The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประชุมวิชาการการนำเสนอผลงาน ณ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) Engineering Education and Blended Learning to the NEXT-GENeration June 9-10, 2022

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ประชุมวิชาการการนำเสนอผลงาน ณ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) Engineering Education and Blended Learning to the NEXT-GENeration June 9-10, 2022

ประชุมวิชาการการนำเสนอผลงาน ณ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) Engineering Education and Blended Learning to the NEXT-GENeration June 9-10, 2022

Keywords: ประชุมวิชาการการนำเสนอผลงาน ณ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) Engineering Education and Blended Learning to the NEXT-GENeration June 9-10, 2022

การประชมุ วิชาการนําเสนอผลงานนักศึกษา 5. อภปิ รายผล
628 NCTechED-Student Workshop 2022 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูลเก่ียวกับความพึงพอใจที่

June 10,2022 มีต่อเว็บไซต์สินค้าโอท็อป อำเภอเมืองหนองคาย
จังหวัดหนองคาย จากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 169 คน
4. ผลการดำเนนิ โครงการ พบวา่ ระดับความพงึ พอใจในภาพรวมอยู่ในระดับมาก
การพัฒนาเว็บไซต์ขายสินค้าโอท๊อปอำเภอ ท่ีสุด (x̅= 4.58 , S.D. =0.62) เม่ือพิจารณารายด้าน
พบว่าด้านที่มีค่าความพึงพอใจมากที่สุด คือ ด้านการ
เมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย ได้มีการศึกษาความ อ อ ก แ บ บ แ ล ะ ก า ร จั ด รู ป แ บ บ เว็ บ ไ ซ ต์ แ ล ะ ด้ า น
พึงพอใจท่ีมีต่อการใช้บริการเว็บไซต์ขายสินค้าโอท๊ ประโยชน์ที่นำไปใช้ (x̅= 4.62 , S.D. =0.60)
อปอำเภอเมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย โดยการ รองลงมาคือด้านลักษณะทั่วไปของเว็บ (x̅= 4.59 ,
แจกแบบสอบถามความพึงพอใจให้กับกลุ่มตัวอย่าง S.D. =0.62) และดา้ นท่นี ้อยทส่ี ุด คอื ด้านประสทิ ธภิ าพ
คือกลุ่มบุคคลท่ัวไปทุกสาขาวิชาชีพ จำนวน 169 คน การขายออนไลน์ (x̅= 4.49 , S.D. =0.61)
โดยการใช้การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบสุ่มอย่างง่ายเพ่ือ
ศกึ ษาความพงึ พอใจของเว็บไซต์ ผลการศึกษามดี งั น้ี ก า ร จั ด ท ำ เว็ บ ไ ซ ต์ ร ะ บ บ ก า ร ส่ั ง ซ้ื อ สิ น ค้ า
โอท็อป อำเภอเมืองหนองคาย จงั หวัดหนองคาย
4.1 การพัฒนาเวบ็ ไซต์ ร ะ บ บ ก า ร ส่ั ง ซื้ อ สืบเนื่องมาจาก โครงการหน่ึงตำบลหน่ึงผลิตภัณฑ์
สินค้า โอท็อป อำเภอเมืองหนองคาย จังหวัด ของอำเภอเมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย ยังไม่มี
หนองคาย มีความสามารถในด้านสมัครสมาชิก เว็บไซต์เพื่อให้บริการในการส่ังช้ือสินค้าออนไลน์
ตรวจสอบจำนวนผู้เข้าใช้งานหรือชมเว็บไซต์ การ ให้กับลูกค้าท่ีสนใจในประเทศและต่างประเทศ จาก
เลื อ ก ห ม ว ด ห มู่ สิ น ค้ า เช่ น สิ น ค้ า ป ร ะ เภ ท อ า ห า ร , ปัญหาดังกล่าว ดังนั้น คณะผู้จัดทำโครงการจึงเกิด
เครื่องด่ืม,ผ้าและเครื่องแต่งการ,ของใช้ของท่ีระลึก แนวคิดพัฒนาเว็บไซต์น้ีขึ้นมาเพอ่ื ช่วยประชาสัมพันธ์
,สมุนไพร การส่งั ซื้อสินค้า คำนวณค่าสินค้าตอ่ จำนวน ข่าวสารของสินค้าโอท็อปอำเภอเมืองหนองคาย
เพ่ิม-ลดที่อยู่การจัดส่งสินค้า รวมไปถึงระบบแจ้งการ จังหวัดหนองคาย ส่งเสริมการตลาดสินค้าให้สินค้า
ชำระเงินเพ่ือตรวจสอบการดำเนินการชำระเงินและ เป็นท่ียอมรับของลูกค้าแก่ผู้ท่ีสนใจในสินค้าและเพ่ิม
จัดส่งสินค้า ความสะดวก รวดเร็วในการส่ังซื้อสินค้า ตรวจสอบ
สนิ ค้า ตรวจสอบราคาสนิ คา้ ผ่านทางเว็บไซต์โดยมีชื่อ
4.2 ข้อมลู ส่วนตัวของผู้ตอบแบบสอบถามและ เว็บไซต์ https://www.prokpo62.com ด้วยโปรแกรม
ความพึงพอใจต่อเว็บไซต์ขายสินค้า โอท็อปอำเภอ Xampp, โปรแกรม Joomla 3.9.23,โปรแกรมAdobe
เมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย ส่วนใหญ่เป็นเพศ Photoshop สอดคล้องกับงานวิจัยของพงศกร ปาลกะ
หญิง จำนวน 120 คน คิดเป็นร้อยละ 71.00 และเป็น วงศ์ ณ อยุธยา (2559) ได้ศึกษาเร่ืองการรับรู้ถึงความ
เพศชาย จำนวน 49 คน คดิ เป็นร้อยละ 29.00 สว่ นมาก เสี่ยงเคร่ืองหมายรับรองความน่าเช่ือถือและเครือข่าย
มอี ายุอยใู่ นช่วง 40 ปีข้ึนไป จำนวน 62 คน คิดเป็นร้อย สังคมออนไลน์ที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อ สินค้าผ่าน
ละ 37.00 ส่วนอาชีพ ค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว จำนวน 78 สื่ อ อิ เล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ ข อ ง ผู้ บ ริ โ ภ ค ใ น เข ต
คน คิดเป็นร้อยละ 46.00 ระดับการศึกษาส่วนมากอยู่ กรุงเทพมหานคร เคร่ืองมือในการค้นควา้ งานวิจัยคร้ัง
ในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง จำนวน 58 คน
คดิ เปน็ รอ้ ยละ 34.00

NCTechEd D01-2022


น้ี คือ เว็บไซต์ระบบการสั่งซื้อสินค้าโอท็อป อำเภอ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานนักศึกษา
เมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย และแบบสอบถาม NCTechED-Student Workshop 2022 629
ความพึงพอใจท่ีมต่อการใช้เว็บไซต์ระบบการส่ังซ้ือ
สินค้าโอท็อป อำเภอเมืองหนองคาย จงั หวัดหนองคาย June 10,2022
ท่ีใช้งานจริง โดยขอบเขตการวิจัยในคร้ังนี้มีกลุ่ม
ประชากรและกลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการศึกษาค้นคว้า ทดสอบ เผยแพร่และส่งเสริมให้เป็นที่รู้จักดูแลและ
และกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า ได้แก่ ปรับปรงุ ตอ่ เนอื่ งของเราด้วย
ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียน นักศึกษา
พนักงาน เจ้าหน้าท่ี คนทำมาค้าขาย และคนทำธุรกิจ 6. ขอ้ เสนอแนะ
ส่ วน ตัว จำน วน 169 คน กลุ่มตั วอย่างท่ี ใช้ ใน ผลจากการวิจัยเว็บไซต์ขายสินค้าโอท็อปน์อำเภอ
การศึกษาค้นคว้าคร้ังน้ี ได้แก่ นักเรียน นักศึกษา
พนักงาน เจ้าหน้าท่ี คนทำมาค้าขาย และคนทำธุรกิจ เมอื งหนองคาย จังหวัดหนองคาย ทำใหท้ ราบความพึง
สว่ นตวั เลอื กแบบสุม่ อย่างงา่ ย พอใจของผู้ใช้งานในด้านต่างๆ ตลอดงานความ
ต้องการของผู้ใช้งาน ซ่ึงเป็นประโยชน์ต่อลูกค้าที่มา
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลท่ัวไปเก่ียวกับความพึง ใช้บริการ โดยผ้ตู อบแบบสอบถามมขี อ้ เสนอแนะดังนี้
พอใจที่มีต่อเว็บไซต์สินค้าโอท็อป อำเภอเมือง
หนองคาย จังหวัดหนองคาย จากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 6.1 จากผลการศึกษาพบว่าเว็บไซต์ขายสินค้าโอท็
169 คน พบว่า ระดับความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ใน อปอำเภอเมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย ควร
ระดับมากที่สุด เม่ือพิจารณารายด้านท่ีมีค่าความพึง มุ่งเน้นด้านจุดรับสินค้ามากยิ่งข้ึน เพ่ือตอบสนอง
พอใจมากท่ีสุด คือ ด้านการออกแบบและการ ความตอ้ งการของผ้บู รโิ ภคในปัจจุบัน
จัดรปู แบบเวบ็ ไซต์ อยู่ในระดับมากท่ีสุด รองลงมาคือ
ด้านประโยชน์และการนำไปใช้ อยู่ในระดับมากที่สุด 6.2 กรณีที่ผู้ศึกษาต้องการพัฒนาเว็บไชต์ท่ีมีการ
ด้านที่มีค่าความพึงพอใจน้อยที่สุด คือ ด้านลักษณะ ให้บรกิ ารควรจะศกึ ษาพฒั นา
ทั่วไปของเว็บไซต์ อยู่ในระดับมากท่ีสุด และด้าน เกย่ี วกบั เรื่องโปรโมช่ันใหห้ ลากหลายควบค่กู นั ไป
ประสิทธิภาพการขายออนไลน์ อยู่ในระดับมาก ซึ่ง
สอดคล้องกับแนวคิดการพัฒนาเว็บไซต์ท่ีนำมาเป็น 6.3 ช่วงเวลาในการเก็บแบบสอบถามควรมี
แนวทางในการกำหนดเป้าหมายและการวางแผน ระยะเวลา 6-10 เดอื น ข้นึ ไป
กำหนดวัตถุประสงค์ของเว็บไซต์ซึ่งเป็นบริการเสริม
ที่เว็บเซิร์ฟเวอร์มีให้ เช่น จำนวนผู้ชม, สถติว่าเว็บเพจ 6.4 ควรศกึ ษางานวจิ ยั ใหม้ ากขึ้นเพอื่ ให้เกิดองค์
ใดมีผู้ชมมากหรือเป็นที่นิยม, ผู้ชมและทักษะหรือ ความรใู้ นด้านงานวิจยั อยา่ งถอ่ งแท้
บุคลากรการสร้างเว็บไซต์ เช่นเน้ือหา การออกแบบ
เขียน โปรแกรม และวิเคราะห์จัดโครงสร้างข้อมูล 7. เอกสารอ้างองิ
ออกแบบเว็บเพจและเตรียมข้อมูล ลงมือสร้างและ [1] บุญชม ศรีสะอาด, (2545), “การวจิ ัยเบ้อื งต้น”
พิมพค์ ร้งั ที่ 7 , กรุงเทพฯ, สุวีริยาสาส์น.
[2] จฑุ ารตั น์ เกียรตริ ศั มี, (2558), “ปจั จัยท่ีมีผลตอ่
การซื้อสินคา้ ผา่ นทางแอพพลเิ คช่ันออนไลน์
ของผบู้ รโิ ภคในเขตกรุงเทพมหานครและ
ปรมิ ณฑล,” บรหิ ารธรุ กิจมหาบณั ฑิต
คณะพาณชิ ยศาสตรแ์ ละการบัญชี
มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์.

NCTechEd D01-2022


การประชุมวิชาการนาํ เสนอผลงานนกั ศึกษา
630 NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

[3] ชญาดา สมศักด,์ิ (2559), “ปัจจยั ส่วนประสม
ทางการตลาด (7Ps) ท่ีมีอิทธิพลต่อการ
ตัดสินใจซื้อ สินค้าย่ีห้ออิเกีย ของผู้บริโภค
ในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล,” บริหาร
ธุรกิจมหาบัณฑิต คณะพาณิชยศาสตร์และ
การบญั ชี หาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์.

[4] มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่, (2560), “แนวคิด
พาณชิ ยอ์ เิ ลก็ ทรอนิกส์,” [ออนไลน์].
http://cmuir.cmu.ac.th/bitstream/66539438
32/45837/4/CHAPTER%202.pdf
(เขา้ ถึงเมอื่ : 27 ธันวาคม 2563).

[5] อภิชัย ธิณทพั , (2562), “หลกั การออกแบบ
และพัฒนาเว็บไซต,์ ” [ออนไลน์].
https://www.gotoknow.org/posts/20739
(เข้าถงึ เม่อื : 16 สงิ หาคม 2564).

NCTechEd D01-2022


การประชุมวิชาการนาํ เสนอผลงานนกั ศกึ ษา
NCTechED-Student Workshop 2022 631

June 10,2022

การสร้างเว็บไซตส์ อ่ื การเรยี นการสอน โปรแกรม
Adobe Photoshop CS6

พิมพช์ นก บวั หลวง.1.* และ สิริยาภรณ์ สแี กว้ ต่างวงค์2

บทคัดย่อ

การจัดทาเว็บไซต์ส่ือการเรียนการสอนโปรแกรม Adobe Photoshop CS6 ในครั้งน้ี มีวัตถุประสงค์ คือ
เพ่ือพัฒนาสื่อการเรียนการสอนโปรแกรม Adobe Photoshop CS6 และเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ก่อน - หลงั ใชส้ ่อื การเรยี นการสอนโปรแกรม Adobe Photoshop CS6

การศกึ ษาครงั้ น้ขี ั้นตอนการศึกษาจะมี 2 ข้ันตอน คือ ขนั้ ตอนท่ี 1 เปรยี บเทยี บผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นกอ่ นเรียน
และหลังเรียนเว็บไซต์ส่ือการเรียนการสอนโปรแกรม Adobe Photoshop CS6 ของกลุ่มตัวอย่าง จานวน 50 คน
ขน้ั ตอนท่ี 2 การวเิ คราะห์และประเมนิ คณุ ภาพของ เวบ็ ไซต์สือ่ การเรียนการสอนการใช้โปรแกรม Adobe Photoshop
CS6 จากผู้เชี่ยวชาญ โดยคณะผู้วิจัยได้จัดทาการทดลองกับนักเรียนนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
และปริญญาตรี วิทยาลัยเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมการต่อเรือหนองคาย จานวน 50 คน เป็นนักศึกษาระดับ
ประกาศนียบัตรวชิ าชพี ชนั้ สงู ชาย 6 คน และ หญงิ 6 คน ระดบั ปรญิ ญาตรี ชาย 18 คน หญงิ 20 คน

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้ส่ือการเรียนการสอนโปรแกรม Adobe Photoshop CS6 พบว่าผลสัมฤทธ์ิของ
คะแนนทดสอบก่อนเรียนมคี ่าเฉล่ยี ร้อยละ 24.23 และผลสมั ฤทธิข์ องคะแนนหลังเรยี นมีคา่ เฉลี่ยร้อยละ 45.62 จาก
การเปรยี บเทียบผลสัมฤทธ์ิของคะแนนก่อน และหลังเรียนสื่อการเรยี นการสอนโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
พบวา่ ผ้เู รยี นมีความรู้เพ่ิมข้นึ รอ้ ยละ 45.62
คาสาคญั :,เวบ็ ไซต์, กลุม่ ตัวอยา่ ง, กราฟกิ

1,2สาขาวชิ าคอมพวิ เตอร์ธรุ กิจ วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาหนองคาย สถาบนั การอาชวี ศกึ ษาภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ 1
* สริ ิยาภรณ์ สแี กว้ ตา่ งวงค์ โทร +619127519 อีเมล; [email protected]


การประชุมวิชาการนาํ เสนอผลงานนักศึกษา
632 NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

CREATING A WEBSITE FOR TEACHING MATERIALS
ADOBE PHOTOSHOP CS6

Pimchanok Bualuang1* and Siriyaphon Seekaewtangwong2

Abstract

The objectives of this research project were to develop adobe photoshop CS6 instructional media and to
compare academic achievements of students between pretest and posttest by implementing Adobe Photoshop CS6
instructional media.

For the methodology, this project was conducted through two phases, namely Phase 1 : Comparison of
academic achievement of 50 samples between pretest and posttest by implementing adobe photoshop CS6
instructional media. Phase 2 : Analysis and evaluation of the quality of adobe photoshop CS6 instructional media
website from experts. Researchers conducted an experiment with 50 students in higher Vocational Certificate and
Bachelor's Degree of Nongkhai College of Boatbuilding Industry and Technology. They consisted of 6 male
students and 6 female students in Higher Vocational Certificate and 18 male students and 20 female students
Bachelor's Degree.

The academic achievement using teaching materials adobe photoshop CS6 showed that the score before the
test was 24.23% and after the test was 45.62%. It also showed that when comparing the score before and after
learning about Teaching materials adobe photoshop CS6, the students had increased knowledge by 45.62%.
Keywords : Website, sample, Graphic

1,2Business Computer Nongkhai Industrial And Community Education College Nongkhai Province 43000
Institute of Vocational Education : Northeastern region 1
* Siriyaphon Seekaewtangwong Tel : +619127519 e-Mail ; [email protected]

NCTechEd D02-2022


1. บทนา การประชมุ วิชาการนาํ เสนอผลงานนกั ศึกษา
ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศได้มีการพัฒนาไป NCTechED-Student Workshop 2022 633

อย่างรวดเร็วมากในขณะที่ว่าทุกคนมีโอกาสในการ June 10,2022
เข้าถึงได้ง่ายสามารถใชง้ านไดท้ ุกท่ีทกุ เวลา เหมาะแก่
การค้นคว้าหาความรู้ท่ีมีอยู่อย่างไม่จากัด บนโลก นักออกแบบ สถาปนิก และบุคคลทั่วไปท่ีสนใจงาน
อนิ เทอร์เน็ต โดยอยู่ในรูปแบบของส่อื ต่าง ๆ ทั้งเสียง ดา้ นกราฟกิ
ภาพ ตัวอักษร ด้วยวิธีทางอิเล็กทรอนิกส์ ทาให้เกิด
แหล่งความรู้มากมายหลายช่องทาง ซ่ึงโปรแกรม จากหลักการใช้งานง่าย ๆ ของ Adobe Photoshop
Adobe Photoshop เป็นโปรแกรมสาหรับสร้างและ นั้นทางคณะผู้จัดทาจึงเล็งเห็นว่าสามารถนามาใช้ใน
ตกแต่งท่ีมีช่ือเสียงและได้รับความนิยมมากท่ีสุด การสร้างสื่อการเรียนการสอน และยังสามารถนาไป
เนื่องจากคุณสมบัติเด่นที่มีมากมาย ไม่ว่าจะเป็น ต่อยอดในการสร้างอาชีพได้ จึงได้จัดทาวิจัยนี้ขึ้นมา
ความสามารถจัดการกับไฟล์สารพัดชนิดที่ใช้ในงาน โดยมีจุดประสงค์ คือ เพ่ือสร้างเว็บไซต์สาหรับ
ประเภทต่าง ๆ ทั้งภาพท่ีถ่ายจากกล้องดิจิตอล ภาพที่ การศึกษาเพื่อเพ่ิมทักษะในการใช้โปรแกรม และเพิ่ม
จะนาไปผ่านกระบวนการพิมพ์ในโรงพิมพ์และภาพ พ้ืนฐานในการใช้งาน Adobe Photoshop หรอื กค็ ือให้
วีดีโอโปรแกรมมีความสามารถเป็นเยย่ี มในการแกไ้ ข เราสามารถสร้างภาพโดยเริ่มต้นจากหน้ากระดาษ
ตกแต่งภาพ และสร้างเอฟเฟคพิเศษต่าง ๆ มีเคร่ืองมือ เปล่า ๆ เหมือนกับจิตรกรที่เขียนภาพลงบนผืนผ้าใบ
ที่มีประสิทธิภาพและความยืดหยุ่นสูง ตลอดจนมี โดยใชอ้ ุปกรณ์เครือ่ งมือตกแตง่ ใน Adobe Photoshop
ผู้ผลิตปลั๊กอิน (Plug-in) หรือโปรแกรมเสริมให้เป็น ซง่ึ จะมพี ู่กนั ดินสอและอปุ กรณ์การวาดภาพอื่น ๆ อีก
จาน วน มากจึงท าให้ Adobe Photoshop ส าม ารถ ม าก ม าย แ ล ะ ใ น ข้ั น ต อ น ก าร ว าด ภ าพ นั้ น เป็ น ก าร
ทางานต่าง ๆ ได้หลากหลายมากย่ิงข้ึน และเน่ืองจาก ทางานบนเครือ่ งคอมพิวเตอร์ท้ังหมด
โปรแกรม Adobe Photoshop เป็นสุดยอดโปรแกรม ๆ
หน่ึงทางด้านกราฟิก ท่ีถกู พัฒนามาอย่างต่อเน่ืองและ 2. วตั ถปุ ระสงคข์ อง
ยาวนาน ผู้วิจัยจึงอยากจัดการเรียนการสอนที่เน้น 2.1 เพ่ือพัฒนาส่ือการเรียนการสอนโปรแกรม
ผู้เรียนเป็นส่ิงสาคัญ โดยการกาหนดจุดหมาย สาระ
กิจกรรม แหล่งความรู้ ส่ือการเรียน และการวัด Adobe Photoshop CS6
ประเมินผลที่มุ่งพัฒนาคนและชีวิตให้เกิดประโยชน์ 2.2 เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
ต่อการเรยี นรู้อย่างเต็มที่ เพื่อใหส้ ามารถสอดคลอ้ งกับ
ความถนัด ความสนใจและความต้องการของผู้ท่ีจะ ก่อน - หลัง ใชส้ ื่อการเรียนการสอนโปรแกรม Adobe
ศึกษา Adobe Photoshop ที่ถูกออกแบบมาเพ่ือใช้งาน Photoshop CS6
ทางด้านกราฟกิ การตกแตง่ ภาพ สร้างภาพ 3 มิติ ภาพ
พาโน รามา สร้างส รรค์งาน โปสเตอร์โฆ ษณ า 3. ขอบเขตของการวิจยั
ส่ือสง่ิ พิมพ์ ปกนิตยสาร ออกแบบสินคา้ รูปภาพตา่ ง ๆ 3.1 ผู้จัดทาได้กาหนดกลุ่มประชากรและกลุ่ม
ท่ีนาไป วางบน เอกสารเว็บเพจ เห มาะสาห รับ
ตัวอยา่ ง ดงั น้ี
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง คอื นกั ศึกษาระดับ

ปวส. และ ป.ตรี วิทยาลยั เทคโนโลยแี ละอตุ สาหกรรม
การตอ่ เรอื หนองคาย จานวน 50 คน เปน็ การเลือกกลมุ่
ตวั อย่างแบบเจาะจง

NCTechEd D02-2022


การประชมุ วชิ าการนําเสนอผลงานนักศึกษา วัดผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนในเว็บไซต์ สื่อการเรียนการ
634 NCTechED-Student Workshop 2022 สอนโปรแกรม Adobe Photoshop CS6

June 10,2022 4.3.3 คณะผู้จัดทานาเสนอเวบ็ ไซต์ สื่อการเรียน
ก าร ส อ น โ ป ร แ ก ร ม Adobe Photoshop CS6 กั บ
4. วธิ ีดาเนนิ การวจิ ัย นกั เรยี นนักศึกษากลมุ่ ตัวอยา่ งให้ทดลองใช้งาน
4.1 ประชากรและกล่มุ ตัวอยา่ ง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง คอื นกั ศึกษาระดับ 4.3.4 ทาการทดสอบ หลังเรียน (Post-test)
กั บ ผู้ เรี ย น โ ด ย ใ ช้ แ บ บ ท ด ส อ บ วั ด ผ ล สั ม ฤ ท ธิ์ ชุ ด
ปวส. และ ป.ตรี วิทยาลัยเทคโนโลยีและอุตสาหกรรม เดียวกันกับการทดสอบก่อนเรียน
การต่อเรอื หนองคาย จานวน 50 คน เป็นการเลือกกล่มุ
ตัวอย่างแบบเจาะจง 4.3.5 ผู้วิจัยตรวจสอบสอบความถูกต้องของ
แบบทดสอบ และนาข้อมูลท่ีได้จากแบบทดสอบ
4.2 ในการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ทางคณะผู้จัดทาได้ มาวเิ คราะห์ขอ้ มูลต่อไป
สรา้ งเคร่ืองมอื ที่สามารถชว่ ยใหท้ างคณะผู้จดั ทาศึกษา
ค้นคว้าและเก็บรวบรวมข้อมูลได้ง่ายข้ึน โดยคณะ 4.3.6 ในการตอบแบบทดสอบ คณะผู้จัดทา
ผจู้ ัดทาไดส้ ร้างเคร่ืองมือ ดงั ต่อไปนี้ อธิบายวิธีบันทึกตลอดจนอธิบายศัพท์ต่าง ๆ ให้แก่
ผูต้ อบแบบทดสอบ
4.2.1 เว็บไซต์ ส่อื การเรียนการสอนโปรแกรม
Adobe Photoshop CS6 4.3.7 รวบรวมข้อมูลแบบทดสอบทั้งหมดจาก
กลุม่ ตัวอยา่ งเพอ่ื นามาประมวลผลตามวิธีการทางสถิติ
4.2.2 แบบทดสอบกอ่ นเรียนและหลังเรยี นทอ่ี ยู่ เพือ่ วเิ คราะห์ขอ้ มูล
ในเว็บไซต์ สื่อการเรียนการสอนโปรแกรม Adobe
Photoshop CS6 4.3.8 เปรียบเทียบผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนก่อน
เรียนและหลังเรียนในเว็บไซต์ ส่ือการเรียนการสอน
4.2.3 แบบประเมินประสิทธิภาพของของ โป รแ ก ร ม Adobe Photoshop CS6 ข อ งนั ก เรี ย น
ผู้เชยี่ วชาญ นักศึกษาระดับ ปวส. และ ปริญญาตรี วิทยาลัย
เทคโนโลยีและอุตสาหกรรมการต่อเรือหนองคาย
4.3 การรวบรวมข้อมลู จานวน 50 คน
ก า ร วิ จั ย ค ร้ั ง น้ี เ ป็ น ศึ ก ษ า ก า ร เป รี ย บ เ ที ย บ
4.4 สถิตทิ ใ่ี ชว้ เิ คราะหข์ ้อมลู
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนของ ผู้วิจัยดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติใน
เว็บไซต์ ส่ือการเรียนการสอนโปรแกรม Adobe
Photoshop CS6 ของนักเรียนนักศึกษาระดับ ปวส. การหาคณุ ภาพของเครือ่ งมอื ดงั น้ี
และปริญญาตรีวิทยาลัยเทคโนโลยีและอุตสาหกรรม 4.4.1 หาคา่ ร้อยละ (%)
การตอ่ เรอื หนองคาย จานวน 50 คน 4.4.2 ค่าเฉลย่ี (x̅)
4.4.3 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D)
4.3.1 ผู้วิจัยทาหนังสือถึงผู้อานวยการวิทยาลัย 4.4.4 ค่าดชั นีประสิทธิผล (E.I)
เทคโนโลยีและกรต่อเรอื หนองคายเพ่อื ขออนุญาตเก็บ 4.4.5 ค่าแจกแจง t–test
ข้อมูล เร่ือง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
ก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนนักศึกษาระดับ
ปวส. และ ปริญญาตรี วิทยาลัยเทคโนโลยีและ
อุตสาหกรรมการต่อเรือหนองคาย จานวน 50 คน

4.3.2 ผู้ศึก ษ าวิจัยได้ด าเนิ น การท ดส อ บ
ก่อนเรียน (Pre-test) กับผู้เรียน โดยใช้แบบทดสอบ

NCTechEd D02-2022


5. สรุปผลการวจิ ัย การประชุมวิชาการนาํ เสนอผลงานนกั ศึกษา
การจัดทาเว็บไซต์ส่ือการเรียนการสอนโปรแกรม NCTechED-Student Workshop 2022 635

Adobe Photoshop CS6 ในครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์ คือ June 10,2022
เพ่ือพัฒนาสื่อการเรียนการสอนโปรแกรม Adobe
Photoshop CS6 และเพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการ 6. อภิปรายผล
เรียน ก่อน – หลัง ใช้ส่ือการเรียนการสอนโปรแกรม จากประเมินคุณภาพเว็บไซต์ สื่อการเรียนการ
Adobe Photoshop CS6
สอน โป รแกรม Adobe Photoshop CS6 แบ่ งเป็ น
การศึกษาคร้ังนี้ข้ันตอนการศึกษาจะมี 2 ขั้นตอน แบบทดสอบ กอ่ นเรียน และหลังเรียน จานวน 30 ข้อ
คือ ขั้นตอนที่ 1 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และมีแบบประเมินการวิจัยโดยผู้เช่ียวชาญ จานวน
ก่อนเรียนและหลังเรียนเว็บไซตส์ ื่อการเรียนการสอน 3 ท่าน พิจารณาโดยรวมคุณภาพของส่ือบทเรียน
โปรแกรม Adobe Photoshop CS6 ของกลุ่มตัวอย่าง คอมพิวเตอร์ช่วยสอนอยู่ในระดับคุณภาพดี และการ
จานวน50คน ขั้นตอนที่ 2 การวิเคราะห์และประเมิน หาผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของผู้เรียน จากการ
คุณภาพของ เว็บไซต์สื่อการเรียนการสอนการใช้ ทดสอบหลังเรียน พบว่า มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
โปรแกรม Adobe Photoshop CS6 จากผู้เชี่ยวชาญ หลังเรียนเพม่ิ ขน้ึ ร้อยละ 45.62 ซ่ึงเปน็ เกณฑ์ที่ดีจงึ ถือ
ซึ่ งป ระโ ยช น์ ท่ี ค าด ว่าจะ ได้ รั บ ใน ค รั้ งน้ี คื อ ว่าเว็บไซต์ ส่ือการเรียนการสอนโปรแกรม Adobe
1) ได้พัฒนาสื่อการเรียนการสอนโปรแกรม Adobe Photoshop CS6 ที่ ค ณ ะ ผู้ จั ด ท าส ร้ างข้ึ น ม าน้ั น
Photoshop CS6 2) ได้ทราบผลสัมฤทธิ์ผลสัมฤทธ์ิ มีประสิทธิภาพในการนาเสนอเป็นอย่างมากในการ
ทางการเรียน ก่อน - หลัง ใช้ส่ือการเรียนการสอน จดั ทาวิจยั ในคร้งั นี้เปน็ การนาความรู้ความสามารถจาก
โปรแกรม Adobe Photoshop CS6 3) ไดท้ ราบคุณภาพ การเรียนในสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ ศึกษาค้นคว้า
ข อ ง เว็ บ ไ ซ ต์ จ าก ก าร ป ร ะ เมิ น คุ ณ ภ าพ ผู้ เช่ี ย ว ช าญ เพิ่ ม เติ ม จ าก แ ห ล่ ง เรี ย น รู้ ท าง อิ น เต อ ร์ เน็ ต โ ด ย ใ ช้
คณะผู้วิจัยได้จัดทาการทดลองกับนักเรียนนักศึกษา โปรแกรม Adobe Photoshop CS6 มาสร้างส่ือการ
ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชพี ชั้นสูง และ ปริญญาตรี เรียน การส อ น ใน ช้ัน เรียน และสื่ อ การเรียน รู้
วิ ท ย าลั ย เท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ อุ ต ส าห ก ร ร ม ก าร ต่ อ เรื อ ในการศกึ ษาด้วยตนเอง และยังมใี นดา้ นตรงตามความ
หนองคาย จานวน 50 คน เป็นนั กศึกษาระดับ ต้องการของผู้ใช้ด้านการทางานได้ตามฟังก์ชันการ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชาย 6 คน หญิง 6 คน ทางาน ด้านรูปลักษณ์และความง่ายต่อการใช้งาน
ระดับปรญิ ญาตรี ชาย 18 คน หญงิ 20 คน ทั้งหมดอยู่ในระดับมากเพราะเว็บไซต์ สื่อการเรียน
การสอนโปรแกรม Adobe Photoshop CS6 ที่คณะ
จ าก ก าร ห าผล สั ม ฤ ท ธิ์ นั้ น ท าให้ ท ร าบ ดั ช นี ผู้จัดทาสร้างขึ้นมานน้ัน ได้วิเคราะห์และออกแบบ
ประสิทธิผลของเว็บไซต์ สื่อการเรียนการสอนการใช้ ร ะ บ บ ข อ ง เว็ บ ไ ซ ต์ ใ ห้ ส า ม า ร ถ ต อ บ ส น อ ง ค ว า ม
โปรแกรม Adobe Photoshop CS6 จากกลุ่มตัวอย่าง ต้องการของผู้ใช้งานไดเ้ ป็นอยา่ งดเี นอ่ื งผ้จู ัดทาได้เห็น
ท่ีมีค่าเท่ากับ 0.4562 หมายความว่านักเรียนมีคะแนน ถึงความสาคัญของการวิเคราะห์และออกแบบระบบ
เพ่ิมข้ึนคดิ เปน็ รอ้ ยละ 45.62 ซ่งึ อยใู่ นเกณฑท์ ่ี เป็นอย่างมากเพราะในการออกแบบระบบทุกคร้ัง
จ ะ ต้ อ ง ค า นึ ง ถึ ง ค ว า ม ต้ อ ง ก าร ข อ ง ผู้ ใ ช้ เป็ น ห ลั ก
ซึ่งสามารถนามาใช้ได้จริงในการเรียนการสอนใน
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์

NCTechEd D02-2022


การประชุมวิชาการนาํ เสนอผลงานนักศึกษา
636 NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

7. ขอ้ เสนอแนะสาหรบั การศกึ ษาครั้งต่อไป [3] ไพโรจน์ คะเชนทร.์ (มปป), "การวดั ผลสมั ฤทธิ์
ในการจัดทาเว็บไซต์ สื่อการเรียนการสอน ทางการเรยี น" [ออนไลน]์
www.waltoongpel.com/Sarawichakarn/wichakarn/1-
โปรแกรม Adobe Photoshop CS6 ในคร้ังนน้ี น้ั มกั จะมี 10/การวัดผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น ,
ปญั หาในการจดั ทา ซึ่งสามารถแบ่งได้ ดังนี้ (เขา้ ถงึ เมอ่ื : 17 กรกฎาคม 2564).

7.1 ในระหว่างท่ีสร้างเว็บไซต์ สื่อการเรียนการสอน [4] จันทมิ า เมยประโคน, (2555), การศึกษาผลสมั ฤทธิ์
โปรแกรม Adobe Photoshop CS6 นนั้ ควรทาแล้วกก็ ด ทางการเรยี นและความพงึ พอใจในการเรยี นวิชา
เซฟงานบ่อย ๆ เพราะบางครั้งอาจเกิดเหตุขัดข้องใน ศลิ ปะ เร่อื ง การสรา้ งสรรค์จากเศษวสั ดขุ องนกั เรยี น
การใชโ้ ปรแกรมได้ เช่น คอมพิวเตอร์ของท่านอาจจะ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 5 ทีเ่ รียนดว้ ยการจัดการเรียนรู้
ดบั ระหวา่ งทางานอยู่ หรืออาจเกดิ จากการทโ่ี ปรแกรม แบบ 4 MAT, ปริญญานพิ นธ์ กศ.ม (ศลิ ปศกึ ษา),
ไม่ตอบสนองหรือ ค้างน่ันเองเพราะฉะนั้นเราจึงควร กรงุ เทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลัย
ทาการเซฟชิ้นงานทท่ี าอยู่บอ่ ย ๆ เพ่ือท่ีจะได้ไม่ต้องมา ศรีนครนิ ทรวโิ รฒประสานมิตร.
เสียเวลาในการเร่มิ ทาชิน้ งานใหมท่ ้งั หมด
[5] พชสั ุดา กัลปย์ าณวฒุ ิ, (2558), ปจั จยั ทส่ี ง่ ผลกระทบ
7.2 รายงานโครงการ 5 บท ควรให้ความสาคัญกับ ตอ่ ผลสมั ฤทธิ์ทางการศึกษาของนกั ศกึ ษาระดบั ปวช,
การจัดรูปแบบให้ถูกต้อง สวยงามตามรูปแบบหรือ และระดบั ปวส, ของวทิ ยาลัยเทคโนโลยีพายพั และ
โครงสรา้ งทกี่ าหนดให้ บริหารธุรกจิ , งานวจิ ยั ศิลป์ศาสตร์บัณฑิต, สาขาวิชา
ภาษาอังกฤษ, คณะศิลปศ์ าสตร,์ สถาบันวทิ ยาลัย
8. เอกสารอ้างอิง เทคโนโลยพี ายัพและบรหิ ารธรุ กิจ.

[1] ชัชวาล รตั นสวนจกิ , (2550), การเปรยี บเทยี บ [6] ศศิพนิ ต์ สขุ บุญพนั ธ, (2556), การศึกษาผลสมั ฤทธิ์
ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น และ ความพงึ พอใจต่อการ ทางการเรยี นของนักศกึ ษาสาขาวิชาการศึกษาพเิ ศษ
เรียนวิชาคณิตศาสตร์ เร่ือง เวกเตอรร์ ะหว่างการสอน มหาวิทยาลยั ราชภัฏเชยี งใหมใ่ นรายวิชาการจัดการ
แบบร่วมมือ (STAD) การสอนแบบ 4 MAT และการ พฤตกิ รรม (SPE 3201) โดยการจดั การเรยี นร้แู บบ
สอนแบบปกตขิ องนกั เรียน ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5, รว่ มมือดว้ ยเทคนิค STAD, รายงานวจิ ัย
วิทยานิพนธ์ กศ.ม (การวจิ ยั การศึกษา), มหาสารคาม : คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.
บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

[2] ประทนิ รัตน์ นยิ มสนิ , (2554), การศึกษาปฏิสัมพนั ธ์
ระหว่างวิธีการจดั การเรยี นรู้แบบรว่ มมือเทคนิค TAI
และเทคนิค TGT กับระดบั ความสามารทางการเรยี น
ที่สง่ ผลตอ่ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนคณติ ศาสตร์และ
ทักษะการเชือ่ มโยงทางคณิตศาสตรข์ องนกั เรยี นชัน้
มธั ยมศึกษาปีท่ี 3, วทิ ยานิพนธ์ ค.ม. (การจดั การการ
เรียนรู้) พระนครศรีอยุธยา : บัณฑิตวิทยาลยั
มหาวทิ ยาลัย.

NCTechEd D02-2022


การประชุมวิชาการนาํ เสนอผลงานนกั ศึกษา
NCTechED-Student Workshop 2022 637

June 10,2022

การพฒั นาเว็บไซต์หลักสูตรปริญญาตรเี ทคโนโลยบี ัณฑิต
สาขาวิชาคอมพวิ เตอร์ธุรกิจ วิทยาลยั เทคโนโลยแี ละอตุ สาหกรรมการต่อเรือหนองคาย

สภุ าวดี โสขะ1,* และ พิสิษฐ์ พฤทธิพ์ หล2

บทคัดยอ่
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพ่ือพัฒนาเว็บไซต์หลักสูตรปริญญาตรีเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชา
คอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมการต่อเรือหนองคาย และเพ่ือศึกษาความพึงพอใจท่ีมีต่อ
การพัฒนาเว็บไซต์หลักสูตรปริญญาตรีเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีและ
อุตสาหกรรมการต่อเรือหนองคาย โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งน้ี ได้แก่ นักศึกษาระดับปริญญาตรี ปี
การศึกษา 2564 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมการต่อเรือหนองคาย จำนวน 38
คน โดยเคร่ืองมือท่ีใช้ในการศึกษาครั้งน้ี คือ เว็บไซต์หลักสตู รปริญญาตรเี ทคโนโลยบี ัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์
ธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมการต่อเรือหนองคาย ท่ีพัฒนาด้วยโปรแกรม Word Press และ
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการพัฒนาเวบ็ ไซต์หลักสูตรปรญิ ญาตรีเทคโนโลยบี ัณฑติ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์
ธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมการต่อเรือหนองคาย โดยใช้สถิติพรรณนาในการวิเคราะห์ข้อมูล ผล
การศึกษา พบว่า ระดับความพึงพอใจท่ีมีต่อการพัฒนาเว็บไซต์หลักสูตรปริญญาตรีเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชา
คอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีและ อุตสาหกรรมการต่อเรือหนองคาย มีค่าเฉล่ีย 4.35 ภาพรวมอยู่ในระดับ
มาก เม่ือพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านท่ีมีความพึงพอใจมากท่ีสุด คือ ด้านประโยชน์การใช้งานอยู่ในระดับมาก
รองลงมา คือ ด้านการออกแบบอย่ใู นระดับมาก และด้านที่มีความพึงพอใจนอ้ ยท่ีสดุ คือ ด้านหลักสตู รที่เปิดสอนอยู่
ในระดับมาก

คำสำคัญ : หลักสตู รเทคโนโลยีบณั ฑติ , สาขาวชิ าคอมพวิ เตอรธ์ รุ กิจ, โปรแกรม Word press

*12สาขาวชิ าคอมพิวเตอรธ์ รุ กจิ วทิ ยาลัยการอาชพี หนองคาย สถาบนั การอาชวี ศกึ ษาภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื 1
จังหวดั หนองคาย 43000

* สภุ าวดี โสขะ 062 3416648 E-mail address: [email protected]

NCTechEd D03-2022


การประชุมวชิ าการนําเสนอผลงานนกั ศึกษา
638 NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

WEBSITE DEVELOPMENT FOR BACHELOR DEGREE IN BUSINESS
COMPUTER, NONGKHAI COLLEGE OF BOATBUILDING INDUSTRY AND TECHNOLOGY.

Supawadee Sokha1,*and Phisit Phruetphahon2
Abstract

The objectives of this study were to develop the website of bachelor degree in Business Computer, Nongkhai College of
Boatbuilding Industry and Technology, and to study satisfaction for the improvement of the website of bachelor degree in
Business Computer, Nongkhai College of Boatbuilding Industry and Technology. The samples were 38 students who are
in the year 2021 in the Business Computer at Nongkhai College of Boatbuilding Industry and Technology. The
instruments for researching were the development website for Bachelor in Business Computer, Nongkhai College of
Boatbuilding Industry and Technology which was developed by Word Press program and the data was collected through
questionnaire. Descriptive Statistics was used for data analysis. The results found that the general satisfaction with the
Website development bachelor degree in Business Computer, Nongkhai College of Boatbuilding Industry and Technology
was in high level. The average was 4.35. When each factor was considered, the utilization was considered the highest
level, followed by designing which was considered at a high level. The curriculum was considered at the lowest level of
satisfaction compared to other factors, however the satisfaction was considered at a high level.
Keywords: Bachelor degree, Business Computer, Word press Program

*12Field of Business Computer, Nongkhai Industrial and Community Education College, Institute of Vocational Education : Northeastern Region 1,
Nongkhai 43000 * Supawadee Sokha 062 3416648 E-mail address: [email protected]

NCTechEd D03-2022


1. บทนำ การประชุมวชิ าการนาํ เสนอผลงานนักศกึ ษา
ห ลักสู ต รเท ค โน โลยีบั ณ ฑิ ต ส าขาวิช า NCTechED-Student Workshop 2022 639

คอมพิวเตอร์ธุรกิจ (ต่อเน่ือง) (หลักสูตรใหม่ พ.ศ. June 10,2022
2 5 5 7 ) Bachelor of Technology Program in Business
Computer (Continuing Program) ส ถ า บั น ก า ร 2. วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ
อาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1 สำนักงาน 2.1 เพื่อพัฒนาเว็บไซต์หลักสูตรปริญญาตรี
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยี
และอุตสาหกรรมการต่อเรือหนองคาย จำนวนหน่วย เทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
กิตที่เรียนตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 72 หน่วยกิต วิทยาลัยเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมการต่อเรือ
ภาษาที่ใช้หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทย การ หนองคาย
รับเข้าศึกษารับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติท่ี
สามารถ พูด ฟัง อ่าน เขียน และเข้าใจภาษาไทยได้ 2.2 เพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจที่มีต่อการ
อย่างดี [4] การใช้เทคโนโลยีเพ่ือการศึกษาเป็นการ พั ฒ น า เว็ บ ไ ซ ต์ ห ลั ก สู ต ร ป ริ ญ ญ า ต รี เท ค โ น โ ล ยี
นำเอาความรู้ แนวคิด กระบวนการและผลผลิตทาง บัณ ฑิ ต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัย
วิทยาศาสตร์มาใช้ร่วมกันอย่างมีระบบเพ่ือแก้ปัญหา เทคโนโลยแี ละอุตสาหกรรมการต่อเรอื หนองคาย
และพั ฒ น าก ารศึ กษ าให้ ก้ าวห น้ าไป อ ย่างมี
ประสิทธิภาพ ปัจจุบันความก้าวหน้าทางด้าน 3. วิธดี ำเนินโครงการ
เทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้มีการพัฒนาคิดค้นสิ่ง 3.1 ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง
อำนวยความสะดวกต่อการดำเนินงานรวมไปถึงใช้ 3.1.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ใน
เพื่อพัฒนาประโยชน์ทางการศึกษา เช่น ระบบการ
ลงทะเบียน ระบบการจัดตารางเรียน เป็นต้น ทำให้ การวิจัยครั้งนี้ คือ นักศึกษาระดับปริญญาตรี ปี
ลดเวลาในการดำเนนิ งานและเพิ่มความรวดเรว็ ความ การศึกษา 2564 สาขาวชิ าคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วทิ ยาลัย
สะดวก และมีความแม่นยำมากข้ึน การสมัครเข้า เทคโนโลยีและอุตสาหกรรมการต่อเรือหนองคาย
ศึกษาต่อในหลักสูตรปริญญาตรีเทคโนโลยีบัณฑิต จำนวน 38 คน
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลยั เทคโนโลยีและ
อุตสาหกรรมการต่อเรือหนองคายในอดีตท่ีผ่านมา 3.2 ขอบเขตดา้ นเน้อื หา
ผู้สมัครจะศึกษารายละเอียดการสมัครจากเอกสาร 3.2.1 ข้อมูลสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
การประชาสมั พันธ์ คมู่ ือการรับนกั ศกึ ษา เปน็ ตน้
ได้แก่ ข้อมลู หลกั สูตรทเ่ี ปดิ สอน
จากความสำคัญ ของระบ บ เท คโน โลยี 3.2.2 ขอ้ มูลประชาสมั พันธ์ ได้แก่ ขา่ วสาร
สารสนเทศ คณะผู้จัดทำโครงการจึงพัฒนาเว็บไซต์
หลักสูตรปริญญาตรีเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชา แ ล ะ กิ จ ก ร ร ม ปั จ จุ บั น ข อ ง ห ลั ก สู ต ร ป ริ ญ ญ า ต รี
คอมพิ วเต อร์ธุรกิ จ วิท ยาลัยเท ค โน โลยีและ เทคโนโลยีบัณฑติ สาขาวิชาคอมพวิ เตอรธ์ รุ กจิ
อุตสาหกรรมการต่อเรือหนองคายนี้ข้ึน เพื่ออำนวย
ความสะดวกใหก้ ับนักศกึ ษาท่มี คี วามสนใจ 3.3 ขอบเขตด้านเครอ่ื งมือ
3.3.1 โปรแกรม Word press
NCTechEd D03-2022 3.3.2 โปรแกรม Adobe Photoshop Cs6
3.3.3 แบบสอบถามความพงึ พอใจ

3.4 ประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง
3.4.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ใน

การวิจัยครั้งนี้ คือ นักศึกษาระดับปริญญาตรี ปี
การศึกษา 2564 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัย


การประชมุ วชิ าการนําเสนอผลงานนักศกึ ษา จากการตอบแบบสอบถามความพึงพอใจของกลุ่ม
640 NCTechED-Student Workshop 2022 ตัวอย่าง

June 10,2022 3.7 สถติ ทิ ี่ใชใ้ นการวเิ คราะหข์ อ้ มลู [2]
3.7.1 คา่ รอ้ ยละ (%)
เทคโนโลยีและอุตสาหกรรมการต่อเรือหนองคาย 3.7.2 ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (x̅)
จำนวน 38 คน 3.7.3 สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D.)

3.5 เครื่องมอื ท่ใี ชใ้ นการศกึ ษาค้นคว้า 4. ผลการดำเนนิ โครงการ
3.5.1 เว็ บ ไซ ต์ ห ลั ก สู ต รป ริญ ญ าต รี โครงการการพัฒนาเว็บไซต์หลกั สูตรปริญญา

เทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ตรีเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมการต่อเรือ วิทยาลัยเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมการต่อเรือ
หนองคาย หนองคาย สามารถสรุปผลตามวัตถุประสงค์ของการ
วจิ ัย ดงั นี้
3.5.2 แบบสอบถามความพึงพอใจของ
กลุ่มตัวอย่างที่มีต่อการพัฒนาเว็บไซต์หลักสูตร 4.1 ผลการพัฒนาเว็บไซต์หลักสูตรปริญญา
ปริญญาตรีเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ ตรีเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
ธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมการต่อ วิทยาลัยเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมการต่อเรือ
เรอื หนองคาย แบบสอบถามแบง่ ออกเป็น 3 ตอน หนองคาย เพ่ือเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและกิจกรรม
ต่าง ๆ ของหลักสูตรปริญญาตรีเทคโนโลยีบัณฑิต
3.5.2.1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลยั เทคโนโลยีและ
สอบ ถาม อุตสาหกรรมการต่อเรือหนองคาย โดยมีการศึกษา
โครงสร้างของหน้าเว็บไซต์จากการเปรียบเทียบ
3.5.2.2 แบบสอบถามความพึงพอใจ เว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยอื่น ๆ แล้วนำข้อมูลมา
ประกอบด้วย 4 ด้าน ได้แก่ ด้านเนื้อหา ด้านการ อ อ ก แ บ บ ใ ห้ ต ร งต า ม เอ ก ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง ห ลั ก สู ต ร
ออกแบ บ ด้านหลักสู ตรท่ีเปิ ดสอน และด้ าน ปริญญาตรีเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์
ประโยชน์การใชง้ าน ธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมการต่อ
เรือหนองคาย ให้มีรูปแบบเรียบง่ายไม่ซับซ้อนและ
3.523.3 ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ใช้งานได้สะดวก มีกระบวนการพัฒนาอย่างเป็น
เพม่ิ เติม ระบบเลือกใช้เคร่ืองมือท่ีหลากหลาย รองรับการ
แสดงผลบนหน้าจออุปกรณ์เครือข่ายได้ทุกอุปกรณ์
3.6 การเก็บรวบรวมข้อมลู ในรูปแบบที่แตกต่างกันไป มีระบบบริหารจัดการ
3.6.1 กลุ่มตัวอย่างได้เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ เน้ือหาบนเว็บไซต์ที่สะดวกและรวดเร็ว ง่ายต่อการ
บ ริ ห าร จั ด ก า ร โ ด ย มี ช่ื อ เว็ บ ไ ซ ต์ คื อ http://
หลักสูตรปริญญาตรีเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชา nbitechbachelor.wordpress.com
คอมพิ วเต อร์ธุรกิ จ วิท ยาลัยเท ค โน โลยีและ
อตุ สาหกรรมการต่อเรอื หนองคาย

3.6.2 ส่งลิงค์ Google Form แบบสอบความ
พึงพอใจการพัฒนาเว็บไซต์หลักสูตรปริญญาตรี
เทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมการต่อเรือ
หนองคาย ใหก้ ับกลุ่มตวั อย่างจำนวน 38 คน

3.6.3 นำแบบสอบถามความพึงพอใจท่ีได้
จากกลุ่มตัวอย่างมาบันทึกข้อมูลโดยใช้โปรแกรม
สำเร็จรูปทางสถิติ เพ่ือหาระดับความพึงพอใจที่ได้

NCTechEd D03-2022


ที่พัฒนาด้วยโปรแกรม Word Press ซ่ึงประกอบไป การประชุมวชิ าการนาํ เสนอผลงานนักศึกษา
ด้วยหัวข้อหลัก ได้แก่ หน้าแรก หลักสูตร ข่าวสาร NCTechED-Student Workshop 2022 641
ขอ้ มูลวิทยาลัย และตดิ ต่อเรา
June 10,2022
4.2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล กลุ่มตัวอย่างท่ี
ใช้ในการศึกษาคร้ังน้ี ได้แก่ นักศึกษาระดับปริญญา สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลยั เทคโนโลยีและ
ตรี ปีการศึกษา 2564 สาขาวิชคอมพิวเตอร์ธุรกิจ อุตสาหกรรมการต่อเรือหนองคาย โดยมีการศึกษา
วิทยาลัยเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมการต่อเรือ โครงสร้างของหน้าเว็บไซต์จากการเปรียบเทียบ
หนองคาย จำนวน 38 คน ซึ่งผลการวิเคราะห์ข้อมูล เว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยอ่ืน ๆ แล้วนำข้อมูลมา
ทั่ ว ไ ป ข อ ง ผู้ ต อ บ แ บ บ ส อ บ พ บ ว่ า ผู้ ต อ บ อ อ ก แ บ บ ใ ห้ ต ร งต า ม เอ ก ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง ห ลั ก สู ต ร
แบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จำนวน 20 คน ปริญญาตรีเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์
คิดเป็นร้อยละ 52.60 และเป็นเพศชาย จำนวน 18 คน ธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมการต่อ
คิดเป็นร้อยละ 47.40 ผู้ตอบแบบสอบถามอายุ เรือหนองคาย ให้มีรูปแบบเรียบง่ายไม่ซับซ้อนและ
ส่วนมาก คือ 21 - 30 ปี จำนวน 33 คน คิดเป็นร้อยละ ใช้งานได้สะดวก มีกระบวนการพัฒนาอย่างเป็น
86.84 ผู้ตอบแบบสอบถามสถานภาพส่วนมาก คือ ระบบเลือกใช้เครื่องมือท่ีหลากหลาย รองรับการ
โสด จำนวน 36 คน คิดเป็นร้อยละ 94.74 และผู้ตอบ แสดงผลบนหน้าจออุปกรณ์เครือข่ายได้ทุกอุปกรณ์
แบบสอบถามระดับการศึกษาทงั้ หมด คอื กำลังศึกษา ในรูปแบบที่แตกต่างกันไป มีระบบบริหารจัดการ
อยู่ระดับป.ตรี จำนวน 38 คน คิดเป็นร้อยละ 100.00 เน้ือหาบนเว็บไซต์ท่ีสะดวกและรวดเร็ว ง่ายต่อการ
โดยผลการวิเคราะห์ระดับความพึงพอใจของผู้ตอบ บ ริ ห าร จั ด ก า ร โ ด ย มี ช่ื อ เว็ บ ไ ซ ต์ คื อ http://
แบบสอบถาม พบว่า ระดับความพึงพอใจใน nbitechbachelor.wordpress.com ด้วยโปรแกรม Word
ภาพรวมอยู่ในระดับมาก (x̅ = 4.35, S.D. = 0.45) เม่ือ Press ซ่งึ สอดคล้องกับงานวิจัยของศิริพล แสนบญุ ส่ง
พจิ ารณารายด้าน พบว่า ด้านท่ีมีค่ามากที่สุด คือ ด้าน (2559) ได้พัฒนาเว็บไซตค์ ณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ประโยชน์การใช้งานอยู่ในระดับมาก (x̅ = 4.42, S.D. ราชภัฏพระนครศรีอยุธยา โดยใช้ระบบบริหาร
= 0.38) รองลงมา คือ ด้านการออกแบบอยู่ในระดับ จัดการเนื้อหาบนเว็บไซต์ (CMS) ด้วยโปรแกรม
มาก (x̅ = 4.37, S.D. = 0.43) ด้านเน้ือหาอยู่ในระดับ Joomla เวอร์ช่ัน 3.4.1 มาพัฒนาเวบ็ ไซต์ การออกแบบ
มาก (x̅ = 4.33, S.D. = 0.52) และด้านที่มีค่าความ ได้วิเคราะห์ จากการเปรียบเทียบเว็บไซต์ครุศาสตร์
พอใจน้อยที่สุด คือ ด้านหลักสูตรที่เปิดสอน อยู่ใน ของมหาวทิ ยาลยั อนื่ ๆ [3]
ระดบั มาก (x̅ = 4.29, S.D. = 0.46)
ระดับความพึงพอใจจากผู้ตอบแบบสอบถาม
5.ข อ้ เสนอแนะ ที่ มี ต่ อ ก า ร พั ฒ น า เว็ บ ไ ซ ต์ ห ลั ก สู ต ร ป ริ ญ ญ า ต รี
ผูศ้ ึกษาได้พัฒนาเว็บไซตห์ ลักสูตรปริญญาตรี เทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมการต่อเรือ
เทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ หนองคาย โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาคร้ังน้ี
วิทยาลัยเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมการต่อเรือ ได้แก่ นักศึกษาระดับปริญญาตรี ปีการศึกษา 2564
หนองคาย เพ่ือเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและกิจกรรม สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธรุ กิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีและ
ต่าง ๆ ของหลักสูตรปริญญาตรีเทคโนโลยีบัณฑิต อุตสาหกรรมการต่อเรือหนองคาย จำนวน 38 คน
พบว่า ระดับความพึงพอใจมีค่าเฉลี่ย 4.35 ภาพรวม
NCTechEd D03-2022 อยใู่ นระดับมาก เม่ือพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านท่ีมี
ความพึงพอใจมากท่ีสุด คือ ด้านประโยชน์การใช้
งานอยู่ในระดับมาก และด้านท่ีมีความพึงพอใจน้อย


การประชมุ วชิ าการนาํ เสนอผลงานนักศึกษา กิตตกิ รรมประกาศ
642 NCTechED-Student Workshop 2022 การศึกษาโครงการฉบับน้ีสำเร็จลุล่วงได้ด้วย

June 10,2022 ความกรุณาจากบุคคลผู้มีพระคุณหลายท่านท่ีให้
ความช่วยเหลือแนะนำ ใหข้ ้อความคดิ และความเห็น
ที่สุด คือ ด้านหลักสูตรท่ีเปิดสอนอยู่ในระดับมาก ทางวิชาการอันเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง และความ
โดยนำระบบการบริหารจัดการเนื้อหาบนเว็บไซต์ รว่ มมือของบุคคลหลายฝ่ายท่ีต้องขอขอบพระคุณ ณ
(CMS) ด้วยโปรแกรม Word Press ทำให้สามารถ ทน่ี ้ี
พั ฒ น า เว็ บ ไ ซ ต์ ไ ด้ ง่ า ย แ ล ะ มี รู ป แ บ บ ท่ี ส ว ย ง า ม
สอดคล้องกับแนวคิดเก่ียวกับหลกั การพัฒนาเว็บไซต์ ข อ ข อ บ พ ร ะ คุ ณ น ายชั ย ก ร จั น ท ร์ ศ รี
ท่วี า่ การกำหนดเนอื้ หาและจดุ ประสงค์ของเว็บไซต์ท่ี ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีและอุตสาหกรรม
จะสร้างนับเป็นสิ่งสำคัญอย่างมากในการเริ่มต้น การต่อเรือหนองคาย ท่ีให้ความช่วยเหลือเป็นอย่างดี
สร้างเว็บไซต์ เพ่ือให้เห็นภาพท่ีเราต้องการนำเสนอ ยง่ิ ผู้ศกึ ษาขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูงยงิ่
ข้อมูล เช่น เว็บไซต์เพื่อให้ข้อมูลข่าวสาร เมื่ อ
สามารถกำหนดจุดประสงค์ของเว็บไซต์ได้แล้ว ขอขอบพระคุณนางสุภาพร ศรสี รุ ะ นางศิริธร
เง่ือนไขเหล่าน้ีจะเป็นตัวกำหนดโครงสร้างรูปแบบ พิมพ์ฝด นางยุภาพร จันทศิริ อาจารย์ และนางแสง
รวมถึงหนา้ ตา และสีเวบ็ ไซต์ของเราด้วย [1] อรุณ สิงห์มหาไชย ท่ีปรึกษาโครงการฉบับน้ี ที่ได้
สละเวลาอันมีค่ารับเป็นอาจารย์ท่ีปรึกษาและกรุณา
5.1 เว็บไซต์หลักสูตรปริญญาตรีเทคโนโลยี ให้ข้อคำชี้แนะและตรวจพิจารณ าแก้ไข และ
บัณ ฑิ ต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัย ขอขอบพระคุณ นางยุภาพร จันทศิริ ประธาน
เทคโนโลยีและอุตสาหกรรมการต่อเรือหนองคาย กรรมการสอบโครงการ นางปิยวรรณ บัลลังก์ และ
ควรได้รับการพัฒนาและดูแลระบบอย่างต่อเน่ือง นางกฤษณา กมลนัย เป็นอย่างสูงท่ีกรุณาเสียสละ
เช่น ควรมีการอัพเดทข่าวสารประชาสัมพันธ์และ เว ล า อั น มี ค่ า เป็ น อ ย่ า ง ย่ิ ง รั บ เป็ น ก ร ร ม ก า ร ส อ บ
กิจกรรมต่าง ๆ โครงการ และกรุณาให้ความรู้และข้อช้ีแนะอันเป็น
ประโยชน์ต่อความถูกต้องและความสมบูรณ์ของ
5.2 เว็บไซต์หลักสูตรปริญญาตรีเทคโนโลยี เนือ้ หาทางวิชาการ
บัณ ฑิ ต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัย
เทคโนโลยีและอุตสาหกรรมการต่อเรือหนองคาย ขอขอบพระคุณนางยุภาพร จันทศิริ นาย
ควรมีการเพ่ิมเติมในส่วนประชาสัมพันธ์ เช่น การ ธนวทั ร คำสิทธบิ รรณ และนายพงศกร อภิมติรตั น์ ที่
เพิ่มวิทัศน์แนะนำหลักสูตรปริญญาตรีเทคโนโลยี กรุณาให้คำแนะนำตลอดจนตรวจสอบเคร่ืองมือที่ใช้
บัณฑิต และสาขาวิชาคอมพวิ เตอรธ์ ุรกจิ ในการศกึ ษาคน้ คว้านี้

5.3 ข้อจำกัดบางอย่างนั้นก็มีผลต่อการวิจัย ขอขอบพระคุณบิดามารดา ผู้ใหก้ ารช่วยเหลือ
ครงั้ น้ี เชน่ เครอื่ งมอื แบบสอบถามน้ันมีข้อความหรือ สนับสนุนการศึกษาการทำโครงการ รวมถึงผู้ท่ีช่วย
จำนวนข้อยาวเกินไป ผู้อ่านอาจเกิดความเมื่อยล้า ก็ ตอบแบบสอบถามทกุ ท่านในการศึกษาโครงการครั้ง
อาจจะมผี ลทำให้ผลการวจิ ัยเปน็ เช่นนี้ น้ี คุณ ค่าและประโยชน์อันพึงมีจากการศึกษา
โครงการน้ี ผู้ศึกษาขอน้อมบูชาพระคุณบิดามารดา
5.4 การตอบแบบสอบถามของกลุ่มตัวอย่าง และบูรพาจารย์ทุกท่านทุกท่านท่ีได้อบรมส่ังสอน
น้ัน อาจตอบกลับมาโดยมีข้อความที่นอ้ ยเกนิ ไป วิชาความรู้ และให้ความเมตตาแก่ผู้ศึกษามาโดย

NCTechEd D03-2022


การประชุมวชิ าการนาํ เสนอผลงานนกั ศกึ ษา
NCTechED-Student Workshop 2022 643

June 10,2022

ตลอด เป็นกำลังใจสำคัญท่ีทำให้การศึกษาโครงการ
ฉบบั น้สี ำเรจ็ ลลุ ว่ งได้ด้วยดี

เอกสารอา้ งองิ
[1] เขมิกา ไชยทิง, 2563, ความร้เู บ้ืองต้นเก่ียวกับ
เว็บไซต,์ (ออนไลน์), เขา้ ถึงไดจ้ าก: https://khemika
eport.blogspot.com/2019/09/blog-post.html
(เข้าถงึ เมือ่ วันที่ 28 ธนั วาคม 2563).
[2] ผ่องศรี วาณิชยศ์ ภุ วงศ์, 2546, เอกสารคำสอน
ระเบียบวิธีวิจยั ทางการศึกษา, พิมพ์คร้ังท่ี 4, ปัตตานี
ฝา่ ยเทคโนโลยี การศกึ ษา, สำนักวิทยบรกิ าร
มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร.์
[3] ศริ ิพล แสนบุญสง่ , 2559, การพฒั นาเวบ็ ไซต์
คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏ
พระนครศรอี ยธุ ยา ด้วยระบบ
บริหารจัดการเน้ือหาบนเวบ็ ไซต์ (ออนไลน์),
เขา้ ถึงได้จาก: https://so02.tcithaijo.org/index.php
/JournalGradVRU (เข้าถงึ เมือ่ วนั ที่ 28 ธันวาคม
2563).
[4] สำนกั งานคณะกรรมการการอุดมศึกษา, 2559,
หลกั สูตรปรญิ ญาตรเี ทคโนโลยีบณั ฑติ สาขาวิชา
คอมพวิ เตอร์ธรุ กจิ วทิ ยาลยั เทคโนโลยีและ
อุตสาหกรรมการต่อเรือหนองคาย (ออนไลน์),
เข้าถงึ ได้จาก: http://bsq.vec.go.th/
Portals/PART1.pdf
(เขา้ ถึงเมอื่ วันท่ี 6 ธันวาคม 2563).

NCTechEd D03-2022


การประชุมวชิ าการนาํ เสนอผลงานนักศกึ ษา
644 NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

การพฒั นาเวบ็ ไซต์ธุรกจิ บริการการท่องเทยี่ ว วทิ ยา ทราเวล

นพพล สีหานาจ 1* และ สราวฒุ ิ ชูรัตน์ 2
บทคัดย่อ

การพฒั นาเวบ็ ไซตธ์ ุรกิจบริการการท่องเท่ียววิทยา ทราเวล มีวตั ถุประสงคเ์ พื่อพฒั นาเวบ็ ไซตบ์ ริษทั วิทยา
ทราเวล ท่ีใชง้ านไดจ้ ริง และ เพื่อศึกษาความพึงพอใจท่ีมีต่อเว็บไซต์ธุรกิจบริการการท่องเท่ียว วิทยา ทราเวล
การศึกษาคร้ังน้ีเคร่ืองมือที่ใชใ้ นการศึกษาคร้ังน้ี คือ เวบ็ ไซตธ์ ุรกิจบริการการท่องเที่ยววิทยาทราเวล ท่ีพฒั นาดว้ ย
โปรแกรม Adobe dreamweaver cs6 / adobe photoshop cs6 / Visual studio code / xampp / node.js และแบบสอบถาม
ความพึงพอใจท่ีมีต่อการพฒั นาเว็บไซต์ธุรกิจบริการการท่องเท่ียว วิทยา ทราเวล ในวิจยั คร้ังน้ีมีกลุ่มประชากร
และกลุม่ ตวั อยา่ งท่ีใชใ้ นการศึกษาคน้ ควา้ ไดแ้ ก่ ประชาชนทว่ั ไป จาํ นวน 132 คน

ผลการศึกษาหาความพึงพอใจท่ีมีต่อการพฒั นาเว็บไซต์ธุรกิจบริการการท่องเท่ียววิทยา ทราเวล
พบว่า ผลการศึกษาในภาพรวม มีค่าเฉลี่ย 4.25 ระดบั ความพึงพอใจอยู่ใน ระดบั มาก เม่ือพิจารณาเป็ นรายดา้ น
พบวา่ ดา้ นประโยชนแ์ ละการนาํ ไปใช้ มีระดบั ค่าความพึงพอใจ มากที่สุด ระดบั ความพึงพอใจ มาก รองลงมาดา้ น
การจดั รูปแบบเวบ็ ไซต์ ระดบั ความพึงพอใจมาก และขอ้ ท่ีมีระดบั ความพึงพอใจ นอ้ ยที่สุด คือ ดา้ นการจองทวั ร์
คําสําคญั : วิทยา ทราเวล,การพฒั นาเวบ็ ไซต์

1สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วทิ ยาลยั การอาชีพหนองคาย สถาบนั การอาชีวศึกษาภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ 1
*นพพล สีหานาจ โทร +989897279 อีเมล ; [email protected]


การประชมุ วชิ าการนาํ เสนอผลงานนกั ศึกษา
NCTechED-Student Workshop 2022 645

June 10,2022

WEBSITE DEVELOPMENT FOR TOURISM BUSINESS, WITTHAVA TRAVEL

Noppol Srihanaj1* and Sarawut Chooratsarawut2

Abstract
Website development for tourism business, Witthaya travel Objectives 1) To develop a website of Wittaya
Travel that is actually usable. To study the satisfaction of the tourism service business website. From the sample
group used to find satisfaction in this time there were 132 people who were interested to visit the website of travel
services business, Witthaya Travel.
Classified by gender, it was found that respondents Most of them were female, of 73 people, representing
55.3%, and men, of 59, accounting for 44.7%. Classified by age found that Most of the respondents Age between
31-40 years, 41 people, accounting for 31.1%. followed by 33 people aged 41-50 years, representing 25.0%.
Under 20 years of age 24 people accounted for 18.2% Age between 21-30 years old, 22 people, representing 16.7%.
Age between 51-60 years, 10 people, representing 7.6 percent. And aged 60 years and over, 2 people, representing
1.5%, respectively. The results of a study of satisfaction with the development of a tourism service business website.
It was found that the overall study results were averaged 4 . 2 5 , the satisfaction level was at a high level.
When considering each aspect, it was found that when considering each aspect, it was found that benefits and uses
the level of satisfaction is the highest, the level of satisfaction is high followed by website formatting very satisfied
level And the item with the least satisfaction level was the tour booking.

Keywords : Witthaya Travel.

1Business Computer at Nongkhai industrial and Community Education College Nongkhai Province 41000
Institute of Vocational Education : Northeastern region 1
* Noppol Srihanaj Tel: +989897279 Mail ; [email protected]


การประชุมวชิ าการนาํ เสนอผลงานนกั ศึกษา
646 NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

1. บทนํา การมีเว็บไซต์ เป็ นของสถานประกอบการจะทาํ ให้
จากภาวะสถานการณ์โควดิ -19 ท่ีเป็นอุปสรรค นักท่องเที่ยวสามารถเข้าถึงการให้บริ การบริ ษัท
ต่ อ ก า ร ข ย า ย ตัว ข อ ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ ก า ร ท่ อ ง เ ท่ี ย ว ไม่ว่าจะเป็ นการหาโปรแกรมการท่องเท่ียวท่ีบริษทั
จัดให้การจองโปรแกรมการท่องเที่ยว รวมถึง
รัฐบาลในประเทศไทย รัฐบาลได้ออกมาตรการ การติดต่อสื่อสารกบั บริษทั โดยตรงจะสามารถทาํ ได้
ในการแกป้ ัญหาและเยียวยาผลกระทบที่เกิดจากการ ง่ายและ สะดวกย่ิงข้ึนพร้อมท้ังไม่จํากัดเวลา
ระบาดของไวรัส โควิด - 19 โดยมาตรการที่มี คณะผจู้ ดั ทาํ เห็นวา่ สถานประกอบการยงั ไมม่ ีเวบ็ ไซต์
ความเร่งด่วน คือการให้ความสําคญั ต่อความมนั่ คง ของตนเอวจึงได้จัดทํา เว็บไซต์ธุ รกิจบริ การ
ทางสุขภาพของประชาชนคนไทยและนกั ท่องเท่ียว การท่องเที่ยว วิทยา ทราเวล เป็ นช่องทางจาํ หน่าย
ชาวต่างชาติเป็ นสําคญั เพ่ือสร้างความเขา้ ใจเก่ียวกบั บริ การนําเที่ยวท่ีมีท้ังช่องทาง ออฟไลน์ และ
โ ร ค ร ะ บ า ด ดัง ก ล่ า ว ก า ร ดู แ ล ค ว า ม ส ะ อ า ด ออนไลน์ เพ่ือใหล้ ูกคา้ ไดเ้ ลือกใชบ้ ริการอีกทางหน่ึง
ค ว า ม ป ล อ ด ภัย ใ น ร ะ บ บ ค ม น า ค ม ข น ส่ ง ใ น ส่ ว น ในการตอบสนองความตอ้ งการของลกู คา้
ของมาตรการระยะกลางเป็ นช่วงที่สถานการณ์
ก า ร ร ะ บ า ด ข อ ง โ ร ค ค ลี่ ค ล า ย ล ง เ พื่ อ นัก ท่ อ ง เ ที่ ย ว 2. วตั ถุประสงค์ของการวจิ ยั
ชาวต่างชาติกลบั มาท่องเที่ยวในประเทศไทย การ 2.1 เพ่ือพัฒนาเว็บไซต์ธุรกิจบริ การการ
ฟ้ื นฟูเศรษฐกิจการท่องเที่ยวยงั คงให้ความสําคัญ
กบั ความปลอดภยั ของนกั ท่องเที่ยว การอาํ นวยความ ท่องเที่ยว วทิ ยา ทราเวล ท่ีใชง้ านไดจ้ ริง
สะดวกในการเดินทาง กระตุ้นการท่องเท่ียวและ 2.2 เพ่ือศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อเว็บไซต์
การใชจ้ ่ายของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ รวมไปถึง
นกั ท่องเท่ียวภายในประเทศ ธุรกิจบริการการท่องเที่ยว วทิ ยา ทราเวล
ก า ร ท่ อ ง เ ท่ี ย ว ใ น ปั จ จุ บัน มี บ ท บ า ท สํา คัญ
ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของหลายประเทศท่ัวโลก 3. ขอบเขตของโครงการการศึกษาค้นคว้า
การปรับเปล่ียนวิธีคิดในการพฒั นาการท่องเที่ยวไทย 3.1 กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัยได้แก่ผู้ใช้
ช่องทางออนไลน์ถือเป็ นช่องทางท่ีมีความสําคญั ใน
การสร้างโอกาส ให้ผูป้ ระกอบการประกอบธุรกิจ บริ การเว็บไซต์ธุรกิจบริ การการท่องเที่ยว วิทยา
ทราเวล จาํ นวน 132 คน จากการสุ่มตวั อยา่ งแบบง่าย
นําเที่ ยวโดยตรง บริ ษัทวิทยา ทราเวล เป็ น
ที่จดทะเบียนธุ รกิจ 3.2 ขอบเขตดา้ นเน้ือหา การพฒั นาเว็บไซต์
ประกอบการ ธุรกิจบริการ การท่องเที่ยววิทยา ทราเวล ได้มีการ
ท่องเที่ยว นิติบุคคลโดยบริ ษัท เป็ น รวบรวมขอ้ มูลในดา้ น ต่าง ๆ เพื่อในการพฒั นา ซ่ึง
ผปู้ ระกอบการท่ียงั ไม่มี เวบ็ ไซต์ ของตวั เอง ที่ ไดแ้ ก่ ดา้ นการออกแบบเวบ็ ไซต,์ ดา้ นการจองทวั ร์,
ดูดีและใชง้ านง่าย นอกจากน้ีจะเป็นช่องทางจาํ หน่าย ดา้ นการจดั รูปแบบเวบ็ ไซต์ และดา้ นประโยชน์และ
โปรแกรมการท่องเท่ียวไดแ้ ลว้ ยงั ถือเป็ นสร้างความ การนาํ ไปใช้
น่ า เ ช่ื อ ถื อ ใ ห้ ธุ ร กิ จ ท่ อ ง เ ท่ี ย ว เ พิ่ ม ข้ึ น
4. วธิ ีดาํ เนินการวจิ ยั
4.1 สัญลักษณ์ท่ีใช้ในการนําเสนอผลการ

วเิ คราะห์ขอ้ มูล


x� แทน คะแนนเฉล่ีย (Mean) การประชุมวชิ าการนําเสนอผลงานนกั ศกึ ษา
N แทน จาํ นวนประชากร NCTechED-Student Workshop 2022 647
S.D. แทน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
June 10,2022
(Standard Deviation)
4.2 ข้นั ตอนในการนาํ เสนอผลการวิเคราะห์ 0.42) อยู่ในระดบั มาก ด้านการออกแบบเว็บไซต์
ขอ้ มลู (x�= 4.27, S.D. = 0.49) อยู่ในระดบั มาก และมีความ
ในการศึกษาค้นควา้ คร้ังน้ี ผู้ศึกษาค้นควา้ พึงพอใจน้อยท่ีสุด คือด้านการจองทัวร์ (x�= 4.11,
ไดน้ าํ เสนอผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูลตามลาํ ดบั ดงั น้ี S.D. = 0.54) อยใู่ นระดบั มาก ท้งั 4 ดา้ นโดยภาพรวม
ตอนท่ี 1 ผลการหาค่าอัตราส่วนของกลุ่ม แลว้ อยใู่ นระดบั มาก (x�= 4.25, S.D. = 0.61)
ตวั อยา่ ง
ตอนท่ี 2 ผลการหาค่าความพึงพอใจของผูเ้ ขา้ 5. สรุปผล
มาใช้งานเว็บไซต์ธุ รกิจบริ การการท่องเท่ี ยว การพัฒนาเว็บไซต์ธุ รกิจบริ การการ
วิทยา ทราเวล
ตอนที่ 3 ความคิดเห็น และขอ้ เสนอแนะ ท่องเที่ยว วทิ ยา ทราเวลซ่ึงมีผลการศึกษา ดงั น้ี
4.3 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู 5.1 ขอ้ มูลทวั่ ไปของผูต้ อบแบบสอบถามการ
ผูต้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็ นเพศหญิง
จํานวน 73 คน คิดเป็ นร้อยละ 55.3 ส่วนเพศชาย พ ัฒ น า เ ว็ บ ไ ซ ต์ วิ ท ย า ท ร า เ ว ล ไ ด้ จั ด ท ํา เ ว็ บ ไ ซ ต์
จาํ นวน 59 คิดเป็นร้อยละ 44.7 ที่เรียบง่ายไม่ซบั ซ้อน และสะดวกรวดเร็วต่อการใช้
ผูต้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง งานรองรับการแสดงผลบน หนา้ จออุปกรณ์เครือข่าย
31-40 ปี จาํ นวน 41 คน คิดเป็นร้อยละ 31.1 รองลงมา ไดท้ ุกเครือข่าย มีระบบการจดั การเน้ือหาบนเวบ็ ไซต์
คืออายุระหว่าง 41-50 ปี จาํ นวน 33 คน คิดเป็ นร้อย ท่ีสวยงามสบายตา ซ่ึงประกอบไปด้วยหัวข้อหลกั
ละ 25.0 ต่าํ กว่า 20 ปี จาํ นวน 24 คน คิดเป็ นร้อยละ ได้แก่หน้าแรกเว็บไซต์วิทยาทราเวล มีแถบ
18.2 อายรุ ะหวา่ ง 21-30 ปี จาํ นวน 22 คน คิดเป็นร้อย Home (หนา้ หลกั ) เขา้ สู่ระบบ สมคั รสมาชิก Search
ละ 16.7 อายุระหว่าง 51-60 ปี จํานวน 10 คน (คน้ หาสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ)และเภทสถานท่ีเท่ียว
คิดเปิ ดร้อยละ 7.6 และอายุ 60 ปี ข้ึนไป จาํ นวน 2 คน ได้แก่ เลือกภูมิภาค ภาคเหนื อ ภาคกลางภาค
คิดเป็นร้อยละ 1.5 ตามลาํ ดบั ตะวนั ออก ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ การ
ผลวิเคราะห์ข้อมูล พบว่าด้านท่ีมีความพึง สมัครสมาชิ กเพ่ือเข้าสู่ ระบบการจองสถานที่
พอใจมากท่ีสุด คือ ดา้ นประโยชน์และการนาํ ไปใช้ ท่ อ ง เ ท่ี ย ว โ ด ย มี ชื่ อ เ ว็ บ คื อ
(x� = 4.33, S.D. = 0.40) อยู่ในระดบั มาก รองลงมา https://tourservice.000webhostapp.com/webBC
คือด้านการจัดรูปแบบเว็บไซต์ (x�= 4.30, S.D. = shop1/index1.php

5.2 ความพึงพอใจที่มีต่อเวบ็ ไซตธ์ ุรกิจบริการ
การท่องเท่ียว วิทยา ทราเวล สรุปผลการวเิ คราะห์ของ
ผูท้ ี่เข้าเย่ียมชมเว็บไซต์ธุรกิจบริการ การท่องเท่ียว
วิทยา ทราเวล จาํ นวน 132 คน จาํ แนกตามเพศพบว่า
ผูต้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็ นเพศหญิง จาํ นวน
73 คน คิดเป็นร้อยละ 55.3 ส่วนเพศชาย จาํ นวน 59
คิดเป็นร้อยละ 44.7

สรุ ปผลการวิเคราะห์ของผู้ที่เข้าเยี่ยมชม
เว็บไซต์ธุรกิจบริการ การท่องเที่ยว วิทยา ทราเวล


การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานนกั ศกึ ษา
648 NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

จํานวน 132 คน จําแนกตามอายุพบว่า ผู้ตอบ
แบบสอบถามส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 31 – 40 ปี
จาํ นวน 41 คน คิดเป็ นร้อยละ 31.1 รองลงมาคืออายุ
ระหว่าง 41 – 50 ปี จาํ นวน 33 คน คิดเป็ นร้อยละ
25.0 ต่ํากว่า 20 ปี จํานวน 24 คน คิดเป็ นร้อยละ
18.2 อายุระหว่าง 21 – 30 ปี จาํ นวน 22 คน คิดเป็ น
ร้อยละ 16.7 อายุระหว่าง 51 – 60 ปี จาํ นวน 10 คน
คิดเปิ ดร้อยละ 7.6 และอายุ 60 ปี ข้ึนไป จาํ นวน 2 คน
คิดเป็ นร้อยละ 1.5 ตามลาํ ดบั ผลการศึกษาหาความ
พึงพอใจท่ีมีต่อการพัฒนาเว็บไซต์ธุรกิจบริ การ
การท่องเที่ยว วิทยา ทราเวล พบว่าผลการศึกษา
ในภาพรวม มีค่าเฉลี่ย 4.25 ระดับความพึงพอใจ
อยู่ใน ระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็ นรายด้าน พบว่า
ด้านประโยชน์และการนาํ ไปใช้ (x� = 4.33, S.D. =
0.40) มีระดับค่าความพึงพอใจ มากที่สุด ระดับ
ความพึงพอใจ มาก รองลงมา ดา้ นการจดั รูปแบบ
เวบ็ ไซต์ (x� = 4.30, S.D. = 0.42) ระดบั ความพึงพอใจ
มาก และข้อที่มีระดับความพึงพอใจ น้อยท่ีสุด
คือ ดา้ นการจองทวั ร์ (x� = 4.11, S.D. = 0.49)


การประชมุ วิชาการนําเสนอผลงานนักศึกษา
NCTechED-Student Workshop 2022 649

June 10,2022

การพฒั นาเวบ็ ไซต์ร้านโอชา ชาบู สาขาหนองคาย

บรรพต ตราชยั 1* และ ศตวรรษ ตาราษี2
บทคัดย่อ

การศึกษาคร้ังน้ีมีวตั ถปุ ระสงค์ เพื่อพฒั นาเวบ็ ไซตร์ ้านโอชา ชาบู สาขาหนองคาย และเพ่อื ศึกษาความพงึ พอใจท่ี
มีต่อการใชบ้ ริกการเวบ็ ไซตร์ ้านโอชา ชาบู สาขาหนองคาย โดยกลุ่มตวั อย่างท่ีใชใ้ นการศึกษาคร้ังน้ี ไดแ้ ก่ ผูท้ ่ีเขา้ ใชบ้ ริการ
เวบ็ ไซต์ร้านโอชา ชาบู สาขาหนองคาย จานวน 186 คน เป็ นการเลือกกลุ่มตวั อย่างแบบไม่เจาะจง โดยเครื่องมือท่ีใชใ้ น
การศึกษาคร้ังน้ี คือ เวบ็ ไซตร์ ้านโอชา ชาบู สาขาหนองคาย ท่ีพฒั นาดว้ ยโปรแกรม Visual Studio Code และแบบสอบถาม
ความพงึ พอใจท่ีมีต่อการพฒั นาเวบ็ ไซตร์ ้านโอชา ชาบู สาขาหนองคาย โดยใชส้ ถิติพรรณนาในการวิเคราะห์ขอ้ มูล

ผลการศึกษา พบวา่ ระดบั ความพงึ พอใจที่มีตอ่ การพฒั นาเวบ็ ไซต์ร้านโอชา ชาบู สาขาหนองคาย ภาพรวมอยู่ใน
ระดบั มากท่ีสุด เม่ือพิจารณารายดา้ น พบว่า ดา้ นท่ีมีความพึงพอใจมากที่สุด คือ ดา้ นเน้ือหาอยู่ในระดบั มากที่สุด รองลงมา
คือ ด้านการออกแบบและการจัดรูปแบบเว็บไซต์อยู่ในระดับมากที่สุด และด้านที่มีความพึงพอใจน้อยที่สุด คือ ด้าน
ประโยชนแ์ ละการนาไปใชอ้ ยใู่ นระดบั มากท่ีสุด
คาสาคัญ : เวบ็ ไซต์

1,2สาขาวชิ าคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วทิ ยาลยั การอาชีพหนองคาย สถาบนั การอาชีวศกึ ษาภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ 1
*บรรพต ตราชยั โทร +6973265539 อีเมล; [email protected]

NCTechEd D05-2022


การประชมุ วิชาการนาํ เสนอผลงานนักศึกษา
650 NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

TEMPERATURE MEASUREMENT WITH ALARM RECORDIND

Bunpot Trachai1* and Sttawat Talasi 2
ABSTRACT

This time of studying have purpose for improve about website of restaurant O-sha Shabu in Nongkhai
and for study satisfaction with using service website of restaurant O-sha Shabu in Nongkhai by sample group that
use in studying this time is people that use service website of restaurant O-sha Shabu in Nongkhai have quantity
186 people. These are choosing sample group as not specific by equipment that use in study this time is website of
restaurant O-sha Shabu in Nongkhai that improve by Visual studio code program and questionnaire of satisfaction
about improving of website the restaurant O-sha shabu in Nongkhai by use descriptive statistics in data analysis.

Result of studying find that level of satisfaction about improving website of restaurant O-sha shabu in
Nongkhai it’s high level when consider each aspect Find that aspect that have the most satisfaction is aspect of
content is the most level The second is design aspect and formatting of website in the most level and least
satisfaction aspect is benefit and putting in to use in the
Keywords : Website

1,2 Business Compute Nongkhai Industrial And Community Education College Nongkhai Province 43000
Institute of Vocational Education : Northeastern region 1
* Bunpot Trachai Tel. +6973265539 E-Mail ; [email protected]

NCTechEd D05-2022


1. บทนา การประชุมวชิ าการนําเสนอผลงานนกั ศกึ ษา
ในปัจจุบันโลกได้เปลี่ยนเป็ นยุคท่ีเต็มไปด้วย NCTechED-Student Workshop 2022 651

เทคโนโลยีคนในสมยั ก่อนบริโภคเพื่อให้มีชีวิตอยู่รอด June 10,2022
แต่ในปัจจุบนั การบริโภคน้นั เปล่ียนไป จากการบริโภค
เพ่ือดารงชีวิต เปล่ียนรูปแบบการบริโภคเพ่ือตอบสนอง เป็ นร้านท่ีคนอยากไปรับประทานอาหารมากที่สุดร้าน
ความตอ้ งการความสุขในการบริโภคมากย่ิงข้ึนและดว้ ย หน่ึง แรกเร่ิมร้านโอชา ชาบู สาขาหนองคาย ต่อมาไดม้ ี
สังคมที่เปลี่ยนแปลงไปเป็ นสังคมท่ีมีความสะดวกสบาย การขยายเพื่อรองรับทุกความตอ้ งการของแต่ละตลาดท่ี
มีแต่ความเร่งรีบ รวดเร็วและส่วนมากเร่ิมใช้ชีวิตอยู่คน มากข้ึน ร้านโอชา ชาบู สาขาหนองคาย ไดถ้ ือกาเนิดข้ึน
เดียวมากข้ึน คนส่วนมากจึงนิยมที่จะซ้ืออาหารกินจาก ในสไตล์เมนูท่ีหลากหลายมากข้ึน ซ่ึงไดร้ ับการตอบรับ
ร้านอาหารมากกว่าเสียเวลาซ้ือของจากตลาดไปทาอาหาร อยา่ งย่งิ ยวด ร้านโอชา ชาบู สาขาหนองคาย พยายามอยา่ ง
เองที่บา้ นซ่ึงร้านอาหารในปัจจุบนั ก็มีจานวนมากมาย ย่ิงท่ีจะ รักษามาตรฐานการ ดูแลลูกคา้ และคุณภาพของ
สร้างทางเลือกจานวนมากให้กบั ผบู้ ริโภค ร้านอาหารใน ท้งั อาหาร และ การบริการ เพื่อสร้างความพึงพอใจสูงสุด
ปัจจุบนั น้ีก็มีหลากหลายประเภท อาหารไทย อาหารจีน แก่ทุกคน และจะม่งุ มน่ั พฒั นา สร้างสรรค์ สิ่งท่ีดีในตลาด
อาหารญี่ป่ ุน อาหารนานาชาติเป็นตน้ ถา้ กล่าวถึงรูปแบบ ปัจจุบนั ท่ีร้านโอชา ชาบู สาขาหนองคาย ยงั ไม่มีเวบ็ ไซต์
การรับประธานอาหารท่ีมีแนวโน้มไดร้ ับความนิยมมาก สาหรับผูท้ ่ีตอ้ งการจองโต๊ะ หรือสั่งอาหารทางออนไลน์
ข้นึ เร่ือยๆ นนั่ ก็คืออาหารประเภทชาบู [2] ผู้จัดทาได้เล็งเห็นความสาคัญของลูกค้า จึงได้จัดทา
เวบ็ ไซต์ให้กบั ร้านโอชา ชาบู สาขาหนองคายข้ึนมา เพ่ือ
ชาบู (ญ่ี ป่ ุน: しゃぶしゃぶ โรมาจิ : ความสะดวกสบายของลูกคา้ มากข้ึน และสามารถทาให้
shabushabu) เป็ นอาหารญ่ีป่ ุนประเภทหมอ้ ไฟแบบหน่ึง ระบบการขายที่ร้านโอชา ชาบู สาขาหนองคายทนั สมยั
คลา้ ยกบั สุก้ียาก้ี มีส่วนผสมต่าง ๆ เช่น ผกั เน้ือห่นั บาง ๆ ต่อยคุ สมยั ตามยคุ ปัจจุบนั [4]
และอาหารทะเล โดยการปรุงจะนาวตั ถุต่าง ๆ เหล่าน้ีจุ่ม
แช่ลงในน้าเดือด หรือน้าซุป และปล่อยทิ้งไว้สักพัก 2. วตั ถปุ ระสงค์ของการวิจัย
จากน้นั นาส่วนผสมอย่างอื่น เช่น เตา้ หู้ บะหมี่ ลงตุ๋นให้ 2.1 เพื่อพัฒนาเว็บไซต์ร้านโอชา ชาบู สาขา
เข้ากัน แล้วรับประทานโดยจุ่มลงในซอส อาหาร
ประเภทชาบูเป็ นอาหารท่ีเราสามารถเลือกรับประทาน หนองคาย ท่ีสามารถใชง้ านไดจ้ ริง
อาหารได้หลากหลาย และยงั สามารถทานได้นาน ใน 2.2 เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผูใ้ ช้บริการท่ีมี
ประเทศไทย เริ่มมีวฒั นธรรมการกินชาบูมากข้ึนเรื่อยๆ
สังเกตไดจ้ ากปริมาณร้านชาบู ซ่ึงมีหลายระดบั ราคา ตาม ต่อเวบ็ ไซตร์ ้านโอชา ชาบู สาขาหนองคาย
เมนูท่ีอยู่ในร้านชาบูในแต่ละท่ี ส่วนมากจะเป็นอาหารที่
อยู่ในระดบั ท่ีมีคุณภาพสูง ซ่ึงแสดงให้เห็นว่าชาบูเร่ิมท่ี 3. ขอบเขตของโครงการการศึกษาค้นคว้า
จะกลายเป็นวฒั นธรรมที่คนไทยนิยมมากข้ึนในปัจจุบนั 3.1 ขอบเขตการสร้างเวบ็ ไซต์
(https://th.wikipedia.org/wikiชาบชู าบู) [3]
การศึกษาคร้ังน้ีผูว้ ิจยั ทาการศึกษาเก่ียวกบั ความพึงพอใจ
ร้านโอชา ชาบู สาขาหนองคายเปิ ดใหบ้ ริการในปี ของผูบ้ ริโภคที่มีต่อเว็บไซต์ของร้านโอชา ชาบู สาขา
พ.ศ. 2560 และภายในเวลาไม่ก่ีปี ร้านโอชา ชาบู สาขา หนองคาย โดยใช้วัสดุอุปกรณ์ และเครื่ องมือหรื อ
หนองคาย ไดข้ ยายสาขาท่ี 2 ย่ิงไปกว่าน้นั ไดช้ ื่อว่าเป็ น โปรแกรมที่ใชใ้ นการทาเวบ็ ดงั น้ี
ร้านชาบูที่อร่อยลาดบั ตน้ ๆของจังหวดั หนองคาย และ
3.2 ขอบเขตของการวจิ ยั
NCTechEd D05-2022 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง หมายถึง ผูเ้ ข้าใช้บริการ
เวบ็ ไซตร์ ้านโอชา ชาบู สาขาหนองคาย จานวน 186 คน


การประชมุ วชิ าการนําเสนอผลงานนกั ศกึ ษา หาขอ้ มูลได้ รวดเร็ว โดยที่การจดั หาไดอ้ ย่างเหมาะสม
652 NCTechED-Student Workshop 2022 และมีการจัดรูปแบบตัวอกั ษรเพ่ือให้เน้ือหาดูน่าสนใจ
และอ่าน ไดง้ ่าย สะดวกและชดั เจนส่วนทา้ ยเป็นบริเวณ
June 10,2022 ให้ขอ้ มูลเพิ่มเติมเก่ียวกบั เน้ือหาและเวบ็ ไซต์ รวมถึงลิงค์
ต่างๆที่เก่ียวขอ้ ง มีการเลือกใช้ตวั อกั ษรท่ีอ่านง่าย โดย
4. วิธีดาเนินการวจิ ยั ชนิดของตวั อกั ษร คือ MS San serif เว็บไซต์ร้านโอชา
4.1. ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง ท่ีใชใ้ นการศึกษา ชาบู สาขาหนองคาย ประกอบไปดว้ ยเน้ือหา 4 หัวขอ้ ท่ี
สาคญั รายละเอียด คือ หน้าแรก เก่ียวกับเรา ผลงาน
คน้ ควา้ ในคร้ังน้ี ไดแ้ ก่ ผเู้ ขา้ ใชบ้ ริการเวบ็ ไซต์ ร้านโอชา ติดต่อ
ชาบู สาขาหนองคาย จานวน 186 คน
5.2.2 ความพึงพอใจในภาพรวมแลว้ อยู่ในระดบั
4.2 จดั ทาแบบสอบถามเพ่ือหาความพึงพอใจต่อ มากท่ีสุด (x̅ = 4.91, S.D. = 0.30) เมื่อพิจารณารายด้าน
การใชเ้ วบ็ ไซต์ ร้านโอชา ชาบู สาขาหนองคาย พบว่าด้านที่มีค่ามากท่ีสุด คือ ด้านเน้ือหา อยู่ในระดบั
มากที่สุด (x̅ = 3.93, S.D. = 0.21) รองลงมา คือดา้ นการ
4.3 เครื่องมือทใ่ี ชใ้ นการศึกษาวิจยั คร้ังน้ี ผวู้ จิ ยั ใช้ ออกแบบและจดั รูปแบบเวบ็ ไซต์ อยู่ในระดบั มากที่สุด
แบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรียน (x̅ = 4.91, S.D. = 0.32) ถดั มาคือ ดา้ นประสิทธิภาพของ
แบง่ ออกเป็น 4 ตอนดงั น้ี สินคา้ อยูใ่ นระดบั มากที่สุด (x̅= 4.90, S.D. = 0.32) และ
ดา้ นท่ีมีค่าความพอใจน้อยท่ีสุด คือด้านประโยชน์และ
ตอนที่ 1 ขอ้ มลู ส่วนตวั ของผตู้ อบแบบสอบถามที่ ก า ร น า ไ ป ใ ช้ อ ยู่ ใ น ร ะ ดับ ม า ก ที่ สุ ด (x̅ = 4.88,
มีตอ่ เวบ็ ไซตร์ ้านโอชา ชาบู สาขาหนองคาย S.D. = 0.36)

ในส่วนน้ีเป็นการนาเสนอผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู 6. อภปิ รายผล
ทวั่ ไปเก่ียวกบั สถานภาพของผตู้ อบแบบสอบถาม ไดแ้ ก่ ผลการอภิปรายและการประเมินค่าเฉล่ียรวมทุก
เพศ และสถานภาพ ของผตู้ อบแบบสอบถาม
ดา้ นในภาพรวมอยู่ในระดบั มาก ซ่ึงแสดงให้เห็นว่าการ
ตอนท่ี 2 ขอ้ มูลส่วนตวั ของผตู้ อบแบบสอบถามท่ี จัดทาโครงการในคร้ังน้ี ได้จัดทาเป็ นการสาเร็ จ
มีต่อเวบ็ ไซตร์ ้านโอชา ชาบู สาขาหนองคาย ในส่วนน้ี โดยสามารถเข้าใช้บริการเว็บไซต์เว็บร้านโอชา ชาบู
เป็นการนาเสนอผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูลทว่ั ไปเกี่ยวกบั สาขาหนองคาย ผูศ้ ึกษาไดอ้ อกแบบหน้าเว็บไซต์ให้มี
สถานภาพของผตู้ อบแบบสอบถาม ไดแ้ ก่ เพศ และ รูปแบบที่เรียบง่ายไม่ซับซ้อนและใช้งานไดส้ ะดวก ใช้
สถานภาพ ของผตู้ อบแบบสอบถาม งานไดง้ ่าย และสามารถเขา้ ถึงได้ สะดวกและรวดเร็ว มี
การแบ่งส่วนหนา้ ของเวบ็ ไซต์ ออกเป็นส่วนหวั หนา้ แรก
4.4 สถิติที่ใชใ้ นการวเิ คราะหข์ อ้ มลู [4] ชื่อเว็บไซต์ โลโก้ ส่วนของเน้ือหาข้อความมีความ
4.4.1 สถิติพ้ืนฐาน กะทดั รัด ชดั เจน มีการจดั อย่างเป็ นระเบียบ เพื่อให้มอง
4.7.1.1 คา่ ร้อยละ (%) หาขอ้ มูลได้ รวดเร็ว โดยท่ีการจดั หาไดอ้ ย่างเหมาะสม
4.7.1.2 คา่ เฉลี่ยเลขคณิต x̅ และมีการจัดรูปแบบตัวอกั ษรเพ่ือให้เน้ือหาดูน่าสนใจ
4.7.1.3 ส่ วนเบ่ี ยงเบนมาตรฐาน ( S.D.) และอ่าน ไดง้ ่าย สะดวกและชัดเจนส่วนทา้ ยเป็นบริเวณ
4.7.1.4 คา่ สัมประสิทธ์ิการกระจาย (C.V) ให้ขอ้ มูลเพิ่มเติมเกี่ยวกบั เน้ือหาและเวบ็ ไซต์ รวมถึงลิงค์

5. สรุปผลการวิจยั
การจัดทาโครงการในคร้ังน้ี ได้จัดทาเป็ นการ

สาเร็จ โดยสามารถเขา้ ใชบ้ ริการเวบ็ ไซต์ร้านโอชา ชาบู
สาขาหนองคาย ผูศ้ ึกษาไดอ้ อกแบบหน้าเว็บไซต์ให้มี
รูปแบบท่ีเรียบง่ายไม่ซับซ้อนและใช้งานไดส้ ะดวกใช้
งานไดง้ ่าย และสามารถเขา้ ถึงได้ สะดวกและรวดเร็ว มี
การแบ่งส่วนหนา้ ของเวบ็ ไซต์ ออกเป็นส่วนหวั หนา้ แรก
ชื่อเว็บไซต์ โลโก้ ส่วนของเน้ือหาข้อความมีความ
กะทดั รัด ชัดเจน มีการจดั อย่างเป็นระเบียบ เพื่อให้มอง

NCTechEd D05-2022


ต่างๆท่ีเกี่ยวขอ้ ง มีการเลือกใช้ตวั อกั ษรที่อ่านง่าย โดย การประชมุ วิชาการนาํ เสนอผลงานนกั ศึกษา
ชนิดของตัวอกั ษร คือ MS San serif เว็บไซต์ร้านโอชา NCTechED-Student Workshop 2022 653
ชาบู สาขาหนองคาย ประกอบไปดว้ ยเน้ือหา 4 หัวขอ้ ท่ี
สาคญั รายละเอียด คือ หน้าแรก เก่ียวกับเรา ผลงาน June 10,2022
ติดต่อเรา
[4] น้าใสดอทคอม, (2563), “ อินเตอร์เน็ตมีประวตั ิ
7. ข้อเสนอแนะสาหรับการศึกษาคร้ังต่อไป ความเป็นมายา่ งไร, “[ออนไลน์]
7.1 ผู้ศึกษาควรเพ่ิมช่องทางการปริ้นใบเสร็จ https://www.numsai.com/computer-
article/computer-network.html.
การส้ังซ้ือสินค้าในเว็บไซต์ ร้านนโอชา ชาบู สาขา (เขา้ ถึงเมื่อ : 24 ธนั วาคม 2563).
หนองคาย
[5] ปิ ยะวฒั นา, (2560), “ แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกบั
7.2 ผูศ้ ึกษาสามารถใช้โปรแกรมอ่ืนท่ีมีลูกเล่น ความพึงพอใจ, “[ออนไลน์]
ต่าง ๆ เพ่ิมเติมเพ่ือให้ส่ือมีความสวยงามและน่าสนใจ https://www. gotoknow.org/posts/492000.
มากยิง่ ข้นึ (เขา้ ถึงเมื่อ : 26 ธนั วาคม 2563).

7.3 ควรศึกษาเก่ียวกบั เว็บไซต์อย่างต่อเน่ืองเพ่ือ [6] เพญ็ นภา จุมพลพงษ,์ (2560), “ การพฒั นา
พฒั นาการเขียนเว็บต่อไป เพ่ือให้เกิด ประโยชน์แก่ผู้ เวบ็ ไซตเ์ พอื่ ส่งเสริมการท่องเท่ียวอยา่ งยง่ั ยืน
ศึกษาระบบเพ่ือความเขา้ ใจและมีแนวคิดในการพฒั นา จงั หวดั ลพบุรี, “[ออนไลน์]
เวบ็ ไซตใ์ หส้ มบูรณ์มากยง่ิ ข้นึ http://research.pbru.ac.th/PBRUResearch2017/
registration/files/316010008XXXXX_
8. เอกสารอ้างอิง 20171125_191748.pdf.
[1] SKYLARK GROUP All rights reserved, (เขา้ ถึงเม่ือ : 28 ธนั วาคม 2563).

“[ออนไลน์] [7] มณีวรรณ ภูมิภาค, (2559),
https://www.skylark.co.jp/th/syabuyo/ “ เครือขา่ ยอินเทอร์เนต็ , “[ออนไลน์]
syabusyabu/index.html. https://kroojeabtechno. wordpress.com.
(เขา้ ถึงเมื่อ : 7 มกราคม 2564). (เขา้ ถึงเมื่อ : 26 ธนั วาคม 2563).
[2] “[ออนไลน์] Benzneststudioshttps :
//benzneststudios.com/blog/php/php- [8] รพวี รรณ์ พิมพจ์ นั ทร์, (2557), “ขนาดของกลุ่ม
programming-basic-1-basic/. ตวั อยา่ งที่เหมาะสม, “[ออนไลน์]
(เขา้ ถึงเมื่อ : 28 ธนั วาคม 2563). https://sites.google.com/site/bb24559r/khnad-
[3] คลงั ความรู้ ศูนยบ์ รรณสารสนเทศ khxng-klum-tawxyang-thi-sm.
มหาวิทยาลยั หวั เฉียวเฉลิมพระเกียรติ, (2562), (เขา้ ถึงเม่ือ : 6 ธนั วาคม 2563).
“ การทาแบบประวตั ิอินเทอร์เนต็ , “[ออนไลน์]
http://www.bkp-ssk.ac.th/html/001.htm. [9] วราพร กาลงั งาม, (2560), “การพฒั นาเวบ็ ไซต์
(เขา้ ถึงเม่ือ : 16 สิงหาคม 2564). สาขาวิชาคณิตศาสตร์, “[ออนไลน์]
http://www.sci.rmutt.ac.th/math/wp-
content/uploads/2018/03/.pdf.
(เขา้ ถึงเมื่อ : 27 ธนั วาคม 2563).

NCTechEd D05-2022


การประชมุ วชิ าการนําเสนอผลงานนักศกึ ษา
654 NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

[10] ศิริชยั กาญจนวาสี, (2558), “การเลือกใชส้ ถิติท่ี
เหมาะสมสาหรับการวิจยั ทางสังคมศาสตร์,
“[ออนไลน์]
Available: https://portal.edu.chula.ac.th/pub/
jrm/index.php/jrm/article/view/245.
(เขา้ ถึงเม่ือ : 26 ธนั วาคม 2563).

[11] ศิริพล แสนบญุ ส่ง, (2559), “การพฒั นาเวบ็ ไซต์
คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั
พระนครศรีอยธุ ยา ดว้ ยระบบบริหารจดั การ
เน้ือหาบนเวบ็ ไซต,์ “[ออนไลน์]
https://so02.tcithaijo.org/index.php/
JournalGradVRU.
(เขา้ ถึงเม่ือ : 28 ธนั วาคม 2563).

[12] อาอุน ไทย บริษทั ดา้ น SEM จากญี่ป่ ุน, (2564),
“ WordPress คืออะไร? , “[ออนไลน์]
https://seo-web.aun-thai.co.th/blog/web-blog-
wordpress.
(เขา้ ถึงเม่ือ : 7 มกราคม 2564).

NCTechEd D05-2022


การประชมุ วชิ าการนําเสนอผลงานนกั ศึกษา
NCTechED-Student Workshop 2022 655

June 10,2022

การพฒั นาระบบเวบ็ แอพพลเิ คช่ันเชค็ สต็อกสนิ ค้ารา้ นมหาชยั อุดรธานี

ธเนศ บวั โรย1* ภรู ณิ ัฐ สรุ วทิ ย2์ และ เศรษฐศกั ด์ิ โสภาพร3

บทคัดย่อ

การพัฒนาเว็บแอพลิเคชั่นระบบเช็คสต็อกสินค้าร้านมหาชัยอุดรธานี มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาเว็บ
แอพลิเคชั่นระบบเช็คสต๊อกสินค้าร้านมหาชัยอดุ รธานี 2) เพื่อศึกษาผลการประเมนิ คุณภาพที่มีตอ่ เวบ็ แอพพลิเคช่ัน
ระบบเช็คสต็อกสินคา้ รา้ นมหาชัยอุดรธานีโดยผู้เชยี่ วชาญ 3) เพอ่ื ศกึ ษาความพงึ พอใจของพนักงานท่มี ีต่อการพัฒนา
เว็บแอพลิเคชันเช็คสต๊อกสินค้าร้านมหาชัยอุดรธานี กลุ่มเป้าหมายในการวิจัยครั้งนี้ คือพนักงานสต็อกสินค้า ร้าน
มหาชัยอุดรธานี จำนวน 15 คน เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยได้แก่ 1) เว็บแอพพลิเคชั่นระบบเช็คสต็อกสินค้าร้าน
มหาชัยอุดรธานี 2) ผลการประเมินคุณภาพที่มีต่อเว็บแอพพลิเคชั่นระบบเช็คสต็อกสินค้าร้านมหาชัยอุดรธานีโดย
ผู้เชี่ยวชาญ 3) แบบประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้งานที่มีต่อเว็บแอพพลิเคชั่นระบบเช็คสต็อกสินค้าร้านมหาชัย
อดุ รธานี โดยการวิเคราะห์ใช้ข้อมูลสถติ ิ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย (x̅) และค่าสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D.)

ผลการวิจยั พบว่า
1. ผลการประเมินคุณภาพเว็บแอพพลิเคชั่นระบบเช็คสต็อกสินค้าร้านมหาชัยอุดรธานีพบว่า

ผเู้ ช่ยี วชาญมีความคดิ เห็นต่อระบบทีพ่ ัฒนาข้นึ อยใู่ นระดบั มาก (x̅= 4.47, SD. = 0.70)
2. ผลการประเมินความพึงพอใจขชองผู้ใช้งานเว็บแอพพลิเคชั่นระบบเช็คสต็อกสินค้าร้านมหาชัย

อุดรธานี การประเมินความพึงพอใจมีทั้งหมด 4 ด้าน พบว่า โดยภาพรวมความพึงพอใจอยู่ในระดับ มากที่สุด
(x̅= 4.59, SD. = 0.71)

คำสำคญั : : เวบ็ แอพพลเิ คชัน่ ระบบเชค็ สต็อกสินคา้

1,2 ,3สาขาคอมพวิ เตอรธ์ รุ กจิ วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาอดุ รธานี สถาบนั การอาชวี ศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1
*เศรษฐศักด์ิ โสภาพร โทร 0628832598 อเี มล; [email protected]

NCTechED D06-2022


การประชมุ วชิ าการนาํ เสนอผลงานนกั ศึกษา
656 NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

WEB APPLICATION DEVELOPMENT STOCK CHECK SYSTEM FOR
MAHACHAI UDONTHANI

Thanat buario1 Phurinut Surawit2 and Sadtasuk Sophaporn3

ABSTRACT

Developing a web application for a stock check system at Mahachai Udon Thani stores. Objectives
1) to develop a web application for a stock check system at Mahachai Udon Thani stores 2) to study the results of
quality assessment on a web application of a stock check system at Mahachai Udon Thani stores by an expert
3) To study the satisfaction of employees towards the development of a web application to check stocks at Mahachai
Udon Thani stores. The target group in this research There were 15 employees of Mahachai Udon Thani store. The
tools used in the research were 1) web application for stock checking system at Mahachai Udon Thani stores. 2)
Quality assessment results on web applications. Application of the system to check the stock of Mahachai Udon
Thani stores by experts. 3) The satisfaction assessment form of users towards the web application of the Mahachai
Udon Thani store stock check system. The analysis was done using statistical data, percentage, mean (x̅) and
standard deviation (S.D.) The results showed that 1. The results of the assessment of the quality of web applications
of the stock checking system at Mahachai Udon Thani stores found that the experts' opinions on the developed
system were at a high level (x̅= 4.47, SD. = 0.70) 2. The results of the satisfaction assessment of the users of the
web application of the Mahachai Udon Thani store stock check system. There were 4 aspects of satisfaction
assessment. It was found that overall satisfaction was at the highest level (x̅= 4.59, SD. = 0.71).

Keywords: Web application , Stock check system

1,2,3 Field of Program Business Computer , Udonthani Vocational College of Vocational Education Northeastern Region 1*
Sadtasuk Sophaporn Tel. 0628832590 E-Mail ; [email protected]

NCTechED D06-2022


1.บทนำ การประชุมวชิ าการนาํ เสนอผลงานนักศึกษา
จากการเปลี่ยนแปลงของโลกปัจจุบันทุกด้าน NCTechED-Student Workshop 2022 657

ส่งผลให้การบริการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ June 10,2022
จำเป็นต้องก้าวทันกับการเปลี่ยนแปลงของข้อมูล
ข่าวสาร โดยเฉพาะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ การรา้ น การเกบ็ ข้อมูลตา่ ง ๆ ของสินคา้ ได้มากข้ึนมา
เจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว ในอนาคตข้างหน้าการ ช่วยอำนวยความสะดวก และเก็บข้อมูลต่าง ๆ ให้
เปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยี ประกอบไปด้วย สมบรู ณ์ อีกทัง้ รวบรวมขอ้ มูลไดอ้ ย่างเปน็ ระบบ
เทคโนโลยีพกพา (Mobile) เครือข่ายสังคมออนไลน์
(Social Network) การประมวลผลแบบก้อนเมฆ ร้านมหาชัยอุดรธานี ในปัจจุบันยังมีการเช็ค
(Cloud Computing) และเทคโนโลยีจัดการข้อมูล สต็อกสินค้าในรูปแบบที่พนักงานต้องเข้าไปเช็ค
จำนวนมหาศาล (Big Data) ก่อให้เกิดการยกระดับ สินค้าด้วยตนเอง จึงการเกิดปัญหาการเช็คสินค้าไม่
ในการพัฒนาประเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศและ ตรงกับยอดขาย ปัญหาสินค้าขาดหาย รวมถึงการสั่ง
การสื่อสารเป็นพื้นฐานสู่การ ขับเคลื่อนด้านต่าง ๆ สินค้าเข้ามาขายไม่มีกี่กำหนดสินค้าที่ชัดเจน และ
ของโลก [1] ทั้งในด้านสังคมอุตสาหกรรมเศรษฐกิจ ปัญหาอ่นื ๆ เชน่ จำนวนสนิ ค้าขายไม่ตรงกับจำนวน
การศึกษาและวัฒนธรรม ทำให้มีการกำหนดร่วมกัน รายรับ จึงทำให้ข้อมูลไม่ตรงและเกิดปัญหาขาดทุน
ว่ายุคปัจจุบันคือยุคของสังคมสารสนเทศ ยุคของ อยู่บ่อยครงั้
สังคมข้อมูลข่าวสาร หรือ เป็นยุคของเศรษฐกิจแห่ง
ภูมิปัญญาและการเรียนรู้ ส่งผลให้มีความก้าวหน้า ดังนั้น ผู้วิจัยจึงเกิดแนวคิดในการพัฒนาเว็บแอ
ทางเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นอย่างมาก ทางธุรกิจ พลิเคชันระบบเช็คสต๊อกสินค้าร้านมหาชัยอุดรธานี
ในประเทศไทยนั้น มีการพัฒนาเพิ่มมากข้ึน เพื่อใช้สำหรับการแก้ไขปัญหาการบริหารร้านและ
ผู้ประกอบการธุรกิจต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นธุรกิจขนาด เก็บข้อมูล เช็คข้อมูลต่าง ๆ รวมไปถึงการอำนวย
ใด ย่อมต้องสร้างหนทางหรือวิธีการในการที่จะอยู่ ความสะดวกในการเช็คสต๊อกข้อมูลสินค้าที่รวดเร็ว
รอดในการทำธรุ กจิ หากผู้ประกอบธุรกิจใดทห่ี ยุดนิ่ง ครบวงจร อำนวยความสะดวกสบายให้กับผู้บริหาร
หรือขาดการพัฒนาแล้วก็มีโอกาสที่จะถูกผู้แข่งขัน พนักงาน และช่วยลดปญั หาต่าง ๆ ไดม้ ากข้ึน
ตา่ ง ๆ ทำใหอ้ อกจากการแข่งขันได้
2. วัตถุประสงค์การวิจยั
ระบบสารสนเทศเป็นกระบวนการ 2.1 เพื่อพัฒนาเว็บแอพลิเคชั่นระบบเช็คสต๊อกสินค้า
ประมวลผลข้อมูลข่าวสาร เพื่อความสะดวกในการ รา้ นมหาชยั อุดรธานี
เรียกใช้และเป็นประโยชน์ต่อการตัดสินใจของ
ผู้บริหาร สนับสนุนการทำงานขององค์กร เป็นการ 2.2 เพื่อศึกษาผลการประเมินคุณภาพที่มีต่อการ
ใช้ระบบสารสนเทศเพื่อประกอบการทำงานตาม พฒั นาเวบ็ แอพลเิ คช่นั ระบบเชค็ สต๊อกสินค้า
ภาระหน้าที่ขององค์กร สนับสนุนการตัดสินใจใน ร้านมหาชัยอุดรธานีโดยผู้เชี่ยวชาญ
ระดับต่าง ๆ ช่วยในการวิเคราะห์ปัญหาและหา
ทางแก้ไขปัญหานั้น ช่วยเพิ่มมาตรฐานการบริหาร 2.3 เพื่อศึกษาความพึงพอใจของพนักงานที่มีต่อ
การพฒั นาเว็บแอพลิเคช่นั ระบบเชค็ สตอ๊ กสนิ คา้
NCTechED D06-2022 ร้านมหาชัยอุดรธานี

3. วิธีดำเนนิ งานวิจยั
การพัฒนาเว็บแอพลิเคชั่นระบบเช็คสต๊อกสินค้าร้าน
มหาชัยอุดรธานี ผู้วิจัยได้ดำเนินการตามลำดับ
ขนั้ ตอน ดังนี้


การประชุมวชิ าการนาํ เสนอผลงานนกั ศึกษา 2. ผลจากการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้รับ
658 NCTechED-Student Workshop 2022 แบบสอบถามประเมินความพึงพอใจคืน จำนวน 15
ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 100 ของแบบสอบถามที่ส่งไป
June 10,2022 ท้ังหมด

3.1 กลุม่ เปา้ หมาย 3. รวบรวมแบบสอบถามทั้งหมดที่ได้ มา
กลุ่มเป้าหมายในการวิจัยครั้งนี้ คือ พนักงานเช็ค ดำเนินการตามข้ันตอนการวิจัยต่อไป
สต็อกสินคา้ รา้ นมหาชัยอุดรธานี จำนวน 15 คน
3.2 เครอื่ งมือทีใ่ ช้ในการวจิ ยั 3.5 การวิเคราะห์ข้อมูล
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ผู้วิจัยได้ทำการพัฒนา การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ทำการวิเคราะห์ข้อมูล
เว็บแอพลิเคชันระบบเช็คสต๊อกสินค้าร้านมหาชัย
อุดรธานี ดังน้ี โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการวิเคราะห์ข้อมูล
3.2.1 เว็บแอพลิเคชันระบบเช็คสต๊อกสินค้าร้าน ดังนี้
มหาชัยอดุ รธานี
3.2.2 แบบประเมินคุณภาพที่มีต่อการพัฒนาเว็บ 3.5.1 การวิเคราะหข์ ้อมลู
แอพลิเคชันเช็คสต๊อกสินค้าร้านมหาชัยอุดรธานโี ดย 1) การวิเคราะห์คุณภาพเครื่องมือ ได้แก่ ค่า
ผู้เชีย่ วชาญ
3.2.3 แบบสอบถามความพึงพอใจของพนักงานที่ ความเท่ยี งตรงเชิงข้อมลู
มีต่อเว็บแอพลิเคชั่นระบบเช็คสต๊อกสินค้าร้าน 2) การวิเคราะห์สถิติ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (Mean)
มหาชยั อดุ รธานี
3.3 การสรา้ งและการหาคุณภาพเคร่ืองมอื ค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
3.3.1 ผู้วิจัยได้พัฒนาเว็บแอพลิเคชันระบบเช็คส 3.5.2 การแปลผล
ต๊อกสินค้าร้านมหาชัยอุดรธานี โดยใช้การพัฒนา 1) ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา ( Content
ระบบ (Systems Development Life Cycle : SDLC)
ของ (Michael Howard :2005) ตามข้ันตอน ดงั นี้ Validity) เป็นความสอดคล้องระหว่างเนื้อหาสาระ
(1) ค้นหาและเลือกสรรโครงการ ( Project ของเครื่องมือที่สร้างขึ้นกับเนื้อหาสาระของสิ่งที่
Identification and Selection) ต้องการจะวัด จะใช้วิธีการวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล
(2) จดั ต้ังและวางแผนโครงการ (Project Initiating ตามดุลยพินิจของผู้เชี่ยวชาญ โดยใช้ดัชนีความ
and Planning) สอดคล้อง (Index of Item Objective Congruence :
(3) วิเคราะห์ระบบ (Analysis) IOC) ข้อคำถามทม่ี คี วามเทยี่ งตรงตามเนื้อหาควรมีค่า
(4) ออกแบบเชงิ ตรรกะ (Logical Design) IOC ตั้งแต่ 0.66 ข้นึ ไป
(5) ออกแบบเชงิ กายภาพ (Physical Design)
(6) ติดตง้ั ระบบ (System Implement) 2) คะแนนความพึงพอใจของผู้เข้าใช้งานที่มี
(7) ซ่อมบำรุงระบบ (System Maintenance) ต่อเว็บแอพพลิเคชั่นระบบเช็คสต็อกสินค้าร้าน
3.4 การเก็บรวบรวมข้อมลู มหาชัยอุดรธานี โดยกำหนดค่าระดับคะแนนเป็น
1. รวบรวมขอ้ มลู จากการใช้แบบสอบถาม แบบมาตรประมาณคา่ 5 ระดบั
ประเมนิ ความพงึ พอใจของกลมุ่ เปา้ หมาย คือ
พนักงานเชค็ สต็อกสนิ คา้ ร้านมหาชัยอุดรธานี 4. ผลการดำเนนิ โครงการ
จำนวน 15 คน การพัฒนาเว็บแอพลิเคชันระบบเช็คสต๊อกสินค้า

NCTechED D06-2022 ร้านมหาชัยอุดรธานี ผู้วิจัยได้ทำการนำเสนอผลการ
ว ิ เ ค ร า ะ ห ์ ข ้ อ ม ู ล แ ล ะ ว ั ต ถ ุ ป ร ะ ส ง ค ์ ด ั ง น้ี

ผลการวิเคราะห์แบบประเมินคุณภาพของการ


พัฒนาเว็บแอพลิเคชันระบบเช็คสต๊อกสินค้าร้าน การประชมุ วิชาการนาํ เสนอผลงานนกั ศึกษา
มหาชยั อุดรธานี โดยผเู้ ชย่ี วชาญ โดยภาพรวม NCTechED-Student Workshop 2022 659

จากตาราง ผลการประเมินการพัฒนาเว็บแอพลิเค June 10,2022
ชันระบบเช็คสต๊อกสินค้าร้านมหาชัยอุดรธานี
โดยผู้เชี่ยวชาญ พบว่าผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 ท่าน ผ้เู ชย่ี วชาญมีความคิดเห็นตอ่ ระบบทพี่ ฒั นาอย่ใู น
โดยภาพรวมอยู่ในระดับคุณภาพ มาก (x̅= 4.47, ระดับ มาก (x̅= 4.47, S.D. = 0.70)
S.D. = 0.70)
5.1.2 ผลการประเมินความพึงพอใจของ
ผ ล ก า ร ป ร ะ เ ม ิ น ค ว า ม พ ึ ง พ อ ใ จ ท ี ่ ม ี ต ่ อ เ ว็ บ ผู้ใช้งานเว็บแอพพลิเคชั่นระบบเช็คสต็อกสินค้าร้าน
แอพพลิเคชั่นระบบเช็คสต็อกสินค้าร้านมหาชัย มหาชัยอดุ รธานี การประเมนิ ความพงึ พอใจท้ังหมดมี
อดุ รธานี โดยภาพรวม 4 ด้าน พบว่า โดยภาพรวมความพึงพอใจอยู่ในระดับ
มากทีส่ ุด (x̅= 4.59, S.D. = 0.71)
จากตารางผลการประเมินความพึงพอใจที่มีต่อ
เว็บแอพพลิเคชั่นระบบเช็คสต็อกสินค้าร้านมหาชัย 6. อภิปรายผล
อุดรธานี โดยพนักงานสต็อกสินค้า 15 คน ภาพรวม 6.1 ผลการวิเคราะห์ แบบประเมินคุณภาพเว็บ
อย่ใู นระดับคุณภาพ มากท่ีสุด (x̅= 4.59, S.D. = 0.71)
แอพพลิเคชันระบบเช็คสต็อกสินค้าร้านมหาชัย
5. สรุปผลการดำเนนิ โครงการ อุดรธานี โดยผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 3 ท่าน พบว่า
ในการจัดทำการพฒั นาเวบ็ แอพลเิ คชนั ระบบ ผู้เชี่ยวชาญมีความคิดเห็นต่อเว็บแอพพลิเคชั่นระบบ
เช็คสต็อกสินคา้ ร้านมหาชัยอดุ รธานีทผ่ี ู้วจิ ัยสรา้ งและ
เช็คสต๊อกสนิ คา้ ร้านมหาชยั อดุ รธานี เพอ่ื สรปุ ผล ออกแบบขึ้นอยู่ในระดับมาก เนื่องจากผู้เชี่ยวชาญมี
อภปิ รายและ ขอ้ เสนอแนะ ตามหัวขอ้ ดังต่อไปน้ี ความเชี่ยวชาญในเรื่องการพัฒนาระบบเว็บแอพ
พลิเคชนั โดยตรง จงึ ทำใหเ้ วบ็ แอพพลิเคชนั่ ระบบเช็ค
5.1. สรุปผลการวจิ ัย สต็อกสินค้าร้านมหาชัยอุดรธานี ที่มีคุณภาพ
5.1.1 ผลการประเมินคุณภาพเวบ็ แอพพลิเคชัน่ สอดคล้องกลับผลการวิจัยของ [2] อภิชาต เหล็กดี
ระบบเช็คสต็อกสนิ คา้ ร้านมหาชัยอดุ รธานี พบว่า ได้ศึกษาคุณภาพแอพพลิเคชั่นเพื่อการเผยแพร่
ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นในจังหวัดมหาสารคาม โดย
NCTechED D06-2022 เฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย = 4.53 และส่วน
เบ่ียงเบนมาตรฐาน = 0.25) เม่อื พิจารณารายข้อพบว่า
โดยเฉลี่ยอยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย =
4.33 - 4.67 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.58 –
1.15)

6.2 ผลการวิเคราะห์ แบบประเมินความพึงพอใจ
ที่มีต่อเว็บแอพพลิเคชั่นระบบเช็คสต็อกสินค้าร้าน
มหาชัยอุดรธานี การประเมินความพึงพอใจมีทั้งหมด
4 ด้าน พบว่า โดยภาพรวมอยู่ในระดับความพึงพอใจ
มากที่สุด สอดคล้องกับงานวิจัยของ [3] อนุชา จ่า
สิงห์ และ ณัฐพงศ์ พลสยม ได้ทำการวิจัย เรื่อง การ
พัฒนาระบบศิษย์เก่าออนไลน์ สาขาวิชาเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยราชภัฎ
มหาสารคาม มีวัตถุประสงค์ 1. พัฒนาระบบศิษย์เก่า


การประชมุ วชิ าการนาํ เสนอผลงานนักศกึ ษา (x̅= 4.22, SD. = 0.71) ซึ่งด้านการสนับสนุนการ
660 NCTechED-Student Workshop 2022 เรียนรู้ด้วยวิจัยเป็นฐาน มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด (x̅= 4.33,
SD. = 0.66) ดังนั้นสรุปได้ว่า เว็บแอพพลิเคชั่นท่ี
June 10,2022 พัฒนาข้ึนนี้ สามารถนำไปใช้งานเพื่อการาสนับสนุน
การจัดการข้อเสนอโครงการสำหรับการจัดการ
ออนไลน์ สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และการ เรียนรดู้ ว้ ยวิจัยเป็นฐานไดอ้ ยา่ งดี
สื่อสาร 2. สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญที่มีต่อระบบเว็บไซต์
3. ประเมินความพึงพอใจนกศึกษาที่มีต่อระบบ 6. ข้อเสนอแนะ
เว็บไซต์ และแบบสอบถามความพึงพอใจสำหรับ 6.1 ข้อเสนอแนะจากการทำวิจัย
นักศึกษา กลุ่มเป้าหมายในการวิจัยประกอบด้วย 6.1.1 ควรมีการใช้คำถามเพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่
2 กลุม่ คือ ผเู้ ชีย่ วชาญด้านระบบและเว็บไซต์ จำนวน การปฏิบตั งิ านจรงิ ให้ชัดเจน ตรงประเด็น
5 คน และนกั ศึกษาชัน้ ปที ี่ 1 จำนวน 30 คน สถิติที่ใช้ 6.1.2 ควรมีการจัดทำเอกสารคู่มือแนะนำการ
ในการวิจัยคือ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ใช้ระบบ
ผลการวิจัย 1. ระบบศิษย์เก่าออนไลน์มีองคป์ ระกอบ 6.1.3 ควรจัดอบรมเพื่อทบทวนวิธีการใช้งาน
4 ด้าน ได้แก่ ระบบการลงทะเบียน ระบบข้อมูลศิษย์ เว็บแอพพลิเคชั่นและเพื่อแกไขปัญหาในการใช้งาน
เก่า ระบบข้อมูลข่าวสารและ ระบบเว็บบอร์ด จริง
2. ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญที่มีต่อระบบเว็บไซต์ 6.2 ข้อเสนอแนะเพื่อการศึกษาการทำวิจัยคร้ัง
ความเหมาะสมอยู่ที่ในระดับมาก ( x̅= 4.55, ต่อไป
SD. = 0.81) และ 3. ความพึงพอใจนักศึกษาที่มีต่อ
ระบบเว็บไซต์ศิษย์เก่า มีความพึงพอใจอยู่ในระดับ 6.2.1 เป็นแนวทางในการพัฒนาเว็บ
มากทส่ี ุด (x̅= 4.54, SD. = 0.58) สรปุ ไดว้ ่า งานวิจยั ที่ แอพพลิเคชั่นระบบเช็คสต็อกสินค้าร้านมหาชัย
เกี่ยวข้องส่วนมากเป็นระบบฐานข้อมูลที่สามารถ อุดรธานี และรา้ นค้าอนื่ ๆ ในระดับทอ้ งถ่นิ ได้
ปรับปรุงข้อมูล เพิ่มเติมข้อมูล และนำเสนอข้อมูล
ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่ช่วยในการปรับปรุง 6.2.2 นำผลการวิจัยไปใชก้ ับรา้ นคา้ ในชุมชน
ข้อมลู ค้นหาข้อมลู ไดร้ วดเร็วและสะดวก สอดคลอ้ ง เพื่อเป็นระบบมาตรฐานในการพัฒนาต่อไป
กับงานวิจัยของ [4] ราเชนทร์ นามวงศ์ สุภาวดี หิรัญ
พงศ์สิน และณัฏฐ์ ดิษเจริญ ได้ทำการวิจัย เรื่องการ เอกสารอา้ งอิง
พัฒนาเว็บแอพพลิเคช่ันสำหรับสนับสนนุ การจัดการ [1] คชา โกศิลา, (2561), เทคโนโลยีสารสนเทศ
ข้อเสนอโครงงานในการจัดกระบวนการเรียนรู้ด้วย เขา้ ถงึ ได้
วิจัยเป็นฐาน ผู้วิจัยได้นำเสนอการออกแบบและ จาก https://www.gotoknow.org/post/535228,[สบื คน้
พัฒนาแอพลิเคชั่น และความพึงพอใจของผู้ใช้งาน เม่ือ 4 มกราคม]
เว็บที่พัฒนาขึ้น กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในงานวิจัย ได้แก่ [2] อภชิ าต เหล็กด,ี (2557), “คุณภาพแอพพลเิ คชั่น”,
นักเรียนและครู โรงเรียนเดชอุดมจังหวัด
อบุ ลราชธานี จำนวน 33 คน เครื่องมือทีใ่ ช้ในการเก็บ [ออนไลน]์ https://www.gotoknow.
รวบรวมข้อมูล คือ แบบประเมินความพึงพอใจของ org/post/535228, [เขา้ ถึงเม่อื 28 กนั ยายน 2564].
ผู้ใช้งานประเมินผล 3 ด้าน ได้แก่ กการออกแบบ [3] อนุชา จา่ สงิ ห์ และ ณฐั พงศ์ พลสยม, (2558),
เว็บไซต์ ประสิทธิภาพของระบบ และการสนับสนุน
การเรยี นร้ดู ้วยวจิ ัยเป็นฐาน ผลการวิจยั พบว่า ค่าเฉลี่ย
ความพึงพอใจของผู้ใช้งานโดยรวมอยู่ในระดับดี

NCTechED D06-2022


การประชุมวิชาการนาํ เสนอผลงานนกั ศึกษา
NCTechED-Student Workshop 2022 661

June 10,2022

ระดับความพึงพอใจมากทส่ี ุด, [ออนไลน]์
https://www.gotoknow.org/post/535228, (สืบคน้
เม่ือ 28 กนั ยายน 2564).
[4] ราเชนทร์ นามวงศ์ สุภาวดี หิรัญพงศ์สนิ
และณฏั ฐ์ ดิษเจริญ, (2560), การพฒั นาเว็บ
แอพพลเิ คชั่น, [ออนไลน]์
https://www.gotoknow.org/post/535228, (เข้าถึง
เมอ่ื 4 มกราคม 2564).

NCTechED D06-2022


การประชุมวชิ าการนาํ เสนอผลงานนักศึกษา
662 NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

แอพพลเิ คชนั่ เรยี นรูป้ ุ่มลัด Microsoft Office

วชั รนิ ทร์ ดวงมณี1 ธญั ชนก ศิริวัฒน์2*

บทคัดยอ่
การศกึ ษาครง้ั นม้ี มี ีวัตถปุ ระสงค์ 1) เพอื่ สร้างแอพพลเิ คชนั่ เรยี นรปู้ มุ่ ลัด Microsoft Office 2. เพอ่ื ศกึ ษาความพึง
ใจของนักเรียนท่ีมีต่อแอพพลิเคชั่น เรยี นรูป้ ุ่มลดั Microsoft Office กล่มุ ตวั อยา่ งในการวิจัยครง้ั นี้ คอื นกั เรยี นระดับ
ประกาศนียบัตรวชิ าชีพ (ปวช.) ชน้ั ปีที่ 3 หอ้ ง 1 สาขาวชิ าคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุดรธานี ภาคเรียน
ท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 จำนวน 34 คน ได้มาโดยวิธกี ารเลือกแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sample)เครอื่ งมอื ทใ่ี ชใ้ น
งานวิจัยไดแ้ ก่ 1) แอพพลเิ คชนั่ เรยี นรปู้ มุ่ ลดั Microsoft Office 2) แบบประเมินคณุ ภาพท่ีมีต่อแอพพลเิ คชน่ั เรยี นรปู้ ุม่
ลดั Microsoft Office โดยผู้เชยี่ วชาญ 3) แบบประเมนิ ความพงึ พอใจของนักเรียนที่มีตอ่ แอพพลเิ คช่นั เรียนรู้ปุม่ ลัด
Microsoft Office โดยการวเิ คราะหใ์ ชข้ อ้ มลู สถิติ คา่ ร้อยละ คา่ เฉลย่ี (x̅) และคา่ สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D.)
เคร่ืองมอื ท่ใี ช้ในศกึ ษาประกอบดว้ ย

1. แอพพลเิ คชน่ั เรยี นรู้ปมุ่ ลดั Microsoft Office
2. แบบประเมนิ คณุ ภาพที่มีต่อแอพพลเิ คชั่นเรยี นรปู้ มุ่ ลดั Microsoft Office โดยผ้เู ชย่ี วชาญ
3. แบบประเมินความพงึ พอใจของนักเรียนที่มตี ่อแอพพลิเคชั่นเรียนรู้ปมุ่ ลัด Microsoft Office
ผลการศกึ ษาพบว่า
1. ผลการประเมินคุณภาพ การสร้างแอพพลิเคชั่น เรียนรู้ปุ่มลัด Microsoft Office พบว่าผู้เช่ียวชาญมีความคิดเห็น
ต่อการสร้างแอพพลิเคช่ันอยู่ในระดับ มาก ( x̅ = 4.44 , S.D. = 0.65) พบว่าผู้เช่ียวชาญมีความคิดเห็นต่อการสร้าง
แอพพลิเคช่นั อยู่ในระดับ มาก
(x̅ = 4.44 , S.D. = 0.65)
2) ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนต่อการสร้างแอพพลิเคช่ัน เรียนรู้ปุ่มลัด Microsoft Office การ
ประเมินความพึงพอใจทั้งหมดมี 4 ด้าน พบว่า ภาพรวมความพึงพอใจอยู่ในระดับ มากที่สุด (x̅ = 4.53, S.D. =
0.71)
คำสำคัญ : แอพพลเิ คช่นั , เรียนรปู้ ุ่มลดั Microsoft Office

1,2สาขาวชิ าคอมพิวเตอรธ์ รุ กิจ วทิ ยาลัยการอาชีพหนองคาย สถาบนั การอาชีวศกึ ษาภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื 1
*ธัญชนก ศริ ิวฒั น์ โทร +6981847016 อเี มล; [email protected]


การประชมุ วชิ าการนาํ เสนอผลงานนกั ศกึ ษา
NCTechED-Student Workshop 2022 663

June 10,2022

MICROSOFT OFFICE SHORTCUT KEYS LEARNING APPLICATION

Vacharin Doungmani1 Thanchanok Sirivattana2*

Abstract
The objectives of this study were 1. Microsoft Office shortcut keys learning application 2. To study student
preferences for applications. Learn Microsoft Office shortcut keys. The sample group in this research is
Vocational Certificate students (vocational certificate). 3rd year, room 1, business computer program Udon Thani
Vocational College, Semester 1 Academic Year 2021, 34 students were obtained by using a purposive sample.
The research tools were: 1.) Microsoft Office shortcut keys learning application 2.) App quality assessment
questionnaire. Application learning Microsoft Office shortcut keys by professionals ( x̅) and the standard
deviation (S.D.)
The purposes of this research were 1 . quality assessment results Application Creation Learning Microsoft
Office shortcut keys found that experts have a high opinion of building applications (x̅ = 4.44 , S.D. = 0.65)2.
Assessment results of student satisfaction with creating applications Learn the Microsoft Office shortcut keys.
There were 4 aspects of overall satisfaction assessment, and it was found that overall satisfaction was at the
highest level (x̅ = 4.53 , S.D. = 0.71)
Keyword: Applications, Learning Microsoft Office Shortcuts

1,2Field of Business Computer, Nongkhai Industrial and Community Education College, Institute of Vocational
Education : Northeastern Region 1
* Thanchanok Sirivattana Tel: +6981847016 e-Mail; [email protected]

NCTechEd D07-2022


การประชมุ วิชาการนาํ เสนอผลงานนกั ศึกษา การเขียนโปรแกรม การสร้างเว็บไซต์ การออกแบบ
664 NCTechED-Student Workshop 2022 กราฟิก และโปรแกรมงานสำนักงาน เป็นต้น ซึ่งจะมี
การเรยี นการสอนหลายรูปแบบ โดยโปรแกรมท่ีใชใ้ น
June 10,2022 การเรียนการสอนท่ีเป็นพื้นฐานการใช้โปรแกรม
สำนักงานให้กับผู้เรียน เช่น Microsoft Word, Excel,
1. บทนำ Power Point, Publisher, และ Access เป็นต้นซ่ึงใน
ปัจจุบันส่ือการเรียนมีความก้าวหน้าไปอย่างมาก การเรียนโปรแกรมสำนักงานต่าง ๆ ผู้เรียนอาจจะยัง
ไม่รู้จกั การใชง้ านเคร่ืองมือต่าง ๆ ในโปรแกรม ที่ช่วย
ก่อให้เกิดการสร้างเทคโนโลยีที่หลากหลายโดยที่ ให้การใช้งานคำสั่งในโปรแกรมมีความรวดเร็ว มี
ปัจจุบันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีเร่ิมเข้ามามี ประสทิ ธิภาพในการทำงานอย่างถกู สามารถเพิ่มทักษะ
บทบาททางการด้านการศึกษามากข้ึน ส่ือการเรียนรู้ ให้กับผู้เรียน เพ่ือใช้ในการพัฒนาตนเอง ให้ผู้เรียนมี
โดยใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยต่าง ๆ เช่น การทำส่ือการ ทักษะเพิ่มขึ้น และมีความคล่องแคล่วในการทำงานท่ี
เรียนการสอนและแอพพลิเคชั่น โปรแกรมท่ีใช้สร้าง เรว็ ขน้ึ และเปน็ ผูเ้ รยี นที่มีประสทิ ธิภาพ
สื่อการเรียนการสอน เช่น สื่อมัลติมิเดีย CAI, หนังสือ
อิเล็กท รอนิ กส์ E-Book, Google Site, ส ร้าง Blog ดงั นั้นผู้วิจัยจึงได้จดั ทำ แอพพลิเคชั่น เรียนรปู้ ุ่มลัด
เผยแพร่เน้ือหาเป็นต้น และโปรแกรมที่ใช้สร้าง Microsoft Office เพ่ือใช้เป็นสื่อการเรียนรู้ให้กับ
แอพพลเิ คชนั่ เชน่ MIT App Inventor, Google App, ผู้เรียนในรูปแบบสื่อการสอนเพ่ือการเรียนรู้ และเพื่อ
X Code, WordPress เป็นวิธีในการจูงใจให้ผู้เรียน เกิด พัฒนาแอพพลิเคช่ัน เรียนรู้ปุ่มลัด Microsoft Office
ความสนใจ โดยมีเป้าหมายเพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้ ให้มีความเหมาะสมกับผ้ใู ชง้ านต่อไป
เกิดกระบวนการเรียนรู้ท่ีมีประสิทธิภาพต่อ ผู้เรียน
รูปแบบการเรียนการสอนโดยการใช้ส่ือในการเรียน 2. วัตถุประสงคข์ องโครงการ
การสอนสมัยน้ีมีบทบาทอย่างมากในชีวิตประจำวัน 2.1 เพื ่อ ส ร้างแ อ พ พ ลิเค ชั ่น เรียน รู้ปุ ่ม ลัด
ของผู้เรียน แอพพลิเคช่ันที่มีความสะดวกรวดเร็วใน
ก า ร เรี ย น รู้ อ อ น ไ ล น์ เรี ย น รู้ ด้ ว ย ผู้ เรี ย น เอ ง Microsoft Office
แอพพลิเคชัน่ ในปัจจบุ นั ที่ออกแบบมาใหพ้ ร้อมใช้งาน 2.2 เพ่ือศึกษาผลการประเมินคุณภาพท่ีมีต่อ
ได้ทุกที่ ทุกเวลา นับเป็นนวัตกรรมส่ือการสอนการ
เรียนรู้แบบใหม่ที่ออกแบบและสอดแทรกเนื้อหา แอพพลิเคช่นั เรียนร้ปู ุม่ ลดั Microsoft Office
บทเรยี นลงไปในแอพพลิเคชั่นทำให้ผเู้ รยี นมีส่วนร่วม โดยผเู้ ช่ยี วชาญ
ในการเรียนรู้ ฝึกปฎิบัติในการเรียนรู้ด้วยตนเองและ
ผู้เรียนเกิดความรู้และทักษะใหม่ ๆ ในขณะเรียนไป 2.3 เพื่อศึกษาความพึงใจของนักเรียนท่ีมีต่อ
ด้วย จะทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองให้มาก แอพพลเิ คชัน่ เรยี นรู้ปุ่มลดั Microsoft Office
ข้ึน จะทำให้ผู้เรียนเป็นผู้เรียนท่ีมีประสิทธิภาพใน
อนาคต และในปัจจุบันผู้ก็ให้ความสนใจในการเรียน 3. ขอบเขตของการวจิ ัย
ผ่านแอพพลิเคช่ันมากขึ้น เพราะสามารถศึกษาด้วย 3.1 ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง
ตนเองได้ผ่านแอพพลิเคช่ัน และยังสะดวกเร็วมากข้ึน 3.1.1 ประชากรในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียน
ในการเรียนแบบเดิม
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นปีที่ 3
การจัด การเรียน การส อ น ใน แผ น กวิช า สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษา
คอมพิวเตอร์ธุรกิจในปัจจุบัน มีการจัดการเรียนการ
สอน ในหมวดวิชาคอมพิวเตอร์ ประเภทต่าง ๆ เช่น

NCTechEd D07-2022


อุดรธานี ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 99 การประชมุ วิชาการนําเสนอผลงานนกั ศกึ ษา
คน NCTechED-Student Workshop 2022 665

3.1.2 กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยคร้ังนี้ คือ June 10,2022
นักเรยี นระดับประกาศนยี บตั รวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นปที ี่3
ห้ อง 1 ส าขาวิช าคอมพิ วเตอ ร์ธุรกิจ วิท ยาลั ย 4. วธิ ีดำเนนิ การวจิ ัย
อาชีวศึกษาอุดรธานี ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 แอพพลิเคชั่น เรียนรู้ปุ่มลัด Microsoft Office ผู้วิจัย
จ ำน ว น 3 4 ค น ไ ด้ ม าโ ด ย วิ ธี ก าร เลื อ ก แ บ บ
เฉพาะเจาะจง (Purposive Sample) ได้ดำเนินการ ตามลำดับ ดังน้ี
4.1 ประชากรและกลุม่ ตัวอย่าง
3.1.3 ดา้ นเนอ้ื หา 4.2 เครือ่ งมอื ท่ีใช้ในการวิจยั
3.1.3.1 หนา้ หลกั 4.3 การสร้างและการหาคุณภาพเครอ่ื งมอื
3.1.3.2 คำชี้แจง 4.4 การเก็บรวบรวมข้อมูล
3.1.3.3 วตั ถปุ ระสงค์ 4.5 การวิเคราะห์ขอ้ มูล
3.1.3.4 วิดีโอการสอน Microsoft Office 4.6 สถติ ิที่ใชใ้ นการวิเคราะห์ขอ้ มูล
3.1.3.5 เขา้ ส่เู นอ้ื หา
1) เรียนรู้ปุ่มลัด Microsoft Word 4.1 กลุ่มตัวอย่าง
2) เรยี นรปู้ ุ่มลัด Microsoft Excel กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนระดับ
3) เรยี นรปู้ มุ่ ลดั
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นปีที่ 3 ห้อง 1
MicrosoftPowerPoint สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษา
4 ) เ รี ย น รู้ ปุ่ ม ลั ด Microsoft อุดรธานี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 34
คน ได้มาโดยวิธีการเลือกแบ บเฉพ าะเจาะจง
Publisher (Purposive Sample)
5) เรียนรปู้ ุ่มลัด Microsoft Access 4.2 เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัย
3.1.3.6 ประวัติผจู้ ดั ทำ
4.2.1 แอพพลิเคช่ันเรยี นรปู้ มุ่ ลดั Microsoft Office
3.2 ขอบเขตดา้ นตัวแปร 4.2.2 แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมี
3.2.1 ตัวแปรต้นคือ แอพพลิเคชั่น เรียนรู้ ตอ่ แอพพลเิ คชัน่ เรยี นรู้ป่มุ ลัด Microsoft Office

ปมุ่ ลดั Microsoft Office 5. ผลการวิจัย S.D.
3.2.2 ตัวแปรตาม คอื
1) ผลการประเมินคุณภาพที่มีต่อ 1. 4.33 0.71
2. 4.22 0.67
แอพพลิเคช่ัน เรียนรู้ปุ่มลัด Microsoft Office โดย 3. 4.67 0.50
ผูเ้ ชี่ยวชาญ 4. 4.56 0.73
4.44 0.65
2) ความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อ
แอพพลิเคชนั่ เรยี นรปู้ ุม่ ลัด Microsoft Office ตารางท่ี 5.1 ผลการประเมินคุณภาพ การสร้าง
แอพพลิเคชั่น เรียนรู้ปุ่มลัด Microsoft Office พบว่า
ผู้เช่ียวชาญมีความคิดเห็นต่อการสร้างแอพพลิเคช่ัน
อย่ใู นระดบั มาก (x̅ = 4.44 S.D. = 0.65)

NCTechEd D07-2022


การประชุมวชิ าการนําเสนอผลงานนักศึกษา 6.2 ผลการวิเคราะห์ แบบประเมินความพึงพอใจท่ี
666 NCTechED-Student Workshop 2022 มตี ่อแอพพลิเคชั่น เรียนรู้ปุม่ ลัด Microsoft Office การ
ประเมินความพึงพอใจมีท้ังหมด 4 ด้าน พบว่า โดย
June 10,2022 ภาพรวมอยู่ในระดับความพึงพอใจ มากที่สุด (x̅ =
4.53 , S.D. = 0.71) ทั้งน้ีเน่ืองมาจาก ในเนื้อหามี
S.D. ข้อความสอดคล้องกับจุดประสงค์ของแอพพลิเคช่ัน
1. 4.48 0.79 เข้าใจง่ายและมีสัญลักษณ์ท่ีชัดเจน มีภาพประกอบกับ
2. 4.69 0.56 ทีม่ คี วามเหมาะสมกบั เนื้อหาแลว้ ยังมีการจดั ลำดบั ภาพ
3. 4.48 0.73 ได้อย่างดี ทำให้แอพพลิเคชั่นไม่ซับซ้อน จึงทำให้
4. 4.55 0.75 แอพพลิเคชั่นมคี วามน่าสนใจมากขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับ
งานวจิ ัยของ [3] ปาตีเมาะ ตะโละ และ การมี ะห์มทุ านิ
4.53 0.71 (2558) ได้ทำการวิจัย เรื่อง การพัฒนาแอพพลิเคชั่น
เพ่ือการเรียนรู้บนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ มี
ตารางที่ 5.2 ผลการประเมินความพึงพอใจของ วั ต ถุ ป ร ะ ส งค์ 1 ) เพื่ อ ศึ ก ษ าเท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ
ผู้เรียนต่อการสร้างแอพพลิเคช่ัน เรียนรู้ปุ่มลัด ความสามารถของซอฟต์แวร์ Android Application
Microsoft Office การประเมนิ ความพงึ พอใจทั้งหมด Devolopment 2) เพื่อทดลองตดิ ต้งั ซอฟต์แวร์ Android
มี 4 ด้าน พบว่าภาพรวมความพึงพอใจอยู่ในระดับ Application Devolopment สำหรบั ประยกุ ตใ์ ช้ด้าน สอื่
มากที่สุด (x̅ = 4.53 , S.D. = 0.65) การเรียนการสอน ในโรงเรียน 3) ประเมินความพึง
พอใจนักศึกษาท่ีมีตอ่ แอพพลเิ คชั่น และแบบสอบถาม
6. อภิปรายผล ความพึงพอใจสำหรับนักศึกษา กลุ่มเป้าหมายในการ
6.1 ผลการวิเคราะห์ แบ บป ระเมินคุณ ภาพ วิจัยประกอบด้วย 2 กลุ่ม คือ ผู้เชี่ยวชาญด้านระบบ
และแอพพลิเคชั่นจำนวน 5 คน และนักศึกษาช้ันปีท่ี 1
แอพพลิเคช่ัน เรียนรู้ปุ่มลัด Microsoft Office โดย จำนวน 30 คน สถิติท่ีใช้ในการวิจัยคือ ค่าเฉลี่ยและ
ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 3 ท่าน พบว่าผู้เช่ียวชาญมีความ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย 1) การพัฒนา
คิดเห็นต่อแอพพลิเคชั่น เรียนรู้ปุ่มลัด Microsoft แอพพ ลิเคชั่น เพื่ อการเรียนรู้บนระบ บปฏิบัติ
Office ที่ผู้วิจัยสร้างและออกแบบขึ้นอยู่ในระดับ มาก การแอนดรอยด์ 2) ความคิดเห็นของผู้เช่ียวชาญที่มี
(x̅ = 4.56 , S.D. = 0.73) ทั้งน้ีเน่ืองมาจาก ในเนื้อหามี แอพพลิเคช่ัน ความเหมาะสมอยู่ท่ีในระดับมาก (x̅=
การเช่อื มโยงไมซ่ บั ซอ้ น ใช้งานง่าย การจดั วางรูปแบบ 4.55, S.D. = 0.81) และ 3) ความพึงพอใจนักศึกษาที่มี
มีความเหมาะสมเพราะแอพพลิเคชั่ นมีข้อความ ต่อแอพพลิเคชน่ั มีความพึงพอใจอยใู่ นระดับมากท่ีสุด
สัญ ลักษณ์ ที่ชัดเจนประกอบกับการใช้ภาษาที่ (x̅= 4.54, S.D. = 0.58) สรุปได้ว่า งานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง
สละสลวยเข้าใจง่ายถูกต้องตามหลักเกณฑ์การใช้ ส่วนมากเป็นระบบฐานข้อมูลที่สามารถปรับปรุง
ภ าษ าข้อ ค วามส อด ค ล้องกั บ จุด ป ระส งค์ข อ ง ข้อมูล เพิ่มเติมข้อมูล และนำเสนอ สอดคล้องกับ
แอพพลิเคชั่น จึงทำให้แอพพลิเคช่ันมีความเข้าใจง่าย งานวิจัยของ [2] ราเชนทร์ นามวงศ์ สุภาวดี หิรัญพงศ์
น่าสนใจ ซ่ึงทำให้สอดคล้องกลับผลการวิจัยของ [1]
อภิชาต เหล็กดี (2557) ได้ศึกษาคุณภาพแอพพลิเคชั่น
เพื่อการเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นในจังหวัด
มหาสารคาม โดยเฉลยี่ อยู่ในระดบั มากที่สดุ (x̅ = 4.53
และ S.D. = 0.25) เม่ือพิจารณารายข้อพบว่า โดยเฉลี่ย
อยู่ในระดับมากถึงมากท่ีสุด (x̅ = 4.33 - 4.67 และ
S.D. = 0.58 – 1.15)

NCTechEd D07-2022


สนิ และ ณัฏฐ์ ดษิ เจรญิ (2560) ไดท้ ำการวิจยั เรอ่ื งการ การประชมุ วิชาการนําเสนอผลงานนกั ศึกษา
พัฒนาเว็บแอพพลิเคช่ันสำหรับสนับสนุนการจัดการ NCTechED-Student Workshop 2022 667
ข้อเสนอโครงงานในการจัดกระบวนการเรียนรู้ด้วย
วิจยั เปน็ ฐาน ผู้วิจัยได้นำเสนอการออกแบบและพัฒนา June 10,2022
แอพลิเคช่ัน และความพึงพอใจของผู้ใช้งาน เว็บท่ี
พฒั นาข้ึน กล่มุ ตัวอย่างที่ใชใ้ นงานวิจัย ไดแ้ ก่ นักเรียน [3] ปาตีเมาะ ตะโละ และ การมี ะห์ มุทานิ,
และครู โรงเรียนเดชอุดมจงั หวัดอุบลราชธานี จำนวน (2558), “การพฒั นาเวบ็ แอพพลเิ คช่ัน
33 คน เคร่ืองมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ เพอ่ื การเรยี นรู้บนระบบปฏบิ ัติการแอน
แบบประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้งานประเมินผล 3 ดรอยด์”, [ออนไลน์]. http://gs.nsru.ac.th
ด้าน ได้แก่ การออกแบบเว็บไซต์ ประสิทธิภาพของ /NSRUNC/research/pdf/60.pdf.
ระบบ และการสนับสนุนการเรียนรู้ด้วยวิจัยเป็นฐาน (เขา้ ถงึ เมอ่ื : 9 สงิ หาคม 2564).
ผลการวิจัยพบว่า ค่าเฉลี่ย ความพึงพอใจของผู้ใช้งาน
โดยรวมอยู่ในระดับดี (x̅= 4.22, S.D. = 0.71) ซ่ึงด้าน
การสนบั สนุนการเรียนรู้ด้วยวิจัยเป็นฐาน มีคา่ เฉลี่ยสูง
ที่สุด (x̅= 4.33, S.D. = 0.66) ดังน้ันสรุปได้ว่า เว็บ
แอพพลิเคชั่นที่พัฒนาข้ึนนี้ สามารถนำไปใช้งานเพื่อ
การาสนับสนุนการจัดการข้อเสนอโครงการสำหรับ
การจดั การเรียนรู้ดว้ ยวิจยั เป็นฐานได้อยา่ งดี

7. เอกสารอา้ งองิ
[1] อภิชาต เหลก็ ดี, (2557), “แอพพลเิ คช่ัน”,
[ออนไลน]์ . https://jeeradate.wordpress.com
/2020/06/17. (เขา้ ถึงเมือ่ : 9 สงิ หาคม 2564).
[2] ราเชนทร์ นามวงศ์ สุภาวดี หริ ญั พงศ์สิน และ
ณัฏฐ์ ดิษเจริญ, (2560), “การพฒั นาเว็บ
แอพพลิเคช่ัน”, [ออนไลน์].
https://www.mindphp.com/forums
/viewtopic.php?f=198&p=213503.
(เข้าถงึ เมือ่ : 9 สิงหาคม 2564).

NCTechEd D07-2022


การประชมุ วชิ าการนําเสนอผลงานนกั ศึกษา
668 NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

การสรา้ งเวบ็ แอพพลเิ คชันระบบการแจ้งซ่อมบำรุงอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
แผนกวชิ าคอมพิวเตอร์ธรุ กจิ วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาอดุ รธานี

พชิ ฒพงษ์ เจรญิ สขุ 1* เอกชาติ พรหมหาญ2 และ สถาพร สอนสุภาพ3
พรี วฒั น์ กองสุวรรณ1* ชายชาญ คำพฒั น์2 และโจเซฟ ฮลิ ล์3
บทคดั ยอ่

การสรา้ งเวบ็ แอพพลิเคชั่นระบบการแจ้งซ่อมบำรงุ อปุ กรณค์ อมพิวเตอร์แผนกวชิ าคอมพิวเตอรธ์ ุรกิจวทิ ยาลัยอาชีวศกึ ษา
อุดรธานี มีวัตถุประสงค์ 1) เพ่ือการสร้างเว็บแอพพลิเคช่ันระบบการแจ้งซ่อมบำรุงอุปกรณ์คอมพิวเตอร์แผนกวิชา
คอมพิวเตอร์ธุรกิจวิทยาลัยอาชีวศึกษาอุดรธานี 2) เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของพนักงานที่มีต่อการสร้างเว็บแอพพลิเคชั่น
ระบบการแจง้ ซอ่ มบำรงุ อปุ กรณค์ อมพวิ เตอร์แผนกวชิ าคอมพิวเตอร์ธรุ กจิ วิทยาลัยอาชวี ศึกษาอดุ รธานี กลุม่ เป้าหมายในการ
วิจัยครั้งนี้ คือบุคลากรแผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจวทิ ยาลยั อาชีวศึกษาอุดรธานี จำนวน 16 คน เครอื่ งมอื ที่ใชใ้ นงานวจิ ัยไดแ้ ก่ 1)
เวบ็ แอพพลิเคช่ันระบบการแจ้งซ่อมบำรุงอุปกรณ์คอมพิวเตอรแ์ ผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธรุ กิจวทิ ยาลัยอาชีวศึกษาอุดรธานี 2)
แบบประเมินคุณภาพท่ีมีต่อเว็บแอพพลิเคชั่นระบบการแจ้งซ่อมบำรุงอุปกรณ์คอมพิวเตอร์แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุดรธานีโดยผู้เช่ียวชาญ 3) แบบประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้งานท่ีมีต่อเว็บแอพพลิเคช่ันระบบการ
แจง้ ซอ่ มบำรุงอปุ กรณ์คอมพวิ เตอรแ์ ผนกวิชาคอมพวิ เตอรธ์ ุรกจิ วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุดรธานี โดยการวเิ คราะห์ใช้ขอ้ มูลสถิติ
คา่ ร้อยละ คา่ เฉล่ีย ( (X ) )̅ และค่าสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D.)

ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการประเมินคุณภาพเว็บแอพพลิเคช่ันระบบการแจ้งซ่อมบำรุงอุปกรณ์คอมพิวเตอร์แผนกวิชา
คอมพวิ เตอร์ธรุ กิจวิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาอดุ รธานีพบว่าผูเ้ ชี่ยวชาญมคี วามคดิ เหน็ ต่อ

คำสำคัญ : เวบ็ แอพพลเิ คชนั , ระบบการแจ้งซอ่ มบำรงุ อุปกรณค์ อมพวิ เตอร์

1,2,3 สาขาวชิ าคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาอดุ รธานี สถาบนั การอาชวี ศึกษา
ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื 1

* พิชฒพงษ์ เจริญสขุ 097 176 7797 Email : [email protected]


การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานนกั ศึกษา
NCTechED-Student Workshop 2022 669

June 10,2022

CREATION OF APPLICATIONS COMPUTER EQUIPMENT MAINTENANCE
NOTIFICATION SYSTEM BUSINESS

Peerawat Kongsuwan1* Chaychan Khamphat2 and Joseph Hill3
Pittapong Charoensuk1* Ekgachat Promhan2 And Sataapon Sonsupaap3

Abstract
Creation of web applications, computer equipment maintenance notification system, Business Computing
Department, Udon Thani Vocational College Objectives 1) To create a web application for the maintenance
notification system for computer equipment, Department of Business Computer, Udon Thani Vocational College.
2) To study the satisfaction of employees towards the creation of a web application for the maintenance
notification system for computer equipment, Department of Business Computer, Udon Thani Vocational College.
The target group in this research There were 16 personnel in the Business Computer Department at Udon Thani
Vocational College. 1) Web application, computer equipment maintenance notification system, Business
Computing Department, Udon Thani Vocational College 2) Quality Assessment Form towards web application
for the maintenance notification system for departmental computer equipment Business Computing, Udon Thani
Vocational College by experts 3) User satisfaction assessment form for web applications, equipment maintenance
notification system Computer Business Computer Department, Udon Thani Vocational College The analysis was
done using statistical data, percentage, mean ( (X ) )̅ and standard deviation (S.D.)
The results showed that 1. The results of web application quality assessment of computer equipment
maintenance notification system, Department of Business Computer, Udon Thani Vocational College found that
experts' opinions on the developed system were at the level of Excellent ( (X ) =̅ 4.55, S.D.= 0.61)
2. The results of the satisfaction assessment of web application users of the computer equipment maintenance
notification system, Business Computing Department, Udon Thani Vocational College assessment There were all
4 aspects of satisfaction. It was found that overall satisfaction was at the level of Good ((X ) ̅= 4.11, S.D.= 0.80)

Keywords : Web Applications, Computer Maintenance Notification System

1,2,3 Field of Programing Business Computer , Udonthani Vocational College, Institute of Vocational Education :
Northeastern Region 1
* Pittapong Charoensuk 097 176 7797 Email : [email protected]

NCTechEd D08-2022


การประชมุ วชิ าการนาํ เสนอผลงานนักศกึ ษา
670 NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

1. บทนำ การเก็บรวบรวมขอ้ มลู การจดั เกบ็ ข้อมลู ท่ีมอยใู่ ห้
เป็นระบบเพอ่ื การเรยี กใชข้ อ้ มลู อย่างรวดเรว็ ในเวลา
ปัจจุบนั เทคโนโลยีการสื่อสารมีการ ท่ีต้องการรวมไปถงึ วธิ กี ารต่าง ๆ ในการประมวลผล
เปลยี่ นแปลงไปอยา่ งมากในอดตี เม่ือครั้งท่ี การวเิ คราะหผ์ ลท่ไี ด้จากการประมวลผลและการ
เทคโนโลยียงั ไม่เขา้ มามบี ทบาทในชีวิตประจำวัน แสดงผลขอ้ มลู ความสำคญั ของระบบสารสนเทศ
ผคู้ นในสังคมทำการติดตอ่ ส่อื สารกนั ด้วยภาษา เพ่ือการจัดการ สนับสนนุ การทำงานขององค์กร เปน็
ถ้อยคำ ท่าทางและการแสดงออก หรือใชก้ าร การใชร้ ะบบสารสนเทศเพ่อื ประกอบการทำงานตาม
ติดต่อส่อื สารด้วยการใช้สัตวเ์ ป็นพาหนะในการ รับ – ภาระหนา้ ทีข่ ององคก์ ร สนับสนนุ การตดั สินใจใน
ส่ง ขอ้ มูลขา่ ว สารระหว่างกนั เมื่อเวลาผา่ นไปการ ระดบั ตา่ ง ๆ การทำงานขององคก์ รนนั้ จะต้องมกี าร
สอื่ สารมีววิ ฒั นาการในระดบั ทสี่ งู ขึ้นด้วยเทคโนโลยี ตัดสินใจโดยจะต้องตงั้ อยู่บน พ้นื ฐานของข้อมลู ซึ่ง
ใหม่ๆทำใหม้ ผี ้คู ดิ คน้ เครื่องมอื ตดิ ตอ่ สอ่ื สารท่ี ก็คือ สารสนเทศทเี่ ปน็ ระบบสนบั สนนุ การวางแผน
หลากหลายเพอื่ นำมาเลือกใช้งานและสนองความ ระยะยาวขององคก์ ร ระบบสารสนเทศมี
ตอ้ งการในการสอ่ื สารรับ - ส่งขอ้ มลู ข่าวสารทง้ั ใกล้ ความสำคัญมากต่อการวางแผนการทำงานของ
และไกล เชน่ วิทยสุ ื่อสาร โทรเลข โทรทศั น์ องค์กร เพราะแผนงานจะเกดิ ประสิทธผิ ลหรือมี
หนังสือพิมพ์ โทรศัพท์ โทรสาร ซ่งึ เปน็ สื่อดง้ั เดมิ ที่ ประโยชนต์ ่อองค์กรไดน้ ัน้ จำเป็นตอ้ งอาศัย
รจู้ ักกันดแี ละไดร้ บั ความนิยมอย่างมากในชว่ งเวลา สารสนเทศทีม่ คี ุณภาพสนบั สนุนการวางแผนระบบ
นัน้ ตามมาดว้ ยการคิดค้นประดษิ ฐ์เครือ่ งมอื ชว่ ย ปฏบิ ตั งิ านใหม้ มี าตรฐาน ช่วยในการวเิ คราะหป์ ญั หา
อำนวยความสะดวก เชน่ คอมพิวเตอร์ในยคุ เร่มิ ตน้ ท่ี และหาทางแก้ไขปัญหานนั้ เก็บขอ้ มูลต่าง ๆ ไดม้ าก
เรม่ิ เข้ามามคี วามเกย่ี วขอ้ งกบั การใชช้ วี ติ ประจำวัน ข้ึนทงั้ นจ้ี ะเหน็ โปรแกรมบรหิ ารงานใน เว็บไชต์และ
ของผคู้ นทช่ี ว่ ยในการประมวลผลข้อมลู ทนี่ ำมาใชใ้ น แอพลเิ คชนั ตา่ ง ๆ นนั้ เขา้ มาช่วยอำนวยความสะดวก
ด้านตา่ ง ๆ ไม่ว่าจะเป็นด้านการตดิ ต่อสื่อสารดา้ น และเกบ็ ขอ้ มลู ต่าง ๆ สมบรู ณล์ ้วนเปน็ เทคโนโลยี
ขอ้ มูลข่าวสารและสารสนเทศด้านการศึกษาด้านการ สมัยใหม่ ที่เขา้ มามีบทบาทในกจิ การทกุ ประเภท ช่วย
ทำงานด้านความบนั เทงิ จงึ เป็นทนี่ ยิ มของผู้ใช้งาน แกป้ ัญหา อีกท้ังรวบรวมขอ้ มลู ไดอ้ ย่างเปน็ ระบบ
อย่าง แพรห่ ลายในวงกว้างมากขน้ึ [1]
วิทยาลยั อาชวี ศึกอุดรธานีเป็นสถานศึกษาท่ี
จากการเปลยี่ นแปลงของ โลกปัจจบุ ันทุกด้าน เปน็ สอนระดบั ประกาศนียบัตรวชิ าชีพ(ปวช.)ระดบั
ส่งผลใหก้ ารบริการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สูง (ปวส.) และ ระดับ
จำเปน็ ต้องกา้ วทันกับการเปล่ยี นแปลงของข้อมูล ปรญิ ญาตรี ซ่งึ มีสาขาต่าง ๆ มากมาย เชน่ สาขาบญั ชี
ขา่ วสารโดยเฉพาะดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาการตลาด สาขาโรงแรม สาขาโลจสิ ตกิ ส์ และ
เจริญกา้ วหนา้ อยา่ งรวดเร็ว สาขาคอมพวิ เตอร์ธรุ กจิ ในสาขาคอมพิวเตอรธ์ ุรกิจ
เป็นสาขาหนึง่ ที่จดั การเรียน การสอนใหก้ ับผูเ้ รียน
ระบบสารสนเทศ (Information System) โดยใช้สื่อคอมพิวเตอร์ และ อุปกรณค์ อมพิวเตอร์
หมายถึง กระบวนการประมวลผลขอ้ มูลข่าวสาร เป็นสื่อการเรียนการสอน และ จากสภาพการเรียน
หรอื การจัดการขอ้ มลู ข่าวสารใหอ้ ยู่ในรปู แบบทมี่ ี การสอนมีการใช้งานคอมพิวเตอร์ และ อุปกรณ์
ระบบ เปน็ ระเบยี บ เปน็ หมวดหมู่ เพื่อความสะดวก คอมพิวเตอร์ เปน็ จำนวนมากทำให้อุปกรณ์
ในการเรียกใช้และเปน็ ประโยชนต์ ่อการตดั สินใจ
ของผบู้ ริหารระบบสารสนเทศเพอ่ื จัดการ หมายถึง

NCTechEd D08-2022


การประชมุ วชิ าการนําเสนอผลงานนักศึกษา
NCTechED-Student Workshop 2022 671

June 10,2022

คอมพิวเตอร์เกดิ การ ชำรดุ สึกหรอ เส่อื มสภาพ แต่ 3. ขอบเขตของการศกึ ษา
ระบบการแจง้ ในปจั จบุ นั ซอ่ มในปจั จบุ นั ยงั เป็น
ระบบการแจ้ง ดว้ ยวาจาจงึ ทำให้รบั แจง้ งานซอ่ ม 3.1 กลุ่มเป้าหมาย
บำรงุ ผา่ นทางเจ้าหนา้ ทโ่ี ดยผใู้ ชบ้ รกิ ารโทรศพั ทแ์ จง้ กลุ่มเป้าหมายในการวิจัยคร้ังน้ี คือ
มายงั เจา้ หนา้ ที่ศนู ยเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศและ
เจ้าหนา้ ทีจ่ ะไปดำเนนิ การซอ่ มบำรงุ มกี ารจดบนั ทึก บุคลากร วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุดรธานี แผนกวิชา
ในสมดุ ซอ่ มบำรุง ซงึ่ อาจทำใหห้ ลงลมื การแจง้ ซ่อม คอมพิวเตอรธ์ ุรกจิ ปกี ารศกึ ษา 2564 จำนวน 16 คน
อปุ กรณเ์ ป็นจำนวนมากตอ้ งใชเ้ วลาในการซอ่ มบำรงุ
ทำใหก้ ารวางแผนจดั เจา้ หน้าทซี่ อ่ มบำรงุ ไม่มี 3.2 ขอบเขตด้านการพฒั นาเว็บ
ประสิทธภิ าพเพยี งพอ ไม่สะดวกไมม่ คี วามรวดเร็ว แอพพลิเคชัน่
ทนั ต่อการแก้ปญั หาการใชง้ าน ทำใหเ้ กดิ การลา่ ชา้
หากนำเวบ็ แอพพลเิ คชัน่ ระบบการแจง้ ซอ่ มบำรงุ 3.2.1 รายการแจง้ ซ่อม
อปุ กรณค์ อมพิวเตอร์แผนกวชิ าคอมพวิ เตอรธ์ รุ กจิ 3.2.2 อาการเสยี ของอปุ กรณ์
วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษาอุดรธานีเขา้ มาช่วยในการ 3.2.3 ประเภทอปุ กรณ์
แก้ปัญหาจะทำให้ระบบการทำงานแจ้งซอ่ มเปน็ ไป 3.2.4 สรปุ รายการแจ้งซ่อม
ด้วยความรวดเรว็ มปี ระสทิ ธภิ าพเพมิ่ ขึน้ 3.2.5 บคุ ลากร
ดงั น้ันผู้จัดทำจงึ ได้มีการสร้างเว็บแอพพลิเคช่ันระบบ 3.2.6 รายการซ่อม
การแจ้งซ่อมบำรุงอุปกรณ์คอมพิวเตอร์แผนกวิชา 3.2.7 เพ่มิ ประเภทผ้ใู ช้งาน
คอมพิวเตอร์ธุรกิจวิทยาลัยอาชีวศึกษาอุดรธานี เพ่ือ 3.2.8 สมคั รสมาชกิ
แ ก้ ไ ข ปั ญ ห า ดั ง ก ล่ า ว เพื่ อ ใ ห้ ต อ บ ส น อ ง ต่ อ ค ว า ม 3.2.9 การ Login เขา้ สูเ้ ว็บไซต์
ต้องการใช้งานใหร้ วดเรว็ ยิ่งข้ึน 3.3 ระยะเวลาในการวจิ ัย คือ ภาคเรยี นที่ 1 ปี
การศึกษา 2564
2. วตั ถุประสงคข์ องการวจิ ยั 3.4 ด้านตวั แปร
3.4.1 ตัวแปรตน้ คอื เว็บ
2.1 เพ่ือสร้างแอพพลิเคช่ันระบบการแจ้ง แอพพลเิ คชั่นระบบการแจง้ ซอ่ มบำรงุ อุปกรณ์
ซ่ อ ม บ ำรุ งอุ ป ก ร ณ์ ค อ ม พิ วเต อ ร์ แ ผ น ก วิ ช า คอมพวิ เตอรแ์ ผนกวชิ าคอมพิวเตอรธ์ รุ กจิ วทิ ยาลยั
คอมพวิ เตอร์ธุรกิจวิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาอดุ รธานี อาชวี ศึกษาอุดรธานี
3.4.2 ตวั แปรตาม คอื
2.2 เพื่อศึกษาผลการประเมินคุณภาพท่ีมีต่อ
เว็บแอพพลิเคชั่นระบบการแจ้งซ่อมบำรุงอุปกรณ์ 1) ผลการประเมนิ
คอมพิวเตอร์แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจวิทยาลัย คณุ ภาพท่ีมตี ่อ เว็บแอพพลเิ คช่ันระบบการแจง้ ซอ่ ม
อาชวี ศกึ ษาอุดรธานี บำรุง อปุ กรณค์ อมพิวเตอรแ์ ผนกวิชาคอมพิวเตอร์
ธุรกิจวทิ ยาลัยอาชีวศกึ ษาอุดรธานี โดยผู้เช่ียวชาญ
2.3 เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้งานมี
ต่อเวบ็ แอพพลิเคช่ันระบบการแจง้ ซ่อมบำรงุ อปุ กรณ์ 2) ความพึงพอใจของ
คอมพิวเตอร์แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจวิทยาลัย ผูใ้ ช้งานท่ีมีตอ่ เว็บแอพพลิเคชน่ั ระบบการแจ้งซ่อม
อาชีวศกึ ษาอุดรธานี บำรุงอุปกรณค์ อมพวิ เตอรแ์ ผนกวิชาคอมพิวเตอร์
ธุรกิจวทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาอุดรธานี

NCTechEd D08-2022


การประชมุ วชิ าการนาํ เสนอผลงานนักศกึ ษา
672 NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

4. วธิ ีดำเนนิ การวิจัย 5. สรปุ ผล อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ

4.1 เคร่อื งมือทีใ่ ชใ้ นการวิจัย 5.1 สรุปผลการวจิ ัย
4.1.1 เวบ็ แอพพลเิ คชัน่ ระบบการ 5.1.1 ผลการประเมินคุณภาพเว็บ

แจ้งซ่อมบำรุงอปุ กรณ์คอมพิวเตอรแ์ ผนกวชิ า แอพพลิเคชั่นระบบการแจ้งซ่อมบำรุงอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์ธรุ กิจวิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาอดุ รธานี ค อ ม พิ ว เต อ ร์ แ ผ น ก วิ ช า ค อ ม พิ ว เต อ ร์ ธุ ร กิ จ
วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาอุดรธานี พบวา่ ผู้เช่ียวชาญมี
4.1.2 แบบประเมนิ คณุ ภาพทมี่ ตี อ่ ความคิดเห็นต่อระบบท่ีพัฒนาอยูใ่ นระดับ มาก
เว็บแอพพลิเคชน่ั ระบบการแจง้ ซอ่ มบำรงุ อุปกรณ์ ที่สดุ
คอมพวิ เตอรแ์ ผนกวชิ าคอมพิวเตอรธ์ ุรกจิ วทิ ยาลัย
อาชีวศกึ ษาอุดรธานี โดยผ้เู ช่ียวชาญ 5.1.2 ผลการประเมินความพึง
พอใจของผู้ใช้งานเว็บแอพพลิเคช่ันระบบการ
4.1.3 แบบประเมินความพึงพอใจ แจ้งซ่อมบำรุงอุปกรณ์คอมพิวเตอร์แผนกวิชา
ของผู้ใช้งานท่ีมีต่อ เว็บแอพพลิเคช่ันระบบการแจ้ง คอมพิวเตอร์ธุรกิจวิทยาลัยอาชีวศึกษาอุดรธานี
ซ่ อ ม บ ำรุ งอุ ป ก ร ณ์ ค อ ม พิ วเต อ ร์ แ ผ น ก วิ ช า การประเมินความพึงพอใจทั้งหมดมี 4 ด้าน
คอมพิวเตอร์ธุรกจิ วิทยาลัยอาชวี ศึกษาอดุ รธานี พบว่า โดยภาพรวมความพึงพอใจอยู่ในระดับ
มาก
4.2 วธิ ีการเกบ็ รวบรวมข้อมลู
4.2.1 รวบรวมข้อมูลจากการใช้ 5.2 อภิปรายผล
5.2.1 ผลการวิเคราะห์ แบบ
แบบสอบถามประเมนิ ความพึงพอใจของ
กล่มุ เป้าหมาย จำนวน 16 คน ไดโ้ ดยการเลอื ก ประเมนิ คุณภาพเว็บแอพพลิเคชั่นระบบการแจ้ง
กลมุ่ เป้าหมาย ซ่ อ ม บ ำรุ ง อุ ป ก ร ณ์ ค อ ม พิ ว เต อ ร์ แ ผ น ก วิ ช า
ค อ ม พิ วเต อ ร์ธุรกิจวิท ยาลั ยอ าชี วศึ กษ า
4.2.2 ผลจากการเก็บรวบรวมขอ้ มูล อุดรธานี[2] โดยผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 3 ท่าน
ได้รับแบบสอบถามประเมนิ ความพงึ พอใจคนื พ บ ว่าผู้ เชี่ ยวชาญ มี ค วาม คิ ด เห็ น ต่ อ เว็บ
จำนวน 30 ฉบับ คดิ เป็นร้อยละ 100 ของ แอพพลิเคชั่นระบบการแจ้งซ่อมบำรุงอุปกรณ์
แบบสอบถามท่สี ง่ ไปท้ังหมด ค อ ม พิ ว เต อ ร์ แ ผ น ก วิ ช า ค อ ม พิ ว เต อ ร์ ธุ ร กิ จ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุดรธานี ท่ีผู้วิจัยสร้างและ
4.2.3 รวบรวมแบบสอบถามทง้ั หมด ออกแบบขึ้นอยู่ในระดับ มากที่สุด เนื่องจาก
ท่ไี ด้มาดำเนนิ การตามขั้นตอนการวิจยั ตอ่ ไป ผู้เช่ียวชาญมีความเชี่ยวชาญในเร่ืองการพัฒนา
ระบบเว็บแอพพลิเคชันโดยตรง จึงทำให้เว็บ
4.3 การวเิ คราะหข์ อ้ มลู แอพพลิเคชั่นระบบการแจ้งซ่อมบำรุงอุปกรณ์
ใน การวิเคราะห์ ข้อมูล ผู้วิจัยได้ ค อ ม พิ ว เต อ ร์ แ ผ น ก วิ ช า ค อ ม พิ ว เต อ ร์ ธุ ร กิ จ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุดรธานี ที่มีคุ ณ ภาพ
ดำเนนิ โดยใช้สถติ ติ ่างๆ ดังนี้ สอดคล้องกลับผลการวิจัยของ เพียงนภา แจ้ง
4.3.1 การวิเคราะห์รอ้ ยละ (%) เจนศิลป์ (2561) ได้ศึกษาการพัฒนาระบบแจ้ง
4.3.2 การวิเคราะห์ค่าเฉล่ีย (X̅ ) ซอ่ มอปุ กรณ์คอมพิวเตอรโ์ รงพยาบาลเจรญิ กรุง
4.3.3 การวิเคราะห์ส่วนเบี่ยงเบน ประชารกั ษ์ได้พัฒนา เสรจ็ ส้นิ ตามวัตถุประสงค์

มาตรฐาน (S.D.)

NCTechEd D08-2022


ทีต่ ้ังไว้ได้ครบถ้วน โดยระบบแจ้งซอ่ มอุปกรณ์ การประชุมวชิ าการนําเสนอผลงานนกั ศกึ ษา
คอมพิวเตอร์สามารถ นำไปใช้งานได้จริง เพ่ือ NCTechED-Student Workshop 2022 673
ความสะดวกในการใช้งานของพนักงาน และ
พนักงานสามารถค้นหาข้อมูล ในส่วนของ June 10,2022
ข้อมูลพนักงาน ข้อมูลการแจ้งซ่อมอปุกรณ์
คอมพิวเตอร์ได้อีกดว้ ย ระบบและเว็บไซต์ จำนวน 5 คน และอาจารย์
ประจำหอพัก/ นักศึกษาหอพกั เจ้าหน้าท่ีหอพัก
5.2.2 ผลการวิเคราะห์ แบบ แม่บ้านประจำหอพัก และช่างซ่อมบำรุงหอพัก
ประเมินความพึงพอใจท่ีมีต่อเว็บแอพพลิเคชั่น จำนวน 130 คน สถิตทิ ่ีใช้ในการวจิ ยั คอื คา่ เฉล่ีย
ระบบการแจ้งซ่อมบำรุงอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย 1.
วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุดรธานี การประเมินความ ระบบพัฒนาโมบายแอปพลิเคชันสำหรับการ
พึงพอใจมีทั้งหมด 4 ด้าน พบว่า โดยภาพรวม แจ้งซ่อมภายในหอพัก ระบบและองค์ประกอบ
อยู่ในระดับความพึงพอใจ มากที่สุด ( X̅ = 4 ด้าน ได้แก่ ด้านตรงตามความต้องการของ
4.55 , S.D.= 0.61) เน่ื อ ง จ า ก ร ะ บ บ เว็ บ ผู้ใช้งาน ด้านการทำงานได้ตามฟังก์ชันของ
แอพพลิเคชั่นระบบการแจ้งซ่อมบำรุงอุปกรณ์ ระบบ ด้านง่ายต่อการใช้งานของระบบ ด้าน
คอมพิวเตอร์วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุดรธานี ท่ี ความปลอดภัยของระบบ 2. ความคิดเห็นของ
ผู้วิจัยได้พัฒนาข้ึนพอว่าการจัดทำ ด้านการ ผูเ้ ช่ียวชาญที่มีต่อระบบพัฒนาโมบายแอพพลิเค
ออกแบบ ด้านคุณภาพของระบบในการสื่อ ชันสำหรับการแจ้งซ่อมภายในหอพัก ความ
ความหมาย ด้านการบริการด้านประโยชน์และ เหมาะสมอยู่ที่ในระดับ มาก ( X̅ = 4.39, S.D.=
การนำไปใช้ มีความเหมาะสมและมีการทำงาน 0.52) 3. ความพงึ พอใจสำหรบั ผู้ใชง้ านหอพกั มี
ท่ีไม่ซับซ้อน จึงทำให้ เว็บแอพพลิเคชั่นระบบ ความพึงพอใจอยู่ในระดับ มาก ( X̅ = 4.41,
การแจ้งซ่อมบำรงุ อุปกรณ์คอมพวิ เตอรว์ ิทยาลัย S.D.= 0.68)
อาชีวศึกษาอุดรธานี มีคุณภาพสอดคล้องกลับ
ผลการวจิ ัยของ รัตยากร ไทยพันธ วลยั ภรณ์ ศร 5.3 ข้อเสนอแนะ
เกลี้ยง และ ชวัลรัตน์ ศรีนวลปาน(2564) ได้ทำ 5.3.1 ข้อเสนอแนะจาก
การวิจัย เรื่อง การพัฒนาโมบายแอปพลิเคชัน
สำหรับการแจ้งซ่อมภายในหอพักนักศึกษา[3] มี ผลการวิจัย
วตั ถุประสงค์ 1. เพ่ือออกแบบและพัฒนาระบบ 1) ควรมีการใช้
แจ้งซอ่ มภายในหอพักนักศึกษาผ่านโมบายแอป
พลิเคชัน 2. เพ่ือประเมินประสิทธิภาพระบบ คำถามเพือ่ เช่ือมโยงเข้าสู่การปฏบิ ัติงานจริงให้
แจง้ ซอ่ มภายในหอพักนกั ศึกษาผ่านโมบายแอป ชดั เจน ตรงประเดน็
พลิเคชัน 3. เพ่ือประเมินความพึงพอใจการใช้
ระบบแจ้งซ่อมภายในหอพักนักศึกษาผ่านโม 2) ควรมีการ
บายแอปพลิเคชัน แบบสอบถามความพึงพอใจ จัดทำเอกสารคมู่ อื แนะนำการใช้ระบบ
สำหรับผู้ใช้งานหอพัก กลุ่มเป้าหมายในการ
วิจัยประกอบด้วย 2 กลุ่ม คือ ผู้เช่ียวชาญด้าน 3) ควรจัดอบรม
เพอ่ื ทบทวนวิธีการใช้งานเว็บแอพพลิเคชน่ั และ
NCTechEd D08-2022 เพ่ือแกไขปัญหาในการใชง้ านจรงิ

5.3.2 ขอ้ เสนอแนะเพอื่ การศกึ ษาการ
ทำวิจัยคร้ังต่อไป

1) เปน็ แนวทาง
ในการสรา้ งเว็บแอพพลิเคชัน่ การแจ้งซอ่ มบำรุง
อุปกรณ์คอมพวิ เตอรว์ ทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษา
อุดรธานี และรา้ นคา้ อื่น ๆ ในระดบั ท้องถน่ิ ได้


การประชมุ วิชาการนําเสนอผลงานนกั ศึกษา [2] ระบบฐานข้อมลู , (2560), (ออนไลน์)
674 NCTechED-Student Workshop 2022 https://sites.google.com/site/databaseeeee0089/.
(เขา้ ถงึ เมื่อ 3 ตลุ าคม 2564)
June 10,2022
[3] การวิเคราะหแ์ ละออกแบบระบบ,
2) นำผลการวิจัย (2560), (ออนไลน์)
ไปใชก้ บั แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกจิ ในวิทยาลัย https://sites.google.com/site/annzii2560/bth-thi-1-
เพ่ือเปน็ ระบบมาตรฐานในการพฒั นาต่อไป hlak-kar-wikheraah-laea-xxkbaeb-rabb. (เขา้ ถึงเม่ือ
19 เมษายน 2564)
เอกสารอ้างอิง
[1] แนวคิดทฤษฎแี ละงานวจิ ยั ที่เกีย่ วข้อง,

(2561), (ออนไลน์)
https://race.nstru.ac.th/home_ex/e-
portfolio//pic/academy/22951026.pdf. (เข้าถึงเมอ่ื
วันที่ 14 มกราคม 2564)

NCTechEd D08-2022


การประชุมวิชาการนาํ เสนอผลงานนักศกึ ษา
NCTechED-Student Workshop 2022 675

June 10,2022

การสร้างแอพพลเิ คชั่นเรียนรู้การใช้โปรแกรม ADOBE ILLUSTRATOR CC 2019

อเนชา สุขรัมย1์ * ปณาลี ผาสุข1 ดวงนภา ปิ ดตาทานงั 1 สุทธิสา ประดิษฐ1์ ภาณุเมศ ชุมภูนท1์
บทคัดย่อ

การสร้างแอพพลิเคช่ันเรียนรู้การใช้โปรแกรม Adobe Illustrator cc 2019 มีวตั ถุประสงค์ คือ 1) เพื่อสร้าง
แอพพลิเคชน่ั เรียนรู้การใชโ้ ปรแกรม Adobe Illustrator cc 2019 2) เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของผูเ้ รียน ที่มีต่อการ
ใชง้ านแอพพลิเคชน่ั เรียนรู้การใชโ้ ปรแกรม Adobe Illustrator cc 2019 กลุ่มตวั อย่างในการวิจยั ในคร้ังน้ี คือ ผเู้ รียน
ระดบั ช้นั ประกาศนียบตั รวิชาชีพ ช้นั ปี ที่ 3 กลุ่มท่ี 1 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลยั อาชีวศึกษาอุดรธานี
ไดม้ าโดยการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive Sampling) จาํ นวน 34 คน เครื่องมือที่ใชใ้ นการวิจยั ไดแ้ ก่ 1) แอพพลิเคชน่ั
เรียนรู้การใช้โปรแกรม Adobe Illustrator cc 2019 2) แบบประเมินคุณภาพที่มีต่อแอพพลิเคช่ันเรียนรู้การใช้
โปรแกรม Adobe Illustrator cc 2019 โดยผเู้ ช่ียวชาญ 3) แบบประเมินความพึงพอใจของนกั เรียนท่ีมีต่อแอพพลิเคชนั่
เรี ยนรู้การใช้โปรแกรม Adobe Illustrator cc 2019 โดยการวิเคราะห์ใช้ข้อมูลสถิติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย (x�)
และค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.)

ผลการวจิ ยั พบวา่
1. ผลการประเมินคุณภาพ การสร้างแอพพลิเคช่ันเรียนรู้การใช้โปรแกรม Adobe Illustrator cc 2019 พบว่า
ผเู้ ชี่ยวชาญมีความคิดเห็นต่อการสร้างแอพพลิเคชนั่ อยใู่ นระดบั มากท่ีสุด (x� = 4.61, S.D.= 0.64 )
2. ผลการประเมินความพึงพอใจของผูเ้ รียนต่อการสร้างแอพพลิเคชน่ั เรียนรู้การใชโ้ ปรแกรม Adobe Illustrator
cc 2019 การประเมินความพึงพอใจท้งั หมดมี 4 ดา้ น พบว่าภาพรวมความพึงพอใจอย่ใู นระดบั มากที่สุด (x� = 4.54,
S.D.=0.74 )
คาํ สาํ คญั : แอพพลิเคชนั่ , การสร้างแอพพลิเคชนั่ เรียนรู้การใชโ้ ปรแกรม Adobe Illustrator cc2019

1 สาขาวชิ าคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วทิ ยาลยั อาชีวศึกษาอุดรธานี สถาบนั การอาชีวศึกษาภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ 1
1* ผนู้ ิพนธ์ประสานงาน โทร 0610382876 อีเมล ; [email protected]


การประชุมวชิ าการนาํ เสนอผลงานนักศึกษา
676 NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

CREATING APPLICATIONS LEARN TO USE THE PROGRAM ADOBE
ILLUSTRATOR CC 2019

Anecha Sukram1* Panalee Phasuk1 Duangnapa Pidtathanang1 Suthisa Pradit1 andPanumes Chumphu1

Abstract
Creating application learn to use program Adobe Illustrator cc 2 0 1 9 has the following objectives:
1) to Creating application learn to use program Adobe Illustrator cc 2019 2) to study the satisfaction of learners who
The use of applications to learn to use program Adobe Illustrator cc 2019 The sample group in this research was
the 3rd year vocational certificate students, group 1, in the field of business computing. Udon Thani Vocational
College The results were obtained by random sampling (Purposive Sampling) of 34 people. The research tools were
1) the Adobe Illustrator cc 2019 learning app 2) the app quality assessment questionnaire. Learn to use Adobe
Illustrator cc 2019 program by experts 3) Assessment form for students' satisfaction with the application learning
to use Adobe Illustrator cc 2019 by analyzing statistical data, percentages, values Mean ( x� ) and standard deviation
(S.D)
The results showed that
1. Quality assessment results Creating application learn to use program Adobe Illustrator cc 2019, found
that experts have the highest opinion of creating applications (x� = 4.61, S.D.=0.64 )
2. The results of the assessment of learners' satisfaction in creating an application Creating application learn
to use program Adobe Illustrator cc 2019. There were 4 aspects of satisfaction assessment in total. It was found that
the overall satisfaction level was at the highest level. (x� = 4.54, S.D.=0.74 )

Keywords : Applications , Creating application learn to use program Adobe Illustrator cc 2019

1Business Computer at Udon thani Vocational College Udonthani Province 41000
Institute of Vocational Education : Northeastern region 1
* Anecha Sukram j Tel: +610382876 Mail ; [email protected]


1. บทนํา การประชุมวชิ าการนาํ เสนอผลงานนกั ศึกษา
เ ท ค โ น โ ล ยี ก า ร สื่ อ ส า ร ใ น ปั จ จุ บั น NCTechED-Student Workshop 2022 677

มีความกา้ วหนา้ ไปอยา่ งมาก ก่อใหเ้ กิดการพฒั นาต่อ June 10,2022
ยอดทางเทคโนโลยีท่ีหลากหลาย โดยท่ีปัจจุบัน
ความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยีไดเ้ ริ่มเขา้ มามีบทบาท เรียนรู้ให้กบั ผูเ้ รียนให้มีความสนุกไปพร้อมกบั การ
ทางด้านการจัดการศึกษามากข้ึน มีการพัฒนา เรียนรู้ช่วยเพ่ิมทักษะในด้านต่าง ๆ ให้กับผูเ้ รี ยน
ส่ือการเรี ยนรู้โดยใช้เทคโนโลยีท่ีทันสมัยต่าง ๆ ไดโ้ ดยไดท้ าํ การสํารวจงานวิจัยที่เก่ียวขอ้ งกบั การ
เช่นคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต ไปจนถึงสมาร์ทโฟน ใชแ้ อพพลิเคชนั่ ในการเรียนการสอนในประเทศไทย
เป็ นวิธีในการจูงใจให้นักเรี ยนเกิดความสนใจ ดว้ ยการสืบคน้ ขอ้ มูลแสดงให้เห็นว่ายงั มีการศึกษา
รู้สึกสนุกสนาน ต่ืนเตน้ โดยมีเป้าหมายเพ่ือส่งเสริม เรื่ องการนําแอพพลิเคช่ันเข้ามาใช้ในการเรี ยน
ส นั บ ส นุ น ใ ห้ เ กิ ด ก ร ะ บ ว น ก า ร เ รี ย น รู้ ท่ี มี การสอนในสาขาวิชาต่างๆเป็ นจาํ นวนนอ้ ยในขณะ
ประสิทธิภาพต่อผูเ้ รียน อย่างไรก็ตามจากผลการ ท่ีเทคโนโลยีในปัจจุบนั มีอุปกรณ์ใหเ้ ลือกใชใ้ นการ
สํารวจ พบว่าผูเ้ รี ยนไม่ได้ใช้สื่อและเครื่ องมือที่ เรียนการสอนที่ทนั สมยั ดงั น้นั จึงควรส่งเสริมการผลิต
ทนั สมยั ดงั กล่าว ในดา้ นการเรียนรู้มากนกั แต่ใชไ้ ป ส่ื อให้หลากหลายมากข้ึนในทุกระดับช้ันและ
กบั การเล่นเกม และปัจจยั ที่มีความสมั พนั ธต์ ่อการติด ใ น ส า ข า วิ ช า ห ลั ก เ ช่ น ภ า ษ า ไ ท ย วิ ท ย า ศ า ส ต ร์
เกมคอมพิวเตอร์ ได้แก่ การคล้อยตามกลุ่มเพื่อน ภาษาอังกฤษและคอมพิวเตอร์ ซ่ึงควรสร้างและ
รวมท้งั รูปแบบการเรียนการสอนและสื่อท่ีใชใ้ นการ พัฒนาแอพพลิเคช่ันให้มีความสนุก ทาํ ให้ผูเ้ รี ยน
เรียนการสอนสมยั น้ี อาจจะไม่สามารถตอบสนองกบั เพลิดเพลิน เน้นให้มีการลงมือทําทดลองจริงเป็ น
ผูเ้ รียนยุคปัจจุบัน ได้เท่าที่ควร ทาํ ให้เกิดช่องว่าง Learning by Doing ทําให้ผูเ้ รียนต้องลงมือเล่นจริ ง
ระหว่างการเรียนรู้ได้ (นางรัชนี เสนมงคล, 2558 : เกิดการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง มีกฎต่าง ๆ ที่ผอู้ อกแบบได้
100-105) [1] วางเอาไวเ้ พ่ือใหผ้ เู้ รียนไดป้ ฏิบตั ิตามเป็นแบบแผน มี
เป้าหมายเพื่อใหน้ กั เรียนมีเป้าหมาย มีแรงจูงใจท่ีจะ
การสร้างแอพพลิเคชั่น นับเป็ นนวัตกรรม ทําให้สําเร็จ ออกแบบมาให้นักเรี ยนมีการติดต่อ
สื่ อการสอนการเรี ยนรู้รู ปแบบใหม่ที่ออกแบบ สัมพันธ์ ทาํ ให้นักเรี ยนมีการส่ือสารระหว่างกัน
และสอดแทรกเน้ือหาบทเรียนลงไปในแอพพลิเคชน่ั ทาํ งาน กนั เป็นทีมร่วมกนั มากข้ึน
เพ่ือให้ผู้เรี ยนมีส่วนร่วมในการเรี ยนรู้ลงมือเล่น
และฝึ กปฏิบตั ิในการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง โดยในขณะที่ ดังน้ันผู้วิจัยจึ งมีแนวทางในการพัฒนา
ลงมื อเล่นนักเรี ย นจะได้รั บทักษะและความรู้ จา ก นักเรียนของนกั เรียนระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชีพ
เน้ือหาบทเรียนไปดว้ ยข้ึน (ธนกฤต โพธ์ิ,2561 : 1) [2] สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ เพ่ือให้นกั เรียนมีทกั ษะ
ในการคิดเชิงอุปมาอุปไมยที่ดีผวู้ ิจยั จึงไดท้ าํ การสร้าง
การสร้างแอพพลิเคช่นั เป็ นอีกวิธีการหน่ึงท่ี แอพพลิ เคชั่นเ รี ย นรู้ การ ใช้โ ปร แ กร มAdobe
สามารถส่งเสริมการเรียนรู้ของผูเ้ รียนให้ผูเ้ รียนเกิด Illustrator cc 2019 เพื่อใชเ้ ป็นส่ือการสอนในช้นั เรียน
ความรู้และทกั ษะใหม่ๆสามารถเรียนรู้ผ่านสมาร์ท ของนกั เรียนระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชีพสาขาวิชา
โฟน คอมพิวเตอร์ หรือ แทบ็ เลต็ ซ่ึงเป็นเคร่ืองมือใน คอมพิวเตอร์ธุรกิจ ในรูปแบบของแอพพลิเคช่ัน
การเรี ยนการสอนท่ีสามารถสร้างความสนใจในการ เพ่ือการเรียนรู้และเพื่อสร้างแอพพลิเคชนั่ เรียนรู้การ
ใช้โปรแกรม Adobe Illustrator cc2019 ให้มีความ
เหมาะสมกบั ผใู้ ชง้ านต่อไป


Click to View FlipBook Version