The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Submitted Letter of teachers and students to attend the conference at MAEJO Universiity

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by anusit.boontadang, 2022-12-14 21:20:07

Submitted Letter of teachers and students to attend the conference at MAEJO Universiity

Submitted Letter of teachers and students to attend the conference at MAEJO Universiity

Keywords: Submitted Letter of teachers and students,MAEJO Universiity

587

กำรส่งเสริมกำรผลิตผกั อนิ ทรยี ์ของเกษตรกรในเขตนครหลวงเวยี งจนั ทน์
สำธำรณรฐั ประชำธิปไตยประชำชนลำว

Support on Organic Products of Farmers in Vientiane,
Laos People’s Democratic Republic

Mr. Vongsavanh VONGKAYSONE

สาขาการจัดการ และ พฒั นาทรพั ยากร คณะผลติ กรรมการเกษตร มหาวทิ ยาลยั แมโ่ จ้ จงั หวัดเชยี งใหม่ ประเทศไทย 50290
Resources Management and Development, Faculty of Agricultural Production,
Maejo University, Chiangmai Province, Thailand 50290
E-mail: [email protected]

บทคัดยอ่

การศกึ ษาวจิ ยั นีม้ วี ตั ถุประสงค์ เพือ่ ศกึ ษาสถานการณ์และแนวทางการส่งเสรมิ การผลติ ผักอินทรีย์ของเกษตรกร
ในเขตนครหลวงเวียงจนั ทน์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยใช้ระเบียบวิธีวิจยั เชิงคณุ ภาพ จากการศึกษา
แบบทุติยภูมิจากข้อมูลบริบทชุมชนในการผลิตผักอินทรีย์ของเกษตรกรในพื้นท่ี และเสนอแนะแนวทางท่ีสอดคล้องกบั
นโยบายการสง่ เสริมการผลติ ผักอินทรยี แ์ ก่เกษตรกร ผลการวิจัย พบวา่ สถานการณก์ ารผลิตผกั อนิ ทรียข์ องเกษตรกรใน
เขตนครหลวงเวียงจนั ทน์ เกษตรกรส่วนใหญ่ยังใช้สารเคมีอย่างเข้มข้นในการเพาะปลูกพชื ผักเป็นจานวนมาก เนื่องจาก
สามารถลดการสญู เสยี จากแมลงศตั รพู ชื เพอื่ ต้องการผลผลติ จานวนมาก และมีปัจจยั หลายประการท่ีเป็นอุปสรรคตอ่ การ
เปล่ียนแปลงวิถีการผลติ ผักจากเกษตรเคมีเข้มขน้ ไปสู่เกษตรอินทรีย์ จึงมีขอ้ เสนอแนะแนวทางการส่งเสริม ดังน้ี 1) ควร
สนับสนุนการบริหารจัดการกลุ่ม โดยวิธีการรวมกลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตผกั อินทรีย์ 2) ควรมีการจัดฝึกอบรมให้ความรแู้ ก่
เกษตรกรอย่างต่อเนื่องเก่ียวกับดา้ นการควบคุมโรคและแมลงศัตรพู ืช 3) สนับสนุนทุนเมล็ดพันธุ์ผกั อินทรีย์ และวิธีการ
ผลิตปุ๋ยอินทรีย์ 4) ส่งเสริมเกษตรกรให้สามารถผลิตพืชผักอนิ ทรีย์ตรงตามมาตรฐานการรับรองเกษตรอินทรีย์ และ 5)
ส่งเสริมด้านการตลาดผักอนิ ทรีย์ เพื่อลดการนาเข้าและเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขัน สู่การส่งออกผักอนิ ทรีย์ใน
อนาคต

คำสำคัญ: ผักอนิ ทรยี ์ สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว

Abstract

The objective of this research was to study organic vegetable production by farmers in Vientiane
Capital, Lao PDR. This study used qualitative research methodologies based on secondary studies of
community data on organic vegetable production of local farmers and will suggest guidelines that are
in line with the policy of promoting organic vegetable production to farmers. The results of this study

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บัณฑติ ศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


588

showed that most farmers in Vientiane Capital use chemicals in vegetable cultivation. Several factors
hinder the change in the trajectory of vegetable production from concentrated chemical agriculture to
organic agriculture. There are recommendations for the promotion guidelines as follows: 1) Supporting
group management of how to integrate organic vegetable production 2) Providing training to farmers
regarding disease and pest control 3) Supporting organic seed purchasing and organic fertilizer
production methods 4) Encouraging farmers to produce organic vegetables under organic certification
standards, and 5) Promoting organic vegetable marketing to reduce imports and increase the
competitiveness of exporting organic vegetables in the future.

Keywords: organic vegetables, Laos People’s Democratic Republic

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บณั ฑติ ศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


589

คำนำ

เกษตรอินทรีย์ เป็นการทาการเกษตรด้วยหลักวิธีธรรมชาติ บนพื้นท่ีการเกษตรที่ไม่มีสารพิษตกค้างและ
หลีกเลี่ยงจากการปนเปื้อนของสารเคมีทางดิน ทางน้า และทางอากาศ เพื่อส่งเสริมความอุดสมสมบูรณ์ของดินแ ละ
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิเวศน์ และฟ้ืนฟูส่ิงแวดล้อมให้กลับคืนสู่สมดุลธรรมชาติ โดยไม่ใช้สารเคมี
สังเคราะห์หรือส่ิงท่ีได้มาจากการตัดตอ่ พันธุกรรม มีการใช้ปัจจัยในการผลิตที่มีแผนการจัดการอย่างเป็นระบบในการ
ผลิตภายใต้มาตรฐานการผลิตเกษตรอินทรีย์ให้ได้ผลผลิตสูงและอุดมไปด้วยคุณค่าทางอาหาร ปลอดสารพิษ โดยมี
วิธีการผลิตที่มีต้นทนุ ต่า เพ่ือส่งเสริมคณุ ภาพชีวติ แกเ่ กษตรกรและผูบ้ ริโภค มวลมนษุ ยชาติ รวมถงึ สรรพสิ่งชีวิตท้ังหลาย
สู่การผลติ ท่ีเป็นมิตรตอ่ สงิ่ แวดล้อม ไม่เป็นอันตรายตอ่ เกษตรกรและผู้บริโภค เปน็ ระบบเกษตรท่ีมีความย่ังยืนและเป็น
อาชีพท่ีม่ันคง (สรธน และพุฒิสรรค์, 2562) เกษตรอินทรีย์มีอยู่ร้อยละ 76 ของประเทศท่ัวโลก และมีพื้นท่ี 43.6 ล้าน
เฮกตาร์ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 1 ของพ้ืนที่เกษตรกรรมของโลก (Willer and Lernoud, 2016) สถานการณ์การทาเกษตร
อินทรยี ท์ ว่ั โลกมีอตั ราการเจรญิ เติบโตอย่างรวดเร็ว และผลผลติ ทไี่ ด้เป็นท่ตี ้องการของผ้บู ริโภคมากขึน้ อยา่ งต่อเนื่องทุกปี
สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) เป็นประเทศเล็กๆ ทไี่ ม่มที างออกสทู่ ะเลในเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ มี
พ้ืนฐานทางการเกษตรที่เข้มแขง็ โดยเกษตรกรรมคิดเป็นร้อยละ 27 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) มีกาลัง
แรงงานรอ้ ยละ 73 (Stillman and Rillo, 2015) ใน สปป.ลาว ส่วนใหญ่ยังคงเป็นเกษตรกรรมเพ่ือการยังชีพ ซ่ึงถือ
ได้ว่ามีบทบาทสาคัญอย่างมากในการดารงชีวิตในชนบท และในปัจจุบนั พ้ืนที่ชนบทในหลายๆ แห่งยังทาเกษตรแบบ
เกษตรอินทรีย์มาโดยตลอด เนื่องจากเกษตรกรไม่มีความรู้ในการการซ้ือและนาสารเคมีเหล่าน้ันมาใช้ได้อย่างถูกวิธี
อย่างไรกต็ ามแนวคิดของการทาเกษตรอินทรีย์ได้รบั การพฒั นาโดยองค์กรพัฒนาเอกชน และบรษิ ัทเอกชนที่มคี วามตั้งใจ
เขา้ ถึงตลาดที่มีคณุ ภาพ โดยรัฐบาลลาวได้มีส่วนร่วมในการริเริ่มส่ิงเหล่านี้ตั้งแต่เริ่มต้น ช่วงปลายปีค.ศ. 2000 การทา
เกษตรอินทรีย์ได้รับการส่งเสริมให้มีการเช่อื มโยงตลาด เมอ่ื หน่วยงานด้านการเกษตร องค์กรพฒั นาเอกชน สถาบนั การ
พัฒนาระหว่างประเทศ และหน่วยงานที่ให้ทุน ได้ตระหนักถึงโอกาสที่อาจเกิดขึ้นของเกษตรอินทรียใ์ นแงข่ องการกาจดั
ความยากจน นอกจากน้ีเกษตรอินทรีย์ คือระบบการผลิตท่ีคานึงถึงสภาพแวดลอ้ ม รักษาสมดุลของธรรมชาตแิ ละความ
หลากหลายของทางชีวภาพ มจี ดุ ประสงค์หลักในการทาเกษตรแบบยง่ั ยืนใหผ้ ลผลติ ทป่ี ลอดภยั ต่อทั้งผ้ผู ลิต และผ้บู รโิ ภค
โดยผ่านกระบวนการ ข้ันตอน และมาตรฐานท่ีผ่านการรองรับจากหน่วยงานในการตรวจสอบความปลอดภัย ดังน้นั ผู้วจิ ัย
จึงมีความสนใจท่ีจะศึกษาเก่ียวกับ แนวทางการส่งเสริมการผลิตผักอินทรีย์ของเกษตรกรในเขตนครหลวงเวียงจันทน์
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ให้มีประสิทธิภาพมากข้ึน อีกทั้งนาองค์ความรู้เพ่ือเผยแพร่ให้กับเกษตรกร
กลุ่มเปา้ หมายในพ้นื ทตี่ อ่ ไป

วธิ ีดำเนนิ กำรวจิ ยั

การวจิ ยั คร้ังน้ใี ชก้ ระบวนวิธีการวจิ ยั เชิงเอกสารเป็นเครื่องมือสาคัญ โดยผวู้ จิ ยั คดั เลอื กเอกสารระดบั ทุติยภมู ิ คอื
วรรณกรรมท่ีเกี่ยวข้องและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการวิจัย ประกอบด้วย บทความวิจัยและวิชาการท่ไี ด้รับการ
ตีพิมพ์เผยแพร่ เอกสารเผยแพรข่ องภาครัฐท่ีเกย่ี วข้อง และขอ้ มูลเชิงนโยบายทเ่ี ก่ียวขอ้ ง

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บัณฑิตศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


590

การวิเคราะห์ข้อมูล เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสารระดับทุติยภูมิตามแนวทางของ Scott (2006) ซ่ึงมี
หลักเกณฑ์ในการคัดเลือกเอกสารทีเ่ ก่ยี วข้อง ประกอบด้วย 1) มีความถูกตอ้ ง (Authenticity) คือ เป็นเอกสารท่ีมาจาก
แหลง่ เชอ่ื ถอื ได้ มคี วามถูกต้องสมบูรณ์ สอดคลอ้ งกับบรบิ ทของสถานการณท์ ี่เกดิ ขน้ึ ในการสง่ เสรมิ การผลติ ผักอนิ ทรยี ข์ อง
เกษตรกร 2) มีความน่าเช่ือถือ (Credibility) คือ เป็นเอกสารท่ีปราศจากขอ้ ผดิ พลาดและการบิดเบอื นขอ้ มลู 3) มีความ
เป็นตัวแทน (Representativeness) คือ เป็นเอกสารที่สามารถแสดงรายละเอียดแทนเอกสารประเภทเดียวกันได้
รายละเอียดสามารถเปน็ ตวั แทนกลุม่ ประชากรตัวอยา่ งได้ เชน่ สถานการณ์การปลูกผกั อนิ ทรีย์ของเกษตรกรใน สปป. ลาว
การรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ของลาว มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ และกระบวนการส่งเสริมการปลูกผักอินทรีย์ใน
สปป. ลาว เป็นต้น 4) มีความหมายชัดเจน (Meaning) คือ เป็นเอกสารท่ีสามารถเข้าใจได้ง่าย ชัดเจน สอดคล้องกบั
วัตถุประสงคแ์ ละนยั สาคญั ของการวิจัย (Mogalakwe, 2006)

ผลกำรวจิ ยั

จากการทบทวนวรรณกรรมที่เก่ียวขอ้ งกับประเด็นการส่งเสรมิ การผลติ ผกั อนิ ทรีย์ของเกษตรกร ในเขตนครหลวง
เวียงจันทน์ สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว รวมถึงแนวทางกระบวนการทใี่ ห้ความสาคัญกับการสง่ เสริมการผลิต
ผักอินทรยี ์ ประกอบดว้ ยรายละเอียด ดังนี้

1. สถานการณก์ ารปลูกผักอินทรยี ์ของเกษตรกรใน สปป. ลาว
ความต้องการผลผลิตอินทรยี ์มีอตั ราเพ่ิมสงู ขึ้นอยา่ งตอ่ เน่ืองทั้งใน สปป. ลาว และต่างประเทศ ซ่ึงสามารถ

อธิบายได้โดยการเพ่ิมข้ึนของผู้บรโิ ภคที่รายได้สูง อันเนื่องมาจากการเติบโตทางเศรษฐกิจในภูมิภาค การประชาสัมพันธ์
ความปลอดภัยด้านอาหาร ความนิยมบริโภคอาหารปลอดภัยและการขยายตัวของเมืองใน สปป. ลาว และภูมิภาค
สถานการณ์ดังกลา่ วอาจสรา้ งโอกาสให้ สปป. ลาว กลายเปน็ ผเู้ ชีย่ วชาญในดา้ นผลติ ภัณฑอ์ นิ ทรีย์ โดยมีเงื่อนไขว่าผผู้ ลิต
ต้องได้รับการรับรอง ทั้งนี้ สปป. ลาว มีศักยภาพในด้านเกษตรอินทรียม์ าก เนื่องจากโดยท่ัวไปเกษตรกรในพ้ืนท่ีชนบท
ไมไ่ ด้ใช้ป๋ยุ และยาฆา่ แมลงเหมอื นกบั ประเทศใกลเ้ คยี ง ซง่ึ สปป.ลาว มีนโยบายเก่ียวกบั เกษตรอินทรีย์ทเี่ ป็นศูนย์กลางใน
การขับเคลื่อนให้ไปสู่ความยั่งยืนทางดา้ นการผลิต การแปรรูป และการส่งเสริมให้มจี รรยาบันในการผลติ อาหารสะอาด
และปลอดภัย ในปี พ.ศ.2548 กระทรวงเกษตรและป่าไม้ ได้พัฒนามาตรฐานเกษตรอินทรีย์ที่ครอบคลุมการผลิตผัก
อินทรีย์ และได้จัดต้งั คณะกรรมการรับรองเพือ่ ควบคุมคุณภาพในปี พ.ศ.2551 คณะกรรมาธิการมีหน้าท่ีตรวจสอบและ
ออกบริการเกษตรอินทรีย์ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552 โดยมุ่งเน้นที่มาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP) เกษตร
อินทรีย์ (OA) การผลิตท่ีปลอดสารกาจดั ศตั รูพืช และการผลิตนิเวศเกษตรกรรม (แสงพะจนั , 2562) จากการท่ีรฐั บาล
สปป. ลาว ได้ส่งเสริมการทาเกษตรอินทรีย์ ปัจจุบันได้มีการจัดตั้งกลุ่มผลิตเกษตรอินทรีย์ทั้งหมด 1 นคร และ 7
จังหวัด 26 อาเภอ 22 กลุ่มเกษตรอนิ ทรยี แ์ ปลงใหญ่ ครอบคลมุ 88 กลมุ่ เลก็ มี 1,598 ครอบครัว ครอบคลุมพ้ืนที่ 3,002
เฮกตาร์ และผลผลติ เกษตรอนิ ทรยี เ์ ฉล่ยี 3,375 ตันตอ่ ปี โดยท่กี ารผลติ พชื ผกั และผลไมใ้ นเน้อื ท่ี 1,186 เฮกตาร์ ไดป้ รมิ าณ
ผลผลติ 1,457.64 ตนั ตอ่ ปี (กรมปลูกฝัง, 2559) การผลิตสนิ คา้ เกษตรอินทรยี ์ทผ่ี ่านระบบมาตรฐานอยใู่ นพื้นทน่ี ครหลวง
เวียงจันทน์มากทีส่ ุด และกระจายอยู่ในเมอื งใหญ่ตา่ งๆ ได้แก่ สะหวนั นะเขต หลวงพระบาง จาปาสัก เปน็ ตน้ ซึ่งผลผลิต
ส่วนใหญ่เปน็ พชื ผัก ผลไม้ และข้าว โดยผลผลติ เหลา่ นไ้ี ด้รับการรับรองประมาณ 3,375 ตันต่อปี และสามารถสรา้ งรายได้

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บณั ฑติ ศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


591

โดยเฉลีย่ ต่อครัวเรือนระหว่าง 70 – 100 ลา้ นกบี หรอื 300,000 บาทต่อปี ซึง่ มากกวา่ 10-12 เท่า ของรายได้จากการทา
การเกษตรแบบท่วั ไป (จอหนน่ี, 2565)

ถึงแม้ว่ารัฐบาล สปป. ลาว มีการกาหนดนโยบายและให้การส่งเสริมการทาเกษตรอินทรีย์ แต่เกษตรกรผ้ผู ลิต
ผักอินทรยี ์ขนาดเลก็ ยังประสบกบั ปัญหาในการเข้าถึงแหลง่ เงนิ กู้ ในกรณีทีส่ ามารถเขา้ ถงึ แหล่งเงินกูไ้ ด้ อตั ราดอกเบ้ียกจ็ ะ
สูงถึง 36 เปอรเ์ ซ็นต์ และไมม่ ีความความยดื หย่นุ เพียงพอเพอ่ื ให้เหมาะสมกับรอบการผลิต เกษตรกรบางรายสามารถขาย
ผลผลิตได้ บางรายไม่มีระบบการเก็บรกั ษาพืชผกั ท่ีขายไมห่ มด นอกจากนี้เกษตรกรยังคงตอ้ งการใหภ้ าครัฐจัดสรรสถานที่
ถาวรเพอ่ื ขายผกั อนิ ทรยี ์ การพฒั นาระบบโรงเรือนให้ได้มาตรฐานสากล และยงั ขาดองคค์ วามร้ใู นเรื่องของเทคนคิ การผลติ
การพัฒนาบรรจุภณั ฑ์ ทง้ั นีเ้ กษตรกรยงั ไมท่ ราบว่าหนว่ ยงานใดที่รับผดิ ชอบช่วยเหลือในการเขา้ ถงึ ตลาดเพอื่ ขยายการผลติ
ผักอนิ ทรยี ์ อีกประเดน็ ปัญหาสาคญั เกษตรกรยงั เหน็ วา่ การไดร้ บั การรับรองผลผลติ อนิ ทรียเ์ ปน็ การเรยี กรอ้ งคา่ ใช้จ่ายและมี
ขน้ั ตอนทีซ่ ับซ้อน โดยเฉพาะกบั ผปู้ ระกอบการขนาดเล็กหรือเกษตรกรยากจนผู้ซงึ่ ยังขาดขอ้ มูลข่าวสารวา่ มาตรฐานเกษตร
อนิ ทรยี ์ฉบบั ใดท่ีผ้บู ริโภคใหค้ วามเชอื่ ถือ (แสงพะจนั , 2562)

2. มาตรฐานเกษตรอินทรยี ข์ อง สปป. ลาว
มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ฉบบั แรกของ สปป. ลาว ได้รบั การสร้างขึ้น (Department of Agriculture, 2005)

โดยกาหนดตรามาตรฐานการรบั รอง ดงั Figure 1 องิ ตามมาตรฐานสหพนั ธ์เกษตรอินทรยี ์นานาชาติ (IFOAM) จนปัจจบุ นั
ได้มีการจัดตั้งกลุ่มผลิตเกษตรอินทรีย์ทั้งหมด 1 นคร และ 7 จังหวัด (กรมปลูกฝัง, 2559) โดยกลุ่มอินทรีย์นครหลวง
เวียงจันทน์ ซ่งึ เปน็ กลุม่ พชื ผกั และผลไม้อนิ ทรีย์ทปี่ ฏบิ ตั ติ ามมาตรฐานเกษตรอินทรียล์ าวในการผลติ ทุกข้ันตอนภายใตก้ าร
ดูแลของกรมปลูกฝงั (DOA) ท่คี อยผลักดันและส่งเสริมการผลติ ให้ไดต้ ามมาตรฐาน เนือ่ งจากพืชผกั เปน็ พชื เศรษฐกิจท่มี ี
ความสาคัญเป็นแหล่งอาหารทสี่ าคญั ของมนษุ ย์ กลุม่ เกษตรอนิ ทรยี ์นครหลวงเวยี งจันทน์จึงเป็นกลมุ่ ทมี่ บี ทบาทสาคัญใน
การผลิตและตอบสนองความต้องการของกลุ่มผู้บริโภคพืชผักอินทรีย์ในพื้นที่ที่ต้องการบริโภคผลผลิตและผลิตภณั ฑ์ที่
สะอาดปลอดภัยจากสารเคมีทางการเกษตร โดยมาตรฐานเกษตรอินทรียจ์ ะครอบคลุมการปฏบิ ัตหิ ลงั การเก็บเกยี่ วและ
การแปรรปู ผลิตภณั ฑ์ การเกบ็ เกยี่ วผลผลติ จากธรรมชาติ พัฒนาขึ้นในชว่ งเร่ิมต้นโดยกาหนดเอาพื้นฐานมาตรฐานเกษตร
อินทรีย์ของสหพันธ์เกษตรอินทรีย์นานาชาติ (International Federation of Organic Agriculture Movement -
IFOAM) ข้ันพื้นฐานตามมาตรฐานของการรบั รองเกษตรอินทรีย์ไทย (Panyakul, 2012) เป็นมาตรฐานท่ีกระทรวงกสิกร
รมและป่าไมไ้ ด้กาหนดใหเ้ ป็นมาตรฐานทีค่ มุ้ ครองการทาเกษตรอนิ ทรยี ์ใน สปป. ลาว ในปี 2005 ซง่ึ ต่อมาในปี 2011 ได้มี
การปรับปรุงและจดั ต้ังระบบควบคมุ การผลติ ในระดบั สากลใหแ้ ก่ ผู้ผลติ ขนาดเล็ก แต่ในปัจจุบันหน่วยตรวจรับรองเกษตร
อินทรีย์ลาว (Lao Certification Body - LCB) (Figure 1) มีหน้าที่เพียงแต่เน้นในการตรวจสอบเกษตรอินทรีย์และ
กิจกรรมการผลิตตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ แม้ว่าหน่วยงานดังกล่าวจะยังไม่ได้รับการยอมรับระดับนานาชาติ แต่
สาหรบั การตรวจสอบรบั รองก็ถอื วา่ ผลงานท่ผี ่านมานน้ั เปน็ ทย่ี อมรับกนั อย่างแพร่หลาย ในฐานะที่ได้ถูกแต่งตงั้ และรบั การ
รบั รองจากรัฐบาลในช่วงไตรมาสแรก ผปู้ ระกอบการเกษตรอนิ ทรียส์ ว่ นใหญใ่ นลาวคดิ เป็นร้อยละ 72.6 ได้รบั การรบั รอง
จาก LCB ซึ่งมีเพียงร้อยละ 26.9 ท่ียังไม่มีการรับรอง ในขณะท่ีมีน้อยกว่าร้อยละ 0.5 เท่านั้นท่ีได้รับการรับรองจาก
ตา่ งประเทศ (จอหนนี่, 2565)

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บัณฑติ ศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


592

Figure 1 Lao Certification Body
สรุปได้ว่า มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ เป็นมาตรฐานท่ีสร้างขน้ึ ในเบอื้ งตน้ เพือ่ กาหนดเอาพน้ื ฐานมาตรฐานเกษตร
อินทรีย์ของสหพันธ์เกษตรอินทรีย์นานาชาติ (International Federation of Organic Agriculture Movement -
IFOAM) เปน็ มาตรฐานทีค่ ุ้มครองการทาเกษตรอนิ ทรยี ใ์ น สปป. ลาว มาตรฐานเกษตรอินทรยี ค์ รอบคลุมการเก็บเกี่ยวและ
การแปรรูปผลิตภณั ฑ์ การเก็บเก่ียวผลติ ภัณฑจ์ ากธรรมชาติ ซง่ึ ทาใหก้ ารคุ้มครองระดับมหาภาคของแขนงปลกู ฝังสามารถ
ดาเนนิ การตรวจสอบและรับรองผลติ ภัณฑอ์ นิ ทรยี ์จากผลผลิตพืชตามข้ันตอนในทุกขั้นตอน ตัง้ แตก่ ารผลติ ในฟารม์ จนถึง
การแปรรูปเป็นผลติ ภณั ฑ์ (กระทรวงกสกิ รรมและปา่ ไม้, 2548)

3. กระบวนการสง่ เสริมการปลูกผกั อินทรียใ์ น สปป. ลาว
การสนับสนุนด้านการทาเกษตรอินทรีย์ จากการศึกษาพบว่าทั้งภาครัฐและเอกชนเข้ามามีบทบาทในการ

ส่งเสรมิ ใหเ้ กษตรกรปลูกผกั อนิ ทรยี ์ เช่น โครงการส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษ "เกษตรอนิ ทรยี ์ ท่ีย่งั ยืน" (สาธารณรฐั
ประชาธิปไตยประชาชนลาว) โดยบริษทั ซี.พี.ลาว จากัด ซึ่งได้ส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกผักปลอดสารพิษ ในพ้ืนที่ที่มีอยู่
และนามาจาหนา่ ยในชอ่ งทางตา่ งๆ ทาใหไ้ ดพ้ ชื ผกั ทมี่ ีคณุ ภาพ ไมม่ สี ารพษิ ตกคา้ ง เกดิ ความปลอดภัยแก่ผูบ้ รโิ ภค ช่วยให้
เกษตรกรผ้ปู ลูกผักมีสุขภาพอนามัยดีขึ้น เนือ่ งจากไม่มกี ารฉดี พน่ สารเคมปี อ้ งกนั และกาจัดศตั รูพชื ลดตน้ ทุนการผลิตของ
เกษตรกรด้านค่าใชจ้ า่ ยในการซ้ือสารเคมปี อ้ งกันและกาจดั ศตั รพู ชื ชว่ ยใหเ้ กษตรกรมรี ายไดเ้ พ่ิมขึ้น เนอ่ื งจากผลผลติ ทไี่ ด้
มีคุณภาพทาให้สามารถขายผลผลิตได้ มีการให้ความรู้เก่ียวกับเกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์ รวมถึงความรู้เรื่อง
เทคนิควิธีการผลิตแบบทันสมัย นอกจากนี้ยังมีการจัดตั้งกลุ่มหรือองค์กรส่วนรวมในด้านกสิกรรมของ สปป. ลาว
ประกอบดว้ ย การเพาะปลกู การเล้ียงสัตว์ การทาประมง การแปรรูป และการบริการในเกษตรกรรมและปา่ ไม้ ซ่ึงกลมุ่ จะ
มีคณะกรรมการบริหารกลุ่มในการจัดการ เช่น พัฒนาแผนการผลิต การตลาดและการบริการ จัดหาวัสดุในการผลิต
การตลาด และบริการแกส่ มาชกิ ในกล่มุ ปกปอ้ งสิทธิและผลประโยชนข์ องสมาชิกในกลุ่ม เปน็ ต้น โดยในด้านภาครัฐพบว่า
แผนกส่งเสริมกสิกรรมและสหกรณ์ กระทรวงกสิกรรมและป่าไม้ ได้มีการส่งเสริมให้เกษตรกรใน สปป. ลาว ได้ปลูกพืช
แบบออร์แกนิค โดยมีการจดั ตง้ั กลมุ่ ผผู้ ลิตผกั ออร์แกนคิ ในหลายพื้นท่ี เช่น ท่ีนครหลวงเวียงจนั ทน์ แขวงจาปาศกั ด์ิ และ
แขวงหลวงพระบาง เป็นต้น ซึ่งเกษตรกรผู้ปลกู ผกั ออร์แกนิคในนครหลวงเวยี งจันทน์ มีสมาชิกทั้งหมด 20 ราย ผกั ท่ปี ลกู
ไดแ้ ก่ ผกั ชีลาว ผักกาดแก้ว มะเขือเทศ และกวางตงุ้ เป็นต้น โดยแผนกส่งเสริมกสกิ รรมและสหกรณ์ได้เข้าไปสนับสนุนใน
สว่ นของอุปกรณ์ในการเพาะปลูก เช่น สปริงเกอร์นา้ โรงเรือน และได้ให้ความรู้ในการเพาะปลูกแบบออร์แกนิค การ
ใช้ปุ๋ย การดูแล การเก็บเกี่ยว รวมไปถึงการชลประทาน ส่วนทางด้านการจาหน่ายผลผลติ ทางกลุ่มไดร้ วมกลุ่มกันขนส่ง

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บัณฑติ ศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


593

และไปจาหนา่ ยทต่ี ลาดกลุ่มอนิ ทรีย์ ซ่งึ เป็นตลาดเกษตรอนิ ทรยี ท์ ่ีปลอดสารเคมี ดังนั้นสิ่งทีเ่ ปน็ ปัจจยั สาคญั ในกระบวนการ
ปลกู ผักอินทรียข์ องเกษตรกรนอกจากการสนับสนนุ ของภาครฐั และเอกชนแล้ว เกษตรกรควรมคี วามรู้ การจัดการหน้ีสิน
แหลง่ เงินทุน พื้นท่ปี ลกู และเครือข่าย เขา้ มาเกี่ยวข้องดว้ ย

4. กาหนดแนวทางปจั จยั สู่ความสาเรจ็ ในการผลิตผักอินทรีย์
ปจั จบุ นั เกษตรกรใน สปป. ลาว เริม่ หันมาให้ความสนใจผลิตผักอินทรยี ์เพ่ิมมากขึ้น แต่การปลูกผกั อินทรีย์

ยังเป็นเพียงส่วนน้อยเม่ือเปรียบเทียบกับเกษตรกรผู้ปลูกผักทั้งประเทศ ถึงแม้ว่ารัฐบาลจะมีนโยบายส่งเสริมการทา
การเกษตรอินทรีย์มาเป็นระยะเวลาหลายปแี ล้วก็ตาม ปัญหาและอปุ สรรคทพ่ี บจากการทบทวนวรรณกรรม พบว่า การ
ปรบั เปล่ียนทศั นคตขิ องเกษตรกรใน สปป. ลาว ใหห้ นั มาสนใจการทาการเกษตรอินทรีย์น้ันทาไดค้ อ่ นขา้ งยาก เน่ืองจาก
เกษตรกรส่วนใหญ่ขาดความรู้ความเข้าใจเกยี่ วกับการห้ามใช้ปุ๋ยเคมีและใช้สารเคมี ในส่วนของระบบการผลติ พืช รวมท้ัง
ประเดน็ เก่ียวกับการผลิตและการใช้ปยุ๋ อินทรยี จ์ ะต้องนามาผ่านกระบวนการหมักกอ่ นท่ีจะนาไปใช้ สร้างความย่งุ ยากต่อ
กระบวนการผลิต ถึงแม้ว่าเกษตรกรจะมที ัศนคตทิ ่ีดตี ่อเกษตรอนิ ทรยี ์ แตเ่ กษตรอินทรยี ์ยังคงมีกระบวนการท่ีซบั ซอ้ นสรา้ ง
ความลาบากใหก้ ับเกษตรกร ดงั นั้นจงึ เปน็ สาเหตุหลกั ทเ่ี กษตรกรใน สปป. ลาว ยังคงเลอื กทีจ่ ะใชส้ ารเคมใี นการเพาะปลูก
พืชผักอินทรีย์ในการควบคุมศัตรูพืช เนื่องจากเกิดความสะดวกและเห็นผลไวต่อผลผลิต (ณัชชา และดุสิต, 2556)
นอกจากน้ีมีปัจจัยสาคัญประกอบด้วย 14 ข้อหลัก ในการผลิตผักอินทรีย์ให้ประสบความสาเร็จ (คริษฐ์ สพล, 2558)
ดังน้ี 1) การจัดการปัจจยั การผลิตให้มีเพียงพอเป็นไปตามมาตรฐานเกษตรอนิ ทรีย์และสามารถเข้าถึงได้ 2) การจัดการ
ระบบการผลติ ที่เหมาะสมและมคี วามรูค้ วามเขา้ ใจในการประกอบธุรกจิ ผักอินทรียข์ องผู้ผลติ 3) ศักยภาพในการผลิตผัก
อินทรีย์และทัศนคติที่ดีต่อผักอินทรีย์ของผู้ผลิตและผู้ประกอบการ 4) การตลาดผักอินทรีย์ท่ีเอื้อให้ผู้บริโภคเข้าใจผัก
อนิ ทรียแ์ ละขยายความตอ้ งการของผ้บู รโิ ภค 5) การจัดการระบบโลจิสติกส์ทสี่ นับสนุนผกั อนิ ทรีย์ 6) พฤตกิ รรมของผู้บรโิ ภค
ผักอินทรีย์ที่เหมาะสมและความเชื่อม่ันของผบู้ ริโภค 7) กลุ่มและเครือข่ายผักอนิ ทรียท์ ี่ครอบคลุมและเข้มแข็ง 8) การ
สื่อสารและประชาสัมพันธ์เชิงรุกท่ีก่อให้เกิดผลกระทบเชิงพฤติกรรมท่ีดีต่อผักอินทรีย์ของผู้ท่ีเก่ียวข้องท้ังหมด 9)
มาตรฐานและระบบการรับรองผกั อินทรีย์ท่ีชัดเจนเหมาะสม 10) ฐานข้อมลู ผกั อินทรีย์ที่น่าเชื่อถอื และสามารถเข้าถึงได้
ครอบคลุมในทกุ ๆ ดา้ น 11) การวจิ ัยท่สี นับสนุนการดาเนินงานเกย่ี วกับผักอนิ ทรีย์ 12) การสนบั สนนุ จากหน่วยงานภาครฐั
และภาคเอกชนอย่างจริงจังและต่อเน่ือง 13) ศักยภาพและทัศนคติที่ดีต่อเกษตรอินทรีย์ของเจ้าหน้าท่ีหน่วยงานรัฐที่
เก่ยี วขอ้ ง และ 14) นโยบายและกฎหมายท่สี นบั สนุนผักอนิ ทรียท์ ่ีเหมาะสม

5. ปัญหาและอุปสรรคในการส่งเสรมิ การผลติ ผกั อนิ ทรียข์ องเกษตรกร
ในส่วนของปัญหาและอุปสรรคในการส่งเสริมการผลิตผักอินทรีย์ของเกษตรกร จากการรวบรวมข้อมูล

สามารถสรุปประเด็นท่ีสาคญั จากปญั หาและอปุ สรรค ได้ดังนี้ 1) ตลาดสินคา้ เกษตรอินทรียใ์ นประเทศยงั มีขนาดเล็ก ส่วน
หนง่ึ เน่อื งจากการประชาสัมพนั ธ์ใหค้ วามรู้ความเข้าใจท่ีถกู ต้องแกเ่ กษตรกรและผูบ้ รโิ ภคท่วั ไปไม่เพียงพอ ทาใหผ้ บู้ รโิ ภคไม่
เข้าใจความแตกต่างระหวา่ งผลิตภณั ฑ์อินทรีย์กับผลิตภณั ฑท์ ่ีมคี าเรียกคณุ สมบัตคิ ล้ายกัน รวมท้งั ขาดความมั่นใจในสินค้า
เกษตรอินทรยี ์ 2) ราคาไมแ่ ตกต่างจากสนิ คา้ เกษตรเคมี และสนิ ค้าในตลาดยังไม่หลากหลาย สว่ นใหญเ่ ป็นสนิ ค้าข้ันตน้ มีการ
แปรรูปนอ้ ย ทาให้ไม่สามารถสรา้ งมูลคา่ เพิ่มได้ ทง้ั ๆ ท่ีผู้บริโภคสินค้าอินทรยี ส์ ่วนใหญ่มีกาลงั ซื้อในระดับสูง 3) เกษตรกรขาด
แรงจูงใจในการปรบั เปลี่ยนมาสวู่ ถิ กี ารผลติ แบบเกษตรอินทรีย์ ซงึ่ การปรบั เปล่ยี นจากเกษตรเคมมี าเป็นเกษตรอินทรียใ์ ช้ระยะ

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บณั ฑิตศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


594

เวลานานและมคี วามเสีย่ งสูงและให้ผลกาไรในระยะแรกตา่ รวมถงึ การรวมกลมุ่ ของเกษตรกรในลักษณะเครือขา่ ยทจ่ี ะช่วยให้
เข้าถึงแหล่งข้อมูลดา้ นการตลาดทด่ี ีและประหยัดต่อขนาดในการผลติ และขนสง่ มีจากัด 4) ระบบการรับรองมาตรฐานของ
สินค้าเกษตรอินทรีย์มีลักษณะแยกส่วนตามประเภทผลิตภัณฑ์ ซึ่งเป็นภาระค่าใช้จ่ายและต้นทุนแก่ผู้ประกอบการและ
เกษตรกรท่ผี ลติ สนิ ค้าอนิ ทรยี ์หลายประเภท รวมทั้งการขอการรบั รองมาตรฐานจากหน่วยงานต่างประเทศยงั มีคา่ ใช้จ่าย
สูง สินค้าส่งออกบางสว่ นมีการปลอมปนสินค้าท่ีไม่ได้รับรองตามมาตรฐานเกษตรอนิ ทรีย์ท่ีถกู ต้อง 5) องค์ความรู้ในเชงิ
วิชาการดา้ นเกษตรอนิ ทรียไ์ ม่เพยี งพอและตรงตามความต้องการของตลาดและผู้ประกอบการ โดยยงั ไมส่ ามารถบรู ณาการ
งานวจิ ยั ที่มอี ยูเ่ พ่อื เชอื่ มโยงไปสู่การปฏบิ ัตไิ ดอ้ ยา่ งเปน็ รปู ธรรม ฐานขอ้ มลู เกษตรอินทรยี ์มีจากดั และเขา้ ถงึ ไดย้ าก รวมทงั้
ยังขาดบุคลากรทมี่ ที กั ษะและความรคู้ วามชานาญด้านการเกษตรอนิ ทรีย์ในเชิงลึก และเจ้าหนา้ ทภ่ี าครฐั ท่ีเก่ยี วขอ้ งยงั ขาด
ความรู้ความเข้าใจเกษตรอินทรีย์อย่างแท้จริง 6) การพัฒนาและขับเคล่ือนเกษตรอินทรีย์ขาดความเช่ือมโยงระหว่าง
ภาครัฐและเอกชนอย่างมีเอกภาพ ส่งผลให้เกดิ ความซา้ ซอ้ นในกระบวนการทางาน ทาให้การจัดสรรงบประมาณสนับสนุน
การพฒั นาเกษตรอินทรีย์ภายใตแ้ ผนยทุ ธศาสตรข์ องหนว่ ยงานที่เก่ียวขอ้ งไม่สามารถดาเนินงานไดอ้ ยา่ งเต็มที่ ตลอดจนมี
ความขดั แยง้ ในประเด็นโยบายซงึ่ เปน็ อปุ สรรคตอ่ การพฒั นาเกษตรอนิ ทรยี ์

วิจำรณผ์ ลกำรวจิ ัย

ปัจจุบันเกษตรกรจานวนมากในนครหลวงเวียงจันทน์ สปป.ลาว เร่ิมตระหนักถึงคุณค่าของพืชผักอินทรีย์ซึ่ง
ปราศจากสารเคมแี ละดีตอ่ สุขภาพ อีกทงั้ เจ้าหนา้ ทภี่ าครฐั ส่งเสรมิ กระตนุ้ ให้เกษตรกรเพมิ่ ผลผลิตผกั อนิ ทรีย์เพอื่ นาไปจัด
จาหน่าย รวมท้ังสถานการณ์ของประชาชนใน สปป.ลาว หันมาใส่ใจสุขภาพตนเองมากขึ้น ปัญหาและอุปสรรคพบว่า
เกษตรกรผู้ผลิตพืชผักอนิ ทรยี ์ไม่สามารถเพ่มิ ผลผลิตตามความต้องการของตลาดไดอ้ ยา่ งทนั ที เนื่องจากขาดความรูค้ วาม
เข้าใจด้านการผลิตที่ตรงตามมาตรฐานการรับรองเกษตรอินทรีย์ใน สปป.ลาว อีกทั้งแนวทางการปฏบิ ัติตามมาตรฐาน
เกษตรอินทรียข์ องเกษตรกร พบวา่ เกษตรกรเกิดปญั หาในการปอ้ งกนั การระบาดของโรคและแมลงศตั รูพืช ทส่ี ง่ ผลตอ่ การ
ผลิตพืชผักอินทรียใ์ น สปป.ลาว และทยี่ ังขาดแคลนเมล็ดพนั ธอ์ุ นิ ทรยี ์ ความร้เู กี่ยวกบั กระบวนการทาปุ๋ยอินทรีย์ รวมทงั้
ต้นทนุ การดาเนนิ การในสรา้ งโรงเรอื น นอกเหนอื จากปัญหาเก่ยี วกับวธิ ีการปฏิบตั ติ ามมาตรฐานเกษตรอนิ ทรีย์ อีกทั้งพบ
ปญั หาระบบการตลาดและการจดั จาหนา่ ยผลผลติ พืชผกั อนิ ทรยี ์ทมี่ ปี ระสิทธภิ าพ สอดคล้องกบั (จอหนน่ี หลวงผา่ น และ
คณะ, 2565)

สรุปผลกำรวจิ ัย

จากการทบทวนวรรณกรรมท้งั ใน สปป.ลาว และประเทศไทย มีการศึกษาเก่ียวกับการผลิตผักอนิ ทรีย์ ในด้าน
การปลูกผักที่คานึงถึงความปลอดภัยของผู้ผลิตและผู้บริโภคและเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม คุณค่าของพืชผักอิ นทรีย์ท่ี
ปราศจากสารเคมีและดตี ่อสขุ ภาพ แนวทางการปฏิบตั ติ ามมาตรฐานการผลิตพืชอินทรียเ์ พอื่ ให้ผลผลิตเป็นทยี่ อมรบั ของ
ผู้บริโภคทั้งในประเทศและในระดับสากล รวมท้ังปัญหาและอุปสรรคท่ีพบในปัจจบุ ันและเป็นปัญหาต่อเกษตรกรผ้ผู ลิต
พชื ผักอินทรยี ต์ อ่ การปฏบิ ตั ิตามมาตรฐานเกษตรอนิ ทรยี ท์ ี่สาคัญ คอื ความรูค้ วามเข้าใจกระบวนการผลติ ในการใช้ปุ๋ยเคมี
สารเคมสี งั เคราะหต์ า่ งๆ ในการกาจัดศัตรพู ชื และวัชพืช และการใช้ฮอรโ์ มนสงั เคราะห์ การขาดองค์ความรู้ กระบวนการ

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บัณฑติ ศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


595

ผลิต แนวทางขั้นตอนต่างๆ อีกทั้งภาครัฐขาดความตอ่ เน่ืองในการเผยแพร่ความรู้ ซ่ึงส่งผลต่อความเข้าใจ เกิดการขาด
ความสนใจและขาดความเชื่อม่ันต่อการทาเกษตรอนิ ทรีย์ ดังน้ันข้อเสนอแนะจากการวจิ ยั เอกสาร มีดังนี้คือ 1) ทุกภาค
ส่วนที่เกี่ยวข้องควรจัดทาโครงการหรือกิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการเพ่ือให้ความรู้เร่ืองการทาเกษตรอินทรีย์แก่
เกษตรกรอย่างต่อเนื่อง 2) ควรสนับสนับทุนและสร้างความร่วมมือของหน่วยงานรัฐกับภาคเอกชน โดยการร่วม
ปรึกษาหารือระหวา่ งเจ้าหน้าท่กี ับผ้เู ช่ียวชาญทางการดา้ นการผลิตและด้านการตลาด 3) ให้การสนับสนุนดา้ นตน้ ทนุ ใน
การผลติ และปัจจยั การผลติ เชน่ เมล็ดพนั ธ์ุผกั อนิ ทรยี ์ ป๋ยุ อนิ ทรยี ์ เป็นตน้ รวมท้ังสง่ เสรมิ การจัดจาหน่าย วางแผนระบบ
การตลาดท่ีมีประสิทธิภาพ สามารถเข้าถงึ ผบู้ รโิ ภคไดอ้ ย่างแทจ้ ริง นอกจากการชว่ ยเหลือดา้ นปจั จัยตา่ งๆ แลว้ หน่วยงาน
ท่ีเกี่ยวขอ้ งจะต้องวางแผนการดาเนินงานอยา่ งบูรณาการแบบมสี ว่ นรว่ มจากทกุ ภาคส่วน ไดแ้ ก่ กรมปลูกฝงั (DOA) แผนก
มาตรฐาน และศูนย์กสิกรรมสะอาด ที่รับผิดชอบดูแลกลุ่มเกษตรอินทรีย์ และหน่วยงานต่างๆ ที่เก่ียวข้อง เพ่ือให้เกิด
ประสิทธิผลมากยง่ิ ข้นึ

กติ ติกรรมประกำศ

ผ้วู ิจยั ขอขอบพระคุณ หนว่ ยงานทเี่ กยี่ วข้อง เชน่ กรมปลกู ฝัง แผนกกสกิ รรมและปา่ ไมน้ ครหลวงเวียงจนั ทน์ และ
หน่วยงานตรวจรับรองเกษตรอินทรีย์ของ สปป.ลาว เป็นต้น ท่ีสละเวลาอันมีค่าสนับสนุนนาส่งข้อมูลท่ีสาคัญต่อการ
รวบรวมเพื่อนามาเรยี บเรียงข้อมูล โดยการวิเคราะหเ์ ปน็ บทความวิชาการ และสรุปผลการศึกษาจากเอกสารต่างๆ ในคร้งั
นี้ ซ่ึงเปน็ ประโยชน์ต่อการวจิ ยั เป็นอยา่ งยงิ่

เอกสำรอำ้ งอิง

กระทรวงกสิกรรมและปา่ ไม.้ 2548. ข้อตกลงของรัฐมนตรีวำ่ กำรกระทรวงกสกิ รรมและปำ่ ไมว้ ่ำด้วยมำตรฐำนเกษตร
อินทรีย์. นครหลวงเวียงจันทน.์ 20 หนา้ .

กรมปลูกฝัง. 2559. แผนดำเนินงำนยุทธศำสตร์ด้ำนเกษตรอินทรีย์ ปี 2025, วิสัยทัศน์ถึงปี 2030. นครหลวง
เวยี งจนั ทน์: กระทรวงเกษตรและปา่ ไม.้ 42 หนา้ .

ครษิ ฐ์สพล หนูพรหม. 2558. การผลิตผกั อนิ ทรยี .์ วารสารวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 23(6): 955-969.
จอหนน่ี หลวงผ่าน. 2565. กำรปฏิบัติตำมมำตรฐำนเกษตรอินทรีย์ของเกษตรกรผู้ปลูกผักอินทรีย์ในนครหลวง

เวยี งจันทน์ สำธำรณรฐั ประชำธปิ ไตยประชำชนลำว. วทิ ยานพิ นธป์ รญิ ญาโท. มหาวิทยาลัยแมโ่ จ.้ 163 หน้า.
ณชั ชา ลกู รกั ษ์ และดสุ ิต อธินุวฒั น์. 2556. ปญั หาและอปุ สรรคในการปรับเปลีย่ นเพอ่ื การผลิตพชื ผกั อนิ ทรีย์ของเกษตรกร

จังหวัดราชบุรีท่ีผ่านการอบรมโครงการพัฒนาระบบเกษตรอินทรีย์. Thai Journal of Science and
Technology 2(2): 125-133.
สรธน ธิติสุทธิ และพุฒิสรรค์ เครือคา. 2562. ปัจจัยท่ีมีผลต่อความต้องการรับการส่งเสริมการปลูกผักอินทรีย์ของ
เกษตรกรในตาบลแมแ่ ฝกใหม่ อาเภอ สันทราย จังหวดั เชยี งใหม่. วารสารวจิ ยั และสง่ เสรมิ วิชาการเกษตร 36(3),
86-95.
แสงพะจนั สอนทะวิไล. 2562. 5 แนวทำงเพื่อพยงุ กำรผลติ ผักอนิ ทรีย.์ สปป. ลาว: กระทรวงเกษตรและปา่ ไม.้ 18 หนา้ .

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บัณฑติ ศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


596

Department of Agriculture. 2005 . Decision of the Minister of Agriculture and Forestry on organic
agriculture standards. Vientiane: Ministry of Agriculture and Forestry. 6 p.

Mogalakwe, M. 2006. The use of documentary research Methods in social research. African Sociological
Review 10(1) 221-230.

Panyakul, V. 2012. Lao's Organic Agriculture: 2012 Update. Vientiane: Earth Net Foundation Green
Net. 13 p.

Scott J. 2006. Social Research and Documentary Sources. Sage Benchmarks in Social Research
Methods, Documentary Research. Volume 1. London: SAGE Publication. Pp. 3 –40.

Stillman, G.B. and Rillo, A.D. 2015. Agricultural Statistics for CLMV Countries. In Boosting Agriculture in
the Lower Mekong. Japan: Asian Development Bank Institute. 199 p.

Willer H. and Lernoud J. 2016. The world of organic agriculture. Statistics and emerging trends
2016. Frick – Switzerland: Research Institute of Organic Agriculture (FiBL) and IFOAM. 340 p.

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บัณฑติ ศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


597

กลยุทธ์กำรบริหำรงำนบำรุงรักษำทำงพิเศษทีเ่ ป็นมิตรกบั ส่ิงแวดลอ้ ม ในเขตกรุงเทพมหำนคร
Strategies for Eco-friendly Expressway Maintenance Management
in Bangkok Area

ณัฐฐำพร ทว้ มประดิษฐ์

Natthaporn Thuampradit

สาขาการจดั การ และ พฒั นาทรัพยากร คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลยั แม่โจ้ จงั หวดั เชียงใหม่ ประเทศไทย 50290
Resources Management and Development, Faculty of Agricultural Production,
Maejo University, Chiangmai Province, Thailand 50290
[email protected]

บทคดั ย่อ

บทความนีม้ วี ตั ถปุ ระสงคท์ ี่จะนาเสนอและอธิบายถึงกลยุทธใ์ นการบริหารงานบารงุ รกั ษาทางพิเศษ ควบคูไ่ ปกบั
มาตรฐานระบบจัดการส่ิงแวดล้อม ISO 14001 โดยใช้วธิ กี ารวจิ ัยเชิงคณุ ภาพเป็นขอ้ มูลทตุ ิยภูมิ จากการทบทวนเอกสาร
ใช้การวิเคราะห์เชิงพรรณนาเพื่ออภิปรายว่ากลยุทธ์การบริหารง านบารุงรักษาทางพิเศษส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อ ม
อย่างไร รวมไปถึงแนวทางการพฒั นาอันนามาสคู่ วามยง่ั ยนื ของส่ิงแวดลอ้ ม ซึง่ ผลการศกึ ษา พบว่า ภาพรวมของกลยุทธใ์ น
บริหารงานบารุงรักษาทางพิเศษกับการจัดการส่ิงแวดล้อม แสดงถึงการกาหนดนโยบายและการดาเนินงานด้านความ
รับผิดชอบต่อสังคม ส่วนความท้าทายของกลยุทธ์ในการบริหารงานบารุงรักษาทางพิเศษ ควบคู่ไปกับมาตรฐานระบบ
จัดการส่งิ แวดลอ้ ม ISO 14001 อนั ส่งผลกระทบต่อส่งิ แวดล้อมแบ่งเป็น 4 ด้าน ไดแ้ ก่ การเตรียมความพรอ้ มในดา้ นต่างๆ
รองรับการดาเนินธุรกิจท่ีอาจปรับเปล่ียน (2) ปริมาณการจราจรที่เพิ่มข้ึน (3) ภัยพิบัติและสถานการณ์วิกฤติ และ (4)
สังคมผู้สูงวยั แนวทางการแก้ไขและพัฒนากลยุทธ์การบริหารงานบารุงรักษาทางพิเศษสู่ความยงั่ ยืนของสิ่งแวดล้อมไดม้ ี
แนวทางดังน้ี คือ การนาหลักมาตรฐานสากลมาปฏิบัติ มุ่งมั่นในการสร้างจิตสานึก ส่งเสริมการบูรณาการระหว่าง
หน่วยงาน องค์การมีสว่ นร่วมในการสนับสนุนกิจกรรมเพ่ือสาธารณประโยชน์ การเปิดเผยข้อมูลการดาเนินโครงการต่อ
สังคม และกาหนดนโยบายอนรุ ักษพ์ ลังงาน อยา่ งไรกต็ าม การพฒั นากลยทุ ธ์การบริหารงานบารงุ รกั ษาทางพิเศษเพอ่ื เป็น
มติ รกบั ส่งิ แวดลอ้ มในเขตกรงุ เทพมหานคร ยังคงต้องมคี วามร่วมมอื กับหนว่ ยงานท่ีเก่ียวข้องหรือความร่วมมอื ของทุกภาค
ส่วนในการขับเคล่ือน เพ่ือเป็นแนวทางการวางแผนและพัฒนาทั้งในระยะส้ันท่ีต้องการความรวดเร็ว สามารถแก้ไขได้
ทนั ท่วงที และในระยะยาวทเี่ ป็นการสรา้ งบรรทดั ฐานและเน้นใหเ้ กดิ คุณภาพในอนาคตตามเป้าประสงค์ขององคก์ ร

คำสำคัญ: กลยทุ ธ์ ทางพเิ ศษ เป็นมติ รกบั ส่ิงแวดล้อม กรุงเทพมหานคร

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บัณฑติ ศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


598

Abstract

This article’s objective is to present and explain the strategies for managing expressway
maintenance along with the ISO 14001 environmental management system standard by qualitative
research from reviewing secondary data and analyzing through describing how the strategies for eco-
friendly expressway maintenance management affect the environment and as well as the guideline for
the sustainable environment. The study found that the overall strategies for eco-friendly expressway
maintenance management and environment management illustrate the policy setting and operation on
social responsibility. The challenging strategies for eco-friendly expressway maintenance management
should be parallelly operated with the environmental management system standard ISO14001, which
affects the environments in the 4 categories namely (1) emergency preparation for the changing
business, (2) the increasing traffic, (3) disaster and crisis, and (4) aging society. The guideline for the
solution and strategy development for eco-friendly expressway maintenance management towards
environment sustainability are to implement the international standard into the practice, aim to raise
awareness, support integration among departments, divisions or organizations to be a part of activities
for public benefit, revealing project performance info to society and setting the saving-energy policy.
However, strategies for eco-friendly expressway maintenance management in Bangkok area still need
cooperation from the related organization or all related divisions to propel as the guideline for plan
setting and development both short-term which requires the instant solution, and long-term which
builds the norm and accentuates on the quality in the future according to the objective of the
organization.

Keywords: strategies, expressway, eco-friendly, Bangkok

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บณั ฑติ ศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


599

คำนำ

ในปัจจุบันนี้ ปัญหาการจราจรติดขัดในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลเป็นปัญหาที่ซับซ้อนและสะสมมา
อย่างยาวนาน การคมนาคมและขนส่งมีความสาคญั อยา่ งยงิ่ ตอ่ เศรษฐกจิ ของประเทศ หากปราศจากการคมนาคมและการ
ขนส่งท่ีดีแล้ว การพฒั นาเศรษฐกจิ ด้านอ่นื ๆ กไ็ มอ่ าจดาเนนิ ไปไดโ้ ดยสมบูรณ์ ฉะนั้นเพอ่ื ท่จี ะให้การพฒั นาเศรษฐกจิ ของ
ประเทศดาเนินไปอย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ การพัฒนาดา้ นคมนาคมขนสง่ จึงมีความสาคัญมาก โดยหน่วยงานที่
ดูแลด้านนี้ ได้แก่ การทางพิเศษแห่งประเทศไทย (กทพ.) ซ่ึงเป็นหน่วยงานท่ีมุ่นเน้นพัฒนาทางพิเศษ เพ่ือให้บริการ
ประชาชนผู้ใช้ทางที่ดีและมีความคุ้มค่า สะดวก รวดเร็ว ปลอดภัย และยั่งยืน โดยมุ่งมั่นแก้ไขปัญหาการจราจรใน
กรุงเทพมหานครและปริมณฑลตามบทบาทหน้าที่ท่ีไดร้ ับมอบหมาย ให้สอดคลอ้ งตามนโยบายของรัฐบาลและกระทรวง
คมนาคม โดยมีเปา้ หมายพัฒนาเครอื ข่ายระบบทางพิเศษให้เชื่อมโยงกันอยา่ งบูรณาการ ช่วยอานวยความสะดวกในการ
เดินทางของประชาชน ซึ่งเป็นวิสัยทัศน์ท่ี กทพ. คานึงความปลอดภัยของผู้ใช้งานเป็นหลักสาคัญ และสอดคล้องกับ
แผนพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการให้บรกิ ารเพ่มิ ศักยภาพของบคุ ลากร (การทางพิเศษแหง่ ประเทศไทย, 2562)

ทั้งน้ี การทางพิเศษแห่งประเทศไทย ตระหนักถึงความสาคัญของการดาเนินงานด้านสิ่งแวดล้อม จึงได้นาทาง
พิเศษฉลองรัช ทางพิเศษสายบางนา-อาจณรงค์ และทางพิเศษบูรพาวิถี เข้าสู่มาตรฐานระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม
ISO 14001 ซ่ึงการดาเนินงานดงั กล่าวจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อหน่วยงานในการควบคุมและแก้ไขปัญหาส่ิงแวดล้อม มี
การใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า มีการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุบัติภยั อย่างมีประสิทธิภาพ และเสริมสร้างภาพลักษณท์ ด่ี ี
ให้กับ กทพ. นอกจากน้ีด้วยจิตสานึกของการมีส่วนร่วมในการรักษาสภาพแวดล้อม และความปลอดภัยของพนักงาน
ลูกจ้าง ผู้เก่ียวข้อง และสาธารณชน รวมถึงการปรับปรุง การปฏิบัติงาน การควบคุมผลกระทบเนื่องจากกิจกรรม การ
บรกิ ารต่างๆ อยา่ งต่อเน่ืองเปน็ ระบบ เพือ่ การพฒั นาดา้ นการคมนาคมอยา่ งยั่งยนื

ดังนั้น จากการศึกษาข้อมูลในเบ้ืองตน้ ทาให้ผู้วิจัยได้เล็งเห็นถึงความสาคัญของการกาหนดกลยุทธ์การบริการ
งานบารงพิเศษที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ในพื้นท่ีเขตกรุงเทพมหานคร อันนามาสู่การวิจัยความท้าทายที่จะกล่าวถึง
ผลกระทบที่เกิดขึ้นในด้านต่างๆ และข้อเสนอแนะแนวทางการแก้ไขและพัฒนากลยุทธ์การบริหารงานบารุงรักษาทาง
พิเศษสู่ความย่ังยืนของส่ิงแวดล้อม ท่ีอยู่ภายใต้การรับรองของระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO 14001 ด้วยการเก็บ
รวบรวมขอ้ มูลจากเอกสารที่เก่ยี วขอ้ ง เพ่ือลดภาวะตอ่ สงิ่ แวดล้อมและความยง่ั ยนื ในการบารุงรกั ษาทางพเิ ศษ

อุปกรณแ์ ละวิธีดำเนินกำรวิจยั

การวจิ ยั เรื่องกลยทุ ธก์ ารบรหิ ารงานบารุงรักษาทางพิเศษทีเ่ ป็นมิตรกับสงิ่ แวดลอ้ ม ในเขตกรงุ เทพมหานคร ผวู้ ิจยั
ใช้วิธกี ารวจิ ัยเชงิ คณุ ภาพ (Qualitative Research) เพือ่ ศึกษาและคน้ คว้าข้อมูลเกยี่ วกบั กลยทุ ธ์การบรหิ ารงานบารุงรกั ษา
ทางพิเศษ ในขอบเขตพ้ืนที่กรุงเทพมหานคร ที่จาเป็นสาหรับงานวิจัย โดยเป็นการศึกษาจากการทบทวนเอกสาร
(Documentary Research) ทั้งในประเทศและตา่ งประเทศ วิทยานิพนธ์ หนังสือเรยี น บทความวิชาการ และงานวิจยั ท่ี
เกี่ยวข้อง แลว้ จึงมีการวเิ คราะห์เชิงพรรณนา

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บณั ฑติ ศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


600

ผลกำรวจิ ยั

จากการทบทวนวรรณกรรมและรวบรวมขอ้ มูลทเี่ ก่ยี วข้อง สามารถสรปุ ประเดน็ หลักและอภปิ รายผล 2 ประเด็น
ไดแ้ ก่ ภาพรวมความท้าทายของกลยทุ ธ์ในบริหารงานบารงุ รกั ษาทางพเิ ศษ ควบคู่ไปกบั มาตรฐานระบบจดั การส่งิ แวดลอ้ ม
ISO 14001 อนั สง่ ผลกระทบต่อสง่ิ แวดล้อม และแนวทางการแกไ้ ขและพฒั นากลยุทธก์ ารบรหิ ารงานบารุงรกั ษาทางพิเศษ
สคู่ วามยัง่ ยืนของสง่ิ แวดลอ้ ม โดยมรี ายละเอียดจากการศึกษา ดังน้ี
1. ภำพรวมของกลยุทธ์ในบรหิ ำรงำนบำรุงรักษำทำงพิเศษกบั กำรจดั กำรสิง่ แวดล้อม

ทศิ ทำงกำรดำเนินงำนของกำรทำงพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย (กทพ.) และประเดน็ ยุทธศำสตร์
การทางพิเศษแห่งประเทศไทย (กทพ.) เป็นรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงคมนาคม จัดต้ังข้ึนต้ังแต่ปี

พ.ศ. 2515 ตามประกาศของคณะปฏิวัติฉบับท่ี 290 ลงวันท่ี 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2515 และต่อมาได้มี
การปรบั ปรุงกฎหมาย โดยการประกาศใชบ้ งั คับพระราชบัญญัตกิ ารทางพิเศษแหง่ ประเทศไทย พ.ศ. 2550 เม่อื
วันที่ 9 มกราคม 2551 ปัจจบุ นั น้ี กทพ. มอี านาจหน้าที่กระทากจิ การภายในขอบแหง่ วตั ถุประสงคใ์ นสาระสาคญั
ได้แก่ การสร้างหรือจัดให้มีทางพิเศษด้วยวิธีใดๆ ตลอดจนบารุงและรักษาทางพิเศษ และการดาเนินงานหรอื
ธุรกิจเกี่ยวกับทางพเิ ศษและธุรกจิ อ่ืนทีเ่ ก่ยี วเน่ืองกับทางพเิ ศษหรอื ท่เี ปน็ ประโยชน์แก่ กทพ.

ทัง้ น้ี “ทางพิเศษ” มีคาจากัดความตามกฎหมายวา่ หมายถงึ ทางหรอื ถนนซึง่ จดั สรา้ งขน้ึ หรือได้รับโอน
หรือได้รับมอบไม่ว่าจะจัดสร้างในระดับพื้นดิน เหนือ หรือใต้พื้นดินหรือพื้นน้า เพื่ออานวยความสะดวกใน
การจราจรเปน็ พเิ ศษ และใหห้ มายความรวมถึงสะพานอโุ มงค์ เรอื สาหรบั ขนสง่ รถข้ามฟาก ทา่ เรอื สาหรบั ขึน้ ลง
รถ ทางเท้า ท่ีจอดรถ เขตทาง ไหลทาง เข่ือนกั้นน้า ท่อ หรือทางระบายน้า กาแพงกันดิน รั้วเขต หลักระยะ
สัญญาณจราจร เคร่ืองหมายจราจร อาคาร หรือ ส่ิงอ่ืนใดท่ีจัดไว้ในเขตทาง เพื่ออานวยความสะดวกหรือเพอ่ื
ความปลอดภยั เก่ยี วกบั งานทางพเิ ศษ (กระทรวงคมนาคม, 2558)

โดยมียุทธศาสตร์การพัฒนา 4 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ (1) พัฒนาธุรกิจและบริการ ส่งเสริมการใช้
ทรัพยากรให้เต็มประสิทธิภาพเพ่ือสร้างรายได้และเสรมิ สร้างคณุ ภาพการให้บริการ รวมทงั้ แก้ปัญหาการจราจร
(2) การเพ่มิ ประสิทธภิ าพการบารงุ รักษา การควบคุมดแู ลรกั ษาความปลอดภัยและคณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ ม เพอ่ื ลด
ความสูญเสีย และเสริมสร้างคุณภาพชีวิตท่ีดแี ก่ลูกค้าประชาชน และสังคม (3) การพัฒนาการบริหารจัดการ
และกากับดูแลองคก์ ารท่ีดี เพอ่ื เพ่มิ ประสิทธภิ าพและประสทิ ธิผลของระบบงาน และเสริมสรา้ งขดี ความสามารถ
ในการดาเนนิ ธรุ กิจ รวมทงั้ เสริมสรา้ งภาพลกั ษณ์องค์การ ตลอดจนเสรมิ สร้างสมรรถนะและคุณภาพชีวิตทีด่ ขี อง
บุคลากร และ (4) สร้างสรรค์องคค์ วามรแู้ ละนวัตกรรมดา้ นทางพเิ ศษ บทบาทหน้าทโ่ี ครงสร้างหน่วยงานพฒั นา
โครงข่ายทางพิเศษ เพื่อสนับสนุนการพัฒนาระบบโลจสิ ติกส์ และการพัฒนาเมือง รวมทั้งสร้างมูลค่าเพิ่มจาก
สินทรัพย์ท่ีมีให้มีผลตอบแทนทางการเงนิ ในระดับท่ีเหมาะสม และมีแผนในการบริหารจดั การหน้ีสินอยา่ งเป็น
รูปธรรม
กำรดำเนินงำนด้ำนควำมรับผิดชอบต่อสังคมของกำรทำงพิเศษแห่งประเทศไทย

ความรบั ผิดชอบหลักของ กทพ. คอื การแกไ้ ขปญั หาการจราจร การเพ่มิ ความคล่องตัวและเช่อื มต่อการ
เดินทางให้มีความสะดวกสบาย พร้อมให้บริการประชาชน ไม่เพียงเฉพาะแต่ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และ

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บณั ฑิตศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


601

ปริมณฑลเท่าน้ัน กทพ. ได้วางแผนงานที่จะขยายขอบเขตการให้บริการไปยังจังหวัดอ่ืนๆ อาทิ จังหวัดภูเกต็
จังหวัดชลบรุ ี จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา จงั หวัดเชียงใหม่ และจังหวัดขอนแกน่

การขยายพ้ืนที่การดาเนินงานท่ีกว้างไกลมากย่ิงข้ึน เป็นความท้าทายขององค์การที่จะต้องรักษา
มาตรฐานการบริการให้มีความพึงพอใจอยู่อยา่ งสม่าเสมอ ในขณะเดียวกนั ก็ต้องสรา้ งสมดลุ ระหว่างผลกระทบ
ด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดขึ้นจากการขยายสายทางพิเศษไปในเขตพื้นท่ีท่ีมีมิติ ทางด้านเศรษฐกิจ
สงั คม สิ่งแวดล้อม ทม่ี ีความหลากหลายมากกว่าเดิม

เป็นที่ทราบกันอย่างชัดเจนว่าผลกระทบด้านบวกจากการขยายสายทางพิเศษ คือการเพ่ิมศักยภาพ
การคมนาคมของไทยอนั เป็นโครงสร้างพืน้ ฐานของประเทศใหแ้ ข็งแกร่งมากยง่ิ ขน้ึ สง่ ผลต่อการประกอบกิจกรรม
ทางเศรษฐกิจต่างๆ ระบบโลจิสติกส์ การขนส่งสินค้าและการเดนิ ทางท่ีงา่ ยและประหยัดเวลามากยงิ่ ข้ึน แต่ใน
การดาเนินงานดังกล่าวนั้น อาจมีผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอีกกลุ่มท่ีได้รับผลกระทบจากการเวนคืนที่ดินเพื่อ
การก่อสร้างส่ิงแวดล้อม บางส่วนอาจถูกทาลาย หรือชุมชนที่อยู่บริเวณโดยรอบอาจได้รับผลกระทบจาก
การก่อสร้างทางพิเศษ ดังน้ัน กทพ. จึงต้องมีการรบั ผิดชอบภายในกระบวนการดาเนินงาน (CSR-in-Process)
ท้ังระยะก่อนก่อสรา้ ง ระหวา่ งก่อสรา้ ง และระยะดาเนนิ การ พรอ้ มแก้ไขปญั หาอยา่ งเปน็ ธรรมกับทุกฝ่าย

นอกจากนี้ ยังได้มกี ิจกรรมเพื่อสรา้ งความสมั พนั ธ์กบั กลมุ่ ผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสียขององคก์ าร (Stakeholder
Engagement) ในรูปแบบของกจิ กรรมเพอื่ สงั คม (CSR-after-Process) เพื่อเสรมิ หนุนการดาเนนิ งานอน่ื ๆ ของ
องค์การให้สู่ความสาเร็จและพัฒนาสังคมไทยไปพร้อม ๆ กัน ซึ่ง กทพ. ได้มีนโยบายด้านความรับผิดชอบตอ่
สงั คมที่สอดคล้องกบั วิสัยทัศน์ กทพ. คือ “ทางเลอื กท่ีค้มุ คา่ พฒั นากา้ วไกลใส่ใจสิง่ แวดลอ้ ม” และวิสยั ทศั น์ด้าน
ความรับผดิ ชอบต่อสังคม คือ “สังคม กทพ. เป็นสงั คมคารบ์ อนตา่ ” Low Carbon Society (LCS) มาเปน็ กรอบ
การดาเนนิ งานดา้ นความรบั ผิดชอบตอ่ สังคม ซ่ึงถือวา่ นโยบายน้เี ป็นความรบั ผิดชอบของพนกั งานทุกคนท่ีจะทา
ความเข้าใจ รวมถงึ การนาไปปฏิบัตอิ ย่างจรงิ จังในการดาเนนิ งานทุกภาคส่วนขององค์การ
2. ควำมท้ำทำยของกลยุทธใ์ นกำรบริหำรงำนบำรุงรักษำทำงพิเศษ ควบคู่ไปกับมำตรฐำนระบบจัดกำรสิ่งแวดลอ้ ม
ISO 14001 อันสง่ ผลกระทบต่อสงิ่ แวดล้อม
ในการกาหนดกลยุทธ์เพ่ือบริหารงานบารุงรักษาทางพิเศษ นอกจากจะต้องคานึงถึงหลักวิศวกรรมให้มี
การดาเนินการลงทุนในโครงสร้างพ้ืนฐานด้านคมนาคมขนส่งที่มีคุณภาพ และสามารถครอบคลุมเช่ือมต่อกันอย่างมี
ประสิทธิภาพแลว้ การคานึงถึงผลกระทบท้ังเชิงบวกและเชิงลบเป็นสิ่งสาคญั ทผ่ี ู้มีส่วนรับผิดชอบตอ้ งตระหนักให้ถถ่ี ว้ น
เพื่อสามารถวางแผนให้เกิดผลกระทบเชิงลบตอ่ ผู้มีส่วนไดส้ ว่ นเสยี (Stakeholders) น้อยท่ีสุด ซ่ึงประกอบไปด้วย1) ผู้มี
ส่วนได้เสียภายใน ได้แก่ พนักงาน และผู้บริหารของบริษัทและบริษทั ย่อย 2) ผู้มีส่วนได้เสียภายนอก ได้แก่ ลูกค้า ผู้มี
ความสัมพนั ธท์ างธรุ กิจ ผู้ให้กู้ คู่คา้ คแู่ ข่ง สงั คม ชุมชน โรงเรยี นทีอ่ ยบู่ รเิ วณใกล้เขตทางพเิ ศษ ภาครฐั และหนว่ ยงานอน่ื ๆ
ที่เกี่ยวข้อง (บริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จากัด (มหาชน), 2558) ได้อธิบายจากความท้าทายที่เกิดขึ้น โดย
พจิ ารณาจากการเปลยี่ นแปลงทีส่ าคัญ (Key Changes) มดี งั ตอ่ ไปน้ี

(1) การเตรียมความพร้อมในด้านต่างๆ รองรับการดาเนินธุรกิจที่อาจจะมีการปรับเปลี่ยน เช่น
การบริหารโครงการภายหลังจากส้ินสัญญาสุดสัมปทาน การเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)
การให้บริการทางพิเศษเส้นทางใหม่ๆ และการประกอบธุรกจิ อน่ื ๆ ท่ีเกี่ยวเน่ืองกบั ทางพิเศษหรือเป็นประโยชน์
กบั กทพ. ในอนาคต (กระทรวงคมนาคม, 2558)

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บณั ฑติ ศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


602

(2) ปริมาณการจราจรท่ีเพิ่มขนึ้ อยา่ งตอ่ เน่อื งในช่วงช่ัวโมงเร่งดว่ น ขณะที่พ้ืนที่การให้บริการมจี านวน
เท่าเดมิ จากรายงานข้อมูลของกองทนุ รวมโครงสร้างพน้ื ฐานเพ่อื อนาคตประเทศไทย (2565) ได้แสดงถงึ จานวน
รถเมอ่ื เดอื นมถิ ุนายน 2565 ท่ผี า่ นมา จานวน 6.17 ล้านคนั คิดเป็นจานวนรถ 0.21 ลา้ นคนั ต่อวัน เปรียบเทียบ
กับเดือนมถิ นุ ายน 2564 จานวน 4.61 ล้านคนั คิดเป็นจานวนรถ 0.15 ล้านคนั ตอ่ วัน (กราฟท่ี 1) พบว่า ปริมาณ
การจราจรเพมิ่ ขน้ึ จานวน 1.56 ล้านคัน คดิ เปน็ จานวนรถ 0.06 ลา้ นคันตอ่ วนั หรอื เพ่มิ ข้ึนร้อยละ 25.28

(3) ภัยพิบัติและสถานการณ์วิกฤติ ทั่วโลกต่างพบรายงานของภัยพิบัติของการเปล่ียนแปลงสภาพ
ภูมอิ ากาศ (Climate change) รวมไปถงึ สถานการณ์วกิ ฤติในปี 2562 จนถึงปจั จบุ ัน ของโรคระบาดโควิท-19 ท่ี
ส่งผลกระทบกับส่ิงแวดล้อมท้ังโดยตรงและทางอ้อม สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
(2563) ได้รายงานเก่ียวกับการปลดปล่อยคาร์บอนไดออกไซต์ โดยการติดตามผลการลดก๊าซเรือนกระจกของ
ประเทศไทยในปี 2563 พบว่า ประเทศไทยสามารถลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกลงไปได้แล้วไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ
14 หรือลดได้ท้ังสิ้น 51.72 ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า (MtCO2eq) ถึงแม้จะมีรายงานการลดลงใน
ข้างตน้ แต่ประเทศไทยยงั พบกบั สภาพอากาศท่ีเปลี่ยนแปลงไป จึงเปน็ สิง่ ท้าทายของการร่วมกนั กาหนดกลยุทธ์
หรอื แนวทางท่เี หมาะสมในองคก์ ร

(4) การเข้าส่สู งั คมผสู้ ูงวัย เปน็ ความท้าทายหน่ึงทเ่ี ป็นตวั บ่งชีว้ ัดความสาเรจ็ ในการดาเนนิ การให้บรรลุ
เป้าหมายหลายๆ เปา้ หมายของการพัฒนา (กระทรวงคมนาคม, 2558) มรี ายงานของกลมุ่ เสรมิ สรา้ งและพัฒนา
ศักยภาพเครือข่าย กองส่งเสริมศักยภาพผ้สู งู อายุ (2564) กล่าววา่ สดั ส่วนของจานวนผสู้ ูงอายจุ ะเพ่มิ ขน้ึ ไปถงึ รอ้ ย
ละ 20-30 เปอรเ์ ซ็นต์ ซงึ่ แสดงว่าประชากรทุกๆ 100 คน จะพบจานวนผสู้ ูงอายุ 30 คน ทั้งน้ี ทรพั ยากรมนษุ ย์
เป็นส่วนสาคัญในการขับเคล่ือนเศรษฐกิจ และการพัฒนาส่ิงแวดล้อมได้ในอนาคต ทาให้เป็นสิ่งท่ีองค์กรควร
คานึงในส่วนน้ี เพ่อื หาแนวทางการพฒั นายงั คงดาเนนิ ได้อยา่ งต่อเนื่องตอ่ ไป

จึงเปน็ ที่ทราบกันดีว่าความท้าทายอันเนอื่ งมาจากผลกระทบในดา้ นตา่ งๆ ทาให้หน่วยงานทเี่ กี่ยวข้อง
อย่าง กทพ. ต้องมกี ารกาหนดเปา้ หมายหรือกลยทุ ธ์การบรหิ ารใหม้ ีความสอดคลอ้ ง เพ่ือสามารถแกไ้ ขปญั หาตรง
จดุ ในระยะสั้นฉบับเร่งด่วนและระยะยาวเพอ่ื ป้องกันการเกดิ ผลกระทบหรอื ลดลงของส่ิงแวดลอ้ มไดอ้ ยา่ งย่ังยืน

Figure 1 Traffic density of the Chalong Rat Expressway
(กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานเพอ่ื อนาคตประเทศไทย, 2565)

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บัณฑิตศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


603

3. แนวทำงกำรแกไ้ ขและพฒั นำกลยทุ ธ์กำรบริหำรงำนบำรุงรกั ษำทำงพเิ ศษส่คู วำมยง่ั ยนื ของสิ่งแวดล้อม
การพัฒนากลยุทธ์ผ่านการดาเนินตามนโยบายด้านความรับผิดชอบต่อสังคมของ กทพ. อันเป็นแนวทางใน

การแก้ไขและพฒั นากลยุทธ์การบริหารงานบารงุ รกั ษาทางพเิ ศษสู่ความยง่ั ยนื ของสิ่งแวดล้อม มดี งั น้ี
(1) นาหลักมาตรฐานสากลมาปฏิบัติในการดาเนินงานด้านความรับผดิ ชอบตอ่ สงั คม เพื่อแก้ไขปญั หา

ด้านส่ิงแวดล้อม จากการดาเนินโครงการอย่างจริงจังภายใต้การมีส่วนร่วมของประชาชน (การทางพิเศษแหง่
ประเทศไทย, 2557)

(2) มุ่งม่ันในการสร้างจิตสานึกให้ผู้ปฏิบัติงานทุกระดับมีความรับผิดชอบต่อสังคม โดยคานึงถึงการ
อนุรกั ษ์สิ่งแวดล้อม (การทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย, 2557) อันรวมไปถงึ การป้องกันและรักษาสงิ่ แวดล้อม ดว้ ย
การควบคุมมลพิษ โดยดาเนินการรักษา ปรับปรุง และพัฒนาระบบการจดั การส่ิงแวดล้อมภายในองค์กรอย่าง
ตอ่ เน่อื ง (การทางพิเศษแห่งประเทศไทย, 2563)

(3) ส่งเสริมการบูรณาการระหวา่ งหน่วยงานทั้งภายในองค์การและหน่วยงานภายนอก เพื่อให้เกิดการ
ปฏบิ ัตงิ านระหวา่ งหนว่ ยงานท่เี กี่ยวขอ้ งอยา่ งบูรณาการ และบรรลตุ ามเป้าหมายที่กาหนดไว้

(4) เป็นหน่ึงในองค์การที่มีส่วนร่วมในการสนับสนุนกิจกรรมเพ่ือสาธารณประโยชน์ ในการช่วยเหลือ
พฒั นา ยกระดบั คณุ ภาพชวี ิตให้กับผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ขององค์การ

(5) การเปิดเผยข้อมูลการดาเนินโครงการทุกโครงการ และผลการดาเนินงานดา้ นความรบั ผดิ ชอบต่อ
สังคมอยา่ งครบถว้ น ถูกต้อง (การทางพิเศษแห่งประเทศไทย, 2557)

(6) กทพ. กาหนดนโยบายอนุรักษ์พลังงาน โดยการประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงานเพอื่ กาหนด
นัยสาคัญด้านการใช้พลังงาน นาสู่การกาหนดเป้าหมายและแผนอนุรักษ์ รวมไปถึงการฝึกอบรมและ
ประชาสมั พันธ์การอนรุ กั ษพ์ ลงั งานท่วั ท้ังองคก์ ร ดังกระบวนการจัดการใน Figure 2

ท้ังน้ี กทพ. ได้ทบทวนและจัดลาดับความสาคัญของประเด็น (Material Topics) ท่ีได้มาจากรายงาน
การสารวจความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียด้านความรับผิดชอบต่อสังคมของ กทพ. โดยผลการสารวจ
ดังกล่าวได้ถกู นามาวิเคราะห์ และประเมิน รวมท้ังจัดลาดบั ความสาคญั ของประเดน็ ดังกล่าว โดยในปี 2563 มี
ประเด็นสาระสาคัญ (Materiality) ท้ังหมด 26 ประเด็น แบ่งเป็น 3 มิติ ได้แก่ มิติเศรษฐกิจ (Economic) มิติ
สังคม (Social) และมิติส่ิงแวดล้อม (Environmental) ซึ่งสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาท่ียั่งยืน
(Sustainable Development Goals; SDGs) ที่มีหนว่ ยชว้ี ัดจาก 3 ปัจจยั คือ การเปล่ยี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ
การอนุรักษ์ การป้องกันมลพิษและสิ่งแวดล้อม (การทางพิเศษแห่งประเทศไทย, 2563) ซ่ึงเป็นเป้าหมายที่ 7
ประเทศไทยได้ดาเนินการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานและเทคโนโลยีด้านไฟฟ้าเพื่อยกระดับโครงข่ายไฟฟ้าให้มี
ความทันสมัย สามารถรองรับและเชื่อมต่อกับแหล่งผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน โดยการส่งเสริมระบบ
โครงขา่ ยไฟฟา้ อจั ฉริยะ หรอื สมาร์ทกรดิ อย่างไรกด็ ี สดั ส่วนการลงทนุ เพื่อการวจิ ยั และพัฒนาด้านพลงั งานยงั คง
น้อยกว่าเป้าหมายท่ีตง้ั ไว้ และ เป้าหมายท่ี 12 ได้ให้ทุกภาคสว่ นเรง่ ดาเนินการอย่างจริงจงั เพ่ือแก้ไขปญั หาการ
จดั การขยะและของเสียอันตราย เนือ่ งจากมรี ายงานปรมิ าณขยะมูลฝอยเพ่มิ ขนึ้ อยา่ งตอ่ เน่ือง แต่สดั สว่ นของขยะ
มูลฝอยท่ีได้รับการกาจดั ถูกต้องมีแนวโน้มลดลง จากร้อยละ 35.37 ในปี 2559 เป็นร้อยละ 34.17 ในปี 2562
(สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2562) ทาให้เห็นได้ว่า กทพ. เป็นองค์กรท่ีมีบทบาท
สาคัญต่อการดาเนินชีวิตของประชาชนบนทอ้ งถนนโดยมีภารกจิ หลัก คือ มีวัตถุประสงคท์ ่จี ะสร้าง หรือจัดให้มี

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บณั ฑิตศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


604

ทางพิเศษดว้ ยวิธีการใดๆ ตลอดจนบารงุ รกั ษาทางพเิ ศษและดาเนนิ งานตา่ งๆ ท่เี ก่ยี วกับทางพิเศษ โดยเฉพาะใน
เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล มีการบารงุ รักษา เพื่อรกั ษาระดบั การให้บริการทดี่ ีแก่ผใู้ ช้ทางพเิ ศษโดยการ
บารุงรักษา ยืดอายุการใชง้ านให้ยาวนานขึ้น และการบารุงรักษาแกไ้ ขเม่ือเกิดความเสยี หาย เพ่มิ ความปลอดภยั
ลดอุบตั เิ หตุ รบั ผดิ ชอบต่อสังคมและสงิ่ แวดลอ้ ม เพอื่ ลดผลกระทบต่อผูพ้ กั อาศัยใกล้ทางพเิ ศษ

Figure 2 Energy Conservation Steps of Expressway Authority of Thailand
(การทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย, 2563)

สรปุ และวิจำรณผ์ ลกำรวจิ ยั

งานวิจัยน้ีทาให้ทราบถึงภาพรวมและความท้าทาย นามาสู่การมองเห็นกลยุทธ์ในบริหารงานบารุงรักษาทาง
พิเศษ ควบคู่ไปกับมาตรฐานระบบจดั การสงิ่ แวดล้อม ISO 14001 และตระหนักถึงแนวทางการแก้ไขปญั หาของกลยุทธ์
การบริหารงานบารุงรักษาทางพเิ ศษร่วมกับการเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม จากการดาเนินการวิจยั ตงั้ แต่ขน้ั ตอนการศึกษา
คน้ คว้าจากเอกสาร งานวจิ ยั ท่เี กย่ี วข้อง สามารถสรปุ ได้เปน็ 3 ประเดน็ ดังน้ี ประการแรก อธิบายถึงภาพรวมของกลยุทธ์
ในการบรหิ ารงานบารุงรกั ษาทางพิเศษกับการจัดการส่งิ แวดล้อม โดยความรับผดิ ชอบหลกั ของ กทพ. คอื การแก้ไขปัญหา
การจราจร การเพิ่มความคล่องตัว และเช่ือมต่อการเดินทางให้มีความสะดวกสบาย ท้ังน้ี ยังมีกิจกรรมเพ่ือสร้าง
ความสัมพันธ์กับกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียขององค์การ (Stakeholder Engagement) ในรูปแบบของกิจกรรมเพื่อสังคม
(CSR-after-Process) เพื่อเสริมหนุนการดาเนินงานอ่ืนๆ ขององค์การให้สู่ความสาเร็จ มีนโยบายและวิสัยทัศน์ให้มี
คาร์บอนต่า (Low Carbon Society) มาเปน็ กรอบการดาเนินงานดา้ นความรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคม ซึ่งมคี วามสอดคล้องกับ
นโยบายในหลายประเทศ เช่น ประเทศนอรเ์ วย์ มีการแก้ปัญหาจราจรและลดอัตราการเสียชีวิตจากอบุ ัติเหตุลงได้ จาก
เทคโนโลยคี วามปลอดภยั บนรถยนต์ทถ่ี ูกพัฒนาและเข้าหาตลาดนอร์เวยม์ ากข้ึน 2. อตั ราความเร็วเฉลีย่ ในการขับรถลดลง
ส่วนปัจจยั อื่นๆ เช่น อายุของประชากรทม่ี ากขึ้นซ่ึงสง่ ผลตอ่ วุฒภิ าวะในการขับรถท่มี ากข้ึน ทางก้ันบนทางดว่ นท่สี ูงข้ึน
และกลอ้ งดกั จบั ความเร็วท่ที ว่ั ถึงมากย่งิ ขนึ้ เป็นต้น (กองบรรณาธิการขา่ วคมชัดลกึ , 2565)

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บัณฑิตศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


605

ประการที่ 2 ความทา้ ทายของกลยุทธ์ในการบริหารงานบารุงรักษาทางพเิ ศษ ควบคไู่ ปกับมาตรฐานระบบจดั การ
สิ่ง แวด ล้อม ISO 14001 อันส่ง ผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม พบว่า มีท้ัง หมด 4 ความท้าทายหลักๆ ดังนี้
(1) การเตรียมความพร้อมในดา้ นต่างๆ เพื่อรองรับการดาเนินธุรกิจที่อาจจะมีการปรับเปลี่ยน (2) ปริมาณการจราจรที่
เพ่มิ ขึน้ อยา่ งต่อเนื่องในชว่ งช่ัวโมงเร่งด่วน (3) ภัยพบิ ัติและสถานการณ์วิกฤติ และ (4) การเขา้ สสู่ ังคมผูส้ ูงวัย ซงึ่ สอดคลอ้ ง
กบั รายงานของ กรมกจิ การผสู้ ูงอายุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนุษย์ (2562) ทพ่ี บว่า ผลกระทบจาก
การเขา้ สู่สังคมสงู อายกุ ระทบตอ่ การพฒั นาประเทศและการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศไทยในระยะยาว จงึ ไดม้ ี
การกาหนดแนวทางการขับเคลื่อนสอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2560 พระราชบัญญตั ิ
ผู้สงู อายุ พ.ศ. 2546 ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และแผนผู้สูงอายแุ หง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 2 (พ.ศ. 2545 - 2564) ฉบบั ปรบั ปรุงครง้ั ที่
1 พ.ศ. 2552 เป็นต้น

และประการสุดท้าย เป็นการเสนอแนวทางการแก้ไขและพัฒนากลยุทธก์ ารบริหารงานบารุงรักษาทางพิเศษสู่
ความย่ังยืนของสิ่งแวดล้อม ได้แก่ (1) นาหลักมาตรฐานสากลมาปฏิบัตใิ นการดาเนินงานด้านความรับผิดชอบตอ่ สงั คม
เพื่อแก้ไขปัญหาด้านส่ิงแวดล้อม (2) มุ่งม่ันในการสร้างจิตสานึกให้ผู้ปฏิบัติงานทุกระดับมีความรับผิดชอบต่อสังคม
(3) ส่งเสริมการบูรณาการระหว่างหน่วยงานท้ังภายในองค์การและหน่วยงานภายนอก (4) องค์การมีส่วนร่วมในการ
สนับสนุนกิจกรรมเพื่อสาธารณประโยชน์ (5) การเปิดเผยข้อมูลการดาเนินโครงการทุกโครงการต่อสังคม และ
(6) การกาหนดนโยบายอนรุ ักษพ์ ลงั งาน

ขอ้ เสนอแนะ

จากการวิจัยทาให้ผู้วิจัยเห็นว่าการดาเนินการในแนวทางการพัฒนาดังกล่าว สามารถแก้ไขปัญหาของ
ความท้าทายทเ่ี กดิ จากผลกระทบ ดงั นน้ั เพื่อใหเ้ กิดความสมบรู ณ์ในการวิจยั และการต่อยอด จงึ ได้เสนอแนะดงั ตอ่ ไปนี้

1) หนว่ ยงานรฐั ควรมีการทางานเชงิ รุก เพอื่ ทาให้ชมุ ชนหรอื ผู้มสี ่วนไดส้ ่วนเสียพร้อมทีจ่ ะรว่ มติดตามตรวจสอบ
คุณภาพส่ิงแวดล้อมในระยะยาว การเฝ้าระวังและรายงานปัญหาต่างๆ ท่ีเกิดข้ึนจากการดาเนินงานของ กทพ. ใน
การตระหนกั ถงึ ด้านสิง่ แวดลอ้ ม

2) หน่วยงานของรัฐควรเตรียมความพร้อม โดยมีมาตรการสาหรับติดตามการดาเนินการการบริหารงาน
บารงุ รักษาทางพิเศษอยา่ งโปร่งใสและตรวจสอบไดว้ า่ จะไม่ส่งผลกระทบเชิงลบด้านสิ่งแวดล้อมในอนาคต

3) ควรมีการส่งเสริมให้มีการวจิ ัยเร่อื งการกาหนดและเป้าหมายทีช่ ัดเจนของกลยทุ ธ์การบริหารงานบารุงรกั ษา
ทางพิเศษ เพอื่ ความเขา้ ใจสถานการณ์ บรบิ ท รวมไปถงึ การคาดการณ์ของผลกระทบทเี่ กดิ ขนึ้ ในดา้ นต่างๆ จนนาไปสกู่ าร
กาหนดนโยบายเพือ่ ก่อใหเ้ กดิ ประโยชน์และลดผลกระทบทางสงิ่ แวดล้อมใหม้ ากที่สดุ

กิตตกิ รรมประกำศ

การศึกษาคร้ังนี้สาเร็จลุล่วงด้วยดี เนื่องจากได้รับความกรุณาแนะนา ช่วยเหลือเป็นอย่างดีย่ิงจากอาจารย์ ผู้ช่วย
ศาสตราจารย์ ดร.ภาวิณี อารีศรีสม ประธานท่ีปรึกษางานวิจยั ผู้ศึกษาขอขอบพระคณุ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วีณา นิล
วงศ์ ดร.กอบลาภ อารศี รีสม และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รภัสสรณ์ คงธนจารอุ นันต์ อาจารย์ท่ปี รึกษารว่ มท่ไี ดก้ รุณาให้

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บัณฑติ ศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


606

แนวคิดต่างๆ ข้อแนะนาหลายประการ ทาให้งานวิจัยฉบับน้ีสมบูรณ์มากย่ิงข้ึน สุดท้ายขอขอบคุณการช่วยเหลือจาก
ผู้เชี่ยวชาญท่ีให้ข้อมูลอยา่ งเต็มท่ีทาให้งานวิจยั น้ีสาเร็จในเวลาอนั รวดเร็ว และขอขอบคณุ ผู้ให้ความช่วยเหลืออีกหลาย
ท่าน ซง่ึ ไม่สามารถกลา่ วนามในทนี่ ไี้ ด้หมด

เอกสำรอำ้ งองิ

กรมกิจการผู้สูงอายุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์. 2562. มำตรกำรขับเคล่ือนระเบียบวำระ
แหง่ ชำติ เรอ่ื ง สงั คมสูงอำยุ (ฉบับปรบั ปรงุ ). พมิ พค์ รั้งที่ 2. กรงุ เทพฯ: สานักพิมพบ์ รษิ ทั อมรนิ ทรพ์ ร้ินต้ิงแอนด์
พบั ลิชชง่ิ จากดั (มหาชน). 52 น.

กระทรวง คมนาคม. 2558. ก ำรท ำงพิเศษแห่งประ เท ศไท ย (ก ท พ.). [ระบบอ อ นไลน์]. แหล่ง ท่ีมา
https://www.mot.go.th/about.html?id=16#horizontalTab1 (11 ตลุ าคม 2565).

กลุ่มเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพเครือข่าย กองส่งเสริมศักยภาพผู้สูงอายุ. 2564. สังคมผู้สูงอำยุในปัจจุบันและ
เศรษฐกิจในประเทศไทย. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา จาก https://www.dop.go.th/th/know/15/926
(11 ตุลาคม 2565).

กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานเพื่ออนาคตประเทศไทย. 2565. ปริมำณจรำจรทำงพิเศษฉลองรัช. [ระบบออนไลน์].
แหล่งทมี่ า https://www.tffif.com/th/investor-relations/traffic-volume (11 ตลุ าคม 2565).

กองบรรณาธิการข่าวคมชัดลึก. 2565. เพรำะ “แก้ปัญหำจรำจร” ท่ีปลำยเหตุ ไทยจึงไม่ปลอดภัยแบบ นอร์เวย์ และ
ญี่ปุ่น. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://www.komchadluek.net/kom-lifestyle/503189 (11 ตุลาคม
2565).

การทางพิเศษแห่งประเทศไทย. 2557. รำยงำนควำมรับผิดชอบตอสังคม 2557 กำรทำงพิเศษแห่งประเทศไทย.
กรุงเทพฯ: การทางพิเศษแห่งประเทศไทย. 150 น.

การทางพเิ ศษแห่งประเทศไทย. 2562. รำยงำนประจำปี 2562. กรงุ เทพฯ: การทางพิเศษแหง่ ประเทศไทย. 144 น.
การทางพิเศษแห่งประเทศไทย. 2563. รำยงำนควำมยั่งยืน ปี 2563. กรุงเทพฯ: การทางพิเศษแห่งประเทศไทย.

124 น.
บริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรงุ เทพ จากัด (มหาชน). 2558. รำยงำนประจำปี 2558. กรุงเทพฯ: บริษัท ทางด่วนและ

รถไฟฟ้ากรุงเทพ จากัด (มหาชน). 160 น.
สานักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ. 2562. เป้ำหมำยท่ี 12 สร้ำงหลักประกนั ใหม้ ีแบบแผนกำรผลิต

และกำรบริโภคทีย่ ง่ั ยืน. [ระบบออนไลน์]. แหลง่ ที่มา https://sdgs.nesdc.go.th (11 ตุลาคม 2565).
สานกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ. 2563. เป้ำหมำยท่ี 13 ปฏิบัติกำรอย่ำงเรง่ ดว่ นเพอ่ื ต่อส้กู บั กำร

เปลีย่ นแปลงสภำพภมู ิอำกำศ และผลกระทบที่เกดิ ขึน. [ระบบออนไลน์]. แหลง่ ทม่ี า https://sdgs.nesdc.go.th
(11 ตลุ าคม 2565).

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บณั ฑติ ศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


607

กำรพฒั นำระบบสำรสนเทศสำหรบั งำนบำรุงรกั ษำทำงพิเศษเฉลมิ มหำนคร
Information System Development for Chalerm Maha Nakhon

Expressway Maintenance

ศภุ พงษ์ ลิมปะรังสฤษฏ์
Supapong Limpanarungsalit

สาขาการจัดการ และ พัฒนาทรพั ยากร คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลยั แมโ่ จ้ จงั หวัดเชยี งใหม่ ประเทศไทย 50290
Resources Management and Development, Faculty of Agricultural Production,
Maejo University, Chiangmai Province, Thailand 50290
[email protected]

บทคดั ย่อ

ระบบสารสนเทศ ถือว่าเป็นขบวนการของการจดั เก็บประมวลผลข่าวสารทมี่ ีอย่ใู ห้อยใู่ นรูปของข่าวสารท่ีเปน็
ประโยชน์สูงสุด โดยอาศยั บคุ คลและเทคโนโลยีสารสนเทศในการดาเนินการ เพ่ือเป็นขอ้ สรุปที่ใช้สนับสนุนการตัดสินใจ
ของบุคคล ให้มคี วามเหมาะสมกับงานหรอื กิจกรรม ทงั้ น้ีได้มีหลายหนว่ ยงานทม่ี ีการนาไปใช้ประโยชนเ์ พ่อื ดาเนินงานเป็น
หลกั รวมไปถงึ งานบารุงรกั ษาทางพิเศษเฉลิมมหานคร ทไ่ี ดม้ ีการนามาใช้ประโยชน์ภายในองค์กร แตเ่ น่ืองดว้ ยปัญหาและ
อุปสรรคของการใชร้ ะบบสารสนเทศตอ่ งานบารงุ รกั ษาของทางพิเศษเฉลิมมหานคร จึงทาใหเ้ หน็ ว่าไดม้ กี ารนาข้อมูลระบบ
สารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS Data base) เป็นหลักในการเก็บข้อมูล ประมวลภาพ และเผยแพร่ข้อมูลให้กับเจ้าหน้าท่ี
เพ่ือให้การทางานดังกล่าวประหยัดทรัพยากรมนุษย์ ทรัพยากรส่ิงแวดล้อม และงบประมาณ ทั้งน้ี การพัฒนาระบบ
สารสนเทศต่องานบารุงรกั ษาทางพิเศษสคู่ วามยงั่ ยืน ประกอบไปด้วย (1) ด้านความรู้ความเขา้ ใจของผู้ใช้ระบบ ถือเป็น
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้มีความรู้ (2) ด้านรูปแบบระบบโปรแกรมสาเร็จรูป ในรูปแบบสารสนเทศเชิงภูมิศาสตร์
(GIS) และ (3) ด้านฮาร์ดแวร์หรือคอมพิวเตอร์ โดยคานึงถึงประสิทธิภาพท่ีเหมาะสมกับงานระบบสารสนเทศ เพื่อใ ห้
สามารถเป็นเคร่ืองมือสาหรับการทางานได้อยา่ งมีคุณภาพได้

คำสำคัญ: ระบบสารสนเทศ งานบารงุ รักษาทางพเิ ศษ ทางพเิ ศษเฉลมิ มหานคร

Abstract

Information System is considered as the storage which processes the information in its storage
to receive its best benefits through the performance of person and information technology in order to
summarize the stance which supports human’s decision that is appropriate to the work or the activity.
However, many organizations have mainly used this system for the operation and as well as Chalerm
Maha Nakhon Maintenance. Due to some problems and obstacles of the information system used in

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บณั ฑติ ศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


608

Chalerm Maha Nakhon Maintenance, it is illustrated that the GIS database is mostly used in data
collection, image processing, and sharing data to authorities so that the human, nature, and budget
resources can be saved in the practical operation. Information System Development for Chalerm Maha
Nakhon Expressway Maintenance accordingly consists of (1) knowledge and understanding of the user
as the human resources development, (2) software package as Geographic Information System, and (3)
hardware or computer considered by its proper efficiency to Information System operation as the tool
for quality performance.

Keywords: Information system, Expressway maintenance, Chalerm Maha Nakhon Expressway

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บณั ฑิตศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


609

คำนำ

จากวิสยั ทศั นข์ องการทางพิเศษแห่งประเทศไทย (กทพ.) เปน็ หน่วยงานท่ีมุ่นเน้นพฒั นาทางพิเศษ เพื่อใหบ้ รกิ าร
ประชาชนผู้ใช้ทางท่ีดีและมีความคุ้มค่า สะดวก รวดเร็ว ปลอดภัย และย่ังยืน โดยมุ่งมั่นแก้ไขปัญหาการจราจรใน
กรุงเทพมหานครและปริมณฑลตามบทบาทหน้าที่ทไ่ี ด้รบั มอบหมาย ให้สอดคล้องตามนโยบายของรฐั บาลและกระทรวง
คมนาคม (การทางพิเศษแห่งประเทศไทย, 2562) ซึ่งการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและโครงสร้างแอพพลเิ คช่ัน
พนื้ ฐานภายในองคก์ ร เป็นสิ่งท่ีมีความสาคัญต่อความเข้มแขง็ และความมีเสถยี รภาพของระบบงานในองคก์ รเป็นอยา่ งมาก
อาจเปรียบได้กับเป็นการเปลี่ยนแปลงระบบขององค์กรเลยก็ว่าได้ ซ่ึงการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว ต้องกระทาบน
กระบวนการทีม่ ที ิศทางและตอ่ เนื่องของการพัฒนาระบบ ทงั้ ด้านการพัฒนาระบบงานใหส้ อดคลอ้ งกบั เทคโนโลยแี ละการ
นาเทคโนโลยมี าพฒั นาใหส้ อดคล้องกับระบบงาน (สนั่น, 2553) การใชป้ ระโยชนจ์ ากระบบสารสนเทศ ถอื ไดว้ า่ เปน็ วธิ ีหนงึ่
ท่ีสามารถนามาใช้ประโยชน์เพื่อจัดการข้อมูลได้ในยุคปัจจุบัน นอกจากนี้ปัญหาเรื่องการจราจรของจังหวัด
กรุงเทพมหานคร ถือได้ว่าเปน็ ปัญหาใหญ่ เนื่องจากการจดั การด้านผงั เมืองไมด่ เี ท่าทค่ี วร การเพ่ิมขึ้นของประชากรและ
การจ้างงานทาให้เกิดการเดินทางมากขึ้น การเพ่ิมถนนไม่สามารถเพ่ิมได้ทันกับความต้องการใช้ถนน ทาให้การจราจร
ติดขัดอย่างต่อเนื่อง สาเหตุมาจากการลงทุนในด้านการเพิ่มศักยภาพถนนยังไม่เหมาะสม ทาให้โครงข่ายถนนไม่มี
ประสิทธิภาพเต็มที่ (เอกสิทธิ์, 2553) นอกจากนั้นยังขาดการส่งเสริมและพัฒนาประสิทธิภาพการให้บริการรถโดยสาร
สาธารณะ และขาดการควบคุมความตอ้ งการในการใช้รถใช้ถนน รวมไปถงึ ขาดการควบคุมการใชแ้ ละพฒั นาทดี่ ินอย่างมี
ประสิทธิภาพ

ทางพิเศษเฉลมิ มหานคร เป็นทางพิเศษที่เชอื่ มการคมนาคมขนสง่ ระหว่างภาคต่างๆ ของประเทศเข้าด้วยกนั โดย
ไม่ต้องเดินทางผ่านการจราจรหนาแน่นในใจกลางกรุงเทพมหานคร ช่วยลดปริมาณการจราจรที่คบั คั่งบนถนนระดับดนิ
รวมท้ังช่วยให้การขนสง่ สินคา้ ระหว่างท่าเรือคลองเตยกับภาคต่างๆ ให้เป็นไปด้วยความสะดวกและรวดเร็ว มีระยะทาง
ทัง้ สิ้น 27.1 กิโลเมตร ทง้ั น้ที างพเิ ศษฉลองรัชยงั คงมีวตั ถุประสงค์ในการก่อสร้างโครงการเพอ่ื แก้ไขปญั หาการเดนิ ทางและ
แบ่งเบาการจราจรบนถนนรามอินทราและย่านใจกลางเมือง โดยไม่ผ่านถนนที่มีปัญหาการจราจรติดขัด ได้แก่ ถนน
ลาดพรา้ ว ถนนพระราม 9 ถนนเพชรบรุ ี และช่วยระบายการจราจรบนทางพิเศษเฉลมิ มหานคร สาหรับผทู้ ่ีจะเดนิ ทางเข้า
หรอื ออกจากเมือง รวมทั้งขยายขอบขา่ ยของทางพเิ ศษใหส้ ามารถอานวยความสะดวกและรวดเรว็ แก่การจราจรได้อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพมากยงิ่ ขึ้น โดยมเี ส้นทางเรม่ิ จากถนนรามอินทรา - อาจณรงค์ ระยะทาง 18.7 กิโลเมตร เปิดให้บริการเมื่อ
วันที่ 6 ตลุ าคม 2539 (การทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย, 2562.ก)

กองบารุงรกั ษาทางของการทางพเิ ศษแห่งประเทศไทย มีหนา้ ทีห่ ลักคือบารงุ รักษาผวิ ทางอปุ กรณ์ต่างๆ บนทาง
พิเศษและต้ังงบประมาณเพ่ือจัดทาแผนบารุงรักษาทางพิเศษท่ีเหมาะสม รวมท้ังพัฒนาระบบฐานข้อมูลมาใช้สาหรับ
บริหารจดั การ กากบั ดูแลรักษา วเิ คราะหเ์ พอื่ ประกอบการพิจารณาจัดทาแผนบารุงทางใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ ดังนนั้ ผวู้ ิจัยจงึ
มคี วามสนใจทีจ่ ะศึกษาแนวทางการพฒั นาระบบสารสนเทศสาหรบั งานบารุงรกั ษาของทางพเิ ศษเฉลิมมหานคร เพ่ือนาผล
ที่ได้จากการศึกษาคร้ังนี้ไปเป็นแนวทางในการพัฒนาระบบและปรับปรุงประสิทธิภาพในการดาเนินงานของกอง
บารุงรักษาทางของการทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทยไดใ้ นอนาคต

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บณั ฑิตศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


610

อุปกรณแ์ ละวธิ ดี ำเนินกำรวจิ ัย

การศกึ ษาเร่อื งการพัฒนาระบบสารสนเทศสาหรับงานบารุงรักษาทางพิเศษเฉลมิ มหานคร ผู้วิจยั ได้ใชว้ ธิ ีการวิจัย
เชิงคุณภาพ โดยเป็นการศึกษาจากการทบทวนเอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง เพ่ือศึกษาและค้นคว้าเกี่ยวกับระบบ
สารสนเทศสาหรบั งานบารุงรักษาทางพิเศษ ในขอบเขตการวจิ ยั ทางพเิ ศษเฉลมิ มหานคร แล้วจึงอธิบายผลการวิจยั ในเชิง
พรรณนา

ผลกำรวจิ ยั

จากการทบทวนวรรณกรรมและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการพัฒนาระบบสารสนเทศสาหรับงานบารงุ รักษาของ
ทางพิเศษเฉลิมมหานคร ประเดน็ ดงั ต่อไปนี้
กำรนำระบบสำรสนเทศมำใชใ้ นงำนบำรงุ รักษำทำงพเิ ศษ

ทำงพเิ ศษเฉลิมมหำนคร
กทพ. ไดเ้ ปดิ ให้บรกิ ารทางพเิ ศษเฉลมิ มหานคร เพ่ือเชอื่ มการคมนาคมขนสง่ ระหว่างภาคตา่ งๆ ของประเทศเข้า
ด้วยกัน โดยไม่ต้องเดนิ ทางผ่านการจราจรหนาแน่นในใจกลางกรุงเทพมหานคร ช่วยลดปริมาณจราจรที่คับคัง่ บนถนน
ระดับดิน รวมท้ังช่วยให้การขนส่งสนิ ค้าระหว่างท่าเรือคลองเตยกบั ภาคต่างๆ เป็นไปด้วยความสะดวกและรวดเร็ว ทาง
พเิ ศษเฉลมิ มหานคร ระยะทางรวม 27.1 กโิ ลเมตร ประกอบด้วย
สายดินแดง - ท่าเรือ เปิดให้บริการเม่ือวันท่ี 29 ตุลาคม 2524 ระยะทาง 8.9 กิโลเมตร แนวสายทางเร่ิมจาก
ปลายถนนวภิ าวดรี ังสิต ม่งุ ไปทางทศิ ใต้ ผา่ นทางแยกตา่ งระดับมกั กะสนั ผา่ นถนนสขุ ุมวิท ชว่ งน้เี ป็นทางยกระดบั ขนาด 6
ชอ่ งจราจร และเปน็ ทางระดับดนิ ต้งั แตถ่ นนสุขมุ วิทถึงถนนพระรามที่ 4 และเปน็ ทางยกระดับอีกคร้งั ในช่วงถนนพระรามท่ี
4 ถงึ ทางแยกตา่ งระดบั ทา่ เรอื เชือ่ มต่อกบั ทางพเิ ศษสายดาวคะนอง – ทา่ เรอื
สายบางนา - ท่าเรือ เปิดให้บริการเม่ือวนั ที่ 17 มกราคม 2526 ระยะทาง 7.9 กิโลเมตร แนวสายทางเรม่ิ จาก
ปลายทางหลวงแผ่นดนิ หมายเลข 34 บริเวณทางแยกตา่ งระดับบางนา แล้วมุ่งไปทางทิศตะวันตก ผ่านจุดตัดทางพิเศษ
ฉลองรชั ทที่ างแยกตา่ งระดับสขุ มุ วิท ช่วงนเ้ี ป็นทางระดบั ดินขนาด 6 ชอ่ งจราจร และเปน็ ทางยกระดบั ตัง้ แตท่ างแยกต่าง
ระดับสขุ มุ วทิ ถงึ ทางแยกตา่ งระดบั ทา่ เรือ
สายดาวคะนอง - ท่าเรือ เปิดให้บริการเม่ือวันที่ 5 ธันวาคม 2530 ระยะทาง 10.3 กิโลเมตร แนวสายทางเรม่ิ
จากทางแยกต่างระดับท่าเรือ ผ่านทางแยกต่างระดบั บางโคล่ ข้ามแม่น้าเจ้าพระยาที่สะพานพระราม 9 ช่วงนี้เป็นทาง
ยกระดบั ขนาด 6 ช่องจราจร และลดช่องจราจรเหลือ 4 ชอ่ งจราจร ตัง้ แต่สะพานพระราม 9 และสิน้ สุดทถ่ี นนพระรามท่ี
2 (การทางพิเศษแหง่ ประเทศไทย, 2562.ก)

โครงกำรพฒั นำระบบงำนภมู สิ ำรสนเทศทำงพิเศษ กำรทำงพิเศษแห่งประเทศไทย
กลุ่มบริษัทซีดจี ี ได้รับความไว้วางใจจากการทางพเิ ศษแห่งประเทศไทยให้เปน็ ผพู้ ัฒนาระบบงานศนู ย์ข้อมูลภมู ิ

สารสนเทศทางพิเศษ ให้สามารถรองรับการบริหารจัดการ การวิเคราะห์ การบูรณาการ และการเผยแพร่ข้อมูลภูมิ
สารสนเทศ เพื่อสนับสนนุ และเพม่ิ ประสทิ ธิภาพการบริหารจัดการและการวางแผนการใชป้ ระโยชนพ์ ื้นท่ีในเขตทางพิเศษ

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บณั ฑติ ศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


611

รวมถงึ สนับสนนุ การปฏิบัตภิ ารกจิ อน่ื ๆ ทเี่ กีย่ วข้องของการทางพิเศษแหง่ ประเทศไทยในอนาคตด้วย โดยจัดทาระบบเพือ่
ใช้เป็นแหล่งค้นหาข้อมูลต่างๆ บนทางพิเศษ ดาเนินการสารวจและจัดทาข้อมูลเพ่ือใช้ในระบบงานศูนย์ข้อมูลภูมิ
สารสนเทศทางพิเศษทเ่ี ปดิ ให้บริการในปจั จบุ ัน โดยทาการสารวจตามแนวสายทางของทางพิเศษและจดั ทาข้อมูลแผนที่
จานวน 8 สายทาง 3 ทางเชอ่ื มต่อ โดยมกี ารสารวจขอ้ มูลต่างๆ เชน่ แนวสายทางพิเศษ เสาไฟฟา้ ส่องสว่าง กลอ้ งโทรทัศน์
วงจรปดิ (CCTV) ปา้ ยจราจร และนาข้อมลู จากการสารวจมานาเข้าและเชอ่ื มโยงกบั ฐานขอ้ มลู ของการทางพิเศษเพือ่ ใหใ้ ช้
งานร่วมกันไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ (Technology for a better society, 2555)

กำรพัฒนำระบบระบุตำแหน่งอปุ กรณข์ องทำงพเิ ศษโดยใชแ้ อปพลเิ คช่ันบนโทรศัพทม์ ือถอื
กทพ. ได้มีการสรา้ งระบบบริหารจดั การสินทรพั ย์ในรปู แบบฐานข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GS Based Asset

Management System) เพื่อระบตุ าแหน่งอุปกรณข์ องทางพิเศษโดยใชแ้ อปพลิเคชน่ั บนโทรศัพทม์ อื ถือ ซึ่งเปน็ จดุ เริ่มต้น
ในการจัดทาระบบบริหารจัดการสินทรัพย์ของ กทพ. โดยการสารวจเก็บข้อมูลตาแหน่งอุปกรณ์บนทางพิเศษด้วย
โทรศัพท์มือถือ ซึ่ง กทพ. ได้นาแอปพลิเคช่ัน "Theoddite" มาใช้ควบคู่กับเคร่ืองวัดระยะอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (Electronics
Distance Measurement : EDM) แบบเลเซอร์ในการวัดระยะทางจากจดุ ถ่ายภาพไปยงั อุปกรณ์ ทาใหไ้ ด้ขอ้ มลู ตาแหน่ง
ของภาพถ่ายอุปกรณ์ และ ระยะทางถึงอุปกรณ์ จากนั้นระบบจะส่งข้อมูลผ่านแอปพลิเคชั่น Theodolite เข้าอีเมล
นอกจากน้ี กทพ. ได้พัฒนา PHP Script ในการอ่านข้อมูลจากอีเมล แล้วนาข้อมูลท่ีได้บันทึกลงในฐานข้อมูลระบบ
สารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS Data base) ซ่ึงการพัฒนาระบบดังกล่าวทาให้การสารวจอุปกรณ์จานวนมากสามารถทาได้
รวดเรว็ สะดวก และปลอดภัยมากย่ิงขน้ึ จึงเป็นประโยชนต์ ่อการดาเนินงานเป็นอย่างมาก (การทางพิเศษแหง่ ประเทศไทย
, 2562.ข)

จะเห็นได้ว่า ในงานบารุงรักษาทางพิเศษขององค์กร กทพ. มีการนาระบบสารสนเทศเพื่อใช้กับการบารงุ รักษา
ทางพเิ ศษอย่างการนาฐานข้อมูลระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ อนั เปน็ เครื่องมือหน่ึงทีส่ ามารถช่วยเพิม่ ประลิทธิภาพของผู้
บริหารงานและผู้ปฏิบัติงานในกระบวนการวางแผน การจัดการและการตัดสินใจได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
เพราะระบบสารสนเทศนน้ั จะทาหนา้ ที่ นาข้อมูล (Data) เขา้ ส่รู ะบบ (Input) ประมวลผล (Processing) เพอ่ื ให้ไดผ้ ลลัพธ์
(Output) คอื "สารสนเทศ (Information)" ที่เป็นประโยชนต์ ่อผู้ใช้งานในการจัดการ การตดั สนิ ใจ และการแก้ไขปัญหาใน
เรื่องต่างๆ ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ (Kenneth C. Laudon and Jane P. Laudon, 2003) ดัง Figure 1 ซึ่งในงานบารุงทางพเิ ศษ
ไดใ้ ชป้ ระโยชน์ในการสบื คน้ ตดิ ตาม และผลการดาเนินการทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพ ความรวดเรว็ ท้งั น้ี ยงั สามารถจัดทาข้อเสนอ
เกี่ยวกับถนนว่าช่วงใดควรได้รับการซอ่ มบารุง รวมไปถึงการประเมินงบประมาณของการซอ่ มบารุงทางพิเศษที่ใช้ในการ
วิเคราะหข์ องระบบสารสนเทศภมู ศิ าสตร์น้ี

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บัณฑิตศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


612

Figure 1 Geographic Information System : GIS (ศูนย์วจิ ยั สารสนเทศแห่งประเทศไทย, 2022)

กำรพฒั นำควำมยง่ั ยนื ของระบบสำรสนเทศตอ่ งำนบำรงุ รักษำทำงพเิ ศษ
ด้ำนควำมร้คู วำมเขำ้ ใจของผ้ใู ช้ระบบ มกี ารจัดอบรมให้กบั พนกั งานท่มี สี ่วนรับผิดชอบและเปน็ หน้าที่หลกั ของ

ระบบสารสนเทศ โดย กทพ. ได้มีนโยบายและแผนพัฒนาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) โดย
การส่งสริมการบริหารจัดการความรู้ (Knowledge Management) ด้วยการถ่ายทอดความรู้ (Tacit Knowledge) ใน
รูปแบบของ Information (Explicit Knowledge) ที่สามารถเขา้ ถงึ และนาความรู้ไปใช้งานเพอื่ นาไปสกู่ ารสรา้ งนวตั กรรม
พฒั นาความรแู้ ละความสามารถค้นเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร เพื่อใหส้ อดคลอ้ งตามนโยบายของรัฐบาลยุคไทย
แลนด์ 4.0 ด้วยการปรับปรุงระบบการบริหารและบริการภาครัฐให้ทันสมัย โดยการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และการ
สอ่ื สาร (การทางพิเศษแหง่ ประเทศไทย, 2562) ซึง่ สอดคล้องกบั งานวจิ ยั ของ ภัทร (2561) กล่าวถงึ การพัฒนาทรพั ยากร
มนุษย์ โดยพบว่าการพัฒนาทรัพยากรมนุษยด์ ้วยการสร้างนวัตกรรมท่ีเป็นผลลพั ธ์ของการเช่ือมโยงทรัพย์กรมนุษย์ ทุน
ทางการเงิน และโครงสร้างพืน้ ฐาน รวมถึงการวจิ ยั และพัฒนาเพื่อก่อให้เกิดระบบนิเวศ นวัตกรรม บนโครงการพนื้ ฐาน
ด้านเทคโนโลยี เปน็ แนวทางในการนาพาประเทศหลุดออกจากกับดกั ประเทศทม่ี รี ายไดป้ านกลาง

ด้ำนรูปแบบระบบโปรแกรมสำเรจ็ รูป ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์สามารถแสดงความเสียหาย จัดเก็บข้อมลู
ประมวลภาพ สามารถเสนอฐานขอ้ มูลแผนการบารุงรักษาของผิวจราจรบนทางพเิ ศษในรูปแบบสารสนเทศเชิงภมู ศิ าสตร์
(อรุ ุยา, 2562) และเผยแพรข่ อ้ มูลใหก้ ับเจ้าหนา้ ท่ที ีร่ ับผิดชอบไดห้ าแนวทางการแกไ้ ขตามมา

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บณั ฑิตศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


613

ดำ้ นฮำรด์ แวรห์ รือคอมพิวเตอร์ การจดั ซ้ือวสั ดคุ อมพิวเตอร์ทถี่ ือว่าเป็นอปุ กรณใ์ นการทางานหลกั ทีส่ ามารถเกบ็
ข้อมูล วิเคราะห์ ประมวลข้อมลู ดังนั้น กทพ. จึงมีการคานึงถึงประสิทธภิ าพท่ีเหมาะสมกับงานระบบสารสนเทศ เพื่อให้
สามารถเปน็ เครอ่ื งมือสาหรับการทางานไดอ้ ย่างมคี ณุ ภาพได้

สรปุ ผลกำรวจิ ัย

จากการทบทวนวรรณกรรมเกีย่ วกับข้อมูลและงานวจิ ัยด้านระบบสารสนเทศทนี่ ามาใชง้ านบารุงรกั ษาทางพเิ ศษ
ในทางพิเศษเฉลิมมหานคร ทาให้ผู้วิจัยได้ทราบถงึ การพฒั นางานขององคก์ ร กทพ. ที่ได้พัฒนาอย่างต่อเนื่อง รวมไปถงึ
แนวทางการพัฒนาระบบสารสนเทศสาหรับงานบารงุ รักษาของทางพิเศษเฉลมิ มหานคร โดยใชฐ้ านขอ้ มลู ระบบสารสนเทศ
ภูมิศาสตร์ (GIS Data base) เป็นหลักในการเก็บข้อมูล ประมวลภาพ และเผยแพร่ข้อมูลให้กับเจ้าหน้าที่ เพ่ือให้การ
ทางานดังกล่าวประหยัดทรัพยากรมนุษย์ ทรัพยากรส่ิงแวดล้อม และงบประมาณของการดาเนินการ นอกจากนี้ การ
พัฒนาระบบสารสนเทศตอ่ งานบารุงรักษาทางพิเศษสู่ความย่ังยืน ประกอบไปด้วย (1) ด้านความรู้ความเขา้ ใจของผใู้ ช้
ระบบ โดยพัฒนาทรัพยากรมนุษย์หรือพนักงานให้มีความรู้และเกิดแนวคิดการพัฒนาความรู้อย่างไม่สิ้นสุด (2) ด้าน
รูปแบบระบบโปรแกรมสาเร็จรูป ในรูปแบบสารสนเทศเชิงภูมิศาสตร์ และ (3) ด้านฮาร์ดแวร์หรือคอมพิวเตอร์ โดย
คานึงถึงประสิทธิภาพท่ีเหมาะสมกับงานระบบสารสนเทศ เพ่ือให้สามารถเป็นเครื่องมือสาหรับการทางานได้อย่างมี
คณุ ภาพได้

กิตตกิ รรมประกำศ

การศึกษาครงั้ นสี้ าเร็จลลุ ว่ งดว้ ยดี เนือ่ งจากไดร้ บั ความกรุณาแนะนา ช่วยเหลอื เปน็ อย่างดยี ิ่งจาก ผศ.ดร. ภาวิณี
อารศี รีสม ประธานทีป่ รึกษางานวิจยั ผศู้ กึ ษาขอขอบพระคณุ ผศ.ดร. วณี า นลิ วงศ์ ดร. กอบลาภ อารศี รีสม และ ผศ.ดร.
รภัสสรณ์ คงธนจารุอนนั ต์ อาจารยท์ ีป่ รกึ ษาร่วมท่ไี ด้กรุณาให้แนวคดิ ตา่ งๆ ข้อแนะนาหลายประการ ทาใหง้ านวิจัยฉบบั น้ี
สมบูรณ์มากยิ่งข้ึน สุดท้ายขอขอบคณุ การช่วยเหลือจากผ้เู ชี่ยวชาญที่ให้ข้อมูลอย่างเตม็ ที่ทาให้งานวิจัยน้ีสาเร็จในเวลา
อันรวดเรว็ และขอขอบคณุ ผู้ใหค้ วามชว่ ยเหลืออกี หลายท่าน ซึ่งไมส่ ามารถกลา่ วนามในที่นีไ้ ดห้ มด

เอกสำรอำ้ งองิ

การทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย. 2562.ก คมู่ ือกำรปฏิบตั ิงำนกองบำรงุ รักษำทำง. กรุงเทพฯ : การทางพเิ ศษแหง่ ประเทศ
ไทย. 63 น.

การทางพิเศษแห่งประเทศไทย. 2562.ข รำยงำนประจำปี 2562. กรงุ เทพฯ : การทางพิเศษแห่งประเทศไทย. 144 น.
ภัทร พจน์พานิช. 2561. กำรพัฒนำทรัพยำกรมนุษยภ์ ำยใตน้ โยบำยประเทศไทย ๔.๐. วิทยาลัยปอ้ งกันราชอาณาจกั ร

หลกั สตู รการป้องกันราชอาณาจกั ร รุน่ ท่ี ๖๐ ประจาปกี ารศกึ ษา พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ – ๒๕๖๑. 115 น.

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บัณฑิตศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


614

ศูนย์วิจัยสารสนเทศแห่งประเทศไทย. 2022. ควำมหมำยของคำว่ำ "ระบบสำรสนเทศภูมิศำสตร์ ( Geographic
Information System ) GIS". [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.gisthai.org/about-gis/gis.html
(11 ตุลาคม 2565).

สนั่น หวานแท้. 2553. กำรพัฒนำระบบสำรสนเทศเพื่อกำรจัดเก็บและกำรสืบค้นสำหรบั กำรบริหำรงำนบุคคล คณะ
อักษรศำสตร์ มหำวทิ ยำลยั ศิลปำกร. มหาวทิ ยาลัยศิลปากร นครปฐม. 205 น.

อุรุยา วสี กลุ . 2562. ศกึ ษำและปรับปรุงระบบบรหิ ำรงำนบำรุงทำงพเิ ศษของกำรทำงพิเศษแห่งประเทศไทย. สานักงาน
ศู น ย์ วิ จั ย แ ล ะ ใ ห้ ค า ป รึ ก ษ า แ ห่ ง ม หา วิ ท ย า ลั ย ธ ร ร ม ศ า ส ต ร์ . [ ร ะ บ บ อ อ น ไ ล น์ ] . แ หล่ ง ท่ี ม า
https://repository.turac.tu.ac.th/handle/6626133120/798?show=full (11 ตุลาคม 2565).

เอกสิทธิ กระจ่างลิขติ . 2555. กำรบำรุงรกั ษำทำงหลวงชนบทและกำรพฒั นำสิ่งแวดล้อมในชมุ ชนใกล้เคยี งทำงหลวง
ชนบทจังหวัดยะลำ. วิทยานิพนธ์สาขาวิชาส่ิงแวดล้อมกับการพัฒนา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏ
ยะลา. 119 น.

Kenneth C. Laudon and Jane P. Laudon. (2003). Management Information Systems. NJ: Prentice Hall.
645 p.

Technology for a better society. 2555. โครงกำรพัฒนำระบบงำนภูมิสำรสนเทศทำงพิเศษ กำรทำงพิเศษแห่ง
ป ร ะ เ ท ศไ ท ย. [ระบบอ อ นไลน์]. แหล่ง ที่มา https://www.cdg.co.th/website/industries/travel-
transportation/%e0%b9%82%e0%b8%84%e0%b8%a3%e0%b8%87%e0%b8%81%e0%b8%b2
%e0%b8%a3%e0%b8%9e%e0%b8%b1%e0%b8%92%e0%b8%99%e0%b8%b2%e0%b8%a3%
e0%b8%b0%e0%b8%9a%e0%b8%9a%e0%b8%87%e0%b8%b2%e0%b8%99%e0%b8%a0%e0
%b8%b9%e0%b8%a1/ (11 ตลุ าคม 2565).

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บัณฑิตศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


615

เศรษฐกิจครวั เรอื นของเกษตรกรผ้ผู ลติ ฝ้ำยย้อมครำมในเมืองสองคอน แขวงสะหวนั นะเขต
สำธำรณรฐั ประชำธปิ ไตยประชำชนลำว

Household Economy of Farmers Producing Indigo-Dyed Cotton in Lahanam
Village, SongKhone District, Savannakhet Province, Lao People’s Democratic

Republic

จันดอกคำ ย้ยู ำบดุ

สาขาการจดั การ และ พฒั นาทรพั ยากร คณะผลติ กรรมการเกษตร มหาวทิ ยาลยั แม่โจ้ จงั หวัดเชียงใหม่ ประเทศไทย 50290
Resources Management and Development, Faculty of Agricultural Production,
Maejo University, Chiangmai Province, Thailand 50290
อเี มล: [email protected]

บทคัดย่อ

งานวิจยั คร้ังน้ีศกึ ษาเกยี่ วกบั เศรษฐกจิ ครัวเรอื นของชาวเกษตรกรผ้ผู ลติ ฝา้ ยย้อมครามในหมู่บา้ นละหาน้า เมือง
สองคอน แขวงสะหวันนะเขต สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว การวิจัยครง้ั นีใ้ ช้วิธีการผสมผสานท้ังเชิงปรมิ าณ
เชงิ คณุ ภาพ และแบบมีสว่ นรว่ ม ของเกษตรกรทผ่ี ลิตฝา้ ยยอ้ มครามในหมบู่ ้านละหาน้า เมอื งสองคอน แขวงสะหวนั นะเขต
จานวน 12 ครัวเรือน

จากผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 100 เป็นเพศหญิงท้ังหมดท่ีมีประสบการณ์การทอผ้า 10-20 ปี
สามารถหารายได้จากผา้ ฝา้ ยยอ้ มครามในช่วงระหวา่ ง 3,000,000-5,000,000 กบี สาหรับความพอเพียงในดา้ นการเรียนรู้
ภมู ิปญั ญาท้องถน่ิ และเทคโนโลยีทชี่ ุมชนไดน้ าทรพั ยากรหรอื วัสดุท้องถน่ิ มาประยกุ ต์ใช้ในการทาเครื่องมอื มคี า่ เฉล่ีย 4.58
โดยเปน็ ค่าสาคัญทส่ี ดุ ในแงข่ องเศรษฐกิจชุมชน คนในชุมชนทอผ้ามีอานาจต่อรองต่อผู้ซอื้ ดว้ ยคา่ เฉลี่ย 3.58 ในแงข่ องการ
บริหารชุมชนที่คนในชุมชน สามารถเข้าถึงแหลง่ เงินทุนไดเ้ ฉลีย่ 3.41 ดงั นน้ั ผา้ ฝา้ ยยอ้ มครามจงึ มคี วามสาคญั ต่อเศรษฐกจิ
ชมุ ชน.

คำสำคญั : ผ้าฝ้ายยอ้ มคราม เศรษฐกจิ ชุมชน

Abstract

This research studied farmers' household economies of indigo-dyed cotton in Lahanam Village,
SongKhone District, Savannakhet Province, Lao People's Democratic Republic. This research used a
combination of quantitative, qualitative, and participatory methods with farmers who produce indigo-
dyed cotton in Lahanam Village, SongKhone District, Savannakhet Province, totaling 12 households.

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บัณฑติ ศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


616

The research results found that 100% of the samples were female with 10–20 years of weaving
experience. They could earn 3,000,000–5,000,000 kip from indigo-dyed cotton. For self-sufficiency in
learning, local wisdom, and technology that the community has brought resources or local materials to
apply to make tools has an average of 4.58, which is the most important value in terms of the
community economy. People in weaving communities have bargaining power toward buyers with an
average of 3.58 in terms of community management, and people in the community are able to access
funding sources with an average of 3.41. Therefore, indigo-dyed cotton is important to the community
economy.

Keywords: Indigo-Dyed Cotton, Households’ economic

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บัณฑิตศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


617

บทนำ

การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนดา้ นเศรษฐกิจครัวเรือนของชาวเกษตรกรผ้ผู ลิตผา้ ฝ้ายยอ้ มครามในหมู่บ้านละหานา้
เมืองสองคอน แขวงสะหวนั นะเขต สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว แขวงสะหวนั นะเขตน้ันจัดเป็นแขวงหน่งึ ของ
ลาวท่ีมีศักยภาพด้านการผลติ ผ้าฝ้าย เช่น หมู่บ้านละหาน้า ซึ่งมีความโดดเด่นในการผลิตฝ้ายย้อมคราม และ เป็นผลติ
ภนั ท์ยอดนิยมทค่ี นลาวนยิ มสวมใสท่ วั่ ไป เพราะฝา้ ยเปน็ ภูมิปัญญาของวัฒนธรรมด้ังเดิม อีกทงั้ ยังมลี วดลายที่สวยงามและ
การทอทลี่ ะเอยี ดอ่อน ในขณะท่ีมีการออกแบบท่มี ีคณุ ค่าวฒั นธรรมดั้งเดมิ ท่ีโดดเดน่ หมู่บา้ นละหาน้ามีผ้าฝ้ายยอ้ มครามมี
ชื่อเสยี ง ลวดลายสวยงาม ยอ้ มด้วยสีธรรมชาติ ตามภูมิปญั ญาทอ้ งถน่ิ ของกลมุ่ หัตถกรรมท่ภี าครัฐส่งเสรมิ ให้เป็นผลติ ภณั ฑ์
ODOP ควบคู่ไปกับการพฒั นาอยา่ งตอ่ เนือ่ ง อยา่ งไรกต็ าม กระบวนการทอมือโดยใชส้ ธี รรมชาติพบปัญหาในการจัดหาวัสดุ
จากธรรมชาติทใ่ี ห้สี รวมไปถึงการคงความยั่งยนื หรือความสาเร็จภายในกลุ่มก็ตอ้ งมีวธิ ีการออกแบบลวดลายใหมๆ่ ควบคู่
ไปกบั เอกลักษณ์และความเปน็ ธรรมชาติ โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ต้งั แต่กระบวนการหมักสีไปจนถึงกระบวนการแปรรูปผ้า เป็น
ต้น

จุดมุง่ หมายของการศึกษาในครง้ั นีจ้ ีงเป็นการศึกษากระบวนการทอผา้ ฝ้ายยอ้ มครามด้วยมือในหมบู่ า้ นละหาน้า
รวมทัง้ แนวทางการสรา้ งมูลค่าเพิม่ ใหก้ บั ผลติ ภณั ฑ์ชมุ ชนและขยายการจาหนา่ ย ซงึ่ ช่วยใหช้ มุ ชนสามารถพ่ึงพาตนเอง เป็น
การอนุรักษ์มรดกวัฒนธรรมของชุมชนและนาไปสู่ความตระหนักของประชาชนเก่ียวกับการอนุรักษผ์ ืนป่า ซึ่งเป็นแหลง่
วัตถุดบิ สาหรับการผลติ สใี หผ้ ลติ ภนั ทผ์ ้าฝา้ ยย้อมครามในอนาคตอีกดว้ ย

วิธีกำรดำเนนิ กำรวจิ ัย

กำรออกแบบกำรวจิ ยั
การวจิ ัยครั้งน้ใี ชว้ ิธกี ารแบบมสี ว่ นร่วม (PRA) ดงั รปู ที่ 1 แสดงใหเ้ หน็ ข้ันตอนของการวจิ ยั โดยวิธีการผสมผสาน

วธิ กี ารเชิงคณุ ภาพและเชิงปริมาณเพอ่ื ครอบคลมุ วตั ถปุ ระสงค์ของการศกึ ษาวิจัยในครง้ั นี้โดยวธิ กี ารรวบรวมและวิเคราะห์
ข้อมลู รอ้ ยละความถี่

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บณั ฑิตศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


618

ภาพที่ 1 ขนั้ ตอนวธิ ีการวจิ ยั รวบรวมข้อมูล

ประมวลผลข้อมูล

ขอ้ มูลปฐมภูมิ

การสนทนากลุ่ม เตรียมแบบสอบถาม ขอ้ มูลทุติยภูมิ

สมั ภาษณ์เชิงลึก

วิเคราะหข์ อ้ มูล

รายงานวิจยั

เครอ่ื งมืองำนวจิ ัย

1. วเิ คราะหแ์ นวทางการพฒั นานโยบายและชุมชนของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว: วิเคราะหเ์ ชิง

ปรมิ าณโดยการวิเคราะหเ์ นอ้ื หา

2. ใช้แบบสอบถามโดยรวบรวมขอ้ มลู เศรษฐกจิ ครัวเรอื นของชาวเกษตรกรผผู้ ลติ ผา้ ฝ้ายยอ้ มครามในเมอื งสองคอน

แขวงสะหวันนะเขต สปป. ลาว

3. การสมั ภาษณก์ ลุ่มสนทนาจะนาไปใช้กบั กลไกการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนเพ่อื การพึ่งพาตนเองอยา่ งยง่ั ยืนของชาว

เกษตรกรผ้ผู ลิตผา้ ฝ้ายยอ้ มครามในเมอื งสองคอน แขวงสะหวันนะเขต สปป. ลาว

รูปที่ 2 แผนทห่ี ม่บู ำ้ นละหำนำ

กำหนดกล่มุ ตัวอย่ำง

จุดมุ่งเน้นของงานวิจัยน้ีคือเกษตรกรผู้ผลิตผ้าฝ้ายยอ้ ม

ครามในหมู่บ้านละหานา้ เมืองสองคอน แขวงสะหวนั นะเขต

จานวน 12 ครัวเรือน ชึ่งเป็นหัวหน้ากลุ่มผู้ผลิตท่ีได้รับการ

แนะนาโดยแผนกการค้า และ อุตสาหกรรมแขวงสะหวันนะ

เขต

กำรรวบรวมข้อมลู

งานวจิ ยั คร้ังน้ี มีการรวบรวมขอ้ มลู ดังน:ี้

แหล่งทมี่ า: google map, 2022 1. ข้อมูลปฐมภูมิ แบบสอบถาม และ การสัมภาษณเ์ ชงิ ลึก
ของเกษตรกรผผู้ ลิตฝา้ ยย้อมครามในหมู่บา้ นละหาน้า เมือง

สองคอน แขวงสะหวันนะเขต สปป. ลาว

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บณั ฑติ ศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


619

2. ขอ้ มูลทุติยภมู ิ การรวบรวมเอกสารงานวจิ ัยทเี่ ก่ียวข้อง เช่น ข้อมูลผ้าฝา้ ยยอ้ มครามของหมบู่ า้ นละหานา้ และจาก

การศกึ ษางานวิจยั คร้ังทผี่ า่ นมา รวมถงึ แผนยุทธศาสตรก์ ารพัฒนา กิจกรรมเป้าหมายในการพฒั นาหมบู่ ้านละหา

นา้ และวารสารอน่ื ทเี่ ป็นประโยชนแ์ กก่ ารศกึ ษาข้ันตอ่ ไป

กำรวิเครำะห์ข้อมูล

งารวิจยั คร้งั น้ีใช้วธิ ีการเชิงคณุ ภาพและเชิงปริมาณรว่ มกับสถิติพรรณนา การวิเคราะห์เนื้อหาจะนาไปใช้กับกลไกการ

พัฒนาเศรษฐกิจชุมชนเพื่อการพ่ึงพาตนเองอย่างยัง่ ยนื ของชาวเกษตรกรผู้ผลิตผ้าฝ้ายย้อมครามในเมืองสองคอน แขวง

สะหวันนะเขต สปป. ลาว ในด้านข้อมูลเศรษฐกิจครัวเรือนของชาวเกษตรกรที่ผลิตผ้าฝ้ายย้อมครามในเมืองสองคอน

แขวงสะหวนั นะเขต สปป. ลาว จะใชส้ ถิตติ า่ งๆ เชน่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐานดังนี้

คำ่ มำตกำรวดั ระดับช่วง ระดบั ควำมสำคญั

5 4.21-5.00 ความสาคัญสงู สดุ

4 3.41-4.20 ความสาคัญสงู

3 2.61-3.40 ความสาคัญปานกลาง

2 1.81-2.60 ความสาคัญนอ้ ยสุด

1 1.00-1.80 ความสาคญั นอ้ ย

แหลง่ ที่มา: มาตรวดั Likert

ผลกำรวิจยั

ตำรำง 1 ข้อมูลส่วนตัวผูต้ อบแบบสอบถำม

คุณลกั ษณะ คำอธิบำย ควำมถี่ เปอร์เซ็นต์
12 100
เพศ หญิง 1 8.33
1 8.33
อายุ 20-30 4 33.34
3 25
30-40 3 25
12 100
40-50 2 16.67
5 41.67
50-60 4 33.33
1 8.33
60-70 7 58.33
3 25
สถานภาพการสมรส แตง่ งาน 2 16.67

ไม่ไดเ้ รยี น

ระดับการศึกษา ประถมศกึ ษา
มธั ยมตน้

มธั ยมปลาย

10-20

ประสบการณก์ ารทอผ้า 20-30

30-40

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บณั ฑติ ศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


620ความถี่

ข้อมลู หมูบ่ ้านละหาน้า (2022)

จากตาราง 1 แสดงใหเ้ หน็ วา่ ผตู้ อบแบบสอบถามของหมู่บ้านละหาน้าเพศหญงิ ทั้งหมดทม่ี สี ถานะแต่งงานแลว้ 12
คนหรอื คดิ เป็นร้อยละ 100 กิจกรรมการทอผา้ มีอายรุ ะหว่าง 40-50 ปี คิดเปน็ รอ้ ยละ 33.34 และ ระหวา่ ง 50-60 ปี
และ 60-70 คิดเป็นร้อยละ 25 ระดับการศึกษาสว่ นใหญจ่ บการศึกษาระดบั ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน้ ไม่ได้
เรียน และมธั ยมศกึ ษาตอนปลายรอ้ ยละ 41.67 รอ้ ยละ 33.33 รอ้ ยละ 16.67 และ รอ้ ยละ 8.33 ตามลาดับ สว่ นใหญ่
มีประสบการณ์การยอ้ มผ้าคราม 10-20 ปี หรือคิดเปน็ ร้อยละ 58.33 แต่ก็มีบางครัวเรอื นท่ีมีประสบการณ์มากกว่า
20-30 และ 30-40 ปี เฉลย่ี ท่รี อ้ ยละ 25 และ ร้อยละ 16.67 ตามลาดบั

10 ภาพที่ 2 แสดงความถ่รี ายได้ของการทอผา้ ครามตอ่ เดอื น แสดง
8 ให้เห็นว่ารายได้ปกติที่ได้รับอยู่ระหว่าง 1,000,000 กีบ –
6 3,000,000 กีบ และระหว่าง 3,000,000 กีบ – 5,000,000 กีบ
4 ตามลาดบั

2

0

ภาพท่ี 2 กราฟแสดงความถ่รี ายได้ต่อเดือน

ความ ี่ถ 10 ภาพท่ี 3 แสดงค่าใช้จ่ายต่อเดือนของผู้ตอบแบบสอบถาม
8 พบว่ารายได้ในช่วง 2,600,000 กีบ- 4,200,000 กีบต่อเดือน โดย
6 ส่วนใหญ่มีค่าใช้จา่ ยประมาณ 6,000,000 กีบต่อเดือนเนอ่ื งจากการ
4 ไดร้ บั ผลกระทบจากเงนิ เฟอ้ ในปจั จุบัน

2

0

ภาพท่ี 3 กราฟแสดงความถ่ีรายจ่ายต่อเดือน

ตำรำง 2 ศกั ยภำพกำรพ่งึ พำตนเองในด้ำนกำรเรยี นรู้ ภมู ปิ ญั ญำทอ้ งถน่ิ และเทคโนโลยี

ลำดบั ประเดน็ คำถำม ค่ำเฉล่ยี คำ่ ค่ำผนั
แปร
เบย่ี งเบน
0.63
มำตรฐำน 0.93

1 มีเครื่องมือหรือวิธีการทอแบบด้ังเดิมหรือทนั สมัยเหมาะสมกับรายไดข้ อง 4.5 0.79 0.44
ตน

2 มีเคร่ืองมือหรือวิธีการทอแบบเดิมและทันสมัยเพื่อประหยัดพลังงานและ 3.75 0.96

เป็นมิตรกบั ส่ิงแวดลอ้ ม

3 ชมุ ชนไดน้ าทรัพยากรหรือวัสดุท้องถิน่ มาประยุกตใ์ ช้ในการทาเครอื่ งมือ 4.58 0.66

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บณั ฑติ ศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


621

4 มศี นู ย์ทอผา้ 2.33 1.07 1.15

แหล่งข้อมูล: การรวบรวมขอ้ มูลจริง 2022

จากตาราง 2 แสดงให้เห็นว่าระดับความสาคัญของแต่ละปจั จยั ของดา้ นการพ่ึงพาตนเองในดา้ นการเรียนรู้ ภูมิ

ปัญญาท้องถ่ิน และเทคโนโลยีแบบพอเพียง ชึ่งเราสามารถตระหนักวา่ ชุมชนมีปจั จยั นาทรัพยากรหรอื วัสดใุ นท้องถิน่ มา

ประยุกต์ใช้ในการทาเคร่ืองมือมีความสาคัญท่ีค่าเฉลี่ย 4.58 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานท่ี 0.66 และ ค่าผันแปรท่ี 0.44

รองลงมาคอื ประเดน็ ทม่ี ีเครอื่ งมือหรือวิธีการทอแบบดง้ั เดมิ หรือทันสมยั เหมาะสมกับรายไดข้ องตน เห็นวา่ มี ค่าเฉลย่ี 4.5

คา่ เบ่ยี งเบนมาตรฐานที่ 0.79 และ ค่าผนั แปรที่ 0.63 ส่วนการใช้วธิ กี ารทอแบบเดิมและทนั สมยั เพื่อประหยัดพลงั งานและ

เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมมีค่าเฉลี่ย 3.75 ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐานท่ี 0.96 และ ค่าผันแปรที่ 0.93 ดูเหมือนว่าผู้ตอบ

แบบสอบถามไม่รู้ว่ามีศูนย์ทอผ้าในหมู่บ้านหรืออาจจะไม่เข้าร่วม ดังนั้นปัจจัยนี้จึงมีความสาคัญน้อยกว่าเมื่อเทียบกับ

ปัจจยั อ่ืนๆ ในกลมุ่ น้อี ยู่ทีค่ ่าเฉลยี่ 2.33 ค่าเบีย่ งเบนมาตรฐานที่ 1.07 และ ค่าผันแปรที่ 1.15

ตำรำง 3 กำรพ่ึงพำตนเองด้ำนเศรษฐกิจชมุ ชน

ลำดับ ประเด็นคำถำม คำ่ เฉลีย่ ค่ำ คำ่ ผนั

เบีย่ งเบน แปร

มำตรฐำน

1 มคี วามสามารถในการลดตน้ ทุนการผลติ 2.41 1.16 1.35

2 มคี วามสามารถในการวางแผนและบริหารการเงินอย่างยงั่ ยนื 2.83 0.71 0.51

3 มรี ายไดเ้ พยี งพอจากการทอผ้า 3 0.60 0.36

4 มอี านาจต่อรองกบั ผูซ้ อื้ 3.58 0.38 0.51

แหลง่ ขอ้ มูล: การรวบรวมขอ้ มลู จรงิ 2022

จากขอ้ มูลตาราง 3 เปดิ เผยระดับความสาคญั ของแตล่ ะปัจจยั ด้านการพ่งึ พาตนเองในดา้ นเศรษฐกิจชุมชนเหน็ วา่

คนในชุมชนการทอผ้ามีอานาจต่อรองต่อผู้ซื้อมคี วามสาคัญอย่ทู ่ีค่าเฉล่ยี 3.58 ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐานท่ี 0.38 และ ค่าผนั

แปรที่ 0.51 หมายความวา่ ผู้ซือ้ พอใจท่ีจะซือ้ ราคาแพงขึน้ เลก็ นอ้ ยขึ้นอยกู่ ับรปู แบบการทอ และ ลวดลายบนผา้ รองลงมา

คือมีรายได้เพียงพอจากการทอผ้ามีค่าเฉลี่ยท่ี 3 ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐานท่ี 0.60 และ ค่าผันแปรท่ี 0.36 ในด้านมี

ความสามารถในการวางแผนและบริหารการเงนิ อยา่ งยงั่ ยนื พบว่ามี คา่ เฉลย่ี ท่ี 2.83 คา่ เบยี่ งเบนมาตรฐานที่ 0.71 และ คา่

ผนั แปรท่ี 0.51 ในขณะเดียวกัน จากปจั จัยที่กาหนด มกี รณีทีค่ รัวเรอื นมีความสามารถในการลดต้นทุนการผลิตในระดับ

ความสาคญั ที่คา่ เฉล่ีย 2.41 ค่าเบย่ี งเบนมาตรฐานท่ี 1.16 และ ค่าผันแปรที่ 1.35 เนือ่ งจากอตั ราเงนิ เฟอ้ ภายในประเทศ

ทีส่ ูงขึ้นทาให้ต้นทนุ การผลิตมีมวลสูงตาม

ตำรำง 4 กำรพงึ่ พำตนเองในกำรบรหิ ำรชุมชน

ลำดับ เนือใน คำ่ เฉลีย่ คำ่ ค่ำผนั

เบยี่ งเบน แปร

มำตรฐำน

1 การมีสว่ นรว่ มในการกาหนดนโยบาย การจัดซ้อื -ขายและสง่ ออก 2.16 1.14 1.24

2 มกี ารเคล่ือนไหวกิจกรรมทีเ่ กย่ี วข้องกับอานาจภาครฐั 2.16 1.14 1.24

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บัณฑติ ศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


622

3 ภาครัฐและเอกชน โครงการต่างประเทศเข้ามามีสว่ นร่วมในการช่วยเหลอื 2.25 0.96 0.93

และบริหาร

4 ชุมชนสามารถเข้าถึงแหลง่ เงินทุนได้ 3.41 1.31 1.71

แหล่งข้อมลู : การรวบรวมขอ้ มลู จรงิ 2022

จากตาราง 4 ของด้านการพ่ึงพาตนเองในการบริหารชุมชน แสดงให้เห็นว่า กลุ่มตัวอย่างในหมู่บ้านละหาน้า

สามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุน เช่น สถาบันไมโครไฟแนนซ์ท่ีมีความสาคัญสูงอยู่ค่าเฉลี่ย 3.41 และ การมีส่วนร่วมของ

ชาวบ้านในการกาหนดนโยบาย กิจกรรมท่ีเก่ียวขอ้ งกับอานาจหน้าที่ และโครงการต่างประเทศท่ีเขา้ ร่วมช่วยเหลอื และ

บริหาร คา่ เฉล่ียอยู่ที่ระดบั ความสาคัญที่ 2.16 และ 2.25 ตามลาดับ

อภปิ รำยผลวิจัย

จากผลการวิจยั พบว่า กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 100 เป็นสตรีและมีประสบการณ์เกี่ยวกับการทอผา้ คอตตอนยอ้ ม
ครามอายุมากกว่า 10-20 ปี กิจกรรมฝ้ายย้อมครามสร้างรายได้ให้กับชุมชนเป็นจานวนมาก โดยเป็นรายไดเ้ สริมให้กับ
ครอบครัวท่ีมีรายได้มากกว่า 3,000,000-5,000,000 กีบต่อเดือน และ มีความพอเพียงในด้านการเรียนรู้ ภูมิปัญญา
ท้องถ่ิน และเทคโนโลยีที่ชุมชนได้นาทรัพยากรหรือวัสดุท้องถ่ินมาประยุกต์ใช้ในการทาเครื่องมือ; คนในชุมชนทอผ้ามี
อานาจตอ่ รองตอ่ ผซู้ ื้อ; ในแงข่ องการบริหารชุมชนท่คี นในชมุ ชน สามารถเข้าถงึ แหลง่ เงินทนุ ทมี่ ีเกยี่ วขอ้ งกบั การวจิ ัยของ
สทุ ศิ า ซองเหล็กนอก (2015) วิจัยเกยี่ วกับกระบวนการจัดการความร้ขู องกลมุ่ ธุรกจิ ชมุ ชนผา้ ย้อมคราม ไดแ้ ก่ (1) การระบุ
ถึงความรู้เป็นการกาหนด เป้าหมายเพ่ือระบุถึงความรู้ท่ีต้องใช้ในการทาธุรกิจ (2) การแสวงหาและจัดหาความรู้กลุ่ม
ธุรกิจชุมชน (3) การสร้างความรู้กลุ่มธุรกิจชุมชนใช้ ความรู้ดั้งเดิมเป็นพื้นฐาน (4) การจัดระบบและจัดเก็บความรูก้ ล่มุ
ธุรกิจชุมชน (5) การแลกเปล่ียนและการถ า่ ยทอด ความรู้เป็นการแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างสมาชิก กลุ่ม เครือขา่ ย (6)
การใช้ความรู้แบ่งตามลักษณะหน้าที

บทสรุป

จากกานวิจัย ค้ังนี้พบว่ากลุ่มตัวอย่างร้อยละ 100 เป็นเพศหญิงทั้งหมดท่ีมีประสบการณ์การทอผ้า 10-20 ปี
สามารถหารายได้จากผา้ ฝา้ ยยอ้ มครามในช่วงระหวา่ ง 3,000,000-5,000,000 กบี สาหรับความพอเพียงในด้านการเรยี นรู้
ภูมปิ ัญญาท้องถ่นิ และเทคโนโลยีทช่ี มุ ชนไดน้ าทรัพยากรหรือวสั ดทุ ้องถิน่ มาประยุกต์ใช้ในการทาเครอ่ื งมือมีค่าเฉลยี่ 4.58
โดยเป็นคา่ สาคัญทส่ี ดุ ในแงข่ องเศรษฐกจิ ชุมชน คนในชมุ ชนทอผ้ามอี านาจต่อรองต่อผ้ซู ือ้ ดว้ ยคา่ เฉลีย่ 3.58 ในแง่ของการ
บริหารชุมชนทค่ี นในชมุ ชน สามารถเขา้ ถงึ แหลง่ เงนิ ทุนไดเ้ ฉล่ยี 3.41 ดังนัน้ ผา้ ฝา้ ยยอ้ มครามจงึ มีความสาคญั ตอ่ เศรษฐกจิ
ชมุ ชนของหมบู่ ้านละหาน้าอย่างมาก.

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บัณฑติ ศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


623

กิตตกิ รรมประกำศ

งานวิจยั วิทยานพิ นธ์ฉบบั นี้จะเกดิ ขึ้นไม่ไดห้ ากขาดการสนับสนุนดา้ นแนวคดิ และเทคนิคจากคณาจารยท์ กุ ท่านใน
คณะการผลติ ทางการเกษตร มหาวิทยาลัยแมโ่ จ้ ท่ีสอนดา้ นการจัดการและพัฒนาทรพั ยากร ดิฉันอยากจะขอบคุณมา ณ
ท่ีนี้ สาหรบั ความช่วยเหลือและการสนับสนนุ สาหรับหลกั สูตรปรญิ ญาเอก ขอแสดงความขอบคุณอยา่ งจรงิ ใจตอ่ นักวิจยั รนุ่
เยาวใ์ นมหาวิทยาลัยสะหวันนะเขต สปป. ลาว ท่ีไม่สามารถเอย่ ถงึ พวกเขาท้งั หมดได้ สดุ ทา้ ยนี้ ดฉิ ันขอกล่าวขอบพระคณุ
อยา่ งสุดซ้งึ สาหรบั กาลงั ใจและการสนับสนุนตลอดโครงการวิจยั ชน้ิ นีด้ ว้ ย

กำรอ้ำงอิง

สทุ ศิ า ซองเหล็กนอก (2015). กระบวนการจดั การความรขู้ องกลุ่มธรุ กิจชุมชนผา้ ย้อมคราม, KKU Res J (GS) 15 (3) :
July - September 2015, p 6-12

Agyeman, J., Bullard, R. D., & Evans, a. B. (2010). Exploring the Nexus: Bringing Together Sustainability,
Environmental Justice and Equity. Routledge Space and Polity, 6:1, 77-90.

Ann, C. (1985). MEASURING HOUSEHOLD ACTIVITIES: SOME INTERNATIONAL COMPARISONS. The Review
of Income and Wealth, Volume 31, Issue 3, 237-253.

Assembly, N. (2021). Grind reports on the results of the 11th National Congress of the Lao Democratic
party. National Publishing House Lao People's Democratic Republic.

BAUMANN, H. P. (1966). Textile Dyeing. Canada: International Correspondence Schools, Canadian, Ltd.
Becker, G. (1981). A Treatise on the Family. Harvard University Press.
Berke, P. R., & Conroy, a. M. (2007). Are We Planning of Sustainable Development? Journal of the

American Planning Association 66:1, 21-33.
Bernard, J. P. (2017, November 14). A BRIEF HISTORY OF NATURAL DYES. Retrieved from First Source

Worldwide,LLC: https://www.fsw.cc/natural-dyes-history/
Bojer, T. S. (2017, June 9). The History of Indigo Dyeing and How It Changed the World. Retrieved from

medium: https://medium.com/@tsbojer/the-history-of-indigo-dyeing-and-how-it-changed-the-
world-35c8bc66f0e9
Chaikaew, N. (2002). Ecotourism in Amphoe Mae Chaem, Changwat Chiang Mai: Development,
Management Patterns, and Potential for Sustainable Development. Chiang Mai University
Copyright, 5-11.
CHOI, N. G., & KIM, a. J. (2011). The effect of time volunteering and charitable donations in later life on
psychological wellbeing. Cambridge University Press 2010, 590-610.
Cornwell, L. (1986). Community Development: Science or Metaphor? Unpublished masters thesis,
UNISA, 219.

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บณั ฑิตศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


624

Department of Science Service. (2017). The documents for the development training course on
natural dyes for fabric products in Amnat Charoen province. OTOP project on woven fabrics,
Thailand.

Department, P. (2002). Plants for Dyeing. In J. o. Agriculture. Rajabhat University.
Farah Maria Drumond Chequer, G. A. (2013). Textile Dyes: Dyeing Process and Environmental Impact.

Eco-Friendly Textile Dyeing and Finishing.
Jutamas Choosakun and Aungkana Chatkon. ( 2016). The Effect of Natural Mordant pH on Shade and

Quality of Dyed Silk, the national and international. : Graduate school, khon kaen University,
Thailand and Universitas Muhammadiyah Yogyakarta, Indonesia.
Khan, M. R., Uddin, Z., & Hossain, a. D. (2014). Eco-Sustainable Process Development for Indigo Dye by
Using Natural Reducing Agents. Middle-East Journal of Scientific Research 22 (7), 1090-1095.
Lai, C.-C., & Chang, a. C.-E. (2021). A Study on Sustainable Design for Indigo Dyeing Color in the Visual
Aspect of Clothing. MDPI, 1-11.
Lancaster, K. (1971). Consumer Demand: A New Approach. Columbia University Press, New York.
Lanug, S. (2000). Women's Roles in Domestic Economy in Rural Communities. Chiang Mai University
Copyright, 1-12.
Leontief, W. (1941). The Structure of the American Economy, 1919-1939. Oxford University Press,
Oxford.
LLP, M. D. (2019). Different Types of Dyes with Chemical Structure. Retrieved from Meghmani Group:
https://www.meghmaniglobal.com/different-types-of-dyes-with-chemical-structure/
Ministry of Industry, a. H. (2010). Campaign and Handicraft Industry Development Plan Sixth five years
2006-2010. National Publishing House Lao People's Democratic Republic.
Ministry of Planning, a. I. (2016). 5-Year National Economic and Social Development Plan. National
Publishing House Lao People's Democratic Republic.
Ministry of Planning, a. I. (2016). Vision of 2030 and Economic and Social Development Strategy
Duration 10 Years (2016-2025). National Publishing House of Lao's People Democratic
Republic.
Niyomthai, N. (2004). Environmental Sustainable Development Community Planning by People
Participation of Ban Oon Community Mu 14, San Khamphaeng Municipality, San Khamphaeng
District, Chaing Mai Province. Chiang Mai University, 5-9.
Norasee, A. (2014). Survival of CommunityEconomy in Globalization: A Case Study of
BaitongKlongKrajong Group, Sawankhaloke District, SukhothaiProvince. Copyright by Chiang Mai
University, 1-7.

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บัณฑติ ศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


625

Pholperm, S. (2008). Management Process of Community Economic Forest in Hua Thung Village,
Chiang Dao District, Chiang Mai Province. Copyright by Chiang Mai Univeristy, 5-10.

Pimchan, P., & Uthaiku, A. (2022). The process of dyeing and coating the Sedge by natural materials
with a single material to gives many color values for development the unique product.
Rajabhat Maha Sarakham University.

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บัณฑติ ศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


626

กำรจัดกำรทรัพยำกรสำหรับคนพลดั ถิ่นอันเน่อื งมำจำกโครงกำรเขือ่ นไฟฟ้ำเทินหินบูนภำคขยำย
สำธำรณรฐั ประชำธิปไตยประชำชนลำว

Resources Management for Resettlement People of the Theun-HinBoune
Hydropower Extension Project, Lao People's Democratic Republic

นำยแกว้ อนุ่ เรอื น จันทวงศำ
Keoounheuane Chanthavongsa

สาขาการจดั การและพฒั นาทรัพยากร คณะผลติ กรรมการเกษตร มหาวทิ ยาลยั แมโ่ จ้ จังหวัดเชยี งใหม่ ประเทศไทย 50290
Resources Management and Development, Faculty of Agricultural Production, Maejo University, Chiangmai Province, Thailand

50290
[email protected]

บทคดั ย่อ

การศกึ ษาครั้งนี้ มีวตั ถปุ ระสงคเ์ พือ่ การจดั การทรัพยากรของโครงการเขอื่ นไฟฟา้ เทินหินบูนภาคขยายสาธารณรฐั
ประชาธิปไตยประชาชนลาว การวิจัยคร้ังน้ี เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยเน้นการวิจัยเชิงเอกสาร (Documentary
Research) การศึกษาจากเอกสารทางวิชาการ เอกสารทางราชการ ระเบียบกฎหมาย รายงานประชุม แผนพัฒนาของ
รฐั บาลทีเ่ ก่ียวข้องกับโครงการ และข้อมูลของโครงการ

ผลการศึกษาพบว่า นโยบายของรฐั ประสบความสาเร็จ คอื รฐั ตองใหความสาคญั กบั ประเพณี วถิ ชี ีวติ และความ
เช่อื ของชมุ ชน และการจดั สรรเพอ่ื ใชประโยชน การพัฒนาใหเหมาะสมกบั วิถีการดาเนนิ ชีวติ ของชุมชนและกอใหเกิดประ
โยชนดานตางๆ ทาใหปลอดภัย ความสะดวกสบาย รัฐควรมุงเนนในเร่ืองโครงสรางพื้นฐาน เพื่อผลท่ีตามมาทางดาน
เศรษฐกิจ ตอมาซึ่งสภาพแวดลอมทางกายภาพจะสงผลถึงชีวิตความเปนอยูของประชาชน และท่ีสาคัญไปกว่านั้น การ
จดั สรรทด่ี นิ การจดั หาแหลงน้าอุปโภคและบริโภค การสงเสริมอาชีพในชุมชน ท่ีจะต้องได้รับการพิจาระนาอยา่ งระเอียด
รอบด้านและมสี ว่ นรว่ มจากผ้มู ีสว่ นไดส้ ว่ นเสีย ก่อนนาสู่ภาคปฏิบตั ิ จะตอ้ งไดว้ ิเคราะห์ขอ้ มลู ความเสี่ยง และมาตราการ
การจัดการ

คำสำคัญ: การจดั การทรพั ยากร คนพลดั ถิ่น โครงการเขอื่ นไฟฟ้าเทนิ หนิ บูนภาคขยาย

Abstract

The purpose of this study was to: resources management of the Theun-HinBoune Hydropower
Extension Project, Lao People's Democratic Republic. This research is qualitative research by
emphasizing documentary research, the study of academic documents official documents Legal

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บณั ฑิตศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


627

regulations, meeting minutes, government development plans related to the project and project
information

The study found that the policy of the state was successful, that is, the state had to give
importance to the traditions, way of life and beliefs of the community and allocation for utilization area.
The development is suitable for the way of life of the community and creates various benefits, make it
safe and convenience. The state should focus on infrastructure for economic consequences
Subsequently, the physical environment will affect the lives of the people and more importantly on
land allocation, procurement of water and drinking water sources, restoration It must be carefully
considered and involved by stakeholders. before putting it into practice must have data analysis, risks
and management measures.

Keywords: Resources management, Resettlement People, Theun-HinBoune Hydropower Extension
Project.

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บัณฑิตศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


628

บทนำ

โครงการเขอ่ื นไฟฟ้าพลังน้าเทินหินบูนถือว่าเป็นโครงการแรกท่ีไดพ้ ัฒนาข้ึนภายใต้แผนงานการพฒั นาในลุ่มน้า
เทินตอนล่าง (Lahmeyar, 1997) เริม่ ดาเนินการกอ่ สร้างในปี 1994 เปดิ ดาเนินการอย่างเป็นทางการในวันที่ 4 เมษายน
ปี 1998 สาหรับโครงการเทนิ หินบูนภาคขยาย เปนการทดแทนการสูญเสยี การผลติ ท่ีเกดิ ขน้ึ เม่อื โครงการนา้ เทนิ สองท่ตี งั้
อยูตอนบนของเขอื่ นหินบูนได้ผันน้าลงสู่เซบั้งไฟ รัฐได้มองว่าการสร้างเข่ือนไฟฟ้าพลงั น้ามีประสิทธิผลสูงตอ่ การพฒั นา
เศรษฐกิจของชาติ จงึ ได้ขยายกาลงั การผลิตจากเดมิ 210 เมกะวตั ตเ์ ปน็ 500 เมกะวตั ต์ สง่ ขายใหป้ ระเทศไทย 440 เมกะ
วัตต์ และสนองให้ทอ้ งถนิ่ 60 เมกะวัตต์ โดยเรมิ่ ก่อสรา้ งโครงการในปี 2008 (THPC, 2008) และสาเร็จการก่อสรา้ งในปี
2012

มนัส สุวรรณ (2538) ได้กล่าวถึง การสร้างเข่ือนไฟฟ้าพลังน้าได้สร้างประโยชน์และนารายได้อนั มหาศาลมาสู่
ประเทศ แต่ต้องแลกมาด้วยการสูญเสียระบบนิเวศ ท่ีอยู่อาศยั และพ้ืนท่ีทากินของประชาชน ท่ีอยู่อาศยั ของสตั ว์นานา
ชนิด ท้ังในบริเวณอ่างเก็บน้า และบริเวณใต้เขื่อน ระบบนิเวศดังกล่าวไม่สามารถฟื้นสภาพได้ด้วยตัวเอง นาไปสู่การ
โยกยา้ ยประชาชนไปตง้ั ถ่ินฐานใหม่ ณ ท่ีใหม่ ซ่ึงสภาพสงั คม เศรษฐกิจ และระบบนิเวศจะด้อยกว่าทเี่ ดิม

ต่อกับปัญหาการโยกยา้ ยประชาชนไปอยพู่ ื้นที่ใหม่ในประเทศลาว เป็นนโยบายของรัฐที่ประชาชนในพ้นื ท่ตี ้อง
ปฏิบัติตามเพื่อให้สามารถเข้าถึงสาธารณูปโภคของรัฐและแหล่งการค้าในพ้ืนท่ีราบก่อให้เกิดข้อถกเถยี งขึ้ น โดยฝ่ายที่
สนับสนุนได้กลา่ ววา่ ผู้อพยพจะไดร้ บั ผลประโยชนใ์ นการมาอยรู่ ่วมกันกับรัฐและตลาด การอพยพประชาชนจากทร่ี าบสูงสู่
ท่ีราบลุ่มท่ีเต็มไปดว้ ยความคาดหวังเพื่อลดปัญหาความยากจนและไปสู่ความทันสมยั ในเขตชนบทของประเทศลาว ส่วน
ฝา่ ยทไ่ี มเ่ หน็ ดว้ ยไดว้ ิจารณ์ถึงการอพยพดงั กล่าวว่าจะสรา้ งความยากจนที่รุนแรงขน้ึ ความคาดหวังของผ้อู พยพได้ขัดแย้ง
กับสิ่งท่ีพวกเขาได้พบ คือสาธารณูปโภคของรัฐไม่เพียงพอและรายได้ที่ได้รับในพื้นท่ีใหม่ต่า จากงานศึกษาของ High
(2008) กลา่ วถงึ ผู้อพยพท่ตี อ้ งการจะยา้ ยและไม่อยากกลบั ไปหมบู่ า้ นเดิม ถงึ แมจ้ ะมสี ิ่งท่ีบ่งบอกวา่ รายได้จะลดลง ความ
มุ่งมาดปรารถนาเป็นส่ิงท่ีแขง็ แกร่งและฝังรากลึกลงในบริบทวัฒนธรรมของพวกเขา ความมุ่งมาดปรารถนาท่ีพดู ถงึ คือ
ทดี่ นิ ทอี่ ุดมสมบรู ณ์ โรงเรยี น โรงพยาบาล และถนน ความหวงั เพื่อการเปลีย่ นแปลง และยตุ กิ ารรบั รูถ้ ึงความยากจนแบบ
เกา่ และความเป็นชายขอบ และซ่งึ อนาคตเกิดข้ึนมาจากการเปลีย่ นแปลงในปัจจบุ ัน แต่ Baird et al. (2009) กลับมองวา่
งานศกึ ษาของ High ไดส้ รุปแบบง่ายดายเกินไปการอพยพจะมปี ญั หาตา่ งๆ ตามมา ซง่ึ กอ่ นหน้านน้ั การอพยพจากทีร่ าบสงู
ไปสทู่ ร่ี าบลุม่ เปน็ การควบคมุ พื้นทขี่ องรฐั โดยการขยายการเข้าถงึ การบรกิ ารของรัฐ การยุติการทาไร่เล่อื นลอย การยุติการ
ปลูกฝิ่น และยังเป็นการรวบรวมชนกลุ่มน้อยเข้ามาสู่การปกครองของรัฐ การอพยพในประเทศลาวเป็นการวางแผนจาก
ส่วนกลาง ประชาชนในท้องถิน่ ไม่ไดม้ ีส่วนรว่ มดว้ ย

คาสงิ สายพวู งศ์ (2562) ได้กลา่ วว่า การโยกยายบานเรือนไปอยทู ี่ใหมท่ีโครงการเขอื่ นไฟฟาเทินหนิ บูนภาคขยาย
จัดสรร จานวน 4 หมู่บาน รวมท้ังหมด 629 ครัวเรือน ด้านเศรฐกิจ ไมมีรายไดทีแ่ นนอน ขาดการสงเสริมอาชีพ ประชา
ชนวางงาน การเพิ่มขน้ึ ของประชาชน ดานสงั คม มีการแพรระบาดของยาเสพตดิ ในชุมชน มหี นี้สินจากการกูยมื ขาดความ
สามคั คี และความเอือ้ อาทรซ่ึงกันและกัน และการไมรหู นงั สือเพราะขาดการศกึ ษา ดานกายภาพปญหาคุณภาพของน้าใน
การอปุ โภคและบริโภค นา้ ทวมในฤดฝู น เสนทางการคมนาคมไมสะดวก ไมมรี ถประจาทาง และ ปญหาที่ดนิ ในการทากิน
THPC (2008) ได้มกี รอบนโยบายเวนคืนให้ประชาชนท่ถี กู โยกย้ายด้วยมาตรการบรรเทาผลกระทบคณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ีขนึ้ และ
เพิ่มรายรับในระยะยาว อาทิเช่น ท่ีดินสาหลับก่อสร้างที่อยู่อาสัยพร้อมที่ดินสวนครัว 1,000 ตารางเมตร เนื้อท่ีนา 1

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บณั ฑิตศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


629

เฮกตาร์ เท่ากบั 6.25 ไร่ และทดี่ ินสวน 0.5 เฮกตาร์ เท่ากบั 3.12 ไร่ สิทธใิ นการชมใชป้ ่าชุมชน เขตเลย้ี งสตั ว์ แม่น้า และ
เขตหาปลา ปรบั ปรงุ การบริการด้านสขุ ภาพ และการศึกษา ก่อสรา้ งหรือซอ้ มบารุงถนนสามารถเขา้ ถงึ ไดต้ ลอดปี และให้
ความชว่ ยเหลือทางด้านเทคนคิ อุปกรณก์ ารเกษตร ฯลฯ หม่บู ้านโยกย้ายและจัดสรรทงั้ 4 หมบู่ า้ น ประกอบดว้ ย หมบู่ า้ น
หนองซง หม่บู ้านสบพวนและหมู่บ้านโพนทอง เป็นบา้ นเดิมที่มีชาวบ้านอาสัยอยู่ ท่ีเรยี กว่าหมู่บ้านเจา้ ภาพ (host village)
และหม่บู ้านแก้วแสนคาเปน็ หมสู่ ร้างขึน้ มาใหม่ที่ล้อมรอบด้วยภูผา ห้วยน้า ติดกับอ่างกักเก็บนา้ ตอนใต้ของเข่ือน การสร้าง
หมู่บ้านที่นี้เพื่อรักษาทรัพยากรที่มีคุณค่าของชาวบ้านในพนื้ ท่ีดังเดมิ ไวต้ ลอดไป ทั้งหมู่บ้านเจา้ ภาพและหมู่บ้านโยกยา้ ย
จัดสรรจะได้รบั นโยบายคลา้ ยกัน

จากข้างต้น ผู้วิจัยสนใจศึกษาการจดั การทัรพยากรสาหรับคนพลัดถ่ินของโครงการเข่ือนไฟฟ้าเทินหินบูนภาค
ขยาย ในการพัฒนาพื้นที่เพ่ือรองรับการโยกยา้ ยและจดั สรรให้ประชาชนท่ีได้รับผลกระทบจากโครงการ ให้ประชาชนมี
ความเป็นอย่ทู ่ีดกี ว่าเดิม ภายใตก้ รอบนโยบาย มาตรการบันเทาผลกระทบของโครงการ ในการศึกษาในครั้งนค้ี าดวา่ จะ
เปน็ ประโยชนต์ อ่ หน่วยงานภาครัฐ ภาคโครงการ และภาคประชาชน ทจ่ี ะนาผลการศึกษานี้รว่ มท้งั แนวทาง และข้อเสนอ
ตา่ งๆ ไปปรับใช้ ในการพัฒนาพ้ืนทีร่ บั รองการโยกย้ายจัดสรรของโครงการอ่ืน

วธิ ีดำเนินกำรวจิ ยั

การวิจัยครั้งนี้ เป็นรูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยเน้นการวิจัยเชิงเอกสาร (Documentary Research)
การศึกษาจากเอกสารทางวิชาการ เอกสารทางราชการ ระเบียบกฎหมาย รายงานประชุม แผนพัฒนาของรัฐบาลท่ี
เก่ยี วขอ้ งกับโครงการ และข้อมลู ของโครงการ ผ้วู จิ ยั ได้รวบรวมข้อมลู จัดเป็นหมวดหม่แู ละนามาวิเคราะหจ์ ากเนอ้ื หาทีไ่ ด้
เพื่อหาความเช่ือมโยงและหาความสัมพันธ์ของข้อมูลและปรากฏการณ์ท่ีเกิดขน้ึ และกาหนดกรอบแนวคิดในการศกึ ษา
ผู้วิจัยได้วิเคราะห์ขอ้ มูลโดยจาแนกเปน็ ประเด็น ซ่ึงแบ่งออกเป็น 9 ประเด็นคอื การจัดหาแหลง่ น้า การจัดสรรทดี่ ิน การ
สง่ เสรมิ อาชพี ในชุมชน การสง่ เสรมิ ดา้ นสขุ ภาพอนามยั การจากดั ขยะและสงิ่ ปฏกิ ูล การบริหารจัดการโครงสร้างพื้นฐาน
การประสานงาน ประเพณี วัฒนธรรม และความเชื่อ การป้องกันความสงบ การวิเคราะห์เนื้อหา ด้วยการรายงานแบบ
พรรณนา

ผลกำรวจิ ัย

1. การจดั หาแหล่งน้า
การจัดหาแหล่งน้าเพื่อการอุปโภคและบริโภคให้เพียงพอต่อชุมชน เป็นระบบอย่างท่ัวถึง การบริหารจัดก าร

ระบชลประทารเพ่ือการเกษตรให้เพยี งพอต่อชุมชน การบริหารจัดการน้าที่เหมาะสมกับภมู ิประเทศสะภาพแวล้อมและ
ความตอ้ งการของชมุ ชน โครงการเข่ือนไฟฟ้าเทนิ หนิ บนู ภาคขยายเพยี งแคข่ ยายระบบน้าประปาในหมูบ่ ้านไดแ้ บ่งออกเปน็
สองระบบคือ น้าประปาภูเขา และระบบน้าประปาที่ป้มั น้าใส่ถังนา้ ทแ่ี จกจา่ ยในแตล่ ะจุดของหมูบ่ ้านและทางโครงการได้
ต่อระบบนา้ ประปาดงั กล่าวเขา้ บา้ นทุกหลังในเขตจัดสรรของโครงการ ระบบแรกเป็นระบบที่มีอยู่กอ่ นทโี่ ครงการจะเขา้ มา
จดั สรรซ่งึ ทางโครงการได้เพิ่มการขยายระบบเดิมให้สามารถรองรับการใช้นา้ ทเี่ พิม่ ขึ้น สว่ นระบบท่สี องจะมีเฉพาะในเขต
โยกย้ายและจดั สรรเทา่ นัน้ ในเขตหมู่บา้ นเจา้ ภาพจะไม่มีระบบน้ี และชาวบ้านตอ้ งจา่ ยคา่ นา้ ตามตวั จริงที่ใช้ในแต่เดือน ซง่ึ

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บณั ฑิตศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


630

ชาวบ้านจะใช้ระบบแรกมากกว่าระบบที่สอง ในปี 2007 ตั้งเป้าหมายภายในท่ีจะพยายามให้ 80% ครัวเรือนในพ้ืนท่ี
โครงการสามารถเขา้ ถึงแหล่งนา้ ที่ดีขนึ้ ไดต้ ลอดทงั้ ปี ดังตาราง 1 การเข้าถงึ แหล่งนา้

ตำรำง 1 ครวั เรอื นท่เี ข้ำถงึ นำสอำด (%)

2008 2009 2010 2011 2012 2013 2014 2015 2016 2017

บา้ นโยกย้ายจัดสรร 13 14 58 93 87 93 71 94 89 94

บา้ นเจา้ ภาพ 68 88 89 71 95 92 96 93 95 94

แหล่งทีม่ า: THPC (2017)

การบริหารจัดการระบบชลประทานเพ่ือใช้ในการเกษตรให้เพียงพอต่อชุมชน ถึงแม้ว่ามีการจัดสรรที่นาให้

ชาวบา้ นหนองชง สบพวนและโพนทอง การจดั การน้าชลประทานไดเ้ พียงพอต่อตอ้ งการใช้ได้ เพียงผันนา้ จากหว้ ยน้าเข้า

นาในช่วงฤดูฝนเท่านั้น ไม่สามารถสนองน้าทานาปรังได้ ปี 2009-2012 ในช่วงสามปีแรกโยกย้ายเข้ามาบ้านจัดสรรของ

โครงการตอ้ งใช้เวลาในการบกุ เบกี สรา้ งท่นี าและก่อสร้างระบบชลประทาน และชาวบ้านต้องเรยี นรู้เทคนิคใหม่ ผลผลิต

ข้าวในปี 2012 ไม่บรรลตุ ามเป้าหมายรายรบั ครวั เรอื นได้ มบี างครอบครัวมีรายรบั ต่าตามเปา้ ทกี่ าหนดไว้ที่จะต้องใช้เวลา

อีกหลายปี (THPC, 2012)

2. การจดั สรรทด่ี นิ

พ้ืนที่ป่าชุมชนของ 4 หมู่บ้านก็ได้ถูกจัดแบ่งเป็นหน่วยย่อยของพื้นท่ี จัดสรรที่ดินอยู่อาสัยและสวนครัว 62.9

เฮกตาร์ เท่ากับ 393.12 ไร่ พร้อมโฉนดท่ีดนิ หรือว่า “ใบตาดินขอบทอง” จัดสรรที่นาและสวนให้กับสามหมู่บ้านไดแ้ ก่

หมบู่ ้านหนองซง หม่บู า้ นสบพวน และหมู่บา้ นโพนทองในเนือ้ ท่ีทงั้ หมด 537 เฮกตาร์ เทา่ กบั 3,581.25 ไร่ สาหรับหมู่บ้าน

แก้วแสนคาจัดสรรทด่ี นิ ทาไร่หนูนเวียน 543 เฮกตาร์ เท่ากับ 3,393.75 ไร่ พร้อมโฉนดที่ดนิ เน่ืองดว้ ยสภาพภมู ิประเทศ

ไม่เอ่อื ตอ่ การทานา ทางโครงการยงั ไดจ้ ดั สรรท่ีดินหลังในอา่ งกักเกบ็ นา้ ลดลงอกี 87 เฮกตาร์ เทา่ กับ 543.75 ไร่ปลูกพชื ผกั

สวนครัว จัดสรรท่ีดินสาหรับเล้ียงสัตว์ 565 เฮกตาร์ เท่ากับ 3,531.25 ไร่ จัดสรรท่ีดินป่าไม้และที่ดินรวมบ้าน 56,983

เฮกตาร์ เท่ากับ 356,143.75 ไร่ (THPC, 2012) ถึงแม้มีการจัดสรรที่นา และสวนให้ชาวบ้านในช่วงสามแรก ชาวบ้าน

หนองชง สบพวน และโพนทองไม่ยอมรับเอาท่ีนาและสวนเนื่องจากคุณภาพท่ีดนิ ต่า ภายหลังที่ทางโครงการได้ปรับปรุง

ดินและเทคนิคการจัดการปลกู พืช ช่วยให้ชาวบา้ นเพิ่มประสทิ ธภิ์ าพผลผลติ ชาวบ้านจึ่งยอมรับทีน่ าและสวนทโ่ี ครงการฯ

จัดสรรให้

3. การสง่ เสริมอาชพี ในชุมชน

สิ่งที่ท้าทายตอ่ การโยกย้ายและจัดสรรคือการพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างย่ังยนื ภายหลังที่โยกยา้ ยชาวบ้านไปอยู่

พน้ื ทใี่ หม่ กจิ กรรมเพาะปลูกยังคงเป็นส่ิงสาคญั ตอ่ ในดารงชพี ของชาวบ้านหนองชง สบพวนและโพนทอง ทรัพยากรในการ

ดารงชพี อย่พู ้นื ที่โยกยา้ ยและจดั สรร มีนาขา้ วหรือนาชลประทานเพอื่ สนองให้แก่การปลูกขา้ วทเ่ี ป็นอาหารหลกั พืชผกั สวน

ครัวปลกู เผือ่ บริโภคภายในครอบครัวและขายส่วนเกนิ สรา้ งคอกสตั ว์ขนาดเลก็ ปลกู หญ้าสาหรบั วัว กระบ้ือ เข้ารว่ มอบรม

ในการตัดและเตรียม อาหารสัตว์ หนองปลาดุกและลูกกบ พืชเศรษฐกจิ อาทิเช่น การเพาะเหด็ ผกั สาลี สับปะรด มนั สปั

หลัง ถ่ัวลิสง เก็บหาของป่าในระแวกหมู่บ้าน เน้นไปทีการเกษตรแบบเข้มขุ้นในพ้ืนที่ทีโครงการฯ จัดสรรให้อย่างมีอยู่

จากัด สว่ นหมูบ่ ้านแกว้ แสนคา จดั สรรทดี่ ินทาไรห่ มนุ เวยี นและสนบั สนุนคา่ แรงงานในการถางไร่ สนองพันธข์ุ ้าว นอกจา

การส่งเสริมทีคล้ายกนั กบั สามหมูบ่ ้านแลว้ ยังไดร้ บั สทิ ธ์ิในการหาปลาในอ่างกกั เก็บน้าของโครงการฯ ได้รบั อุปกรณห์ าปลา

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บัณฑติ ศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


631

(THPC, 2012) เนือ่ งจากสามปแี รกที่โยกย้ายเข้ามาไม่มรี ายรบั ชึง่ เปน็ ช่วงระยะข้ามผา่ นทท่ี างโครงการฯ รับผิดชอบ การ
ประเมินรายได้จ่งึ เร่ิมปี 2012-2015 ดังตาราง 2 รายไดค้ รัวเรอื น ส่วนปี 2016-2017 ดงั ตาราง 3

ตำรำง 2 รำยรับครัวเรือนบ้ำนเจ้ำภำพและบำ้ นโยกย้ำยจดั สรร 2012-15 (kip)

2012 2013 2014 2015

บา้ นเจ้าภาพ

หนองชง 20,248,820 24,989,634 26,065,564 31,508,930

โพนทอง 20,106,203 17,275,471 40,732,347 29,434,926

สบพวน 19,712,563 25,686,750 29,467,809 32,679,560

บา้ นโยกยา้ ยจดั สรร

แก้วแสนคา 8,927,640 11,734,613 14,760,293 12,353,854

หนองชง 12,944,643 12,892,955 12,726,504 12,608,626

โพนทอง 6,287,849 6,542,409 9,891,827 11,357,556

สบพวน 4,967,524 9,802,986 12,727,687 13,705,978

แหลง่ ข้อมลู : THPC (2015)

ตำรำง 3 รำยรับครวั เรอื นของบำ้ นเจำ้ ภำพและบำ้ นโยกยำ้ ยจัดสรร (ล้ำนกีบ) 2016-2017

2016 2017

ตา่ กวา่ เส้นแบง่ ความ รายรบั เฉลย่ เป้าหมาย รายรบั เฉลย่ เป้าหมาย

ยากจน (%)

บ้านเจา้ ภาพ

หนองชง 18% 44.7 23.8 37.5 23.9

โพนทอง 6% 71.0 23.8 32.3 23.9

สบพวน 0% 55.3 23.8 50.5 23.9

บา้ นโยกยา้ ยจดั สรร

แกว้ แสนคา 21% 28.5 23.8 22.7 23.9

หนองชง 21% 36.8 23.8 22.7 23.9

โพนทอง 14% 38.2 23.8 29.4 23.9

สบพวน 10% 32.1 23.8 34.9 23.9

แหล่งข้อมูล: THPC (2017)

ตำรำง 4 ปรบั แกเ้ ป้ำหมำยรำยรบั ครวั เรือน ปี 2008–2017
2008 2009 2010 2011 2012 2103 2014 2015 2016 2017

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บัณฑติ ศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


632

17.5 17.5 18.4 20.1 20.9 22.2 23.1 23.4 23.8 23.9
แหลง่ ขอ้ มูล: THPC (2017)

การประเมินรายรับของครัวเรือนในหมู่บ้านโยกย้ายและจัดสรรได้ถูกรับรองจากกองประชุมคณะกรรมการ
คุม้ ครองกิจกรรมโครงการเข่อื นไฟฟา้ เทินหนิ บูนภาคขยายของจงั หวดั บอริคาไช ครั้งวนั ที 6 มกราคม 2021 พร้อมท้งั มอบ
ความรับผิดชอบให้ทบทวนแผนการติดตามและคุ้มครองสง่ิ แวดล้อมและสังคมระยะ 2 ของโครงการฯ ณ ที่ประชุมครง้ั
วันท่ี 30 สิงหาคม 2022 ได้มีการรายงานผลการปฏิบัติแผนงานติดตามและคุ้มครองสิ่งแวดล้อม สังคมในระยะ 5 ปี
(2018-2022) และรายงานแผนฯ 2023-2027 ที่โครงการฯจะต้องเร่งปฏิบัติสองงานหลัก ได้แก่ ปฏิบัติพันธะตามสนั ยา
สมั ปทานทางด้านสงั คมและสิง่ แวดลอ้ ม พร้อมทงั สานต่อยกระดบั มาตรฐานชีวิตความเป็นอยขู่ องชาวบา้ นในชุมชนท้องถน่ิ
(THPC, 2022)

4. การสง่ เสริมด้านสุขภาพอนามยั
โครงการเข่ือนไฟฟ้าเทินหินบูนภาคขยายได้พัฒนาแผนงานดา้ นสาธารณสุขในปี 2008 ได้ปรับปรุงการบริการ

สาธารณสุขและความรับรู้เกี่ยวกับปัญหาสุขภาพระหว่างกล่มุ ชาวบ้านที่ได้รับผลกระทบจากโครงการฯ ภายใตข้ อ้ ตกลง
ร่วมงานกับห้องการสาธารณสุขเมืองคาเกิด ในระยะ 5 ปแี รก การดแู ลสุขภาพชาวบา้ นเจ้าภาพ และ โยกย้ายเข้ามาใหม่
ฟรี ติดตามตรวจตราสขุ ภาพสาหรับชาวบา้ นทง้ั หมดทโี่ ยกยา้ ยจดั สรร ปรับปรุงใหส้ ามารถเขา้ ถึงการบรกิ ารสาธารณสขุ ไป
ควบคู่ การส่งเสริมการตรวจสขุ ภาพประจาปีของชุมชน เชน่ โรคเบาหวาน โรคความดนั โลหติ สูง และ ไขม้ าเลเรยี เป็นต้น
การให้บริการด้านสาธารณสุขอยา่ งท่ัวถึง ทกุ ครัวเรอื น เด็กในชมุ ชนการไดร้ บั วคั ซนี อย่างทั่วถึงทกุ ครัวเรอื น การใหบ้ รกิ าร
ของผสู้ งู อายุได้รับการยกเว้นค่ารักษา สง่ เสรมิ ความรดู้ ว้ ยการแพทย์ทีเ่ น้นการดูแลสขุ ภาพ ของตนเอง เช่น การอยู่ การกิน
และยาสมุนไพร เปิดโอกาสใหค้ นในชมุ ชนมีการพัฒนาทางดา้ น รา่ งกายทีเ่ พียงพอ เชน่ การออกกาลงั และอุปกรณ์ ออก
กาลัง เป็นต้น นอกจากนัน้ ยงั มกี ารรณรงค์ให้ชาวบ้านใชห้ ้องน้า ดังตาราง 5 อัตตราการใช้ห้องน้า

ตำรำง 5 อตั ตรำกำรใช้ห้องนำ 2008-16 (%)
2008 2009 2010 2011 2012 2013 2014 2015 2016 2017

บา้ นจัดสรร 31 24 56 99 100 99 100 100 100 100
บ้านเจ้าภาพ 40 56 83 97 95 96 99 99 99 100
แหลง่ ข้อมูล: THPC (2017)

5. การกาจดั ขยะและสง่ิ ปฏิกูล
เพื่อรับประกันว่าระบบส่ิงแวดลอ้ มของหมุ่บา้ นโยกย้ายและจดั สรรในพ้ืนที่โครงการเขื่อนไฟฟ้าเทินหินบูนภาค

ขยายจะมรี ะดบั สอดคลอ่ งกับมาตรฐานตามท่กี าหนดไว้ในแผนคุ้มครองส่ิงแวดล้อม ได้มีการตรวจตราอยา่ งตอ่ อเน่ืองต่อ
กับคุณภาพน้า การไหลของน้าและระบบน้าอุปโภคและบริโภค รวมไปถึงการปรับปรุงท้ังด้านปริมาณและคณุ ภาพของ
ระบบน้าอุปโภคและบริโภค บางหมู่บ้านมีปัญในการเก็บรักษาและปัญหาด้านสุขอนามัยท่ีนาไปสู่การป่นเปื้อนของนา้
อุปโภคในครัวเรอื น โครงการฯได้เสนอแนะวิธีแก้ไขปญั หาอย่างย่ังยืนแก่การคุม้ ครองน้าให้แก่ชาวบ้าน ปะกอบด้วยกลมุ่
ผใู้ ชน้ ้าในชมุ ชน คุม้ ครองการปลอ่ ยนา้ เสยี การปรบั ปรงุ โครงล่างพ้นื ฐานรวมไปถงึ กิจกรรมดา้ นการศกึ ษาและสขุ ภาพ อาทิ

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บัณฑิตศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


633

เช่นการปรบั ปรุงด้านโภชนาการและปฏิบัติการดูแลเด็กเลก็ มีการส่งเสรมิ ชาวบ้านปลกู ต้นไมแ้ ละพืชท่ีใหร้ ่มเหงาในพื้นที่
อยู่อาสยั เพ่ือปกปกั รักษาส่ิงแวดลอ้ มภายในหมู่บา้ น แผนพัฒนาหมู่บ้านได้ถุกร่างขึ้นเรง่ ใส่แก้ปญั หาส่ิงเศษเหลอื ในเขตที่
อยูอ่ าสยั ของชาวบา้ น พร้อมท้ังถอื เป็นบรู มิ สิทธิส์ าคัญในการกาจดั ส่งิ เสดเหลือในครวั เรือน

การกาจดั ของเสียในชุมชนอยา่ งเป็นระบบ เชน่ การทงิ้ การขนยา้ ย การคดั แยกและการเผาหรอื ทาลาย เปน็ ต้น
การบริหารจัดการระบบระบายน้าเสียในชุมชนการส่งเสริมให้ความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับการ กาจัดขยะในชุมชนเป็น
ระบบครอบคลุมทุกครวั เรือ สง่ เสริมการจัดตง้ั สถานที่รบั ซื้อขยะในชุมชนใน รปู แบบของธนาคารขยะ สร้างจติ สานกึ และ
กระต้นุ การมีส่วนร่วมของชุมชน ส่งเสริม สนบั สนนุ การจัดต้ังกองทุนประจาชุมชน ในการบริหารจัดการชุมชนเกย่ี วกบั การ
กาจัดขยะ และส่ิงปฏกิ ูล การแต่งต้งั กรรมการและคณะทางานและมีตัวชี้วัด ความสาเรจ็ ของโครงการ/กจิ กรรมและการ
จดั หางบประมาณ

รูป 1 การแยกขยะ รปู 2 แนะนาการลา้ งมือใหเ้ ด็กเลก็

6. การบริหารจัดการโครงสรา้ งพนื้ ฐาน

โครงสร้างพื้นฐานจองชุมชนถือเป็นองค์ประกอบหลักของกานพัฒนาหมู่บ้านโยกย้ายและจัดสรร เช่น สร้าง

โรงเรยี นชั้นประถมและมัธยม สถานีอนามยั ถนน ไฟฟ้า หอประชุมหม่บู า้ น วัด ถนนหมบู่ า้ นเส่อื มต่อกบั ถนนหลวง ระบบ

ชลประทานก่อสร้างใหม่หรือซ้อมบารุงระบบที่มอี ยแู่ ล้วและขยายไปหมู่บา้ นโยกยา้ ยและจดั สรร โดยให้ชุมชนมีส่วนรว่ ม

ของชุมชนในการจัดทาแผนพัฒนา การบริหารจัดการโครงสร้างพ้ืนฐานของชุมชน การประชาสัมพันธ์ ช้ีแจงการ

ดาเนินงานเก่ียวกับ โครงสร้างพ้ืนฐานของชุมชนรับทราบ การมีส่วนร่วมของชุมชนตั้งแต่ ร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วม

ดาเนินงานและร่วมติดตาม ประเมินผลต่อ โครงการ/กิจกรรมการดาเนินงานโครงสร้าง พ้ืนฐานของชุมชน การบริหาร

จัดการด้านวัสดุอุปกรณ์ งบประมาณ และบุคลากร การส่งเสริมการวางแผนจัดการพ้ืนท่ีที่มีแนวโน้ม เกิดภัยพิบัติ

เสริมสร้างศกั ยภาพของชุมชนในการจดั การ สิ่งแวดล้อมของชุมชนให้น่าอยู่ สนับสนุนแนวทางการพัฒนาชุมชนท่ีให้คน

เป็น ศูนยก์ ลางและมกี ารกระจายอานาจการบริหารจดั การด้วยตนเอง

รูป 3 การรอถ้าเรอื ขา้ มฝัง่ และสร้างสะพานแทนการใช้เรอื

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บัณฑติ ศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


634

7. การประสานงาน
การประสานงาน เป็นส่ิงที่จาเป็นอยา่ งยิงในการตดิ ต่อสื่อสารให้เกิดความคิดความเข้าใจตรงกันในการร่วมมอื

ปฏิบัติงานให้สอดคล้องท้ังเวลา และกิจกรรมของหน่วยงานต่างท้ังภาครัฐและโครงการฯ ท่ีจะต้องกระทาให้บรรลุ
วัตถุประสงคอ์ ย่างสมานฉันท์และมีประสิทธิภาพเพื่อให้งานดาเนินไปอย่างราบรื่น ไม่เกิดการทางานซ้าซอ้ น ขัดแยง้ กัน
โครงการเสนอใหภาครัฐแต่งต้ังคณะกรรมการประสานงานระหว่างชุมชนกับผู้เก่ียวข้อง เช่น พนักงานแขวง พนักงาน
ศูนย์กลาง กองเลขาคณะกรรมการโยกย้าย คณะกรรมการประสานงานบ้านและเมือง มวี าระการประชมุ ประจาปี ไตมาตร
และเดือน ในการบริหารจดั การชุมชนโยกยา้ ยในดา้ นตา่ งๆ โดยคณะกรรมการประสานงานระหว่างชุมชนกับผู้เก่ยี วขอ้ ง
ในการออกกฎระเบียบ ข้อบังคบั หรือบทบาท หน้าที่ในการดาเนินงานของชุมชนกับผู้เกี่ยวข้องในการประสาน เพิ่มช่อง
การประสานงานและการทางานแบบบูรณาการคณะกรรมการประสานงานระหว่างชุมชนกับผู้เก่ียวข้อง ให้เกิด
ประสิทธิภาพ และผลสาเร็จต้องได้ความร่วมมือจาก คณะกรรมการข้ันบ้าน ข้ันเมือง และข้ันแขวง สนับสนุนและ
ประสานงานให้เกิดการปรับปรุง โครงการ/กิจกรรมของชุมชนโยกย้ายที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของประชาชน สร้าง
ประสทิ ธิภาพ การจดั สรรงบประมาณการพัฒนาใหม้ ีทศิ ทางทเี่ หมาะสมและสอดคล้องกับความตอ้ งการของชุมชน

8. ประเพณี วฒั นธรรม และความเชอื่
ชาวบ้านทโ่ี ยกย้ายเขา้ มาหมู่บ้านโยกยา้ ยและจดั สรรโครงการฯไดร้ ับรู้สิทธิแ์ ละความเสมอภาคของขนเผา่ สิทธิใน

การรักษาประเพณี วัฒนธรรม และความเชื่อ รบั ประกนั วา่ ชนก่มุ น้อยท่มี ักจะเปนกล่มุ ด้อยโอกาสทางสังคมไดเ้ ขา้ ร่วมใน
ขบวนการพัฒนาภายใตก้ ารดาเนินงานของโครงการอย่างเสมอภาค มีการจัดงานส่งเสริมเอกลักษณ์กิจกรรม ประเพณี
วัฒนธรรมของขนเผา่ ในชุมชน เช่น กายแต่งกาย การละเล่น ชนวัว ต่างๆ การสร้างเสริมบรรยากาศในวัฒนธรรมดาเนนิ
ชีวิตด้ังเดิมของชุมชน การสร้างเสริมบรรยากาศท่ีอยู่อาศัยท่ีคุ้นเคย มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีทางด้านวัฒนธรรม ประเพณีของ
ชุมชน การก่อสร้าง เอกลักษณ์ประจาชุมชนเพ่ือเป็นส่ิงยึดเหนี่ยวของชุมชนด้านวัฒนธรรม ประเพณี การอนุรักษ์
เครื่องนุ่งห่ม อุปกรณ์ เครื่องใช้ต่างๆ ของชุมชนเอาไว้ในรูปแบบของพิพิธภัณฑ์ ของชุมชนเพื่อรักษาขนบธรรมเนียม
ประเพณี

รปู 4 การทาบญู ประจาของชาวบา้ น รปู 5 การวางแผงขายเสอ้ื ผา้ ของชนเผา่ มง้

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บณั ฑติ ศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


635

9. การปอ้ งกันความสงบ
หมบู่ า้ นโยกยา้ ยและจดั สรรเปน็ ศนู ย์รวมของชาวบ้านจากหลายหมบู่ ้านมาอาสัยอย่รู วมกนั มีความจาเป็นอยา่ งยง่ิ

ในการรักษาความสงบเรียบร้อยภายในหมู่บ้าน ทาให้สังคมภายในชุมชนมีความเป็นระเบียบเรียบร้อย มีความม่ันคง ใน
การพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชนให้เข้มแขง็ จึ่งมีความเปน็ จดั ต้ังหน่วยงานป้องกนั ความสงบประจาชุมชน เช่น หน่วยลาด
ตะเวนประจาชุมชน หนว่ ยปอ้ งกนั ความสงบประจาชมุ ชน ดว้ ยการสง่ เสรมิ การฝึกอบรมชุมชนเกี่ยวกบั การปอ้ งกนั อัคคีภยั
และการแจ้งเบาะแสให้กับตารวจ ส่งเสริมฝึกการอบรมการเฝา้ ระวังเก่ียวกบั การป้องกัน ความปลอดภัยของชุมชน เช่น
จัดตั้งอาสาสมัครตารวจบ้านของชุมชน ส่งเสริมให้ความรู้ สร้างจิตสานึกของชุมชน ในการหวงแหนสมบัติของชุมชน
รว่ มกัน ส่งเสริม สนับสนนุ ชมุ ชนให้เขา้ มามสี ่วนร่วม ในการตดิ ตาม ตรวจสอบปัญหาอยา่ งเสพตดิ การขโมยในชมุ ชน

วิจำรณ์ผลกำรวจิ ัย

การจัดการทรัพยากรสาหรับคนพลัดถิ่นอันเนื่องมาจากโครงการเข่ือนไฟฟ้าเทินหินบูนภาคขยาย จาเป็นต้อง
พจิ ารณาถึงความสอดคลอ้ ง ทรัพยากรทุกอยา่ งไปพรอ้ มๆกัน เพราะทรัพยากรทุกอยา่ งมคี วามเกย่ี วข้องสัมพนั ธ์กันอย่าง
ใกล้ชิด ในการวางแผนการจดั การส่ิงแวดล้อมจะตอ้ งไม่แยกมนุษย์ออกจากสภาพแวดล้อมทางสังคมหรือทางวัฒนธรรม
และสภาพแวดลอ้ มธรรมชาติ เนื่องมาจากวัฒนาธรรมและสังคมมนุษย์ได้พัฒนาตัวเองไปพร้อมกับการใช้ประโยชน์จาก
ทรัพยากรธรรมชาตขิ องสงั คมนั้น โครงการพัฒนาทุกโครงการยอ่ มมีผลกระทบต่อทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ มและ
การพฒั นาเศรษฐกจิ ต้องใช้ทรพั ยากร ผ้ดู าเนินโครงการจ่ึงตอ้ งมคี วามรอบรู้และรจู้ กั วิธีการจดั การอยา่ งชาญฉลาดเพ่ือทา
ใหเ้ กดิ ผลกระทบน้อยทสี่ ดุ

สรุปผลกำรวิจัย

การจัดการทรัพยากรสาหรบั คนพลดั ถนิ่ อันเนอื่ งมาจากโครงการเข่อื นไฟฟา้ เทินหินบูนภาคขยาย 9 ประเด็นคือ
การจัดหาแหล่งน้า การจัดสรรท่ีดิน การส่งเสริมอาชีพในชุมชน การส่งเสริมด้านสุขภาพอนามัย การจากัดขยะและสิง่
ปฏิกูล การบริหารจัดการโครงสร้างพ้ืนฐาน การประสานงาน ประเพณี วัฒนธรรม และความเชื่อ การป้องกันความสงบ
จากงานศกึ ษาของ สดใส สร่างโศรก และคณะฯ (2546) พบวา ปจจัยทจ่ี ะทาใหนโยบายของรัฐประสบความสาเร็จ คือ
รัฐตองใหความสาคัญกับประเพณี วิถีชีวิต และความเชื่อของชุมชน และการจัดสรรท่ีดินเพื่อใชประโยชน ในการใช้
ประโยชน์จากพ้ืนที่ส่วนกลางใหชุมชนไดทากิจกรรมท่ีเกี่ยวกับการสืบทอดประเพณีและความเชื่อของชุมชนดวย และ
การศึกษาของ วิสาขา ภูจินดา (2555) ความสาคญั ลาดบั แรก คือ การจัดการโครงสรางพื้นฐานเพราะมนุษยทุกคนไม่วา่
จะเปนชมุ ชนจะตองอยูภายใตสภาพแวดล้อมทางกายภาพทม่ี อี ิทธพิ ลตอการดาเนินชีวิตของแตละคน ท้ังสภาพแวดลอ้ ม
ทางธรรมชาติโครงสรางทางกายภาพที่ชุมชนสัมผัสไดและมีอิทธิพลตอชีวิตความเปนอยูของประชาชนที่อยูใกลเคียง
โดยตรง การพฒั นาใหเหมาะสมกบั วถิ ีการดาเนินชีวติ ของชมุ ชนและกอใหเกิดประโยชนดานตางๆ ทาให ปลอดภัย ความ
สะดวกสบาย รฐั ควรมุงเนนในเร่ืองโครงสรางพื้นฐานอาทเิ ช่น ถนน ทางเดนิ น้า ไฟ เพื่อผลทต่ี ามมาทางดานเศรษฐกจิ ต

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บัณฑิตศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


636

อมาซึง่ สภาพแวดลอมทางกายภาพจะสงผลถึงชวี ติ ความเปนอยูของประชาชน และพยายามสรางสิ่งแวดลอมทีด่ ี (วะนลิ า
ออนประดิษ, 2560) และสงิ่ ท่ีสาคัญในงานวิจยั น้ีครั้งน้ี การจัดสรรท่ดี ิน การจดั หาแหลงนา้ อุปโภคและบริโภค การสงเสริม
อาชพี ในชุมชนการจัดสรรทด่ี นิ ทากิน ที่จะตอ้ งได้รบั การพิจาระนาอยา่ งระเอยี ดรอบดา้ นและมสี ่วนร่วมจากผมู้ สี ่วนได้สว่ น
เสีย กอ่ นนาสู่ภาคปฏบิ ัติ จะต้องได้วเิ คราะห์ข้อมลู ความเส่ียง และมาตราการจดั การ

กติ ติกรรมประกำศ

บทความวชิ าการนสี้ าเร็จลงได้ดว้ ยความกรุณาจาก ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รภัสสรณ์ คงธนจาอนันต์ อาจารยท์ ี่
ปรึกษา ท่ีให้ความรู้ คาแนะนา และข้อคิดเห็น ตลอดจนสละเวลาเพื่อแก้ไข ข้อบกพร่องตา่ งๆ จนกระท้ังเสร็จสมบรู ณ์
ผู้เขียนจึงขอกราบขอบพระคุณเปน็ อย่างสูง ไว้ ณ โอกาสน้ี ขอกราบขอบพระคุณ คณาจารย์ ทุกท่านที่ให้ ความรู้และ
คาแนะนาเป็นอยา่ งดีมาโดยตลอด

ขอขอบพระคุณ แผนกพลังงาน และเหมืองแร่แขวงบอลิคาไซ เจ้าหน้าทจ่ี ากหน่วยงานของ รัฐที่เก่ียวข้อง และ
เจา้ หน้าทีโ่ ครงการเขื่อนไฟฟา้ เทินหนิ บนู ภาคขยายทกุ ทา่ น ที่กรุณาใหค้ วามช่วยเหลือ ในทุกๆ ดา้ น และอนุเคราะห์ข้อมลู
ท่ีมีประโยชน์อย่างมากในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ ชาวบ้านทุกคนที่ได้สละเวลาในการตอบคาถามแบบสอบถามและการ
สมั ภาษณ์ เพือ่ ให้ได้ขอ้ มูลท่เี ป็นประโยชน์ สาหรับการศกึ ษาคร้ังนี้ รวมถงึ บคุ คลอน่ื ๆ ทีม่ ิได้กลา่ วถึงซึ่งเกยี่ วข้องกับการทา
วิจยั ในคร้ังนี้ ด้วย

ขอขอบคุณ คุณบิดา คุณมานดา พ่อตา แม่ยาย น้องสาว ภรรยา ลูกสาวที่คอยเปน็ กาลงั ใจสาคญั และท่ีให้การ
สนับสนุนทุนทรัพย์ในการศึกษาและการทาวิจัยครั้งน้ีรวมถึงเพ่ือนและพ่ีน้องร่วมรุ่นสาขาวิชาการจัดการและพัฒนา
ทรพั ยากร คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวทิ ยาลยั แมโ่ จ้ ทุกคนทใ่ี ห้ความช่วยเหลือใน การทาวิจัยครั้งนี้

ผู้เขียนหวงั เป็นอย่างย่งิ ว่าบทความวิชาการนี้คงมีประโยชน์บา้ งไม่มากก็น้อยสาหรับผู้ท่สี นใจศึกษารายละเอียด
โครงการเข่ือนไฟฟา้ เทนิ หนิ บนู ภาคขยายในโอกาสตอ่ ไป

เอกสำรอ้ำงองิ

แขวงบอริคาไซ. (2017). ข้อตกลงว่าด้วยการแต่งคณะกรรมการรับผิดชอบฟ้ืนฟูชีวิตการเป็นอยู่ของประชาชนที่ได้รับ
ผลกระทบจากโครงการเขอ่ื นไฟฟา้ เทินหินบนู ภาคขยาย. ม.ป.ป.

แขวงบอรคิ าไซ. (2021). ข้อตกลงว่าด้วยการรบั ผลการบรรลุรายรับครัวเรือนในบันดาบา้ นเป้าหมาย โครงการเขือ่ นไฟฟ้า
เทินหินบูนภาคขยาย. ม.ป.ป.

คาสิง สายพูวงค์. (2562). ข้อเสนอเชิงนโยบายสัมฤทธิผลของการโยกย้ายชุมชน: กรณีศึกษาเขื่อนไฟฟ้าเทินหินบนู ภาค
ขยายเมืองคาเกิด แขวงบอลิคาไซ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ดุษฏีนิพนธ์. มหาวิทยาลัยราชภัฏ
สกลนคร.

มนัส สุวรรณ. (2538). นิเวศวิทยากบั การพัฒนาเศรษฐกิจ. กรงุ เทพฯ: สานักพิมพโ์ อเดยี นสโตร์.
วะนลิ า ออนประดษิ . (2560). ผลกระทบของการนารปู แบบการบรหิารแบบเศรษฐกิจพิเศษที่มตีอชีวิตความ เปนอยูของ

ประชาชนแขวงสะหวนั นะเขต สปป.ลาว. วารสารการบริหารทองถนิ่ , 10(2), 44-69.

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บณั ฑติ ศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


Click to View FlipBook Version