The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Submitted Letter of teachers and students to attend the conference at MAEJO Universiity

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by anusit.boontadang, 2022-12-14 21:20:07

Submitted Letter of teachers and students to attend the conference at MAEJO Universiity

Submitted Letter of teachers and students to attend the conference at MAEJO Universiity

Keywords: Submitted Letter of teachers and students,MAEJO Universiity

687

Abstract

Nowadays, new generations are a crucially important force in the country’s development
because they have new ideas, and they are ready to change, learn and develop themselves. Therefore,
there is support in the development of new generations of farmers through the agricultural training
program, or Young Smart Farmer, established to encourage new generations interested in the career of
farmers. In addition to providing knowledge about basic agriculture, the program also emphasizes on
real practice by allowing new generation individuals to draw on their potential, encouraging them to be
more creative, to think, and to apply the knowledge to the agricultural industry and modern farming.
The new generation farmers should be able to employ modern technologies and innovations to apply
and maximize efficiency, quality and value for products and marketing. The study on human resource
development for new generation farmers in Chiang Mai has an objective to develop human resources
for new generation farmers in Chiang Mai, enabling them to become agricultural entrepreneurs who
study from the new generations of farmers in Chiang Mai, the main target group of the research.
According to the secondary data obtained from the collection of documents, study of concepts,
theories, and related research, it was found that most of the new generation farmers in Chiang Mai
Province mainly grow economic crops. There is a group to exchange knowledge, keep connections, and
expand its network. For instance, Thep Sadet Coffee expands its network and helps farmers in the areas
to earn income. Furthermore, large scale agricultural products result in the cultivation of new
generations of farmers which Thep Sadet Coffee operates and manages in Mae Ton coffee community
enterprise model, a network center that connects collaboration at the local level in terms of knowledge,
production, and marketing.

Keywords: human resource, new generation farmers, Chiang Mai

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บณั ฑติ ศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


688

บทนำ

ภาคการเกษตรของประเทศไทยมีบทบาทสาคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ แต่การผลติ ด้านเกษตรยัง
ผลิตได้คุณภาพต่า ส่งผลให้เกษตรกรมีรายได้เฉลี่ยค่อนข้างต่า ส่วนหน่ึงเนื่องจากเกษตรกรไม่มีความรู้ทางด้านข้อมูล
ข่าวสารการตลาดเพ่ือประกอบการตัดสินใจสาหรับวางแผนการตลาด ตลอดจนความรู้ในด้านการรักษาคุณภาพหรือ
พัฒนาผลผลติ ให้เป็นสนิ ค้าท่ีปลอดภยั และได้มาตรฐาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จงึ มีนโยบายปฏิรูปการเกษตรของ
ประเทศไทย (ปี 2556 – 2561) เพ่อื ขบั เคล่อื นยุทธศาสตรป์ ระเทศ ซ่งึ หนง่ึ ในยุทธศาสตร์ท่ไี ด้รับการส่งเสรมิ คือยุทธศาสตร์
ท่ี 1 ของแผนยุทธศาสตรส์ ง่ เสริมการเกษตร ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560- 2579) ซึ่งจะชว่ ยส่งเสริมการผลิตเพอ่ื ความมั่นคง
ดา้ นอาชพี ชว่ ยพฒั นาเกษตรกรใหเ้ ป็น Smart Farmer และ Young Smart Farmer เสริมสรา้ งความเข้มแข็งขององคก์ ร
เกษตรกร พฒั นาแหล่งเรยี นรูท้ างการเกษตรของชุมชน เสริมสรา้ งความเข้มแขง็ ของเครอื ขา่ ยการทางานในพนื้ ที่ สนับสนุน
การมีส่วนร่วมของชุมชน และเตรียมรบั มือกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม (สุกัญยา แก้วขาว และคณะ, 2561)
ดว้ ยแนวคิดในการจะเปลยี่ นเกษตรกรธรรมดาให้เป็นเกษตรกรสมยั ใหมน่ ีเ้ อง ทาให้เกิดโครงการ “การพัฒนาเกษตรกรรุ่น
ใหม่ซ่ึงมีอายุตั้งแต่ 17-45 ปี ให้เป็น Young Smart Farmer” ในปี 2557 โดยจะเน้นหนักที่กระบวนการ “แลกเปล่ยี น
ความรู้และการสร้างเครือข่าย” เพ่ือให้เกษตรกรเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้และสามารถออกแบบการเรียนรู้ด้วยตนเอง
รวมถึงสามารถ สร้างแรงจูงใจให้คนรุ่นใหม่หันมาทาอาชีพเกษตรกรรม โดยมีเจ้าหน้าท่ีส่งเสริมการเกษตรเป็นผจู้ ดั การ
เรียนรู้ด้วยการนาเทคโนโลยีสมัยใหม่มาปรับใช้เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพด้านการผลิตและการตลาด จนเป็นเกษตรกรมือ
อาชีพท่ีเป็นผู้นาทางเกษตรท้องถิ่น การพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ให้เป็น Young Smart Farmerประกอบด้วย 4
กระบวนการหลักดังนี้ การจัดทาแผนชีวิต เป็นการปรับกระบวนทัศน์ของเกษตรกรรุ่นใหม่และสร้างแรงจงู ใจในการทา
เกษตร โดยมงุ่ หวงั ให้เกษตรกรรุ่นใหม่ใช้ระบบแนวคดิ ใหมใ่ นการปฏบิ ัติกจิ กรรมการเกษตร ต้ังแต่การผลิต การตลาด ไป
จนถงึ การบริหารจดั การธรุ กจิ เกษตรด้วยการใช้ “แผนทกี่ ิจกรรม” เป็นเครอ่ื งมือในการวิเคราะหต์ นเอง เพอื่ ค้นหาความ
ต้องการด้านวิชาการและเทคโนโลยี การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เป็นการจัดกระบวนการแลกเปล่ียนเรียนรู้แบบผสมผสาน
ระหว่างเกษตรกรรุ่นใหม่กับพี่เล้ียง ซึ่งเป็นการเรียนรู้แบบเผชิญหน้า หรือแบบเฉพาะกิจจากประสบการณ์ของปราชญ์
ชาวบ้านหรือบุคคลต้นแบบ รวมถึงการศึกษาดูงาน การลงมือปฏิบัติจริง การเรียนรู้ผ่านส่ือ สารสนเทศและสอื่ ออนไลน์
การเช่ือมโยงเครือข่ายเป็น การรวมกลุ่มของเกษตรกรรุ่นใหม่ ซึ่งเน้นหนักไปท่ีการมีส่วนร่วม การแลกเปล่ียนเรียนรู้และ
การเช่ือมโยงองค์ความรู้ เทคโนโลยี และกิจกรรมการเกษตร ตั้งแต่กระบวนการผลติ ไปจนถึงการตลาด นาไปสู่การเปน็
ผูน้ าด้านการเกษตรในอนาคต การประเมนิ ศักยภาพ หลงั จากกระบวนการพฒั นา 3 ส่วนท่ไี ดก้ ล่าวไปขา้ งตน้ เกษตรกรจะ
ได้รับการประเมินคณุ สมบัติ Young Smart Farmer จากเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร ซ่ึงประกอบดว้ ย 1) มีรายไดท้ าง
การเกษตรไม่ต่ากว่า 180,000 บาท/ครัวเรอื น/ปี 2) มีความรู้ในเรื่องท่ีทาอยู่ 3) มีข้อมูลประกอบการตัดสนิ ใจ 4) มีการ
บริหารจัดการผลผลิตและการตลาด 5) มีความตระหนักถึงคุณภาพสินค้าและความปลอดภัยของผู้บริโภค 6) มีความ
รับผิดชอบต่อส่ิงแวดล้อมและสังคม และ7) มีความภมู ิใจในความเป็นเกษตรกร (กรมส่งเสรมิ การเกษตร กระทรวงเกษตร
และสหกรณ์,2560)

ปัจจุบนั เกษตรรุ่นใหม่ของจังหวัดเชียงใหม่ มีจานวนทง้ั สิ้นกว่า 230 ราย ใชร้ ะบบรุ่นพ่ีดูแลรุ่นนอ้ งร่วมเรยี นรู้ใน
การพัฒนาอาชีพของตนเอง โดยมีนักวิชาการส่งเสริมการเกษตรเป็นที่ปรึกษา (สานักประชาสัมพันธ์เขต 3 เชียงใหม่ ,
2562) เพ่ือเข้ามาช่วยดแู ลและแก้ไขปัญหาของเกษตรกรรนุ่ ใหม่ ยกตัวอยา่ งปัญหาที่พบได้ เช่น ปัญหาเกษตรกรรนุ่ ใหม่

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บัณฑิตศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


689

บางคนยังขาดความรู้ เทคนิค วิธีการ ความรู้การตลาด ด้านการเกษตร ด้านมาตรฐานตา่ งๆ วิธีการส่งออก นาเขา้ สนิ ค้า
เกษตรกรไมส่ ามารถหลกี เล่ยี งกลไกราคาตลาดสินค้าเกษตรได้ รวมไปถงึ การที่เกษตรกรรุ่นใหม่ลาออกจากงานประจามา
ทาการเกษตร ทาให้มีรายได้น้อย และไม่แน่นอน จึงทาให้มีความรู้สึก ท้อแท้ หมดกาลังใจ ไม่สามารถกาหนด ราคา
ผลผลิตได้เอง อีกทั้งถูกเอาเปรียบจากระบบการตลาดสินค้าเกษตร นอกจากนั้นแล้วปัญหาและอุปสรรคในการปรับ
แนวคดิ จากเกษตรกรรุน่ ใหมม่ าเป็น Young Smart Farmer บางส่วนยังคนุ้ ชินกับการฝกึ อบรมแบบเดมิ กล่าวคือ มุง่ เนน้
การฝึกอบรมอย่างเดียว มีเจ้าหน้าทเ่ี ป็นผูก้ าหนดหลักสูตร มีบุคคลเป้าหมายจานวนมาก เป้าหมายไม่ชัดเจน และวดั ผล
สาเร็จไดย้ าก จึงต้องใช้เวลาในการปรับแนวคิดและวธิ ีการเรยี นรู้ โดยใช้ “การจดั ทาแผนพัฒนาตนเอง” เปน็ กระบวนการ
แรกในการพัฒนา ซ่ึงเป็นการปรับแนวคิดและสร้างแรงจูงใจในการทาการเกษตร โดยให้เกษตรกรรุ่นใหม่ใช้ “แผนที่
กิจกรรม” ซ่ึงเป็นเครื่องมือที่มีตน้ แบบมาจากเครือข่ายเกษตรกรรุ่นใหม่ภาคตะวันตก ใช้เป็นเคร่ืองมือในการวิเคราะห์
ตนเอง เพอ่ื คน้ หาความตอ้ งการด้านวิชาการและเทคโนโลยี รวมถงึ เป็นการเช่ือมโยงเครือข่ายการผลติ /การตลาดกบั เพอื่ น
เกษตรกรด้วยเป็นจุดเร่ิมต้นในการเปิดใจระหว่างเกษตรกรกับเกษตรกร และเกษตรกรกับเจ้าหน้าท่ี (กรมส่งเสริม
การเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, 2560) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่นอกเหนือจากวัตถุประสงคเ์ พื่อให้
การดาเนินงานขององคก์ รบรรลุวตั ถุประสงค์และเป้าหมายที่ต้งั ไว้แลว้ ยังมีวัตถุประสงคเ์ พือ่ ใช้ทักษะความสามารถและ
ความเช่ียวชาญทางทรัพยากรมนุษย์ในองค์การอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลด้วย ในด้านการเกษตรซ่ึงมี
ความสาคญั ในด้านความเปน็ อยู่ของมนษุ ย์ เช่น ใชเ้ ป็นอาหาร เครือ่ งนุ่งหม่ ยารกั ษาโรค และที่อยู่อาศยั ในด้านสงั คมที่
เก่ียวกบั การสร้างอาชพี และวฒั นธรรมประเพณแี ละในด้านเศรษฐกจิ เชน่ ใชเ้ ปน็ วัตถดุ ิบในการผลิตสินคา้ เพื่อสร้างรายได้
ครวั เรอื นเกษตรกรและใหป้ ระเทศ ซง่ึ ส่งผลโดยตรงต่อความเปน็ อยูท่ ี่ดขี องประชากรและเกษตรกรในประเทศ การพัฒนา
ทรพั ยากรมนษุ ย์ด้านการเกษตรจึงมคี วามสาคญั และจาเปน็ อยา่ งยง่ิ ทง้ั ในปัจจบุ นั และอนาคต (สรชัย พศิ าลบตุ ร และ ปิยะ
ดา พศิ าลบุตร, 2562) ซึ่งบทความน้ีมวี ตั ถุประสงค์เพอ่ื พฒั นาทรพั ยากรมนุษยส์ าหรบั เกษตรกรรนุ่ ใหม่ในจังหวดั เชียงใหม่
ใหเ้ ป็นผูป้ ระกอบการเกษตร

อปุ กรณแ์ ละวิธีดำเนนิ กำรวิจัย

การวิจัยเรือ่ ง การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์สาหรับเกษตรกรรุ่นใหม่ในจงั หวัดเชียงใหม่ มีวัตถุประสงคเ์ พือ่ พฒั นา
ทรพั ยากรมนษุ ย์สาหรบั เกษตรกรรนุ่ ใหมใ่ นจงั หวัดเชียงใหม่ใหเ้ ป็นผูป้ ระกอบการเกษตร การวิจัยนใ้ี ช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิง
คุณภาพ เลือกกลุ่มเป้าหมายแบบเจาะจง (Purposive Selection) คือ เกษตรกรรุ่นใหม่ (Young Smart Farmer) ใน
พื้นท่ีจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2564 เป็นกลุ่มเป้าหมายหลักของการวิจัย และข้อมูลทุติยภูมิ ท่ีได้จากการรวบรวมเอกสาร
การศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง จากนั้นนาข้อมูลมาทาการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content Analysis)
เช่ือมโยงข้อมูลให้มีลักษณะเป็นแนวคิดสรุป เพ่ือใช้อธิบายข้อมูลท่ีทาการศึกษาวิจัย โดยนาเสนอในลักษณะของการ
พรรณนาวิเคราะห์ (Analytical Description)

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บณั ฑติ ศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


690

ผลกำรวิจัย

การวจิ ยั เรื่อง การพัฒนาทรพั ยากรมนุษยส์ าหรับเกษตรกรรุ่นใหม่ในจงั หวดั เชียงใหม่ ผลการวจิ ัยพบว่า เกษตรกร
รุ่นใหม่ (Young Smart Farmer) ในพ้ืนที่จังหวัดเชียงใหม่ สมาชิกส่วนใหญ่ปลูกพืชเศรษฐกิจเป็นหลัก เช่น ข้าว กาแฟ
ลาไย เมล่อน เป็นต้น โดยกจิ กรรมท่เี น้นกระบวนการพฒั นาเกษตรกรรุ่นใหม่ให้เป็น Young Smart Farmer ประกอบด้วย
กระบวนการหลกั คอื 1) การจัดทาแผนชีวติ เปน็ การปรับกระบวนทศั น์ของเกษตรกรรุน่ ใหม่ และสร้างแรงจูงใจในการทา
การเกษตร โดยมุ่งหวังให้เกษตรกรรุ่นใหม่มีความสามารถด้านการเกษตรทดแทนเกษตรกรรุน่ เก่า และ ใช้ระบบแนวคิด
แบบใหมใ่ นการปฏิบตั ิกจิ กรรมการเกษตรต้งั แต่การผลติ การตลาด ไปจนถึงการบรหิ ารจัดการธรุ กิจเกษตร ทงั้ น้ี มกี ารใช้
“แผนที่กิจกรรม” ซึ่งเป็นเคร่ืองมือท่ีมีต้นแบบมาจากเครือข่ายเกษตรกรรุ่นใหม่ภาคตะวันตก ใช้เป็นเครื่องมือในการ
วเิ คราะหต์ นเอง เพอ่ื ค้นหาความต้องการดา้ นวิชาการและเทคโนโลยี รวมถงึ เป็นการเช่ือมโยงเครอื ขา่ ยการผลิต/การตลาด
กับเพ่ือนเกษตรกรด้วย 2) การแลกเปล่ียนเรียนรู้ เป็นการจัดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้แบบผสมผสานระหว่าง
เกษตรกรรนุ่ ใหมก่ ับพีเ่ ลี้ยง ซึ่งเป็นการเรยี นรแู้ บบเผชิญหน้าหรือแบบเฉพาะกิจจากประสบการณข์ องปราชญ์ชาวบ้านหรอื
บุคคลต้นแบบ รวมถึงการเรียนรู้จากการศึกษาดูงาน การลงมือฝึกปฏิบัติจริง การเรียนรู้ผ่านส่ือสารสนเทศและสื่อ
ออนไลน์ 3) การเช่ือมโยงเครือข่าย เป็นการเน้นหนักในกระบวนการมีส่วนร่วมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และการสร้าง
เครือข่ายเชื่อมโยงองค์ความรู้เทคโนโลยี และกิจกรรมการเกษตรต้ังแต่กระบวนการผลิตไปจนถึงการตลา ด เพ่ือการ
รวมกลุ่มของเกษตรกรรุ่นใหม่ทีม่ ีความมุ่งม่ันตั้งใจในการพฒั นาตนเองเป็น Young Smart Farmer นาไปสู่การเป็นผนู้ า
ด้านการเกษตรในอนาคต ตลอดจนการสร้างความเขม้ แขง็ ของกลมุ่ และเครือขา่ ยการเรียนรู้ระหว่างเกษตรกรรุ่นใหม่และผู้
ท่ีมีส่วนเก่ียวข้อง และ 4) การประเมินศักยภาพ หลังจากกระบวนการพัฒนา เกษตรกรรุ่นใหม่จะได้รับการประเมิน
คุณสมบัติ Young Smart Farmer ประกอบด้วย มีความรู้ในเร่ืองที่ทาอยู่ มีข้อมูลประกอบการตัดสินใจ มีการบริหาร
จัดการผลผลิตและการตลาด มีความตระหนักถึงคุณภาพสินค้าและความปลอดภัยของผู้บริโภค มีความรับผิดชอบตอ่
ส่ิงแวดล้อม/สังคม และมีความภาคภูมิใจในความเป็นเกษตรกร ตลอดจนมีการสรุปผลจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ประเมนิ ผลจากการเรียนรู้ และวางแผนการพฒั นาในอนาคต (กรมสง่ เสรมิ การเกษตรกระทรวงเกษตรและสหกรณ, 2560)

นอกจากน้ีเกษตรกรร่นุ ใหม่ของจงั หวดั เชียงใหม่ ท่ปี ระสบความสาเร็จในการผลิตและขายสนิ คา้ เกษตร เชน่ คุณ
ณัฐนิช กิตยานุรักษ์ เจ้าของฟาร์ม “ไร่ชรินทร์พรรณ” ซึ่งผลิตภัณฑ์และจาหน่ายเมล่อนปลอดสาร 100% สายพันธุแ์ ท้
จากจังหวดั เชยี งใหม่ โดยเจา้ ของดแู ลเอง ใส่ใจทุกขน้ั ตอนการปลูก โดยเมลด็ พนั ธ์ุเมลอ่ นจากฟาร์มชรนิ ทร์พรรณเปน็ เมล็ด
พันธ์ุท่นี าเข้ามาจากต่างประเทศและถกู นามาปลกู ที่เชยี งใหม่ บนพื้นทเี่ หนือระดับนา้ ทะเล 700-1000 เมตร มีภูมิอากาศ
คลา้ ยหนา้ ร้อนของญ่ปี นุ่ ใช้นา้ จากยอดดอยอุทยานแหง่ ชาติออบขาน จ.เชียงใหม่ ทม่ี ีแรธ่ าตุอดุ มสมบูรณเ์ ลยี้ งเมล่อนทุก
ตน้ รสชาติทีไ่ ด้จงึ มเี อกลกั ษณเ์ ฉพาะ เชน่ ระบบการปลกู แบบ Substrate culture มมี าตรฐาน GAP ของกระทรวงเกษตร
ผา่ นการทดสอบจากสถาบนั อาหาร NFI วา่ ปลอดภยั อายกุ ารเก็บรกั ษา ในตู้ชลิ เลอร์ 14 วัน อณุ หภูมิปรกติ 7 วัน โดยเม
ล่อนแบรนด์ ‘ชรนิ ทร์พรรณ’ จะมจี าหน่ายในหา้ งสรรพสินค้าทกุ โมเดิร์นเทรดในโซนภาคเหนือ สว่ นออนไลน์ทางไร่ฯ เข้า
รว่ มทุกแพลตฟอรม์ เพ่ือจาหน่ายท่ัวประเทศ รวมถงึ สปป.ลาว ด้วย ซ่งึ ยอดขายออฟไลนอ์ ย่ทู ี่ 70% ออนไลน์ 30% ยอด
รวมจาหน่าย 1,000 ลูกต่อเดือน หากเป็นช่วงเทศกาลจะอยู่ท่ี 1,500 ลูกต่อเดือน ซ่ึงถือได้ว่าเป็นเกษตรกรรุ่นใหม่ท่ี
ประสบความสาเร็จในการผลิตและจาหน่ายเมล่อน นอกจากน้ีการรวมกลุ่มของ Young Smart Farmer สามารถนา
ความรู้ เทคนคิ ตา่ ง ๆ ไปเผยแพรไ่ ดง้ ่ายข้ึน ทาให้เกษตรกรทา่ นอ่นื เกิดแรงบันดาลใจในการอยากทาการเกษตรมากขึ้น

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บัณฑติ ศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


691

คุณสุวรรณ เทโวขัต Young Smart Farmer ผู้ผลิตกาแฟ GI กาแฟอินทรีย์ (กาแฟกะลา กาแฟสาร กาแฟคั่ว
เมล็ด กาแฟคั่วบด) โดยกาแฟเทพเสด็จ ปลูกบนพ้ืนท่ีสูง ป่าต้นน้าสูงจากระดับน้าทะเล 1,100-1,500 เมตร มีสภาพ
อากาศเยน็ ตลอดทัง้ ปี ต้นกาแฟปลกู ในรม่ เงาตน้ ชาเหม่ียงและปา่ ไมธ้ รรมชาติ มีดอกไมป้ ่าเรยี กวา่ ดอกก่อ ประกอบกับใน
พ้นื ทมี่ ีการเลีย้ งผ้ึงโก๋นหรอื ผง้ึ โพรง จากภมู ปิ ญั ญาชาวบ้านทาให้ไมม่ แี มลงมารบกวนตน้ กาแฟ รวมถึงผ้งึ ชว่ ยผสมเกสรท้ัง
ดอกกาแฟและดอกตน้ ก่อ ท่มี อี ยู่ในพ้ืนทปี่ ระมาณ 50% จึงทาใหก้ าแฟทีป่ ลูกมรี สชาติกลมกล่อมและหอมกลิน่ ดอกไม้ป่า
ทาให้แบรนด์กาแฟเทพเสด็จ (Thepsadej Coffee) ได้รับการข้ึนทะเบียนเป็นส่ิงบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ลาดับท่ี 11
อาเซียน กาแฟเทพเสดจ็ นบั เป็นกาแฟแห่งการอนรุ ักษ์คู่ป่า เพราะดูแลทรพั ยากรธรรมชาติ ทัง้ ก่อเกดิ อาชพี และรายได้ท่ี
มั่นคงแก่เกษตรกรในพนื้ ที่ มีศนู ยเ์ รียนร้กู ารเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการผลิตสนิ คา้ การเกษตรตาบลเทพเสดจ็ อาเภอดอยสะเกด็
จังหวัดเชียงใหม่ รายได้ส่วนใหญ่มาจากการจาหน่ายผลผลิตกาแฟและเม่ียงเป็นหลัก ซึ่งการผลิตกาแฟอินทรีย์ เป็นที่
ตอ้ งการของตลาด ทาใหม้ คี วามม่นั คงด้านรายได้และผลผลติ เกษตรสามารถนาไปแปรรปู เพม่ิ มลู คา่

นอกจากน้ีการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้านการเกษตรของหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และตัวเกษตรกรเอง
พบว่าเกษตรกรรุน่ ใหม่ มีการแลกเปล่ยี นการเรยี นรู้ ซ่งึ เป็นการจัดกระบวนการเรียนรู้หลากหลายรูปแบบ เช่น เรียนรู้แบบ
ผสมผสานระหว่างเกษตรกรรุ่นใหม่กับพเี่ ลี้ยง ซึ่งเปน็ การเรียนรู้แบบเผชิญหน้าหรอื แบบเฉพาะกิจจากประสบการณ์ของ
ปราชญ์ชาวบ้านหรือบุคคลต้นแบบ เรียนรู้จากการศึกษาดงู าน การลงมือฝึกปฏิบตั จิ รงิ เรียนรู้ผ่านสอื่ สารสนเทศและสอ่ื
ออนไลน์ เรียนรู้ร่วมกันเปน็ กลมุ่ และเครอื ขา่ ย และเรยี นรู้กับหนว่ ยงานวิชาการเฉพาะด้าน ตลอดระยะเวลา 2 ปีทผ่ี า่ นมา
กลุ่ม Young Smart Farmer เชียงใหม่ มีการสร้างและพฒั นาผลผลิตทางการเกษตรร่วมกัน ท้ังในส่วนของการผลติ และ
การตลาด เพื่อให้ได้คุณภาพและมาตรฐานที่สามารถแข่งขันในตลาดได้ อย่างไรก็ดี หากมีการขยายเครือข่ายไปยัง
เกษตรกรรนุ่ ใหมร่ ายอืน่ ๆ ท่ีมคี วามสนใจ จะทาให้เกดิ การพัฒนาในภาคการเกษตรของจงั หวดั เชียงใหม่มากยิง่ ข้นึ โดยใน
อนาคตอาจจะรวมกลุ่มกันเป็นสหกรณ์ที่มีรูปแบบการบริหารจัดการคล้ายกับสหกรณ์การเกษตรญ่ีปุ่น ( Japan
Agricultural Cooperatives หรือ JA) ซ่ึงจะทาให้ภาคการเกษตรของจงั หวัดเชียงใหม่พัฒนาอยา่ งม่นั คงและย่งั ยนื ดว้ ย
ตนเองต่อไปได้ โดยท่ีผ่านมา Young Smart Farmer จังหวัดเชียงใหม่ เกษตรกรจากโครงการ “คนกล้าคืนถ่ิน” ของ
มูลนิธสิ ง่ เสรมิ การออกแบบอนาคตประเทศไทยและเกษตรรุน่ ใหม่กลุ่มอืน่ ๆ กว่า 200 คน ไดร้ วมกลุ่มกันเพือ่ ชว่ ยเหลอื กนั
ในด้านต่างๆ ทั้งการลงมือปฏบิ ัติ การเผยแพร่องคค์ วามรู้และการตลาด อีกท้ังช่วยกันขับเคล่ือนงานภาคการเกษตรให้
สอดคล้องกบั ยทุ ธศาสตรแ์ ผนพฒั นาจงั หวัดเชยี งใหม่ จึงมีแนวคดิ รว่ มกบั คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม หรือ สกสว. ในการหารูปแบบการขับเคลื่อนและ
กระบวนการทางานของเครือขา่ ยเกษตรกรร่นุ ใหม่จังหวดั เชยี งใหม่ ซ่งึ จะส่งผลทาใหเ้ กดิ ความเข็มแข็งทางเศรษฐกจิ สังคม
และสง่ิ แวดลอ้ ม ตามบรบิ ทของแต่ละพน้ื ท่ตี ่อไป

วจิ ำรณผ์ ลกำรวิจยั

จากการศกึ ษาการพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ยส์ าหรบั เกษตรกรรุ่นใหมใ่ นจงั หวดั เชียงใหม่ ซ่งึ พบว่าสว่ นใหญเ่ กษตรกร
รนุ่ ใหม่ จะเกิดการเรยี นรู้ แตพ่ ฒั นาตัวเองจากการศึกษา คน้ คว้า และเรยี นรู้จากขอ้ ผดิ พลาดของตนเอง และเกดิ การแชร์
ประสบการณ์ในกลุ่มเกษตรกรรุ่นใหม่ด้วยกัน ตามโครงการของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในการผลักดันให้เกิด
โครงการ Young Smart Farmer ซง่ึ สอดคลอ้ งกับการศกึ ษาของสรชยั พิศาลบุตร และ ปยิ ะดา พิศาลบุตร(2562) ศกึ ษา

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บณั ฑติ ศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


692

เรอื่ งการพัฒนาทรพั ยากรมนุษยด์ า้ นการเกษตรกบั ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พบวา่ ความพรอ้ มในการพัฒนาทรัพยากรมนษุ ย์
ด้านการเกษตรภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ของการพัฒนาส่กู ารเป็นรฐั บาลดิจทิ ลั แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติฉบบั ท่ี
12 และแผนยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี ของประเทศไทย โดยภาพรวมสรุปได้ว่าภาครัฐมีความพร้อมในการพัฒนาทรพั ยากร
มนุษย์ด้านการเกษตรของประเทศไทยมากท่ีสุด รองลงมาคือภาคเอกชน สาหรับตัวเกษตรกรเองมีความพร้อมในการ
พัฒนาน้อยท่ีสุด เร่ืองที่ภาครัฐควรจะให้ความสาคัญในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้านการเกษตร คือ การป้องกันภัย
ธรรมชาติด้านการเกษตร และการออกกฎหมายท่ีไม่เป็นอุปสรรคต่อการค้าภาคการเกษตร สาหรับภาคเอกชนควรให้
ความสาคัญกับการจัดต้ังหน่วยงานด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษยโ์ ดยตรง และการสนับสนุนใหผ้ ู้บรหิ ารและบุคลากรของ
หนว่ ยงานภาคการเกษตรใชป้ ระโยชนจ์ ากข้อมูลและบรกิ ารดิจิทลั ภาครัฐมากขึ้น สว่ นตัวเกษตรกรเองควรใหค้ วามสาคัญ
กับการใช้ประโยชน์จากบริการข้อมูลและบริการดิจิทัลภาครัฐ เพื่อการประกอบอาชีพการมสี ่วนร่วมในการเกบ็ รวบรวม
ข้อมูล และเผยแพร่ข้อมูลดา้ นการเกษตร และการยอมรบั ในการพฒั นาความรู้และทกั ษะด้านการเกษตร และดา้ น IT เพอ่ื
การประกอบอาชีพ นอกจากนี้วทิ เอก สว่างจิตร (2564) ศึกษาเร่ืองการพัฒนาสมรรถนะเกษตรกรสูก่ ารเป็นผูน้ าเกษตรกร
รุ่นใหม่ พบว่าผเู้ ขา้ รว่ มการอบรมในโครงการมีระดับการปฏิบัติตามสมรรถนะการเป็นผู้นาเกษตรกรรุ่นใหม่ประกอบด้วย
1) การดารงชวี ติ และการอยรู่ ่วมกนั ในกลมุ่ และชุมชน 2) ความร้พู น้ื ฐานทางการเกษตร 3) การเรยี นร้เู พอ่ื การพัฒนาอาชีพ
เกษตร 4) การจดั การการผลติ และผลติ ผลตลอดหว่ งโซ่ 5) การวิเคราะหท์ างเลือกอาชีพเกษตร และ 6) การบริหารจัดการ
ตลาดและเครือข่าย ซึ่งสอดคล้องกับธนเดช ต่อศรี (2561) พบว่า ปัจจุบันการพัฒนาเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศน้นั
เป็นไปตาม นโยบายทีเ่ รียกวา่ “Thailand 4.0”โดยมยี ุทธศาสตร์เน้นไปท่ี 5 อตุ สาหกรรมหลกั หนง่ึ ในนั้นคอื อตุ สาหกรรม
เกษตรแปรรปู อาหารและเทคโนโลยีชีวภาพ เพอ่ื ให้สอดคล้องกบั นโนบายของประเทศภาครฐั จาเป็นต้องเปลยี่ นเกษตรกร
ธรรมดาให้เปน็ เกษตรกรรุ่นใหม่ (Smart Farmer) จึงเปน็ ทม่ี าของโครงการ “การพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ให้เป็น Young
Smart Farmer” ทั่วประเทศในปี 2557 เพ่ือพัฒนาไปเป็น Smart Farmer ต่อไป โดยมีจังหวัดขอนแก่น เป็นพื้นที่เชิง
ยุทธศาสตร์ในการเป็น Logistic hub และเมืองนวัตกรรมอาหารและเกษตรผลการดาเนินโครงการน้ีในเบื้องต้น ทาให้
เกษตรกรเกิดการสร้างเครือข่ายและ มีองค์ความรู้ ในด้านการจัดทาแผนชีวิต และการจัดทาบัญชีรายรับ-จ่าย ซึ่งใน
ภาพรวมแล้วกเ็ ปน็ ไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการ แตย่ ังต้องพฒั นาดา้ นประสทิ ธภิ าพในการดาเนนิ งานใน 4 ดา้ น คือ 1)
กฎหมายซ่ึงเอ้ือประโยชน์และสนับสนุนโครงการในดด้านตา่ ง ๆ 2) องค์ความรู้ที่ได้จากงานวจิ ยั เฉพาะพ้ืนที่ 3) การจา้ ง
ผ้เู ช่ยี วชาญเฉพาะด้านมาเปน็ ผถู้ า่ ยทอดองคค์ วามรู้ และ 4) การตรวจสอบการบรหิ ารงานดา้ นคณุ ภาพ

สรุปผลกำรวิจัย

จากการตรวจเอกสาร ท้ังแนวคิด ทฤษฎีและผลงานการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์สาหรบั
เกษตรกรรุ่นใหม่ในจังหวัดเชียงใหม่ ได้มีการนาแนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และแนวคิดเกี่ยวกับการ
พฒั นาเกษตรกรไทย พบวา่ ในระบบการทางานขององคก์ รหรอื หน่วยงานตา่ งๆ นัน้ สงิ่ สาคัญท่มี องเห็นไดช้ ดั คอื การพฒั นา
ทรัพยากรมนุษย์ เนื่องจากการทางานน้ันต้องอาศัยความสามารถ ทักษะ และความรู้รอบด้านเข้ามาช่วยในการทางาน
ดังน้นั องค์กรจึงมีความจาเปน็ ทจ่ี ะต้องการสรา้ งองคค์ วามรใู้ หมๆ่ ใหบ้ คุ ลากรอยตู่ ลอดเวลา เพ่ือใหบ้ คุ ลากรมีกระบวนการ
คดิ ในการแก้ไขปญั หา มีการคิดอยา่ งเปน็ ระบบ เป็นขนั้ ตอน และเพ่ือให้บคุ ลากรในองคก์ รมีความสามารถเพิ่มมากข้นึ นา
องคค์ วามรใู้ หม่ๆ ท่ไี ด้รับการฝกึ อบรมหรอื ศึกษาดูงานนอกสถานที่มาปรับใช้ในองคก์ รให้เกิดประโยชน์สูงสดุ ยกตวั อยา่ ง

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บัณฑติ ศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


693

ไดเ้ ช่น สานกั งานเกษตรจังหวดั จดั อบรมเชงิ ปฏบิ ัติการตา่ งๆ ให้เกษตรกรที่สนใจในเร่อื งน้ัน ๆ เข้ารว่ มรับการอบรม เพื่อ
สร้างองค์ความรู้ นาไปต่อยอดในการทาการเกษตรของตนเองให้มีประสิทธิภาพมากข้ึน จากบทสรุปท่ีกล่าวมาข้างต้น
ผู้วิจัยได้นาแนวคิดท่ีศกึ ษามาส่งตอ่ องค์ความรู้ให้กับเกษตรกรกลุ่มท่ีทาการศึกษาเพ่ือให้เกษตรกรเกิดองค์ความรู้ การ
พัฒนาตนเองสู่การเป็นเกษตรกรมืออาชีพ มีความรู้มีข้อมูลเชิงลึกด้านการเกษตร เพ่ือใช้วางแผนในการผลิตรวมท้ังมี
ความร้ใู นการผลิตสนิ คา้ เกษตรคุณภาพสูงท่ีมคี วามปลอดภยั ต่อผูบ้ ริโภคเปน็ มิตรตอ่ สงิ่ แวดลอ้ มและสามารถพงึ่ พาตนเอง
ไดอ้ ย่างยง่ั ยนื

กิตตกิ รรมประกำศ

ผู้วิจัยขอขอบคุณคณาจารย์สาขาวิชาการจดั การและพัฒนาทรพั ยากร คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลยั
แม่โจ้ ท่ีคอยให้คาแนะนา และแก้ไขงานวิจัยให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น และขอขอบคุณกลุ่ม Young Smart Farmer ในจังหวัด
เชียงใหม่ ที่ให้ข้อมูล และแชร์ประสบการณ์ในการทาการเกษตรของคนรนุ่ ใหม่

เอกสำรอ้ำงอิง

กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 2560. Young Smart Farmer อนาคตและทิศทางภาค
เกษตรไทย. กรงุ เทพฯ: ชุมนมุ สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากดั . 1-206 หน้า.
32712. (27 พฤศจิกายน 2565)

ธนเดช ตอ่ ศรี. 2561. 4 ปี Young Smart Farmer ขอนแก่น. วารสารวจิ ัยสงั คม 41(1): 93-118.
วทิ เอก สว่างจิตร. 2564. การพฒั นาสมรรถนะเกษตรกรสู่การเป็นผ้นู าเกษตรกรรุ่นใหม.่ วารสารวิจยั และส่งเสรมิ

วิชาการเกษตร 38(1): 126-134.
สรชัย พิศาลบุตร และ ปิยะดา พิศาลบุตร. 2562. การพัฒนาทรพั ยากรมนุษยด์ ้านการเกษตรกับยทุ ธศาสตร์ชาติ

20 ปี. วารสารเกษตร มสธ. 1(1): 76-85.
สานักประชาสมั พันธ์เขต 3 เชียงใหม่. 2562. เกษตรจังหวดั เชยี งใหม่ มงุ่ ผลิต YOUNG SMART FARMER สบื ทอด

อาชีพเกษตรอยา่ งย่ังยนื . (ออนไลน.์ เขา้ ถึงได้ https://region3.prd.go.th/region3_ci/topic/news/
สุกัญยา แกว้ ขาว เฉลมิ พงศ์ มสี มนยั และจาเนยี ร ราชแพทยาคม. 2561. ปจั จัยท่ีมีอทิ ธิพลต่อการพฒั นาทรพั ยากร

มนุษย์ของกรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยธนบุรี
12(27): 111-121.

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บณั ฑิตศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


694

สภำพปญั หำ อปุ สรรค และข้อเสนอแนะเพอ่ื กำรพฒั นำกำรบริกำรสำธำรณะแบบพหุภำคี
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ ในพนื ทีอ่ ำเภอห้ำงฉัตร จงั หวดั ลำปำง

Problems, Obstacles, and Recommendations for the Development of
Multilateral Public Services of Local Administrative Organizations
in Hang Chat District, Lampang Province

นวิ ฒั น์ ปะระมำ
Niwat Parama

สาขาการจัดการ และ พฒั นาทรพั ยากร คณะผลติ กรรมการเกษตร มหาวิทยาลยั แม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่ ประเทศไทย 50290
Resources Management and Development, Faculty of Agricultural Production,
Maejo University, Chiangmai Province, Thailand 50290
[email protected]

บทคดั ย่อ

บทความวจิ ัยฉบับนมี้ ีจุดม่งุ หมายเพ่ือ 1) ศกึ ษาสภาพปัญหา/อุปสรรคของการบริการสาธารณะแบบพหุภาคีของ
องค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ ในพื้นที่อาเภอห้างฉัตร จังหวัดลาปาง และ 2) เพ่ือเสนอข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาการ
บริการสาธารณะแบบพหุภาคีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพ้ืนที่อาเภอห้างฉัตร จังหวัดลาปาง บทความฉบับนี้
ประกอบดว้ ยเนอื้ หา 3 สว่ น ไดแ้ ก่ ส่วนท่ีหนึ่ง ทบทวนวรรณกรรมเก่ียวกับการบริการสาธารณะขององคก์ รปกครองส่วน
ทอ้ งถิ่น สว่ นทส่ี อง ศึกษาสภาพปญั หา อุปสรรคของการบริการสาธารณะขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน ในพนื้ ทอี่ าเภอ
ห้างฉัตร จังหวัดลาปาง และส่วนที่สาม ได้แก่ ข้อเสนอแนะเพ่ือการพัฒนาการบริการสาธารณะแบบพหุภาคขี ององค์กร
ปกครองส่วนท้องถ่ินในพื้นท่ีอาเภอห้างฉตั ร จังหวัดลาปาง องค์ความรู้จากบทความนี้จะก่อให้เกิดความรู้และความ
เข้าใจเกี่ยวกับสภาพปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะเพ่ือการพัฒนาการบริการสาธารณะแบบพหุภาคีขององค์กร
ปกครองสว่ นท้องถน่ิ ในพืน้ ทอ่ี าเภอห้างฉัตร จังหวดั ลาปาง ซ่ึงสามารถนาไปประยุกต์ใชใ้ นการพฒั นาองค์กรปกครองสว่ น
ทอ้ งถนิ่ ไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพต่อไป

คำสำคัญ: การบริการสาธารณะแบบพหุภาคี ประชาชน การพฒั นาองคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่

Abstract

The research aims were 1) to study the problem and obstacles of multilateral public services
of local government organizations in Hang Chat District, Lampang Province, and 2) to propose
recommendations as a new concept of public service; New Public Service (NPS) for the development

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บัณฑติ ศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


695

of local government organizations. This article consisted of 3 parts: the first was , a literature review on
public services of local government organizations, the second was, a study of the problems and
obstacles of the public service of local government organizations of Hang Chat District, Lampang
Province, and the third was, the recommendations for the development of Hang Chat District, Lampang
province as a new concept of public service; New Public Service (NPS) The study showed the knowledge
and understanding about the problems, obstacles, and recommendations for the development of
multilateral public services of local government organizations in the form of NPS. In addition, this
information can be applied further for effectively development of local government organizations.

Keywords: New Public Service Public Service Local Government Organizations

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บณั ฑติ ศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


696

บทนำ

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ถือเป็นหน่วยงานที่ใกล้ชิดกับประชาชนมากท่ีสดุ โดยเฉพาะในประเดน็ ท่ี
เก่ยี วกับการบรกิ ารสาธารณะ ไมว่ ่าจะเป็นดา้ นโครงสรา้ งพ้ืนฐาน การบรกิ ารน้าประปา ไฟฟ้า และถนน หรือด้านคณุ ภาพ
ชีวิต เชน่ การดแู ลเด็กและเยาวชน ด้านการศกึ ษา ด้านการช่วยเหลือดูแลผปู้ ว่ ย ผู้พกิ าร ฯลฯ องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ
ทุกระดับต้องจดั บริการให้ท่ัวถึงทุกชุมชนและประชาชนทุกคนในขณะเดียวกัน หากประชาชนมีความเดือดร้อน องคก์ ร
ปกครองส่วนท้องถิ่นในทอ้ งถนิ่ น้ัน จะต้องเขา้ ไปช่วยแก้ปัญหาให้ในทันที เน่ืองจากผบู้ ริหารองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิน่
หรอื สมาชิกสภาจะรปู้ ัญหาของท้องถิ่นของตนดกี วา่ สว่ นภูมิภาคหรอื ส่วนกลางในระดบั ประเทศ

อย่างไรก็ดี เมื่อพิจารณาโดยละเอียด พบว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินของไทยในปัจจุบัน ซึ่งในที่นี้
หมายความรวมไปถึงองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ ในพ้นื ทอี่ าเภอห้างฉัตร จังหวัดลาปาง ด้วยท่ียงั คงไม่สามารถให้บริการ
สาธารณะแก่ประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพและเป็นไปตามหลักการของการจัดบริการสาธารณะได้อย่างเต็มท่ี ท้ังที่
เป็นปัญหาทั้งในระดับจุลภาค เช่น ปัญหาการจัดบริการสาธารณะยังไม่สอดคล้องกับปัญหาและความต้องการของ
ประชาชน รวมทั้งไมส่ อดคลอ้ งกับสภาพแวดลอ้ มของทอ้ งถ่ิน เปน็ ตน้ และระดับมหภาค เช่น ปญั หาการขาดอานาจการ
บริหารจัดการกิจการสาธารณะที่เป็นอิสระอย่างแท้จริงในการตัดสินใจดาเนินนโย บายสาธารณะภายในท้องถิ่นด้วย
ขอ้ จากดั ทางกฎหมายและงบประมาณ เป็นต้น ดงั นั้นหากต้องการแกป้ ัญหานี้ องค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ ทกุ ระดับจึง
จาเป็นต้องทาการศึกษาอย่างจริงจังเก่ียวกับสภาพปัญหา และอุปสรรคท่ีมี เพ่ือจะได้หาข้อเสนอแนะร่วมกัน เพื่อ
พัฒนาการบริการสาธารณะขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ินให้ดีข้ึน ตอบสนองความต้องการของประชาชนในพ้ืนที่ได้
อยา่ งแทจ้ ริง

อปุ กรณ์และวิธีดำเนินกำรวจิ ยั

ในการวิจัยครั้งนี้ มวี ธิ กี ารวิจัย ใชก้ ารศกึ ษาวจิ ัยเอกสาร (Documentary Research) เป็นการรวบรวมข้อมูลจาก
เอกสารทางวิชาการ วารสาร สิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ รายงานการวิจัย วิทยานิพนธ์ ดุษฎีนิพนธ์ รายงานการประชมุ
คมู่ ือการปฏบิ ตั งิ าน ระเบียบ ประกาศ คาส่งั เอกสารทางวิชาการท่ีเกย่ี วขอ้ ง

ผลกำรวิจยั

การบริการสาธารณะ รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช 2560 มาตรา 250 ระบไุ ว้ชัดเจนว่าองค์กร
ปกครองส่วนท้องถ่ินมีหน้าที่และอานาจดูแลและจัดทาบริการสาธารณะและกิจกรรมสาธารณะเพื่อประโยชน์ของ
ประชาชนในท้องถ่ินตามหลักการพัฒนาอย่างย่ังยืน รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาให้แก่ประชาชนใน
ท้องถิ่นหรือตามท่ีกฎหมายบัญญัติไว้ ในวรรค 5 ระบุว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินมีอิสระในการบริหาร การจัดทา
บริการสาธารณะ การส่งเสริมและ สนับสนุนการจัดการศึกษาการเงินและการคลัง และการกากับดูแล ซ่ึงเป็นไปตาม
พระราชบัญญัติกาหนดแผนและขน้ั ตอนการกระจายอานาจให้แก่องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม
(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2549 วราพร องคะลอย (2564)

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บณั ฑติ ศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


697

นันทวัฒน์ บรมานันท์ (2554) ได้ให้นิยามของการจัดบริการสาธารณะ (Public Services Management) ว่า
เป็นกจิ กรรมหรือบริการทรี่ ฐั จัดขน้ึ เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนโดยส่วนรวม โดยกิจกรรมสาธารณะนั้น
จะต้องประกอบไปด้วยเง่ือนไขคือ เป็นกิจกรรม ที่เกี่ยวข้องกับนิติบุคคลอันได้แก่ รัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
นอกจากนก้ี ารจดั บรกิ ารสาธารณะ ยังเปน็ การบริหารและดาเนนิ การใช้ทรพั ยากรตา่ ง ๆ เพื่อตอบสนองความตอ้ งการของ
ประชาชนทั่วไป โดยการจัดบริการสาธารณะ จะเป็นไปในลักษณะของการที่มีองค์การหรือหน่วยงานและเจ้าหน้าที่ ผู้
บริการทาหน้าท่ีปฏิบัติการรับใช้อานวยความสะดวก แก้ปัญหา ตลอดจนตอบสนองความต้องการ ในด้านต่าง ๆ ให้แก่
ประชาชน

นราธิป ศรีราม (2557) ได้ให้ความหมายไว้ว่า การจัดบริการสาธารณะของท้องถ่ิน (Local Services
Management) คือ การบริหารและดาเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการปฏิบัติการรับใช้และการอานวย
ความสะดวกตา่ ง ๆ ตอบสนองความต้องการและการแกไ้ ขปญั หาใหแ้ กป่ ระชาชนในท้องถนิ่ โดยการดาเนนิ การบรหิ ารจะ
เป็นไปตามอานาจหน้าทข่ี ององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ อันมีวตั ถุประสงค์ เพือ่ ตอบสนองกบั ความตอ้ งการของประชาชน
ในทอ้ งถิน่ พัฒนาคณุ ภาพชวี ิตท่ีดีใหแ้ ก่ประชาชน เพือ่ การพัฒนาทอ้ งถน่ิ และตอบสนองนโยบายของรัฐบาล

โดยสรุป รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 และพระราชบัญญัติกาหนดแผนและขนั้ ตอน
การกระจายอานาจให้แกอ่ งค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ พ.ศ. 2542 ให้ความเป็นอิสระแก่องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ินตาม
หลักแห่งการปกครองตนเองตามเจตนารมณ์ของ ประชาชนในท้องถิ่น และส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินเป็น
หน่วยงานสาคญั ในการบริการสาธารณะและการตัดสินใจแก้ไขปัญหาของประชาชน รวมท้ังการให้องคก์ รปกครองส่วน
ทอ้ งถน่ิ มอี านาจหนา้ ทใ่ี นการดแู ลและบรหิ ารจดั การบริการสาธารณะเพ่ือประโยชนข์ องประชาชนเปน็ สาคัญ บนพน้ื ฐาน
การพจิ ารณาอย่างรอบคอบเกี่ยวกบั กาลงั เงนิ กาลงั งบประมาณ กาลังคน กาลงั ความสามารถของอุปกรณ์และเครอื่ งมือ
เครื่องใช้ และหนา้ ที่ความรบั ผิดชอบควรเปน็ เรอื่ งทีเ่ ปน็ ประโยชน์ตอ่ ท้องถิน่ สูงสุดด้วย

เป้าหมายสาคัญของการจดั ทาบรกิ ารสาธารณะ
รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช 2560 มาตรา 250 ระบุถึงการจัดทาบรกิ ารสาธารณะขององคก์ ร
ปกครองสว่ นท้องถ่ินไวอ้ ยา่ งชัดเจนวา่ องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ มหี น้าทีแ่ ละอานาจดแู ลและจดั ทาบรกิ ารสาธารณะและ
กิจกรรมสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถน่ิ ตามหลักการพัฒนาอย่างย่งั ยนื รวมทง้ั ส่งเสรมิ และสนับสนุนการ
จัดการศึกษาให้แก่ประชาชนในท้องถ่ินหรือตามท่ีกฎหมายบัญญตั ิไว้ ในวรรค 5 ระบุว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ มี
อิสระในการบริหารการจดั ทาบริการสาธารณะ การส่งเสริมและ สนบั สนุนการจัดการศึกษาการเงนิ และการคลัง และการ
กากบั ดแู ล

Denhardt, Janet V. & Denhardt, Robert. B. (2007) ได้กล่าวถงึ การจดั ทาบริการสาธารณะของรฐั ว่า
มเี ป้าหมายทสี่ าคัญ ดงั นี้

1) รฐั ต้องมกี ารบรหิ ารด้านการจดั ทาบริการสาธารณะแบบตลาด
2) รัฐต้อง สามารถจัดการบริหารการจัดทาบริการสาธารณะเพ่ือให้ผู้รับบริการมีทางเลือกใช้บริการได้หลาย
ช่องทาง
3) รัฐต้องกระจายความรบั ผดิ ชอบให้มีผจู้ ดั ทาบรกิ ารสาธารณะแทน
4) รัฐตอ้ งมแี ผนงาน ยกระดับความสามารถในการจัดทาบริการสาธารณะ และ
5) รฐั ต้องมจี ดุ มุง่ หมายแหง่ ความสาเร็จ ในการจดั ทาบรกิ ารสาธารณะมากกว่าทีจ่ ะเน้นในเรื่องกระบวนการ

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บัณฑติ ศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


698

ภารกิจและมาตรฐานการจัดทาบริการสาธารณะขององค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ
การจดั บรกิ ารสาธารณะท่กี รมการปกครองส่วนท้องถิ่นกาหนดไว้รวมทงั้ หมด 6 ภารกจิ หลกั ซึ่งสามารถแบง่ ยอ่ ย
ออกเป็น 44 มาตรฐาน ไดแ้ ก่
1) ด้ำนโครงสร้ำงพืนฐำน ประกอบด้วย แผนกำรคมนำคมและกำรขนสง แผนภำรกิจด้ำนสำธำรณูปโภค
และสำธำรณูปกำร แผนภำรกิจดำ้ นกำรผังเมือง และกำรควบคมุ อำคำร
2) ด้ำนงำนส่งเสริมคุณภำพชีวิต ประกอบด้วย แผนภำรกิจด้ำนกำรส่งเสริมอำชีพ แผนภำรกิจด้ำน
สวัสดิกำรสงั คม และแผนภำรกจิ ดำ้ นกำรศกึ ษำ
3) ด้ำนกำรสำธำรณสุขด้ำนกำรจัดระเบียบชมุ ชน/สังคม และกำรรักษำควำมสงบเรียบร้อย ประกอบด้วย
แผนภำรกิจด้ำนกำรส่งเสรมิ ประชำธปิ ไตย ควำมเสมอภำค สทิ ธิเสรีภำพ แผนภำรกิจด้ำนกำรป้องกันและบรรเทำสำ
ธำรณภยั แผนภำรกิจดำ้ นกำรรกั ษำควำมสงบเรยี บรอ้ ยและควำมปลอดภัยในชวี ิตและทรพั ย์สิน
4) ด้ำนกำรวำงแผนกำรส่งเสริมกำรลงทุนพณิชยกรรม และกำรท่องเที่ยว ประกอบด้วย แผนภำรกิจกำร
ส่งเสริมกำรลงทุน แผนภำรกิจด้ำนกำรพัฒนำอุตสำหกรรม แผนภำรกิจด้ำนกำรวำงแผนและจัดทำมำตรฐำน
อุตสำหกรรม แผนภำรกจิ ด้ำนกำรท่องเทีย่ ว และแผนภำรกิจดำ้ นกำรพำณชิ ยกรรม
5) ดำ้ นกำรบริหำรจดั กำรและกำรอนรุ กั ษท์ รัพยำกรธรรมชำตสิ ่ิงแวดล้อม ประกอบดว้ ย แผนภำรกิจดำ้ นกำร
อนรุ ักษท์ รัพยำกรธรรมชำตกิ ำรคุ้มครองดแู ลและบำรุงรักษำป่ำ
6) ด้ำนศิลปวัฒนธรรม จำรีตประเพณีและภมู ิปัญญำทอ้ งถน่ิ ประกอบด้วย กำรปกป้อง คุ้มครอง ควบคุม
ดูแลรักษำโบรำณสถำน โบรำณวัตถุพพิ ธิ ภณั ฑสถำนแหงชำติ
โดยสรุป องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ เป็นหน่วยงำนสำคัญในกำรบริกำรสำธำรณะและกำรตัดสินใจแก้ไข
ปัญหำของประชำชน รวมทังกำรใหอ้ งค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน มีอำนำจหน้ำทีใ่ นกำรดแู ลและบรหิ ำรจัดกำรบริกำร
สำธำรณะเพอ่ื ประโยชนข์ องประชำชนเปน็ สำคญั บนพืนฐำนกำรพจิ ำรณำอยำ่ งรอบคอบ

สภาพปัญหา อปุ สรรคของการบรกิ ารสาธารณะขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น ในพืน้ ทอ่ี าเภอห้างฉตั ร จังหวัด
ลาปาง

1) ทบทวนวรรณกรรม : สภาพปัญหา และอปุ สรรคในการจัดบริการสาธารณะขององคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ
รสคนธ์ รตั ยเสริมพงศ์ (2557) ไดก้ ล่าวถึงปัญหาและแนวทางแกไ้ ขปญั หาการจัดบริการสาธารณะของทอ้ งถนิ่
ไวว้ ่า สามารถแบ่งปัญหาของการจดั บริการสาธารณะออกไดเ้ ป็น 2 ระดบั คอื
1.1) ปญั หาการจัดบรกิ ารสาธารณะขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ ในระดับมหภาค
พบวา่ ในเชิงอานาจการบริหารจดั การกจิ การสาธารณะ องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ินยังไมไ่ ด้รับอิสระทีแ่ ท้จริงใน
การตดั สนิ ใจดาเนนิ นโยบายสาธารณะภายในทอ้ งถน่ิ ด้วยข้อจากดั ทางกฎหมายและงบประมาณในการดาเนนิ การ รวมท้ัง
ปัญหาในเชิงโครงสร้างของระบบการบริหารราชการในการจัดบริการสาธารณะที่ยังเน้นการรวมศูนย์อานาจขาดความ
ชัดเจน มคี วามซับซอ้ น สายการบังคบั บญั ชายาวและมโี ครงสร้างการบริหารที่ไมส่ อดคลอ้ งกับบริบทของแตล่ ะท้องถิ่นอีก
ด้วย
1.2) ปัญหาการจัดบริการสาธารณะขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นในระดับจุลภาค

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บณั ฑติ ศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


699

ในระดับจุลภาค การจัดบริการสาธารณะขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน พบว่า ยังไม่สอดคล้องกับ
ปญั หาและความต้องการของประชาชน รวมทง้ั ไมส่ อดคล้องกบั สภาพแวดล้อมของท้องถ่ินเทา่ ทค่ี วร อันเปน็ ผลจากการ
ใหบ้ รกิ ารสาธารณะท่ีไม่ครบถว้ นทุกด้านและยังไม่กระจายทั่วถงึ ประชาชนทุกกลุ่ม เชน่ อาจเนน้ ประโยชนข์ องบคุ คลบาง
กลุ่มและละเลยประโยชน์ของประชาชนบางกลุ่ม ขาดการลาดับความสาคัญในการจัดบริการสาธารณะที่ควรมีการ
เตรียมการลว่ งหน้าหรือควรมีการพิจารณาถึงความจาเป็นเรง่ ด่วน ทาให้การจดั บริการสาธารณะขาดคณุ ภาพ ขาดความ
ชดั เจน ขาดความเป็นธรรมและไมเ่ หมาะสมกบั สภาพความเปน็ จรงิ ของท้องถ่นิ ซึง่ แนวทางในการแกไ้ ขปัญหาท่สี าคญั คอื
การเปิดโอกาสใหป้ ระชาชนในท้องถ่ินไดเ้ ขา้ มามีส่วนร่วมทัง้ ในการเสนอนโยบายการมสี ว่ นร่วมในการดาเนินงานและการ
ตรวจสอบการให้บริการสาธารณะขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่

สอดคล้องกับ วราพร องคะลอย (2564) ผู้เขียนบทความเร่ือง ข้อจากัดและข้อเสนอแนะเพ่ือการบริการ
สาธารณะขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน ซง่ึ สรปุ ความได้ว่ำ ท่ผี า่ นมาในอดีต องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นยงั ประสบกบั
ปัญหาต่างๆมากมายที่ทาให้ไม่สามารถให้บริการสาธารณะได้อย่างมีประสิทธิภาพและเป็นไปตามหลักการของการ
จัดบริการสาธารณะ โดยภาพรวมส่วนใหญ่ยังมีปัญหาและอุปสรรคด้านข้อจากัดของการปฏิบัติง านภายใต้บริบท
งบประมาณ บคุ ลากร เทคโนโลยสี ารสนเทศ กฎหมายและด้านความรู้ อยา่ งจากดั โดยมรี ายละเอียดดังนี้คอื

งบประมาณ งบประมาณ เป็นจุดสาคัญในการพัฒนาระบบการบริการสาธารณะให้แก่ประชาชน หากมี
งบประมาณไม่เพียงพอตอ่ การจดั ทาโครงการต่างๆ หรือรัฐอุดหนนุ ล่าชา้ จะทาให้เกิดอุปสรรคในสภาพคลอ่ งของการจดั ทา
โครงการต่างๆ ไปด้วย แมว้ า่ กฎหมายจะอนญุ าตให้ทดรองจา่ ยล่วงหน้าหรอื ก่อหนีผ้ ูกพนั ขา้ มปีได้ แต่องค์กรปกครองสว่ น
ถ่ิน จาใจต้องพัฒนาโครงการไปตามงบประมาณที่มีอยู่ นอกจากน้ันก็ยังมีปัญหาเรื่องห้วงเวลาในการจัดทาคาขอ
งบประมาณของสว่ นราชการ และแผนพฒั นาทอ้ งถ่ินท่ีไม่สอดคลอ้ งกัน เนอ่ื งจากการจดั สรรเงินอุดหนนุ ท่วั ไปให้กับองคก์ ร
ปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ แตล่ ะแห่งจะตอ้ งมีประกาศของคณะกรรมการการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน
(ก.ก.ถ.) เพื่อกาหนดหลกั เกณฑก์ ารจัดสรรตาม พ.ร.บ. กาหนดแผนและขน้ั ตอนการกระจายอานาจให้แก่องคก์ รปกครอง
ส่วนทอ้ งถ่ิน พ.ศ. 2542 และทแี่ กไ้ ขเพม่ิ เติม แต่ยังคงมีปญั หาในทางปฏิบตั คิ อื ประกาศคณะกรรมการการกระจายอานาจ
ใ ห้ แ ก่ อ ง ค์ ก ร ป ก ค ร อ ง ส่ ว น ท้ อ ง ถิ่ น (ก .ก .ถ .) เ ป็ น ป ร ะ ก า ศ ปี ต่ อ ปี แ ล ะ มี ค ว า ม ล่ า ช้ า
รวมไปถึงปญั หาต้นทุนในการจดั บริการสาธารณะสงู และหน่วยงานท้องถิ่น ประเภทเดยี วกันที่มจี านวนประชากรต่าสดุ
และสูงสุดท่ีแตกต่างกันมาก รายการก่อสร้างขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องมีการ ปรับแก้รูปแบบรายการให้
เหมาะสมกับพื้นท่ี เนื่องจากในการเสนอโครงการพร้อมรูปแบบรายการในคาของบประมาณขององค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่นแต่ละแห่งอ้างอิงแบบมาตรฐานและราคากลางท่ีสานักงบประมาณและ กรมบัญชีกลางกาหนดไว้ แต่ขีด
ความสามารถในการออกแบบหรือปรับแก้ไขแบบของบุคลากรในพื้นท่ีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นยังมีไม่เพียงพอ และ
เน่ืองจากองคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ มีรายไดจ้ ดั เกบ็ เองเพียงร้อยละ 9 จาก สัดส่วนรายไดท้ อี่ งค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ
ได้รบั และการจดั เกบ็ รายไดท้ อี่ งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ จัดเก็บเองยงั ขาดประสทิ ธิภาพ

บุคลากร บุคลากรถือเป็นองค์ประกอบท่ีสาคัญอย่างย่ิงต่อการดาเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แต่
องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ ยงั มปี ัญหาและขอ้ จากัดด้านบคุ ลากรหลายเรื่อง เช่น ปญั หาแผนการพัฒนาบคุ ลากรทอ้ งถิ่นมี
องค์กรท่ีเกี่ยวข้องมากเกินไป ปัญหาความไม่ชัดเจนในบทบาทขององค์กรกลาง ปัญหาด้านกระบวนการ เช่น การจัด
ฝึกอบรมท่ีไม่ตรงกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย การพัฒนาบุคลากรท่ีไม่เป็นไปตามแผนพัฒนาบุคลากร การท่ี
บุคลากรขาดความกระตือรือร้นในการพัฒนาตนเอง การควบคุมค่าใช้จ่ายด้านบุคลากร ฯลฯ รวมไปถึงความขัดแย้ง

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บณั ฑติ ศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


700

ระหว่างคณะผู้บริหารท้องถิ่นกับข้าราชการประจาที่ยังมีความสับสนในเชิงโครงสร้างท่ีซับซ้อน ความเหล่ือมล้าของ
บคุ ลากรภายในองคก์ ร และระบบอุปถมั ภ์นยิ ม เปน็ ต้น

เทคโนโลยีสารสนเทศ ปัจจุบนั กรมสง่ เสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นไดก้ าหนดยทุ ธศาสตร์หลกั คือ การส่งเสรมิ
กรมสง่ เสรมิ การปกครองท้องถิ่นให้เปน็ องค์กรดิจทิ ลั แต่กม็ ีขอ้ จากัด เช่น บุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศมีจานวนไม่
เพียงพอกับภาระงานท่ีเพิ่มมากขึ้น การขาดบุคลากรด้านเทคโนโลยีที่มีทักษะสูงหรือเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ขาดความ
คลอ่ งตัวในการจัดหาครุภัณฑ์ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ทท่ี นั สมัยเนือ่ งจากค่าใช้จา่ ยและการลงทนุ ในการ
จัดซอื้ คอ่ นข้างสูง มกี ารใช้เทคโนโลยีสารสนเทศท่ีไม่เหมาะสมเช่น เพ่ือความบันเทิงและการเข้าถงึ เน้อื หาท่ไี มพ่ ึงประสงค์
การพัฒนาบุคลากรไม่ทันกับการพัฒนาการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยีสารสนเทศ และมีความเส่ียง
อาชญากรรมทางคอมพวิ เตอร์

กฎหมายและด้านความรู้ ปจั จบุ นั องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่นมกี ฎหมายรองรับและการปฏบิ ตั ิงานหลายฉบับที่
เกี่ยวข้อง เชน่ พระราชบัญญตั ิระเบยี บบริหารกรงุ เทพมหานคร พ.ศ. 2528 พระราชบัญญัตริ ะเบียบบริหารราชการเมือง
พัทยา พ.ศ. 2542 พระราชบัญญตั เิ ทศบาล พ.ศ.2496 (แก้ไขเพิ่มเตมิ ถึงฉบบั ท่ี 14) พ.ศ. 2562พระราชบัญญัติองค์การ
บรหิ ารส่วนจังหวดั พ.ศ.2540 (แกไ้ ขเพมิ่ เตมิ ถงึ ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2562 พระราชบัญญตั สิ ภาตาบลและองคก์ ารบรหิ ารส่วน
ตาบล พ.ศ. 2537 (แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 พระราชบัญญัติกาหนดแผนและข้ันตอนการกระจายอานาจ
ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ พ.ศ.2542 (แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับท่ี 2) พ.ศ.2549พระราชกฤษฎีกาว่าด้วย หลักเกณฑ์
และวิธีการบรหิ ารกจิ การบ้านเมืองทีด่ ี พ.ศ. 2546 และยงั มีระเบยี บกฎหมาย คาสั่ง ประกาศ ขอ้ กาหนด มาตรฐาน และ
อื่นๆ อีกจานวนมากมายมหาศาล เป็นต้น แต่ปัญหา คือ การกาหนดกฎหมายให้องคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่ สวนกระแส
กับแนวคิดการกระจายอานาจ ส่งผลให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไม่สำมำรถจะจัดทำกำรบริกำรสำธำรณะได้อยา่ ง
คล่องตัว ขาดความเป็นอิสระ เนื่องจากหน่วยงานราชการส่วนกลางและส่วนภูมิภาค มักใช้รูปแบบของการควบคุม
มากกว่าการกากับดูแล ทาให้ท้องถ่ินมักมีข้อจากัด ในด้านของกฎระเบียบข้อบังคับ เช่น ด้านกฎหมาย มีการกาหนด
ชดั เจนว่าทอ้ งถิน่ มีหนา้ ทีท่ าอะไรบ้าง

จากแนวคิดข้างตน้ พบวา่ สอดคลอ้ งกับแนวคดิ ของ สมคิด เลศิ ไพฑรู ย์ (มปป.) ทีเ่ สนอไว้วา่ ปัญหาหลกั ของ
องคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ จะมีปญั หาหลกั อยู่ 6 ปัญหา ไดแ้ ก่

- ปัญหาด้านงบประมาณไม่เพยี งตอ่ การจัดทาบรกิ ารสาธารณะในชมุ ชน
- ปัญหาด้านบคุ ลากรทย่ี งั ตอ้ งเรยี นรู้และพัฒนาตนเองอย่างมาก

- ปญั หาดา้ นโครงสร้างองค์กรทต่ี อ้ งอาศัยการ ปรับปรุงกฎหมายอยา่ งมีสว่ นร่วมของประชาชน
- ปัญหาตัวของผ้บู ริหารทอ้ งถิน่ และสมาชิกท้องถน่ิ
- ปญั หาเก่ียวกบั เทคโนโลยี และ
- ปญั หาทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับประชาชน

2) สภาพปัญหา อุปสรรคในการจัดบริการสาธารณะขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในพ้ืนท่ีอาเภอห้างฉัตร
จงั หวัดลาปาง การบริการสาธารณะแบบพหุภาคขี ององคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่นในพน้ื ท่อี าเภอห้างฉตั ร จังหวดั ลาปาง

2.1 แนวทางในการจดั บริการสาธารณะขององคก์ รปกครองส่วนท้องถนิ่ ในพื้นทอ่ี าเภอห้างฉตั ร จังหวัดลาปาง :
การบริการสาธารณะแบบพหุภาคี

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บณั ฑิตศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


701

องค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ ในพ้ืนที่อาเภอห้างฉตั ร จังหวัดลาปาง ในบทความน้ี ผู้เขียนบทความขอนิยามว่า
หมายถึง องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่นในพ้ืนท่ีอาเภอห้างฉตั ร จังหวัดลาปาง โดยเลือกเป็นเทศบาลตาบลจานวน 4 แหง่
ไดแ้ ก่ เทศบาลตาบลปงยางคก, เทศบาลตาบลเวยี งตาล , เทศบาลตาบลเมืองยาว, และเทศบาลตาบลห้างฉัตรแมต่ าล ใน
พ้นื ทีอ่ าเภอห้างฉตั ร จังหวัดลาปาง ท่ใี ชเ้ ปน็ กรณีศกึ ษาเท่านัน้

การจัดบริการสาธารณะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพนื้ ทอ่ี าเภอหา้ งฉตั ร จงั หวัดลาปาง โดยสว่ นใหญจ่ ะ
มีจุดร่วมท่ีเหมือนกัน น่ันคือ เน้นไปท่ี การให้บริการสาธารณะแบบพหุภาคี ท่ีเน้นการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน ดัง
ปรากฏหลกั ฐานชัดเจนในเอกสารประเภท แผนอัตรากาลงั 3 ปี และแผนพัฒนาท้องถิน่ ของแตล่ ะเทศบาลดงั น้ี

“...การพัฒนาท้องถ่นิ ของเทศบาลตาบลปงยางคก เป็นการสร้างความเข้มแข็งของชุมชนในการมีส่วน
รว่ มในการ ร่วมคิด ร่วมแกไ้ ขปัญหา และรว่ มกนั พัฒนาท้องถิ่น โดยยดึ หลกั การมีสว่ นรว่ ม ซ่ึงการพฒั นาเทศบาลให้สาเร็จ
ได้ต้องจาเป็นต้องอาศัยความร่วมมือของชุมชน หมู่บ้าน จะต้องตระหนักแก้ไขปัญหา และมีความต้องการแก้ไขปญั หา
อยา่ งจรงิ จงั เทศบาลตาบลปงยางคก ไดเ้ นน้ ใหค้ นเปน็ ศูนย์กลางของการพฒั นาในทกุ กลมุ่ ทุกวัยของประชากร นอกจากน้ี
ยงั เน้นการสง่ เสริมและสนับสนนุ การศึกษาเด็กกอ่ นวัยเรียน และพัฒนาเยาวชนให้มีคณุ ภาพ ส่วนในดา้ นการพัฒนาอาชีพ
ได้เน้นพัฒนาเศรษฐกจิ ชมุ ชนแบบพ่งึ ตนเอง….”

“...มีวิสัยทศั น์ คอื “สงั คมนา่ อยู่ สู่คุณภาพชวี ติ ทีด่ ี สบื สานประเพณวี ฒั นธรม กา้ วนาเศรษฐกจิ ปลอดมลพษิ ทกุ
ชมุ ชน เปน็ ตาบลแห่งการมีสว่ นร่วม”

เช่นเดียวกับเทศบาลตาบลห้างฉัตรแม่ตาล ท่ีได้กาหนดจุดมุ่งหมาย ( GOALS) ในการพัฒนาพ้ืนท่ี ในข้อท่ี 4
อยา่ งชัดเจนว่า

“..ขอ้ 4 เสรมิ สรา้ งความเข้มแข็งของชุมชน โดยเน้นการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนา คือ การที่
ส่งเสริมให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการร่วมคิด ร่วมทา ร่วมรับผลประโยชน์และร่วมรับผิดชอบ รวมถึงส่งเสริมและ
สนับสนุนการศึกษา ศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณีใหค้ งอยู่ตลอดไป…” เป็นต้น

ขณะท่เี ทศบาลตาบลเวียงตาล กไ็ ด้ประกาศยา้ ชัดถึงจดุ ยืนในการพัฒนาแบบมีสว่ นร่วมของประชาชน และพหุ
ภาคีทุกภาคส่วน ในวาระต่างๆ ดังเช่นที่ปรากฏในวิสัยทัศน์การพัฒนา (Vision) ว่า “เวียงตาลน่าอยู่ ชุมชนเข้มแข็ง
เศรษฐกิจม่ันคง ส่ิงแวดล้อมย่ังยืน” ซ่ึงหมายถึง “เทศบาลตาบลเวียงตาล พัฒนาไปสู่ความเป็นเมืองน่าอยู่ สถานท่ีน่า
ท่องเท่ยี วครอบครัวมีความอบอนุ่ และสงบสุข ชมุ ชนมีความเข้มแขง็ เศรษฐกิจชมุ ชนพง่ึ ตนเองและการพฒั นาอย่างย่ังยืน
ด้วยการบริหารจัดการท่ีดี โดยความร่วมมือจากทกุ ภาคสว่ น” และมีกลยทุ ธท์ างการบรหิ ารท่ี “สร้างการพฒั นาทอ้ งถนิ่
โดยเน้นกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนของสังคมในการพัฒนาท้องถ่ิน โดยให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการ
ตดั สินใจ การวางแผนพฒั นา การตรวจสอบ เพือ่ ให้เกดิ ความโปร่งใสในการบริหารการปกครอง…” หรอื อาจจะเหน็ ไดจ้ าก
วิ สั ย ทั ศ น์ ห รื อ แ น ว คิ ด ใ น ก า ร ป้ อ ง กั น ก า ร ทุ จ ริ ต ข อ ง ผู้ บ ริ ห า ร ที่ ร ะ บุ ไ ว้ ว่ า “ท า ถู ก
คิดเป็น โปรง่ ใส มีวิสัยทัศน์ ประชาชนมีส่วนร่วม” และ “.... ประชาชนมสี ่วนร่วม หมายถงึ การเปดิ โอกาสใหป้ ระชาชนมี
ส่วนร่วมรับรู้และเสนอความเห็นในการบริหารงานของเทศบาล ตลอดจนการเสนอความเห็นต่างๆ เช่น การจัดทา
แผนพัฒนา ทอ้ งถิ่น การเสนอเทศบัญญตั ิ...” เป็นตน้

2.2) สภาพปัญหา อุปสรรคในการจัดบริการสาธารณะขององคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่อาเภอห้างฉตั ร
จงั หวดั ลาปาง

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บัณฑติ ศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


702

จากการศึกษาพบวา่ ในปัจจุบัน ยงั มปี ญั หาอุปสรรคหลายประการทสี่ ง่ ผลกระทบตอ่ การบริการสาธารณะแบบ
พหภุ าคขี ององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น ในพน้ื ท่อี าเภอหา้ งฉัตร จงั หวดั ลาปาง ซึง่ นา่ จะเปน็ ปญั หาที่องคก์ รปกครองส่วน
ทอ้ งถ่ินอ่นื ๆ ที่มีบรบิ ทใกล้เคยี งกนั ก็ประสบอยเู่ ชน่ กนั และลว้ นถือเป็นปัญหาสาคญั ทคี่ วรได้รับการแกไ้ ข ดังน้ี

1) ปญั หาด้านกฎหมายว่าความไม่ชดั เจนของอานาจหน้าที่ในการจดั ทาบริการสาธารณะและกจิ กรรมสาธารณะ
ปัจจบุ นั ยังไมม่ คี วามชัดเจนเกย่ี วกบั อานาจหน้าท่ีในการจัดทาบริการสาธารณะและกิจกรรมสาธารณะว่าภารกิจ
ใดเป็นหน้าที่ของหน่วยงานที่ต้องดาเนินการ หรือภารกิจใดท่ีเปน็ ภาระหน้าท่ีขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน (อปท.)
หรอื บริกำรสำธำรณะใดท่เี ปน็ ลกั ษณะท่ตี อ้ งผสำนกำลังดำเนนิ กำรร่วมกัน ฯลฯ ขอ้ กฎหมายในบางประเดน็ ขัดตอ่ ความ
ร่วมมือระหว่างเทศบาล เพราะกฎหมายทีเ่ ก่ียวข้องต่อการบริหารองคก์ รปกครองส่วน ท้องถิน่ หลายประเด็นคอ่ นขา้ งจะ
ลา้ หลงั ระเบยี บบางเร่อื งไมไ่ ด้ปรบั ปรุงแก้ไข ทาใหเ้ ป็นอุปสรรคพอสมควร บางเรือ่ งกไ็ ม่ได้หนุนการทางานแตก่ ลบั บังคับ
และไม่สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจบุ ัน ฉะนั้น ความล้าหลังของกฎหมายทาให้เกิดข้อจากัดในบริบทความร่วมมือ
ขอ้ จากดั ทางอานาจหน้าท่ที ่ใี ห้ตอ้ งดาเนนิ งานตามกฎหมาย ส่วนใหญใ่ ห้หน้าทีบ่ อกเปน็ หนา้ ทีก่ าหนดเป็นหนา้ ท่ี แตไ่ มไ่ ด้
ให้อานาจถูกจากัดการใช้อานาจในกำรตัดสินใจ บางคร้ังส่ิงท่ีพยายามดาเนินโครงการความร่วมมือกันเพื่อบริการ
สาธารณะถูกตีความว่าเกินขอบเขตอานาจหน้าท่ีทกี่ ฎหมายที่เก่ียวขอ้ งระบุไว้หรือถกู กล่าวหาว่าไม่ใช่อานาจหนา้ ที่ของ
องคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น ความไมช่ ัดเจน กา้ ก่งึ คลมุ เครอื ของหนว่ ยงานตรวจสอบและความไม่ชัดเจนของกฎหมายน้ี
เอง ท่ที าใหเ้ ป็นปญั หาเกิดการทับซอ้ น/ทางานซา้ ซ้อนกันนี้ ส่งผลทาให้องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ ถกู สานักงานตรวจเงิน
แผน่ ดิน ( สตง.) ทว้ งติงวา่ ดาเนินการนอกเหนืออานาจหนา้ ที่ และสง่ ผลทาใหถ้ กู เรียกเงนิ คืน หรอื ในบางครง้ั ปัญหาพื้นที่
ทับซอ้ นระหวา่ งหน่วยงานภาครัฐกับพนื้ ที่สาธารณะท่ีประชาชนใช้ประโยชน์ ทาให้เม่ือจะขอเขา้ ใช้พืน้ ที่ เชน่ ขดุ สระ ขดุ
เจาะบาดาล ต้องขออนญุ าตจากหน่วยงานเจา้ ของพน้ื ที่ ซ่ึงกระบวนการขออนญุ าตมีระยะเวลานานทาให้อาจไม่ทันเวลา
ตอ่ การใชง้ บประมาณ ปญั หาคืนงบเพราะไม่ได้รบั อนุญาตให้ใชพ้ นื้ ท่ี เปน็ ต้น
2) ปัญหาการถ่ายโอนภารกจิ
อันเน่ืองมาจากการถา่ ยโอนภารกิจให้ อปท.ดาเนินการแลว้ พบว่ามีปัญหาตามมาหลายประการ เช่น การโอน
ภารกจิ โครงสรา้ งพ้นื ฐานซึง่ ต้องใชง้ บประมาณสงู แตอ่ ปท.มกั ไม่ไดร้ ับการถ่ายโอนงบประมาณมาจากราชการสว่ นกลางใน
ภารกจิ ทเ่ี พ่ิมขึ้น ส่งผลให้ อปท. ไมส่ ามารถจดั ทาบรกิ ารสาธารณะได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ เพยี งพอและทั่วถึง รวมถงึ การ
ขาดการบรู ณาการข้อมลู ระหวา่ งหนว่ ยงาน การถ่ายโอนภารกิจด้านการบรกิ ารสาธารณะตา่ งๆขาดความชัดเจนในแนวทาง
ปฏิบตั ิและการอดุ หนนุ งบประมาณ เป็นต้น
3) ปญั หาด้านโครงสรา้ งขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน
ปัจจุบัน องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น (อปท.) ยังมปี ัญหาเรอื่ งความแตกตา่ งของขนาดพ้นื ที่และรายได้ ทาให้เกดิ
ปญั หาในการบริหารงานเพราะศกั ยภาพไมเ่ ท่ากนั อปท.ขนาดเล็กมีความจากดั ทั้งในเรอ่ื งของบคุ ลากรและงบประมาณ ทา
ให้ต้องพ่ึงพาจากส่วนกลางหรือส่วนราชการอ่นื หรือแม้กระท่ังองคก์ รปกครองทอ้ งถน่ิ ขนาดใหญ่คือองค์การบริหารส่วน
จงั หวดั (อบจ.) เข้าไปดาเนนิ การแทนหรอื สนบั สนนุ งบประมาณ เป็นตน้
4) ปญั หาดา้ นบุคลากร
องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น (อปท.) ประสบปัญหาด้านบุคลากรทีม่ ีจานวนไมเ่ พียงพอ และไมม่ ีความสมั พนั ธ์กับ
ภารกิจขององค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ แต่ละแห่ง และย่ิงมีปัญหามากข้ึนเม่ือมีการถ่ายโอนภารกจิ มากข้ึน ก็ย่ิงประสบ
ปญั หาในเรอ่ื งการทางานตามภารกิจถา่ ยโอนดว้ ย เน่ืองจากบุคลากรของ อปท. ไม่มคี วามร้คู วามชานาญในงานน้ัน เปน็ ตน้

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บัณฑติ ศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


703

ดังน้ัน จึงจาเป็นต้องมกี ารปรับปรงุ โครงสรา้ งด้านบุคลากรของท้องถิ่นใหม่ท้ังระบบ โดยอาจมกี ารสับเปลี่ยนอตั รากาลงั
ระหว่างทอ้ งถน่ิ เพม่ิ ข้นึ ในอนาคตต่อไป

วจิ ำรณผ์ ลกำรวจิ ยั

สาหรับข้อเสนอแนะเพ่ือการพัฒนาการบริการสาธารณะแบบพหุภาคีขององคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ินในพ้ืนท่ี
อาเภอห้างฉตั ร จงั หวดั ลาปาง ในทัศนะของผ้เู ขียนบทความนี้ เห็นว่าควรเปน็ ไปตามจดุ เน้นท่อี งค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ
ในพื้นที่อาเภอห้างฉตั รมรี ่วมกัน คือ การบริการสาธารณะแบบพหุภาคี ท่ีเน้นการมีส่วนร่วมของประชาชนและทุกภาค
ส่วน เพอื่ การพัฒนาอย่างย่งั ยนื และเปน็ ไปตามหลกั การของการกระจายอานาจ และหลกั การของการปกครองท้องถิ่นที่
บัญญัติรองรับไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2560 มาตรา 250 ความว่า “...ต้องให้องคก์ รปกครองส่วน
ทอ้ งถ่ินมอี ิสระในการบรหิ าร การจดั ทาบริการสาธารณะ การส่งเสรมิ และสนับสนนุ การจดั การศึกษา การเงนิ และการคลงั
และการกากับดูแลองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น ซึ่งต้องทาเพียงเท่าทจ่ี าเป็นเพ่ือการคุ้มครองประโยชน์ของประชาชนใน
ท้องถิ่น หรือประโยชน์ของประเทศเป็นส่วนรวม การป้องกันการทุจริต และการใช้จ่ายเงินอย่างมีประสิทธิภาพ โดย
คานึงถึงความเหมาะสม และความแตกตา่ งขององค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ แต่ละรูปแบบ...”เป็นสาคญั

สาหรบั ประเด็นปญั หาและอุปสรรคทส่ี าคญั เช่น 1) ปญั หาดา้ นกฎหมายว่าความไมช่ ัดเจนของอานาจหนา้ ทใี่ น
การจัดทาบริการสาธารณะและกิจกรรมสาธารณะ 2) ปัญหาการถ่ายโอนภารกจิ 3) ปัญหาด้านโครงสรา้ งขององค์กร
ปกครองสว่ นท้องถิ่น และ 4) ปญั หาดา้ นบุคลากรนัน้ อาจมขี ้อเสนอแนะดังต่อไปน้ี

- ปัญหาด้านกฎหมาย มีข้อเสนอแนะว่า ควรมีการบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญให้ชัดเจนมากขึ้นว่า ภารกิจใดเปน็
หนา้ ทขี่ องรัฐ ภารกจิ ใดเรือ่ งใดควรบัญญัตไิ วใ้ นหมวดว่าดว้ ยการปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น เพื่อใหเ้ กดิ การกระจายอานาจการ
ปกครองไปสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ อยา่ งแทจ้ ริง หลีกเลี่ยงการออกกฎหมายบงั คบั และกาหนดทศิ ทางการพฒั นาท่ี
เกินความจาเปน็ การตคี วามกฎหมายและการตัดสินใจในราชการตอ้ งคานงึ ถงึ ความเป็นจริงของเรอื่ งดว้ ย โดยขอนาพระ
บรมราโชวาทของในพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภูมิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มาไว้ให้แงค่ ิด
“กฎหมายนั้นไม่ใช่ตัวความยุติธรรม เป็นแต่เพียงเครื่องมืออยา่ งหนึ่ง สาหรับใช้ในการรักษาและอานวยความยุติธรรม
เท่านั้น การใช้กฎหมายจึงต้องมุ่งหมายใช้เพ่ือรักษาความยตุ ธิ รรมไม่ใช่เพื่อรักษาตวั บทของกฎหมายเอง และการรักษา
ความยุติธรรมในแผ่นดิน ก็มิได้มีวงแคบอยู่เพียงแค่ขอบเขตของกฎหมาย หากต้องขยายออกไปให้ถึงศีลธรรมจรรยา
ตลอดจนเหตุ และผลตามความเป็นจริงด้วย

- ปัญหาการถา่ ยโอนภารกจิ มขี ้อเสนอแนะว่า เมื่อส่วนราชการใดถา่ ยโอนภารกจิ ให้ อปท.ดาเนินการแล้วส่วน
ราชการนัน้ ต้องลดบทบาทลง โดยคงไวเ้ พยี งทาหน้าท่ใี ห้คาแนะนาช่วยเหลอื อกี ทงั้ ต้องสง่ เสริมใหม้ กี ารบูรณาการร่วมกัน
ระหว่างส่วนราชการเจ้าของภารกิจเดิมและ อปท. ในเรื่องการเชื่อมโยงข้อมูล เช่น ข้อมูลด้านสาธารณสุข ข้อมูลด้าน
ประชากร เปน็ ตน้

- ปัญหาดา้ นโครงสร้างขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น มขี ้อเสนอแนะว่าควรเรง่ ปรบั ปรุงโครงสร้างและขนาดให้
เหมาะสม โดยใหม้ ีกฎหมายรายได้ท้องถ่ินใชบ้ งั คับเปน็ การเฉพาะดว้ ย

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บณั ฑติ ศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


704

- ปัญหาด้านบุคลากร มีข้อเสนอแนะว่า จาเป็นต้องมีการปรับปรุงโครงสร้างด้านบุคลากรของท้องถิ่นใหม่ทั้ง
ระบบ โดยอาจมีการสับเปล่ียนอัตรากาลังระหว่างท้องถ่ินเพิ่มขึ้นในอนาคตต่อไป เพื่อลดปัญหาความไม่สัมพันธ์กัน
ระหว่างจานวนคนกบั ภาระงานทมี่ ี

สอดคลอ้ งแนวทางการบริหารจดั การทอ้ งถิ่นที่ดี ท่ี อานวย บุญรัตนไมตรี, วัฒนา นนทชิต, และธนกฤษ งามมี
ศรี. (มปป.) ได้กล่าวถึงไว้ในบทความชื่อ “กระบวนทัศน์ใหม่ในการบริหารท้องถิ่น” อันประกอบด้วยคุณลักษณะ 4ประการ
คอื

1) มีการพึ่งพาซ่ึงกนั และกัน ในด้านการบริการสาธารณะ (Interdependence) กล่าวคือ ทุกภาคส่วนในสังคม
ส า ม า ร ถ ร่ ว ม กั น ใ ห้ บ ริ ก า ร ส า ธ า ร ณ ะ แ ก่ ป ร ะ ชา ช น พ ล เ มื อ ง ไ ด้ โ ด ย ไ ม่ แ บ่ ง แ ย ก ว่ า เ ป็ น ง า น ข อ ง ร า ชก า ร ห รื อ ข อ ง
ประชาชน และไม่ผูกขาดอานาจในการดาเนินการโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ เท่าน้นั

2) ทกุ ภาคส่วนในพหภุ าคเี ครอื ข่ายท้องถน่ิ มปี ฏสิ มั พนั ธก์ ันอย่างตอ่ เนื่อง
3) การปฏิสมั พนั ธท์ ีเ่ กิดขนึ้ ในท้องถิน่ มลี ักษณะคลา้ ยเกมแข่งขัน (Game-like) โดยมีรากฐานมาจากการเชื่อใจกนั
(trust) และการใช้กฎเกณฑ์ของเกมท่ีมีอยรู่ ่วมกัน เพื่อการต่อรองและตกลงโดยมีภาคต่างๆท่ีเกี่ยวข้องมาร่วมในเกมที่
เกิดขน้ึ แต่ละครงั้
4) มีความเปน็ อิสระจากรัฐในระดับหน่ึง และพหุภาคีเครือข่ายกอ่ ตัวขึ้นมาเองและมีความสัมพนั ธ์ซ่ึงกนั และกนั
ในแนวราบ รฐั ไม่มอี านาจเหนอื เครอื ข่ายพหภุ าคนี ้ี

สรปุ ผลกำรวิจยั

บทความน้ไี ด้ขอ้ คน้ พบองค์ความรทู้ ส่ี าคัญเกี่ยวกับการบริการสาธารณะว่าควรเน้นการจดั บรกิ ารสาธารณะอย่าง
เท่าเทียม สร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนและพหุภาคีเครือข่าย เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมใน
กระบวนการนโยบายสาธารณะและการพัฒนาองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นไทยได้ในทกุ กระบวนการ ซ่งึ หากสามารถนาไป
ประยุกต์ใช้จริงก็เชื่อมั่นวา่ จะทาให้การบริการสาธารณะของท้องถน่ิ ไทยก้าวหน้า ก้าวไกล และตรงตามจุดมุ่งหมายของ
การกอ่ ต้ังองคก์ รปกครองท้องถ่นิ ไทย เพ่อื ปวงชนชาวไทยอยา่ งเตม็ ภาคภูมิตอ่ ไป

กติ ติกรรมประกำศ

บทความ เรื่อง การศึกษาในเร่ือง สภาพปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะเพือ่ การพัฒนาการบริการสาธารณะ
แบบพหุภาคีขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในพ้ืนที่อาเภอห้างฉัตร จังหวัดลาปาง ฉบับน้ี ผู้เขียนขอขอบคุณข้อมูล
งานวิจัยทุกท่านที่เป็นข้อมูลและเป็นแนวทางในการพัฒนาการบริการสาธารณะแบบพหุภาคีขององค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่นต่อไปในอนาคตให้มีความย่ังยืน และขอขอบคุณผู้ช่วยศาตราจารย์ ดร.วีณา นิลวงศ์ อาจารย์ท่ีปรึกษาที่ให้
คาแนะนา แกไ้ ขและเตมิ เตมิ บาความฉบบั นีใ้ หม้ ีความสมบูรณ์มากย่งิ ขนึ้

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บัณฑิตศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


705

เอกสำรอำ้ งองิ

กฎหมายองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นท่ีสับสน. [ออนไลน์]. แหล่งข้อมูล : https://siamrath.co.th/n/80028 [27
กรกฎาคม 2564]. กรณีการบริหารเทศบาลตามมาตรฐานการจัดทาบริการสาธารณะด้านโครงสร้างพ้ืนฐาน.
วำรสำรมนษุ ยสงั คมปริทศั น์ 2558;17;93-108.

กรมการปกครองส่วนท้องถ่ิน. มำตรฐำนกำรบริหำรและกำรบริกำรสำธำรณะขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน.
[ออนไลน์]. แหลง่ ข้อมลู : http://www.dla.go.th/work/e_book/eb1/eb1.htm [27 กรกฎาคม 2564].

กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย, สรุปสำระสำคัญมำตรฐำนกำรบริกำรสำธำรณะขององค์กร
ปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น. (กรงุ เทพฯ: กรมสง่ เสริมการปกครองท้องถ่นิ , 2550), หนา้ 1-68.

นนั ทวฒั น์ บรมานันท.์ (2554). มำตรฐำนใหมข่ องกำรจดั ทำบรกิ ำรสำธำรณะระดับชำติในประเทศไทย.กรุงเทพฯ :
วิญญูชน.
นราธิป ศรรี าม, “แนวคิดเกย่ี วกับการจดั บรกิ ารสาธารณะของท้องถิ่น”, เอกสำรกำรสอนชดุ วชิ ำกำรจดั บรกิ ำรสำธำรณะ

ของทอ้ งถ่ิน หนว่ ยที่ 1-7, (นนทบุร:ี สานกั พิมพ์มหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช, 2557), หนา้ 1-6, 1-24 -1-25.
รสคนธ์ รัตยเสริมพงศ์, “ปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหาการจัดบริการสาธารณะของท้องถิ่น”, เอกสำรกำรสอนชุด

วิชำกำรจดั บรกิ ำรสำธำรณะของท้องถิ่น หน่วยที่ 8-15, (นนทบุร:ี สานักพิมพห์ าวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช,
2557), หน้า 15-5 – 15-12.
ราชกจิ จานุเบกษา. (2560). รฐั ธรรมนญู แหง่ รำชอำณำจักรไทย พทุ ธศกั รำช 2560. เลม่ 134 ตอนท่ี 40 ก. 6 เมษายน
2560.
วราพร องคะลอย.(2564). ขอ้ จำกัดและขอ้ เสนอแนะเพื่อกำรบริกำรสำธำรณะขององคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ . MCU
Haripunchai Review, 5(2), 23-34.
สมคิด เลิศไพฑรู ย์. (มปป.). การเมอื งการปกครองท้องถน่ิ แผนการสอนประจาหนว่ ยการบริหารงานบุคลากรส่วนทอ้ งถ่ิน.
มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์.
อานวย บุญรัตนไมตรี, วฒั นา นนทชติ , และธนกฤษ งามมีศรี. (มปป.). กระบวนทศั นใ์ หมใ่ นกำรบรหิ ำรท้องถน่ิ .ค้นเมื่อ
วนั ที่ 27 มกราคม 2565 จาก https://www.tci-thaijo.org/ index.php/pajournal/article/view/
Denhardt, Janet V. & Denhardt, Robert. B. (2007). The New PublicServices (Expanded
Edition):ServingnotSteering. Armonk, New York: M.E.Sharpe.

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บณั ฑติ ศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


706

Factors Affecting to Farmers’ Adoption of Rice Production for Commercial in Savannakhet
Province, Lao People's Democratic Republic

Inta Chanthavong*, Weena Nilawonk, Rapassorn Kongtanajaruarun, Pawinee Areesrisom and
Pinnapa Muakyod

Department of Resources Management and Development, Faculty of Agricultural Production,
Maejo University, Chiang Mai, Thailand 50290

*Corresponding author: [email protected]

Abstract

The quantity of rice exports in Lao People’s Democratic Republic (Lao PDR) to foreign markets
is still low. The government of Lao PDR has a plan to drive production for exporting more than 4
hundred thousand tons, which was planned to expand rice planting areas in nationwide by a one million
hectares addition, and increasing the general average rice production potential of Laos to 5 tons per
hectare. Whereas, the farmers who participated in the climate-friendly agribusiness value chains sector
project still low proportion. Thus, the objectives of the study were to investigate: 1) farmers’ adoption
and; 2) factors affecting to farmers’ adoption of rice production for commercial in Savannakhet Province,
Lao People's Democratic Republic. The questionnaire was created to collect data from a sample of 317
farmers. The collected data was analyzed for frequency, percentage, mean, standard deviation and
multiple regression.

The analysis results showed that the majority of farmers were male with an average age of 51
years, married, and majority have just finished elementary education. Most of the farmers compose of
7 of family members, 4 household workforce, 1.57 hectares of agricultural area, 31 years of farming
experience, and total family income earned 21,512 baht. They were members of 4 agricultural groups
in their community, contracted with agricultural staff 1 time on average, participated in agricultural
training/ education trips on average once a year, and perceived agricultural information through 4
channels. They perceived information on farming10 times and contracted with neighbor on agricultural
production 2 time per year. The respondents had a low level of knowledge and understanding about
rice production for commercial. However, the farmers’ adoption though rice production for commercial,
all the average on a most level. the accumulate average of adoption among 4 aspects were most level
in every aspect. There were five factors affecting to farmer adoption of rice production for commercial,
such as family income, participant on agricultural group and agricultural training or educational trip,

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บณั ฑติ ศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


707

number of perceived agricultural information, knowledge and understanding of rice production for
commercial.
Keywords: Adoption, Rice farmers, Rice production, Rice commercial.

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บัณฑิตศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


708

Introduction

Rice is the staple food and important affecting to the economic, social, cultural and lifestyle of
people in the Lao People's Democratic Republic (Lao PDR). The income from rice production accounted
for 17.23 percent of gross domestic products (GDP). In addition, agricultural sector can support 86
percent of the labor force. Currently, Lao PDR has an area for rice production are 909,267 hectares, it
contributes 80% of the crop production total area in the country. It can produce about 4.12 million
tons of paddy rice. Approximate 4.5 tons per hectare (Lao Statistics Bureau, 2015). Rice is also an
important export commodity, it can get revenue in millions of dollars a year, and it is also important
crop that provides food security in the country as well. Savannakhet is the largest of rice producing in
Lao PDR with total area of rice cultivation is 243,452 hectares. Approximately 26% of total rice
production area in the country, total production 911,325 tons include 20% of total rice production in
the country (Silinthone et al. 2020).

At present, the quantity of rice exports in Laos to foreign markets is still low. The government
of Lao PDR has a plan to drive production for exporting more than 4 hundred thousand tons by the
year 2020, which was planned by expanding rice planting areas nationwide by an addition the one
million hectares of rice production area, and increasing the general average of rice production potential
in Laos to be 5 tons per hectare. As causing the whole country to be able to produce more rice
4,220,000 tons, of which 2,700,000 tons is the domestic consumption of rice and are kept in reserve for
safekeeping and food security 400,000 tons. The industrial sector is used for processing about 500,000
- 600,000 tons. Therefore, it will be able to export approximately 400,000 tons (Lao Statistics Bureau,
2020). In the international market, the rice must be of quality according to the market demand. It is
therefore important to produce quality rice. Because the rice market in foreign countries is very
competitive in terms of high quality. The production of good quality is related to the production process,
that if there is proper management practice and understanding of marketing methods farmers across
the country will have income from sales of higher production (Ministry of Agricultural and Forestry,
2020).

Whereas, the currently exporting of rice production is the problem because the quality of rice
still does not meet the standards, that due to breed rice used has a high variance and low quality.
These was the result in the yield not meeting the market demand, and sold at a low price. The farmer's
academic knowledge is not enough as a result, the management is not in accordance with the good
system. Quantity low output is insufficient for domestic consumption, resulting in very little output for
export. The market uncertainty to support the production, the rice price is low, from this reason, new
generations of farmers have switched to other occupations with higher incomes. (Seanthaweesuk, 2018).

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บณั ฑิตศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


709

The Climate-Friendly Agribusiness Value Chains Sector Project (CFAVC) is a project that will help
to support the implementation of the Agriculture and Forestry Strategic Plan until 2025 and Vision to
2030 to become successfully. The project wants to encourage the improvement of competitiveness in
rice production in Khammouan, Savannakhet, and Saravan provinces, with the aim of developing
production according to the value chain to be diverse and meet the needs and production programs
of the government. Improve agricultural infrastructure to be resilient to climate change. Provide-
assistance in capacity building on processing, storage, quality control of agricultural products and
promote the use of biological fertilizers and organic agricultural production. Build strength for related
disciplines and organizations regarding agricultural production related to climate change (Climate Smart
Agriculture). Create a favorable environment for environmentally friendly agricultural business to
promote the protection of the environment and increase income for farmers and entrepreneurs in
agricultural business to be sustainable. But until now have only 314 farmers (0.228%) participated in
this project, which is very small proportion compare to number of the farmers in Savannakhet Province
(137,222 farmers).

Based on the aforementioned problems, it was found that the lacking of study was conducted
on the factors affecting to farmers’ adoption of rice production for commercial in Savannakhet Province,
Lao People's Democratic Republic, and it does not appear that there is a clear development of rice
production for commercial purposes in Savannakhet Province. The goal of this study is to provide a
useful guideline for rice farmers, related agencies involved in agricultural development, and other
provinces of Lao PDR with similar context, which will generate income for the farmers to get income
into localities and countries including being accepted in the domestic rice market that will affect the
quality of life of farmers for gaining trade surplus and further development of the country.

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บัณฑติ ศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


710

Research Methodology

Conceptual Framework Dependent
Independent

Personal Characteristics Adoption of rice production for
• Sex commercial of the farmers
• Age
• Education in Savannakhet Province, Lao PDR.

• Preparation of production area

•Marital Status • Maintenance

Economic Characteristics • Harvesting

•Family member • Marketing and Selling
•Farming area

•Family income

•Farming income

•Source of fund

Social Characteristics

•Agricultural experience

•Contacted with agricultural staffs

•Agricultural training/educational trip

•Perception of agricultural information

•Contacted with neighbors on agricultural

production

•Group membership

•Knowledge and understanding of rice
Figure 1 Show the conceptual framework
production

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บัณฑิตศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


711

Research location
This study was carried out in six districts namely: Xaybouly, Champhone, Songkhong, Xonnabouly,
Atsaphangthong and Xayphouthong of Savannakhet province, where rice production is largest
proportion in the province.

Figure 2 Show the location map of study sites

Population and Sample
Non-probability sampling method or "Selection” by using a purposive selection method in 13
villages, 6 districts of Savannakhet province, a total of 317 samples by allowing each village to randomly
select farmers who participated of the rice production for commodity project according to the number
of samples of each village. This research was conducted for sixth months from October to March, 2022.

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บณั ฑิตศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


712

Table 1. Sampling framework of the study

No. Districts Villages Population Samples
27 27
1 Xaybouly Hatxaisoung 25 25
27 27
2 Xaybouly Kangpa-Phonthan 24 24
25 25
3 Xaybouly Buengxe 25 25
25 25
4 Champhone Phalaeng 25 25
25 25
5 Champhone Thouad 25 25
11 11
6 Songkhone Dongsawang 28 28
25 25
7 Songkhone Nongdeune 317 317

8 Xonnabouly Thakhamleum

9 Xonnabouly Kongpathoumvanh

10 Xonnabouly Xienghom

11 Atsaphangthong Pongna

12 Xayphouthong Mouangkhai

13 Xayphouthong Khanthachan

Total

Source: Climate-Friendly Agribusiness Value Chains Sector Project (2022)

Instrumentation for data collecting
Data collection was carried out through interview survey, which based on a semi-structured
discussion. A first draft of the interview was designed according to the research objectives. Interview
schedule was done in the manner of pre-tested during pilot observation organized in the study area.
The interview schedule was up-dated based on pilot survey and later on, and used for primary data
collection from the farmers who are the rice production.

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บัณฑติ ศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


713

Data Analysis

Various descriptive and inferential statistical techniques i.e. percentage, mean, standard deviation,

chi-square analysis etc. were applied for getting meaningful results by using Statistical Packages for the

Social Sciences (SPSS).

For analysis of personal, socio – economic characteristics of the samples were used descriptive

statistics: frequency, mean, max, min, percentage, and standard deviation.

Adoption quotient of an individual farmer was calculated based on the adoption scores gained

by the farmer for the adoption of rice production for commercial. A total of 5 stage of adoption were

used for calculation of the adoption quotient. On the basis of the adoption quotient, farmers were

classified into five categories as following.

Average Adoption level

1.00 – 1.80 Lowest

1.81 – 2.60 Low

2.61 – 3.40 Moderate

3.41 – 4.20 Most

4.21 – 5.00 Mostly

The multiple regression analysis was used for analysis the relationship between elements of
the personal, socio – economic characteristics and levels of knowledge, and the adoption of the rice
production for commercial of the farmers.

Results

Farmers’ backgrounds on social and economic characteristics
The study results showed that the majority of farmers were male with an average age of 51
years, married, and majority have just finished elementary education. Most of the farmers compose of
7 of family members, 4 household workforce, 1.57 hectares of agricultural area, 31 years of farming
experience, and total family income earned 21,512 baht. They were members of 4 agricultural groups
in their community, contracted with agricultural staff 1 time on average, participated in agricultural
training/ education trips on average once a year, and perceived agricultural information through 4
channels. They perceive information on farming10 times and contracted with neighbor on agricultural

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บณั ฑติ ศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


714

production 2 time per year. The respondents had a low level of knowledge and understanding about
rice production for commercial.

Farmers’ Adoption of Rice Production for Commercial in Savannakhet Province, Lao
People's Democratic Republic

The farmers’ adoption though rice production for commercial in Savannakhet Province, Lao
People's Democratic Republic, all the average on a most level. Moreover, the accumulate average of
adoption among 4 aspects were most level in every aspect. In term of which aspect farmers are more
adopted it’s can be sorted by average from descending like marketing and selling, harvesting,
maintenance; and preparation of production area with the average of 4.10; 4.08, 3.99; and 3.93
respectively. (table 2).

Table 2. The farmer’s adoption level on rice production for commercial

Adoption of Rice Production for ̅ S. D. Adoption Level
Commercial
3.93 .54 Most
Preparation of Production Area 3.99 .56 Most
Maintenance 4.08 .61 Most
Harvesting 4.10 .77 Most
Marketing and Selling 4.03 .55 Most

Accumulate average

Factors Affecting to Farmers Adoption of Rice Production for Commercial in Savannakhet
Province, Lao People's Democratic Republic

The factors affecting to farmer’s adoption of rice production for commercial found that most of
independent variables (16 variables) were five factors such as family income, participant on agricultural
group, participated on agricultural training or educational trip, number of perceived agricultural
information; and knowledge and understanding of rice production for commercial. The R2 value of the
model was 0.242. Thus, explanatory variables used in the model are collectively able predict 24.20%
of factors influencing adoption of rice production for commercial. Whilst the other 11 variables did not
affect to farmers adoption such as sex, marital status, family member, supplemental occupation, farming
area, agricultural experience, contacted with agricultural staffs, agricultural information channel; and
number of contacts with neighbors about agricultural production (table 3)

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บัณฑิตศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


715

Table 3 Factors Affecting to Farmers Adoption of Rice Production for Commercial

Independent variables Dependent variable
Farmers Adoption of Rice Production for Commercial
1. Sex
2. Age B T Sig.
3. Status .005 .070 .944
4. Education level .004 .964 .336
5. Family member .041 .469 .640
6. Supplemental Occupation -.050 -.429 .669
7. Farming area .001 .042 .967
8. Farming experience -.030 -.843 .400
9. Family Income -.007 -.294 .769
10. Agricultural group member -2.194E-07 -.657 .512
11. Contact with agricultural staffs 8.338E-06 2.186 .046*
12. Agricultural training/educational trip .008 2.842 .005*
13. Agricultural Information Chanel .026 1.447 .150
14. Number of Perceived agricultural information .035 2.998 .003*
15. Number of contacts with neighbors about -.117 -1.401 .163
agricultural production .085 2.206 .029*
16. Knowledge about rice production for
commercial .033 .806 .421
Constant
.022 2.198 .046*
R2 9.637 .000**
2.778
FF 0.242
Sig. F (24.20%)
3.191
0.000

Discussion

According the result the farmer’s adoption of rice production for commercial on most level.
Because the farmer knows that when they participated on rice production for commercial project they
will earn high yield and high income. Therefore, the government should set a clear policy to increase

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บัณฑิตศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


716

the capacity to promote the production of good quality rice. and has continued to develop the market
system to increase competitiveness. Because they can sell their rice at a satisfactory price and able to
create a stable farming career with honor and dignity. It’s can improve the livelihood of farmers and as
a result farmer who are not participated in the rice production for commercial project will turn to
participate the project more in the future. This result related to the result of Asian Development Bank
(2014) Study on Improving rice production and commercialization in Cambodia. The findings show that
higher levels of commercialization, rice sold, and value of sales can arise from improving irrigation and
domestic milling; and Similar to Shamsudeen et al., (2018) Study on Adoption of rice cultivation
technologies and its effect on technical efficiency in Sagnarigu District of Ghana. The result of this study
found that farmers who adopted the rice cultivation techniques were less technically inefficient than
those who did not adopt.

The factors affecting to farmer’s adoption of rice production for commercial compose five
factors such as family income, participant on agricultural group, participated on agricultural training or
educational trip, number of perceived agricultural information; and knowledge and understanding of
rice production for commercial. Therefore, relevant agencies should take all 5 factors into consideration
to develop and motivate for the farmers a chance to grow rice for commercial in the future.

Family income was also significant and positively related to households’ commercialization
index. This suggests that farmers who have more farm income produce more of the rice than those who
do not. Income offers farmers with opportunities to be acquianted with input sources and market outlets
and also enhances farmers’ ability to manage production and market risks. This is in line with Onyeneke.
(2017) Who found the income of farmers surveyed had a positive and significant effect on the likelihood
of adopting improved rice varieties, planting depth, use of agrochemicals, use of fertilizer, mechanized
harvesting, improved nursery, and modern rice milling.

Membership to agricultural group significantly increased the probability of uptake of planting
depth and fertilizer. Generally, the more farmers are involved in farmer organizations’ meetings and
activities, the more they will access new information about improved rice production and the more
she/he will easily develop positive attitude towards the adoption of production rice for commercial.
This result related with Danso-Abbeam et al. (2018) Who found group membership such as FBO
enhances farmer-to-farmer extension services where knowledge and ideas on farm business and other
off-farm activities are transferred from one farmer to the other. Tus, farmers who are members of FBOs
are likely to get sufcient awareness and knowledge on farm technologies and, hence, are sensitized to
join extension programme for more information on their farm business.

Participated on agricultural training or educational trip was positive and significant on the
likelihood of adopting production rice for commercial. The results also indicate positive and significant

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บณั ฑิตศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


717

(P≤0.05) relationship between the number of training attended and farmers’ adoption decision of rice
production. That is, training has a positively significant influence on the farmers’ adoption of the
recommended practices in the study area. Similar finding was remarked by Abubakar (2016) that training
participation in agricultural programs including On-farm Adaptive Research (OFAR) trials, Management
Training Plot (MTP) demonstration techniques organized by the National Cereals Research Institute (NCRI)
in Nigeria positively and significantly influence farmers’ adoption level of lowland rice production
technologies.

Perceived agricultural information had a positive effect across production rice for commercial
indicating that extension contact increases the likelihood of adopting rice production for commercial.
Extension services serve as important source of information on agricultural production. Farmers who
have significant extension contacts have better chances to be aware of various management practices
that they can use to increase rice production. Similar with P. Sattaka et al (2017) who found agricultural
extension services influenced glutinous rice production, especially for local food security; and also
consistent with Awuni, Azumah, and Donkoh (2018) who also found mass media extension mechanisms
to positively and significantly influence the adoption of multiple technologies by rice farmers in northern
Ghana.

The coefficient of knowledge and understanding was found to be positive and significant
(P≤0.05) in influencing the decision to adopt rice production for commercial. The positive influence is
expected because more understanding farmers may have good advantage of acquiring better skills and
access to innovative information about improved rice production practices. The finding also implies that
knowledge and experiences gained over time from working in an uncertainty production environment
may help in evaluating the technologies thereby influencing their adoption decision. Similar with
research by Jukkaphong et al, (2016) found that knowledge and understanding on organic standards
and readiness to cultivate organic animal feed plant is a factor affecting to farmer’s readiness and needs
of cultivating extension of organic animal feed plants for organic feed factory in upper northern,
Thailand; and similar with Waritsara and Kamon (2020) who found knowledge is a factor affecting the
planting of Chaiya native rice.

Conclusion

It can be inferred from this study that production of rice in the study area is oriented towards
commercialization. Also, family income, participant on agricultural group, participated on agricultural training or
educational trip, number of perceived agricultural information; and knowledge and understanding of rice
production for commercial are the significant factors determining the level of commercialization of the rice in

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บัณฑิตศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


718

the study area. Therefore, based on the findings of this study, all tiers of government including the non-
governmental organization should endeavour towards training farmers on how to produce on commercial
basis.Besides,farmersshouldbe encouragedto expandthe farmsize undercultivation.In this regard,measures
such as land reform that will enhance more access to farm land should be enforced. In addition, agricultural
developmentagenciesshouldprovide the farmerswith improved agriculturaltechnologies.This shouldinclude
provision of agricultural information, improved seeds, fertilizers and tractor at subsidized rate. All these
measures will improve market-oriented production of rice in Lao PDR and reduce Lao’s dependency on rice
importation.

Recommendation

To suggest to the government agencies, Municipality Agrarian Reform Officers and the related
agencies that 1) since the farmers have adoption of rice production for commercial was most levels, so
government agencies should continue to organize skill enhancement trainings and professional
development to educate farmers on production of rice for commercial. Include monitoring of
production process from starting to harvesting and carry out certification to convertible to commercial
farming. 2) Government agencies should cooperate with related organizations to develop knowledge
and understanding of rice production for commercial seriously to farmers. Mentor to farmers when
experiencing various problems in cultivation and also evaluation in production of rice for commercial.

Acknowledgment

Researcher would like to thanks the respondents, District agriculture and forestry office of 6
districts, Savannakhet provincial agriculture and forestry office, professors and staff in resources
management and development program, faculty of agricultural production, Maejo University and also
Savannakhet University for providing the data and information, suggestions, recommendations and
support into this research.

References

Abraham Falola, Jubril O. Animashaun, and Oluwasogo D. Olorunfemi. 2014. Determinants of
Commercial Production of Rice in Rice-Producing Areas of Kwara State, Nigeria.

Abubakar HN, Kolo IN, Yabagi AA, et al. 2016. Adoption of production technologies by lowland rice
farmers in Lavun Local Government Area of Niger state, Nigeria.

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บัณฑิตศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


719

Asian Development Bank.2014. Study on Improving rice production and commercialization in Cambodia.
AWUNI, J.A., AZUMAH, S.B., & DONKOH, S.A. (2018). Drivers of Adoption Intensity of Improved Agricultural

Technologies Among Rice Farmers: Evidence from Northern Ghana
Gideon Danso-Abbeam, Dennis Sedem Ehiakpor and Robert Aidoo. 2018. Agricultural extension and its

efects on farm productivity and income: insight from Northern Ghana.
Jukkaphong Poung-ngamchuen, Poonpat Poonnoy and Tonglian Buwjoom. 2016. Farmer’s Readiness

and Needs of Cultivating Extension of Organic Animal Feed Plants for Organic Feed Factory in
Upper Northern Thailand. Journal of Agr. Research & Extension 33(3): 35-45.
Lao Statistics Bureau, 2020. Status and Compilation of Agricultural Statistics in Lao PDR.
Ministry of Agricultural and Forestry. 2015. Agriculture Development Strategy to 2025 and Vision to the
year 2030.
Onyeneke, R. U. 2017. Determinants of Adoption of Improved Technologies in Rice Production in Imo
State, Nigeria.
Patcha Sattaka, Somsri Pattaratuma, and Ganjanes Attawipakpaisan. 2017. Agricultural extension services
to foster production sustainability for food and cultural security of glutinous rice farmers in
Vietnam.
Sengsourivong Bouasone and Masaru Ichihash. 2018. Effectiveness of Irrigation Access on Sticky Rice
Productivity: Evidence from Lao PDR.
Silinthone Sacklokham. 2020. Rice-based farming systems in Lao PDR: opportunities and challenges for
food security.
The Climate-Friendly Agribusiness Value Chains Sector Project. 2022. Environmental Safeguard
Monitoring Report (January-June 2022).
Waritsara Somkeatkun and Kamon Ruengdet. 2020. The farming Promotion Approaches of Local Chaiya
Native Rice in Chaiya District, Surathani Province, Thailand.

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บณั ฑติ ศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


720

กำรศกึ ษำศักยภำพวิสำหกิจชุมชนทอ่ งเทยี่ วเชงิ เกษตรในพืนทจี่ ังหวัดแม่ฮอ่ งสอน
เพ่ือกำรพัฒนำอยำ่ งย่งั ยนื

The Potential Study of Agro-Tourism Community Enterprises in Mae Hong Son
Province for Sustainable Development

ฐิตนิ ันท์ เนือน้อย
Thitinan Neuonoi

สาขาการจดั การ และ พัฒนาทรัพยากร คณะผลติ กรรมการเกษตร มหาวทิ ยาลยั แมโ่ จ้ จงั หวดั เชียงใหม่ ประเทศไทย 50290
Resources Management and Development, Faculty of Agricultural Production,
Maejo University, Chiangmai Province, Thailand 50290
[email protected]

บทคดั ย่อ

การศกึ ษาศักยภาพวสิ าหกิจชุมชนท่องเท่ยี วเชิงเกษตรในพ้ืนทีจ่ งั หวดั แม่ฮอ่ งสอนจะนาไปสกู่ ารพฒั นาเพอื่ เสริม
สรางศักยภาพและความยง่ั ยนื ให้กับการท่องเท่ียวเชิงเกษตรในพ้ืนที่ โดยใชวิธกี ารศึกษาจากการรวบรวมขอมลู จากการ
สัมภาษณ การสนทนากลุม การประชุมระดมความคิดเห็นจากผู้นาหรือประธานวสิ าหกิจชุมชนทอ่ งเที่ยวเชิงเกษตร รวม
7 กลุ่ม เจ้าหน้าท่ีท่ีมีส่วนเก่ียวข้องกับการท่องเที่ยวเชิงเกษตรในพื้นท่ีจังหวัดแม่ฮ่องสอนจากภาครัฐ 7 กลุ่ม และจาก
ภาคเอกชนตัวแทนกลุมผูประกอบการธุรกิจการทองเท่ียวในพ้ืนที่ 1 กลุ่ม ผลการศึกษาพบวา ศักยภาพดา้ นการบริหาร
จัดการของแหลง่ ท่องเที่ยวเชงิ เกษตร ศักยภาพการรองรบั ของแหล่งท่องเทีย่ วเชิงเกษตร ศักยภาพการให้บรกิ ารของแหลง่
ท่องเท่ียวเชิงเกษตร และศักยภาพการดงึ ดดู ใจของแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร เป็นปัจจัยภายในที่สง่ ผลต่อศักยภาพและ
ความยง่ั ยืนของวิสาหกจิ ชมุ ชนทอ่ งเท่ยี วเชงิ เกษตรในพนื้ ทีจ่ ังหวดั แมฮ่ ่องสอน โดยสามารถเรยี งลาดับความสาคัญจากดา้ น
ที่มีศักยภาพสูงท่ีสดุ ไปยังต่าสดุ ดังน้ี คือ ศักยภาพการดงึ ดูดใจของแหล่งท่องเท่ียวเชิงเกษตร ศักยภาพด้านการบริหาร
จัดการของแหลง่ ท่องเที่ยวเชิงเกษตร ศักยภาพการรองรับของแหล่งทอ่ งเทยี่ วเชงิ เกษตร และศักยภาพการให้บรกิ ารของ
แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร สาหรับปัจจยั ภายนอกที่มคี วามสาคญั ที่เป็นอุปสรรคสาคญั ได้แก่ การเดินทางท่ีถนนมีความ
โค้งลาดชนั ซ่ึงตอ้ งใช้ระยะเวลานานในการเดินทาง การมีทรัพยากรธรรมชาตทิ ีส่ วยงาม มที นุ ทางวัฒนธรรมประเพณแี ละ
วิถีชีวิตท่ีเป็นเอกลักษณ์เฉพาะถิ่นและกลุม่ ชาตพิ ันธุ์ท่หี ลากหลาย มีมาตรการส่งเสริมการท่องเที่ยวของจงั หวัดและการ
สนบั สนุนจากภาครฐั นับเป็นโอกาสท่ีส่งผลตอ่ ศกั ยภาพวิสาหกิจชมุ ชนทอ่ งเทย่ี วเชิงเกษตรในพ้นื ที่จงั หวัดแม่ฮอ่ งสอนทจี่ ะ
นาไปส่กู ารพัฒนาอย่างยั่งยนื

คำสำคญั : ศักยภาพ วิสาหกิจชมุ ชน แหล่งทอ่ งเทยี่ วเชงิ เกษตร ความยัง่ ยืน จงั หวัดแมฮ่ อ่ งสอน

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บัณฑิตศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


721

Abstract

The study of the potential of agro-tourism community enterprises in Mae Hong Son Province
will lead to development and enhance the potential and sustainability of agrotourism in the area. The
study method was the collecting data from interviews, group conversation, a brainstorming meeting
from leaders and a group of presidents of agro-tourism community enterprises, and 7 official groups
involved in agro-tourism in Mae Hong Son Province, which included both of government and private
sectors, representatives of business operators. The study showed that the potential of management,
supporting, service, and attraction of agro-tourism community enterprise were the internal factor which
affected to potential and sustainability of agro-tourism community enterprise. The potentials were
rearranged by priority in order as the attraction, management, supporting, and service potentials of
agro-tourism, respectively. While the external factors which was the major obstacle, such as the traveling
on a steep curved road, long time for traveling, beautiful natural resources, the unique of cultural
capitals, tradition and way of life, including the difference of indigenous and ethnic groups. In addition,
there were measures to promote tourism of the province, and the supported from the government,
which affected to the potential of agro-toursim community enterprise in Mae Hong Son province, that
can lead to sustainable development in the future.

There are measures to promote tourism of the province and support from the government. It
is an opportunity that affects the potential of agro-tourism community enterprises in Mae Hong Son
Province that will lead to sustainable development.

Keywords: Potential, Community Enterprise, Agro – tourism, Sustainability, Mae Hong Son Province

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บัณฑิตศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


722

บทนำ

ตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ. 2561 – 2580 มีเป้าหมายในการพัฒนาประเทศ คือ “ประเทศชาติมั่นคง
ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนาอย่างต่อเน่ือง สังคมเป็นธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติย่ังยืน” ซึ่งได้มุ่งเน้นให้
ประเทศไทยเปน็ มหาอานาจทางการเกษตร ด้วยการเพิม่ ศักยภาพของผูป้ ระกอบการ พฒั นาคนรุน่ ใหม่ และรูปแบบธรุ กิจ
ในการเป็นแม่เหลก็ การท่องเท่ยี วระดบั โลกที่ดงึ ดูดนักทอ่ งเที่ยวทกุ ระดับ โดยเฉพาะการสร้างความหลากหลายด้านการ
ท่องเทีย่ ว การส่งเสรมิ การท่องเที่ยวเชิงเกษตรถือเป็นส่วนหนึ่งในแนวทางการพัฒนาประเทศทม่ี ีการดาเนินงานสง่ เสริม
และพัฒนาพื้นท่ีเกษตรกรรมให้เป็นแหล่งท่องเทีย่ วเชิงเกษตรที่มคี วามพร้อมในการรองรับนักท่องเท่ียว มีกิจกรรมด้าน
การเกษตรทพ่ี ฒั นาใหเ้ ป็นกิจกรรมด้านการท่องเท่ยี วท่ีมีความโดดเด่นเป็นเอกลักษณ์ เป็นศนู ย์กลางการเช่อื มโยงวถิ ีชีวิต
วัฒนธรรม ภมู ิปัญญา และสนิ คา้ ของชมุ ชน เปน็ การขยายโอกาสทางการค้าและการลงทุน ควบคไู่ ปกับการยกระดับรายได้
ยกระดบั ชีวติ ความเปน็ อยู่ของเกษตรกร และการกินดีอยู่ดี เกิดการสรา้ งงาน สรา้ งรายได้ ลดความเหล่อื มลา้ ของชุมชน

การท่องเที่ยวเชิงเกษตร (Agro-Tourism) เป็นการท่องเที่ยวท่ีมุ่งเน้นทางดา้ นการเรียนรู้ในวิถีเกษตรกรรมของ
เกษตรกร เน้นการดาเนินกจิ กรรมแบบมีส่วนร่วม ใหเ้ กดิ การเรยี นรู้ ดา้ นการเกษตร วิถีการดารงชีวติ ประเพณี วฒั นธรรม
เพื่อสร้างทักษะ ความบันเทิง หรือประสบการณ์รูปแบบต่างๆ ให้แก่นักท่องเที่ยว รวมทั้งนักท่องเท่ียวยังสามารถซื้อ
ผลผลติ ทางการเกษตรหรือผลิตภณั ฑ์ชุมชนกลบั สภู่ ูมิลาเนา (กรมสง่ เสริมการเกษตร, 2562) โดยเป็นการนาทรัพยากรที่มี
อยู่มาสรา้ งสรรคท์ าให้เกิดการเรียนรู้ ทาใหเ้ กิดประโยชน์ ก่อให้เกิดรายได้ต่อเกษตรกรหรือชุมชน สง่ ผลใหเ้ กดิ ความความ
ยั่งยืนในภาคเกษตรกรรมเน่ืองจากมีการเชื่อมโยงภาคการเกษตรและวิถีชุมชนเข้ากับการท่องเที่ยวเพื่อเพ่ิมมูลค่าและ
ความสามารถทางการแข่งขนั ก่อใหเ้ กดิ การอนรุ ักษแ์ ละส่งเสรมิ การพฒั นาการเกษตรอยา่ งยง่ั ยนื ซงึ่ ปจั จบุ ันเกษตรกรหรอื
ผู้ท่ีประกอบอาชีพด้านการเกษตรต้องเผชิญกับความเส่ียงต่างๆ ที่ส่งผลโดยตรงต่อรายได้และคุณภาพชีวิต เช่น ราคา
ผลผลิตทางการเกษตรท่มี ีความผนั ผวน ต้นทุนการผลติ ทนี่ ับวันมแี นวโน้มสงู ข้ึน ภัยพิบัตติ ตา่ งๆ สภาพดินฟ้าอากาศและ
ฤดูกาลท่ีมีความแปรปรวน รวมถึงปัญหาโรคแมลงศัตรูพืช ฯลฯ ซึ่งปัจจัยดังกล่าวนับเป็นความเสี่ยงสาคัญท่ีเกษตรกร
จะตอ้ งเผชญิ ในทกุ ฤดูกาลผลิต การท่องเทย่ี วเชิงเกษตรจึงเปน็ การส่งเสรมิ ให้เกษตรกรมที างเลือกจากการประกอบอาชีพ
ทาให้เกษตรกรมีรายได้เพ่ิมขึ้น จากเดิมที่ต้องรอรายได้จากการขายผลผลิตทางการเกษตรแค่เพียงช่องทางเดียว
เมอื่ เกษตรกรมคี วามมน่ั คงดา้ นรายไดท้ เ่ี กิดจากการประกอบอาชพี ดา้ นการเกษตรกจ็ ะทาให้เกดิ ความรกั ความภาคภมู ใิ จ
ในวัฒนธรรม วิถีชีวิต และอาชีพของตนเอง ส่งผลตอ่ การสบื ทอดและอนุรักษ์อาชีพเกษตรกรในระยะยาว การทองเที่ยว
เชิงเกษตรจึงเปนกิจกรรมหนึ่งในกระบวนการพัฒนาชนบทเปนการเชื่อมโยงระหวางการเกษตร และการทองเท่ียว
ที่สงผลตอการฟนฟูทรพั ยากรธรรมชาติ และการจดั สรรผลประโยชนทางดานเศรษฐกจิ และสังคม

จังหวดั แม่ฮอ่ งสอนมีความโดดเดน่ ในการท่องเทยี่ วเชงิ นเิ วศน์ โดยมีทรัพยากรการทอ่ งเท่ยี วเชิงธรรมชาตทิ ้งั ปา่ ไม้
ภูเขา น้าตกที่อุดมสมบูรณ์ สวยงาม รวมทั้งมีทุนทางวัฒนธรรมประเพณีและวถิ ีชีวิตที่เปน็ เอกลักษณ์เฉพาะถนิ่ และกลุ่ม
ชาติพันธ์ทุ ่ีหลากหลาย ลักษณะเฉพาะทางกายภาพของเมืองในหุบเขาที่มบี รรยากาศเงียบสงบ เหมาะแก่การพักผอ่ น ยังเปน็
จุดขายทางการท่องเท่ยี วทส่ี าคญั ของจงั หวัด ซง่ึ นักท่องเทย่ี วท้ังชาวไทยและชาวตา่ งประเทศให้ความสนใจเข้ามาทอ่ งเท่ียว
โดยเฉพาะช่วงฤดูหนาว (ราวเดือนตุลาคม-กุมภาพันธ์ ของทุกปี) ท้ังแหล่งท่องเท่ียวเดิมและแหล่งท่องเท่ียวใหม่
(สานักงานจังหวัดแม่ฮ่องสอน, 2565) ซึ่งจังหวัดแม่ฮ่องสอนเป็นจงั หวัดหน่ึงท่ีมีแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรเชื่อมโยงกับ
แหล่งท่องเท่ียวหลักท่นี ักท่องเทย่ี วรู้จกั อยใู่ นทุกอาเภอ มีจุดเด่นของวิถีเกษตรกรรมที่ยงั คงกลิ่นอายความเป็นชนบทใน

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บัณฑิตศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


723

แทบทุกพน้ื ท่ี มปี ระเพณแี ละภูมิปญั ญาในด้านการเกษตรอันทรงคุณคา่ ที่ได้รบั การถ่ายทอดมาจากบรรพบุรุษจากรุ่นสู่รุ่น
อีกท้ังมีความแตกต่างของวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ มีธรรมชาติท่ีสวยงาม และชุมชนมีศักยภา พในการรองรับ
นกั ท่องเที่ยวท่ีสนใจการทอ่ งเทย่ี วเชิงเกษตรได้ ดงั น้นั การศึกษาศักยภาพวิสาหกจิ ชุมชนท่องเทยี่ วเชิงเกษตรในพืน้ ทจ่ี ังหวดั
แม่ฮ่องสอนจะนาไปสกู่ ารพฒั นาเพอื่ เสริมสรางศกั ยภาพและความย่ังยืนให้กับการท่องเที่ยวเชิงเกษตรในพ้นื ที่ ได้เปดโอ
กาสสร้างความประทับใจใหแก่นักทองเที่ยวท่ีมาพักผ่อน ให้หวนกลับไปเรียนรู้ เข้าใจ ธรรมชาติรอบตัว ภาคภูมิใจกับ
อาชพี เกษตรกรรม รากฐานของแผนดินไทยท่ที รงคณุ คา ภายใต้องคความรู ภมู ปิ ญญาของบรรพบรุ ษุ ไดสัมผัสกับวถิ ชี ีวิต
ความเปนอยูของชนเผ่า ขนบธรรมเนยี ม วฒั นธรรม ประเพณี รูปแบบกจิ กรรม และการประกอบอาชพี ทางการเกษตรท่ี
หลากหลาย ทั้งวถิ ีดงั้ เดิมจนถงึ การใชเทคโนโลยใี นรปู แบบตา่ งๆทีเ่ หมาะสมกบั พ้ืนท่ี ซ่ึงนักทอ่ งเทีย่ วสามารถนาความรูและ
ประสบการณท์ ่ีได้รับกลับไปประยุกตใช หรือนาไปประกอบอาชีพในด้านการเกษตร ไดสัมผัสกับสิ่งแวดลอมท่ีเปนธรรม
ชาติ ทศั นียภาพ ธรรมชาตทิ ่สี วยงาม มกี ารบรหิ ารจดั การโดยเกษตรกรอนั เปนการกระจายรายไดสทู องถ่ินตอไป

อุปกรณ์และวธิ ีดำเนนิ กำรวิจยั

ประชำกรและกลมุ ตวั อยำง
เปนผทู ีม่ สี วนรวมในการทาวิจยั ครงั้ น้ี ผูวจิ ยั ใชวิธีเลอื กแบบเจาะจง (Purposive sampling) ประกอบดวย ผ้นู า
กลุ่มหรือประธานกลุ่มที่มีกิจกรรมท่องเท่ียวเชิงเกษตรในพ้ืนท่ีและได้จดทะเบียนวิสาหกิจชุมชนไว้กับกรมส่งเสริม
การเกษตร ใน 7 อาเภอๆ ละ 1 แห่ง ได้แก่ วิสาหกิจชุมชนผักอินทรีย์ปลอดสารพิษบ้านท่าปาย อาเภอปาย วิสาหกิจ
ชุมชนกลุ่มเกษตรกรถัว่ ลิสงบ้านนา้ บ่อสะเป่ อาเภอปางมะผ้า วสิ าหกิจชมุ ชนกลมุ่ ผูป้ ลูกขา้ วเพอ่ื สขุ ภาพบา้ นผาบอ่ ง อาเภอ
เมอื งแม่ฮ่องสอน วสิ าหกจิ ชุมชนเกษตรอนิ ทรยี แ์ ละการท่องเท่ียวบ้านหัวแมส่ ุรนิ อาเภอขุนยวม วสิ าหกิจชมุ ชนกาแฟแปร
รปู แปลงใหญล่ ะอูบ อาเภอแมล่ าน้อย วสิ าหกจิ ชมุ ชนโครงการสรา้ งป่าสร้างรายได้ ตามพระราชดาริสมเด็จพระกนิษฐาธิ
ราชเจ้ากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี อาเภอแม่สะเรียงพนื้ ที่ 1/กลุ่มแปลงใหญ่กาแฟบ้านแม่
เหาะ อาเภอแมส่ ะเรียง และวสิ าหกิจชุมชนแหล่งทอ่ งเท่ียวเชิงเกษตรและธรรมชาตอิ าเภอสบเมย (สริ กิ รฟารม์ ) อาเภอ
สบเมย กลุ่มๆ ละ 1 คน รวม 7 คน และภาคีท่ีเก่ียวของ ไดแก หนวยงานของรัฐท่ีมีส่วนเกี่ยวข้อง จานวน 7 คน และ
ตวั แทนกลุมผปู ระกอบการธุรกจิ การทองเทีย่ วในพ้ืนที่ จานวน 1 คน
การวิจัยนี้ผู้วิจัยใช้วีธีการวิจัยเชิงคุณภาพ รายละเอียดและขั้นตอนในการวิจัย ประกอบด วย 3 ขั้นตอน ดังน้ี
ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาศักยภาพของวิสาหกิจชุมชนท่องเท่ียวเชิงเกษตรในพื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน ท้ัง 4 ด้าน ได้แก่
ด้านศักยภาพการการจัดการทองเที่ยวเชิงเกษตร ด้านศักยภาพในการรองรับการทอ่ งเทีย่ วเชิงเกษตร ด้านศักยภาพการ
ให้บริการของแหลง่ ท่องเท่ียวเชงิ เกษตร และดา้ นศกั ยภาพในการดงึ ดูดใจของแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร ดวยการสมั ภาษณ
เชิงลึกและจัดประชุมคณะทางานเพ่ือทาความเขาใจรวมกันถึงความเปนมาและวัตถุประสงคของการวิจัย ความหมาย
ของดัชนีช้ีวัดแตละตัวและเกณฑการศึกษา ขั้นตอนท่ี 2 วิเคราะห์ศักยภาพวิสาหกิจชุมชนท่องเที่ยวเชิงเกษตรด้วย
เครื่องมอื SWOT Analysis ขั้นตอนท่ี 4 สรุปผลการวจิ ยั โดยมีระเบียบวธิ วี จิ ยั ดังตอไปนี้
เครอ่ื งมอื กำรวิจัย
แบบศึกษาศักยภาพการการจัดการทองเที่ยวเชิงเกษตร แบบศึกษาศักยภาพในการรองรับการท่องเที่ยวเชิง
เกษตร แบบศกึ ษาศกั ยภาพการให้บริการของแหล่งทอ่ งเที่ยวเชงิ เกษตร และแบบศึกษาศักยภาพในการดงึ ดดู ใจของแหลง่

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บณั ฑติ ศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


724

ทอ่ งเทีย่ วเชงิ เกษตร ผูวิจยั ไดประยุกตตัวชว้ี ัดมาจากแนวคดิ ตามมาตรฐานของกรมสงเสรมิ การเกษตร (กรมการทอ่ งเท่ียว
2559)

แบบศึกษาศักยภาพการจดั การทองเท่ียวเชิงเกษตร ประกอบดวย 10 ตัวช้ีวัดไดแก 1) โครงสร้างองค์กรและ
แผนพฒั นาแหล่งท่องเที่ยว 2) การกาหนดแผนการบริหารจัดการพื้นท่อี ยา่ งเปน็ ระบบ 3) การจัดการดา้ นความปลอดภัย
สาหรับนกั ทอ่ งเที่ยว 4) การจดั การขยะในแหลง่ ทอ่ งเท่ียว 5) การยอมรบั และร่วมมือกับชุมชนรอบ 6) การสร้างเครอื ขา่ ย
เพ่ือสนับสนนุ แหลง่ ทอ่ งเท่ยี ว 7) การอนุรกั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม 8) การบารงุ รกั ษาระบบสาธารณปู โภค
9) การส่งเสริมการขาย เพ่ิมมูลค่าและพัฒนาผลติ ภัณฑ์ทางการเกษตร 10) การโฆษณาประชาสัมพนั ธ์สถานทที่ อ่ งเทยี่ ว

แบบศึกษาศักยภาพในการรองรับการท่องเทยี่ วเชิงเกษตร ประกอบดวย 7 ตัวชีว้ ดั 1) การเข้าถงึ แหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว
2) ความพร้อมด้านโครงสร้างพ้ืนฐาน 3) ความพร้อมดา้ นท่ีพัก 4) การบริการอาหารสาหรบั นักท่องเทีย่ ว 5) การกาหนด
จานวนนักท่องเท่ยี วท่ีเหมาะสมกับพื้นท่ี 6) การเตรียมความพร้อมของบุคลากรเพ่ือรองรับนักท่องเท่ียว 7) การกาหนด
ชว่ งเวลาที่เหมาะสมในการท่องเทย่ี ว

แบบศกึ ษาศกั ยภาพการใหบ้ รกิ ารของแหล่งทอ่ งเท่ียวเชิงเกษตร ประกอบดวย 9 ตวั ชว้ี ดั 1) การต้อนรบั และการ
สร้างความคุ้นเคยกับนักท่องเท่ยี ว 2) มีมัคคุเทศก์หรือผู้นาชม 3) มีร้านขายของใช้ประจาวนั และของท่ีระลึก 4) ความ
หลากหลายของกิจกรรม 5) การให้ความรู้ในแหล่งท่องเท่ียว 6) การให้บริการด้านพาหนะเย่ียมชม 7) การให้บริการ
ติดตอ่ ส่อื สารสาหรับนักท่องเท่ยี ว 8) การใหบ้ รกิ ารฝกึ อบรมและถ่ายทอดองค์ความรู้ 9) การใหบ้ รกิ ารสาหรบั ผู้สงู อายแุ ละ
คนพิการ

แบบศึกษาศกั ยภาพการดึงดดู ใจของแหล่งท่องเท่ียวเชิงเกษตร ประกอบดวย 8 ตัวช้ีวัด 1) ความโดดเด่นด้าน
เทคโนโลยกี ารเกษตร 2) ความโดดเดน่ ด้านเศรษฐกิจพอเพียงและภมู ิปญั ญาทอ้ งถิน่ 3) สภาพธรรมชาติท่ีมคี วามสวยงาม
ของแหล่งท่องเที่ยว 4) ความเชื่อมโยงของแหล่งท่องเที่ยวท่ีหลากหลาย 5) การได้รับรางวัล ใบรับรอง หรือใบประกาศ
เกียรติคุณ 6) ความโดดเดน่ และหลากหลายของผลิตภณั ฑ์การเกษตร 7) ความโดดเด่นและหลากหลายของกิจกรรมใน
แหล่งทอ่ งเทย่ี ว 8) การเรยี นรวู้ ิถชี วี ิตและมสี ว่ นรว่ มในกิจกรรมการเกษตร

กำรวิเครำะหขอมลู
การวิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพที่ไดจากการสัมภาษณ์เชิงลึกกาหนดประเด็นตามแบบศึกษาศักยภาพแหล ง
ทองเท่ยี วเชงิ เกษตร และขอ้ คิดเห็นจากผ้มู สี ว่ นเกยี่ วขอ้ งของวิสาหกจิ ชุมชนทอ่ งเทีย่ วเชงิ เกษตรในพืน้ ท่ีจังหวดั แม่ฮอ่ งสอน
ผวู จิ ยั นาขอมูลมาวิเคราะหเชิงเน้ือหาและวิเคราะหด์ ว้ ยเครือ่ งมอื SWOT Analysis เรยี บเรียงและนาเสนอตามขอเท็จจริง

ผลกำรวจิ ยั

ผลการวิจัยมีดังน้ี ศักยภาพในการจดั การแหลงทองเท่ียวเชิงเกษตรของวิสาหกิจชุมชนท่องเที่ยวเชิงเกษตรใน
พืน้ ทจี่ งั หวัดแมฮ่ อ่ งสอน ผูวจิ ัยไดศึกษาวเิ คราะหขอมูลจากการสมั ภาษณเชิงลึกและการจดั ประชมุ ระดมความคิดเห็นผูนา
วสิ าหกิจชุมชนแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วเชิงเกษตร เจาหนาทหี่ นวยงานของรฐั ทม่ี สี ่วนเก่ยี วข้องในด้านการท่องเท่ยี วเชิงเกษตร ตัว
แทนผูประกอบการด้านการท่องเท่ียวในพ้ืนที่ โดยใชดัชนีในการวัดศักยภาพในการจัดการแหล่งท่องเท่ียวเชิงเกษตร
ดงั น้ีคอื

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บณั ฑิตศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


725

ศกั ยภาพการจดั การทองเท่ยี วเชิงเกษตร ดา้ นโครงสรา้ งการบรหิ ารจัดการองค์กรและแผนพฒั นาแหล่งท่องเทย่ี ว
พบวาวิสาหกิจชุมชนท่องเที่ยวเชิงเกษตรในพ้ืนท่ีจงั หวัดแม่ฮ่องสอน ส่วนใหญ่มีการจัดทาโครงสร้างการบริหารจัดการ
องคก์ รและแผนพฒั นาแหลง่ ทอ่ งเท่ียวในระดบั ปานกลาง โดยได้มีการจัดทาเอกสารกาหนดโครงสร้างการบรหิ ารองคก์ รไว้
แตไ่ มไ่ ด้มีการส่อื สารใหบ้ คุ ลากรทุกระดบั รบั รู้ ดา้ นการกาหนดแผนการบรหิ ารจัดการพน้ื ท่อี ยา่ งเปน็ ระบบ พบว่าวิสาหกิจ
ชุมชนท่องเท่ียวเชิงเกษตรในพื้นทจ่ี งั หวัดแม่ฮ่องสอน ส่วนใหญ่มีการกาหนดแผนการบริหารจดั การพื้นทอ่ี ยา่ งเป็นระบบ
อยู่ในระดับดี มีแผนผังแสดงการใช้ประโยชน์ท่ีดินอย่างชัดเจนและจัดแสดงให้กับนักท่องเที่ยวทราบ ด้านการจัดการ
ด้านความปลอดภัยสาหรับนักทอ่ งเทยี่ ว พบว่าวิสาหกจิ ชุมชนทอ่ งเท่ียวเชิงเกษตรในพ้ืนท่ีจังหวัดแม่ฮ่องสอน ส่วนใหญ่มี
การจัดการด้านความปลอดภัยสาหรับนักท่องเที่ยวอยู่ในระดับปานกลาง มีเจ้าหน้าท่ีรักษาความปลอดภัยสาหรับ
นักทอ่ งเทีย่ วและเครือ่ งมือปฐมพยาบาลพร้อมยาสามัญประจาบ้านท่ียังไมห่ มดอายุ ดา้ นการจดั การขยะในแหล่งทอ่ งเทย่ี ว
พบว่าวิสาหกิจชุมชนท่องเท่ียวเชิงเกษตรในพ้ืนท่ีจงั หวัดแม่ฮ่องสอน ส่วนใหญ่มีการจัดการขยะในแหล่งทอ่ งเที่ยวอย่ใู น
ระดับปานกลาง มีการกาจัดขยะและบาบัดน้าเสยี ภายในแหล่งท่องเที่ยว ด้านการยอมรับและร่วมมอื กับชุมชนโดยรอบ
พบว่าวิสาหกจิ ชุมชนทอ่ งเท่ียวเชิงเกษตรในพื้นทจ่ี งั หวดั แมฮ่ ่องสอน ส่วนใหญ่ได้รับการการยอมรับและร่วมมือกับชุมชน
โดยรอบในระดับดี ชุมชนยอมรับและมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการด้านการท่องเท่ียว ด้านการสร้างเครือข่ายเพื่ อ
สนับสนุนแหล่งท่องเที่ยว พบว่าวิสาหกิจชุมชนท่องเที่ยวเชิงเกษตรในพื้นท่ีจังหวัดแม่ฮ่องสอน ส่วนใหญ่มีการสร้าง
เครอื ข่ายเพ่อื สนบั สนุนแหล่งทอ่ งเทย่ี วในระดับปานกลาง มีการสรา้ งเครอื ข่ายเช่อื มโยงกับองคก์ รระดับท้องถ่ิน ดา้ นการ
อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม พบว่าวสิ าหกิจชมุ ชนทอ่ งเทย่ี วเชิงเกษตรในพืน้ ที่จงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน ส่วนใหญ่
มีการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมอยู่ในระดับดี มีการจัดการท่องเท่ียวที่ส่งเสริมแนวทางการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ด้านการบารุงรักษาระบบสาธารณูปโภค พบว่าวิสาหกิจชุมชนท่องเที่ยวเชงิ เกษตร
ในพ้ืนทีจ่ ังหวัดแม่ฮ่องสอน สว่ นใหญม่ กี ารบารุงรักษาระบบสาธารณูปโภคในระดบั ดี มีการจดั ทาแผนและดาเนนิ งานตาม
แผนบารุงรกั ษา ด้านการส่งเสริมการขายเพ่ิมมูลค่าและพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร พบว่าวิสาหกิจชุมชนท่องเทย่ี ว
เชงิ เกษตรในพื้นที่จงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน ทกุ กล่มุ มีการสง่ เสริมการขายเพมิ่ มลู ค่าและพฒั นาผลติ ภัณฑท์ างการเกษตรในระดบั
ปานกลาง มีการส่งเสริมการขาย การเพ่ิมมูลค่าและพัฒนาผลิตภัณฑ์เกษตรระดับท้องถิ่น ( OTOP) ด้านการโฆษณา
ประชาสัมพันธ์สถานที่ท่องเที่ยว พบว่าวิสาหกิจชุมชนท่องเท่ียวเชิงเกษตรในพ้ืนท่ีจังหวัดแม่ฮ่องสอน ส่วนใหญ่มีการ
โฆษณาประชาสมั พันธส์ ถานที่ท่องเที่ยวในระดบั ปานกลาง มีสื่อเพื่อการโฆษณาและประชาสัมพันธ์มากกวา่ 2 ประเภท
เช่น สือ่ สงิ่ พิมพ์ ส่ือวิทยุ ส่ือโทรทัศน์ เว็บไซต์ สอื่ ออนไลน์ตา่ งๆ

ศักยภาพในการรองรับการท่องเทีย่ วเชิงเกษตร ด้านเส้นทางการเดินทางเขา้ ถึงแหล่งท่องเที่ยว พบว่าวิสาหกิจ
ชุมชนท่องเที่ยวเชิงเกษตรในพื้นท่ีจังหวัดแม่ฮ่องสอน ส่วนใหญ่มีเส้นทางการเดินทางเข้าถึงแหล่งท่องเท่ียวในระดับดี
นักท่องเที่ยวสามารถเดนิ ทางเขา้ ถึงได้สะดวกทุกฤดูกาล ด้านความพร้อมของระบบสาธารณูปโภค พบว่าวิสาหกิจชุมชน
ท่องเทยี่ วเชิงเกษตรในพ้ืนท่จี ังหวัดแม่ฮ่องสอน ส่วนใหญ่มีความพรอ้ มด้านโครงสร้างพื้นฐานในระดบั ปานกลาง มีระบบ
ไฟฟา้ ประปา โทรศัพท์ ดา้ นความพรอ้ มด้านทีพ่ ักสาหรบั บรกิ ารนักทอ่ งเทีย่ ว พบว่าวสิ าหกิจชุมชนทอ่ งเที่ยวเชงิ เกษตรใน
พ้ืนที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน ส่วนใหญ่มีความพร้อมด้านที่พักสาหรับบริการนักท่องเท่ียวในระดับดี มีที่พักสาหรับบริการ
นักท่องเท่ยี วในแหล่งทอ่ งเที่ยว ด้านการบริการอาหารสาหรับนักทอ่ งเทีย่ ว พบว่าวิสาหกิจชุมชนท่องเท่ียวเชิงเกษตรใน
พ้ืนท่ีจังหวัดแม่ฮ่องสอน ส่วนใหญ่มีการบริการอาหารสาหรับนักท่องเที่ยวในระดับปานกลางมีบริการอาหารสาหรับ
นกั ทอ่ งเท่ยี วเฉพาะที่มีการสั่งจองลว่ งหนา้ ดา้ นการกาหนดจานวนนักทอ่ งเทีย่ วท่ีเหมาะสมกับพื้นท่ี พบว่าวิสาหกิจชุมชน

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บัณฑติ ศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


726

ท่องเท่ียวเชิงเกษตรในพื้นทจ่ี งั หวัดแม่ฮ่องสอน ส่วนใหญ่มีการกาหนดจานวนนักท่องเที่ยวทีเ่ หมาะสมกับพื้นท่ีในระดบั
ปานกลาง มีการกาหนดจานวนนกั ทอ่ งเท่ียวใหเ้ หมาะสมกับศกั ยภาพการรองรบั ของแหล่งท่องเที่ยว ดา้ นการเตรยี มความ
พร้อมของบคุ ลากรเพ่ือรองรบั นกั ท่องเท่ยี ว พบวา่ วสิ าหกจิ ชมุ ชนท่องเทีย่ วเชิงเกษตรในพื้นที่จังหวดั แม่ฮอ่ งสอน ทกุ กลุ่ม
มีการเตรียมความพร้อมของบุคลากรเพื่อรองรับนักท่องเท่ียวในระดับปานกลาง มีบุคลากรรองรับนักท่องเที่ยวอย่าง
เพียงพอเฉพาะเมื่อมกี ารติดต่อล่วงหน้า และด้านการกาหนดช่วงเวลาท่ีเหมาะสมสาหรับการท่องเท่ียว พบว่าวิสาหกจิ
ชุมชนทอ่ งเท่ยี วเชงิ เกษตรในพื้นทีจ่ ังหวดั แมฮ่ อ่ งสอน สว่ นใหญ่มีการกาหนดช่วงเวลาท่เี หมาะสมสาหรับการท่องเที่ยวใน
ระดับปานกลาง มกี ารกาหนดชว่ งเวลาท่เี หมาะสมสาหรับการท่องเทีย่ วได้ตลอดปี

ศักยภาพการให้บริการของแหล่งทอ่ งเทยี่ วเชิงเกษตร ด้านการต้อนรับและการสร้างความคุ้นเคยกับนักท่องเที่ยว
พบว่าวิสาหกิจชุมชนท่องเที่ยวเชิงเกษตรในพ้ืนที่จงั หวัดแมฮ่ ่องสอน ทุกกลุ่มมีการต้อนรับและการสร้างความคนุ้ เคยกบั
นักท่องเท่ียวในระดับปานกลาง มีการบรรยายกิจกรรม แนะนาสถานท่ี และกติกาการปฏิบัติตนสาหรับนักท่องเท่ียว
ภายในแหล่งท่องเที่ยว ด้านการให้บริการมัคคุเทศก์หรือผู้นาชมสาหรับนักท่องเท่ียว พบว่าวิสาหกิจชุมชนท่องเที่ยว
เชงิ เกษตรในพ้ืนที่จงั หวัดแม่ฮอ่ งสอนสว่ นใหญม่ กี ารใหบ้ รกิ ารมัคคเุ ทศก์หรือผ้นู าชมสาหรบั นักท่องเทีย่ วในระดับปานกลาง
มีมัคคุเทศนห์ รือผู้นาชมทพ่ี ูดได้เฉพาะภาษาไทยสาหรับบริการนักท่องเทยี่ ว ด้านร้านขายของใช้ประจาวัน ของฝากและ
ของท่ีระลึก พบว่าวิสาหกิจชุมชนท่องเท่ียวเชิงเกษตรในพ้ืนท่ีจังหวัดแม่ฮ่องสอน ส่วนใหญ่มีร้านขายของใช้ประจาวัน
ของฝากและของท่ีระลึกในระดับดี มีร้านขายของใช้ประจาวัน ของฝากและของท่ีระลึกท้ังภายในและบริเวณใกล้เคียง
ด้านความหลากหลายของกิจกรรมของแหล่งท่องเที่ยว พบว่าวิสาหกิจชุมชนท่องเที่ยวเชิงเกษตรในพื้นที่จัง หวัด
แม่ฮ่องสอน ทุกกลุ่มมีความหลากหลายของกิจกรรมของแหล่งทอ่ งเท่ียวในระดับดี มีกิจกรรมเสรมิ สาหรับนักท่องเทยี่ ว
เพ่ือเรียนรู้ พักผ่อน หรือบันเทิงในแหล่งท่องเท่ียว ต้ังแต่ 2 ประเภทขึ้นไป ด้านการให้บริการความรู้และข้อมูลของ
แหล่งท่องเที่ยว พบว่าวิสาหกิจชุมชนทอ่ งเที่ยวเชิงเกษตรในพืน้ ทจี่ งั หวัดแม่ฮ่องสอน ทุกกลุ่มมีการให้บริการความรู้และ
ข้อมูลของแหล่งท่องเท่ียวในระดับดี มีการให้บริการด้านความรู้และข้อมูลแหล่งท่องเท่ียวและมีการสาธิตวิธีการปฏบิ ตั ิ
ด้านการให้บริการด้านพาหนะนาชมสาหรับนักท่องเท่ียว พบว่าวิสาหกิจชุมชนท่องเท่ียวเชิงเกษตรในพื้นท่ีจังหวัด
แม่ฮ่องสอน ส่วนใหญ่มีการให้บริการด้านพาหนะนาชมสาหรับนักท่องเที่ยวในระดับปานกลาง มีการบริการ
ด้านยานพาหนะนาชมสถานที่ แต่เป็นยานพาหนะที่ไม่เหมาะสม ไม่เป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม ด้านการให้บริการ
ติดต่อส่ือสารสาหรับนักท่องเที่ยว พบว่าวิสาหกิจชุมชนท่องเท่ียวเชิงเกษตรในพ้ืนท่ีจังหวัดแม่ฮ่องสอน ส่วนใหญ่ไม่มี
การให้บรกิ ารติดตอ่ ส่อื สาร ดา้ นการให้บริการฝึกอบรมและถ่ายทอดองค์ความรู้ พบวา่ วิสาหกจิ ชุมชนทอ่ งเท่ยี วเชงิ เกษตร
ในพืน้ ท่จี ังหวดั แมฮ่ ่องสอน ส่วนใหญ่มีการให้บรกิ ารฝึกอบรมและถ่ายทอดองคค์ วามรใู้ นระดับดี มสี ถานท่ใี หบ้ ริการจัดการ
ฝกึ อบรมและถ่ายทอดองคค์ วามรใู้ หแ้ ก่นกั ท่องเท่ยี ว และดา้ นการให้บริการสาหรับผู้สูงอายุและคนพิการ พบวา่ วสิ าหกิจ
ชมุ ชนทอ่ งเที่ยวเชงิ เกษตรในพ้นื ทจ่ี งั หวดั แม่ฮ่องสอน ทุกกลุม่ ไมม่ กี ารจดั การใหบ้ รกิ ารสาหรับผู้สงู อายแุ ละคนพกิ าร

ศกั ยภาพการดึงดดู ใจของแหลง่ ทอ่ งเท่ยี วเชงิ เกษตร ดา้ นความโดดเดน่ ดา้ นเทคโนโลยกี ารเกษตรและองคค์ วามรู้
เฉพาะ พบว่าวิสาหกิจชุมชนท่องเท่ียวเชิงเกษตรในพ้ืนท่ีจังหวัดแม่ฮ่องสอน ส่วนใหญ่มีความโดดเด่นด้าน
เทคโนโลยกี ารเกษตรและองค์ความรู้ในระดับดี มเี ทคโนโลยกี ารเกษตรและองค์ความร้เู ฉพาะทโี่ ดดเดน่ ต้งั แต่ 2 ประเภท
ข้ึนไป ด้านความโดดเด่นดา้ นเศรษฐกิจพอเพียงและภูมิปญั ญาท้องถน่ิ พบว่าวิสาหกจิ ชุมชนท่องเที่ยวเชิงเกษตรในพนื้ ท่ี
จังหวัดแม่ฮ่องสอน ส่วนใหญ่มีความโดดเด่นด้านเศรษฐกิจพอเพียงและภมู ิปญั ญาท้องถ่นิ ในระดับดี มีการทาการเกษตร
แบบเศรษฐกิจพอเพยี งหรือใชภ้ มู ปิ ัญญาทอ้ งถิ่น ตงั้ แต่ 2 ประเภทขึน้ ไป ดา้ นสภาพธรรมชาติท่ีมคี วามสวยงามของแหล่ง

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บณั ฑติ ศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


727

ทอ่ งเท่ียว พบวา่ วสิ าหกจิ ชุมชนทอ่ งเทย่ี วเชิงเกษตรในพนื้ ทจี่ ังหวดั แมฮ่ ่องสอน ท้ังหมดมีสภาพธรรมชาติที่มคี วามสวยงาม

ของแหล่งท่องเท่ียวระดับดีมีสภาพธรรมชาติที่สวยงามและมีการตกแต่งภูมิทัศน์ให้กลมกลืนกับธรรมชาติ ด้านความ

เชื่อมโยงของแหล่งท่องเท่ียวที่หลากหลายประเภท พบว่าวิสาหกิจชุมชนท่องเท่ียวเชิงเกษตรในพนื้ ทจ่ี งั หวัดแมฮ่ ่องสอน

ท้งั หมดมีความเช่ือมโยงของแหลง่ ท่องเที่ยวทห่ี ลากหลายประเภทในระดับดี มีแหลง่ ทอ่ งเทยี่ วเชือ่ มโยงในบรเิ วณใกลเ้ คยี ง

ต้ังแต่ 2 แห่งข้ึนไป ด้านการได้รับรางวัล ใบรับรอง หรือใบประกาศเกียรตคิ ณุ พบว่าวิสาหกิจชุมชนทอ่ งเที่ยวเชงิ เกษตร

ในพ้นื ทจ่ี งั หวัดแมฮ่ อ่ งสอน ส่วนใหญ่มกี ารไดร้ ับรางวัล ใบรบั รอง หรือใบประกาศเกยี รตคิ ณุ ในระดบั ปานกลาง มรี างวัลท่ี

เคยได้รับ 1 รางวัล ดา้ นความโดดเด่นและหลากหลายของผลิตภณั ฑ์การเกษตร พบวา่ วิสาหกิจชุมชนทอ่ งเท่ียว

เชิงเกษตรในพน้ื ทจี่ งั หวัดแมฮ่ อ่ งสอน ส่วนใหญ่มีความโดดเดน่ และหลากหลายของผลิตภัณฑก์ ารเกษตรอยู่ในระดับปาน

กลาง มีผลิตภัณฑ์โดดเด่นอย่างน้อย 2-4 ประเภท ด้านความโดดเด่นและหลากหลายของกิจกรรมในแหล่งท่องเท่ียว

พบว่าวสิ าหกจิ ชมุ ชนทอ่ งเท่ียวเชิงเกษตรในพื้นทีจ่ ังหวดั แม่ฮอ่ งสอน ทกุ กลมุ่ มีความโดดเด่นและหลากหลายของกิจกรรม

ในแหล่งทอ่ งเท่ียวในระดับดี มีกิจกรรมท่โี ดดเดน่ ตั้งแต่ 5 ประเภทขึ้นไป และด้านการเรียนรู้วิถชี ีวิตหรือรว่ มทากจิ กรรม

กับเกษตรกร พบว่าวิสาหกิจชุมชนท่องเทย่ี วเชิงเกษตรในพ้ืนท่จี งั หวัดแมฮ่ ่องสอน ทุกกลุ่มมีการจัดการให้นักท่องเทีย่ ว

เรยี นรู้วิถชี วี ติ หรือรว่ มทากิจกรรมกับเกษตรกรในระดับดี มกี จิ กรรมการเรียนรูว้ ิถีชีวติ เกษตรกรทัง้ ภายในแหลง่ ท่องเที่ยว

และชมุ ชนโดยรอบ

จากการศึกษาพบว่าศักยภาพด้านการบริหารจัดการของแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร ศักยภาพการรองรับของ

แหล่งท่องเท่ียวเชิงเกษตร ศักยภาพการให้บริการของแหล่งท่องเท่ียวเชิงเกษตร และศักยภาพการดึงดูดใจของแหล่ง

ทอ่ งเท่ยี วเชงิ เกษตร เปน็ ปัจจัยภายในท่ีสง่ ผลตอ่ ศักยภาพและความยั่งยนื ของวิสาหกจิ ชุมชนทอ่ งเทย่ี วเชิงเกษตรในพ้ืนท่ี

จังหวัดแม่ฮ่องสอน โดยสามารถเรียงลาดับความสาคัญจากด้านที่มีศักยภาพสูงท่ีสุดไปยังต่าสุด ดังน้ี คือ ศักยภาพการ

ดงึ ดูดใจของแหล่งท่องเท่ยี วเชิงเกษตร ศักยภาพด้านการบรหิ ารจดั การของแหลง่ ท่องเทย่ี วเชงิ เกษตร ศักยภาพการรองรบั

ของแหล่งทอ่ งเที่ยวเชงิ เกษตร และศกั ยภาพการให้บริการของแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร

ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกของวิสาหกิจชุมชนท่องเท่ียวเชิงเกษตรในพื้นท่ีจังหวัด

แม่ฮ่องสอน โดยการสัมภาษณ์กลุ่มเจ้าหน้าที่ที่มีส่วนเก่ียวข้อง ตัวแทนธุรกิจท่องเที่ยว หน่วยงานราชการท่ีเกี่ยวข้อง

เปน็ ดงั ตารางต่อไปน้ี

Table 1 Strengths, weaknesses, opportunities and threats of community enterprises in
agro-tourism in Mae Hong Son province.

Strength Weakness
1. The community accepts and participates in 1. Most of them do not have systematic waste
tourism management. management.

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บัณฑิตศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


728

2. Tourism management is consistent with 2. There are a few groups that have established

natural resource and environmental conservation a network with regional/national/international

guidelines. organizations.

3. There is a network linking with local organizations. 3. Still unable to add value can develop

4. Public relations materials are prepared in products to the national level.

many channels. 4. There is a specific tourist meal that has been

5. Accommodation and accommodation ordered.

networks are available for tourist services. 5. Most properties are not yet certified.

6. There are souvenirs shops and souvenirs 6. There are sufficient personnel to support

within and around tourist attractions. tourists only if contacted in advance.

7. Providing knowledge and tourist information 7. The communication of tour guides or

services, and there is a demonstration of how to do it. audience leaders can only speak Thai.

8. There is a place to provide training services 8. Most locations are not conducive to providing

and transfer knowledge to tourists. communication services.

9. Outstanding agricultural technology and knowledge 9. There is no service arrangement for the

10. There is a sufficiency economy agriculture or elderly and the disabled.

local wisdom. 10. Tourism activities are also suitable for

11. There are beautiful natural conditions, and specific seasons of tourism.

landscape decoration to blend with nature

12. The award, certificate, or certificate from

various departments

13. Products are diverse and outstanding.

14. There are a variety of activities in agricultural

tourism.

15. There are activities for tourists to learn or

participate in activities with farmers

Opportunity Threat
1. Mae Hong Son Province is outstanding in 1. There are limitations in transportation. It takes
ecotourism. There are natural tourism resources more time to travel than traveling in other
such as forests, mountains, and beautiful areas.
waterfalls. 2. The main road has only one route. There is
still a lack of a road network that reduces travel

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บณั ฑติ ศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


729

2. There is cultural capital, traditions, and ways of time And thesurface that is suitable for traveling
life that are unique to local and diverse ethnic easily
groups. 3. Inadequate air transport
3. Physical characteristics of a town in a quiet 4. The communication network is not yet
valley and suitable for relaxation in every district covered in all areas.
4. Measures to promote tourism in Mae Hong Son 5. The problem of forest fires and smog in the
Province summer
5. Government support and promoted 6. Lack of marketing promotion policies suitable
theorganizing various festival activities, for specific target groups and foreign markets
knowledge,. Budget, factors of production, 7. Coronavirus Disease 2019 Outbreak
materials, and equipment from relevant agencies
6. There are famous main attractions that can be
linked to agricultural tourism in every district

สรุปผลกำรวจิ ัย

จากการศึกษาวิจยั คร้ังน้ี พบวาปัจจัยภายในท่ีส่งผลต่อศักยภาพและความยั่งยนื ของวิสาหกิจชุมชนท่องเท่ียว
เชิงเกษตรในพื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอนตามตัวชี้วัด 4 ด้าน คือ ศักยภาพด้านการบริหารจัดการของแหล่งท่องเที่ยว
เชิงเกษตร ศกั ยภาพการรองรับของแหล่งท่องเทย่ี วเชิงเกษตร ศักยภาพการใหบ้ รกิ ารของแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร และ
ศักยภาพการดงึ ดูดใจของแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร สามารถเรยี งลาดบั จากด้านท่มี ีศักยภาพสงู ที่สดุ ไปยังต่าสดุ ดังนี้ คอื
ศักยภาพการดึงดูดใจของแหล่งท่องเท่ียวเชิงเกษตร ศักยภาพด้านการบริหารจัดการของแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร
ศักยภาพการรองรับของแหล่งทอ่ งเทย่ี วเชงิ เกษตร และศกั ยภาพการใหบ้ ริการของแหลง่ ท่องเทีย่ วเชิงเกษตร โดย วสิ าหกิจ
ชุมชนท่องเที่ยวเชิงเกษตรในพนื้ ทจ่ี ังหวัดแม่ฮ่องสอน มีศักยภาพด้านการบริหารจัดการของแหล่งท่องเทีย่ วเชิงเกษตรที่
เป็นจุดแข็ง คือ ชุมชนให้การยอมรับและมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการการท่องเที่ยว มีการจัดการท่องเท่ียวมีความ
สอดคล้องกบั แนวทางอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม มีการสร้างเครือข่ายเชื่อมโยงกับองคก์ รระดบั ทอ้ งถน่ิ
และมกี ารจัดทาส่อื ประชาสมั พนั ธ์ในหลายช่องทาง จดุ ออ่ นคอื สว่ นใหญ่ยงั ไมม่ กี ารจัดการของเสียอยา่ งเป็นระบบ กลุ่มที่มี
การสร้างเครือข่ายเชื่อมโยงกับองค์กรระดับภาค/ประเทศ/นานาประเทศมีน้อย และยังไม่สามารถเพิ่มมูลค่า พัฒนา
ผลิตภณั ฑ์ไปสู่ระดบั ประเทศได้ ดา้ นศักยภาพการรองรบั ของแหล่งทอ่ งเทย่ี วเชงิ เกษตร มีจุดแข็ง คือ สว่ นใหญม่ ที พี่ ักและ
เครือข่ายที่พักไวส้ าหรับบริการนักทอ่ งเท่ียวในการค้างแรม จุดอ่อนคือ มีอาหารสาหรบั นกั ทอ่ งเท่ยี วเฉพาะท่มี ีการสง่ั จอง
และที่พักส่วนใหญ่ยงั ไม่ผา่ นการรับรองมาตรฐาน ด้านศักยภาพการให้บริการของแหล่งท่องเทยี่ วเชิงเกษตร มจี ุดแขง็ คือ
สว่ นใหญม่ รี ้านขายของใช้ ของฝาก ของทีร่ ะลึกภายในและบริเวณใกล้เคยี งแหลง่ ท่องเท่ยี วมีการใหบ้ รกิ ารด้านความรู้และ
ขอ้ มูลแหล่งท่องเท่ียว และมกี ารสาธิตวิธกี ารปฏบิ ตั ิ และมีสถานท่ีให้บริการจัดการฝกึ อบรมและถา่ ยทอดองค์ความรใู้ หแ้ ก่

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บัณฑติ ศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


730

นักท่องเท่ียว จุดอ่อนคือ มีบุคลากรรองรับนักท่องเที่ยวอย่างเพียงพอเฉพาะเมื่อมีการติดต่อล่วงหน้า การสื่อสารของ
มัคคุเทศน์หรือผ้นู าชุมชนพูดได้เฉพาะภาษาไทย สถานท่ีต้ังสว่ นใหญ่ไม่เอ้ืออานวยตอ่ การให้บริการด้านการส่ือสาร และ
ไม่มีการจัดการให้บริการสาหรับผู้สูงอายุและคนพิการ และด้านศักยภาพการดึงดูดใจของแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร
มีจุดแข็ง คอื มเี ทคโนโลยีการเกษตรและองค์ความรู้เฉพาะทโ่ี ดดเดน่ มกี ารทาการเกษตรแบบเศรษฐกิจพอเพยี งหรอื ใช้ภมู ิ
ปัญญาท้องถ่ิน มีสภาพธรรมชาติที่สวยงาม และมีการตกแต่งภูมิทัศน์ให้กลมกลืนกับธรรมชาติ กลุ่มเคยได้รับรางวัล
ใบรับรอง หรือประกาศเกียรติคุณจากหน่วยงานต่างๆ ผลิตภัณฑ์มีความหลากหลาย โดดเด่น มีความหลากหลายของ
กจิ กรรมในแหล่งทอ่ งเท่ียวเชิงเกษตร และมกี จิ กรรมให้นักท่องเท่ยี วร่วมเรียนรู้หรอื ร่วมทากจิ กรรมกับเกษตรกร จดุ ออ่ น
คือ กิจกรรมการทอ่ งเท่ียวยงั มีความเหมาะสมสาหรับการท่องเทยี่ วเฉพาะบางฤดกู าล ในส่วนของปัจจัยภายนอกท่สี ง่ ผล
ต่อศักยภาพและความย่ังยืนของวิสาหกิจชุมชนท่องเที่ยวเชิงเกษตรในพื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน ในด้านโอกาส มีดังน้ี
จังหวัดแมฮ่ ่องสอนมีความโดดเดน่ ในการทอ่ งเที่ยวเชิงนิเวศน์ โดยมีทรัพยากรการท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ ท้ังป่าไม้ ภูเขา
น้าตกที่อุดมสมบูรณ์ สวยงาม มีทุนทางวัฒนธรรมประเพณีและวิถีชีวิตท่ีเป็นเอกลักษณ์เฉพาะถ่ินและกลุ่มชาติพันธุ์ท่ี
หลากหลาย ลักษณะเฉพาะทางกายภาพของเมอื งในหุบเขาทม่ี ีบรรยากาศเงียบสงบ เหมาะแก่การพักผอ่ นในทกุ อาเภอ
มาตรการส่งเสริมการทอ่ งเทยี่ วของจังหวัดแม่ฮอ่ งสอน การสนบั สนุนจากภาครฐั ในการจดั กิจกรรม เทศกาลตา่ งๆ มีการ
ส่งเสรมิ ด้านความรู้ สนับสนนุ งบประมาณ ปจั จัยการผลติ วสั ดุ อปุ กรณ์จากหน่วยงานทเ่ี กี่ยวข้อง และมสี ถานท่ีทอ่ งเท่ียว
หลักท่ีมีช่ือเสียง ท่ีสามารถเชื่อมโยงกบั แหล่งท่องเทย่ี วเชิงเกษตรได้ในทกุ อาเภอ ในด้านอุปสรรค มีดังนี้ มีข้อจากัดดา้ น
การคมนาคม ทาใหต้ ้องใชเ้ วลาเดนิ ทางมากกว่าการเดนิ ทางในพ้นื ที่อื่น ทางสายหลักมีเพียงเสน้ ทางเดยี ว ยงั ขาดโครงขา่ ย
ถนนที่ช่วยลดระยะเวลาเดินทาง หรือมีผิวทางที่เหมาะสมกับการสัญจรได้โดยสะดวก การคมนาคมทางอากาศ มีบาง
ช่วงเวลา และไม่ตอบสนองเชงิ ทางการท่องเทีย่ ว เครือข่ายการติดต่อสือ่ สารยังไมค่ รอบคลุมในทกุ พื้นท่ี ปัญหาไฟป่าหมอก
ควนั ในชว่ งฤดูร้อน ขาดนโยบายส่งเสริมการตลาดทีเ่ หมาะสมกบั กลุ่มเป้าหมายเฉพาะและตลาดต่างประเทศ และการแพร่
ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019

กิตตกิ รรมประกำศ

ขอขอบคุณ ผู้ทรงคุณวุฒิ อาจารย์ทปี่ รึกษา คณาจารย์ ในการให้คาช้ีแนะที่มีประโยชน์ต่อการดาเนินงานวิจัย
ใหม้ ปี ระสิทธภิ าพ นอกจากนีผ้ ู้วจิ ยั ขอขอบคุณ กลุม่ ตัวอยา่ งทใี่ ช้ในการศกึ ษาในครัง้ น้ี คอื ประธานวิสาหกจิ ชมุ ชนทอ่ งเท่ียว
เชิงเกษตรในพ้ืนทจี่ ังหวัดแมฮ่ ่องสอนทง้ั 7 แห่ง รวมถึงหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน และผู้ท่ีมีส่วนเกย่ี วขอ้ งทุกท่าน
ในงานวิจัยฉบับน้ี ขอขอบคุณกาลังใจจากครอบครวั ที่มสี ่วนชว่ ยให้การทางานสาเรจ็ ลุลว่ งไปดว้ ยดี

เอกสำรอำ้ งอิง

กรมการท่องเทยี่ ว. 2559. คมู่ อื การประเมนิ มาตรฐานแหลง่ ทอ่ งเทยี่ วเชิงเกษตร. ม.ป.ท. ม.ป.พ.
กรมสงเสริมการเกษตร. 2562. การส่งเสรมิ การทอ่ งเทย่ี วเชิงเกษตร. ม.ป.ท. ม.ป.พ.
แบบประเมนิ ศกั ยภาพแหลง ทองเทย่ี วเชงิ เกษตรตามแนวคดิ เศรษฐกจิ พอเพยี ง. [ระบบออนไลน์]. แหลงทมี่ า

http:/www.cdoae.doae.go.th/53/html (10 ตุลาคม 2565)

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บณั ฑติ ศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


731

ณฐั พนธ สกุลพงษ์, จักรพงษ พวงงามช่ืน, นคเรศ รงั ควตั และพุฒสิ รรค์ เครอื ดา. รูปปแบบการดาเนนิ งานของเครือขา่ ย
วสิ าหกจิ ชมุ ชนภายใตกรอบแนวคดิ การพฒั นาทย่ี ง่ั ยนื จงั หวดั เชียงใหม. ผลติ กรรมการเกษตร, 4(2), 104-115

พระมหาทองมา ใบทบั ทมิ . 2550. การมสี วนรวมของประชาชน ในการพฒั นาการทองเที่ยวเชิงเกษตรอยางยั่งยนื กรณี
ศึกษา: คลองมหาสวสั ดิ์ อาเภอพทุ ธมณฑล จงั หวัดนครปฐม. วทิ ยานิพนธป์ ริญญาโท มหาวทิ ยาลัยเกรกิ . 190 น.

วารณุ ี เกตุสะอาดและปกรณ สวุ านชิ . 2554. การประเมนิ ศักยภาพทองเทยี่ วเชงิ เกษตรของพน้ื ทเี่ ขตทวีวฒั นา จงั หวดั
กรงุ เทพมหานคร. น. 364-379. ใน รายงานการประชมุ ทางวิชาการ และนาเสนอผลงานวจิ ยั “มสธ.วจิ ยั ประ
จาป 2554” 8 เมษายน 2554. กรงุ เทพฯ: มหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช.

วภิ ารตั น์ สรุ าลยั . 2556. แนวทางการพฒั นาแหลง่ ท่องเทีย่ วเชงิ เกษตรอยา่ งย่ังยืน : กรณศี ึกษาอาเภอ วงั น้าเขยี ว
จงั หวัดนครราชสีมา. รายงานการศกึ ษาอสิ ระปรญิ ญาบรหิ ารธรุ กิจมหาบัณฑติ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น. 154

สจุ ติ ราภรณ จสุ ปาโล. 2558. การจดั การทองเทยี่ วเชิงเกษตรโดยชุมชนบานบางเหรยี งใต อาเภอควนเนยี ง จงั หวดั
สงขลา. มนษุ ยศาสตรและสังคมศาสตร 9(1), 103-112

สานกั งานจงั หวัดแม่ฮอ่ งสอน. 2565. ขอ้ มลู พน้ื ฐานแผนพฒั นาจงั หวัดแมฮ่ อ่ งสอน ปี 2565 [ระบบออนไลน์]. แหลง่ ทม่ี า
https://new.maehongson.go.th/history/ (10 ตลุ าคม 2565)

Gandip, K.C. 2013. Environmental management and sustainable tourism development in the
annapurna region. nepal. Centria university of applied sciences. 182 p.

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บัณฑติ ศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


732

กำรผลติ กำรสง่ เสรมิ และกำรตลำดของวิสำหกจิ ชุมชนนำเกลอื แปลงใหญ่ จงั หวดั สมุทรสำคร
Production, Promotion, and Marketing for Large-Scale Sea Salt Farming
Community Enterprise, Samutsakhon Province

นำงสำวนันทมำส ทองปลี
Nanthamas Tongplee

สาขาการจัดการ และ พัฒนาทรัพยากร คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลยั แมโ่ จ้ จังหวัดเชียงใหม่ ประเทศไทย 50290
Resources Management and Development, Faculty of Agricultural Production,
Maejo University, Chiangmai Province, Thailand 50290
[email protected]

บทคัดยอ่

เกลือทะเล หรือ เกลือสมุทร (Solar Salt) เป็นผลผลิตท่ีผลิตได้จากวตั ถดุ ิบในธรรมชาติ โดยการปล่อยน้าทะเล
ซง่ึ มีองค์ประกอบของเกลอื ไหลเขา้ มาในนา แลว้ กกั ไวโ้ ดยปล่อยใหแ้ สงแดดเปน็ ตวั การระเหยน้าออกไป จนความเขม้ ข้นได้
ระดับเกลอื จะตกผลึก จะได้เกลือทะเล (Sea Salt) ในประเทศไทยมีแหล่งผลิตเกลือทะเลท่ีสาคัญ ท่ีเรียกว่า “การทานา
เกลือ” ในแถบชายฝั่งทะเล บริเวณจังหวัดสมุทรสาคร ซ่ึงมีพื้นที่ผลิตเกลือทะเลมากท่ีสุดในประเทศไทย แต่ปัจจุบัน
รปู แบบการทานาเกลือทะเลมกี ารเปล่ียนแปลงไป สาเหตุเนอื่ งจากในปัจจบุ ันการใช้ที่ดินได้เปล่ียนแปลงไป พนื้ ทีท่ ีเ่ คยเป็น
แหลง่ ผลติ เกลอื ทะเลได้เปลย่ี นสภาพการใช้ท่ีดินไปสกู่ ารผลิตอ่ืน ๆ ที่ไดผ้ ลตอบแทนสงู กวา่ รวมถงึ ปัญหาในการผลติ เกลือ
ทะเล อาทิ ความไม่แน่นอนของปริมาณผลผลิต ปัญหาต้นทุนการผลิต ปัญหาการถือครองท่ีดิน ทัศนคติเกษตรกร และ
การเข้ามาของเกลือสินเธาว์ จึงเป็นเหตุให้พื้นที่ทานาเกลือและเกษตรกรผทู้ าอาชีพการผลิตเกลือทะเลลดลงไปเรื่อย ๆ
อาจสง่ ผลกระทบวิกฤตใิ นอุตสาหกรรม กรมส่งเสริมการเกษตร มกี ารส่งเสริมใหเ้ กษตรกรรวมกลมุ่ กันเป็นแปลงใหญ่เพื่อ
ทาการเกษตรแบบแปลงใหญ่ทท่ี นั สมัย (Modern Large-scale Farming) เพ่อื รวมกลุ่มกันบรหิ ารจดั การ ตง้ั แต่ผลติ สนิ คา้
จนถึงการตลาด โดยมีผู้จัดการแปลงใหญ่เป็นผู้ขับเคลื่อนกิจกรรมในแปลงใหญ่บูรณาการการทางานร่วมกันระหว่าง
ภาครฐั ภาคเอกชน และเกษตรกร เพ่อื ใหเ้ กิดการลดตน้ ทนุ การผลิตเพิ่มผลผลติ พัฒนาคณุ ภาพสนิ คา้ เกษตรกรมตี ลาดรบั
ซ้ือแน่นอนและเกิดสมดุลระหว่างอปุ สงค์และอปุ ทานสินค้า อันจะนาไปสู่ความเข้มแข็งของเกษตรกร จนสามารถพง่ึ พา
ตนเองได้ บทความวิชาการน้ี ผู้เขียนจะนาเสนอ 1) รูปแบบการผลิตเกลือในจังหวัดสมุทรสาคร 2) ปัจจัยท่ีมีผลต่อการ
เปล่ยี นแปลงการใชท้ ่ีดินนาเกลือของจงั หวดั สมทุ รสาคร และ 3) รูปแบบการสง่ เสรมิ การทานาเกลอื ทะเลสาหรับวิสาหกิจ
ชมุ ชนนาเกลอื แปลงใหญ่ จังหวดั สมทุ รสาคร องคค์ วามรูจ้ ากบทความน้ีนาไปใช้เป็นแนวทางและขยายผลสู่เกษตรกรผู้ทา
นาเกลือใหส้ ามารถสืบทอดและดารงอาชีพได้อยา่ งยั่งยนื ต่อไปในอนาคต

คำสำคญั : การผลติ การสง่ เสริม นาเกลอื แปลงใหญ่

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บัณฑิตศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


733

Abstract

Sea salt or solar salt is a product produced from natural raw materials. By releasing seawater,
which contains salt, flows into the fields and hold it by allowing sunlight to evaporate the water until
the concentration is reached, and the salt is crystallized. The large source of sea salt production in
Thailand is the coast of Samutsakhon province and have change at the present, because the changes
of land use to more profitable production, problem of sea salt production processes, the unstable of
sea salt quantity, the cost of production, land ownership, sea salt farmer attitude, and the rock salt
production. Theses was the important cause of sea salt field and farmers decreasing, which could be
affected to the industry system. Department of agriculture extension support the farmer grouping for
modern large scale farming to the suitable management for marketing and production, and integrating
collaboration between government, private sector, and farmer to reduce production cost, and
improvement of product quality. The certainty of marketing and demand-supply balance due to the
farmer reliant. The objective of this article is to present the model of salt production, affecting factors
to land use changes, and the model promoting of large scale sea salt farming community enterprise in
Samutsakhon province. These knowledge will be guided and extended to the sea salt farmers for
maintaining this career in long term.

Keywords: Production, Extension, Large plots in Sea Salt

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บัณฑิตศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


734

บทนำ

การทานาเกลือในประเทศไทยมีมานานหลายร้อยปีมาแล้ว เน่ืองจากเกลือมีความสาคัญกับชุมชนตั้งแต่สมัย
โบราณ เป็นสิ่งท่ีมนุษย์มีความคนุ้ เคยกันมานาน เพราะเป็นส่วนประกอบสาคญั ในการปรุงอาหารประจาวัน ก่อนที่จะมี
การพัฒนาเคร่อื งปรุงรสชนิดต่าง ๆ ขึ้นมา ใช้ประโยชน์ในการเก็บถนอมอาหารท่ีเป็นของสด ท้ังในรูปการดอง และการ
ตากแห้ง เป็นส่วนประกอบสาคัญในสินค้าอุตสาหกรรมประเภทอาหาร ท้ังยังเป็นส่ิงจาเป็นในการเปล่ียนแปลงทาง
เศรษฐกิจระหว่างชุมชน คาว่า “เกลือ” ในความหมายทางวิทยาศาสตร์การอาหาร หมายถึง เกลือท่ีใช้ปรุงอาหาร
(Cooking Salt or Table Salt) ซงึ่ มีชอ่ื ทางเคมีว่า Sodium Chloride หรอื NaCl เกลอื บริสุทธิ์นั้นจะมสี ีขาวลกั ษณะเปน็
ผลึกรปู ร่างไม่คงท่ี แต่จัดไว้เป็นลกั ษณะของผลึกแบบลูกบาศก์ (Cubic System) และเกลอื ทะเล หรอื เกลอื สมุทร (Solar
Salt) เปน็ ผลผลิตท่ผี ลติ ได้จากวัตถดุ ิบในธรรมชาติ โดยการปลอ่ ยน้าทะเล ซ่ึงมอี งคป์ ระกอบของเกลือไหลเข้ามาในนาแลว้
กกั ไว้โดยปลอ่ ยให้แสงแดดเป็นตวั การระเหยน้าออกไป จนความเข้มขน้ ไดร้ ะดับเกลือจะตกผลกึ ไดเ้ กลือทะเล (Sea Salt)
ซึ่งจะมธี าตุไอโอดนี เปน็ คณุ ค่าทางอาหารท่ีสาคัญในการปอ้ งกันโรคคอพอก จึงมีความเหมาะสมกบั การบรโิ ภค

สาหรับในประเทศไทยการทานากลือเป็นอาชีพที่รัฐบาลไทยสงวนไว้สาหรับคนไทย (พระราชกฤษฎีกากาหนด
งานในอาชีพและวิชา พ.ศ. 2522) เปน็ อาชพี ที่แสดงถึงภมู ปิ ัญญาความรทู้ ไี่ ดจ้ ากประสบการณ์ การสังเกต การพงึ่ พาอาศยั
ธรรมชาติ ภมู ปิ ญั ญาเหล่านไี้ ด้ถูกถ่ายทอดจากบรรพบุรษุ สลู่ ูกหลานจากการบอกเล่า และถือปฏบิ ัตกิ ารตอ่ ๆ กันมา โดย
แหล่งผลิตเกลือทะเลที่สาคัญ มี 7 จังหวัด ได้แก่ เพชรบุรี สมุทรสงคราม สมุทรสาคร จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี และ
ปัตตานี ในปี 2563/2564 มีเกษตรกรขึ้นทะเบียนเกษตรกรผู้ทานาเกลือ กับกรมส่งเสริมการเกษตร จานวน 721
ครวั เรือน เนื้อที่การผลิต 27,974.56 ไร่ และจงั หวัดสมทุ รสาคร มีพ้นื ทก่ี ารผลิตเกลือทะเลมากทีส่ ดุ โดยในปี 2564/2565
มีพ้นื ท่กี ารผลิต จานวน 9,312.41 ไร่ 356 แปลง มเี กษตรกร 264 ครวั เรอื น คิดเป็นรอ้ ยละ 35.96 ของพื้นทก่ี ารผลิตของ
ประเทศ (กรมส่งเสริมการเกษตร, 2564) ซ่ึงพื้นท่ีทานาเกลือมีแนวโน้มลดลงเรื่อย ๆ จากปี 2562 ซ่ึงมีพื้นที่ทานาเกลอื
38,399.23 ไร่ สาเหตุเนื่องจากในปัจจุบันการใช้ท่ีดินได้เปลี่ยนแปลงไป พื้นท่ีท่ีเคยเป็นแหล่งผลิตเกลือทะเลได้เปลยี่ น
สภาพการใช้ท่ีดนิ ไปสู่การผลิตอน่ื ๆ ที่ได้ผลตอบแทนสงู กวา่ เช่น การเลี้ยงกุ้ง การใช้ท่ีดินเพ่อื สรา้ งโรงงานอุตสาหกรรม
และท่อี ยูอ่ าศัย ฯลฯ รวมถึงปัญหาในการผลิตเกลือทะเล อาทิ ความไมแ่ นน่ อนของปรมิ าณผลผลติ ปญั หาต้นทุนการผลิต
ปัญหาการถือครองทีด่ ิน ทัศนคติเกษตรกร และการเขา้ มาของเกลือสนิ เธาว์จึงเป็นเหตุให้พ้ืนที่ทานาเกลือและเกษตรกร
ผู้ทาอาชีพการผลิตเกลือทะเลลดลงไปเรื่อย ๆ อาจส่งผลกระทบวิกฤติในอุตสาหกรรม สอดคล้องกับ Jones & Clark
(1997) ทกี่ ล่าวว่า โดยทว่ั ไปสาเหตขุ องการเปล่ยี นแปลงของพน้ื ที่เกษตรกรรม มักมสี าเหตมุ าจากเมือง แต่ที่จริงแล้วอาจมี
สาเหตมุ าจากภายในพื้นทเ่ี กษตรกรรมเองได้ เพราะการขยายตัวของเมืองไมส่ ามารถบุกรุกพื้นทเี่ กษตรกรรมทุกแหง่ ที่อยู่
ใกล้เคียงไดส้ าเร็จเสมอไป พ้ืนที่เกษตรกรรมบางแห่งยงั คงยืนหยัดอย่ไู ดท้ ่ามกลางส่ิงแวดล้อมแบบเมือง โดยผลจากการ
กระทาก่อให้เกิดการเปล่ยี นแปลงแก่พ้ืนท่เี กษตรกรรมเป็น 4 แบบ คือ 1) พ้ืนที่เกษตรกรรมยงั คงใช้ทาการเกษตรตอ่ ไป
โดยในการดาเนินการ อาจเลือกการทาเกษตรแบบยังชีพ (Extensive) หรือแบบเข้ม (Intensive) สาหรับการทาเกษตร
แบบยังชีพนั้น อาจหยุดใช้พื้นท่ีทาการเกษตรชั่วคราวและสามารถกลับมาทาเกษตรอีก เรียกว่า พื้นท่ีเกษตรพ้ืนบ้าน
(Intensification land) ซึง่ ตอ่ มาอาจไม่ทาการเกษตรอีกในท่ีสดุ เปล่ยี นแปลงไปใช้ในกจิ กรรมเมือง สาหรบั การทาเกษตร
แบบเขม้ น้ันยังคงใช้ทาการเกษตรต่อไปได้ เรยี กว่า พ้นื ทเี่ กษตรเขม้ ขน้ (Intensification land) 2) เป็นการเปลีย่ นจากการ
ใช้ทาไร่นาเป็นใช้ทากิจกรรมเมือง หรือใช้ทากิจกรรมท่ีไม่ทาลายสุนทรียภาพของธรรมชาติ เช่น สนามกอล์ฟ เรียกว่า

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บณั ฑติ ศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


735

พื้นที่นันทนาการ (Recreation land) 3) เป็นการละทง้ิ ท่ดี ิน ปล่อยให้รกร้างโดยทอ่ี าจจะกลับมาใช้ทาการเกษตรไดใ้ หม่
เรียกว่า พนื้ ที่รกร้าง (Abandonment land) และ 4) เป็นการปล่อยให้เปน็ ธรรมชาติ ซง่ึ มีการยอมรบั วา่ มคี วามสาคญั มี
คุณค่าด้านการอนุรักษ์มากกว่าการนามาใช้เป็นพื้นที่เพาะปลูก เน่ืองจากคุณภาพและปริมาณของสภาพแวดล้อมไม่
เหมาะสมกับการเพาะปลูกเพ่ือให้มีพืชพันธ์ุเกิดขึ้นใหม่ มีสัตว์กลับมาอยู่อาศัยอีก สัตว์มากมายหลายชนิดเกิดข้ึนตาม
ลักษณะของท่ีดนิ นั้น ๆ ตามระยะเวลาทดแทนตามธรรมชาตเิ ช่น ผีเส้ือ สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง และสัตว์ประเภทอื่น ๆ
เรียกวา่ พื้นท่ีไม่ไดใ้ ชป้ ระโยชน์ (Marginalization land)

การส่งเสริมของกรมส่งเสริมการเกษตร มีการส่งเสรมิ ให้เกษตรกรรวมกลุ่มกันเปน็ แปลงใหญ่เพอื่ ทาการเกษตร
แบบแปลงใหญ่ท่ีทันสมัย (Modern Large-scale Farming) ภายใต้ระบอบบรรษัทผลิตอาหาร ท่ีจะสามารถเป็นแรง
ขับเคล่ือน ที่สาคัญในการเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขัน โดยเฉพาะการเชื่อมโยงระหว่างผู้ผลิตสู่ผู้ทาการตลาด
สมัยใหม่ ซึ่งการเช่ือมโยงน้ีจะช่วยให้เกดิ การลดต้นทุนและเพิ่มมูลค่าของสนิ ค้าเกษตร ซ่ึงเป็นการดาเนินงานซึ่งเน้นการ
รวมกลุ่มของเกษตรกรรายยอ่ ยในพื้นที่ โดยวางระบบการผลิตและการบริหารจดั การในแนวทางเดียวกัน เพ่ือประหยดั
ต้นทุนและเพ่ิม ประสิทธิภาพการผลิต ซ่ึงเกษตรกรยังคงเป็นเจ้าของพื้นท่ีและทาการผลิตเอง โดยจะมีการกาหนด
เป้าหมายการผลิต การถ่ายทอดเทคโนโลยี การเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตทุกขั้นตอนจนถึงการเชื่อมโยงตลาดกับ
ภาคเอกชนแบบประชารัฐ เปน็ การเพ่ิมอานาจการต่อรองของเกษตรกรตลอดกระบวนการผลติ ด้วยการบูรณาการทุกภาค
ส่วนตลอดโซ่อุปทาน (ธนิตย์ เอนกวิทย์, 2560) โดย Pensupar (2016) กล่าวว่า การส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญข่ อง
รฐั บาลไทย เพ่อื ใหก้ ารผลติ ภาคเกษตรมีประสิทธภิ าพ ลดตน้ ทนุ การผลิต ทาให้เกดิ ข้อได้เปรยี บในเชงิ ต้นทุน ตามหลกั การ
ประหยัดจากการเพ่ิมขนาดพื้นที่การผลิต (Economy of scale) โดยหาทางรวมพื้นที่การเกษตรเป็นแปลงใหญ่ จาก
เกษตรกรจานวนมาก ท่ีส่วนใหญ่มีท่ีดินเพ่ือการเกษตรน้อย (ตัวเลขทางการชี้ว่า ภาคเกษตรไทย 90% ของประชากร
เกษตรมที ดี่ ินนอ้ ยกว่า 1 ไรต่ อ่ ครัวเรอื น) และการนาโครงการระบบสง่ เสริมเกษตรแบบแปลงใหญไ่ ปใช้กับการสง่ เสริมและ
พฒั นาเกลอื ทะเล ทเี่ ปน็ ท้งั ภมู ปิ ัญญาและนวัตวิถีชวี ติ ของเกษตรกรผู้ทานาเกลอื ทะเลในพ้ืนที่จงั หวัดสมทุ รสาคร

บทความน้ีนาเสนอการเปล่ียนแปลงรูปแบบการผลิตเกลือทะเลของเกษตรกรผู้ทานาเกลือจงั หวัดสมุทรสาคร
และรูปแบบการส่งเสริมการทานาเกลือทะเลสาหรับวิสาหกิจชุมชนนาเกลือแปลงใหญ่ จังหวัดสมุทรสาคร เพ่ือนาองค์
ความรทู้ ่ไี ด้ไปใช้เปน็ แนวทางและขยายผลสเู่ กษตรกรผู้ทานาเกลอื ใหส้ ามารถสบื ทอดและดารงอาชีพได้อย่างย่งั ยืนตอ่ ไปใน
อนาคต

อุปกรณ์และวิธีดำเนินกำรวจิ ัย

ในการวจิ ัยครงั้ นี้ มวี ธิ กี ารวิจยั ใช้การศึกษาวิจยั เอกสาร (Documentary Research) เป็นการรวบรวมข้อมลู จาก
เอกสารทางวชิ าการ วารสาร ส่ิงพิมพ์ ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ รายงานการวจิ ยั วิทยานิพนธ์ ดุษฎีนิพนธ์ รายงานการประชมุ
คมู่ อื การปฏบิ ัติงาน เอกสารทางวชิ าการท่ีเกี่ยวขอ้ ง

ผลกำรวจิ ยั

กำรผลติ เกลอื ในจงั หวัดสมทุ รสำคร

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บณั ฑิตศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


736

การผลิตเกลือทะเลหรือเกลือสมุทรนัน้ จาเปน็ ตอ้ งใชน้ า้ ทะเลเป็นวตั ถุดบิ ในการผลิตผลึกเกลือ ดว้ ยเหตุนนี้ าเกลอื
สมุทรโดยสว่ นมากในประเทศไทยจึงพบในพ้ืนทีช่ ายฝัง่ ทะเล แม้ว่าประเทศไทยจะมีชายฝ่งั ทะเลยาวถงึ 2,600 กิโลเมตร
แต่พ้ืนที่ท่ีเหมาะสมสาหรับการพัฒนาเป็นพื้นท่ีนาเกลือสมุทรนั้นมีอยู่จากัด โดยพ้ืนที่ที่เหมาะสมน้ันต้องมีลักษณะภูมิ
ประเทศเปน็ ที่ราบ มเี น้อื ดินเปน็ ดินเหนยี วทส่ี ามารถอ้มุ น้าไดด้ ี สามารถป้องกันไมใ่ ห้น้าเค็มซึมลงใตด้ ิน และป้องกนั ไม่ให้
น้าจืดซึมขึ้นมาบนดินได้ อีกท้ังยังต้องเป็นพื้นที่ที่มีกระแสสมและแสงแดดท่ีเพียงพอจะทาให้เกลือตกผลึกได้อีกด้วย
(คณะอนุกรรมการจัดการความรู้เพอ่ื ผลประโยชน์แหง่ ชาตทิ างทะเล, มปป.)

จงั หวัดสมทุ รสาคร มีพน้ื ทก่ี ารผลติ เกลือทะเลมากทสี่ ุด โดยในปี 2564/2565 มพี ื้นที่การผลติ จานวน 9,312.41
ไร่ 356 แปลง มเี กษตรกร 264 ครวั เรอื น คิดเป็นรอ้ ยละ 35.96 ของพนื้ ท่กี ารผลิตของประเทศโดยทว่ั ไป การทานาเกลือ
สมทุ ร ใชเ้ วลาประมาณ 6-7 เดือน โดยจะเรมิ่ ในชว่ งฤดูแล้งตัง้ แต่ตน้ เดอื นพฤศจกิ ายนถึงกลางเดอื นพฤษภาคมของปถี ดั ไป
ทง้ั นีส้ ามารถเรม่ิ เกบ็ เกย่ี วผลผลติ ได้ตัง้ แตป่ ระมาณกลางเดือนมกราคม เป็นตน้ ไป และการผลิตเกลอื สมทุ รน้จี ะไมส่ ามารถ
ทาไดใ้ นช่วงฤดูฝน ในส่วนของขั้นตอนการทานาเกลือสมุทรนน้ั แบ่งออกเปน็ 2 ขน้ั ตอน คอื

ข้ันตอนที่ 1 การเตรียมพื้นทีน่ า โดยการปรับดินในแปลงนาให้เรียบและแน่น ยกขอบแปลงให้สูงเหมือนคันนา
และมีร่องระบายน้าระหว่างแปลง แล้วแบ่งพ้ืนท่นี าออกเป็นแปลง “นาตาก” “นาเช้ือ” และ “นาปลง” ที่มีระดับสงู ตา่
ตามลาดบั โดยนาตากจะอยู่ใกล้ทะเลที่สดุ และมีระดบั พ้นื ทส่ี งู สุด นาเชอ้ื มรี ะดบั ต่าลงมา และนาปลงมีระดบั พน้ื ท่ตี า่ ท่ีสุด
เพ่อื ใหส้ ามารถระบายนา้ เขา้ นาไดโ้ ดยไม่ตอ้ งใช้เครื่องสูบน้า

ข้ันตอนท่ี 2 การทานาเกลือสมุทร การทานาเกลือสมุทร จะเริ่มจากการนาน้าทะเลเข้ามาเก็บไว้ในบ่อน้าที่มี
ขนาดใหญ่และลกึ เรียกว่า “วังน้า” หรือ “นาขัง” เพ่ือให้สิ่งเจือปนในน้าทะเล เช่น โคลนตมตกตะกอนลงสกู่ น้ บ่อกอ่ น
และมกั พบสตั วท์ ะเลอาศยั อยใู่ นวงั นา้ นดี้ ว้ ย อกี ท้งั บางพนื้ ท่ีอาจใชว้ งั น้าน้ีในการเพาะเลี้ยงสตั ว์ทะเลแบบธรรมชาติ เชน่ ก้งุ
ขาว ก้งุ แชบว๊ ย ปลาหมอเทศ ปลากะพง และปทู ะเล จากน้ันนา้ ทะเลจากวังนา้ จะถูกระบายเข้าสูแ่ ปลง “นาตาก” ซง่ึ เปน็
บอ่ ต้นื มีระดับนา้ ในนาสงู ประมาณ 5 - 10 เซนตเิ มตร แลว้ อาศยั กระแสสมและแสงแดดทาให้น้าในนาระเหยออกไป แลว้
จึงระบายน้าเขา้ สู่แปลง “นาเชอื้ ” ซึ่งจะทาใหน้ ้าทะเลระเหยไปอีก จนทาใหผ้ ลึกเกลอื พร้อมทีจ่ ะตกตะกอน และในลาดับ
ทา้ ยท่ีสุดจึงระบายน้าเขา้ สแู่ ปลง “นาปลง” (ระยะเวลาประมาณ 45 วนั นับต้ังแต่การระบายนา้ เขา้ สนู่ าตากจนถงึ นาปลง)
เพื่อตกตะกอนผลึกเกลือสมทุ ร ซึง่ โดยปกติแลว้ ชาวนาเกลอื จะปลอ่ ยให้ผลึกเกลือตกตะกอนอยูใ่ นนาปลงประมาณ 15-45
วนั แลว้ จึงขูดเอาผลกึ เกลือออก ดงั นน้ั กระบวนการทานาเกลือตั้งแต่ต้นจนสามารถผลติ ผลึกเกลอื ได้นีจ้ ึงใช้เวลาประมาณ
40-50 วนั และโดยทัว่ ไปจะสามารถผลิตผลกึ เกลือไดป้ ระมาณ 4-9 ตนั ตอ่ พ้นื ท่นี า 1 ไร่ หรือ 2.5-6 กโิ ลกรมั ต่อพนื้ ทน่ี า 1
ตารางเมตร

ผลกึ เกลอื ท่ีตกตะกอนจากนา้ เกลอื ท่ีมคี วามเขม้ ข้นตา่ ง ๆ ในกระบวนการทานาเกลอื สมทุ ร มกั ประกอบดว้ ย 1)
เกลอื จืด หรือเกลอื แคลเซียม หรอื เกลอื ยิปซม่ั ซงึ่ จะเกดิ อยู่บนหนา้ ดินของนาเชอ้ื ท่นี ้าเกลือมีความเข้มข้นประมาณ 20-22
ดีกรีโบเม่ (degree Baumé หรือ oBe) สามารถนาไปใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตปูนปลาสเตอร์ ยาสีฟันผง แป้งผัดหน้า
และสารปรับปรงุ บารุงดนิ 2) เกลือเค็ม หรอื เกลือโซเดยี ม เกิดจากน้าเกลือทมี่ ีความเข้มข้น >27 ดีกรีโบเม่ และตกตะกอน
ในนาปลง ในทางการค้านั้น เกลือเค็มนี้แบ่งออกไดเ้ ป็นหลายชนิด เช่น ดอกเกลือ เกลือขาว เกลือกลาง เกลือดา เกสร
เกลือตัวผู้ เกสรเกลอื ตวั เมีย เปน็ ตน้ เกลอื เหลา่ น้ีมลี กั ษณะจาเพาะของการเกดิ และลักษณะทางกายภาพผลึกเกลือ วิธกี าร
เก็บเกย่ี วผลผลติ รวมไปถงึ คา่ ความเค็มที่แตกต่างกันไป และ 3) เกลอื ขม ดีเกลอื หรอื เกลอื แมกนีเซยี ม เกดิ จากการนานา้
จากการรอื้ เกลอื แตล่ ะครง้ั ไปขงั รวมกัน เม่ือท้งิ ไว้ระยะหน่งึ จะเกิดดีเกลือเกาะตามพื้นนา ชาวนาเกลือจะเกบ็ เกยี่ วดีเกลือ

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บณั ฑิตศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


Click to View FlipBook Version