The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประชุมวิชาการการนำเสนอผลงาน ณ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) Engineering Education and Blended Learning to the NEXT-GENeration June 9-10, 2022

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ประชุมวิชาการการนำเสนอผลงาน ณ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) Engineering Education and Blended Learning to the NEXT-GENeration June 9-10, 2022

ประชุมวิชาการการนำเสนอผลงาน ณ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) Engineering Education and Blended Learning to the NEXT-GENeration June 9-10, 2022

Keywords: ประชุมวิชาการการนำเสนอผลงาน ณ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) Engineering Education and Blended Learning to the NEXT-GENeration June 9-10, 2022

การประชมุ วชิ าการนาํ เสนอผลงานนกั ศึกษา 2. วัตถปุ ระสงค์
28 NCTechED-Student Workshop 2022 2.1 เพ่อื สร้างเครื่องเก็บเกี่ยวถว่ั ลิสง
2.2 เพ่ือประเมินคุณภาพของเครื่ องเก็บเกี่ยว
June 10,2022
ถว่ั ลิสง
1.บทนํา 2.3 เพ่ือหาสมรรถนะเครื่องเกบ็ เก่ียวถวั่ ลิสง
ในประเทศไทยมีการประกอบอาชี พทาง
3. สมมติฐานของการวจิ ยั
เกษตรกรรม เป็น 75 เปอร์เซ็นต์ ของประชากร และ 3.1 เครื่องเก็บเก่ียวถว่ั ลิสงท่ีสร้างสามารถ
เกษตรกรมีการปลูกพืชประกอบอาชีพไดแ้ ก่ การทาํ
นาขา้ ว การทาํ ไร่ออ้ ย มนั สําปะหลงั และถว่ั ลิสงซ่ึง ขดุ ตน้ ถวั่ ลิสงได้ [2]
สามารถปลูกไดใ้ นทุกภาค ของประเทศเจริญเติบโต 3.2 เครื่องเก็บเก่ียวถ่วั ลิสงมีสมรรถนะใน
ไดด้ ี ในท่ีดินร่วนหรือดินร่วนปนทราย ปลกู ไดท้ ้งั ใน
ฤดูฝนและฤดูแล้ง (ท้ังในเขตชลประทานและการ การทาํ งาน100 ตน้ ต่อ10 นาทีได้
ปลูกหลงั นาอาศยั ความช้ืนใตด้ ิน) ปัจจุบนั ประเทศ 4. ขอบเขตการวจิ ยั
ไทยมีพ้ืนที่ปลกู ถว่ั ลิสงประมาณ 263,000 ไร่ [1]
4.1 ดา้ นเน้ือหา
ในการท่ีจะเก็บตน้ ถวั่ ลิสงน้นั เกษตรกรจึงจาํ เป็ น 4.1.1 เคร่ืองเก็บเกี่ยวถวั่ ลิสงสามารถใช้ร่วมกับ
จะต้องมีการเก็บเกี่ยวถัว่ ลิสงก่อนท่ีจะนําไปขายสู่ แทรกเตอร์ต้งั แตข่ นาด 30แรงมา้ ถึง 40แรงมา้
ท้องตลาด การเก็บเก่ียวเมล็ดถั่วลิสงน้ัน ต้องใช้ 4.2 ตวั แปร
แรงงานคนในการเก็บเก่ียวดว้ ยวิธีภูมิปัญญาชาวบา้ น
โดยเกษตรกรจะใช้จอบในการขุดหรือใช้มือในการ 4.2.1 ตวั แปรตน้
ถอนต้นถว่ั ลิสง แล้วนาํ ไปวางไวเ้ ป็ นกองๆ แล้วยงั เคร่ืองเกบ็ เก่ียวถว่ั ลิสง
พบปัญหาอยู่คือ การจา้ งแรงงาน ในการจา้ งแรงงาน
จ ะ ต้ อ ง จ้ า ง ใ น จํา น ว น ที่ เ ย อ ะ พ อ ส ม ค ว ร เ พ่ื อ ใ ห้ 4.2.2 ตวั แปรตาม
สามารถเก็บ ผลผลิตไดร้ วดเร็วและประหยดั เวลาใน 4.2.2.1 ผลการสร้างเครื่องเกบ็ เกี่ยว
การเก็บเก่ียว ซ่ึงในการจา้ งแรงงานท่ีเยอะน้นั ทาํ ให้
ตอ้ งเสียคา่ ใชจ้ า่ ยท่ีมากข้นึ [2] ถว่ั ลิสง
4.2.2.2 ผลการประเมินคุณภาพ
จากปัญหาขา้ งตน้ ที่ไดก้ ล่าวมาน้ัน คณะผูจ้ ดั ทาํ
โครงการจึงได้สร้างเคร่ืองเก็บเกี่ยวถว่ั ลิสง เพ่ือใช้ เคร่ืองเกบ็ เกี่ยวถว่ั ลิสง
เก็บเกี่ยวถวั่ ลิสงท่ีมีคุณภาพและราคาประหยดั โดย 4.3 ขอบเขตระยะ
การใช้เคร่ื องเก็บเก่ียวถ่ัวลิสงต่อพ่วงใส่ กับรถ 4.3.1 วนั ท่ี 14 มิถุนายน ถึง 15 ตุลาคม 2564
แทรกเตอร์โดยการใช้เกียร์ PTO หรือเกียร์ฝาก จาก 4.4 ขอบเขตดา้ นพ้นื ที่
รถแทรกเตอร์เป็ นต้นกําลังขับส่ งกําลังในการ 4.4.1 บ้านนารวงทอง ตาํ บลโซ่ อาํ เภอโซ่
ขบั เคล่ือนการทาํ งานของเครื่องเก็บเกี่ยวถวั่ ลิสง ใช้
ใบมีดในการขุดตน้ ถวั่ ลิสงแลว้ ชุดโซ่ลาํ เลียงจะเป็ น พิสัย จงั หวดั บึงกาฬ
ตัวดึงต้นถ่วั ลิสงไปยงั กระบะที่ทาํ ไวร้ องรับต้นถวั่ 4.5 ดา้ นประชากร และกลุ่มตวั อยา่ ง
ลิสง เพื่อท่ีจะนําไปปลิดฝักถ่วั ลิสงและนําไปตาก 4.5.1 ประชากร ท่ีใช้ในการวิจัยคร้ังน้ีเป็ น
แหง้ และนาํ ส่งขายในทอ้ งตลาดตอ่ ไป
อาจารย์ แผนกช่างยนต์ วิทยาลยั เทคนิคอุดรธานี ซ่ึง
เป็นผเู้ ชี่ยวชาญ ที่มีประสบการณ์สอนไม่ต่าํ กวา่ 5 ปี
ที่เขา้ ร่วมประเมินส่ิงประดิษฐ์ จาํ นวน 5 คน


การประชุมวชิ าการนําเสนอผลงานนกั ศกึ ษา 29

4.5.2 กลมุ่ ตวั อยา่ งที่ใชใ้ นการวิจยั คร้ังน้ีเป็น NCTechED-Student Workshop 2022
อาจารย์ แผนกช่างยนต์ วิทยาลยั เทคนิคอุดรธานี ซ่ึง
เป็นผูเ้ ช่ียวชาญ ท่ีมีประสบการณ์สอนไม่ต่าํ กว่า 5 ปี June 10,2022
ท่ีเขา้ ร่วมประเมินส่ิงประดิษฐ์ โดยการเลือกแบบ
เจาะจง จาํ นวน 3 คน ระดบั มากท่ีสุด (X� = 4.20 , S.D.= 0.66) (ดา้ นการใช้
งานของเคร่ืองเก็บเก่ียวถว่ั ลิสง มีค่าเฉลี่ยอยใู่ นระดบั
5. การเก็บรวบรวมข้อมลู มาก (x�= 4.27 , S.D.= 0.66 ) ด้านประสิทธิภาพของ
ผูว้ ิจยั ไดด้ าํ เนินการเก็บรวบรวมขอ้ มูลดว้ ยตนเอง เคร่ืองเก็บเกี่ยวถว่ั ลิสง มีคา่ เฉลี่ยอยใู่ นระดบั มากท่ีสุด
(x�= 4.07 , S.D.= 0.69 ) ตามลําดับ และผลการ
โ ด ย แ จ ก แ บ บ ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ แ ล ะ ประเมินความเหมาะสมของเคร่ืองเก็บเก่ียวถวั่ ลิสง
ประสิทธิภาพที่มีต่อเครื่องเก็บเกี่ยวถวั่ ลิสง ให้คณะ พบว่ามีความเหมาะสมที่จะนาํ ไปใชง้ านเก็บเก่ียวถว่ั
ผู้เช่ียวชาญ วิทยาลัยเทคนิคอุดรธานีสาขาวิชา ลิสงและเป็นไปตามสมมติฐานที่ต้งั ไว้
เทคโนโลยีเครื่องกลท่ีเป็ นกลุ่มตวั อย่าง ตามจาํ นวน
กล่มุ ตวั อยา่ งที่กาํ หนดไวจ้ าํ นวน 3 ชุด 7. อภปิ รายผลการวจิ ัย
ผ ลกา ร ปร ะเมิ นค วามเหมาะส มของเค รื่ องเก็บ
6. สรุปผลการวิจยั
การวจิ ยั เร่ือง เคร่ืองเกบ็ เกี่ยวถว่ั ลิสง ของนกั ศึกษา เกี่ยวถว่ั ลิสง โดยรวมท้งั 3 ดา้ น ไดแ้ ก่ ดา้ นโครงสร้าง
เคร่ืองเก็บเกี่ยวถวั่ ลิสง ดา้ นการใชง้ านของเคร่ืองเกบ็
ระดบั ปริญญาตรี เครื่องเก็บเก่ียวถว่ั ลิสงท่ีไดจ้ ดั สร้าง เกี่ยวถว่ั ลิสง และด้านประสิทธิภาพของเคร่ืองเก็บ
ข้ึ น ส า ม า ร ถ ทํา ง า น ไ ด้ ต า ม จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ แ ล ะ มี เก่ียวถว่ั ลิสง มีค่าเฉลี่ยความเหมาะสมโดยรวมอยู่ใน
ประสิทธิภาพ โดยสามารถแบ่งผลการทดลองเก็บ ระดับมากที่สุดท้งั น้ีเพราะในการสร้างมีการจัดทาํ
เกี่ยวตน้ ถว่ั ลิสงได้ 3 คร้ัง ดงั น้ี (1) เคร่ืองเก็บเก่ียวถว่ั อย่างมีระบบและมีข้นั ตอนผ่านการตรวจสอบและ
ลิสงสามารถเก็บเกี่ยวได้ 300 กิโลกรัมต่อเวลา 30 ไดร้ ับคาํ แนะนาํ จากอาจารยท์ ่ีปรึกษา ผเู้ ชี่ยวชาญ โดย
นาที เมื่อเปรียบเทียบกบั แรงงาน 5 คน ที่สามารถทาํ มีการทดลองใช้เครื่ องเก็บเกี่ยวถ่ัวลิสง เพ่ือนํา
ได้ 100 กิโลกรัมต่อเวลา 30นาที (2) เครื่องเก็บเก่ียว ขอ้ บกพร่องมาปรับปรุงแกไ้ ขต่อไป
ถวั่ ลิสงสามารถเก็บเก่ียวได้ 500 กิโลกรัมต่อเวลา 60
นาที เม่ือเปรียบเทียบกบั แรงงาน 5 คน ท่ีสามารถทาํ ผลรวมการประเมินคุณภาพการทาํ งานของเครื่อง
ได้ 300 กิโลกรัมต่อเวลา 60 นาที (3) เครื่องเก็บเก่ียว เก็บเกี่ยวถว่ั ลิสงท้งั 3 ดา้ น โดยมีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากบั
ถวั่ ลิสงสามารถเกบ็ เกี่ยวได้ 900 กิโลกรัมตอ่ เวลา 120 (x� = 4.18, S.D.= 0.10)
นาที เมื่อเปรียบเทียบกบั แรงงาน 5 คน ที่สามารถทาํ
ได้ 500 กิโลกรัมตอ่ เวลา 120 นาที ในด้านโครงสร้างเคร่ื องเก็บเก่ียวถ่ัวลิ สง
มีค่าเฉล่ียอยู่ในระดับมากท่ีสุด (x� = 4.20 , S.D.= 0.66)
ผลการประเมินเครื่ องเก็บเกี่ยวถ่ัวลิสง โดย มีความแข็งแรง เหมาะสมต่อการติดต้งั อุปกรณ์ และ
ผู้เช่ียวชาญจํานวน 3 คน มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ใน การประกอบมีความมนั่ คงแขง็ แรงเหมาะแก่การใชง้ าน
ระดับมากท่ีสุด (x�= 4.18 , S.D.= 0.10) จาํ แนกราย
ด้านพบว่าโดยรวมท้ัง 3 ด้าน มีค่าเฉล่ียด้าน ด้านการใช้งานของเคร่ืองเก็บเก่ียวถั่วลิสง มี
โครงสร้างเครื่องเก็บเก่ียวถ่ัวลิสง มีค่าเฉลี่ยอยู่ใน ค่าเฉล่ียอยใู่ นระดบั มากที่สุด (x� = 4.27, S.D = 0.66)
สามารถประหยดั ค่าใช้จ่ายในการจ้างแรงงาน และ
ประหยดั เวลาในการเกบ็ เก่ียว

ดา้ นประสิทธิภาพของเครื่องเก็บเก่ียวถวั่ ลิสง มี
ค่าเฉลี่ยอยใู่ นระดบั มากที่สุด (x� = 4.07, S.D = 0.69)
เคร่ืองเก็บเกี่ยวถ่ัวลิสง สามารถใช้งานได้อย่างมี


การประชมุ วชิ าการนาํ เสนอผลงานนักศกึ ษา
30 NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

ประสิทธิภาพแนวคิดในการสร้างสรรค์ ท้งั น้ีเพราะ
ในการสร้างมีการจดั ทาํ อย่างมีระบบและมีข้นั ตอน
ผา่ นการตรวจสอบและไดร้ ับคาํ แนะนาํ จากอาจารยท์ ่ี
ปรึกษา ผูเ้ ช่ียวชาญ โดยมีการทดลองใช้ นําผลมา
ปรับปรุงแกไ้ ขทาํ ใหไ้ ดเ้ ครื่องเก็บเก่ียวถว่ั ลิสง เหมาะ
สาํ หรับใชง้ านต่อไป

8. ข้อเสนอแนะ
จากการสร้างเคร่ืองเก็บเกี่ยวถวั่ ลิสง คณะผูว้ ิจยั มี

ขอ้ เสนอแนะจากการ วจิ ยั ดงั น้ี
8.1 ควรปรับใหใ้ บมีดขดุ มีขนาดที่ใหญข่ ้นึ
8.2 ควรปรับแต่งให้ใบมีดขุดสามารถปรับ

สู่ง - ต่าํ ได้
8.3 ปรับขนาดของกระบะใหม้ ีความใหญข่ ้นึ
8.4 ควรปรับต้งั ชุดโซ่ลาํ เลียงให้มีองศาการเอียงท่ี

เหมาะสม

9. เอกสารอ้างองิ

[1] สาํ นกั งานเศรษฐกิจการเกษตร, “ถว่ั ลิสง” ,
(เขา้ ถึงเม่ือ 1 พฤษจิกายน 2564).

[2] อนนั ต์ บลั นาลงั ก,์ (2536), “วิจยั และพฒั นาเครื่อง
ขดุ มนั สาํ ปะหลงั ”, กองเกษตรวศิ วกรรม, กรม
วิชาการเกษตร, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.

[3] กิตติ วงส์พิเชษฐ เสรี วงส์พเิ ชษฐ์, (2543), ลอ้
ตน้ แบบรถไถเดินตามสาํ หรับใชใ้ นระยะเกบ็ เกี่ยว
ถว่ั ลิสง, 19-20.


การประชุมวชิ าการนาํ เสนอผลงานนักศึกษา 31

NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

ชดุ ฝกึ ระบบแสงสวา่ งรถยนตค์ วบคุมด้วยระบบไฟฟ้าส่อื สาร
CAN BUS

พรี วัฒน์ กองสุวรรณ1* ชายชาญ คำพฒั น์2 และโจเซฟ ฮลิ ล์3

บทคัดย่อ

งานวจิ ยั นมี้ วี ัตถปุ ระสงค์เพอื่ สรา้ งชุดฝึกระบบแสงสว่างรถยนตค์ วบคุมด้วยระบบสื่อสาร Can bus เพื่อหาประสิทธิภาพ
การใช้งานชุดฝึกระบบแสงสว่างรถยนต์ควบคุมด้วยระบบสื่อสาร Can bus เพื่อประเมินคุณภาพชุดฝึกระบบแสงสว่าง
รถยนต์ควบคุมด้วยระบบสื่อสาร Can bus วิธีดำเนินการวิจยั ศกึ ษาออกแบบและสร้างชุดฝึกระบบแสงสว่างรถยนต์ควบคุม
ด้วยระบบสอ่ื สาร Can bus ทดสอบและปรบั ปรงุ แกไ้ ข โดยมีผู้เช่ียวชาญในการประเมินเปน็ อาจารย์แผนกชา่ งยนต์ จำนวน 3
คน จากผลการศึกษาพบว่าชุดฝึกระบบแสงสว่างรถยนต์ควบคุมด้วยระบบสื่อสาร Can bus สามารถใช้เป็นสื่อการเรยี นการ
สอนในรายวิชาไฟฟา้ ยานยนต์ และวชิ าเทคโนโลยยี านยนต์สมยั ใหมไ่ ด้

ผลการประเมินคุณภาพการทำงานของชุดฝึกระบบแสงสว่างรถยนต์ควบคุมด้วยระบบไฟฟา้ สื่อสาร can bus ทั้ง 3 ด้าน
โดยมีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ (x̅ = 4.27 , S.D. = 0.34) และค่าเฉลี่ยในแต่ละด้านดังนี้ ด้านโครงสร้างชุดฝึกระบบแสงสว่าง
รถยนต์ควบคุมด้วยระบบไฟฟ้าสื่อสาร can bus ค่าเฉลี่ยเท่ากับ (x̅ = 4.42 , S.D. = 0.32) ด้านการใช้งานชุดฝึกระบบแสง
สว่างรถยนต์ควบคุมด้วยระบบไฟฟ้าสื่อสาร can bus ค่าเฉลี่ยเท่ากับ(x̅ = 4.22 , S.D. = 0.01 ด้านการประสิทธิภาพชุดฝึก
ระบบแสงสว่างรถยนต์ควบคุมดว้ ยระบบไฟฟ้าสื่อสาร can bus ค่าเฉลีย่ เท่ากับ (x̅ = 4.17 , S.D. = 0.69) และผลการประเมิน
ความเหมาะสมของสร้างชดุ ฝึกระบบแสงสว่างรถยนตค์ วบคุมดว้ ยระบบไฟฟ้าสื่อสาร can bus พบว่ามีความเหมาะสมทีจ่ ะ
นำไปใช้เปน็ สือ่ การเรียนการสอนและสามารถใช้งานไดเ้ ป็นไปตามสมมติฐานทตี่ ั้งไว้

คำสำคญั : ระบบสอ่ งแสงสว่าง แคนบัส

1,2,3 สาขาวิชาเทคโนโลยเี คร่ืองกล วิทยาลัยเทคนคิ อุดรธานี สถาบนั การอาชวี ศกึ ษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1
*พรี วฒั น์ กองสวุ รรณ โทร +6801648729 อีเมล; [email protected]

NCTechEd A05-2022


การประชุมวชิ าการนําเสนอผลงานนักศกึ ษา
32 NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

THE TRAINING BOARD LIGHTING SYSTEM CONTROLLED
BY CAN BUS COMMUNICATION SYSTEM

Peerawat Kongsuwan1* Chaychan Khamphat2 and Joseph Hill3

Abstract

This research aims to create a training set for lighting systems for cars controlled by Can bus communication
system to find the efficiency of use of training sets for lighting systems for cars controlled by Can bus
communication system to evaluate the quality of training sets for lighting systems for cars controlled by Can bus
communication system. Method Conduct research, study, design and build a training kit for lighting systems
controlled by Can bus communication system, test and improve There are 3 experts in the assessment are professors
in the Automotive Mechanics Department.

From the results of the study, it was found that the Can bus lighting system training kit can be used as a teaching
tool in the automotive electrical course. and modern automotive technology. The results of the assessment of the
quality of work of the training set for lighting systems controlled by the can bus electric communication system on
all 3 sides with the total mean equal to (x̅ = 4.27 , S.D. = 0.34) and the mean in each aspect are as follows: In terms
of the structure of the training set for the lighting system of the can bus control electric vehicle, the mean is equal
to (x̅ = 4.42 , S.D. = 0.32). For the use of the can bus lighting training system, the average value is equal to (x̅ =
4.22, S.D. = 0.01), the efficiency of the can bus lighting system training course for the can bus system is the average
value of (x̅ = 4.17 S.D. = 0.69) And the results of assessing the suitability of building a training kit for the lighting
system controlled by the can bus electric
Keywords: lighting systems Can bus

1,2,3 Mechanical Technology Udonthani Technical College Udonthani Province 41000
Institute of Vocational Education : Northeastern region 1
* Peerawat Kongsuwan Tel: +6801648729 e-Mail; [email protected]

NCTechEd A05-2022


การประชมุ วชิ าการนาํ เสนอผลงานนกั ศกึ ษา 33

NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

1. บทนำ ระบบไฟฟ้ายานยนต์สมัยใหม่ ได้ติดตั้งระบบ
ปัจจุบันรถยนต์ได้อาศัยเทคโนโลยีไฟฟ้าและ ไฟฟ้าสื่อสาร can bus มากยิ่งขึ้นแทนที่ระบบ ไฟฟ้า
รถยนต์ที่ใช้สายไฟแผงเดิมอย่างไรก็ตามแผนกช่าง
อเิ ล็กทรอนิกสม์ ากย่ิงขน้ึ เพอื่ ควบคมุ ระบบตา่ งๆ ของ ยนต์วิทยาลัยเทคนิคอุดรธานียังขาดแคลน ชุดฝึก
รถยนต์ เช่นระบบไฟส่องสว่าง ระบบควบคุม ระบบแสงสว่างรถยนต์ควบคุมด้วยระบบไฟฟ้า
เครื่องยนต์ด้วยอิเล็กทรอนิกส์ ระบบควบคุมการส่ง สื่อสารแคนบัส can bus ทำให้นักเรยี นนกั ศึกษา ไม่มี
กำลงั และระบบไฟฟา้ อำนวยความสะดวก เปน็ ต้น ดง้ั ความรู้ ความเข้าใจ ไม่มีทักษะในการต่อวงจรไฟฟ้า
นั้นจึงเป็นสิ่งจำเป็นที่ช่างเทคนิคจะต้องมีความรู้ สอ่ื สาร can bus จากความเปน็ มาและความสำคัญของ
ความเข้าใจทั้งทฤษฎีและปฏิบัติไฟฟ้ายานยนต์เป็น ปัญหาดังกล่าว คณะผู้จัดทำโครงการ จึงจัดทำ
อย่างดี เพื่อนำไปสู่การตรวจสอบ วิเคราะห์ปัญหา โครงการ ชุดฝึกระบบแสงสว่างรถยนต์ควบคุมด้วย
และบริการระบบไฟฟ้ายานยนต์ที่เกิดขึ้นในรถยนต์ ระบบไฟฟ้าสื่อสาร can bus ขึ้น ซึ่งจะทำให้ผู้เรียน
ไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ สามารถเรียนรู้วงจรไฟฟ้า การทำงาน การตรวจสอบ
และวิเคราะห์ปัญหาระบบไฟฟ้าดังกล่าว ส่งผลให้
ในปัจจุบันยุคที่รถยนต์ไม่ได้มีระบบไฟฟ้า การ เรยี นการสอนมปี ระสิทธิภาพดียงิ่ ขนึ้ ต่อไป[1]
มากมาย ระบบต่างๆ ถูกเชื่อมต่อกันด้วยสายแบบ จุด
ตอ่ จดุ และใช้ระบบเดียวในการควบคุมรถยนต์ทั้งคัน 2. วตั ถุประสงคก์ ารวิจยั
เมื่อรถยนต์ถูกพัฒนาให้มีระบบความบันเทิง ระบบ 2.1 เพื่อสร้างชุดฝึกระบบแสงสว่างรถยนต์
ปรับอากาศ และระบบไฟฟา้ อืน่ ๆ มากขึ้น การใช้สาย
แบบจุดต่อจุดยากต่อการผลิต การซ่อมบำรุง และ ควบคมุ ด้วยระบบไฟฟ้าสือ่ สารเเคนบัส (can bus)
สิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย ในปี 1983 บริษัทบ๊อช (Bosch) 2.2 เพื่อประเมินความเหมาะสมของชุดฝึกระบบ
ได้เริ่มต้นพัฒนา can bus ขึ้นมาเพื่อแก้ปัญหา การ
เชื่อมต่อสายแบบจุดต่อจุด จากนั้นในปี 1991 ตัว can แสงสว่างรถยนต์ควบคุมด้วยระบบไฟฟ้า สื่อสาร
bus จึงถูกนำไปใช้จริงในรถยนต์เมอร์เซ เดส-เบนซ์ เเคนบัส (can bus) [2]
ซีรีย์ W140 ในปีเดียวกันนี้ บริษัท Bosch ยังได้
เผยแพร่มาตรฐาน CAN 2.0 can bus ไปใช้ได้อีกด้วย 2.3 เพื่อหาประสิทธิภาพของชุดฝึกระบบแสง
องค์กร International Organization for Standardization สว่างรถยนต์ควบคุมด้วยระบบไฟฟ้าสื่อสาร เเคนบัส
ได้รับรองให้ can เป็นมาตรฐาน ISO 11898 ในปี (can bus)
1993 ส่งผลให้ผู้ผลิตรถยนต์ ผู้ผลิตชิปและผู้ผลิต
อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องได้ยึดมาตรฐานนี้ในการผลิต 3. วิธีดำเนินการวจิ ยั
สนิ คา้ นบั ต้ังแต่นั้นเกดิ ความเปล่ียนแปลงอีกครั้งในปี 3.1 ศกึ ษาหาขอ้ มลู เบ้ืองต้น
2012 บริษัทบ๊อช ได้เผยแพร่ CAN FD 1.0 หรือ can 3.2 วางแผนการดำเนินงาน
with Flexible Data Rate ทำให้ can bus สามารถเลือก 3.3 การดำเนินการสร้าง
ความเร็ว (Data Rate) ในการสื่อสารได้ องค์กร ISO 3.4 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล
รบั รองให้ CAN FD เปน็ มาตรฐาน ISO 11898-1 ในปี 3.5 สถติ ทิ ใี่ ช้ในการวิเคราะหข์ ้อมูล
2015, ปถี ดั มา (2016) can bus [3] 3.6 การนำเสนอขอ้ มูล
3.7 การวิเคราะห์ข้อมลู
NCTechEd A05-2022


การประชมุ วชิ าการนําเสนอผลงานนักศึกษา bus ดา้ นการใชง้ านของชดุ ฝึกระบบแสงสว่างรถยนต์
34 NCTechED-Student Workshop 2022 ควบคุมด้วยระบบไฟฟ้าสื่อสาร can bus และด้าน
ประสิทธิภาพของชุดฝึกระบบแสงสว่างรถยนต์
June 10,2022 ควบคุมด้วยระบบไฟฟ้าสื่อสาร can bus มีค่า เฉล่ีย
คุณภาพโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุดทั้งนี้เพราะใน
4. ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู การสร้างมีการจัดทำอย่างมีระบบและมีขั้นตอนผ่าน
4.1 สัญลักษณ์ที่ใช้ในการนำเสนอผลการ การตรวจสอบและได้รับคำแนะนำจากอาจารย์ท่ี
ปรึกษา ผู้เชี่ยวชาญ โดยมีการทดลองใช้ชุดฝึกระบบ
วิเคราะหข์ ้อมลู แสงสว่างรถยนต์ควบคุมด้วยระบบไฟฟ้าสื่อสาร can
4.2 ขั้นตอนในการนำเสนอผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู bus เพ่อื นำข้อบกพรอ้ งมาปรบั ปรงุ แกไ้ ขต่อไป

5. สรปุ ผลการวิจยั ผลรวมการประเมินคุณภาพการทำงานของชุดฝกึ
การวิจยั เรื่อง เคร่ืองเกบ็ เกย่ี วถั่วลิสง ของนักศึกษา ระบบแสงสว่างรถยนต์ควบคุมด้วยระบบไฟฟ้า
ส่อื สาร can bus 3 ดา้ น โดยมคี า่ เฉลยี่ รวมเทา่ กบั (x̅ =
ระดับปริญญาตรี ผลการสร้างสร้างชุดฝึกระบบแสง 4.27 , S.D = 0.34)
สว่างรถยนต์ควบคุมด้วยระบบไฟฟ้าสื่อสาร can bus
มีลักษณะเป็นชุดสาธิตมีขนาด ความกว้าง 130 ในด้านโครงสร้างชุดฝึกระบบแสงสว่างรถยนต์
เซนติเมตร ความสูง 160 เซนติเมตร ติดตั้งอุปกรณ์ ควบคุมด้วยระบบไฟฟ้าสื่อสาร can bus มีค่าเฉลี่ยอยู่
สายไฟ รีเลย์ ฟิวส์สาย โคมไฟหน้ารถยนต์ โคมไฟ ในระดับมาก (x̅ = 4.42 , S.D = 0.32) มคี วามแขง็ แรง
ทา้ ยรถยนต์ สวติ ช์ยกเลยี้ ว ไฟเกง๋ และแตร เหมาะสมต่อการติดตั้งอุปกรณ์ และการประกอบมี
ความมน่ั คงแขง็ แรงเหมาะแก่การใช้งาน
ผลการประเมินคุณภาพการทำงานของชุดฝึก
ระบบแสงสว่างรถยนต์ควบคุมด้วยระบบไฟฟ้า ด้านการใช้งานของชุดฝึกระบบแสงสว่างรถยนต์
สื่อสาร can bus ทั้ง 3 ด้าน โดยมีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ ควบคุมด้วยระบบไฟฟ้าส่ือสาร can bus มีค่าเฉลี่ยอยู่
(x̅ = 4.27 , S.D. = 0.34) และค่าเฉลี่ยในแต่ละด้าน ในระดบั มาก (x̅ = 4.22 , S.D = 0.01)
ดังนี้ ด้านโครงสร้างชุดฝึกระบบแสงสว่างรถยนต์
ควบคุมด้วยระบบไฟฟ้าสื่อสาร can bus ค่าเฉลี่ย ด้านประสิทธิภาพของชุดฝึกระบบแสงสว่าง
เทา่ กบั (x̅ = 4.42 , S.D. = 0.32) ด้านการใช้งานชดุ ฝึก รถยนต์ควบคุมด้วยระบบไฟฟ้าสื่อสาร can bus มี
ระบบแสงสว่างรถยนต์ควบคุมด้วยระบบไฟฟ้า ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก (x̅ = 4.17 , S.D = 0.01)
สื่อสาร can bus ค่าเฉลี่ยเท่ากับ(x̅ = 4.22 , S.D. = ชุดฝึกระบบแสงสวา่ งรถยนตค์ วบคุมดว้ ยระบบไฟฟ้า
0.01) ด้านการประสิทธิภาพชุดฝึกระบบแสงสว่าง ส ื ่ อ ส า ร can bus ส า มา ร ถใ ช ้ งา นไ ด ้ อ ย ่ า ง มี
รถยนต์ควบคุมด้วยระบบไฟฟ้าสื่อสาร can bus ประสิทธิภาพแนวคิดในการสร้างสรรค์ ทั้งนี้เพราะ
ค่าเฉลี่ยเท่ากับ (x̅ = 4.17 S.D. = 0.69) และผลการ ในการสร้างมีการจัดทำอย่างมีระบบและมีขั้นตอน
ประเมินความเหมาะสมของชุดฝึกระบบแสงสว่าง ผ่านการตรวจสอบและได้รับคำแนะนำจากอาจารย์ที่
รถยนตค์ วบคมุ ด้วยระบบไฟฟา้ สอื่ สาร can bus ปรกึ ษา ผเู้ ชย่ี วชาญ โดยมกี ารทดลองใช้ นำผล
มาปรับปรุงแก้ไขทำให้ได้ชุดฝึกระบบแสงสว่าง
6. อภิปรายผล รถยนต์ควบคุมด้วยระบบไฟฟ้าสื่อสาร can bus
ผลการประเมินคุณภาพสมของชุดฝึกระบบแสง

สว่างรถยนต์ควบคุมด้วยระบบไฟฟ้าสื่อสาร can bus
โดยรวมทัง้ 3 ด้าน ได้แก่ ด้านโครงสร้างชุดฝึกระบบ
แสงสว่างรถยนต์ควบคุมดว้ ยระบบไฟฟ้าสื่อสาร can

NCTechEd A05-2022


การประชมุ วชิ าการนาํ เสนอผลงานนกั ศกึ ษา 35

NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

เหมาะสำหรับใช้งานต่อไป ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัย 7. ข้อเสนอแนะ
ของ สมนึก สำกระโทก (2561 : บทคัดย่อ) ได้ทำการ 7.1 ควรปรบั ให้โครงสรา้ งเล็กลงกระทัดรัด
วิจัยเรื่อง ชุดฝึกระบบจกระจกไฟฟ้า รถยนต์และ 7.2 ควรปรับใหม้ ีคู่มอื การใช้งาน
อุปกรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกสโ์ นรถยนต์ ชดุ ฝกึ ระบบกระจก
ไฟฟ้ารถยนต์ และอปุ กรณ์ อเิ ล็กทรอนิกส์รถยนต์ 8. เอกสารอา้ งอิง
มีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างสื่อการเรียนการสอนใน
รายวิชางานไฟฟ้ารถยนต์ และ อิเล็กทรอนิกส์ทรอ [1] Artronshop, (2560),"ปัจจัย can bus,"[ออนไลน]์
นิกส์รถยนต์ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความสนใจในการ https://www.artronshop.co.th.
เรียน การทดลองและการลงมือ ปฏิบัติจริง สามารถ (เข้าถึงเม่อื : 5 ตุลาคม 2564).
ให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจมากยิ่งขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับ
งานวิจัยที่ศึกษา บรรเจิด แก้วกล้า (2557) ทำการวิจัย [2] Wikipedia , "ระบบ CAN BUS," [ออนไลน์]
เรื่องการสร้างและหาประสิทธิภาพชุดฝึกระบบฉีด https://en.wikipedia.org/wiki.
เชื้อเพลิงเครื่องยนต์ดีเซลแบบคอมมอนเรลควบคุม (เข้าถึงเมื่อ : 10 ตลุ าคม 2564).
ด้วยอิเล็กทรอนิกส์ และนำไปใช้สอนนักเรียนกลุ่ม
ทดลอง และเครื่องยนต์ดีเซลแบบคอมมอนเรลควบ [3] Wikipedia , "CAN BUS," [ออนไลน์]
คมุ ด้วยอเิ ล็กทรอนิกส์และนำไปใช้สอนนักเรียนกลุ่ม https://en.wikipedia.org/wiki. ,
ทดลองและกลุ่มควบคุมเพื่อเปรียบเทียบค่าคะแนน (เข้าถึงเมื่อ : 15 ตุลาคม 2564).
เฉลี่ยหลังเรียนทดสอบหลังเรียนของนักเรียนที่เรียน
ด้วยชุดฝึกระบบฉีดเชื้อเพลิงเคร่ืองยนต์ดีเซลกับคอม [4] Ioxhop, "การเช่ือมต่อระหวา่ งส่วนควบคมุ
มอนเรลควบคุมด้วยอิเล็กทรอนิกส์สงู กว่าผู้เรียนดว้ ย ด้วย CAN BUS," [ออนไลน์]
วิธีการสอนตามแผนการสอนปกติอย่างมีนัยสำคัญ https://www.ioxhop.com/article /117/can-bus,
ทางสถิตทิ ่รี ะดบั .05 ซ่งึ สอดคลอ้ งกับงานวิจัยท่ีศึกษา (เขา้ ถงึ เมือ่ : 15 ตุลาคม 2564).
สุรินทร์ ผ่องอินทรีย์ (2547) ได้ทำการวิจัยเรื่องการ
สร้างและหาประสิทธิภาพของชุดฝึกความสามารถ
เหรียญอิงเกณฑ์และเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนระหว่างเรียนจักสดุ กับเรียนด้วยวิธีสอน
ตามแผนการสอนในวิชามอเตอร์ไฟฟ้าและการ
ควบคุมเร่ืองการต่อวงจรควบคุมมอเตอร์ ซ่งึ สอดคล้อง
กับงานวิจัยที่ศึกษา สุริยา ริทธิพันธิ์ (2554) ได้สร้าง
ชุดฝึกอบรมตามสมรรถนะอาชีพช่างซ่อมเครือ่ งยนต์
ดีเซลและนำไปทดลองใช้กับผู้เรียน ผลการวิจยั พบว่า
คะแนนของผู้เรียนที่ได้ก่อนฝึกอบรมและหลังการ
ฝึกอบรมมคี วามแตกตา่ ง

NCTechEd A05-2022


การประชุมวชิ าการนาํ เสนอผลงานนกั ศึกษา
36 NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

เครอ่ื งเปา่ กรองอากาศควบคมุ ดว้ ยลมอตั โนมัติ

สรุ นันท์ โยธานันท1์ * จิระวุฒิ จันทรทะชาติ2
บทคดั ย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดสร้างเครื่องเป่ากรองอากาศแบบควบคุมด้วยลมอัตโนมัติเพื่อใช้เป็น
เครอ่ื งมือในการปฏบิ ัติงานของแผนกช่างซ่อมบำรงุ โดยเน้นการใชพ้ ลงั งานสะอาดและเป็นมติ รตอ่ ส่ิงแวดล้อม

จากการศึกษาพบว่าเครื่องเป่ากรองอากาศแบบควบคุมด้วยลมอัตโนมัติสร้างขึ้นมาเพื่อทำความสะอาด
กรองอากาศของบรรทุกเป็นเคร่ืองเป่ากรองรกั ษามลภาวะส่ิงแวดล้อมจะทำความสะอาดกรองอากาศของรถบรรทุก
ดว้ ยการใช้ลมเป่ากรองอากาศของรถจากด้านในของกรองอากาศทำให้ฝุ่นท่ตี ิดอยู่ทไี่ ส้กรองอากาศหลุดออกมาและ
จะมีลมเป่าให้ฝุ่นลอยขึ้นแล้วจะมีพัดลมดูดฝุ่นที่ลอยออกมาจากกรองของรถบรรทุกโดยรวมการทำงานจะใช้
พลงั งานท่ีออกจากป๊มั ลมซึ่งจะควบคุมการทำงานดว้ ยลมทงั้ หมด
คำสำคัญ: เครอ่ื งเป่ากรองอากาศ

1,2 สาขาวชิ าเทคโนโลยเี ครอ่ื งกล วทิ ยาลยั เทคนคิ อุดรธานี สถาบันการอาชวี ศึกษาภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื 1

*สรุ นันท์ โยธานนั ท์ โทร +0913645871 อเี มล; [email protected]


การประชมุ วชิ าการนําเสนอผลงานนักศึกษา 37

NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

AIR FILTER DRYER BY AUTOMATIC AIR CONTROLLING

Suranan Yothanan1* Jirawut Jangthachat 2

Abstract
This research aims to construct an automatic air-controlled air filter to be used as a tool for the maintenance
department's operation with an emphasis on cleaning energy and environmental friendliness.
The study had shown that the automatic air-controlled air filter dryer was built to clean the truck air filter.
It is an environmentally friendly air filter dryer. It cleans the air filter of the truck by using air to blow the air filter
of the car from the side. In the air filter, the dust attached to the air filter comes out, and the wind blows the dust
up, and then there will be a fan to suck the dust out of the filter of the truck. Overall, the work will use the energy
that out of the air pump, which controls all air operations.

Keywords: AIR FILTER DRYER

1,2,3 Mechanical Technology Udonthani Technical College Udonthani Province 41000
Institute of Vocational Education : Northeastern region 1

* Suranan Yothanan โทร +0913645871 อเี มล; [email protected]

NCTechEd A06-2022


การประชมุ วิชาการนาํ เสนอผลงานนักศึกษา ห้องเผาไหม้ได้กระทรวงอุตสาหกรรมได้กำหนด
38 NCTechED-Student Workshop 2022 มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเรื่องไส้หม้อกรอง
อากาศที่ใช้กับเครื่องยนต์สันดาปภายในหมายเลข
June 10,2022 มอก. 788-2531 [9] ประกาศใช้เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม
พ.ศ. 2531 ซึ่งหลักเกณฑ์และการกำหนดขั้นคุณภาพ
1. บทนำ ของไส้กรองอากาศได้อ้างอิง ISO และ BRITISH
ในปัจจุบันรถบรรทุกได้กลายเป็นปัจจัย STANDARD ชนั้ คณุ ภาพท่กี ำหนดโดยวธิ ีการดงั กล่าว
เป็นการทดสอบไส้กรองอากาศในห้องปฏิบัติการโดย
สำคัญอย่างมากในการดำรงชีวิตของมนุษย์เพื่อ ใช้พัดลมดูดอากาศที่มีความหนาแน่นของฝุ่นตามที่
นำมาใช้ ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ ที่จะช่วยอำนวย มาตรฐานกำหนดดูดอากาศผ่านไส้กรองอากาศดักไว้
ความสะดวกในการเดินทางให้กับมนุษย์ทั้งเรื่อง ได้เท่าไรความดันตกคร่อมไส้หม้อกรองอากาศเป็น
ส่วนตัว การทำธุรกิจ การทำงาน และการขนส่ง เป็น เท่าไร ตามระยะเวลาการทดสอบวิธีการทำความ
ต้น เมื่อมีการใช้งานรถบรรทุกอยู่เป็นประจำจะต้องมี สะอาดไส้กรองอากาศรถบรรทุกควรถอดออกมาทำ
การบำรุงรักษา หรือมีการตรวจสอบตามระยะทางเพือ่ ความสะอาดทุกๆ ระยะทางที่รถวิ่งประมาณ 2,000 -
เป็นการยืดอายุการใช้ของรถบรรทุกให้มีสภาพเป็น 5,000 กิโลเมตร ขึ้นอยู่กับการใช้งานการทำความ
ปกติและพร้อมใช้งานอยู่ตลอดเวลาดังนั้น จะต้องมี สะอาดไส้กรองอากาศรถบรรทุกโดยการนำมาเป่าทำ
การตรวจสอบการทำงานระบบต่าง ๆ ของรถบรรทุก ความสะอาดให้ใช้แรงลมเป่าจากด้านในออกสู่ด้าน
อยู่เป็นประจำ เช่น ตรวจสอบระดับน้ำมันเครื่อง นอกถา้ เปา่ ยอ้ นทาง จากด้านนอกเข้าสู่ด้านในลมที่เป่า
ตรวจสอบระดับน้ำในหม้อน้ำ ตรวจสอบระดับน้ำ จะดันให้ละอองฝุ่นฝังติดลึกเข้าไปอีกทำให้ไส้กรอง
กลนั่ แบตเตอร่ี และการทำความสะอาดไส้กรองอากาศ อากาศอุดตันเร็ว และมากกว่าเดิมโดยทั่วไปไส้กรอง
รถบรรทุก เป็นต้น ไส้กรองอากาศรถบรรทุกก็เป็นอีก อากาศจะมีอายุในการใช้งานประมาณ 10,000
ส่วนหนึ่งที่มีความสำคัญมากสำหรับรถบรรทุกเพราะ กิโลเมตร หรือตามที่ บริษัทรถบรรทุกกำหนดไว้การ
ไส้กรองอากาศรถบรรทุกจะทำหน้าที่ในการดักฝุ่น ทำความสะอาดไส้กรองอากาศรถบรรทุกนั้นช่าง
ละอองและสิ่งสกปรกไม่ให้เข้าไปในเครื่องยนต์แต่ ประจำศูนย์บริการรถบรรทุก จะนำไส้กรองอากาศ
เมอ่ื ใชง้ านไปนานๆ อาจจะเกิดการอดุ ตันและสง่ ผลให้ รถบรรทกุ มาทำความสะอาดโดยการใช้แรงลมเป่ากจ็ ะ
อากาศผ่านเข้าไปในกระบอกสูบได้น้อยลงทำให้การ ทำให้เกิดการฟุ้งกระจายของฝุ่นละอองทำให้เกิด
เผาไหม้ในห้องเครื่องยนต์ไม่สมบูรณ์และทำให้ อันตรายต่อร่างกายโดยเฉพาะคนเป่าเองจะทำให้เกิด
ประสิทธิภาพในการทำงานลดลงโดยปกติแล้วไส้ โรคเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ เช่น หลอดลม
กรองอากาศรถบรรทุกควรจะต้องเปลีย่ นทุก ๆ 20,000 อักเสบ และโรคภูมแิ พ้ได้
กิโลเมตรหรอื น้อยกว่าน้ัน เมื่อไส้กรองอากาศสกปรก
ก็อาจจะส่งผลเสียต่อเครื่องยนต์ได้โดยทั่วไปปริมาณ
อากาศที่ใช้ในการเผาไหม้ของเครื่องยนต์มีน้ำหนัก
ประมาณ 15 เท่า ของน้ำมันเชื้อเพลิงหรือประมาณ
100-200 ลูกบาศก์ฟุตต่อนาที ซึ่งนับว่ามีปริมาณ
ค่อนข้างมากหากมีฝุ่นผงสิ่งสกปรกปะปนอยู่ใน
อากาศและสิ่งเหล่านี้เข้าไปในห้องเผาไหม้ จะทำให้
เกิดการสึกหรือในเครื่องยนต์สูงส่งผลให้อายุของ
เครื่องยนต์สั้นลงด้วยเหตุนี้จึงต้องมีไส้กรองอากาศไว้
กรองหรอื กักเก็บสิ่งสกปรกไวไ้ ม่ให้เลด็ ลอดเข้าไปใน

NCTechEd A06-2022


การประชมุ วิชาการนําเสนอผลงานนักศกึ ษา 39

NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

2. วัตถปุ ระสงค์การวจิ ัย มากที่สุด (x̅ = 4.65,. S.D =0.16) ด้านประสิทธิภาพ
2.1 เพื่อออกแบบสร้างเครื่องเป่ากรองอากาศแบบ ของเครื่องเป่าทำความสะอาดไส้กรองอากาศรถบรรทุก
มคี า่ เฉล่ยี อยูใ่ นระดบั มากท่ีสุด (x̅ = 4.83, S.D = 0.24)
ควบคุมด้วยลมอตั โนมัติ ตามลำดับ และผลการประเมินความเหมาะสมของ
2.2 เพื่อหาประสิทธิภาพการใช้งานเครื่อง เครื่องเป่าทำความสะอาดไส้กรองอากาศรถบรรทุก
พบว่า มีความเหมาะสมที่จะนำไปใช้ในการผ่อนแรง
เปา่ กรองอากาศแบบควบคมุ ดว้ ยลมอัตโนมัติ และลดค่าใช้จ่ายในการซ้อื นำ้ มันเชอื้ เพลิงให้กับ
2.3 เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้เครือ่ ง ชา่ งยนต์

เป่ากรองอากาศแบบควบคุมด้วยลมอตั โนมตั ิ 6. อภิปรายผล
6.1ผลการออกแบบและสร้างเครื่องเป่า
3. วิธดี ำเนินการวิจัย
3.1 ขน้ั ตอนของการดำเนินการวจิ ยั กรองอากาศแบบควบคุมดว้ ยลมอัตโนมตั ิ
3.2 ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง จากผลการออกแบบและสร้างเครื่องเป่ากรองอากาศ
3.3 เคร่ืองมือทีใ่ ช้ในการศึกษาค้นควา้ แบบควบคุมด้วยลมอัตโนมัติ พบว่า เครื่องเป่ากรอง
3.4 การสร้างและการหาคุณภาพของชน้ิ งาน อากาศแบบควบคุมด้วยลมอัตโนมัติ ที่ผู้ศึกษา
3.5 การเก็บรวบรวมข้อมูล โครงการวิจัยสร้างข้ึนมีความเหมาะสม สามารถใช้ได้
3.6 การวเิ คราะห์ข้อมลู ตรงตามวัตถุประสงค์ ซึ่งเป็นสมมติฐานการวิจัยที่ต้ัง
3.7 สถิตทิ ่ีใช้ในการวเิ คราะห์ข้อมูล ไว้ ทั้งนี้เนื่องจากผู้ศึกษาโครงการวิจัยได้ศึกษาสภาพ
ปัญหาในการออกแบบและสร้างเครื่องเป่ากรอง
4. ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล อากาศแบบควบคุมด้วยลมอัตโนมัติ ซึ่งได้นำปัญหา
4.1 สัญลักษณ์ท่ีใช้ในการนำเสนอผลการวิเคราะห์ ต่าง ๆ จากการใช้งานมาขอคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ
อาจารย์ประจำสาขาวิชาเครื่องกล ครูแผนกช่างยนต์
ขอ้ มูล และช่างประจำศูนย์บริการซ่อมรถยนต์ ในจังหวัด
4.2 ขัน้ ตอนในการนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมลู อุดรธานี และนำข้อเสนอแนะที่ได้ มาออกแบบ เขียน
แบบ รูปร่าง ลักษณะ และกำหนดขนาด ตำแหน่ง
5. สรุปผลการวจิ ยั ติดตั้งวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้มีความเหมาะสมมาก
ผลการประเมินเครื่องเป่าทำความสะอาดไส้ ยิ่งขึ้นก่อนนำไปสร้างจริง โดยยึดหลักการออกแบบ
ให้มีความแข็งแรงทนทาน ใช้งานง่าย วัสดุและ
กรองอากาศรถบรรทุก ผลการประเมินความเหมาะสม อุปกรณ์หาง่ายภายในประเทศ โครงสร้างไม่
ของเครื่องเป่าทำความสะอาดไส้กรองอากาศรถบรรทุก สลับซับซ้อน มีราคาต้นทุนการผลิตต่ำ และมีความ
ผลการประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 คน มีค่าเฉลีย่ ปลอดภัยในการใช้งานสูง จากนั้นได้สร้างเครื่องเป่า
โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (x̅ = 4.67 S.D =0.06) กรองอากาศแบบควบคุมด้วยลมอัตโนมัติ ตาม
จำแนกรายด้านพบว่าโดยรวมท้ัง 3 ดา้ น มีคา่ เฉล่ียด้าน หลักการออกแบบเครื่องจักรกลดังกล่าวนี้ จึงทำให้
โครงสร้างเครื่องเป่าทำความสะอาดไส้กรองอากาศ
รถบรรทุก มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด (x̅ = 4.53,
S.D = 0.28) ด้านการใช้งานของเครื่องเป่าทำความ
สะอาดไส้กรองอากาศรถบรรทุก มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับ

NCTechEd A06-2022


การประชมุ วิชาการนําเสนอผลงานนกั ศกึ ษา กรองอากาศใกล้เคียงกับไส้กรองอากาศรถบรรทุก
40 NCTechED-Student Workshop 2022 ใหม่ จากการเปรยี บเทยี บ
ก่อนและหลังทำความสะอาดไส้กรองอากาศ
June 10,2022 รถบรรทุก พบว่า ประสิทธิภาพในการทำงานของไส้
กรอง
เครื่องเป่ากรองอากาศแบบควบคุมด้วยลมอตั โนมัติ ที่ อากาศรถบรรทุก ทำให้อากาศสามารถไหลผ่านไส้
สร้างขึ้น ใช้งานได้ตรงตามวัตถุประสงค์ เป็นไปตาม กรองอากาศได้ดีขึ้น และทำให้ประสิทธิภาพดีข้ึน
สมมตฐิ านของโครงการวิจัยทต่ี ั้งไวด้ ังกล่าว กวา่ เดิม

6.2 ผลการหาประสิทธิภาพการใช้งานเครื่อง จากผลการศึกษาโครงการวิจัยนี้สอดคล้อง
เป่ากรองอากาศแบบควบคุมด้วยลมอัตโนมัติ กับ กับงานวิจัยของสุรนันท์ โยธานันท์ และ จิรวุฒิ
รถยนต์ทดสอบ ยี่ห้อ Heno รุ่น Mega โดยกำหนด จันทรทะชาติ ได้จัดทำโครงงานศึกษาเรื่อง เครื่องเป่า
แรงดันลมในการเป่าทำความสะอาดไส้กรองอากาศ กรองอากาศแบบควบคุมด้วยลมอัตโนมัติ โดยมี
รถบรรทุกที่ 3 bar 5 bar และ 7 bar โดยทำการทดลอง วัตถุประสงค์เพื่อออกแบบสร้าง เพื่อหาสมรรถนะ
อยา่ งละ 3 ครง้ั ใช้เวลาในการทดลอง 3 นาที ผลการหา และความพึงพอใจของกลุ่ม
ประสิทธิภาพเครื่องเป่ากรองอากาศแบบควบคุมด้วย ตัวอย่าง ที่ทดลองใช้เครื่องเป่ากรองอากาศแบบ
ลมอัตโนมัติ จากการทดลองที่ใช้แรงดันลม 3 bar เป่า ควบคุมแบบอัตโนมัติ โดยตัวเครื่อง มีขนาดความ
ทำความสะอาดไส้กรองอากาศรถบรรทุก พบว่า กว้าง x ยาว x สูง เท่ากับ 42 x 50 x 130 เซนติเมตร ซึ่ง
คา่ เฉลย่ี นำ้ หนักกรองอากาศก่อนเปา่ ทำความสะอาด มี มีส่วนประกอบที่สำคัญคือ ชุดห้องเป่าลมด้วยระบบ
ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 721 g. และค่าเฉลี่ยที่เป่าทำความ ลมอัตโนมัติ ฐานยึดกรองอากาศสามารถหมุนรอบ
สะอาดไส้กรองอากาศรถบรรทุก โดยใช้เครื่องเป่า แนวแกนได้ 360 องศาโดยใช้แรงดันลมไปขับ
กรองอากาศแบบควบคุมด้วยลมอัตโนมัติ มีค่าเฉลี่ย เคลื่อนที่ฐานและพัดลมดูดอากาศ เพื่อดูดฝุ่นละอองที่
เท่ากับ 713 g. และไส้กรองอากาศรถบรรทุกมีค่าเฉลย่ี กำจัดออกจากกรองอากาศไปเก็บไว้ในถังน้ำด้านล่าง
น้ำหนักลดลงที่ 8 g. การทดลองที่ใช้แรงดันลม 5 bar ของเครื่อง ในการทดลองจะใช้กรองอากาศรถบรรทกุ
เป่าทำความสะอาดไส้กรองอากาศรถบรรทุก พบว่า รูปทรงกระบอก ขนาดเส้นผา่ นศูนยก์ ลางภายนอก 220
คา่ เฉล่ยี นำ้ หนกั กรองอากาศก่อนเปา่ ทำความสะอาด มี มิลลิเมตร ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางภายใน 120
ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 713 g. และค่าเฉลี่ยที่เป่าทำความ มิลลิเมตร ความสูง 120มิลลิเมตร โดยทำการทดลอง
สะอาดไส้กรองอากาศรถบรรทุก โดยใช้เครื่องเป่า เครื่องเป่ากรองอากาศแบบควบคุมด้วยลมอัตโนมัติ
กรองอากาศแบบควบคุมด้วยลดอัตโนมัติ มีค่าเฉลี่ย ด้วยระบบลมแบบอัตโนมัติ ใช้แรงดัน 4 bar และ 6
เท่ากับ 704 g. และไส้กรองอากาศรถบรรทุกมีค่าเฉลี่ย bar ทำการเปา่ เป็นเวลา 1 นาที และ 2 นาที ตามลำดบั
น้ำหนักลดลงที่ 9 g. และการทดลองที่ใช้แรงดันลม 7
bar เป่าทำความสะอาดไส้กรองอากาศรถบรรทุก การทดลอง พบว่า ที่แรงดัน 6 bar ทำการ
พบว่า ค่าเฉลี่ยน้ำหนักกรองอากาศก่อนเป่าทำความ เป่าเป็นเวลา 2 นาที มีประสิทธิภาพการทำงานดีที่สุด
สะอาด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 711 g. และค่าเฉลี่ยที่เป่าทำ โดยน้ำหนักกรองอากาศลดลง 19 กรัม รองลงมา ที่
ความสะอาดไส้กรองอากาศรถบรรทุก โดยใช้เครื่อง แรงดันลม 6 bar ทำการเป่าเป็นเวลา 1 นาที น้ำหนัก
เป่ากรองอากาศแบบควบคุมด้วยลมอัตโนมัติ มี
คา่ เฉล่ยี เทา่ กบั 698 g. และ ไส้กรองอากาศรถบรรทุกมี
ค่าเฉลี่ยน้ำหนักลดลงท่ี 13 g. ซึ่งผลการทดลองเป่าทำ
ความสะอาดไสก้ รองอากาศรถบรรทกุ จะมนี ้ำหนกั ไส้

NCTechEd A06-2022


การประชุมวชิ าการนาํ เสนอผลงานนักศกึ ษา 41

NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

กรองอากาศลดลง 18 กรัม ที่แรงดันลม 4 bar ทำการ 7.3 แท่นจับยึดไส้กรองอากาศรถยนต์ ควร
เป่าเป็นเวลา 2 นาที และ 1 นาที ด้านความพึงพอใจ จดั ทำให้มเี หมาะสมกบั รถยนตร์ นุ่ ต่าง ๆ
กลุ่มตัวอย่าง ที่ทดลองใช้เครื่องเป่ากรองอากาศแบบ สามารถถอดออกและปรับเปลี่ยนได้ตรงตามประเภท
ควบคุมด้วยลม ด้วยระบบลมแบบอัตโนมัติ พบว่า มี ของรถยนต์
ค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับพึงพอใจมาก ( X = 4.46,
S.D. = 0.61)ผลการประเมินคณุ ภาพเครือ่ งเป่าทำความ 8. เอกสารอา้ งองิ
สะอาดไส้กรองอากาศรถบรรทุกที่ประเมินโดยใช้ [1] กำธร อนุรกั ษช์ วู งษ์ และชาญชยั ชื่นอารมย์
ผู้เชีย่ วชาญ ด้านการออกแบบและสร้าง ซึ่งผู้เช่ียวชาญ
ได้แสดงความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ทั้งนี้เพราะมี (2551), “เคร่ืองเปา่ กรองอากาศรถยนต์
การออกแบบรูปรา่ งมีความเหมาะสม และมีขนาดและ ก่ึงอัตโนมตั ”ิ
น้ำหนักที่เหมาะสม ด้านการใช้งาน ซึ่งผู้เชี่ยวชาญได้ [2] จิระพงศ์ ออ่ นหนู, (2545), “เครอื่ งทำความ
แสดงบความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด ทั้งนี้เพราะ สะอาดกรองอากาศแบบกำจดั ฝุ่น,” ภาควชิ า
ง่ายต่อการซ่อมแซมและบำรุงรักษาและมีความ ครศุ าสตร์เครื่องกล, คณะครุศาสตร์
ปลอดภัยในการใช้งาน ด้านคู่มือการใช้งาน ซ่ึง อุตสาหกรรม, สถาบนั เทคโนโลยี
ผ้เู ชี่ยวชาญไดแ้ สดงความคดิ เห็นอยู่ในระดับมาก ท้ังน้ี พระจอมเกล้าพระนครเหนอื .
เพราะศึกษาทำความเข้าใจง่าย มีภาพประกอบชัดเจน [3] จรัญ ธรรมธนารักษ์, (2541), “ความพึงพอใจ
และบอกวิธกี ารใช้งานไดล้ ะเอยี ดชดั เจน ในการทำงานของตำรวจชัน้ ประทวน
กองบังคบั การตำรวจจราจร,” กรุงเทพ,
6.3 ผ ล ก า ร ศ ึ ก ษ า ค ว า ม พ ึ ง พ อ ใ จข อ ง มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์, หนา้ 10
ผู้ใช้บริการที่มีต่อเครื่องเป่ากรองอากาศแบบควบคุม
ดว้ ยลมอตั โนมัติ

7. ขอ้ เสนอแนะ
7.1 วัสดุที่นำมาใช้สร้างเครื่องเป่าทำความ

สะอาดไส้กรองอากาศรถยนต์ ควรหา
วัสดุ ที่มีความทนทาน มีน้ำหนักเบา ไม่เป็นสนิม และ
มีราคาถูก เพอื่ ทจ่ี ะสามารถพัฒนาต่อในเชงิ พาณชิ ย์ได้

7.2 หัวเป่าลมทำความสะอาดไส้กรอง
อากาศรถยนต์ ควรมหี ลายแบบสามารถ
นำมา ใช้เป่าทำความสะอาดไส้กรองอากาศรถยนตไ์ ด้
หลาย ๆ แบบ หลายขนาด เพื่อให้สามารถเลือกใช้งาน
ไดต้ รงตามประเภทรถยนต์

NCTechEd A06-2022


การประชุมวชิ าการนําเสนอผลงานนกั ศึกษา
42 NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

ชดุ สาธติ ระบบพวงมาลยั ไฟฟ้าควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์

พิทยา พธุ มี1* ภาณพุ งศ์ บุญปัญญา2 และ ณัฐภมู ิ บลั ลงั ก3์

บทคัดยอ่
การวจิ ัยในคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย 1) เพ่ือออกแบบและสรา้ งชุดสาธิตระบบพวงมาลัยไฟฟ้าควบคุม
ด้วยคอมพิวเตอร์ 2) เพ่ือหาประสิทธิภาพของชุดสาธิตระบบพวงมาลัยไฟฟ้าควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ ท่ีมีความ
เที่ยงตรง (IOC) มากกว่า 0.60 3) เพอ่ื ศึกษาความพงึ พอใจของนกั เรียนที่มตี อ่ ชุดสาธิตระบบพวงมาลัยไฟฟ้าควบคุม
ด้วยคอมพวิ เตอร์
ผลการวจิ ยั พบวา่
1. ผลการออกแบบชุดสาธติ ระบบพวงมาลัยไฟฟ้าควบคมุ ด้วยคอมพิวเตอร์ มีประสิทธิภาพความเที่ยงตรงท่ี 0.62
ซ่ึงสงู กวา่ เกณฑ์ทต่ี งั้ ไว้ 0.60 เป็นไปตามเกณฑ์ท่ีกาหนดไว้ ซง่ึ สอดคลอ้ งกับงานวจิ ัยของ(พงศศ์ ธรพมิ พะนิตย์: 2552).[3]
2. ผลการประเมินคุณภาพของแบบทดสอบชุดสาธิตระบบพวงมาลัยไฟฟ้าควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ท่ีมีความ
เทยี่ งตรง (IOC) จากผเู้ ชีย่ วชาญ จานวน 5 คน มีค่าเท่ากบั 0.88 ซงึ่ มากกว่าค่าความเที่ยงตรงท่ีตงั้ ไว้ 0.60
3. ความพงึ พอใจของผเู้ ชย่ี วชาญ ทม่ี ีตอ่ ชดุ สาธติ ระบบพวงมาลัยไฟฟา้ ควบคมุ ดว้ ยคอมพวิ เตอร์ โดยรวมมีความ
พึงพอใจระดบั มาก ( X = 4.40, S.D. = 0.75) ตามลาดบั
คาสาคญั :,ระบบควบคุม ระบบพวงมาลัยไฟฟ้าควบคุมดว้ ยอิเล็กทรอนกิ ส์

1,2,3สาขาวิชาเทคโนโลยเี ครอ่ื งกล วิทยาลยั เทคนิคอดุ รธานี สถาบนั การอาชีวศกึ ษาภาคตะวันออกเฉียงเหนอื 1
* พิทยา พธุ มี โทร +803327215 อีเมล ; [email protected]


การประชุมวชิ าการนําเสนอผลงานนกั ศึกษา 43

NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

COMPUTER-CONTROLLED ELECTRIC STEERING SYSTEM
DEMONSTRATION KIT

Pittaya Putme1* Panupong Boonpunya2 and Natthaphum Banlang3

Abstract

The objectives of this research were 1 ) to design and build a computer-controlled electric steering system
demonstration set ; 2) to determine the efficiency of a computer-controlled electric steering system demonstration
kit. 3) To study the students' satisfaction with the computer-controlled electric steering system demonstration set.

Research results
1. The result of the design of the computer-controlled electric steering system demonstration kit It has a
precision efficiency of 0.62 which is above the set threshold of 0.60 meets the set criteria. Which is consistent
with the research of (Pongsathorn Phimphanit : 2009)
2. The results of the analysis for the efficiency of the evaluation form of the electric control steering system
demonstration set showed that the efficiency of the computer electric control steering system demonstration It has
a precision efficiency of 0.88, which is greater than 0.6.
3. The students' satisfaction with the computer-controlled electric steering system demonstration set Overall,
there was a high level of ( X = 4.40, S.D.= 0.75) satisfaction.
Keywords : control system Electronically controlled electric steering system

1,2,3Mechanical Technology Udonthani Technical College Udonthani Province 41000
Institute of Vocational Education : Northeastern region 1
* Pittaya Putme Tel: +803327215 e-Mail; [email protected]

NCTechEd A07-2022


การประชมุ วิชาการนาํ เสนอผลงานนกั ศึกษา ระดับปริญญาตรี ของสานักงานคณะกรรมการการ
44 NCTechED-Student Workshop 2022 อาชวี ศึกษา ก็มีสภาพเช่นเดียวกันกับการจัดการศกึ ษา
ในรายวชิ าตา่ ง ๆ นนั่ คือจะต้องเร่งพฒั นาและปรับปรงุ
June 10,2022 การเรียนการสอนให้เกิดประสิทธิภาพภายใต้การ
เปล่ียนแปลงท่ีรวดเร็วและทันสมัย และจะต้องให้
1. บทนา ความสาคัญต่อการจัดการเรียนการสอน มากขึ้น
ใน การเป ล่ียน แป ลงทางด้านเศรษฐกิจและ ในสภาพปัจจุบันการจัดการเรียนการสอนในวิชา
เทคโนโลยีไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ยานยนต์
วัฒนธรรมมีผลกระทบท่ัวถึงอย่างรวดเร็ว บุคคลใน รหั ส วิช า 4101-2009 มี ปั ญ ห าห ล ายด้ าน ท าให้
สงั คมต้องติดต่อพบปะเพื่อดาเนินกิจกรรมทางสังคม การเรียนการสอนไมบ่ รรลตุ ามเปา้ หมายเทา่ ท่คี วร
หรอื เศรษฐกิจเพ่มิ ขึ้น มีการถ่ายทอดวิชาการต่าง ๆ แกก่ ัน
ซง่ึ สอดคล้องตามแผนยทุ ธศาสตร์ของชาติในการเพ่ิม วิชาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ยานยนต์
ความเข้มแข็ง และเพม่ิ ความสามารถในการแข่งขันกบั รหัสวิชา 4101-2009 เป็นวิชาที่มีความสาคัญอย่างย่ิง
ต่างประเทศ รัฐบาลได้กาหนดให้อุตสาหกรรมยานยนต์ วชิ าหนึง่ เพราะศกึ ษาเก่ียวกบั กฎของโอห์ม เคร่อื งมือ
เป็ น อุ ต ส าห ก ร ร ม ห ลั ก ห น่ึ ง ท่ี ไ ด้ บ ร ร จุ อ ยู่ ใ น แ ผ น วัดทางไฟฟ้า อุปกรณ์ไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนิกส์ยานยนต์
ยุทธศาสตร์ของชาติ โดยมีแนวทางที่จะพัฒนาให้ วงจรไฟฟ้าตัวถังภายในยานยนต์ (EWD) ระบบ
ประเทศไทยเป็นฐานการผลิตรถยนต์ที่ใหญ่ที่สุด สตาร์ท ระบบประจุไฟฟ้า ระบบจุดระเบิด ระบบ
ในภูมิภาค ทาให้ประเทศมีความนักเทคโนโลยียานยนต์ บังคับเลย้ี ว ระบบควบคมุ เครือ่ งยนต์ด้วยอเิ ล็กทรอนกิ ส์
ท่ีมีความรู้ด้านเทคโนโลยีมากข้ึน แต่ในปัจจุบัน วงจรควบคุมหัวฉดี เชือ้ เพลงิ แบบตา่ ง ๆ วงจรกันขโมย
ประเท ศไทยยัง ขาดทรัพ ยากรบุ คคลท างด้าน วงจรควบคุมเคร่ืองปรับอากาศ วงจรไฟแสงสว่าง
อุตสาหกรรมยานยนต์ ระบบอานวยความสะดวกและความปลอดภัยใน
รถยนต์ จึงเป็นภาระอันหนักแก่ผู้สอนเป็นอย่างย่ิง
ดังนั้น เพื่อท่ีจะทาให้ยุทธศาสตร์นี้เกิดผลในทาง เพราะนักศึกษาในช้ันเรียน มีท้ังนักศึกษาท่ีเรียนเก่ง
ปฏิบัติ จึงจาเป็นต้องสร้างบุคลากรด้านนี้เพิ่มเติม และนักศึกษาท่ีเรียนอ่อน ถ้าครูวิชาเทคโนโลยไี ฟฟ้า
ปั จ จุ บั น ร ถ ย น ต์ ไ ด้ อ าศั ย เท ค โ น โ ล ยี ไ ฟ ฟ้ า แ ล ะ และอิเล็กทรอนิกส์ยานยนต์ สอนโดยวิธีเดียวกัน
อิเล็กทรอนิกส์มากขึ้นเพื่อควบคุมระบบต่าง ๆ ของ นักศกึ ษาท่ีเรียนเกง่ กส็ ามารถเข้าใจได้รวดเรว็ และไม่
รถ ย น ต์ เช่ น ร ะ บ บ ค ว บ คุ ม เค ร่ื อ งย น ต์ ด้ ว ย มีปัญหามากนักแต่นักศึกษาที่เรียนอ่อนอาจไม่เข้าใจ
อิเล็กทรอนิกส์ ระบบควบคุมการส่งกาลัง และระบบ จึ งท าให้ เกิ ด ค ว าม เบื่ อ ห น่ าย ไ ม่ อ ย าก เรี ย น
ไฟฟ้าอานวยความสะดวก เป็นตัน ดังน้ันจึงเป็นสิ่ง ซึ่งก่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่า จึงมีความ
ส าคั ญ แ ล ะ จ าเป็ น ท่ี ช่ าง เท ค นิ ค จ ะ ต้ อ ง มี ค ว าม รู้ จาเป็นที่จะต้องหาวิธีการสอนท่ีจะให้นักศึกษาทุกคน
ความเขา้ ใจท้ังทฤษฎีและปฏบิ ัติระบบอิเล็กทรอนิกส์ สามารถเข้าใจได้ และตอบสนองตอ่ ความแตกต่างทาง
ควบคุมเครื่องยนต์ นอกจากน้ีต้องเผชิญกับความ สติปัญญา สิ่งหนึ่งที่จะช่วยได้คือ สื่อการสอนที่
ท้ าท ายเม่ื อ วิเค ราะ ห์ ปั ญ ห าระ บ บ ไฟ ฟ้ าแล ะ ส า ม า ร ถ เรี ย น รู้ ด้ ว ย ต น เอ ง ไ ด้ น อ ก จ า ก นี้
อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ในปจั จุบนั ท่ีมคี วามยุ่งยากและซับซ้อน (ก าน ดาวรรณ แก้ วผาบ . 2554) [2] ได้ กล่าวถึ ง
มากยิ่งข้ึน ซึ่งจะต้องมีความรู้ความเข้าใจอย่างดี
เพอ่ื นาไปสู่การตรวจสอบ วิเคราะห์ปัญหาและบรกิ าร
ระบบควบคุมด้วยอิเล็กทรอนิกส์ที่เกิดข้ึนในรถยนต์
ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ (พทุ ธ ธรรมสุนา, 2560) [1]

การจัดการเรียนการสอนในวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้า
และอิเล็กทรอนิกส์ยานยนต์ รหัสวิชา 4101-2009

NCTechEd A07-2022


การประชมุ วิชาการนําเสนอผลงานนกั ศึกษา 45

NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

การสอนวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ 2.3 เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อชุด
ยานยนต์ รหัสวิชา 4101-2009 ในยุคน้ีว่า ด้านผู้เรียน สาธติ ระบบพวงมาลยั ไฟฟา้ ควบคุมดว้ ยคอมพวิ เตอร์
ผู้เรียนจะมีความพร้อมในการเรียนรู้ด้วยตนเองและ
การทางานเป็นทีมมากขึ้นเมื่อผ่านกระบวนการเรียน 3. วธิ ีการดาเนนิ การ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญโดยจะมีทักษะต่าง ๆ การดาเนินการโครงการชุดสาธิตระบบพวงมาลัย
ท่ีจาเป็นสาหรับสังคมในปัจจุบัน และอนาคต คือ
ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศภาษาการส่ือสาร ไฟฟ้าควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ การดาเนินงานโดย
การคดิ ตลอดจนทักษะในการคัดสรรวิเคราะห์ข้อมูล ได้รับคาแนะนาจากอาจารย์ที่ปรึกษาและจัดแผนการ
ซึ่งจะทาให้ผู้เรียนมีลักษณะนิสัยท่ีใฝ่รู้ และมีความ ดาเนนิ งานไวม้ ีข้นั ตอน ดงั ต่อไปนี้
ฉลาดทางด้านปัญญาอารมณ์ และจริยธรรมมากขึ้น
เป็นไปตามท่ีสังคมตอ้ งการดา้ นผสู้ อน ผู้สอนควรลด 3.1 เคร่อื งมือทใ่ี ช้ในการวจิ ัย
บทบาทการสอน ในลักษณะของการป้อนความรู้ลง 3.2 วธิ ีการสรา้ งเครอ่ื งมือและหาคณุ ภาพเครอ่ื งมอื
แตค่ วรปรบั วิธกี ารสอนไปเป็นผ้ชู ีแ้ นะ และกระตุน้ ให้ 3.3 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล
ผู้เรียนเกิดการเรยี นรูด้ ว้ ยตนเอง 3.4 การวิเคราะหข์ อ้ มลู

จากท่ีกล่าวมาทางคณะผู้จัดทาได้สร้างชุดสาธิต 4. ผลการนาเนนิ การ
ร ะ บ บ พ ว ง ม าลั ย ไ ฟ ฟ้ า ค ว บ คุ ม ด้ ว ย ค อ ม พิ ว เต อ ร์ ในการทาโครงการเรื่องชุดสาธิตระบบพวงมาลัย
เพ่ือ ช่วยให้ผู้เรียนได้รับป ระสบก ารณ์ตรงเห็น ส่ิ งท่ี
เรียนรู้อยา่ งเป็นรปู ธรรม ทาใหเ้ กดิ ความเข้าใจ และจะ ไฟฟ้าควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์คณะผู้จัดทาโครงการ
จาในเรื่องท่ีสาธิตได้ดีและนาน ช่วยประหยัดเวลา ไดว้ ิเคราะห์ข้อมูลและนาเสนอผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล
อุปกรณ์และค่าใช้จ่าย หากใช้ทดแทนการทดลอง ตามวตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการดังนี้
สามารถสอนผเู้ รียนไดจ้ านวนมาก เนน้ กระบวนการที่
ผู้สอนใช้ในการช่วยให้ผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้ตาม 4.1 ผลการสร้างชุดสาธิตระบบพวงมาลัยไฟฟ้า
วัตถุประสงค์ท่ีกาหนดไว้ โดยการแสดงหรือการ ควบคุมดว้ ยคอมพิวเตอร์
กระทาให้ดูเป็นตัวอย่างพร้อม ๆ กับการบอกอธิบาย
เพื่อให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ตรงจากการสังเกต ผลการสร้างชุดสาธิตระบบพวงมาลัยไฟฟ้า
แลว้ ให้ผ้เู รียนได้ซกั ถาม อภปิ ราย และสรปุ การเรียนรู้ ควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ จานวน 1 ชุด ประกอบด้วย
ทไี่ ด้จากการสังเกต อุปกรณ์ต่าง ๆ ดังนี้ พวงมาลัยแบบมอเตอร์ไฟฟ้า
ชดุ คอมพิวเตอร์ควบคุม EPS แรค็ พวงมาลัย ลกู หมาก
2. วัตถปุ ระสงค์การวิจยั ปีกนกล่าง โช๊คอัพ สวิตซ์ช่ิงเพาวเวอร์ ซัพพลาย
2.1 เพอ่ื สร้างชุดสาธติ ระบบพวงมาลัยไฟฟา้ ควบคุม 220 โวลต์ ออก 12 โวลต์ 20 แอมป์ ท่ีติดตั้งบนโครง
เหล็กขนาดกว้าง 80 เซนติเมตร ยาว 110 เซนติเมตร
ดว้ ยคอมพวิ เตอร์ สูง 100 เซนติเมตร เครื่องยนต์ จะทางานสมบูรณ์
2.2 เพ่ือหาประสิทธิภาพของชุดสาธิตระบบ จะต้องมรี ะบบดงั ตอ่ ไปนี้ 1) ระบบแบตเตอรี่ 2) ระบบ
เซ็นเซอร์แรงเหว่ียง 3) ระบบควบคมุ การสั่งการ EPS
พวงมาลยั ไฟฟา้ ควบคุมดว้ ยคอมพวิ เตอร์ 4) ระบบมอเตอรค์ วบคุม

NCTechEd A07-2022


การประชุมวชิ าการนาํ เสนอผลงานนักศกึ ษา
46 NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

เหมาะสม มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับ มาก (X = 4.13,
S.D. = 0.83) อุปกรณม์ ีความเหมาะสมตอ่ การนามาใช้
มีความเหมาะสม มคี ่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก (X = 4.13,
S.D. = 0.83) เทคนิคในการออกแบบท่ีมีความม่ันคง
มีความเหมาะสม มคี ่าเฉลยี่ อยู่ในระดับมาก (X = 4.13,
S.D. = 0.83) ตามลาดับ

รปู ที่ 1 แสดงชดุ สาธิตระบบพวงมาลยั ไฟฟา้ ตารางท่ี 2 ผลการประเมนิ ความเหมาะสมด้านการใชง้ าน
ควบคุมดว้ ยคอมพิวเตอร์ ของชุดสาธิตระบบพวงมาลัยไฟฟ้าควบคมุ ด้วย
คอมพวิ เตอร์
4.2 ผลการประเมินความเหมาะสมของชุดสาธิต
ระบบพวงมาลยั ไฟฟา้ ควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์

ตารางที่ 1 ผลการประเมินความเหมาะสม ด้านโครงสรา้ ง
ชดุ สาธิตระบบพวงมาลัยไฟฟา้ ควบคุมด้วย
คอมพิวเตอร์ (N=5)

จากตารางที่ 1 ผลการประเมินความเหมาะสม จากตารางที่ 2 ผลการประเมินความเหมาะสม
ดา้ นโครงสร้างชดุ สาธิตระบบพวงมาลัยไฟฟา้ ควบคุม ด้านการใช้งานของชุดสาธิตระบบพวงมาลัยไฟฟ้า
ด้วยคอมพิวเตอร์ โดยผู้เช่ียวชาญ จานวน 5 ท่าน ควบคุมดว้ ยคอมพิวเตอร์ โดยผเู้ ช่ียวชาญ จานวน5ทา่ น
พบวา่ โดยรวมคา่ เฉล่ยี ความเหมาะสมอย่ใู นระดบั มาก พบวา่ โดยรวมคา่ เฉล่ยี ความเหมาะสมอยใู่ นระดบั มาก
(X = 4.30, S.D. = 0.19) พิ จารณ ารายข้อชุ ดส าธิต (X = 4.40, S.D. = 0.21) พิ จารณ ารายข้อชุ ดส าธิต
ร ะ บ บ พ ว ง ม าลั ย ไ ฟ ฟ้ า ค ว บ คุ ม ด้ ว ย ค อ ม พิ ว เต อ ร์ ระบบพวงมาลัยไฟฟ้าควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ ด้าน
ดา้ นโครงสร้างชดุ สาธิตระบบพวงมาลัยไฟฟ้าควบคุม การใช้งานของชดุ สาธิตระบบพวงมาลัยไฟฟา้ ควบคุม
ด้วยคอมพิวเตอร์ มีความเหมาะสมมีค่าเฉล่ียอยู่ใน ด้วยคอมพิวเตอร์สามารถนาไปใช้เป็นส่ือ การสอน
ระดับมากท่ีสุด (X = 4.80, S.D. = 0.41) ความคิดริเริ่ม หรอื นาไปใช้ปฏิบตั ิ มคี วามเหมาะสม มีค่าเฉลี่ยอยใู่ น
สร้างสรรค์ในการติดตั้งอุปกรณ์บนชุดสาธิต มีความ ระดับมากท่ีสุด (X = 4.80, S.D.=0.41)ประโยชน์ของ
ผลงานต่อการพัฒนางาน มีความเหมาะสม มีค่าเฉลี่ย
อ ยู่ ใ น ร ะ ดั บ ม า ก ท่ี สุ ด (X = 4.80, S.D. = 0.41)
ความสะดวกในการเคล่ือนย้าย มีความเหมาะสม
มี ค่ า เฉ ลี่ ย อ ยู่ ใ น ระดั บ มาก (X =4.13, S.D.=0.83)
ความสะดวกในการบารุงรักษาและจัดเก็บ มีความ

NCTechEd A07-2022


การประชุมวชิ าการนําเสนอผลงานนกั ศึกษา 47

NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

เหมาะสม มคี ่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก(X =4.13,S.D.=0.83) อุปกรณ์ต่าง ๆ ดังนี้ พวงมาลัยแบบมอเตอร์ไฟฟ้า
หน่วยงานภายนอกสามารถนาไปใช้หรือดัดแปลง ชดุ คอมพิวเตอร์ควบคุม EPS แรค็ พวงมาลัย ลูกหมาก
ใช้ได้จริง มีความเหมาะสม มีค่าเฉล่ียอยู่ในระดับมาก ปีกนกล่าง โช๊คอัพ สวิตซ์ช่ิงเพาวเวอร์ ซัพพลาย
(X = 4.13, S.D. = 0.83) ตามลาดบั 220 โวลต์ ออก 12 โวลต์ 20 แอมป์ และติดตั้งบนชุด
สาธติ ระบบพวงมาลยั ไฟฟ้าควบคุมด้วยคอมพวิ เตอร์
ตารางท่ี 3 ผลการประเมินความเหมาะสม
ด้านประสิทธิภาพของชุดสาธิตระบบ 5.2 การประเมินชุดสาธิตระบบพวงมาลัยไฟฟ้า
พวงมาลัยไฟฟ้าควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ ค ว บ คุ ม ด้ ว ย ค อ ม พิ ว เต อ ร์ ผ ล ก าร ป ร ะ เ มิ น ค ว าม
เหมาะสมของชุดสาธิตระบบพวงมาลัยไฟฟ้าควบคุม
จากตารางที่ 3 ผลการประเมินประสทิ ธภิ าพของชุด ด้วยคอมพิวเตอร์ โดยผู้เช่ียวชาญ จานวน 5 ท่าน
สาธิตระบบพวงมาลัยไฟฟ้าควบคุมดว้ ยคอมพิวเตอร์ มีค่าเฉล่ียรวมอยู่ในระดับมาก จาแนกรายด้านพบว่า
โดยผู้เชีย่ วชาญ จานวน 5 ท่าน พบวา่ โดยรวมค่าเฉล่ีย ทั้ง 3 ด้าน มีค่าเฉลี่ย ด้านการใช้งานของชุดสาธิต
ความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก (X = 4.36,S.D.=0.18) ร ะ บ บ พ ว ง ม าลั ย ไ ฟ ฟ้ า ค ว บ คุ ม ด้ ว ย ค อ ม พิ ว เต อ ร์
พจิ ารณารายขอ้ ชุดสาธติ ระบบพวงมาลยั ไฟฟา้ ควบคุม ความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก (X = 4.40, S.D.=0.21)
ด้วยคอมพิวเตอร์ ด้านประสิทธิภาพของชุดสาธิต ดา้ นประสิทธิภาพของชดุ สาธติ ระบบพวงมาลยั ไฟฟ้า
ร ะ บ บ พ ว ง ม าลั ย ไ ฟ ฟ้ า ค ว บ คุ ม ด้ ว ย ค อ ม พิ ว เต อ ร์ ควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ ความเหมาะสมอยู่ในระดับ
ความสามารถในการใช้ประโยชน์ มีความเหมาะสม มาก (X 4.36, S.D. = 0.18) และด้านโครงสร้างชุด
มีค่าเฉล่ียอยู่ในระดับ มากที่สุด (X = 4.80,S.D.=0.41) สาธิตระบบพวงมาลัยไฟฟ้าควบคุมดว้ ยคอมพิวเตอร์
สามารถใช้ในการเรียนการสอน มีความเหมาะสม ความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก (X = 4.30, S.D.=0.19)
มีค่าเฉล่ียอยู่ในระดับมาก (X = 4.16, S.D. = 0.83) ตามลาดับ
สามารถใช้งานการฝึกทักษะ มีความเหมาะสม
มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับ มากที่สุด (X = 4.13, S.D.=0.83) 6. อภิปรายผลการวิจัย
ตามลาดบั ผลการประเมินความเหมาะสมของชุดสาธิตระบบ

5. สรุปผลการวจิ ยั พวงมาลัยไฟฟ้าควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ โดยรวมทั้ง
5.1 ผลการสร้างชุดสาธิตระบบพวงมาลัยไฟฟ้า 3 ด้าน ได้แก่ ด้านการใช้งาน ด้านประสิทธิภาพ
ด้านโครงสร้างชุดสาธติ ระบบพวงมาลยั ไฟฟา้ ควบคุม
ควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ จานวน 1 ชุด ประกอบด้วย ด้วยคอมพิวเตอร์ มีค่าเฉลี่ยเหมาะสมโดยรวมอยู่ใน
ระดับมาก ทงั้ นี้ เน่ืองจากมีการวางแผนในการสรา้ งชดุ
สาธิตอย่างมีระบบแบบแผน ผ่านการตรวจและ
คาแนะนาจากท่ีปรึกษา ผู้เชี่ยวชาญ โดยมีการทดลอง
ใ ช้ ชุ ด ส าธิ ต ร ะ บ บ พ ว ง ม าลั ย ไ ฟ ฟ้ าค ว บ คุ ม ด้ ว ย
คอมพิวเตอร์ เพ่ือนาข้อบกพร้องมาปรับปรุงแก้ไข
ตอ่ ไป

NCTechEd A07-2022


การประชมุ วชิ าการนําเสนอผลงานนักศกึ ษา ผ้เู รียนได้ฝึกปฏบิ ัติตามใบงาน โดยใช้ชุดสาธิตระบบ
48 NCTechED-Student Workshop 2022 พวงมาลัยไฟฟา้ ควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์

June 10,2022 7.4 ควรนานวัตกรรมและเทคโนโลยมี าพัฒนาต่อ
ยอดให้ชุดสาธิตระบบพวงมาลัยไฟฟ้าควบคุมด้วย
ในด้านโครงสร้างชุดสาธิตระบบพวงมาลัยไฟฟ้า คอมพวิ เตอร์
ควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์น้ันมีค่าเฉลี่ยความเหมาะสม
อ ยู่ ใน ร ะ ดั บ ม าก (X =4.30, S.D. = 0.19) มี ค วาม 8. เอกสารอา้ งอิง
แข็งแรงเหมาะสมกับการติดต้ังอุปกณ์ชุดสาธิต และ [1] ดร.พทุ ธ ธรรมสนุ า, (2562), งานไฟฟ้ารถยนต์
การประกอบมคี วามแขง็ แรง เหมาะแก่การใช้งาน
รหสั วิชา : 20101-2005.
ในด้านการใช้งานของชุดสาธิตระบบพวงมาลัย [2] กานดาวรรณ แก้วผาบ, (2554), วชิ าการออกแบบ
ไฟฟ้าควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ มีค่าเฉล่ียความ
เหมาะสมอยู่ในระดับมาก (X = 4.40, S.D. = 0.21) โปรแกรมใช้คอมพิวเตอร์ช่วย รหสั วชิ า
สามารถแสดงการทางานของชุดสาธติ ได้อย่างชัดเจน 3000-0206 หลักสูตรประกาศนยี บตั รวิชาชพี ชนั้ สงู
เข้าใจง่าย ข้ันตอนการใช้งานสะดวกไม่ซับซ้อน ปกี ารศกึ ษา 2552, วทิ ยาลยั เทคนิคภูเก็ต.
สะดวกในการเคลื่อนย้ายเพราะมีล้อ สะดวกต่อการ [3] พงศ์ศธร พมิ พะนิตย์, (2552).
บารุงรักษาและจดั เกบ็ มีความปลอดภยั ต่อผู้ใชง้ าน

ในประสิทธิภาพของชุดสาธิตระบบพวงมาลัย
ไฟฟ้าควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ มีค่าเฉลี่ยความ
เหมาะสมอยู่ในระดับมาก (X = 4.36, S.D. = 0.18)
สามารถใช้ไปใช้ในการสาธิตการสอน และการฝึก
ทักษะได้เป็น อย่างดี ได้รับการตรวจสอบจาก
ผู้เช่ียวชาญนาผลมาปรับปรุงแก้ไขทาให้ได้ชุดสาธิต
ท่เี หมาะสมสาหรับนาไปสอนต่อไป

7. ข้อเสนอแนะ
จ าก ก าร ส ร้ าง ชุ ด ส าธิ ต ร ะ บ บ พ ว ง ม าลั ย ไ ฟ ฟ้ า

ควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ คณะผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะ
จากการวิจยั ดังนี้

7.1 ขอ้ เสนอแนะจากการวจิ ัย
จากการวิจัยพบว่า ถ้าต้องการให้ชุดสาธิตมี

ประสิทธิภาพท่ีสูง จนนาไปใช้ในการเรียนการสอน
ให้ไดต้ ามเกณฑ์กาหนด

7.2 ครูผู้สอนควรทาความเข้าใจเน้ือหาและวิธีใช้
สื่อประกอบการสอนเป็นอย่างดี ช่วงเวลาท่ีใช้สื่อ
ในการสอนตอ้ งสมั พันธ์กบั เนอื้ หาดว้ ย

7.3 ครูผู้สอนต้องมีแผนในการสอน โดยให้
นักเรียนได้ฝึกทักษะจากใบงานภาคทฤษฎีแล้วให้

NCTechEd A07-2022


การประชุมวชิ าการนําเสนอผลงานนกั ศึกษา 49

NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

การออกแบบและสร้างป๊มั น้ำพลงั งานแสงอาทิตย์ สำหรบั ชมุ ชนพืน้ ทส่ี ูง
อำเภอน้ำโสม จังหวัดอุดรธานี

วีรภทั ร สุพวิ งค์1 สทิ ธาวฒุ ิ มหี ริ ิ2* อภวิ ัฒน์ แสนโพธ์ิ3

บทคัดย่อ

การศกึ ษาโครงการเรอ่ื งการออกแบบและสรา้ งปมั๊ นำ้ พลงั งานแสงอาทิตย์ สำหรบั ชุมชนพน้ื ท่ีสงู
อำเภอน้ำโสม จังหวดั อดุ รธานี มวี ตั ถุประสงคข์ องโครงการ เพ่อื สรา้ งและพัฒนาระบบปั้มนำ้ พลงั งาน
แสงอาทิตย์ เพื่อศึกษาหาประสิทธภิ าพของป้มั นำ้ พลังงานแสงอาทิตย์

ปม้ั น้ำพลงั งานแสงอาทิตย์ของนกั ศกึ ษาระดับ ปริญญาตรี ป้มั น้ำพลังงานแสงอาทติ ย์ท่ีได้จดั สร้าง
ข้ึนสามารถทำงานไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ โดยสามารถทำงานเปน็ ระยะเวลาประมาณ 1-1.30 ชั่วโมง ต่อการ
ชารจ์ 1 คร้งั และการชาร์ตสามารถกระทำได้ 2 วิธี คือ การชาร์จดว้ ยเครื่องชาร์จซึง่ จะใชเ้ วลาในการชาร์จ
ประมาณ 4-5 ช่วั โมง และการชาร์จดว้ ยระบบโซลา่ เซลลซ์ งึ่ จะใชเ้ วลาในการชารจ์ ประมาณ 6-7 ชว่ั โมง
ใชแ้ หล่งพลังงานเป็นแบตเตอร่ีลิเธียมขนาดแรงดัน 12 โวลท์ จำนวน 1 ชุด เพอื่ จ่ายให้กับมอเตอรไ์ ฟฟา้
กระแสตรงขนาด 220 วัตต์ จำนวน 1 ตัว และลดมลภาวะทางอากาศมลภาวะทางกลิ่นและมลภาวะทางเสียง
สามารถประหยดั นำ้ มนั เชอื้ เพลิงรวมถึงค่าใชจ้ า่ ยได้

ผลการประเมินคุณภาพของการสร้างเคร่ืองตัดหญา้ พลงั งานไฟฟ้าร่วมพลังงานแสงอาทิตย์ โดย
ผู้เช่ยี วชาญ 3 คน พบว่าโดยรวมค่าเฉล่ยี ( x ̅= 4.33 , S.D.= 0.33 ) อยูใ่ นระดับมาก เมือ่ พิจารณาเปน็ รายด้าน
พบว่า คณุ ภาพดา้ นโครงสร้างรวมท้ังหมดมคี ่าเฉลย่ี ( x ̅= 4.53 , S.D.= 0.31 ) อยู่ในระดับมากท่ีสดุ ด้านการ
ใชง้ านรวมทงั้ หมดมคี า่ เฉล่ยี ( x ̅= 4.33 , S.D.= 0.00 ) อยูใ่ นระดับมาก ด้านประสิทธิภาพ รวมทัง้ หมด
มีคา่ เฉล่ีย ( x ̅= 4.16 , S.D.= 0.00 ) อยูใ่ นระดบั มาก

คำสำคญั : เครอ่ื งตัดหญ้าพลงั งานไฟฟ้ารว่ มพลังงานแสงอาทติ ย์,โซล่าเซลล์,

*123สาขาวชิ าเทคโนโลยีเครอื่ งกล วทิ ยาลยั เทคนิคอุดรธานี สถาบนั การอาชีวศึกษาภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื 1
* นายสิทธาวฒุ ิ มหี ริ ิ 092 650 5983 E-mail : [email protected]


การประชมุ วิชาการนําเสนอผลงานนักศกึ ษา
50 NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

SOLAR WATER PUMP DESIGN AND CONSTRUCTION FOR

HIGHLAND COMMUNITIES, NAM SOM DISTRICT, UDON THANI PROVINCE

Weerapat Suphiwong1 Sittawut Meehir2* Apiwat saenpho3

ABSTRACT

The project studied on design and construction of solar water pumps for communities in the
upland areas of Nam Som District, Udon Thani Province. The project objectives were to create and
develop a solar water pump system and to study the efficiency of the solar water pump.

The solar water pump has been created can work efficiently by undergraduate students. It can
work for a period of about 1-1.30 hours per charge, and charging can be done in two ways: charging with a
charger, which takes about 4-5 hours to charge, and charging with a solar cell system which take about 6-7
hours to charge, using a set of power source of a 12-volt lithium battery to supply one 220-watt DC
electric motor and reduce air pollution, odor pollution and noise pollution that can save fuel as well as
costs.

The results of the quality assessment of the construction of a solar-powered electric lawn mower
By 3 experts, it was found that the overall mean (x̅ = 4.33 , S.D. = 0.33) was at a high level when
considering each aspect, it was found that the overall structural quality was mean (x̅ = 4.53 , S.D. = 0.31)
at the highest level. In terms of total usage, the mean (x̅ = 4.33 , S.D.= 0.00) was at a high level, and
overall efficiency had an average (x̅ = 4.16 , S.D.= 0.00) at a high level.

Keywords: The results of the quality assessment of the construction of a solar-powered electric lawn
mower By 3 experts

*123 Mechanical Technology Udonthani Technical College Institute of Vocational Education :Northeastern region 1
Udonthani Province 41000

* Mr. Sittawut Meehir 092 650 5983 E-mail : [email protected]

NCTechEd A08-2022


การประชมุ วชิ าการนําเสนอผลงานนักศกึ ษา 51

NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

1. บทนำ 2. วตั ถุประสงคก์ ารวจิ ัย
ในปัจจุบันความต้องการใช้พลังงานท่ัวโลกมี 2.1 เพื่อสร้างและพัฒนาระบบปั้มน้ำพลังงาน

ความต้องการเพิ่มสูงมากขึ้นเร่ือย ๆ โดยเฉพาะพลังงาน แสงอาทติ ย์
ไฟฟ้าซ่ึงได้มาจากน้ำมันและแก๊สธรรมชาติ แต่เนื่องจาก 2.2 เพื่อศึกษาหาประสิทธิภาพของปั้มน้ำ
ทรัพยากรเหล่าน้ีเป็นทรัพยากรท่ีมี จำกัด เม่ือใช้แล้วจะ
หมดไปและก่อใหเ้ กดิ ปัญหาต่างๆมากมายต่อส่งิ แวดล้อม พลงั งานแสงอาทิตย์
เช่นทำให้เกิดภาวะโลกร้อนมลพิษทางอากาศเป็นต้น
ดังนั้นการใช้พลังงานทดแทนจึงเป็นทางเลือกที่จำเป็น 3. สมมตุ ฐิ านการวจิ ัย
โดยเฉพาะพลังงานแสงอาทิตย์ (Solar Energy) นับว่าเป็น 3.1 ปั๊มน้ำพลังงานแสงอาทิตย์สามารถใช้งาน
พลังงานทดแทนที่มีศักยภาพสูงเป็นพลังงานสะอาด
ปราศจากมลพิษและมีไม่ส้ินสุดซ่ึงสามารถนำแสงแดดมา ไดต้ ามวัตถปุ ระสงค์
เปล่ียนเป็นพลังงานไฟฟ้าได้โดยผ่านอุปกรณ์ที่เรียกว่า
เซลล์แสงอาทิตย์ (Solar Cell) ซึ่งในการเกษตรการสูบน้ำ 4. ขอบเขตการวิจัย
เป็นเร่ืองที่ค่อนข้างสำคัญโดยเฉพาะในแหล่งท่ีไฟฟ้าเข้า 4.1 ด้านเนื้อหา
ไม่ถึงซ่ึงบางคร้ังการดำเนินการเรื่องต่อสายไฟเข้าไปนั้น 4.1.1.ปัม๊ นำ้ พลังงานแสงอาทิตยส์ ามารถ
ค่อน ข้างลำบ ากและใช้ต้น ทุ น สู งใน ขณ ะท่ี เซลล์
แสงอาทิตย์เป็นพลังงานไฟฟ้าที่ไม่ต้องใช้เช้ือเพลิงอื่นใด ทำงานได้.1.ช่ัวโมง ถงึ 1.30 ช่วั โมง ต่อการชาร์จ 1 ครั้ง
นอกจากแสงอาทิตย[์ 1] 4.2 ตัวแปร
4.2.1 ตวั แปรตน้
ป้ัมน้ำที่มีอยู่ในปจั จบุ ัน ส่วนมากจะเป็นปั้มน้ำ 4.2.2.ปั๊มน้ำพลงั งานแสงอาทติ ย์
ท่ีใช้เคร่ืองยนต์เป็นต้นกำลังซ่ึงเคร่ืองยนต์จำเป็นต้องใช้ 4.3 ตัวแปรตาม
น้ำมันเช้ือเพลิง ซึ่งนับวันจะมรี าคาแพงขึ้น อีกอยา่ งไอเสีย 4.3.1.ผลการสรา้ งปม๊ั น้ำพลังงาน
ท่ีออกมาจากเคร่ืองยนต์ยังสร้างมลภาวะเป็นพิษทาง
อากาศ ทำให้เป็นอันตรายต่อชาวเกษตรกรและคนรอบ แสงอาทติ ย.์
ข้าง ถึงแม้ในปัจจุบันจะมีการผลิตป้ัมน้ำแบบใช้มอเตอร์ 4.3.2 ผลการประเมินคณุ ภาพปมั๊ น้ำ
ไฟฟ้ามาใช้แล้วก็ตาม แต่ก็มีข้อจำกัดในเรื่องสถานที่ท่ี
นำไปใช้ ซึ่งต้องเป็นสถานที่ที่ต้องมีไฟฟ้าจึงจะทำให้ พลังงานแสงอาทิตย์
สามารถใช้ปั้มนำ้ ได้ 4.4 ขอบเขตระยะ
4.4.1.ภาคเรยี นท่ี.1.ปีการศกึ ษา 2564
ดังน้ันการนำพลังงานไฟฟ้าท่ีได้จากเซลล์ 4.5 ขอบเขตดา้ นพ้นื ท่ี
แสงอาทิตย์ (Solar Cell) นำมาประยุกต์ใช้กับระบบปั้มสูบ 4.5.1 วิทยาลัยเทคนคิ อุดรธานี
น้ำ ดังกล่าวจะทำให้ประหยัดน้ำมันเชื้อเพลิงและไฟฟ้าที่ 4.6 ด้านประชากร และกลุม่ ตวั อย่าง
ใช้กับป๊ัมน้ำแบบเดิมท่ีใช้กันอยู่ทั่วไปโดยทางผู้ศึกษามี 4.6.1.ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็น
ความสนใจที่จะออกแบบระบบชุดป้ัมน้ำใช้พลังงาน
แสงอาทิตย์มาใช้กับระบบน้ำเพื่อเป็นการประหยัดต้นทุน อาจารย์แผนกช่างยนต์วิทยาลัยเทคนิคอุดรธานีซ่ึงเป็น
ในการบริหารจัดการทีใ่ ห้ผลคุ้มคา่ ในระยะยาว ผู้เช่ียวชาญท่ีมีประสบการณ์สอนไม่ต่ำกว่า.5.ปี ท่ีเข้าร่วม
ประเมนิ สงิ่ ประดิษฐ์ จำนวน 5 คน
NCTechEd A08-2022
4.6.2.กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัยครั้งนี้
เป็นอ าจ า ร ย์แ ผ น ก ช่า ง ยน ต์วิท ย า ลัยเ ท ค นิค อุด ร ธ านี .
ซ่ึงเป็นผู้เชี่ยวชาญ.ที่มีประสบการณ์สอนไม่ตำ่ กว่า5 ปี ที่เข้า
ร่วมประเมินส่ิงประดิษฐ์ โดยการเลอื กแบบเจาะจง จำนวน
3 คน


การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานนักศกึ ษา 5.3.5 นําแบบสอบถามท่ีปรับปรุงและ
52 NCTechED-Student Workshop 2022 แกไ้ ขแลว้ นำไปจัดพิมพ์เป็นเคร่อื งมือท่ีใชใ้ นการรวบรวม
ขอ้ มูลตอ่ ไป
June 10,2022
5.4 การสรา้ งและการหาคณุ ภาพเครื่องมอื
5. วิธดี ำเนนิ การวิจยั 5.4.1.วิธีดำเนินการสร้างป๊ัมน้ำพลังงาน
5.1 ขน้ั ตอนของการดำเนนิ การวจิ ยั
ในการวางแผนการปฏิบัติงานนั้นคณะผู้จัดทำ แสงอาทติ ย์คณะผู้จัดทำไดด้ ำเนินการออกแบบ
5.4.2.ขั้นตอนการสร้างปั๊มน้ำพลังงาน
งานวิจัยไดด้ ำเนนิ การตามขัน้ ตอนดงั น้ี
5.1.1.ศึกษาค้นคว้าทฤษฎีท่ีเก่ียวข้องโดย แสงอาทิตย์ผู้จัดทำวิจัยการได้จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ท่ีใช้
ในการสร้าป๊ัมน้ำพลังงานแสงอาทิตย์และเริ่มดำเนินการ
ศึกษาเกี่ยวกับคุณสมบัติการทำงานของมอเตอร์และ [4]
คุณสมบัติการทำงานของป๊ัมน้ำพลังงานแสงอาทิตย์[2]
5.5 การเก็บรวบรวมขอ้ มลู
5.1.2 รวบรวมข้อมูลการสร้างปั๊มน้ำ 5.5.1.ผ้วู ิจัยไดด้ ำเนนิ การเก็บรวบรวม
พ ลั ง ง า น แ ส ง อ า ทิ ต ย์ แ ล ะ ฐ าน โ ค ร ง ส ร้ า ง ข อ ง ปั๊ ม น้ ำ
พลงั งานแสงอาทิตย์ 5.1.3 ทำการทดสอบป๊ัมน้ำ ข้อมูลด้วยตนเองโดยแจกแบบประเมนิ ความพงึ พอใจ
พลงั งานแสงอาทิตย์และบนั ทึกผลการทดสอบ 5.5.2.การเกบ็ รวบรวมข้อมลู จากแบบ

5.1.4 ทำปรับปรุงแก้ไขป๊ัมน้ำพลังงาน ประเมนิ ของผูเ้ ช่ียวชาญ
แสงอาทิตย์และนำผลการทดสอบมาวเิ คราะหข์ ้อมูล[3] 5.5.3.ตรวจสอบจำนวนและความสมบรู ณ์

5.1.5 สรุปผลจากงานวจิ ัย ของแบบสอบถาม
5.2 ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง 5.5.4.นำแบบสอบถามทัง้ .3.ชุดมา

5.2.1.ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็น วิเคราะหเ์ พื่อหาค่ารอ้ ยละคา่ เฉล่ยี และค่าสว่ นเบย่ี งเบน
ผู้เช่ียวชาญ /อาจารย์ วิทยาลัยเทคนิคอุดรธานีที่เข้าร่วม มาตรฐาน
ประเมินสิ่งประดิษฐ์ ประจำปีการศึกษา 2564 จำนวน 3
คน 5.5.5.นำผลขอ้ มูลท่ีถกู วิเคราะห์แล้วไป
ดำเนินการสรปุ ผล
5.2.2 กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัยครั้งนี้
เป็นผ้เู ชยี่ วชาญ/อาจารย์ วิทยาลยั เทคนคิ อดุ รธานี ที่เข้ารว่ ม 5.6 การวิเคราะหข์ ้อมลู
ประเมินสิ่งประดิษฐ์ ประจำปีการศึกษา 2564 จำนวน 3 ผู้วิจัยตรวจความสมบูรณ์ของแบบสอบถาม
คน แล้วจึงนําผลที่ได้จากแบบสอบถามท่ีสมบูรณ์ จำนวน 3
ฉบบั ผูว้ ิจยั จงึ จะวเิ คราะห์ขอ้ มลู โดยใชโ้ ปรแกรมสำเร็จรูป
5.3 เครอ่ื งมอื ทใี่ ชใ้ นการศกึ ษาค้นคว้า Microsoft Excel ซ่ึงสถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ
เค รื่ อ ง มื อ ท่ี ใ ช้ ใ น ก าร วิ จั ย ค ร้ั ง นี้ เป็ น สถิติเชิงพรรณนาเพื่อบรรยายข้อมูลและสรุปข้อมูลที่ได้
แบบสอบถาม (questionnaire) โดยได้ดำเนินการสร้าง จากแบบสอบถาม
ตามลำดับข้ันตอนดงั นี้ 5.7 สถิติท่ีใชใ้ นการวิเคราะหข์ อ้ มลู

5.3.1 ศึกษาแนวความคิดทฤษฎีเอกสาร 5.7.1 การคำนวณหาค่าเฉลี่ย (Mean) จะใช้
และวรรณกรรมท่เี ก่ียวข้อง สถิตใิ นการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์หาค่าเฉลี่ย

5.3.2 ศึกษาหลักเกณฑ์และวิธีการสร้าง 5.7.2.การค ำน วณ ห าค่ าเบ่ี ยงเบ น
แบบสอบถาม มาตรฐาน (Standard deviation) ของผลการทดลอง

5.3.3 สร้างแบบสอบถามตามหลักเกณฑ์
ทฤษฎี หลักการ แนวคดิ

5.3.4 นำแบบสอบถามที่สร้างขึ้นให้เสนอ
อาจารยท์ ี่ปรกึ ษาตรวจสอบแก้ไขปรบั ปรุง

NCTechEd A08-2022


การประชมุ วิชาการนาํ เสนอผลงานนกั ศกึ ษา 53

NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

6. ผลการวิเคราะห์ข้อมลู และการประกอบมีความมั่นคงแข็งแรงเหมาะแก่การใช้
จ า ก ก า ร ด ำ เนิ น ก า ร ต า ม วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ข อ ง งาน

งานวิจัยผู้จัดทำได้เก็บรวบรวมข้อมลู ทั้งหมดทีไ่ ด้จากการ ด้านการใช้งานของปั๊มน้ำพลังงานแสงอาทิตย์
ทดลอง และแบบสอบถามความคิดเห็นของผู้เชย่ี วชาญทมี่ ี มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากท่ีสุด (x̅ = 4.33, S.D. = 0.00)
ต่อปั๊มน้ำพลังงานแสงอาทิตย์ด้านประสิทธิภาพและความ ส าม าร ถ ป ร ะ ห ยั ด ค่ าใ ช้ จ่ าย ใ น ก าร ใ ช้ พ ลั ง ง าน ป๊ั ม น้ ำ
พงึ พอใจในการใชง้ านปั๊มน้ำพลังงานแสงอาทิตย์ จำนวน. พลังงานแสงอาทิตย์เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม มีความ
3.ชุด แล้วนำมาวิเคราะห์ข้อมูลว่าผู้เช่ียวชาญมีความ ปลอดภัยตอ่ ผ้ใู ชง้ าน
สอดคลอ้ งกันในระดับใดโดยแสดงผลการวิเคราะหข์ ้อมูล
ท่ีได้จากแบบสอบถามความคิดเห็นในรูปของตาราง ด้านประสิทธิภาพปั๊มน้ำพลังงานแสงอาทิตย์
ประกอบคำบรรยายโดยผู้ศึกษาได้เสนอผลการวิเคราะห์ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากท่ีสุด (x̅ = 4.16, S.D. = 0.00)
ขอ้ มลู ตามลำดับ ดังน้ี ป๊ัมน้ำพลังงานแสงอาทิตย์ สามารถใช้งานได้อย่างมี
ประสิทธิภาพแนวคิดในการสร้างสรรค์ ท้งั นเ้ี พราะในการ
ผลรวมการประเมินการทำงานของป๊ัมน้ำ สร้างมีการจัดทำอย่างมีระบบและมีขั้นตอนผ่านการ
พลังงานแสงอาทิตย์ทั้ง.3 ด้าน พบว่าโดยรวมค่าเฉลี่ยอยู่ ตรวจสอบและได้รับคำแนะนำจากอาจารย์ที่ปรึกษา
ในระดับมากท่ีสุด.(x̅ = 4.33,,S.D..=0.33)จำแนกรายด้าน ผู้เชยี่ วชาญ โดยมีการทดลองใช้นำผลมาปรบั ปรุงแก้ไขทำ
พบว่าโดยรวมทั้ง.3ดา้ น พบว่ามีค่าเฉลี่ย ให้ไดป้ มั๊ นำ้ ท่ีเหมาะสำหรับใช้งานตอ่ ไป

ด้านโครงสร้างคา่ เฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด 8. ข้อเสนอแนะ
(x̅ =.4.53, S.D.=.0.31).ด้านการใช้งาน ค่าเฉลี่ยอยู่ใน 8.1 การนำพลังงานแสงอาทิตย์มาใช้งาน
ร ะ ดั บ ม า ก ท่ี สุ ด (x̅ =.4.33, S.D. = 0.00) ด้ า น
ประสิทธิภาพค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากท่ีสุด (x̅ =.4.16, จะต้องขน้ึ อย่กู ับสภาพอากาศ
S.D. = 0.00) ตามลำดบั 8.2 เมื่อไปสูบน้ำตามแหล่งน้ำตามธรรมชาติ
7..อภิปรายผล
จะต้องใส่หัวกะโหลกไว้ที่ปลายท่อฝ่ังดูดทุกคร้ังเพ่ือ
ผ ล ก าร ป ร ะ เมิ น ค ว า ม เห ม า ะ ส ม ข อ ง ป๊ั ม น้ ำ ป้องกัน กรวด หิน ทราย เข้ามาที่เครื่องสูบน้ำไฟฟ้า
พลังงานแสงอาทิตย์ โดยรวมทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ด้าน กระแสตรง
โครงสร้างป๊ัมน้ำพลังงานแสงอาทิตย์ ด้านการใช้งานของ
ป๊ัมน้ำพลังงานแสงอาทิตย์ และด้านประสิทธิภาพของป๊ัม เอกสารอ้างอิง
น้ำพลังงานแสงอาทิตย์ มีค่าเฉล่ียความเหมาะสมโดยรวม [1] กชกร พมิ พาหุ, ศริ ดา สมอหมอบ, อสิ ระ มาสงิ ห์.
อยู่ในระดับมากที่สุดทั้งน้ีเพราะในการสร้างมีการจัดทำ
อย่างมีระบบและมีขั้นตอนผ่านการตรวจสอบและได้รับ (2557). ระบบปม๊ั น้ำอจั ฉริยะ(รายงานผลวจิ ัย).
คำแนะนำจากอาจารย์ท่ีปรึกษา ผู้เชี่ยวชาญ โดยมีการ นครราชสีมา: มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีสรุ นารี
ทดลองใช้ป๊ัมน้ำพลังงานแสงอาทิตย์ เพ่ือนำข้อบกพร่อง [2] กลา้ ณรงค์ วงศส์ วุ รรณ, ธนชาต รกั ษ์ศิลป์,
มาปรบั ปรุงแกไ้ ขตอ่ ไป อัครธร ธิเขยี ว.
(2560). การจดั การน้ำเพอ่ื การเกษตรบน
ในดา้ นโครงสร้างป๊มั น้ำพลังงานแสงอาทิตย์มี พื้นท่สี งู ดว้ ยระบบสบู นำ้ พลงั งานทดแทน
ค่าเฉล่ียอยู่ในระดับมากที่สุด (x̅ = 4.53, S.D. = 0.31) มี
ความแข็งแรงและเหมาะสมต่อการติดตั้งอุปกรณ์.ปั๊มน้ำ ของโครงการ สวมหมวกใสร่ องเท้าใหภ้ ูเขา
หัวโล้น จงั หวดั น่าน. น่าน: วิทยาลยั ชมุ ชนนา่ น
NCTechEd A08-2022


การประชุมวชิ าการนาํ เสนอผลงานนกั ศกึ ษา
54 NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

[3] ชวกร รงุ่ ทวีชัย, อนุรักษ์ ตาคา้ . (2562).
การติดตงั้ ปั๊มน้ำโซลล่าเซลลส์ ำหรบั การเกษตรเพือ่
การพัฒนาท่ยี ัง่ ยนื . เชียงใหม่: มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่

[4] จษฎา วรรณศรี, วชั รพนั ธ์ อนิ ทมาศ, สรุ วุฒิ ยะนลิ .
(2558). เครอื่ งสบู นำ้ พลงั งานแสงอาทติ ยแ์ บบ
เคลอื่ นท.่ี กรงุ เทพฯ: มหาวิทยาลยั เทคโนโลยี
พระ จอมเกล้า พระนครเหนอื

NCTechEd A08-2022


การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานนักศกึ ษา 55

NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

แท่นยกเกยี ร์และเฟื องท้ายด้วยระบบไฟฟ้า

พงศกร ปิ สดา1 นพรัตน์ พรหมอารักษ1์ * ทวศี กั ด์ิ โคตรโสภา1 นายภาคิน อศั วภูมิ
บทคัดย่อ

งานวิจัยน้ีมีวตั ถุประสงค์ของการวิจยั เพ่ือสร้างแท่นยกเกียร์ และเฟื องทา้ ยดว้ ยระบบไฟฟ้า เพื่อประเมิน
ความเหมาะสมของแท่นยกเกียร์ และเฟื องทา้ ยดว้ ยระบบไฟฟ้า และเพื่อหาประสิทธิภาพการใชง้ านแท่นยกเกียร์
และเฟื องทา้ ยดว้ ยระบบไฟฟ้า วิธีดาํ เนินการวิจยั ศึกษาออกแบบ และสร้างแท่นยกเกียร์ และเฟื องทา้ ยดว้ ยระบบ
ไฟฟ้า ทดสอบและปรับปรุงแกไ้ ข โดยมีผเู้ ช่ียวชาญในการประเมินเป็นอาจารยแ์ ผนกช่างยนต์ จาํ นวน 3 คน

จากผลการศึกษาพบว่า แท่นยกเกียร์ และเฟื องทา้ ยดว้ ยระบบไฟฟ้า ที่สร้างข้ึนสามารถทาํ งานได้ อย่างมี
ประสิทธิภาพ โดยสามารถช่วยอาํ นวยความสะดวกในการปฏิบตั ิงาน

ผลการประเมินความเหมาะสมชุดแท่นยกเกียร์ และเฟื องทา้ ยดว้ ยระบบไฟฟ้าตามความคิดเห็นของผูเ้ ชี่ยวชาญ
จาํ นวน 3 คน ท่ีมีต่อแท่นยกเกียร์ และเฟื องทา้ ยดว้ ยระบบไฟฟ้าโดยรวมท้งั หมด 3 ดา้ น มีค่าเฉล่ียความเหมาะสมอยู่
ใน ระดบั ค่าคะแนนเฉล่ียอยทู่ ่ี (x̅ = 4.53, S.D. = 0.12) พิจารณาจากดา้ นการใชง้ านของชุดแท่นยกเกียร์ และเฟื องทา้ ย
ดว้ ยระบบไฟฟ้ามีระดบั ค่า (x̅ = 4.60, S.D. = 0.69) รองลงมา คือ ดา้ นประสิทธิภาพ และคุณค่าชุดแท่นยกเกียร์ และ
เฟื องทา้ ยดว้ ยระบบไฟฟ้ามีระดบั ค่าคะแนนเฉลี่ยอยทู่ ี่ (x̅ = 4.53, S.D. = 0.57) นอ้ ยท่ีสุด คือ ดา้ นโครงสร้างชุดแท่น
ยกเกียร์ และเฟื องทา้ ยดว้ ยระบบไฟฟ้ามีระดบั ค่าคะแนนเฉลี่ยอยทู่ ่ี (x̅ = 4.47, S.D. = 0.46)

คาํ สําคัญ : แท่นยกเกียร์,เฟื องทา้ ย,ระบบไฟฟ้า

1 สาขาวชิ าเทคโนโลยเี คร่ืองกล วทิ ยาลยั เทคนิคอุดรธานี สถาบนั การอาชีวศึกษาภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ 1
*ผนู้ ิพนธป์ ระสานงาน โทร 0615198920 อีเมล ; [email protected]


การประชมุ วชิ าการนาํ เสนอผลงานนักศึกษา
56 NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

THE JACK GEAR LIFTING AND DIFFERENTIAL WITH THE ELECTRICITY SYSTEM
Pongsakorn pidsada1 Nopparat Promarrak1* Thaweesak Khortsopha1 Pakin Assawapum1
Abstract

The objectives of this research were to construct the jack gear lifting and differential with the electricity system,
to assess the suitability of the gear lifting platform and rear gears electrically and to determine the efficiency of the
electric gear and rear gears, how to conduct research, design and build electric gear lifting platforms and rear gears,
test and revisions, with three experts assessing as motor mechanics.

According to the results of the study, the electric-generated gear and rear gear stands could work efficiently.
It can help facilitate operations.

The evaluation of the suitability of the gearbox and the electric rear gear according to the opinions of 3 experts
on the gear stand and the overall electric rear gear on 3 sides had an average suitability in the average score level
of (x̅ = 4.53, S.D.=0.12), considering the application side of the gearbox and the electric rear gear had a value level
(x̅ = 4.60, S.D. = 0.69), second only to performance and value. The gearbox and electric rear gears had an average
score level of (x̅ = 4.53, S.D. = 0.57), the minimum was the structure of the gear stand, and the electric rear gear
had an average score level of (x̅ =4.47, S.D.=0.46).
keywords: the jack gear lifting and differential with the electricity system

*1, Mechanical Technology,Udonthani Tecthnical College Udon Thani Province 41000
Institute of Vocational Education : Northeastern region 1
* Peerawat Kongsuwan Tel: 0615198920 e-Mail; [email protected]


การประชุมวิชาการนาํ เสนอผลงานนักศกึ ษา 57

NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

1. บทนํา ลิฟท์ยกรถหรือใชก้ บั รถบรรทุก (2) แม่แรงยกเกียร์
ระบบหน่ึงซ่ึงมีความสําคญั ในรถยนต์ คือ ระบบส่ง ตรงแบ่งเป็ น 2 แบบ คือแม่แรงยกเกียร์ตรงช้นั เดียว
กาํ ลงั ซ่ึงเป็นระบบที่รับกาํ ลงั จากเคร่ืองยนตไ์ ปขบั ลอ้ และแม่แรงยกเกียร์ตรง 2 ช้นั แบ่งเป็ นรุ่นมือโยกกบั
ให้รถยนต์เกิดการเคลื่อนท่ี ซ่ึ งเป็ นระบบท่ี มี รุ่นใชเ้ ทา้ เหยียบ ซ่ึงแม่แรงแบบน้ีจะสูงกว่าแม่แรงยก
ความสาํ คญั ส่วนประกอบของระบบส่งกาํ ลงั รถยนต์ เกียร์ตรง 2 ช้ัน เหมาะสําหรับอู่บริการทว่ั ไป และ
ประกอบดว้ ยเคร่ืองยนต์ คลตั ช์ กระปุกเกียร์ เพลา ศูนยบ์ ริการต่าง ๆ ท่ีติดต้งั ลิฟท์ยกรถแลว้ ซ่ึงแม่แรง
กลาง เฟื องทา้ ย เพลาขบั และลอ้ ตามลาํ ดบั ซ่ึงรถยนต์ ยกเกียร์และเฟื องทา้ ยดงั กล่าวจดั เป็ นอุปกรณ์ที่ช่วย
มีการติดต้ังท้ังระบบส่งกําลงั แบบธรรมดา (เกียร์ ประครองกระปุกเกียร์หรือเฟื องทา้ ยรถยนตท์ ่ีช่วยทุ่น
ธรรมดา) และระบบส่งกาํ ลงั แบบอตั โนมัติ (เกียร์ แรงและอาํ นวยความสะดวกสบายไดร้ ะดบั หน่ึง ซ่ึง
อตั โนมตั ิ) ในขณะเดียวกนั เมื่อใชร้ ถยนต์ไปนาน ๆ ในปัจจุบนั แท่นยกเกียร์ยงั ตอ้ งใชม้ ือโยกกบั รุ่นใชเ้ ทา้
อุปกรณ์ระบบส่งกาํ ลงั รถยนตเ์ ช่นคลตั ช์ กระปุกเกียร์ เหยียบกนั อยู่ ทาํ ใหอ้ อกแรงมาก และใชแ้ รงงานคน
และเฟื องทา้ ยยอ่ มมีการสึกหรอเกิดข้ึนตามอายกุ ารใช้ 2-3 คน จึงทาํ ใหก้ ารทาํ งานลา่ ชา้ ไปดว้ ย
งาน สังเกตอาการได้จากการเข้าเกียร์ยาก เกียร์มี 2. วตั ถุประสงค์การวจิ ยั
อาการกระตุก เกียร์ส่ันหรือกระตุกระหว่างเปลี่ยน
เกียร์ เกียร์มีเสียงดงั คลตั ชล์ ่ืน คลตั ชม์ ีเสียงดงั ระหวา่ ง 2.1 แท่นยกเกียร์ และเฟื องทา้ ยดว้ ยระบบ
เปลี่ยนเกียร์ เขา้ เกียร์แลว้ รถไม่เคล่ือนที่ เฟื องทา้ ยมี ไฟฟ้า สามารถรับน้าํ หนกั ไดไ้ มเ่ กิน 500 กิโลกรัม
เสียงดงั ผดิ ปกติ เป็นตน้ จากสภาพปัญหาดงั กลา่ วจึงมี
ความจาํ เป็ นที่จะตอ้ งตรวจซ่อมและบริการระบบส่ง 2.2 แท่นยกเกียร์ และเฟื องทา้ ยดว้ ยระบบ
กาํ ลงั รถยนต์ให้สามารถใช้งานได้ ซ่ึงบ่อยคร้ังช่าง ไฟฟ้าใชเ้ วลาในการยกกระปุกเกียร์ และเฟื องทา้ ย ได้
เทคนิคมีความจาํ เป็ นตอ้ งยกเกียร์และเฟื องทา้ ยออก ไมเ่ กิน 2.5 นาที ต่อคร้ัง
จากรถยนต์ลงมาสู่พ้ืนดา้ นล่างเพ่ือทาํ การตรวจซ่อม
และบริการ และเมื่อภายหลงั ทาํ การตรวจซ่อมและ 3. การดาํ เนินงาน
บริการเสร็จแลว้ กต็ อ้ งยกเกียร์และเฟื องทา้ ยติดต้งั คืน 3.1 ผวู้ ิจยั ไดด้ าํ เนินการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล
กลบั ซ่ึงกระปุกเกียร์และเฟื องทา้ ยเป็นอุปกรณ์ระบบ
ส่งกําลังท่ีมีน้ําหนักมากและมีความจาํ เป็ นต้องใช้ ดว้ ยตนเอง โดยแจกแบบประเมินความพึงพอใจ และ
แท่นยกเกียร์และเฟื องทา้ ยในการอาํ นวยความสะดวก ประสิทธิภาพที่มีต่อแท่นยกเกียร์ และเฟื องทา้ ยดว้ ย
ในการปฏิบตั ิงานน้ี ระบบไฟฟ้าใหค้ ณะกรรมการผปู้ ระเมิน 3 ท่าน

ในปัจจุบนั ตามอู่บริการซ่อมรถยนต์ทว่ั ไป
และศูนยบ์ ริการซ่อมรถยนต์ต่าง ๆ ที่รับซ่อมหรือ
บริการเก่ียวกบั รถยนต์ที่จาํ เป็ นตอ้ งใช้แท่นยกเกียร์
เพ่ือถอดซ่อม หรือบริการเก่ียวกบั เกียร์และเฟื องทา้ ย
ซ่ึงแท่นยกเกียร์ ท่ีใชท้ วั่ ไปแบ่งออกเป็ น 2 ชนิด คือ
(1) แม่แรงตะเขย้ กเกียร์เหมาะสมกบั ร้านท่ียงั ไม่ติดต้งั


การประชมุ วิชาการนําเสนอผลงานนักศึกษา 3.4 นาํ แบบสอบถามท้งั 3 ชุดมาวิเคราะห์
58 NCTechED-Student Workshop 2022 เพื่อหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบ่ียงเบน
มาตรฐาน
June 10,2022
3.5 นําผลข้อมูลที่ถูกวิเคราะห์แล้วไป
ภาพท่ี 1 แสดงข้นั ตอนการทดลองและเกบ็ ขอ้ มูลการ ดาํ เนินการสรุปผล
ใช้งานของแท่นยกเกียร์ และเฟื องท้ายด้วยระบบ
ไฟฟ้า 4. สรุปผลการวจิ ยั
การวิจัยเร่ืองแท่นยกเกียร์ และเฟื องทา้ ย
3.2 การเก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบ
ประเมินของผูเ้ ชี่ยวชาญ ผูศ้ ึกษาทําหนังสือเชิญผู้ ดว้ ยระบบไฟฟ้า ของนกั ศึกษาระดบั ปริญญาตรี โดยดี
ประเมินและกาํ หนดวนั เวลา สถานท่ี เพ่ือทาํ การ จดั สร้าง แท่นยกเกียร์ และเฟื องทา้ ยดว้ ยระบบไฟฟ้า
ทดลองและประเมินความเหมาะสมของแท่นยกเกียร์ ข้ึ นสามารถทํางานได้ตามจุดประสงค์แล ะมี
และเฟื องทา้ ยดว้ ยระบบไฟฟ้าเมื่อผูเ้ ชี่ยวชาญมาถึง ประสิทธิภาพ โดยสามารถจาํ ลองยกประปุกเกียร์ข้ึน
ตามกาํ หนด ผูศ้ ึกษาช้ีแจงรายละเอียดแบบประเมิน จาํ นวน 10 คร้ัง แบบจบั เวลาตอนยกข้ึน โดยระยะเร่ิม
ความเหมาะสมกบั ผูเ้ ชี่ยวชาญ จากน้นั ทาํ การทดลอง ต้งั แต่ 80 เซนติเมตร จนถึง 180 เซนติเมตร และเม่ือ
ใช้งานจากคณะผูจ้ ดั ทาํ แลว้ ให้ผูเ้ ช่ียวชาญประเมิน แบตเตอร่ีเริ่มอ่อนลงทาํ ใหม้ ีระยะเวลาที่นานข้ึน โดย
ความเหมาะสมของแท่นยกเกียร์ และเฟื องทา้ ยดว้ ย มีระดบั ค่าคะแนนเฉล่ียรวมเท่ากนั 2.23 นาที และผล
ระบบไฟฟ้าตามแบบประเมินความเหมาะสมและเกบ็ การประเมินแท่นยกเกียร์ และเฟื องทา้ ยดว้ ยระบบ
รวบรวมแบบประเมินจากผเู้ ชี่ยวชาญ ไฟฟ้า โดยผเู้ ช่ียวชาญจาํ นวน 3 คน พบวา่

ภาพที่ 2 แสดงภาพข้นั ตอนการรวบรวมขอ้ มลู 4.1 ผลสรุปการวิเคราะห์ขอ้ มูลทวั่ ไปของ
ความคิดเห็นจากผเู้ ช่ียวชาญ ผเู้ ช่ียวชาญ
3.3 ตรวจสอบจาํ นวน และความสมบูรณ์
4.1.1 อายุของผู้เชี่ ยวชาญพบว่า
ของแบบสอบถามท่ีไดร้ ับคืนมาแต่ละฉบับ เพ่ือหา ผเู้ ช่ียวชาญท่ีมีอายุ 20-40 ปี มีจาํ นวน 1 คนคิดเป็นร้อย
ความพึงพอใจที่มีต่อแท่นยกเกียร์ และเฟื องทา้ ยดว้ ย ละ 33 และผเู้ ชี่ยวชาญที่มีอายุ 41 ปี ข้ึนไป มีจาํ นวน 2
ระบบไฟฟ้า และมีแบบสอบถามที่มีความสมบูรณ์ คนคิดเป็นร้อยละ 67
ท้งั หมด 3ชุด คิดเป็นร้อยละ 100
4.1.2 วุฒิการศึกษาของผูเ้ ชี่ยวชาญ
พ บ ว่ า ร ะ ดับ ก า ร ศึ ก ษ า ร ะ ดับ ก า ร ศึ ก ษ า สู ง สุ ด ข อง
ผูเ้ ช่ียวชาญ คือ ผูเ้ ชี่ยวชาญท่ีจบการศึกษาระดบั สูง
กวา่ ปริญญาตรี จาํ นวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 100

4.1.3 ประสบการณ์ในการทํา งา น
ของผูเ้ ชี่ยวชาญ พบว่า ผูเ้ ช่ียวชาญท่ีมีประสบการณ์
ทาํ งานการทาํ งานระหว่าง 6-10 ปี มีจาํ นวน 1 คน
คิดเป็ นร้อยละ 33 และผูเ้ ชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์


การประชุมวชิ าการนําเสนอผลงานนกั ศกึ ษา 59

NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

ทาํ งานการทาํ งานระหวา่ ง 20 ปี ข้ึนไป มีจาํ นวน 2 คน ทวั่ ไป และศูนยบ์ ริการซ่อมรถยนตต์ ่าง ๆ ท่ีรับซ่อม
คิดเป็นร้อยละ 67 หรื อบริ การเก่ี ยวกับรถยนต์ และเป็ นไปตาม
สมมติฐานท่ีต้งั ไว้
4.2 ผลสรุปการวิเคราะห์ขอ้ มูลจากความ
คิดเห็นของผเู้ ชี่ยวชาญ 5. อภปิ รายผล
การวิจยั คร้ังน้ีมีวตั ถุประสงคเ์ พื่อเพ่ือสร้าง
การประเมินคุณภาพของชิ้นงานผูว้ ิจยั
ได้เชิญผูเ้ ช่ียวชาญประเมินคุณภาพ จํานวน 3 คน แท่นยกเกียร์ และเฟื องทา้ ยดว้ ยระบบไฟฟ้า ประเมิน
หวั ขอ้ ในการประเมินแบ่งออกเป็น 3 ดา้ น ไดแ้ ก่ ดา้ น ความเหมาะสมแท่นยกเกียร์ และเฟื องทา้ ยดว้ ยระบบ
โครงสร้างของชุดแท่นยกเกียร์ และเฟื องท้ายด้วย ไฟฟ้าและหาประสิทธิภาพการใชง้ านแท่นยกเกียร์
ระบบไฟฟ้า ดา้ นการใชง้ านของชุดแท่นยกเกียร์ และ และเฟื องท้ายด้วยระบบไฟฟ้า มีค่าเฉลี่ยความ
เฟื องท้ายด้วยระบบไฟฟ้า และด้านประสิทธิภาพ เหมาะสมโดยรวมอยใู่ นระดบั มากที่สุดท้งั น้ีเพราะใน
และคุณค่า ชุดแท่นยกเกียร์ และเฟื องทา้ ยดว้ ยระบบ การสร้างมีการจดั ทาํ อย่างมีระบบและมีข้นั ตอนผ่าน
ไฟฟ้า ผลการประเมินสรุปไดด้ งั น้ี การตรวจสอบและได้รับคําแนะนําจากอาจารย์ที่
ปรึกษา ผูเ้ ชี่ยวชาญ โดยมีการทดลองใชง้ านชุดแท่น
4.2.1 การประเมินดา้ นโครงสร้างของ ยกเกียร์ และเฟื องท้ายด้วยระบบไฟฟ้าเพ่ือนํา
ชุดแท่นยกเกียร์ และเฟื องทา้ ยดว้ ยระบบไฟฟ้า โดยมี ขอ้ บกพร่องมาปรับปรุงแกไ้ ขต่อไป
ภาพรวมมีระดับค่าคะแนนเฉล่ียอยู่ท่ี 4.47 ส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐานอยทู่ ี่ 0.46 ผลรวมการประเมินคุณภาพการทาํ งาน
ของแท่นยกเกียร์ และเฟื องทา้ ยดว้ ยระบบไฟฟ้าท้งั 3
4.2.2 การประเมินดา้ นการใชง้ านของ ดา้ น โดยมีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากบั ระดบั ค่าคะแนนเฉลี่ย
ชุดแท่นยกเกียร์ และเฟื องทา้ ยดว้ ยระบบไฟฟ้าโดยมี อยทู่ ี่ 4.53 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานอยทู่ ี่ 0.12
ภาพรวมมีระดับค่าคะแนนเฉล่ียอยู่ท่ี 4.60 ส่วน
เบ่ียงเบนมาตรฐานอยทู่ ่ี 0.69 การประเมินดา้ นโครงสร้างของชุดแท่นยก
เกียร์ และเฟื องทา้ ยดว้ ยระบบไฟฟ้า โดยมีภาพรวมมี
4.2.3 การประเมินดา้ นประสิทธิภาพ ระดับค่าคะแนนเฉลี่ยอยู่ท่ี 4.47 ส่ วนเบ่ียงเบน
และคุณค่า ชุดแท่นยกเกียร์ และเฟื องทา้ ยดว้ ยระบบ มาตรฐานอยทู่ ่ี 0.46
ไฟฟ้าโดยมีภาพรวมมีระดบั ค่าคะแนนเฉลี่ยอยทู่ ่ี 4.53
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยทู่ ี่ 0.57 การประเมินดา้ นการใชง้ านของชุดแท่นยก
เกียร์ และเฟื องทา้ ยดว้ ยระบบไฟฟ้าโดยมีภาพรวมมี
ผลการประเมินความเหมาะสมชุดแท่น ระดับค่าคะแนนเฉลี่ยอยู่ท่ี 4.60 ส่ วนเบี่ยงเบน
ยกเกียร์ และเฟื องท้ายด้วยระบบไฟฟ้าตามความ มาตรฐานอยทู่ ่ี 0.69
คิดเห็นของผูเ้ ชี่ยวชาญจาํ นวน 3 คน ที่มีต่อแท่นยก
เกียร์ และเฟื องทา้ ยดว้ ยระบบไฟฟ้าโดยรวมท้งั หมด การประเมินดา้ นประสิทธิภาพ และคุณค่า
3 ด้าน มีค่าเฉลี่ยความเหมาะสมอยู่ใน ระดับค่า ชุดแท่นยกเกียร์ และเฟื องทา้ ยดว้ ยระบบไฟฟ้าโดยมี
คะแนนเฉล่ียอยู่ที่ 4.53 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานอยู่ท่ี ภาพรวมมีระดับค่าคะแนนเฉลี่ยอยู่ที่ 4.53 ส่วน
0.12 และผลการประเมินความเหมาะสมของแท่นยก เบ่ียงเบนมาตรฐานอยทู่ ่ี 0.57
เกียร์ และเฟื องทา้ ยด้วยระบบไฟฟ้า พบว่ามีความ
เหมาะสมที่จะนาํ ไปใช้งานในอู่บริการซ่อมรถยนต์


การประชมุ วิชาการนาํ เสนอผลงานนักศึกษา การทดสอบแท่นยกเกียร์และเฟื องท้ายด้วยระบบ
60 NCTechED-Student Workshop 2022 ไฟฟ้าจนสาํ เร็จลลุ ่วงไปไดด้ ว้ ยดี

June 10,2022 ขอขอบคุณผูท้ รงคุณวุฒิท้ัง 3ท่าน ที่ให้ความ
อนุ เคราะห์ ประเมิ นผลรั บรองต้นแบบชิ้ นงานวิ จัยให้
แท่นยกเกียร์ และเฟื องท้ายด้วยระบบ คําแนะนําอันเป็ นประโยชน์ในการทําวิจัยและให้ความ
ไฟฟ้าสามารถใชง้ านไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพแนวคิด อนุเคราะห์ตรวจเคร่ืองมือที่ใชใ้ นการวิจยั อีกท้งั ยงั สละเวลา
ในการสร้างสรรค์ ท้งั น้ีเพราะในการสร้างมีการจดั ทาํ อนั มีค่าให้คาํ แนะนําอันเป็ นผลให้งานวิจัยมีความชัดเจน
อย่างมีระบบและมีข้ันตอนผ่านการตรวจสอบและ ครบถว้ นและสามารถนาํ มาประยกุ ตใ์ ชง้ านไดจ้ ริง ขอขอบคุณ
ไดร้ ับคาํ แนะนาํ จากอาจารยท์ ่ีปรึกษา ผเู้ ชี่ยวชาญ โดย สาํ นักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาและวิทยาลยั เทคนิค
มีการทดลองใช้ นาํ ผลมาปรับปรุงแกไ้ ขทาํ ใหไ้ ดแ้ ท่น อดุ รธานี ที่ไดใ้ หเ้ วลาสนบั สนุนเพอื่ พฒั นาตลอดระยะเวลาใน
ยกเกียร์ และเฟื องทา้ ยดว้ ยระบบไฟฟ้าเหมาะสาํ หรับ การศึกษา ขอขอบพระคุณคณาจารยท์ ุกท่านที่ไดป้ ระสิทธิ
ใชง้ านต่อไป ประสาทวิชา บ่มเพาะจนผูว้ ิจัยสามารถ นําเอาหลกั การมา
ประยกุ ตใ์ ชแ้ ละอา้ งอิงในโครงการคร้ังน้ี
6. กติ ตกิ รรมประกาศ
ง า น โ ค ร ง ก า ร น้ี ไ ด้รั บ ทุ น อุ ด ห นุ ด สุดทา้ ยน้ีผวู้ จิ ยั ขอขอบพระคุณบุคคลที่
เป็นกาํ ลงั ใจคือ บิดา มารดา และเพื่อนร่วมสาขาวชิ า
การเสริ มสร้างการวิจัย และพัฒนานวัตกรรม ช่างยนต์ ท่ีค่อยช้ีแนะเพื่อปรับปรุงโครงการใหด้ ีข้ึน
สิ่ งประดิษฐ์ เพ่ือเข้าสู่ระบบอุตสาหกรรม และ และมีประสิทธิภาพมากข้ึนจึงทาํ ใหโ้ ครงคร้ังน้ี
พาณิชยกรรม ภายใต้งานวิจยั เรื่องแท่นยกเกียร์และ ประสบผลสาํ เร็จ และหวงั เป็นอยา่ งยง่ิ วา่ เครื่องมือน้ี
เฟื องท้ายด้วยระบบไฟฟ้าสําหรับนักศึกษาตาม จะเป็นประโยชนแ์ ด่ศูนยบ์ ริการต่าง ๆ ขอมอบเพื่อ
หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยี บูชาพระคุณบิดา มารดา ครู อาจารย์ และผมู้ ีพระคุณ
เครื่องกล วิทยาลยั เทคนิคอุดรธานี ร่วมกบั สถาบันการ ทุกท่าน
อาชีวศึกษาภาคตะวนั ออกเฉียง เหนือ 1 ปี การศึกษา
2564 เอกสารอ้างองิ
[1] จนั ทิรา บุรุษพฒั น.์ (ออนไลน)์ . (2563). สถิติ การ
การศึกษาโครงการฉบับน้ีสําเร็จได้ด้วย
ความกรุณา และความช่วยเหลือเป็นอยา่ งย่ิงจาก นาย จดทะเบียนรถใหมป่ ้ายแดง ทว่ั ประเทศ. สืบคน้
ทวีศกั ด์ิ โคตรโสภา อาจารยท์ ่ีปรึกษาหลกั งานวิจัย จาก https://www.dlt.go.th/th/public-news/
วิชาโครงการ นายภาคิน อศั วภูมิ อาจารยท์ ี่ปรึกษา view.php?_did=2806. (สืบคน้ เมื่อ 4 กนั ยายน
งานวิจยั วิชาโครงการ ดร.พุทธ ธรรมสุนา ประธาน 2564)
กรรมการบริหารหลกั สูตร ผูศ้ ึกษาขอขอบพระคุณ [2] รศ. ชาญ ถนดั งาน, ศ.ดร.วริทธ์ิ อ้ึงภากรณ์ (2556).
เป็นอยา่ งสูง การออกแบบเครื่องจกั รกล เลม่ 1. กรุงเทพฯ :
ชีเอด็ ยเู คชนั่
ขอขอบพระคุณ อาจารย์ทวีศักด์ิ โคตร [3] ทฤษฎีของแรงอดั ไฮดรอลิก.(ออนไลน)์ .
โสภา อาจารยภ์ าคิน อศั วภูมิ และดร.พุทธ ธรรมสุนา (2557). สืบคน้ จาก http://www.research-
ครูแผนกวชิ าช่างยนต์ วิทยาลยั เทคนิคเทคนิคอุดรธานี
อ.เมืองอดุ รธานี จ.อุดรธานี ท่ีกรุณาใหค้ วามรู้เกี่ยวกบั
แท่นยกเกียร์และเฟื องท้ายด้วยระบบไฟฟ้า และ
เอกสาร ขอ้ มูลต่างๆ ตลอดจนขอ้ เสนอแนะท้ังใน
ภาคทฤษฎี และภาคการปฏิบตั ิ อนั เป็ นประโยชน์ใน


การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานนักศึกษา 61

NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

system.Siam.edu/images/Mechanical_
Engineering/AJChootakul_3-2558/
sornchai /07_ch2 .pdf.
(สืบคน้ เมื่อ 4 กนั ยายน 2564)
[4] นายไชยนนั ท์ ศิริแสน, นายณฐั วฒั น์ บุระพนั ธ์,
นายธเนศ หลกั คาํ (ออนไลน)์ . (2559). โครงการแม่
แรงยกเอนกประสงค.์ สืบคน้ จาก
http://www.atsn.ac.th/sendproject/
161.pdf. (สืบคน้ เมื่อ 4 กนั ยายน 2564)
[5] อปุ กรณ์ติดรถยนต์ "แม่แรง" ใชท้ าํ อะไรดี
อยา่ งไร. (ออนไลน์). [ม.ป.ป.]. สืบคน้ จาก
https://sites.google.com/site/hardwareblogs
/xupkrn-tid-rthynt-maeraeng-chi-tha-xari-
di-xyangri. (สืบคน้ เม่ือ 4 กนั ยายน 2564)
[6] นายภาคภูมิ แซ่เฒา้ .(ออนไลน)์ . (2564).
โครงการ ยกระดบั เศรษฐกิจและสงั คมราย
ตาํ บลแบบ บูรณาการ.เชียงใหม่ :
มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลลา้ นนา
. สืบคน้ จากh ttps://kaewpanya. Rmutl .ac.th/
cttc/otou/upload/1622294980__8133_P.
(สืบคน้ เมื่อ 4 กนั ยายน 2564)
[7] มอเตอร์ชนิดต่างๆ.(ออนไลน)์ . [ม.ป.ป.] สืบคน้
จาก https://sites.google.com/site/
moterchanidtang/.(สืบคน้ เม่ือ 4 กนั ยายน2564)
[8] บริษทั ไตรเทพ อินดสั ทรี จาํ กดั .(ออนไลน์).
[ม.ป.ป.]. แบตเตอรี่. สืบคน้ จาก
http://www.diysolarcell.com/ สาระน่ารู้
พลงั งาน%20(ความหมายของพลงั งาน) แบตเตอรี่
20(Battery).html. (สืบคน้ เม่ือ 4 กนั ยายน 2564)


การประชุมวชิ าการนาํ เสนอผลงานนักศึกษา
62 NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

เคร่ืองตดั หญ้าพลังงานไฟฟ้าร่วมพลังงานแสงอาทิตย์

กมลเทพ มบขนุ ทด,¹* สุทธิพงษ์ มวลคำลำ²

บทคัดย่อ

งำนวิจยั น้ีมีวตั ถปุ ระสงค์ เพือ่ จดั สร้ำงเครื่องตดั หญำ้ พลงั งำนไฟฟ้ำร่วมพลงั งำนแสงอำทิตยเ์ พอ่ื ใชเ้ ป็นเครื่องมอื
ในกำรกำจดั วชั พชื ของเกษตรกรโดยเนน้ กำรใชพ้ ลงั งำนสะอำดและเป็นมิตรตอ่ ส่ิงแวดลอ้ ม

จำกผลกำรศึกษำพบวำ่ เครื่องตดั หญำ้ ที่ไดจ้ ดั สร้ำงข้ึนสำมำรถทำงำนไดอ้ ยำ่ งมีประสิทธิภำพโดยสำมำรถ
ทำงำนเป็ นระยะเวลำประมำณ 1-1.30 ชั่วโมง ต่อกำรชำร์จ 1 คร้ัง และกำรชำร์จสำมำรถกระทำได้ 2 วิธี คือ 1
กำรชำร์จดว้ ยเครื่องชำร์จซ่ึงจะใชเ้ วลำในกำรชำร์จ ประมำณ 4-5 ชวั่ โมง และ 2 กำรชำร์จดว้ ยระบบโซลำ่ เซลลซ์ ่ึงจะ
ใชเ้ วลำในกำรชำร์จ ประมำณ 7-8 ชวั่ โมง ใช้แหล่งพลงั งำนเป็ นแบตเตอร่ีลิเธียมไอออนขนำดแรงดนั 12 โวลท์ 2
กอ้ น ต่อกนั แบบอนุกรมรวมเป็น 24 โวลท์ เพ่ือจ่ำยใหก้ บั มอเตอร์ไฟฟ้ำกระแสตรงขนำด 250 วตั ตจ์ ำนวน 1 ตวั ซ่ึง
จะทำงำนโดยกำรเปิ ดสวิตชท์ ่ีดำ้ มจบั

ผลกำรประเมินคุณภำพของกำรสร้ำงเครื่องตดั หญำ้ พลงั งำนไฟฟ้ำร่วมพลงั งำแสงอำทิตยโ์ ดยผเู้ชี่ยวชำญ.3.
คนพบวำ่ โดยรวมค่ำเฉลี่ย (x̅ = 4.67, S. D. = 0.06) อยู่ในระดบั มำกท่ีสุด เม่ือพิจำรณำเป็ นรำยดำ้ นพบว่ำคุณภำพ
ดำ้ นโครงสร้ำงรวมท้งั หมดมีค่ำเฉลี่ย (x̅ = 4.53, S. D. = 0.28) อยใู่ นระดบั มำกที่สุดดำ้ นกำรใชง้ ำนรวมท้งั หมดมี
ค่ำเฉลี่ย (x̅ = 4.65, S. D. = 0.16) อยู่ในระดับมำกท่ีสุด.ด้ำนประสิทธิภำพรวมท้ังหมดมีค่ำเฉลี่ย (x̅ = 4.83,
S. D. = 0.24) อยใู่ นระดบั มำกที่สุด [1]

คาสาคัญ : โซล่ำเซลล์

1,2สำขำวิชำเทคโนโลยเี คร่ืองกล วิทยำลยั เทคนิคอดุ รธำนี สถำบนั กำรอำชีวศึกษำภำคตะวนั ออกเฉียงเหนือ 1
* กมลเทพ มบขนุ ทด โทร +6973265539 อีเมล; [email protected]

NCTechEd A10-2022


การประชุมวิชาการนาํ เสนอผลงานนักศกึ ษา 63

NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

SOLAR POWERED AND ELECTRIC LAWN MOWER

Kamoltap Mobkhonthod,¹*And Sutthiphong Mualkhamla²

ABSTRACT

The objective of the study was to create a Solar Powered and Electric Lawn Mower to be used as a tool
to eliminate weeds of farmers to focus on using clean energy and being environmentally friendly.

The results of the study were found that the lawn mower that has been created can work efficiently. It
can work for a period of about 1-1.30 hours on one charge, and charging can be done in two ways: 1. A charging
with a charger, which takes about 4-5 hours, and 2. A charging with a solar cell system, which take about 7-8 hours,
using the power source is two 12-volt lithium-ion batteries connected in series for a total of 24 volts to supply one
250-watt Direct Current Electric Motor (DC M+3otor), which it works by turning on the switch on the handle.

The results of the evaluation of the quality of the creation of the solar and electric lawn mower by three
specialists considering each aspect, which found the overall average was (x̅ = 4.67, S. D. = 0.06) at the highest
level they found that in terms of the overall structural quality had an average of (x̅ = 4.53, S. D.= 0.28) was at
the highest level, in terms of the overall usage had an average of (x̅ = 4.65, S. D. = 0.16) was at the highest level,
and in terms of the overall efficiency had an average of (x̅ = 4.83, S. D. = 0.24) was at the highest level.

Keyword: Solar cell

1,2 Mechanical Technology Udonthani Technical College Udonthani Province 41000
Institute of Vocational Education : Northeastern region 1
* Kamoltap Mobkhonthod Tel. +6973265539 E-Mail ; [email protected]

NCTechEd A10-2022


การประชมุ วชิ าการนาํ เสนอผลงานนักศกึ ษา 3. สมมุติฐานการวจิ ัย
64 NCTechED-Student Workshop 2022 3.1.เครื่ องตัดหญ้ำพลังงำนไฟฟ้ำร่ วมพลังงำน

June 10,2022 แสงอำทิตยส์ ำมำรถตดั หญำ้ และชำร์จดว้ ยโซล่ำเซลล์ใน
เวลำเดียวกนั ได้ [3]
1. บทนา
ในปัจจุบนั มนุษยไ์ ดค้ ิดคน้ เครื่องมือต่ำง ๆ มำกมำย 4. ขอบเขตการวิจยั
4.1 ดำ้ นเน้ือหำ
เพ่ือนำมำใชอ้ ำนวยควำมสะดวกในชีวิตประจำวนั ท้งั น้ี 4.1.1.เคร่ืองตดั หญำ้ พลงั งำนไฟฟ้ำร่วม
เพ่ือให้เกิ ดควำมรวดเร็ ว ค ว ำ ม ป ลอ ด ภยั ค วำม
ส ะ ด ว ก ส บ ำ ย แ ล ะ ป ร ะ ห ย ัด เ ว ล ำ ใ น ก ำ ร ท ำ ง ำ น แ ล ะ พลงั งำนแสงอำทิตยส์ ำมำรถทำงำนได.้ 1.ชวั่ โมง ถึง 1.30
สำมำรถเอำเวลำท่ีเหลือไปทำงำนอย่ำงอื่นทำให้เกิด ชวั่ โมง ต่อกำรชำร์จ 1 คร้ัง
รำยได้ในชีวิตประจำวันได้เคร่ืองตัดหญ้ำถือว่ำเป็ น
เคร่ืองมือชนิดหน่ึงที่มนุษยส์ ร้ำงข้ึนมำเพื่อตดั หญำ้ แทน 4.2 ตวั แปร
กรรไกตดั หญำ้ ซึ่งทำให้ใช้เวลำในกำรตดั หญ้ำน้อยลง 4.2.1 ตวั แปรตน้
สร้ำงควำมสะดวกสบำยใหก้ บั ผรู้ ับผดิ ชอบในกำรตดั หญำ้ 4.2.2.เครื่องตดั หญำ้ พลงั งำนไฟฟ้ำร่วม
อกี ท้งั ยงั สำมำรถตดั หญำ้ ไดอ้ ยำ่ งสวยงำมขนำดหญำ้ ท่ีตดั
มีควำมสูงเท่ำๆ กันโดยเฉพำะ หำกนำไปตัดหญ้ำที่ พลงั งำนแสงอำทิตย์
ตอ้ งกำรควำมสวยงำมจะมีควำมเหมำะสมมำกเครื่องตดั 4.3 ตวั แปรตำม
หญำ้ ท่ีมีอยใู่ นปัจจบุ นั ส่วนมำกจะเป็นเคร่ืองตดั หญำ้ ท่ีใช้ 4.3.1.ผลกำรสร้ำงเคร่ืองตดั หญำ้ พลงั งำน
เครื่องยนต์เป็ นต้นกำลังซ่ึงเครื่องยนต์จำเป็ นต้องใช้
น้ำมนั เช้ือเพลิงซ่ึงนบั วนั จะมีรำคำแพงข้นึ อีกอยำ่ งไอเสีย ไฟฟ้ำร่วมพลงั งำนแสงอำทิตย์
ที่ออกมำจำกเคร่ืองยนต์ยงั สร้ำงมลภำวะเป็ นพิษทำง . 4.3.2 ผลกำรประเมินคณุ ภำพเคร่ืองตดั หญำ้
อำกำศ ทำให้เป็ นอตั รำยต่อคนตดั หญำ้ และคนรอบขำ้ ง พลงั งำนไฟฟ้ำร่วมพลงั งำนแสงอำทิตย์
ถึ งแม้ในปั จจุบันจะมี กำรผลิ ตเครื่ องตัดหญ้ำแบบใช้
มอเตอร์ ไฟฟ้ ำมำใช้แล้วก็ตำมแต่ก็มีข้อจำกัดในเร่ื อง 4.4 ขอบเขตระยะ
สถำนที่ที่นำไปใชซ้ ่ึงตอ้ งเป็นสถำนที่ที่ตอ้ งมีไฟฟ้ำจึงจะ 4.4.1.ภำคเรียนที่.1.ปี กำรศึกษำ 2564
ทำใหส้ ำมำรถใชเ้ ครื่องตดั หญำ้ ได้
4.5 ขอบเขตดำ้ นพ้นื ที่
จำกควำมเป็นมำและควำมสำคญั ของปัญหำดงั กล่ำว 4.5.1 วทิ ยำลยั เทคนิคอดุ รธำนี
คณะผจู้ ดั ทำจึงไดส้ ร้ำงเคร่ืองตดั หญำ้ พลงั งำนไฟฟ้ำร่วม
พลงั งำนแสงอำทิตยข์ ้ึนมำ ซ่ึงเครื่องตดั หญำ้ ดงั กล่ำวใช้ 4.6 ดำ้ นประชำกร และกลุ่มตวั อยำ่ ง
พลงั งำนแสงอำทิตยแ์ ปลงเป็นกระแสไฟฟ้ำโดยใชโ้ ซล่ำ 4.6.1.ประชำกรท่ีใช้ในกำรวิจัยคร้ังน้ีเป็ น
เซลล์ สำมำรถนำไปใช้ในพ้ืนที่ที่ไม่มีไฟฟ้ำเขำ้ ถึง ไม่
ปล่อยมลพิษให้เป็ นอันตรำยต่อผู้ใช้งำนและยงั รักษำ อำจำรยแ์ ผนกช่ำงยนต์วิทยำลยั เทคนิคอุดรธำนีซ่ึงเป็ น
สิ่งแวดลอ้ มดว้ ย [2] ผเู้ ช่ียวชำญที่มีประสบกำรณ์สอนไมต่ ่ำกว่ำ.5.ปี ท่ีเขำ้ ร่วม
ประเมินส่ิงประดิษฐ์ จำนวน 5 คน
2. วตั ถุประสงค์การวิจัย
2.1 เพ่ือสร้ำงเครื่ องตัดหญ้ำพลังงำนไฟฟ้ำร่วม 4.6.2.กลุ่มตวั อย่ำงที่ใชใ้ นกำรวิจยั คร้ังน้ีเป็น
อำจำรยแ์ ผนกช่ำงยนต์วิทยำลัยเทคนิคอุดรธำนี.ซ่ึง
พลงั งำนแสงอำทิตย์ เป็ นผูเ้ ชี่ยวชำญ.ที่มีประสบกำรณ์สอนไม่ต่ำกว่ำ 5 ปี ท่ีเขำ้
2.2 เพอ่ื หำประสิทธิภำพเคร่ืองตดั หญำ้ พลงั งำนไฟฟ้ำ ร่วมประเมินสิ่งประดิษฐ์ โดยกำรเลือกแบบเจำะจง
จำนวน 3 คน
ร่วมพลงั งำนแสงอำทิตย์

NCTechEd A10-2022


การประชุมวิชาการนาํ เสนอผลงานนักศกึ ษา 65

5. วธิ ีดาเนินการวจิ ัย NCTechED-Student Workshop 2022
5.1 ข้นั ตอนของกำรดำเนินกำรวิจยั
ใ น ก ำ ร ว ำ ง แ ผ น ก ำ ร ป ฏิ บัติ ง ำ น น้ ั น ค ณ ะ ผู้จัด ท ำ June 10,2022

งำนวิจยั ไดด้ ำเนินกำรตำมข้นั ตอนดงั น้ี 5.3.3 สร้ำงแบบสอบถำมตำมหลักเกณฑ์
5.1.1.ศึกษำค้นคว้ำทฤษฎีที่เก่ียวข้องโดย ทฤษฎี หลกั กำร แนวคิด

ศึกษำเกี่ยวกับคุณสมบัติกำรทำงำนของมอเตอร์และ 5.3.4 นำแบบสอบถำมที่สร้ำงข้ึนให้เสนอ
คุณสมบัติกำรทำงำนของเครื่องตดั หญำ้ พลงั งำนไฟฟ้ำ อำจำรยท์ ี่ปรึกษำตรวจสอบแกไ้ ขปรับปรุง
ร่วมพลงั งำนแสงอำทิตย์
5.3.5 นำแบบสอบถำมท่ีปรับปรุงและแก้ไข
5.1.2 รวบรวมขอ้ มูลกำรสร้ำงเครื่องตดั หญำ้ แล้วนำไปจัดพิมพ์เป็ นเครื่องมือท่ีใช้ในกำรรวบรวม
พลังงำนไฟฟ้ำร่ วมพลังงำนแสงอำทิตย์และฐำน ขอ้ มลู ตอ่ ไป
โครงสร้ำงของเคร่ืองตดั หญำ้ พลงั งำนไฟฟ้ำร่วมพลงั งำน
แสงอำทิตย์ 5.4 กำรสร้ำงและกำรหำคณุ ภำพเคร่ืองมือ
5.4.1.วิธีดำเนินกำรสร้ำงเคร่ื องตัดหญ้ำ
5.1.3 ทำกำรทดสอบเคร่ืองตดั หญำ้ พลงั งำน
ไฟฟ้ำร่วมพลงั งำนแสงอำทิตยแ์ ละบนั ทึกผลกำรทดสอบ พลงั งำนไฟฟ้ำร่วมพลงั งำนแสงอำทิตยค์ ณะผูจ้ ดั ทำได้
ดำเนินกำรออกแบบ
5.1.4 ทำปรับปรุ งแก้ไขเครื่ องตัดหญ้ำ
พลังงำนไฟฟ้ำร่ วมพลังงำนแสงอำทิตย์ และนำผล 5.4.2.ข้ันตอนกำรสร้ำงเคร่ื องตัดหญ้ำ
กำรทดสอบมำวเิ ครำะขอ้ มูล พลงั งำนไฟฟ้ำร่วมพลงั งำนแสงอำทิตยผ์ จู้ ดั ทำวิจยั กำรได้
จัดเตรียมวสั ดุอุปกรณ์ที่ใช้ในกำรสร้ำเครื่องตัดหญ้ำ
5.1.5 สรุปผลจำกงำนวิจยั พลังงำนไฟฟ้ ำร่ วมพลังงำนแสงอำทิตย์และเร่ิ ม
5.2 ประชำกรและกล่มุ ตวั อยำ่ ง ดำเนินกำร

5.2.1.ประชำกรท่ีใช้ในกำรวิจัยคร้ังน้ีเป็ น 5.5 กำรเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
ผูเ้ ช่ียวชำญ /อำจำรย์ วิทยำลยั เทคนิคอุดรธำนีท่ีเขำ้ ร่วม 5.5.1.ผวู้ จิ ยั ไดด้ ำเนินกำรเก็บรวบรวมขอ้ มลู
ประเมินส่ิงประดิษฐ์ ประจำปี กำรศึกษำ 2564 จำนวน 3
คน ดว้ ยตนเองโดยแจกแบบประเมนิ ควำมพงึ พอใจ
5.5.2.กำรเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลจำกแบบ
5.2.2 กลุ่มตวั อย่ำงที่ใชใ้ นกำรวิจยั คร้ังน้ีเป็น
ผูเ้ ช่ียวชำญ/อำจำรย์ วิทยำลยั เทคนิคอุดรธำนี ที่เขำ้ ร่วม ประเมนิ ของผเู้ ชี่ยวชำญ
ประเมินส่ิงประดิษฐ์ ประจำปี กำรศึกษำ 2564 จำนวน 3 5.5.3.ตรวจสอบจำนวนและควำมสมบรู ณ์
คน
ของแบบสอบถำม
5.3 เครื่องมือทใ่ี ชใ้ นกำรศึกษำคน้ ควำ้ 5.5.4.นำแบบสอบถำมท้งั .3.ชุดมำวเิ ครำะห์
เ ค ร่ื อ ง มื อ ที่ ใ ช้ใ น ก ำ ร วิ จัย ค ร้ั ง น้ี เ ป็ น
เพือ่ หำคำ่ ร้อยละค่ำเฉลี่ยและค่ำส่วนเบ่ียงเบนมำตรฐำน
แบบสอบถำม (questionnaire) โดยได้ดำเนินกำรสร้ำง 5.5.5.นำผลขอ้ มลู ท่ีถกู วเิ ครำะหแ์ ลว้ ไป
ตำมลำดบั ข้นั ตอนดงั น้ี
ดำเนินกำรสรุปผล
5.3.1 ศึกษำแนวควำมคิดทฤษฎีเอกสำรและ 5.6 กำรวิเครำะหข์ อ้ มลู
วรรณกรรมท่ีเกี่ยวขอ้ ง ผูว้ ิจยั ตรวจควำมสมบูรณ์ของแบบสอบถำม

5.3.2 ศึกษำหลักเกณฑ์และวิธีกำรสร้ำง แลว้ จึงนำผลที่ไดจ้ ำกแบบสอบถำมที่สมบูรณ์ จำนวน 3
แบบสอบถำม ฉบับ ผู้วิจัยจึงจะวิเครำะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม
สำเร็จรูป Microsoft Excel ซ่ึงสถิติที่ใชใ้ นกำรวิเครำะห์
ขอ้ มูลคือ สถิติเชิงพรรณนำเพ่ือบรรยำยขอ้ มูลและสรุป
ขอ้ มูลท่ีไดจ้ ำกแบบสอบถำม

NCTechEd A10-2022


การประชมุ วิชาการนําเสนอผลงานนักศึกษา ประสิทธิภำพของเคร่ืองตัดหญ้ำพลังงำนไฟฟ้ำร่ วม
66 NCTechED-Student Workshop 2022 พลงั งำนแสงอำทิตย์ มีคำ่ เฉลี่ยควำมเหมำะสมโดยรวมอยู่
ในระดับมำกท่ีสุดท้ังน้ีเพรำะในกำรสร้ำงมีกำรจดั ทำ
June 10,2022 อย่ำงมีระบบและมีข้นั ตอนผำ่ นกำรตรวจสอบและไดร้ ับ
คำแนะนำจำกอำจำรยท์ ่ีปรึกษำ ผูเ้ ชี่ยวชำญ โดยมีกำร
5.7 สถิติท่ีใชใ้ นกำรวเิ ครำะหข์ อ้ มลู ท ด ลอง ใช้เ คร่ื อง ตัดหญ้ำพลังงำนไฟฟ้ ำร่ วมพลังงำน
5.7.1 กำรคำนวณหำค่ำเฉลี่ย (Mean) จะใช้ แสงอำทิตย์ เพ่อื นำขอ้ บกพร่องมำปรับปรุงแกไ้ ขตอ่ ไป

สถิติในกำรวิเครำะห์ข้อมูลโดยใช้กำรวิเครำะห์หำ ในดำ้ นโครงสร้ำงเครื่องตดั หญำ้ พลงั งำนไฟฟ้ำร่วม
ค่ำเฉลี่ย พ ลัง ง ำ น แ ส ง อ ำ ทิ ต ย์มี ค่ ำ เ ฉ ลี่ ย อ ยู่ ใ น ร ะ ดับ ม ำ ก ท่ี สุ ด
(x̅ = 4.53, S.D. = 0.28) มีควำมแขง็ แรงและเหมำะสมตอ่
5.7.2.กำรคำนวณหำค่ำเบี่ยงเบนมำตรฐำน กำรติ ดต้ ังอุปกรณ์ เครื่ องตัดหญ้ำ.และกำรประกอบมี
(Standard deviation) ของผลกำรทดลอง [4] ควำมมนั่ คงแขง็ แรงเหมำะแก่กำรใชง้ ำน

6. ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู ดำ้ นกำรใชง้ ำนของเคร่ืองตดั หญำ้ พลงั งำนไฟฟ้ำร่วม
จำกกำรดำเนินกำรตำมวตั ถุประสงค์ของงำนวิจัย พลังงำนแสงอำทิตย์ มีค่ำเฉล่ียอยู่ในระดับมำกที่สุด
(x̅ = 4.65, S.D. = 0.16) สำมำรถประหยดั ค่ำใช้จ่ำยใน
ผจู้ ดั ทำไดเ้ กบ็ รวบรวมขอ้ มลู ท้งั หมดท่ีไดจ้ ำกกำรทดลอง กำรใช้พลงั งำนเช้ือเพลิง เครื่องตัดหญ้ำพลงั งำนไฟฟ้ำ
และแบบสอบถำมควำมคิดเห็นของผูเ้ ช่ียวชำญท่ีมีต่อ ร่วมพลงั งำนแสงอำทิตยเ์ ป็นมิตรต่อสิ่งแวดลอ้ ม มีควำม
เคร่ืองตดั หญำ้ พลงั งำนไฟฟ้ำร่วมพลงั งำนแสงอำทิตย์ ปลอดภยั ต่อผใู้ ชง้ ำน
ดำ้ นประสิทธิภำพและควำมพงึ พอใจในกำรใชง้ ำนเครื่อง
ตดั หญำ้ พลงั งำนไฟฟ้ำร่วมพลงั งำนแสงอำทิตย์ จำนวน. ดำ้ นประสิทธิภำพของเครื่องตดั หญำ้ พลงั งำนไฟฟ้ำ
3.ชุด แล้วนำมำวิเครำะห์ข้อมูลว่ำผูเ้ ช่ียวชำญมีควำม ร่วมพลงั งำนแสงอำทิตย์ มีค่ำเฉลี่ยอยใู่ นระดบั มำกท่ีสุด
สอดคล้องกันในระดับใดโดยแสดงผลกำรวิเครำะห์ (x̅ = 4.83, S.D. = 0.24) เครื่ องตัดหญ้ำพลังงำนไฟฟ้ำ
ข้อ มู ล ที่ ไ ด้จำ ก แบบสอ บถ ำม คว ำ มคิดเห็ นในรู ปของ ร่ ว ม พ ลัง ง ำ น แ สง อ ำ ทิ ต ย์. สำ ม ำ ร ถ ใ ช้ง ำ น ไ ด้อ ย่ ำ ง มี
ตำรำงประกอบคำบรรยำยโดยผูศ้ ึกษำไดเ้ สนอผลกำร ประสิทธิภำพแนวคิดในกำรสร้ำงสรรค์ ท้ังน้ีเพรำะใน
วิเครำะหข์ อ้ มูลตำมลำดบั ดงั น้ี กำรสร้ำงมีกำรจดั ทำอย่ำงมีระบบและมีข้นั ตอนผ่ำนกำร
ตรวจสอบและได้รับคำแนะนำจำกอำจำรยท์ ี่ปรึกษำ
ผลรวมกำรประเมินกำรทำงำนของเคร่ืองตดั หญำ้ ผูเ้ ช่ียวชำญ โดยมีกำรทดลองใชน้ ำผลมำปรับปรุงแกไ้ ข
พลงั งำนไฟฟ้ำร่วมพลงั งำนแสงอำทิตยท์ ้งั .3 ดำ้ น พบว่ำ ทำให้ไดเ้ คร่ืองตดั หญำ้ ท่ีเหมำะสำหรับใชง้ ำนตอ่ ไป
โ ด ย ร ว ม ค่ ำ เ ฉ ล่ี ย อ ยู่ ใ น ร ะ ดั บ ม ำ ก ท่ี สุ ด . (x̅ =
4.67,,S.D..=0.06)จำแนกรำยดำ้ นพบว่ำโดยรวมท้งั .3ดำ้ น 8. ข้อเสนอแนะ
พบวำ่ มีคำ่ เฉล่ีย 8.1 .ในขณะใช้งำนหำกใบตัดของเครื่องตัดหญ้ำ

ดำ้ นโครงสร้างค่ำเฉลี่ยอยใู่ นระดบั มำกท่ีสุด ติดขัดกับเศษหญ้ำให้หยุดใช้งำนและปิ ดสวิทซ์ใน
(x̅ =.4.53, S.D.=.0.28).ด้ำนกำรใช้งำนค่ำเฉลี่ยอยู่ใน ตำแหน่ง.Off.เสมอแลว้ จึงดำเนินกำรแกไ้ ขต่อไป
ร ะ ดั บ ม ำ ก ท่ี สุ ด ( x̅ =.4.65, S.D. = 0.16) ด้ ำ น
ประสิทธิภำพค่ำเฉลี่ยอยู่ในระดบั มำกท่ีสุด (x̅ =.4.83, 8.2. ควรใช้มอเตอร์ทีมีคววำมเร็วรอบสูงเพื่อให้
S.D. = 0.24) ตำมลำดบั [5] เคร่ืองตดั หญำ้ มีประสิทธิภำพมำกย่งิ ข้นึ

7..อภิปรายผล
ผลกำรประเมินควำมเหมำะสมของ เครื่ องตัดหญ้ำ

พลงั งำนไฟฟ้ำร่วมพลงั งำนแสงอำทิตย์ โดยรวมท้ัง 3
ดำ้ น ไดแ้ ก่ด้านโครงสร้ างเครื่องตดั หญำ้ พลงั งำนไฟฟ้ำ
ร่วมพลงั งำนแสงอำทิตย์ ดำ้ นกำรใช้งำนของเคร่ืองตดั
หญ้ำพลงั งำนไฟฟ้ำร่วมพลงั งำนแสงอำทิตย์ และดำ้ น

NCTechEd A10-2022


การประชุมวชิ าการนําเสนอผลงานนักศกึ ษา 67

NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

8.3 .เม่ือใชง้ ำนเครื่องตดั หญำ้ ไปในระยะเวลำหน่ึง
ควรหมน่ั ลบั คมใบตดั หญำ้ ใหม้ ีควำมคมอยเู่ สมอซ่ึงจะ
ช่วยทำให้ลดปัญหำกำรติดขดั ของเศษหญำ้ ลงได้

เอกสารอ้างอิง
[1] วงศน์ ภสั , (2558), “เคร่ืองตดั หญำ้ ไฟฟ้ำแบบ

เสียบปลกั๊ , “ [ออนไลน]์
http://www.wongtools.com.
(เขำ้ ถึงเมื่อ : 15 ตุลำคม 2564).
[2] กฤษณะ สิทธิหำญ, (2563), “เคร่ืองตดั หญำ้ โซลำ่
เชลล,์ “ [ออนไลน์]
http://www.innolifethailand.
(เขำ้ ถึงเมื่อ : 15 ตุลำคม 2564).
[3] เก่งกลำ้ กณุ รักษ,์ (2561), “รถตดั หญำ้ พลงั งำน
แสงอำทิตย,์ “ [ออนไลน]์
https://siamrath.co.th/n/3334.
(เขำ้ ถึงเมื่อ : 15 ตลุ ำคม 2564).
[4] โนวำบิซส์, (2561), “เครื่องตดั หญำ้ แบบนง่ั ขบั ,
“ [ออนไลน]์ https://www.novabizz.com/CDC.
(เขำ้ ถึงเม่ือ : 15 ตุลำคม 2564).
[5] สมเกียรติ กนั ธิพนั ธ์, (2562), “เคร่ืองเก่ียวขำ้ ว
จำกเครื่องตดั หญำ้ , “ [ออนไลน์]
https://www.rakbankerd.com.
(เขำ้ ถึงเม่ือ : 15 ตลุ ำคม 2564).

NCTechEd A10-2022


การประชุมวชิ าการนําเสนอผลงานนกั ศึกษา
68 NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

เครอื่ งล้างชนิ้ ส่วนเคร่ืองยนตด์ ้วยระบบน้ำมนั และไอน้ำ

สมรกั ษ์ รอดวนิ ิจ¹ และ เมธาวชั น์ แก้วคำหาญ2,*

บทคัดยอ่
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างเครื่องล้างชิ้นส่วนเครื่องยนต์ด้วยระบบน้ำมันและไอน้ำ เพื่อหา
ประสิทธิภาพการใช้งานเครื่องล้างชิ้นส่วนเครื่องยนต์ด้วยระบบน้ำมันและไอน้ำ เพื่อประเมินคุณภาพเครื่องล้างชิ้นส่วน
เครื่องยนต์ด้วยระบบน้ำมันและไอน้ำ วิธีดำเนินการวิจัยศึกษาออกแบบและสร้างเครื่องล้างชิ้นส่วนเครื่องยนต์ด้วยระบบ
นำ้ มนั และไอนำ้ ทดสอบและปรับปรุงแกไ้ ข โดยมีผู้เชี่ยวชาญในการประเมนิ เปน็ อาจารยแ์ ผนกชา่ งยนต์ จำนวน 3 คน
จากผลการศกึ ษาพบว่า เครอ่ื งลา้ งช้นิ ส่วนเครื่องยนต์ดว้ ยระบบน้ำมนั และไอนำ้ ทีส่ รา้ งขึน้ สามารถทำงานได้อยา่ ง
มีประสิทธิภาพโดยการทำความสะอาดด้วยระบบน้ำมันสามารถทำงานระบบน้ำวนโดยถังบรรจุสารความสะอาดสามารถ
บรรจุได้ 100 ลิตร และส่วนในของการทำความสะอาดด้วยระบบไอนำ้ มีแรงดนั ไฟ 200V กำลังไฟฟ้า 2600W แรงดันไอนำ้
5kgf/cm2 อณุ หภมู ใิ นการทำงานสูงถงึ 100 °C
ผลการประเมินเครื่องล้างชิ้นส่วนเครื่องยนต์ด้วยระบบน้ำมันและไอนำ้ โดยผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 คน มีค่าเฉล่ีย
โดยรวมอยู่ในระดับมาก(x=̅ 4.27, S.D. =0.15) จำแนกรายด้านพบว่าโดยรวมทั้ง 3 ด้าน มีค่าเฉลี่ยด้านโครงสร้างเครื่องล้าง
ชนิ้ ส่วนเคร่อื งยนต์ดว้ ยระบบน้ำมันและไอนำ้ มีคา่ เฉลีย่ อยู่ในระดบั มาก (x=̅ 4.33, S.D. =0.28) ด้านการใชง้ านของเคร่ืองล้าง
ชิ้นส่วนเครื่องยนต์ด้วยระบบน้ำมันและไอน้ำ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก(x=̅ 4, S.D. =0.54) ด้านประสิทธิภาพของเครื่องล้าง
ชิ้นส่วนเครื่องยนต์ด้วยระบบน้ำมันและไอน้ำ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก(x=̅ 4.5, S.D. =0.57) ตามลำดับ และผลการประเมนิ
ความเหมาะสมของเครื่องล้างชิ้นส่วนเครื่องยนต์ด้วยระบบน้ำมันและไอน้ำ พบว่ามีความเหมาะสมที่จะนำไปทำความ
สะอาดชิ้นส่วนเครอ่ื งยนต์และสามารถใช้งานไดเ้ ปน็ ไปตามสมมติฐานทต่ี ้ังไว้

คำสำคัญ.:, เครือ่ งยนต์, ระบบนำ้ มันและไอนำ้ , เครือ่ งล้างชนิ้ ส่วน.

1สาขาวชิ าเทคโนโลยเี คร่ืองกล วทิ ยาลยั เทคนิคอดุ รธานี สถาบันการอาชีวภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื 1

*เมธาวัชน์ แกว้ คำหาญ โทร +982629714 อเี มล; [email protected]

NCTechEd A11-2022


การประชุมวชิ าการนําเสนอผลงานนกั ศกึ ษา 69

NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

Engine parts cleaner with oil and steam system

Somrak Rodwinid¹ and Mathawat Kaewkumhan²*

Abstract

The objectives of the study were to create the engine parts cleaner with oil and steam system, to find the
efficiency of using and to assess the quality of the machine. Methods for conducting research, studies, design and create
of the engine parts cleaner with oil and steam system. Test and improve by three specialists in the assessment as
professors in the Mechanical Power Technology.

The results of the study was found that the engine parts cleaner with oil and steam system that created, it can
work effectively by cleaning with oil system and with vortex system which the tank can hold 100 liters of cleaning agent,
and the part of the steam system cleaner has a voltage of 200V, a power of 2600W, a steam pressure of 5kgf/cm2, an
operating temperature of up to 100 °C.

The assessment results of the engine parts cleaner with oil and steam system by three specialists, there are the
overall average was at the high level(x̅=4.27, S.D. =0.15). It's classified by aspects, which was found the overall three
aspects, there are an average in terms of the structure of the engine parts cleaner with oil and steam system is at the high
level (x̅=4.33, S.D. =0.28), in terms of the usage of the engine parts cleaner with oil and steam system, the mean is at the
high level (x̅=4, S.D. =0.54) and in terms of the efficiency of the engine parts cleaner with oil and steam system, the
mean is at the highest level
Keywords: engine parts cleaner oil and steam

1* Department of Mechanical Technology Udonthani Technical College Institute of Vocational Education : Northeastern Region 1
Mathawat Kaewkumhan Tel +982629714 e-Mail ; [email protected]

NCTechEd A11-2022


การประชมุ วชิ าการนําเสนอผลงานนกั ศกึ ษา
70 NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

1. บทนำ กต็ ้องเปล่ยี นชนิดของตัวทำละลายเพอื่ ชว่ ยล้างส่ิง
สกปรกให้ออกไปจากพืน้ ผิวชิ้นงานที่ตอ้ งการใหส้ ะอาด
[1] รถยนตเ์ ปน็ พาหนะทมี่ คี วามสำคญั ตอ่ การ
[4] สำหรบั การทำความสะอาดคราบ
ดำเนินชีวติ ประจำวนั ของมนษุ ย์เพอ่ื ใชส้ ำหรับการ น้ำมันหล่อลืน่ รถยนตจ์ ะตอ้ งใชน้ ำ้ มันเชอื้ เพลิง เช่น
น้ำมันเบนซิน น้ำมันดเี ซล หรือนำ้ มันกา๊ ด เป็นตน้ มา
คมนาคม เช่น การเดนิ ทางไปพกั ผ่อนท่องเทีย่ ว การ เป็นตัวทำละลายชว่ ยลา้ งคราบนำ้ มันหล่อลื่นเพอื่ ให้ส่ิง
สกปรกหลุดออกไป (พสิ มยั เลิศวฒั นะพงษช์ ยั . 2559:
ขนสง่ ผลิตภณั ฑอ์ ุปโภคบริโภค การป้องกันและการ 27) ดงั น้นั เพอ่ื ช่วยใหช้ ่างปฏิบัตงิ านไดอ้ ย่างปลอดภัย
รวดเรว็ และมปี ระสทิ ธภิ าพ คณะผู้จัดทำโครงการจงึ
บรรเทาสาธารณภัย เป็นต้น (กจิ ธพงษ์ อินโต. 2562: 1) ออกแบบและสรา้ งเคร่อื งทำความสะอาดช้นิ ส่วน
เครอ่ื งยนต์ด้วยระบบน้ำมนั และไอนำ้ สามารถนำไปใช้
ชว่ ยให้มนุษยเ์ ราเดินทางไปทำกิจกรรมในสถานที่ตา่ ง ๆ ประโยชน์เปน็ อปุ กรณ์ประกอบอาชีพในการตรวจซอ่ ม
และบริการรถยนตต์ ่อไป
ได้อย่างรวดเรว็ และมคี วามสะดวกสบาย จากการสำรวจ
2. วัตถปุ ระสงคก์ ารวิจัย
พบวา่ ประชากรประเทศไทยนยิ มการมรี ถยนตน์ งั่ สว่ น 2.1.เพื่อสรา้ งเคร่อื งลา้ งช้นิ ส่วนเครื่องยนต์ดว้ ย

บคุ คลเนอื่ งจากการใหบ้ รกิ ารขนส่งมลชนของภาครัฐยัง ระบบน้ำมนั และไอน้ำ
2.2 เพอ่ื หาประสิทธิภาพการใช้งานเคร่อื งลา้ ง
ไมเ่ พียงพอกับความตอ้ งการในทกุ ๆ พ้นื ทข่ี องประเทศ
ชนิ้ สว่ นเครื่องยนตด์ ้วยระบบนำ้ มนั และไอน้ำ
จงึ ก่อใหเ้ กดิ เป็นความต้องการมีรถยนตน์ ั่งส่วนบคุ คล 2.3.เพ่ือประเมณิ คุณภาพเคร่ืองลา้ งชน้ิ ส่วน

เพ่มิ ขึน้ จากขอ้ มูลของกรมการขนส่งทางบกรถยนต์ทจี่ ด เคร่ืองยนต์ดว้ ยระบบน้ำมนั และไอน้ำ

ทะเบยี นสะสม ณ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม พ.ศ. 25563 พบว่า 3. วิธีการดำเนินการ
การดำเนนิ โครงการการสรา้ งและหา
รถยนต์น่งั ส่วนบคุ คลไมเ่ กนิ 7 ท่ีนัง่ รวมทว่ั ประเทศมี
ประสทิ ธิภาพเครอ่ื งล้างชน้ิ ส่วนเคร่อื งยนตด์ ว้ ยระบบ
จำนวน 10,446,505 คนั (กรมการขนส่งทางบก 2563: นำ้ มันและไอน้ำ มกี ารดำเนินงานโดยได้รับการแนะนำ
จากอาจารยท์ ี่ปรึกษาและจดั แผนการดำเนนิ งานไวเ้ ป็น
ออนไลน์) ซ่งึ รถยนตน์ ่ังสว่ นบกุ คลไม่เกนิ 7 ทน่ี ง่ั ทใ่ี ช้ ขน้ั ตอนตา่ ง ๆ ตามหวั ขอ้ ดังนี้

กันท่ัวไปเปน็ รถยนตแ์ บบใช้เคร่ืองยนต์(นพดล คำมณี. 3.1 ศึกษาข้อมูลเบอื้ งตน้
3.2 วางแผนการดำเนนิ งาน
2560: 44) [2] เคร่อื งยนต์ทำหน้าที่เปลี่ยนพลงั งานท่ไี ด้ 3.3 การดำเนินการสรา้ งเครอ่ื งลา้ งช้ินสว่ น
เครือ่ งยนต์ดว้ ยระบบน้ำมนั และไอนำ้
จากการเผาไหมเ้ ชือ้ เพลงิ ไปเปน็ พลังงานกลเพอ่ื 3.4 การเกบ็ รวบรวมข้อมลู
3.5 วิเคราะหข์ ้อมูล
ขับเคลอ่ื นรถยนต์ให้เคล่อื นที่ (เฉลิมศักด์ิ มไี พบรู ณ์. 3.6 การนำเสนอขอ้ มูล

2558: 9) เมือ่ เครื่องยนตใ์ ชง้ านไปนานย่อมเกิดการสึก

หรอขน้ึ ตามอายกุ ารใช้งาน ซง่ึ เหตุการณด์ งั กลา่ วอาจจะ

ทำใหช้ ้นิ ส่วนตา่ ง ๆ ทอี่ ย่ภู ายในเคร่อื งยนต์ชำรุดเสียหาย

จำเปน็ ต้องถอดแยกเคร่ืองยนต์ และนำช้ินสว่ นทั้งหมด

ออกจากเคร่ืองยนต์หรือทีเ่ รยี กวา่ การยกเครอ่ื ง

(Overhaul) เพอื่ จะไดท้ ำการตรวจซอ่ มและบำรงุ รกั ษา

เชงิ ปอ้ งกันหรือเปลยี่ นชนิ้ ส่วนทช่ี ำรุดออกไป เพ่ือให้

สภาพสมบูรณแ์ ละพร้อมใชง้ าน (นพดล คำมณี. 2560:

44)

[3] การทำความสะอาดพน้ื ผิวช้นิ งานจะตอ้ ง

เลอื กใช้ระบบการทำความสะอาดและสารทำความ

สะอาดที่เหมาะสมเพราะสารหรือสิ่งสกปรกตา่ ง ๆ มี

ความสามารถในการละลายไดใ้ นระดับตา่ งกนั สารบาง

ชนดิ สามารถใชน้ ้ำธรรมดาในการชำระล้างหรอื ละลาย

ออกไดเ้ ลย แตส่ ารบางชนิดก็ต้องใช้ตัวช่วยหรือบางชนดิ

NCTechEd A11-2022


การประชมุ วิชาการนาํ เสนอผลงานนกั ศกึ ษา 71

4. ผลการนำเนนิ การ NCTechED-Student Workshop 2022
ในการทำโครงการเรอ่ื งเคร่อื งล้างชนิ้ สว่ น
June 10,2022
เครือ่ งยนต์ดว้ ยระบบน้ำมันและไอนำ้ คณะผจู้ ัดทำ
โครงการไดว้ เิ คราะหข์ ้อมูลและนำเสนอผลการวเิ คราะห์ 6. อภปิ รายผลการวจิ ยั
ขอ้ มลู ตามวตั ถุประสงค์ของโครงการดงั น้ี ผลการประเมินความเหมาะสมของเครอื่ งลา้ ง

4.1 สัญลกั ษณท์ ่ใี ชใ้ นการนำเสนอผลการ ชน้ิ ส่วนเครอ่ื งยนตด์ ว้ ยระบบน้ำมนั และไอน้ำ โดยรวม
วเิ คราะหข์ อ้ มูล ทัง้ 3 ด้าน ไดแ้ ก่ ดา้ นโครงสร้างเครอื่ งลา้ งชนิ้ ส่วน
เครือ่ งยนตด์ ว้ ยระบบน้ำมนั และไอน้ำ ด้านการใชง้ าน
4.2 ผลการสร้างเคร่ืองลา้ งชิ้นส่วนเครอื่ งยนต์ ของเครื่องลา้ งชิน้ ส่วนเคร่อื งยนตด์ ้วยระบบน้ำมันและ
ด้วยระบบน้ำมันและไอนำ้ ไอนำ้ และด้านประสทิ ธิภาพของเครื่องลา้ งชิ้นสว่ น
เคร่ืองยนตด์ ว้ ยระบบน้ำมนั และไอน้ำ มีคา่ เฉลยี่ ความ
4.3 ผลการประเมนิ ความเหมาะสมของเครอ่ื ง เหมาะสมโดยรวมอยู่ในระดบั มากที่สุดทัง้ นเี้ พราะใน
ล้างช้ินสว่ นเคร่อื งยนตด์ ้วยระบบน้ำมนั และไอนำ้ ดก การสร้างมีการจัดทำอย่างมรี ะบบและมีขัน้ ตอน ผา่ นการ
ตรวจสอบและไดร้ บั คำแนะนำจากอาจารย์ทปี่ รกึ ษา
5. สรปุ ผลการวิจัย ผู้เชีย่ วชาญโดยมกี ารทดลองใชเ้ ครอื่ งล้างชน้ิ ส่วน
5.1 ผลการสร้างเคร่ืองลา้ งชนิ้ สว่ นเครือ่ งยนต์ เครอื่ งยนต์ด้วยระบบนำ้ มันและไอน้ำ เพอ่ื นำขอ้ บกพร่อง
มาปรบั ปรงุ แก้ไขตอ่ ไป ในด้านโครงสร้างเครื่องลา้ ง
ดว้ ยระบบน้ำมนั และไอน้ำ จำนวน 1 เครอื่ ง เพอื่ ใหช้ า่ ง ช้นิ ส่วนเครอ่ื งยนตด์ ว้ ยระบบนำ้ มนั และไอนำ้ นนั้ มี
ผูป้ ฏบิ ตั ิงานไดม้ เี คร่ืองล้างชนิ้ ส่วนเครือ่ งยนตด์ ว้ ยระบบ ค่าเฉลยี่ อยใู่ นระดบั มากทีส่ ุด (x̅ = 4.33, S.D. =0.28) มี
น้ำมนั และไอนำ้ เอาไวผ้ ่อนแรงและลดระยะเวลาทำงาน ความแขง็ แรงและเหมาะสมตอ่ การตดิ ตัง้ อปุ กรณ์เครือ่ ง
ประกอบดว้ ยอปุ กรณต์ า่ งๆ ดังนี้ โครงสรา้ ง ปม๊ั นำ้ หอย ล้างชน้ิ ส่วนเคร่ืองยนต์ดว้ ยระบบนำ้ มันและไอน้ำ และ
โขง่ แผงวงจรเครอ่ื งล้างไอนำ้ การประกอบมคี วามมั่นคงแข็งแรง เหมาะแก่การใชง้ าน

5.2 ผลการประเมนิ เคร่อื งล้างชิ้นส่วนเครอ่ื งยนต์ ในด้านการใช้งานของเครื่องล้างช้ินส่วน
ด้วยระบบน้ำมันและไอน้ำ โดยผเู้ ชี่ยวชาญจำนวน 3 คน เครื่องยนต์ดว้ ยระบบน้ำมันและไอนำ้ มคี า่ เฉลย่ี อยใู่ น
มีค่าเฉลย่ี โดยรวมอยู่ในระดบั มากทสี่ ดุ ระดับมากทส่ี ุด ( x̅ = 4.00, S.D. =0.54) สามารถแสดง
(x̅ = 4.27, S.D. =0.15) จำแนกรายด้านพบว่าโดยรวมทั้ง การทำงานของเคร่อื งลา้ งชนิ้ ส่วนเครื่องยนต์ด้วยระบบ
3 ด้าน มคี า่ เฉลยี่ ด้านโครงสรา้ งเครือ่ งล้างช้นิ สว่ น นำ้ มันและไอน้ำ ไดอ้ ย่างชัดเจนเขา้ ใจง่ายข้ันตอนการใช้
เครอ่ื งยนต์ด้วยระบบนำ้ มนั และไอน้ำ มคี า่ เฉลีย่ อยูใ่ น งานสะดวกไม่ซบั ซอ้ น สะดวกในการเคลื่อนย้าย สะดวก
ระดับมากทสี่ ุด (x̅ = 4.33, S.D. =0.28) ดา้ นการใช้งาน ต่อการเกบ็ บำรงุ รักษา และมีความปลอดภยั ตอ่ ผ้ใู ช้
ของเคร่อื งลา้ งชิน้ สว่ นเครอ่ื งยนตด์ ้วยระบบน้ำมนั และ
ไอนำ้ มคี า่ เฉลีย่ อยใู่ นระดับมาก( x̅ = 4.00, S.D. =0.54) ในด้านประสิทธิภาพของเครอื่ งลา้ งชิน้ สว่ น
ด้านประสทิ ธภิ าพของเครอื่ งล้างชิน้ สว่ นเครอื่ งยนตด์ ้วย เครอื่ งยนตด์ ้วยระบบนำ้ มนั และไอน้ำ มคี า่ เฉล่ยี อยใู่ น
ระบบน้ำมนั และไอนำ้ มีคา่ เฉลีย่ อยใู่ นระดบั มากที่สุด ระดับมากทส่ี ดุ (x̅ = 4.50, S.D. =0.57) สามารถนำไปใช้
(x̅ = 4.50, S.D. =0.57) ตามลำดับ และผลการประเมิน ในการลา้ งชิ้นส่วนเครอื่ งยนตใ์ นการทำงานของชา่ ง
ความเหมาะสมของเครอ่ื งลา้ งชิ้นสว่ นเครื่องยนตด์ ้วย ผ้ปู ฏบิ ตั ิงานได้ ทงั้ นเ้ี พราะในการสร้างมีการจดั ทำอย่างมี
ระบบนำ้ มันและไอนำ้ พบวา่ มคี วามเหมาะสมทจี่ ะนำไป ระบบและมีขน้ั ตอนผา่ นการตรวจสอบและได้รบั
ทำความสะอาดชิน้ สว่ นเครื่องยนตแ์ ละสามารถใช้งานได้ คำแนะนำจากอาจารยท์ ี่ปรึกษา ผู้เชย่ี วชาญ โดยมีการ
เปน็ ไปตามสมมตฐิ านที่ต้งั ไว้ ทดลองใช้ นำผลมาปรบั ปรงุ แก้ไขทำให้ได้เคร่ืองล้าง
ชิ้นส่วนเคร่อื งยนต์ดว้ ยระบบนำ้ มันและไอน้ำ ทเ่ี หมาะ
สำหรับใชง้ านตอ่ ไป

NCTechEd A11-2022


การประชุมวชิ าการนาํ เสนอผลงานนักศกึ ษา [4] พศิ สมยั เลิศวัฒนะพงษ์ชยั . (2559). นำ้ มนั เบนซิน
72 NCTechED-Student Workshop 2022 ไร้สารตะกวั่ . วารสารกรมวทิ ยาศาสตรบ์ รกิ าร.
(สืบคน้ เมอื่ 20 กรกฏาคม 2564). แหล่งท่ีมา :
June 10,2022 https://www.autoinfo.co.th/article/2705/.

7.ขอ้ เสนอแนะ
จากการสรา้ งเครอ่ื งล้างชนิ้ ส่วนเคร่ืองยนต์ด้วย

ระบบนำ้ มนั และไอนำ้ คณะผ้วู จิ ยั มีขอ้ เสนอแนะจากการ
วจิ ยั ดงั นี้

7.1 ขอ้ เสนอแนะจากการวจิ ัย จากการวจิ ัยพบว่า
ถา้ ต้องการให้เคร่อื งล้างชิ้นส่วนเครอื่ งยนตด์ ว้ ยระบบ
น้ำมันและไอนำ้ มีประสิทธภิ าพสูง จนสามารถนำไปใช้
งานไดต้ ามเกณฑท์ ่กี ำหนด สงิ่ ท่คี วรทำคือ

7.1.1 ผใู้ ช้ ก่อนนำไปใชง้ านต้องทำความ
เขา้ ใจเนื้อหาและวธิ ีการใช้งานเปน็ อย่างดกี ่อนนำไปใช้

7.2 ข้อเสนอแนะเพือ่ การวิจยั ครงั้ ตอ่ ไป
7.2.1 ควรนำเคร่อื งลา้ งช้นิ สว่ นเคร่ืองยนต์

ดว้ ยระบบน้ำมันและไอนำ้ ไปพฒั นาเพอื่ ใหเ้ ครอื่ งล้าง
ชน้ิ สว่ นเครอื่ งยนตด์ ว้ ยระบบน้ำมนั และไอนำ้
มีประสทิ ธิภาพยงิ่ ข้ึน

7.2.2 ควรจะมกี ารสร้างและหาประสทิ ธภิ าพของ
เครอ่ื งล้างชิน้ ส่วนเครอื่ งยนต์ด้วยระบบน้ำมนั และไอน้ำ
อ่นื ๆ อีกเพอื่ ประโยชนใ์ นการพฒั นาการใชง้ านต่อไป

เอกสารอ้างองิ
[1] กรมการขนส่งทางบก. (2563). จำนวนรถทีจ่ ด

ทะเบียนสะสมถงึ วันท่ี 31 ธันวาคม 2563 (สืบคน้
เมอื่ วนั ท่ี 25 พฤษภาคม 2564). แหลง่ ที่มา :
http://apps.dlt.go.th/statistics_web/statistics.
[2] เฉลิมศกั ดิ์ มไี พบรู ณ์. (2558). งานเครอื่ งยนต์
เบ้อื งต้น. (สบื ค้นเม่ือ 15 กรกฎาคม 2564)..
แหลง่ ที่มา : https://sites.google.com/site/khrun
[3] อนุพงษ์ ประสพศรี. (2559). เคร่อื งลา้ งทำความ
สะอาดแผงเดนเซอร์. (ออนไลน์). (สบื ค้นเมอ่ื 15
สงิ หาคม 2564). แหล่งที่มา :
http://www.icebusiness.net/product/22/.
xngsxnkherux/.

NCTechEd A11-2022


การประชมุ วชิ าการนําเสนอผลงานนกั ศึกษา 73

NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

เครื่องมือพเิ ศษถอดประกอบเกยี ร์อตั โนมตั ิ

ธนวตั ร คาํ มุงคณุ ¹* และ สรรเสริญ ศรีส่วย²
บทคดั ย่อ

โครงการวิจยั น้ีมีวตั ถปุ ระสงคเ์ พือ่ สร้างและประเมินความเหมาะสมเคร่ืองมือพิเศษถอดประกอบเกียร์อตั โนมตั ิ
ดาํ เนินการออกแบบและสร้างชดุ ฝึกทดลองและปรบั ปรุงแกไ้ ข กลมุ่ ตวั อยา่ งคืออาจารยผ์ สู้ อน 3 คนเคร่ืองมือที่ใช้
ไดแ้ ก่ ในการประเมินไดแ้ ก่ คา่ เฉลี่ยและส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน

ผลวิจยั พบว่า เคร่ืองมือพิเศษถอดประกอบเกียร์อตั โนมตั ิ สร้างข้ึนมีลกั ษณะเป็ นเหลก็ สาํ หรับถอดประกอบเกียร์
อตั โนมตั ิ เครื่องมือพิเศษดูดปั๊มน้าํ มนั ไฮดรอลิค เคร่ืองมือพิเศษถอดประกอบชุดเบรคเกียร์ถอยหลงั และเกียร์ CVT
เครื่องมือพิเศษถอดประกอบชดุ เบรคเกียร์1 และเกียร์ถอยหลงั CVT

เคร่ืองมือพิเศษถอดประกอบเกียร์อตั โนมตั ิ โดยผูเ้ ช่ียวชาญจํานวน 3 คน มีค่าเฉล่ียโดยรวมอยู่ในระดับมาก
(x�= 4.60 S.D. = 0.16) จาํ แนกรายดา้ นพบว่าโดยรวมท้งั 3 ดา้ น ตามวตั ถุประสงคด์ า้ นโครงสร้างของเคร่ืองมือพิเศษ
ถอดประกอบเกียร์อตั โนมตั ิ โดยผเู้ ชี่ยวชาญ 3 คน เมื่อพิจารณาเป็ นรายดา้ น พบว่า คุณภาพดา้ นโครงสร้างมีค่าเฉล่ีย
โดยรวมอยใู่ นระดบั มาก (x�= 4.58, S.D. = 0.28) ด้านการใช้งาน มีค่าเฉล่ียโดยรวมอยูใ่ นระดบั มากท่ีสุด (x�= 4.46,
S.D. = 0.00) ดา้ นประสิทธิภาพ มีคา่ เฉล่ียโดยรวมอยใู่ นระดบั มาก(x�= 4.78, S.D. = 0.28)
คาํ สําคญั : เครื่องมือพิเศษถอดประกอบเกียร์อตั โนมตั ิ เหลก็ น็อต สกรู บูท

*12สาขาวิชาเทคโนโลยีเคร่ืองกล วิทยาลยั เทคนิคอุดรธานี สถาบนั การอาชีวศึกษาภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ 1 จังหวดั อุดรธานี 41000
*ธนวตั ร คาํ มงุ คณุ โทร + 6642023390 อีเมล ; [email protected]


การประชุมวชิ าการนําเสนอผลงานนักศกึ ษา
74 NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

SPECIAL TOOL AUTOMATIC GEARBOX DISASSEMBLY

Thanawat khammungkhun¹* and Sanrasern Srusuai²
Abstract

This research project aims to create and assess the suitability of special tools for disassembling automatic
transmissions. Proceed to design and build a series of experiments and improvements. The sample group was 3
teachers. The tools used in the assessment were: Mean and Standard Deviation

The research found that special tools for disassembling the automatic transmission Built to look like a steel for
disassembling the automatic transmission. Special tool to suck hydraulic oil pump. Special tool to disassemble the
brake unit, reverse gear and CVT gear Special tool to disassemble the brake unit, gear 1 and CVT reverse gear.

Special tool for disassembling automatic transmission Of the 3 experts, the overall average was at a high level
(x� = 4.60 S.D. = 0.16). Classified by aspects, it was found that by including 3 aspects, according to the structural
objectives of special automatic transmission disassembly tools. By 3 experts, when considering each aspect, it
was found that the structural quality The overall average was at a high level (x� = 4.58, S.D. = 0.28). The overall
average was at the highest level (x� = 4.46, S.D. = 0.00) in terms of efficiency. The overall mean was at a high
level (x� = 4.78, S.D. = 0.28).

*12Mechanical Technology Udonthani Technical College Institute of Vocational Education :
Northeastern region 1 Udonthani Province 41000
*Thanawat khammungkhun Tel: +6642023390 E-mail ; [email protected]


การประชมุ วิชาการนําเสนอผลงานนักศกึ ษา 75

NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

1. บทนํา อตั โนมตั ิ ซ่ึงเกียร์จะเปล่ียนเป็นเกียร์สูงหรือเกียร์ต่าํ ได้
ปั จจุบันบ ริ ษัทผู้ผลิ ตรถยนต์ได้นําเอาเกี ยร์ อ ย่าง เห มาะ ส ม กับ ค ว าม เร็ ว ร ถ ย น ต์แ ล ะ ภาร ะ ข อ ง
เครื่องยนต์ได้โดยอตั โนมตั ิตามสภาพการขบั ข่ี โดย
อตั โนมตั ิมาติดต้งั ในรถยนตน์ ั่งเพ่ิมมากข้ึน เพ่ือให้ผู้ อาศยั น้าํ มนั ไฮดรอลิกเป็นตวั กลางในการส่งถ่ายกาํ ลงั
ขบั ข่ีสะดวกสบายในการใชง้ าน ลดความเมื่อยลา้ ขณะ งานทาํ ให้การเปลี่ยนเกียร์เป็ นไปอยา่ งราบเรียบ และ
ขับขี่ลงได้ เน่ืองจากสภาพการจราจรท่ีหนาแน่น นิ่มนวล ไม่มีอาการกระตุก (พุทธ ธรรมสุนา,2563 :
ติดขดั จากปริ มาณรถยนต์ท่ีเพิ่มข้ึนในปัจจุบนั เกียร์ 3) อยา่ งไรกต็ ามเม่ือเกียร์อตั โนมตั ิใชบ้ ริเวณผนงั
อตั โนมตั ิ (Automatic transmission) เป็ นชุดส่งกําลงั
งานไปนาน ๆ ยอ่ มมีการสึกหรอเกิดข้ึนตามอายกุ ารใช้ ดา้ นในของเส้ือคลตั ช์หรือผนังดา้ นในของเส้ือเกียร์
งานเช่นการส่งกําลงั ลื่น รถออกตัวล่าช้า ไม่มีกําลัง เป็ นตน้ ส่งผลให้กาํ ลงั น้าํ มนั ไฮดรอลิกเกิดการร่ัวซึม
เกียร์มีอาการกระตุก หรือมีเสียงดงั ขณะขบั ขี่ น้าํ มนั เกิดข้ึนได้ ทาํ ใหเ้ กิดการชาํ รุดเสียหายและเสียคา่ ใชจ้ ่าย
เกียร์มีกล่ินเหม็นไหม้ เป็ นตน้ ดงั น้ันจึงจาํ เป็ นตอ้ งมี สู งต ามมา ใน ขณ ะเดี ยวกัน เกี ยร์ อัตโนมัติ ก็ มี
การตรวจซ่อมและบริ การเกียร์อัตโนมัติให้อยู่ใน หลากหลายรุ่น/แบบนํามาซ่ึงความต้องการจําเป็ น
สภาพปกติพร้อมใชง้ านโดยใชเ้ คร่ืองมือทว่ั ไปและ เครื่ องมื อพิ เศษถอดป ระกอบ เกี ยร์ อัตโนมัติ ที่
เคร่ื องมือพิเศษ ในการบริ การถอด ประกอบเกียร์ หลากหลายรุ่น/แบบตามไปดว้ ย
อตั โนมตั ิเพื่อป้องกนั การเสียหายของชิ้นส่วนจากการ
ตรวจซ่อมและบริการ จากสภาพปัญหาดงั กล่าวน้ี คณะผวู้ ิจยั จึงมีแนวคิด
ที่จะสร้างเคร่ืองมือพิเศษถอด ประกอบเกียร์อตั โนมตั ิ
จากสภาพปัญหาการจดั การเรียนการสอนรายวิชา ข้ึนเพ่ือนํามาใช้ในการถอด ประกอบชิ้นส่วนเกียร์
งานเกียร์อัตโนมัติ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ อตั โนมตั ิ เพื่อป้องกนั ไม่ให้ช้ินส่วนเกียร์อตั โนมตั ิเกิด
ช้นั สูง (ปวส.) พ.ศ. 2563 พบว่าแผนกวิชาช่างยนต์ การชํารุ ดเสี ยหาย ทําให้การปฏิบัติงานเกิดความ
วิทยาลยั เทคนิคอุดรธานี ไม่มีเคร่ื องมือพิเศษถอด สะดวก และรวดเร็ ว และประหยัดเวลาในการ
ประกอบเกียร์อตั โนมตั ิ ซ่ึงบ่อยคร้ังมีการใชเ้ คร่ืองมือ ปฏิบัติงาน นอกจากน้ีเคร่ืองมือพิเศษถอดประกอบ
ท่ัวไปแทนเคร่ื องมือพิเศษในการถอดประกอบ เกียร์อตั โนมตั ิที่สร้างข้ึนสามารถพฒั นานาํ สู่การผลิต
ชิ้นส่วนภายในเกียร์อตั โนมตั ิ เช่นการถอด ประกอบ และจาํ หน่ายในเชิงพาณิชยต์ ่อไป
ชุดอุปกรณ์ทาํ งาน (Actuator) ซ่ึงเป็ นชุดลูกสูบคลตั ช์
ชุ ด ลู ก สู บ เบ ร ก ซ่ ึ ง มี จําน ว น ห ล าย ชุด ข้ึ น อ ยู่กับ ก าร 2. วตั ถุประสงค์การวจิ ยั
ออกแบบของบริษทั ผูผ้ ลิต เช่น 2-3 ชุดสําหรับเกียร์ 2.1 เพื่อสร้างเคร่ื องมือพิเศษถอดประกอบเกียร์
อตั โนมตั ิแบบ 3-4 ความเร็วเป็ นต้น ซ่ึงบ่อยคร้ังพบ
ปัญหาคือนกั ศึกษาใช้ไขควงแบนกดแป้นรองสปริง อตั โนมตั ิ
เพื่อถอดแหวนลอ็ กและถอดลูกสูบคลตั ชอ์ อกจากเส้ือ 2.2 เพื่อประเมินความเหมาะสมของเครื่ องมือ
คลัตช์รวมท้ังใชไ้ ขควงแบนกดแป้นรองสปริงเพ่ือ
ถอดลูกสูบเบรกออกจากเส้ือเกียร์ เป็ นตน้ ทาํ ให้เกิด พิเศษถอดประกอบเกียร์อตั โนมตั ิ
การชาํ รุดเสียหายของแป้นรองสปริงของชดุ คลตั ชแ์ ละ 2.3 เพ่ือหาประสิทธิภาพการใชง้ านเคร่ืองมือพิเศษ
ชดุ เบรกของเกียร์อตั โนมตั ิ รวมท้งั อาจเกิดการเป็นรอย
ถอดประกอบเกียร์อตั โนมตั ิ


การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานนกั ศกึ ษา 5.4 ศึกษารายละเอียดของการติดต้งั อุปกรณ์
76 NCTechED-Student Workshop 2022 ตา่ ง ๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั การทาํ งานเพ่ือให้การทาํ งาน
มีประสิทธิภาพมากท่ีสุด
June 10,2022
5.5 ศึกษารายการวสั ดุและราคาท่ีต้องใช้ในการ
3. สมมุตฐิ านการวจิ ยั ดาํ เนินการสร้างเคร่ื องมือพิเศษถอดประกอบเกียร์
3.1 เคร่ืองมือพิเศษถอดประกอบเกียร์อตั โนมัติ อตั โนมตั ิ

สามารถใชง้ านไดต้ ามวตั ถปุ ระสงค์ 5.6 รวบรวมรายการวสั ดุและอุปกรณ์ต่าง ๆ เพื่อ
เตรียมจดั ซ้ือวสั ดุและอปุ กรณ์ตา่ งๆ
4. ขอบเขตการวิจยั
4.1 ดา้ นกลมุ่ ประชากร 5.7 นาํ ขอ้ มูลท่ีไดจ้ ากการรวบรวมท้งั หมดมาศึกษา
4.1.1 อาจารยแ์ ผนกวิชาช่างยนตท์ ่ีมี และเรียบเรียง

ประสบการณ์ดา้ นการสอนอยา่ งนอ้ ย 5-10 ปี 5.8 ดาํ เนินการสร้างเคร่ืองมือพิเศษถอดประกอบ
วิทยาลยั เทคนิคอุดรธานี เกียร์อตั โนมตั ิ

4.2 กลุ่มตวั อยา่ ง 5.9 วิเคราะห์ปัญหาตา่ งๆที่เกิดข้ึน
4.2.1 ดา้ นกลมุ่ ตวั อยา่ งอาจารยแ์ ผนกช่างยนต์ 5.10 สรุปและประเมินผลที่ไดจ้ ากการดาํ เนิน
โครงการตามวตั ถปุ ระสงคแ์ ละขอบเขตของโครงการ
ท่ีมีประสบการณ์สอน 5-10 ปี จาํ นวน 3 คน โดยการ เคร่ืองมือพิเศษถอดประกอบเกียร์อตั โนมตั ิ
สุ่มโดยง่าย
6. ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล
4.3 ระยะเวลาการดําเนินงาน เดือนมิถุนายน - การนาํ เสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลและการแปลผล
เดือนกนั ยายน 2564
การวิเคราะห์ข้อมูลของการศึกษาค้นคว้าและวิจัย
4.4 สถานที่แผนกชา่ งยนต์ วิทยาลยั เทคนิค คร้ังน้ี ผวู้ ิจยั ไดว้ ิเคราะห์และนาํ เสนอในรูปแบบของ
อุดรธานี ตารางประกอบคาํ อธิบายโดยเรียงลาํ ดบั หวั ขอ้ เป็น

4.5 ตวั แปรตน้ เคร่ืองมือพิเศษถอดประกอบเกียร์ ตารางที่ 1 สรุปผลการประเมินการทาํ งาน
อตั โนมตั ิ โครงสร้างของเคร่ืองมอื พเิ ศษถอด
ประกอบเกียร์อตั โนมตั ิ
4.6 ตวั แปรตาม ผลการออกแบบและสร้าง
เคร่ืองมือพิเศษถอดประกอบเกียร์อตั โนมตั ิและผลการ
ประเมินความเหมาะสมของเคร่ื องมือพิเศษถอด
ประกอบเกียร์อตั โนมตั ิ

5. วธิ ีดาํ เนินการวจิ ยั
5.1 กาํ หนดหวั ขอ้ และวางแผนการทาํ โครงการ
5.2 ศึกษาทฤษฎีท่ีเกี่ยวขอ้ งกับการออกแบบและ

สร้างเคร่ืองมือพิเศษถอดประกอบเกียร์อตั โนมตั ิ
5.3 ศึกษาข้อมูลและหลักการทํางานออกแบบ

รูปร่างชิ้นส่วน


การประชมุ วิชาการนําเสนอผลงานนักศกึ ษา 77

NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

21 จากตารางที่ 1 21สรุปผลรวมการประเมิน ตารางที่ 3 ผลการประเมนิ ความเหมาะสมของ
การทาํ งานของเคร่ืองมือพิเศษถอดประกอบเกียร์ ครูผเู้ ชี่ยวชาญ ดา้ นการใชง้ านของ
อตั โนมตั ิโดยผเู้ ชี่ยวชาญ 3 ดา้ น พบวา่ โดยรวมคา่ เฉล่ีย เครื่องมอื พเิ ศษถอดประกอบเกียร์อตั โนมตั ิ
อยใู่ นระดบั มากที่สุด (x�= 4.60, S.D. = 0.16) พิจารณา
รายดา้ น ดา้ นโครงสร้างคา่ เฉลี่ยอยใู่ นระดบั มากท่สี ุด จากตารางที่ 3 พบว่าผลการประเมินก็เหมาะสม ดา้ น
(x�=4.58, S.D. = 0.28) ดา้ นการใชง้ านค่าเฉลี่ยอยใู่ น โครงสร้างเคร่ืองมือพเิ ศษถอดประกอบเกียร์อตั โนมตั ิ
ระดบั มากที่สุด (x�= 4.46, S.D. = 0.00) โดยผปู้ ระเมินจาํ นวน 3 คน โดยมีคา่ เฉลี่ยอยใู่ นระดบั
ดา้ นประสิทธิภาพค่าเฉล่ียอยใู่ นระดบั มากที่สุด มาก (x�=4.46,S.D.=0.00) รายขอ้ พบวา่ เป็นอปุ กรณ์ที่
(x�= 4.78, S.D. = 0.08) ตามลาํ ดบั ช่วยอาํ นวยความสะดวกในการทาํ งานมีความแขง็ แรง
ตารางท่ี 2 ผลการประเมินความเหมาะสมของ เหมาะสมมีค่าเฉลี่ยอยใู่ นระดบั มาก (x�=4.67,
S.D.=0.57) รองลงมาคือหาประสิทธิภาพและลด
ครูผเู้ ชี่ยวชาญ ดา้ นโครงสร้างของเครื่องมอื ตน้ ทนุ (x�=4.66,S.D.=0.57) สามารถถอดประกอบ
พิเศษถอดประกอบเกียร์อตั โนมตั ิ เกียร์อตั โนมตั ิไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพมีคา่ เฉล่ียอยใู่ น
ระดบั มาก (x�=4.33, S.D.=0.57) รองลงเพิ่มความ
จากตารางท่ี 2 ผลการประเมินความเหมาะสมของ ปลอดภยั ในการทาํ งานมีความเหมาะสมมีค่าเฉล่ียอยู่
ครูผเู้ ช่ียวชาญดา้ นโครงสร้างของเคร่ืองมือพิเศษถอด ในระดบั มาก (x�=4.33,S.D.=0.57) และ ลดระยะเวลา
ประกอบเกียร์อตั โนมตั ิตามความคิดเห็นของ ในการปฏิบตั ิงานมีความเหมาะสมมีค่าเฉล่ียอยใู่ น
ผเู้ ชี่ยวชาญท้งั 3 คน โดยภาพรวม พบว่ามีค่าเฉล่ียอยู่ ระดบั มาก (x�=4.33,S.D.=0.57) ตามลาํ ดบั
ในระดบั มาก (x�=4.58, S.D.= 0.28) ในรายดา้ นพบวา่
ดา้ นโครงสร้างเครื่องมือพิเศษถอดประกอบเกียร์ ตารางท่ี 4 ผลการประเมินความเหมาะสมของ
อตั โนมตั ิมีคา่ เฉล่ียอยใู่ นระดบั มาก (x�=5.00, ครูผเู้ ช่ียวชาญ ดา้ นประสิทธิภาพของเครื่องมอื
S.D.= 0.00) ความเหมาะสมของโครงสร้างท่ีนาํ มาใช้ พเิ ศษถอดประกอบเกียร์อตั โนมตั ิ
มีคา่ เฉล่ียอยใู่ นระดบั มาก (x�=4.67, S.D.= 0.57)
รองลงมา คือ ลดระยะเวลาในการถอดประกอบเกียร์
อตั โนมตั ิ มีค่าเฉลี่ยอยใู่ นระดบั มาก (x�=4.33,
S.D.= 0.57) และ ความเหมาะสมของโครงสร้าง
ท่ีนาํ มาใช้ (x�=4.33, S.D.= 0.57) ตามลาํ ดบั


Click to View FlipBook Version