The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Submitted Letter of teachers and students to attend the conference at MAEJO Universiity

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by anusit.boontadang, 2022-12-14 21:20:07

Submitted Letter of teachers and students to attend the conference at MAEJO Universiity

Submitted Letter of teachers and students to attend the conference at MAEJO Universiity

Keywords: Submitted Letter of teachers and students,MAEJO Universiity

737

ทุกวันในเวลาเช้าก่อนแดดออก เน่ืองจากดีเกลือจะละลายไปกับน้าเม่ือแดดจดั แต่เกลือชนิดนี้จะทาให้เกลอื สมุทรหรือ
เกลือแกงทผ่ี ลิตได้นัน้ มีคณุ ภาพตา่ และชื้นงา่ ย ดีเกลือนี้มกั ถูกนาไปใช้เป็นเครอ่ื งยาไทยโบราณประเภทยาระบาย ซ่ึงการ
ผลิตเกลือทะเลในรูปของเกลือเม็ด จะถูกรวบรวมโดยพ่อค้าคนกลางประเภทพ่อคา้ ทอ้ งท่ีและพอ่ คา้ ท้องถิ่น โดยพ่อค้าคน
กลางจะไปรบั ซอ้ื ถงึ ฟารม์ ของเกษตรกรทง้ั ทางบกและทางนา้ และในบางทอ้ งที่เกษตรกรจะขายผา่ นสหกรณก์ ารเกษตรท่ี
ตนเองเปน็ สมาชกิ อยู่ จากนน้ั สินค้าเกลอื ทะเลจะไหลเวยี นไปยังแหล่งต่างๆ ได้แก่ โรงโม่เกลือ โรงงานอตุ สาหกรรมอาหาร
และโรงงานอตุ สาหกรรมอื่นทเี่ กี่ยวขอ้ ง เป็นต้น ก่อนจะกระจายไปถึงผู้บริโภค จากสาเหตุดังกล่าวข้างต้นจงึ เป็นเหตใุ ห้
พืน้ ท่ีทานาเกลอื และเกษตรกรผูท้ าอาชีพการผลิตเกลอื ทะเลลดลงไปเร่อื ยๆ อาจสง่ ผลกระทบวกิ ฤตใิ นอุตสาหกรรม

ด้วยเหตุน้ีจะเห็นได้ว่าระบบการทานาเกลือสมุทรน้ีเป็นการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ และพ่ึงพา
สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมเป็นอย่างมาก หากสภาพลมฟ้าอากาศแปรปรวน ก็อาจจะส่งผลให้การผลิตเกลือสมุทรได้
ผลผลิตไมม่ ากพอ หรอื อาจไมส่ ามารถผลิตเกลือสมุทรได้ นอกจากนนั้ หากน้าทะเลทีเ่ ปน็ สารต้ังตน้ ของการผลิตเกลอื สมทุ ร
น้ันมีการปนเปือ้ นของสารมลพิษต่าง ๆ กอ็ าจจะส่งผลให้เกดิ การปนเปือ้ นของสารมลพษิ ตา่ ง ๆ ในเกลือสมุทรทผ่ี ลติ ได้ ทา
ให้คณุ ภาพของเกลือสมทุ รนั้นไมเ่ หมาะสมต่อการบรโิ ภคของมนษุ ย์ได้

ปัจจยั ท่มี ีผลต่อกำรเปลี่ยนแปลงกำรใช้ท่ีดินนำเกลือของจังหวัดสมทุ รสำคร
ญาณิศา อัตตรัตยา (2557) กล่าวว่า ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงการใช้ท่ีดินนาเกลือมีหลายปัจจัยทั้งที่

ควบคมุ ไดแ้ ละควบคมุ ไม่ได้ ดังน้ี
1. สภาพภูมิอากาศ นับเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงพ้ืนท่ีนาเกลือ หลักการ คือ การนาน้าทะเล

ข้ึนมาตากแดดบนพนื้ ท่เี พ่ือรับแสงแดดและกระแสลม เพื่อให้เกิดการตกผลกึ เกลอื โดยทั่วไปทานาเกลอื ได้ 7 รอบ ในฤดู
ทานาเกลือ ซ่ึงจานวนรอบมากน้อยข้ึนกับมีฝนตกหรือไม่หากแดดดีและแล้งจัดจะทานาเกลือได้รอบต่อฤดูมากข้ึน
กล่าวคือ ในปีหน่ึงมีระยะเวลา 6 เดือนให้ทานาเกลือ หากเกิดสภาพดินฟ้าอากาศแปรปรวน มีฝนตกก่อให้เกิดความ
เสียหายต่อผลผลิตเกลือ ซ่ึงมีผลกระทบโดยตรงต่อรายได้ของเกษตรกร เช่น เกิดฝนตกในระหว่างท่ีรอน้าเค็มตกผลึก
เกษตรกรต้องระบายน้าออกและปรับพื้นท่ีใหม่ ทาให้เสียเวลาเร่ิมต้นใหม่และเกลือทีไ่ ด้น้อยลง โดยเฉพาะฝนตกในช่วง
เดือนมนี าคมถึงเดอื นเมษายน ซ่ึงเปน็ ช่วงทค่ี วรจะไดผ้ ลผลติ เกลือสงู รอ้ ยละ 50 ของฤดูกาล และในปัจจบุ ันพบว่าฝนมกั ตก
ในชว่ งฤดูทานาเกลอื บ่อยขน้ึ มาก ทาใหไ้ ดผ้ ลผลติ นอ้ ย

2. ด้านกายภาพ การทานาเกลือเป็นงานใช้แรง ตากแดดตากลม อยู่กลางแจ้งกลางแดด ประกอบกับการ
คมนาคมขนสง่ สะดวกข้ึน โดยเฉพาะสว่ นทด่ี ินติดกบั ถนนพระรามที่ 2 จึงมแี นวโนม้ วา่ ในอนาคตเมือ่ พืน้ ทีท่ านาเกลือตก
ทอดถึงลูกหลานพื้นที่เหล่านี้อาจเปลี่ยนแปลงไปสู่กิจกรรมอื่น ๆ เพราะการทานาเกลือต้องอาศัยความชานาญและ
ประสบการณ์ในการจัดการน้าหรือตากน้า เพ่ือให้ได้เกลือในปริมาณที่เพียงพอคุ้มค่ากับต้นทุนการผลิต มีรายรับเหลือ
สาหรบั เลี้ยงชพี ดงั นั้นหากลูกหลานมิได้ฝกึ ฝนหรอื รับการถ่ายทอดวิธีการดงั กล่าวในขณะท่รี นุ่ พ่อแม่ยงั ทานาเกลืออยู่ เมอื่
รุ่นลูกหลานได้มรดกที่ดินไปจะทานาเกลือไม่เป็น ต้องจ้างผู้ดูแลอีกทอดหน่ึง ซึ่งอาจไม่คุ้มกับการลงทุน จึงเป็นที่น่า
เสียดายอย่างย่ิงหากในอนาคต อาชีพการทาเกลือสมุทรจะหมดสนิ้ ไป เพราะอยา่ งน้อยทีส่ ดุ การผลิตเกลอื สมุทรนับได้วา่
เปน็ การผลติ ทีอ่ าศยั ธรรมชาตอิ ย่างแทจ้ รงิ ไม่ต้องอาศัยปจั จยั การผลิตทกี่ ่อใหเ้ กดิ ผลกระทบตอ่ สงิ่ แวดล้อมเช่น การทานา
กุง้ อีกทงั้ สภาวะแวดล้อมที่ใช้เป็นแหลง่ ผลติ เกลือเป็นทรพั ยากรทมี่ ีลักษณะเฉพาะ

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บัณฑติ ศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


738

3. ดา้ นชวี ภาพ พื้นท่ที านาเกลอื ส่วนใหญ่อาณาเขตของจังหวดั ตดิ กบั ชายฝงั่ ทะเลอ่าวไทย มีลกั ษณะดนิ เปน็ ดิน
เหนยี ว อุ้มน้าได้ดเี ป็นพื้นท่ีที่เหมาะต่อการทานาเกลือเพราะเป็นพ้ืนทีร่ าบลมุ่ ติดกับชายฝง่ั ทะเล สะดวกต่อการชกั นา้ และ
ขนส่งเกลือไดส้ ะดวก ชาวนาเกลือมีกระบวนการทานาเกลือ โดยใช้น้าทะเลเป็นวัตถดุ ิบหลักในการผลิต ด้วยการซักน้า
ทะเลเข้าสกู่ ระทงนา อาศยั แสงแดดและกระแสลม เพ่อื ใหน้ า้ ระเหยไปและเกดิ การตกผลกึ เกลอื เรม่ิ ทาเกลอื ในช่วงต้นฤดู
หนาวหรือปลายฤดูฝน ประมาณเดือนพฤศจิกายนเป็นต้นไปเพราะต้องอาศัยฝนในการละเลงนา และปรับระดับเป็น
ระนาบเดียวกัน มิให้น้าซึมลงไปใต้ดินจนกระทั่งเริ่มเก็บเกลือได้ตั้งแต่ประมาณกลางเดือนมกราคมเป็นต้นไปจนถึง
ประมาณเดอื นพฤษภาคมหรือจนกว่าฝนเริม่ ตก

4. ด้านสงั คม ขอ้ มูลด้านการถือครองท่ดี นิ ที่ พบว่า การทานาเกลือส่วนใหญ่สดั ส่วนการทานาเกลอื บนทีด่ นิ เชา่ สงู
เกิน รอ้ ยละ 70 ยอ่ มแสดงว่าเกษตรกรสว่ นใหญ่ต้องเช่าที่นาเป็นส่วนใหญ่เพราะไม่มีท่ดี ินเป็นของตนเอง และการเช่าทา
นาแบบปตี ่อปี ชาวนาเกลือจึงขาดความม่ันใจท่จี ะสรา้ งยงุ้ ฉางสาหรับเกบ็ เกลอื เนอื่ งจากต้องใช้เงนิ ทนุ มาก หากไม่ได้เชา่ ท่ี
ผนื นั้นในปถี ัดไป จะสูญเสียเงินทล่ี งทุนไปทงั้ หมด ในขณะทีเ่ จ้าของทบ่ี างคนที่ไม่ให้ผู้เช่าเดมิ เช่าแล้ว สามารถขนึ้ ราคาค่า
เชา่ นาสาหรับผูเ้ ช่าคนใหม่ โดยอา้ งวา่ มีย้งุ ฉางพรอ้ มในทด่ี ินน้นั เมอื่ ชาวนาเกลอื สว่ นใหญ่ไม่มยี ังฉางหรอื สถานทเี่ กบ็ เกลือ
ของตนเองที่เพยี งพอเพ่อื ป้องกันความเสียหายต่อผลผลิตเกลือ จึงต้องขายเกลอื ทันทีทาให้ขาดอานาจต่อรองราคาและ
ตอ้ งขายผา่ นพ่อค้าคนกลางหลายขนั้ ตอน ทาให้ราคาทเ่ี กษตรกรไดร้ ับอยใู่ นระดับตา่ รวมถึงช่วงทผ่ี ลผลติ เกลือออกสตู่ ลาด
ในปริมาณมากระหว่างเดือนมีนาคมถึงเดือนเมษายนของทุกปี ชาวนาเกลือจึงมีรายได้โดยรวมต่าลงบางปีมีรายได้ไม่
เพียงพอใช้จา่ ยดารงชีพ หรือประสบกบั ปัญหาการขาดทุนจาต้องกู้ยมื มาใช้จา่ ยในครัวเรอื น บางคนจานองพื้นทีน่ าเกลือ
ของตน หากประสบปญั หามเี งินไม่เพียงพอใช้หน้ี ทาใหส้ ูญเสยี นาของตนเอง และเปล่ียนไปใช้วธิ กี ารเช่านาประกอบอาชีพ
แทน มีตน้ ทุนในการทานาเกลือเพิม่ ขึ้น คอื ค่าเช่า สง่ ผลให้รายไดโ้ ดยรวมลดลง

5. ดา้ นวัฒนธรรม ในอดีตการวิดนา้ เขา้ วงั นนั้ ใช้กังหันลม โดยชาวนาเกลอื ไดน้ าระหัดฉดุ น้าเขา้ นาของชาวนาข้าว
มาประยุกต์ใช้สาหรับการวดิ นา้ ทะเลเข้านาเกลือ มกี ารพัฒนาอยา่ งต่อเนื่องตัง้ แตเ่ ปน็ ระหัดน้าท่ใี ช้มอื โยก ดัดแปลงมาใช้
ระหัดฉุดน้าแบบคนข้ึนถีบ ในท่ีสุดนากังหันลมต่อกับระหัดฉุดน้าสาหรับวิดน้าทะเลเข้านาเกลือ เป็นวิธีการง่ายใช้การ
พึง่ พาแรงลมจากธรรมชาติชว่ ยตใี บพัดหมุน หมนุ ฉดุ ให้ระหดั วดิ น้าเขา้ นา ปัจจุบนั การผันนา้ ทะเลดว้ ยกังหันลมธรรมชาติ
เหลอื น้อยลง ชาวนาเกลอื สว่ นใหญ่เปลยี่ นไปใชเ้ คร่ืองสูบน้า เน่ืองจากสะดวกรวดเร็วในการผลิตเกลือและสามารถสูบน้าได้
ตลอดเวลา ไม่ต้องรอกระแสลมส่งผลให้ทุกวันนจี้ านวนกังหันลมลดน้อยลงไปอยา่ งน่าเสียดาย การหายไปของกังหันลม
มิได้เป็นเพยี งหายไปของเคร่ืองมือผนั น้าชนิดหนึ่ง แต่ยังหมายถงึ การหายไปของภูมปิ ัญญาชาวบ้านท่ีมมี าแตอ่ ดตี อกี ด้วย
และเมื่อมีการใช้เครื่องยนต์ในการผันน้า จึงเป็นต้นทุนที่เพ่ิมขนึ้ ท้ังตัวเคร่ืองยนตเ์ อง การซ่อมแซมบารุงรักษา และค่า
นา้ มัน อีกทงั้ อปุ กรณ์อนื่ ๆ ทใี่ ช้ทานาเกลอื มรี าคาแพงขน้ึ ตามภาวะเศรษฐกิจ

6. ด้านเศรษฐกิจ รูปแบบการผลิตเกลือสมุทรเป็นการผลิตท่ีต้องอาศัยแรงงานจานวนมาก ในอดีตสามารถ
ประหยดั คา่ ใช้จ่ายไดโ้ ดยวธิ ีการลงแขก ซง่ึ หมายถงึ นา้ ใจทผ่ี ู้คนในชมุ ชนมอบใหก้ ันในการชว่ ยเหลือกจิ การงานตา่ ง ๆ ให้
สาเรจ็ ลุลว่ งโดยเรว็ ในยุคนีใ้ ชว้ ิธีการว่าจา้ งเปน็ สาคัญ ตั้งแตก่ ารปรบั พื้นท่ี ขุดท้องรอ่ งเตรยี มการทานาเกลือ การกล้งิ ปรบั
ระดับพืน้ นา การร้ือเกลอื การขนถ่ายเกลอื และการกรอกเกลอื บรรจใุ นถงุ เป็นลักษณะการจา้ งแบบเหมา ไม่มีการวา่ จ้าง
แบบรายวัน เพราะแรงงานต้องการเงินจานวนท่แี น่นอน ในขณะที่นาเกลอื ต้องการแรงงานตลอดฤดูเชน่ กนั ปจั จบุ ัน อตั รา
คา่ จ้างแรงงานสูงขึ้นและแรงงานหายากข้นึ เนอ่ื งจากแหลง่ ผลติ อยู่ใกลถ้ นนพระรามท่ี 2 ซ่งึ เปน็ ย่านโรงงานอตุ สาหกรรม
ส่วนหนึ่งทาให้แรงงานในท้องถ่ินไปทางานประกอบกับงานรับจ้างและหาบเกลือเป็นงานใช้แรง ต้องทางานแบกหาม

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บัณฑิตศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


739

ท่ามกลางแดดจัดตลอดเวลา ความหายากของแรงานทาใหค้ า่ จา้ งงานมีแนวโน้มสงู ขึ้น อยา่ งไรกต็ ามยงั สามารถวา่ จ้างแร
งานเพือ่ นบา้ นเพื่อถ่วงดลุ ราคาแรงงาน เป็นการตอ่ รองดา้ นราคาในการว่าจ้าง ปัจจุบนั แรงงานเพอ่ื นบ้านทยอยมาทางาน
ด้านนาเกลือบ้าง มักทาในข้ันตอนเขน็ เกลือ แต่ยงั ไมม่ แี รงงานเพือ่ นบ้านทาในข้ันตอนกลงิ้ นาและเดนิ น้า ซึง่ เป็นงานทต่ี อ้ ง
อาศัยประสบการณส์ งู

ดังนั้นสาเหตุและปจั จยั การใช้ที่ดนิ ในพ้ืนที่ทานาเกลือของจงั หวัดสมุทรสาครได้เปลี่ยนแปลงไป พื้นที่ท่ีเคยเปน็
แหล่งผลิตเกลอื ทะเลไดเ้ ปลีย่ นสภาพการใช้ทดี่ ินไปสู่การผลิตอ่นื ๆ ที่ได้ผลตอบแทนสูงกว่า เช่น การเลีย้ งกุ้ง การใชท้ ่ีดิน
เพอื่ สรา้ งโรงงานอตุ สาหกรรมและทอี่ ยูอ่ าศยั ฯลฯ รวมถงึ ปัญหาในการผลติ เกลอื ทะเลซ่ึงมีทั้งหมด สรปุ ได้ 5 ประการหลกั
ได้แก่ ความไมแ่ น่นอนของปรมิ าณผลผลิต ปัญหาต้นทนุ การผลติ ปญั หาการถอื ครองท่ีดิน ทัศนคตเิ กษตรกร และการเขา้
มาของเกลือสินเธาว์

รปู แบบกำรส่งเสริมกำรทำนำเกลือทะเลสำหรับวสิ ำหกิจชุมชนนำเกลอื แปลงใหญ่ จังหวัดสมทุ รสำคร
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มนี โยบายให้หน่วยงานในสังกัดดาเนินโครงการส่งเสรมิ การเกษตรแบบแปลงใหญ่

โดยส่งเสรมิ เกษตรกรท่ผี ลติ สนิ คา้ ชนดิ เดียวกนั รวมกลมุ่ กนั บริหารจัดการ ตั้งแต่ผลิตสนิ คา้ จนถงึ การตลาดโดยมผี จู้ ัดการ
แปลงใหญเ่ ป็นผู้ขบั เคลอื่ นกจิ กรรมในแปลงใหญ่บูรณาการการทางานรว่ มกันระหวา่ ง ภาครัฐ ภาคเอกชน และเกษตรกร
เพื่อให้เกิดการลดตน้ ทนุ การผลิตเพิ่มผลผลิตพัฒนาคณุ ภาพสินคา้ เกษตรกรมีตลาดรับซอื้ แน่นอนและเกดิ สมดุลระหวา่ ง
อุปสงค์และอุปทานสินค้า อันจะนาไปสู่ความเข้มแข็งของเกษตรกร จนสามารถพ่ึงพาตนเองได้ในที่สุด ซึ่งการส่งเสริม
การเกษตรมีความสาคัญต่อการพัฒนาผลผลิต คุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อมในชนบทให้มีความยั่งยืน โดยการส่งเสริม
การเกษตรเป็นกระบวนการที่เก่ียวกันใน 3 ฝ่ายหลัก ได้แก่ ด้านวิชาการการวิจัยค้นคว้าเทคโนโลยีการผลิต ด้านการ
สง่ เสรมิ พัฒนาความรู้ และดา้ นเกษตรกรผ้ปู ฏบิ ตั ใิ ห้เกิดผลตอ่ การพฒั นา ซ่งึ หลักการส่งเสริมการเกษตร โดยกรมส่งเสริม
การเกษตร (2556) กล่าวว่า การปฏบิ ัตงิ านสง่ เสรมิ การเกษตรมีหลักการสาคัญ ๆ ดงั นี้

1) การส่งเสริมการเกษตร ควรมีลักษณะของระบบงานส่งเสริมการเกษตรท่ีเน้นกระบวนการให้การศึกษา การ
บรกิ ารความรู้การเกษตรเพอื่ การเปลี่ยนแปลงความรู้ ทัศนคติ และทกั ษะหรอื พฤติกรรมของกลุม่ เป้าหมายไปในทางทด่ี ขี นึ้
โดยเน้นการเรียนรู้ดว้ ยการปฏบิ ัติ (learning by doing)

2) ยึดหลักการส่งเสริมการเกษตรแบบผสมผสานในทกุ เรือ่ งท้ังดา้ นเทคโนโลยีผสมผสานกับภมู ิปัญญาชาวบา้ น
ทั้งเร่ืองการบูรณาการความร่วมมือกับทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐ หน่วยงานต่าง ๆ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน หน่วยงาน
เอกชน และภาคเกษตรกร เพอื่ ความรว่ มมือและการมีส่วนร่วมในทุกระดับตั้งแต่ระดับพ้ืนท่ี ท้องถ่นิ อาเภอ จงั หวดั จนถงึ
ระดบั ประเทศ

3) บคุ คลเป้าหมายควรเน้นเกษตรกรรายยอ่ ยในพ้นื ท่เี ปา้ หมายทดี่ อ้ ยโอกาสเปน็ ลาดบั แรก แลว้ จงึ ค่อยขยายออก
ไปสบู่ ุคคลและพื้นทอ่ี ื่น ๆ

4) บุคคลเป้าหมายควรเข้าร่วมกิจกรรมด้วยความสมัครใจ ภายใต้ความศรัทธา ความเช่ือ และประเพณีของ
กลมุ่ เป้าหมายหรือชมุ ชนที่นักส่งเสรมิ การเกษตรเขา้ ไปดาเนินการด้วยความเขา้ ใจในวฒั นธรรมของชมุ ชนนัน้ ๆ ดว้ ย

5) เน้นการทางานในกลมุ่ หรือสถาบนั ของกลุ่มเปา้ หมายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์และความคิดเห็น การ
สรา้ งพลงั เครือข่ายความรว่ มมอื เพือ่ นาไปสูก่ ารช่วยเหลอื ตนเองและการพง่ึ พาซึง่ กันและกันภายในชุมชน

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บัณฑิตศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


740

6) เน้นการสร้างและพัฒนาผู้นาชุมชนด้านการเกษตร เพ่ือเป็นแกนนาในการทางานส่งเสริมการเกษตรเพ่อื ให้
กระจายสู่บุคคลเป้าหมายได้มากทสี่ ุด เพราะนักสง่ เสริมการเกษตรไมส่ ามารถเข้าถงึ บคุ คลเปา้ หมายไดค้ รบทุกราย

7) ส่ิงท่ีนาไปส่งเสริมตอ้ งเร่ิมท่ีความจาเปน็ พ้ืนฐานและเร่งด่วนในการแก้ปัญหาและความต้องการทีแ่ ทจ้ ริงของ
เกษตรกรกล่มุ เปา้ หมาย (Real need) เรมิ่ จากเร่ืองง่าย ๆ ไปสู่เร่อื งยาก เช่น ถ่ายทอดเทคโนโลยที ่ีง่ายไม่ซับซ้อนแลว้ คอ่ ย
ๆ เพม่ิ เติมเทคโนโลยีทม่ี คี วามซับซอ้ นมากขนึ้ เปน็ ลาดบั เร่มิ จากการส่งเสริมพน้ื ทีเ่ ล็ก ๆ ไปสู่พน้ื ท่ใี หญ่ เชน่ เรมิ่ สง่ เสริมใน
แปลงเรยี นรู้ชมุ ชนตน้ แบบ หมูบ่ า้ นนาร่องแล้วจงึ ขยายไปส่พู ื้นที่กว้างขวางขึ้นในระดับทอ้ งถ่ิน ตาบล อาเภอ

8) ความรู้และเทคโนโลยีที่ใช้ในการส่งเสริมการเกษตรต้องเป็นเทคโนโลยีที่เหมาะสมและปลอดภัย การใช้
เทคโนโลยีสมัยใหมผ่ สมผสานภูมปิ ญั ญาชาวบา้ น เป็นมติ รกับสุขภาพและสภาพแวดลอ้ ม ค้มุ ค่าการลงทุน ไม่ซบั ซอ้ น โดย
ยดึ หลกั การอนรุ กั ษ์ระบบนิเวศน์ อนุรักษพ์ ลงั งาน ไม่ขัดแยง้ วฒั นธรรมท้องถนิ่ เพือ่ ความย่ังยนื ของสงั คมและสงิ่ แวดล้อม

9) ความสาเร็จของการส่งเสริมการเกษตรเน้นที่การทาให้บุคคลเป้าหมายช่วยเหลือตนเองได้ (Self-reliance)
รวมถึงการพ่ึงพาซึ่งกันและกันภายในกลุ่ม สถาบัน ชุมชน ซ่ึงการช่วยเหลือตนเองได้น้ัน หมายถึงกลุ่มเกษตรกรท่ีเป็น
เปา้ หมายน้ันมคี วามเขม้ แข็ง สามารถคิด ตดั สินใจ และการดาเนนิ การแกไ้ ขปัญหาของตนเองและชุมชนไดเ้ ป็นลาดับแรก
โดยไม่ต้องรอคอยความช่วยเหลือจากภายนอก หรือในกรณีประสบภัยธรรมชาติก็สามารถร่วมมือกันบรรเทาปัญหา
เบ้อื งต้นและติดต่อประสานงานขอความช่วยเหลอื จากภายนอกไดแ้ ละสามารถฟื้นตวั ไดเ้ รว็

พงษ์ศักดิ์ อังกสิทธ์ิ (2545) กล่าวว่า วิธีการส่งเสริมการเกษตร เป็นกระบวนการของการนาความรู้และ
เทคโนโลยีการเกษตรไปสู่เกษตรกร เป็นลักษณะของการถ่ายทอดซึ่งอาจจะเรียกว่าเป็นวิธีการสอนหรือฝึกอบรม
วัตถุประสงค์มุ่งท่ีจะให้เกษตรกรสามารถสร้างความสนใจ ความรู้ และนาไปสู่การปฏิบัติของเกษตรกรได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ ทั้งน้ีจาเป็นต้องมีปัจจยั เงอ่ื นไขประกอบของแต่ละวิธีการ หรือจะเรียกว่าเทคนิควิธีก็ได้ และยังมีปัจจยั
เกย่ี วกับผู้ถา่ ยทอดหรือเจ้าหนา้ ท่สี ง่ เสรมิ ด้วย

กล่าวโดยสรุปว่าหลักการส่งเสริมการเกษตรมีหลักการสาคัญ คือ ระบบงานส่งเสริมการเกษตรเน้นให้เกิด
กระบวนการเรยี นรู้ โดยการยดึ หลักการสง่ เสรมิ การเกษตรแบบผสมผสานระหว่างดา้ นเทคโนโลยที ท่ี ันสมัย เหมาะสมและ
ปลอดภัย กบั ภมู ิปัญญาชาวบา้ น ภายใตว้ ฒั นธรรมของชมุ ชน เน้นการทางานในรปู กลมุ่ หรือสถาบันของกลุ่มเป้าหมาย เรมิ่
ส่งเสรมิ ในพนื้ ที่เลก็ ๆ ไปสขู่ นาดใหญ่ ความสาเร็จของงานการส่งเสริมการเกษตรเนน้ ท่กี ารทาใหบ้ คุ คลเปา้ หมายช่วยเหลอื
พึง่ พาตนเองได้ ซง่ึ กรมส่งเสรมิ การเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ยงั มองว่าความสาเรจ็ ของการทาการเกษตรแปลง
ใหญ่เป็น การเดินตามรอยเศรษฐกิจพอเพียงพึ่งตนเองได้ของในหลวงรัชกาลท่ี 9 จึงได้มีการนาโครงการระบบส่งเสรมิ
เกษตรแบบแปลงใหญ่ไปใชก้ ับการสง่ เสรมิ และพฒั นาเกลอื ทะเล ทีเ่ ปน็ ทงั้ ภูมปิ ัญญาและนวัตวิถีชีวติ ของเกษตรกรผทู้ านา
เกลือทะเลในพ้ืนที่จงั หวัดสมทุ รสาคร โดยมกี ารนาเทคโนโลยกี ารผลิตเขา้ มาใชใ้ นการลดตน้ ทนุ การผลิตเกลือทะเลแนวทาง
หนึ่ง คือ การนาผ้าใบมาใช้ปูพื้นนาเกลือทะเล เพื่อให้แก้ไขปัญหาด้านคุณภาพผลผลิตที่ไม่สามารถควบคุมได้จาก
กระบวนการผลิตเกลือสมุทรหรือเกลือทะเลแบบด้ังเดิม ซ่ึงผลจากการปูผ้าใบในแปลงนาเกลือ (นาปรง) จะ ช่วยลด
คา่ แรงงาน ค่านา้ มนั ในการบดอดั พน้ื ดนิ ในแตล่ ะรอบการผลติ รวมถึงคา่ ซอ่ มเคร่อื งจกั ร ในขณะท่ีคุณภาพเกลอื ทะเลที่ได้
นั้นพบว่าไดเ้ กลอื ขาวเพม่ิ ขนึ้ จากร้อยละ 20 เปน็ รอ้ ยละ 80 เกลอื กลาง ลดลงจากรอ้ ยละ 60 เปน็ ร้อยละ 20 และเกลอื ดา
จากร้อยละ 20 เป็นร้อยละ 0 คอื ไมม่ ผี ลผลิตท่เี ป็นเกลือดาเลย และจะช่วยเพมิ่ รอบการผลิตเกลอื จากปีละ 5 รอบ เปน็ ปี
ละ 7 รอบ รวมถึงผลผลิตต่อรอบจะเพม่ิ ขน้ึ มคี ณุ ภาพดตี รงความตอ้ งการของตลาด รวมทง้ั ยงั ชว่ ยลดตน้ ทนุ การผลิตลงได้
อีกด้วย ซึ่งทั้งนี้ผู้บริโภคสามารถมั่นใจไดว้ า่ ผ้าใบทใ่ี ช้ปูพื้นนาเกลอื ทะเล เป็นวัสดุท่ีผลิตจากเม็ดพลาสติก High Density

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บณั ฑติ ศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


741

Polyethylene (HDPE) ผลิตจากเม็ดพลาสตกิ ใหม่บรสิ ุทธิ์ โดยไม่ผ่านการใชง้ านมาก่อน และเป็นพลาสติกคณุ ภาพสาหรบั
อาหาร (Food grade) ซ่ึงถือได้ว่ามีการเปลี่ยนและการพัฒนากระบวนการผลิตเกลือทะเลให้มีความทนั สมัย ทั้งน้ี การ
รวมตัวกันทานาเกลือในรูปของแปลงใหญ่จะก่อให้เกิดประโยชน์หลายประการ เช่น การรวมซ้ือรวมขาย การรวบรวม
อุปกรณ์ต่างๆ ในการทานาเกลือ ไว้ในจุดเดยี วและมีการบริหารจดั การใช้ประโยชน์ร่วมกัน เมื่อเกษตรกรรวมตวั กันก็จะ
กอ่ ใหเ้ กิดพลงั ขนึ้ สรา้ งอานาจการตอ่ รองขึน้ และไมถ่ กู เอารัดเอาเปรยี บจากพ่อค้าคนกลางและเกษตรกรมีความมงุ่ หวงั ให้
เกษตรกรกาหนดราคาเกลือเองได้

วิจำรณ์ผลกำรวจิ ัย

การผลิต การส่งเสรมิ และการตลาดของวสิ าหกิจชมุ ชนนาเกลือแปลงใหญ่ จงั หวัดสมุทรสาคร ควรมกี ารกาหนด
นโยบายเพือ่ การวางแผนการบริหารพ้นื ท่นี าเกลือ หากใหม้ ีการเปล่ยี นแปลงเปน็ ไปตามธรรมชาตแิ ล้ว อาจคาดการณ์ได้
ว่าในอนาคต อาจจะไม่มีโอกาสไดเ้ ห็นอาชีพเกษตรกรนาเกลือ เน่ืองจากเหตุผลทางเศรษฐกิจเป็นสาคัญเพราะเจ้าของ
กรรมสิทธิ์ในที่ดินหรือเกษตรกรผู้เช่าทานาเกลือได้ผลประโยชน์ตอบแทนไม่คุ้มค่ามีความลาบากและทุกข์ยากในการ
ประกอบอาชพี ดงั นน้ั เพอื่ ใหอ้ าชพี เกษตรกรนาเกลอื ดารงคงอยู่ได้ต้องไดร้ บั การส่งเสรมิ พัฒนา และสนับสนุนจากหลาย
ฝา่ ย เชน่ ผู้เปน็ เกษตรกรนาเกลือ ผู้เปน็ เจา้ ของกรรมสิทธิ์ทด่ี นิ ชุมชน หน่วยราชการ และองค์การปกครองทกุ ระดับตัง้ แต่
ระดบั ท้องถน่ิ ระดบั ภูมิภาคและระดับชาตโิ ครงการต่างๆ ที่จะมผี ลต่อการปรับเปล่ียนสถานะพื้นที่นาเกลอื ใหเ้ ปน็ พ้ืนที่ชุ่ม
น้า ต้องคานึงถงึ ผลกระทบต่อการทานาเกลอื มีมาตรการรักษาคณุ ภาพน้า ท้ังน้าเพื่อสาธารณูปโภค น้าที่ปลอ่ ยลงส่อู า่ ว
ไทย สารปนเปอ้ื นประเภทตา่ งๆ และควรมกี ารประเมนิ คุณค่าของพน้ื ที่นาเกลือท่เี ป็นอยใู่ นปัจจบุ นั ด้วยหลักการทถ่ี กู ต้อง
ทางวทิ ยาศาสตร์ รวมถงึ คุณคา่ ทางประวัติศาสตร์ในอดีตของสภาพแวดล้อมและวถิ ีนวัตกรรมท้องถ่ินในพืน้ ท่นี าเกลอื

สรุปผลกำรวจิ ยั

การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการผลิตเกลือทะเลของเกษตรกรผู้ทานาเกลือจังหวัดสมุทรสาคร และรูปแบบการ
สง่ เสรมิ การทานาเกลอื ทะเลสาหรับวสิ าหกิจชมุ ชนนาเกลอื แปลงใหญ่ จังหวัดสมทุ รสาคร ในปจั จบุ ันสอคคลอ้ งกับแนวคดิ
การเปลีย่ นแปลงทางสังคมและวฒั นธรรม คอื สังคมและวฒั นธรรมของชาวนาเกลือมกี ารเปลีย่ นแปลงแบบคอ่ ยเปน็ ค่อย
ไปที่เกิดจากปัจจัยท่ีมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงการใช้ท่ีดินนาเกลือ 5 ประการหลัก ได้แก่ ความไม่แน่นอนของปริมาณ
ผลผลติ ปัญหาต้นทนุ การผลิต ปญั หาการถอื ครองทดี่ นิ ทัศนคติเกษตรกร และการเข้ามาของเกลือสินเธาว์ และจากการท่ี
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีนโยบายให้หน่วยงานในสงั กัดดาเนิน “โครงการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่” โดย
สง่ เสริมเกษตรกรทผ่ี ลติ สนิ คา้ ชนดิ เดียวกนั รวมกลุ่มกนั บริหารจัดการ ต้ังแต่ผลติ สินคา้ จนถงึ การตลาดโดยมีผู้จดั การแปลง
ใหญเ่ ป็นผู้ขับเคลอ่ื นกิจกรรมในแปลงใหญ่บรู ณาการการทางานรว่ มกนั ระหวา่ ง ภาครัฐ ภาคเอกชน และเกษตรกร เพอ่ื ให้
เกิดการลดตน้ ทุน การเพ่ิมผลผลติ พัฒนาคณุ ภาพสินค้าเกษตรกร มตี ลาดรับซ้อื แนน่ อน และเกดิ สมดุลระหวา่ งอปุ สงค์
และอุปทานสินค้า อันจะนาไปสู่ความเข้มแข็งของเกษตรกร จนสามารถพึ่งพาตนเองได้ในท่ีสุด ด้วยการส่งเสริมการ
รวมกลุ่ม การบริหารจัดการแปลงใหญ่ การตลาด เพ่ือให้การผลิตในแปลงใหญส่ ามารถเชื่อมโยงถึงการตลาด รวมถงึ การ
จัดทาขอ้ ตกลงซื้อขายผลผลติ ในพน้ื ทแ่ี ปลงใหญ่กบั คู่ค้าภาคเอกชน โดยการสง่ เสริม และสนบั สนนุ เกษตรกรผูท้ านาเกลือ

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บณั ฑติ ศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


742

ทะเล ร่วมกลุ่มเป็น “แปลงใหญ่นาเกลือ” และมีการแตง่ ตง้ั คณะกรรมการบริหารแปลงใหญ่ ซ่ึงคาดวา่ จะช่วยลดต้นทนุ
การผลติ ได้ ประมาณ 20% จากต้นทุนการผลติ เกลือทะเล 1,200 บาท/เกวียน ซงึ่ วิธกี ารที่จะชว่ ยในการลดต้นทนุ การผลติ
ประกอบไปดว้ ย การใช้พลงั ไฟฟ้าจากแสงอาทิตยท์ ดแทนการใช้น้ามันเชือ้ เพลงิ กงั หนั ลมหวดิ นา้ เขา้ นาเกลือ การใชแ้ ผ่น
พลาสตกิ ในการทานาเกลอื การใช้เทคโนโลยสี มยั ใหม่ เช่น เครอ่ื งดูดเกลือ สายสะพานลาเลียงเกลอื ในการขนส่งแทนแรงง
งานคน ท่ีกาลังอย่ใู นภาวะเสี่ยงต่อการขาดผู้สบื ทอดการทานาเกลอื ตอ่ จากบรรพบุรุษ และวิธีการทานาเกลือแปลงใหญ่
พรอ้ มทั้งกาหนดทิศทางทชี่ ดั เจน เพอ่ื ใหส้ อดรบั กับนโยบายของรฐั บาลต่อไปในอนาคต

กติ ติกรรมประกำศ

บทความ เร่ือง การผลิต การส่งเสริม และการตลาดของวิสาหกิจชุมชนนาเกลอื แปลงใหญ่ จังหวัดสมุทรสาคร
ฉบับน้ีผู้เขยี นขอขอบคุณขอ้ มูลงานวจิ ยั เกี่ยวกบั เกลอื ทะเลทุกท่านที่เป็นข้อมูลและเป็นแนวทางในการพัฒนาเกลือทะเล
ต่อไปในอนาคตให้มีความยั่งยืน และขอขอบคุณผู้ช่วยศาตราจารย์ ดร.วีณา นิลวงศ์ อาจารย์ที่ปรึกษาท่ีให้คาแนะนา
แก้ไขและเตมิ เตมิ บาความฉบับนใี้ ห้มคี วามสมบรู ณ์มากยิ่งข้ึน

เอกสำรอำ้ งองิ

กรมส่งเสริมการเกษตร. (2556). เอกสำรประกอบกำรสมั มนำกำรฝึกอบรมทมี วทิ ยำกรหลกั ในกำรถ่ำยทอดควำมรู้เร่อื ง
วสิ ำหกิจชุมชน. (อดั สาเนา).

รำยงำนผลกำรดำเนนิ งำนคณะกรรมกำรพฒั นำเกลอื ทะเลไทย ปี 2563. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พช์ ุมนุมสหกรณ์การเกษตร
แหง่ ประเทศไทย จากดั .

คณะอนกุ รรมการจดั การความรเู้ พอ่ื ผลประโยชน์แห่งชาตทิ างทะเล. (มปป.). รปู แบบทำงกฎหมำยในกำรจดั ตังองคก์ ร. (อัด
สาเนา)

ญาณิศา อัตตรัตยา. (2557). กำรเปลยี่ นแปลงกำรใชท้ ด่ี นิ นำเกลือ จังหวดั สมทุ รสงครำม. วิทยานิพนธ์ปรญิ ญาการ
วางแผนภาคและเมอื งมหาบณั ฑติ . จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั .

ธนิตย์ อเนกวทิ ย.์ (2560). โครงกำรระบบส่งเสริมกำรเกษตรแบบแปลงใหญ.่ ออนไลน.์ สบื คน้ เมอื่ 17 มถิ ุนายน 2565,
จาก http://www.plan.doae.go.th/WebPlanningGp/yut23.docx.

พงษศ์ ักด์ิ อังกสทิ ธ์.ิ (2545). กำรนเิ ทศงำนสง่ เสรมิ กำรเกษตร. กรุงเทพฯ: บรษิ ัท ครีเอท มายด์ จากัด.
Jones & Clark. (1997). Driving Forces behind European Land Use Change: An Overview. Paper

presented at the The User Needs for More Harmonized Land Use Information at the National
and EU Level. CLAUDE workshop Wageningen. The Netherlands.

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บัณฑิตศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


743

ศักยภำพทรัพยำกรกำรเกษตรในพืนทล่ี ุ่มนำแม่กวง จงั หวดั เชยี งใหม่
Potential of Agricultural Resources in the Mae Kuang River Basin, Chiangmai

Province

นำยวรชยั ทองคำฟู
Worachai Thongkamfoo

สาขาการจัดการ และ พัฒนาทรพั ยากร คณะผลติ กรรมการเกษตร มหาวิทยาลยั แมโ่ จ้ จงั หวดั เชยี งใหม่ ประเทศไทย 50290
Resources Management and Development, Faculty of Agricultural Production,
Maejo University, Chiangmai Province, Thailand 50290
Email:[email protected]

บทคัดยอ่

การวิจยั ครั้งน้ีมวี ัตถปุ ระสงค์ เพอื่ ศกึ ษาศักยภาพทรพั ยากรทางการเกษตรในพน้ื ท่ลี ุม่ น้าแม่กวง จงั หวัดเชียงใหม่
ใช้การจัดเก็บข้อมลู อยา่ งบูรณาการ การมสี ่วนรว่ มของชุมชน เปน็ การวิจยั เชิงปฏบิ ัตกิ ารแบบมีสว่ นร่วม

ผลการวิจัยพบว่า ในการจัดการทรัพยากรทางการเกษตรในลุ่มน้าแม่กวงท่ีมีความสัมพันธ์ และมีรูปแบบ
การเกษตร ในพนื้ ที่โดยแยกออกเปน็ พื้นท่แี ม่กวงตอนบน และแมก่ วงตอนลา่ ง ท่มี คี วามสมั พันธ์ท่ีสอดคลอ้ งกบั สภาพภูมิ
ประเทศและภูมิสังคม โดยมีองค์กรภาคีเครือข่ายภาคเอกชน ภาครัฐ องค์กรสาธารณะ เป็นตัวกระตุ้นให้เกิดการ
ปรับเปล่ยี นในทศิ ทางที่ดีข้ึน ทาใหย้ กระดบั คุณภาพชวี ติ ของคนในสงั คม ซ่ึงต้องอาศยั องคค์ วามรู้ใหมม่ าเพม่ิ ประสิทธภิ าพ
พร้อมทงั้ ไดน้ ารปู แบบและวธิ จี ดั การเพ่ือให้เกดิ การพัฒนา รวมท้งั การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศมาวเิ คราะห์เพื่อให้เกิดการ
ผลกั ดันไปสู่การจัดการทรัพยากรการเกษตรท่ดี ี มีการบรหิ ารจัดการลุ่มนา้ ใหเ้ ท่าทันสถาณการณ์ เกิดการมีส่วนร่วมของ
ชุมชน เพื่อเป้าหมายสู่การจัดการการเกษตรที่สามารถยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน ส่งผลให้พ้ืนท่ีมีการพัฒนา
รปู แบบทรพั ยากรทางการเกษตรสูค่ วามยงั่ ยนื

คำสำคญั : การจดั การทรพั ยากรเกษตร เกษตรยง่ั ยนื เครอื ขา่ ยลุ่มน้า

Abstract

The objective of the study was to study the potential of agricultural resources in the Mae Kuang
Basin network area, Chiang Mai Province. The research method was using integrated data storage by
community involvement, which was a participatory action research. The research found that the
management of agricultural resources in the cascade basin that was related, and there was an
agricultural model in the area separated into the upper and lower areas, which related and consistency

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บัณฑติ ศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


744

to the topographical and geopolitical conditions. The network organization private sector, government,
and public organization were the catalyst for better direction,improving the life quality of life for peoples
in the society, which required the new knowledge to increase efficiency, as well as to apply forms and
management methods for development, including the use of information technology to analyze in
order to push the good agricultural resource management. There was a watershed management to keep
up with the situation community participation, and to aim for agricultural management that can improve
life quality of the peoples in the community. As a result, the area has developed an agricultural resource
model for sustainability.

Keywords: Management of agricultural resources, Sustainable agriculture, Watershed network

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บัณฑิตศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


745

คำนำ

ลมุ่ น้าแม่กวงเป็นล่มุ น้าสาขาของแม่นา้ ปงิ อยใู่ นขอบเขตของพ้นื ทีป่ ่าสงวนปา่ ขนุ แม่กวง และเขตอุทยานแห่งชาติ
แม่ตะไคร้ พ้ืนที่ลุ่มน้าแม่กวง อยู่ในขอบข่ายการดาเนินงานของโครงการพัฒนาพ้ืนท่ีป่าขุนแม่กวงอันเนื่องมาจาก
พระราชดาริ พน้ื ท่ปี ระมาณ 345,000 ไร่ ครอบคลุมตาบลเทพเสดจ็ ตาบลปา่ เม่ียง ตาบลเชิงดอย ตาบลลวงเหนอื ตาบล
แม่โป่ง อาเภอดอยสะเก็ด และ ตาบลห้วยแก้ว อาเภอแมอ่ อน จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งเป็นลมุ่ น้าท่ีสาคญั ในการผลิตนา้ ลงสู่
อา่ งเก็บน้าแมก่ วงอุดมธารา ท่ีมคี วามจุประมาณ 256 ลา้ นลกู บาศก์เมตร มพี ้ืนที่ทา้ ยอา่ งท่อี ยใู่ นเขตลมุ่ นา้ แมก่ วง ในท้องท่ี
อาเภอสนั ทราย อาเภอสันกาแพง อาเภอสารภี จงั หวดั เชยี งใหม่ อาเภอเมอื ง จงั หวัดลาพูน บรรจบกับแมน่ ้าปงิ ท่บี า้ นสบ
ทา อาเภอแมท่ า จังหวัดลาพูน (สานักงาน กปร .2547)

วิถีชีวิตของชุมชนลุ่มน้าแม่กวงมีวัฒนธรรมที่หลากหลาย มีทรัพยากรที่อุดมสมบูรณ์ ลุ่มน้าแม่กวงมีสายน้า
ธรรมชาตทิ ม่ี ีการปลดปลอ่ ยอยา่ งตอ่ เนือ่ งไม่ขาดสาย เปน็ แหล่งผลติ นา้ ลงสอู่ า่ งเก็บนา้ เข่อื นแม่กวงอุดมธารา มคี วามยาว
50 กิโลเมตร โดยมีสายนา้ หลกั อยู่ 5 สาย และมชี ุมชนอยรู่ ะหวา่ งสายนา้ คอื

(1) น้าแม่กวง มีแหล่งผลิตน้าจากดอยนางแก้วและดอยหลวง ไหลทอดตัวจากยอดดอยนางแก้ว เขตติดต่อ
ตาบลแม่เจดยี ์ใหม่ อาเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย จากทิศตะวันออกเฉยี งเหนือลงสู่ทิศตะวันตก เลาะริมถนนทาง
หลวงหมายเลข 118 เชียงใหม่-เชียงราย ชุมชนที่แม่น้าไหลผ่าน 4 หมู่บ้าน คือ บ้านปางอั้น บ้านปางน้าถุ บ้านห้วยหมอ้
บ้านปางแฟน และบา้ นแมห่ วาน ตาบลป่าเม้ียง มคี รัวเรอื นประมาณ 651 ครัวเรือน จานวนประชากร 2,181 คน ไหลมา
บรรจบกบั ลาหว้ ยแมห่ วานท่ีบรเิ วณบา้ นแม่หวาน มีความยาวประมาณ 33 กิโลเมตร

(2) ลานา้ แม่หวาน แหล่งตน้ น้าจากดอยลงั กาเขตตดิ ตอ่ ระหวา่ ง ตาบลแม่เจดยี ์ใหม่ อาเภอเวยี งปา่ เป้า จังหวดั
เชียงราย ตาบลแจ้ซอ้ น อาเภอแจห้ ม่ จงั หวัดลาปาง อยู่ทิศตะวันออกของพื้นท่ี ไหลลงบรรจบกบั ลาห้วยแม่กวงที่บ้านแม่
หวาน ไหลผ่านชุมชน จานวน 6 หมู่บ้าน 2 ตาบล คอื บ้านแมต่ อน บ้านปางกาแพงหิน บา้ นปา่ ป่าน บา้ นนา้ โค้ง บ้านปาง
บง ตาบลเทพเสด็จ และบ้านแม่หวาน ตาบลป่าเม่ียง อาเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ มีครัวเรือนประมาณ 248
ครวั เรอื น จานวนประชากร 1,103 คน ความยาวประมาณ 39 กิโลเมตร

(3) ลาน้าแม่วอง มีแหล่งต้นน้าอยู่บริเวณบ้านแม่ตอนหลวง เขตติดตอ่ ระหว่าง ตาบลแจ้ซ้อน จังหวัดลาปาง
ไหลทอดจากทศิ ตะวนั ออกเฉยี งไตส้ ู่ทศิ ตะวนั ตก ไหลผา่ นชมุ ชน 4 หมบู่ ้าน 2 ตาบล คือ บ้านพงษ์ทอง บา้ นดง บา้ นปางไฮ
ตาบลเทพเสดจ็ บ้านแมห่ วาน ตาบลป่าเมีย่ ง มจี านวนครวั เรือน 286 ครวั เรอื น จานวนประชากร 1,032 คน ไหนบรรจบ
กบั ลาห้วยแมก่ วงท้ายหมบู่ า้ นแม่หวาน มคี วามยาวประมาณ 29 กิโลเมตร

(4) ลาน้าแมล่ าย เปน็ แหลง่ น้าทไ่ี หลทอดจากทิศตะวนั ออกเฉยี งไตส้ ู่ทศิ ตะวันตก เขตตดิ ตอ่ บา้ นปา่ เมย้ี ง ตาบล
แจซ้ ้อน อาเภอแจ้ห่ม จังหวัดลาปาง มแี หล่งกาเนิดตน้ นา้ เป็นลาหว้ ย 2 สาย คือห้วยแม่ลาย ไหลจากดอยแมก่ าปอง และ
ลาห้วยแมล่ ายนอ้ ยไหลจากดอยบ้านป๊อก ผ่านบ้านปางจาปี ไหลมาบรรจบท่บี า้ นแม่เตาดนิ ตาบลหว้ ยแก้ว อาเภอแมอ่ อน
บ้านโป่งสามัคคี และบา้ นโปง่ กมุ่ ตาบลป่าเมยี่ ง รวมกัน 8 หมบู่ ้าน มีจานวนครัวเรือนประมาณ 1,449 ครวั เรอื น จานวน
ประชากร 3,604 คน ลาน้าแมล่ ายไหลมาบรรจบกับลาน้าแม่กวง ทบ่ี ้านโป่งดิน รวมระยะทางประมาณ 27 กโิ ลเมตร

(5) ลานา้ ห้วยคงั มแี หล่งกาเนิดจากดอยบวกเตา่ ทศิ เหนือของเข่ือนแม่กวง เขตตดิ ตอ่ ระหว่าง ตาบลโหล่ งขอด
อาเภอพร้าว ไหลผ่าน 1 หมู่บ้าน คือบ้านป่าสกั งาม ตาบลลวงเหนือ มีจานวนครัวเรือน 92 ครัวเรือน จานวนประชากร
385 คน ลาห้วยคังไหลลงสเู่ ข่อื นแมก่ วงอุดมธารา มีความยาวประมาณ 11 กิโลเมตร

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บณั ฑิตศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


746

แต่ละชุมชนก็จะมีลักษณะการถือครองพ้ืนที่ที่แตกต่างกัน มีลักษณะการทาการเกษตรปรับประยุกต์ใช้ตาม
ลักษณะพ้นื ท่ีใหเ้ หมาะสมและสอดคลอ้ ง การจัดการทรพั ยากรทางการเกษตรของพ้ืนทเี่ ปน็ การจัดรปู แบบตามลักษณะภมู ิ
สังคมและตามลักษณะภูมิประเทศ ปัจจุบันได้มีปรากฏการณ์ตา่ ง ๆที่เกิดข้ึนกับทรัพยากรธรรมชาติ ส่งผลให้เกิดความ
แปรปรวนของสภาพภูมิอากาศและภูมิประเทศ รวมท้ังมีการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตสภาพสังคมและชีวิตความเปน็ อยู่ของ
ประชาชนตลอดไปถึงเกษตรกร รามทัง้ การทากิจกรรมรูปแบบใหม่เกดิ ข้ึน กลุม่ ทนุ ทมี่ ศี กั ยภาพในการบริหารจัดการใน
พื้นที่ ตลอดการขยายตวั ทางดา้ นเศรษฐกจิ ของเมืองเชยี งใหม่ส่งผลใหก้ ารเจรญิ ในพืน้ ท่ีคอ่ นข้างเปน็ ไปอยา่ งรวดเร็ว พน้ื ท่ี
ก็มีการใช้ประโยชน์ตามความเหมาะสม (ปิยะดา วชิระวงศกร, 2562) ได้แสดงแนวความคิดในเรื่องของการจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติที่ชุมชนสามรถนามาใชป้ ระโยชนท์ กี่ ล่าวมาเบ้อื งต้น

จากสภาพปญั หาของการทาการเกษตรทเ่ี กิดขนึ้ ท่ผี ่านมาทาใหเ้ กิดวัตถุประสงคใ์ นการทาวิจยั ครั้งน้ี 1) การศึกษา
ศักยภาพการจัดการทรัพยากรทางการเกษตรในพื้นท่ีลุ่มน้าแม่กวง จังหวัดเชียงใหม่ 2) แนวทางปฏิบัติที่ดีต่อการทา
การเกษตรในพ้นื ที่ลมุ่ นา้ แมก่ วง จังหวัดเชียงใหม่ สู่การพฒั นาแนวคดิ ทีม่ ุง่ แสวงหาทางออกให้กบั สงั คมเกษตรกรรม การ
หาแนวทางใหม่เพื่อแกไ้ ขปญั หาในประเทศทีก่ าลงั พัฒนา มกี ารบกุ เบิกเกย่ี วกับเกษตรแผนใหมต่ ามกระแสและมคี วามคิด
ที่สะสมมายาวนาน และยังมีการต้ังข้อสงสยั ตอ่ ระบบเกษตรแผนใหม่ที่มุ่งเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรโดยการใช้ปุ๋ยเคมี
บารงุ ดิน ใชส้ ารเคมกี าจดั ศัตรพู ืช ไดก้ ่อผลกระทบตอ่ สิง่ แวดลอ้ ม การใช้ปยุ๋ เคมีในระยะยาวนาน ทาให้ธาตุอาหารในดนิ ถูก
ดงึ มาใช้ประโยชน์โดยขาดการบารุงรกั ษา การใชป้ ยุ๋ เคมีทผี่ ่านมาเกษตรกรในภาพเดมิ คิดวา่ เปน็ การกระตนุ้ ในการบารุงดนิ
กระตุ้นให้พืชดูดแร่ธาตุอ่นื ท่ีมีอยู่ในดิน แต่เป็นการเสอ่ื มสลายของธาตอุ าหารในดิน เห็นได้ชัดจาการเสื่อมประสิทธภิ าพ
การใช้ปุ๋ยลดลงเมื่อเวลาท่ีผ่านมา ปัญหาเบ้ืองต้นที่ (วิฑูรท์ เล่ียนจารูญ, 2535) ได้กล่าวไว้และได้ให้แนวคิดการทา
เกษตรกรรมทางเลอื ก

อุปกรณ์และวธิ ดี ำเนนิ กำรวิจัย

วธิ กี ำรดำเนนิ กำรวิจยั :ขนั ตอนท่ีจะเขำ้ ใจปญั หำ
การวิจัยคร้ังน้ีเป็นการทาวิจัยแบบเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ซึ่งได้มาจากข้อมูลท่ีสามารถตอบ

วัตถุประสงค์ในการจัดการทรัพยากรการเกษตรในพ้ืนท่ีลุ่มน้ากวงจังหวัดเชียงใหม่ และศึกษาศักยภาพ เพื่อให้เกิด
แนวทางในการปฏิบัติการเกษตรท่ดี ใี นพ้นื ท่ลี ุ่มน้าแม่กวงจังหวดั เชียงใหม่ เปน็ การเกบ็ รวมรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์
เชิงลึก (In-depth Interview) การสนทนากลุ่มย่อย (Focus Group) ในการค้นหาผู้มีความรู้ เพื่อค้นหาแนวทางการ
จัดการทรัพยากรทางการเกษตรในลุ่มน้าแม่กวงจังหวัดเชียงใหม่ และการวิจัยเชิงปริมาณใช้รูปแบบการวจิ ยั เชิงสารวจ
ออกแบบความคิดเหน็

ประชำกรกลมุ่ ตวั อยำ่ ง
1. ประชากร (Population)
ชุมชนในพื้นทล่ี ุม่ นา้ แม่กวง จานวน 2 อาเภอ 6 ตาบล 55 หมู่บ้าน โดยจะทาการศึกษาขอ้ มลู จาก

ซ่ึงประกอบด้วย ผู้นาชุมชน/เครือข่ายชุมชน ปราชญ์ชาวบ้าน ผู้นากลุ่มองค์กรเอกชน องค์กรภาครัฐ นักวิชาการ ท่ี
เก่ยี วข้องกับการจดั การทรพั ยากรทางการเกษตรในพ้ืนที่ลุ่มน้าแมก่ วง

2. กลุ่มตัวอย่าง (Sample)

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บัณฑิตศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


747

กลุ่มเกษตรกรท่ีดาเนินกิจกรรมในพื้นที่ลุ่มน้าแม่กวง กลุ่มเครือข่ายเกษตรกรรม กลุ่มเกษตรที่
ประสบผลสาเรจ็ กลุ่มเกษตรแปลงใหญ่ กลุ่มพัฒนาอาชีพเกษตร กลมุ่ วสิ าหกจิ ชมุ ชน

3. ผ้ใู ห้ข้อมูลหลัก (Key Informants)
ผ้ปู ระสบผลสาเรจ็ ในเรอ่ื งการจดั การเกษตร ปราชญ์ชาวบ้านดา้ นเกษตรกรรมในชมุ ชนเกษตรกร

ตัวอยา่ ง นกั วิชาการท่สี นบั สนุนในการส่งเสริมดา้ นเกษตรกรรม
กำรเก็บรวมรวมข้อมูล
ขอ้ มูลทไี่ ดร้ วบรวมเพ่ือใช้ในการวจิ ัยสามารถแบ่งได้ออกเป็น 2 ประเภท
1.ข้อมูลทตุ ิยภมู ิ เปน็ การรวบรวมขอ้ มูล เอกสารทางวิชาการ ผลงานทเ่ี กี่ยวข้องรวมทัง้ รวบรวมจากงาน

ของหน่วยงานภาครัฐและองค์กรเอกชน เปน็ พืน้ ฐานของงานวิจยั
2.ข้อมูลปฐมภูมิ การสารวจภาคสนาม (Field survey method) โดยการ สังเกต การสัมภาษณ์ การ

สนทนากลุ่ม (Focused Group) ซึ่งประเดน็ คาถามแบง่ ออกเป็น 2 ตอน คือ ตอนที่ 1 การศึกษาศกั ยภาพทางทรพั ยากร
เกษตร ภูมิปัญญา โครงสรา้ ง การใชป้ ระโยชน์และการจดั การทรพั ยากรเกษตร ตอนท่ี 2 เป็นการศึกษาแนวทางปฏิบตั ทิ ดี่ ี
ตอ่ ทรพั ยากรสง่ิ แวดล้อม เศรษฐกิจ สงั คม เพ่อื นาไปสกู่ ารจัดการทรพั ยากรเกษตรอย่างมปี ระสทิ ธ์ิภาพ

กำรวิเครำะห์ข้อมลู
การวิเคราะหข์ ้อมูลเปน็ การวเิ คราะห์เนอ้ื หา (Content analysis) โดยการวิเคราะห์และสงั เคราะห์ สาระสาคัญที่
ได้จากการรวบรวมข้อมูลในวิธีตา่ ง ท้ังจากเอกสาร การสมั ภาษณ์ การสงั เกต แล้วนาข้อมลู ทไี่ ดท้ ้งั หมดมาทาการวเิ คราะห์
สร้างข้อสรปุ และเรียบเรยี งนาเสนอขอ้ มูลในประเด็นตา่ ง ในรูปแบบวธิ พี รรณนา (Description)

ผลกำรวิจัย

1.ศกั ยภาพของพ้นื ที่ลุ่มน้าแมก่ วงจังหวดั เชยี งใหม่ พบวา่ สภาพภูมิศาสตรข์ องพื้นที่แบง่ ออกเปน็ 2 ส่วนคือ พน้ื ที่
ลมุ่ แม่น้ากวงตอนบน และพ้ืนท่ลี ่มุ นา้ กวงตอนลา่ ง ซงึ่ พ้ืนทล่ี มุ่ นา้ กวงตอนบนเป็นที่ป่าไมเ้ ป็นสว่ นใหญ่ (เกษม จันทร์แกว้ .
2539) ไดก้ ล่าวถึงพ้ืนที่ลุม่ นา้ โดยพ้นื ท่ขี องล่มุ นา้ แม่กวงเปน็ ลักษณะของลุ่มนา้ ชัน้ 1 มีความลาดชัดคอ่ นข้างสูง มคี วามสงู
ระดับน้าทะเลต้งั แต่ 600-1,850 เมตร สภาพทรพั ยากรเปน็ ปา่ ดิบแลง้ ไปถึงป่าสนเขา มีการทาการเกษตรกรรมทไ่ี ม่ส่งผล
ตอ่ สภาพทรพั ยากร เปน็ การจัดสรรพนื้ ทีท่ ากินและพ้ืนท่ีอยู่อาศัยอย่างชัดเจน มภี มู ปิ ญั ญาท้องถ่นิ ในการจัดการทรพั ยากร
ประกอบอาชีพเกษตรกรรมอยา่ งเหมาะสม คือการปลูกเมี่ยง กาแฟ นาไม้ป่าท่ีสามารถสร้างรายได้มาปลูกในพื้นท่ีของ
ตนเอง ลุ่มน้าแม่กวงก็เป็นพื้นทผี่ ลิตน้า 5 สายลงสู่เขื่อนแม่กวง ที่เป็นแหล่งน้าหล่อเล้ยี งพ้ืนทีล่ ุ่มน้าแม่กวงตอนล่าง ซึ่ง
แม่กวงตอนลา่ งจะมีลกั ษณะการเกษตรท่อี าศัยน้าเป็นหลกั โดยอาศยั น้าจากเขอ่ื นแม่กวง การเกษตรดา้ นทา้ ยอา่ งจะเป็น
การ ทานา ไร่นาสวนผสม และส่วนท่ีพ้ืนทนี่ อกเหนือเขตชลประทานจะเป็นรูปแบบการทาการเกษตรที่ใช้น้าน้อยแล้วแต่
ลกั ษณะพืน้ ที่ โดยความสู่งเฉล่ยี ของพนื้ ท่ีท 220-500 เมตร

2.แนวทางในการปฏิบตั ิทด่ี ีต่อการจดั การทรพั ยากรทางการเกษตรในพ้นื ท่ลี ุ่มน้ากวงจังหวดั เชียงใหม่ ในพ้ืนท่ี
ลุ่มน้ากวงตอนบน ทีม่ ลี กั ษณะพืน้ ท่ีต้นนา้ ลาธารกิจกรรมทางการเกษตรนนั้ จะสง่ ผลกระทบต่อสภาพทรพั ยากรนอ้ ยทส่ี ดุ
(ศรีวรรณ ไชยสุข, 2555) ได้กล่าวถึงการจัดการทรัพยากรท่มี ีความหลากหลายในพนื้ ท่ี โดยมีรูปแบบการทาการเกษตร

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บัณฑติ ศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


748

ดังนี้ ในพื้นที่ตาบลเทพเสด็จ ตาบลป่าเมี้ยงบางส่วน และตาบลห้วยแก้วบางส่วน อาชีพคือการทาสวนเม้ียง เป็นอาชีพ
ดั้งเดิม และมีการปลูกกาแฟเป็นพืชเสรมิ ในการปลกู ไม่ไดเ้ ปดิ พนื้ ทเ่ี พอ่ื ในการจดั การเปน็ ลกั ษณะพืชเชิงเด่ยี วทมี่ ีแต่กาแฟ
แต่เป็นการปลูกพืชใต้ร่มเงาของตน้ ไม้ใหญ่โดยให้กาแฟรับแสงจากตน้ ไม้ใหญ่ประมาณ 30% ของพื้นที่ ทาให้พ้ืนที่ยงั คง
เป็นสภาพท่ปี กคลมุ ไปดว้ ยแมกไมป้ ่า รวมท้ังภมู ิปัญญาเดมิ ในการหากินในพ้ืนที่ก็จาลองพนื้ ทแี่ ปลงเกษตรของตนเองเป็น
พืน้ ท่ปี ่า ท่สี ามารถสร้างรายได้ โดยนาไมป้ ่าท่สี ามารถสรา้ งเปน็ รายไดเ้ ขา้ มาจดั การในแปลงเกษตรกรรม ให้มคี วามหลาย
หลายสามารถสร้างรายได้ในทางอ้อม เช่น การนาดอกลิงลาว ดอกต้าง มะก่อ พลับ เข้ามาปลูกแซมในพื้นท่ีแปลงของ
ตนเอง ถ้ามาเปรียบเทียบกบั แมก่ วงตอนลา่ ง จะมีวธิ กี ารจัดการพ้ืนท่ีการใช้น้าให้ไดป้ ระโยชน์มากทส่ี ดุ โดยพน้ื ทส่ี ่วนใหญ่
ก็จะเป็นพื้นทร่ี ับน้าจากเขือ่ นแมก่ วง ทานา ไร่นาสวนผสม เกษตรผสมผสาน การจัดการเกษตรปา่ ไม้ท้ังหมดน้เี ป็นวิธีการ
ทาการเกษตรทีม่ ีลักษณะท่ดี ีและเหมาะสมสอดคล้องกบั ลักษณะภมู ิประเทศและภมู ิสังคมของลมุ่ นา้ แม่กวง

3.ในการจัดการเกษตรในพน้ื ท่ีลมุ่ แม่น้ากวง จังหวัดเชียงใหม่ สภาพภูมิประเทศและสภาพภมู ิสังคมของลุ่มนา้
แม่กวงเป็นเอกลักษณ์จาเพาะ ที่มีทรัพยากรที่สมบูรณ์ มีปราชญ์ชุมชนที่มีความรู้เฉพาะทาง มีการรวมกลุ่มสร้างการ
ต่อรองในการจัดการเร่ืองผลผลิตทางการเกษตร มีเกษตรแปลงใหญ่ทส่ี ามารถเป็นตน้ แบบในการจดั การพ้ืนที่ เชน่ เกษตร
แปลงใหญ่ กาแฟเทพเสด็จ และเกษตรแปลงใหญ่ผู้ผลิตกาแฟห้วยแก้ว ที่สามารถจัดการเร่ืองกาแฟครบวงจรต้ังแต่
กระบวนการผลิต ไปถึงกระบวนการแปรรูปและจัดจาหนา่ ย และมเี ครอื ข่ายการทอ่ งเทีย่ งที่อาศัยฐานทรัพยากรของแตล่ ะ
ชมุ ชน เครือขา่ ยกล่มุ อาชพี ซ่ึงเป็นกลุม่ อาชพี ทนี่ าฐานทรัพยากรทอ้ งถ่นิ ทบ่ี อ่ งบอกถึงความอดุ มสมบูรณ์ กลมุ่ เครือข่ายอนุ
รักษผึ้งโพรงธรรมชาติลุ่มน้ากวง ซึ่งนาภูมิปัญญาในการเล้ยี งผ้งึ มาสร้างเป็นธรุ กิจขนาดเล็กในชุมชนครอบคลุ่มท้ังลมุ่ น้า
แมก่ วง จานวน 13 กลุ่ม ในพื้นทล่ี ่มุ น้าแมก่ วง (สวงิ ขันทะสา, 2555)

เกษตรผสมผสำน:เปน็ รูปแบบกำรทำกำรเกษตรทำงเลือกขันแรก
นับตั้งแต่พน้ื ที่ล่มุ น้าแม่กวงได้รับการส่งเสริมและสนบั สนุนแนวคดิ การแก้ไขปัญหาเชิงพื้นท่ี โดยการดาเนนิ งาน
ของศูนย์ศกึ ษาการพัฒนาห้วยฮอ่ งไคร้อนั เน่ืองมาจากพระราชดาริ ได้นาแนวคิดเกษตรกรรมทางเลือกมาใช้ในพนื้ ท่ี มี
การอบรมสัมมนาเกี่ยวกับการทาเกษตรผสมผสาน โดยมีการประสานความรู้ ศึกษาดูงานเกษตรกรต้นแบบท่ีประสบ
ผลสาเร็จ รวมท้ังสนับสนุนปัจจัยพื้นฐานด้านการผลิต ทาให้เกิดกระบวนการเปล่ียนโครงสร้างทางดา้ นความคิดในเรื่อง
การจัดการแปลงเกษตรเชงิ เดย่ี วไปสู่เกษตรผสมผสาน
อุ่นเร่ือน สุขแก้ว เกษตรกรบา้ นปางน้าถุ ตาบลป่าเมี้ยง อาเภอดอยสะเก็ด ได้นาแนวคิดเร่ืองการจัดการแปลง
เกษตรผสมผสาน ได้เรียนรู้ถึงการเปลีย่ นแปลงด้านการเกษตรของเกษตรกร จากระบบเกษตรที่มีการจัดระบบพชื อย่าง
หลากหลาย เพื่อตอบสนองความตอ้ งการภายในครัวเรือนมาสู่ระบบการทาการเกษตรเพอื่ การตลาด ในช่วงแรกเป็นการ
เก็บหาผลผลิตจากปา่ มาจาหนา่ ย ให้พอ่ คา้ คนกลาง ทาใหเ้ กิดแนวคิดว่าไม่ต้องเดนิ ทางเขา้ ป่า นาพืชผล เช่น มะขม ดอก
ลงิ ลาว มะขามป้อม เหล่านนั้ มาจดั การในแปลงเกษตรของตนเอง มาจดั ระบบเกษตรเชิงพาณิช รวมทง้ั นาพืชเศรษฐกิจมา
ปลกู ในพื้นทแ่ี ปลง เช่น ทเุ รยี น ลองกอง เงาะ ไดก้ ลายเปน็ รูปแบบการพฒั นาระบบเกษตรกรรมแบบผสมผสานอย่างเต็ม
รปู แบบ (สานักงาน กปร. 2547)
เกษตรกรรมแบบผสมผสาน กเ็ ปน็ ระบบการทาเกษตรแบบด้งั เดิมของเกษตรกรทีม่ ุ่งเน้นในการพ่ึงตนเอง และไม่
ส่งผลต่อส่ิงแวดล้อม และแฝงด้วยอุดมการณ์ท่ีจะยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรกรในพื้นท่ีลุ่มน้าแม่กวง เป็นการ
พยายามช้ีให้เห็นว่า คน สัตว์ พืช ระบบการเกษตรและระบบนิเวศ มีความสัมพันธ์ สายใยเชื่อมต่อกัน อย่างไรก็ตาม

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บณั ฑิตศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


749

แนวคิดเช่นนี้ไดก้ ระจายไปสู่ชุมชนในพื้นท่ีลุ่มน้าแม่กวง และมีหลักปฏิบัติที่แตก่ ตา่ งกันออกไป อย่างเช่น จิระเดช ใจก๋า
เกษตรกรบา้ นโป่งกมุ่ ได้ใชแ้ นวคดิ ในการทาการเกษตรแบบผสมผสานมาใช้ โดยนาไมไ้ ผ่ทม่ี ีศักยภาพในพ้นื ทีเ่ ขามาจัดการ
ใหเ้ กดิ กระบวนการจัดการแบบครบวงจรตง้ั แตร่ ะบบการปลูก การจัดการ การแปรรปู พฒั นาระบบการตลาดควบค่กู ันไป
ซึ่งกระบวนการเบ้ืองตน้ (ศราวุฒิ สังแก้ว และคณะ. 2557) ได้กล่าวถึงความหลากหลายของพันธ์ไมไ้ ผ่ที่สามารถสรา้ ง
รายไดโ้ ดยผ่านกระบวนการดแู ลทีเ่ หมาะสมและสอดคล้องตามธรรมชาติทคี่ านงึ ถงึ ลักษณะตามสังคมพืช และลกั ษณะทาง
กายภาพของภูมิประเทศทไี่ มเ่ หมอื นกัน

เกษตรกรรมยงั่ ยืน:เป็นกลไกลที่ยกระดับแนวควำมคิดกำรพัฒนำสเู่ กษตรท่ีดีกว่ำ
กิจกรรมของเกษตรกรลุ่มน้าแม่กวงที่มีปัจจัยพ้ืนฐาน ท่ีสาคัญต่อการดารงชีวิต การผลิต การการจัดการ
เกษตรกรรมแบบด้งั เดิม การทาการเกษตรเพ่ือเล้ียงชีพของตนเอง และครอบครัวให้มีชีวิตที่สมบรู ณ์ มีการแลกเปลีย่ น
ผลผลติ ซึ่งกันและกัน ต่อมามกี ารขายโดยใชเ้ งินตราเป็นการแลกเปล่ยี นทาใหช้ ีวติ มคี วามมนั่ คงยง่ิ ขน้ึ สรา้ งฐานเศรษฐกจิ
ในชมุ ชน (ชนวน รัตนวราหะ, 2535) ไดใ้ ห้คาจากดั ของเกษตรยัง่ ยืน ได้กลา่ ววา่ ความสามารถของระบบที่จะรักษาอัตรา
การผลิตให้อยู่ในระดับที่ไม่ก่อให้เกิดความเสียหายในระบบระยะยาวติดตอ่ กันภายใต้สภาพแวดล้อมที่เลวร้าย หรือไม่
เหมาะสม ระบบทีม่ คี วามออ่ นไหวต่อความเสยี หายของผลผลิต ลักษณะทวั่ ไปของเกษตรย่ังยนื มดี ังน้ี
1.ความหลากหลายของชนดิ พืชและสัตว์ (Diversity of species) ในสถาพธรรมชาติ ประกอบดว้ ยพันธ์พืชและ
สตั วม์ ากมายหลายชนิด โดยเฉพาะป่าในเขตร้อน แถบเสน้ ศนู ยส์ ูตรของโลก เชน่ ไทย ลาว บราซลิ เขมร ฯลฯ
2.ความซับซ้อนของระบบ (Complexity of ecosystem) ความหลากหลายของชนิด ส่ิงมีชีวิตท่ีอาศัยอยู่ใน
ระบบนิเวศเดียวกัน จะมีความเชื่อมโยงสัมพันธ์ซ่ึงกันและกัน และความซับซ้อนซึ่งเปรียบได้กับใยแมงมุม เป็นปัจจัย
สาคัญทีก่ ่อให้เกดิ ความสมดุลขึ้นในระบบตามธรรมชาติ
3.ความมีปฏิสัมพันธ์ในระบบ (Interaction in ecosystem) ความมีปฏิสัมพันธ์อยางเกื้อกูล และปฏิสัมพันธ์
ในทางขดั แย้งกัน
4.การคดั เลือกตามธรรมชาติ (Natural selection) สิ่งมชี วี ิตทุกชนดิ มสี ัญชาติญาณของการดิ้นรนตอ่ สูเ้ พ่อื ความ
อยู่รอด ทาให้เกิดกลไกจากสภาพแวดล้อม (Environmental mechanism) เช่น สภาพอากาศ ซึ่งเกิดข้ึนตาม
สภาพแวดล้อมทีเ่ ปลย่ี นแปลงไปตามฤดูกาล สง่ ผลให้กบั การคัดเลอื กสิง่ มชี ีวติ ในระบบนเิ วศ สิ่งทอี่ อ่ นแอก่ จ็ ะถกู กาจัดไป
กลไกลท่ีเกิดจากความหนาแน่นของประชากร (Density dependence mechanism) เม่ือประชากรของพันธ์ุพืชแตล่ ะ
ชนิดหรือต่างชนิดทม่ี าอยรู่ วมกัน ขาดแคลนอาหาร การแข่งขนั หรือข้อจากัดเร่ืองพ้ืนทีอ่ าศยั จะเกิดการต่อส้แู ย่งชิง ผู้ท่ี
แขง็ แรงกว่าจะสามรถอยตู่ อ่ ผ้อู อ่ นแอก่ ็จะถูกทาลายไป
ในการสร้างความย่ังยืนในการทาการเกษตรพนื้ ท่ลี ่มุ น้าแม่กวงโดยลักษณะทกี่ ล่าวมาในเบ้ืองต้นจากในการสารวจ
เก็บข้อมูล ได้พบความหลากหลายในการประกอบอาชพี เกษตรกรรม โดยอาศัยฐานทรัพยากรแยกลักษณะของ การตัง้ ถนิ่
ฐาน เชน่ ชมุ ชนบา้ นปางกาแพงหนิ ท่ใี ชภ้ ูมิปญั ญาทอ้ งถ่ินเร่ืองการเลย้ี งผ้ึงโพรงธรรมชาติ มาเป็นกลไกลเสริมสรา้ งรายได้
ทงั้ ทางตรงและทางออ้ ม ศักยภาพของชุมชนที่เอือ้ ต่อการทากิจกรรมท่เี กดิ รายได้จากภาคเกษตรกรรม ในพืน้ ท่ชี ุมชน บ้าน
ป่าไผ่ ตาบลแม่โป่ง เป็นพ้ืนท่ีท้ายเข่ือนแม่กวงสามารถทาการเกษตร พืชสวน พืชไร่ เช่น ปลูกกระเทียม การทาลาใย
คุณภาพสูง การผลผลิตหอมแดง การบริหารจัดการนา้ ให้เหมาะสมกับพืชเกษตรกรรม รวมถึงการมีปฏิสัมพันธท์ ด่ี ตี ่อกัน
เชื่อมโยงเครอื ข่ายภาคการเกษตรกรรมการแลกเปล่ยี นความรู้ แลกเปลยี่ นทรัพยากร (เกศสุดา สิทธิสันติกุล, 2561) ได้
กลา่ วถงึ กระบวนการเปลยี่ นแปลงของพ้ืนท่ีลุ่มนา้ มก่ วง

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บัณฑติ ศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


750

วิธีกำรสร้ำงและพัฒนำเครือขำ่ ย:จดุ เริ่มต้นของกำรขยำยแบ่งปนั ควำมรู้
เครือขา่ ยทางสังคมเกิดจากการรว่ มกันของคนในชุมชน เพื่อแลกเปล่ียนเก่ยี วกับปัญหาและ การพัฒนา จนเกิด
เป็นองค์ความรู้และทางเลือกในการแก้ปัญหา อันจะนาไปสู่การพฒั นาอย่างแทจ้ ริง ซ่ึงในการเกิดเครอื ข่ายทางสงั คมนั้น
จาเป็นตอ้ งมีความรู้ ความเข้าใจเกยี่ วกับแนวทางในการสร้างและ พัฒนาเครือข่าย สาระสาคญั ของแนวทางในการสรา้ ง
เครอื ข่ายมรี ายละเอยี ดดังนี้
1. การสรา้ งความตระหนักในปัญหาและสานึกในการรวมตัว เปน็ การสรา้ งความตระหนัก ให้คนในสังคมได้รับรู้
ถึงปญั หาหรอื วิกฤติการณท์ ีเ่ กดิ ข้ึนวา่ มีผลกระทบตอ่ ชวี ติ ประจาวนั ทาให้เกิด สานกึ ว่า ถ้าหากไมร่ วมกนั เป็นเครอื ข่ายแลว้
ทุกคนจะได้รับผลกระทบทั้งสิ้น ด้วยการประชาสัมพันธ์ ให้ประชาชนได้รับรู้เก่ียวกับวัตถุประสงค์ นโยบาย กิจกรรม
แผนการดาเนินงานของเครอื ขา่ ยและ กระต้นุ ใหป้ ระชาชนอยากเข้าร่วมกจิ กรรมและเปน็ สมาชิกของเครือข่าย
2. การสร้างจุดร่วมของผลประโยชน์ เครือขา่ ยต้องแสดงให้เหน็ ว่า เครือขา่ ยมีผลประโยชน์ ตอ่ สมาชกิ และสังคม
อย่างไร สามารถแก้ไขปัญหาหรือวิกฤตการณ์ท่ีเกิดขึ้นได้อย่างไร วัตถุประสงค์ ของเครือข่ายต้องสอดคล้องกับความ
ต้องการของประชาชน จงึ จะจูงใจให้เป็นสมาชิกของเครอื ขา่ ย
3. การแสวงหาแกนนาที่ดีของเครือขา่ ย คือ เป็นผู้นาที่มีภาวะผูน้ าหรือมคี ุณสมบัติของผู้นา ที่เหมาะสม เป็นที่
ยอมรบั ของคนทั่วไป เพอ่ื ใหเ้ ป็นแกนนาในการจดั ต้ังเครอื ข่าย การดาเนินงานของ เครือข่ายและการขยายเครือขา่ ย เพราะ
แกนนาที่ดจี ะมพี ลังในการจูงใจให้คนเขา้ ร่วมกิจกรรมของ เครอื ข่ายได้ง่าย
4. การสรา้ งแนวรว่ มสมาชกิ ของเครือข่าย สมาชกิ ของเครือข่ายเปน็ ปัจจยั สาคัญในการจัดตง้ั เครือขา่ ย การสร้าง
แนวร่วมของสมาชกิ เครอื ข่ายให้กว้างขวาง ดว้ ยการดงึ บคุ คลกล่มุ องค์กรท่ีมี คณุ สมบัตเิ หมาะสมเข้าเปน็ สมาชกิ เครือขา่ ย
ทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพจึงเป็นสิ่งจาเป็นของ เครือข่าย ซ่ึงอาจดาเนินการโดยให้แกนนาและสมาชิกเป็นผู้เสาะ
แสวงหาผู้ที่มีความคิดหรือประสบ ปัญหาแบบเดียวกันเข้าร่วมเป็นสมาชิกเครือข่าย แล้วขยายออกไปยังบุคคล กลุ่ม
องค์กรอืน่ ๆ ตอ่ ไป พฒั นาสมาชิกให้สามารถสร้างเครอื ขา่ ยตอ่ ไปได้ด้วยตนเองเป็นต้น ซง่ึ จะทาใหก้ ารจดั ตัง้ เครอื ขา่ ย ได้
ง่ายและประสบความสาเรจ็
(นฤมล นิราทร, 2524) ไดจ้ าแนกกระบวนการสรา้ งเครือข่ายออกเป็น ข้นั ตอนต่าง ๆ ดงั นี้
1) ข้ันตระหนักถึงความจาเป็นในการสร้างเครือข่าย (Realization) เพ่ือที่ทางานให้ บรรลุเป้าหมาย รวมท้ัง
พิจารณาองคก์ ารต่าง ๆ ที่เห็นว่าเหมาะสมเข้าเป็นเครือขา่ ยในการทางาน โดยต้องพิจารณาว่าจะได้เขา้ ร่วมกับใคร จะ
ไดร้ บั ผลประโยชน์ หรอื สละประโยชน์ดา้ นใดบ้าง และ ระยะเวลาในการเข้าร่วมเปน็ เครอื ขา่ ยนานเท่าใด
2) ขั้นการติดตอ่ กับองคก์ ารท่ีจะเปน็ สมาชิก หรือภาคเี ครอื ข่าย (Courtship) ซ่ึงความ ต้องการ และอยากทีจ่ ะ
ทากิจกรรมตอบสนองความต้องการเหมอื นกัน โดยจะตอ้ งสร้างความคนุ้ เคย และการยอมรับ รวมท้งั ความไวว้ างใจ เปน็
ข้ันเตรียมกล่มุ หรอื เครอื ข่ายมกี ารปลุกจิตสานึก อยากจะมาแกป้ ญั หาและพฒั นาร่วมกัน
3) ข้ันการสร้างพันธกรณีร่วมกัน (Commitment) เป็นการสร้างความผูกพันธ์ตกลง ทางานร่วมกัน โดยกลุ่ม
องค์การจะต้องมคี วามรู้เพยี งพอทีจ่ ะทากจิ กรรม จงึ ตอ้ งเสรมิ ความรทู้ ่จี าเป็น อาจมีการแลกเปลยี่ นทง้ั ภายในและภายนอก
เครอื ขา่ ย เช่น ศึกษาดูงาน ฝกึ อบรม ฯลฯ เรียกวา่ เป็น กล่มุ ศึกษาเรยี นรู้ และเป็นทีม่ าของการสรา้ งเครือข่ายการจัดการ
ความรู้

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทยลาว ครงั้ ่ ที ระดบั บณั ึกษฑาิตศ ประําจปี ຸມສໍາກມາະນນປາະທຊາງວຊິ າການ ໄທລາວ ງັ້ຄທີ ບັ ລປະະດລນິ ຍາໂທ ແລະ ປນິ ະຍລາເອກ ປະາໍຈປີ


751

4) ข้ันการพัฒนาความสัมพันธ์ (Building) เป็นสร้างผลงานรูปธรรมร่วมกัน โดยมีการ แบ่งปัน ใช้ทรัพยากร
ร่วมกัน มีการตกลงในเรื่องการบริหารจัดการเครือข่าย กาหนดกิจกรรมและ บทบาท แต่ละองค์การต้องมีการปรับ
กระบวนการทางานใหเ้ ออื้ ตอ่ ประโยชน์ของเครือข่าย แต่ยังคง ความเป็นเอกเทศของตนเองเอาไว้

5) ข้ันการเรียนรูร้ ว่ มกนั และขยายผล เมื่อผลงานรปู ธรรมของเครือข่ายปรากฏชัดเจน ก็จะทาให้ความสมั พันธใ์ น
เครือข่ายแนน่ แฟน้ มากขน้ึ อยากทจี่ ะเรียนรู้รว่ มกัน และขยายกจิ กรรม หรอื ขยายกลมุ่ ออกไป

วิจำรณผ์ ลกำรวจิ ยั

1.สภาพพื้นของลมุ่ น้าแมก่ วงน้นั มลี ักษณะเดน่ ทีเ่ ห็นไดช้ ดั ทั้งลมุ่ น้าแม่กวงตอนบน ท่มี ีกจิ กรรมทเ่ี หมาะสมการ
นาวิธีการทาการเกษตรแบบภมู ปิ ญั ญามาปรับประยุกตใ์ ช้ ให้มลี ักษณะท่มี ีสามารถสรา้ งเปน็ เอกลกั ษณ์พเิ ศษที่บ่งบอกใน
การจัดการพน้ื ท่ลี ุ่มนา้ ทไี่ ม่ส่งผลกระทบตอ่ พืน้ ท่ีอื่น และลมุ่ นา้ แมก่ วงตอนลา่ ง ทอี่ าศัยทรพั ยากรของลุ่มน้าแม่กวงตอนบน
โดยมุ่งเนน้ ทรัพยากรนา้ มาจัดการใหเ้ กิดประโยชนส์ ูงสุด สามารถยกระดบั รายได้จาการทาการเกษตรบนฐานทรัพยากร

2.การจดั การท่ดี ขี องการทาการเกษตรลมุ่ นา้ แมก่ วง ในการทาการเกษตรกรรมที่จะได้รับการยอมรับจากกลุ่มคน
ในพื้นท่ี ได้มีการดาเนินการจัดการ ทาแปลงเกษตรโดยใช้มาตรฐานระบบการทาเกษตรท่ีดีเหมาะสม GAP (Good
Agricultural Practice) การสร้างมาตรฐานเกษตรอินทรยี ์ (มกท.) Organic Agriculture Certification Thailand (ACT.)
เป็นรูปแบบการยกระดับสินค้าเกษตรกรรม ในพ้ืนที่ลุ่มน้าแม่กวงให้มีมาตรฐาน โดยทางชุมชนเครือข่ายเป็นผู้ยกระดบั
สนิ คา้ เกษตร ให้เปน็ สินคา้ เกษตรตน้ แบบสู่เกษตรการพัฒนาแบบยง้ั ยืน (อานฐั ตันโช, 2551)

3. ศกั ยภาพในการเกษตรทด่ี ีส่งผลตอ่ การดาเนินชีวิตและยกระดับคณุ ภาพชีวติ ของคนในชุมชนใหม้ สี ภาพความ
เปน็ อยทู่ ดี่ ีขนึ้ ดา้ นเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อมทีต่ ้องพฒั นาไปควบคกู่ นั ทาให้เกดิ ศนู ยก์ ารเรียนรทู้ ี่เกิดขน้ึ ในพนื้ ทล่ี ุ่ม
นา้ แม่กวง ชมุ ชนแห่งการท่องเทย่ี ว บ้านแมก่ าปอง ตาบลห้วยแกว้ ก็ได้ขยายเครือข่ายในการทอ่ งเทย่ี วโดยมชี ุมชนบ้านแม่
กาปองเป็นต้นแบบ บ้านป่าสักงาม ตาบลลวงเหนือ เป็นศูนย์การเรียนรู้ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
สงิ่ แวดลอ้ ม นาทรัพยากรป่าไม้มาสร้างรายได้ให้กับตวั ชุมชน การจดั การหวาย การพฒั นาศูนยเ์ ครือข่ายดา้ นการอนุรักษ์
ด่ังทไี่ ดก้ ล่าวมา (มณเฑียร บญุ ช้างเผือก.2550). ศูนย์การเรยี นรู้บา้ นปา่ สกั หน้อย ตาบลเชงิ ดอย เป็นพนื้ ทกี่ ารเรียนรเู้ ร่ือง
การจัดการชุมชนแบบย่ังยืน โดยยึดเอาชุมชนเป็นศูนย์กลางในการจัดการด้านเกษตรกรรม น้อมนาเอาเร่ืองเศรษฐกิจ
พอเพียงมาใช้ในการจัดการชุมชน ชุมชนบ้านต้นผ้ึง ตาบลแม่โป่ง ต้นแบบชุมชนเครือข่ายในการจัดการทรัพยากร
ส่งิ แวดลอ้ มโดยภายใตโ้ ครงการมูลนิธแิ ม่ฟ้าหลวง นาเอารปู แบบการจดั การ คารบ์ อนเครดติ มาใชใ้ นการจัดการทรัพยากร
ป่าไม้ ซึ่งชุมชนบา้ นตน้ ผึ้งเปน็ แม่ขา่ ยท่สี รา้ งและกระจายความรใู้ นการจัดการไปสู่การแก้ไขในระดับตาบล โดยมีเครือข่าย
ตาบลแม่โป่ง นาความรู้ไปจัดการแต่ละพื้นที่ของตนเอง เช่น แก้ไขปัญหาเรื่อน้าภาคการเกษตรกรรม แก้ไขปัญหาเร่ือง
ระบบการตลาดสนิ คา้ เกษตรกรรม การแกไ้ ขปญั หาไฟปา่ สบื เน่ืองจากการเกดิ ไฟป่าที่ส่งผลกระทบตอ่ สภาพแวดลอ้ มและ
ส่งผลต่อภาคเกษตรกรรม (สวงิ ขันทะสา, 2555) ได้กลา่ วถงึ ภมู ปิ ัญญาในการเล้ียงผ้ึงโกน๋ ธรรมชาตทิ ่ีส่งผลตอ่ ผลผลิตของ
สินคา้ เกษตรกรรมในพื้นท่ีล่มุ นา้ กวง และยงั สง่ ผลในเรอ่ื งจติ วทิ ยาในการอนรุ ักษ์ส่ิงแวดล้อม เชน่ เม่อื เกิดไฟป่า คณุ ภาพ
ของน้าผ้ึงจะมกี ลน่ิ ของขเม่าของควนั ไฟในน้าผ้ึง อกี ส่วนหน่ึงผึ้งก็เป็นตัวบง่ บอกของพ้ืนท่ีแปลงเกษตรกรรมท่ใี ชส้ ารเคมี ซึ่ง
ศูนย์เรียนรู้ ศปก.แม่โปง่ อาเภอดอยสะเกด็ ที่นาเอาผ้ึงโก๋น ชันรงค์ (ผึ้งเล็ก) มาช่วยเพื่อประสิทธ์ภิ าพในการเพม่ิ ผลผลิต

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทยลาว ครงั้ ่ ที ระดบั บณั ึกษฑาติ ศ ประาํ จปี T T h ກຸມານສປໍາມະຊະນາທາງວຊິ າການ ໄທລາວ ງັ້ຄທີ ບັ ລປະະດລນິ ຍາໂທ ແລະ ປນິ ະຍລາເອກ ປະາໍຈປີ


752

ของลาใย ทเุ รยี น มะม่วง ลองกอง อีกทัง้ ยังได้นา้ ผ้งึ โก๋นที่มีรสชาติท่ีเป็นเอกลักษของนา้ ผงึ้ ซึง่ จะเห็นไดช้ ัดว่าการจัดการ
การเกษตรทม่ี คี วามหลากหลายสง่ ผลต่อพ้ืนที่เกษตรกรรมในการพฒั นาส่ยู ่งั ยืนในพืน้ ทล่ี มุ่ นา้ แมก่ วง

สรปุ ผลกำรวิจยั

บทความนี้ได้ข้อคน้ พบ วิธีทาการเกษตรท่ีเหมาะสมและสอดคล้องกับพื้นที่ต้องคานึงถงึ 2 ปัจจัย คือ คานึงถึง
ลักษณะภูมิประเทศ และลักษณะภมู ิสังคม ท่ีสาคัญต่อการจดั การทรัพยากรทางการเกษตรในพื้นท่ีลุ่มน้าแม่กวงจงั หวัด
เชียงใหม่ สามารถนาไปประยุกต์ใช้เพื่อเป็นพ้ืนท่ตี ้นแบบในการบริหารจดั การ เกษตรที่เหมาะสม โดยควรให้ความสาคัญ
กับการพัฒนาองคค์ วามรู้แต่ดา้ นของงานเกษตรกรรม ในพื้นที่ลุ่มน้าแม่กวงจงั หวัดเชียงใหม่ ซ่ึงจะเป็นประโยชน์สาหรับ
ชุมชนและองค์กร

กิตตกิ รรมประกำศ

การศกึ ษาวจิ ยั ครงั้ น้ี ผูว้ จิ ยั มีความสนใจศึกษาเพอ่ื ให้เกดิ ประโยชนต์ ่อชุมชนในการสรา้ งองค์ความร้ทู เี่ หมาะสม
และมีการบรหิ ารจดั การเรอื่ งของการจดั การทรพั ยากรท่ีดี โดยงานวจิ ัยได้ศกึ ษาเรอ่ื งศกั ยภาพการจดั การทรพั ยากรเกษตร
พน้ื ทล่ี ่มุ น้าแมก่ วง จงั หวัดเชยี งใหม่ อนั จะนาไปสใู่ นการบริหารจดั การทรัพยากรใหม้ ีประสิทธภิ าพในการดาเนินการบริหาร
จดั การเชงิ พนื้ ท่เี พอื่ ใหเ้ กิดกระบวนการจดั การใหส้ คู่ วามยงั่ ยนื

ในการดาเนินการวิจยั ได้รับความร่วมมอื จากชมุ ชนเครอื ขา่ ยลมุ่ นา้ แม่กวง จงั หวดั เชยี งใหม่ สานักงานเกษตร
อาเภอดอยสะเกด็ ศูนยศ์ กึ ษาการพฒั นาห้วยฮอ่ งไครอ้ ันเนือ่ งมาจากพระราชดาริ โครงการพฒั นาพนื้ ท่ปี า่ ขุนแม่กวงอนั
เนอ่ื งมาจากพระราชดาริ ใหความอนเุ คราะห์ เร่อื งข้อมูล สถานทปี่ ระชุมสมั มนา และของพระคุณ ผู้ชว่ ยศาตราจารย์ ดร.
วีณา นลิ วงค์ อาจารยท์ ่ีปรกึ ษา และคณะอาจารยท์ ่ปี รึกษาทค่ี อยใหค้ าปรึกษาในการทางานวจิ ยั คร้ังน้ี จนใหง้ านวจิ ัยได้
ประสบผลสาเรจ็

ทา้ ยสดุ น้ี ผ้วู จิ ยั หวังว่างานวจิ ยั ฉบบั น้ีคงมปี ระโยชนบ์ า้ งไมม่ ากกน็ ้อยสาหรบั ผ้ทู ีส่ นใจรายละเอียดของการศึกษา
ศกั ยภาพในการจดั การทรพั ยากรทางการเกษตรในพื้นทลี่ มุ่ นา้ กวงจงั หวดั เชยี งใหม่ ทจี่ ะนาองค์ความรแู้ ละการจดั การ
ชุมชนให้เปน็ ต้นแบบในเชิงพ้นื ท่ีสืบตอ่ ไป

เอกสำรอำ้ งองิ

ก่ิงกร นรินทรากลุ ณ อยธยุ า. (2543). แนวคดิ และทศิ ทำง : กำรจดั กำรทรัพยำกรในลุ่มนำโดยกำรมสี ่วนรว่ มของ
ประชำชน. เชียงใหม่ : บเี อสการพิมพ์.

เกศสดุ า สทิ ธสิ ันตกิ ลุ . (2561). ทรัพยำกรธรรมชำติในมติ ิควำมขดั แยง้ และกำรจดั กำร: ชุมชนลมุ่ นำเชียงใหม่ ลำพนู
และลาปาง. กรงุ เทพฯ. สานกั งานกองทุนสนับสนุนการวจิ ยั (สกว.)

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทยลาว ครงั้ ่ ที ระดบั บณั ึกษฑาิตศ ประาํ จปี T T h ກຸມານສປໍາມະຊະນາທາງວຊິ າການ ໄທລາວ ງັ້ຄທີ ບັ ລປະະດລນິ ຍາໂທ ແລະ ປນິ ະຍລາເອກ ປະາໍຈປີ


753

เกษม จันทรแ์ กว้ .(2539).หลกกั ำรจดั กำรลม่ ุนำ.กรุงเทพฯ. ภาควิชาอนรุ กั ษว์ ทิ ยาคณะวนศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์.

เกอื้ วงคบ์ ุญสิน. (2538). ประชำกรกับกำรพฒั นำ. (กรงุ เทพฯ: จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั ) .
คะนอง พิลนุ . (2562). การจดั การทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มในทอ้ งถน่ิ . มหาสารคาม. อภิชาตกิ ารพิมพ.์
เต็ม สมติ นิ นั ทน์.(2544). ชอ่ื พันธ์ไมแ้ หง่ ประเทศไทย. กรงุ เทพฯ. หอพนั ธ์ไม้, กรมป่าไม้
นฤมล นริ าธร. (2543). การสรา้ งเครอื ข่ายการทางาน : ขอ้ ความพิจารณาบางประการ. กรงุ เทพฯ:

มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร.์
นิวัต เรอื งพาณิช. (2547). หลกั การจดั การลุ่มนา้ . กรงุ เทพฯ: คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์
มณเฑียร บุญชา้ งเผอื ก. (2550). การพฒั นารูปแบบเศรษฐกจิ พอเพยี งท่สี อดคลอ้ งกบั วถิ ชี มุ ชน บ้านป่าสกั งาม ตาบลลวง

เหนอื อาเภอดอยสะเกด็ จงั หวดั เชียงใหม.่ เชียงใหม.่ สานกั งานกองทนุ สนับสนุนงานวจิ ยั (สกว.)
สวงิ ขันทะสา. (2555). ภูมปิ ญั ญาการเล้ยี งผง้ึ โกน๋ ธรรมชาตใิ นพื้นที่ลุ่มนา้ แมก่ วง. เชยี งใหม่ .คอนดิวเมนทารี ดีไซด.์
สวงิ ขันทะสา. (2551). ภูมิคมุ้ กนั ทางทรพั ยากรปา่ ไมต้ ามแนวทางเศรษฐกจิ พอเพยี ง กรณศี ึกษา:บา้ นปา่ สกั งาม ตาบลลวง

เหนือ อาเภอดอยสะเกด็ จงั หวัดเชยี งใหม.่ เชยี งใหม่. วทิ ยานพิ นธป์ ริญญาโท, มหาวทิ ยาลัยแม่โจ.้
วฑิ รู ย์ เลี่ยนจารญู . (2535). เกษตรกรรมทางเลอื ก:หนทางรอดเกษตรกรรมไทย. กรงุ เทพ. เครือขา่ ยเกษตรกรรมทางเลอื ก.
ชนวน รตั นวราหะ. (2535) เกษตรกรรมยั่งยนื :เกษตรกรรมธรมชาติ. กรุงเทพ. เครอื ขา่ ยเกษตรกรรมทางเลอื ก.
ปยิ ะดา วชิระวงศกร. (2562). กำรจดั กำรทรพั ยำกรธรรมชำติ. กรุงเทพฯ. จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั
ธงพล พรหมสาขา ณ สกลนคร. (2562). กำรจดั กำรเพ่ือกำรพฒั นำอย่ำงยัง่ ยนื . กรงุ เทพฯ. โอ.เอส.พริน้ ตงิ้ เฮา้ ส.์
พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัวภมู ิพลอดุลยเดช. (2523). แนวคิดและทฤษฎใี หมใ่ นพระรำชดำริ:ทฤษฎีกำรพฒั นำพืนที่

ตน้ นำลำธำร. กรุงเทพฯ. สานกั งานคณะกรรมการพเิ ศษเพอื่ ประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาร.ิ
พิเชษฐ์ วงศเ์ กียรต์ขิ จร. (2559). แนวทำงเพื่อกำรเรยี นรู้ กำรวจิ ยั เชิงคุณภำพ. กรุงเทพฯ. ปัญญาชน ดิสทรบิ วิ เตอร.์
วินยั วรี ะวฒั นานนท.์ (2562). หลกั กำรสอนสง่ิ แวดล้อม. พษิ ณโุ ลก. การพมิ พ์ดอทคอม.
นศิ า ซโู ต. (2548). กำรวิจยั เชิงคุณภำพ. กรงุ เทพฯ. พรน้ิ ต์โพร.
ชาย โพธิสติ า.(2550). ศำสตรแ์ ละศิลปแ์ หง่ กำรวจิ ัยเชงิ คุณภำพ. กรงุ เทพฯ. อมรนิ ทร์พริน้ ตง้ิ แอนดพ์ บั ลชิ ชง่ิ .
สานกั งานคณะกรรมการพิเศษ เพอื่ ประสานโครงการ อนั เนอื่ งมาจากพระราชดาร(ิ กปร.). (2547). ประวตั ศิ ำสตรศ์ ูนย์

ศกึ ษำกำรพฒั นำ อนั เนอื่ งมำจำกพระรำชดำร.ิ กรงุ เทพฯ. อมรนิ ทรป์ ร้ินตงิ้ แลนดพ์ บั ลิซซงิ่ .
หทยั รตั น์ บญุ โยปญั ฎมั ภ.์ (2561). ภมู ิปญั ญำทอ้ งถน่ิ กับกำรพฒั นำ. กรงุ เทพฯ. รงุ่ เรอ่ื งการพิมพ์
อานัฐ ตันโช. (2551). เกษตรธรรมชำติประยกุ ตห์ ลักกำร แนวคดิ เทคนิคปฏิบตั ิในประเทศไทย. ประทุธาน.ี สานักงาน

พัฒนาวิทยาศาสตรแ์ บะเทคโนโลยแี หง่ ชาติ.
อจั ฉรา รักยตุ ธิ รรม. (2548). เกษตรกรรมยง่ั ยืน หลำกหลำยมมุ มองสอ่ งทำงเกษตรกรรมไทย. กรงุ เทพฯ. พิมพ์ดี.
ศรวี รรณ ไชยสุข. (2555). ลงิ ลำว พชื ทอ้ งถิน่ สู่เศรษฐกจิ ชมุ ชนเทพเสดจ็ . เชียงใหม.่ คอดคิวเมนทารี ดีไซน์.
อทุ ยั ดลุ ยเกษม. (2546). คู่มือกำรวจิ ยั เชงิ คณุ ภำพเพ่อื งำนพฒั นำ. ขอนแกน่ . สถาบนั วจิ ยั และพฒั นา

มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ .
ฉัตรทิพย์ นาคสุภาและคณะ. (2541). วฒั นธรรมหมบู่ ้ำนไทย. กรงุ เทพฯ. พมิ พส์ ารา้ งสรรค์.
สราวฒุ ิ สังข์แกว้ และคณะ. (2557). ไผ่ในเมอื งไทย. กรงุ เทพฯ. อมรินทรพ์ ริ้นต้ิงแอนดพ์ ับลซิ ซง่ิ .

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทยลาว ครงั้ ่ ที ระดบั บัณึกษฑาติ ศ ประําจปี T T h ກຸມານສປໍາມະຊະນາທາງວຊິ າການ ໄທລາວ ງັ້ຄທີ ບັ ລປະະດລນິ ຍາໂທ ແລະ ປນິ ະຍລາເອກ ປະາໍຈປີ


จัดโดยสาขาการจัดการและพัฒนาทรพัยากร
คณะผลิตกรรมการเกษตรมหาวิทยาลัยแม่โจ้

ຈດັໂດຍສາຂາການຈດັການແລະພດັທະນາຊບັພະຍາກອນ
ຄະນະຜະລດິຕະກາໍການກະເສດມະຫາວທິະຍາໄລແມ່ໂຈ້

สาขาวิชาการจดัการและพฒันาทรัพยากรมหาวทิยาลัยแม่โจ้

ສາຂາການຈດັການແລະພດັທະນາຊບັພະຍາກອນມະຫາວທິະຍາໄລແມ່ໂຈ້

สาํนกังานหลกัสตูรฯชัน้2อาคารเฉลมิพระเกยีรตสิมเดจ็พระศรนีครนิทร์
คณะผลิตกรรมการเกษตรมหาวิทยาลยัแม่โจ้

ສໍານກັງານຫກຼັສູດຊນັ້2ຕກຶສະເຫຼມີພະກຽດສມົເດດັພະສນີະຄະຣນິ
ຄະນະຜະລດິຕະກາໍການກະເສດມະຫາວທິະຍາໄລແມ່ໂຈ້


Click to View FlipBook Version