The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Submitted Letter of teachers and students to attend the conference at MAEJO Universiity

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by anusit.boontadang, 2022-12-14 21:20:07

Submitted Letter of teachers and students to attend the conference at MAEJO Universiity

Submitted Letter of teachers and students to attend the conference at MAEJO Universiity

Keywords: Submitted Letter of teachers and students,MAEJO Universiity

637

วิสาขา ภูจนิ ดา. (2555). ผลกระทบและมาตรการทางสงิ่ แวดลอมของกจิ การผลติไฟฟาพลงั งานหมุนเวยี นขนาด เลก็ มาก.
วารสารวิชาการพระจอมเกลาพระนครเหนือ, 22(1), 118 – 130.

Baird, Ian G., Keith Barney, Peter Vandergeest and Bruce Shoemaker. ( 2009) . “Internal Resettlement in
Laos”. Critical Asian Studies. 41(4): 605-620.

High, Holly. (2008). “The Implications of Aspirations: Reconsidering Resettlement in Laos”. Critical Asian
Studies. 40(4): 531-550.

Lahmeyer, Worley. ( 1997) . Nam Theun 2, Study of Alternative, Draft Main Report. Vientiane, Lao PDR:
Hydropower Office.

Theun Hinboun Power Company (THPC). (2008). Final Resettlement Action Plan. Vientiane, Lao PDR:
Theun Hinboun Power Company.

Theun Hinboun Power Company (THPC). (2012). Social & Environmental division Monitoring Report 2012.
Vientiane, Lao PDR: Theun Hinboun Power Company.

Theun Hinboun Power Company (THPC). (2015). Social & Environmental division Monitoring Report 2015.
Vientiane, Lao PDR: Theun Hinboun Power Company

Theun Hinboun Power Company (THPC). (2017). Social & Environmental division Monitoring Report 2017.
Vientiane, Lao PDR: Theun Hinboun Power Company

Theun Hinboun Power Company (THPC). (2022) เขา้ ถงึ ไดจ้ าก
https://m.facebook.com/story.php?story_fbid=pfbid02Y7D6dFyDGCqDi36K3u3gSwxETrR5tm1n3
uLLXDsjxh9WtQoTaonMogsJNYYPUbKel&id=120949071330158&mibextid=Nif5oz. 6 กนั ยายน
2022.

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บณั ฑิตศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


638

องค์ประกอบท่ีสำคญั ของภำวะผู้นำกำรเปลี่ยนแปลงทม่ี ีต่อควำมสำเร็จและควำมล้มเหลวสำหรับ
กำรจดั กำรทรัพยำกรองคก์ ร

Key components of transformational leadership on success and failure for
implementing an organization resources management

เทพดวงจนั ทร์ บุญธเิ ดช
Thepduangchan Bounthideth

สาขาการจดั การ และ พัฒนาทรัพยากร คณะผลติ กรรมการเกษตร มหาวทิ ยาลยั แมโ่ จ้ จงั หวัดเชยี งใหม่ ประเทศไทย 50290
Resources Management and Development, Faculty of Agricultural Production,
Maejo University, Chiangmai Province, Thailand 50290
[email protected]

บทคัดยอ่

การเปลี่ยนแปลงจากวิกฤติ Covid-19 และนวัตกรรมดิจิตอลท่ีเข้ามามบี ทบาทในทุกอุตสาหกรรม แรงงานใน
ภาคธุรกจิ ท้งั ทางตรงและทางออ้ มได้รับผลกระทบจากการพกั งานเป็นระยะยาวนานข้ามปี การเชอ่ื มตอ่ ระหว่างคนกับคน
น้อยลงเน่ืองจากเทคโนโลยีทาให้ช่องว่างทางสังคมกว้างขึ้น การบริหารท่ีท้าทายที่สุดในธุรกิจมีความเสี่ยงสูงท่ีจะเกิด
ปัญหาในกิจการจากปญั หาความเช่อื มนั่ ตอ่ กบั องคก์ รของคนทีก่ ลับเขา้ มาทางาน เพื่อการบรรเทาความรุนแรงจากการจาก
ขาดความร่วมมือของผู้ตาม และเพื่อฟื้นฟูธุรกิจในตัว การค้นหาว่าปัจจัยอะไรท่ีใช้กับบริบทของธุรกิจในด้านผู้นาการ
เปลี่ยนแปลงทส่ี ันนิษฐานว่าทาให้การทาให้องคก์ รภายในดีขน้ึ ในระยะยาว การถอดถอนบทเรียนจากผู้มีส่วนไดส้ ว่ นเสยี
ของภาคเอกชนควรมคี วามสาคญั ในทันที เพื่อหลีกเล่ียงไมใ่ หม้ ีการล่มสลายในระยะส้นั และระยะกลางหลังยคุ วิกฤต

บทความวิชาการนี้ มีวัตถุประสงค์เพ่อื ทบทวนความรู้ด้านการประยกุ ต์ใช้รูปแบบผนู้ าการเปล่ียนแปลงในการ
ส่งเสริมการทางาน เพื่อสร้างความร่วมมือที่แข็งแรงจากผู้ตามให้ส่งงานออกมาอย่างมีประสิทธิภาพ ภายใต้การ
เปลยี่ นแปลงจากเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การจัดการกบั การเปลยี่ นแปลงไดน้ ้นั ผู้นาตอ้ งเข้าใจถงึ การเปลยี่ นแปลงกอ่ น
การศึกษาจะใชร้ ูปแบบทฤษฎอี ธิบายผลที่เกิดจากผนู้ าการเปลย่ี นแปลงทปี่ ระสบผลสาเรจ็ ทาให้เกิดการการปรับแต่งความ
ร่วมมอื จากผู้ตาม และผลของงานไปในทางทส่ี ูงขน้ึ ร่วมกับการศกึ ษาผลท่ีเกิดจากผู้นาการเปลีย่ นแปลงที่ยงั ควรปรบั ปรุง
ตอ่ บุคลากรท่เี ก่ียวขอ้ งและผลของงานทเ่ี หมาะสมในสภาวะการเปล่ยี นแปลงที่ไร้พรมแดนน้ี

คำสำคัญ: ผู้นาการเปลย่ี นแปลง ความสาเรจ็ และความลม้ เหลว การจัดการทรพั ยากร

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บัณฑติ ศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


639

Abstract

Changes from the Covid-19 crisis and digital innovations that play a role in every industry. Direct
and indirect business workforces have been impacted by year-long hiatus, and people-to-person
connections are reduced as technology widens the social gap. The most challenging business venture
in any business is the high risk of going out of business due to people returning to work. confidence in
the organization to alleviate the violence from the lack of cooperation of the followers and to revitalize
the business itself, it's figuring out what factors apply to the context of the business. On the leadership
side, the presumed changes made the internal organization better in the long run. The removal from
private sector stakeholders should be an immediate priority to avoid short-term and mid-term collapse
after the crisis era.

This academic article aims to review the knowledge of applying the transformational leadership
model to promote work. To create strong cooperation from followers to deliver work effectively Under
changes from the economy, society, culture, how to deal with that transformational Leader must first
understand the changes. The study uses a theoretical model to describe the effects of successful
transformational Leader. causing refinement of cooperation in people and the results of the work go in
a higher way Together with the study of the impact of transformational Leader who should still improve
on the personnel involved and the appropriate work outcomes in this borderless transformation
environment.

Keywords: Transformational Leader, Success and failure, Resources Management

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บัณฑติ ศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


640

บทนำ

โลกาภวิ ตั น์ในยคุ หลังการแพรร่ ะบาดของ COVID-19 ทาใหก้ ารขบั เคลื่อนในองค์กรในอตุ สาหกรรมการผลิตเกิด
การเปล่ียนแปลงจากการเชื่อมโยงกนั ทางความปลอดภัยทางสาธารณสุขสกู่ ารจัดการทรัพยากรมนษุ ย์ท่เี ป็นสว่ นหลกั ใน
วงจรการการระบาดใหญ่ ความผนั ผวน ไมแ่ น่นอน ซบั ซอ้ น และคลมุ เครอื ได้กระจายในการปฏบิ ตั ิการ (Operation) การ
จดั ปรบั ตวั ให้ทันต่อสภาวะแวดลอ้ มเนื่องจากผลของการเปลีย่ นแปลงไดน้ ามาพจิ ารณาในสถานการณ์องคก์ รปจั จบุ ัน การ
ท่ีองคก์ รจะอย่รู อดภายใตค้ วามเปลยี่ นแปลงทร่ี ุนแรงและรวดเรว็ เช่นนี้ จาเป็นอยา่ งยิง่ ท่ผี ู้นาองค์กรจะต้องรู้เทา่ ทนั ความ
เปล่ียนแปลง ทบทวนตัวเอง และปรับตัวอย่างต่อเนื่องเพ่ือจัดการทรัพยากรท่ีเก่ียวข้องกับธุรกิจ (อดิศรา พุทธธรรม
วงศ์,2022) อันได้แก่ เงิน เวลา คน ทักษะงาน การลงทุน หรือการประมาณค่าใช้จ่ายในการลงทุน (Capital
Expenditures Budget) หรือCAPEX เพื่อซื้อสินทรัพย์ใหม่เพื่อรองรับการขยายตัวของกิจการในอนาคต เพ่ิมปริมาณ-
คุณภาพ การผลิต (New Investment CAPEX), เพ่ือการบารุงรักษาให้สินทรัพย์เก่าอยู่ในสภาพที่ใช้งานได้
(Maintenance CAPEX)และ เพื่อทดแทนสินทรัพย์เก่าที่มีอายุการใช้งาน (Replacement CAPEX) เพื่อรองรับการ
เปล่ียนแปลงหลังจากผ่านการล็อกดาวน์เป็นเวลากว่า 2 ปีเริ่มต้ังแต่ที่มีการประกาศการแพร่ระบาดคร้ังแรก (WHO,
2020)

การทบทวนความเปลี่ยนแปลงเม่ือโลกก้าวเข้าสู่ยุดของความว่องไวของข่าวสาร เทคโนโลยี ประชากรศาสตร์
และตลาดทักษะแรงงานทม่ี กี ารเตบิ โตจากแรงงานใหม่ (New Graduated) การโยกย้ายสายงาน (Cross Job) การทางาน
ทางไกล (Remote Work) ทาให้การจดั การทรัพยากรมนุษยใ์ นองคก์ รใช้ประโยชนจ์ ากความหลากหลายในวงจรแรงงาน
ซึ่งทาให้การผลิตมีประสิทธภิ าพ มีส่วนช่วยในการขบั เคลือ่ นของธุรกิจ อย่างไรก็ดีการเปลีย่ นแปลงก็ให้เกิดความท้าทาย
ด้วยเช่นกัน เน่ืองด้วยการคาดการณ์ใหม่น้ีมีส่วนสร้างปัญหาความร่วมมือระหว่างผู้นาและผู้ตาม จากช่องว่างระหว่าง
ความสามารถในการสนองค่าแรงงานท่ีมีแนวโน้มสูงขึ้น ด้วยแรงกดดนั ของเงินเฟ้อที่มาจากภาวะถดถอยทางเศรษฐกิจ
สวัสดิการด้านเวลาทางานท่ยี ดื ยนุ่ มาจากความชนิ เคยในการทางานทางไกล การเคลอ่ื นยา้ ยความรู้และแลกเปล่ียนทกั ษะ
งานระหวา่ งคนรุน่ ใหมท่ มี่ าพรอ้ มกบั วิธีการใหม่ และการลงทุนเสรมิ (รีเฟรช) ให้กบั แรงงานเดิมทห่ี ยุดงานไปนาน หรอื รับ
งานทดแทนในชว่ งพกั งาน ซง่ึ ตอ้ งอาศยั ความเข้าใจร่วมกับความสามารถของผูน้ า ทจ่ี ะนาความรว่ มมือจากบคุ คลในองคก์ ร
บรหิ ารความเปลี่ยนแปลงไปด้วยกัน และความร่วมมอื น้ียงั เป็นตวั กาหนดความอยู่รอดขององค์กร เห็นได้ชัดจากตวั อย่าง
ความสาเร็จของกลุ่มบริษัทบริการทาความสะอาด Corporate Cleaning ที่เปลี่ยนความกลัวของผู้ตามทจี่ ะติดเชื้อแพร่
ระบาดจากการทางานใหก้ ลายเปน็ มืออาชพี ทีใ่ ชฆ้ า่ เชอ้ื ในสานกั งาน ร้านอาหาร และบา้ นเรือนเปน็ ท่ตี ้องการสงู จากความ
คาดหวังของลูกค้าทผ่ี ูต้ ามจะทาให้พวกเขาปลอดภยั (Sean Ludwig, 2020)

เพอื่ ยอมรบั ความไม่แน่นอนที่เกดิ ขนึ้ ความสามารถรอบดา้ นเปน็ ทกั ษะท่ีจาเป็นอยา่ งย่ิงเพอ่ื รบั มือกบั แรงงานเกา่
ทีเ่ ขา้ มา และแรงงานใหมท่ ่ีมตี วั เลือกในการทางานมีความอดทนนอ้ ยกว่าคนรนุ่ กอ่ น ความเปล่ยี นแปลงในองค์กรทาให้มี
ทักษะท่ีจาเปน็ ที่ต้องลงมอื ทาและถ้าไม่มีก็ตอ้ งพฒั นาทักษะนัน้ ข้ึนมาเพื่อทจ่ี ะสามารถปรับตัวต่อสถานการณ์ท่ีแตกต่าง
กนั ความเข้าใจต่อคนในยคุ ดจิ ิตอล เทคโนโลยีเปน็ ตัวเชื่อมหลักในการทางานรว่ มกันของคนรุ่นเก่าและใหม่ หัวหนา้ งาน
และผู้ตาม การเพ่ิมการส่ือสารถึงนโยบาย แนวทาง วิสัยทัศน์และ ภารกิจรวมถึงเป้าหมายในแต่ละระยะ จะช่วยให้รู้
เก่ยี วกบั สิ่งที่ไม่รู้ ลดช่องว่างระหว่างความเข้าใจผิดได้ ในปัญหาความซบั ซ้อนขององคก์ รต่อองค์กร หรอื องคก์ ารและลกู คา้

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บณั ฑิตศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


641

ทาไดโ้ ดยการสร้างเครอื ขา่ ย รวมถงึ รับความช่วยเหลือและคาแนะนาร่วมกนั เพื่อลบล้างความคลมุ เครอื การประเมินความ
พรอ้ มในการเปล่ยี นแปลงของผู้ตาม และวิเคราะหว์ ่ามนั จะสง่ ผลกระทบต่อผู้ตาม

แม้ว่าผู้นาการเปลีย่ นแปลงทดี่ ูเหมือนจะสามารถรับมือไดท้ ุกการเปล่ียนแปลง แต่บางคร้ังก็อาจถกู ส่งิ แวดลอ้ ม
เปล่ียนแปลงเอง มีการเปล่ียนแปลงแตผ่ ลการดาเนินงานกลับแยล่ งกว่าเดิม (กัลยารัตน์,2019) ผู้นาการเปลี่ยนแปลงไม่
เพียงแต่จดั การทรัพยากรในองค์กรอย่างการจดั การเวลา เงิน และแรงงาน อย่างเดยี ว ยังรวมทั้งภาคส่วนอื่นท่ีอย่รู ่วมใน
ทรัพยากร ท่ีกระทบในวงกว้างความเป็นผู้นาการเปล่ียนแปลงเป็นทางเลือกที่เหมาะสมเมื่อธุรกิจของคุณต้องการการ
เปลี่ยนแปลง รูปแบบนี้ไม่เหมาะสาหรับบริษัทที่จัดต้ังข้ึนใหม่ท่ียังไม่เสร็จส้ินโครงสร้างและขั้นตอนการทางาน เพ่ือให้
เขา้ ใจถึงสิ่งท่ีอาจส่งผลในเชงิ บวกต่อภาวะผ้นู าการเปล่ยี นแปลงท่ีจะนาไปปฏิบัติให้เกดิ ความประสบความสาเร็จไดด้ ีข้นึ ใน
ด้านของการวางแผนทรัพยากรองคก์ รและอีกดา้ นของผลในเชิงลบท่ีทาให้เกิดความล้มเหลว เพ่ือจะจดั การทรัพยากรได้
เราต้องการผู้นาที่มีประสิทธิภาพ หลายองค์กรมีการนาผู้นาการเปลี่ยนแปลงมาใช้ เพื่อให้เข้าถึงผู้ตามการดาเนินงานท่ี
ประสบความสาเรจ็ ขององคก์ รเปน็ ส่งิ ที่ท้าทายสาหรบั หลายองคก์ รในการดาเนินธุรกิจที่มีการเปลีย่ นแปลงและทรพั ยากรที่
แตกต่างกัน  บทความทางวิชาการนี้เป็นการรวบรวมภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อการวางแผนทรัพยากร
องคก์ ร ด้วยการศึกษาทฤษฎีความเป็นผนู้ าเปลี่ยนแปลง กรณศี ึกษาแบบแลกเปลีย่ นเพ่ือเปน็ พนื้ ฐานสาหรับรปู แบบความ
เป็นผู้นาท่ีนักศึกษากาลังค้นคว้าวิจัยในการศึกษาหัวข้อนี้ จากปัญหาดังกล่าว นักวิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษาหา
องค์ประกอบที่สาคัญของภาวะผู้นาการเปลยี่ นแปลงที่มีตอ่ ความสาเร็จและความล้มเหลวสาหรับการจดั การทรัพยากร
องคก์ ร

วิธีดำเนนิ กำรวิจัย

การศึกษาจะดาเนินระเบียบการวิจยั ในประเภทการวิจยั เอกสาร (Documentation Research) จากประเภท
การวิจัยเชิงสารวจ (Survey Research) วิธีศึกษาข้อมูลมาจากการสืบค้นข้อมูลเอกสาร (Mogalakwe. 2006; Scott.
2006) ซ่ึงเป็นการศึกษาปัญหาอย่างกว้างๆของสิ่งที่วิจัยประกอบด้วยลักษณะจากข้อมูลจากแหล่งข้อมูลทุติยภูมิ
(Secondary data) ทีม่ คี วามหลากหลายทีม่ าจากจากเอกสารทไ่ี ดม้ ีการจัดพมิ พ์เผยแพร่เฉพาะเจาะจงไว้ โดยนักวจิ ัยเป็น
ผู้ค้นคว้าและรวบรวมขอ้ มูลท่ีมีผู้ทาไว้แล้วมาใช้เปน็ ข้อมูลในการวจิ ัย โดยใช้ขั้นตอนในการตรวจเอกสารตามเกณฑ์การ
คัดเลือกเอกสารของ Scott, 1990 มีความจริง (Authenticity) มีความถูกต้องแหล่งข้อมูลน่าเช่ือถือ (Credibility) เป็น
ตัวแทนของพ้ืนทแ่ี ละประชากรโดยรวมได้ (Representativeness) และ มีความหมายในตัว (Meaning) ซ่ึงรายละเอยี ด
เก่ียวกับเกณฑ์ต่างๆจะสะท้อนภาพเชิงปฏิบัติของผู้นาการเปล่ียนแปลงขององค์กรบทความนี้จะนาเสนอผลสรุปของ
เอกสารในการปฏิบัติท่ีเน้นสองประเด็นหลัก ความสาเร็จและความล้มเหลว บทความน้ีพยายามท่ีจะแสดงให้เห็นว่า
องคป์ ระกอบของการปฏิบัติสามารถเปน็ วิธีการบันทึกการทางานร่วมกันนัน้ และสามารถใช้เป็นเครื่องมือท่เี กย่ี วขอ้ งในการ
วจิ ยั เพ่ิมเตมิ เพือ่ แสวงหาคาตอบหรอื การสรา้ งองคค์ วามรใู้ หม่ได้

ผลกำรวจิ ยั

ควำมจำเป็นของภำวะผู้นำกำรเปลีย่ นแปลง

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บณั ฑิตศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


642

เริ่มต้ังแต่ปี ค.ศ.1970 ในยุคช่วงหลังของการปฏิวัติอุตสาหกรรมและเกิดมี “คอมพิวเตอร์” ท่ีเร่ิมเข้ามาใน
อุตสาหกรรม ทาใหเ้ กดิ การผลติ แบบอตั โนมัติขึ้น งานมปี ระสทิ ธิภาพดยี ิ่งขึ้น และเร่มิ มกี ารเปลีย่ นแปลงสนใจในการจดั หา
แรงงานใหม่ แรงบันดาลใจใหม่ และพฤติกรรมรูปแบบใหม่ที่มีส่วนสนับสนุนพิเศษของการปฏิวัติอุตสาหกรรมด้าน
เทคโนโลยนี ้ีแทรกซึมเข้าไป De Vries, J. (1994) เจมส์ แมคเกรเกอร์ เบิร์นส์ ได้เริ่มแนวคิดผู้นาการเปลย่ี นแปลงขนึ้ มา
เพี่อให้เหมาะกับแรงงานใหม่ท่ีมีการเคลื่อนไหวอย่างรวดเร็ว หลากหลาย และมีทักษะด้านเทคโนโลยี umassglobal
(2020) การท่ีองค์กรจะเข้าการเปล่ียนแปลงใหม่นี้ได้ดีนั่นจะเกิดก่อต่อเม่ือองค์กรต้องอาศัยการเปล่ียนแปง เพ่ือความ
ม่ันคง ความอยู่รอด และเติบโตอย่างย่ังยืนในระยะยาว องค์กรที่จะอยู่รอด และเติบโตสูงคือองค์กรท่ีมีความม่ันคงสงู
พรอ้ มกับการปรบั ตัวสูง (Mogan 1944)

การเปลี่ยนแปลงมีมาตัง้ แต่ดงั้ เดิมเพ่อื การปรับตัว และการคบคุมงานจากผเู้ ป็นหัวหน้างาน รูปแบบการจดั การ
(Blake, R. R., etc. 1962). ผู้นาที่มุ่งคน (Concern of People) และ ผู้นาท่ีมุ่งงาน (Concern of Production) Blake
and Mouton (1962) ได้กล่าวไว้อย่างน่าสนใจว่า ผู้นาแบ่งออกเป็น 5 แบบได้แก่ (1) ผู้นาที่มุ่งงานและมุ่งคนต่า
(Impoverished Style) เป็นรูปแบบผู้นาท่ีขาดภาวะผู้นามากท่ีสุด (2) ผู้นาที่ผู้นาที่มุ่งงานสูงแต่สนใจคนทางานน้อย
(Task Management) เป็นรูปแบบผ้นู าท่เี หน็ คนเป็นเพยี งเครอื่ งมอื ใชใ้ นการงานดาเนนิ ไปเพียงเพื่อความสาเรจ็ ของหน้า
งานเท่านั้น (3) ผู้นาท่ีให้ความสาคัญกับคนสูงแต่ไม่ค่อยสนใจผลของงานมากนัก (Country Club Management) เป็น
รูปแบบผูน้ าทตี่ ามคนในทีมมากกวา่ นั้นความสาคญั ของงานทอี่ อกมา (4) ผูน้ าท่ใี หค้ วามเปน็ กลางและไมม่ งุ่ เนน้ คนหรืองาน
(Middle Road Management) รูปแบบผู้นานี้มีความสัมพันธ์ที่ไม่ชัดเจนท้ังสองด้าน ประสิทธิผลงานจึงออกมาใน
ระดบั กลาง (5) ผนู้ าท่ีใหค้ วามสาคญั ทัง้ คนและงานสงู (Team Management) เป็นผนู้ าทน่ี ัน้ ใหค้ นเปน็ ส่วนหน่งึ ของทีม
มากท่ีสุด เม่ืองานออกมาสาเร็จก็เป็นผลงานของคนในทีมร่วมกัน รูปแบบผู้นาน้ีได้รบั การยอมรบั วา่ มีประสิทธิภาพท่ีสุด
ผู้นาการเปล่ียนแปลงทาให้เกิดการตระหนักรู้ในภารกิจและวิสัยทัศน์ของทีม จูงใจให้ผู้ร่วมงานร่วมพัฒนาตัวเองให้มี
ศักยภาพเพื่อประโยชน์ของสว่ นร่วม (วรรณวิมล 2560) โดยกระตุ้นให้ผู้ตามน้ันได้มีปฏิกิริยาตอ่ สภาพทีเ่ ป็นโอกาสหรือ
ปัญหาจากปจั จัยตา่ งฯ (James M. Burns, 2003)

ในชว่ ง Covid-19 อัตราความลม้ เหลวของธรุ กิจทคี่ าดการณไ์ ว้พื้นฐานเพ่มิ ขึน้ จาก 4.5% เป็น 12.1% ในปี 2020
และการทางานระยะไกลทาให้ประสิทธิภาพการทางานลดลง 20% (Gourinchas, P. O etc, 2020) นอกจากผลกระทบ
โดยตรงของธรุ กจิ ทีล่ ้มเหลวท่มี ตี อ่ เศรษฐกิจจากการสูญเสยี ผลผลิตและการจ้างงาน การวิเคราะห์กรณศี กึ ษาในทางปฏิบตั ิ
มีประโยชน์ในการเพิ่มพูนความรู้เกี่ยวกับความยืดหยุ่นขององค์กร (Acciarini, C., etc.. 2021). บริบทผู้นาการ
เปลี่ยนแปลงมีความแตกตา่ งสาหรับองค์กรตา่ งฯ ไม่เพยี งแต่การเปล่ียนแปลงขององคก์ รและการปฏบิ ตั ิงาน แต่ยังรวมถึง
การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมการทางาน ท้าทายแนวปฏิบัติการจัดการแบบเดิมเพื่อวิธีการท่ีดีกว่า ประเด็นสาคัญ
สาหรับการเปล่ียนแปลงคือความร่วมมือของผู้ตามด้วยความพอใจ และ การใช้ทรัพยากรท่ีได้คุณค่าท่ีสุดผู้นาการ
เปลีย่ นแปลงไมไ่ ด้หมายถงึ การเปลี่ยนแปลงทุกสิ่ง ในความเป็นจรงิ ผนู้ าการเปล่ียนแปลงเป็นภาวะผู้นาอกี รปู แบบหน่ึงใน
การรับมือกับความเปล่ียนแปลงในแง่ของทรัพยากรขององค์กร ผู้นายังคงเป็นเป็นผู้นาแตเ่ ป็นผู้นาที่นาทีมไดด้ กี วา่ และ
กระตุ้นให้ผู้ตามทางานจากใจมากกว่าการโดนส่ังงานเพิ่มประสิทธิภาพมากกว่า หากต้องการประสบความสาเร็จ ผู้นา
จะตอ้ งใช้กลยุทธ์การปรบั ตัวทเี่ หมาะสม การอธบิ ายองคป์ ระกอบตา่ งๆ ที่มีอยู่ในรูปแบบการจัดการน้ีจะเปน็ ประโยชน์ ซ่ึง
จะนาไปสู่ผลประโยชน์ขององคก์ รในอนาคต

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บณั ฑติ ศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


643

องค์ประกอบสำคญั ทที่ ำให้ผู้นำกำรเปล่ยี นแปลงปะสบควำมสำเรจ็
เพ่ือให้อยู่รอดในกะแสโลกาภวิ ัตน์ การปฏิรปู การเปลยี่ นแปลงต้องมาจากการออกแบบที่ม่นั คงดา้ นกลยทุ ธ์ และ

มกี ลวธิ ีท่ียดื ยนุ่ พร้อมกบั สรา้ งวฒั นธรรมการรับผดิ ชอบร่วมทน่ี าไปสู่การเปลีย่ นแปลง ผนู้ าการเปล่ียนแปลงเป็นภาวะผู้นา
ที่มีบทบาทสาคัญในการจดั สรรทรัพยากรที่จาเป็นต่อการทางานที่สาเร็จ (D. Nadler, M. Tushman, and M. Nadler,
1997) เม่ือกล่าวถงึ บทบาทดังกลา่ วการมกี ลยทุ ธส์ าหรับการวางแผนการเปลยี่ นแปลงด้านการม่งุ เน้นผู้รับบรกิ าร ด้านการ
ปรับปรุงผลการดาเนินงาน และการอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว ผู้นาการเปล่ียนแปลงช่วยใ นการ
เชอื่ มโยงการจัดการทรพั ยากรในองค์กรแตล่ ะระดบั เพอ่ื ความสาเร็จดัง่ น้ี:

ระดับบุคคล
o เลือกผตู้ าม จนิ ตนาการให้กบั ผตู้ ามวา่ อนาคตของบรษิ ทั จะเป็นอยา่ งไรหากผู้ตามทาให้ถูกตอ้ ง สง่ มอบ
วสิ ยั ทัศนต์ ัง้ แตก่ อ่ นเริม่ ทางาน
o ระบุความสามารถของคนทจี่ า้ งมาบคุ คลทเี่ หมาะสมควรมบี ทบาททเ่ี หมาะสม การยา้ ยหรอื แยกคนทีไ่ ม่
สอดคลอ้ งเปน็ พนื้ ฐานในการปรบั โครงสร้างองคก์ ร
o ความสามารถและความถนดั ในการเรียนรตู้ อ้ งเป็นสง่ิ ทพ่ี งึ มี มากกว่าการรทู้ ุกอยา่ งในเวลาเดียวกัน
o องคก์ ร ทมี งาน มคี วามสมั พนั ธอ์ ันดีกบั ผู้ตามท่ีมีศักยภาพ
o ปรบั เปลย่ี นท่าทอี อกคาสงั่ เป็นการให้คาปรึกษาแกผ่ ้ตู ดิ ตามรายบคุ คล ใชแ้ นวทางสว่ นบุคคลในการ
เติบโตและการพัฒนาของพนกั งาน
o ให้คาปรกึ ษาแก่ผตู้ ดิ ตามรายบคุ คล การปรบั เปลยี่ นในแบบของคณุ เป็นสงิ่ สาคัญสาหรับความสาเร็จ
ของพนกั งาน และภาวะผู้นาที่เปลยี่ นแปลงได้นนั้ ท้ังหมดเกยี่ วกบั การใชแ้ นวทางส่วนบคุ คลในการ
เตบิ โตและการพฒั นาของพนกั งาน

ระดบั กล่มุ
o ผนู้ าเพื่อฝึกสอนการพฒั นาทักษะ ความม่นั ใจในและความไว้วางใจของผตู้ ามท่มี ีตอ่ ผนู้ ายงั มาจากการ
ชว่ ยทมี งานค้นหาวิธแี กป้ ญั หา
o ความผกู พนั และความพงึ พอใจของผู้ตามตอ้ งวดั ได้ ด้วยผลลพั ธเ์ ป็นระดบั แผนกและระดับทีมในการหา
สิง่ จงู ใจ และสง่ิ ไมจ่ งู ใจในการมีส่วนร่วม
o ปะชุมกลาง (Town hall) เป็นประจาและเดินคยุ (Small Talk) เพอื่ พบปะกับผคู้ นและรับฟงั ขอ้ กังวล
เปน็ วิธีในรับรู้ส่งิ ทเี่ กดิ ขึ้นกอ่ นทจี่ ะกลายเป็นปัญหา

ระดับองคก์ ร:
o บรรลุวตั ถุประสงค์: มศี นู ยก์ ลางอยูท่ ่กี ารปรับปรุงผลของงาน และชวี ติ สาหรับผู้คน เน้นสนิ ทรัพย์ในการ
จดั การทุนมนษุ ย์
o มวี ิธีสอ่ื วิสยั ทศั นใ์ ห้ผ้ตู ามยอมรบั การเปลย่ี นแปลง ผลักดนั ให้เขา้ ใจภารกิจทตี่ อ้ งทา เช่นการ
เปลยี่ นแปลงทางดจิ ิทลั การเปลีย่ นแปลงความเชือ่ ตอ่ คนยุกใหม่

องค์ประกอบทส่ี ำคัญทีท่ ำให้ผ้นู ำกำรเปล่ยี นแปลงประสบควำมล้มเหลว
ระดับองค์กร

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บณั ฑติ ศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


644

o ระดับกลมุ่ การแบง่ ชนชัน้ ของผนู้ า และผตู้ าม หรือชั้นผู้บรหิ ารทัง้ ด้านทางกายภาพ และวฒั นธรรม
เช่นการสอ่ื สารทยี่ งั ปดิ ตัดสินใจจากบนลงลา่ ง และขาดความสมา่ เสมอ หรือความจาเป็น

o ค่านยิ มทไ่ี ม่ไดร้ ะบุถงึ คณุ คา่ ตา่ งคนต่างคา่ นิยม และค่านยิ มไม่สอดคลอ้ งกบั ความสาเรจ็ ขององค์กร
องค์กรขาดความเชอ่ื มน่ั จากผตู้ ามในการดาเนินชีวติ ตามคา่ นยิ ม

o การส่อื สารยงั คงเปน็ ทางเดียว ผตู้ ามขาดการมสี ว่ นรว่ มในการสนทนา และแบง่ ปนั ความคดิ เหน็ ของ
ตนเอง สว่ นใหญเ่ กิดขน้ึ เนอ่ื งจากขาดเทคโนโลยหี รือความซบั ซอ้ นของเทคโนโลยภี ายในองค์กร

o มองข้ามผลประโยชน์สว่ นรวม และแยกสว่ นงานยอ่ ยเกินไป ทาให้ผู้ตามขาดความร้สู กึ ของการทางาน
เป็นทมี ซง่ึ เปน็ ส่วนสาคัญเพอ่ื บรรลผุ ลลัพธท์ ่ียอดเยยี่ มของงาน

o ผู้นาไม่สามารถจดั ลาดบั ความสาคญั ที่สาคญั และความเร่งดว่ นที่ตอ้ งไว ผตู้ ามท่ีไม่ไดใ้ กลช้ ดิ ยงั ไม่ไดร้ ับ
เปา้ หมายและคาแนะนาทช่ี ดั เจนจากผู้นาในระดบั องคก์ ร

o ไม่มีวธิ ีทจี่ ะทาใหพ้ นกั งานเชือ่ มตอ่ ข่าวสาร รับทราบขอ้ มูลการทางานจากระยะไกล การทางานรปู แบบ
ใหม่ (Remote Work) ไม่มีการลงทุนในเทคโนโลยใี นสถานท่ที างานทเี่ หมาะสม การทางานรว่ มกันขา้ ม
สายงานจงึ ได้รับผลกระทบ และผตู้ ามหลุดออกจากวงโคจรงาน

ระดับบุคคล
o ผู้นาบางคนไม่รูด้ ว้ ยซา้ ว่าทาไมการเปลย่ี นแปลงบางอยา่ งจงึ เกดิ ข้นึ ไมม่ ีความสามารถในการเขา้ ถงึ
พนักงานดว้ ยการสอ่ื สารทีถ่ ูกตอ้ งโดยเหมะสม
o ไม่มคี วามโปร่งใสอยา่ งเต็มทจี่ ากผู้นา และนาไปการสญู เสยี ความไว้วางใจ
o ผตู้ ามมนี อ้ ย/ขาดอานาจในการตดั สินใจของตนเอง สง่ ผลตอ่ อิสระในการเลือก แนวคิดไมไ่ ด้รบั ฟงั อยา่ ง
ไตร่ตรองตนเอง แจง้ ขอ้ กงั วล และแสดงความตอ้ งการ

วิจำรณ์ผลกำรวิจัย

ในอดตี องค์กรเพียงตอ้ งรบั มอื กับการเปลีย่ นแปลงความต้องการของตลาด แต่หลงั จากวิกฤตการแพรร่ ะบาดของ
ไวรัสโควิด-19 ที่ทาให้หยุดชะงักงานเป็นเวลายาวนาน ทาให้สังคมการทางานได้เปล่ียนไปด้วยแรงขับเคลื่อนของ
เทคโนโลยี คนรุ่นใหม่ ความต้องการท่ีเปล่ียนไปของลูกค้า และ เงื่อนไขมากมายในแง่ของกฎระเบียบ ความจาเปน็ ของ
เวลานค้ี ือการพัฒนาภูมทิ ศั นข์ องการทางานกับผ้ตู ามคืนใหม่ ตัง้ แต่การรับสมคั รงาน สวสั ดิการ ไปจนถึงความยึดยนุ่ ด้าน
เวลาการทางาน การท่ีผู้นาเข้ามามีบทบาทเป็นสิ่งท่ีดี แต่ยังไม่ตอบสนองความต้องการของการจดั การทรัพยากร การ
ดาเนินงานอาจไม่ราบรืน่ และได้ประสิทธิผลเทา่ ที่ควร เพือ่ ขบั เคลอื่ นองค์กรใหป้ ระสบความสาเร็จ โดยมีผตู้ ามท่ีเปน็ สว่ น
หนงึ่ ของผลงานนัน้ มีสงิ่ ท้าทายสาหรบั ผู้นาแบบเก่าเนอื่ งจากรูปแบบการใช้ชีวิตทเ่ี ปลยี่ นไป การรับมอื อย่างเหมาะสมต่อ
การจัดหาทรัพยากรขององค์กรเปน็ ส่งิ ที่สาคญั มีงานวิจยั ทรี่ ายงานว่าองค์กรเรมิ่ นาภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงมาใช้มาก
ข้ึนแต่ก็มีการรายงานจากผเู้ ช่ียวชาญดา้ นภาวะความเป็นผนู้ าทมี่ องเห็นถงึ การเขา้ ใจภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงแบบผิว
เผิน และ ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับความเป็นผู้นาการเปลี่ยนแปลงที่แทจ้ ริงแนวทางในการปรับใช้ให้สาเร็จและข้อผิดพลาดท่ี
จาเป็นตอ้ งหลีกเลีย่ ง ผู้นาการเปลีย่ นแปลงหมายถึงการทาให้กระบวนการในการทางานผสานความเป็นผู้นาเข้ากับการ
จัดการทกุ ทรัพยากร ซ่งึ จะนามาสูก่ ารทางานที่ม่นั คงและส่งมอบงานที่มปี ระสิทธภิ าพ

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บณั ฑติ ศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


645

หากการทางานปราศจากเป้าหมาย นั่นหมายถึงเรือท่ีไม่มีจุดส้ินสุด องค์กรในปัจจุบันทางานแบบทีมงานจาก
หัวหน้างาน โดยไม่รบั ทราบด้วยซา้ ว่าผ้บู ริหารในองคก์ รเปน็ ใคร เราทราบกนั ดีวา่ ผูน้ าการเปลีย่ นแปลงคือคนท่มี ีบทบาท
ในการเช่ือมต่อ วิสัยทัศน์ขององค์กรมาเป็นภารกิจให้กับผู้จดั การเพ่ือให้ผู้ตามทง้ั องค์กรบรรลวุ ัตถุประสงค์เดยี วกัน แต่
บางคร้ังผู้นาเปล่ียนแปลงอาจจะไม่สามารถทาทุกส่ิงดังใจได้ เน่ืองจากประสบการณ์ มุมมองบริหารคน การศึกษาได้
แนวคดิ จากการถอดถอนบทเรยี นโดยตรงกบั องค์กรทผี่ ่านการลองประยกุ ต์ใช้ ภาวะผู้นาการเปลยี่ นแปลงต่อกบั กรอบของ
แนวปฏบิ ตั ิในการวางแผน คา่ นยิ ม การจดั กาหนดการ และการจดั สรรคน เงนิ และเทคโนโลยี ท่ีเป็นทรพั ยากรขององคก์ ร
เพ่ือให้เกิดคุณค่าผู้นาการเปลี่ยนแปลงเกิดจาก เริ่มต้ังแต่ความคิด เม่ือขาดการมุ่งเน้นทาให้การสื่อสารพบอุปสรรคที่
ขัดขวางมากกว่าจะคิดเป็นความท้าทายเพื่อขับเคล่ือนองค์กรการมีส่วนร่วมของผู้ตามตอ้ งกลายเป็นจุดสนใจหลักของ
องค์กร ปรับปรุงปฏิสัมพันธ์ระหว่างผตู้ าม ความเป็นผู้นา ส่ิงแวดล้อมดา้ นการสื่อสารในองค์กรมีความซบั ซอ้ นอย่างมาก
และองค์กรขนาดใหญไ่ ม่มที างทจี่ ะเข้าถึงและมีส่วนรว่ มกับผตู้ ามได้อยา่ งงา่ ยดาย

ตัวอย่างที่เป็นท่ีประจักษ์ ผู้เขียนขอยกตวั อยา่ งของการเปล่ียนแปลงของ Ossip (Louis Efron, 2016) ท่ีริเร่ิม
การจัดการการเปลี่ยนแปลงในช่วง 18 เดือน ผลที่ตามมาคือความพึงพอใจของลูกค้าท่ีวัดจากคะแนนสุทธิของ
อุตสาหกรรมยงั เพม่ิ ขนึ้ เปน็ ประวตั ิการณ์ 25 คะแนนเม่ือเทียบปีต่อปีรายได้ ผลิตภัณฑเ์ รือธงของ Dayforce มีอัตราการ
เติบโต 70% เม่ือเทียบปตี ่อปี และองค์กรกลายเป็นหน่ึงในบริษทั ระบบคลาวด์ทีเ่ ติบโตเร็วท่ีสุดในตลาด นอกจากนี้ การ
ลาออกของพนักงานลดลง การรักษาลูกค้าเพิ่มขึ้น และธุรกิจของเราก็เริ่มเตบิ โต จุดเปลย่ี นคือการเปล่ียนรูปแบบการมี
สว่ นร่วมของพนักงาน ประสบการณ์ของพนกั งานคือเปา้ หมายอนั ดับหนึง่ ของเรา ประการท่ีสองคือประสบการณ์ของลกู คา้
และประการทส่ี ามคอื ความเปน็ เลิศของผลิตภณั ฑ์ Ceridian เป็นหน่งึ ในนายจ้าง 100 อันดับแรกของแคนาดาในปี 2016
ผู้นาที่มปี ระสิทธภิ าพจะใช้การจัดการทรัพยากรมนุษย์ ส่กู ารพฒั นาคน และสร้างความเปน็ มอื อาชีพ (Daft,2006)

นอกเหนอื จากการระบอุ งคป์ ระกอบ การอาศัยศักยภาพของผนู้ าเปล่ยี นแปลง และผูต้ ามตอ้ งมรี ะบบทถี่ ูกตอ้ งบน
พน้ื ฐานของวสิ ยั ทศั น์ และค่านยิ ม (Zhou, 2016) คุณคา่ แรกคือการม่งุ เนน้ ที่ผตู้ าม ไมว่ า่ จะเปน็ ลูกจา้ ง ลูกน้อง แรงงาน
กรรมกรห้องห้องแอร์ พนักงาน หรือบริบทอ่ืนฯที่ตอ้ งการความเป็นผู้นาท่ีดีด้วยการรับฟังผู้ตมอย่างรอบคอบ พร้อมให้
ความเอาใจใส่ คุณค่าท่ีสองคือความโปร่งใสในการสื่อสาร มีความซ่ือสัตย์ และเป็นผู้นาท่ีรับผิดชอบต่อพฤติกรรมตวั เอง
คณุ ค่าทสี่ ามคือ การมองโลกในแง่บวก ในน้แี ง่บวกหมายถึงการมองสิ่งต่างฯท่เี ขา้ มาในแงด่ ีเพื่อท่ีจะประสบความสาเรจ็ มี
ความม่ันใจจะขับเคล่อื นความสาเรจ็ สุดท้ายคอื เปน็ ผู้นาท่ียดื ยนุ่ มคี วามคลอ่ งตัว พรอ้ มท่จี ะรับมอื กับความทา้ ทายใหม่ฯ

สรุปผลกำรวจิ ยั

ความตอ้ งการในตลาดที่เปลยี่ นแปลงไปอยา่ งมากในยุคโควิด-19 องคก์ รไดป้ รบั ตวั เพ่ือใหเ้ ข้ากบั ส่ิงทกี่ าลงั กลบั มา
หลังจากปิดตวั ไปนาน เพื่อให้กลับมาดาเนินธุรกิจในโลกการเปลี่ยนแปลงใหม่ รวมถึงสถานการณ์การเมืองทผ่ี ันผวนใน
หลายประเทศ รวมถงึ สถานการณ์ทางการเมืองในตา่ งประเทศทตี่ รึงเครียด ส่งผลกระทบกับอตุ สาหกรรมตา่ งๆ ในการผลติ
บริการ อนั ชา้ เตมิ เศรษฐกจิ ท่ีชะลอตัวอยแู่ ล้ว คา่ เงินเสื่อมราคาอตั ราเงนิ เฟอ้ ปรับตวั สูงขึน้ ซึ่งกระทบกับ อานาจในการซื้อ
สินค้าของผู้บริโภค และความต้องการสินคา้ ทีเ่ ปลย่ี นแปลงไป ในโลกที่ความสาคญั กับการรกั ษาสิ่งแวดล้อมถกู ยกมาเป็น
ประเด็นและขอ้ กาหนดในการดาเนินงานเพอ่ื ช่วยรกั ษาสง่ิ แวดลอ้ มกฎระเบยี บดา้ นการคุ้มครองสง่ิ แวดล้อม และทัศนคติ
ของคนทม่ี ตี ่อสงิ่ แวดลอ้ ม เพ่อื ใหเ้ ห็นถึงขอบเขต และแนวทางในการทาธรุ กิจทชี่ ัดเจนมากข้ึนความซับซอ้ นทางสงั คมไมว่ ่า

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บัณฑติ ศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


646

จะเป็น กระแสสงั คม ความหลากหลายทางวฒั นธรรม เจเนอเรชน่ั Z ท่เี ข้ามามบี ทบาทในแรงงาน รวมถึงเทคโนโลยีหรือ
นวัตกรรมอะไรใหม่ ๆ เกิดข้ึนบ้าง และนวัตกรรมท่ีเข้ามาเปลี่ยนแปลง ทาให้เทคโนโลยีทันสมัย ความคลุมเครือของ
กฎระเบียบท่ีแตกต่างกันไปมีผลต่อความไม่มั่นใจในสถานการณ์ในองค์กรทาให้องค์กรต้องกับมาจัดการทรัพยากรไม่
เฉพาะเพียงภายในเทา่ น้ัน แต่ต้องติดตามความความไม่แน่นอนของทรัพยากร ที่ไม่สามารถใช้แบบฟุ่มเฟอื ยได้อีกต่อไป
ทั้งหมดท่ีกาลงั มีการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่และต้องใช้ความพยายามเปน็ พิเศษในการปรับตัว การเปลี่ยนแปลงทา่ มกลาง
ความไมแ่ น่นอน ผันผวน ซบั ซ้อนและ คลุมเครอื นเี้ องท่ที าใหผ้ ู้นาการเปลีย่ นแปลงเข้ามามบี ทบาทในการจัดการองค์กร
การรักษาลกู คา้ หรือการเลิกจ้างของผูต้ าม เม่ือการมสี ว่ นรว่ มของผู้ตามลดลง ทั้งหมดก็แย่ เมื่อการมสี ่วนรว่ มเพ่ิมขนึ้ ทกุ
คนกด็ ีข้นึ

ท้าทายผ้ตู ามให้เป็นเจ้าของงานของตนมากขึน้ และเขา้ ใจจดุ แข็งและจดุ ออ่ นของผตู้ าม ดงั น้ันผนู้ าจงึ สามารถจดั
ผ้ตู ามกับงานท่ีปรับปรงุ ประสิทธภิ าพ Odumeru, J. A., & Ogbonna, I. G. (2013) ภาวะผ้นู าเพื่อการเปลยี่ นแปลงได้รับ
การพิสจู นแ์ ล้ว (Louis EfronHow 2016) ดังที่ Nido Qubein นักธรุ กิจต้งั ข้อสงั เกตว่า “สถานการณป์ ัจจุบันของคณุ ไมไ่ ด้
กาหนดว่าคุณจะไปท่ีใด พวกเขาเพียงแค่กาหนดว่าคุณจะเริ่มต้นจากที่ใด” ตรวจสอบให้แน่ใจว่าองคก์ รของคุณเขา้ ใจ
จุดประสงค์เหตุใดจึงเร่ิมตน้ ตั้งแต่แรกและมีกลยุทธ์ทางธุรกิจท่ีชัดเจนในการดาเนินการในส่ิงที่จาเป็นต้องทาให้สาเรจ็
เพื่อให้บรรลุตามนั้น ความเป็นผู้นาเป็นบทบาทของหัวหน้างานในการจัดการของทุกองคก์ ร เพื่อจัดการเวลา เงิน และ
แรงงาน เราเข้าใจว่าคนท่จี ดั การทรัพยากรเหล่านคี้ ือคนทเ่ี ป็นผนู้ าและ เราเขา้ ใจว่าเพื่อจะจดั การทรพั ยากรได้ เราต้องการ
ผู้นาที่มีประสิทธิภาพ หลายองค์กรมีการนาผู้นาการเปล่ียนแปลงมาใช้ เพ่ือให้เข้าถึงผู้ตามการดาเนินงานท่ีประสบ
ความสาเร็จขององค์กรเป็นส่ิงท่ีท้าทายสาหรับหลายองค์กรในการดาเนินธุรกิจท่ีมีการเปล่ียนแปลงและ ทรัพยากรท่ี
แตกต่างกัน  

ไมว่ า่ ทา้ ยท่สี ุดแล้ว การทวนกระแสโลกาภิวตั นจ์ ะเป็นไปอยา่ งไรในอนาคตขา้ งหนา้ การเปล่ียนแปลงนีย้ งั เปน็ สงิ่
สาคัญในการตอบสนองตอ่ การเปลี่ยนแปลงอย่างช้าฯ หรืออย่างรวดเร็ว (ณัฏฐพันธ์, 2017) เพ่ือการจดั สรรทรัพยากรให้
เหมาะสมกับส่ิงแวดล้อม ทั้งปัจจยั ภายนอกด้านเทคโนโลยี ความเข้มข้นเพยี งใด การเปลี่ยนแปลงท่ีกาลังเกิดข้ึนนีถ้ อื วา่
เป็นสิ่งทา้ ทายตอ่ เศรษฐกจิ ไทยในการจัดสรรทรัพยากรใหม่ให้สามารถปรับตวั ได้ทนั ท่วงที ท้ังปัจจยั ด้านเงนิ ทุน แรงงาน
และเคร่ืองจกั ร เพราะหากปรับตัวได้ช้าก็ย่ิงมีตน้ ทุนสูง และส่งผลต่อความสามารถการแข่งขันในระยะยาว รวมถึงเป็น
“โอกาส” ดว้ ยเชน่ กันในการทบทวนทศิ ทางนโยบายเศรษฐกิจของประเทศทีจ่ าเป็นตอ้ งกระจายการผลิตด้วยการไมพ่ ่ึงพา
ทรัพยากรใดหนึ่งมากจนเกินไปโดยหันมาให้ความสาคัญกับการลงทนุ แรงงานมากข้นึ ซึ่งจะมีส่วนช่วยเพิ่มการกระจาย
รายได้ให้กับแรงงานภายใน

กิตตกิ รรมประกำศ

การศกึ ษาครัง้ น้สี าเร็จลุล่วงด้วยดี เพราะไดร้ ับความกรณุ าแนะนา ช่วยเหลือเปน็ อย่างดยี ่ิงจาก ผศ.ดร. รภสั สรณ์
คงธนจารุอนนั ต์ อาจารย์ ประธานท่ปี รกึ ษางานวิจยั ผศู้ กึ ษาขอขอบพระคณุ ผศ.ดร. วีณา นิลวงศ์ ผศ.ดร. ภาวิณี อารศี รี
สม ดร. กอบลาภ อารศี รีสม อาจารย์ทปี่ รึกษาร่วมทีไ่ ดก้ รณุ าให้แนวคดิ ตา่ งๆขอ้ แนะนาหลายประการ ทาให้งานวจิ ัยฉบบั น้ี
สมบูรณ์มากย่ิงข้ึน สุดท้ายขอขอบคณุ การช่วยเหลือจากผู้เชี่ยวชาญท่ีให้ข้อมูลอย่างเตม็ ท่ีทาให้การศึกษาครง้ั นี้สาเรจ็ ใน
เวลาอันรวดเรว็ และขอขอบคุณผู้ให้ความช่วยเหลืออกี หลายทา่ น ซึ่งไม่สามารถกล่าวนามในท่ีนีไ้ ด้หมด

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บณั ฑิตศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


647

เอกสำรอำ้ งอิง

กลั ยารัตน์ ธีระธนชัยกลุ . (2019). การจดั การการเปล่ียนแปลง, ชนิดของการเปลย่ี นแปลงองค์การ. (p83-84). กรงุ เทพฯ:
บริษทั ซเี อด็ ยเู คช่นั จากดั (มหาชน)

ณัฏฐพันธ์ เขจรนนั ทน์. (2017). พฤตกิ รรมองค์การ. กรงุ เทพฯ: บริษัท ซเี อ็ดยเู คช่ัน จากดั (มหาชน)
อดศิ รา พทุ ธธรรมวงศ์. (2022). กระบวนการการจัดทาประมาณการทางการเงิน (Financial Projection) เพอื่
ประเมินสถานะการเงนิ และมูลคา่ ของบรษิ ัท. ตลาดหลกั ทรัพย์แหง่ ประเทศไทย. Retrieved September 29, 2022,

from https://classic.set.or.th/set/enterprise/article/detail.do?contentId=8144 วรรณวิมล อมั รินทรน์ ุ
เคราะห.์ (2560). การจดั การการเปลย่ี นแปลงและการพฒั นาองคก์ าร. กรุงเทพฯ:สานกั พิมพม์ หาวิทยาลยั
รามคาแหง.
WHO. (2022). Archived: WHO Timeline - COVID-19. Retrieved September 29, from
https://www.who.int/news/item/27-04-2020-who-timeline---covid-19
Acciarini, C., Boccardelli, P., & Vitale, M. (2021). Resilient companies in the time of Covid-19 pandemic:
a case study approach. Journal of Entrepreneurship and Public Policy.
Blake, R. R., Mouton, J. S., & Bidwell, A. C. (1962). Managerial grid. Advanced Management-Office
Executive.
Burns, J. M. (2004). Transforming leadership: A new pursuit of happiness. Grove Press.
Daft, R. L. (2014). The leadership experience. Cengage Learning.
De Vries, J. (1994). The industrial revolution and the industrious revolution. The Journal of Economic
History, 54(2), 249-270.
Gourinchas, P. O Kalemli-Ozcan, S. Penciakova, V. Sander, N. (2020). Covid-19 and Business Failures.
Retrieved October 07, from https://www.oecd.org/global-forum-
productivity/webinars/Gourinchas-Kalemli-Ozcan-covid-19-and-business-failures.pdf
Louis, E. (2016) How Transformational Leadership Saved This Company: Ceridian's Story Retrieved
October 05, from https://www.forbes.com/sites/louisefron/2016/07/06/how-transformational-
leadership-saved-this-company-ceridians-story/?sh=38e7d8ed2909
Mogalakwe, M. (2006). The use of documentary research methods in social research.African
sociological review. 10 (1): p. 221-230.
Umassglobal (2020) Understanding the impact of inspirational guidance, Retrieved September 29,
from https://www.umassglobal.edu/news-and-events/blog/what-is-transformational-leadership
Scott, J. (1990). A matter of record: Documentary sources in social research. Polity press: Cambridge.
Zhou, R., Long, L., & Hao, P. (2016). Positive affect, environmental uncertainty, and self-sacrificial
leadership influence followers' self-sacrificial behavior. Social Behavior and Personality: an
international journal, 44(9), 1515-1524.

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บัณฑิตศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


648

การบริหารจัดการสภาวะวกิ ฤติโรคอุบตั ใิ หม่และโรคอบุ ตั ซิ า้ เชงิ บูรณาการ
ขององคก์ ารปกครองส่วนทอ้ งถิน่ จงั หวัดเชียงใหม่

Integrated Management of Emerging Disease Crisis and Emerging Diseases of
Local Administrative Organizations in Chiang Mai Province

นายธรี พล นิติจอมเลก็
Teeraphon Nitichomlek

สาขาการจดั การ และ พฒั นาทรพั ยากร คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลยั แม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่ ประเทศไทย 50290
Resources Management and Development, Faculty of Agricultural Production,
Maejo University, Chiangmai Province, Thailand 50290

บทคดั ย่อ

ปัจจุบันการเกิดโรคและภัยพิบัติต่าง ๆ สามารถเกิดขึนได้อย่างรวดเร็วและไม่คาดคิดและมักจะมีความรุนแรง
ส่งผลกระทบตอ่ วถิ ีชวี ติ ของคนทั่วโลก ซึ่งการเกดิ โรคระบาดและภยั สุขภาพนับเป็นปัญหาทสี่ า้ คัญ และมแี นวโน้มเพ่ิมขึน
เน่ืองจากสภาพแวดล้อมและภมู อิ ากาศของโลกทเี่ ปล่ยี นแปลงไป เชือโรคก่อตวั และเปลีย่ นแปลงสายพันธุต์ ลอดเวลา หาก
เกดิ การแพรร่ ะบาดของโรคและขยายวงกว้าง จะกอ่ ใหเ้ กิดเปน็ ภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสขุ โรคตดิ ตอ่ อุบตั ิใหม่ในทศวรรษ
ที่ผ่านมา เชน่ โรคซาร์ส โรคไข้หวดั นก โรคไขห้ วดั ใหญ่ 2009 ฯลฯ และในปี 2019 เกิดการระบาดของ COVID – 19 ซ่ึง
นบั เป็นปญั หาสา้ คัญระดบั โลก โดยมีผลกระทบทังด้านสขุ ภาพเศรษฐกิจและสังคมในวงกวา้ ง

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นองค์กรท่ีมีความใกล้ชิดกับประชาชนและมีอ้านาจหน้าที่ตามกฎหมายในการ
ควบคมุ และระงบั โรคตดิ ต่อ อีกทงั เป็นหน่วยงานท่มี ีความพรอ้ มด้านงบประมาณท่สี ามารถน้านโยบายของรฐั บาลไปปฏบิ ตั ิ
และมีอิสระในการก้าหนดนโยบายและนา้ นโยบายนนั ไปสู่การปฏิบตั ิตามหลักการกระจายอ้านาจ อกี ทังเปน็ หนว่ ยงานท่ีมี
ท่ีตังอยู่ในพืนที่ ซึ่งสะดวก รวดเร็วในการเข้าถึงพืนที่และประชากร จ้าเป็นที่จะต้องมีการบริหารจัดการท่ีดีเพื่อให้
สอดคล้องกบั บรบิ ทสขุ ภาพในปัจจบุ ัน

การบริหารจัดการในสภาวะวิกฤติจากโรคอุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้าเชิงบูรณาการขององค์การปกครองส่วน
ท้องถน่ิ จังหวดั เชยี งใหม่ จะเป็นแนวทางในการประเมนิ ประสทิ ธภิ าพ ความพรอ้ มและศักยภาพในการบรหิ ารจัดการ และ
การปรับปรุงการปฏิบัติงานด้านบริการสาธารณสุขให้มีประสิทธิภาพย่งิ ขึน และเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานในการน้ามา
ปรับใช้ใหเ้ หมาะสมตามโครงสร้างภายในและบริบทต่อไป

คา้ ส้าคัญ: การบริหารจัดการ โรคอบุ ตั ใิ หมแ่ ละโรคอบุ ัตซิ า้ องค์การปกครองสว่ นท้องถิ่น

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บัณฑติ ศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


649

Abstract

Nowadays, various diseases and disasters can occur quickly and unexpectedly and are often
violent. affect the way of life of people around the world The epidemic and health hazards are
important problems. and has a tendency to increase Due to the changing environment and climate of
the world Germs form and change species over time. If the disease spreads and spreads widely will
cause a public health emergency Emerging infectious diseases in the past decade such as SARS, avian
influenza, 2 0 0 9 influenza, etc., and in 2 0 1 9 , there was an outbreak of COVID-1 9 , which is a global
problem. It has a wide impact on health, economy and society.

Local government organizations are organizations that are close to the people and have legal
powers and duties to control and suppress communicable diseases. It is also an agency with budget
readiness to be able to implement government policies and have the freedom to formulate policies
and implement them in compliance with decentralization principles. It is also an agency that has a
location in the area, which is convenient and quick to access the area and population. There is a need
for good management to be consistent with the current health context.

Management in Crisis from Emerging Diseases and Integrative Emerging Diseases of Local
Administrative Organizations in Chiang Mai Province will be a guideline for evaluating performance
readiness and potential in management and improving the efficiency of public health service operations.
And it is beneficial to the organization in applying it to be appropriate according to the internal structure
and context

Keywords: Management, Emerging Diseases and Emerging Diseases, Local Administrative
Organizations

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บณั ฑติ ศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


650

บทนำ

โรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เป็นไวรัสอุบัติใหม่ที่พบว่ามีการระบาดตังแต่เดือนธันวาคม 2562
โดยรายงานครงั แรกท่มี ณฑลหเู ปย่ สาธารณรัฐประชาชนจนี เชือไวรัส COVID-19 สามารถแพรก่ ระจายจากคนสู่คนผ่าน
ทางการไอ จาม สัมผัสโดยตรงกบั สารคดั หลัง่ เช่น นา้ มูก น้าลายของคน ผตู้ ิดเชอื จะมีอาการหลายแบบตังแตต่ ดิ เชือไม่มี
อาการ อาการเลก็ น้อยคลา้ ยเป็นไข้หวดั ธรรมดา อาการปานกลางเปน็ ปอดอกั เสบ และอาการรุนแรงมากจนอาจเสียชีวิต
การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 เกิดขนึ อย่างกวา้ งขวางในหลายประเทศท่ัวโลก องค์การอนามัยโลกได้
ประกาศให้โรคตดิ เชอื ไวรสั โคโรนา 2019 เปน็ ภาวะฉุกเฉนิ ทางสาธารณสขุ ระหวา่ งประเทศ (Public Health Emergency
of International Concern) เมื่อวันที่ 30 มกราคม 2563 และแนะน้าทุกประเทศให้เร่งรัดการเฝ้าระวัง ป้องกัน และ
ควบคมุ โรค สา้ หรับประเทศไทย ได้มีมาตรการในการเฝา้ ระวัง ปอ้ งกนั และควบคุมโรคตังแต่เริม่ พบการระบาดในประเทศ
จีน ตรวจพบผู้ป่วยรายแรกเปน็ ผู้เดินทางจากประเทศจีนในวันท่ี 8 มกราคม 2653 ได้รับการตรวจยืนยันผลและแถลง
สถานการณใ์ นวนั ท่ี 14 มกราคม 2563 ผู้ป่วยช่วงแรกเปน็ ผเู้ ดนิ ทางจากพืนทเี่ สี่ยง การขยายพืนทรี่ ะบาดในต่างประเทศ
เกิดขึนอยา่ งตอ่ เน่ือง ประกอบกับผู้ติดเชอื จากการเดินทางไปยังพืนท่ีระบาดอาจมอี าการเล็กน้อยทา้ ให้ไม่มีการตรวจหา
การติดเชือ การพบผู้ป่วยกลุ่มถัดมาคอื ผู้ประกอบอาชีพสมั ผสั กับนักท่องเท่ียวจากนันพบการตดิ เชือในกลมุ่ นกั ท่องเท่ยี ว
ไทยท่นี ิยมไปกินด่ืม การระบาดทเ่ี ป็นกลมุ่ ก้อนใหญค่ อื การระบาดในสนามมวยลมุ พนิ ี สนามมวยราชดา้ เนิน ซ่ึงท้าให้มผี ้ตู ดิ
เชือจา้ นวนเพมิ่ มากขึนอย่างรวดเรว็ จนต้องมีการประกาศใหโ้ รคตดิ เชือไวรัสโคโรนา 2019 (Coronavirus Disease 2019
(COVID-19) เป็นโรคตดิ ต่ออนั ตรายตามพระราชบัญญัตโิ รคติดต่อ พ.ศ. 2558 เมอื่ วันท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ 2563 และต่อมา
เมื่อวันท่ี 25 มีนาคม 2563 นายกรัฐมนตรีได้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินตามพระราชก้าหนดการบริหารราชการใน
สถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 และวันที่ 26 มีนาคม 2563 ได้ประกาศข้อก้าหนดตามความในมาตรา 9 แห่งพระราช
ก้าหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 (ฉบับท่ี 1) โดยได้ออกข้อก้าหนดและข้อปฏิบัติแก่ส่วน
ราชการท่เี ก่ียวข้อง เพือ่ ให้สามารถแก้ไขสถานการณฉ์ กุ เฉนิ ใหย้ ตุ ลิ งไดโ้ ดยเรว็ และป้องกันมใิ ห้เกดิ เหตุการณ์รา้ ยแรงมาก
ขึนตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 มีสาระส้าคัญเป็นการส่งเสริมและคุ้มตรองสิทธิเสรีภาพของประชาชน
โดยนัยหมวด 5 แนวนโยบายพืนฐานแห่งรัฐ มาตรา 75 “รัฐต้องดูแลให้มีการปฏิบัติตามกฎหมายคุ้มครองสิทธิและ
เสรีภาพของบคุ คลจดั ระบบงานของกระบวนการยตุ ธิ รรมให้มีประสิทธิภาพและอา้ นวยความสะดวกยุติธรรมแก่ประชาชน
อยา่ งรวดเรว็ และเท่าเทียมกันรวมทังจดั การระบบงานราชการและงานของรฐั อย่างอ่นื ใหม้ ีประสิทธิภาพ เพอื่ สนองความ
ต้องการของประชาชน” เทศบาลต้าบล และองค์การบริหารส่วนต้าบล ซึ่งเป็นหน่วยงานท่ีอยู่ใกล้ชิดกับประชาชนมาก
ทีส่ ดุ จงึ มีความจ้าเปน็ อยา่ งยิง่ ท่จี ะต้องดูแล รบั ผดิ ชอบประชาชน ให้มีความอย่ดู กี ินดี มีคณุ ภาพชวี ิตทด่ี ี และไดร้ บั บริการ
จากภาครัฐด้วยความสะควก รวดเร็ว ยุติธรรม เสมอภาค มีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล (อาภรณ์ ศรีสวัสดิ์พัฒนา,
2550) นอกจากนี พระราชบัญญัติก้าหนดแผนและขันตอนการกระจายอ้านางให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.
2542 ก้าหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีอ้านาจและหน้าท่ีในการจัดระบบบริการสาธารณะเพ่ือประ โยชน์ของ
ประชาชนในท้องถนิ่ ของตนเอง ในส่วนท่ีเกี่ยวข้องกับสุขภาพอนามัย องค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ มีหน้าท่ีในการสง่ เสริม
และพัฒนาสตรี เดก็ เยาวชนและผ้พู ิการ รวมทงั การคมุ้ ครองดแู ลและบ้ารุงรักษาทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มซง่ึ จะ
เห็นได้ว่าระดับท้องถิ่นนันมีบทบาทและมีความส้าคัญยิ่ง ในการสนับสนุนการด้าเนิ นงานส่งเสริมสุขภาพและอนามัย
ส่ิงแวดล้อม เพื่อให้ประชาชนมีพฤติกรรมอนามัยและคุณภาพชีวิตที่ดีอีกทังการให้บริการสุขภาพกายภายใด้ระบบ

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บัณฑติ ศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


651

หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า จึงเป็นกลไกหลักท่ีได้ตอบสนองข้อก้าหนดของรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักร ไทย พ.ศ.
2540 และพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 ตอ้ งการการจดั การทมี่ ีความเขม้ แข็ง ครอบคลุม และ
มีประสิทธิภาพ จึงต้องมีการพฒั นาระบบบริการงานสาธารณสุขใหเ้ ข้มแข็งมากกว่าท่เี ป็นอยู่เพอ่ื สร้างให้เกิดการบรกิ าร
สุขภาพที่ประชาชนเข้าถึงและได้รบั บริการอย่างมีคณุ ภาพ ครอบคลุมการดแู ลสุขภาพระดับครอบครัวและชมชน ซ่ึงจะ
กอ่ ให้เกิดประสิทธภิ าพในการพฒั นาสขุ ภาพ

ดังนัน องค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ ในฐานะท่ีเป็นองค์กรที่มีความใกล้ชิดกับประชาชนและมีอ้านาจหน้าทีต่ าม
กฎหมายในการควบคมุ และระงับโรคตดิ ต่อ อีกทังเป็นหนว่ ยงานทม่ี ีความพร้อมด้านงบประมาณเปน็ หนว่ ยงานทีส่ ามารถ
นา้ นโยบายของรัฐบาลไปปฏบิ ตั แิ ละมีอิสระในการกา้ หนดนโยบายและน้านโยบายนันไปสู่การปฏบิ ัติตามหลกั การกระจาย
อ้านาจ อีกทังเป็นหน่วยงานที่มีที่ตังอยู่ในพืนที่ ซ่ึงสะดวกและรวดเร็วในการเข้าถึงพืนท่ีและประชากรได้อย่างรวดเรว็
บทความนีน้าเสนอการบริหารจัดการสภาวะวิกฤตโิ รคอุบัตใิ หม่และโรคอุบัติซ้าเชงิ บรู ณาการขององค์การปกครองส่วน
ทอ้ งถน่ิ จงั หวัดเชยี งใหม่ เพ่ือเป็นแนวทางในการประเมนิ ประสิทธภิ าพการบริหารงานดา้ นสาธารณสุขในสภาวะวิกฤติจาก
โรคอุบัตใิ หมแ่ ละโรคอุบตั ซิ า้ รวมทังความพรอ้ มและศักยภาพในการบรหิ ารจัดการภาวะวกิ ฤติโรคอุบัติใหมแ่ ละโรคอบุ ตั ซิ า้
ขององค์การปกครองสว่ นท้องถ่นิ จังหวดั เชียงใหม่ ในการปรับปรุงการปฏบิ ัตงิ านดา้ นบรกิ ารสาธารณสุขใหม้ ีประสิทธิภาพ
ย่ิงขึน และเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานในการน้ามาปรับใชใ้ ห้เหมาะสมตามโครงสร้างภายในและบริบทของตน รวมทัง
สามารถประยุกต์ใช้กับเหตุสาธารณภยั อื่น ๆ ตอ่ ไป

อุปกรณแ์ ละวธิ ดี า้ เนนิ การวิจัย

ในการวจิ ยั ครงั นี มีวธิ กี ารวจิ ัย ใช้การศึกษาวิจัยเอกสาร (Documentary Research) เปน็ การรวบรวมข้อมลู จาก
เอกสารทางวชิ าการ วารสาร ส่ิงพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ รายงานการวิจัย วิทยานิพนธ์ ดุษฎีนิพนธ์ รายงานการประชุม
คูม่ ือการปฏบิ ตั งิ าน ระเบยี บ ประกาศ คา้ ส่ัง เอกสารทางวิชาการที่เกี่ยวขอ้ ง

ผลการวิจยั

ความพรอ้ มและศกั ยภาพในการบริหารจดั การภาวะวกิ ฤติโรคอบุ ัตใิ หมแ่ ละโรคอุบตั ิซ้าขององคก์ ารปกครอง
สว่ นท้องถิ่นจงั หวดั เชยี งใหม่

1. การบรหิ ารจดั การขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น
ข้อมูลจาก ส้านักงานเศรษฐกิจการคลัง ปี พ.ศ. 2550 พบว่า นับตังแต่ท่ีได้มีการบังคับใช้พระราชบัญญตั ิ

ก้าหนดแผนและขันตอนการกระจายอ้านาจใหแ้ กอ่ งคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน พ.ศ. 2542 เป็นตน้ มา องคก์ รปกครองส่วน
ทอ้ งถ่ินมีรายได้รวมทส่ี ามารถน้ามาพัฒนาทอ้ งถนิ่ ของตนเองเพมิ่ ขนึ ตามล้าดับอยา่ งมนี ยั สา้ คญั โดยในปีงบประมาณ 2542
องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน มีรายได้รวม 100,805 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 14.22 ของรายได้รัฐบาล และใน
ปงี บประมาณ 2549 องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่นมรี ายได้รวม 327,113 ล้านบาท คดิ เป็นร้อยละ 24.42 ของรายไดร้ ัฐบาล
กล่าวอีกนัยหน่ึงก็คือ ในช่วง 7 ปี ท่ีผ่านมาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีรายได้เพิ่มขึนถึง 3 เท่าตัว ไม่เพียงแต่รายได้
เท่านัน อ้านาจหน้าท่ีและความรับผิดชอบขององคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ินก็มากขึนตามไปด้วย ซ่ึงเป็นไปตามแผนการ

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บัณฑิตศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


652

กระจายอ้านาจให้แก่องคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น โดยเฉพาะงานท่ีได้มีการถ่ายโอนจากหน่วยราชการส่วนภูมิภาค เช่น
งานบริการการศึกษา งานบริการสาธารณสุข และงานทะเบียนต่าง ๆ เป็นต้น

เม่ืออ้านาจหน้าที่ ความรับผิดชอบ และรายได้ขององคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ินเพิ่มมากขึนอย่างมนี ยั ส้าคัญ
เช่นนี องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจึงมีความจ้าเป็นตอ้ งมีความพรอ้ มในการบริหารจัดการรายได้และความรับผิดชอบท่ี
เพ่ิมขึนด้วย ทังนีเพื่อให้การบริหารจัดการด้านต่าง ๆ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และมีผลงานท่ีมีคุณภาพและเป็นที่
ยอมรับของประชาชนในท้องถ่ินและสาธารณะชนท่ัวไป ในการพัฒนาความสามารถทางการบริหารจัดการขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถ่ิน ผู้บริหารทอ้ งถ่นิ และองคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ จ้าเปน็ ตอ้ งพัฒนาความสามารถในการบรหิ ารของ
องค์กรอย่างน้อย 4 ด้าน ประกอบด้วย ความสามารถด้านการพัฒนาท้องถ่ิน ความสามารถด้านพัฒนาองค์กร
ความสามารถด้านการบรหิ ารการเงินการคลัง และความสามารถในการบริหารการมีส่วนร่วมของประชาชน ซึ่งมิติทงั 4
ด้านนีมีความสัมพันธ์เชอื่ มโยงซง่ึ กนั และกนั และถอื เปน็ หัวใจของการบริหารจัดการองคก์ รปกครองท้องถน่ิ ยุคใหม่

2. การบริหารจัดการสภาวะวิกฤติโรคอุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้าเชิงบูรณาการขององค์การปกครองส่วน
ทอ้ งถน่ิ จงั หวดั เชยี งใหม่

2.1 ความสามารถเชงิ สถาบัน (institutional capacity) ขององคก์ รปกครองท้องถนิ่ จงั หวดั เชยี งใหม่
พิษณุ เพ็ชรกูล (2564) กล่าวว่า บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ในการน้านโยบายการป้องกัน

และระงับโรคตดิ เชือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ไปปฏบิ ตั ิ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในฐานะที่เปน็ องค์กรที่มคี วาม
ใกล้ชิดกับประชาชนและมีอ้านาจหน้าที่ตามกฎหมายในการควบคุมและระงับโรคติดต่อ อีกทังเป็นหน่วยงานที่มีความ
พรอ้ มด้านงบประมาณ มีศักยภาพทางดา้ นการเงินการคลัง เปน็ หน่วยงานทสี่ ามารถนา้ นโยบายของรัฐบาลไปปฏิบัติและมี
อิสระในการก้าหนดนโยบายและน้านโยบายนันไปสู่การปฏิบัติตามหลักการกระจายอ้านาจ อีกทังเป็นหน่วยงานท่ีมีท่ี
ตังอยู่ในพืนท่ซี ่ึงสะดวกและรวดเรว็ ในการเข้าถึงพืนที่ ในช่วงการระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 ได้มีบทบาท
อยากมากในการป้องกันและระงับโรค เป็นหน่วยงานหน่ึงท่ีต้องขับเคล่ือนนโยบายต่าง ๆ ท่ีถูกก้าหนดขึนโดยราชการ
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค รวมถึงคณะกรรมโรคตดิ ตอ่ จังหวัด เนื่องด้วยเปน็ หน่วยงานท่มี ีศกั ยภาพที่ขับเคลื่อนนโยบายได้
และเป็นหน่วยงานระดับพืนท่ี ที่เข้าใจบริบท ความต้องการของประชาชนและใกล้ชิดประชาชนมากที่สุด และมี
ความสามารถเชิงสถาบนั (institutional capacity) ในรปู แบบโครงสร้างองคก์ รและกระบวนงานเป็นงานทีส่ ะท้อนเรื่องนี
ได้ดีท่ีสุด และเป็นงานท่ีส่งผลตอ่ ประชาชนอยา่ งเห็นไดเ้ ป็นรูปธรรม และจุฑาทพิ ย์ สุจริตกุล (2562) ระบุว่าคุณลักษณะ
ภาวะผู้น้าการด้านการมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์มีอิทธิพลมาก ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการก้าหนด
วิสัยทัศน์ พันธกิจของหน่วยงานไว้อยา่ งชดั เจน ส่งต่อไปยังผู้บังคับบัญชาเพื่อน้าไปปฏิบตั ไิ ดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ ดังนนั
เมอ่ื เกิดการแพร่ระบาดโรคตดิ เชือไวรัสโคโรนา 2019 ขึน โดยเมอื่ รัฐใหม้ กี ารรายงานพบผปู้ ่วยในประเทศไทยตงั แตเ่ ดือน
มกราคม องค์กรปกครองท้องถน่ิ จึงสามารถดา้ เนินการไดเ้ ลย โดยใช้งบประมาณจากแผนรายจ่ายของงานสาธารณสขุ และ
งบกลางรว่ มกัน ก่อนท่รี ฐั บาลกลางจะมีประกาศหรอื ค้าสง่ั ทีเ่ ก่ยี งข้อง โดยเรม่ิ ด้าเนนิ การด้วยการประชาสมั พันธ์ เพ่อื สรา้ ง
ความรู้ และแนะนา้ การปฏบิ ตั ติ ามมาตรการป้องกันผา่ นทางป้ายบิลบอร์ด, จอ LED, แผน่ พับความรู้, การจดั รายการเสยี ง
ตามสายในเขตชุมชนดังเดิม และสื่อสังคมออนไลน์อย่างเว็บไซต์ และ Official Facebook Fan page ของขององค์กร
ปกครองท้องถนิ่ ในแตล่ ะแห่ง ตลอดจน Line Group ของชุมชนที่ประชาชนเขา้ ถึงได้มากทสี่ ดุ และช่วยใหเ้ กิดการสอื่ สาร
สองทาง ซึ่งกลายเป็นแหล่งพ่ึงพิงดา้ นข้อมูลข่าวสารอย่างดีส้าหรับประชาชนที่เตม็ ไปด้วยความกังวลเก่ียวกับการแพร่
ระบาดในระยะแรก บทบาทต่อมาคือการจดั ซืออุปกรณท์ างการแพทย์ และสิ่งของจ้าเปน็ ต่อการปอ้ งกันตนเอง เช่น ชุด

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บัณฑติ ศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


653

PPE (Personal Protective Equipment), หนา้ กากอนามยั N95, แวน่ ตาป้องกนั เป็นต้น ซง่ึ ดา้ เนินการผา่ นหนว่ ยงานท่ี
ใหบ้ ริการรกั ษาพยาบาลในสังกดั ของท้องถิน่ และตอ่ มาจึงได้ปรบั ใหส้ อดคล้องกับคา้ แนะน้าของกรมควบคุมโรค

อีกกลไกหนึ่งที่สะท้อนการสร้างขีดความสามารถเชิงสถาบัน (institutional capacity building) ของ
ขององคก์ รปกครองทอ้ งถิ่น คือ การใช้กองทนุ หลกั ประกันสุขภาพในการบริหารงานด้านสุขภาพ ในช่วงการแพร่ระบาด
ของโควดิ -19 ขององค์กรปกครองท้องถน่ิ ไดป้ รับเปลี่ยนบทบาทของตนในกระบวนการของกองทุนนี กล่าวคอื จากการเปน็
ผู้พิจารณาอนุมัติตามการร้องขอมาเป็นผู้ผลักดันให้เกิดโครงการอันเกี่ยวเน่ืองกับการป้องกันโควิด-19 โดยตรง การ
ด้าเนนิ การนีตามมาด้วยการสนับสนุนโดย สปสช. เพ่ือให้ อปท. สามารถใชก้ องทุนนตี อบสนองกบั การแพรร่ ะบาดของโรค
โควดิ ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ และตรงเป้าหมาย ดว้ ยการประกาศเกณฑ์การใช้กองทุนในด้านการป้องกันการระบาดของโรคโควิด
และเพ่ือใช้กองทุนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ หลาย อปท. ได้เรียกประชุมเครือข่ายของประชาชนในท้องถ่ินจัดท้า
โครงการต่าง ๆ เพื่อสนับสนุนต่อนโยบายการป้องกันและควบคุมโรค เช่น การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการจัดท้าหน้ากาก
อนามัยแบบผ้า, สายคล้องหน้ากากอนามัย, Face Shield, เจลแอลกอฮอล์ท้าความสะอาดมือ ฯลฯ , การจัด
สภาพแวดลอ้ มตามหลัก Social Distancing สนบั สนนุ อปุ กรณ์ปอ้ งกันการแพรร่ ะบาด และวางขันตอนการป้องกัน ใหแ้ ก่
ผใู้ ห้บรกิ ารรถโดยสารสาธารณะ, การใหค้ วามร้เู ร่ืองโรคติดต่อ และความส้าคญั ของการล้างมอื แกเ่ ด็กนกั เรยี นในโรงเรียน,
การเคาะประตูบ้านเพือ่ ติดตามดแู ลสุขภาพผู้สูงอายแุ ละผู้ป่วยเรือรัง ติดบ้าน ติดเตียง, การจัดอบรมเรื่องการปฏิบตั ิตวั
เฝ้าระวงั และป้องกนั โควิด-19 แกช่ มรมผู้สงู อายุ บุคลากรในสถานประกอบการ และชมรมจิตอาสาพฒั นาสุขภาพชุมชน
(จพสช.) เป็นต้น นอกจากด้านสาธารณสุขอันเก่ียวเน่ืองกับการระบาด ยังมีกลไกการบรรเทาทุกข์ส้าหรับภัยพิบัติใน
รูปแบบต่าง ๆ ในด้านการบรรเทาทุกข์แก่ผู้ได้รับผลกระทบจาก โควิด-19 อย่างทันท่วงที โดยใช้งบประมาณปกตขิ อง
องคก์ รปกครองส่วนท้องถนิ่ จังหวัดเชยี งใหม่ เช่น ให้เงนิ ชว่ ยเหลือ การแจกถุงยงั ชีพ เปน็ ตน้

2.2 ความสามารถดา้ นการสรา้ งเครือขา่ ยและการมีสว่ นร่วม
ความสามารถด้านการสรา้ งเครอื ขา่ ยและการมสี ่วนร่วม เครอื ขา่ ย อสม. (อาสาสมคั รสาธารณสขุ ประจ้า

หมู่บ้าน) เป็นกลไกเครือข่ายภาคประชาชน ที่เข้มแข็งท่ีสุดในงานด้านสาธารณสุข และสามารถป้องกันไม่ให้ชุมชนเปน็
แหล่งเกิดเหตุ big spreader ขึน โดย อสม. คือ บุคคลท่ีได้รับการคัดเลือกจากชุมชน และผ่านการฝึกอบรมมาตรฐาน
อาสาสมัครสาธารณสขุ มหี น้าท่แี ละความรบั ผิดชอบตามระเบียบกระทรวงสาธารณสุข เปน็ ส่วนสา้ คัญของระบบสุขภาพ
ปฐมภูมิ มีจุดแข็งอยู่ความสามารถในการเข้าถึงชุมชน เป็นรายครัวเรือน (อสม. 1 คน ดูแลประมาณ 10-20 ครัวเรือน)
โดยเฉพาะการถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับโรค การเผยแพร่ข่าวสารท่ีจ้าเป็น การส้ารวจข้อมูลด้านสาธารณสุข
การรวบรวมบนั ทกึ ดา้ นสขุ ภาพของครอบครวั และการรณรงค์เกีย่ วกับการปอ้ งกนั โรค รวมทงั ตดิ ตามผสู้ มั ผสั โรค พร้อมท่ี
จะน้าไปสู่กระบวนการกักตัวและรักษาไดอ้ ย่างรวดเร็ว การด้าเนินการนีท้าเปน็ รูปธรรมร่วมกับโรงพยาบาลท่ีสงั กัดการ
ปกครองส่วนภูมิภาค และเช่ือมต่อกับกระทรวงสาธารณสุขระดับชาติ และยังมีภารกิจร่วมกับเทศกิจ ชุมชน
ในการช่วยจัด Social Distancing และตรวจวดั อณุ ภมู ิ พร้อมกับการเฝา้ ระวงั ผูท้ ีก่ ักตวั อยู่บ้าน 15 วัน และการเข้าถึงตวั ผู้
สัมผัสโรคได้อย่างทันท่วงที ไม่ต้องรอให้ได้รับแจ้งจากทางโรงพยาบาล แต่เครือข่ายในท้องถ่ินของเทศบาล อย่าง
คณะกรรมการชุมชน แกนนา้ สขุ ภาพ และ จพสช. ได้รว่ มเปน็ หูเป็นตาและติดตอ่ ประสานงานกนั เองได้กอ่ นท่ีจะมคี า้ ส่ังลง
มา ผ่าน Line Group โดยมีกองสาธารณสขุ ของเทศบาล และ สมาชิกสภาเทศบาล (ส.ท.) เป็นผู้ตัดสินใจหน้างาน และ
เปน็ ตัวกลางท่สี า้ คัญในการเชื่อมตอ่ กับจังหวดั และสว่ นกลางอีกที ความสามารถในการสร้างเครอื ข่าย ยงั ขยายไปสู่การดงึ
ทรพั ยากรจากภายนอกเข้ามาสนับสนุนการดา้ เนินการด้านสาธารณสุข เป็นการบูรณาการร่วมกับหน่วยงานอ่ืน เชน่ การ

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บัณฑิตศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


654

ขอลดภาษจี ากกรมสรรพสามติ ในการซือแอลกอฮอล์ เพ่ือนา้ มาผลิตแอลกอฮอล์ลา้ งมอื และ ขอน้ากลน่ั จากการไฟฟา้ ฝ่าย
ผลิตแห่งประเทศไทยในการผสมเพื่อผลิตแอลกอฮอล์ล้างมือ เป็นต้น ในกรณีขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัด
เชยี งใหม่ อาศัยเครือข่ายความสมั พนั ธส์ ว่ นตัวของนักการเมืองทอ้ งถิน่

2.3 ความพร้อมของขององคก์ ารปกครองส่วนท้องถ่ินจงั หวดั เชียงใหม่ในการปรบั บทบาท เพื่อตอบสนอง
ตอ่ สถานการณ์ใหมๆ่

ความพรอ้ มของขององคก์ ารปกครองสว่ นท้องถิน่ จงั หวดั เชยี งใหม่ ในการปรับบทบาท เพอื่ ตอบสนองต่อ
สถานการณใ์ หม่ ๆ ได้ตามประกาศกระทรวงสาธารณสขุ รับรองโดยพระราชบัญญตั โิ รคตดิ ตอ่ พ.ศ. 2558 แต่เม่ือมีการ
แพร่ระบาดเพ่ิมขนึ วนั ที่ 13 มีนาคม 2020 จึงประกาศให้พนกั งานของท้องถิน่ เป็นเจ้าพนักงานควบคมุ โรคดว้ ย สะท้อนให้
เห็นว่าก้าลังคนของข้าราชการส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ไม่สามารถรับมือกับสถานการณ์ได้ และประกาศกระทรวง
สาธารณสุขที่ให้บุคลากรในท้องถิ่นระดับเทศบาลเป็นเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อด้วยนี เป็นการเพ่ิมอ้านาจให้กับ
ทอ้ งถ่นิ อยา่ งมาก และท้าให้องค์การปกครองสว่ นทอ้ งถ่ินจังหวดั เชียงใหม่มีความคล่องตัวมากขึนในการเฝา้ ระวงั ปอ้ งกนั
และควบคุมโรค ประกอบกับการท่ีองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดเชียงใหม่มีเครือข่ายประชาชนที่ใกล้ชิด และมี
ความสามารถในการเขา้ ถงึ พืนท่ไี ดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพดว้ ยแลว้ จงึ ท้าใหส้ ามารถปรบั ตัว และใช้บทบาทของเจ้าพนกั งาน
ควบคุมโรคติดตอ่ กลายเป็นตัวแสดงหลักในการจดั การกบั การแพรร่ ะบาดของโควดิ -19 ในท้องถนิ่ ได้อยา่ งเป็นทป่ี ระจักษ์
และ เป็นการเพ่ิมอ้านาจใหก้ ับทอ้ งถน่ิ อย่างมาก และท้าให้องคก์ ารปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวดั เชยี งใหม่มีความคล่องตัว
มากขนึ ในการเฝา้ ระวังปอ้ งกนั และควบคุมโรค

ประสิทธิภาพการบริหารงานด้านสาธารณสุขในภาวะวิกฤติจากวิกฤติโรคอุ บัติใหม่และโรคอุบัติซ้าของ
องค์การปกครองส่วนท้องถ่ินจงั หวดั เชยี งใหม่

1. ลกั ษณะการบริหารจัดการขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน
สเุ มธ แสงนิ่มนวล (2557) อธบิ ายว่า การบรหิ ารงานองค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ ไม่ใชแ่ ค่การใหค้ วามสา้ คัญ

กับหลักการบริหารจัดการทั่วไปซ่ึงประกอบด้วย การวางแผน (Planning) การจัดองค์การ (Organizing) การน้า
(Leading) และการควบคุม (Controlling) อันเป็นหลักการบริหารงานขันพืนฐานท่ีทุกองค์กรต้องปฏิบัติแต่องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นยงั ต้องมีการบรหิ ารจดั การตามอ้านาจหน้าที่ของตนเองให้เปน็ ไปตามหลักการบริหารจัดการบา้ นเมอื ง
ท่ดี ีหรอื หลกั ธรรมาภิบาล และสามารถตอบสนองความตอ้ งการของประชาชน ด้วยการบรหิ ารงานตามหลกั นติ ธิ รรม หลัก
คุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักความมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ และหลักความคุ้มค่า เพื่อบรรลุเป้าหมายการ
บรหิ ารราชการ 7 ประการ คือ เพื่อให้เกิดประโยชน์สุขของประชาชน เพื่อใ้ห้เกดิ ผลสมั ฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ การบรหิ าร
ราชการอยา่ งมีประสิทธิภาพและเกดิ ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรฐั การลดขันตอนการปฏิบัตงิ าน การปรับปรุงภารกิจ
ของสว่ นราชการ การอา้ นวยความสะดวก และการตอบสนองความตอ้ งการของประชาชน และการประเมินผลการปฏิบัติ
ราชการ ซึ่งองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ินที่สามารถสร้างองคก์ รของตนใหเ้ ป็นองค์กรธรรมาภบิ าลได้นันย่อมเป็นทย่ี อมรับ
ของประชาชนและผู้ที่มสี ่วนเก่ยี วขอ้ งและสง่ ผลให้การบริหารจดั การท้องถ่นิ มปี ระสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ล ดงั นี

1) ด้านนโยบาย คณะผู้บริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควรมีการก้าหนดวิสัยทัศน์ เป้าหมายการ
บริหารงาน และนโยบายในการบริหารงานไว้อยา่ งชัดเจน เห็นเป็นรูปธรรม โดยมีเป้าหมายคือการพัฒนาและยกระดบั
คุณภาพชวี ิตของประชาชนในท้องถ่ินเป็นหลัก และยึดหลักธรรมาภบิ าลและการบริหารจัดการบ้านเมืองทด่ี เี ป็นแนวทาง
ในการบริหารจัดการ

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บณั ฑิตศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


655

2) ดา้ นอา้ นาจหน้าท่ี องค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ ควรด้าเนินการตามอา้ นาจหน้าทที่ ี่ไดก้ า้ หนดไว้อยา่ งถูกต้อง
ตามกฎหมาย และผ้บู ริหารควรใชอ้ า้ นาจไปในทางที่เปน็ ประโยชนต์ ่อองคก์ รและประชาชนเป็นหลัก

3) ด้านการวางแผน มีการเปิดโอกาสใหเ้ จ้าหน้าท่ีทุกส่วนฝา่ ย รวมทังประชาชน ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการ
วางแผนงานทุกขันตอน โดยมีเป้าหมายและขันตอนในการปฏิบัติงานที่ชัดเจน และแผนงานต่าง ๆ มีจุดมุ่งหมายเพ่ือ
ประโยชน์ต่อประชาชน

4) ด้านการจดั องคก์ าร ผ้บู ริหารขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่นมีการจดั โครงสร้างการบริหารไว้อย่างชัดเจน
และมสี ายงานครบถ้วนตามภารกิจขององคก์ ร มีการกาหนดขอบขา่ ยอานาจหนา้ ทขี่ องแต่ละตา้ แหน่ง ทำใหก้ ารท้างานมี
ความคล่องตัว โดยมีการแบ่งการบริหารราชการออกเปน็ 2 ฝา่ ย ไดแ้ ก่ ฝ่ายนติ บิ ัญญตั ิและฝา่ ยบรหิ าร และมกี ารแบง่ สว่ น
ราชการออกเป็นสว่ นตา่ ง ๆ ตามความเหมาะสม

5) ด้านการบุคลากร ผู้บริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะมีการวางแผนก้าหนดนโยบายหรือ
แผนปฏบิ ตั กิ ารเกีย่ วกับอัตราก้าลงั ของเจา้ หนา้ ทใี่ ห้สอดคลอ้ งกับภารกจิ ขององคก์ ร และให้ความส้าคญั ตอ่ การสง่ เสริมและ
พัฒนาศักยภาพของบุคลากรในองคก์ ร การสรา้ งขวัญและกาลงั ใจให้แก่เจ้าหน้าที่

6) ดา้ นการอา้ นวยการ ผู้บริหารจะเปดิ โอกาสใหเ้ จา้ หน้าที่และประชาชนมีส่วนรว่ มในการเสนอความคิดเห็น
เพือ่ ประกอบการตดั สินใจในการสง่ั การ โดยการสั่งการเปน็ ไปตามลา้ ดับขนั ตอนของสายการบังคับบญั ชา และมกี ารมอบ
อา้ นาจในการตัดสนิ ใจแกผ่ ู้บรหิ ารในระดบั ตา่ ง ๆ อยา่ งเหมาะสมและยตุ ิธรรม

7) ด้านการประสานงาน องค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ กรณีศึกษาไดม้ ีการร่วมมอื และประสานงานกบั ภาครัฐ
ทังส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถนิ่ รวมทังมีการร่วมมือและประสานงานกับภาคธุรกิจเอกชน ภาคประชาสังคม
และสถาบันการศึกษา นอกจากนียังเน้นการท้างานเป็นทีม การบูรณาการร่วมกันกับส่วนต่าง ๆ ท้าให้เกิดเอกภาพเปน็
หน่ึงเดียวกัน มีความสามัคคีกนั งานจงึ ด้าเนนิ ไปดว้ ยความราบรน่ื และประสบความสา้ เรจ็

8) ด้านการรายงานผลการปฏบิ ตั งิ าน องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ มีการตดิ ตามประเมินผลการปฏิบัตงิ านของ
หน่วยงานตา่ ง ๆ เพ่ือประเมินองคก์ ร นอกจากนี ยังจัดให้มีการรายงานผลการปฏิบัตงิ าน ข่าวสารทวั่ ไปเกี่ยวกับองคก์ ร
และฐานะทางการเงินขององค์กรใหท้ ังภายในองค์กรและภายนอกองคก์ รไดร้ ับทราบอย่างสม่้าเสมอ ซ่ึงเป็นไปตามพระ
ราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลกั เกณฑ์และวธิ ีการบรหิ ารกิจการบ้านเมอื งท่ดี ี พ.ศ. 2546

9) ด้านการงบประมาณ ผูบ้ รหิ ารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการจดั สรรงบประมาณอยา่ งเหมาะสม คุม้ คา่
โปรง่ ใส ตรวจสอบได้ และสอดคลอ้ งกับภารกิจขององคก์ ร รวมทงั มีการประสานงานของบเพมิ่ เตมิ จากภาครัฐ ภาคเอกชน
และประชาชน ซ่งึ ก็ได้รบั ความร่วมมอื เป็นอย่างดี

2. ความสา้ เรจ็ ในการบรหิ ารจัดการขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น
สา้ นกั งานกองทุนสนับสนนุ การวจิ ยั (2553) สรปุ และเรียบเรียงจาก วมิ ล ชาตะมนี า, วชริ า วราศรัย และ รงุ่ ทพิ ย์

จนิ ดาพล (2551) อธิบายวา่ ความส้าเรจ็ ในการบริหารจดั การขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ ยังจะตอ้ งเกิดขึนใน 2 ระดับ
ได้แก่ ความสา้ เร็จในการบริหารจัดการระดับโครงการ และ ความสา้ เรจ็ ในการบรหิ ารจัดการระดบั องค์กร ซง่ึ ความสา้ เร็จ
ทัง 2 ระดบั นี จะมีส่วนเกือหนนุ และส่งเสริมกนั และกนั ดังนี

2.1 ปัจจัยแห่งความส้าเร็จในการบริหารจัดการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ในระดับองค์กร) มีอยู่ด้วยกัน 7
ประการ ไดแ้ ก่

1) มีการกา้ หนดวสิ ยั ทศั น์ พันธกจิ และยทุ ธศาสตรใ์ นการพฒั นาท้องถน่ิ

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บัณฑติ ศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


656

องค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่ จะตอ้ งมีการท้าการวิเคราะห์หาจุดอ่อนจุดแขง็ (SWOT Analysis) ของ
องค์กร โดยการระดมความคิดเห็นจากบุคลากรในองค์กร เพื่อให้บุคลากรในองค์กรมีทิศทางในการปฏิบัติงานท่ีมุ่งสู่
เป้าหมายเดยี วกัน โดยการวเิ คราะหป์ ญั หาอุปสรรคท่ีจะเกดิ ขนึ และเสนอแนะแนวทางแกไ้ ขร่วมกัน ทงั นีได้คา้ นงึ ถึงสภาพ
ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ สภาพแวดล้อม และวัฒนธรรมในการก้าหนดวิสยั ทัศน์ พันธกิจ และยุทธศาสตร์ นอกจากนัน
แลว้ ยังต้องคา้ นงึ ถงึ ยทุ ธศาสตรแ์ ละเปา้ หมายของการดา้ เนินงานของจังหวดั เพือ่ ใหก้ ารด้าเนินงานขององคก์ รปกครองสว่ น
ท้องถ่นิ เป็นไปในทิศทางเดียวกนั และสอดคลอ้ งกับแผนพัฒนาในระดบั ท่ีสงู กวา่

2) การสร้างความรู้ ความเข้าใจและถ่ายทอดประสบการณ์ใหแ้ กบ่ คุ ลากรในองค์กร
ผ้บู รหิ ารขององคก์ รทงั ฝา่ ยการเมืองและขา้ ราชการประจ้าจะต้องเป็นผู้ทมี่ ีความร้คู วามสามารถ โดย

ผบู้ รหิ ารไดน้ า้ เอาพนื ฐานความรู้และประสบการณเ์ ชงิ ธรุ กิจมาประยุกต์ใช้กับการบริหารองค์กร รวมทังมแี นวความคิดใน
เร่ืองการกระจายอ้านาจการปกครองท้องถ่ินที่เป็นอิสระมุ่งสู่การรับใช้ประชาชนมาถ่ายทอดความรู้และมุมมองให้แก่
บคุ ลากรในองคก์ ร เพอื่ ให้ทกุ คนมคี วามรแู้ ละมมุ มองในการด้าเนินงานเปิดกวา้ งและไปในทิศทางเดียวกัน ซ่งึ เป็นการเพิ่ม
ศกั ยภาพการทา้ งานใหแ้ กบ่ คุ ลากร

3) การสง่ เสริมใหเ้ กดิ การทา้ งานรว่ มกัน
มีการส่งเสริมการท้าการงานอย่างบูรณาการ โดยการท้างานร่วมกันระหว่างกอง/ฝ่ายต่างๆ หรือ

ส่งเสริมการท้างานเป็นทีม มีการใช้ทรัพยากรร่วมกัน เพื่อก่อให้เกิดประสิทธิภาพในการท้างานสูงสุด เช่น ในการจัดเกบ็
ภาษีอากร กองคลัง ต้องประสานงานใหผ้ ู้ช่วยพัฒนาชมุ ชนกองสง่ เสรมิ คุณภาพชีวิตที่ท้างานในพืนทีช่ ่วยจัดเก็บภาษีให้
หรือประสานงานให้เจ้าหน้าท่ีศูนย์ประสานงานอ้าเภอจัดเก็บภาษีให้ นอกจากนี ยังต้องมีการท้างานร่วมกันระหว่าง
นักการเมือง ข้าราชการ และประชาชน และท้างานเป็นทีมจากหน่วยงานภายในองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินเพ่ือเพิ่ม
ศักยภาพการท้างาน

4) ลักษณะผบู้ ริหารมีภาวะความเปน็ ผู้น้า
ผู้บริหารองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ ต้องมีลกั ษณะความเป็นผู้น้าสูง มีความรู้ความสามารถ กลา้ คดิ

กลา้ เปลยี่ นแปลง กลา้ รับผิดชอบในการตัดสินใจในการดา้ เนินงาน มคี วามมงุ่ มน่ั ในการท้างาน กระตือรือรน้ ใฝเ่ รยี นรู้ คิด
เร็ว ท้าเร็ว และมีความคดิ ริเร่ิมในโครงการใหม่ๆ หรือนวัตกรรมเสมอ โดยน้าความรู้และประสบการณ์มาประยกุ ตใ์ ชก้ ับ
การท้างานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น นอกจากนันผู้บริหารยังต้องมีทัศนคติที่เปิดกว้าง รับรู้ รับฟังส่ิงใหม่อยู่
ตลอดเวลา ยอมรบั ฟงั ความคดิ เห็นของผู้อน่ื มีความเสียสละ และอทุ ิศตนในการท้างานเพ่ือการพัฒนาท้องถิน่

5) บคุ ลากรในองค์กรมคี วามรคู้ วามสามารถและมคี วามรับผดิ ชอบ
ต้องมีการส่งเสริมให้บุคลากรในองค์กรได้เข้ารับการอบรมและศึกษาต่อในระดับที่สูงขึน ท้าให้

บคุ ลากรสามารถน้าความรทู้ ไี่ ดร้ ับมาพฒั นาการท้างานใหม้ ีประสทิ ธภิ าพมากขึน นอกจากนนั บคุ ลากรในระดับปฏบิ ัติงาน
ต้องมีความรอบรู้ มีความกระตือรือร้นในการท้างาน มีความรับผิดชอบสูง และอุทิศตน ทุ่มเทการท้างานเพื่อให้บรรลุ
เป้าหมายขององคก์ ร รวมทังบุคลากรยังตอ้ งมีความคลอ่ งตัวในการยอมรบั กับการเปล่ียนแปลง มีการเรยี นร้แู ละถา่ ยทอด
ประสบการณร์ ว่ มกนั

6) การบริหารงานท่ีมีความคลอ่ งตัว
ส่งเสริมให้องค์กรมีการบริหารงานที่มีความคล่องตวั โดยการมอบหมายหน้าที่ความรับผิดชอบ เพ่ือ

ลดขันตอนในการท้างานให้สันลง ทังนีผู้บริหารจะเป็นผู้ก้าหนดนโยบายหรือทิศทางการท้างาน ในขณะที่ผู้ปฏิบัติงาน

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บัณฑิตศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


657

จะต้องน้าแผนและนโยบายลงสกู่ ารปฏิบัติ เพ่ือให้บรรลุเป้าหมายขององค์กร หากผู้ปฏิบัติงานมีปัญหาอุปสรรคในการ
ท้างานจะรว่ มกนั แก้ไขปัญหาระหวา่ งผู้บริหารและผปู้ ฏิบตั ิงาน โดยมีการประชุมรว่ มกันระหวา่ งผูบ้ รหิ ารและผูป้ ฏบิ ัติงาน
เป็นประจา้

7) การรบั ฟงั ความคิดเห็นจากภายนอก
ในการพัฒนาการทา้ งานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะต้องเปิดรับฟงั ความคิดเหน็ จากภายนอก

ไดแ้ ก่ ผทู้ ่ีมคี วามรคู้ วามช้านาญเฉพาะดา้ น เพอ่ื ช่วยในการเสรมิ สร้างความรู้ความสามารถใหแ้ ก่บคุ ลากรภายในองคก์ รและ
เสนอแนะแนวทางในการด้าเนินงานและโครงการ เช่น การตังสภาท่ีปรึกษา รวมทังการเปิดรับฟังความคิดเหน็ จากภาค
ประชาชน เพอ่ื ใหอ้ งค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่นสามารถบรหิ ารงานและเสนอโครงการตรงตามความตอ้ งการของประชาชน
เพื่อให้ประชาชนเกิดความพึงพอใจมากที่สุด นอกจากนันยังเป็นการท้างานร่วมกันระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ
และบคุ คลภายนอก เช่น การจัดตงั สถาบนั พัฒนาผ้นู ้าท้องถ่ิน โดยมวี ทิ ยากรและผ้ทู รงคณุ วุฒิมาใหค้ วามร้แู ละร่วมมือใน
การดา้ เนินโครงการ รวมทงั การศึกษาดงู านหรอื โครงการทด่ี ีและประสบความสา้ เร็จ เพอื่ นา้ มาประยกุ ตใ์ ช้กับองค์กรของตน

2.2 ปัจจัยแหง่ ความส้าเร็จในการบรหิ ารจดั การองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ (ในระดับโครงการ) มีอยู่ด้วยกัน 5
ประการ ไดแ้ ก่

1) การให้ประชาชนเข้ามามสี ่วนร่วมในการดา้ เนินโครงการ
โครงการทป่ี ระสบความสา้ เรจ็ จะตอ้ งเป็นโครงการที่ได้รับความสนใจและความรว่ มมอื จากประชาชน

การท่ีจะท้าให้ประชาชนสนใจและร่วมมือได้ ประชาชนจะต้องมีส่วนร่วมในการก้าหนดและด้าเนินโครงการ เพื่อให้ได้
โครงการท่ีประชาชนต้องการและพึงพอใจมากท่ีสุด ดังนันก่อนท่ีจะเร่ิมโครงการใดใดผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานจะตอ้ ง
สอบถามและรับฟังความคิดเห็นหรือความต้องการของประชาชน เช่น โครงการเสริมสร้างสุขภาพดถี ้วนหน้า โครงการ
ส่งเสรมิ และพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต และโครงการส่งเสริมสนบั สนุนศิลปวฒั นธรรม ประเพณี และภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิน่ เปน็ ต้น

2) การรว่ มมอื กนั ท้างานอยา่ งใกลช้ ดิ ระหวา่ งองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ินและประชาชน
ในการด้าเนินโครงการท่ีให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการเสนอความตอ้ งการ หรือให้ประชาชน

จัดท้าโครงการเพื่อของบประมาณอุดหนุนจากองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ ในระยะเรม่ิ แรกประชาชนอาจจะยงั ไมม่ ีความรู้
ความสามารถในการน้าเสนอโครงการ องค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ จะต้องมอบหมายเจ้าหน้าท่ีให้เป็นผ้รู ับผิดชอบในการ
เป็นพี่เลยี งเพ่อื ให้ความรู้แก่ประชาชนในการเขียนโครงการที่ถูกต้องตามระเบยี บของทางราชการ นอกจากนันยังต้องท้า
หนา้ ทีป่ ระสานงาน เสนอแนะ และอา้ นวยความสะดวกในการดา้ เนินโครงการให้แก่ประชาชน เช่น การติดต่อวิทยากรมา
ใหค้ วามรู้แกป่ ระชาชน และการสนบั สนุนให้ชมุ ชนหนั มาช่วยเหลอื และร่วมมือกันมากขนึ เป็นต้น

3) การแปลงวสิ ัยทัศน์ นโยบาย และยทุ ธศาสตร์สู่การปฏบิ ตั ิงานอยา่ งแทจ้ ริง
ในการขับเคลื่อนวสิ ยั ทศั น์ นโยบาย และยทุ ธศาสตร์ของหน่วยงานเพ่ือน้ามาสกู่ ารปฏบิ ตั ิเป็นส่งิ สา้ คญั

และจ้าเป็น โดยการจัดท้าและด้าเนินโครงการให้เป็นรูปธรรม เพื่อก่อให้เกิดการพัฒนาท้องถ่นิ อย่างต่อเน่ืองและย่งั ยืน
และการให้บริการสาธารณะแก่ประชาชนอย่างมีคุณภาพ ทังนีในการด้าเนินโครงการใดใดจะต้องค้านึงถึงการบรรลุ
วิสัยทัศน์ นโยบาย ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ก้าหนดไว้ ซ่ึงจะต้องสอดคล้องไปใน
ทิศทางเดียว ดังนัน การถ่ายทอดวิสัยทัศน์ขององค์กรและนโยบายของผู้บริหารให้แก่บุคลากรผู้ด้าเนินงานเป็นปัจจัย
สา้ คญั ทีท่ ้าให้โครงการประสบความส้าเร็จประการหนึ่ง

4) การติดตามและประเมนิ ผลโครงการ

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บัณฑิตศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


658

ในการด้าเนินโครงการจะต้องมีการติดตามและประเมินผล เพื่อให้เกิดการพัฒนาและปรับปรุงการ
ท้างาน และเกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง นอกจากนันยังท้าให้ทราบถึงความต้องการและความพึงพอใจของประชาชน
ผู้เข้าร่วมโครงการ ซึ่งจะช่วยให้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรับทราบถึงปัญหา อุปสรรคของการด้าเนินโครงการ และ
สามารถประเมินได้ว่าโครงการท่จี ัดท้าขึนประสบความสา้ เร็จมากน้อยเพียงใด นอกจากนันแล้ว ควรมีการประเมนิ ผลถงึ
ความคมุ้ ค่าของงบประมาณทใ่ี ช้ในการดา้ เนินโครงการกจ็ ะเป็นประโยชน์ตอ่ การจัดสรรงบประมาณให้มีประสทิ ธภิ าพมากขึน

5) ความเพยี งพอของงบประมาณ
งบประมาณเป็นปัจจัยหลักในการด้าเนินโครงการ ซึ่งการด้าเนินให้ส้าเร็จจะต้องมีการจัดสรร

งบประมาณท่เี หมาะสมและเพียงพอ นอกจากนันจะตอ้ งค้านงึ ถึงการใช้งบประมาณอยา่ งคุ้มคา่ และมีประสทิ ธภิ าพ รวมทัง
เกิดการพฒั นาอย่างย่ังยนื โดยตอ้ งพจิ ารณาถงึ ผลประโยชน์ท่เี กดิ ขึนจากการด้าเนินโครงการทงั ทางด้านเศรษฐกิจ สงั คม
และคณุ ภาพชวี ิตของประชาชนทีด่ ีขนึ หากเปน็ โครงการท่มี ผี ลใหป้ ระชาชนมีความสขุ เพ่มิ ขึน โดยไม่สามารถวัดออกมาใน
เชงิ ปริมาณกต็ าม ก็ถอื วา่ โครงการมีความค้มุ คา่ เชน่ กนั

วิจารณ์ผลการวจิ ยั

การบรหิ ารจดั การขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิน่ เพอ่ื ให้เกิดการบรู ณาการภายใต้สภาวะวิกฤตโิ รคอบุ ัตใิ หม่และ
โรคอุบัติซ้าเชงิ บูรณาการขององค์การปกครองส่วนท้องถ่ินจังหวัดเชยี งใหม่ ควรด้าเนินการภายใต้ ต้นแบบ การบริหาร
จัดการ 9 ประการ ได้แก่ มีผู้น้าองค์กรดี มีการมีส่วนร่วม มีการบริหารจัดการครบถ้วนสมบูรณ์ มีการพัฒนาท้องถิ่น
แก้ปัญหาพฒั นาคุณภาพชวี ิต มีจิตใจ “ธรรมาภิบาล” มคี วามสามคั คปี รองดอง มนี วัตกรรม มีมาตรฐาน และมตี น้ ทนุ ที่ดี
เพ่ือให้มกี ารบริหารจัดการท่มี ีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด

สรุปผลการวิจยั

โรคอุบัติใหม่และโรคอุบัตซิ ้า และไวรัสที่เป็นปญั หาในประเทศไทย มีผลต่อสุขภาพ ปัญหาทางสังคม เศรษฐกิจ
การเตรยี มความพร้อมในการรับมอื กบั โรคอุบัติใหม่และโรคอบุ ตั ิซ้า จะเปน็ การช่วยลดความรุนแรงในการระบาดของโรค
และลดการสูญเสียทางเศรษฐกิจ สังคม ได้อย่างมาก องค์กรปกครองท้องถิ่นในปัจจุบันมีการปรับตัวให้สอดคล้องกับ
สถานการณ์ได้มีการบริหารจัดการกับสถานการณก์ ารแพร่ระบาดอย่างเข้มข้น แม้จะขาดบุคลากรทมี่ ีความรู้เฉพาะทาง
งบประมาณทมี่ ีอย่างจ้ากดั แตอ่ าศยั การบูรณาการรว่ มกับหนว่ ยงานอื่น ๆ รวมทังการบริหารจดั การที่ดี สง่ ผลใหส้ ามารถ
ส่ือสารประชาสัมพันธ์ในการช่วยเหลือและป้องกันไปยังประชาชนให้รับมือและการช่วยเหลือไดอ้ ย่างรวดเร็ว เพื่ อการ
ช่วยเหลือและปอ้ งกันการแพร่ระบาดของเชือไวรัสโควิด-19 (COVID-19) ให้ประชาชนในพนื ที่รอดพน้ จากการไดร้ ับเชือ
ไวรัสโควิด-19 (COVID-19) ซ่งึ องคก์ รปกครองส่วนท้องถนิ่ ไดส้ รา้ งความเช่ือม่ันจากประชาชนในการเขา้ ถงึ การช่วยเหลือ
ประชาชนอยา่ งเตม็ ที่ และสามารถด้าเนินการในรปู แบบการบริหารจดั การไดส้ า้ เรจ็ ลุล่วงได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ และการ
แกไ้ ขปญั หาครอบคลมุ ทุกพืนท่ีไดเ้ ป็นอยา่ งดี

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บณั ฑิตศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


659

กติ ติกรรมประกาศ

การศึกษาในเรอ่ื ง การบริหารจัดการสภาวะวิกฤตโิ รคอุบตั ิใหม่และโรคอุบัตซิ ้าเชิงบูรณาการขององคก์ ารปกครอง
ส่วนท้องถ่นิ จงั หวดั เชียงใหม่ กราบขอบพระคณุ ทา่ นเจ้าของเอกสารและงานวิจัยทกุ ท่านทผ่ี ู้วิจัยไดน้ ้ามาศกึ ษา อา้ งองิ ใน
การท้าวิจัยครังนีเพือ่ จะนา้ ไปใช้เปน็ ระโยชน์ภาคการศึกษาตอ่ ไป

เอกสารอา้ งองิ

จฑุ าทิพย์ สุจรติ กุล. (2562). ภาวะผู้น้าการเปลยี่ นแปลงของผ้บู รหิ ารองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ ในยคุ ประเทศไทย 4.0
กรณีศึกษา: องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ จงั หวดั ภูเก็ต. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 6 (10) , 4930-4943.

พิษณุ เพ็ชรกูล. (2564). บทบาทขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นในการน้านโยบายการป้องกันและระงับโรคติดเชอื
ไวรัสโคโรนา 2019 ไปปฏิบัติ กรณีศึกษา องค์การบริหารส่วนต้าบลบางตีนเป็ด อ้าเภอเมืองฉะเชิงเทรา
จังหวัดฉะเชงิ เทรา. กรงุ เทพฯ : โครงการรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑติ มหาวทิ ยาลยั รามคา้ แหง.

สา้ นักงานกองทุนสนบั สนุนการวิจัย. (2553). ปจั จยั แห่งความส้าเร็จในการบรหิ ารจัดการและดา้ เนนิ โครงการของ อบจ.
แพร่และของ อบจ.พิษณุโลก, รายงานวิจัยเลขที่ RDG5040021. กรุงเทพฯ.ส้านักงานกองทุนสนับสนุนการ
วจิ ัย.

สุเมธ แสงน่ิมนวล. (2557). ต้นแบบการบริหารจัดการขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในประเทศไทย. กรุงเทพฯ.
มหาวทิ ยาลัยสยาม.

อาภรณ์ ศรีสวสั ดิพ์ ัฒนา. (2550). ความพงึ พอใจของประชาชนเก่ียวกบั การใหบ้ รกิ ารของเทศบาลตา้ บลเวียงเชยี งของ
อา้ เภอเชยี งของ จังหวดั เชียงราย. มหาวิทยาลยั ขอนแก่น. วทิ ยาลัยการปกครองท้องถน่ิ . สาขาวิชาการปกครอง
ท้องถน่ิ .

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บณั ฑติ ศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


660

แนวทำงกำรพัฒนำศกั ยภำพทำงกำรตลำดของผลติ ภัณฑ์นำพริกหมฝู อยของกลุ่มวิสำหกิจชุมชน
หัตถกรรมและแปรรูป ตำบลสันป่ำเปำ อำเภอสันทรำย จังหวดั เชยี งใหม่

Guidelines for developing the market potential of shredded pork paste
products of community handicraft and processing enterprises. San Pa Pao

Subdistrict, San Sai District, Chiang Mai Province

นำยพัชญ์ธน ทวีโชตธิ นพัชร์

สาขาการจดั การ และ พัฒนาทรัพยากร คณะผลติ กรรมการเกษตร มหาวิทยาลยั แมโ่ จ้ จงั หวดั เชยี งใหม่ ประเทศไทย 50290
Resources Management and Development, Faculty of Agricultural Production,
Maejo University, Chiangmai Province, Thailand 50290
E-mail : [email protected]

บทคดั ย่อ

วิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาศักยภาพทางการตลาดของผลิตภัณฑ์น้าพริกหมูฝอยของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
หัตถกรรมและแปรรปู ตาบลสันปา่ เปา อาเภอสันทราย จงั หวดั เชียงใหม่ โดยวิเคราะห์สถานการณ์ด้านการตลาดเพ่อื เพิ่ม
ศักยภาพทางการตลาดของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนโดยข้อมูลในการศึกษา จากการสัมภาษณ์โดยใช้แบบสัมภาษณ์แบบมี
โครงสร้าง ด้วยการเลือกกลุ่มตวั อยา่ งโดยวธิ เี จาะจงจากการรวบรวมขอ้ มูลจากหัตถกรรมและแปรรปู ตาบลสนั ป่าเปา จาก
แบบสัมภาษณ์โดยนามาวิเคราะห์จดุ แข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรคทางการตลาด รวมถึงศึกษาแนวทางการพัฒนา
ศักยภาพทางการตลาดของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนฯ ในการหาทางเลือกในการพัฒนาแนวทางการจัดการทางการตลาดที่
เหมาะสมสอดคล้องกับความตอ้ งการของกล่มุ ผู้บริโภคอยา่ งแท้จริง จากผลการศกึ ษา พบว่า สถานการณ์ดา้ นการตลาด
ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปรรูปผลิตภณั ฑ์น้าพริกหมูฝอยมีจุดแข็งกลยุทธก์ ารตลาด 1) ใช้วัตถุดิบในท้องถิ่นผลิตให้เป็น
ผลติ ภณั ฑเ์ พ่อื สขุ ภาพโดยใชน้ วัตกรรมชมุ ชนในการผลติ 2) ใช้คุณภาพวัตถดุ ิบในการนาเสนอผลติ ภณั ฑ์เพอ่ื สขุ ภาพจากภมู ิ
ปัญญาท้องถนิ่ 3) ใชช้ ่องทางจาหน่ายโดยตรงทัง้ ออนไลน์และออฟไลน์กับกลุ่มลูกค้าที่รักสุขภาพ โดยมกี ารเพ่มิ ศกั ยภาพ
ด้นบรรจุภณั ฑท์ ่ีทันสมัย สะดวกแก่การพกพา ประเมินผลการเพิ่มศักยภาพทางดา้ นการตลาดจากสมาชิกกลมุ่ ผู้เขา้ รว่ ม
การพฒั นาศักยภาพอยู่ในระดับมาก ประเมนิ ผลตามสว่ นประสมทางการตลาดผลิตภัณฑ์ ราคา ชอ่ งทางจดั จาหน่าย และ
การสื่อสารการตลาดอยู่ในระดับดีมียอดขายและกาไรสุทธิเพิ่มขึ้น 50% ดังนั้นสามารถสรุปภาพรวมในการเพ่ือเพ่ิม
ศกั ยภาพทางการตลาดของผลติ ภณั ฑน์ า้ พริกหมูฝอยของกลมุ่ วิสาหกิจชมุ ชนหตั ถกรรมและแปรรูป ตาบลสนั ป่า โดยมีการ
สรา้ งเครือข่ายภาคีความร่วมมือกบั ชมุ ชน หนว่ ยงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชนนาไปสู้ความพฒั นาทย่ี ั่งยืนต่อไป

คำสำคญั : ศกั ยภาพการตลาด วสิ าหกิจชมุ ชน

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บณั ฑติ ศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


661

Abstract

This research aims to study the market potential of shredded pork paste products of community
enterprise, handicrafts and processing entities. The analysis of the market potential of the community
enterprises entities will be based upon data from the study. Based on structured interviews, samples
were selected using specific methods of data collection from handicrafts and processing in the San Pa
Pao Subdistrict The interview will analyze the strengths, weaknesses, opportunities and market barriers,
as well as study the market potential development practices of the Community Enterprises Group. The
goal is to find alternatives to developing appropriate marketing management approaches that are truly
in line with the needs of the consumer group. According to the results of the study, the marketing
situation of community enterprises processing shredded pork paste products has the following strengths
in marketing strategies: 1) use local raw materials to produce health products using community
innovations in production 2) use raw material quality to offer health products from local wisdom 3) use
direct distribution channels both online and offline with health-loving customers. The development
potential is very high as it is convenient to execute market empowerment for members of the group of
participants. Based on product marketing mix, price, distribution channels, and marketing
communications, there has been a 50% increase in sales and net sales, so the overall picture can be
evaluated in terms of the ability to increase the market potential of the shredded pork paste products
of the Handicrafts and Processing Community Enterprises Group. San Pa Subdistrict. The resultant
recommendations to promote the creation of a network of partners in cooperation with the community
can be utilized by both government agencies and the private sector to fight for sustainable
development.

Keywords : marketing potential, community enterprises

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บณั ฑติ ศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


662

บทนำ

ตามนโยบายของมหาวิทยาลัยแม่โจต้ ้องการสนับสนุนให้อาเภอสันทรายเป็นอาเภอต้นแบบมีการพัฒนาอย่าง
ย่ังยืน จึงเล็งเห็นถึงการเป็นส่วนหน่ึงในการร่วมสานฝันช่วยเหลือและพัฒนาผลิตภัณฑ์ในพ้ืนที่อาเภอสันรายสู่โมเดล
เศรษฐกิจทีส่ ามารถสร้างรายได้ สร้างอาชีพแก่ประชาชนในพ้นื ที่ อีกท้ังเพื่อเป็นการช่วยเหลือกลมุ่ แรงงานคืนถ่นิ ทไี่ ดร้ บั
ผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดไวรัสโคโรนา่ (โควิด-2019) ให้มีอาชพี สร้างรายได้ เกิดการจ้างงาน มคี ณุ ภาพ
ชีวิตท่ีดีข้ึน ลดการไหลของกลุ่มแรงงานเข้าสู่เมืองหลวงในอนาคต อีกท้ังสามารถแก้ไขปัญหาและลดความเหล่ียมล้าแก่
ประชาชนในด้านเศรษฐกจิ และสังคมไดอ้ ยา่ งยัง่ ยนื ดงั นั้นจงึ มีความสนใจทีจ่ ะศกึ ษากลมุ่ วิสาหกจิ ชุมชนในพน้ื ที่อาเภอสนั
ทราย ณ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนหัตถกรรมและแปรรูป ตาบลสันปา่ เปา อาเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ โดยการวิเคราะห์
ศกั ยภาพด้านการตลาดเพอ่ื นาไปสู่การวางแผนกลยุทธธ์ ุรกิจของกลุ่มฯนาไปสกู่ ารแก้ไข พฒั นา ยกระดับต่อยอดผลิตภณั ฑ์
น้าพริกหมฝู อยรวมกบั โดยการนาเอาเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมชุมชนทที่ ันสมัยมาประยกุ ตใ์ ชเ้ พอ่ื พัฒนาผลติ ภณั ฑ์ โดยยดึ
หลัก “ผลิตน้อยแต่สร้างรายได้มาก” (Less for More) ซ่ึงสอดคล้องกับ โมเดลเศรษฐกิจสู่การพัฒนาท่ียั่งยืน (BCG
Economy) เพ่ิมขีดสามารถในการแขง่ ขันได้ รวมทั้งในด้านอุตสาหกรรมเกษตรและอาหารช่วยเพ่ิมประสิทธิภาพให้กบั
สมาชิกกลุ่มฯผู้ผลิตน้าพริกหมูฝอยที่มีฐานการผลิตด่ังเดิมสามารถผลิตสินค้าและบริการท่ีมีมูลค่าเพ่ิมสูงข้ึน เกิดการ
ขยายตัวทางเศรษฐกิจในพื้นท่ี และภาคีเครือข่ายของกลุ่มฯ ส่งผลทาให้เกิดการก้าวกระโ ดดของการพัฒนาต่อยอด
ผลติ ภณั ฑ์นา้ พริกหมูฝอย และสร้างการเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างยัง่ ยืน เกดิ การกระจายรายได้ สรา้ งโอกาส และความม่ัง
คั่งอยา่ งท่ัวถึง สอดคลอ้ งกับเป้าหมายการพฒั นาทีย่ ั่งยนื (SDGs) และสอดรับกับหลักการของปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
(SEP) ซงึ่ เป็นหลกั สาคญั ในการพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมไทยตามยุทธศาสตรช์ าติระยะ ๒๐ ปี (๒๕๖๐-๒๕๗๙) ประกอบ
ไปด้วย ๖ ยุทธศาสตร์ท่ีสาคัญ ในยุทธศาสตร์ที่ ๒ ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขนั น้ัน ได้กล่าวถึง
เร่อื งของการพฒั นาผปู้ ระกอบการและเศรษฐกิจชมุ ชน พฒั นาทกั ษะผู้ประกอบการ ยกระดับผลิตภาพแรงงานและพฒั นา
วิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) สสู่ ากล และพัฒนาวสิ าหกิจชมุ ชนและสถาบันเกษตรกร ซ่ึงวิสาหกจิ ชมุ ชนน้ัน
ถอื เปน็ กลไกที่สาคัญของเศรษฐกจิ ฐานรากในการทีจ่ ะพัฒนายกระดับเป็นวิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อมต่อไปในการ
พัฒนาสร้างความเขม้ แข็งจากฐานรากรัฐบาลให้ความสาคญั กับชุมชนในการนาความรู้และทรัพยากรในพน้ื ท่ีมาผลิตเป็น
สนิ คา้ และบริการ เพือ่ เพิ่มศักยภาพของเศรษฐกิจฐานรากใหส้ ามารถสร้างรายได้ กระจายรายไดส้ ชู่ มุ ชน สนบั สนุนสินค้า
ชมุ ชน และยกระดับวิสาหกจิ ชุมชนให้มีความเข้มแข็ง พัฒนาช่องทางการตลาดเชื่อมโยงกับระบบพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนกิ ส์
และสร้างพลังสังคม พลงั ชมุ ชน รวมท้ังสร้างการเรียนรู้ ฝึกอาชีพในการร่วมขบั เคลอื นและพฒั นาประเทศ

ผู้วิจัยจึงสนใจท่ีจะศกึ ษาวิจัยคร้งั น้ีเรื่องกลยุทธท์ างการตลาดเชิงสร้างสรรค์เพ่ือเพ่ิมมลู ค่าผลิตภณั ฑ์น้าพริกหมู
ฝอยของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนหัตถกรรมและแปรรูป ตาบลสันป่าเปา อาเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อให้สอดคล้อง
และเป็นไปตามนโยบายของภาครัฐบาลดา้ นความมั่นคงทางด้านอาหาร โดยประชาชนทุกคนสามารถเข้าถึงแหล่งอาหาร
พน้ื ฐานไดโ้ ดยงา่ ย ถกู สุขลักษณะอนามัย อีกทัง้ ด้านม่งุ ส่งเสรมิ พฒั นาอาชีพเพอื่ สร้างรายได้ของกลุ่มประชากรวยั แรงงาน
และผู้กลมุ่ ผู้ทีไ่ ดร้ บั ผลกระทบจากสถานการณโ์ ควิดและกลุ่มผ้สู ูงวยั อยู่ในชมุ ชน

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บณั ฑติ ศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


663

วิธีดำเนนิ กำรวิจัย

ข้อมูลที่ใช้ในการวิจัย ข้อมูลที่ใช้ในการวิจัย แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ1) ข้อมูลปฐมภูมิ ( Primary Data)
การศึกษาครั้งนี้ได้ทาการเก็บรวบรวมข้อมลู โดยการสารวจภาคสนามด้วยวิธีการสมั ภาษณ์และเก็บแบบสอบถามจากกลมุ่
ตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive sampling) จากประธาน คณะกรรมการกลมุ่ และ 2) ขอ้ มลู ทตุ ิยภูมิ (Secondary
Data) รวบรวมข้อมูลทุติยภูมิจากเอกสารที่ได้มีการเก็บรวบรวมไว้แล้ว เช่น หนังสือ งานวิจัย รายงานทางสถิติต่าง ๆ
ตลอดจนข้อมูลจากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Internet) เป็นต้นดังน้ันการศึกษาคร้ังนี้โดยใช้แบบสอบถามเพ่ือใช้ในการ
สมั ภาษณ์ จากกลมุ่ ตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง จากตัวแทนประธานคณะกรรมการกลมุ่ ธุรกจิ ชมุ ชนแปรรปู ผลิตภัณฑ์ และ
สมาชิกกลมุ่ รวบรวมขอ้ มูลแบบเฉพาะเจาะจงจานวนท้ัง 10 ราย เริ่มจากข้นั ตอนท่ี 1 วิเคราะห์สถานการณ์การตลาดเริ่ม
จากการสัมภาษณ์สมาชิกกลุ่มเพ่ือให้ได้ข้อมูลเบ้ืองต้นมาใช้ในการจัดทาวิเคราะห์ SWOT โดยสมาชิกกลุ่มมีส่วนร่วม
วิเคราะห์สถานการณ์การตลาดทั้งสภาพภายในและภายนอกจาแนกเป็นจุดอ่อน จุดแข็ง โอก าสและอุปสรรคด้าน
การตลาด นาข้อมูลที่ได้มาจาแนกจัดลาดับตามค่าคะแนนที่สมาชิกให้ความสาคัญ จากน้ันสรุปผลเพ่ือให้ได้กลยุทธ์
การตลาดใช้เป็นแนวทางการเพ่ิมศักยภาพดา้ นการตลาดเบือ้ งตน้ ข้ันตอนท่ี 2 จากกลยุทธ์การตลาดได้ดาเนินการเพม่ิ
ศกั ยภาพการตลาด ประกอบดว้ ยกจิ กรรมที่ 1 ประชุมเชิงปฏบิ ตั กิ ารโดยนกั ออกแบบรว่ มกับสมาชิกกล่มุ นาเสนอรูปแบบ
บรรจุภัณฑ์ สมาชกิ ให้รายละเอียดจากประสบการณก์ ารจดั จาหน่ายผลิตภณั ฑ์ จากนัน้ นกั ออกแบบไดน้ าขอ้ มูลดงั กลา่ วไป
ออกแบบและนามาปรับปรุงจนไดต้ น้ แบบเพื่อใชใ้ นการจัดทาบรรจภุ ณั ฑใ์ หม่ ผวู้ ิจยั ใช้แบบสงั เกตในการรวบรวมขอ้ มูลและ
วิเคราะห์เน้ือหาสรุปผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ กิจกรรมที่ 2 วิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนอย่างมีส่วนร่วมโดย
สมาชกิ กลมุ่ ใหข้ อ้ มลู วตั ถุดิบ ค่าแรงงานและคา่ ใช้จ่ายในการผลิต จากนั้นสรุปผลการใช้ต้นทุนและคานวณผลตอบแทนใน
การจัดจาหน่าย ผู้วิจัยใช้แบบจดบันทึกเพื่อสรุปผลและวเิ คราะห์ข้อมูล จากน้ันจดั กิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัตกิ ารเพ่มิ
ช่องทางการจัดจาหนา่ ยเปดิ จาหนา่ ยผลิตภณั ฑ์ทางเฟสบคุ๊ Line และทางโซเซยี ลออนไลนช์ อ่ งทางอ่ืนๆ จากนน้ั นาขอ้ มลู ที่
ได้จากการตอบแบบสอบถามมาทาการวิเคราะหเ์ ชิงเนือ้ หา (content analysis) และนาข้อมลู จากการตอบแบบสอบถาม
มาทาการวิเคราะหเ์ ชิงพรรณนา (descriptive analysis)

ผลกำรวจิ ยั

การวิเคราะห์สถานการณ์ศักยภาพทางการตลาดกลุ่มวิสาหกิจชุมชนหตั ถกรรมและแปรรปู ตาบลสันปา่ เปา อาเภอ
สันทราย จังหวัดเชียงใหม่ พบว่า การประเมินสถานการณ์ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนฯ แวดล้อมภายในท่ีเป็นจุดแข็ง
(Strength) และจุดอ่อน (Weakness) และสรุปภาพแวดล้อมภายนอกท่ีก่อให้เกิดโอกาส (Opportunity) และอุปสรรค
(Threat) ท่ีส่งผลต่อการดาเนินงานเพ่ือเป็นแนวทางในการบริหารจัดการพฒั นาศักยภาพการตลาดกลมุ่ วิสาหกิจชุมชน
หัตถกรรมและแปรรูป ตาบลสันป่าเปา อาเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ พบว่า จุดแข็ง (Strengths) ด้านการบริหาร
จัดการ เงินลงทุนเร่ิมแรก เป็นเงินลงทุนของผู้ก่อตั้งเองท้ังหมด ทาให้กิจการ ไม่มีปัญหาภาระหน้ีสิน ด้านการผลิต มี
ตน้ ทนุ การผลติ ต่าทาใหส้ ามารถตงั้ ราคาขายได้ถูกกว่าคแู่ ขง่ ระดับ เดยี วกนั ในตลาด กลมุ่ วิสาหกิจชมุ ชนเจ้าของธุรกิจมี
ความรู้ เก่ียวกับสูตรในการผลิตเป็นอย่างดี และดาเนินธุรกิจมาเป็นเวลายาวนาน ด้านจุดอ่อน (Weaknesses) ด้าน

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บณั ฑติ ศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


664

บริหารจดั การกลมุ่ วิสาหกิจชุมชนมีชอ่ งทางการจดั จา หนา่ ยท่ไี ม่แน่นอน ปัจจบุ นั ผลิตภัณฑ์มเี พียงชอ่ งทางออนไลน์เพียง
ช่องทางเดียว ด้านการผลิต ยังไม่ได้รับเคร่ืองหมายรับรองคุณรูปภาพสินค้าจากองค์กรอาหารและยา สูตรในการทา
น้าพรกิ หมูฝอยของผู้ผลติ แต่ละรายไม่แตกต่างกันมาก ทาใหผ้ บู้ ริโภคแยกความแตกต่างของสนิ ค้าได้ยาก ดา้ นการตลาด
พบว่า ตราสนิ คา้ ของกจิ การยังไมเ่ ปน็ ทรี่ ู้จกั ของผูบ้ รโิ ภคมากนกั เนื่องจากยัง ไมม่ ีการโฆษณาและประชาสมั พันธต์ ราสินคา้
ให้ ผู้บริโภครับรู้ เท่าท่ีควร และเป็นอุตสาหกรรมท่ีลงทุนไม่มาก สินค้าเลียนแบบไดง้ า่ ย ทา ให้ กิจการจาเปน็ ต้องสร้าง
ความแตกต่าง รวมทง้ั สรา้ งการรับรู้ในตราสินค้า เพอ่ื ใหผ้ ู้บริโภคเกิดความภักดีในตรายี่ห้อ ดา้ นโอกาส (Opportunities)
ด้านสังคม คนไทยส่วนใหญ่นิยมบริโภคน้าพริกให้สินคา้ สามารถขายได้อย่างสม่าเสมอ และในปัจจุบันประเทศไทยกาลัง
ปรับเปล่ยี นเข้าสสู่ งั คมเมอื ง โดยประชากรในตา่ งจงั หวัดย้ายเข้ามาอยู่ในเขตเมืองมากขึ้น มขี นาดครอบครวั ในเขตเมืองก็
เล็กลง อีกท้ังรัฐบาลมีนโยบายในการท่ีจะส่งเสริมธุรกิจขนาดกลางและขนาด เล็กอย่างจริงจงั ทาให้เป็นโอกาสในการ
ขยายการผลิต ดา้ นอปุ สรรค (Threats) ด้านสินคา่ ทดแทนมีอยจู่ านวนมาก เนอ่ื งจากจัดอยใู่ นประเภทอาหารทีส่ ามารถหา
ซ้อื ได้ง่าย

ผลการกาหนดกลยุทธก์ ารตลาดเบื้องต้นไดว้ ่า 1) การใช้วตั ถุดบิ ในท้องถิ่นเปน็ ผลติ ภณั ฑ์เพอื่ สขุ ภาพใช้เครอ่ื งจกั ร
ในการผลติ 2) ใชค้ ณุ ภาพวัตถุดิบของกลุม่ วสิ าหกจิ ชุมชนหัตถกรรมและแปรรูป ตาบลสนั ป่าเปา อาเภอสนั ทราย จงั หวัด
เชียงใหม่นาเสนอผลิตภัณฑ์จากภูมิปัญญาท้องถ่ินและ 3) ใช้ช่องทางจาหน่ายกับกลุ่มลูกค้ามีการศึกษาและรายได้สูงที่
นิยมอาหารเพ่ือสุขภาพนาไปเพมิ่ ศักยภาพการตลาด จาแนกเป็นกลยทุ ธด์ า้ นผลติ ภัณฑพ์ ัฒนาบรรจุภัณฑใ์ หมเ่ พอื่ นาเสนอ
ผลิตภณั ฑ์จากภมู ิปัญญาทอ้ งถนิ่ เพื่อจาหน่ายให้กลุม่ ลูกค้ามกี ารศึกษาและรายไดส้ งู ท่นี ยิ มอาหารเพื่อสุขภาพ โดยวธิ กี าร
เพ่ิมศักยภาพรูปแบบบรรจุภัณฑ์เป็นซองท่ีมีความทันสมัยสะดวกพกพาสอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภคอยา่ ง
แท้จริง แต่ทางกลุ่มฯ ยังคงประสบปัญหาดา้ นตันทุนสินค้าที่มีการปรับตวั สงู ขึ้น และขาดการพฒั นานวัตกรรมตลอดจน
เทคโนโลยีในกระบวนการผลิตทร่ี องรบั ความตอ้ งการของลูกคา้ ที่เพ่มิ มากขึ้น I-Innovations and Ideas (ด้านนวตั กรรม
และความคดิ สร้างสรรค์) พบวา่ รปู แบบของผลติ ภัณฑ์ และบรรจภุ ณั ฑน์ าพริกหมูฝอยกลุ่มวิสาหกจิ ชุมชนหัตถกรรมและ
แปรรูป ตาบลสันปา่ เปา อาเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ ยังไม่สามารถเพิ่มมูลคา่ ให้แก่สนิ คา้ ของตนเองได้ และยังขาด
การพฒั นานวตั กรรมด้านสนิ คา้ ตลอดจนนวตั กรรมการดาเนินงานหรือกระบวนการผลติ (กฤษณะ ดาราเรอื ง ,2559 ) และใน
การพัฒนาจากภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่ิน พัฒนาผลติ ภัณฑ์น้าพริกหมูฝอยเพ่อื สุขภาพที่มีคุณภาพ ให้ตรงตามความตอ้ งการของ
ผู้บรโิ ภค และเป็นผลติ ภณั ฑท์ ่ียกระดับเพ่มิ มลู คา่ จากเดมิ ทีเ่ ป็นเศษหมฝู อยมมี ูลค่าตา่ จนแก้ไขพฒั นาปรับปรุงเพม่ิ มลู คา่ สู่
การผลิตเป็น “น้าพริกหมูฝอย” เพื่อสุขภาพท่ีมีมูลค่าสูงเป็นการเพ่ิมมูลค่าผลิตภัณฑ์ ยกระดับคุณภาพชีวิต สร้างงาน
อาชีพ รายได้ เสริมสร้างจากการถ่ายทอดองคค์ วามรู้ด้านการจดั ทาบญั ชีครัวเรือน บัญชีต้นทุนธุรกิจ และการตลาดที่
สามารถเขา้ ถึงผ้บู รโิ ภคได้อยา่ งแท้จรงิ ใหแ้ กก่ ลุ่มวสิ าหกิจชมุ ชนหัตถกรรมและแปรรูป ตาบลสันป่าเปา อาเภอสันทราย
จงั หวัดเชียงใหม่ สามารถเพิม่ ขดี ความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกจิ ระดับในจุลภาคสรู่ ะดับมหภาคในอนาคต

วิจำรณ์ผลกำรวิจยั

การพัฒนาวิสาหกจิ ชุมชนต้องอาศัยทุกภาคส่วนในการขับเคลือนวิสาหกิจและทสี่ าคัญคือการมีสว่ นร่วมจากคน
ในชุมชน การนาวัตถุดิบในท้องถ่ินมาใช้ การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น การดาเนินงานแบบบูรณาการ การเรียนรู้ และการ
พ่งึ ตนเองซ่ึงเป็นเปา้ หมายอนั ดบั แรกและสาคัญที่สดุ ของวิสาหกจิ ชุมชน ท้ังหมดนจ้ี ึงทาใหว้ ิสาหกจิ ชุมชนเป็นตัวขบั เคลอื่ น

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บัณฑิตศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


665

วิสาหกิจชุมชน ในการสร้างความสามารถในการแข่งขันนั้น ได้กล่าวถึงเร่ืองของการพัฒนาผู้ประกอบการและเศรษฐกจิ
ชุมชน พัฒนาทักษะผู้ประกอบการ ยกระดับผลิตภาพแรงงานและพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ( SMEs)
สสู่ ากล และพฒั นาวสิ าหกิจชุมชนและสถาบันเกษตรกร ซึ่งวิสาหกิจชมุ ชนนัน้ ถือเป็นกลไกท่ีสาคญั ของเศรษฐกจิ ฐานราก
ในการท่ีจะพัฒนายกระดับเป็นวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมต่อไปในการพัฒนาสร้างความเขม้ แข็งจากฐานราก
รัฐบาลให้ความสาคัญกับชุมชนในการนาความรแู้ ละทรพั ยากรในพ้นื ท่ีมาผลิตเป็นสนิ ค้าและบริการ เพ่อื เพิ่มศกั ยภาพของ
เศรษฐกิจฐานรากให้สามารถสร้างรายได้ กระจายรายไดส้ ชู่ ุมชน สนบั สนนุ สินค้าชมุ ชน และยกระดับวิสาหกิจชมุ ชนให้มี
ความเข้มแขง็ พฒั นาช่องทางการตลาดเชอ่ื มโยงกับระบบพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนกิ ส์ และสรา้ งพลงั สังคม พลงั ชุมชน รวมท้งั
สรา้ งการเรยี นรู้ ฝึกอาชพี ในการรว่ มขบั เคลือนและพัฒนาประเทศ

สรปุ ผลกำรวิจยั

กลยทุ ธเ์ บ้ืองต้นการพัฒนาศกั ยภาพการตลาดกลุ่มวิสาหกิจชุมชนหตั ถกรรมและแปรรูป ตาบลสันปา่ เปา อาเภอ
สันทราย จังหวัดเชียงใหม่ การบริหารจัดการเร่ิมต้นการการการวิเคราะห์ศักยภาพของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนว่ามี
จุดอ่อน จดุ แข็ง โอกาส และอปุ สรรคเพอ่ื วางแผนในการพัฒนากลุ่มใหม้ ีการจัดการท่ีดีไม่ว่าจะเปน็ ด้านผลิต ด้าน
โภชนาการ ด้านความปลอดภัย ด้านการตลาดและมุ่งสู่ความย่ังยืนของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ในการใช้วัตถุดิบใน
ท้องถิ่น นาเสนอผลิตภัณฑ์จากภูมิปัญญาใช้ช่องทางจาหน่ายกลุ่มท่ีนิยมอาหารเพ่ือสุขภาพ การเพิ่ มศักยภาพทาง
การตลาด นอกจากนี้ในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศยังสามารถนามาเพิ่มช่องทางในการจัดจาหน่ายสินค้าในรูปแบบ e-
commerce (สุพิศพรรณ วัจนเทพินทร์ และชุติระ ระบอบ,2555) และในด้านผลิตภัณฑ์บรรจุภัณฑ์ใหม่ที่จัดเก็บ
ผลติ ภณั ฑ์ได้นานข้นึ ดา้ นราคาขายได้คานวณจากตน้ ทุนเครอ่ื งแกงบวกบรรจุภณั ฑ์ใหม่ ดา้ นช่องทางการจดั จาหนา่ ยผ่าน
สื่อออนไลน์และจดั จาหน่ายในห้างสรรพสินค้า การสื่อสารการตลาดจดั ทาสารคดเี ผยแพร่กจิ กรรมกลุ่ม และประเมินผล
จากการเพิม่ ยอดขายขน้ึ รอ้ ยละ 50 กลยุทธ์เบือ้ งตน้ การพัฒนาศกั ยภาพการตลาด จากแนวคิดวสิ าหกจิ ชมุ ชนของ (ณรงค์
เพ็ชรประเสริฐและ พิทยา ว่องกุล, 2560) ได้กาหนดยุทธศาสตร์การพัฒนา ในการสร้างกระบวนทัศน์ใหม่ว่าการเน้น
กระบวนการ เรียนรู้ของชุมชนเพอ่ื สร้างฐานความรู้และองค์ความรู้ท่เี ป็น ของตนเองรวมถงึ การพัฒนาชุมชนแบบมสี ่วน
ร่วม จากสถานการณ์ด้านการตลาดกลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปรรูป พริกได้ดาเนินงานแบบมีส่วนร่วมทาให้เกิดการพัฒนา
ผลิตภัณฑ์รูปแบบใหม่เพื่อให้ผู้บริโภคได้เห็นความแตกต่าง จากผลิตภัณฑ์เดิมแต่ยังคงคุณภาพเป็นการแสวงหาความ
ร่วมมือจากนกั วชิ าการหรือหน่วยงานภายนอก กระบวนการ พัฒนาวิสาหกิจชุมชนต้องมีการสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้
ของวิสาหกิจชุมชนซ่ึงประกอบด้วย การคิดแก้ปัญหา อย่างเป็นระบบต้องมีการประชุมเพ่ือสรุปงาน สรุปปัญหา สรุป
ประเดน็ เพอื่ การพฒั นาตนเองและสมาชกิ จากการ วิเคราะห์สถานการณด์ ้านการตลาดกลมุ่ วิสาหกิจชุมชนหัตถกรรมและ
แปรรูป ตาบลสันป่าเปา อาเภอสันทราย จงั หวัดเชียงใหมโ่ ดยใช้การสนทนากล่มุ แบบมสี ว่ นร่วม การ สัมภาษณเ์ พอื่ ใหเ้ กดิ
การแสดงความคิดเห็น โดยนาข้อมูล ท่ีได้มาจัดทากลยุทธ์เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการพัฒนา ในการเพ่ิมศักยภาพทาง
การตลาดกลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปรรูปพริกในด้านผลิตภัณฑ์ ราคาขาย ช่องทางการจัดจาหน่ายและรูปแบบการส่ือสาร
การตลาด การกล่ันกรองแนวคิดผลิตภัณฑ์ของ (ศิวฤทธิ์ พงศกรรังศิลป์, 2555) การวิเคราะห์ภายในถึงความเป็นไปได้
ทางด้านความ สามารถในการออกแบบ การผลติ เพื่อใหไ้ ด้ขอ้ มลู ในการ ตดั สนิ ใจ การวิเคราะห์ภายนอกเป็นการประเมิน

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บัณฑิตศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


666

เบื้องตน้ จากความตอ้ งการของลูกค้า ว่าคุณสมบัติของผลิตภัณฑ์ ใหม่ตรงกับกลุ่มเป้าหมายหรือไม่ การประเมินผลด้วย
คะแนนเป็นการให้ข้อมูลเชิงปริมาณเพ่ือแสดงให้เห็น คุณสมบัติผลิตภัณฑ์ใหม่ว่ามีความแตกต่างหรือโดดเด่น อย่างไร
จากนั้นจึงเข้าสู่กระบวนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ บรรจุภัณฑ์ของการแปรรูปพริกได้ออกแบบบรรจุภัณฑ์ใหม่ เพื่อให้
เข้าถึงลกู ค้ากล่มุ ใหมท่ ่ีมีศักยภาพในการซ้ือและ ต้องการบรรจภุ ณั ฑท์ ี่เก็บรักษาคุณภาพผลิตภัณฑ์ได้ นานขึ้น ในด้านกล
ยุทธ์การต้ังราคาทม่ี ุ่งเน้นต้นทุน (สมจิตร ล้วนจาเริญ, 2555) การมูลค่าเพ่ิม คือ คุณค่าทีผู้บรโิ ภคได้รับจากการบริโภค
ผลิตภณั ฑ์หรือบริการนัน้ สูงขึน้ ไมว่ ่าจะสมั ผัสจากทางกายภาพ หรือสมั ผสั ไดจ้ ากความรูส้ ึกการ "สร้างมลู คา่ เพ่ิม" มิใชม่ แี ค่
เพียงการออกแบบผลติ ภัณฑ์เทา่ นั้น แต่โอกาสน้นั อยู่ในทงั้ กระบวนการ บางกรณีอาจจะเน้นในจดุ เดียว แต่บางกรณีอาจ
ตอ้ งกระทาในหลาย ๆ จดุ ไปพรอ้ ม ๆ กัน เพื่อให้ผลสาเร็จสดุ ท้ายคอื การได้ผลติ ภัณฑแ์ ละบริการทมี่ ี "คุณค่าเพมิ่ " สาหรับ
ผู้บริโภคกลุ่มเป้าหมาย โดยมีหลักในการพิจารณา ดังนี้ คือ 1. การเพ่ิมคุณค่า 2. การออกแบบผลิตภัณฑ์ 3. การ
พิจารณาวัตถุดิบ การคัดเลือกวัตถุดิบท่ีมีเรื่องราวที่จะสร้างคุณค่าเพิ่มได้ 4. การพิจารณาวิธีกระบวนการผลิต 5. การ
พิจารณาบรรจภุ ัณฑ์หรือการนาเสนอให้ผู้บริโภครับรู้ถงึ คุณคา่ ของผลติ ภณั ฑ์ตง้ั แตส่ ัมผัสแรกหรือตั้งแต่มองเห็น 6. การ
พิจารณาสรา้ งมูลคา่ เพ่มิ ในเชิงบรกิ ารใหก้ บั ผลิตภัณฑ์ 7. การเสริมสรา้ งคุณค่าใหผ้ ลติ ภัณฑ์และบริการนน้ั ๆ วารณุ ี สุนทร
เจริญเงิน (2556) เพื่อเป็นแนวทางในการเพิ่มศักยภาพการตลาดกลมุ่ วิสาหกิจชุมชนหัตถกรรมและแปรรูป ตาบลสนั ป่า
เปา อาเภอสันทราย จงั หวดั เชียงใหมต่ อ่ ไป

กิตติกรรมประกำศ

งานวจิ ยั นี้สาเร็จลุลว่ งไปดว้ ยดจี ากความกรุณาของอาจารยท์ ปี่ รึกษา ทีไ่ ดใ้ หค้ าปรึกษาในการทาวจิ ัยฉบับน้ี ด้วยดี
ตลอดมา ขอขอบพระคุณคณาจารย์ สาขาการจัดการและพัฒนาทรัพยากร คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวทิ ยาลัยแมโ่ จ้
เชียงใหม่ ท่ีได้ประสิทธิประสาทความรู้วิชาการต่างๆ เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการศึกษา นอกเหนือจากน้ียังได้รับความ
ร่วมมือด้วยดจี าก กลุ่มวิสาหกิจชุมชนหัตกรรมและแปรรูปตาบลสันป่าเปา อาเภอสันทราย และผู้นาชุมชน เกษตรกรใน
พ้ืนที่ ท่ีได้รับความร่วมมือในการเก็บรวบรวมขอ้ มูล ผู้วิจัยจึงขอขอบพระคุณทุกท่านท่ีมีส่วนช่วยเหลือให้งานวจิ ยั ฉบับนี้
สาเรจ็ ลลุ ว่ งไปด้วยดี

ข้อเสนอแนะ

การเพม่ิ ศกั ยภาพการตลาดท่ีประสบผลสาเร็จนั้นควรให้ความสาคญั กบั การมสี ่วนร่วมของสมาชิกไดแ้ สดง
ความคิดเห็น เสนอแนะจนถึงข้ันการปฏิบัตกิ ารตามกลยุทธ์การดาเนินกิจกรรมการตลาดต้องปรับเปลย่ี นไปตาม
สถานการณ์ปัจจุบนั รวมถึงการใช้จุดเด่นด้านภูมิปัญญาท้องถ่ินในการพฒั นาให้เข้าถึงกลุ่มลกู ค้าเป้าหมายได้ อีก
ทงั้ การเพิ่มศักยภาพทางการตลาดควรไดด้ าเนินการใหค้ รบท้งั ในด้านผลติ ภณั ฑ์ การกาหนดราคา การเพม่ิ ชอ่ งทาง
จดั จาหนา่ ยและการสอ่ื สารการตลาดไปพร้อมกันเพือ่ ใหเ้ ห็นผลเปน็ รูปธรรม หนว่ ยงานภาครฐั ควรให้กาสนับสนุน
แก่กลุ่มวิสาหกิจชุมชนทปี่ ระสบผลสาเร็จในการพัฒนา การจัดสรรงบประมาณสนับสนุนและการสร้างเครือขา่ ย
การเรียนรู้ร่วมกนั

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บัณฑิตศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


667

เอกสำรอำ้ งอิง

กฤษณะ ดาราเรอื ง . (2559). การพฒั นากลยุทธ์การแขง่ ขนั ผลติ ภัณฑ์ OTOP หมูฝอยกรอบโกเนียร ตาบลหนองกระโดน
อาเภอเมอื งนครสวรรค์ จงั หวัดนครสวรรค์ วารสารการจดั การสมัยใหม่ ปที ี่ 14 ฉบับที่ 2 เดอื นกรกฎาคม –
ธนั วาคม 2559

ณรงค์ เพ็ชรประเสริฐ และพิทยา ว่องกุล. (2560). วิสาหกิจ ชุมชนกลไกเศรษฐกิจฐานราก. กรุงเทพฯ: สานัก พิมพ์แห่ง
จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั .

มัลลิกา คงแก้ว. (2561). ศักยภาพการตลาดกลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปรรูปพริก. วารสารราชพฤกษ์ ปีที่ 16 ฉบับที่ 3
(กันยายน - ธันวาคม 2561). P106-112.

วารุณี สุนทรเจรญิ นนท์. (2556). สร้างผลติ ภัณฑ์หรอื บริการสร้างสรรค์ไม่ยากอยา่ งทค่ี ดิ . ค้นเมอื่ 5 พฤศจกิ ายน 2565. จาก
http://www.amexteam.com/resources/helper/editor/upload/ knowledge/1/01_.pdf

ศวิ ฤทธ์ิ พงศกรรงั ศิลป.์ (2555). หลักการตลาด. กรุงเทพฯ:พิมพท์ อ๊ ป.
สมจติ ร ล้วนจาเริญ .(2555). การจดั การการตลาดแนวทางเศรษฐกจิ พอเพียง. กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง
สุพิศพรรณ วัจนเทพินทร์ และชุติระ ระบอบ. (2555). โครงการพัฒนาคุณภาพอุตสาหกรรมอาหารและผลิตภัณฑ์

เกษตรแปรรปู OTOP จงั หวัดนครนายก.วารสาร มฉก. วชิ าการ, 15 (30), 89-105.

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บัณฑติ ศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


668

กลยุทธก์ ำรพัฒนำกระบวนกำรโลจิสติกสโ์ ซ่ควำมเยน็ กบั กำรจัดกำรแบบลีน
Cold Chain Logistics Process Development Strategies and Lean Management

วรญั ญู ศรีเชยี งรำย
Warunyu Srichiangrai

สาขาการจดั การ และ พัฒนาทรัพยากร คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวทิ ยาลยั แม่โจ้ จังหวดั เชยี งใหม่ ประเทศไทย 50290
Resources Management and Development, Faculty of Agricultural Production,
Maejo University, Chiangmai Province, Thailand 50290
[email protected]

บทคดั ยอ่

ธรุ กิจขนสง่ และคลังสนิ คา้ ทีค่ วบคมุ อณุ หภูมเิ ป็นหน่งึ ในธุรกิจทเ่ี ตบิ โตเพิม่ ขึน้ อยา่ งตอ่ เนอ่ื งท่ามกลางสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ท่ีผ่านมา เป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้บริโภค โดยผู้บริโภค
ปรับเปล่ียนรูแบบการทางานมาเป็นการทางานท่ีบ้าน (Work from Home) ส่งผลให้ผู้บริโภคหันมาเลือกซื้อผลิตภณั ฑ์
อาหารแชแ่ ขง็ หรอื ผลิตภัณฑ์อาหารที่ตอ้ งควบคุมอณุ หภูมิในการขนสง่ มากขึ้น เน่ืองจากมคี วามสะดวก และสามารถเก็บ
รักษาได้นาน เพื่อตอบสนองความต้องการของผูบ้ ริโภค ผู้ประกอบการหลายรายหนั มาออกผลติ ภัณฑอ์ าหารสาเร็จรูปแช่
แข็งหรืออาหารแช่แขง็ พร้อมทานมากข้ึน ทาให้ผู้ประกอบการแตล่ ะรายเห็นถึงโอกาส ความท้าทาย และความตอ้ งการ
บริการในด้านการขนสง่ และคลังสนิ คา้ ท่ีควบคมุ อุณหภมู ิ ผ้ปู ระกอบการในธุรกิจดงั กล่าวจะต้องมกี ารควบคมุ อณุ หภมู ิ คว
บุมกล่ินปนเป้ือน และรักษาสภาพของสินค้าให้อยู่สภาพดีจัดส่งให้ถึงมือผูบ้ ริโภค เน่ืองจากสินค้าเป็นสินค้าเกษตรและ
อาหารต้องให้ความสาคัญกบั คณุ ภาพของสินคา้ เป็นอยา่ งมาก การรกั ษามาตรฐานคุณภาพการบรกิ ารท่ดี แี ละมีคุณภาพให้
ดยี ิ่งขนึ้ จะเห็นได้ว่าการขนสง่ สนิ คา้ แบบโซ่ความเยน็ เตบิ โตข้ึนมากในปัจจุบนั ซึ่งการพฒั นาศกั ยภาพในการแข่งขันจงึ ตอ้ ง
นาวิธกี ารจัดการแบบลนี ในทุกกิจกรรมโลจิสติกสโ์ ซค่ วามเยน็ มาช่วยทาใหม้ โี อกาสในการแข่งขันมากขึ้น การจดั การแบบ
ลนี เป็นการเนน้ ไปทกี่ ารสร้างคณุ คา่ และขจดั ความสญู เปล่า แต่ระบบโลจิสตกิ สแ์ บบลีนจะอธบิ ายหลกั การท่ีเป็นแนวทางใน
การลดความสญู เปล่าซึ่งจะเป็นการลดต้นทนุ ในรูปแบบของห่วงโซ่อปุ ทาน การจัดการโลจิสตกิ ส์แบบลีนให้คุณค่าในเชงิ
การไหล, เวลา, สถานท่แี ละวธิ ีการส่งมอบ การสง่ มอบในเวลาท่ีตอ้ งการ ปรมิ าณที่ต้องการ ส่งให้ใชไ้ ดอ้ ย่างสะดวก และมุ่ง
กาจัดความสูญเปล่าในกระบวนการโลจิสตกิ ส์ออกไป เพ่ือปรับเปลี่ยนวิธีการโลจสิ ตกิ สต์ ่างๆ ให้ตอบสนองความต้องการ
ของลูกค้าให้มากที่สุด ซ่ึงบทความนี้จะอธิบายกระบวณการโลจิสติกส์โซ่ความเย็นโดยการจัดการแบบลีนและยังได้
ยกตวั อย่างความสูญเปลา่ ดา้ นโลจิสตกิ ส์อกี ดว้ ย

คำสำคัญ: โลจิสติกสโ์ ซค่ วามเย็น ลนี โลจสิ ติกส์ การขนสง่ สนิ คา้ คงคลัง ลดความสญู เปลา่ ลดตน้ ทนุ

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บัณฑิตศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


669

Abstract

The temperature-controlled logistics and warehousing business is one of the businesses that
are growing steadily amid the recent COVID-19 epidemic, as a result of changes in consumer behavior.
With consumers shifting their working style to work from home (Work from Home), consumers turn to
buy frozen food products or food products that require temperature control in transportation. because
it is convenient and can be stored for a long time to meet the needs of consumers Many entrepreneurs
are turning to more frozen ready meals or frozen ready meals. This allows each operator to see the
opportunities, challenges and needs of temperature-controlled logistics and warehousing services.
Operators in such businesses must have temperature control. control odor and maintain the condition
of the product in good condition, delivered to the consumer Because the product is an agricultural
product and food, the quality of the product must be very important. Maintaining good quality standards
of service and better quality. It can be seen that the cold chain transportation has grown a lot nowadays.
In order to develop competitiveness, lean management must be adopted in all cold chain logistics
activities to help make it more competitive. Lean management focuses on creating value and eliminating
waste. Instead, Lean Logistics describes the principles that guide the reduction of waste, thereby
reducing costs in the form of supply chains. Lean logistics management provides value in terms of flow,
time, location and delivery method. delivery at the desired time required quantity Easy to use and
aiming to eliminate wastage in the logistics process. to modify various logistics methods to meet the
needs of customers as much as possible This article describes the cold chain logistics process by lean
management and also provides an example of logistics waste.

Keywords: Cold Chain Logistics, Lean Logistics, Transportation, Inventory, Reduce Waste, Reduce Cost

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บณั ฑิตศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


670

บทนำ

ปจั จบุ ันสภาพแวดล้อมทางธุรกิจการขนส่งไดม้ ีการเปลยี่ นแปลงไปอยา่ งมาก มกี ารแขง่ ขันด้านการขนส่งสินค้าท่ี

ควบคมุ อณุ หภมู ิท่ีเพม่ิ และมกี ารแขง่ ขนั รุนแรงมากข้ึน ทางดา้ นการขนสง่ สินคา้ ทีค่ วบคมุ อณุ หภูมิปัญหาหลักๆทจ่ี ะเกิดขนึ้

เช่น พนักงานขาดความรคู้ ามเขา้ ใจก่ียวกบั การรักษาอณุ หภูมเิ พอื่ รักษาคณุ ภาพของสินคา้ และข้ันตอนการขนสง่ ผลติ ภัณฑ์

โครงสร้างพืน้ ฐานของระบบโซ่ความเย็น และอุปกรณใ์ นการให้ความเย็น มไี มเ่ พยี งพอตอ่ ความตอ้ งการ และไม่มคี ุณภาพ

ขาดระบบการวดั และตดิ ตามอุณหภมู ใิ นการเก็บรักษาและขนสง่ การสัมผัสกบั อากาศภายนอกในการระหวา่ งการ

เคลอื่ นย้าย การขนสง่ การเปล่ยี นถ่ายสินค้า และความไม่สมา่ เสมอของระบบไฟฟ้า ระบบจา่ ยพลงั งาน จากการทปี่ จั จบุ นั

ทางเลอื กของสินคา้ มมี ากขึน้ ดงั นนั้ ลกู คา้ จึงแสวงหาสนิ ค้าทดี่ ีทสี่ ดุ สาหรบั ตนเองทั้งในด้านคณุ ภาพ บริการและการส่งมอบ

ทาใหผ้ ผู้ ลติ จะตอ้ งปรบั ตวั ให้สอดคลอ้ งกับความตอ้ งการของลูกคา้ ทง้ั ในดา้ นผลติ ภาพ คณุ ภาพ และตน้ ทนุ การผลิต และ

ระบบการผลติ ทีไ่ ด้รบั การพัฒนามาเพอื่ ให้ตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการดงั กล่าวทจ่ี ะไดก้ ลา่ วถงึ ในเรอื่ งนก้ี ค็ อื ระบบการผลติ

แบบลีน (Lean Production System) (ประภาศรี พงศ์ธนาพาณชิ , 2564)

ลีน จงึ หมายถงึ “การเน้นไปที่การสร้างคณุ ค่า (Value) และขจดั ความสญู เปล่า (Wastes) โดยมงุ่ ม่ันพัฒนาอยา่ ง

ตอ่ เนื่อง (Continuous Improvement: CI)” หลายๆ ภาคธุรกิจจงึ นาหลกั การน้ไี ปใชใ้ นธรุ กจิ ของตนเอง ตงั้ แต่ คแู่ ขง่ ใน

อุตสาหกรรมยานยนต์ เคร่ืองใช้ไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนกิ ส์ สงิ่ ทอและเสือ้ ผา้ รวมไปถึงภาคการบรกิ าร เชน่ โรงพยาบาล

โรงแรม หนว่ ยงานภาครฐั ในธรุ กจิ เริม่ ตน้ ใหม่ (Startup) กน็ าไปใช้ในการสรา้ งไอเดยี และกลายเป็นธรุ กจิ ท่ีถูกตอ้ งตั้งแต่

แรก ไม่เวน้ ธุรกิจโลจิสติกส์ ก็เช่นกัน (สิริพงศ์ จงึ ถาวรรณ, 2562)

ประโยชน์ที่จะได้รับจากการจดั การแบบลนี ในดา้ นโลจสิ ติกส์ คอื ตน้ ทนุ ทลี่ ดลง การจัดการและดาเนินการลดลง

และ การบรกิ ารลกู คา้ ท่ีดีขึ้น ซึง่ อาจจะดเู หมือนว่า เป็นผลประโยชน์แบบเดียวทป่ี ระยกุ ต์ใช้ในการจดั การโลจสิ ตกิ ส์ และ

วิธกี ารอนื่ ๆ แตส่ าหรับแนวคดิ ลีน คอื การทาให้ส่ิงท่ีมคี วามสาคัญในการจดั การโลจสิ ติกส์นนั้ มีความเรียบง่ายขน้ึ ท้งั หมด

สามารถดาเนินการได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพและประสทิ ธิผล มากขึน้ เชน่ วัตถุดิบ ชิน้ ส่วน งานระหวา่ งกระบวนการ สนิ คา้

สาเร็จ สินค้าต่าง ๆ ที่เกิดจากการเก็บเผ่ือไว้มากเกินไป ปริมาณสินค้าไม่เพียงพอต่อการขายทาให้เกิดของขาดหรือล้น

เกนิ ไป การนาส่งสินค้าผดิ รุน่ ชนิด จานวน, การบรรทุกสินค้าไม่เตม็ ปริมาณลกู บาศก์ ทาให้สญู เสียต้นทุนมากกวา่ ปกติ

ปัจจบุ ันอตุ สาหกรรมโลจสิ ติกส์ได้มีการนาหลกั การของลนี มาใชง้ าน ด้านโลจสิ ตกิ ส์ไดน้ าแนวคดิ การขนสง่ จาก

เดมิ บริษัทตอ้ งการขนส่งสนิ ค้าไปให้ ถึงจุดหมายเท่าน้นั แตเ่ มื่อกระบวนการทางานของ บริษทั เกิดความเสถียรแลว้ บริษัท

ก็จะเริ่มมีการ คิด ค้น แนวทางการขนส่งเพื่อให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขนึ้ เป้าหมายเพ่ือการประหยัดต้นทุนโดยรวม และ

สามารถขนส่งสนิ คา้ ได้ตรงตามเวลาที่ลูกค้ากาหนด และเกดิ เป็นการขนสง่ แบบ Milk Run (สน่ัน เถาชารี, 2551)

บทความนนี้ าเสนอ ถงึ ปัจจยั ลนี ท่ีใชใ้ นการจดั การโลจสิ ตกิ สโ์ ซค่ วามเย็น เพอื่ ปรับปรงุ กระบวนการทางาน ลดการ

สูญเปล่า ลดต้นทุน ลดข้ันตอนทีไ่ ม่จาเป็น การเพิ่มประสิทธิภาพให้กับโรงงานอตุ สาหกรรมตา่ งๆ ในด้านการจดั การโลจิ

สติกสโ์ ซค่ วามเย็น

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บณั ฑิตศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


671

อปุ กรณแ์ ละวิธดี ำเนนิ กำรวิจยั

ข้อมูลที่ใช้ในการวิจัย ข้อมูลที่ใช้ในการวิจัย แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ1) ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data)
การศกึ ษาครัง้ น้ไี ดท้ าการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล โดยการสารวจภาคสนามดว้ ยวธิ ีการสัมภาษณ์และเกบ็ แบบสอบถามจากกลมุ่
ตัวอยา่ งแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive sampling) จากกลุ่มบริษัทขนส่งสินค้าควบคมุ อุณหภมู ิในจังหวัดเชียงใหม่และ
2) ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) รวบรวมข้อมูลทุติยภูมิจากเอกสารที่ได้มีการเก็บรวบรวมไว้แล้ว เช่น หนังสือ
งานวจิ ัย รายงานทางสถิตติ า่ งๆ ตลอดจนข้อมลู จากสื่ออเิ ลก็ ทรอนิกส์ (Internet) เปน็ ต้น ดงั นน้ั การศึกษาครง้ั นโ้ี ดยใช้
แบบสอบถามเพ่อื ใช้ในการสัมภาษณ์ จากกลมุ่ ตัวอยา่ งแบบเฉพาะเจาะจง จากกล่มุ บริษทั สนิ ค้าควบคุมอุณหภูมิในจังหว
วดั เชยี งใหม่ เร่ิมจากขัน้ ตอนที่ 1 วิเคราะหก์ ิจกรรมโลจิสตกิ สโ์ ซ่ความเยน็ เรม่ิ จากการสมั ภาษณก์ ลุม่ บริษทั สินค้าควบคุม
อุณหภูมิเพื่อให้ได้ขอ้ มูลเบื้องต้นมาใช้ในการจัดทาวเิ คราะห์ SWOT และวิเคราะห์การจดั การแบบลีน เพ่ือให้ได้เป็นการ
จดั การโลจสิ ตกิ ส์โซค่ วามเยน็ แบบลนี โดยวเิ คราะห์สถานการณ์การตลาดทั้งสภาพภายในและภายนอกจาแนกเปน็ จดุ ออ่ น
จุดแข็ง โอกาสและอุปสรรคดา้ นการจัดการโลจสิ ติกสโ์ ซค่ วามเยน็ แบบลีน นาขอ้ มลู ทีไ่ ดม้ าจาแนกตามกิจกรรมโลจสิ ติกส์
โซ่ความเย็น จากน้ันสรุปผลเพื่อให้ได้กลยุทธ์กลยุทธแ์ บบลีนเพ่ือกาจัดความสูญเปลา่ ในโซ่อุปทานความเย็น ใช้เป็นแนว
ทางการเพิม่ ศักยภาพด้านการจดั การแบบลีนในโซค่ วามเย็นเบ้อื งตน้ ขน้ั ตอนที่ 2 จากกลยุทธ์แบบลนี เพอ่ื กาจัดความสูญ
เปล่าในโซ่อุปทานความเย็น ได้ดาเนินการเพิ่มศักยภาพในการบริหารจัดการลดความสูญเปล่า ประกอบด้วยกิจกรรม
ออกแบบกจิ กรรมทางโลจิสติกส์แบบลีน โดยการสอบถามจากผู้ประกอบการโซ่ความเย็น พร้อมประชุมร่วม จากนั้นนัก
ออกแบบไดน้ าข้อมูลดงั กลา่ วไปออกแบบและนามาปรับปรุงจนได้ต้นแบบของกิจกรรมทางโลจสิ ติกสท์ ีล่ ดความสญู เปล่าใน
โซ่ความเย็น เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการบริหารจดั การกับผู้ประกอบการโซค่ วามเย็น ผู้วิจัยใช้แบบสงั เกตในการรวบรวม
ข้อมูลและวิเคราะห์เน้ือหาสรุปผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ จากน้ันนาข้อมูลท่ีไดจ้ ากการตอบแบบสอบถามมาทาการ
วิเคราะห์เชิงเนื้อหา (content analysis) และนาข้อมูล จากการตอบแบบสอบถามมาทาการวิเคราะห์เชิงพรรณนา
(descriptive analysis)

ผลกำรวิจยั

การวิเคราะห์กิจกรรมเพ่อื การพฒั นากระบวนการโลจิสตกิ สโ์ ซค่ วามเย็นกับการจัดการแบบลีน ของกลุ่มบริษัทโซ่
ความเย็น (Cold Chain) พบว่า การประเมินกิจกรรมของกลุ่มบริษัทโลจิสติกส์โซ่ความเย็น ปัจจัยภายในที่เป็นจุดแขง็
(Strength) และจุดอ่อน (Weakness) และปัจจัยภายนอกที่ก่อให้เกิดโอกาส (Opportunity) และอุปสรรค (Threat) ที่
ส่งผลต่อการดาเนนิ กิจกรรมโลจิสติกสโ์ ซค่ วามเย็นพบวา่ ในกลมุ่ ผูป้ ระกอบการโซ่ความเยน็ (Cold Chain) พบวา่ จุดแขง็
(Strengths) ดา้ นการประกอบการธุรกิจ ทาให้มคี วามเช่ือมั่นในการจัดส่งสนิ ค้าทตี่ ้องควบคุมอณุ หภมู ิ สินคา้ ทต่ี ้องขนส่ง
โดยการรักษาอณุ หภูมิจะไดร้ ับความเสียหายน้อยลง สามารถยืดอายกุ ารจดั ส่งสนิ คา้ ได้ ดา้ นจุดออ่ น (Weaknesses) ด้าน
บริหารจัดการ การบริหารจัดการโลจสิ ตกิ ส์โซ่ความเย็นปัจจยั ที่มีผลกับตวั สินค้าคือเร่ืองอณุ หภูมิ การเปลี่ยนแปลงของ
อุณหภูมิระหว่างขนสง่ การบริการจัดการโหลดและลงสินค้าที่ต้องรักษาอุณหภูมิ ด้านโอกาส (Opportunities) ด้านการ
แข่งขัน เนื่องจากปัจจบุ นั ในประเทศไทยผูป้ ระกอบการยการขนส่งโลจสิ ตกิ ส์โซ่ความเย็นที่ได้คุณภาพยังมีไม่มาก ด้าน

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บัณฑิตศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


672

อปุ สรรค (Threats) ด้านการแข่งขนั ถึงปจั จุบันยงั มผี ู้ให้บริการท่มี รคณุ ภาพไมม่ าก แตแ่ นวโน้มในการเติมโตก็มเี พิม่ สูงขึ้น
ผู้ประกอบการต้องหาวิธีการบรกิ ารจัดการและการลดตน้ ทุนในการแข่งขัน

ผลการกาหนดกลยทุ ธ์แบบลนี เพื่อกาจัดความสูญเปลา่ ในโซ่อปุ ทานความเยน็ เบ้ืองตน้ ไดว้ า่ การจดั การของระบบ
ลีนสาหรับกาจัดความสูญเปล่าในโลจิสตกิ ส์โซ่ความเย็น 7 กิจกรรมดังน้ี 1. ความสูญเสียเนื่องจากการผลิตมากเกินไป
(Overproduction) ในกระบวนการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรมอาหารแช่แขง็ มีส่งิ หน่ึงที่ทาให้เกิดความสูญเสีย นั่นก็คือ
ความเชื่อที่ว่าต้องผลิตออกมาจานวนมากท่ีสุดเท่าที่จะทาได้ เพ่ือต้องการต้นทุนการผลิตท่ีต่า เป็นการสร้างผลผลิต
ล่วงหน้าหรือการสต๊อกสินค้ามากทาให้เกิดผลผลิตมากเกินความ ปัญหาที่เกิดจากการผลิตที่มากเกินไป คือการสญู เสีย
แรงงาน รวมถึงการใช้ทรัพยากรที่มากเกินความจาเป็น ณ ขณะนั้น ปรับปรุงได้โดยการลดกาลังการผลิตลง เพ่ือให้
สอดคล้องกับจานวนของการนาออกของผลผลิตตอบสนองตอ่ ความต้องการของตลาด ช่วยลดความสญู เสยี ท่ีเกิดข้นึ จาก
การทางานของเคร่อื งจกั ร อาจตอ้ งลดการตง้ั เวลาของเครื่องจักรลงเพ่อื ให้ได้ผลผลติ ท่เี หมาะสม และวางแผนการผลิตให้
ตรงตามความต้องการ 2. ความสูญเสียเนอ่ื งจากการเก็บสินค้าคงคลงั (Inventory) ความสญู เสยี ท่ีเกดิ จากการเก็บสินค้า
คงคลังน้ันมาจากการวางแผนการส่ังซื้อ Material จานวนมากต่อหนึ่งคร้ัง โดยคานึงวา่ จะต้องมีวัตถุดบิ เพียงพอต่อการ
ผลิตสินค้า ทาให้มีวัสดอุ ยู่ในคลังสนิ คา้ มากเกินความจาเปน็ และเกิดความสูญเสียกลายเป็น waste เนื่องจากคลงั สินคา้
ต้องทาอุณหภูมิในการจดั เก็บสินค้าปัญหาท่ีเกิดขนึ้ จากความสูญเสียน้ี ได้แก่ การใช้พื้นที่ในการจัดเก็บท่ีมากเกินความ
จาเป็นอาจทาใหค้ ลังไมพ่ อจัดเกบ็ ต้นทุนจม หากมีการปรับเปลย่ี นแผนในการบริหารจดั การ อาจทาใหส้ นิ คา้ ตกคา้ ง โดย
ไม่มีกาหนดการว่าจะไดใ้ ชง้ านเม่อื ไร ปรับปรุงโดยการกาหนดปรมิ าณการจัดเกบ็ หรือพ้ืนท่กี ารจดั เกบ็ ท่ีชัดเจน และจดั ทา
แผนการระบบจดั ซื้อที่สอดคล้องกับการผลิต รวมถึงการใช้ระบบเข้าก่อน ออกก่อน (First in first out) เพื่อลดปริมาณ
สินค้าตกค้างเปน็ เวลานาน 3. ความสูญเสยี เน่อื งจากการขนส่ง (Transportation) ความสูญเสียจากการขนส่งเกิดจากการ
ขนส่งในระยะทางท่ีมากเกินความจาเป็น ไม่จัดแผนการเดินรถ ทาให้เกิดต้นทุนในเร่ืองของเชื้อเพลิง แรงงาน ค่า
บารุงรักษารถยนตท์ ี่ใช้ขนสง่ และค้าเสอื่ มตา่ งๆ เนื่องจากปจั จยั การขนส่งสินค้าท่ีรักษาอุณหภูมิตอ้ งมีเครื่องทาอณุ หภมู ิ
ด้วย ซึ่งต้องใช้น้ามันในการกาเนิดไฟฟา้ จะต้องปรับปรุงได้โดยการศึกษาเส้นทางการขนส่งให้ดีเพื่อให้ระยะทางส้นั ที่สดุ
และบริหารจัดการในการขนส่งแต่ละครั้ง เพ่ือประหยัดจานวนคร้ังในการส่ง 4. ความสูญเสียเน่ืองจากการเคลื่อนไหว
(Motion) ความสูญเสยี ดา้ นนีส้ อดคลอ้ งกับแรงงานในกระบวนการผลิตโซ่ความเย็น การให้คนงานมกี ารเคล่ือนไหวมากๆ
อาจมาจากการวางวตั ถุดบิ อยูห่ า่ งกัน ทาใหต้ ้องเดนิ ไกล หรือเอ้อื มหยิบของท่ีอยู่ไกล รวมถงึ การกม้ ตวั ยกของหนักบนพ้ืน
ฯลฯ สง่ ผลให้เกดิ ความเหนือ่ ยลา้ และอาจบาดเจบ็ ต่อร่างกาย สง่ ผลใหพ้ นกั งานทาให้ทางานได้ล่าชา้ และการวางสินค้าท่ี
อยหู่ ่างไกลกันโดยท่พี ้ืนท่ีน้นั อุณหภมู ิสงู จะส่งผลให้สนิ คา้ ละลายหรือเสยี หายได้ ปรับปรุงโดยการจดั วางสง่ิ ของตา่ งๆ ให้
อยใู่ กลก้ ัน รวมทัง้ การจดั วางผงั ภายในโรงงงานใหเ้ หมาะสมกับกระบวนการทางานหรอื กระบวนการไหลของสินคา้ ภายใน
โรงงาน 5. ความสูญเสยี เนื่องจากกระบวนการผลิต (Processing) กระบวนการผลิตในโรงงานที่ส่งผลให้เกิดการทางาน
ซ้าซ้อนหลายขั้นตอน ทาให้เกิดความสูญเสยี ได้ เกิดปัญหาในเร่ืองของต้นทุนทไี่ ม่จาเป็นในการทางาน และส่งผลให้การ
ทางานลา่ ช้าและไม่มปี ระสิทธิภาพ ปรับปรุงโดยการใช้หลักการ 5 W 1 H ในกระบวนการผลิต เพ่ือวิเคราะห์การทางาน
และบริหารจัดการโลจสิ ติกส์โซค่ วามเยน็ ได้อย่างเหมาะสม 6. ความสูญเสียเนอ่ื งจากการรอคอย (Delay) เกดิ จากการหยดุ
ทางานของเครื่องจักรหรือพนักงาน ส่งผลต่อการผลติ ทาให้เกิดการรอคอยบางปัจจยั ท่ีจาเป็นตอ่ การผลิตสินค้าควบคมุ
อุณหภูมิ ปัญหาท่ีเกิดขนึ้ คือ ต้นทุนท่ีสูญเปลา่ ของแรงงาน เครื่องจกั ร ซึ่งไม่ก่อให้เกิดมลู คา่ เพ่ิม เกิดต้นทุนค่าเสียโอกาส
การปรบั ปรงุ โดยการวางแผนการผลิตให้ดี และจดั สรรปรมิ าณแรงงานให้มคี วามสมดลุ ในการผลติ มีแรงงานเพยี งพอท่ีจะ

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บัณฑิตศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


673

ทดแทนหากเกิดการหยุดการทางานของแรงงานบางส่วน รวมถงึ ฝกึ ทกั ษะการทางานใหก้ บั แรงงาน เพ่ือรองรบั การทางาน
ที่ต้แองทาทดแทน 7. ความสูญเสยี เนื่องจากการผลิตของเสีย (Defect) ปัญหาจากการผลิตของเสีย ทาให้สิ้นเปลอื งการ
ผลิต เพราะตอ้ งผลิตใหม่หรือกาจดั ทง้ิ ไปโดยเปลา่ ประโยชน์ ทงั้ ยงั เกดิ การซา้ ซอ้ นในการทางานต้องจัดหาพนกั งานเพิ่มใน
การทาหน้าที่ส่วนนี้ เกิดต้นทุนค่าเสียโอกาส ปรับปรุงโดยการปรับปรุงมาตรฐานการผลิตให้ดีข้นึ เพื่อลดอัตราของเสีย
พัฒนาวธิ ีการทางานของพนักงานอยเู่ สมอ เพอื่ ปอ้ งกันการผลติ ของเสีย

ทางด้านกิจกรรมความสญู เปลา่ ในโลจิสตกิ สโ์ ซค่ วามเย็น สามารถแบ่งกลุ่มได้ ดงั นี้ 1. สินคา้ คงคลัง (Inventory)
วัตถุดิบหรือผลิตภณั ฑ์โซ่ความเยน็ สินคา้ ต่างๆ ท่ีเกิดจากการเก็บเผือ่ ไว้มากเกินไป หรือปริมาณสินค้าไม่เพียงพอตอ่ การ
ขายทาใหเ้ กดิ สนิ คา้ ขาดหรอื ล้นเกินไป เปน็ ปัจจัยทาให้ การส่งสินคา้ ผิด หยบิ สนิ คา้ ผิด จานวนผดิ ทาใหเ้ พม่ิ ขนั้ ตอนในการ
บรหิ ารการจัดการสนิ ค้าคงคลงั เพม่ิ มากขนึ้ บริษัททาการวางแผนตงั้ แตร่ บั วถั ดุ ิบเข้า พยากรณค์ วามตอ้ งการของลูกคา้ วาง
แผนการผลิต และวางแผนพ้ืนท่ีในการจดั เก็บ เน่ืองจากคลังแช่แขง็ มตี ้นทุนการจดั เก็บสูงกว่าคลังสินค้าแบบไม่ควบคมุ
อุณหภูมิ 2. การขนส่ง (Transportation) การขนส่งไม่เหมาะสม การจัดประเภทการขนส่งไม่เหมาะสม เช่นจะใช้การ
ขนสง่ ทางเรอื มาต่อทางบกหรือจะตอ้ งต่อทางราง ต้องมกี ารวางแผนการขนส่ง และเลอื กประเภทการขนสง่ ให้เหมาะสม,
ขนาดยานพาหนะท่ใี ช้ ขนาดเคร่ืองยนต์แรงมา้ ต้องมากกว่าน้าหนกั ปริมาณของสินคา้ ท่ีบรรทกุ รวมไปถงึ การยกเพลาของ
หัวลากหรือหางพว่ งขน้ึ เมอื่ ไม่มีภาระขนส่งสินคา้ เพ่ือลดแรงเสยี ดทานและภาระของเครื่องยนต์ และลดการใช้หนา้ ยาง,
วธิ ีการขบั ขี่ให้ประหยดั นา้ มัน (Eco-driving) การขับท่ีทาให้ไม่ประหยดั น้ามัน เช่น การออกรถดว้ ยเกียร์ 2 การจอดรถแลว้
ติดเครือ่ งท้ิงเอาไว้ การเร่งเครื่องยนต์ข้นึ บอ่ ยๆ การเบรกรถยนตก์ ระช้ันชิด เป็นวิธีการท่ีทาให้รถกนิ น้ามันมากข้ึน, ชนิด
ของล้อยาง ใชล้ ้อยางประเภทประหยดั พลงั งาน และสามารถหลอ่ ดอกยางได้หลายๆ คร้ัง ทาให้ว่งิ ได้ระยะทางกโิ ลเมตรท่ี
มากทส่ี ุด ส่วนความดันลมยางแขง็ จนเกนิ ไป ลมยางรถบรรทุกใหเ้ ติมตามตาแหน่งดงั น้ี 1.เพลาขบั เตมิ ลมยางได้ต้งั แต่ 85-
100 psi ขน้ึ อยู่กบั ขนาดยาง หากอยทู่ ต่ี าแหน่งพ่วงหรือล้อลากที่ตอ้ งรบั นา้ หนักการบรรทกุ มาก เพิ่มแรงดันเป็น 100-125
psi ตามขนาดยาง ถ้ายางลมอ่อนทาให้กินน้ามัน ต้องเติมลมยางตามปริมาณความดันตามที่กล่าวไว้ข้างต้น เพ่ือไม่ให้
โครงสรา้ งยางเสยี หาย การเขา้ ตั้งศูนย์ถ่วงล้อเพ่อื ให้รถไปในทิศทางเดียวกนั วิธเี หล่านกี้ จ็ ะช่วยลดความสญู เปล่าที่เกิดข้ึน
จาการขนส่งได้, ชนิดน้ามันเครื่อง ใช้น้ามันเคร่ืองเกรดต่าทาให้ต้องเข้าศูนย์บริการบ่อยๆ เช่น น้ามันเคร่ืองที่วิ่งได้
ระยะทาง 20,000 กิโลเมตร เทียบกับน้ามันเคร่ืองสังเคราะห์ท่ีวิ่งได้ 60,000 กิโลเมตร ทาให้เสียเวลาในการนารถไป
บริการลูกค้า เสียโอกาสในการว่ิงงานให้กับลูกค้าไปทันทีอีก 4-5 คร้ัง, การบรรทุกสินค้าไม่เต็มปริมาณลูกบาศก์ หรือ
บรรทกุ ไมเ่ ตม็ คัน ทาให้สญู เสียต้นทนุ มากกวา่ ปกติ เน่ืองจากตู้ตอ้ งทาอุณหภมู ใิ นการขนสง่ ถา้ บรรทุกไม่เต็มคนั ก็จะทาให้
ส้ินเปลืองและต้นทุนค่าขนส่งต่อหน่วยก็จะสูงขึ้น, การวิ่งเที่ยวเปล่าขากลับ (Backhauling) ต้องเริ่มทาการขนส่งแบบ
Milk Run ว่งิ รับ-สง่ สินค้าหลายๆ ท่หี ลายๆ Drop แทนที่จะวิง่ รถขนสนิ คา้ ตรงไปเจา้ เดียว และวง่ิ รถเที่ยวเปลา่ กลบั , การ
ออกแบบระบบทั้งแบบ Hub and Spoke และการออกแบบ Nodes and Links เพ่ือให้เกิดความเหมาะสมมากท่สี ุด 3.
ระบบ (Systems) งานขัน้ ตอนตา่ งๆ ท่ีทาใหเ้ กดิ การรอคอย รอระบบในการประมวลผล ระบบที่จะทาผิดพลาด การกรอก
ขอ้ มูลผิด กรอกขอ้ มูลซา้ ๆ ทาใหเ้ สยี เวลา บริษัทลดข้นั ตอนในระบบจากปกติใช้เปน็ ระบบเอกสารกระดาษต้องตรวจและ
กรอกเขา้ ระบบ ทาให้ตอ้ งทางานหลายรอบ จึงระบบ ERP เขา้ มาช่วยในการบรหิ ารจดั การเพ่ือลดความสญู เปล่าทเ่ี กิดขึ้น
ในระบบการทางาน 4. งานธุรการ (Administration) งานธุรการที่ตอ้ งทางานเอกสารสาเนาจานวนมาก การทวนสอบท่ี
มากเกิดความจาเป็น บรษิ ทั จะตอ้ งลดกิจกรรมท่ีไม่จาเป็นและรวมกจิ กรรมท่ีมีลักษณะคลา้ ยกัน โดยลดกิจกรรมใหเ้ หลือ
กิจกรรมเดียวและผลลพั ท์ออกมาไดห้ ลายงาน เชน่ ไดร้ ับขม้ มลู Electronics จากลูกคา้ มาแลว้ สามารถดึงขอ้ มลู มาจดั การ

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บณั ฑติ ศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


674

ตอ่ ได้เลยโดยไมต่ ้องลงขอ้ มูลใหม่หลายรอบ เม่ือได้ข้อมูลเสร็จก็สามารถสง่ ข้อมูลให้หวั หนา้ งานและพนักงานขบั รถได้เลย
5. ลูกบาศก์ทเ่ี ก็บและขนสินค้า (Cube) โหลดสินค้าไม่เต็มคัน การจัดเรียงสินค้าไม่ดีมชี ่องว่าง มีช่องเผื่อเยอะ ทาให้ขน
สนิ คา้ ไม่ได้เตมิ ปริมาตรลกู บาศก์ ใช้ระบบซอฟรแ์ วรช์ ่วยบริหารจดั การปริมาตรลูกบาศก์ คานวณการโหลดสนิ ค้าและการ
จัดเรียงสินค้า เพ่ือต้นทุนต่อหน่วยในการขนส่งสินค้าลดลง 6. บรรจุภัณฑ์ (Packaging) การออกแบบบรรจุภัณฑ์ไม่
เหมาะสม รูปทรงไม่เอ้ือตอ่ การจดั การขนส่งและการจดั เก็บ เช่น บรรจุภัณฑ์ทรงกลม ทาให้ซ้อนและวางได้ยาก ต้องมี
ออกแบบบรรจุภัณฑ์ร่วมกันท้ังฝ่ายขนส่ง ฝ่ายผลิต ฝ่ายจัดซ้ือ ฝ่ายคลัง เพื่อทาให้ได้บรรจุภัณฑ์ที่เอ้ือต่อกิจกรรมการ
จัดการโลจิสติกส์ 7. เวลา (Time) เวลาในการนัดหมายการจดั ส่งตอ้ งตรงเวลาจะได้ไม่เสียเวลา ตามอุตสาหกรรมตา่ งๆ
ต้องติดตามสถานะสินค้าได้โดยการตดิ กลอ้ งและ GPS รถบางคันไปแอบจอดดดู น้ามันไปขาย ติดตามสถานะไดแ้ ละจับ
ระยะเวลาจอดรถทิ้งไว้นานจนผิดสงั เกตุ และการรอคอยข้ึนลงสินคา้ ท่ใี ช้ระยะเวลานานต้องบริหารจดั การใหด้ ีเน่อื งจาก
สินค้าเป็นสินค้าที่ต้องควบคุมอณุ หภูมิ ต้องบริหารจดั การให้ดี 8. ความรู้ (Knowledge) การใช้ความคิดสร้างสรรคข์ อง
พนกั งาน เครือ่ งมือ อปุ กรณ์ และเทคโนโลยใี หม่ๆ เพ่อื มาชว่ ยใหก้ ารทางานสะดวกและง่ายข้ึน โลจิสตกิ ส์โซค่ วามเย็นแบบ
ลีน เป็นสิ่งที่สามารถจับต้องได้ในทุกๆ กิจกรรมโซ่ความเย็นของแต่ละองค์กร ซ่ึงองค์กรสามารถลดต้นทุนและเพิ่ม
ประสทิ ธิภาพได้ ลดความสญู เปลา่ ที่เกดิ ข้ึนระหว่างกิจกรรม

วิจำรณผ์ ลกำรวจิ ยั

การพัฒนากระบวนการโลจสิ ตกิ ส์โซค่ วามเยน็ กบั การจัดการแบบลนี สิง่ สาคญั คอื การท่อี งคก์ รต้องเข้าใจระบบการ
จัดการแบบลนี เพ่ือจะนามาปรบั ใช้ในกระบวนการโลจิสตกิ ส์โซ่ความเยน็ และองคก์ รทีเ่ กยี่ วขอ้ งกับโลจสิ ตกิ สโ์ ซค่ วามเยน็
ต้องมีส่วนร่วมในการช่วยพัฒนาระบบ เพื่อสร้างความสามารถในการแข่งขัน ซึ่งความสูญเปลา่ แฝงอยู่ในกระบวนการ
ทางาน ได้แก่ ความสญู เปลา่ เนอ่ื งจากการผลิตมากเกินไป ความสูญเปล่าเน่อื งจาก การขนส่ง ความสูญเปล่าเนือ่ งจากการ
รอคอย และความสูญเปล่าเนื่องจากกระบวนการผลิต (หยาดฝน ใจรักษ์, 2563) โดยกล่าวถึงเรื่องของการพัฒนา
ผู้ประกอบการ พัฒนาทักษะผู้ประกอบการ ยกระดับกระบวนการโลจิสตกิ ส์โซ่ความเย็นพัฒนาอย่างยง่ั ยืนสู่สากล โดย
ประเทศไทยถือเปน็ หนึ่งในประเทศที่ ผลติ อาหารสด โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงผักและผลไม้ที่สาคญั ประเทศหนึง่ ของโลก และมี
ขีดความสามารถในการส่งออกผลิตผลสดไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพและคุณภาพ ดงั น้นั การจดั การระบบสายโซค่ วามเย็นใน
ผลิตผลจงึ เป็น เรือ่ งที่จาเปน็ ในอตุ สาหกรรมการส่งออกผลติ ผลสด เพราะเป็นเครือ่ งมอื ท่ีสาคัญในการรักษาคุณภาพของ
สนิ คา้ ไว้จนถงึ มือผบู้ ริโภคท้ังในและตา่ งประเทศ (สมภพ อยูเ่ อ, 2552) และโลจสิ ตกิ ส์โซ่ความเย็นนี้ ถือเป็นกลไกทีส่ าคญั
ของเศรษฐกิจในด้านธุรกจิ สนิ คา้ ท่ตี อ้ งควบคุมอณุ หภมู ิ และจะพัฒนายกระดบั ระบบโลจิสติกส์โซค่ วามเย็น ในการพฒั นา
สร้างความเข้มแข็งจากรัฐบาลให้ความสาคัญกับผู้ประกอบการในการนาความรู้ระบบการจัดการแบบลีน เพ่ือเพิ่ม
ศักยภาพเศรษฐกจิ ด้านสินคา้ ที่ต้องควบคมุ อณุ หภูมิของประเทศในกระบวนการโลจสติกส์โซ่ความเย็นต่อไป

สรุปผลกำรวิจัย

กลยุทธ์เบอื้ งตน้ การพฒั นากระบวนการโลจสิ ติกสโ์ ซค่ วามเย็นกับการจดั การแบบลนี ของผู้ประกอบการธรุ กจิ โซ่
ความเยน็ ในประเทศไทย ในดา้ นระบบการขนสง่ แบบควบควบคมุ อุณหภูมิ (Cold Chain Logistics) เป็น กระบวนการของ

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บณั ฑติ ศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


675

โซ่อปุ ทานสนิ ค้า ทต่ี ้องควบคมุ อณุ หภมู แิ ละความชนื้ ใหเ้ หมาะสมกบั สินคา้ ตง้ั แต่ผู้ผลติ จนถงึ ผบู้ รโิ ภค สว่ นใหญแ่ บง่
ออกเป็นสองส่วนหลกั คอื ระบบการขนสง่ และการจดั เกบ็ ซ่ึงโดยปกตแิ ลว้ สนิ คา้ ท่ีตอ้ งใชร้ ะบบขนส่งแบบควบคมุ
อุณหภูมจิ ะแบง่ ได้เป็น 6 ประเภท คอื ผักผลไม้ เนอ้ื สัตว์ ปลาอาหารทะเล ผลิตภณั ฑจ์ ากนม เครอื่ งดม่ื และยา ดว้ ย
ความสาคัญของวธิ กี ารและการจัดการอยา่ งถูกตอ้ งตลอดทง้ั ห่วงโซ่อุปทานอาหาร ระบบการขนสง่ แบบควบคุมอุณหภมู จิ งึ
กลายเป็นจดุ สนใจของการวจิ ัยโลจสิ ตกิ สป์ จั จบุ ัน เพื่อเปน็ การชว่ ยเก็บรกั ษาอาหารสดเหล่านั้นใหค้ งคณุ ภาพ ลดอนั ตราย
จากการปนเปอ้ื นและลดความสญู เสยี ของผลผลติ และช่วยยดื ระยะเวลาจาหน่าย (Saleable life cycle) ให้นานข้นึ เพอ่ื
เพิ่มโอกาสในการบรโิ ภคสินคา้ ใหม้ ากขน้ึ (ธวัชชัย บัววฒั น์, 2563) ซ่ึงในการบรกิ ารการจดั การขนสง่ แบบควบคมุ อณุ หภมู ิ
ตอ้ งใช้กลยทุ ธก์ ารจดั การแบบลีนเขา้ มาช่วยเพอื่ เพ่ิมศกั ยภาพในการแขง่ ขนั ระบบลนี (LEAN) เปน็ ระบบท่เี หมาะสาหรับ
การประกอบการโรงงาน ช่วยลดความสญู เสยี เปลยี่ นความสญู เปลา่ ใหม้ ีเกิดคณุ คา่ นามาซง่ึ การบรหิ ารจดั การที่ประสบ
ความสาเร็จ เก่ียวข้องกับการผลติ โดยตรง ทาให้กระบวนการผลติ มปี ระสทิ ธิภาพมากขนึ้ สามารถบรหิ ารตน้ ทนุ ได้ดขี น้ึ ท่ี
ผา่ นมามีบรษิ ทั ยักษใ์ หญห่ ลายราย นาระบบลีนไปประยุกต์ใช้กบั กระบวนการผลิตภายในบริษทั การันตวี ่าระบบลนี เป็นที่
ยอมรบั ในวงกวา้ ง วา่ เปน็ ระบบทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพอยา่ งแทจ้ ริงจากการทีส่ รุปแตล่ ะกิจกรรมทางโลจิสตกิ ส์โซ่ความเย็นในการ
จดั การแบบลนี เพอ่ื เปน็ แนวทางในการเพิม่ ศกั ยภาพการแขง่ ขันในตลาดทเ่ี พมิ่ ขนึ้ ในอนาคตให้กบั ผู้ประกอบการขนสง่ แบบ
ควบคุมอุณหภมู ติ อ่ ไป

กิตติกรรมประกำศ

งานวจิ ัยน้ีสาเรจ็ ลลุ ว่ งไปดว้ ยดจี ากความกรุณาของอาจารยท์ ป่ี รึกษา ท่ีไดใ้ ห้คาปรกึ ษาในการทาวจิ ัยฉบบั นี้ ด้วยดี
ตลอดมา ขอขอบพระคุณคณาจารย์ สาขาการจดั การและพัฒนาทรพั ยากร คณะผลติ กรรมการเกษตร มหาวทิ ยาลัยแม่โจ้
เชียงใหม่ ท่ีได้ประสิทธิประสาทความรู้วิชาการต่างๆ เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการศึกษา นอกเหนือจากนี้ยังได้รับความ
รว่ มมือด้วยดีจาก กลุ่มบริษทั ขนส่งสินคา้ ควบคมุ อณุ หภมู ิในจงั หวดั เชียงใหม่ ท่ีไดร้ บั ความรว่ มมอื ในการเก็บรวบรวมขอ้ มลู
ผ้วู ิจัยจึงขอขอบพระคณุ ทกุ ท่านที่มสี ่วนชว่ ยเหลอื ให้งานวจิ ยั ฉบับนีส้ าเรจ็ ลุล่วงไปด้วยดี

ขอ้ เสนอแนะ

การเพิ่มศกั ยภาพการพัฒนากระบวนการโลจสิ ตกิ ส์โซค่ วามเย็นกับการจัดการแบบลีนได้ขอ้ ค้นพบการจัดการโล
จิสสตกิ ส์โซ่ความเยน็ แบบลนี ทสี่ าคัญ คอื สามารถนาไปประยุกตใ์ ชก้ ับ องค์กรและอุตสาหกรรมโซ่ความเยน็ (Cold Chain)
ได้ โดยควรให้ความสาคญั กับการจัดการลีนโลจสิ ตกิ สซ์ ึง่ จะเปน็ ประโยชน์สาหรับการจัดการองค์การเพือ่ ลดการสญู เสีย ลด
ตน้ ทนุ และเพิ่มประสิทธิภาพ ลดความสญู เปล่าทีเ่ กิดขนึ้ ระหวา่ งกจิ กรรมโลจสิ ติกส์ เนอ่ื งจากกจิ กรรมโซค่ วามเย็น ปจั จยั
หลักๆท่มี ผี ลทาให้เกิดความเสียหายคอื การจัดการด้านอณุ หภูมิ ถ้าไมม่ กี ารวางแผนและการจัดการบริหารไมเ่ ป็นระบบ ก็
จะทาให้เกดิ การหยกุ ชะงักของโซค่ วามเยน็ จะสง่ ผลใหเ้ กดิ ความเสียหายและต้นทุนที่สูงข้นึ

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บณั ฑติ ศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


676

เอกสำรอำ้ งอิง

ข่าวสารโลจสิ ติกส์ ข่าวสารบ้าน กลจ. สถติ ดิ ้านโลจสิ ตกิ ส์ไทยผลการจดั อนั ดบั ขดี ความสามารถ ในการแขง่ ขันของประเทศ 2563
สบื ค้นเมอื่ 15 กนั ยายน 2565 จาก,https://www.nesdc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=11222

นงลักษณ์ นมิ ิตรภวู ดล. (2557). การศึกษาเืรอ่ งการลด ความสญู เปลา่ ในกระบวนการคลังสนิ คา้ โดยใช้แนวคดิ ลีน
กรณศี กึ ษา อตุ สาหกรรม เฟอรน์ ิเจอร.์ วารสารการจัดการ คณะ วิทยาการจัดการ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏ ลาปาง,
7(2): 65-78.

บัณฑติ วทิ ยาลยั การจัดการและนวัตกรรม มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ ธนบุรี. (2561). การจดั การโลจสิ ติกส์
และซัพพลายเชน. กรุงเทพฯ: เอ-พริ้นท์ แอนด์ แพค็ . 4(61). 1-5

โปรซอฟต์ ดอทซีโอ ดอททเี อท็ สืบค้นเมื่อ 15 กนั ยายน 2565, https://www.prosoft.co.th/Article/Detail/132788.
รวมพล จันทศาสตร.์ (2561). ปจั จัยลีนท่สี ง่ ผลตอ่ การคลังสนิ คา้ และการขนสง่ เพอ่ื ลดความสญู เปล่า. กรงุ เทพฯ: สมาคม

สถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ าร.ี
2. 7-10.
สานักพัฒนาและส่งเสรมิ ธรุ กิจบริการกรมส่งเสริมการคา้ ระหว่างประเทศกระทรวงพาณิชย์ สืบค้นเมื่อ 15 กันยายน 2565
จาก, https://tradelogistics.go.th/th/article/บทความเจาะลึก/ทาไมตอ้ งใช้-cold-chain-logistics-2
สมภพ อยู่เอ. (2552). การจดั การระบบสายโซค่ วามเย็นในผลติ ผลสด Cool Chain Management for Fresh Produce.
วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลยั สยาม. 1(5). 6
หยาดฝน ใจรกั ษ์. (2563). การประยุกตใ์ ชแ้ นวคิดแบบลนี ในการจดั การ โลจสิ ตกิ สข์ องคลังสินค้าในอตุ สาหกรรมนา้ มัน
และก๊าซ จงั หวดั สงขลา Application of Lean Concept to Logistics Management of Warehouse in Oil
and Gas Industry, Songkhla Province. วารสารเศรษฐศาสตร์และบรหิ ารธุรกจิ มหาวิทยาลยั ทกั ษณิ .
2(13).13
GoodTech ธนาคารไทยพาณิชย์ Economic Intelligence Center (EIC) กรมส่งเสริมอตุ สาหกรรม กระทรวง
อตุ สาหกรรม สืบคน้ เมอ่ื 15 กันยายน 2565 จาก, https://www.tgoodtech.com/th/articles/362

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บณั ฑติ ศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


677

กลยทุ ธ์กำรจัดกำรกำรสือ่ สำรตลำดในยุคดิจิทัล สำหรับกลุม่ วสิ ำหกิจชุมชน กลุม่ ชำติพันธ์ุ จังหวัด
แม่ฮ่องสอน

The Market communication management strategy in the digital age for
community enterprises, ethnic groups, Mae Hong Son province

สพุ จน์ คำมะนิด
Supot Kammanid

สาขาการจดั การ และ พัฒนาทรพั ยากร คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวทิ ยาลยั แม่โจ้ จังหวดั เชียงใหม่ ประเทศไทย 50290
Resources Management and Development, Faculty of Agricultural Production,
Maejo University, Chiangmai Province, Thailand 50290
[email protected]

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์ เพ่ือนาเสนอกลยุทธ์การจัดการการสื่อสารตลาดในยุคดิจิทัล สาหรับกลุ่มวิสาหกิจ
ชมุ ชน กล่มุ ชาติพนั ธุ์ จงั หวัดแมฮ่ อ่ งสอน ซ่งึ การสือ่ สารทางการตลาดในยุคดิจิทลั ของกลุ่มวสิ าหกจิ ชมุ ชน กลุม่ ชาติพนั ธุ์ มี
ความสาคัญอย่างยิง่ ในการต้องการเจาะหากลุ่มลกู คา้ เปา้ หมายเพื่อในการขยายฐานตลาดและการ
เพ่ิมมูลค่าในการขายของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มชาติพันธุ์ เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม ผู้ให้ข้อมูล คอื
สมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มชาติพันธ์ จานวน 8 กลุ่ม คน รวมทั้งสนิ้ จานวน 120 คนเคร่ืองมอื ในการเก็บขอ้ มลู เป็น
แบบสมั ภาษณ์ และการสงั เคราะหเ์ น้อื หา ผลการวจิ ัยพบวา่ ปัญหาท่พี บของกล่มุ วสิ าหกจิ ชุมชน กลุ่มชาตพิ นั ธใุ์ นจงั หวัด
แม่ฮ่องสอน การไม่สามารถสร้างกจิ กรรมทางการตลาดให้สอดคล้องกับความตอ้ งการของกลุม่ ลูกค้าเปา้ หมาย ตลอดจน
การสอ่ื สารผลติ ภัณฑข์ องกลุ่มวิสาหกจิ ชมุ ชน กลมุ่ ชาติไปยังกลุ่มลูกคา้ เป้าหมายยงั ขาดประสิทธภิ าพ ซ่งึ ในปจั จุบนั หรอื ยดุ
ดิจิทัลพฤติกรรมของผู้บริโภคมีการเปลี่ยนแปลงและปรับพฤติกรรมในการซ้ือสินค้าเพ่ือการอุปโภคและบริโภคทาง
ออนไลน์อย่างมาก และกิจกรรมทางการตลาดในยุคดจิ ิทัลมีการเปลี่ยนแปลงอยูต่ ลอดเวลา ซ่ึงกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่ม
ชาติพันธ์ุ มีกลยุทธ์การจัดการการสื่อสารทางการตลาด ดังน้ี การปรับใช้กิจกรรมทางการตลาด การสร้างกลยุทธ์ทาง
การตลาด เป็นการเขา้ หากลุ่มลูกค้าเป้าหมายที่ชัดเจน เพ่ือให้สามารถตอบสนองความต้องการของกลุ่มลกู ค้าเป้าหมาย
อย่างตรงประเด็นและอยา่ งแท้จรงิ เพอ่ื การขยายฐานตลาดและการเพ่มิ มูลค่าในการขายของกลมุ่ วสิ าหกิจชุมชน กล่มุ ชาติ
พันธุ์ และสรา้ งความย่งั ยืนให้กบั กลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุม่ ชาตพิ นั ธุ์ในอนาคต

คำสำคญั : กลยทุ ธ์ การสอื่ สารทางการตลาด กลมุ่ วสิ าหกิจชมุ ชน

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บณั ฑติ ศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


678

Abstract

This article presents a digital age for marketing communication management strategy for ethnic
community enterprises in Mae Hong Son province. The ethnic community designed to target customers
is critical for expanding the market base and increasing the sales value of community enterprises. This
was a participatory action research. The informant was a member of the community enterprise group.
Ethnic groups, 8 groups, total 120 people. The tool for collecting data was an interview. and content
synthesis. Results indicated that most of the main occupations of the ethnic groups had difficulties that
community enterprises have been facing; The inability of the network to create online marketing
activities that meet the needs of target customers, as well as communicate products to target
customers, is also inefficient. Moreover, consumption habits have shifted dramatically. The marketing
communication management strategy will improve the groups which have altered their purchasing
habits when purchasing consumer goods online. Marketing activities in the future digital age will
constantly be evolving sustainability in the ethnic community enterprise groups

Keywords: Strategy, Marketing Communication Strategies, Community Enterprise Group,

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บัณฑติ ศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


679

บทนำ

การส่ือสารตลาดในยคุ ดจิ ทิ ัล (Digital Marketing Communication) หมายถงึ การผสมผสาน และประสานชอ่ ง
ทางการส่ือสารหลาย ๆ ทาง เพ่ือส่ือเน้ือหาเก่ียวกับองค์กรและผลิตภัณฑ์ได้อย่างชัดเจน สอดคล้อง และเป็น อันหน่ึง
เดียวกนั (Kotler & Armstrong, 1999 : 87) เป็นกระบวนการพัฒนาและดาเนนิ การโปรแกรมการ สอ่ื สารที่จงู ใจ โดยการ
ผสมผสานเครื่องมอื ทางการสื่อสารหลายรูปแบบอยา่ งสอดคล้องและตอ่ เน่ืองเพอ่ื สร้าง การรับรู้และกระตุ้นพฤติกรรม
กล่มุ เป้าหมาย (Shimp, 2000 : 78) ดงั นั้น การสื่อสารทางการตลาดในยุคดจิ ิทลั จึงเป็น การนาการสื่อสาสมยั ใหม่ และ
การตลาดมาร่วมกัน ทาให้มีรูปแบบเป็นกระบวนการที่ผสมผสานกันระหว่าง กระบวนการส่ือสาร และกระบวนการ
ทางการตลาดไว้ด้วยกันอย่างลงตัวโดย เพ่ือเป็นการแสดงหากลุ่มลูกค้าเป้าหมาย เพ่ือให้เกิดการสนองตอบต่อความ
ต้องการของกลมุ่ ลูกคา้ เป้าหมายให้ตรงประเดน็ การสื่อสารการตลาด ถูกทา ขึ้นมาเพ่อื สนับสนุนการทาการตลาด สร้าง
การรบั รู้ ความเขา้ ใจ ใหก้ บั ผบู้ รโิ ภค หรอื กลมุ่ ลูกคา้ เปา้ หมายตามท่ผี ผู้ ลิต ไดส้ ่ือออกไปใหม้ ากที่สุดสร้างความจงรักภักดี
เพื่อให้เกิดการสอ่ื สารแบบไวรัล อีกทั้ง นาไปสู่การมีความเช่ือมโยงผสานพ้นื ท่ีของการสื่อสารระหว่าง สื่อซ้ือ สื่อที่ได้รบั
และส่ือท่ีเป็นเจ้าของอีกด้วย บุหงา ชัยสุวรรณ (2558 : 173-198) นอกจากน้ี การสื่อสารการตลาด คือ การที่องคก์ าร
พยายามโน้มน้าวผ้บู ริโภคท้ังทางตรง และทางอ้อมเก่ียวกบั สิง่ ท่ีจะเสนอขาย โดยกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มชาติพันธต์ุ อ้ ง
เข้าใจเลือกการสื่อสารการตลาดที่จะช่วยให้บรรลุเป้าหมายขององค์การ ( Rachmadhian & Chaerudin, 2019)
นอกจากนยี้ ังมกี ารนาเสนอการบูรณาการการสื่อสารการตลาดเพ่อื ส่งเสรมิ การขาย ดังนค้ี ือ (1) องคก์ ารหรือกลมุ่ วิสาหกจิ
ชมุ ชน กลมุ่ ชาตพิ นั ธ์ุจะต้องขายตรง โดยการโฆษณาสอื่ ขอ้ ความใหผ้ ู้บรโิ ภคเข้าใจไดง้ า่ ย (2) การกาหนดนิยามใหมข่ องการ
ส่ือสารโดยให้ความสาคัญกบั ลูกคา้ เป็น ศูนย์กลาง และ (3) การนาข้อมูลพฤติกรรมผู้บริโภคมาวเิ คราะห์ และสังเคราะห์
เพื่อเป็นข้อมูลในการดาเนินการเพื่อตอบสนอง ความต้องการของลูกค้าได้ตรงกับความต้องการ (Chancharoen &
Chanvichai, 2016) ซ่ึงสามารถกล่าวไดว้ ่า การตลาดเชิงกิจกรรมก่อให้เกิดความท้าทายมากขนึ้ ในแง่ของการสร้างการ
รับรู้สาหรับเหตุการณ์หน่ึงๆ เม่ือมีเหตุการณ์ต่างๆ เกิดขึ้น ในขณะเดียวกันการสร้าง เอกลักษณ์ของ ผลิตภัณฑ์กลุ่ม
วิสาหกิจชุมชนต่างๆ มีกิจกรรมท่ีคล้ายคลึงกันเพื่อดึงดูดลูกค้า ดังนั้นนักการตลาดเชิงกิจกรรมต้องค้นหา วิธีการสร้าง
ความแตกต่างระหว่างส่วนประสมทางการตลาด บทบาท และการสนับสนุนการผสมผสานการประชาสัมพันธ์ การ
ผสมผสานการสง่ เสริมการขายใหแ้ ตกตา่ งจากองค์การอ่ืนๆ (Instapage, 2020)

จากขา้ งตน้ จะเหน็ ได้ว่าการสอื่ สารการตลาดในยคุ ดิจิทัล เปน็ การใช้กระบวนการตลาดสมยั ใหมเ่ พ่อื ให้สอดคลอ้ ง
กับพฤติกรรมผบู้ ริโภคในยุคปัจจบุ นั ของกลุ่มวิสาหกจิ ชุมชน กลุ่มชาติพันธ์ุ ซึ่งกลุ่มลูกคา้ เป้าหมายให้ความสาคญั กบั การ
ไดร้ ับประสบการณท์ ีด่ ีตา่ ง ๆ ผา่ นทางสนิ ค้าหรอื บริการตา่ ง ๆ โดยในปัจจบุ ันหรือยคุ ดิจิทลั สอื่ สังคมออนไลน์ได้กลายเปน็
เครื่องมือสาคัญของการสร้างตราสินค้า และเพ่ิมศักยภาพในการแข่งขันด้วยการตลาดดิจิทัลผ่านส่ือสังคมออนไลน์
(Kotler, Kartajaya & Setiawan, 2017 : 83) ตลอดจนเป็นแนวทางเพื่อให้เกิดแนวทางท่ีเหมาะสมในใช้สื่อสังคม
ออนไลน์ในการขายสินค้า และ เกิดทัศนคติท่ีดีต่อการขายสินค้าผ่านส่ือสังคมออนไลน์ (ธนัญชนก เบ็ญโต๊ะและคณะ,
2563 : 42-57) ดังนั้น ผู้เขียนบทความจงึ ตอ้ งการนาเสนอแนวทางการส่อื สารการตลาดผ่านส่ือสังคมออนไลน์ของกลุ่ม
วิสาหกิจชมุ ชน กลมุ่ ชาติพนั ธุ์ โดยจะนาเสนอในประเด็นดังต่อไปนี้ 1) ปจั จัยทส่ี ง่ ผลตอ่ การสื่อสารการตลาดยคุ ดิจิทลั 2)
ทฤษฎีการสือ่ สารการตลาดผา่ นสอ่ื สังคมออนไลน์ 3) การตลาดเชงิ กิจกรรม 4) ความยง่ั ยืนของกลุ่มวสิ าหกจิ ชมุ ชน และ 5)

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บัณฑติ ศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


680

กลยุทธ์การจดั การการส่ือสารตลาดในยุคดจิ ทิ ัล สาหรับกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มชาติพันธ์ุ เพ่ือเป็นแนวทางสาหรับกลุ่ม
วิสาหกิจชุมชน กล่มุ ชาติพันธุ์ และผ้ทู ่ีสนใจต่อไป

ขอบเขตกำรวิจัย

การวจิ ยั น้เี ปน็ วิจยั เชิงปฏิบัตกิ ารแบบมสี ว่ นรว่ มโดยมีขอบเขต 4 ดา้ น คอื (1) เน้อื หา เนน้ ประเดน็ การมสี ่วนรว่ ม

สมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มชาติพันธ์ุในจังหวัดแม่ฮ่องสอน แนวทางการกาหนดรูปแบบการจัดการการสื่อสารทาง

การตลาดของกลุ่ม และความเขม็ แขง็ อย่างย่งั ยนื (2) ระยะเวลาการทาวจิ ัย จานวน 8 เดือน (3) พืน้ ทใ่ี น

การวจิ ัย คือ กลุ่มวิสาหกจิ ชมุ ชน ในพนื้ ทจ่ี งั หวดั แม่ฮ่องสอน จานวน 8 กล่มุ (4) ผใู้ หข้ ้อมูล คือ สมาชิกกลุ่มวสิ าหกิจชมุ ชน

จานวน 120 คน

การวิจัยน้ีได้มีการนาแนวคิดและทฤษฎีการมีส่วนร่วมของ Erwin (1976) กล่าวถึงการมีส่วนร่วมเป็น

กระบวนการให้สมาชิกกลุ่มมีส่วนเกี่ยวข้องในการดาเนินงานด้านการพัฒนา ปรับปรุง วางแผน ร่วมคิด ร่วมทา ร่วม

ตดั สินใจ ร่วมรบั ผลประโยชนต์ ลอดจนร่วมแก้ปญั หาของกลุ่มทเี่ กดิ ขึ้น ทง้ั นี้เป็นการสร้างความเขม้ แข็งใหก้ ับสมาชิกกลุ่ม

และการแสดงออกดา้ นศักยภาพของสมาชกิ แต่ละบคุ คล ท้งั นมี้ ุมมองของ Cohen and Uphoff (1977) ไดห้ นุนเสริมการ

มีส่วนร่วม ในการทางานทั้งระดับกลุ่ม องค์การและสังคม รวมถึงบริบทและเง่ือนไขของพ้ืนที่ในการดาเนินงาน แต่

คณุ ประโยชน์ท่ไี ด้รับ คอื ความยืดหย่นุ ของการดาเนินงาน อีกทั้งชว่ ยให้ผู้มีส่วนรว่ มในการทางานเกดิ ความรู้สึกความเป็น

เจ้าของและทาให้ผู้มสี ่วนร่วมหรอื ผู้มีส่วนไดส้ ว่ นเสยี ยินยอมปฏิบัติตาม และรวมถงึ ตกลงยอมรบั ได้อยา่ งสมคั รใจ เตม็ ใจ

และสบายใจไปในท่ีสุด ผ่านผู้นากลุ่มงานหรือผู้บริหารที่ต้องมีภาวะผู้นาดาเนินการบูรณาการทรัพยากรท้องถ่ินให้เกิด

มูลคา่ เพมิ่ ดว้ ยการขบั เคลือ่ นนโยบาย แผนกลยทุ ธ์ โครงการและกิจกรรมตา่ ง ๆ ให้บังเกดิ ขน้ึ ตามเปา้ หมายทไ่ี ดก้ าหนดไว้

วิธีดำเนนิ กำรวิจัย

การวิจัยนีเ้ ปน็ การวิจัยเชงิ ปฏิบัตกิ ารแบบมสี ่วนรว่ ม โดยมขี นั้ ตอนในการศกึ ษาดังมรี ายละเอียดตอ่ ไปน้ี
1. กระบวนการวิเคราะห์บริบทการดาเนินงานของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มชาติพันธ์ุในจังหวัด
แมฮ่ อ่ งสอน โดยทาการวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายนอกและภายในของกลมุ่ วสิ าหกจิ ชมุ ชน ด้วย SWOT Analysis
คือ จดุ แขง็ (S= Strengths) จุดออ่ น (W= Weakness) โอกาส (O=Opportunities) อปุ สรรค (T=Threats) การวิเคราะห์สร้าง
กลยทุ ธด์ ้วย TOWS Matrix
2. วเิ คราะห์ปญั หาและความต้องของกลุ่มวิสาหกจิ ชุมชน กลุม่ ชาตพิ ันธุ์ในจังหวัดแม่ฮอ่ งสอน ด้วยการจดั
เวทีประชุมของกลุ่ม การสัมภาษณ์เชิงลึกสมาชิกที่มีส่วนเก่ียวข้อง การสารวจ การเย่ียมชมกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
กลุม่ ชาติพนั ธ์ุ
3. ทบทวนแนวคิดวิถีดั้งเดิมของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มชาติพันธ์ุ ภูมิปัญญาท้องถ่ิน แนวคิดวิสาหกิจชุมชน
และวรรณกรรมทเ่ี ก่ียวข้องกับงานวิจยั เพ่ือนามาบรู ณาการในการสรา้ งกรอบกระบวนการวจิ ัยและเคร่อื งมือวจิ ัย คือ แบบ
สมั ภาษณแ์ บบกึ่งโครงสรา้ ง โดยมีผเู้ ชี่ยวชาญด้านเนื้อหา จานวน 3 ท่านมาให้ข้อสงั เกตผ่านการจดั ทา IOC และมคี ่ารวม

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บัณฑติ ศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


681

เท่ากับ 7.82 ผู้นาชุมชนเพ่ือลงพื้นท่สี ัมภาษณ์/เสวนากลุ่มย่อย และลงพื้นที่กลุม่ วิสาหกิจชุมชน กลุ่มชาติพันธุ์ เพ่ือ
ประชุมแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ ของสมาชกิ คอื สมาชิกกล่มุ วิสาหกจิ ชมุ ชน กลุ่มชาติพนั ธุ์ จานวน 120 คน เพอื่ ใหไ้ ด้ข้อมลู
ทเี่ ชอ่ื ถอื ตามทีก่ าหนดไว้

4. การวิเคราะห์และสังเคราะห์เนื้อหาโดยคณะผู้วิจัยจะทาการตรวจสอบข้อมูลแบบสามเส้า (Denzin. 1970)
ประกอบดว้ ยขอ้ มูลท้ังในเอกสารและผลลัพธ์ของการสัมภาษณ์ท่คี ณะผู้วิจัยบันทึกรวบรวมได้จากแหล่งทมี่ คี วามแตกต่าง
ทั้งในด้านเวลาสถานที่และจากตัวบุคคลที่เป็นหน่วยวิเคราะห์ 1) ด้านเวลา คือ ช่วงเวลาของการสัมภาษณ์ของแต่ละ
กลุ่มเป้าหมายตามเวลาทีน่ ัดหมายตรงกัน 2) ด้านสถานท่ี คือ กลุ่มวิสาหกิจชุมชน ในจังหวัดแม่ฮ่องสอน ซึ่งเป็นสถาน
ประกอบการของกล่มุ วิสาหกจิ ชมุ ชนของแต่ละกลมุ่ 3) ดา้ นบุคคล คือ ผใู้ หข้ อ้ มูลและสมาชิกกลมุ่ วสิ าหกจิ ชมุ ชน กลมุ่ ชาติ
พันธ์ุในจังหวัดแม่ฮ่องสอน เพื่อสรุปรวบรวมและเปรียบเทียบเน้ือหาตามแนวคิดทฤษฎีท่ีได้กาหนดไว้ เพื่อร่วมกันคน้ หา
บริบทการดาเนนิ งานของกลมุ่ วสิ าหกิจชุมชนในปัจจบุ นั และวเิ คราะห์การจดั การดา้ นการสอื่ สารทางตลาดของกลมุ่ วสิ าหกจิ
ชุมชน กล่มุ ชาติพนั ธุ์ ในจังหวัดแมฮ่ อ่ งสอน โดยนาข้อมูลท่ไี ดม้ าผนวกกับการทบทวนวรรณกรรม

5. เพ่ือหารูปแบบการจัดการการส่ือสารทางการตลาดของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนผ่านการประชุมสมาชิกกลมุ่ ทกุ
เดือน และหาแนวปฏบิ ตั ิร่วมกนั ของสมาชกิ ในกลมุ่

6. สรุปผลการวิจยั เชงิ ปฏิบัติการแบบมสี ่วนรว่ ม ดงั ภาพท่ี 1 กรอบกระบวนการวจิ ยั

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บณั ฑติ ศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


682

ผลกำรวิจยั

1.วเิ คราะห์ปจั จยั ทมี่ ผี ลตอ่ ศกั ยภาพสอ่ื สารการตลาดของกลมุ่ วสิ าหกิจชมุ ชน กลมุ่ ชาตพิ นั ธ์ใุ น
จงั หวัดแมฮ่ อ่ งสอน

เครือขา่ ยในการทา้ งาน ปัญหาและความตอ้ งการของชมุ ชน/ผปู้ ระกอบการ ผู้เครอื ขา่ ยชุมชน
1) หน่วยงานภาครฐั 1) ผู้นา้ กลมุ่ วสิ าหกิจชมุ ชน
2) หน่วยงานภาคเอกชน การวิเคราะห์ตวั แปรของกลมุ่ ตวั อย่าง 2) สมาชกิ ในกล่มุ วสิ าหกิจชมุ ชน
3) สถาบันการศกึ ษา

กิจกรรมหนนุ เสรมิ ใหเ้ กดิ การเปลี่ยนแปลง ทบทวนวรรณกรรมและวิเคราะหเ์ นือหา
การจดั เวทปี ระชุม/การสมั ภาษณเ์ ชิงลึก/การสา้ รวจ/
ปจั จยั ทม่ี ีผลต่อศักยภาพสอื่ สารการตลาดของกลมุ่ วิสาหกิจ

ชมุ ชน

ผู้การมสี ว่ นรว่ มของกลุ่ม 2. สังเคราะห์ศักยภาพสอื่ สารทาง ผกู้ ารดา้ เนินงาน
ตลาดของกลมุ่ วสิ าหกจิ ชุมชน 1) ศึกษาข้อมูลจาก
วสิ าหกิจชมุ ชน
1) มีการจัดเวที FOCUS 3.พัฒนาศกั ยภาพสื่อสารทางการตลาดของกลุ่มวสิ าหกจิ ชมุ ชน กลุม่ ชาตพิ ันธใ์ุ นจังหวดั แมฮ่ ่องสอน เอกสารหลกั ฐานจาก
GROUP การทบทวนงานวิจยั
2) การมสี ่วนรว่ มชุมชนของ การวเิ คราะห์ SWOT การท้า TOWS Matrix
กลมุ่ กลมุ่ วสิ าหกจิ ชมุ ชน Business Model Canvas (BMC) 2) ศึกษาขอ้ มลู พนื ฐาน
3) สร้างเครอื ขา่ ยทังภายใน ผลลพั ธ์ของงานวิจัย ของกลมุ่ วสิ าหกิตชุม
และ ภายนอกของชมุ ชน ทัง ชน
จังหวดั แม่ฮ่องสอน 1) ชุมชนกลุ่มกลมุ่ วสิ าหกิจชมุ ชน มสี ่วนรว่ มอย่างตอ่ เนอ่ื ง
2) มีการร่วมกลุ่มทังทเี่ ปน็ ทางการ และไมเ่ ปน็ ทางการ 3) ศึกษาศกั ยภาพสือ่ สาร
3) มกี ระบวนการเรียนรูเ้ กีย่ วกบั การตลาดทยี่ ดื หยุน่ (การเรียนรภู้ ายใน+ ทางการตลาดของกลมุ่
ภายนอก และการประยกุ ต์) วสิ าหกิจชมุ ชน
4) มีรปู แบบพฒั นาศกั ยภาพสอ่ื สารทางการตลาดของกลมุ่ วสิ าหกจิ ชมุ ชน
4) เนน้ การมสี ว่ นรว่ มใน
ชมุ ชน ของกลมุ่ วสิ าหกจิ
ชุมชน ด้านการส่อื สาร
การตลาด

ส่วนผสมทาง

ภาพที่ 1 กรอบกระบวนการวจิ ยั

สรุปผลกำรวิจยั

กลยุทธ์การจดั การการสื่อสารตลาดในยคุ ดจิ ทิ ัล สาหรับกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มชาติพันธุ์ จังหวัดแมฮ่ อ่ งสอน
เป็นการใช้กระบวนการตลาด การส่ือสารทางตลาด ผ่านกระบวนการทางตลาดเชิงกิจกรรม เพ่ือให้เกิดความยงั่ ยนื ของ
กลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มชาติพันธ์ุ ซึ่งเป็นเครื่องมือทางการตลาดแนวใหม่ที่มีประสิทธิภาพมาใช้ในการสื่อสารทาง
การตลาดในยคุ ดิจทิ ลั สามารถเปลย่ี นทศั นคตขิ องลกู คา้ ต่อผลติ ภัณฑ์ของกลุม่ วิสาหกจิ ชุมชน สนิ ค้า สร้างการรับรูท้ ่ดี ีต่อ
ตราสินค้า กระตนุ้ ความต้องการซ้ือสนิ ค้าจากกลุ่มเป้าหมาย เพม่ิ ยอดขาย และสร้างชอื่ เสยี งให้ กลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่ม

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บณั ฑติ ศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


683

ชาติพันธุ์ อีกทง้ั ยังสร้างความสมั พนั ธ์ที่ดีกับลูกคา้ ในระยะยาวอีกดว้ ย ดงั น้ัน การทาการตลาดยคุ ใหม่ควรมงุ่ ให้ความสาคญั
เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมเพื่อดงึ ดูดลูกค้า โดยการสร้างเอกลกั ษณ์ สร้างความแตกตา่ งระหว่างสว่ นประสมทางการตลาด
ภาพลักษณ์ และผสมผสานการประชาสัมพันธ์ และสง่ เสริมการขายใหแ้ ตกต่างจากองคก์ ารอื่นๆ นอกจากนี้กลมุ่ วิสาหกิจ
ชุมชน กลุ่มชาติพันธุ์ ในยุคดิจิทัลควรปรับใช้การตลาดเชิงกิจกรรม และการสื่อสารทางการตลาด เพื่อให้เข้าถึงกลุ่ม
ผู้บริโภค เนือ่ งจากกลมุ่ ผบู้ รโิ ภคมีความแตกต่างกันท้ังด้านรสนิยม กจิ กรรม และการเลือกเปดิ รับสอ่ื กลมุ่ วสิ าหกิจชุมชน
กลุ่มชาติพันธจ์ุ ะตอ้ งปรบั ตวั เพอื่ ให้สามารถดารงอยไู่ ดอ้ ยา่ งยง่ั ยืนภายใตส้ ภาวะการที่เปล่ียนแปลง ไป การใช้การส่ือสาร
ทางตลาดในยคุ ดจิ ทิ ลั จึงเปน็ การเจาะกลุ่มผ้บู ริโภคเปา้ หมาย เพอื่ ใหก้ ลมุ่ วสิ าหกจิ ชมุ ชน กลุม่ ชาติพันธ์ุสามารถสนองความ
ตอ้ งการของ ผู้บรโิ ภคไดอ้ ย่างแท้จริง

กิตติกรรมประกำศ

วิจัยเล่มน้ีสาเร็จลงได้ด้วยความความช่วยเหลือของผู้มีส่วนเก่ียวข้องทุกภาคส่วน ซึ่งผู้วิจัยขอขอบคุณทาง
คณาจารย์ สาขาการจัดการและพัฒนาทรัพยากร คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ คณะผู้บริหาร
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ และผู้บริหารวิทยาลัยแม่ฮ่องสอน ท่ีได้ส่งเสริม สนับสนุนในการวิจยั ขอขอบคณุ ผบู้ ริหาร
หน่วยงานภาครัฐและเอกชนในจังหวัดแม่ฮ่องสอนที่ได้ให้ข้อมูลเพ่ือให้การวิจัยมีความสมบูรณ์มากย่ิงขึ้น ขอขอบคุณ
ประชาชนในพื้นท่ีจังหวัดแม่ฮ่องสอนทุกคนท่ีผู้วิจัยได้ทาการเก็บข้อมูลเพื่อจะได้เป็นการสะท้อนแนวคิด กลยุทธ์การ
จัดการการสื่อสารตลาดในยคุ ดิจทิ ลั สาหรับกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มชาติพันธ์ุ จังหวัดแม่ฮ่องสอนขอขอบคุณผูช้ ว่ ยวิจัย
และลูกศิษย์ผู้เปน็ ทร่ี ักทกุ คนทีใ่ หค้ วามช่วยเหลือในการลงพื้นทใี่ นการวจิ ัย และแปลภาษาทอ้ งถิ่น

สุดท้ายน้ี ผู้วจิ ัยขอขอบพระคณุ บดิ า มารดา ทเ่ี ป็นหลักสาคญั ทีส่ ุดในการให้กาลงั ใจ แก่ผูว้ จิ ยั เปน็ อยา่ งดตี ลอดมา
และผูว้ ิจัยหวงั เปน็ อยา่ งยิง่ วา่ วิจยั นี้จะเป็นประโยชนต์ อ่ ประชาชน ชมุ ชนและสังคมต่อไป

เอกสำรอ้ำงองิ

กรมการพัฒนาชมุ ชน (2560) แนวทางการจัดต้ังและพัฒนากลุม่ อาชพี , กรุงเทพฯ สไตล์ครีเอทฟี เฮา้ ส์
กัญญ์ตรัตน์ เชิดเกียรติกุล. (2560), การศึกษากระบวนการสื่อสารตลาดเชิงกิจกรรม กรณีศึกษา Cheeze Market.

(วทิ ยานิพนธศ์ ลิ ปศาสตรมหาบณั ฑติ ), คณะนิเทศศาสตร์และนวตั กรรมการจัดการ สถาบันบัณฑิตพฒั นบรหิ าร
ศาสตร์, กรงุ เทพฯ.
ชลธิศ บรรเจิดธรรม และนิตนา ฐานิตธนกร. (2559), การตลาดผ่านสื่อสังคมออนไลน์การแสดงความรับผิดชอบต่อ
สงั คมขององค์กร และความเหมาะสมของตนเองส่งผลตอ่ ความต้ังใจซอื้ ผลติ ภัณฑ์ เครอ่ื งหนงั ของ ผู้บริโภค
ในเขตกรุงเทพมหานคร. ในการประชมุ วิชาการนาเสนอ ผลงานวิจยั ระดบั บณั ฑติ ศึกษา ครัง้ ท่ี 1 2 .
กรุงเทพมหานคร: มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนคร ทพิ ย์พมิ ล เกยี รตวิ าทรี ตั นะ. (2552). Gen Y ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย
จนิ ตนาการถึงชาตวิ นั พรุ่งน้ี, กรุงเทพมหานคร.

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บณั ฑิตศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


684

ชัชชพันธ์ เล็กเจริญ. (2559), การตลาดเชิงประสบการณ์กับความภัคดีของผู้บริโภคในการชมการแสดงทอล์คโชว์
(วิทยานพิ นธ์ ศิลปศาสตรมหาบณั ฑติ ), คณะนิเทศศาสตรแ์ ละนวตั กรรมการจดั การ สถาบันบณั ฑิตพฒั นบริหาร
ศาสตร์, กรุงเทพฯ.

ณฐั วดี พัฒนโพธ์.ิ (2550), การพฒั นาศกั ยภาพกลุ่มแปรรปู ผลิตภัณฑ์จากตน้ กก บ้านโนนนาค ตาบลบวั บาน อ า เ ภ อ
ยางตลาด จงั หวัดกาฬสนิ ธ์ุ, วารสารการ บริหารปกครอง มหาวทิ ยาลยั กาฬสินธุ์, 6(ฉบับพิเศษ), 120-132.

ณรงค์รฐั ร่วมพรภาณุ. (2559), อิทธิพลของการตลาดเชงิ กิจกรรม (Event marketing) ตอ่ การตัดสินใจเลอื กเล่นเ ก ม
ออนไลนใ์ นเขตกรงุ เทพมหานคร กรณีศึกษา เกม Dota และ League of Legends. สบื คน้ เมอื่ 20 ตุ ลาคม
2565 จากhttp://dspace.bu.ac.th/handle/123456789/2093.

ธนัญชนก เบ็ญโต๊ะและคณะ. (2563), ทัศนคติของนักศึกษาต่อการขายสินค้าผ่านสื่อสังคมออนไลน์, วารสาร
วทิ ยาการจัดการ มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครปฐม, 7 (1), 02-57.

ธัญรตั น์ รตั นกุล. (2558), การสือ่ สารทางการตลาดและการรบั รูภ้ าพลกั ษณต์ ราสนิ คา้ ท่สี ่งผลตอ่ การตดั สินใจ ซื้อชุดช้ันใน
ยีห่ ้อวาโก้ของสตรีในเขตกรุงเทพมหานคร, การคน้ ควา้ อสิ ระหลกั สูตรบรหิ ารธุรกจิ มหาบัณฑิต. บณั ฑิตวิทยาลยั :
มหาวทิ ยาลยั กรุงเทพ.

นรกฤต วันต๊ะเมล.์ (2557), การสื่อสารการตลาด. (พิมพ์ครั้งท่ี 2). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ บุหงา
ชัยสุวรรณ. (2558), การสอื่ สารการตลาดผา่ นสอ่ื สงั คม: ภาพรวมและกรอบแนวความคิด, วารสารนิเทศศ า ส ต ร์
และนวัตกรรม, นดิ า้ 2 (1), 173-198.

พิมลพรรณ จันทร์เจริญ และกิตติมา ชาญวิชัย. (2559), กลยุทธ์การส่ือสารการตลาดแบบบูรณาการเพ่ือส่งเสริม
การตลาดของ สถาบันแนะแนว การศึกษาต่อต่างประเทศในจังหวัดเชียงใหม่ (ฉบับพิเศษ) , วารสาร
บริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตรแ์ ละการสอ่ื สาร, 11, 73-86.

เยาวภา บัวเวช, ทิวาพร ทราบเมืองปัก. (2563), การรู้เท่าทันสื่อ ประโยชน์และการนาไปใช้ กรณีศึกษา นักศึกษา
จีน มหาวิทย าลัย ราชภัฏน ครปฐ ม, Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat
University, 7 (1), 107-120.

วรวิทย์ ประสิทธิผ์ ล. (2557), หลกั การหลาด, กรงุ เทพมหานคร: มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนคร
ศุภกิตติ์ โพธ์ิสุวรรณ. (2561), กลยุทธ์การตลาดเชิงกิจกรรม (Event Marketing) ที่ส่งผลต่อการเลือกเล่นกีฬา

อิเล็กทรอนิกส์ (E-Sport) ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร กรณีศึกษา เกม ROV (การค้นคว้าอิสระ
บริหารธรุ กจิ มหาบณั ฑติ ) สาขาบรหิ ารรุ กจิ มหาวทิ ยาลัยกรงุ เทพ, กรุงเทพฯ.
Chancharoen Rud Chanwichal, K. (2 0 1 6 ) . An integrated Marketing Communications Strategies for
Marketing Promotion in International Education Agencies in Chiang Mai Province (special
issue). Journal of Business Economics and Communications, 11,73-86.
Cheba, K. Bak, l, & Szopik-Depczyniska, K. (2 0 2 0 ) , Sustainable Competitiveness as a New
Economic Category Definition and Measurement Assessment. Technological and
Economic Development of Economy, 26(6), 1399-1421.
Kotler, P. & Keller, KJ (2009), Marketing management. (6th ed.). Ney Jersey: Pearson Prentice Hall.

การประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บัณฑติ ศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


685

Kotler, P., Kartajaya. H. & Setiawan, L. (2 0 1 7 ) . Marketing. Translated by Nongluck Jariwathana.
Bangkok: Nation Books. [in Thai]

Kotler, P & Armstrong, G. (1999), Principle of Marketing. (8th ed.). New Jersey: Prentice Hall.
Shimp., T. A. (2 0 0 0 ) , Advertising promotion. Supplemental aspects of integrated marketing

communications. (5th ed). California: Harcourt College Publishers.
Valchovska, S. & Watts, G. (2013). Community-based rural enterprise in the UK- model development

and success factors. Retrieved October 20, 2022, from http://enterise.info/
lessons/community-enterprise-development.pdf
Wronka, M. (2013). Analyzing the success of social enterprises-critical success factors Perspective.
Retrieved October 20, 2022, from http://www.toknowpress.net/ISBN/978- 961-6914-02-
4/papers/ML13 296.pdf

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ที่ ระดบั บณั ฑติ ศึกษา ประจําปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


686

กำรพัฒนำทรพั ยำกรมนษุ ย์สำหรบั เกษตรกรรุน่ ใหม่ในจงั หวดั เชยี งใหม่
Human Development for New Generation of Farmers in Ching Mai

ณฐั พล อมรชัยยำพทิ กั ษ์
Nuttapol Amornchaiyapituk

สาขาการจดั การ และ พัฒนาทรพั ยากร คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลยั แมโ่ จ้ จงั หวัดเชยี งใหม่ ประเทศไทย 50290
Resources Management and Development, Faculty of Agricultural Production,
Maejo University, Chiangmai Province, Thailand 50290
Email: [email protected]

บทคดั ย่อ

ปัจจบุ ันคนรุ่นใหม่เป็นกาลังสาคญั ในการพัฒนาประเทศเป็นอยา่ งมาก เน่ืองจากคนรุ่นใหม่ถือได้ว่ามีความคิดท่ี
ทนั สมัย พรอ้ มปรับเปลยี่ น เรยี นรู้ และพัฒนาตัวเองตลอดเวลา การสนับสนุนใหก้ ารพฒั นาเกษตรกรรุ่นใหม่ ดว้ ยโครงการ
อบรมเกษตร Young Smart Farmer จึงเป็นโครงการอบรมเกษตรท่ีได้จัดต้ังข้ึนเพ่ือส่งเสริมคนรุ่นใหม่ที่สนใจอาชีพ
เกษตรกร บคุ คลทเี่ ข้ารบั การอบรมจากโครงการอบรมเกษตร นอกจากไดร้ บั ความรู้เกยี่ วเร่ืองเกษตรกรรมขัน้ พ้ืนฐานแล้ว
ยังเน้นให้ลงมือปฏิบัตจิ ริง โดยให้คนรุน่ ใหมใ่ ห้ดึงศักยภาพของตนเอง ในเชิงความคิดรเิ ร่ิมสร้างสรรค์ กล้าคิดและกลา้ ลง
มือทา นามาปฏิบัติใช้กับอุตสาหกรรมเกษตรกรรมและการทาเกษตรกรรมยคุ ใหม่ เกษตรกรรุ่นใหม่จะต้องสามารถนา
เทคโนโลยแี ละนวัตกรรมที่ทันสมัยมาประยุกตใ์ ช้และกอ่ ให้เกิดประโยชน์สงู สุดเพ่อื เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพ คณุ ภาพ และมูลคา่
ให้กับผลผลิตและการตลาด โดยการศึกษาเรอ่ื งการพัฒนาทรพั ยากรมนุษยส์ าหรบั เกษตรกรรุ่นใหม่ในจงั หวดั เชยี งใหม่ มี
วัตถุประสงค์ เพ่ือพัฒนาทรัพยากรมนุษย์สาหรับเกษตรกรรุ่นใหม่ในจังหวัดเชียงใหม่ ให้เป็นผู้ประกอบการเกษตร ซึ่ง
ทาการศกึ ษาจากเกษตรกรรนุ่ ใหม่ ในพื้นทจี่ ังหวดั เชียงใหมซ่ ึง่ เปน็ กลมุ่ เปา้ หมายหลักของการวิจยั และขอ้ มูลทตุ ยิ ภมู ิ ท่ีได้
จากการรวบรวมเอกสาร การศึกษาแนวคดิ ทฤษฎี และงานวจิ ัยทเ่ี กีย่ วข้อง ผลการศึกษาพบว่า เกษตรกรรนุ่ ใหม่ในพื้นท่ี
จงั หวัดเชียงใหม่ สมาชกิ ส่วนใหญ่ปลูกพืชเศรษฐกิจเปน็ หลัก มีการรวมกล่มุ เพอ่ื แลกเปลี่ยนความรู้ การสร้างเครอื ขา่ ยและ
ขยายเครือข่าย เช่น กาแฟเทพเสด็จ ที่ขยายเครือข่ายและช่วยเกษตรกรในพ้ืนท่ีให้มีรายได้ นอกจากนี้การยกระดับการ
ผลิตสินค้าเกษตรแปลงใหญ่ ทาให้เกิดการบ่มเพาะเกษตรกรรุ่นใหม่ ซึ่งกาแฟเทพเสด็จดาเนินการและบริหารงานใน
รูปแบบวิสาหกจิ ชมุ ชนกาแฟสดแมต่ อนซ่งึ นบั เปน็ ศนู ย์เครือขา่ ยหนึง่ ที่เชือ่ มโยงการทางานร่วมกันในระดับพ้ืนทีท่ ง้ั ดา้ นองค์
ความรู้ การผลิตและการตลาด

คำสำคัญ: การพฒั นาทรัพยากรมนษุ ย์ เกษตรรนุ่ ใหม่ เชียงใหม่

การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ ไทย ลาว ครงั้ ท่ี ระดบั บณั ฑิตศึกษา ประจาํ ปี ການປະຊຸມສໍາມະນາທາງວຊິ າການ ໄທ ລາວ ຄງັ້ ທີ ລະດບັ ປະລນິ ຍາໂທ ແລະ ປະລນິ ຍາເອກ ປະຈາໍ ປີ


Click to View FlipBook Version