The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประชุมวิชาการการนำเสนอผลงาน ณ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) Engineering Education and Blended Learning to the NEXT-GENeration June 9-10, 2022

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ประชุมวิชาการการนำเสนอผลงาน ณ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) Engineering Education and Blended Learning to the NEXT-GENeration June 9-10, 2022

ประชุมวิชาการการนำเสนอผลงาน ณ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) Engineering Education and Blended Learning to the NEXT-GENeration June 9-10, 2022

Keywords: ประชุมวิชาการการนำเสนอผลงาน ณ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) Engineering Education and Blended Learning to the NEXT-GENeration June 9-10, 2022

การประชุมวิชาการนาํ เสนอผลงานนักศึกษา คะแนนเฉล่ยี 2.51-3.50 หมายถึง มรี ะดบั ความพึงพอใจใน
728 NCTechED-Student Workshop 2022
ระดบั ปานกลาง
Juกnาeร1ว0ิจ,ัย2ค0ร22้งั น้ี ผู้วิจัยไดพ้ ฒั นาเครื่องมือเพอ่ื ใชใ้ นการวจิ ยั
ดังน้ี คะแนนเฉลี่ย 1.51-2.50 หมายถงึ มรี ะดับความพงึ พอใจใน

3.1.1 แบบสอบถามเก่ียวกับสถานภาพของผ้ตู อบ ระดบั น้อย
แบบสอบถามมลี ักษณะเป็นแบบสำรวจรายการ (Check-
list) คะแนนเฉล่ยี 1.00-1.50 หมายถงึ มรี ะดบั ความพงึ พอใจใน

3.1.2 แบบสอบถามประเมินความพึงพอใจของ ระดบั นอ้ ยทส่ี ุด
เกษตรกรตำบลหนองไผ่ หมู่ 1 จังหวัดอดุ รธานี ทมี่ ีตอ่ แอป
พลิเคชนั ควบคุมอปุ กรณ์โรงเรือนเพาะปลูก Modela IoT 3.4 สถติ ิท่ใี ชใ้ นกำรวิเคราะหข์ อ้ มูล
3.2 วธิ กี ารเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล
การวจิ ัยคร้ังนี้ ผ้วู จิ ัยได้กำหนดวธิ กี ารเก็บรวบรวมข้อมูล การดำเนินการวิเคราะห์ข้อมลู คร้งั น้ใี ชส้ ถติ ิพื้นฐาน เชน่
ดงั น้ี
3.2.1 คณะผูด้ ำเนินโครงการไดพ้ ฒั นา/ปรบั แก้ไข คะแนนเฉลย่ี คะแนนเฉลยี่ ร้อยละ ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน
แบบสอบถามตามคำแนะนำของผเู้ ชยี่ วชาญ และอาจารยท์ ่ี
ปรกึ ษา กระท้งั เสร็จสมบูรณ์ และคา่ ดัชนคี วามสอดคลอ้ งตามสตู ร ดงั น้ี
3.2.2 คณะผดู้ ำเนนิ โครงการ ได้เก็บรวบรวมขอ้ มูลด้วย
ตวั เอง ซง่ึ เปน็ แบบสอบถามความพึงพอใจของเกษตรกร 3.4.1. คา่ คะแนนเฉลยี่ (Mean) คำนวณจากสูตร
ชาวบ้านตำบลหนองไผ่ หมู่ 1 จังหวดั อดุ รธานี มีต่อแอป
พลเิ คชนั ควบคมุ อปุ กรณโ์ รงเรอื นเพาะปลูก Modela IoT ซึ่ง (บญุ ชม ศรีสะอาด.2545:106)
ไดร้ ับแบบสอบถามประเมินความพึงพอใจคนื จำนวน 70
ฉบบั คิดเป็นรอ้ ยละ 100 ของแบบสอบถามทส่ี ่งไปทง้ั หมด X = x (1)
3.3 การวิเคราะห์ขอ้ มูลและการแปลผล n
การวิจัยครงั้ น้ี ผูว้ ิจัยไดท้ ำการวเิ คราะหข์ อ้ มูลและการแปล
ผล โดยกำหนดเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนความพงึ พอใจตอ่ เมอ่ื X หมายถงึ คะแนนเฉลย่ี
เกษตรกรชาวบ้านตำบลหนองไผ่ ดังนี้
x หมายถงึ ผลคะแนนท้ังหมด
คะแนน 1 หมายถงึ มรี ะดบั ความพึงพอใจนอ้ ยทส่ี ุด
คะแนน 2 หมายถงึ มรี ะดบั ความพึงพอใจนอ้ ย n หมายถึง จำนวนประชากร
คะแนน 3 หมายถึง มรี ะดบั ความพึงพอใจปานกลาง
คะแนน 4 หมายถึง มรี ะดบั ความพงึ พอใจมาก 3.4.2 ค่าส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (Standard deviation :
คะแนน 5 หมายถงึ มรี ะดับความพึงพอใจมากที่สุด
และการแปลค่าเฉลยี่ ของความพงึ พอใจตอ่ เกษตรกร S.D.) คำนวณจากสตู ร (บุญชม ศรีสะอาด.2545:105)
ชาวบา้ นตำบลหนองไผ่ ดงั นี้
คะแนนเฉลีย่ 4.51-5.00 หมายถงึ มีระดับความพงึ พอใจใน S.D. = nx2 −(x)2
ระดับ ดมี าก
คะแนนเฉลย่ี 3.51-4.50 หมายถึง มีระดบั ความพงึ พอใจใน n( n −1) (2)
ระดับ ดี
เมือ่ S.D. หมายถึง คา่ เบี่ยงเบนมาตรฐาน
NCTechEd D15-2022  x หมายถึง ผลรวมกำลงั สองของคะแนน
 x2 หมายถงึ ผลรวมของคะแนนยกกำลงั สอง

n หมายถึง จำนวนคน

3.4.2 คา่ ดชั นีความสอดคลอ้ ง (IOC) คำนวณสูตรจาก
(สนพุ งษ์ จริ ชวาลวสิ ทิ ธ.์ิ 2558:37-38)

IOC =∑ / N (3)

เมื่อ IOC หมายถึง คา่ ดชั นีความสอดคล้อง


ΣR หมายถงึ ผลรวมของคะแนนความ การประชุมวชิ าการนําเสนอผลงานนักศึกษา
คิดเหน็ ของผ้เู ช่ียวชาญ NCTechED-Student Workshop 2022 729

N หมายถงึ จำนวนผเู้ ช่ยี วชาญ สารอาหารได้เพิ่มไปกับการลดน้ำซึ่งจะถูกผสมJuรnวeม1ก0ับ,2น0้ำ22
ในถงั เก็บน้ำของโรงเรอื นดงั แสดงในรปู ที่ 2

4. ผลการดำเนนิ โครงการ รปู ที่ 2 วดั อณุ หภูมแิ บบกนั นำ้
การศึกษาโครงการการพัฒนาแอปพลิเคชันควบคุมอุปกรณ์
โรงเรือนเพาะปลกู Modela IoT คณะผู้จัดทำโครงการได้นำ จากภาพที่ 4.3 แอปพลิเคชันควบคุมการวัดความชื้นอากาศ
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลในการตอบแบบสอบถามพึงพอใจ การทำงานอณุ หภมู ิภายนอกโรงเรือนพร้อมวัดความชื้นเพ่ือ
ของผู้ได้ทดลองใช้โครงการผู้วิจัยได้นำเสนอผลการ เปรียบเทียบคุณภาพของโรงเรือน ตัวเซนเซอร์อุณหภูมิ
วเิ คราะห์ขอ้ มลู ตามลำดับ ดังน้ี อากาศและจะแสดงผลออกมาเป็น ร้อยละ ซึ่งถ้าอุณหภูมิ
4.1 ผลการวิเคราะห์การพฒั นาแอปพลิเคชัน ภายนอกสูงกว่า 35 องศา ไม่ควรรดน้ำให้กับพืช เนื่องจาก
จากภาพท่ี 4.1 แอปพลิเคชนั ควบคมุ เซนเซอรร์ ะดบั น้ำแบบ จะทำให้พืชใบไหม้ได้ ส่วนความชื้นในอากาศเป็นตัวบอก
ไม่สมั ผสั การทำงานเมอ่ื มรี ะดับน้ำถงึ จดุ ทีด่ ดิ ตั้งเซนเซอร์ การผลิใบเนื่องจากความชื้นในอากาศ น้อยกว่า 45 % ใบไม้
ไมน่ อ้ ยกว่า 20 % ของถังเก็บนำ้ ท้ังหมดเซนเซอร์จะแสดง หรอื พืชจะมกี ารชะลอในการเจรญิ เติบโตดังแสดงในรูปที่ 3
ค่าที่พบในแอปพลิเคชันและยอมให้ปมั๊ นำ้ ทำงานซ่ึงเป็น
การลดความเสียหายใหแ้ กร่ ะบบปัม๊ น้ำ ต่ำกวา่ 20 % ของดัง
เกบ็ นำ้ เมื่อถงึ เวลาการทำงานจะมกี ารจะมกี ารแจง้ เตือนดว้ ย
การ เปดิ – ปดิ สวิตชป์ ๊มั นำ้ ตดิ ต่อกนั เปน็ ระยะ 1 - 5 นาที
ดงั แสดงในรปู ท่ี 1

รูปที่ 1 แอปพลิเคชนั ควบคมุ เซนเซอรร์ ะดับนำ้ แบบไม่ รูปท่ี 3 แอปพลเิ คชันควบคมุ การวดั ความชน้ื อากาศ
สมั ผัส

จากภาพที่ 4.2 การทำงานวัดอุณหภูมิของดินหรือวัสดุปลูก จากภาพที่ 4.4 แอปพลิเคชันควบคุมการวัดความชื้นในดิน
อื่นโดยการนำเซนเซอร์เสียบเข้าในดินแล้วค่าจะแสดงผล การทำงานเมื่อค่าความชื้นที่มากกว่า 60 % ไฟ LED สีฟ้า
ในแอปพลิเคชันจะแสดงเป็น องศา เพื่อนำค่านี้มาประกอบ หน้าประตูจะติด เพื่อบอกสถานะความชื้นของดิน เหมาะ
กับการทำงานเปิดของปั๊มน้ำ เมื่อดินมีอุณหภูมิสูงกว่าจะ สำหรับการเพาะปลูก ซึ่งถ้าน้อยกว่า 60 % ลงมา แอปพลิเค
บอกถึงค่าสารอาหารหลักในดินลดลง ในการเพ่ิม

NCTechEd D15-2022


การประชุมวชิ าการนาํ เสนอผลงานนกั ศกึ ษา เพศหญิง จำนวน 36 คน คิดเป็นร้อยละ 51.5 และเป็นเพศ
730 NCTechED-Student Workshop 2022 ชาย จำนวน 34 คน คิดเป็นร้อยละ 48.5 ส่วนใหญ่มีช่วง
อายทุ ่ี 20 – 40 ปี จำนวน 35 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 50.0 ช่วง
Juชnันeจ1ะ0ส,2ง่ั0ใ2ห2ป้ ั๊มน้ำทำงานเป็นระยะ เพือ่ ทำการปรับความชื้น อายุ 40 – 60 ปี จำนวน 32 คน คิดเป็นร้อยละ 45.7 และช่วง
ของดิน เพื่อให้เหมาะสำหรับการเพาะปลูกดังแสดง อายุไม่เกิน 20 ปี มีจำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 4.3 และไม่
ในรปู ท่ี 4 มีผูต้ อบแบบสอบถามทีอ่ ยชู่ ่วงอายุ 60 ปีขน้ึ ไป

ตารางท่ี 2 วิเคราะห์ระดบั ความพึงพอใจของผูต้ อบ

แบบสอบถามทีม่ ีต่อโครงการการพัฒนาแอปพลเิ คชัน

ควบคมุ อุปกรณ์โรงเรือนเพาะปลกู Modela IoT

รายการประเมิน X S.D. ความ

คดิ เหน็

รูปท่ี 4 แอปพลเิ คชันควบคมุ การวดั ความช้นื ในดิน 1. กระบวนการในการติดตั้ง 4.55 0.510 ดีมาก

ซอฟต์แวรส์ ะดวกและงา่ ยต่อ

4.2 ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพแบบสอบถามความพึง ผู้ใช้

พอใจ คณะผู้จัดทำโครงการได้นำข้อมูลในการตอบ 2. แอปพลิเคชนั มีการจดั วาง 4.65 0.489 ดมี าก

แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ได้ทดลองใช้โครงการ รูปแบบโครงรา่ งของหน้าจอได้

จำนวน 70 คน ซึ่งเก็บแบบสอบถามได้ครบคิดเป็นร้อยละ อย่างเหมาะสม

100 ของแบบสอบถามทั้งหมด และได้นำข้อมูลที่ได้มา 3. การใช้สญั ลกั ษณห์ รอื รูปภาพ 4.70 0.470 ดมี าก

วิเคราะห์และนำเสนอการวิเคราะห์ในรูปแบบตาราง ในการสอ่ื ความหมายได้

ประกอบการบรรยาย จำแนกเปน็ 2 ตอน ดงั นี้ เหมาะสม

4. แอปพลเิ คชนั มีรูปแบบการ 4.60 0.598 ดมี าก

ตารางที่ 1 วเิ คราะห์สถานภาพทั่วไปของผูต้ อบ นำเสนอทีง่ า่ ยตอ่ การใช้งาน

แบบสอบถาม 5. แอปพลเิ คชนั ทำงานไดต้ าม 4.70 0.470 ดีมาก

ขอ้ มลู ท่ัวไป จำนวน รอ้ ยละ ความตอ้ งการของผู้ใชง้ าน

เพศ 6. คำส่งั และฟังก์ชันทำงานได้ 4.60 0.503 ดมี าก

ชาย 34 48.5 อย่างถกู ต้องครบถว้ นเชื่อถือได้

หญงิ 36 51.5 7. การประมวลผลของแอปพลเิ ค 4.55 0.605 ดีมาก

รวม 70 100.0 ชันมีความรวดเรว็

ช่วงอายุ 8. การเลอื กอปุ กรณ์งา่ ยตอ่ การ 4.20 0.696 ดี

ไม่เกนิ 20 ปี 3 4.3 บำรุงรักษา

20 – 40 ปี 35 50 9. การวิเคราะหค์ า่ ของเซนเซอร์ 3.85 0.745 ดี

40 – 60 ปี 32 45.7 ตา่ ง ๆ มีประสทิ ธิภาพ

60 ปี ข้นึ ไป - - 10.ข้อมูลทไ่ี ด้จากแอปพลเิ คชัน 4.80 0.410 ดมี าก

รวม 70 100 สามารถชว่ ยทา่ นแก้ปญั หาได้

จากตารางท่ี 1 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่ อยา่ งรวดเรว็

ค่าเฉลย่ี รายการประเมิน 4.52 0.609 ดมี าก

NCTechEd D15-2022


จากตารางที่ 2 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีระดับความ การประชุมวชิ าการนําเสนอผลงานนักศกึ ษา
พึงพอใจต่อการใช้งานแอปพลิเคชันควบคุมอุปกรณ์ NCTechED-Student Workshop 2022 731
โรงเรือนเพาะปลูก Modela IoT จากรายการการประเมิน
พบว่า ประเด็นที่มีความพึงพอใจมากไปน้อยได้ดังน้ี มีจำนวน 3 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 4.3 และไม่มผี ูต้ อบJune 10,2022
ประเด็นข้อมูลที่ได้จากแอปพลิเคชันสามารถช่วยท่าน แบบสอบถามทอ่ี ยชู่ ว่ งอายุ 60 ปีขน้ึ ไป
แก้ปัญหาได้อย่างรวดเร็ว มีความพึงพอใจในระดับ ดีมาก
ที่ค่าเฉลี่ย 4.80 ถัดมาการใช้สัญลักษณ์หรือรูปภาพในการ 5.1.2 ด้านชดุ ควบคุม App ด้วยเครือขา่ ยอนิ เตอร์เน็ตเพ่อื
สือ่ ความหมายไดเ้ หมาะสม และแอปพลิเคชนั ทำงานไดต้ าม ชุมชน Internet of things (IoT)
ความต้องการของผู้ใช้งานมีระดับความคิดเห็นเท่ากันที่
ระดบั ดมี าก ที่คา่ เฉลี่ย 4.70 ถดั มาแอปพลิเคชนั มกี ารจัดวาง จากการศึกษาระดบั ความพึงพอใจของผูใ้ ช้แอปพลิเคชัน
รูปแบบโครงร่างของหน้าจอได้อย่างเหมาะสม มีระดับ ควบคุมอุปกรณ์โรงเรือนเพาะปลูก Modela IoT พบว่า
ความพึงพอใจระดับ ดีมาก ที่ค่าเฉลี่ย 4.65 ถัดมา ผู้ตอบแบบสอบถามมีระดับความพึงพอใจต่อโครงการ
แอปพลเิ คชนั มีรูปแบบการนำเสนอท่ีงา่ ยต่อการใชง้ าน และ การพัฒนาแอปพลิเคชันควบคุมอุปกรณ์โรงเรือนเพาะปลูก
คำสั่งและฟังก์ชันทำงานได้อย่างถูกต้องครบถ้วนเชื่อถือได้ Modela IoT ในภาพรวมมีความพึงพอใจระดับ ดีมาก
มีความพงึ พอใจเท่ากนั ในระดับ ดมี าก ทค่ี ่าเฉล่ีย 4.60 ถัดมา ที่ค่าเฉลี่ย 4.52 โดยเรียงลำดับประเด็นที่มีความพึงพอใจ
กระบวนการในการติดต้ังซอฟต์แวร์สะดวกและง่ายต่อผ้ใู ช้ มากไปน้อยได้ดังนี้ ในการติดตั้งซอฟต์แวร์สะดวกและง่าย
และ การประมวลผลของแอปพลิเคชันมีความรวดเร็ว ต่อผู้ใช้ และ การประมวลผลของแอปพลิเคชันมีความ
มีระดับความพึงพอใจที่เท่ากันในระดับ ดีมาก ที่ค่าเฉลี่ย รวดเร็ว การเลือกอุปกรณ์ง่ายต่อการบำรุงรักษา และ
4.55 การเลือกอุปกรณ์ง่ายต่อการบำรุงรักษา มีระดับความ การวิเคราะห์ค่าของเซนเซอร์ต่าง ๆ มีประสิทธิภาพ
พึงพอใจระดับ ดี ที่ค่าเฉลี่ย 4.20 และการวิเคราะห์ค่าของ สอดคล้องกับ [2] ได้ทำการศึกษาวิจัยเรื่องการพัฒนาระบบ
เซนเซอร์ต่าง ๆ มปี ระสิทธิภาพ มีระดับความพงึ พอใจระดับ เปิด - ปิด ไฟด้วยไมโครเซนเซอร์ควบคู่กับแอพพลิเคชัน
ดี ที่ค่าเฉลี่ย 3.85 ค่าเฉลี่ยรายการประเมินทั้ง 10 ข้อ บนสมาร์ทโฟนเป็นพัฒนาระบบด้วยเทคโนโลยี Internet of
ผลการศึกษาความพึงพอใจต่อการใช้แอปพลิเคชันควบคุม Things (IoT) โดยใช้ไมโครคอนโทรเลอร์ Node MCU v.2
อุปกรณ์โรงเรือน Modela IoT ของเกษตรกรตำบลหนองไผ่ เป็นตวั คุมใชเ้ ซน็ เซอรเ์ สยี งให้การสั่งการเปิดไฟฟ้าด้วยเสียง
ในภาพรวมมีความพึงพอใจระดับ ดีมาก ทค่ี ่าเฉลีย่ 4.52 ปรบมือ ใช้โปรแกรม Arduino IDE สำหรับเขียนคำส่ัง
โปรแกรมควบคุมการทำงานของฮาร์ดแวร์ และใช้แอป
5. บทสรปุ พลิเคชัน Blynk บนสมาร์ทโฟนในการคุมอุปกรณ์ผ่านทาง
5.1 ผลการวิจัย อินเทอรเ์ น็ต เพือ่ ตอบสนองความต้องการของมนุษย์ในการ
ที่จะควบคุมการเปิด-ปิดไฟฟ้าในกรณี ที่ต้องใช้เวลาในการ
5.1.1 ด้านข้อมลู ทั่วไปของกล่มุ ตัวอยา่ งทตี่ อบ เดินมา เปิด – ปิด ไฟฟ้าที่สวิทซ์ให้ไม่เสียเวลาการ เปิด-ปิด
แบบสอบถามผ้สู อบแบบสอบถามสว่ นใหญ่เพศ เพศหญงิ ไฟฟ้าสามารถทำได้โดยทันทีโดยใช้เสียงผ่าน ไมโคร
จำนวน 36 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 51.5 และเปน็ เพศชาย จำนวน เซนเซอร์ และได้สร้างแอปพลิเคชันขึ้นมาเพื่อตรวจสอบ
34 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 48.5 ส่วนใหญ่มีชว่ งอายุ ท่ี 20 – 40 ปี สถานะของไฟฟ้าว่าอยู่สถานะ เปิด - ปิด สามารถควบคุม
จำนวน 35 คน คิดเป็นร้อยละ 50.0 ชว่ งอายุ 40 – 60 ปี มี ไฟฟ้าให้ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพและเพื่อที่จะให้เป็น
จำนวน 32 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 45.7 และช่วงอายไุ มเ่ กนิ 20 ปี การประหยดั พลงั งานและ สะดวกต่อการใช้งานอกี ดว้ ย การ
ประเมินคุณภาพของระบบเปิด-ปิดไฟด้วยไมโครเซนเซอร์
ควบคู่กับแอพพลิเคชันบนสมาร์ทโฟน มีการประเมิน
2 รูปแบบ คือ การประเมินประสิทธิภาพของระบบโดย
ผู้เชี่ยวชาญ และประเมินความพึง พอใจของผู้ใช้งานผลการ
ประเมินโดยผู้ใช้งานที่เกี่ยวข้องพบว่าประสิทธิภาพของ

NCTechEd D15-2022


การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานนกั ศึกษา
732 NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022 ระดับที่ดี ( X = 4.10) ส่วนผลการ เดือน ถ้าเปรียบเทียบกันแล้วการทำเกษตรแบบดั้งเดิมจะมี
ระยะเวลาคืนทุนเร็วกว่า แต่การที่เราทำการศึกษาเก็บข้อ
ระบบที่ได้พัฒนาอยู่ใน เป็นเพียงแค่ต้นแบบ เพื่อหาหน่วยฐานไปใช้ ในการ
เปรียบเทียบกับการทำการเกษตรในพื้นที่ใหญ่กว่า โดยให้
ประเมินความพึงพอใจต่อการใช้งานเครื่องมือ โดยผู้ใช้งาน สันนิษฐานว่าน้ำหนักของผักสดแปร ผันตามพื้นที่ที่ใช้ใน
การปลูก จากการนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์
พบว่าผู้ใช้งาน มีความพึงพอใจต่อเครื่องมือที่พัฒนาข้ึน ใชก้ ับระบบสมารฟ์ ารม์ เมือ่ เพิ่มพ้ืนท่ปี ลูก เป็น 20 โรงเรือน
ระยะเวลาคืนทุนจะสั้นลง โดยระยะเวลาคืนทุนของ
โดยรวมอยใู่ นระดับดี ( X = 4.19) ผกั กรนี โอค๊ คือ 6.09 เดือน และระยะเวลาคนื ทุนของผักเรด
โอ๊ค คือ 6.74 เดือน และถ้าสามารถควบคุมคุณภาพของผัก
6. ขอ้ เสนอแนะ และได้ มาตรฐานการปฏิบัติการทางการเกษตรที่ดี (Good
จากการศึกษาระดับความพึงพอใจของผู้ใช้แอปพลิเคชัน Agricultural Practices : GAP) รับรอง ก็จะ สามารถขายผัก
ควบคุมอุปกรณ์โรงเรือนเพาะปลูก Modela IoT พบว่า ไดร้ าคาทีส่ ูงขึ้นอีก ระยะเวลาคนื ทุนกจ็ ะย่งิ ส้นั ลงไปอกี
ผู้ตอบแบบสอบถามมีระดับความพึงพอใจต่อโครงการการ
พัฒนาแอปพลิเคชันควบคุมอุปกรณ์โรงเรือนเพาะปลูก เอกสารอ้างอิง
Modela IoT การวิเคราะห์ค่าของเซนเซอร์ต่าง ๆ [1] ลสี ถาพรวงศา ก.ป., 2560, “สามารถทำการดว่ นเพอื่
มีประสิทธิภาพ พบว่า มีความพึงพอใจระดับ ดี ที่ค่าเฉลี่ย
3.85 เป็นค่าเฉลี่ยที่น้อยที่สุด โดยคณะผู้ศึกษาพัฒนา แอป เข้าถงึ Internet of Things (IoT)W, วารสาร กสทช , ปที ่ี
พลิเคชันควบคุมอุปกรณ์โรงเรือนเพาะปลูก Modela IoT 2017, ฉบบั ท่ี 1, หนา้ 24-33
จะนำไปปรับปรุงแก้ไข ด้านการวิเคราะห์ค่าของเซนเซอร์ [2] อภิรกั ษ์ พนั ธุพ์ ณาสกุล, ฟิตรี ยะปา อลั นสิ ฟาร์ เจะดอื
ต่าง ๆ เช่น โดยมีการใช้กล้องบันทึกภาพการจับความ ราแม, 2563, “การพัฒนาระบบเปดิ -ปิดไฟดว้ ยไมโค
เคลื่อนไหวหรือการเจริญเติบโตของพืช สิ่งแวดล้อมอื่นท่ี รเซนเซอร์ควบคกู่ ับ
ผลกระทบต่อพืชเพาะปลูก สอดคล้องกับ [3] ได้ แอพพลิเคชนั บนสมารท์ โฟน”, การประชมุ หาดใหญ่
ทำการศึกษาวิจัยเรอื่ ง โรงเรอื นต้นแบบ (สมาร์ทฟาร์ม) เพ่ือ วชิ าการระดบั ชาติและนานาชาติ, ครัง้ ที่ 11, ม.ป.ป.,
การจัดการวิสาหกิจชุมชน โครงงานวิจัยฉบับนี้ มหาวทิ ยาลยั หาดใหญ่, หน้า 994-1012
มวี ตั ถุประสงค์ เพอ่ื แก้ปญั หาด้านต่างๆ ให้กับเกษตรกรและ [3] นายจติ รภณ พนั ธ์ศร,ี นายธนา พรหมสาขา ณ
เตรยี มพร้อม ในการก้าวเขา้ สกู่ ารทำเกษตรยุค 4.0 การศึกษา สกลนคร, 2562, “โรงเรือนต้นแบบ (สมาร์ทฟารม์ )
ครั้งนี้มุ่งเน้นศึกษาผลของการทำการเกษตรยุคใหม่ เพอื่ การจัดการวสิ าหกิจชมุ ชน”, วิทยานิพนธป์ รญิ ญา
ด้วยระบบสมาร์ทฟาร์ม โดยทำการศึกษาด้วยกัน 2 ประเด็น มหาบัณฑติ สาขาวิชาวศิ วกรรมอตุ สาหกรรม คณะ
ประเด็นแรก คือ เปรียบเทียบการทำ การเกษตรด้วยระบบ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่
สมาร์ทฟาร์มกับการทำการเกษตรแบบดั้งเดิม ประเด็น
ที่สอง คือ การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของระบบสมาร์ท
ฟาร์มที่ใช้ในการให้น้ำในโรงเห็ด จากผลการศึกษาพบว่า
ในประเด็นแรก การทำการเกษตรด้วยระบบสมาร์ทฟาร์ม
ให้ผลผลิต ดีกว่าการทำการเกษตรแบบดั้งเดิม โดยการทำ
การเกษตรด้วยระบบสมาร์ทฟาร์มมีระยะเวลาคืนทุน จาก
การปลูกผักกรีนโอ๊ค คือ 12.46 เดือน ระยะเวลาคืนทุนจาก
การปลูกผักเรดโอ๊ค คือ 13.04 เดือน ส่วนการเกษตรแบบ
ดั้งเดิมมีระยะเวลาคืนทุนจากการปลูกผักกรีนโอ๊ค คือ 9.82
เดือน ระยะเวลาคืน ทุนจากการปลูกผักเรดโอ๊ค คือ 10.15

NCTechEd D15-2022


การประชุมวชิ าการนําเสนอผลงานนักศึกษา
NCTechED-Student Workshop 2022 733

June 10,2022

การผลิตเสยี งบรรยายภาพประกอบซีรยี่ แ์ นวสยองขวัญสำหรับผ้พู ิการทางสายตา

วภิ าวี วรี ะวงศ์ 1* พรนศิ า อินธิบาล 2 พรรณพัชร กลุ โสภณ 3สุดารัตน์ สวนทอง4
บทคัดยอ่

ปริญญานิพนธเ์ รื่องนี้ได้ศึกษาการผลิตเสียงบรรยายภาพประกอบซรี ีย่ ์แนวสยองขวัญสำหรับผู้พิการทางสายตา
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้พิการทางสายตาจากการรับฟังเสียงบรรยายภาพ กลุ่มตัวอย่างใช้
วิธีการเลือกแบบเจาะจง คือผู้พิการทางสายตา จากศูนย์พัฒนาอาชีพคนตาบอด จังหวัด นนทบุรี จำนวน 15 คน
โดยใส่เสียงบรรยายภาพในช่วงที่ไม่มีการสนทนาในช่องว่างของวิดีโอ เช่น การแสดงสีหน้าท่าทาง สรุปผล
การศึกษาพบว่า ผู้ฟังมีความพึงพอใจต่อการผลิตเสียงบรรยายภาพประกอบซีรี่ย์ เรื่อง "อังคารคลุมโปงเดอะซีรี่ย์
ตอนบ้านท้ายซอย" อยู่ในเกณฑ์มาก เสียงพากยม์ คี วามเหมาะสม การอา่ น บรรยายภาพดี ตรงกบั เน้ือหาอยใู่ นเกณฑ์
มาก แสดงว่าผู้ที่ฟังเสียงบรรยายภาพมีความพึงพอใจต่อ เสียงบรรยายภาพ หรือ Audio Description (AD) และ
สามารถทำใหผ้ ู้ฟังเข้าใจเสียงบรรยายมากขนึ้ และงา่ ยตอ่ การฟังตามท่ีผูศ้ ึกษาได้คาดหวังไว้
คำสำคัญ: เสียงบรรยายภาพ (AD),ผพู้ ิการทางสายตา

1สาขาเทคโนโลยกี ารโทรทศั น์และวทิ ยุกระจายเสยี ง คณะเทคโนโลยสี ือ่ สารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
วิภาวี วีระวงศ์ โทร 083-4223330 อเี มล; [email protected]


การประชุมวิชาการนาํ เสนอผลงานนกั ศกึ ษา
734 NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

Production of Audio Description A Horror Series for The Visually Impaired

Wipawee Weerawong1* Pornnisa Inthiban2 Panpat Kulsophon3 Sudarat Suanthong4
Abstract

This thesis has studied the production of narrative audio for the horror series for the visually impaired.
The objective was to study the satisfaction of visually impaired people from listening to audio descriptions.
The sample used a specific selection method. is a visually impaired person From the Center for Occupational
Development for the Blind, Nonthaburi Province, 15 people by adding audio descriptions during the absence of
conversation in the video gap, such as facial expressions. The results of the study revealed that The audience was
satisfied with the production of the narrative soundtrack for the series "Ang Kluampong the Series". The house at
the end of the alley" is in very good criteria. The dubbing sound is appropriate, the reading, the picture description
is good, the content is very consistent with the criteria. Shows that those who listen to the audio descriptions are
satisfied with Audio Description (AD) and can help listeners understand the audio description better. and easy to
listen as the students expected
Keywords: Audio description (AD), Visually impaired

1Department of Radio and Television Broadcasting Technology University Rajamangala University of Technology Thanyaburi
1 Author Contact, Tel: 083-4223330 E-mail; [email protected]

NCTechEd D16-2022


1. บทนำ การประชมุ วิชาการนําเสนอผลงานนักศกึ ษา
NCTechED-Student Workshop 2022 735
1.1 ที่มาและความสำคญั ของปญั หา
ผู้รับสารที่พิการทางการเห็นจึงมักประสบปัญหา June 10,2022
อุปสรรคในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารที่นำเสนอผ่าน
ภาพเหล่านี้ผลกระทบจากการไม่สามารถเข้าถึงข้อมูล สอบถามที่ได้มาสรุปและทำการประเมินผลเชิง
ข่าวสารได้เท่าเทียมกับคนในสังคม การที่คนพิการ คุณภาพ โดยให้ผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน ได้แก่ผู้เชี่ยวชาญ
ทางการเห็นจะสามารถเข้าถึงรายการโทรทัศน์ที่มีการ ด้านผู้พิการทางสายตา ด้านสื่อเสียง ด้านผู้พิการเขียน
นำเสนอด้วยภาพเป็นหลักนั้น บริการหนึ่งที่มี บท AD และนำมาประมวลผล สรุป เพือ่ นำมาปรับปรุง
ความสำคัญอย่างยิ่งที่จะทำให้รายการโทรทัศน์ การผลิตเสียงบรรยายภาพประกอบซีรี่ย์แนวสยอง
สามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้โดยคนพิการ ขวญั สำหรับผพู้ กิ ารทางสายตา
ทางการเห็น คือ บรกิ ารเสียงบรรยายภาพ
1.5 ประโยชน์ทค่ี าดวา่ จะไดร้ บั
1.2 วตั ถุประสงค์ 1.5.1 เป็นช่องทาง เพื่อเปิดโอกาสในการรับส่ือ
เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้พิการทางสายตา เสยี งบรรยายภาพสำหรบั ผพู้ กิ ารทางสายตา
จากการรับฟังเสียงบรรยายภาพประกอบซีรี่ย์แนว 1.5.2 ผู้พิการทางสายตาสามารถเข้าใจส่ือท่ีมีเสียง
สยองขวญั บรรยายภาพไดเ้ ป็นอยา่ งดี

1.3 กรอบแนวคิด 2. เอกสารท่เี กย่ี วข้อง
จากแนวคิดและทฤษฎีดังกล่าวผู้วิจัยได้ศึกษาและ 2.1 ความรเู้ กี่ยวกับเสียงบรรยายภาพ
เสียงบรรยายภาพ หรือ AD ( Audio Description) การ
กำหนดกรอบแนวคิดการวิจัย ประกอบด้วย ตัวแปร
ต้น คือ การผลิตเสียงบรรยายภาพ สำหรับผู้พิการทาง แปลภาพที่เกิดขึ้น รวมไปถึงเสียงที่ไม่ทราบที่มา ให้เป็น
สายตา และตัวแปรตาม ได้แก่ ความเข้าใจเนื้อหาของ คำบรรยายที่ทำให้ผู้พิการทางสายตา คือ การเพิ่มคำ
หลังฟังเสียงบรรยายภาพ และความพึงพอใจของผู้ อธิบายเข้าไประหว่างช่องว่างของเสียง (Sound Gap)
พิการทางสายตา ในขณะที่ตัวละครไม่ได้มีบทพูด เสียงบรรยายภาพจึงมี
หน้าที่ทำให้คนตาบอดรับรู้ว่าตัวละครกำลังทำอะไร เพ่ือ
1.4 ขอบเขตการศกึ ษา ไมใ่ ห้เสยี อรรถรสในการรับชมน่นั เอง
การศึกษาครั้งนี้ผู้ศึกษาได้ทำ การผลิตเสียง
2.2 ผพู้ ิการทางสายตา
บรรยายภาพประกอบละครสั้น แนวสยองขวัญ ผู้พิการทางด้านสายตา และการมองเห็น ส่วน
สำหรับผู้พิการทางสายตา โดยการสร้างเสียงบรรยาย ใหญจ่ ะรับรขู้ ่าวสารไดท้ างเสียง แตจ่ ะมี ความสามารถ
จากนั้นนำไปประเมินผลกับผู้พิการทางสายตา เลือก จำกัดในการโต้ตอบ หรือวิพากษ์วิจารณ์ มักรับข่าว
กลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง จำนวน 15 คนจากศูนย์ สารผ่านทาง หนังสือเสียง ฟังเสียง จากวิทยุและ
พัฒนาอาชีพคนตาบอด ตำบลบ้านใหม่ อำเภอปาก โทรทัศน์ จึงมีความหวังว่าจะมีเทคโนโลยีที่สามารถ
เกร็ด จังหวัดนนทบุรี โดยคัดเลือกจากผู้พิการทาง ช่วยให้คนพิการด้านสายตาสามารถ ตอบโต้ได้ เช่น
สายตา อายุ 13 ปีขึ้นไป และเลือกจากความชอบ ว่า ขณะนี้ บางประเทศใช้ ซอฟแวร์ “Screen Reader” ซึ่ง
ชอบดูละครหรือไม่ โดยนำเสียงบรรยายภาพ ไปเปิด ช่วยให้ผู้พิการทางสายตา สามารถอ่านและสั่งพิมพ์
ให้กลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงฟัง และนำข้อมูลจากแบบ ข้อความโดยใช้เสียง แทนแป้นพิมพ์คีย์บอร์ดได้ แต่ก็
ยังมีข้อจำกัดด้านภาษา เพราะใช้ได้แต่เพียงภาษา
อังกฤษเทา่ น้ัน http://bcp.nbtc.go.th/th

NCTechEd D16-2022


การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานนกั ศกึ ษา 5. โรคตอ้ หินหรอื โรคจอประสาทตาลอก
736 NCTechED-Student Workshop 2022 6. โรคทางร่างกายที่มีผลต่อตา เช่น เบาหวาน
ขึ้น จอประสาทตา เชื้อไวรัส(cytomegalovirus)ขึ้นจอ
June 10,2022 ประสาทตาในผู้ป่วยโรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง เป็นต้น
http://www.rcopt.org
2.3 ปัญหาของผู้พกิ ารทางสายตา
ปัญหาของผู้พกิ ารทางสายตา คือ คนส่วนใหญ่ยังไม่ 2.6 กระบวนการการผลิตเสยี งบรรยายภาพ
สำหรับกระบวนการหรือขั้นตอนการผลิตเสียง
ยอมรับความสามารถของพวกเขา ไม่ว่าจะเป็นในด้าน บรรยายภาพ แบง่ ออกเปน็ 6 ขั้นตอน ดังนี้
การศึกษา และอาชีพการทำงาน ด้านการศึกษา สถานที่ที่ 2.6.1 การคัดเลอื กรายการ
ใช้สำหรับให้การศึกษาแก่ผู้พิการทางการมองเห็นไม่
เพียงพอต่อจำนวนผู้พิการทางการมองเห็น บุคลากรไม่มี แนวทางในการคัดเลือกรายการนั้น ควรใช้วิธีการ
ความชำนาญในการสอนสื่อการสอนไม่เพยี งพอตอ่ ความ หลับตาฟงั รายการ เพื่อทดสอบดูว่าเมื่อหลับตาฟังรายการ
ต้องการของเด็ดขาดเงินสนับสนุน จากทางรัฐบาล จึงทำ แล้วในฐานะผูฟ้ งั สามารถเข้าใจเร่ืองราวได้มากหรอื น้อย
ให้มขี อ้ จำกัดขีดความสามารถในการพัฒนาของเดก็ อยา่ งไร หากพบวา่ ไมส่ ามารถเขา้ ใจเร่ืองราวได้ให้ทดลอง
เปิดตามองเพื่อค้นหาว่ามีจุดใดที่จะสามารถสร้างความ
2.4 ประเภทของคนตาบอด เขา้ ใจโดยการบรรยายภาพไดบ้ า้ ง
2.4.1 ตาบอดสนิท หมายถึง คนทไ่ี มส่ ามารถมองเห็น
ได้เลย หรืออาจมองเห็นได้บ้างไม่มากนัก ไม่สามารถใช้ 2.6.2 การเขยี นบท
สายตาในการเรียนการสอน หรือทำกิจกรรมได้ ต้องใช้ หลักการในการเขียนบทเสียงบรรยาย
ประสาทสัมผสั อ่ืนแทนในการเรยี นรู้
2.4.2 ตาบอดเลือนลางหมายถึง มีความบกพร่องทาง ภาพประกอบดว้ ยกระบวนการ ดังน้ี
สายตา สามารถมองเห็นบ้าง แต่ไม่เท่าคนปกติ เมื่อ 1) การสังเกต (Observation)ผู้เขียนบทควรให้
ทดสอบสายตาประเภทนี้ จะมีสายตาข้างดี สามารถมอง
เหน็ ได้ในระยะ 20/60 หรือนอ้ ยกวา่ นั้น ความสนใจสงั เกตทุกสงิ่ ทุกอยา่ งท่ีเกดิ ขน้ึ ในภาพ
2.5 สาเหตุของความบกพรอ่ งทางการมองเหน็ 2) การเลอื ก (Editing)คือการเลือกและตัดสินใจที่

ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย ระบุไว้ จะบรรยายหรือไม่บรรยายอะไรเพราะ ด้วยช่องว่างของ
ว่าความบกพร่องทางการมองเห็นเกิดขึ้นได้จากหลาย เสยี ง ที่จำกัดจงึ ไมส่ ามารถบรรยายทุกส่งิ ที่เกดิ ขึ้นได้เสียง
ประการ ดงั นี้ บรรยายภาพที่ดีควรใช้ถ้อยคำให้น้อยตรงประเด็นเข้าถึง
ศาลใหม้ ากท่ีสดุ
1. ความผดิ ปกติแต่กำเนดิ ของดวงตาเช่น ตาเล็กหรือ
ตาดำขุน่ ขาวแตก่ ำเนิด 2.6.3 การตรวจและพิจารณาบท
ขั้นตอนในการตรวจสอบและพิจารณาบทเสียง
2. อุบัติเหตุต่อดวงตา เช่น ถูกกระจกรถบาด หรือถูก
วัตถุมคี มแทงบรเิ วณลูกตา บรรยายภาพจะอยูใ่ นข้ันตอนการเขียนบทและการลงเสียง
ซึ่งถือเป็นส่วนสำคัญในการผลิตเสียงบรรยายภาพให้ได้
3. โรคต้อกระจก ซ่งึ อาจเป็นแต่กำเนิด หรอื จากความ คณุ ภาพโดยจะอธิบายเป็น 2 ส่วนดงั น้ี
เสื่อมตามอายุซึ่งมนุษย์ต้องเป็นต้อกระจกทุกคน แต่
ปัจจุบันเทคโนโลยีทางการแพทย์สามารถให้การรักษา 1) การตรวจสอบและพิจารณาบทเสียงบรรยาย
โรคต้อกระจกได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ ภาพในขั้นตอนการเขียนบท : ควรจะต้องมีการตรวจสอบ
ความถูกต้องของเนื้อหาบทเสียงบรรยายภาพกับเนื้อหา
4. ระดับสายตาผิดปกติ เช่น สายตาสั้น สายตายาว
หรือสายตาเอียง สามารถรักษาได้ด้วยการใช้แวน่ ตา คอน
แทคเลนส์ หรอื เลสิกรกั ษาสายตา

NCTechEd D16-2022


ของรายการต้นฉบับว่ามีความสอดคล้องและถูกต้อง การประชุมวชิ าการนาํ เสนอผลงานนักศึกษา
เป็นไปในทิศทางเดียวกันกับวัตถุประสงค์ของรายการ NCTechED-Student Workshop 2022 737
ตน้ ฉบับหรอื ไม่
June 10,2022
2) การตรวจและพิจารณาบทเสียงบรรยายภาพใน
ขั้นตอนการลงเสียง : ในขั้นตอนการลงเสียงจะทำให้ ซึ่งอาจจะใช้วิธีการศึกษาวิจัย การสำรวจ และการจัดทำ
ผู้ผลิตเสียงบรรยายภาพได้พบกับข้อจำกัด และอุปสรรค สนทนากลุ่ม (Focus Group)เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลในเชิง
ในการลงเสยี งบรรยายภาพหน้างาน เชน่ อ่านไมท่ นั เพราะ ของการรับรู้ ความพึงพอใจ ต่อยอดไปจนถึงการพัฒนา
บทยาวเกินไป หรอื บททเี่ ขยี นมาไมช่ ดั เจน งานเสียงบรรยายภาพให้มีคุณภาพและมาตรฐานระดับที่ดี
ย่ิงขนึ้ ไปในอนาคตทัง้ น้ีเพอ่ื สรา้ งความเท่าเทียมให้กับทุก
2.6.4 การลงเสยี ง คนในสงั คมไดร้ ับสทิ ธใิ นการเข้าถงึ สอ่ื อย่างเสมอภาค
ทักษะในการใช้เสียง (Vocal Skill)เป็นอีกส่วน 3. วธิ กี ารศึกษา

สำคัญในการผลิตเสียงบรรยายภาพ เพราะเสียงบรรยาย 3.1 ข้ันตอนการศึกษา
ภาพจะมีคุณภาพและเกิดประโยชน์หรือไมน่ ั้นขึ้นอยู่กับ 3.1.1 Planning
เสียงที่ใช้ในการบรรยายซึ่งแตกต่างจากการพากย์ หรือ 1. กำหนดหัวข้อวัตถุประสงค์ และกลุ่มเป้าหมาย
การลงเสียงทั่วไป เพราะการลงเสียงบรรยายภาพจะใช้ เพื่อวิเคราะห์ว่าต้องการผลิตอะไร นำไปเสนอให้ใครชม
วิธีการเล่าเรื่องเหมือนเล่าเรื่องให้เพื่อนฟัง และไม่ และผลิตอย่างไร เพ่ือนำขอ้ มลู มาประกอบในการศึกษาหา
กลายเป็นหนง่ึ ในตวั ละครพูดลงเสยี งจะตอ้ งระลึกไว้เสมอ ขอ้ มลู
ว่า “หน้าที่ของผู้ลงเสียง คือ การเป็นส่วนเสริมในการ 2. ศึกษาค้นคว้าข้อมูล และหาแนวคิดของงานที่จะ
สร้างความเข้าใจ ไม่ใชต่ วั ละคร” ดำเนินการผลติ

2.6.5 การตัดต่อ - พัฒนาสื่อ AD ให้มีความหลายหลาก
โดยหลักการของการผลิตเสียงบรรยายภาพแล้ว - การปรบั เสียงให้ตรงกับภาพ
3. ประชุมสรุปผลเพื่อศึกษา และแบ่งหน้าที่ให้แต่
การลงเสียงบรรยายภาพต้องไม่ไปทับกับเสียงต้นฉบับ ละคนลงมือปฏบิ ตั งิ าน
เพราะเสียงทุกเสียงในสื่อนั้นมีความหมาย ความเงียบก็มี 3.1.2 Pre - Production
ความหมายเช่นกัน เพื่อให้ได้ลุ้นบ้าง เงียบเพื่อให้อารมณ์ 1. คัดเลือกซีรี่ย์
บ้าง แต่การสร้างความเข้าใจเองก็เป็นสิ่งสำคัญในงาน 2. เขียนบท AD
เสียงบรรยายภาพ หากจำเป็นจริงๆ ที่จะต้องทำเสียง 3. คดั เลอื กนักพากย์
รายการต้นฉบับ ก็ต้องผสมเสียงให้มีระดับความดังท่ี 4. ตดิ ตอ่ ห้องอดั เสยี ง
เหมาะสม 5. ประชุมเตรียมความพรอ้ ม
3.1.3 Production
2.6.6 การประเมินคุณภาพ 1. เตรียมงานให้พรอ้ ม และประชุมทุกฝา่ ย
การประเมินคุณภาพเสียงบรรยายภาพ โดยกลุ่ม 2. ดำเนินการอัดเสยี งทไ่ี ดค้ ดั เลือกนกั พากยไ์ ว้
3.1.4 post-Production
คนพิการทางการเห็น ซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมายหลักที่ใช้ 1. นำไฟล์อัดเสยี งบรรยายโอนลงคอมพวิ เตอร์
บริการเสียงบรรยายภาพถือว่าเป็นขั้นตอนที่จำเป็นและมี 2. นำ Footage มาตดั ต่อดว้ ย Adobe audition
ความสำคัญอย่างยิง่ ในการพฒั นางานเสียงบรรยายภาพให้ 3. นำไฟล์เสียงทั้งหมดลงใน โปรแกรม Adobe
ได้คุณภาพ และเกิดประโยชน์อย่างแท้จริงต่อผู้ใช้บริการ Premiere pro และทำการปรับตำแหน่งให้ตรงกับภาพ

NCTechEd D16-2022


การประชมุ วิชาการนําเสนอผลงานนักศึกษา 3.3.2 ขน้ั ตอนการออกแบบแบบสอบถามเชงิ คุณภาพ
738 NCTechED-Student Workshop 2022 1) สร้างแบบสอบถามฉบับจริงโดยตัดข้อคำถามที่

June 10,2022 ไม่ผ่านทิ้งไป ให้กลุ่มตัวอย่างรับฟัง ละครสั้น และตอบ
แบบสอบถาม หลังจากนั้นรวบรวมแบบสอบถามแล้ว
จากนั้นแปลงสัญญาณลงแผ่น DVD เพื่อเสนอต่อไป ประเมินผลโดยใชส้ ถิติอยา่ งง่าย
3.2 ขั้นตอนการผลิตท่ีใช้ในกระบวนการศึกษา
3.2.1 ขัน้ ตอนก่อนการผลิต 2) การประเมินผลเชิงคุณภาพ โดยวิธีการประเมิน
- ศกึ ษาข้อมลู ผพู้ ิการทางสายตา ดงั นี้
- ศกึ ษาขอ้ มูลการทำเสยี งบรรยายภาพ
- กำหนดเรอ่ื ง/แนวละคร - ตดิ ตอ่ ผู้เชย่ี วชาญดา้ นตา่ ง ๆ จำนวน 3 คน คือ
- เขียนบท 1) ผูเ้ ชยี่ วชาญดา้ นผูพ้ ิการทางสายตา
- เลือกเสยี ง AD 2) ผเู้ ชีย่ วชาญด้านสอ่ื เสียง
- ตดิ ต่อหอ้ งบันทกึ เสยี ง 3) ผู้เชีย่ วชาญดา้ นการเขยี นบท AD
3.2.2 ขน้ั ตอนการผลติ - สัมภาษณ์ผเู้ ช่ียวชาญ
- บันทึกเสยี งบรรยาย - ประเมินผลเพื่อนำมาปรับปรุงงานต่อไปใน
3.2.3 ขั้นตอนหลงั การผลติ
- ตัดต่อเสียงโชโ้ ปรแกรม Adobe Auditionและนำ อนาคต
3.3.3 ขั้นตอนการประมวลผลและสรุปผลการทดลอง
เสียงไปลงที่โปรแกรม AdobePremiere pro และทำการ
ปรับตำแหน่งให้ตรงกบั ภาพ การประเมินแบบสอบถามทำไดจ้ ากการประเมินผลการหา
ค่าเฉลยี่ แบบร้อยละ และ ค่ากลางคณิตศาสตร์ โดยใช้สูตร
3.3 ขั้นตอนการออกแบบแบบสอบถามเพื่อใช้ใน การหาร้อยละ (Percentage) โดยใช้สูตร % = fx100/N
ขนั้ ตอนการประเมินผล และค่าเฉลีย่ กลางทางเรขาคณิตโดยใช้สตู รการหาคา่ กลาง
เลขคณติ สตู ร x ̅ = (∑fx)/N
การประเมินผลการศึกษาโดยใชเ้ ครื่องมือที่ผลติ ขนึ้
นี้เปน็ เครอื่ งมือในการหาคำตอบนน้ั ผู้ศึกษาไดด้ ำเนินการ นำผลที่ได้จากการหาค่าร้อยละ และค่าเฉลี่ยทาง
ประเมินผลเป็น 2 ลักษณะ คือ การประเมินผลเชิงปริมาณ เรขาคณิตมาสรุปผลการศึกษา และแปลผลเพื่อสรุปผล
และการประเมินผลเชิงคุณภาพ การออกแบบ การศึกษา http://www.ex-mba.buu.ac.th/Research/Bkk/Ex-
แบบสอบถามเพื่อใช้ในขั้นตอนการประเมินผลนี้จึงแบ่ง 24-Bkk/51721836/05_ch3.pdf
ออกเปน็ 2 ลักษณะ ดงั น้ี
3.4 ขนั้ ตอนการประเมนิ ผล
3.3.1 ขั้นตอนการออกแบบแบบสอบถามเชิงปริมาณ 3.4.1 ขน้ั ตอนการประเมนิ ผลเชิงปรมิ าณ
1) กำหนดกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้พิการทางสายตา - กลุ่มตัวอย่างคือผู้พิการทางสายตา อายุระหว่าง

โดยเลือกแบบเฉพาะเจาะจง จำนวน 15 คน โดยกำหนด 13 ปีขน้ึ ไป โดยเลือกวิธแี บบเฉพาะเจาะจง
อายุ 13 - 21 ปีขึ้นไป และมีความชอบละครสยองขวัญ - ประชากรคอื ผ้พู ิการทางสายตา จำนวน 15 คน
- สรา้ งแบบสอบถามและหาคณุ ภาพ
2) สร้างแบบสอบถามฉบับร่างให้ผู้เชี่ยวชาญทำ - หาคุณภาพแบบสอบถามโดย หาค่า IOC
การประเมินคุณภาพของแบบ สอบถามโดยการนำคำถาม - แบบสอบถามทส่ี มบูรณ์
แต่ละข้อมาหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index Of Item - ใหก้ ลุม่ ตวั อย่างรบั ฟงั ผลงานที่ผลิตขน้ึ
ObjectiveCongruence:IOC) ในการพิจารณาความเห็น
ของผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 ท่าน จากการหาค่าดัชนีความ
สอดคลอ้ งระหวา่ งขอ้ คำถาม (IOC) ในทุกข้อคำถามนนั้

NCTechEd D16-2022


การประชุมวชิ าการนําเสนอผลงานนกั ศึกษา
NCTechED-Student Workshop 2022 739

June 10,2022

- แจกแบบสอบถามอักษรเบรลล์ให้กับกลุ่ม ตารางท่ี 4.1 แสดงจำนวนรอ้ ยละของกลุ่มผฟู้ งั จำแนก ตาม
ตวั อย่างหลงั จากรับฟัง AD อายุ
สรุปจากตารางที่ 4.1 แสดงใหเ้ หน็ ว่าผู้ตอบแบบสอบถาม
- ประเมินแบบสอบถามด้วยการคำนวณค่าร้อยละ
และคา่ กลางทางคณิตศาสตร์ อายุ จำนวน รอ้ ยละ

- สรปุ ผลการประเมิน 13-16 - -
3.4.2 ขน้ั ตอนการประเมินผลเชงิ คณุ ภาพ
17-20 - -
- สัมภาษณ์แบบเจาะลึก ผู้เชี่ยวชาญจากทั้ง 3 ด้าน
ดังนี้ 21 ปีข้นึ ไป 15 100

1) ผเู้ ชีย่ วชาญด้านผูพ้ ิการทางสายตา รวม 15 100
2) ผเู้ ชีย่ วชาญด้านสอ่ื เสยี ง
3) ผู้เชย่ี วชาญดา้ นการเขยี นบท AD มีอายุ 21 ปีขน้ึ ไป

- สรุปผลการประเมิน ตารางที่ 4.2 แสดงจำนวนร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนก

4. ผลการศกึ ษา ตามระดับความพกิ าร

4.1 สภาพท่ัวไปของขอ้ มูล ระดบั ความพิการ จำนวน ร้อยละ

กลมุ่ ตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง ช่วยเหลอื ตวั เองได้ 7 46.6
การศึกษาครั้งนี้เป็นการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบ
ชว่ ยเหลือตวั เองได้บ้าง 8 53.3
เฉพาะเจาะจง คือ ผู้พิการทางสายตาที่ศูนย์พัฒนาอาชีพ
คนตาบอด ต.บ้านใหม่ อ.ปากเกรด็ จ.นนทบุรี โดยใหผ้ ู้รบั ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้เลย - -
ฟังมินิซีรีย่ ์อังคารคลุมโปง ตอน บ้านท้ายซอย จำนวน 15
คน เพื่อใช้เป็นข้อมูลสำหรับการประกอบการศึกษา ซึ่ง รวม 15 99.9
ผู้วิจยั รวบรวมข้อมลู
สรุปจากตารางที่ 4.2 แสดงให้เห็นว่าผู้ตอบแบบสอบถาม
การสัมภาษณ์แบบเจาะลกึ ส่วนใหญ่อยู่ในระดับที่ช่วยเหลือตัวเองได้จำนวน 7 คน
การศึกษาครั้งนี้เป็นการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก โดยคดิ เป็นรอ้ ยละ 46.6 และอยใู่ นระดับที่ชว่ ยเหลอื ตวั เอง
ได้บา้ งจำนวน 8 คน โดยคดิ เป็นร้อยละ 53.3
รายบุคคลให้ผเู้ ชย่ี วชาญ โดยใหผ้ ู้เชย่ี วชาญรับฟังบทเสียง ตารางที่ 4.3 แสดงจำนวนร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนก
บรรยายภาพประกอบซีรี่ย์สำหรับผู้พิการทางสายตา โดย ลักษณะความพกิ าร
นำมินิซีรี่ย์อังคารคลุมโปง ตอน บ้านท้ายซอย มาลงเสียง
บรรยายเพิ่มเติม โดยมีผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 คน ซึ่งแบ่ง ลักษณะความพิการ จำนวน รอ้ ยละ
คำถามออกเป็น 3 ด้าน ได้แก่ ด้านผู้พิการทางสายตา ด้าน
สื่อเสียง และด้านการเขียนบท AD ตาบอดสนทิ ท้ังสองขา้ ง 9 60

4.2 สรุปข้อมลู ทวั่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ตาบอดเลือนรางทั้งสองข้าง 5 33.3
กลุ่มเป้าหมายเป็นแบบเฉพาะเจาะจง คือผู้พิการทาง
สายตา จากศูนย์พัฒนาอาชีพคนตาบอด จังหวัด นนทบุรี อนื่ ๆ 1 6.6
จำนวน 15 คน เปน็ เพศชาย 13 คน เพศหญิง 2 คน
รวม 15 99.9

สรุปจากตารางที่ 4.3 แสดงให้เห็นว่าผู้ตอบแบบสอบถาม
ส่วนใหญ่ตาบอดสนิทมีจำนวน 9 คน โดยคิดเป็นร้อยละ

NCTechEd D16-2022


การประชุมวชิ าการนาํ เสนอผลงานนกั ศึกษา
740 NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

60ตาบอดเลือนลางมจี ำนวน 5 คนโดยคิดเปน็ รอ้ ยละ 33.3 3 ด้าน และกลุ่มตัวอย่างจำนวน 15 คน จากการประเมิน
และอ่ืนๆ มจี ำนวน 1 โดยคดิ เปน็ รอ้ ยละ 6.6 คุณภาพโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกจากผู้เชี่ยวชาญทั้ง
ตารางที่ 4.4 แสดงผลการสรุปผลแบบสอบถามเกี่ยวกับ 3 ด้าน คือ ผู้เชี่ยวชาญด้านผู้พิการทางสายตา 1 ท่าน
ความคิดเห็นของผพู้ กิ ารทางสายตา ผู้เชี่ยวชาญด้านสื่อเสียง 1 ท่าน ผู้เชี่ยวชาญด้านการเขียน
บท AD 1 ท่าน และกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง 15 คน ซึ่ง
มาก มาก ปาน น้อย น้อย เป็นผู้พิการทางสายตา ทางคณะผู้จัดทำจึงประเมินความ
พงึ พอใจในการรับฟังส่อื เสียงบรรยายภาพ (AD) สว่ นมาก
ขอ้ คำถาม ท่ีสดุ กลาง ท่ีสดุ แปล พึงพอใจต่อเสียงบรรยายภาพ เนื่องจากการบรรยายบอก
รายละเอียดของภาพได้ชัดเจน ทำให้ไม่สับสนมึนงงกับ
ผล ตัวละครมี ช่วยให้จินตนาการตามเนื้อเรื่องและตัวละคร
ได้ง่ายยิ่งขึ้น เสียงผู้บรรยายมีความเหมาะสม ออกเสียง
= 5 =4 =3 =2 =1 ควบกล้ำ ร ล ชัดเจน ทำให้งา่ ยในการฟงั มากยง่ิ ข้นึ

ด้านเนือ้ เร่อื ง 6. เอกสารอ้างอิง
ธารินี อินทรนนั ท.์ คู่มอื การผลิตเสียงบรรยายภาพ
ทา่ นมคี วาม 2 9 4 - - 3.8 มาก
(Audio Description-AD) เบื้องต้น ฉบบั ส่ือ
เขา้ ในเน้ือหาท่ี สาธารณะ.กรุงเทพ:บริษทั อสิ ระดจี ำกัด.
พฤศจกิ ายน พ.ศ.2561.
นำเสนอ บท อิศวรา ศริ ิรุ่งเรอื ง (2561;14).
มูลนธิ คิ นตาบอดไทย https://www.tab2read.com
เสยี งบรรยาย การพัฒนาคณุ ภาพชีวิตคนตาบอด
https://www.radio.tab.or.th
ภาพ (AD) ผู้พกิ ารทางด้านสายตา http://bcp.nbtc.go.th/th
สารนพิ นธ์ อัญมณี เพชรมา//RMUTT%20159667.pdf
มากน้อย เสียงบรรยายภาพ https://www.punpro.com/p/Audio-
Description-App
เพียงใด แนวละครแนวสยองขวญั
https://th.wikipedia.org/wiki
ทา่ นมคี วามพงึ 2 12 1 - - 4 มาก เสยี งบรรยายภาพ http://www.repository.rmutt.ac.th/
RMUTT.pdf
พอใจในดา้ น

บทเสยี ง

บรรยายภาพ

(AD) มากนอ้ ย

เพยี งใด

ด้านเสียง

การออกเสียง 1 10 4 - - 3.8 มาก

ควบกลำ้ ร ล

มีความชัด

ระดบั ใด

น้ำเสยี ง 1 11 3 - - 3.8 มาก
ผูบ้ รรยายมี

ความ
เหมาะสม

ระดบั ใด

สรุปจากตารางที่ 4.4 การประเมินแบบสอบถามความพึง

พอใจของกลุ่มผู้ฟังเป็นกลุ่มตัวอย่างจำนวน 15 คนได้รับ

ฟัง AD แลว้ มีความพงึ พอใจตอ่ เสยี งบรรยายภาพประกอบ

ซีรี่ยแ์ นวสยองขวญั สำหรับผู้พิการทางสายตา

5. สรุปผลการศกึ ษา

การศึกษาเรื่อง การผลิตเสียงบรรยายภาพประกอบ

ซีร่ยี แ์ นวสยองขวญั สำหรับผู้พกิ ารทางสายตา ซงึ่ งานที่ได้

ศึกษาในครั้งนี้เป็นการผลิตเสียงบรรยายภาพประกอบ

“อังคารคลมุ โปงเดอะซีรีย่ ์ ตอน บ้านท้ายซอย”

ผลการศึกษาการผลิตเสียงบรรยายภาพประกอบซีรี่ย์

แนวสยองขวัญสำหรับผู้พิการทางสายตา จากผู้เชี่ยวชาญ

NCTechEd D16-2022


คณะกรรมการดำเนนิ งาน
การประชุมวชิ าการ การนำเสนอผลงานนักศึกษา
The 14th National Conference on Technical Education

(NcTechEd-Student Workshop 2022)

ผู้จัดงาน
▪ สมาคมครศุ าสตรอ์ ุตสาหกรรม (ประเทศไทย)
▪ คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระนครเหนอื
▪ สถาบนั การอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1

คณะกรรมการที่ปรกึ ษา
▪ รศ.ดร.ไพโรจน์ สถริ ยากร คณบดี คณะครศุ าสตรอ์ ตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าพระนครเหนือ
▪ ผศ.ดร.พนาฤทธ์ิ เศรษฐกุล นายกสมาคมครศุ าสตร์อุตสาหกรรม (ประเทศไทย)
▪ รศ.ดร.ศักด์ิ กองสวุ รรณ ท่ีปรึกษาผอู้ ำนวยการสถาบัน สถาบนั การอาชวี ศึกษาภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ 1
▪ รศ.ดร.บัณฑิต สุขสวัสด์ิ รองคณบดี คณะครุศาสตรอ์ ตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
▪ รศ.ดร.สมศักดิ์ อรรคทมิ ากูล รองคณบดี คณะครุศาสตรอ์ ุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระนครเหนอื
▪ ผศ.ดร.สุชญั ญา โปษยะนันทน์ รองคณบดี คณะครศุ าสตรอ์ ตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ พระนครเหนือ
▪ ดร.พรี ะพล พูลทวี นายกสภาสถาบัน สถาบันการอาชวี ศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1
▪ ดร.นิรตุ ต์ บุตรแสนลี ผู้อำนวยการสำนกั วจิ ัยและการพัฒนาอาชวี ศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา

คณะกรรมการบรรณาธกิ าร /ผทู้ รงคุณวฒุ พิ ิจารณาผลงาน
▪ ดร.วรวทิ ย์ ศรีตระกลู ผอู้ ำนวยการสถาบนั การอาชีวศกึ ษาภาคตะวันออกเฉียงเหนอื 1
▪ นายอุดมภเู บศวร์ สมบูรณ์เรศ รองผอู้ ำนวยการสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนอื 1
▪ นายพงศว์ ิวัฒน์ ฮงทอง รองผ้อู ำนวยการสถาบันการอาชวี ศกึ ษาภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ 1
▪ ดร.สนุ ทรผไท จันทระ ผู้อำนวยการวิทยาลยั การอาชพี อุดรธานี
ทำหนา้ ท่ี ผชู้ ว่ ยผอู้ ำนวยการสถาบนั การอาชวี ศกึ ษาภาคตะวันออกเฉียงเหนอื 1
▪ นายถาวร ราชรองเมือง ผูอ้ ำนวยการอาชีวศึกษาบณั ฑติ สถาบันการอาชีวศกึ ษาภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ 1
▪ นายชัชวาล ปณุ ขันธ์ ผู้อำนวยการสำนักยุทธศาสตร์การพัฒนาอาชวี ศกึ ษา สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1
▪ นางปภาภัทร แสงแก้ว ทำหน้าท่ี ผอู้ ำนวยการสำนักพฒั นากจิ การนกั เรยี นนกั ศึกษา สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1
▪ ผศ.ลอื พงษ์ ลือนาม สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั
▪ ผศ.กานต์ จนั ทระ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเลย
▪ ผศ.ดร.นำโชค วฒั นานัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระนครเหนอื
▪ ผศ.ดร.ภัควี หะยะมิน มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
▪ ผศ.ดร.จิรพันธุ์ ศรีสมพันธุ์ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนอื
▪ ผศ.ไพทลู คำคอนสาร มหาวิทยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระนครเหนอื
▪ ผศ.ดร.วรรณลกั ษณ์ เหล่าทวที รพั ย์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าพระนครเหนือ
▪ ผศ.ดร.กัญญวิทย์ กล่นิ บำรุง มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระนครเหนือ
▪ ผศ.ดร.นุชนาฏ ชมุ่ ช่ืน มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
▪ ผศ.ดร.ขนิษฐา หินอ่อน มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ


คณะกรรมการบรรณาธิการ (ต่อ)
▪ ผศ.ดร.กฤชเชาว์ นนั ทสุดแสวง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนอื
▪ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.กฤช สนิ ธนะกุล มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าพระนครเหนือ
▪ ดร.สามารถ สวา่ งแจ้ง มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระนครเหนอื
▪ ดร.พุทธดิ า สกลุ วิริยกิจกลุ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ พระนครเหนือ
▪ ดร.ตะวันรอน สังยวน มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เลย
▪ ดร.พิพฒั น์ ดุรงคด์ ำรงชยั มหาวิทยาลยั ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื
▪ ดร.ศรายุทธ ทองอุทยั สถาบนั การอาชวี ศกึ ษาภาคกลาง 5
▪ ดร.ศัชชญาส์ ไพจติ จันทร์ บรรษทั ประกนั สนิ เชอื่ อุตสาหกรรมขนาดยอ่ ม
▪ ดร.พชั ร อ่อนพรม สถาบนั การอาชีวศกึ ษาภาคตะวันออกเฉียงเหนอื 1
▪ ดร.ประกาศติ ปราบพาล สถาบนั การอาชวี ศกึ ษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2
▪ ดร.วารณุ ี เอ่ยี มอารมณ์ สถาบนั การอาชวี ศกึ ษากรงุ เทพ
▪ ดร.อจั ฉรา ธปู บูชากร สถาบนั การอาชีวศกึ ษาภาคกลาง 2
▪ ดร.คชา โกศลิ า สถาบนั การอาชวี ศกึ ษาภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ 1
▪ อาจารย์ชัยนาจ ปัน้ สันเทียะ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าพระนครเหนือ
▪ อาจารยภ์ ัคชัญญา บุญชคู ำ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าพระนครเหนอื
▪ นางสาวอังคณา อัตถาพร สถาบนั การอาชวี ศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1

เลขานุการคณะกรรมการบรรณาธกิ าร
▪ นางกรรณกิ า สายสิญจน์ ทำหน้าที่ ผ้อู ำนวยการศูนย์วิจยั และพัฒนาการอาชีวศกึ ษา
สถาบนั การอาชีวศกึ ษาภาคตะวันออกเฉียงเหนอื 1
▪ นางปภาภทั ร แสงแกว้ ทำหนา้ ที่ ผอู้ ำนวยการสำนักพฒั นากิจการนกั เรยี นนักศกึ ษา
สถาบนั การอาชีวศึกษาภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ 1
▪ นางอนสุ รณ์ พฤกษะศรี สถาบนั การอาชวี ศกึ ษาภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื 1
▪ นางสาวมนทกานติ์ ศรีตระกลู สถาบันการอาชวี ศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนอื 1
▪ นายขจรศักดิ์ วิเศษสุนทร สถาบนั การอาชวี ศึกษาภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ 1
▪ นางจุฬารัตน์ เพ็ญกุลกจิ สถาบันการอาชวี ศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1
▪ นางนศิ ารตั น์ ยศษา สถาบนั การอาชวี ศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1
▪ นางสาวเตือนจติ ร บุตรแก้ว สถาบนั การอาชีวศกึ ษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1
▪ นางสาวชไมพร โมรา สถาบนั การอาชวี ศึกษาภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื 1
▪ นางอรณุ ลักษณ์ ทบั ทมิ ทอง สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื 1
▪ นางสาวณฐมน ภูดีทิพย์ สถาบันการอาชวี ศกึ ษาภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ 1
▪ นางสาวภัคชาดา แยม้ สาขา สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1


คำส่งั สถาบันการอาชวี ศึกษาภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ 1
ท่ี 123 / 2565

เรื่อง แตง่ ตัง้ คณะกรรมการดำเนนิ งานการจัดการประชมุ วชิ าการครุศาสตร์อุตสาหกรรม ระดับชาติ ครัง้ ท่ี 14
และการจดั ประชุมวิชาการครุศาสตรอ์ ุตสาหกรรมระดับนานาชาติ ครั้งท่ี 9 รว่ มกับคณะครศุ าสตร์
อตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และสมาคมครุศาสตรอ์ ุตสาหกรรม
(ประเทศไทย)
-------------------------------------

เพื่อใหก้ ารดำเนนิ การจดั การประชุมวชิ าการครศุ าสตร์อุตสาหกรรม ระดบั ชาติ คร้ังที่ 14 The 14th และ

การจดั ประชมุ วชิ าการครศุ าสตร์อุตสาหกรรมระดับนานาชาติ ครัง้ ที่ 9 ระดบั ชาติ ร่วมกับคณะครศุ าสตร์

อุตสาหกรรม มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ พระนครเหนอื และสมาคมครุศาสตร์อุตสาหกรรม (ประเทศ

ไทย) ประจำปกี ารศึกษา 2565 สถาบนั การอาชวี ศึกษาภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ 1 เปน็ ไปด้วยความเรียบร้อย

และบรรลุตามวัตถปุ ระสงค์ จึงแต่งต้งั คณะกรรมการ และคณะอนุกรรมการ ในการจดั การประชมุ วิชาการ

ระดบั ชาติ ร่วมกับคณะครศุ าสตร์อุตสาหกรรม มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และสมาคม

ครศุ าสตรอ์ ุตสาหกรรม (ประเทศไทย) ประจำปีการศึกษา 2565 ประกอบดว้ ยบคุ คล ดังตอ่ ไปน้ี

1. คณะกรรมการทป่ี รึกษา ประกอบดว้ ยบุคคล ดังต่อไปนี้

1.1 นายกสมาคมครุศาสตร์อุตสาหกรรม (ประเทศไทย) ประธานกรรมการ

1.2 นายกสภาสถาบันการอาชวี ศกึ ษาภาคตะวันออกเฉียงเหนอื 1 กรรมการ

1.3 คณะบดคี ณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม กรรมการ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าพระนครเหนือ

1.4 รองศาสตราจารย์ ดร.บัณฑิต สขุ สวัสด์ิ กรรมการและเลขานุการ

คณะกรรมการทีป่ รกึ ษา มหี น้าที่ ใหค้ ำปรกึ ษา ใหค้ ำแนะนำ และสนบั สนนุ การดำเนนิ งานการจัดการ
ประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ รว่ มกบั คณะครศุ าสตร์อตุ สาหกรรม มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ พระนครเหนือ
และสมาคมครศุ าสตร์อุตสาหกรรม (ประเทศไทย) ประจำปีการศกึ ษา 2565

2. คณะกรรมการอำนวยการ ประกอบดว้ ยบุคคล ดงั ตอ่ ไปน้ี ประธานกรรมการ
2.1 ผอู้ ำนวยการสถาบันการอาชวี ศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1 กรรมการ
2.2 รองผู้อำนวยการสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1 กรรมการ
2.3 รองผู้อำนวยการสถาบนั การอาชวี ศึกษาภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ 1 กรรมการ
2.4 ผอู้ ำนวยการวิทยาลัยการอาชีพอดุ รธานี กรรมการ
2.5 ผู้อำนวยการอาชวี ศึกษาบัณฑิต กรรมการ
2.6 ผอู้ ำนวยการสำนกั พัฒนายทุ ธศาสตร์และความร่วมมืออาชีวศกึ ษา กรรมการ
2.7 ผู้อำนวยการสำนักพัฒนากจิ การนักศึกษา กรรมการและเลขานุการ
2.8 ผูอ้ ำนวยการสำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา
/คณะกรรมการ...


-2-

คณะกรรมการอำนวยการ มีหน้าท่ี ประสานงานกับมหาวิทยาลัยและหน่วยงานท่เี ก่ียวข้องกำหนด
รปู แบบและวางแผนการดำเนินงานใหเ้ ปน็ ไปด้วยความเรียบรอ้ ย และมีประสทิ ธิภาพ

3. คณะกรรมการฝา่ ยวิชาการ ประกอบด้วยบุคคล ดังตอ่ ไปนี้ ประธานกรรมการ
3.1 ดร.วรวิทย์ ศรีตระกูล กรรมการ
3.2 รองศาตราจารย์ ดร.บณั ฑิต สขุ สวสั ดิ์ กรรมการ
3.3 ดร.สนุ ทรผไท จนั ทระ กรรมการ
3.4 นายอดุ มภูเบศวร์ สมบูรณเ์ รศ กรรมการ
3.5 นายพงศว์ วิ ฒั น์ ฮงทอง กรรมการ
3.6 นายถาวร ราชรองเมอื ง กรรมการ
3.7 นายชัชวาล ปณุ ขันธ์ุ กรรมการและเลขานุการ
3.8 นางกรรณกิ า สายสญิ จน์ อนกุ รรมการและ
3.9 นางปภาภทั ร แสงแก้ว ผชู้ ว่ ยเลขานุการ

คณะกรรมการฝา่ ยวิชาการ มีหน้าท่ี ดังต่อไปนี้
1. ประสานงานด้านวิชาการ และจดั โปรแกรมการประชมุ
2. ประสานเชิญวทิ ยากร และบุคคลทม่ี าบรรยาย อภปิ รายและจดั การบรรยาย
3. ประสานงานแจง้ และรบั ข้อมูลทีเ่ กีย่ วข้องทางด้านวชิ าการ
4. จัดทำหนงั สอื บทคดั ย่อและ Proceesdings ของการประชุม หรอื Proceedings online
5. การพจิ ารณา การตรวจแก้ผลงานทน่ี ำเสนอ การจัดทำเอกสาร และขอ้ มลู ทางวชิ าการ
6. พิจารณาบทความวจิ ยั ฉบับเต็ม
7. ปฏิบัติหนา้ ทีอ่ ่นื ตามที่ไดร้ บั มอบหมายจากคณะกรรมการอำนวยการ

4. คณะกรรมการฝา่ ยพิธีการ และอาหาร ประกอบดว้ ยบุคคล ดงั ต่อไปนี้ ประธานกรรมการ
4.1 นายพงศ์วิวฒั น์ ฮงทอง กรรมการ
4.2 นางสาวณฐมน ภูดที พิ ย์ กรรมการ
4.3 นางสาวบญุ เหลือ รงุ่ รัศมี กรรมการ
4.4 นายศุภชัย ชยั ประยูรหทั ธยา กรรมการและเลขานุการ
4.5 นางอรุณลกั ษณ์ ทับทิมทอง

คณะกรรมการฝา่ ยพธิ ีการ มีหนา้ ที่ ดังตอ่ ไปน้ี
1. ดำเนนิ การจัดอาหาร อาหารว่าง และเครื่องดื่มสำหรับคณะกรรมการ ผูเ้ ขา้ ร่วมประชุม

และผู้ปฏิบัติงาน
2. ปฏบิ ัตหิ น้าที่อน่ื ตามทไ่ี ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการอำนวยการ

/4.คณะอนุกรรมการ...


-3-

5. คณะกรรมการฝา่ ยลงทะเบียน ประเมินผล สารสนเทศ และประชาสัมพันธ์ ประกอบด้วยบคุ คล

ดังต่อไปน้ี

5.1 นายอดุ มภเู บศวร์ สมบรู ณ์เรศ ประธานกรรมการ

5.2 นายชัชวาล ปุณขนั ธ์ุ รองกรรมการ

5.3 นางสาวเตอื นจิตร บุตรแก้ว กรรมการ

5.4 นางนิศารัตน์ ยศษา กรรมการ

5.5 นายขจรศกั ดิ์ วิเศษสนุ ทร กรรมการ

5.6 นางสาวมนทกานต์ิ ศรีตระกลู กรรมการ

5.7 นางสาวภคั ชาดา แยม้ สาขา กรรมการ

5.8 นางจุฬารตั น์ เพ็ญกุลกิจ กรรมการ

5.9 นางสาวชไมพร โมรา กรรมการ

5.10 นางอนุสรณ์ พฤกษะศรี กรรมการและเลขานุการ

ดงั ตอ่ ไปน้ี คณะกรรมการฝ่ายลงทะเบียน ประเมินผล สารสนเทศ และประชาสัมพนั ธ์ มหี น้าที่

1. กำหนดรปู แบบการลงทะเบียน รบั ลงทะเบียนผูเ้ ข้ารว่ มประชุม
2. จดั ทำปา้ ยช่อื ผู้เข้าร่วมประชุม วิทยากร กรรมการ
3. รวบรวมรายชื่อและจดั รายชอ่ื ผู้เขา้ ร่วมประชมุ
4. จดั ทำเกียรติบตั รผเู้ ข้ารว่ มประชุม
5. วางแผนและกำหนดรปู แบบการประเมนิ ผล
6. จดั ทำแบบประเมินผล
7. จัดทำสอ่ื ประชาสัมพันธ์ในรปู แบบตา่ งๆ
8. บนั ทึกภาพกจิ กรรมตลอดงาน
9. ปฏิบตั หิ นา้ ที่อ่นื ตามทีไ่ ดร้ บั มอบหมายจากคณะกรรมการอำนวยการ

6. คณะกรรมการฝ่ายนทิ รรศการ จดั หารายได้ การเงิน ประกอบด้วยบุคคล ดงั ต่อไปน้ี

6.1 นายอดุ มภเู บศวร์ สมบูรณ์เรศ ประธานกรรมการ

6.2 นายถาวร ราชรองเมอื ง รองกรรมการ

6.3 นายขจรศักด์ิ วเิ ศษสนุ ทร กรรมการ

6.4 นางสาวมนทกานต์ิ ศรีตระกลู กรรมการ

6.5 นางสาวภัคชาดา แย้มสาขา กรรมการ

6.6 นางจุฬารตั น์ เพญ็ กลุ กิจ กรรมการ

6.7 นางสาวชไมพร โมรา กรรมการและเลขานุการ

/คณะกรรมการ...


-4-

คณะกรรมการฝา่ ยนทิ รรศการ จดั หารายได้ การเงิน มหี น้าที่ ดงั ตอ่ ไปน้ี
1. ดำเนินการประสานงานในส่วนของการแสดงนิทรรศการ และโปสเตอร์ทางวชิ าการ
2. ดำเนินงานท่เี กย่ี วขอ้ งด้านการเงนิ
3. ประสานฝา่ ยลงทะเบียน ในการจัดทำระบบลงทะเบียน
4. ประสานงานรับเงนิ ค่าลงทะเบียน เงนิ รายได้ และออกใบเสรจ็ รบเงิน
5. ปฏบิ ัตหิ น้าทอี่ น่ื ตามที่ไดร้ บั มอบหมายจากคณะกรรมการอำนวยการ

7. คณะกรรมการฝ่ายสถานที่ โสตทศั นูปกรณ์ และคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยบุคคล ดังต่อไปนี้

7.1 นายอดุ มภเู บศวร์ สมบรู ณ์เรศ ประธานกรรมการ

7.2 นายถาวร ราชรองเมือง รองกรรมการ

7.3 นางสาวมนทกานต์ิ ศรีตระกลู กรรมการ

7.4 นางอรณุ ลักษณ์ ทับทิมทอง กรรมการ

7.5 นางสาวณฐมน ภูดีทพิ ย์ กรรมการ

7.6 นายขจรศกั ด์ิ วิเศษสนุ ทร กรรมการและเลขานุการ

คณะกรรมการฝา่ ยสถานท่ี โสตทศั นปู กรณ์ และคอมพิวเตอร์ มีหน้าท่ี ดังต่อไปนี้
1. วางแผนและเตรียมความพร้อมในการจดั ประชมุ การใชส้ ถานท่จี ดั ประชมุ
2. จดั เตรยี มความพร้อมควบคมุ และตดิ ต้งั ระบบไฟฟา้ ภายในงาน
3. จดั ทำป้ายประชาสัมพันธ์ ป้ายแสดงชือ่ ห้องประชุม
4. จัดเตรียมระบบส่ือทัศนูปกรณ์ สำหรับการประชมุ
5. จดั เตรยี มเคร่ืองคอมพวิ เตอร์พร้อมอปุ กรณต์ ่อพว่ ง ระบบอินเตอร์เน็ต สำหรบั การประชุม
6. ปฏิบัติหนา้ ที่อน่ื ตามท่ไี ดร้ บั มอบหมายจากคณะกรรมการอำนวยการ

8. คณะกรรมการประจำห้องจดั ประชมุ นำเสนอผลงาน Student Workshop ประกอบด้วย
บุคคล ดงั ต่อไปนี้

ห้อง A = ประเภทบทความสาขา เครอื่ งกล/โยธา จำนวน 19 บทความ

ที่ ชือ่ – สกลุ สังกัด ตำแหนง่
ประธาน (Chair Man)
1 ดร.สามารถ สวา่ งแจง้ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยี
รองประธาน
พระจอมเกล้าพระนครเหนือ (CO-Chair Man)
ผู้ดำเนนิ รายการ
2 ดร.ศรายุทธ ทองอทุ ยั สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 5
เจ้าหนา้ ทส่ี ารสนเทศ
3 นายถาวร ราชรองเมอื ง สถาบนั การอาชีวศกึ ษา เจา้ หน้าทีต่ ดิ ตาม
ผเู้ ขา้ ประชมุ
ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื 1 ผูป้ ระสานงาน

4 นายบญุ ญฤทธิ์ คำภมู ี วทิ ยาลัยการอาชีพหนองคาย /ห้อง B1…

5 นางสาวเตอื นจิตร บตุ รแกว้ สถาบนั การอาชีวศึกษา

ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ 1

6 วา่ ท่ี ร.ท.ชนิ ภัทร แกว้ โกมนิ ทวงษ์ วทิ ยาลยั เทคนคิ หนองคาย


-5-

ห้อง B1 = ประเภทบทความสาขา ไฟฟ้า / อเิ ล็กทรอนิกส์ (1) จำนวน 14 บทความ

ที่ ช่อื – สกลุ สังกัด ตำแหนง่

1 ผศ. ดร.นำโชค วัฒนานัย มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยี ประธาน (Chair Man)

พระจอมเกล้าพระนครเหนือ

2 ดร.ประกาศิต ปราบพาล สถาบนั การอาชวี ศกึ ษา รองประธาน

ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ 2 (CO-Chair Man)

3 นายชัชวาล ปุณขนั ธ์ุ สถาบนั การอาชีวศึกษา ผู้ดำเนนิ รายการ

ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ 1

4 นายสราวฒุ ิ ชูรตั น์ วิทยาลัยการอาชีพอดุ รธานี เจา้ หนา้ ทส่ี ารสนเทศ

5 นางสาวอัญชลี บุญฤทธิ์ วิทยาลัยอาชีวศกึ ษาหนองคาย เจา้ หน้าที่ติดตาม

ผู้เข้าประชมุ

6 สบิ เอกประสานพนั ธ์ สายสิญจน์ วทิ ยาลัยเทคนิคหนองคาย ผู้ประสานงาน

หอ้ ง B2 = ประเภทบทความสาขา ไฟฟา้ / อเิ ล็กทรอนิกส์ (2) จำนวน 13 บทความ

ท่ี ชือ่ – สกลุ สังกัด ตำแหน่ง

1 ผศ.ดร.ภัควี หะยะมิน มหาวิทยาลยั เทคโนโลยี ประธาน (Chair Man)

พระจอมเกล้าพระนครเหนือ

2 นางสาวอังคณา อตั ถาพร วทิ ยาลัยเทคนิคหนองคาย รองประธาน

(CO-Chair Man)

3 นายพนม แสงแก้ว วทิ ยาลัยเทคนิคหนองคาย ผู้ดำเนนิ รายการ

4 นายกฤตเมธ สายสิญจน์ วิทยาลยั เทคนคิ หนองคาย เจา้ หน้าท่สี ารสนเทศ

5 นางนศิ ารตั น์ ยศษา สถาบนั การอาชวี ศึกษา เจา้ หน้าท่ีติดตาม

ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ 1 ผู้เขา้ ประชุม

6 นางพรเพ็ญ วงั พมิ ูล วทิ ยาลัยเทคนคิ หนองคาย ผปู้ ระสานงาน

ห้อง C1 = ประเภทบทความการบญั ชี-การตลาด (1) จำนวน 20 บทความ

ที่ ชื่อ – สกลุ สงั กดั ตำแหน่ง
ประธาน (Chair Man)
1 อาจารย์ชัยนาจ ปน้ั สันเทยี ะ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
รองประธาน
พระจอมเกลา้ พระนครเหนือ (CO-Chair Man)
ผดู้ ำเนนิ รายการ
2 ดร.อจั ฉรา ธูปบชู ากร สถาบนั การอาชวี ศกึ ษาภาคกลาง 2
เจา้ หนา้ ที่สารสนเทศ
3 นางปภาภทั ร แสงแกว้ สถาบนั การอาชวี ศึกษา เจ้าหน้าท่ีตดิ ตาม
ผู้เข้าประชุม
ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ 1 ผปู้ ระสานงาน

4 นางปิยวรรณ บัลลงั ก์ วิทยาลยั การอาชีพหนองคาย /ห้อง C2…

5 น.ส.มนทกานต์ิ ศรีตระกลู สถาบันการอาชวี ศกึ ษา

ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื 1

6 นางสาวธราวรนิ ทร์ เทอื กประเสริฐ วทิ ยาลัยอาชีวศึกษาหนองคาย


-6-

หอ้ ง C2 = ประเภทบทความการบญั ชี-การตลาด (1) จำนวน 19 บทความ

ท่ี ชอ่ื – สกลุ สงั กัด ตำแหนง่
ประธาน (Chair Man)
1 อาจารย์ภคั ชัญญา บุญชคู ำ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยี
รองประธาน
พระจอมเกลา้ พระนครเหนือ (CO-Chair Man)
ผูด้ ำเนนิ รายการ
2 ดร.วารณุ ี เอ่ียมอารมณ์ สถาบันการอาชีวศกึ ษา เจ้าหน้าที่สารสนเทศ
เจ้าหน้าที่ตดิ ตามผูเ้ ข้า
กรุงเทพมหานคร ประชุม
ผู้ประสานงาน
3 นางวไิ ลลกั ษณ์ ไชยอาจ วิทยาลยั การอาชีพหนองคาย

4 นางนิโลบล บอ่ ทรพั ย์ วิทยาลัยการอาชีพอุดรธานี

5 นางสาวภัคชาดา แยม้ สาขา สถาบันการอาชวี ศึกษา

ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ 1

6 นางสาวชลธดิ า โพธสิ า วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษาหนองคาย

ห้อง D = ประเภทบทความคอมพิวเตอร์ธรุ กิจ-สารสนเทศ จำนวน 16 บทความ

ที่ ชอ่ื – สกลุ สังกัด ตำแหนง่
ประธาน (Chair Man)
1 ผศ.ดร.จริ พันธ์ุ ศรีสมพนั ธ์ุ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยี
รองประธาน
พระจอมเกล้าพระนครเหนือ (CO-Chair Man)
ผดู้ ำเนนิ รายการ
2 ดร.คชา โกศิลา วทิ ยาลยั อาชีวศึกษาอดุ รธานี
เจา้ หน้าทส่ี ารสนเทศ
3 นางอนสุ รณ์ พฤกษะศรี สถาบันการอาชวี ศึกษา เจา้ หน้าที่ตดิ ตาม
ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ 1 ผู้เขา้ ประชมุ
4 นางสาววรรณิศา พทิ ักษ์กลุ ผปู้ ระสานงาน
5 นางจุฬารตั น์ เพ็ญกุลกจิ วิทยาลยั เทคนิคหนองคาย

6 นางยภุ าพร จันทศิริ สถาบนั การอาชีวศกึ ษา
ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื 1
วทิ ยาลัยการอาชีพหนองคาย

ดงั ต่อไปนี้ คณะอนุกรรมการประจำหอ้ งจดั ประชุมนำเสนอผลงาน Student Workshop มีหน้าท่ี

1. วางแผนและเตรียมความพร้อมในการจดั ประชมุ
2. เป็นผู้ดำเนินรายการในทุกห้องประชุมให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย ช่วยแปลคำถาม

แกป้ ญั หาในหอ้ งประชุม
3. ปฏิบัตหิ น้าที่อืน่ ตามทไี่ ดร้ บั มอบหมายจากคณะกรรมการอำนวยการ

/ขอใหผ้ ู้ที่ไดร้ บั ...


-7-

ขอให้ผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งตามคำสั่งนี้ ปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมาย ด้วยความวิริยะ
อุตสาหะ และมีประสิทธิภาพ สมเกียรติการดำเนินการจัดการประชุมวิชาการครุศาสตร์อุตสาหกรรม
ระดับชาติ ครงั้ ท่ี 14 และการจดั ประชุมวิชาการครุศาสตร์อตุ สาหกรรมระดับนานาชาติ คร้ังท่ี 9 ร่วมกับคณะ
ครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และสมาคมครุศาสตร์
อุตสาหกรรม ประจำปกี ารศึกษา 2565

ทั้งน้ี ตง้ั แตว่ ันที่ 1 เดอื น มิถุนายน พ.ศ. 2565 เป็นตน้ ไป

สง่ั ณ วนั ที่ 1 เดอื น มิถุนายน พ.ศ. 2565

(นายวรวิทย์ ศรีตระกลู )
ผู้อำนวยการสถาบันการอาชีวศกึ ษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1


ดร.วรวทิ ย์ ศรตี ระกลู ผู้อำนวยการสถาบนั ฯ พร้อมดว้ ยผ้บู รหิ าร และตัวแทนอาจารย์ประจำ
หลกั สูตร ร่วมประชมุ วชิ าการการนำเสนอผลงาน ณ คณะครศุ าสตรอ์ ตุ สาหกรรม

มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ พระนครเหนือ (มจพ.) Engineering Education and
Blended Learning to the NEXT-GENeration June 9-10, 2022

โดยในการนี้ ดร.นริ ุตต์ บตุ รแสนลี ผูอ้ ำนวยการสำนักวจิ ัยและพฒั นาการอาชีวศกึ ษา
(สวพ) มารว่ มงานและรบั ฟงั การบรรยายพเิ ศษ ณ หอประชมุ เบญจรัตน์ อาคารนวมินทรราชนิ ี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนอื งานประชุมวิชาการในครั้งน้ีเป็นความร่วมมือ
กนั ระหวา่ งสถาบนั การอาชวี ศึกษาภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื 1 คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระนครเหนือ และสมาคมครุศาสตร์อตุ สาหกรรม เปน็
เจ้าภาพในการจดั งานร่วมกนั โดยมวี ตั ถุประสงค์เพอ่ื เผยแพร่ผลงานวิจัยและเสริมสรา้ งเครือขา่ ย
การทำวจิ ยั ร่วมกันระหวา่ งบคุ ลากรของมหาวทิ ยาลัยและสถานศึกษาอ่ืนๆ รวมถงึ ภาคเอกชนและ
ผูส้ นใจทั่วไป อกี ทั้งเปน็ เวทีในการนำเสนอผลงานวิจัยและนวตั กรรม เพ่อื การพัฒนาตอ่ ยอดในแวด
วงการศึกษาและด้านอุตสาหกรรม อันจะก่อให้เกิดผลดีตอ่ สังคมและประเทศชาตอิ ย่างยั่งยืน


สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ 1 นำโดยดร.วรวทิ ย์ ศรตี ระกูล
ผอู้ ำนวยการสถาบัน และคณะผู้บริหารสถาบนั ฯ จัดประชุมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารการเขียนบทความ
วจิ ยั เพื่อเขา้ รว่ มการประชุมวิชาการคณะครุศาสตรอ์ ุตสาหกรรม มหาวิทยาลยั เทคโนโลยี

พระจอมเกล้าพระนครเหนอื ระดับชาตคิ ร้ังที่ 14
ณ หอ้ งประชุมภาสกร ศูนย์ประชมุ มลฑาทพิ ย์ ฮอลล์ อุดรธานี

วันท่ี 3 เมษายน 2565


ภาพการประชุมวชิ าการ การนำเสนอผลงานนักศึกษา
The 14th National Conference on Technical Education

(NcTechEd-Student Workshop 2022)
วนั ที่ 10 มิถนุ ายน 2565 ณ สถาบันการอาชวี ศกึ ษาภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ 1

อำเภอเมืองหนองคาย จงั หวดั หนองคาย


Click to View FlipBook Version