุ่มทำกจิ กรรม “สงิ่ นีม้ คี วามหมาย”

4. ครูสงั เกตพฤตกิ รรมและประเมินผลพฤตกิ รรมของนักเรยี น


59

การวัดและประเมนิ ผล

1. สงั เกตการปฏิบตั กิ ิจกรรม “ส่งิ น้ีมคี วามหมาย”

2. ความพอใจของนกั เรียนในการรว่ มกจิ กรรม




เกณฑ์การประเมิน

ปฏบิ ตั กิ ิจกรรมได้ผ่านถูกต้องทุกรายการ ถือว่าผา่ น




ข้อเสนอแนะ

1. อาจจะปรับกิจกรรมแสดงการเปรียบเทียบโดยใช้สัญลักษณ์มากกว่า > หรือ
นอ้ ยกวา่ < หรอื เท่ากับ =

2. ครูควรบนั ทึกพฤตกิ รรมนกั เรียนระหว่างการปฏบิ ัติกจิ กรรม



แบบสังเกตการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม สิ่งน้ีมีความหมาย



ชอื่ ........................................................................................ช้นั ...............เลขที.่ .............





ผลการปฏบิ ัต



่ี รายการ
ผ่าน
ไมผ่ ่าน
หมายเหต




12..


ใหหนญา่ – เลก็




– บาง






3.
ยาว – สน้ั







4.
สูง – ตำ่






5.
หนัก – เบา






6.
นกั เรียนมคี วามพอใจในการรว่ มกจิ กรรม













สรปุ ผา่ น ไมผ่ า่ น





60

ปญั หา การเปรยี บเทียบขนาดของวัตถุหรือสงิ่ ของและรปู ภาพ



ระดับชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 1 - 3



กจิ กรรมท่ี 2 ภาพนม้ี ีความหมาย



จดุ ประสงค์การเรยี นร
ู้
1. นกั เรยี นสังเกต วิเคราะห์เปรียบเทียบ สงิ่ ของต่าง ๆ จากภาพได้

2. นกั เรยี นสามารถระบุขนาดส่งิ ของจากการเปรียบเทียบรูปภาพท่ีกำหนดใหไ้ ด้

3. นักเรียนมีความพอใจในการรว่ มกจิ กรรม



ส่อื /อุปกรณ

1. บัตรรปู ภาพทีแ่ สดงการเปรียบเทยี บของ 2 สิ่ง แสดงจำนวน 4 ลกั ษณะ ดงั นี้

ชดุ ท่ี 1 เปรียบเทยี บ ใหญ่ - เล็ก

ชดุ ที่ 2 เปรยี บเทียบ หนา - บาง

ชุดที่ 3 เปรียบเทยี บ สัน้ - ยาว

ชดุ ท่ี 4 เปรียบเทียบ สูง - ตำ่

ชดุ ที่ 5 เปรียบเทยี บ หนัก - เบา



วธิ กี ารดำเนนิ กิจกรรม

1. ครูสนทนากับนักเรียนโดยยกบัตรภาพข้ึนมา 1 ชุดคร้ังละ 1 ภาพให้นักเรียน
สังเกตแล้วตอบคำถาม เช่น ภาพน้ีเปน็ ภาพอะไร ภาพน้ีขนาดต่างกนั อย่างไร








(ใหญ่ - เล็ก)










(หนา - บาง)


61

(สั้น - ยาว)


















(สูง - ต่ำ)
















(หนกั – เบา )



2. ปฏิบัติกิจกรรมตามข้อ 1 ซ้ำ ๆ จนนักเรียนเข้าใจความคิดรวบยอดของคำว่า
ใหญ่ - เลก็ หนา - บาง สน้ั - ยาว สงู - ตำ่ หนกั - เบา

3. เม่อื นกั เรยี นเข้าใจดีแลว้ แบง่ กลุ่มทำกจิ กรรมภาพน้ีมคี วามหมาย


62

การวดั และประเมนิ ผล

1. สงั เกตการปฏิบตั ิกิจกรรม “ภาพนี้มคี วามหมาย”

2. ความพอใจของนกั เรียนในการรว่ มกิจกรรม




เกณฑก์ ารประเมนิ

ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมไดผ้ า่ นถกู ตอ้ งทกุ รายการ ถือวา่ ผา่ น




ขอ้ เสนอแนะ

1. อาจปรับกิจกรรมแสดงการเปรียบเทียบโดยใช้สัญลักษณ์ เช่น มากกว่า ( > )

น้อยกว่า ( < ) เท่ากับ ( = )

2. ครูควรบนั ทกึ พฤติกรรมนกั เรียนระหว่างการปฏิบัติกจิ กรรม



แบบสงั เกตการปฏบิ ัตกิ จิ ก
รรม ภาพนีม้ ีความหมาย

ช่ือ........................................................................................ชั้น...............เลขท่ี..............





ผลการประเมิน



่ี รายการ
ผา่ น
ไมผ่ ่าน
หมายเหตุ



1.
ใหญ่ – เล็ก





2.
หนา – บาง








3.
ยาว – สั้น







4.
สูง – ต่ำ






5.
หนกั – เบา






6.
นักเรยี นมีความพอใจในการร่วมกิจกรรม











สรุป ผา่ น ไม่ผ่าน






63

ปญั หา การเปรียบเทียบขนาดของวัตถุหรือส่งิ ของและรูปภาพ



ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 - 3



กจิ กรรมท่ี 3 ต่อใหเ้ ปน็



จุดประสงคก์ ารเรียนรู้

1. เพ่ือฝึกทักษะการสังเกต วิเคราะห์ จำแนก และเปรียบเทียบขนาดส่ิงของจาก
ภาพ

2. นกั เรยี นเกดิ ความสนุกสนานในการรว่ มกจิ กรรม

3. นักเรยี นมีความพอใจในการรว่ มกจิ กรรม



สื่อ/อปุ กรณ์

1. บตั รรูปภาพการเปรียบเทยี บอย่างละ 2 ชดุ

ชดุ ที่ 1 เปรียบเทียบใหญ่ – เลก็

ชุดที่ 2 เปรยี บเทยี บหนา – บาง

ชุดที่ 3 เปรียบเทยี บส้นั - ยาว

ชดุ ที่ 4 เปรยี บเทียบสงู - ต่ำ

ชุดที่ 5 เปรียบเทียบ หนกั - เบา



วธิ ีดำเนินกจิ กรรม

1. ครูเตรยี มบตั รรปู ภาพ 5 ลักษณะ จำนวน 2 ชดุ แบ่งกลุม่ ละ 1 ชดุ

2. นกั เรยี นทง้ั 2 กลุ่มแขง่ ขันกนั ตอ่ ภาพคนละ 1 ภาพจนหมด (จกิ ซอว์) กลมุ่ ใด
ตอ่ ภาพเสร็จก่อนและถกู ต้องจะเป็นผู้ชนะ














64

3. ให้นกั เรยี นสรปุ ผลท่ไี ด้จากการเลน่ เกม ตอ่ ภาพจกิ ซอว์



การวัดและประเมนิ ผล

1. สังเกตการปฏบิ ัติกิจกรรม “ตอ่ ใหเ้ ป็น”

2. ความพอใจของนักเรยี นในการร่วมกิจกรรม



เกณฑ์การประเมิน

ปฏบิ ตั กิ ิจกรรมไดผ้ ่านถกู ต้องทุกรายการ ถอื วา่ ผา่ น



ขอ้ เสนอแนะ

1. อาจปรับกิจกรรมแสดงการเปรียบเทียบโดยใช้สัญลักษณ์ เช่น มากกว่า ( > )
นอ้ ยกวา่ ( < ) เท่ากับ ( = )

2. ครูควรบนั ทกึ พฤติกรรมนักเรียนระหวา่ งการปฏิบตั กิ จิ กรรม














65

แบบสงั เกตการปฏิบัตกิ ิจกรรม ตอ่ ใหเ้ ปน็



ชอ่ื ........................................................................................ชน้ั ...............เลขที่..............





ผลการประเมิน


ที่
รายการ
ผ่าน
ไมผ่ า่ น
หมายเหต



1.
ใหญ่ – เล็ก







2.
หนา – บาง





3.
ยาว – ส้นั






4.
สูง – ต่ำ







5.
หนัก – เบา






6.
นักเรียนมีความพอใจในการรว่ มกิจกรรม









สรุป ผ่าน ไม่ผ่าน






























66

คร
ตู ดั ภาพตามรอย เพื่อให้นกั เรยี นตอ่





























































67

คร
ตู ดั ภาพตามรอย เพ่อื ใหน้ ักเรยี นตอ่





























































68

คร
ตู ดั ภาพตามรอย เพื่อให้นกั เรยี นตอ่





























































69

คร
ตู ดั ภาพตามรอย เพ่อื ใหน้ ักเรยี นตอ่





























































70

คร
ตู ดั ภาพตามรอย เพื่อให้นกั เรยี นตอ่





























































71

ปญั หา การเปรยี บเทียบขนาดของวตั ถหุ รอื สิ่งของและรปู ภาพ



ระดบั ชั้น ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 - 3



กิจกรรมที่ 4 มาเปรยี บเทยี บกันนะจะ๊



จุดประสงคก์ ารเรียนรู้

1. สามารถเปรยี บเทียบขนาด น้ำหนกั ความยาว รูปรา่ ง ของสิ่งของและรูปภาพได

2. สามารถเรียงลำดบั ขนาด น้ำหนกั ความยาว รปู ร่าง ของสิ่งของและรปู ภาพได้

3. นักเรียนมีความพอใจในการรว่ มกจิ กรรม



ส่อื /อปุ กรณ

1. บัตรคำเกี่ยวกับการเปรียบเทียบได้แก่ ใหญ่ – เล็ก หนัก – เบา ส้ัน – ยาว
อว้ น –ผอม หนา – บาง

2. ของจริงท่ีสามารถใช้เปรียบเทียบ เรียงลำดับได้ เช่น ผลไม้ ลูกบอล ก้อนหิน
เปน็ ตน้

3. บัตรภาพ สง่ิ ของที่สามารถใช้เปรียบเทยี บ เรียงลำดบั ได้

4. แผนภมู ิเพลงใหญ่เล็ก



วิธีการดำเนนิ กิจกรรม

1. นกั เรียนบอกชื่อสิ่งของ เช่น ผลไมท้ ค่ี รูนำมาทำกิจกรรม

2. ครูนำสิ่งของตามท่ีทำกิใจกรรมนข้อ 1 ท่ีจะใช้เปรียบเทียบออกมาให้นักเรียนดู
และแนะนำมาทำกิจกรรมการเปรียบเทียบ เช่น ใหญ่ - เลก็ สนั้ - ยาว เป็นตน้

3. นักเรียนพดู ซำ้ คำศพั ทท์ ่ีใช้ในการเปรยี บเทยี บ เช่น ใหญ่ – เล็ก จนพดู ไดอ้ ยา่ ง
คล่องแคล่ว

4. นักเรยี นระบุขนาดส่ิงของจากการเปรยี บเทยี บของ 2 ส่ิง (ใหญ่ – เลก็ )

5. นกั เรียนจับคเู่ ลน่ แข่งขนั ทายขนาดสิง่ ของ/บัตรภาพ

6. ทดลองให้นกั เรยี นแสดงท่าทาง ใหญ่และเล็ก ตามคำสัง่ ครแู ละร่วมกนั ร้องเพลง
ใหญเ่ ล็กพรอ้ มทง้ั แสดงทา่ ทางประกอบ




72


Click to View FlipBook Version