The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประชุมวิชาการการนำเสนอผลงาน ณ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) Engineering Education and Blended Learning to the NEXT-GENeration June 9-10, 2022

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ประชุมวิชาการการนำเสนอผลงาน ณ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) Engineering Education and Blended Learning to the NEXT-GENeration June 9-10, 2022

ประชุมวิชาการการนำเสนอผลงาน ณ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) Engineering Education and Blended Learning to the NEXT-GENeration June 9-10, 2022

Keywords: ประชุมวิชาการการนำเสนอผลงาน ณ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) Engineering Education and Blended Learning to the NEXT-GENeration June 9-10, 2022

การประชุมวิชาการนาํ เสนอผลงานนักศกึ ษา
228 NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

งานวิจัยของนิพล พลสอนดา และคณะ (2559) [4]
ได้จัดทาโครงการสงิ่ ประดษิ ฐ์เร่อื ง เปดิ ปิดพดั ลมด้วย
สมาร์ทโฟน โดยผลการวิจัยพบว่าอยู่ในระดับมาก
ค่าเฉล่ีย 3.59 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.72 ผู้ใช้งาน
ระบบเปิด ปิด พดั ลมด้วยสมารท์ โฟน มคี วามพึงพอใจ
ต่อชุดอุปกรณ์อยู่ในระดับมาก ประโยชน์ที่ได้รับ
ใช้สมาร์ทโฟนหรืออุปกรณ์เช่ือมต่อ และสอดคล้อง
กับวิจัยของ ฐาพิสิฐ คชรินทร์ และคณะ (2562) [5]
ได้จัดทาโครงการเร่ือง ระบบเปิด ปิด พัดลมด้วย
สมารท์ โฟน โดยแอพพลิเคช่ัน Blynk ผลการวิเคราะห์
ข้อมูลพบว่า ระดับความพึงพอใจต่อระบบเปดิ -ปดิ พัด
ลมด้วยสมาร์ทโฟนโดยแอปพลิเคชนั่ Blynk ภาพรวม
อยใู่ นระดับมากที่สุด

10. เอกสารอา้ งองิ
[1] มนูญ ศรวิ รณ, (2553), บทความ, “ภาวะโลกร้อน

กบั การใช้พลงั งาน”.
[2] ชศู รี วงศ์รัตนะ, 2541, เทคนิคการใช้สถติ ิเพ่ือการ

วิจยั , พมิ พค์ รงั้ ที่ 7, กรงุ เทพ ฯ :
ศูนย์หนังสอื จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย.
[3] เตอื นใจ อาชีวพณิช, 2556, การสงั่ การผ่าน
ระบบปฏบิ ัตกิ ารเพอ่ื ลดการใช้พลงั งาน,
โครงการวิจยั , คณะวิศวกรรมศาสตร์และ
สถาปตั ยกรรมศาสตร,์ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลสุวรรณภมู ิ.
[4] นพิ ล พลสอนดา และคณะ, (2559), เปิด ปิดพัดลม
ด้วยสมาร์ทโฟน, รายงานวิจัยและส่ิงประดิษฐ์,
วทิ ยาลัยเทคนคิ สองแคว.
[5] ฐาพิสิฐ คชรินทร์ และคณะ, (2562), ระบบเปิด
ปิดพัดลมด้วยสมาร์ทโฟน โดยแอพพลิเคชั่น
Blynk,รายงานวิชาโครงการ, วิทยาลัยเทคนิค
ระยอง.

NCTechEd B16-2022


การประชุมวชิ าการนาํ เสนอผลงานนักศึกษา
NCTechED-Student Workshop 2022 229

June 10,2022

ตู้อบผ้าควบคุมด้วยสมาร์ทโฟน

รัชตะ บวั ตุม1* สุเมธ คาํ สวสั ด์ิ1 วิทยากร เสมเหลา1 ยทุ ธนา จนั ทศิลา1 เรวตั ร อินถา1

บทคดั ย่อ
การสร้างตู้อบผา้ ควบคุมด้วยสมาร์ทโฟน มีวตั ถุประสงค์เพื่อ 1) สร้างตู้อบผา้ ควบคุมด้วยสมาร์ทโฟน
ใหส้ ามารถใชเ้ ป็นสื่อการเรียนการสอนในวทิ ยาลยั เทคนิคหนองบวั ลาํ ภู 2) เพ่ือหาประสิทธิภาพการทาํ งานของตูอ้ บ
ผา้ ควบคุมดว้ ยสมาร์ทโฟน และ 3) เพ่ือทดลองการใชง้ านของตูอ้ บผา้ ควบคุมดว้ ยสมาร์ทโฟน เพื่อใหส้ ามารถใชง้ าน
ได้จริง เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ได้แก่ ตู้อบผา้ ควบคุมดว้ ยสมาร์ทโฟนและแบบประเมินประสิทธิภาพ
การทาํ งาน และแบบทดลองการใชง้ านของชิ้นงาน สถิติที่ใช้ในการทดลองคือค่าเฉล่ีย (x�) และส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน (S.D.) ผลการทดลองพบว่า ตูอ้ บผา้ ควบคุมดว้ ยสมาร์ทโฟนมีประสิทธิภาพในการทาํ งาน โดยขอบเขต
ของการทาํ งานคือ สามารถอบผา้ ใหแ้ หง้ ได้ ในระยะเวลาท่ีแตกต่างกนั ตามผา้ แต่ละชนิด และสามารถฉีดพน่ น้าํ หอม
ไดท้ ุกคร้ังขณะใชง้ าน อาทิเช่น คร้ังท่ี 1 เส้ือผา้ ทวั่ ไป จาํ นวน 5 ตวั ใชเ้ วลาในการอบให้แห้ง 20 นาที คร้ังท่ี 2 ชุด
ทาํ งานหรือผา้ หนา จาํ นวน 4 ตวั ใชเ้ วลาในการอบใหแ้ หง้ 60 นาที คร้ังที่ 3 ผา้ ยีน จาํ นวน 3 ตวั ใชเ้ วลาในการอบ
ใหแ้ หง้ 50 นาที และผา้ ขนสตั วห์ รือผา้ ขนหนู จาํ นวน 2 ผืน ใชเ้ วลาในการอบใหแ้ หง้ 60 นาที และ สรุปผลการสรุป
แบบทดลองการใช้งานของชิ้นงาน ตูอ้ บผา้ ควบคุมด้วยสมาร์ทโฟน พบว่า การทดลองการใช้งานของชิ้นงาน
มีประสิทธิภาพโดยรวมอยูใ่ นระดบั ดี (x� = 4.13, S.D. = 0.53) โดยพิจารณารายขอ้ เรียงลาํ ดบั คะแนนเฉลี่ยจากมาก
ไปหานอ้ ยพบวา่ 8) ตูอ้ บผา้ ควบคุมดว้ ยสมาร์ทโฟนสามารถนาํ ไปใชไ้ ดจ้ ริง (x� = 5.00, S.D. = 0.65) 4) รองลงมาคือ
วงจรการทาํ งานของตูอ้ บผา้ ควบคุมดว้ ยสมาร์ทโฟนมีความถูกตอ้ ง ไม่ก่อให้เกิดอนั ตราย (x� = 4.67, S.D. = 0.69)
6) สามารถแกไ้ ขปัญหาในชีวิตประจาํ วนั ได้ (x� = 4.67, S.D. = 0.62) 1) สามารถอบผา้ ไดแ้ ห้งสนิท ภายในเวลา
15 นาที (x� = 4.33, S.D. = 0.52) 5) วสั ดุ อุปกรณ์ท่ีใช้หาซ้ือไดง้ ่ายและมีประสิทธิภาพ (x� = 4.00, S.D. = 0.54)
7) ชิ้นงานเกิดจากความคิดสร้างสรรค์ (x� = 4.00, S.D. = 0.50) 9) ตูอ้ บผา้ ควบคุมดว้ ยสมาร์ทโฟนสามารถนาํ ไปต่อ
ยอดไดใ้ นอนาคต (x� = 4.00, S.D. = 0.41) 10) ประสิทธิภาพโดยรวมของชิ้นงาน (x� = 4.00, S.D. = 0.47) 2) ข้นั ตอน
การทาํ งานของตูอ้ บผา้ ควบคุมดว้ ยสมาร์ทโฟน มีความเหมาะสม (x� = 3.67, S.D. = 0.48) 3) มีระบบการป้องกนั
อนั ตรายจากไฟฟ้าที่อาจเกิดข้ึน (x� = 3.00, S.D. = 0.39) ตามลาํ ดบั

1สาขาวชิ าเทคโนโลยไี ฟฟ้า วิทยาลยั เทคนิคหนองบวั ลาํ ภู สถาบนั การอาชีวศึกษาภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ 1
1*ผนู้ ิพนธ์ประสานงาน โทร 09346572720 อีเมล ; [email protected]


การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานนักศึกษา
230 NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

DRYER CONTROLLED BY SMARTPHONE

Ratchata buatum1*, Sumet Khamsawat 1, Witthayakorn Semlao,1
uttana Janthasila1, and Ravhat Intha1

Abstract

The construction of the Dryer Controlled by smartphones project has the objectives of 1) build a clothes dryer
controlled by a smartphone to be used as teaching aids in Nongbualamphu Technical College 2) to find out the
performance of the clothes dryer controlled by a smartphone, and 3) to test the use of a clothes dryer controlled by
a smartphone to be able to use. The tools used in the experiment were: Smartphone Controlled Dryers and
Performance Assessment and sample use of the workpiece Statistics used in the experiment are the mean (x�) and
Standard Deviation (S.D.) As a result, the Dryer is Controlled by Smartphones is very effective
in its function. The scope of work includes the ability to tumble dry fabrics for varying periods of time depending
on the type of fabric and the ability to spray perfume every time during use, such as the first time, 5 general clothes,
which takes 20 minutes to dry. The second time, use four work clothes or thick garments, and allow 60 minutes for
drying. The third time, three jeans take a long time to dry allow 50 minutes for drying, and 2 pieces of wool or
towel, 60 minutes for drying, and the results of an experiment with Dryer Controlled by smartphones; during the
workpiece's testing use, it was discovered that Overall efficiency was good level (x� = 4.13, S.D. = 0.53). In
declining order of average scores, it was discovered that 8) The smartphone-controlled dryer can be used in practice
(x� = 5.00, S.D. = 0.65). 4) Second is that the working cycle of the dryer controlled by a smartphone is accurate.
Harmless ( x� = 4.67, S.D. = 0.69). 6) Able to solve everyday problems ( x� = 4.67, S.D. = 0.62).
1) The clothes can be completely dried in 15 minutes (x� = 4.33, S.D. = 0.52). 5) Materials and equipment that are
easily available for purchase and efficiency (x� = 4.00, S.D. = 0.54). 7) Creative works ( x� = 4.00, S.D. = 0.50).
9) Dryers controlled by smartphones can be further developed. in the future( = 4.00, S.D. = 0.41). 10)
overall efficiency of the workpiece (x� = 4.00, S.D. = 0.47). 2) the working procedure of the dryer controlled by
smartphone is suitable ( x� = 3.67, S.D. = 0.48). 3) there is a system to control Protection against potential electrical
hazards ( x� = 3.00, S.D. = 0.39). respectively.

Keywords: Dryer Controlled by Smartphone

*1, Electrical Technology Nongbualamphu Technical Nongbualamphu 39000
Institute of Vocational Education : Northeastern region 1
* Ratchata buatum Tel: 09346572720 e-Mail; [email protected]


1. บทนํา การประชมุ วชิ าการนาํ เสนอผลงานนกั ศึกษา
ประเทศไทย ต้งั อยู่ในเขตร้อนใกลเ้ ส้นศูนยส์ ูตร ทาํ NCTechED-Student Workshop 2022 231
ให้ ภูมิอากาศ ของประเทศมีลกั ษณะเป็นแบบร้อนช้ืน
ท่ัวประเทศมีอุณหภูมิเฉล่ียระหว่าง 19-38 องศา June 10,2022
เซลเซียส อากาศจะร้อนท่ีสุดช่วงกลางเดือนเมษายน
หลงั จากน้ัน ภายใตอ้ ิทธิพลของลมมรสุมตะวนั ตก ในการจัดการ ท่ีจะคอยเก็บผา้ หรือชุดที่ตากไวใ้ น
เฉียงใตแ้ ละตะวนั ออกเฉียงเหนือทาํ ใหป้ ระเทศไทย เวลาที่มีฝนตก หรือลมพดั ทาํ ใหเ้ ส้ือตกลงพ้ืนดินและ
เ ข้า สู่ ฤ ดู ฝ น แ ล ะ ฤ ดู ห น า ว พ้ื น ที่ ท้ ัง ป ร ะ เ ท ศ ไ ด้รั บ เป้ื อนโคลนได้
ปริมาณฝนอย่างเพียงพอ ยกเวน้ บางพ้ืนที่เท่าน้นั แต่
ระยะเวลาของฤดูฝนและปริ มาณฝนมีความแตกต่าง ดงั น้นั คณะผจู้ ดั ทาํ โครงการจึงไดเ้ กิดความคิด
กนั ไปตามภูมิภาคและระดบั ความสูง แมว้ ่าประเทศ ที่จะสร้างตูอ้ บผา้ ควบคุมดว้ ยสมาร์ทโฟนข้ึน
ไทยจะมีพ้ืนที่อยู่ในเขตร้อน แต่ก็มีสภาพอากาศที่ เพ่ือแกป้ ัญหาการซกั ผา้ ในชีวิตประจาํ วนั และเพ่ือให้
แตกต่างกันเน่ืองจากปัจจัยดังต่อไปน้ี ท่ีต้ังตาม ส า ม า ร ถ ใ ช้ เ ป็ น สื่ อ ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ใ น
ละติจูด ความสูงของพ้ืนที่ แนวทิวเขาที่ขวางก้ัน วิทยาลยั เทคนิคหนองบวั ลาํ ภู เป็นความรู้แก่นกั เรียน
ทิศทางลมประจาํ ทิศทางของลมประจาํ อิทธิพลของ นกั ศึกษารุ่นหลงั พร้อมท้งั เพื่อหาประสิทธิภาพการ
ลมพายุหมุน มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ พัดปกคลุม ทาํ งาน และการทดลองใชง้ านเพื่อท่ีจะใหส้ ามารถต่อ
ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ร ะ ห ว่ า ง ก ล า ง เ ดื อ น พ ฤ ษ ภ า ค ม ถึ ง ยอดไดใ้ นอนาคต
กลางเดือนตุลาคม ทําให้มีเมฆมากและฝนตกชุก
ทวั่ ไป และเทือกเขาดา้ นรับลม 2. วตั ถุประสงค์ของโครงการ
จะมีฝนมากกวา่ บริเวณอื่น หลงั จากหมดอิทธิพลของ 2.1 เพื่อสร้างตู้อบผา้ ควบคุมด้วยสมาร์ทโฟน
มรสุมตะวนั ตกเฉียงใต้แล้ว ประมาณกลางเดือน
ตุลาคมจะมีมรสุมตะวนั ออกเฉียงเหนือพดั ปกคลุม ใ ห้ส า มา ร ถ ใ ช้เ ป็ นสื่ อ กา รเ รี ยนกา ร สอ นใน
ประเทศไทยจนถึง กลางเดือนกุมภาพนั ธ์ พดั พาเอา วทิ ยาลยั เทคนิคหนองบวั ลาํ ภู
มวลอากาศเยน็ เขา้ มาปกคลมุ ประเทศไทย[1]
2.2 เพื่อหาประสิทธิภาพการทาํ งานของตูอ้ บผา้
จากขอ้ มูลที่ในขา้ งต้นสรุปไดว้ ่าในภูมิภาคของ ควบคุมดว้ ยสมาร์ทโฟน
ประเทศไทย มีช่วงของฤดูท่ีมีความช้ืนในอากาศ
มากกวา่ 2 ใน 3 ส่วน ของปี และยงั ไม่รวมพายใุ นฤู 2.3 เพ่ือทดลองการใชง้ านของตูอ้ บผา้ ควบคุมดว้ ย
น้ัน ๆ เช่น พายุฤดูร้อนท่ีจะเข้ามาในช่วงเดือน สมาร์ทโฟน เพ่ือใหส้ ามารถใชง้ านไดจ้ ริง
เมษายนถึงช่วงเดือนพฤษภาคม ซ่ึงทาํ ใหส้ ภาพอากาศ
โดยส่วนมากมีความช้ืนในอากาศมาก และปัญหาท่ี 3. ขอบเขตงานวจิ ยั
พบมากที่สุดในการใชช้ ีวิตประจาํ วนั คือ การตากผา้ 3.1 เกิดประสิทธิภาพการทํางานของ ตู้อบผ้า
หรือชุดอนั เนื่องมาจากสภาพอากาศมีความช้ืนเป็ น
ส่วนมาก และสาํ หรับคนในวยั ทาํ งานทาํ ใหไ้ ม่มีเวลา ควบคุมดว้ ยสมาร์ทโฟน
3.2 ทดลองการใช้งานของตูอ้ บผา้ ควบคุมด้วย

สมาร์ทโฟน เพื่อใหส้ ามารถใชง้ านไดจ้ ริง

4. นิยามศัพท์
4.1 ตูอ้ บผา้ หมายถึง ตูอ้ บผา้ ดว้ ยลมร้อนจาก

ฮีตเตอร์และใชพ้ ดั ลมเป่ าผ่านให้ลมร้อนพดั โดนผา้
ภายในตู้

4.2 ควบคุมดว้ ยสมาร์ทโฟน หมายถึง การควบคุม
การทาํ งานของตูอ้ บผา้ โดยใชส้ มาร์ทโฟน


การประชมุ วิชาการนาํ เสนอผลงานนกั ศึกษา 5.3 วธิ ีการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
232 NCTechED-Student Workshop 2022 5.3.1 ดําเนินการจัดทําแบบประเมิน

June 10,2022 ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ก า ร ทํา ง า น ข อ ง โ ค ร ง ก า ร แ ล ะ แ บ บ
ทดลองการใชง้ านของชิ้นงาน ตูอ้ บผา้ ควบคุมดว้ ย
ผา่ นเวบ็ Anto สมาร์ทโฟน
4 . 3 ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ก า ร ทํา ง า น ห ม า ย ถึ ง
5.3.2 ย่ืนเสนออาจารย์ท่ี ปรึ กษา
กระบวนการ วิธีการ หรือการกระทาํ ใด ๆ ท่ีนาํ ไปสู่ เพ่ือตรวจสอบความถูกตอ้ ง ของหัวขอ้ แบบประเมิน
ผลสาํ เร็จ โดยใชท้ รัพยากรต่าง ๆ อนั ไดแ้ ก่ ทรัพยากร ประสิทธิภาพการทาํ งานและแบบทดลองการใชง้ าน
ทางธรรมชาติ แรงงาน เงินทุน และวิธีการดาํ เนินการ พร้อมตรวจสอบเอกสารเตรียมทาํ การสาํ รวจ
หรือประกอบการที่มีคุณภาพสูงสุดในการดาํ เนินการ
ไดอ้ ยา่ งเตม็ ศกั ยภาพ 5.3.3 ดาํ เนินการเกบ็ ขอ้ มูลจากอาจารย์
ที่ปรึกษา 1 ท่าน และผทู้ รงคุณวฒุ ิ จาํ นวน 3 ท่าน โดย
5. วธิ ีการดาํ เนนิ โครงการ การแจกแบบประเมินประสิทธิภาพการทาํ งานและ
5.1 ในการออกแบบ โครงการ ตู้อบผ้า แบบทดลองการใชง้ านดว้ ยตนเอง พร้อมกบั ทดลอง
ใชง้ าน ตูอ้ บผา้ ควบคุมดว้ ยสมาร์ทโฟน จากการเก็บ
ควบคุมด้วยสมาร์ทโฟน คณะผูจ้ ัดทาํ โครงการได้ รวบรวมขอ้ มูลจากผทู้ รงคุณวุฒิ บริษทั โทรคมนาคม
ปรึกษา อาจารย์ แห่งชาติ จาํ กดั (มหาชน) จาํ นวน 3 ท่าน
ท่ีปรึ กษาในแต่ละข้ันตอนถึงแนวทางในการวาง
แผนการดาํ เนินงานโครงการ เพื่อดาํ เนินการสร้าง 5.3.4 ดําเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล
ตู้อบผ้าควบคุมด้วยสมาร์ทโฟน ให้เป็ นไปตาม แ บ บ ป ร ะ เ มิ น ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ก า ร ทํา ง า น แ ล ะ แบบ
ข้นั ตอนการแนะนาํ ของอาจารยท์ ่ีปรึกษาตลอดจนถึง ทดลองการใช้งานของชิ้นงาน และสํารวจความ
ข้นั ตอนประสบความสําเร็จของชิ้นงานน้ัน ผูจ้ ดั ทาํ เรียบร้อย ความสมบูรณ์ เพื่อนาํ มาวิเคราะห์ขอ้ มูลใน
โครงการไดก้ าํ หนดการจดั ทาํ โครงการ รายละเอียด ข้นั ตอนต่อไป
และแบบแผนข้นั ตอนการดาํ เนินโครงการ
5.4 การวิเคราะหข์ อ้ มลู
5.2 เคร่ืองมือที่ใชใ้ นการศึกษาโครงการ โดยการหาค่าเฉล่ีย และส่วนเบี่ยงเบน
5.2.1 เคร่ื องมื อที่ ใช้ในการศึ ก ษ า
ม า ต ร ฐ า น ( mean), (Arithmetic mean, standard
โครงการ คือ แบบประเมินประสิทธิภาพการทาํ งาน deviation หรือใชส้ ญั ลกั ษณ์ x�,S.D.) (ชูศรี วงศร์ ัตนะ,
และแบบทดลองการใช้งานของชิ้นงาน ตู้อบผา้ 2541 : 66)[2]
ควบคุมดว้ ยสมาร์ทโฟน
6. สรุปผล
5.2.2 การสร้างเคร่ืองมือ โดยการศึกษาตาม 6.1 ผลการประเมินประสิทธิภาพการทาํ งาน
หลกั การ และทฤษฎีที่เก่ียวข้องของโครงการเพ่ือ
สร้าง ตู้ อ บ ผ้ า ค ว บ คุ ม ด้ ว ย ส ม า ร์ ท โ ฟ น พ บ ว่ า
แบบประเมินหาประสิทธิภาพการทาํ งาน และแบบ มีประสิทธิภาพในการทาํ งาน โดยขอบเขตของการ
ทดลองการใชง้ านของชิ้นงาน โดยกาํ หนดประเด็น ทาํ งานคือ สามารถอบผา้ ให้แห้งได้ ในระยะเวลาที่
ให้สอดคลอ้ งกบั วตั ถุประสงค์และความเป็ นมาของ แตกต่างกนั ตามผา้ แต่ละชนิด และสามารถฉีดพ่น
โครงการ พร้อมกับนําเสนออาจารยท์ ่ีปรึกษาหรือ
ผูท้ รงคุณวุฒิ เพื่อตรวจสอบความถูกตอ้ ง และความ
สอดคลอ้ งของขอ้ คาํ ถามในแบบประเมิน


น้ําหอมได้ทุกคร้ังขณะใช้งาน อาทิเช่น คร้ังท่ี 1 การประชมุ วชิ าการนําเสนอผลงานนกั ศึกษา
เส้ือผา้ ทวั่ ไป จาํ นวน 5 ตวั ใชเ้ วลาในการอบใหแ้ หง้ NCTechED-Student Workshop 2022 233
20 นาที คร้ังที่ 2 ชุดทาํ งานหรือผา้ หนา จาํ นวน 4 ตวั
ใช้เวลาในการอบให้แห้ง 60 นาที คร้ังที่ 3 ผา้ ยีน June 10,2022
จํานวน 3 ตัว ใช้เวลาในการอบให้แห้ง 50 นาที
และผา้ ขนสัตวห์ รือผา้ ขนหนู จาํ นวน 2 ผืน ใชเ้ วลา ในระยะเวลาท่ีแตกต่างกนั ตามผา้ แต่ละชนิด และ
ในการอบใหแ้ หง้ 60 นาที สามารถฉี ดพ่นน้ําหอมได้ทุกคร้ังขณะใช้งาน
เน่ืองจาก ผจู้ ดั ทาํ โครงการไดด้ าํ เนินการแบบแผนการ
6.2 ผลการสรุปการทดลองการใชง้ านของชิ้นงาน ทดลอง ตลอดจนใช้วสั ดุ อุปกรณ์ที่มีคุณภาพ และ
มีประสิทธิภาพโดยรวมอยู่ในระดับ ดี (x� = 4.13, ประสิทธิภาพการใชง้ านตามทอ้ งตลาดจริง ซ่ึงผจู้ ดั ทาํ
S.D. = 0.53) โดยพิจารณารายขอ้ เรียงลาํ ดบั คะแนน โครงการสร้างจากความรู้และความเข้าใจในการ
เฉลี่ยจากมากไปหานอ้ ยพบว่า 8) ตูอ้ บผา้ ควบคุมดว้ ย จดั ทาํ โครงการส่งผลทาํ ใหส้ ามารถใชง้ านไดจ้ ริง เกิด
สมาร์ทโฟนสามารถนาํ ไปใชไ้ ดจ้ ริง (x� = 5.00, S.D. ผลสําเร็จของโครงการ และการทดลองการใช้งาน
= 0.65) 4) รองลงมาคือ วงจรการทาํ งานของตูอ้ บผา้ ของชิ้ นงาน ตู้อบผ้าควบคุมด้วยสมาร์ ทโฟน
ควบคุมดว้ ยสมาร์ทโฟนมีความถูกตอ้ ง ไม่ก่อให้เกิด มีประสิทธิภาพโดยรวมอยู่ในระดับดี เน่ืองจาก
อนั ตราย (x� = 4.67, S.D. = 0.69) 6) สามารถแก้ไข สามารถอบผ้าได้แห้งสนิท ภายในเวลา 15 นาที
ปัญหาในชีวิตประจาํ วนั ได้ (x� = 4.67, S.D. = 0.62) ข้ันตอนการทํางานมีความเหมาะสม มีระบบการ
1) สามารถอบผา้ ไดแ้ หง้ สนิท ภายในเวลา 15 นาที (x� ป้องกันอันตรายจากไฟฟ้าท่ีอาจเกิดข้ึน วงจรการ
= 4.33, S.D. = 0.52) 5) วสั ดุ อุปกรณ์ที่ใช้หาซ้ือได้ ทาํ งานของตูอ้ บผา้ ควบคุมดว้ ยสมาร์ทโฟนมีความ
ง่ายและมีประสิทธิภาพ (x� = 4.00, S.D. = 0.54) 7) ถูกตอ้ ง ไมก่ ่อใหเ้ กิดอนั ตราย วสั ดุ อุปกรณ์ที่ใชห้ าซ้ือ
ชิ้นงานเกิดจากความคิดสร้างสรรค์ (x� = 4.00, S.D. = ไดง้ ่ายและมีประสิทธิภาพ สามารถแกไ้ ขปัญหาใน
0.50) 9) ตู้อบผา้ ควบคุมด้วยสมาร์ทโฟนสามารถ ชีวิตประจาํ วนั ได้ ชิ้นงานเกิดจากความคิดสร้างสรรค์
นําไปต่อยอดไดใ้ นอนาคต (x� = 4.00, S.D. = 0.41) ของผูจ้ ดั ทาํ โครงการ สามารถนาํ ไปต่อยอดได้ใน
10) ประสิทธิภาพโดยรวมของชิ้นงาน (x� = 4.00, อนาคต ซ่ึงปัจจุบนั การสร้างผลงานโครงการ หรือ
S.D. = 0.47) 2) ข้ันตอนการทํางานของตู้อบผ้า ส่ิงประดิษฐต์ อ้ งคาํ นึงถึงความสะดวก สบาย และตอ้ ง
ควบคุมดว้ ยสมาร์ทโฟน มีความเหมาะสม (x� = 3.67, ง่ายต่อการใชง้ าน เพื่อใหเ้ ขา้ ถึงผใู้ ชท้ ุกเพศทุกวยั และ
S.D. = 0.48) 3) มีระบบการป้องกนั อนั ตรายจากไฟฟ้า ดว้ ยเทคโนโลยที ี่ทนั สมยั กบั โทรศพั ทม์ ือถือเคลื่อนท่ี
ที่อาจเกิดข้ึน (x� = 3.00, S.D. = 0.39) ตามลาํ ดบั ทําให้การอบผ้าเป็ นไปได้ง่าย ปลอดภัยและช่วย
ประหยดั เวลาและลดปัญหาในการตากผา้ ขณะท่ีฝน
7. อภปิ รายผล ตกหรือลมแรง ตลอดจนไม่ทาํ ให้เส้ือผา้ เป้ื อน การ
การประเมินประสิทธิภาพการทาํ งาน ตูอ้ บ ตอ้ งตากผา้ ในบา้ นอาจจะทาํ ใหเ้ ส้ือผา้ อบั ช้ืน ชิ้นงาน
จึงออกแบบมาเพื่อสามารถพ่นน้ํายาฆ่าเช้ือ หรื อ
ผา้ ควบคุมดว้ ยสมาร์ทโฟน พบว่ามีประสิทธิภาพใน น้าํ หอมใหเ้ ส้ือผา้ ได้ เพื่อลดกล่ินเหมน็ อบั จากเหตุผล
การทาํ งาน โดยขอบเขตของการทาํ งานคือ สามารถ ที่กล่าวมาขา้ งตน้ ตูอ้ บผา้ ควบคุมดว้ ยสมาร์ทโฟนจึง
อบผา้ ใหแ้ หง้ ได้ เป็ นชิ้นงานท่ีสามารถแกไ้ ขปัญหาในชีวิตประจาํ วนั
ได้ ซ่ึงสอดคลอ้ งกบั งานวิจยั ของกิตติกร อ่อนน้อม
และคณะ (2560) [3] ไดจ้ ดั ทาํ โครงการสิ่งประดิษฐ์
เรื่ อง ระบบเปิ ด ปิ ดไฟฟ้าแสงสว่างด้วยมือถือ


การประชมุ วชิ าการนาํ เสนอผลงานนักศกึ ษา ท่ีสามารถนําไปพัฒนาต่อยอดเพื่อจาํ หน่ายให้แก่
234 NCTechED-Student Workshop 2022 ระดบั ครัวเรือนได้

June 10,2022 8.3 สร้างตูอ้ บผา้ ควบคุมดว้ ยสมาร์ทโฟน
ท่ีสามารถอบผา้ ไดท้ ่ีละจาํ นวนมาก
วัตถุประสงค์ของโครงการ เพื่ อประยุกต์ใช้
เทคโนโลยี บลูทูธในการควบคุมอุปกรณ์ไฟฟ้า และ เอกสารอ้างองิ
สร้างระบบตน้ แบบ เพื่อแสดงการทาํ งานของระบบ [1] วกิ ิพีเดีย, (ม.ป.ป.), ภูมิอากาศไทย, เขา้ ถึง
ควบคุมอุปกรณ์ไฟฟ้าผ่านการสื่อสารไร้สายบลูทูธ
เพ่ือใหเ้ กิดความสะดวกสบายและเพิ่มประสิทธิภาพ ไดจ้ าก https://th.wikipedia.org/wiki/
ของอุปกรณ์ไฟฟ้า ซ่ึงผลการทดลองพบว่า สามารถ ภูมิอากาศไทย, เขา้ ถึง เมื่อวนั ท่ี 20 มกราคม
ใชง้ านไดอ้ ยใู่ นระดบั ดี สอดคลอ้ งกบั งานวิจยั ของเอก 2565.
ชัย รัตนบรรลือ และคณะ (2561)[4] ได้จัดทํา [2] ชูศรี วงศร์ ัตนะ. (2541). เทคนิคการใชส้ ถิติ
โครงการ เรื่อง เครื่องอบแหง้ เปลือกแหว้ ดว้ ยเทคนิค เพ่ือการวจิ ยั . พิมพค์ ร้ังท่ี 7. กรุงเทพ ฯ :
สนามไฟฟ้าร่วมกับปั๊มความร้อน ผลการทดลอง ศูนยห์ นงั สือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั .
พบว่า เครื่ องอบแห้งเปลือกแห้วด้วยเทคนิ ค [3] กิตติกร ออ่ นนอ้ ม และคณะ, (2560), ระบบ
สนามไฟฟ้าร่วมกบั ป๊ัมความร้อน เม่ือเทียบกบั การใช้ เปิ ด ปิ ดไฟฟ้าแสงสวา่ งดว้ ยมือถือ, เขา้ ถึง
ตูอ้ บลมร้อน สามารถลดเวลาในการอบแห้งลงได้ 1 ไดจ้ าก https://elecschool.navy.mi.th /pro/
ชั่วโมง และมีอตั ราการลดลงของน้ําหนักเร็วกว่า doc60/, เขา้ ถึงเม่ือ วนั ที่ 20 มกราคม 2565.
14.5% และมีอตั ราการระเหยท่ีเร็วกวา่ การใชป้ ๊ัมความ [4] เอกชยั รัตนบรรลือ, (2561), เครื่องอบแหง้
ร้อนเพียงอย่างเดียว ผลการทดลองพบวา่ สามารถใช้ เปลือกแหว้ ดว้ ยเทคนิคสนามไฟฟ้าร่วมกบั ป๊ัม
งานไดอ้ ยู่ในระดบั ดี และสอดคลอ้ งกบั งานวิจยั ของ ความร้อน,เขา้ ถึงไดจ้ าก
อภิรักษ์ พนั ธุพ์ ณาสกลุ และคณะ (2562)[5] ไดจ้ ดั ทาํ http://www.rdi.rmutsb.ac.th/2011
โครงการเร่ือง การพัฒนาระบบควบคุม เปิ ด-ปิ ด /download/n60/1.pdf, เขา้ ถึงเมื่อ
ไฟฟ้ าและเครื่ องปรับอากาศผ่านสมาร์ทโฟน วนั ท่ี 20 มกราคม 2565.
มีวตั ถุประสงคเ์ พ่ือสร้างและพฒั นาระบบควบคุมการ [5] อภิรักษ์ พนั ธุพ์ ณาสกลุ และคณะ, (2562),
เปิ ด ปิ ด ไฟฟ้าและเครื่องปรับอากาศผา่ นสมาร์ทโฟน การพฒั นาระบบควบคุมเปิ ด ปิ ด ไฟฟ้า
และศึกษาลกั ษณะการทาํ งานของไมโครคอลโทเลอร์ และเครื่องปรับอากาศผา่ นสมาร์ทโฟน, เขา้ ถึง
Arduino เพ่ือประยุกต์ใช้ในการควบคุมการทาํ งาน ไดจ้ าก http://www.hu.ac.th/,
ของระบบเปิ ด ปิ ด เครื่ องใช้ไฟฟ้า และได้มีการ เขา้ ถึงเมื่อ วนั ท่ี 20 มกราคม 2565.
นําเสนอฃผ่านระบบแอพพลิเคชัน่ Blynk มาใช้ใน
การเซ็ตค่าเพ่ือควบคุมได้อย่างแม่นยาํ ซ่ึงผลการ
ทดลองพบวา่ สามารถใชง้ านไดอ้ ยใู่ นระดบั ดี

8. ข้อเสนอแนะ
8.1 สร้างตูอ้ บผา้ ควบคุมดว้ ยสมาร์ทโฟน

ท่ีสามารถเคลื่อนท่ีไดโ้ ดยสมาร์ทโฟน
8.2 สร้างตูอ้ บผา้ ควบคุมดว้ ยสมาร์ทโฟน


การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานนกั ศึกษา
NCTechED-Student Workshop 2022 235

June 10,2022

เครื่องลา้ งแผงโซลา่ เซลล์

ธนาพร กำลงั ดี1*, ปฏิภาณ สทุ ำมา2 และ ฐาปกรณ์ สุธรรมา3

บทคดั ย่อ

แนวคิดในการบำรุงรักษาแผงโซล่าเซลล์ เพื่อให้การปฏิบัติงานนั้นให้มีความสะดวกรวดเร็วและมี
ประสิทธิภาพ จึงเกิดแนวคิดที่จะสร้างเครื่องมือชนิดหนึ่งในการทำความสะอาดแผงโซล่าเซลล์ให้สะดวก
รวดเร็วและประหยดั เวลาในการทำงาน จงึ นำเอาปญั หาน้ีมาสร้างเครื่องลา้ งแผงโซลา่ เซลล์

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างเครื่องล้างแผงโซล่าเซลล์และหาความพึงพอใจในการสร้างชิ้นงาน
ตามหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า วิทยาลัยเทคนิคเลย ประจำปีการศึกษา 2563
ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าในเรื่องนี้ได้แก่ นักศึกษาระดับ ปวส.2 วิทยาลัยเทคนิค
เลย จำนวน 16 คน และนักศึกษาระดับปริญญาตรีเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า จำนวน 14 คน
รวมทงั้ หมดจำนวน 30 คน ท่ที ดลองใช้เครื่องล้างแผงโซล่าเซลล์

ผลการประเมินคุณภาพของเครื่องล้างแผงโซล่าเซลล์ พบว่า ความพงึ พอใจตอ่ เคร่ืองล้างแผงโซล่าเซลล์ใน
ภาพรวมอยู่ในระดับมาก (x̅ = 4.41, S.D. = 0.61) เมื่อพจิ ารณาเป็นด้านพบว่ามี ความพึงพอใจอยู่ที่ระดับมาก
ทุกด้านเรียงตามลำดับจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านการออกแบบ (x̅ = 4.46, S.D. = 0.58) ด้านการทำงาน
(x̅ = 4.45, S.D. = 0.63) และด้านการใช้งาน (x̅ = 4.32, S.D. =0.61 ) ซึ่งอยู่ระดบั ความพึงพอใจมาก
คำสำคัญ: แผงโซล่าเซลล์

1,2,3 สาขาวชิ าเทคโนโลยีไฟฟ้า วิทยาลยั เทคนคิ เลย สถาบนั การอาชวี ศึกษาภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื 1
*ธนาพร กำลังดี โทร +6621155949 อเี มล ; [email protected]

NCTechEd B18-2022


การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานนักศึกษา
236 NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

THE SOLARCELL CLEANING MACHINE

Thanaporn Kamlangdee1*, Patiphan Suthamma2 And Thapakorn Suthamma3
ABSTRACT

The concept to maintenance the solar panel in order to convince and work efficiency. The researchers had an
idea to construct the solar cell cleaning machine so as to work fast and save time.

The objectives of this project were construct the solar cell cleaning machine and find the satisfaction . The
population and sample were the 16 teachers and 14 students bachelor’s degree in electrical technology at Loei
Technical College.

The quality of the solar cell cleaning machine found that, the overall of satisfaction of the 30 with the solar cell
cleaning machine was at the high level (x̅ = 4.41, S.D. = 0.61) When considering all items of the satisfaction were
at the high level as follow by the designing (x̅ = 4.46, S.D. = 0.58). The working (x̅ = 4.45, S.D. = 0.63) and the
usage (x̅ = 4.32, S.D. =0.61).
Keyword: Solar Panel

1,2,3 Mold and Die Technology Loei Technical College Nong Loei Province 42000
Institute of Vocational Education : Northeastern region 1
* Thanaporn Kamlangdee Tel. +6621155949 E-Mail ; [email protected]

NCTechEd B18-2022


1. บทนำ การประชมุ วิชาการนาํ เสนอผลงานนกั ศึกษา
โซล่าเซลล์หรือเซลล์แสงอาทิตย์เป็นอุปกรณ์ NCTechED-Student Workshop 2022 237

ที่เปลย่ี นพลังงานแสงอาทิตย์ให้เป็นพลังงานโดยตรง June 10,2022
ซึ่งถือว่าเป็นแหล่งพลังงานทดแทนที่สะอาดและ
ได้รับความนิยมกันเป็นอย่างมากบ้างสร้างเป็น จากที่ข้าพเจ้าและสมาชิกกลุ่มวิจัยได้ไปฝึก
โรงงานผลิตไฟฟ้าด้วยโซล่าเซลล์ที่เรียกกันว่าโซล่า ประสบการณ์การทำงานในสถานประกอบการณ์
ฟารม์ หรือโซลา่ รูฟและในอนาคตจำนวนผู้ใช้มากข้ึน เกี่ยวกับการติดตั้งแผงโซลล่าเซลล์ จากการฝึก
โดยปกติพลังงานแสงอาทิตย์ที่ตกกระทบมายังพื้น ประสบการณ์การทำงานในการติดตั้งและบำรุงรักษา
โลกแล้วจะได้รับประมาณ 1000 วัตต์ต่อตารางเมตร แผงโซล่าเซลล์ ในการปฏิบัติงานจริงแผงโซล่าเซลล์
อุณหภูมิ องศาเซลเซียส (25°C) สภาพอากาศโปร่ง ที่ขา้ พเจา้ ไดป้ ระสบมีจำนวนมาก มีทงั้ การติดตั้ง การ
Standard Test Conditions (STC) ดังนั้นแผงโซล่า บำรงุ รกั ษาและการทำความสะอาด ในการปฏิบตั งิ าน
เซลล์จะผลิดพลังแสงอาทิตย์ได้เต็มที่ประมาณ 4-5 นั้นเป็นไปด้วยความยากลำบากและใช้เวลานาน
ชัว่ โมง จากเวลาทง้ั หมดที่มีประมาณ 12-13 ชั่วโมง 1 ข้าพเจ้าและสมาชิกกลุ่มวิจัยมีแนวคิดที่จะแก้ปัญหา
วัน เมื่อติดตั้งแผงโซล่าเซลล์ที่มีขนาด 100 วัตต์ต่อ ในการบำรุงรักษาแผงโซล่าเซลล์ เพื่อให้การ
ตารางเมตร จะให้ประสิทธิภาพการผลิตพลังงาน ปฏิบัติงานนั้นให้มีความสะดวกรวดเร็วและมี
ไฟฟ้าได้วันละประมาณร้อยละ 10 สิ่งสำคัญสำหรับ ประสิทธิภาพ จึงเกิดแนวคิดที่จะสร้างเครื่องมือชนดิ
แผงเซลลแ์ สงอาทิตย์ คือ ทำอยา่ งไรประสทิ ธิภาพใน หนง่ึ ในการทำความสะอาดแผงโซลา่ เซลล์ให้สะดวก
การผลิตพลังงานไฟฟ้าได้สูงที่สุดเมื่อพิจารณาจาก รวดเร็วและประหยัดเวลาในการทำงาน จึงนำเอา
การกำหนดเวลาล้าง ทำความสะอาดแผงเซลล์ ปญั หานี้มาสร้างเครื่องล้างแผงโซลา่ เซลล์
แสงอาทิตย์เป็นเวลาทุก ๆ เดือนใน 1 ปี ใน
โรงงานผลิตไฟฟ้าโซล่าฟาร์มขนาด 38 เมกะวัตต์ 2. ขอบเขตโครงการ
(MW) ในพื้นที่ 500 ไร่ เสียค่าใช้จ่ายค่าแรงครั้งละ 2.1 ขอบเขตดา้ นเนื้อหาในการจดั ทำโครงการคร้ัง
416,600 บาท ตอ่ 1 เดือน [1] โรงงานผลติ ไฟฟ้าโซล่า
ฟาร์มขนาดเมกะวัตต์ 10 (MW) ในพื้นที่ 180 ไร่ เสีย นี้เป็นการสร้างเครื่องล้างแผงโซล่าเซลล์ที่มี
ค่าใช้จ่ายค่าแรงครั้งละ 67,600 บาท ต่อ 1 เดือน [2] ประสิทธิภาพและศึกษาความพึงพอใจของผู้ตอบ
คิดเป็นลงทุนในการล้างแผงโซล่าเซลล์ 562 วัตต์ต่อ แบบสอบถาม
บาท และในโรงผลติ ไฟฟ้าโซล่ารูฟ ขนาด 100 (kW)
ในพื้นที่ 700 ตารางเมตร ค่าใช้จ่ายครั้งละ 30,000 2.2 ขอบเขตด้านประชากรประชากรที่ใช้ใน
บาท ต่อ 1 เดือน [3] คิดเป็นเงินลงทุนในการล้างแผง การศึกษาได้แก่ นักศึกษาวิทยาลัยเทคนิคเลย อำเภอ
เซลล์แสงอาทิตย์ 148 วัตต์ต่อบาท ซึ่งการล้างแผง เมอื ง จังหวัดเลยจำนวน 30 คน
เซลล์แสงอาทิตย์อาจเป็นการล้างแผงโซล่าเซลล์ที่
เสียค่าใช้จ่ายในการล้างถูกมาก เนื่องจากหลายปัจจัย 3. วิธีดำเนินการโครงการ
เช่น ค่าแรงคนงาน ค่าอุปกรณ์ในการทำความสะอาด โครงการนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง วัตถุประสงค์
คา่ น้ำยาในการทำความสะอาด
เพื่อสร้างเครื่องล้างแผงโซล่าเซลล์ ตามหลักสูตร
NCTechEd B18-2022 เทคโนโลยีบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า
วทิ ยาลัยเทคนคิ เลย ประจำปีการศึกษา 2563 ซึง่ ผู้วิจัย
ไดด้ ำเนินการตามขั้นตอน ดงั นี้

3.1 ประชากร
3.2 แบบแผนการทดลอง
3.3 เครือ่ งมอื ท่ีใชใ้ นการศกึ ษาค้นควา้


การประชมุ วิชาการนาํ เสนอผลงานนกั ศึกษา 5.1 รอ้ ยละ (Percentage) เป็นค่าสถติ ิทน่ี ยิ มใช้
238 NCTechED-Student Workshop 2022 กนั มาก โดยการเปรยี บเทียบความถี่หรือจำนวนที่
ตอ้ งการกับความถ่ี หรือจำนวนท้งั หมดทีเ่ ทียบเป็น
June 10,2022 100 จะหาค่ารอ้ ยละจากการใช้สูตรดังนี้ [4]

3.4 การออกแบบโครงสา้ ง P = f x 100
3.5 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู N
3.6 การวเิ คราะห์ข้อมูล
3.7 สถติ ทิ ใี่ ช้ในการวเิ คราะหข์ อ้ มูล เม่อื P แทน ค่ารอ้ ยละ
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าในเรื่องน้ี F แทน ความถ่ีท่ตี อ้ งการแปลงให้เป็นคา่ รอ้ ยละ
ได้แก่นักศึกษา วิทยาลัยเทคนิคเลย จำนวน 16 คน N แทน จำนวนความถที่ ั้งหมด
และนักศึกษาระดับปริญญาตรีเทคโนโลยีบัณฑิต
สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า จำนวน 14 คน รวมทั้งหมด 5.2 คา่ เฉลยี่ (Mean) คำนวณจากใช้สูตร ดังนี้ [4]
จำนวน 30 คน
การเกบ็ รวบรวมข้อมูลของการวิจยั คร้ังนี้ผู้วิจัยได้ x̅ = ∑x
ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง โดยใช้ N
แบบสอบถามความพึงพอใจ ให้กับนักศึกษา
วิทยาลัยเทคนิคเลย จำนวน 30 ชุด มีระดับการศึกษา เมอื่ x̅ แทน ค่าเฉล่ีย
ปวส.2 จำนวน 16 ชุด และนกั ศึกษาระดับปริญญาตรี ∑ x แทน ผลรวมของคะแนนทงั้ หมด
เทคโนโลยีบัณฑติ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า จำนวน 14 N แทน จำนวนชุดของคะแนน
ชุด รวมทั้งหมดจำนวน 30 ชุด ที่ใช้เคร่ืองลา้ งแผงโซ
ลา่ เซลล์ โดยสุ่มแบบเจาะจง การแปลความหมายของค่าเฉลี่ยตามเกณฑด์ ังนี้
คา่ เฉลย่ี ระหวา่ ง 4.50 – 5.00 หมายถึง
4. เครอื่ งมอื ท่ใี ช้ในการคน้ คว้า
เคร่ืองมือทใี่ ช้ในการศึกษาครง้ั นค้ี ือ ความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด
4.1 ข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพเครื่องล้างแผงโซ คา่ เฉล่ยี ระหว่าง 3.50 – 4.49 หมายถงึ

ล่าเซลล์ของผู้ประเมินคุณภาพ ความเหมาะสมอยใู่ นระดับมาก
4.2 ความคิดเห็นของเครื่องล้างแผงโซล่าเซลล์ คา่ เฉล่ียระหวา่ ง 2.50 – 3.49 หมายถงึ

แบง่ เปน็ 3 ส่วน ไดแ้ ก่ ความเหมาะสมอย่ใู นระดับปานกลาง
4.2.1 ดา้ นการออกแบบ คา่ เฉลย่ี ระหว่าง 1.50 – 2.49 หมายถงึ
4.2.2 ดา้ นการทำงานของตวั เครือ่ ง
4.2.3 ด้านการใช้งาน ความเหมาะสมอยู่ในระดบั นอ้ ย
คา่ เฉลย่ี ระหวา่ ง 1.00 – 1.49 หมายถงึ
5. สถติ ทิ ใ่ี ช้ในการวเิ คราะหข์ ้อมลู
สถิติที่ใช้ในการการวิเคราะห์ข้อมูลได้มีการ ความเหมาะสมอยใู่ นระดบั น้อยทสี่ ดุ
5.3 ค่าเบยี่ งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
กำหนดวิธีการทางสถิติเพื่อใช้วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้
โปรแกรมสำเร็จรูปโดยแยกวิเคราะห์ตามลำดับดังนี้ เปน็ การวัดการกระจายท่นี ยิ มใช้กนั มาก เขยี นแทน
คำนวณจากสูตรดังนี้ ดว้ ย S.D. หรือ S คำนวณจากใชส้ ตู ร ดงั น้ี [4]

NCTechEd B18-2022


การประชมุ วิชาการนําเสนอผลงานนักศกึ ษา
NCTechED-Student Workshop 2022 239

June 10,2022

การออกแบบชดุ ควบคุม (x̅ = 4.40 , S.D. =

S.D. = √n∑x2−(∑x̅)2 0.66) ความปลอดภัยของตัวเครื่อง (x̅ = 4.33 ,

n(n−1) S.D. = 0.65) และน้ำหนักอุปกรณ์ (x̅ = 4.30 , S.D. =

เมอื่ S.D. แทน ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.64) ตามลำดับ พบว่าผู้ตอบแบบสอบถาม มีความ
x แทน ข้อมลู ( ตวั ท่ี 1,2,3...,n )2
x̅ แทน ค่าเฉลย่ี เลขคณติ พึงพอใจต่อเครื่องล้างแผงโซล่าเซลล์ในด้านการ
n แทน จำนวนข้อมูลทงั้ หมด
ทำงานผลรวมอยู่ในระดับมาก (x̅ = 4.45, S.D. =
6. สรุปผล
จากผลการจัดทำโครงการสรุปได้ดังน้ี ผลการ 0.63) เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า ส่วนมากมีความพึง

วิเคราะหข์ ้อมูลทั่วไปของ นักศึกษาส่วนมากเพศชาย พอใจอยู่ที่ระดับมากเรียงตามลำดับจากมากไปหา
จำนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 80.00 และเป็นเพศ
หญิงจำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 20.00 นักศึกษา น้อย ดังน้ี ขณะใช้งานเคลื่อนที่ได้สะดวก (x̅ = 4.57,
ส่วนใหญ่มีอายุ 25 ปี จำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ
53.00 และมีอายุ 22 ปี จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ S.D. = 0.56) ขณะใช้งานตัวเครื่องเสียงไม่ดัง (x̅ =
33.00 และค่าเฉลีย่ นอ้ ยทสี่ ุดเป็นผู้ที่มีอายุ 40 ปีขึ้นไป
จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 14.00 ตามลำดับ 4.47 , S.D. = 0.56) ความสะอาดในการล้าง (x̅ =
นักศึกษาส่วนใหญ่มี ระดับการศึกษาระดับ ปวส.2
จำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 53.00 และระดับ 4.47 , S.D. = 0.62) ระยะในการทำงาน (x̅ = 4.43 ,
ปริญญาตรี จำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 47.00
ตามลำดับ พบว่านักศึกษา มีความพึงพอใจต่อเครื่อง S.D. = 0.67) และความเร็วในการเคลื่อนที่ (x̅ = 4.30
ล้างแผงโซล่าเซลล์ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก
(x̅ = 4.41, S.D. = 0.61) เมื่อพิจารณาเปน็ ดา้ นพบว่ามี , S.D. = 0.74) ตามลำดับ พบว่าผู้ตอบแบบสอบถาม
ความพึงพอใจอยู่ที่ระดับมากทุกด้านเรียงตามลำดับ
จากมากไปหานอ้ ย ดงั น้ี ด้านการออกแบบ (x̅ = 4.46, มีความพึงพอใจต่อเครื่องล้างแผงโซล่าเซลล์ในด้าน
S.D. = 0.58) ด้านการทำงาน (x̅ = 4.45, S.D. = 0.63)
และด้านการใช้งาน (x̅ = 4.32, S.D. =0.61) ตามลำดับ การนำไปใช้งานผลรวมอยู่ในระดับมาก (x̅ = 4.32,
พบว่าผู้ตอบแบบสอบถาม มีความพึงพอใจต่อเครื่อง
ล้างแผงโซล่าเซลล์ในด้าน การออกแบบ ผลรวมอยู่ S.D. = 0.61) เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า ส่วนมากมี
ในระดับมาก (x̅ = 4.46, S.D. = 0.58) เมื่อพิจารณา
รายข้อ พบว่า ส่วนมากมี ความพึงพอใจอยู่ที่ระดับ ความพึงพอใจอยู่ที่ระดับมากเรียงตามลำดับจากมาก
มากเรียงตามลำดับจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ภาพรวม
และขนาดของเครื่อง (x̅=4.73, S.D. = 0.44) ความ ไปหาน้อย ดังนี้ ความสะดวกในการใช้งาน (x̅ =
เหมาะสมในการออกแบบ (x̅ = 4.53, S.D. = 0.50)
4.50, S.D. = 0.56) ความสะดวกในการบำรุงรักษาทำ
NCTechEd B18-2022
ความสะอาด (x̅ = 4.40 , S.D. = 0.49) ความปลอดภยั

ในการใช้งาน (x̅ = 4.27 , S.D. = 0.57) ความสะดวก

ในการเคลื่อนย้าย (x̅ = 4.27, S.D. = 0.68) และมีอายุ

การใชง้ านนาน (x̅= 4.17 , S.D. = 0.73) ตามลำดบั

7. อภิปรายผล
ผลการผู้ตอบแบบสอบถามของนักศึกษาที่มี

เครอื่ งลา้ งแผงโซลา่ เซลล์ พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถาม
มีความพึงพอใจต่อเครื่องล้างแผงโซล่าเซลล์ใน
ภาพรวมอยูใ่ นระดบั มาก (x̅ = 4.41, S.D. = 0.61) เมอื่
พิจารณาเป็นด้านพบว่ามี ความพึงพอใจอยู่ที่ระดับ
มากทุกด้านเรียงตามลำดับจากมากไปหาน้อย ดังน้ี
ด้านการออกแบบ (x̅ = 4.46, S.D. = 0.58) ด้านการ
ทำงาน (x̅ = 4.45, S.D. = 0.63) และด้านการใช้งาน


การประชมุ วิชาการนําเสนอผลงานนกั ศึกษา 15 องศา มี Arduion Maga เปน็ ไมโครคอนโทรลเลอร์
240 NCTechED-Student Workshop 2022 คมุ DC มอเตอร์ ขนาด 120 วัตต์ ใช้กำลงั ไฟ 24 โวลต์
ทั้งหมด 4 ตัวสำหรับชุดขับเคลื่อน 4 ชุด และเม่ือ
June 10,2022 เปรียบเทียบกับการทำความสะอาดด้วยคนแล้ว
หุ่นยนต์ทำความสะอาดแผงเซลล์แสงอาทิตย์ แบบ
(x̅ = 4.32, S.D. =0.61) ตามลำดับ ที่เป็น เช่นนี้ บนหลังคา สามารถคุ้มทุนในเวลา 1 ปี 11 เดือน
เนื่องจากโครงการวจิ ัยเรื่องเครื่องลา้ งแผงโซลา่ เซลล์ รวมถงึ งานวิจยั ของ [8] เคร่อื งลา้ งแผงโซลา่ เซลล์ผ่าน
เรื่องด้านการออกแบบ โดยมีความพึงพอใจอยู่ใน Application ผลการหาประสิทธิภาพ พบว่า ใช้เวลา
ระดับความพึงพอใจมาก เนื่องจากการจัดทำ ในการล้าง 40 วินาที/แผน่ มีความสะอาดใกล้เคยี งกับ
โครงการวิจัยเครื่องล้างแผงโซล่าเซลล์ มีการ การล้างจากแรงงานคนโดยวัดจากแรงดันไฟฟ้า และ
ออกแบบท่ีดีและเหมาะสมกับการใช้งาน ด้านการ ทำงานเทียบได้ 2 เท่าจากแรงงานคน ซึ่งประหยัด
ทำงาน โดยมีความพึงพอใจอยู่ในระดับ ความพึง คา่ ใชจ้ ่ายเทา่ กบั 50%
พอใจมาก เนอื่ งจากการจัดทำโครงการวิจยั เครื่องล้าง
แผงโซลา่ เซลล์ การทำงานของเครอ่ื ง มคี วามแมน่ ยำ เอกสารอ้างองิ
ในการเคล่อื นทด่ี ี ดา้ นการใช้งานโดยมีความพงึ พอใจ [1] บางจาก คอรป์ อเรช่ัน จำกัด (มหาชน) บริษัท
อยู่ในระดับ ความพึงพอใจมาก เนื่องจากการจัดทำ
โครงการวิจัยเครื่องล้างแผงโซล่าเซลล์ มีการทำงาน และบริษัทบางจาก เอนเนอรย์ ี,อำเภอบางประอิน
อย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับงานวิจัยของ [5] จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา พลังงานแสงอาทิตย์
รายงานว่าการศึกษาปัจจัยที่ทำให้ประสิทธิภาพการ “โซล่าฟาร์ม”, [ออนไลน์], (เข้าถงึ เมือ่ : 15
ก า ร ผ ล ิ ต ไ ฟ ฟ ้ า ข อ ง แ ผ ง เ ซ ล ล ์ แ ส ง อ า ท ิ ต ย์ มกราคม 2565).
ประสิทธิภาพในการผลิตไฟฟ้าเมื่อใช้แผงเซลล์ [2] กันกุล ชบู ุ พาวเวอร์เจน จำกัด บริษัท สถานทต่ี ง้ั
แสงอาทิตย์มีค่า Power output = 100 วัตต์ ถ้าลดสิ่ง จังหวดั นครนายก และบริษัท กนั กุล เอน็ จิ
สกปรกและฝนุ่ ละอองได้จะมคี า่ ประสทิ ธภิ าพในการ เนยี ร่งิ จำกดั (มหาชน), “พลงั งานแสงอาทิตย์
ผลิตไฟฟ้าได้ 76.1 วัตต์ เพิ่มขึ้น 5.3 วัตต์ และ (โซลา่ ฟารม์ )”, (เขา้ ถึงเมอ่ื :15 มิถนุ ายน 2564).
สอดคล้องกับงานวิจัยของ [6] เรื่องเครื่องต้นแบบ [3] ไทยชกู ารเ์ ทอมินอล จำกดั (มหาชน) บริษัท
อุปกรณ์เตือนแจ้งการทำความสะอาดแผงโซลล่า สถานท่ตี งั้ ตำบลสำโรงกลาง จังหวดั
เ ซ ล ล ์ เ พ ื ่ อ ใ ห ้ ป ร ะ ส ิ ท ธ ิ ภ า พ ก า ร จ ่ า ย ไ ฟ ส ู ง สุ ด สมทุ รปราการ, “พลังงานแสงอาทิตย์
ผลการวิจัยพบว่าประสิทธิภาพการผลิตพลังงาน (โซล่ารูฟ)”, (เข้าถงึ เม่ือ : 15 มกราคม 2565).
ไฟฟ้าต่ำลงร้อยละ 9 ใน 3 เดือน และร้อยละ 10.47 [4] บุญชม ศรีสะอาด, (2543), “การหาคา่ เฉลย่ี
ใน 1 ปี เนื่องจาก สิ่งสกปรก ฝุ่น ละออง ปกคลุม (Mean) และส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (Standard
หลังจากที่ได้ทำการล้างทำความสะอาด 2 ครั้ง ทำให้ Deviation),” ปรญิ ญานิพนธ์ วิศวกรรมศาสตร์
ประสิทธิภาพของแผงเซลล์แสงอาทิตย์กลับมาสูง บัณฑิต วศิ วกรรมเคร่อื งกล. มหาวิทยาลัย
เหมือนเดิมซึ่งจะเป็นการเตือนแจ้งให้ทราบว่าการ เทคโนโลยรี าชมงคลพระนคร, (เข้าถงึ เมอื่ : 15
ล้างไม่จำเป็นต้องทำ 12 ครั้ง ตามที่ปฏิบัติกันมาใน มิถนุ ายน 2564).
โซลา่ ฟาร์มทำให้ลดต้นทุนได้ 10 ครัง้ และสอดคลอ้ ง
กับงานวิจัยของ [7] ได้ทำการวิจัย เรื่องโครงการ
พัฒนาหุ่นยนต์ต้อนแบบสำหรับทำความสะอาดแผง
เซลล์แสงอาทิตย์แบบบนหลังคา สามารถเคลื่อนขึ้น
ลงบนแผงเซลล์แสงอาทิตย์ที่มีความลาดเอียงได้ถึง

NCTechEd B18-2022


การประชมุ วิชาการนําเสนอผลงานนกั ศึกษา
NCTechED-Student Workshop 2022 241

June 10,2022

[5] สรุ เชษฐ ยา่ นวารี, (2558), “การตดิ ตัง้ โซล่า
เซลล”์ , [ออนไลน]์ ,
http://ienergyguru.com/2016/06เซลล.์
(เข้าถึงเม่อื : 15 มกราคม 2565).

[6] ภริ มยส์ ขุ สวยสม, (2560), “เครอ่ื งตน้ แบบ
อปุ กรณ์เตอื นแจ้งการทำความสะอาดแผงโซลา่
เซลล์เพ่ือให้ประสทิ ธิภาพการจ่ายไฟฟ้าสงู สดุ ”,
วิศวกรรมศาสตรม์ หาบัณฑิต คณะวิศวกรรม
ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคล
พระนคร, (เข้าถงึ เมอื่ : 20 มกราคม 2565).

NCTechEd B18-2022


การประชมุ วิชาการนาํ เสนอผลงานนักศกึ ษา
242 NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

รถพลงั งานไฟฟ้า B

ศิริกลั ญา คาํ ชาลี1* ปัญญา กรังพานิช2 อิสระพงษ์ คาํ หอม3

บทคัดย่อ

โครงการน้ีสร้างข้ึนมามีจุดประสงค์เพื่อออกแบบสร้างและเพื่อหาประสิทธิภาพของ Brushless DC
MOTOR ผลการดําเนินการสร้างออกแบบรถพลังงานไฟฟ้าสามารถขับเคลื่อนรถพลังงานไฟฟ้าได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ

งานวิจัยได้นําเสนอการวิเคราะห์คุณสมบตั ิของ Brushless DC MOTOR 48V 1500W พร้อมท้งั สร้างชุด
ตน้ แบบและทาํ การทดลองเพื่อนาํ ผลที่ไดเ้ ปรียบเทียบกบั ผลท่ีได้จากการทดสอบ Brushless DC MOTOR เพื่อหา
ประสิทธิภาพของมอเตอร์ที่ใชก้ บั รถพลงั งานไฟฟ้าโดยมีการเปรียบเทียบระดบั แรงดนั กระแส เพื่อทราบถึงอตั รา
ความเร็วรอบของมอเตอร์ที่จะสามารถขบั เคลื่อนรถพลงั งานไฟฟ้าไปได้ จากการทดลองประสิทธิภาพของมอเตอร์
หมุนไปขา้ งหน้า (Forward) ไดท้ าํ การทดลองท้งั หมด 5 คร้ัง ไดร้ ะดบั แรงดนั เฉลี่ยท่ี 47.88 มีค่ากระแสเฉลี่ยท่ี 9.54
และมีความเร็วเฉลี่ยที่ 40 กิโลเมตรตอ่ ชว่ั โมง จากการทดลองประสิทธิภาพของมอเตอร์ หมนุ ถอยหลงั (Reverse) ได้
ทาํ การทดลองท้ังหมด 5 คร้ัง ได้ระดับแรงดันเฉล่ียท่ี 47.86 มีค่ากระแสเฉล่ียที่ 9.74 และมีความเร็วเฉล่ียท่ี 40
กิโลเมตรตอ่ ชวั่ โมง จากการทดลองประสิทธิภาพของมอเตอร์ที่แรงดนั คงที่เทียบกบั ความเร็วรอบ ไดท้ าํ การทดลอง
ท้งั หมด 5 คร้ัง ไดร้ ะดบั แรงดนั เฉล่ียท่ี 48 มีคา่ กระแสเฉลี่ยท่ี 9.52 และมีความเร็วเฉล่ียท่ี 33.2 กิโลเมตรต่อชว่ั โมง

จากการทดลองการทาํ งานต้นแบบที่สร้างข้ึนพบว่า แรงดนั มีผลต่ออตั ราความเร็วรอบท่ีใช้สําหรับรถ
พลงั งานไฟฟ้า รวมไปถึงระดับกระแสไฟฟ้าท่ีดึงมาใช้สําหรับรถพลงั งานไฟฟ้าล้วนมีผลต่อประสิทธิภาพของ
มอเตอร์ ถา้ หากใช้ระดับแรงดันท่ีคงที่ จะสามารถขบั เคลื่อนรถพลังงานไฟฟ้าไปด้วยอตั ราความเร็วท่ีคงที่ได้
เช่นเดียวกนั และยงั สามารถตอ่ ยอดเพื่อพฒั นาเพม่ิ ข้ึนไปไดใ้ นอนาคตเพ่ือประสิทธิภาพในการทาํ งานเพิ่มมากข้นึ

คําสําคัญ: รถพลงั งานไฟฟ้า B Brushless DC MOTOR ขนาด 48V 1500 W

1,2,3 สาขาวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้า วทิ ยาลยั เทคนิคอุดรธานี สถาบนั การอาชีวศกึ ษาภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ 1
*ศิริกลั ญา คาํ ชาลี โทร +6817395730 อเี มล; [email protected]


การประชุมวชิ าการนําเสนอผลงานนกั ศกึ ษา
NCTechED-Student Workshop 2022 243

June 10,2022

ELECTRIC CAR B

Sirikanya Khamchalee1*, Panya Krangpanich2, Issarapong Kamhom3

ABSTRACT

The project was created intended to design, build and to determine the efficiency of Brushless DC
MOTOR.

The research presented an analysis of the properties of brushless DC MOTOR 48V 1500W, as well as
creating a prototype set and conducting experiments to compare the results compared to the results of the Brushless
DC MOTOR test to determine the performance of the motor used on electric vehicles with the comparison of
pressure levels. To know the speed of the motor that will be able to drive the electric car. From the experiment of
motor performance. Forward conducted five trials with an average pressure level of 47.88 with an average current
of 9.54 and an average speed of 40 km/h. Reverse conducted five trials with an average pressure level of 47.86, an
average current of 9.74 and an average speed of 40 km/h. In the trials of motor performance at constant pressure
versus cycle speed, five trials were conducted, an average pressure level of 48 had an average current of 9.52 and
an average speed of 33.2 kilometers per hour.

According to the results of the prototype experiments created, pressure affects the speed of laps used for
electric vehicles, as well as the level of current drawn for electric vehicles, all affecting the performance of the
motor. If using a constant pressure level, the electric vehicle can also be powered at a constant speed, and can also
be extended to improve in the future for increased productivity.

Keywords: Electric Car B Brushless DC MOTOR 48V 1500 W

1,2,3 Technology Udon Thani Technical College Institute of Vocational Education Northeastern Region 1*
Sirikanya Khamchalee Tel. +6817395730 E-Mail ; [email protected]


การประชุมวชิ าการนาํ เสนอผลงานนักศกึ ษา การออกแบบระบบกาํ ลงั ของโครงสร้างรถ
244 NCTechED-Student Workshop 2022 พลงั งานไฟฟ้า จะใชช้ ุดหลอดไฟตาหนา้ รถและหลงั
รถในระบบกาํ ลงั ของโครงสร้างรถพลงั งานไฟฟ้า
June 10,2022
ภาพที่ 3.1 โครงสร้างวางชุดอุปกรณ์
1.บทนํา
ในปัจจุบันมีการใช้ยานพาหนะในการเดินทาง 4. ผลการวิจัย
ในการทดลองรถพลงั งานไฟฟ้า ไดท้ าํ การ
และการขนส่งกนั เป็ นจาํ นวนมาก ยานพาหนะที่ใช้
ในการเดินทางและการขนส่งส่วนใหญล่ ว้ นใชน้ ้าํ มนั ทดลองประสิทธิภาพของรถพลงั งานไฟฟ้าจากการ
เช้ือเพลิงในการขบั เคลื่อนเคร่ืองยนต์ ท่ีก่อให้เกิด หมุนของมอเตอร์ ขนาด48V1500WDCMotorดงั น้ี
มลภาวะทางอากาศ ในปัจจุบนั น้าํ มนั เช้ือเพลิงมีราคา ตารางท่ี 4.1 ตารางแสดงประสิทธิภาพของมอเตอร์
สูงและปริมาณกาํ ลงั ลดน้อยลง และในปัจจุบนั ผูค้ น
เร่ิมสนใจรถยนตไ์ ฟฟ้ามาทดแทนรถยนตท์ ี่ใช้น้าํ มนั หมุนไปขา้ งหนา้ (Forward)
เช้ือเพลิงมากข้นึ
ทดลอง แรงดนั (V) กระแส(A) ความเร็ ว
ผู้จัด ทํา จึ ง ไ ด้มี ก า ร นํา พ ลัง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ม า คร้ังที่ (Km/h)
ประยุกตใ์ ชร้ ่วมกบั ความรู้วิชาระบบควบคุมและวิชา 8.6
เครื่องจักรกลไฟฟ้ามาพฒั นา ให้เกิดประโยชน์ใน 1 48.0 9.0 15
การสร้างรถไฟฟ้า ในการควบคุมการขับเคร่ื อง 2 47.7 9.3 30
รถไฟฟ้าใชม้ อเตอร์กระแสตรงขนาด 48 โวลต์ 1500 3 48.0 10.2 40
วตั ต์ มาทดแทนเครื่องยนตท์ ่ีใชน้ าํ มนั เช้ือเพลิง 4 47.6 10.6 55
5 48.1 9.54 60
เพ่ือศึกษาความเป็นไปไดใ้ นการนาํ ไปใชง้ านจริง ค่าเฉล่ยี 47.88 40
แ ล ะ นํา พ ลัง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ม า ท ด แ ท น พ ลัง ง า น น้ ํา มัน
เช้ือเพลิงเป็ นการประหยดั พลงั งานน้ํามันเช้ือเพลิง จากตารางที่ 4.1 การทดสอบประสิทธิภาพ
และลดมลภาวะทางอากาศที่ก่อให้เกิดมลพิษ ลด ข องมอเตอร์ ที่ แร งดันค ง ท่ี เที ย บกับค วา ม เร็ ว ร อ บ
ค่าใชจ้ า่ ยในการใชน้ ้าํ มนั และกา๊ สธรรมชาติ พบว่าจากการทดลองท้งั 5 คร้ัง ยิ่งระดับแรงดนั สูง
เท่าไหร่ จะมีอตั ราความเร็วที่เพ่ิมข้ึน เมื่อเฉลี่ยระดบั
2. วตั ถปุ ระสงค์ แรงดนั จากการทดลอง 5 คร้ังไดร้ ะดบั แรงดนั เฉล่ียที่
2.1 เพอื่ ออกแบบและสร้างรถพลงั งานไฟฟ้า
2.1 เพ่ือศึกษาระบบการทาํ งานของ Brushless DC

MOTOR
3. การดาํ เนนิ งาน

การศึกษาข้อมูลท่ีเก่ียวขอ้ งกับการทาํ งาน
ของรถพลงั งานไฟฟ้า เร่ิมจากการไปขอคาํ ปรึกษา
จากครูที่ปรึกษาหลังจากน้ันเริ่มศึกษาค้นควา้ จาก
แหล่งขอ้ มูลทาง อินเตอร์เน็ต เพื่อหาขอ้ มูลเกี่ยวขอ้ ง
กบั การทาํ รถพลงั งานไฟฟ้า และขอ้ มูลท่ีเกี่ยวขอ้ งใน
การทาํ งานของรถพลงั งานไฟฟ้าและอุปกรณ์ชิ้นส่วน
ต่างๆ ท่ีใชใ้ นการทาํ รถพลงั งานไฟฟ้า


48 มีค่ากระแสเฉล่ียท่ี 9.52 และมีความเร็วเฉลี่ยที่ 40 การประชมุ วิชาการนําเสนอผลงานนกั ศกึ ษา
กิโลเมตรตอ่ ชวั่ โมง NCTechED-Student Workshop 2022 245

ภาพที่ 4.1 แสดงประสิทธิภาพของมอเตอร์ หมุนไป June 10,2022
ขา้ งหนา้ (Forward)
6. ข้อเสนอแนะ
5. สรุปผลการวจิ ัย 6.1 หาผูท้ ่ีศึกษาตอ้ งการเพ่ิมประสิทธิภาพ
จากการทดลองประสิทธิภาพของมอเตอร์
ในการขบั เคลื่อนของรถพลงั งานไฟฟ้าควรเปลี่ยนไป
แบบ Forward ไดผ้ ลการทดลองอตั ราความเร็วเฉล่ีย เลือกใชแ้ บตเตอร่ีให้เป็ นแบตเตอรี่โซเดียม-ไอออน
อยู่ท่ี 40 Km/h ผลประสิทธิภาพของมอเตอร์แบบ เนื่องจากแบตเตอร่ี ที่เป็ นโซเดียม-ไอออนจะสามารถ
Reverse ไดผ้ ลการทดลองอตั ราความเร็วเฉลี่ยอยทู่ ี่ 40 ช่วยเพ่มิ ประสิทธิภาพในการดึงพลงั งานไปใชง้ านได้
Km/h และผลการทดลองประสิทธิภาพของมอเตอร์ มากกวา่ แบตเตอร่ีที่ใชง้ านในปัจจุบนั
โดยการทดลองจะให้ระดับแรงดันคงที่ได้ผลการ
ทดลองมีอตั ราความเร็วที่ 33.2 Km/h ซ่ึงไดส้ อดคลอ้ ง 6.2 หากผู้ท่ีศึกษาต้องการทําผลงานไป
กับ มงคล ลาดซุย [1] วิจัยเรื่องการออกแบบและ พฒั นาตอ่ ควรเพิม่ ชุดชาร์จ Auto ชาร์จขณะรถว่งิ หรือ
พฒั นายานยนตไ์ ฟฟ้าตน้ แบบโดยออกแบบยานยนต์ อาจมีการปรับเปลี่ยนให้นาํ พลงั งานกลท่ีสูญเสียไป
เป็ นลกั ษณะ 4 ลอ้ ขบั เคล่ือน 2 ลอ้ หลงั ใช้มอเตอร์ นาํ กลบั มาแปรรูปเป็ นพลงั งานไฟฟ้าเพื่อนาํ กลบั มา
กระแสตรงชนิดบัสเลสดีซีมอเตอร์(Brushless DC ใชก้ บั รถอีกไดเ้ ช่นเดียวกนั
Motor: BLDC) เป็ นต้นกาํ ลงั โดยใช้แบตเตอร่ีชนิด
ลิเทียมไอออนฟอสเฟตเป็ นพลังงานหลัก และ 6.2 หากผู้ศึกษาสามารถนําผลงานไปต่อ
ออกแบบระบบส่งถ่ายกาํ ลงั ดว้ ยโซ่และชุดเกียร์ทด ยอดสามารถเพิ่มความแข็งแรงของวสั ดุ และอาจ
รอบเพื่อสามารถปรับแต่งความเร็วได้ตามต้องการ ติดต้ังประตูหรือเข็มขดั นิรภยั เขา้ ไปเพ่ิมเขา้ ไปได้
ผลการประเมินสมรรถนะยานยนต์พบว่า ความเร็ว เช่นกนั เพอ่ื เพิม่ ความปลอดภยั ใหผ้ ขู้ บั ข่ี
สูงสุดกรณีบรรทุกผู้โดยสาร 1 คน เท่ากับ 29.4
กิโลเมตรต่อช่ัวโมง กรณีบรรทุกผูโ้ ดยสาร 2 คน 6.4 ในการต่อยอดและพฒั นาในคร้ังถดั ไป
เท่ากบั 28.4 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง ระยะทางสูงสุดท่ี ผูท้ ี่สนใจพฒั นาต่อสามารถติดต้งั จอ LED หรือจอ
ขับเคล่ือนต่อการชาร์จ 1 คร้ัง เท่ากับ 21.398 LCD ที่แสดงผลถึงระดบั พลงั งานท่ีเหลืออยู่
กิโลเมตร ระยะเวลาสูงสุดที่ขบั เคล่ือนต่อการชาร์จ
7. เอกสารอ้างอิง

[1] มงคล ลาดซุย และคณะ, (2564), การออกแบบ
และพฒั นายานยนตไ์ ฟฟ้าตน้ แบบ, วารสาร
วทิ ยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลย,ี ปี
ที่ 1 ฉบบั ท่ี 1 มกราคม-มิถุนายน 2564.


การประชมุ วชิ าการนาํ เสนอผลงานนักศกึ ษา
246 NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

ชุดผลติ ไฟฟาดว ยกงั หนั ลมแกนต้งั

สปิ ปกร กันหาลา1*ชวรักษ โนนคูเขตโขง2
บทคัดยอ

งานวิจัยเร่ืองนี้เปนการศึกษาชุดจําลองการผลิตไฟฟาดวย กังหันลมแกนต้ังนั้นโดยมีวัตถุประสงค
เพอื่ พัฒนาชดุ ฝก การเรียนรูร ะบบการจาํ ลองการผลิตไฟฟา เพื่อใชป ระกอบการเรยี น
การสอนในรายวชิ าระบบควบคมุ ในงานอุตสาหกรรม

ศึกษาอุปกรณตาง ๆ ในชุดฝกและใหนักเรียนนักศึกษาที่สนใจในชุดสาธิตการผลิตไฟฟาดวยกังหันลม
แกนตั้ง ไดทําการศึกษาวงจรการทํางานของมอเตอรกังหันลมการผลิตกระแสไฟฟาโดยใช มอเตอรไฟฟายี่หอ
Samsung 350 วัตต ที่ผลิตไฟฟาไดสูงสุด 300 โวลต DC โดยสรางโครงดวยแทงอลูมิเนียม ตอกับใบพัดกังหันล่ี
ทาํ จากทอ PVC ขนาด 2 นิ้ว ผา ครึ่ง 8 ชน้ิ ยึดติดเขากบั เหลก็ ฉากทต่ี ิดกับแผน อะครลิ ิคใส ทาํ เปน ใบพัดทใ่ี ชข ับเคลอ่ื น
มอเตอรใหหมุน เพ่ือที่จะสรางกระแสไฟฟาจายเขาแผงวงจรบริดจโหมดและสงตอพลังงานไปเก็บประจุไวที่
แบตเตอรี่ เพ่อื ท่ใี ชง านตอไป

เปนการทดลองการทํางานของกระแสไฟฟาท่ีผลิตไดในระดับความเร็วลมที่กําหนดไว จากตารางการ
ทดลองจะเห็นไดวา ความเรว็ ลมจะสัมพันธกับกระแสท่ีผลติ ไดในแตละชว ง ซ่ึงคา กระแสท่ีผลิตทส่ี ูงทส่ี ดุ คือผลการ
ทดลองในครง้ั ท่ี 2จะสามารถผลิตพลงั งานสงู สุดไดท่ี 200-210Aทร่ี ะดบั แรงดนั 12.2 V เมื่อมแี รงลมท่ี 20-25 m/s
คาํ สําคญั : ใบพัดกังหันลม

1,2 สาขาวชิ าเทคโนโลยไี ฟฟา วิทยาลัยเทคนคิ อดุ รธานี สถาบนั การอาชีวศกึ ษาภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ 1
1 * สปิ ปกร กนั หาลา โทร +642974560 อีเมล; [email protected]


การประชมุ วชิ าการนาํ เสนอผลงานนักศึกษา
NCTechED-Student Workshop 2022 247

June 10,2022

POWER GENERATOR DEMONSTRATION SET WITH WERTICAL AXIS
WIND TURBINE

Sippakon Kanhala 1* Chavarak Nonkhookatkhong2
Abstract

This research is also a study of the power generation simulation set. Vertical axis wind turbine is intended
to develop a training set to learn the power generation simulation system. for use in teaching in the course of
industrial control systems

Study the equipment in the training kit and have students who are interested in the demonstration kit
for generating electricity with vertical axis wind turbines. The operation cycle of wind turbine motors for
electricity production was studied by using A 350 watt Samsung brand electric motor that produces up
to 300 volts DC by building a frame with an aluminum thrust. Connect to the wind turbine blades made of 8
pieces of 2 - inch PVC pipe , halved . Attached to the angle bracket attached to the clear acrylic sheet. Make a
propeller used to drive the motor to rotate. In order to generate electricity supplied to the bridge mode circuit
board and pass the energy to store the battery charge. for further use

This is an experiment on the operation of the electricity produced at a predetermined wind speed. From
the experimental table, it can be seen that The wind speed is related to the current produced in each phase. which
the value of the current produced is the highest is the result of the second experiment, it will be able to produce the
maximum power at 200-210 A at a voltage of 12.2 V with a wind force of 20-25 m/s
Keywords: WIND TURBINE

1* Department of Electrical Technology Udonthani Technical College Institute of Vocational Education : Northeastern Region 1
Sippakon Kanhala, Tel: +642974560 e-Mail; [email protected]


การประชุมวชิ าการนาํ เสนอผลงานนกั ศกึ ษา ผูจัดทํา มีแนวความคิดที่จะประยุกตใช
248 NCTechED-Student Workshop 2022 ความรูเก่ียวกับเน้ือหาวิชาไฟฟากําลัง จัดทํา
สิ่งประดิษฐ ชุดสาธิตผลิตไฟฟาดวยกังหันลมแกนต้ัง
June 10,2022 โดยใชพลังงานลมในการผลิตไฟฟาซ่ึงเปนพลังงาน
สะอาด ชุดสาธิต ผลิตไฟฟาดวยกังหันลมแกนต้ังท่ี
1. บทนาํ จัดทําขึ้นสามารถผลิตไฟฟาเพ่ือใชเปนพลังงาน
ใ น ป จ จุ บั น พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ า มี ผ ล ต อ ก า ร ใ ช หมุนเวียนใหกับพื้นที่บางพื้นท่ี ท่ีระบบสงจายไฟฟา
ชีวติ ประจําวันโดยตรง และแหลงทม่ี าของพลังงานนั้น ไมสามารถเขาถึง หรือพื้นท่ีทุรกันดารและยังเปนการ
ไดมา จากถานหิน กาซธรรมชาติ และนํ้ามัน ซึ่งเปน ลดการใชเชื้อเพลิง ที่เปนตนทุนใน การผลิตไฟฟาลด
พลังงานที่ใชแลวหมดไปพรอมกับสรางมลภาวะทาง การทาํ ลายสง่ิ แวดลอ มธรรมชาติ
อากาศอีก เชนการเกิดมลพิษทางนํ้าและอากาศ ปญหา อีกท้ังยังเปนชุดตนแบบสําหรับผูท่ีสนใจ ในชุด สาธติ
ฝุนละออง กังหันลมจึงเปนทางเลือกอีกหน่ึงทางเลือก กงั หนั ลมผลติ พลังงานไฟฟา นาํ ไปพัฒนาตอ ไป
ในการนาํ มา เปน พลงั งานทดแทนที่จะกักเก็บไฟฟาไว 2. วตั ถุประสงคของโครงการ
ในแบตเตอรร่ีเพ่ือใชในยามจําเปนและพลังงานที่ได
นั้นสะอาดเปนมิตร กับส่ิงแวดลอมเนื่องจากพลังงาน 2.1 เพ่ือสรางชุดสาธิตกังหันลมแกนตั้งผลิต
ลมมีอยูโดยทั่วไป ไมตองซ้ือหา ไมกอใหเกิดอันตราย พลังงานไฟฟา
ตอสภาพแวดลอม และ สามารถนํามาใชป ระโยชนไ ด
อยางไมรูจักหมดส้ินพลังงานลมเปนพลังงานตาม 2.2 เพ่ือศึกษาหลักการทํางานของกังหันลม
ธรรมชาติท่ีเกิดจากความแตกตางของอุณหภูมิ ความ แกนตัง้ และพลงั งานลม
กดดันของ บรรยากาศและแรงจากการหมุนของโลก
สิ่งเหลาน้ีเปนปจจัยท่ีกอใหเกิดความเร็วลมและกําลัง 2.3 เพ่ือสาธิตการผลิตไฟฟาจากกังหันลม
ลม เปนท่ี ยอมรบั โดยทั่วไปวาลมเปนพลังงานรูปหนึ่ง แกนตง้ั
ท่ีมอี ยูในตัวเอง ซึง่ ในบางคร้งั แรงท่ีเกดิ จากลม 3. วิธดี ําเนนิ การวิจัย
อาจทําใหบ า นเรอื นที่ อยอู าศัยพงั ทลาย ตน ไม หกั โคน
ลง ส่ิงของวัตถตุ าง ๆ ลม หรือปลิวลอยไปตามลม ฯลฯ 3.1 การศึกษาขอมูลที่เก่ียวของกับการทํา
ในปจ จบุ นั มนุษยจึงได ใหความสําคญั และนาํ พลังงาน
จากลมมาใชประโยชนมากขึ้น พลังงานลมก็ กงั หันลมแกนต้ัง
เหมือนกับพลังงานแสงอาทิตยคือไม ตองซ้ือ ซ่ึง
ปจจบุ ันไดม ีการนําเอาพลงั งานลมมาใชประโยชนมาก 3.2 ขั้นตอนของการดําเนนิ การวจิ ยั
ข้ึน พ้ืนที่ยังมีปญหาในการวิจัยพัฒนานําเอา พลังงาน
ลมมาใชงานเน่ืองจากปริมาณของลมไมสม่ําเสมอ 3.3 แผนผังการดําเนินการวจิ ัย
ตลอดป แตก็ยังคงมีพื้นที่บางพ้ืนที่สามารถนําเอา 3.4 โครงสรางและเครื่องมอื ทใ่ี ชใ นงานวจิ ยั
พลงั งานลมมาใชใหเกดิ ประโยชนไ ด เชน พน้ื ทบ่ี รเิ วณ 3.5 การออกแบบระบบกําลัง
ชายฝงทะเลเปนตน ซ่ึงอุปกรณท่ีชวยในการเปล่ียน 4. ผลการวิเคราะหขอ มลู
จาก พลังงานลมออกมาเปนพลังงานในรูปอื่น ๆ เชน 4.1 สัญลักษณที่ใชในการนําเสนอผลการวิเคราะห
ใชกังหันลม เพ่ือเปล่ียนใหเปน พลังงานไฟฟาเม่ือตอ ขอมลู
เขากับ เทอรไบนหรือไดนาโมเพ่ือผลิตไฟฟา กังหัน 4.2 ขน้ั ตอนในการนําเสนอผลการวิเคราะหข อมูล
โรงสีเพื่อเปลีย่ นใหเปน พลงั งานกล [1]


5. สรปุ ผลการวิจัย การประชุมวชิ าการนาํ เสนอผลงานนักศกึ ษา
งานวิจัยนี้เสนอชุดกังหันลมแกนต้ังผลิตไฟฟา กังหัน NCTechED-Student Workshop 2022 249
ลมชนิดน้ี เพลาแกนหมุนของใบพัดจะตั้งฉากกับพ้ืน
ราบ หรอื ตงั้ ฉากกับทิศทางการเคล่ือนทีข่ องลมมหี ลาย June 10,2022
รูปแบบ สามารถรับลมไดทุกทิศทาง ซึ่งมีประโยชน
อยางมากสําหรับบริเวณที่มีการเปล่ียนทิศทางลมบอย 6. อภิปรายผล
ๆ เคร่ืองกําเนิดไฟฟาและระบบเกียรวางอยูใ กลพ้นื ดนิ จากการดําเนินการทดสอบประสิทธิภาพชุดกังหันลม
เพลาของกงั หันลมสามารถขับตอโดยตรงกับเกียรที่อยู แกนต้ังผลิตพลังงานไฟฟา ในครั้งท่ี 1 และครั้งท่ี 2
ที่พื้นดินผลการทดลองหาประสิทธิภาพการทํางาน พบวา ระดับแรงลมท่ี 20-25 m/s จะใหแ รงดันไฟฟาอยู
ของชดุ ผลิตไฟฟาดวยกังหนั ลมแกนตงั้ คร้ังท่ี 1 โดยวดั ในชวงระหวาง 12-12.2 โวลตที่ระดับกระแสไฟฟา
คาแรงลมจาก เคร่ืองแอนิโมมิ เต อร และหา 195-210 แอมแปร จึงสามารถวิเคราะหปริมาณแรงลม
กระแสไฟฟาจากดิจิตอลแคลมปมิเตอรพบวาปริมาณ ผกผันไปในทางเดียวกันกับแรงดันไฟฟา และ
การผลติ ไฟฟาแปรผันตรงกบั แรงลม เม่อื เพม่ิ ความเร็ว กระแสไฟฟา ซึ่งหมายความวาหากแรงลมมากขึ้น
ลมปริมาณไฟฟาที่ผลิตไดเพ่ิมดวยเชนกัน ซึ่งผลท่ีได ระดับแรงดันไฟฟา และกระแสไฟฟามาจะมากขึ้น
จากการทดลองคร้ังท่ี 1 ในการทดสอบของชุดผลิต เชนเดียวกัน ซึ่งสามารถสรุปผลไดวาการทดลองทั้ง 2
ไฟฟาดวยกังหันลมแกนตั้งสามารถผลิตกระแสไฟฟา ครั้งพบวาระดับแรงลมมีผลตอการผลิตไฟฟา และ
ไดสูงสุดที่ 195-210 A ที่ระดับแรงดัน 12 V เม่ือมี แรงดันไฟฟา หากมีแรงลมที่มากสามารถขับเคล่ือน
ระดับแรงลมท่ี 20-25 m/s และ ผลการทดลอง มอเตอรไดเ ร็ว ยิง่ สามารถผลิตไฟฟาและแรงดันไฟฟา
ประสิทธิภาพการทํางานของชุดผลิตไฟฟาดวยกังหัน มากขึ้นไดซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ มนตรี เลื่อง
ลมแกนต้ังคร้ังท่ี 2 ผลการทดลองหาประสิทธิภาพการ ชวนนท และกิจจา ศรีทองกุล วิจัยเร่ือง การออกแบบ
ทํางานของชุดผลิตไฟฟาดวยกังหันลมแกนต้ัง โดยวัด กั ง หั น ล ม แ น ว แ ก น ต้ั ง สํ า ห รั บ ค ว า ม เ ร็ ว ล ม ตํ่ า ใ น
คาแรงลมจาก เคร่ืองแอนิโมมิ เต อร และหา ประเทศไทยจากการดําเนินงานพบวา การเลือกใช
กระแสไฟฟาจากดิจติ อลแคลมปมเิ ตอร พบวาปริมาณ กังหันลมแนวแกนต้ังโดยเลือกใช ซาโวเนียส
การผลิตไฟฟาแปรผนั ตรงกับแรงลง เม่ือเพิ่มความเรว็ (Savonius) และ ดารเรียส (Darrieus) เพ่ือเพิ่มศักยภาพ
ลมปริมาณไฟฟาที่ผลิตไดเพ่ิมดวยเชนกัน ซึ่งผลที่ได การหมนุ ของใบ และสามารถลดความซบั ซอนของชุด
จากการทดลองครั้งที่ 2 ในการทดสอบของชุดผลิต กังหันไดมากเม่ือเทียบกับกังหันลมแบบแนวแกน
ไฟฟา ดว ยกงั หันลมแกนตั้ง สามารถผลิกกระแสไฟฟา นอน การออกแบบรวมชุดกังหันลมหลายตัวทํางาน
ไดสูงสุดท่ี 200-210 A ท่ีระดับแรงดัน 12.2 V เม่ือมี รวมกันก็เปนปจจัยท่ีสามารถขยายแนวคิดการผลิต
ระดบั แรงลมที่ 20-25 m/s ไฟฟาจากกังหันแบบเดิม ปจจุบันระบบอินเวอรเตอร
grid tied inverter มีความกาวหนา มากสามารถทํางาน
รวมกับระบบไฟฟาหลัก แบบตอเนื่อง พรอมระบบ
ปองกันไฟฟา และสงขอมูลการผลิตพลังงานผาน
เครือขายอินเตอรเน็ต internet of thing (IOT) ทําใหกา
ออกแบบกังหันลมแนวแกนตั้งมีความทันสมัย สามารถ
นําไปใชง านไดจ ริง [8] สอดคลอ งกบั งานวจิ ัย อภิสิทธิ์
หินเพ็ชรและคณะวิจัยเร่ือง ตนแบบกังหันลมแกนต้ัง
ผลิตไฟฟาจากลมธรรมชาติ จากการดําเนินงานพบวา
ขอมลู ความเร็วลมที่มีพื้นทีส่ ูง มีความเรว็ เฉล่ียมากกวา


การประชมุ วชิ าการนาํ เสนอผลงานนกั ศกึ ษา [4] มหาปลี นอกวัด, (2558), “ช้นั ลมในระบบ
250 NCTechED-Student Workshop 2022 อุตนุ ิยทวิทยา,” [Online],
https://rainweather.blogspot.com, [10
June 10,2022 ธันวาคม 2564]

ในพื้นที่ราบโดยมีความเร็วลมเฉลี่ยระหวางเดือน [5] เทคโนโลยี เทสท ซสิ เต็ม, “เครอ่ื งวัด
มีนาคม ถึง เดือนเมษายน เทากับ 1.3 m/s นอกจากนี้ ความเร็วลม,” [Online],
หากกงั หนั ลมทํางานในชวงทมี่ คี วามเรว็ ลมสูง http://www.technotestsystem com
(เดือน มิถุนายน – เดือนสิงหาคม) ซ่ึงมีความเร็วลม [10 ธันวาคม 2564]
เฉลี่ยอางอิงจากกรมอุตุนิยมวิทยาเทากับ 4.27 m/s ใช
เวลาในการประจุแบตเตอร่ีลดลงจากเดิม [9] และ [6] มูลนธิ โิ ครงการสารานุกรมไทยสําหรับ
สอดคลองกับงานวิจัยวรพันธุ สมบัติธีระ และคณะ เยาวชน, (2565), “การวดั ความเร็วและ
วิจัยเร่ือง กังหันลมผลิตไฟฟาแนวแกนตั้งรวมกับลอ ทิศทางของลม,” [Online],
ชวยแรงสะสมพลังงาน จากการศึกษาพบวากังหันลม https://www.saranukromthai.or.th,
ตัวที่มีลอชวยแรงสะสมพลังงานมีประสิทธิภาพที่ [11 ธันวาคม 2564]
ดีกวา คดิ เปนเปอรเ ซ็นตเฉลย่ี เทากบั 32 เปอรเ ซน็ ต [10]
7. ขอ เสนอแนะ [7] Energynext, (2565), “ประเภทกังหันลม,”
[Online], https://energynext.co.th
จากผลการดาํ เนนิ โครงการชุดกงั หันลม [10 ธันวาคม 2564]
แกนต้ังผลิตพลังงานไฟฟา คณะผจู ดั ทําไดม ี
ขอ เสนอแนะในการทาํ โครงการครั้งตอ ไป ดังนี้ [8] มนตรี เลือ่ งชวนนท และกิจจา ศรที องกลุ ,
“การออกแบบกังหันลมแนวแกนตงั้
7 . 1 ส า ม า ร ถ นํ า ไ ป พั ฒ น า ต อ เ พ่ื อ
ประสิทธิภาพของชุดกังหันลมแกนตั้งผลิตพลังงาน สําหรบั ความเรว็ ลมต่าํ ในประเทศไทย, 1 ตุลาคม
ไฟฟา เพ่อื ใหม ปี ระสิทธภิ าพข้นึ กวา เดิม พ.ศ.2560,” การไฟฟาแหง ประเทศไทย
เขอื่ นรชั ชประภา สรุ าษฎธานี, หนา ก
7.2 ชุดกังหันลมแกนตั้งผลิตพลังงานไฟฟา
สามารถนํามาใชประโยชนใ นครัวเรือนได [9] อภสิ ทิ ธิ์ หินเพ็ชรแ ละคณะ, (2561),
“ตนแบบกังหันลมแกนต้งั ผลิตไฟฟา จาก
7.3 พัฒนาระบบจดั เก็บกระแสไฟฟา เพือ่ ลมธรรมชาติ,” ปริญญา นิพนธ สาขา
นําไปประยกุ ตใ ชง าน วิศวกรรมไฟฟา คณะวิศวกรรมศาสตร
8. เอกสารอา งอิง มหาวิทยาลัยบรู พา หนา ก
[1] Energenius, (2565), “ประโยชนกังหันลม,”
[10] วรพนั ธุ และคณะ, (2558), “กงั หันลม
[Online], https://www.energeniusth.com ไฟฟาแนวแกนตั้งรว มกบั ลอชวยแรงสะสม
[10 ธนั วาคม 2564] พลงั งาน,” วทิ ยานิพนธปรญิ ญาตรี สาขา
[2] Geo2gis, (2565), “เร่อื งของลม,” [Online] เทคโนโลยีไฟฟา คณะวศิ วกรรมศาสตร
https://www.geo2gis.com, มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สารคาม, หนา ก
[10 ธันวาคม 2564]
[3] อภิสิทธิ์ นามวงศ, (2565), “ประเภทลม,”
[Online], http://www.marine.tmd.go.th,
[10 ธันวาคม 2564]


การประชมุ วชิ าการนาํ เสนอผลงานนักศึกษา
NCTechED-Student Workshop 2022 251

June 10,2022

รถพลังงานไฟฟา้ A

ทองดี บำรงุ เออื้ 1* เกยี รตศิ กั ดิ์ ใหญโ่ สมำนงั 2 และ สรลั พรหมศร3

บทคัดย่อ

กำรศึกษำโครงกำรวจิ ยั เรื่องรถพลงั งำนไฟฟำ้ A มีวตั ถุประสงคข์ องโครงกำรเพือ่ สร้ำงรถพลงั ไฟฟ้ำ A เพอื่ ศึกษำ
ระบบกำรทำงำนของรถพลังงำนไฟฟำ้ และศึกษำกำรสง่ จำ่ ยของแบตเตอรี่

กำรทดลองควำมเร็วของรถพลงั งำนไฟฟ้ำโดยเร่งควำมเร็วสูงสุด จำกกำรทดลอง 5 คร้ัง พบวำ่ ค่ำเฉล่ียของรถ
พลังงำนไฟฟ้ำ ได้น้ำหนักเฉลี่ยที่ 113.2 กิโลกรัม ระดับแรงดันเฉล่ียท่ี 48.06 V มีค่ำกระแสเฉล่ียที่ 9.7 A และ
ระยะทำงเฉลี่ยท่ี 20.4 Km/h กำรทดลองด้วยกำรไต่ระดับควำมชันที่ 20, 27 และ 32 องศำ ซ่ึงทดสอบที่น้ำหนัก
ผู้ขับขี่ 98 กิโลกรัม จำกกำรทดลอง 3 คร้ัง พบวำ่ ค่ำเฉล่ียได้ระดบั ควำมชนั เฉล่ยี ที่ 26.33 ระดับแรงดันเฉล่ียที่ 48.2 V
มีคำ่ กระแสเฉล่ียที่ 10.3 A และควำมเร็วเฉล่ียท่ี 7 Km/h และกำรทดลองควำมเร็วคงท่ีของรถพลังงำนไฟฟ้ำวง่ิ ไดต้ ่อ
กำรประจุแบตเตอร่ี 1 คร้ัง จำกกำรทดลอง 5 ครง้ั พบวำ่ ค่ำเฉลี่ยได้ควำมเร็วเฉลี่ยที่ 20 Km/h ทร่ี ะดับแรงดนั เฉลี่ยท่ี
48.6 V มีคำ่ กระแสเฉลีย่ ท่ี 9.7 A และระยะทำงเฉลี่ยที่ 20.4 Km/h

จำกกำรทดลองระบบกำรทำงำนของรถพลังงำนไฟฟ้ำที่สร้ำงข้ึน พบว่ำ กำรเปรียบเทียบควำมเร็วจำกกำรเร่ง
ควำมเร็วในกำรออกตัวจำกจดุ เริ่มต้น เพ่ือใหไ้ ด้ควำมเรว็ สูงสุด สรปุ ไดว้ ่ำที่ควำมชันต่ำงระดับกันจะมีกระแสท่ีไม่
เท่ำกันจะเห็นได้ว่ำที่ควำมชันสูงขึ้น จะกินกระแสมำกกว่ำควำมชันท่ีต่ำกว่ำ ถ้ำสำมำรถทำให้กระแสท่ีใช้งำนมีค่ำ
น้อยทีส่ ุดหรืออำจจะเท่ำกับควำมชนั ที่ต่ำที่สุดจะเปน็ ผลดีตอ่ กำรใชง้ ำนและอำจเพิม่ ระยะทำงได้มำกกว่ำเดิม และยัง
สำมำรถตอ่ ยอดเพ่ือพัฒนำเพิม่ ข้นึ ไปได้ ในอนำคตเพื่อประสิทธิภำพในกำรทำงำนเพิ่มมำกขึ้น
คาสาคัญ :,รถพลงั งำนไฟฟำ้ A Brushless DC MOTOR ขนำด 48 V 1500 W

1,2,3สำขำวิชำเทคโนโลยไี ฟฟ้ำ วิทยำลยั เทคนคิ อดุ รธำนี สถำบันกำรอำชีวศึกษำภำคตะวนั ออกเฉียงเหนอื 1
* ทองดี บำรงุ เอ้อื โทร +658526013 อีเมล ; [email protected]


การประชุมวชิ าการนําเสนอผลงานนกั ศกึ ษา
252 NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

ELECTRIC CAR A

Thongdee Bamrungauea1* Kiattisak Yaisomanang2 and Saran Janocha3

Abstract

The purpose of this research project on a electric car was to create the a electric car as a model for learning
about a system of an electric car and a battery operation.

From five trails of an experiment on a velocity of the electric car with the highest speed, it was found that
average numbers of electric car’s weight, pressure, electric current and distance are 113.2 kg, 48.06 V, 9.7 a and
20.4 Km/h accordingly. Furthermore, an experiment on driving up slopes with different degrees: 20°, 27° and 32°
by a driver who weighs 98 kg, from three trails, showed that an average slope is 26.33, an average pressure is 48.2
V, an average electric current is 10.3 A, and an average speed is at 7 Km/h. Lastly, an experiment on measuring a
constant velocity of the electric car per 1 battery charging, from five trails, it resulted that the constant velocity is
20 Km/h. And at an average pressure of 48.6 V, an average electric current is 9.7 A, and an average distance is
20.4 Km/h.

According to the experiments of the created electric car, to compare a velocity by accelerating from the start to
reach the highest speed, is concluded that at different degrees of slope, electric current is also dissimilar. Driving
up a higher slope requires more use of an electric current than driving up a lower slope. If the electric current was
reduced to the smallest amount or was equal to the lowest slope, it would be proper and could increase a driving
distance. Additionally, it is possible to be developed for more efficiency in the future.
Keywords : Electric car A Brushless DC MOTOR size 48 V 1500 W

1,2,3Electrical Technology Udonthani Technical College Udonthani Province 41000
Institute of Vocational Education : Northeastern region 1
* Thongdee Bamrungauea Tel : +658526013 e-Mail ; [email protected]

NCTechEd B21-2022


1. บทนา การประชมุ วชิ าการนาํ เสนอผลงานนกั ศกึ ษา
เน่ืองจำก ปัจจุบันแนวโน้มกำรใช้พลังงำนสูงข้ึน NCTechED-Student Workshop 2022 253

วัตถุดิบท่ีมีในกำรผลิตไฟฟ้ำมีปริมำณลดลงทำให้ June 10,2022
ต้นทุนมีรำคำสูงขึ้น ไม่ว่ำจะเป็น พลังงำนศักย์
พลังงำนจลน์ พลังงำนกล และพลังงำนไฟฟ้ำ ที่กล่ำว เป็ น ก ำร ป ร ะ ห ยั ด พ ลั ง ง ำน น้ ำมั น เชื้ อ เพ ลิ ง แ ล ะ ล ด
มำน้ลี ้วนแล้วเปน็ พลงั งำนท่ใี ช้แลว้ หมดไป ในสภำวะ มลภำวะทำงอำกำศท่ีก่อให้เกิดมลพิษ ลดค่ำใช้จ่ำยใน
ปัจจุบัน น้ำมันมีรำคำสูงข้ึนมำกและปริมำณของ กำรใช้นำ้ มนั และก๊ำชธรรมชำติ
น้ำมันยังมีแนวโน้มที่จะลดลง ประกอบกับกำรใช้
พลังงำนจำกน้ำมันมำเป็นเชื้อเพลิงก่อให้เกิดมลพิษ 2. วตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ยั
ทำง ส่ิงแวดลอ้ ม และยงั กอ่ เกิดปญั หำโลกรอ้ น 2.1 เพ่อื ออกแบบและสรำ้ งรถพลงั งำนไฟฟำ้
2.2 เพ่ือศึกษำระบบกำรทำงำนของ Brushless
ผู้จัดทำมีควำมสนใจ พลังงำนสะอำด และรำคำ
ไม่แพง พลังงำนไฟฟ้ำเป็นอีกหนึ่งทำงเลือกท่ีเป็น DC MOTOR ของรถพลังงำนไฟฟำ้
พลังงำนสะอำด ไม่ก่อเกิดมลพิษให้กับส่ิงแวดล้อม
มีค่ำใช้จ่ำยต่ำ สำมำรถผลิตและควบคุมได้ง่ำย และ 3. การดาเนนิ งาน
สำมำรถเปลี่ยนแปลงไปเป็นพลังงำนรูปอื่น ๆได้ กำรศึกษำข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องกับกำรทำงำนของรถ
ซ่ึ ง ปั จ จุ บั น มี ก ำ ร คิ ด ค้ น ส่ิ ง ป ร ะ ดิ ษ ฐ์ แ ล ะ อุ ป ก ร ณ์
จำนวนมำกท่ีใช้พลังงำนไฟฟ้ำ หนึ่งในนั้นก็คือรถ พลังงำนไฟฟ้ำ เริ่มจำกกำรไปขอคำปรึกษำจำกครู
พลังงำนไฟฟ้ำ ซึ่งใช้มอเตอร์เป็นต้นกำลังในกำร ทีป่ รึกษำหลงั จำกน้ันเริ่มศึกษำค้นคว้ำจำกแหล่งข้อมูล
ขับเคล่ือนให้รถเคล่ือนที่ในปัจจุบันได้ให้ควำมสนใจ ต่ำง ๆ อินเตอร์เน็ต เพื่อหำข้อมูลเกี่ยวข้องกับกำรทำ
ในเรื่องสิ่งแวดล้อมมำกขึ้น รวมไปถึงกำรควบคุม รถพลังงำนไฟฟำ้ และข้อมูลที่เก่ียวขอ้ งในกำรทำงำน
กำรผลิตน้ำมันส่งผลให้รำคำน้ำมันสูงขึ้น จึงทำให้ ของรถพลงั งำนไฟฟ้ำและอปุ กรณ์ช้นิ สว่ นตำ่ ง ๆ ทใ่ี ช้
คนที่สนใจด้ำนเทคโนโลยีเร่งเห็นประโยชน์ของ ในกำรทำรถพลังงำนไฟฟ้ำ
รถไฟฟ้ำเพิ่มมำกข้ึน และในปัจจุบันนี้ รถยนต์ไฟฟ้ำ
ได้ถูกพัฒนำไปไกลมำกขึ้นทำให้เรำได้เห็นรถไฟฟ้ำ ก ำร อ อ ก แ บ บ ร ะ บ บ ก ำลั ง ก ำร ท ำง ำน ข อ ง ร ถ
ในประเทศไทยเพ่ิมข้ึน พลังงำนไฟฟ้ำนี้จะใช้ชุดคอนโทรลสปิดมอเตอร์
Brushless DC MOTOR ในกำรควบคุมกำรทำงำนของ
ดังน้ัน คณ ะผู้จัดทำได้มีกำรนำไฟฟ้ำ รถพลงั งำนไฟฟ้ำ ตำมรปู ท่ี 1
มำประยุกต์ใช้ร่วมกับควำมรู้วิชำระบบควบคุมและ
วชิ ำเครื่องจักรกลไฟฟ้ำ มำพัฒนำใหเ้ กดิ ประโยชน์ใน รูปที่ 1 หลักกำรทำงำนและกำรใชง้ ำน
กำรสร้ำงรถพลังงำนไฟฟ้ำ ในกำรกำรขับเคลื่อนรถ
พลังงำนไฟฟ้ำโดยกำรใช้มอเตอร์กระแสตรงในกำร รปู ที่ 2 ออกแบบโครงสร้ำงดำ้ นล่ำง
ขับเคลื่อน มำแทนเคร่ืองยนต์ท่ีใช้น้ำมันเช้ือเพลิง
เพื่อศึกษำควำมเป็นไปไดใ้ นกำรนำไปใช้งำนจรงิ และ
นำพลังงำนไฟฟ้ำมำทดแทนพลังงำนน้ำมันเช้ือเพลิง

NCTechEd B21-2022


การประชมุ วิชาการนาํ เสนอผลงานนักศึกษา สถติ ิทใ่ี ชใ้ นกำรวิจัย
254 NCTechED-Student Workshop 2022 คำ่ เฉล่ยี (Mean) คำนวณจำกใชส้ ูตร

June 10,2022 (บญุ ชม ศรสี ะอำด, 2545 : 105)
̅X = ∑ − x
รปู ท่ี 3 ออกแบบโครงสร้ำงด้ำนหนำ้
N
รปู ท่ี 5 ออกแบบโครงสร้ำงดำ้ นขำ้ ง
เมือ่ X̅ แทน คำ่ คะแนนคำ่ เฉล่ีย
รปู ที่ 6 อปุ กรณต์ ่ำง ๆ ของรถพลงั งำนไฟฟำ้ ∑ x แทน ผลรวมของคะแนนทงั้ หมด
1. พวงมำลยั N แทน จำนวนกลมุ่ ตวั อย่ำง
2. เรือนไมลด์ จิ ิตอล กญุ แจและเกียร์เดินหน้ำถอยหลัง
3. หลอดไฟ LED 4. ผลการวิจัย
4. เบำะ กำรทดลองคร้ังนี้เพื่อตรวจสอบระบบกำรทำงำน
5. แบตเตอร่ี สปีดคอนโทรลชุดควบคุมบัสเลส
มอเตอร์และเบรกเกอร์ ของรถพลงั งำนไฟฟ้ำโดยกำรทดลองควำมเร็วของรถ
6. Brushless DC Motor พลงั งำนไฟฟ้ำโดยกำรเร่งควำมเร็วคันเร่งสูงสดุ มีดังน้ี
7. คันเร่ง
8. ชุดเบรค ตารางที่ 1 ตำรำงแสดงกำรทดลองควำมเร็วของรถ
9. ลอ้ พลงั งำนไฟฟำ้ โดยกำรเร่งควำมเรว็ สงู สุด

ทดลอง น้าหนกั ระดับ กระแส ระยะทาง

คร้ังที่ (kg) แรงดนั (A) (km)

(V)

1 65 47.9 8.9 25

2 80 48.2 9.2 23

3 98 47.6 9.8 21

4 145 48.1 10.1 18

5 178 48.5 10.6 15

คา่ เฉลี่ย 113.2 48.06 9.7 20.4

จำกตำรำงท่ี 1 กำรทดลองควำมเร็วของรถพลังงำน
ไฟฟ้ำโดยกำรเรง่ ควำมเรว็ สูงสดุ พบว่ำจำกกำรทดลอง
ทัง้ 5 ครั้ง พบว่ำยง่ิ น้ำหนกั ผู้ขบั ข่นี ้ำหนักเพมิ่ ข้ึนจะทำ
ให้รถพลังงำนไฟฟ้ำกินกระแสสูงข้ึน เม่ือเฉล่ีย
น้ำหนักผู้ขับขี่จำกกำรทดลองท้ัง 5 ครั้งได้น้ำหนัก
เฉลย่ี ที่ 113.2 กโิ ลกรัม ทรี่ ะดับแรงดนั เฉลย่ี ท่ี 48.06
มีค่ำกระแสเฉลี่ยท่ี 9.7 A และระยะทำงเฉลี่ยที่
20.4 Km/h

NCTechEd B21-2022


การประชมุ วิชาการนําเสนอผลงานนักศกึ ษา
NCTechED-Student Workshop 2022 255

June 10,2022

200 60
50
150 40
30
100 20
10
50
0
0 123
12345

ระดบั แรงดัน (V) กระแส (A) แรงดัน (V) กะแส (A) ความเรว็ (Km/h)
ระยะทาง (km) นา้ หนกั (kg)

รูปที่ 7 กำรทดลองควำมเร็วของรถพลงั งำนไฟฟ้ำ รปู ท่ี 8 กำรทดลองดว้ ยกำรไตร่ ะดับควำมชนั ที่ 20, 27
โดยกำรเรง่ ควำมเร็วคันเร่งสงู สุด และ 32 องศำ ซ่ึงทดสอบทนี่ ้ำหนักผู้ขับขี่
98 กิโลกรมั
ตารางที่ 2 ตำรำงแสงกำรทดลองด้วยกำรไต่ระดับ
ควำมชนั ที่ 20, 27 และ 32 องศำ ซ่ึงทดสอบ ตารางที่ 3 ตำรำงแสดงกำรทดลองควำมเรว็ คงท่ขี องรถ
ทน่ี ้ำหนักผขู้ บั ข่ี 98 กโิ ลกรมั พลังงำนไฟฟำ้ ว่งิ ได้ต่อกำรประจุแบตเตอร่ี1คร้ัง

ทดลอง ระดบั แรงดนั กะแส ความเร็ว ทดลอง ความเร็ว ระดับ กระแส ระยะทาง
ครั้งท่ี ความชนั (V) (A) (Km/h) ครั้งท่ี (Km/h) แรงดนั (A) (km)

1 20° 48.9 9.8 9 (V)
2 27° 48.1 10.2 7 1 10 47.9 8.4 30
3 32° 47.7 10.9 5 2 15 48.2 9.2 30
3 20 47.6 9.6 28
คา่ เฉลยี่ 26.33 48.2 10.3 7 4 25 48.1 9.8 26
5 30 48.5 10.3 25
จำกตำรำงที่ 2 กำรทดลองด้วยกำรไต่ระดับ คา่ เฉลี่ย 20 48.6 9.7 20.4
ควำมชันที่ 20, 27 และ 32 องศำ ซ่ึงทดสอบท่ีน้ำหนัก
ผขู้ ับข่ี 98 กิโลกรัม กำรเปรียบเทียบควำมเร็วจำกกำร จำกตำรำงท่ี 3 กำรทดลองควำมเร็วคงท่ีของรถ
เร่งควำมเร็วในกำรออกตัวจำกจุดเริ่มต้น เพ่ือให้ได้ พลังงำนไฟฟ้ำว่ิงได้ต่อกำรประจุแบตเตอร่ี 1 คร้ัง
ควำมเร็วสงู สดุ สรปุ ได้วำ่ ท่คี วำมชันตำ่ งระดับกนั จะมี พบว่ำ จำกกำรทดลองทั้ง 5 ครั้ง ยิ่งอัตรำควำมเร็ว
กระแสที่ไม่เท่ำกันจะเห็นได้ว่ำที่ควำมชัน 32 องศำ เพ่ิมข้ึน รถพลังงำนไฟฟ้ำจะกินกระแสสูงข้ึนจึงให้
จะกินกระแสมำกกว่ำควำมชันที่ต่ำกวำ่ เม่ือเฉลี่ยจำก ระยะทำงในกำรว่ิงต่อกำรประจุแบตเตอร่ี 1 คร้ัง
กำรทดลองท้ัง 3 คร้ังได้ระดับควำมชันเฉลี่ยที่ 26.33 นอ้ ยลง เมอ่ื เฉลยี่ ระจำกกำรทดลอง 5 คร้ังได้ควำมเร็ว
ระดบั แรงดนั เฉลี่ยที่ 48.2 V มีค่ำกระแสเฉลี่ยที่ 10.3 A เฉ ล่ียที่ 20 Km/h ท่ี ระดับแรงดัน เฉล่ียที่ 48.6 V
และควำมเร็วเฉลี่ยท่ี 7 Km/h มคี ่ำกระแสเฉลย่ี ท่ี 9.7 A และระยะทำงเฉลย่ี ที่20.4 Km/h

NCTechEd B21-2022


การประชมุ วชิ าการนาํ เสนอผลงานนักศึกษา
256 NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

60 คงที่ของรถพลงั งำนไฟฟำ้ วิ่งไดต้ ่อกำรประจแุ บตเตอร่ี
1 ครั้ง ซ่ึงได้ผลกำรทดลองได้ควำมเร็วเฉลี่ยที่
50 20 Km/h ระดับแรงดันเฉล่ียท่ี 48.6 V มีค่ำกระแส
เฉล่ียท่ี 9.7 A และระยะทำงเฉลย่ี ท่ี 20.4 Km/h
40
6. การอภปิ รายผล
30 จำกกำรทดลองรถพลังงำนไฟฟ้ำ เริ่มจำกกำร

20 ทดลองควำมเร็วของรถพลังงำนไฟฟ้ำโดยกำรออกตัว
รถด้วยกำรเร่งควำมเร็วสูงสุด ทำให้ได้ตรงตำม
10 วัตถุประสงค์ท่ีต้ังไว้สอดคล้องกับ สุวิทย์ อัญชลี [8]
วิจัยเรื่อง กำรออกแบบสร้ำงสกู๊ตเตอร์ไฟฟ้ำ 3 ล้อ
0 จำกผลกำรทดสอบกำรทำงำนพบว่ำรถสกู๊ตเตอร์ไฟฟ้ำ
12345 สำมำรถรองรับน้ำหนักผู้ขับขี่และ เอกสำรในกำรขน
ย้ำยได้ไม่น้อยกว่ำ 75 กิโลกรัม สำมำรถทำงำนได้อย่ำง
ระดบั แรงดนั (V) กระแส (A) ต่อเนื่องไม่น้อยกว่ำ 50 นำทีต่อ กำรประจุไฟฟ้ำหน่ึง
ระยะทาง (km) ความเร็ว (Km/h) คร้ัง มีควำมเร็วสู งสุดในกำรเคลื่อนท่ีประมำณ
26 กิโลเมตรต่อช่ัวโมง สำมำรถ เคลื่อนที่ในพ้ืนท่ีลำด
รปู ที่ 9 กำรทดลองควำมเร็วคงท่ีของรถพลงั งำนไฟฟำ้ เอียงได้สูงสุด 25 องศำ (ทดสอบที่น้ำหนักบรรทุก
ว่งิ ได้ต่อกำรประจแุ บตเตอร่ี 1 ครัง้ 75 กิโลกรัม) โดยระยะเวลำ ในกำรใช้งำนจะแปรผัน
กับน้ำหนักของกำรบรรทุกและผู้ขับขี่ กำรทดลองด้วย
5. สรุปผลการวจิ ยั ก ำรไ ต่ ระ ดั บ ค ว ำม ชั น ที่ 20, 27 แ ล ะ 32 อ งศ ำ
จำกกำรทดลองระบบกำรทำงำนของรถพลังงำน ซึ่งทดสอบท่ีน้ำหนักผู้ขับขี่ 98 กิโลกรัม ทำให้ได้ตรง
ตำมวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้สอดคล้องกับ กิติศักด์ิ
ไฟฟ้ำโดยกำรทดลองควำมเร็วของรถพลังงำนไฟฟ้ำ หมึกแดง [9] วิจัยเรื่องรถจักรยำนไฟฟ้ำขับเคลื่อนด้วย
โดยกำรเร่งควำมเร็วสูงสุด กำรทดลองด้วยกำร Brushless DC Motor 2 ตัว จำกผลกำรทดสอบกำร
ไตร่ ะดับควำมชันที่ 20, 27 และ 32 องศำ ซ่งึ ทดสอบที่ ทำงำนของรถจักรยำนไฟฟ้ำท่ีน้ำหนักของผู้ขับข่ีที่
น้ำหนักผู้ขับข่ี 98 กิโลกรัม และกำรทดลองควำมเร็ว 80 กิ โ ล ก รั ม ส ำม ำรถ ว่ิ งด้ ว ยค วำม เร็ ว สู งสุ ด
คงทขี่ องรถพลังงำนไฟฟำ้ ว่ิงไดต้ อ่ กำรประจุแบตเตอร่ี 32 กิโลเมตร/ช่ัวโมงและสำมำรถไต่ระดับได้ที่ควำม
1 คร้ัง ซึ่งมีผลกำรทดลองตำมตำรำงแสดงผลกำร ชัน 18 , 27 และ 30 องศำ กำรทดลองควำมเร็วคงที่ของ
วเิ ครำะห์ข้อมลู ในบทที่ 4 รถพลังงำนไฟฟ้ำว่ิงได้ต่อกำรประจุแบตเตอร่ี 1 ทำให้
ได้ตรงตำมวัตถุประสงค์ท่ีตั้งไว้สอดคล้องกับกองพล
ผลกำรทดลองในกำรทดลองควำมเร็วของรถ อำรีรักษ์ [10] วิจัยเรื่องกำรควบคุมควำมเร็วของ
พลงั งำนไฟฟำ้ โดยกำรเร่งควำมเร็วสงู สุด ซ่ึงได้ผลกำร รถไฟฟ้ำ จำกกำรทดสอบพบว่ำตัวควบคุมพีไอ
ทดลองท่ีน้ำหนักเฉลี่ยท่ี 113.2 กิโลกรัม ค่ำระดับ
แรงดันเฉลี่ยที่ 48.06 V มีค่ำกระแสเฉลี่ยที่ 9.7 A และ
ระยะทำงเฉลี่ยท่ี 20.4 Km/h กำรทดลองด้วยกำรไต่
ระดับควำมชันที่ 20, 27 และ 32 องศำ ซึ่งทดสอบท่ี
น้ำหนักผู้ขับข่ี 98 กิโลกรัม ซึ่งได้ผลกำรทดลองท่ี
ระดบั แรงดันเฉลีย่ ที่ 48.2 V มคี ำ่ กระแสเฉลีย่ ที่ 10.3 A
และควำมเรว็ เฉล่ยี ที่ 7 Km/h และกำรทดลองควำมเรว็

NCTechEd B21-2022


ที่สร้ำงข้ึนสำมำรถควบคุมควำมเร็วของรถไฟฟ้ำได้ การประชมุ วิชาการนําเสนอผลงานนักศกึ ษา
อย่ำงอัตโนมัติ โดยมีควำมคลำดเคลื่อนไม่เกิน 6 NCTechED-Student Workshop 2022 257
เปอรเ์ ซ็นต์ ในทุกสภำพของถนน
June 10,2022

[4] กองพล อำรรี กั ษ,์ (2560), กำรควบคมุ ควำมเรว็ ของ
รถไฟฟำ้ , สำขำวิชำวิศวกรรมไฟฟำ้ สำนักวชิ ำ
วศิ วกรรมศำสตร์ มหำวิทยำลยั เทคโนโลยีสรุ นำรี.

7. ขอ้ เสนอแนะ
7.1 หำผู้ท่ีศึกษำต้องกำรเพิ่มประสิทธิภำพในกำร

ขับเคลอื่ นของรถพลงั งำนไฟฟ้ำควรเปล่ยี นไปเลอื กใช้
แบตเตอรี่ให้เป็นแบตเตอรี่โซเดียม-ไอออน เนื่องจำก
แบตเตอร่ีท่ีเป็นโซเดียม-ไอออนจะสำมำรถช่วยเพ่ิม
ประสิทธิภำพในกำรดึงพลังงำนไปใช้งำนได้มำกกว่ำ
แบตเตอรที่ ่ใี ชง้ ำนในปัจจบุ ัน

7.2 หำกผู้ท่ีศึกษำต้องกำรทำผลงำนไปพัฒนำต่อ
ควรเพ่ิมชุดชำร์จ Auto ชำร์จขณะรถวิ่งหรืออำจมีกำร
ปรับเปลี่ยนให้นำพลังงำนกลที่สูญเสียไปนำกลับมำ
แปรรูปเป็นพลังงำนไฟฟ้ำเพ่ือนำกลับมำใช้กับรถอีก
ได้เช่นเดียวกัน

7.3 หำกผู้ศึกษำสำมำรถนำผลงำนไปต่อยอด
สำมำรถเพิ่มควำมแข็งแรงของวัสดุ และอำจติดตั้ง
ประตูหรือเข็มขัดนิรภัยเข้ำไปเพิ่มเข้ำไปได้เช่นกัน
เพอ่ื เพมิ่ ควำมปลอดภยั ให้ผู้ขับขี่

8. เอกสารอ้างอิง

[1] บุญชม ศรสี ะอำด, (2541), กำรวิจยั เบ้ืองตน้ ,
พิมพค์ รงั้ ที่ 5, กรุงเทพฯ : สวุ ีรยิ ำสำส์น.

[2] สวุ ทิ ย์ อญั ชล,ี (2558), กำรออกแบบสร้ำง
สก๊ตู เตอรไ์ ฟฟ้ำ 3 ลอ้ , สำขำวศิ วกรรมไฟฟำ้
มหำวทิ ยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลศรวี ิชัย.

[3] กิติศกั ด์ิ หมึกแดง, (2560), รถจกั รยำนไฟฟำ้
ขบั เคลอ่ื นดว้ ย Brushless DC Motor 2 ตัว,
สำขำวชิ ำวศิ วกรรมไฟฟำ้ มหำวิทยำลยั เทคโนโลยี
พระจอมเกลำ้ พระนครเหนอื .

NCTechEd B21-2022


การประชมุ วชิ าการนําเสนอผลงานนกั ศกึ ษา
258 NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

กระติกแช่นํา้ แขง็ อจั ฉริยะ

ดุสิต แก้ววชิ ัย
บทคดั ย่อ

การศึกษาวิจยั น้ี มีวตั ถปุ ระสงคเ์ พื่อศึกษาการทาํ งานของแผน่ เพลเทียร์หรือแผน่ ร้อน-เยน็ และการศึกษาวิจยั
ในคร้ังน้ีไดท้ าํ การทดลองศึกษาของ แผน่ เพลเทียร์หรือร้อน-เยน็ ท่ีแผนกวิชาไฟฟ้ากาํ ลงั

เพ่ือศึกษาการทาํ งานของแผน่ เพลเทียร์หรือแผน่ ร้อน-เยน็ ผลการศึกษาว่าศึกษาการทาํ งานของชุดกระติก
แชน่ ้าํ แขง็ อจั ฉริยะแผน่ เพลเทียร์ และส่วนประกอบของกระติกแช่น้าํ แขง็ อจั ฉริยะแผน่ เพลเทียร์ ที่แผนกวิชา
ชา่ งไฟฟ้ากาํ ลงั สามารถทาํ งานอยา่ งมีประสิทธิภาพ
คาํ สําคญั : แผน่ เพลเทียร์ กระติกน้าํ แขง็ ปั๊มน้าํ

สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า วทิ ยาลยั เทคนิคกาญจนาภเิ ษกอุดรธานี สถาบนั การอาชวี ศึกษาภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ 1 จงั หวดั อดุ รธานี 41000
ดุสิต แกว้ วชิ ยั โทร. +6973029571 อีเมล : [email protected]


การประชมุ วชิ าการนาํ เสนอผลงานนักศกึ ษา
NCTechED-Student Workshop 2022 259

June 10,2022

SMART ICE BUKET

Dusit Kaewwichai
ABSTRACT

This research study The objective of this study was to study the operation of Pletier plates or hot-cold plates.
And this research study has conducted an experimental study of Pletier plate or hot-cold at the Department of
Electrical Power

To study the operation of Pletier plates or hot-cold plates The results of the study were to study the operation
of the Pletier plate smart ice cooler set. and components of a smart ice bucket, a plate of Pletier at the
Department of Electrical Engineering can work efficiently.
Keywords : pletier ice flask water pump

DFieldof Electrical Technology Kanchanaphiesk Udon thani Technical Collega, Institute of Vocational Education Northeastern Region 1
Dusit Kaewwichai Tel.+6973029571 E-mail : [email protected]


การประชมุ วิชาการนาํ เสนอผลงานนักศกึ ษา 3.3ลาํ ดบั ข้นั ตอนการออกแบบและสร้างโครงงาน
260 NCTechED-Student Workshop 2022 การสร้างและการออกแบบเพ่ือศึกษาและพฒั นา
และเป็ นแนวคิดพ้ืนฐานให้ผูส้ นใจนําไปพัฒนาให้
June 10,2022 เกิดประโยชน์ต่อไป ทางคณะกลุ่มโครงการจึงมี
แนวคิดประดิษฐน์ าํ มาใชร้ ่วมกนั กบั แผน่ ทาํ ความเยน็
1. บทนํา และวงจรควบคุมแปลงไฟบ้าน เพื่อทาํ การสั่งการ
ท่ีมาของแนวคิดหลกั การและเหตุผลจากการท่ี ทํ าง าน ข อ ง ร ะ บ บ ก าร ทํ าค ว าม เย็น เพื่ อ ใ ห้
สะดวกสบายตลอดจนมีความปลอดภยั ดว้ ยพาวเวอร์
กลุ่มของเราได้เห็นการต้ังแคมป์ ปิ้ ง มีการพกพา ซพั พลายและสวิตชป์ ิ ด-เปิ ดไฟมีฟิ วส์ตดั ต่อ
กระติกน้าํ แขง็ ท่ีเก็บความเยน็ ท่ีมีการรักษาอุณหภูมิที่ 3.4 ลาํ ดบั การทดลอง
ไม่คงที่ ทาํ ใหเ้ กิดการละลายของน้าํ แขง็ และส่ิงของที่
แชไ่ วใ้ นกระติก เราประยกุ ตท์ าํ ตเู้ ยน็ มินิแผน่ เพลเทียร์ 3.4.1 ศึกษาหลกั การและทฤษฎีที่เกี่ยวขอ้ งกบั
ข้ึนมาเพ่ือรักษาอุณหภูมิไวใ้ หค้ งที่ทาํ ให้การต้งั แคมป์ ตเู้ ยน็ มินิแผน่ เพลเทียร์
สะดวกสบายข้ึนมีเครื่องดื่มเยน็ ๆไวเ้ พื่อดื่มตลอดเวลา
หลกั การทาํ งานแผน่ เพลเทียร์ซ่ึงสารก่ึงตวั นาํ แบบ P- 3.4.2 เส น อหั วข้อโค รงก ารกับ อาจารย์
N คือ ส่วนประกอบหลกั ของแผ่นทาํ ความเยน็ เพล ที่ปรึกษา ถ้าอาจารย์เห็นชอบจึงดาํ เนินการข้นั ตอน
เทียร์โดยการทาํ ความเยน็ จะเกิดข้ึนไดก้ ็ต่อเม่ือ มีการ ต่อไป ถ้าอาจารย์ไม่เห็นชอบให้ไปศึกษาข้อมูล
จ่ายไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current:DC) หรือไฟดี เพิ่มเติม
ซี ให้กบั แผน่ ทาํ ความเยน็ เพลเทียร์ดว้ ยแรงดนั 12V
กระแส 1A เม่ือกระแสไฟฟ้าเดินทางผ่านวสั ดุท่ีมี 3.4.3 หาขอ้ มูลที่เกี่ยวขอ้ งมาเพ่ิมเติมและตรง
คุณสมบัติเป็ นสารก่ึงตัวนําแล้วก็จะเกิดการทํา ตามมาตรฐาน
ปฏิกิริยาร้อนเยน็ ท่ีจุดรอยต่อ P-N ข้ึนจึงนาํ คุณสมบตั ิ
น้ีมาประยกุ ตใ์ ชง้ าน [1] 3.4.4 สรุปผลการอภิปราย
3.5 ลาํ ดบั ข้นั ตอนการดาํ เนินงานสร้างเครื่องมือ
2. วตั ถุประสงค์ของโครงการ
2.1 เพ่ือสร้างกระติกแชน่ ้าํ แขง็ อจั ฉริยะดว้ ยระบบ

ทาํ ความเยน็ จากแผน่ เพลเทียร์
2.2 เพื่อศึกษาการทาํ งานของระบบทาํ ความเยน็

จากแผน่ เพลเทียร์

3. วธิ ีดาํ เนินโครงการ
3.1 รูปแบบการวิจยั แบบการทดลอง
3.2 เครื่องมือที่ใชใ้ นการวิจยั
3.2.1 กระติกแชน่ ้าํ แขง็ อจั ฉริยะมินิเพลเทียร์
3.2.2 เครื่ องมือท่ีใช้ในการรวบรวมข้อมูล

แบบสังเกตบนั ทึกผลการทดสอบ ตาราง บนั ทึกผล
การท ดล อง ก ารป ระเมิ น ความพ่ึ งพ อ ใจจาก
ผเู้ ช่ียวชาญ


ตารางท่ี 1 บนั ทึกผลการทดลองกระติกแช่น้าํ แข็ง การประชุมวิชาการนาํ เสนอผลงานนักศกึ ษา
อจั ฉริยะการทดลองการแช่ขวดน้าํ พลาสติก NCTechED-Student Workshop 2022 261
จากกระติกแช่น้าํ แข็งอจั ฉริยะ
ขนาด 350 มลิ ลิลิตร June 10,2022

1 แอมป์ และค่าสิ้นเปลืองกระแสของตูเ้ ยน็ เท่ากับ
0.37 แอมป์

คร้ัง ปริมาณของน้าํ ภาชนะเกบ็ เวลา อณุ หภูมิ 4.ผลการดําเนินโครงการ
ท่ี (มลิ ลิลิตร) ของเหลว (นาที) (องศา) 4.1 จากการทดลองกระติกแชน่ ้าํ แขง็ อจั ฉริยะ

1 350 ขวดน้าํ 10 21 ตารางท่ี 3 การทดลองการแช่ขวดน้าํ พลาสติก
พลาสติก จากกระติกแช่น้าํ แขง็ อจั ฉริยะ

2 350 ขวดน้าํ 10 21 คร้ังท่ี ปริมาณของ ภาชนะเก็บ เ ว ล า อณุ หภมู ิ
พลาสตกิ
3 350 ขวดน้าํ 10 20 น้าํ ของเหลว (นาที) (องศา)
(มิลลิลติ ร)
พลาสตกิ
4 350 ขวดน้าํ 10 20 1 350 ข ว ด น้ํ า 10 21
พลาสติก
พลาสตกิ 2 350 ข ว ด น้ํ า 10 21

ผ ล จ าก ก าร ท ด ล อ ง ก าร ท ําอุ ณ ห ภู มิ ก ร ะ ติ ก แ ช่ พลาสติก
น้ําแข็งอัจฉริ ยะผลการทดลองกระติกแช่น้ําแข็ง 3 350 ข ว ด น้ํ า 10 20
อจั ฉริยะ มีคา่ เฉล่ียอุณหภมู ิท่ี 20.5°C พลาสตกิ
ตารางที่ 2 การทดสอบค่าแรงดนั และการส้ินเปลือง 4 350 ข ว ด น้ํ า 10 20
พลาสตกิ
กระแสของระบบ
การวิเคราะห์ผลเป็ นการสรุปผลของการทดลอง
คร้ังที่ กระแส แรงดนั เ ว ล า หมายเหตุ
(นาท)ี ตารางท่ี 3 อุณหภูมิขวดน้าํ พลาสติก

1 0.3 A 12.V 10 คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ = จาํ นวนที่ทาํ งาน×100
2 0.3 A 12.V 10 จาํ นวนคร้งั ท่ีทดลอง
3 0.3 A 12.V 10
4 0.3 A 12.V 10 X= ∑x
n
ผลตารางการทดสอบการสิ้นเปลืองกระแสของ
ระบบอธิบายการทดสอบค่าสิ้นเปลืองกระแสของ เมื่อ X = ค่าเฉล่ียของอณุ หภมู ิ
ระบบ โดยทําการจ่ายให้กล่องพาวเวอร์ซัพพลาย X = ค่ า เฉ ล่ี ย ข อ ง อุ ณ ห ภู มิ ท้ั ง ห ม ด
ท่ีแรงดัน 220 โวลต์ กล่องแปลงไฟให้กับระบบ n = จาํ นวนคร้ังของการแช่ขวดแทนค่า
12 โวลต์ พบว่าค่ากระแสของพาวเวอร์ซัพพลาย
เทา่ กบั X= 82 = 20.5°C
4


การประชุมวชิ าการนําเสนอผลงานนักศึกษา แทนคา่ ไดด้ งั น้ี = 4×100 = 100 เปอร์เซ็นต์
262 NCTechED-Student Workshop 2022 4

June 10,2022 อภิปรายผล จากการวิเคราะห์ผลการทดสอบ
พบว่าคิดเป็ นเปอร์เซ็นต์การทาํ งานของกล่องพาว
อภิปรายผล จากการวิเคราะห์ผลการทดสอบ เวอร์ซัพพลาย จากการทดสอบการทาํ งานของกล่อง
พบวา่ ค่าเฉล่ียผลอุณหภมู ิในขวดน้าํ พลาสติก จากการ พาวเวอร์ซัพพลายท้ังหมด 4 คร้ัง การทํางานของ
ทดสอบเก็บอุณหภูมิท้ังหมด 4 คร้ัง ได้ค่าเฉลี่ย กล่องพาวเวอร์ซัพพลายทาํ งานท้งั หมด 4 คร้ัง ไดค้ ิด
อุณหภูมิท้งั หมดเท่ากบั 20.5°C เป็นเปอร์เซ็นตเ์ ท่ากบั 100 เปอร์เซ็นต์
การวิเคราะห์ผล
ตารางท่ี 4 การทดสอบอุปกรณเ์ คร่ืองมือของชุดกระติก
แช่น้าํ แขง็ อจั ฉริยะ เป็ นการสรุปผลของการทดลองตารางที่ 4 การ
ทาํ งานของแผน่ เพลเทียร์
คร้ังท่ี ปั๊มน้าํ กลอ่ ง แผน่ พดั ลม
พาวเวอร์ เพลเทียร์ Heat sink คแทิดเนปค็ นา่ เไปดอด้ รงั์เซน้็ีน=ต4์ =×41จ0าํ จน0าํวนน=วทนี่ท1คาํ0รง้งั0าทนี่ทเ×ปด1ลออ0รง์0เซ็นต์
1√ ซพั พลาย
2√ √ √ อภิปรายผล จากการวิเคราะห์ผลการทดสอบ
3√ √ √ √ พบว่าคิดเป็นเปอร์เซ็นต์การทาํ งานของแผน่ เพลเทียร์
4√ √ √ √ ท้งั หมด 4 คร้ัง จากการทดสอบ ไดค้ ิดเป็ นเปอร์เซ็นต์
√ √ √ เทา่ กบั 100 เปอร์เซ็นต์

การวิเคราะห์ผล
การวิเคราะห์ผล เป็ นการสรุปผลของการทดลองการทํางานของ
เป็นการสรุปผลของการทดลองตารางที่ 4 พดั ลม Heatsink
การทาํ งานของป๊ัมน้าํ
จากการทดสอบการทํางานของแผ่นเพลเทียร์ คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ = จาํ นวนที่ทาํ งาน×100
ท้งั หมด 4 คร้ัง การทาํ งานของแผน่ เพลเทียร์ทาํ งาน จาํ นวนคร้งั ที่ทดลอง
อภิปรายผล จากการวิเคราะห์ผลการทดสอบ
พบว่าคิดเป็ นเปอร์เซ็นต์การทํางานของปั๊มน้ํา จาก แทนคา่ ไดด้ งั น้ี = 4×100 = 100 เปอร์เซ็นต์
การทดสอบการทาํ งานของปั๊มน้าํ ท้งั หมด 4 คร้ัง การ 4
ทํางานของป๊ัมน้ําทํางานท้ังหมด 4 คร้ัง จากการ
ทดสอบไดค้ ิดเป็ นเปอร์เซ็นต์เท่ากบั 100 เปอร์เซ็นต์ อภิปรายผล จากการวิเคราะห์ผลการทดสอบ
[2] พ บ ว่าคิ ด เป็ น เป อ ร์ เซ็ น ต์ก ารทํางาน ข อ งพัด
การวิเคราะห์ผล ลม Heatsink จากการทดสอบการทํางานของพัด
เป็ นการสรุปผลของการทดลองตารางที่ 4 การ ลม Heatsink ท้ังหมด 4 คร้ัง การทํางานของพัด
ทาํ งานของกลอ่ งพาวเวอร์ซพั พลาย

คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ = จาํ นวนที่ทาํ งาน×100
จาํ นวนคร้งั ท่ีทดลอง


ลม Heatsink ทาํ งานท้งั หมด 4 คร้ัง จากการทดสอบ การประชมุ วิชาการนาํ เสนอผลงานนกั ศึกษา
ไดค้ ิดเป็นเปอร์เซ็นตเ์ ทา่ กบั 100 เปอร์เซ็นต์ [3] NCTechED-Student Workshop 2022 263
5.สรุปผลและข้อเสนอแนะ
June 10,2022
5.1 สรุปผลการทดลองโครงการ สรุปผลการ
ทดลองการศึกษาระบบทาํ ความเยน็ จากแผน่ เพลเทียร์ กติ ตกิ รรมประกาศ
เพื่อหาประสิทธ์ิภาพของ แผ่นทา้ ความเยน็ เพลเทียร์ ในการดาํ เนินการจัดทาํ โครงการในรูปงานวิจยั
และศึกษาการทาํ ความเยน็ จากระบบทาํ ความเยน็ แผ่น
เพลเทียร์ หลกั การ ทาํ งานของแผน่ เพลเทียร์ แผน่ เพล สาํ เร็จสมบรู ณ์ไดด้ ว้ ยความกรุณาและความช่วยเหลือ
เทียร์จะทาํ ความเย็นได้จากการจ่ายพลงั งานไฟฟ้า อยา่ งสูงยิง่ จากบุคคลท้งั หลาย ผวู้ ิจยั ขอขอบพระคุณ
กระแสตรงเพ่ือ ทําให้ระบบทําความเยน็ แผ่นเพล ผทู้ ี่ให้ความอนุเคราะห์ในดา้ นตา่ ง ๆ ดงั ต่อไปน้ี
เทียร์น้ันดําเนินการจนสําเร็จลุล่วงไปด้วยดี ให้ ขอขอบพระคุณ ครูแผนกวิชาช่างไฟฟ้ากาํ ลงั ท่ีจะ
คาํ แนะนาํ และความรู้อนั มีค่าที่เป็ นประโยชน์ต่อการ สละเวลาในการให้คําปรึ กษา สนับสนุน ให้การ
ทาํ งานในรายวิชาโครงการทาํ งาน การทํางานของ ดาํ เนินงานคร้ังน้ีสาํ เร็จ
แผ่นเพลเทียร์ มีช่ือหลักการทํางานว่า ปราฎการ
เพลเทียร์ และเม่ือมีการทาํ งานแผ่นเพลเทียร์จะเกิด ขอขอบพระคุณ ครอบครัว รวมท้ังเพ่ือนร่วม
ความร้อนอีกดา้ นหน่ึงของแผน่ เพลเทียร์ จึงตอ้ งมีการ หอ้ งเรียนสาขาวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้า วิทยาลยั เทคนิค
นาํ Heat sink เขา้ มาต่อในระบบทาํ ความเยน็ เพ่ือเป็ น กาญจนาภิเษกอุดรธานี ผซู้ ่ึงเป็ นกาํ ลงั แรงใจ ทาํ ให้
อุปกรณ์ในการระบายความร้อน ออกจากแผ่นเพล การทาํ โครงการในคร้ังน้ีเสร็จสมบรู ณ์ดว้ ยดี
เทียร์ เพ่ือให้การทาํ งานของแผน่ เพลเทียร์น้นั ทาํ งาน
ไดอ้ ย่างเต็มประสิทธ์ิภาพ จาก การทดลอง สามารถ คุณค่าและประโยชน์จากโครงการแบบงานวิจยั
ลดอุณหภมู ิและทาํ ความเยน็ ไดจ้ ริง สามารถพกพาไป เล่มน้ี ผู้วิจัยขอมอบ บู ชาพ ระคุณ บิ ดา มารดา
ตามสถานที ต่าง ๆ ได้ และแผ่นเพลเทียร์สามารถ ตลอดจนบูรพาจารย์ และผูม้ ีพระคุณที่ให้การอบรม
นาํ ไปพฒั นาในดา้ นตา่ ง ๆ ไดอ้ ีก [3] สง่ั สอน ประสิทธ์ิประสาทวิชา ซ่ึงผูว้ ิจยั จะไดน้ ําไป
พฒั นาการทาํ งานให้ดียิ่งข้ึนเพ่ือประโยชน์ต่อตนเอง
5.2 ปัญหาและอปุ สรรค สงั คม และประเทศชาติตอ่ ไป
5.2.1 การเก็บความเยน็
5.2.2 ขนาดกลอ่ งที่เลก็ ทาํ ให้ใส่ของไดน้ อ้ ย เอกสารอ้างองิ
5.2.2 มีปัญหาในระบบระบายความร้อน [1] ธนาคม สุนทรชยั นาคแสง, (2547), “การถ่ายเท

6. ข้อเสนอแนะ ความร้อน,” บริษทั สาํ นกั พิมพท์ อ็ ป จาํ กดั
6.1 ควรนาํ ของที่แช่เยน็ มาแช่ก่อนเพื่อทาํ การเก็บ [2] รศ.ดร.วิบลู ยบ์ ญุ ยธโรกลุ , หนงั สือป้ัมและระบบ

ความเยน็ สูบน้าํ ภาควิชาวิศวกรรมชลประทาน,
6.2 ไม่ควรใส่ให้เกินปริมาณท่ีกาํ หนด คณะวิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลยั
เกษตรศาสตร์
(เขา้ ถึงเมื่อ : 22 เมษายน 2560).
[3] หนงั สือเรียนวิชาคอมพิวเตอร์ ช 0249 เทคโนโลยี
สารสนเทศและคอมพิวเตอร์สถาบนั
ส่งเสริมสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
[4] [ออนไลน]์
http://pcconsoleknowledge.blogspot.com
/2013/06/power-supply.html.


การประชมุ วชิ าการนาํ เสนอผลงานนักศึกษา
264 NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

เครอ่ื งบบี อัดกระป๋องอตั โนมัติ

นพคุณ แถวบุญตา1* และ ปยิ ะวฒั น์ เวยี งอิน2
บทคดั ยอ่

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างและพัฒนาเครื่องบีบอัดกระป๋องอัตโนมัติ เครื่องบีบอัดกระป๋องที่
พัฒนาขึ้น สามารถลดเวลาในการบีบอัดกระป๋องให้กับกลุ่มผู้ประกอบการมีอัตรากําลังการผลิตสูงขึ้น โดยการ
ออกแบบ ให้แท่งบีบอัดขนาดความยาว 20 เซนติเมตร ความกว้างช่องใส่แท่งบีบอัด 8 เซนติเมตร ทําจากสเตนเลส
ชนิดแบบกลอ่ ง มีลกั ษณะ พเิ ศษโดยจะมคี วามแข็ง และไมก่ อ่ ให้เกดิ สนิม เคร่อื งบบี อัดกระป๋องอัตโนมตั ิได้ สามารถ
บับอัดได้ทั้งกระป๋องยาวกระป๋องส้ันพร้อมกันและยงั สามารถบีบอกั เศษเหล็กทีม่ ีขนาดเล็กถึงกลางและไม่แข็งมาก
จากการวัดประสิทธิภาพของเครื่องบบี อัดอัตโนมัติเปรียบเทียบกับการบีบอัดด้วยเท้าของกลุ่มผู้ประกอบการพบวา่
การทดลองใช้คนจํานวน 1 คน ทําการบีบอัด 50 กระป๋อง ใช้กระป๋องจํานวน 100 กระป๋อง ใช้เวลาในการทํางาน 5
นาที ส่วนเครอื่ งบบี อดั อัตโนมัติใช้เวลาในการทาํ งาน 3 นาที ซง่ึ เครื่องบบี อดั อัตโนมัติสามารถลดเวลาในการบีบอัด
กระป๋องได้
คำสำคัญ : เครื่องอัดกระปอ๋ ง

1,2 สาขาวชิ าเทคโนโลยไี ฟฟ้า วิทยาลัยเทคนคิ กาญจนาภเิ ษกอุดรธานี สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ 1
*นพคณุ แถวบญุ ตา โทร +6610290314 อีเมล ; [email protected]

NCTechEd B23-2022


การประชุมวชิ าการนําเสนอผลงานนกั ศกึ ษา
NCTechED-Student Workshop 2022 265

June 10,2022

AUTOMATIC CANS COMPRESSION MACHINE
Noppakoon Thawboonta1,* and Piyawat Wiang-in2
ABSTRACT

This research aims to create and develop an automatic can compression machine. Developed can compression
machine Can reduce the time to compress cans for entrepreneurs with higher production capacity by designing a
compression bar of 20 cm in length, 8 cm in width of the compression bar, made of stainless steel. Box type has
special characteristics that are hard. and does not cause rust Automatic cans compression machine It can compress
both long cans and short cans at the same time, and it can also compress small to medium and not very hard steel
scraps. The performance of the automatic compression machine compared to the manual compression of the
operators was found. In the trial, one person compressed 50 cans, used 100 cans, took 5 minutes to work, while the
automatic compression machine took 3 minutes to work. time to compress the can.
Keywords : Canning Machine

1,2 DFieldof Electrical Technology Kanchanaphiesk Udon thani Technical College Nong Udon thani Province 41330
Institute of Vocational Education : Northeastern region 1
* Noppakoon Thawboonta Tel. +6610290314 E-Mail ; [email protected]

NCTechEd B23-2022


การประชมุ วชิ าการนําเสนอผลงานนักศกึ ษา 1.3 ประโยชน์ทคี่ าดวา่ จะได้รบั
266 NCTechED-Student Workshop 2022 1.3.1 ได้เครื่องบีบอัดกระป๋องอัตโนมัติ และ

June 10,2022 ได้ทดลองส่งิ ประดิษฐน์ ้ี เพอื่ การพัฒนาในอนาคต
1.3.2 ได้รู้จักการทำงานของมอเตอร์และ
1. บทนำ
ในการออกแบบเครื่องบีบอัดกระป๋อง หลกั การการทำงานของกลไกตา่ งๆในเครือ่ ง
1.4 แนวคิดในการสร้างเครื่องบีบอัดกระป๋อง
อัตโนมัติได้มีการเริ่มต้นศึกษาหาข้อมูลที่ เกี่ยวข้อง
กับโครงสร้างของเครือ่ งบีบอัดกระป๋องอัตโนมัติที่มี อัตโนมตั ิ
ความทันสมัย มีความน่าสนใจ ใช้งานสะดวก 1.4.1 แนวคิดในการออกแบบโครงสร้างของ
ปลอดภัยในการใช้งาน รวมถึงการบีบอัดกระป๋อง
ในการที่เลือกทำให้ตัวแท่งอัดเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยม เครื่องบีบอัดกระป๋องอัตโนมัติเราได้มีการออกแบบ
นั้นส่วนหนึ่งมาจากเศษเหล็กที่มีอยู่ข้างบ้านจึ่งนำมา ให้มีใช้งานง่ายขึ้นมีความน่าสนใจและมีความ
ประยุกต์ใหเ้ ข้ากับช้ินงานและสามารถใช้เป็นแท่งอัด ปลอดภัยในการใช้งาน มปี ระสทิ ธภิ าพในการทำงาน
กระป๋องไดพ้ อดี และยงั มปี ระสิทธภิ าพในการบีบอัด เพื่อให้ตรงตามวัตถปุ ระสงคท์ ี่สร้างข้ึนเพ่ือลดการใช้
เป็นช่องให้กระป๋องลงได้พอดี จากนั้นนำข้อมูลที่ แรงงานเพิม่ ความปลอดภยั แก่ผ้ทู ที่ ำงาน
ศึกษาเหล่านัน้ มาออกแบบ และ การสร้าง เครื่องบบี
อดั กระปอ๋ งอัตโนมัติแลว้ ทำการทดลองและปรับปรุง 1.4.2 แนวคิดในการออกแบบโครงเครื่องบีบ
จุดบกพร่องต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นระหว่างการทดลอง อัดกระปอ๋ งอัตโนมัติในการอกแบบโครงสร้างเคร่ือง
เพ่อื ให้ออกมาอย่างมีประสทิ ธภิ าพ บีบอัดกระป๋องอัตโนมัติและได้มีการออกแบบ
คล้ายคลึงกับเครื่องเดิมที่มีอยู่แล้ว ที่มีแท่งเหล็กอัด
1.1 ความเปน็ มาและความสำคญั ของปัญหา เพอื่ ทจ่ี ะได้บบี อดั กระป๋องได้อย่างตอ่ เนอ่ื ง
จากกลมุ่ ของเราไดเ้ ห็นการบีบอัดกระป๋องให้เป็น
แผ่นๆ ของผู้ประกอบการร้ายรับ-ซื้อของเก่าทาง 1.5 แนวคิดในการออกแบบแท่งเหล็กอดั กระปอ๋ ง
ผู้ประกอบการได้มีเครื่องบีบอัดกระป๋องอยู่แล้วแต่ แนวคิดในการออกแบบเป็นช่องสี่เหลี่ยมในงาน
เครื่องนั้นต้องใช้แรงคนในการขับเคลื่อนกลไกใน ที่เราเลือกให้เป็นกล่องสี่เหลี่มนั้น เราได้สังเกตเห็น
ตัวเครื่อง เราจึงมีความคิดที่จะประยุคต์เครื่องบีบอัด ว่าการบีบอัดกระป๋องนั้นต้องใช้เท้าเหยีบซึ่งอาจจะ
กระป๋องที่ใช้มอเตอร์ในการขับเคลื่อนกลไกเพ่ือ ทำให้เสียเวลาและได้ผลผลิตที่น้อยและเปลืองแรง
อำนวยความสะดวกลดการใช้แรงงานคนและได้ มากถ้าเกิดอยากจะได้ผลผลิตที่เยอะขึ้น เราคิดว่าถ้า
ผลติ ภัณฑท์ มี่ ากขนึ้ เปลี่ยนมาเป็นแบบแท่งอัดจะช่วยในการ
1.2 แนวคิดและแผนดำเนนิ งาน ประหยัดเวลาที่และจะได้ในการผลิตอย่างต่อเนื่อง
ศึกษาเกี่ยวกับอุปกรณ์ที่จะนำมาทำชิ้นงาน เช่น ด้วย
มอเตอร์ เบรกเกอร์ไฟฟ้า และอื่น ๆ ศึกษาและ
วิเคราะหเ์ ปรียบเทียบในเรือ่ งของ ราคา สว่ นประกอบ 2. อปุ กรณ์เครอื่ งมอื หลักที่ใชใ้ นการทำโครงการ
วิธีการทำ และระยะเวลาในการดำเนินงาน กับ 2.1 เครอื่ งมอื ใช้ดำเนินโครงการ
อุปกรณ์ชนิดอื่นรวบรวมข้อมูลเพื่อที่จะวิเคราะห์ 2.1.1 เครอื่ งเชอ่ื ม
ออกแบบระบบการทำงานโดยรวมทั้งหมด ประกอบ 2.1.2 สวา่ น
ชิ้นงานแล้วเชื่อมต่อชุดชิ้นงานกับกล่องควบคุมแล้ว 2.1.3 มดี ตดั แผ่นสงั กะสี
ทำการทดสอบวิเคราะห์ และ แก้ไขในส่วนท่ี 2.1.4 ตลับเมตร
ผิดพลาดต่อไป รวบรวมและจดั ทำเอกสาร

NCTechEd B23-2022


2.2 อุปกรณท์ ่ีใช้ดำเนนิ โครงการ การประชุมวชิ าการนาํ เสนอผลงานนักศึกษา
2.2.1 มอเตอร์ NCTechED-Student Workshop 2022 267
2.2.2 สเตอร์และโซ่
2.2.3 ม่เู ลย่ ์และสายพาน June 10,2022
2.2.4 เหล็กกล่อง ขนาด 1 นิ้ว ยาว 6 เมตร 3
ทดรอบของมอเตอร์ ได้คดิ เปน็ เปอรเ์ ซน็ ตเ์ ท่ากับ 100
เส้น เปอรเ์ ซ็นต์
2.2.5 เหล็กกล่องขนาด 4 นิ้ว
2.2.6 เหล็กกล่องขนาด 2 นว้ิ 4. สรุปผลการวิจยั
2.2.7 เหลก็ กล่องทำเป็นรางอัด โครงการวิจัยนี้ เป็นโครงการวิจัยเพื่อออกแบบ
2.2.8 แผ่นไม้อดั 4x8 ฟตุ 1แผน่
และสร้างเครื่องต้นแบบในการลดขนาด กระป๋อง
ตารางที่ 1 ทดลองการทดรอบของมอเตอร์ อะลูมิเนียมด้วยการบีบอัดกระป๋องให้มีขนาดเล็กลง
เพอื่ ให้สะดวกต่อการขนส่งมากยิ่งข้ึน โดย เคร่ืองบีบ
การวเิ คราะห์ผล อัดกระป๋องที่ได้มีความสามารถในการบีบอัด
กระป๋องที่ทำจากวัสดุอะลูมิเนียมและ อะลูมิเนียม
จากตารางผลการทดลอง เป็นการสรปุ ผลของการ ผสม สามารถทำงานได้แบบต่อเนื่องอัตโนมัติ แต่
อย่างไรก็ตามโครงการวิจัยนี้ยังต้องมีการพัฒนา
ทดลองทดลองการทดรอบของมอเตอร์ คร้งั ท่ี 10 ต่อไป

คดิ เปน็ เปอร์เซน็ ต์ = กระปอ๋ งท่ไี ด้แบบสมบรู ณ์×100 5. ขอ้ เสนอแนะ
กระปอ๋ งทใี่ สล่ งในเครือ่ ง จากผลของโครงการที่กล่าวไว้ข้างต้น ผู้วิจัยมี

แทนคา่ ไดด้ ังนี้ = 10×100 = 100 เปอร์เซน็ ต์ ข้อเสนอแนะเพมิ่ เติมดงั น้ี
5.1 เครอื่ งบบี อดั กระป๋องจะตอ้ งถกู พัฒนาต่อ เพื่อ
10
หาวิธีติดตั้งโหลดเซลล์ที่จะสามารถชั่งและ แสดงค่า
3. อภิปรายผล น้ำหนกั ของกระป๋องทีถ่ ูกบบี อดั ออกมาได้
จากการวิเคราะห์ผลการทดสอบ พบว่าคิดเป็น
5.2 หากตอ้ งการใชง้ านเครื่องบีบอดั กระป๋องนี้ใน
เปอร์เซ็นต์ ครั้งที่ 1 ของตารางทดลองการทดรอบ เบื้องต้นอาจให้ผู้ใช้รวบรวมเอากระป๋องที่ถูกบีบอัด
ของมอเตอร์ พบว่าการทดสอบการทำงานของ แล้วไปช่ังน้ำหนักเอง
มอเตอร์และรอบที่หมุน ทั้งหมด 57 รอบ/นาที
ความเรว็ รอบพอดไี มท่ ำให้โซต่ ก จากการทดลองการ 5.3 การใส่กระป๋องเข้าเครื่องบีบอัดกระป๋องยัง
ขาดความสะดวกเนื่องจากใสไ่ ด้ทีละน้อย ดังนั้นหาก
ต้องการพัฒนาเครื่องต่อไปจะต้องปรับปรุงบริเวณท่ี
ใส่กระป๋องให้สามารถรองรับกระป๋องได้ จำนวน
มากขน้ึ และตอ่ เนือ่ งมากกว่านี้

6. ประโยชนท์ ่ีได้รับจากการวจิ ยั
ได้เครื่องต้นแบบสำหรับลดขนาดกระป๋องโดย

เครอ่ื งจะชว่ ยลด ภาระของกล่มุ ผู้ประกอบการในการ
บีบอัดกระป๋อง และลดค่าใช้จ่ายในการซื้อเครื่องที่มี
ราคาแพง

NCTechEd B23-2022


การประชมุ วชิ าการนําเสนอผลงานนักศกึ ษา [5] มอเตอร์ไฟฟา้ กระแสสลับ, [ออนไลน]์ ,
268 NCTechED-Student Workshop 2022 https://sites.google.com.
(เข้าถึงเมอ่ื : 10 ตลุ าคม 2564).
June 10,2022
[6] คณุ สมบตั ิของไฟฟา้ กระแสสลบั , [ออนไลน์],
กิตติกรรมประกาศ https://sites.google.com.
การศึกษาโครงการฉบับนี้สำเร็จลุล่วงไปด้วย (เข้าถงึ เมือ่ : 1 ตุลาคม 2564).

ความกรุณาและความช่วยเหลอื เป็นอย่างดยี ิ่งจากนาย [7] ไฟฟา้ [ออนไลน์], https://sites.google.com.
ธนาวิทย์ (เขา้ ถึงเมอื่ : 10 ตลุ าคม 2564).
สีหาราช นายไกรทอง ชาวดร อาจารย์ที่ปรึกษา
การศึกษาโครงการเครื่องบีบอัดกระป๋องอัตโนมัติ [8] เบรกเกอร์ (Circuit Breaker), [ออนไลน์],
นายวิชัย แถวบุญตา ช่างที่ปรึกษาเรื่องโครงสร้าง https://mall.factomart.com
และ ออกแบบเครื่องบีบอัดกระป๋องอัตโนมัติ และ (เขา้ ถงึ เมอ่ื : 21 ตุลาคม 2564).
นางสาวนุจรี ภูมิพันธ์ ประธานหลักสูตรเทคโนโลยี
ไฟฟ้าบณั ฑิต ผู้ศึกษาขอขอบพระคุณเป็นอยา่ งสงู ยงิ่ [9] เบรกเกอร์ (breaker), [ออนไลน์],
ขอขอบพระคุณ นายไกรทอง ชาวดร อาจารท์ ป่ี รึกษา https://web.ku.ac.th
โครงการ และ นายวิชัย แถวบุญตา ที่ช่วยเสียสระ (เข้าถึงเม่อื : 25 ตลุ าคม 2564).
เวลาและเอื้ออำนวยความสะดวกในการทำงาน
อุปกรณ์ และเครื่องมือต่างๆช่วยให้โครงการน้ีสำเรจ็ [10] หลักการทำงานของมอเตอร์, [ออนไลน์],
ไปดว้ ยดี ขอขอบพระคณุ อาจาร์ทป่ี รกึ ษาและอาจารย์ https://sites.google.com
ที่แผนกไฟฟ้ากำลัง วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก (เข้าถงึ เมื่อ : 18 ตลุ าคม 2564).
อุดรธานี ทชี่ ่วยแนะนำและช้ีแนะแนวทาง การทำงาน
และการวิเคราะห์ข้อมูลโครงการเครื่องบีบอัด
กระปอ๋ งอัตโนมัติ

เอกสารอา้ งอิง
[1] ศภุ ชยั สุรนิ ทร์วงศ์, ( 2553), “มอเตอร์

กระแสตรง”, สำนักพิมพ์ ส.ส.ท.
[2] มอเตอร์, [ออนไลน]์ ,

https://th.wikipedia.org/wiki.
(เข้าถงึ เม่อื : 8 ตลุ าคม 2564).
[3] มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง, [ออนไลน์],
https://sites.google.com/site.
(เขา้ ถงึ เมอื่ : 10 ตลุ าคม 2564).
[4] คุณสมบัตขิ องไฟฟ้ากระแสตรง, [ออนไลน์],
https://sites.google.com.
(เข้าถึงเม่อื : 10 ตลุ าคม 2564).

NCTechEd B23-2022


การประชุมวชิ าการนําเสนอผลงานนักศกึ ษา
NCTechED-Student Workshop 2022 269

June 10,2022

กล่องควบคุมแหล่งจ่ายไฟอตั โนมัติ โซล่าเซลล์ระบบออฟกริด

ธิราช ประดิษฐด์ ว้ ง1* และ สุรัตน์ กุณโฮง2
บทคดั ย่อ

กล่องควบคมุ แหลง่ จ่ายไฟอตั โนมตั ิ โซลา่ เซลลร์ ะบบออฟกริดมีวตั ถุประสงคข์ องโครงการคอื เพือ่ สร้าง
และหาประสิทธิภาพของกล่องควบคุมแหล่งจ่ายไฟอตั โนมตั ิ โซลา่ เซลลร์ ะบบออฟกริด ที่สามารถเลือกแหลง่ จา่ ย
ไฟฟ้ากระแสสลบั 220 โวลต์ จาก 2 แหล่งจา่ ยแบบอตั โนมตั ิโดยการเปรียบเทียบค่าแรงดนั ไฟฟ้า เพอ่ื รักษาระดบั
แรงดนั ไฟฟ้าอยใู่ นช่วงแรงดนั 200 – 245 โวลต์ จากปัญหากระแสไฟฟ้าตกหรือดบั ผวู้ ิจยั ไดศ้ ึกษา ออกแบบและ
สร้างกลอ่ งควบคุมแหลง่ จา่ ยไฟอตั โนมตั ิ โซลา่ เซลลร์ ะบบออฟกริด เพอื่ นาํ มาใชก้ บั ครัวเรือนท่ีมีแหล่งจา่ ยไฟ 2
แหล่งจ่ายโดยเนน้ เป็นแหล่งจา่ ยไฟบา้ น กบั แหล่งจ่ายโซลา่ เซลลแ์ บบออฟกริดเป็นหลกั เมื่อทาํ การทดลองเพอื่ หา
ประสิทธิภาพกล่องควบคมุ แหล่งจ่ายไฟอตั โนมตั ิ โซลา่ เซลลร์ ะบบออฟกริด ไดส้ ลบั การกาํ หนดแหลง่ จ่ายไฟ
สาํ รอง แลว้ ปรับลดแหลง่ จา่ ยไฟหลกั เพื่อจาํ ลองสถานการณ์ไฟตก พบวา่ กล่องควบคมุ แหล่งจา่ ยไฟอตั โนมตั ิ โซล่า
เซลลร์ ะบบออฟกริดน้ีจะทาํ การสับเปล่ียนแหล่งจ่ายสาํ รองท่ีปกติใหก้ บั ระบบหากแหลง่ จ่ายหลกั ผิดปกติ โดยมีคา่
ประสิทธิภาพการทาํ งานของกล่องควบคุมแหล่งจา่ ยไฟอตั โนมตั ิ โซลา่ เซลลร์ ะบบออฟกริด ร้อยละ 100 จึง
สามารถกล่าวไดว้ า่ กล่องควบคุมแหล่งจา่ ยไฟอตั โนมตั ิ โซลา่ เซลลร์ ะบบออฟกริดมีประสิทธิภาพตามท่ีต้งั ไว้
คําสําคญั : แหล่งจ่ายไฟ

1,2 สาขาวชิ าเทคโนโลยอี เิ ลก็ ทรอนิกส์ วิทยาลยั เทคนิคหนองคาย สถาบนั การอาชีวศึกษาภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ 1
*ธิราช ประดิษฐ์ดว้ ง โทร 0909580678 อีเมล; [email protected]


การประชมุ วิชาการนาํ เสนอผลงานนกั ศึกษา
270 NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

PURPOSES OF OFF-GRID SYSTEM SOLAR CELL POWER SUPPLY

Thirach Praditdoung1* Surat KunHong2
ABSTRACT

Purposes of Off-Grid System Solar Cell Power Supply Automatic Switch Box were: To create and to
determine the efficiency of Off-Grid System Solar Cell Power Supply Automatic Switch Box. Which can
automatically switch 2 sources of 220 VAC power supply by comparing voltage levels. To maintain usage level of
200 – 245 VAC from power drop or power outage problems. So, the researcher studied Design and build Off-Grid
System Solar Cell Power Supply Automatic Switch Box. To be used in households with 2 power supplies, home
power supply and off-grid solar cell supply. Took turn to be backup power source then adjust down the main power
source to simulate power outage situation. And found that Off-Grid System Solar Cell Power Supply Automatic
Switch Box can switch to the backup power supply if the main supply fails. With the 100 percent performance
value, so, it can be said that the Off-Grid System Solar Cell Power Supply Automatic Switch Box is as efficient as
they are set.
Keywords: Electric Car B Brushless DC MOTOR 48V 1500 W

1,2 Electronic Technology, Nongkhai Technical College of Vocational Education Northeastern Region 1
* Thirach Praditdoung Tel. 0909580678 E-Mail ; [email protected]


1.บทนํา การประชมุ วชิ าการนาํ เสนอผลงานนักศึกษา
การนาํ พลงั งานแสงอาทิตยม์ าใชเ้ ป็ นพลงั งาน NCTechED-Student Workshop 2022 271

ทดแทนเป็นสิ่งท่ีเราศึกษาและพฒั นามายาวนาน จน June 10,2022
สามารถนําพลังงานแสงอาทิตย์มาเปลี่ยนเป็ น
พลงั งานไฟฟ้าและนาํ มาใชง้ านได้ ซ่ึงคาดวา่ จะไดร้ ับ ถา้ แบตเตอรี่มีกระแสไฟฟ้าไม่เพียงพอต่อการใชง้ าน
ค ว า ม นิ ย ม ม า ก ข้ึ น เ รื่ อ ย ๆ โ ด ย มี อุ ป ก ร ณ์ ระบบจะตัดไปเอง ผู้ใช้งานจําเป็ นต้องมาสลับ
อิเล็กทรอนิกส์ท่ีเรียกว่า “เซลล์แสงอาทิตย์” หรือ แหล่งจ่ายไฟอีกคร้ัง หากไม่มีคนคอยควบคุม
“โซล่าเซลล์” (Solar Cell) หรือ “เซลล์โฟโต้วอลเท แหล่งจ่ายไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้าท่ีจาํ เป็ นต้องใช้งาน
อิก” (Photovoltaic Cell - PV) ซ่ึงโซล่าเซลล์น้ีเองท่ี ต่อเน่ืองอาจไดร้ ับความเสียหาย และหากปล่อยให้
จะเปล่ียนพลงั งานแสงอาทิตยใ์ ห้กลายเป็ นพลงั งาน แบตเตอร่ีคายประจุมากเกินไปจะมีผลต่ออายุการใช้
ไฟฟ้าสาํ หรับใชง้ านในชีวิตประจาํ วนั การผลิตไฟฟ้า งานของแบตเตอร่ี
จากแสงอาทิตยห์ รือระบบโซล่าเซลล์จะเริ่มต้ังแต่
การท่ีแผงโซล่าเซลล์รับแสงจากดวงอาทิตย์และ จากปัญหาดังกล่าวคณะผูจ้ ัดทาํ จึงได้ออกแบบ
เปลี่ยนเป็นพลงั งานไฟฟ้ากระแสตรง (direct current และสร้างกล่องควบคุมแแหล่งจ่ายไฟอตั โนมตั ิโซล่า
DC) แ ล ะ ส่ ง ผ่ า น เ ข้า อุ ป ก ร ณ์ แ ป ล ง ไ ฟ ห รื อ เซลลร์ ะบบออฟกริด เพื่อลดปัญหาการใชค้ นมาคอย
อินเวอร์ เตอร์ (Inverter) เพ่ือแปลงเป็ นไฟ ฟ้ า สลับเลือกแหล่งจ่ายไฟฟ้า โดยที่กล่องควบคุม
กระแสสลบั และจ่ายไฟฟ้าเขา้ สู่กล่องควบคุมไฟฟ้า แหล่งจ่ายไฟอัตโนมัติจะเป็ นตัวเลือกแหล่งจ่าย
ภายในอาคาร (Main Distribution Board : MDB) เพอ่ื พลงั งานไฟฟ้าเอง จากการตรวจสอบค่าแรงดนั ไฟฟ้า
ส่งกระแสไฟฟ้าเขา้ สู่อุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ จากแหล่งจ่ายท้งั 2 แหล่ง แลว้ เลือกใชก้ ระแสไฟฟ้า
โดยสามารถใชท้ ดแทนพลงั งานไฟฟ้าจากการไฟฟ้า จากแหล่งจา่ ยไฟฟ้าที่เหมาะสม
ได้ ซ่ึงจะช่วยให้ประหยดั ค่าไฟฟ้าในแต่ละเดือนมาก
ยิ่งข้ึนและมีแนวโน้มจะไดร้ ับความนิยมเพ่ิมข้ึนมาก 2.วัตถุประสงค์ของโครงการ
ระบบโซล่าเซลลท์ ่ีใช้ในอาคารบา้ นเรือน จะมีอยู่ 3 2.1 เพื่อสร้างกล่องควบคุมแหล่งจ่ายไฟอตั โนมตั ิ
ระบบคือ แบบออนกริด ออฟกริด และแบบไฮบริด
โซล่าเซลลร์ ะบบออฟกริด ที่สามารถเลือกแหล่งจ่าย
ระบบโซล่าเซลลแ์ บบออฟกริดเป็นที่นิยมใชง้ าน ไฟฟ้ากระแสสลบั 220 โวลต์ จาก 2 แหล่งจ่าย แบบ
เป็นส่วนใหญ่ เนื่องจากไม่ค่อยซบั ซ้อน ตวั ระบบไม่ อตั โนมตั ิโดยการเปรียบเทียบคา่ แรงดนั
เช่ือมต่อกับไฟฟ้าจากการไฟฟ้า ทาํ ให้เราสามารถ
ติดต้ังระบบได้ทันทีโดยไม่ต้องประสานกับการ 2.2 เพ่ือประสิทธิภาพกล่องควบคุมแหล่งจ่ายไฟ
ไฟฟ้า แต่หากเม่ือนาํ มาใชง้ านคกู่ บั ไฟฟ้ากระแสสลบั อตั โนมตั ิ โซล่าเซลลร์ ะบบออฟกริด ที่สามารถเลือก
ของการไฟฟ้ าหรื อไฟบ้านทั่วไปจะต้องมีคนค อย แหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสสลับ220 โวลต์ จาก 2
สลบั แหล่งจ่ายเพ่ือเลือกแหล่งจ่ายไฟว่าตอ้ งการใช้ แหล่งจ่าย แบบอัตโนมัติโดยการเปรียบเทียบค่า
ไฟฟ้ าจากการไฟฟ้ าหรื อจากพลังงานแสงอา ทิ ตย์ แรงดนั
และถา้ เลือกพลงั งานไฟฟ้าจากพลงั งานแสงอาทิตย์
3 .วิธดี ําเนินการวจิ ัย
3.1 การออกแบบกล่องควบคุมแหล่งจ่ายไฟ

อตั โนมตั ิ โซลา่ เซลลร์ ะบบออฟกริด


การประชุมวิชาการนาํ เสนอผลงานนักศึกษา 4. ผลการทดสอบหาประสิทธิภาพกล่องควบคุม
272 NCTechED-Student Workshop 2022 แหล่งจ่ายไฟอตั โนมตั ิ โซล่าเซลล์ระบบออฟกริด

June 10,2022 4.1 ทดสอบประสิทธิภาพอุปกรณ์ท่ีสามารถ
เลือกแหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสสลบั 220 โวลต์ จาก 2
ภาพท่ี 3.1 บลอ็ กไดอะแกรม กลอ่ งควบคุมแหล่งจา่ ยไฟ แหล่งจ่าย แบบอัตโนมัติโดยการเปรียบเทียบค่า
อตั โนมตั ิ โซลา่ เซลลร์ ะบบออฟกริด แรงดนั

3.2 กล่องควบคุมแหล่งจ่ายไฟอัตโ นมัติ การทดสอบประสิ ทธิ ภาพอุ ป กร ณ์ ที่
โซลา่ เซลลร์ ะบบออฟกริด สามารถเลือกแหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสสลบั 220 โวลต์
จาก 2 แหล่งจ่าย แบบอตั โนมตั ิโดยการเปรียบเทียบ
ภาพท่ี 3.2 กล่องควบคุมแหล่งจ่ายไฟอตั โนมัติ โซล่า ค่าแรงดนั เป็นการทดสอบเลือกความถูกตอ้ งในการ
เซลลร์ ะบบออฟกริด เลือกแหล่งจ่ายหลักและระบบอัตโนมัติโดยการ
ตารางที่ 3.1 กําหนดการทํางานของกล่องควบคุม เปรียบเทียบแรงดนั ของกล่องควบคุมแหล่งจ่ายไฟ
แหล่งจา่ ยไฟอตั โนมตั ิ โซล่าเซลลร์ ะบบออฟกริด อตั โนมตั ิโซลา่ เซลลร์ ะบบออฟกริดเพอื่ เลือกระหว่าง
แหล่งจ่ายไฟบา้ น 220 โวลต์กบั แหล่งจ่ายไฟโซล่า
เซลลร์ ะบบออฟกริด และระบบทาํ งานอตั โนมตั ิที่ต้งั
เงือนไขไวถ้ กู ตอ้ งหรือไม่

4.2 ทดสอบประสิ ทธิภาพเป็ นอุปกรณ์
กาํ หนดแหล่งจ่ายไฟโซล่าเซลล์ระบบออฟกริดให้
เป็ นแหล่งจ่ายไฟสํารองให้กับไฟบ้านเพ่ือใช้ใน
ครัวเรือน การทดสอบประสิทธิภาพเป็ นอุปกรณ์
กาํ หนดแหล่งจ่ายไฟโซล่าเซลล์ระบบออฟกริดให้
เป็ นแหล่งจ่ายไฟสํารองให้กับไฟบ้านเพ่ือใช้ใน
ครัวเรือน โดยการต้งั ค่าการทาํ งานจริงและกาํ หนด
แรงดนั ไฟฟ้าจากแหล่งจ่ายท้งั ปกติและไม่ปกติ เพ่ือ
ทดสอบประสิทธิภาพการทาํ งาน 15ตัวอย่างการ
ทาํ งานพร้อมความถูกตอ้ งของเง่ือนไข


ตารางท่ี 4.1 ผลการทดสอบหาประสิทธิภาพกล่อง การประชมุ วชิ าการนําเสนอผลงานนักศึกษา
ควบคุมแหล่งจ่ายไฟอัตโนมัติ โซล่าเซลล์ระบบ NCTechED-Student Workshop 2022 273
ออฟ กริด กาํ หนดไฟบา้ นเป็นหลกั
June 10,2022
จากตารางท่ี 4.1 ผลการทดสอบจากตารางทดสอบ
ประสิทธ์ิภาพเป็นอุปกรณ์กาํ หนดแหล่งจ่ายไฟโซล่า การเลือกจ่ายไฟจากแหล่งจ่ายไฟหลกั ท้งั หมด 2 คร้ัง
เซลล์ระบบออฟกริดให้เป็ นแหล่งจ่ายไฟสํารอง พร้อมทาํ ตามเงือนไขไดถ้ ูกตอ้ ง 2 คร้ัง
ใหก้ บั ไฟบา้ น พบวา่ จากตวั อยา่ ง 15 ตวั อยา่ งแยกเป็น 4. ตวั อย่างระดบั แรงดนั แหล่งจ่ายไฟฟ้าหลกั ไม่ปกติ
1. ตวั อย่างระดบั แรงดนั แหล่งจ่ายไฟฟ้าหลกั ปกติ – – แหล่งจ่ายสํารองไม่ปกติ 3 คร้ัง กล่องควบคุม
แหล่งจ่ายสํารองปกติ 5 คร้ัง กล่องควบคุม แหล่งจ่ายไฟอตั โนมตั ิโซล่าเซลลร์ ะบบออฟกริด ทาํ
แหล่งจ่า ย ไฟอัตโ นมัติ โ ซล่า เซลล์ร ะ บบออฟกริ ด การเลือกจ่ายไฟจากแหล่งจ่ายไฟหลกั ท้งั หมด 3 คร้ัง
ทาํ การเลือกจ่ายไฟจากแหล่งจ่ายไฟหลกั ท้งั หมด 5 พร้อมทาํ ตามเงือนไขไดถ้ ูกตอ้ ง 3 คร้ัง
คร้ัง พร้อมทาํ ตามเงือนไขไดถ้ กู ตอ้ ง 5 คร้ัง คดิ เป็นประสิทธ์ิภาพความถกู ตอ้ งตามเงือนไข 100%
2. ตวั อย่างระดบั แรงดนั แหล่งจ่ายไฟฟ้าหลกั ไม่ปกติ คดิ เป็นประสิทธ์ิภาพการทาํ งานอตั โนมตั ิ 100%
– แหล่งจ่ายสํารองปกติ 5 คร้ัง กล่องควบคุม 4.3 ทดสอบประสิทธิภาพเป็ นอุปกรณ์กําหนด
แหล่งจ่ายไฟอตั โนมตั ิโซล่าเซลลร์ ะบบออฟกริด ทาํ แหล่งจ่ายไฟบา้ นให้เป็ น แหล่งจ่ายไฟสํารองให้กับ
การเลือกจ่ายไฟจากแหล่งจ่ายไฟสํารองท้ังหมด 5 แหลง่ จ่ายไฟโซลา่ เซลลร์ ะบบออฟกริด ก า ร
คร้ัง พร้อมทาํ ตามเงือนไขไดถ้ ูกตอ้ ง 5 คร้ัง ท ด ส อ บ ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ เ ป็ น อุ ป ก ร ณ์ กํา ห น ด
3. ตวั อย่างระดบั แรงดนั แหล่งจ่ายไฟฟ้าหลกั ปกติ – แหล่งจ่ายไฟบา้ นให้เป็ น แหล่งจ่ายไฟสํารองให้กบั
แหล่งจ่ายสํารองไม่ปกติ 2 คร้ัง กล่องควบคุม แหล่งจ่ายไฟโซล่าเซลลร์ ะบบออฟกริดเพ่ือนาํ ไปใช้
แหล่งจ่ายไฟอตั โนมตั ิโซล่าเซลลร์ ะบบออฟกริด ทาํ ในครัวเรือนโดยการต้งั ค่าการทาํ งานจริงและกาํ หนด
แรงดนั ไฟฟ้าจากแหล่งจ่ายท้งั ปกติและไม่ปกติ เพ่ือ
ทดสอบประสิทธิภาพการทาํ งาน 15ตัวอย่างการ
ทาํ งานพร้อมความถกู ตอ้ งของเงื่อนไข

ตารางที่ 4.2 ผลการทดสอบหาประสิทธิภาพกล่อง
ควบคุมแหล่งจ่ายไฟอัตโนมัติ โซล่าเซลล์ระบบ
ออฟกริดกาํ หนดโซลา่ เซลลเ์ ป็นหลกั


การประชุมวชิ าการนําเสนอผลงานนกั ศกึ ษา คิดเป็นประสิทธ์ิภาพความถกู ตอ้ งตามเงือนไข 100%
274 NCTechED-Student Workshop 2022 คิดเป็นประสิทธ์ิภาพการทาํ งานอตั โนมตั ิ 100%

June 10,2022 5.2 ตัวอย่างระดับแรงดันแหล่งจ่ายไฟฟ้า
หลักไม่ปกติ แหล่งจ่ายสํารองปกติ 7 คร้ัง กล่อง
จากตารางทดสอบประสิทธ์ิภาพเป็นอุปกรณ์กาํ หนด ควบคุมแหล่งจ่ายไฟอตั โนมัติโซล่าเซลล์ระบบออ
แหล่งจ่ายไฟโซล่าเซลล์ระบบออฟกริ ดให้เป็ น ฟกริด ทาํ การเลือกจ่ายไฟจากแหล่งจ่ายไฟสํารอง
แหลง่ จ่ายไฟสาํ รองใหก้ บั ไฟบา้ น ท้งั หมด 7 คร้ัง พร้อมทาํ ตามเงือนไขไดถ้ กู ตอ้ ง 7 คร้ัง
คิดเป็นประสิทธ์ิภาพความถกู ตอ้ งตามเงือนไข 100%
พบวา่ จากตวั อยา่ ง 15 ตวั อยา่ งแยกเป็น คิดเป็นประสิทธ์ิภาพการทาํ งานอตั โนมตั ิ 100%
1. ตวั อย่างระดบั แรงดนั แหล่งจ่ายไฟฟ้าหลกั ปกติ –
แหล่งจ่ายสํารองปกติ 5 คร้ัง กล่องควบคุม 5.3 ตัวอย่างระดับแรงดันแหล่งจ่ายไฟฟ้า
แหล่งจ่ายไฟอตั โนมตั ิโซล่าเซลลร์ ะบบออฟกริด ทาํ หลักปกติ แหล่งจ่ายสํารองไม่ปกติ7คร้ัง กล่อง
การเลือกจ่ายไฟจากแหล่งจ่ายไฟหลกั ท้งั หมด 5 คร้ัง ควบคุมแหล่งจ่ายไฟอัตโนมัติโซล่าเซลล์ระบบ
พร้อมทาํ ตามเงือนไขไดถ้ ูกตอ้ ง 5 คร้ัง ออฟกริด ทาํ การเลือกจ่ายไฟจากแหล่งจ่ายไฟหลกั
2. ตวั อย่างระดบั แรงดนั แหล่งจ่ายไฟฟ้าหลกั ไม่ปกติ ท้งั หมด 7 คร้ัง พร้อมทาํ ตามเงือนไขไดถ้ กู ตอ้ ง 7 คร้ัง
– แหล่งจ่ายสํารองปกติ 5 คร้ัง กล่องควบคุม คดิ เป็นประสิทธ์ิภาพความถูกตอ้ งตามเงือนไข 100%
แหล่งจ่ายไฟอตั โนมตั ิโซล่าเซลลร์ ะบบออฟกริด ทาํ คิดเป็นประสิทธ์ิภาพการทาํ งานอตั โนมตั ิ 100%
การเลือกจ่ายไฟจากแหล่งจ่ายไฟสํารองท้ังหมด 5
คร้ัง พร้อมทาํ ตามเงือนไขไดถ้ กู ตอ้ ง 5 คร้ัง 5.4 ตัวอย่างระดับแรงดันแหล่งจ่ายไฟฟ้า
3. ตวั อย่างระดบั แรงดนั แหล่งจ่ายไฟฟ้าหลกั ปกติ – หลกั ไมป่ กติ – แหลง่ จา่ ยสาํ รองไมป่ กติ 6 คร้ัง กล่อง
แหล่งจ่ายสํารองไม่ปกติ 2 คร้ัง กล่องควบคุม ควบคุมแหล่งจ่ายไฟอัตโนมัติโซล่าเซลล์ระบบ
แหล่งจ่ายไฟอตั โนมตั ิโซล่าเซลลร์ ะบบออฟกริด ทาํ ออฟกริด ทาํ การเลือกจ่ายไฟจากแหล่งจ่ายไฟหลกั
การเลือกจ่ายไฟจากแหล่งจ่ายไฟหลกั ท้งั หมด 2 คร้ัง ท้งั หมด 6 คร้ัง พร้อมทาํ ตามเง่ือนไขไดถ้ กู ตอ้ ง 6คร้ัง
พร้อมทาํ ตามเงือนไขไดถ้ ูกตอ้ ง 2 คร้ัง คดิ เป็นประสิทธ์ิภาพความถกู ตอ้ งตามเงื่อนไข 100%
4. ตวั อยา่ งระดบั แรงดนั แหล่งจ่ายไฟฟ้าหลกั ไม่ปกติ คิดเป็นประสิทธ์ิภาพการทาํ งานอตั โนมตั ิ 100%
– แหล่งจ่ายสํารองไม่ปกติ 3 คร้ัง กล่องควบคุม
แหล่งจ่า ย ไฟอัตโ นมัติ โ ซล่า เซลล์ร ะ บบออฟกริ ด 5.5 จากตวั อยา่ งท้งั หมด 30 ตวั อยา่ ง พบวา่
ทาํ การเลือกจ่ายไฟจากแหล่งจ่ายไฟหลกั ท้งั หมด 3 คดิ เป็นประสิทธ์ิภาพความถกู ตอ้ งตามเง่ือนไข 100%
คร้ัง พร้อมทาํ ตามเงือนไขไดถ้ กู ตอ้ ง 3 คร้ัง คิดเป็นประสิทธ์ิภาพการทาํ งานอตั โนมตั ิ 100%
คิดเป็นประสิทธ์ิภาพความถูกตอ้ งตามเงือนไข 100% ทาํ งานของกล่องควบคุมแหล่งจ่ายไฟอตั โนมตั ิ โซล่าเซลล์
คิดเป็นประสิทธ์ิภาพการทาํ งานอตั โนมตั ิ 100% ระบบออฟกริดจะทาํ งานปรับเปล่ียนแหล่งจ่ายไฟ
ตามเง่ือนไขที่กาํ หนดไวเ้ ทา่ น้นั
5. สรุปผลการดาํ เนินโครงการ จึงสามารถกล่าวได้ว่ากล่องควบคุมแหล่งจ่ายไฟ
5.1 ตัวอย่างระดับแรงดันแหล่งจ่ายไฟฟ้า อตั โนมตั ิ โซล่าเซลลร์ ะบบออฟกริด มีประสิทธิภาพ
ตามที่ไดก้ ล่าวไว้
หลักปกติ แหล่งจ่ายสํารองปกติ 10 คร้ัง กล่อง
ควบคุมแหล่งจ่ายไฟอัตโนมัติโซล่าเซลล์ระบบ จากการทดลองพบว่า จงั หวะในการเปล่ียน
ออฟกริด ทาํ การเลือกจ่ายไฟจากแหล่งจ่ายไฟหลกั สถานนะแต่ละคร้ังมีการหน่อวงเวลาช่วงระยะหน่ึง
ท้งั หมด 10 คร้ัง พร้อมทาํ ตามเง่ือนไขไดถ้ ูกต้อง 10
คร้ัง


การประชมุ วิชาการนําเสนอผลงานนกั ศกึ ษา
NCTechED-Student Workshop 2022 275

June 10,2022

ทาํ ให้เกิดความไม่ต่อเนื่องของกระแสไฟฟ้า อาจจะ
ทาํ ใหเ้ กิดความไมต่ ่อเน่ืองในการทาํ งาน

6. ข้อเสนอแนะ
6.1 อาจเพิ่มเติมในส่วนควบคุมระยะไกล

โดยฝ่ านทางแอปพลิเคชน่ั สมาร์ทโฟน
6.2 ศึกษาเพ่ิมเติมเทคโนโลยีและอุปกรณ์

ควบคมุ ไฟฟ้า

เอกสารอ้างอิง
[1] ธีรวุธ จิตพรมมา, และชัยวฒั น์ ลิ้มพรจิตร
วิไล, “ปฏิบตั ิการเรียนรู้และพฒั นาอุปกรณ์
Internet of Things ( IoT ) เ บ้ื อ ง ต้น ”,
กรุงเทพฯ: บริษัท อินโนเวตีฟ เอ็กเพอริ
เมนต์ จาํ กดั .
[2] เดชฤทธ์ิ มณีธรรม, (2560) ,คัมภีร์การใช้
งานไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino,
กรุงเทพมหานคร : ซีเอด็ ยเู คชนั่ .


การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานนกั ศกึ ษา
276 NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

ตอู้ บรองเทา้ โอโซน

วายุ นามรนิ ทร,์ 1* ณรงค์ พงษแ์ ก้ว,2 ฤทธชิ ยั สขุ วรรณ3

บทคัดย่อ
การสร้างต้อู บรองเท้าโอโซน มีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) สรา้ งตู้อบรองเทา้ โอโซนให้สามารถใช้เป็นส่ือการเรียนการ
สอนในวทิ ยาลยั เทคนิคหนองบวั ลำภู 2) เพือ่ หาประสิทธิภาพการทำงานของตอู้ บรองเท้าโอโซน และ 3) เพ่อื ทดลอง
การใช้งานของตู้อบรองเท้าโอโซน เพ่ือให้สามารถใช้งานได้จริง สถิติที่ใช้คือค่าเฉลี่ย การสร้างเคร่ืองมือที่ใช้ ใน
การศึกษาโครงการซึ่งได้แก่ แบบประเมินประสิทธิภาพการทำงาน และแบบทดลองการใช้งานของชิ้นงาน ผลการ
ประเมินประสิทธิภาพการทำงานตู้อบรองเท้าโอโซนพบว่า มีประสิทธิภาพในการทำงาน โดยขอบเขตของการ
ทำงานคือ สามารถอบรองเทา้ ได้ คร้ังละ 1 คู่ ใช้เวลา 10 นาที และสามารถพ่นนำ้ หอมได้ทุกคร้ัง ไดแ้ ก่ คร้งั ท่ี 1 รอง
เท้าคัชชูหญิง ใช้เวลา 10 นาที ฆ่าเช้ือได้ 100 % พ่นน้ำหอมกล่นิ Rose คร้ังที่ 2 รองเท้าคัชชูหญิง ใช้เวลา 10 นาที ฆ่า
เชื้อได้ 100 % พ่นน้ำหอมกล่ิน Lavender ครั้งท่ี 3 รองเท้าผ้าใบ ใช้เวลา 10 นาที ฆ่าเชื้อได้ 100 % พ่นน้ำหอมกล่ิน
Rose ครั้งท่ี 4 รองเท้าผ้าใบ ใช้เวลา 10 นาที ฆ่าเช้ือได้ 100 % พ่นน้ำหอมกลิ่น Lavender คร้ังท่ี 5 รองเท้าหนัง ใช้
เวลา 10 นาที ฆ่าเช้ือได้ 100 % พ่นน้ำหอมกลิ่น Rose และครั้งท่ี 6 รองเท้าหนังใช้เวลา 10 นาที ฆ่าเชื้อได้ 100 % พ่น
น้ำหอมกลิ่น Lavender ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล พบว่ามปี ระสิทธิภาพในการทำงานสามารถอบรองเทา้ แบบโอโซนได้ทุกชนิด
และใช้เวลามาตรฐานในการทำงาน 10 นาที พร้อมสามารถฆ่าเชื้อโรคได้ และฉีดพน่ น้ำหอมกล่ินที่ตอ้ งการได้ทกุ ครง้ั ในการ
ใช้งาน และสรปุ ผลการสรุปแบบทดลองการใช้งานของช้นิ งานตู้อบรองเทา้ โอโซน พบวา่ การทดลองการใช้งานของ
ชิ้นงานมีประสิทธิภาพโดยรวมอยู่ในระดับ ดีมาก (x̅ = 4.53, S.D. = 0.64) โดยพิจารณารายข้อเรียงลำดับคะแนน
เฉลี่ยจากมากไปหานอ้ ยพบว่า 1) ตอู้ บรองเท้าโอโซน สามารถใชง้ านได้ง่าย (x̅ = 5.00, S.D. = 0.65) 8) ตู้อบรองเท้า
โอโซนสามารถนำไปใช้ได้จริง (x̅ = 5.00, S.D. = 0.65) 7) ช้ินงานเกิดจากความคิดสร้างสรรค์ (x̅ = 4.67, S.D. =
0.69) 10) ประสิทธิภาพโดยรวมของช้ินงาน (x̅ = 4.67, S.D. = 0.69) 3) มรี ะบบการป้องกันอันตรายจากไฟฟ้าทอี่ าจ
เกิดขึ้น (x̅ = 4.67, S.D. = 0.69) 2) ขั้นตอนการทำงานของตู้อบรองเท้าโอโซนมีความเหมาะสม (x̅ = 4.33, S.D. =
0.52) 4) วงจรการทำงานของตู้อบรองเท้าโอโซนมีความถูกต้องไม่ก่อให้เกิดอันตราย (x̅ = 4.33, S.D. = 0.52) 5)
วสั ดุ อุปกรณ์ที่ใช้หาซื้อได้ง่ายและมีประสิทธิภาพ (x̅ = 4.33, S.D. = 0.52)9) ตู้อบรองเท้าโอโซนสามารถนำไปต่อ
ยอดได้ในอนาคต (x̅ = 4.33, S.D. = 0.52) 6) สามารถแก้ไขปัญหาในการทำงานในชีวิตประจำวันได้ (x̅ = 4.00,
S.D. = 0.50) ตามลำดบั
คำสำคัญ : ต้อู บรองเท้าโอโซน

1,2,3 สาขาวิชาเทคโนโลยไี ฟฟ้า วิทยาลัยเทคนิคหนองบวั ลำภู สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื 1
*วายุ นามรนิ ทร์ โทร +6917133881 อีเมล; [email protected]


การประชุมวชิ าการนาํ เสนอผลงานนักศึกษา
NCTechED-Student Workshop 2022 277

June 10,2022

OZONE SHOE DRYER

WAYU NAMRIN,1,* NARONG PHONGKAEW,2
RITTHICHAI SUKKANWAN3

Abstract
Creation Ozone Shoe Dryer aimed at 1) Creation Ozone Shoe Dryer to be used as teaching aids in
Nongbualamphu Technical College. 2) to find the performance of Ozone Shoe Dryer. 3) to test the use of Ozone
Shoe Dryer in order to be able to actually use. The statistics used are averages. in the preparation and study of
projects from documents, theories, and related research or project work; which are performance assessment form
and a test model for the use of the workpiece Statistics used in the experiment is the mean (x̅) And Standard
Deviation (S.D.) Ozone shoe dryer was found to be efficient in working. The scope of work is Able to dry 1 pair
of shoes at a time, takes 10 minutes, and can spray perfume every time, i.e. 1st time, women's shoes, takes 10
minutes, can be disinfected 100%, spray rose perfume. 2nd time, shoes for women's shoes, takes 10 minutes, can
be disinfected 100%, spray lavender perfume, 3rd time, sneakers take 10 minutes, can be disinfected 100%, can
spray rose perfume 4th time, sneakers take 10 minutes to disinfect Get 100%, spray lavender fragrance, 5th time,
leather shoes take 10 minutes, can kill 100%, spray rose perfume and 6th time, leather shoes take 10 minutes, can
kill 100%, spray lavender perfume. The results of the data analysis revealed that the work efficiency Can dry all
kinds of shoes with ozone and takes the standard time to work for 10 minutes and can kill germs and can spray the
desired fragrance every time in use Testing the use of the workpiece The overall efficiency is at and summarizing
the results of the summary of the test use of the workpiece In the ozone shoe dryer, it was found that the overall
efficiency of the workpiece was in a very good level (x̅ = 4.53, SD = 0.6) considering the items in order of
average score from highest to lowest found that 1) Incubator ozone shoes Easy to use (x̅ = 5.00, S.D. = 0.65). 8)
Ozone shoe dryer can be used in practice (x̅ = 5.00, S.D. = 0.65). 7) The work is created by creativity (x̅ = 4.67,
S.D. = 0.69). 10) The overall efficiency of the workpiece (x̅ = 4.67, S.D. = 0.69). 3) There is a system to prevent
potential electrical hazards (x̅ = 4.67, S.D. = 0.69). 2) The operation procedure of the ozone shoe incubator.
Simple and uncomplicated (x̅ = 4.33, S.D. = 0.52). 4) The operation cycle of the ozone shoe incubator is accurate
and does not cause harm (x̅ = 4.33, S.D. = 0.52). 5) The materials and equipment are readily available and
efficient (x̅ = 4.33, S.D. = 0.52). 9) Ozone shoe dryer can be used to build on in the future (x̅ = 4.33, S.D. =
0.52). 6) Can solve problems in daily work (x̅ = 4.00, S.D. = 0.50). Respectively.
Keywords : Ozone Shoe Dryer

1,2,3 Electrical Technology Nongbualamphu Technical Nongbualamphu 39000
Institute of Vocational Education Northeastern Region 1

* WAYU NAMRIN Tel: +6917133881 e-Mail; [email protected]

NCTechEd B25-2022


Click to View FlipBook Version