The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประชุมวิชาการการนำเสนอผลงาน ณ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) Engineering Education and Blended Learning to the NEXT-GENeration June 9-10, 2022

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ประชุมวิชาการการนำเสนอผลงาน ณ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) Engineering Education and Blended Learning to the NEXT-GENeration June 9-10, 2022

ประชุมวิชาการการนำเสนอผลงาน ณ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) Engineering Education and Blended Learning to the NEXT-GENeration June 9-10, 2022

Keywords: ประชุมวิชาการการนำเสนอผลงาน ณ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) Engineering Education and Blended Learning to the NEXT-GENeration June 9-10, 2022

การประชุมวชิ าการนําเสนอผลงานนักศึกษา
328 NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

การศกึ ษาแรงจงู ใจในการปฏบิ ตั ิงานของเจาหนาท่งี านการเงินและบัญชใี นโรงเรียนมธั ยมศกึ ษา
สงั กัดสาํ นกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา หนองคาย กรณศี ึกษาสหวิทยาเขตทาบอ
A STUDY OF MOTIVATION AT WORK OF FINANCE AND ACCOUNTING
OFFICERS IN THE SECONDARY EDUCATIONALSERVICE AREA OFFICE
NONGKHAI : A CASE STUDY OF THABO CONSORTIUM

ปนดั ดา นานอก1* ,รตั ติยา นวนคําสิงห2 ,อนุชา นามวเิ ศษ3

บทคดั ยอ
การวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงคเพ่ือศึกษาระดับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของเจาหนาท่ีงานการเงินและ
บัญชี ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาหนองคาย กรณีศึกษาสหวิทยาเขตทา
บอ จากกลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของเจาหนาที่การเงินและบัญชีในโรงเรียน
มัธยมศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาหนองคาย กรณีศึกษาสหวิทยา เขตทาบอ จํานวน 37 คน
เครื่องมือที่ใชในการเก็บขอมูลประกอบดวยแบบสอบถามเก่ียวกับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของเจาหนาท่ีงาน
การเงินและบัญชี ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาหนองคาย กรณีศึกษาสห
วทิ ยาเขตทาบอ คา รอ ยละ คาเฉลีย่ และสวนเบ่ยี งเบนมาตรฐานความเชอ่ื มน่ั ของเครือ่ งมอื 0.942
ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของเจาหนาท่ีการเงินและบัญชีในโรงเรียน
มัธยมศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาหนองคาย กรณีศึกษาสหวิทยาเขตทาบอ พบวา ความคิดเห็น
เก่ียวกับเรื่องแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของเจาหนาที่งานการเงินและบัญชีใน โรงเรียนมัธยมศึกษาหนองคาย กรณี
ศึกษาสหวิทยาเขตทาบอ โดยรวมอยูในระดับมาก (µ= 3.94, σ = 0.11) เมื่อพจิ ารณาเปน รายดาน จากมากไปหานอย
พบวา ดานความสําเร็จในงานท่ีทําอยูในระดับมาก (µ = 4.10, σ = 0.11) ดานการลักษณะของงานท่ีปฏิบัติและดาน
ความรับผิดชอบ อยูในระดับมาก (µ = 4.00, σ = 0.09) ดานความกาวหนาในหนาที่การงานอยูในระดับมาก
(µ = 3.91, σ = 0.10) และดา นการไดรบั การยอมรบั นบั ถือ อยูในระดับมาก (µ= 3.67, σ = 0.16)
คาํ สําคญั : การเงินและบัญชี

1,2,3 สาขาวิชาการบญั ชี วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษาหนองคาย สถาบนั การอาชีวศึกษาภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื 1
1 *ปนดั ดา นานอก โทร +0630383842 อเี มล; [email protected]


การประชุมวิชาการนาํ เสนอผลงานนกั ศึกษา
NCTechED-Student Workshop 2022 329

June 10,2022

A STUDY OF MOTIVATION AT WORK OF FINANCE AND ACCOUNTING
OFFICERS IN THE SECONDARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE

NONGKHAI : A CASE STUDY OF THABO CONSORTIUM

Panadda Nanok1* , Rattiya Nuankhamsing2 Anucha Namwisat3

Abstract
The purpose of this study was to study the job motivation of finance and accounting officers at the Secondary
Educational Service Area Office in Nongkhai : a case study of Thabo Consortium. In the study of job motivation,
37 financial and accounting officials from secondary schools under the Nong Khai Secondary Education Service
Area Office, a case study of the Tha Bo Campus, were utilized as the sample group. The tool was a questionnaire,
and the statistics used were Percentage, Mean, and Standard Deviation, and the reliability was 0.942.

The results showed that the overall opinions about the motivation for the performance of the finance
and accounting officers were at a high (µ= 3.94, σ = 0.11). When each aspect was considered in order of
decreasing importance, it was discovered that work success was at a high (µ = 4.10, σ = 0.11), the nature of the
work performed and the responsibility aspect were at a high (µ = 4.00, σ = 0.09), job advancement was at a high
(µ = 3.91, σ = 0.10), and recognition was at a high (µ= 3.67, σ = 0.16).

Keywords: FINANCE AND ACCOUNTING

1* Department of Electrical Technology Udonthani Technical College Institute of Vocational Education : Northeastern Region 1
Panadda Nanok Tel: +0630383842 e-Mail; [email protected]


การประชุมวชิ าการนําเสนอผลงานนกั ศึกษา การสรางแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน คือ
330 NCTechED-Student Workshop 2022 ห ลั ก ก า ร ห น่ึ ง ข อ ง ก า ร บ ริ ห า ร ท รั พ ย า ก ร ม นุ ษ ย
ซึ่งผูบริหารตองคํานึงถึงการสรางแรงจูงใจหรือการ
June 10,2022 เสริมสรางความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของ
บุคลากรภายในองคการเพราะความพึงพอใจนั้นคือ
1. บทนํา ความรูสึกนึกคิด และเจตคติของบุคคลตอส่ิงใดสิ่ง
การที่องคการใด ๆ จะสามารถบรรลุ ห น่ึ ง ห า ก บุ ค ค ล มี ค ว า ม พ อ ใ จ ต อ สิ่ ง ท่ี ทํ า ม า ก ก็ จ ะ
สามารถเสียสละและอุทิศแรงกาย แรงใจใหกับสิ่งนั้น
เปาหมายของตนเองไดนั้น จําเปนตองอาศัยทรัพยากร ไดมาก องคการใดถาผูปฏิบัติงานมีความพอใจในการ
มนุษยในการดําเนินงานทั้งสิ้น ไมวาในกระบวนการ ปฏิบัติงาน จะกอใหเกิดความพรอมของบุคคลท่ีจะ
ใ ด ก็ ก ร ะ บ ว น ก า ร ห นึ่ ง ท รั พ ย า ก ร ม นุ ษ ย จึ ง ปฏิบัติงานและเกิดความรวมมือรวมใจ รวมทั้งความ
เปรียบเสมือนเปนฟนเฟองท่ีใชขับเคล่ือนองคการให ศรัทธาและความเชื่อมันในงานที่ทําการปฏิบัติงานก็
ก า ว ไ ป ข า ง ห น า ห า ก บุ ค ล า ก ร ภ า ย ใ น อ ง ค ก า ร ใ ด จะสามารถดําเนินไปอยางมีประสิทธิภาพ (ยุทธศิลป
มีคุณภาพสูง ก็จะสงผลใหองคการนั้นสามารถเติบโต อุทโธ, 2559) องคการจึงควรสรางแรงจูงใจในการ
และแขงขันกับองคการอ่ืน ๆ ไดโดยงายเนื่องจาก ปฏิบัติงานใหกับบุคลากรของตน โดยเฉพาะแรงจูงใจ
บุคลากรเหลานี้จะสามารถเพ่ิมประสิทธิภาพในการ ที่เกิดขึ้นจากตัวบุคคลเอง เพราะ ส่ิงน้ีจะเปนตัวดึง
ทํางานใหดีย่ิงขึ้น เชน เพ่ิมคุณภาพงาน ลดระยะเวลา ศักยภาพภายในของบุคคลออกมาใชอยางเต็มท่ีทําให
และคาใชจาย รวมท้ังลดความผิดพลาดในการ ผลงาน มีคุณภาพสูงขึ้นตรงกันขามหากบุคลากรไมมี
ปฏิบัติงานลง เปนตน สามารถสราง ความประทับใจ แรงจูงใจในการปฏิบัติงาน ก็จะสงผลใหคุณภาพของ
และไดรับการยอมรับจากลูกคาหรือผูรับบริการ ท้ังนี้ งานท่ีไดนั้นลดลง จึงเห็นไดวาแรงจูงใจน้ันมี
เพื่อการพัฒนาองคการอยาง ยั่งยืน ทรัพยากรมนุษยจ ึง ความสําคัญ และสงผลตอประสิทธิภาพและ
ถกู ใหความสําคัญและพัฒนาข้ึนอยา งตอเนือ่ งจากอดีต ประสิทธิผลของงาน ยกตัวอยา ง การสรางแรงจงู ใจใน
จนถึงปจจุบันไมวาจะเปนหนวยงานของภาครัฐหรือ การปฏิบัติงานของบริษัทชั้นนําของโลกอยาง “บริษทั
เอกชน ยกตัวอยาง เชน รัฐบาลไทยไดกําหนดให Google” ที่ประสบความสําเร็จ และสามารถสราง
ความสําคัญกับ“มนุษย” ในฐานะศูนยกลางของการ รายไดในแตละปอยางมหาศาล บริษัทมีวิธี ในการ
พัฒนา ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ สรางแรงจูงใจใ หกั บพ นั กงา นโดย การ ส ร า ง
ตั้งแตฉบับท่ี 8 เปนตนมา ซ่ึงสอดคลองกับกระแส สิ่งแวดลอมภายในองคการอยางดีเยี่ยม เพ่ือใหเอ้ือตอ
โลกาภิวัตนและความกาวหนาทางเทคโนโลยีรวมทั้ง การมีความคิดสรางสรรคของพนักงาน รวมทั้งการให
การสนับสนุนใหเกิดองคการแหงการเรียนรูใน รางวัลตอบแทนและการสรางความเช่ือ ใหกับ
นโยบายประเทศไทย ยุค 4.0 (สํานักนายกรัฐมนตรี, พนักงานวาพวกเขาสามารถสรางความแตกตางและ
2559) เปนตน ซ่ึงหลักการและวิธีการบริหารการใช สรรคสรา งสงิ่ ใหม ๆ ใหกับโลกใบนไ้ี ด (David, 2018)
ทรัพยากรมนุษย ใหเกิดประโยชนสูงสุดน้ัน เรียกวา แนวคิดในการบริหารทรัพยากรบุคคลของบริษัท
“การบริหารทรัพยากรมนุษย” ทรัพยากรมนุษย Google น้ี นั บ ว า เ ป น ตั ว อ ย า ง ท่ี ชั ด เ จ น ข อ ง
จึงนับเปนรากฐานสําคัญ ที่มีผลตอความสําเร็จหรือ
ความลมเหลวขององคการ ดังน้ัน องคการทุกหนวย
ควรพิจารณาใหความสําคัญ กับการบริหารทรัพยากร
มนุษยเปนอันดับแรก เพื่อนําไปสูการเปนองคการที่มี
ความเปน เลิศและ สามารถธํารง อยูไดอยา งยั่งยนื


ความสัมพันธระหวางการสรางแรงจูงใจ ในการ การประชมุ วชิ าการนําเสนอผลงานนักศึกษา
ปฏิบัติงานกับประสิทธิภาพของงานและความสําเร็จ NCTechED-Student Workshop 2022 331
ขององคก าร
June 10,2022
ง า น ก า ร เ งิ น แ ล ะ บั ญ ชี ใ น โ ร ง เ รี ย น
มัธยมศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา บอ จังหวัดหนองคาย เพื่อศึกษาระดับแรงจูงใจในการ
มธั ยมศึกษา สหวทิ ยาเขตทาบอ เปนหนวยงานหนึ่งใน ปฏิบัติงาน นําผลการศึกษาแรงจูงใจไปพัฒนาการ
ฝายบริหารงานท่ัวไปมีหนาทีหนาท่ีรับผิดชอบหลัก ปฏิบัติงาน เสริมสราง ขวัญและกาลังใจในการ
ไดแก จัดทําแผนการเบิกจายเงินในระบบบริหารการ ปฏิบัติงานพรอมทั้งนําไปพัฒนานโยบาย/วางแผน
เบิกจายเงิน งบประมาณ ตรวจสอบใบสําคัญการเบิก ปรบั ปรุงสวนทเ่ี ปน ปญ หาขององคก าร เพอื่ ใหอ งคก าร
จายเงินใหถูกตองและครบถวนเพ่ือใหเปนไปตาม สามารถบรรลุเปาหมายตามวัตถุประสงคที่ไดวางไว
ระเบียบ ราชการและทําการบันทึกการเบิก - จายเงิน ตอ ไป
ทุกประเภทในระบบ GFMIS (เงินงบประมาณ และ 2. วัตถุประสงคข องโครงการ
เงินนอกงบประมาณ) และสรุปผลการ เบิก - จายเงิน
ใหผูบรหิ ารและหนวยงานทีเ่ กย่ี วของ เปนตน บทบาท 2.1 เพือ่ ศึกษาระดบั แรงจงู ใจในการ
และหนาท่ีของเจาหนาที่งานการเงินและบัญชี จึง ปฏบิ ัตงิ านของเจาหนาท่ีงานการเงนิ และบัญชี
นับวามีความสําคัญอยางย่ิงในการสนับสนุนสายงาน ในโรงเรยี นมัธยมศกึ ษา สังกดั สาํ นกั งานเขตพื้นท่ี
หลักของ สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา การศกึ ษามัธยมศกึ ษาหนองคาย
มัธยมศึกษา เน่ืองจากทําใหการดําเนินงานใช กรณีศกึ ษาสหวิทยาเขตทา บอ
งบประมาณของหนวยงาน เปนไปอยางถูกตอง 3. วิธีดําเนินการวจิ ัย
โปรงใส และสามารถตรวจสอบไดทุกข้ันตอนของ
การปฏิบัติงาน อยางไรก็ตามการปฏิบัติงานของ 3.1 ประชากรท่ีใชใ นการศกึ ษา
เจาหนาที่งานการเงินและบัญชีก็ถูกจํากัด อยูหลาย 3.2 เคร่ืองมือท่ีใชในการศึกษา
ประการ เน่ืองมาจากนโยบายและระเบียบทางราชการ 3.3 การสรา งและการหาคณุ ภาพเครือ่ งมอื
รวมทั้งการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษยภายใน 3.4 การเก็บรวบรวมขอ มลู
องคการ เชน การปรับลดอตั รากาํ ลงั คนทํางานของฝาย 3.5 การวเิ คราะหข อมลู
บริหารงานทั่วไปใหเหลือจํานวนขาราชการ เพียง 2 4. ผลการวิเคราะหขอ มูล
คน ในแตละฝาย สงผลใหสัดสวนระหวางจํานวน 4.1 สญั ลักษณท่ีใชในการนําเสนอผลการ
อัตรากําลังคนตอปริมาณงานนั้นไมเหมาะสม จึงอาจ วเิ คราะหขอมูล
สงผลทําใหความคลองตัวในการทํางานลดลงและเกิด 4.2 ขัน้ ตอนในการนําเสนอผลการวเิ คราะห
ความลาชาในการปฏิบัติงานผูศึกษาจึงมีความสนใจท่ี ขอ มลู
จะศึกษาเกี่ยวกับ แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของ 4.3 ผลการวิเคราะหขอมูล
เจาหนาทงี่ านการเงนิ และบญั ชีในโรงเรียนมัธยมศึกษา 5. สรปุ ผลการวิจยั
สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา สหวิทยาเขตทา 5.1 ผลการวิเคราะหขอมูลทั่วไปของผูตอบ
แบบสอบถาม พบวา ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญ
เปนเพศหญิง จํานวน 25 คน (รอยละ 67.57) มีอายุ
มากกวา 46 ป จํานวน 12 คน (รอยละ 32.44) มี
การศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวน 21 คน (รอยละ
56.76) มีประสบการณการทํางาน 10 ปข้ึนไป จํานวน
12 คน (รอ ยละ 32.43)


การประชุมวชิ าการนาํ เสนอผลงานนักศกึ ษา 5.3.2 ดานความกาวหนาในหนาท่ี
332 NCTechED-Student Workshop 2022 การงาน โดยรวมอยูในระดบั มาก (µ= 3.91,
σ = 0.10) เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา ทานไดรับ
June 10,2022 คาตอบแทนที่เพียงพอและเหมาะสมกับตําแหนง
หนาท่ี อยูในระดบั มาก (µ=4.11, σ =0.97) รองลงมาคือ
5.2 ผลการวิเคราะหขอมูลแรงจูงใจในการ สถานศึกษาไดใหโอกาสกาวหนาในงาน กับทาน อยู
ปฏิบัติงานเจาหนาท่ีงานการเงินและบัญชีในโรงเรียน ในระดับมาก (µ= 4.05, σ = 0.85) และทานคิดวา
มัธยมศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา สถานศึกษาจะใหความมั่นคงกับทาน โดยการตอ
มัธยมศึกษาหนองคาย กรณีศึกษาสหวิทยาเขตทาบอ สัญญาจาง อยใู นระดับมาก (µ= 3.97 σ = 0.76)
พบวา
5.3.3 ดานการไดรับการยอมรับนับ
5.2.1 แรงจูงใจในการปฏิบัติงาน ถือ โดยรวมอยูในระดับมาก (µ= 3.67, σ = 0.16)
เจาหนาท่ีงานการเงินและบัญชี ในโรงเรียน เม่ือพิจารณาเปนรายขอ พบวา ทานไดรับการยกยอง
มัธยมศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ชมเชยจากเพือ่ นรว มงานเมื่อทานมผี ลงานปฏิบัติงานดี
มัธยมศึกษาหนองคาย กรณีศึกษาสหวิทยาเขตทาบอ อยูในระดับมาก (µ = 4.03, σ = 0.12) รองลงมาคือ
โดยภาพรวมทั้ง 5 ดาน โดยรวมอยูในระดับมาก (µ= ทานรับการยกยองชมเชยจากหัวหนางาน อยูในระดับ
3 . 9 4 , σ = 0. 1 1 ) เ มื่ อ พิ จ า ร ณ า เ ป น ร า ย ด า น มาก (µ = 3.84, σ = 0.73) และผูบังคับบัญชายอมรับ
พบวา ดานความสําเร็จในงานท่ีทํา อยูในระดับมาก (µ ฟงความคิดเห็นของทานอยูเสมอ อยใู นระดับมาก (µ =
= 4.10, σ = 0.11) ดานการลักษณะของงานท่ีปฏิบัติ 3.59, σ = 0.98)
และดานความรับผิดชอบ อยูในระดับมาก(µ = 4.00, σ
= 0.09) ดานความกาวหนาในหนาที่การงาน อยูใน 5.3.4 ดานลักษณะของงานที่ปฏิบัติ
ระดับมาก (µ= 3.91, σ = 0.10) และดา นการไดร ับการ โดยรวมอยูในระดับมาก (µ = 4.00, σ = 0.09)
ยอมรบั นบั ถอื อยใู นระดบั มาก (µ= 3.67, σ = 0.16) เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา สถานศึกษาไดกําหนด
ขั้นตอนในการปฏิบัติไวอยางเปนระบบและชัดเจน
5.3 ผลการวเิ คราะหขอมลู ความคดิ เห็นเก่ียวกับ ตามระบบ GFMIS อยูในระดับมาก (µ = 4.32, σ =
แรงจูงใจในการปฏิบัติงานเจาหนาท่ีงานการเงินและ 0.85) รองลงมาคือ งานท่ีทานรับมอบหมายตอง ใช
บัญชี โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่ ความรับผิดชอบสูงจึงจะทําใหการปฏิบัติงานไดผลดี
ก า ร ศึ ก ษ า มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ห น อ ง ค า ย อยูในระดับมาก (µ = 4.08, σ = 0.86) และงานที่ทาน
กรณศี กึ ษาสหวทิ ยาเขตทา บอ พบวา ทาํ อยูเปนงานที่เหมาะสมกับความรคู วามสามารถ และ
ประสบการณ อยใู นระดับมาก (µ = 4.00, σ = 1.00)
5.3.1 ดานความสําเร็จในงานท่ีทํา
โดยรวมอยูในระดับมาก (µ= 4.10, σ = 0.11) เมื่อ 5.3.5 ดานความรับผิดชอบ โดยรวมอยู
พิจารณาเปนรายขอ พบวา ทานมีโอกาสไดใชความรู ใ น ร ะ ดั บ ม า ก ( µ = 4. 0 0 , σ = 0. 0 9 )
ความสามารถท้ังดานวิชาการและดานอ่ืน ๆ ในการ เม่ือพิจารณาเปนรายขอพบวา ทานไดใชความรู
ปฏิบัติงาน อยูในระดับมาก (µ= 4.41, σ = 0.64) ความสามารถอยางเต็มท่ีเพื่อทําใหการทํางานในแต
รองลงมาคือ ทานมีความรูสึกพึงพอใจเม่ืองานสําเร็จ
อยูในระดับมาก (µ= 4.22, σ = 0.85) และทานรูสึกวา
ตนเองเปนสวนหน่ึงท่ีทําใหงานที่ปฏิบัติประสบ
ความสําเรจ็ อยใู นระดบั มาก (µ = 4.00, σ = 0.75)


ละคร้ังบรรลุผลสําเร็จตามวัตถุประสงค อยูในระดับ การประชมุ วิชาการนาํ เสนอผลงานนกั ศกึ ษา
มากท่สี ุด (µ = 4.62, σ = 0.68) รองลงมาคอื ทานทราบ NCTechED-Student Workshop 2022 333
หนาที่ความรับผิดชอบของทาน อยูในระดับมาก (µ =
4.27, σ = 0.77) และงานทท่ี า นไดรบั ผิดชอบมีปริมาณ June 10,2022
เหมาะสม อยูในระดบั มาก (µ = 3.81, σ = 0.81)
6. อภปิ รายผล เพ่ือ (1) ศึกษาความคิดเห็นตอปจจัยที่สงผลตอ
จากผลการศึกษาแรงจูงใจในการปฏิบัติงานเจาหนาที่ แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของพนักงานเทศบาลใน
งานการเงินและบัญชีใน โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัด อําเภอวิเศษชัยชาญ จังหวัดอางทอง (2) ศึกษาระดับ
สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษาหนองคาย แรงจงู ใจในการปฏิบตั งิ านของพนกั งานเทศบาล
กรณีศึกษาสหวิทยาเขตทาบอ เปนรายดานสามารถ ในอาํ เภอวเิ ศษชัยชาญ จังหวดั อา งทอง (3) เปรียบเทยี บ
อภิปรายผลได ดังนี้ แรงจูงใจในการปฏิบัติงาน ป จ จั ย ท่ี ส ง ผ ล ต อ แ ร ง จู ง ใ จ ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ข อ ง
เจาหนาที่งานการเงินและบัญชี ในโรงเรียน พนักงาน เทศบาลในอําเภอวิเศษชัยชาญ จังหวัด
มัธยมศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา อางทอง (4) นาํ เสนอแนวทางในการพฒั นาแรงจูงใจ
มัธยมศึกษาหนองคาย กรณีศึกษาสหวิทยาเขตทาบอ ในการปฏิบัติงานของพนักงานเทศบาลในอําเภอวิเศษ
โดยรวมและเปน รายดานผลปรากฏวา ดา นความสาํ เรจ็ ชัยชาญ จังหวดั อางทอง โดยทาํ การเกบ็ รวบรวมขอมูล
ในงานท่ีทํา อยูในระดับมาก ดานการลักษณะของงาน เปน แบบสอบถาม จาํ นวน 177 คน ผลการศึกษาพบวา
ท่ีปฏิบัติและดานความรับผิดชอบ อยูในระดับมาก (1) ความคิดเห็นตอปจจัยท่ีสงผลตอแรงจูงใจในการ
ดานความกาวหนาในหนาท่ีการงาน อยูในระดับมาก ปฏบิ ตั ิงานของพนกั งานเทศบาลในอาํ เภอวเิ ศษชยั ชาญ
และดานการไดรับการยอมรับนับถือ อยูในระดับมาก จังหวดั อา งทอง ในภาพรวมอยู
เน่อื งจากเจา หนาทงี่ านการเงนิ และบัญชี ในระดับมากทุกดาน โดยปจจัยจูงใจมีความพึงพอใจ
ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ี ระดับมากที่สุด (2) ระดับแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน
การศึกษามัธยมศึกษาหนองคาย กรณีศึกษาสหวิทยา ของพนักงานเทศบาลในอําเภอวิเศษชัยชาญ จังหวัด
เขตทาบอ งานท่ีทําอยูเปนงานที่เหมาะสมกับความรู อางทอง อยูในระดับมากทุกดานจากการทดสอบ
ค ว า ม ส า ม า ร ถ แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ ต ล อ ด จ น สมมติฐาน พบวา ระดับแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน
ความกาวหนาในหนาท่ีการงาน จึงทําใหไดรับการ ของพนักงานเทศบาลในอาํ เภอวเิ ศษชยั ชาญ
ยอมรับนับถือในดานลักษณะงานที่ปฏิบัติ ที่เกี่ยวของ จังหวัดอางทอง มีมากกวารอยละ 70 โดยผลสัมฤทธ์ิ
กับงานการเงินและบัญชี ทําใหมีแรงจูงใจตอการ ของการปฏิบัติงานดานคุณภาพของการใหบริการอยู
ทาํ งาน อนั สง ผลใหเกิดความสําเร็จในการปฏบิ ตั ิงาน ในระดับมากที่สุด (3) ผลการเปรียบเทียบปจจัยท่ี
ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัย บุญชนะ ดวงฉวี (2558) ได สงผล ตอแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของพนักงาน
ศึกษาเร่ืองปจจัยท่ีสงผลตอแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน เทศบาลในอําเภอวิเศษชัยชาญ จังหวัดอางทอง จาก
ของ พนักงานเทศบาล ในอําเภอวิเศษชัยชาญ จังหวัด การทดสอบ สมมตฐิ านพบวาระดับแรงจูงใจ
อา งทอง มีวตั ถุประสงคการวิจัย ในการปฏิบัติงานของพนักงานเทศบาลในอําเภอวเิ ศษ
ชัยชาญ จังหวัดอางทอง ในแตละเทศบาลแตกตางกัน
และปจจัยท่ีสงผลตอแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของ
พนักงานเทศบาลในอาํ เภอวิเศษชยั ชาญ
จังหวัดอางทอง อยางนอย 1 ปจจัย ไดแก ปจจัยดาน
การจดั การ สง ผลตอแรงจงู ใจในการปฏิบตั ิงาน


การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานนักศึกษา พ.ศ. 2562,” จาก https://www.legal.
334 NCTechED-Student Workshop 2022 moph.go.th/, สบื คนเม่ือวนั ที่ 3 มิถนุ ายน
2564.
June 10,2022 [5] กงิ่ พร ทองใบ, (2557), “ความสัมพนั ธ
ระหวางปจจัยลักษณะองคการกับ
ของพนักงานเทศบาลในอําเภอวิเศษชัยชาญ จังหวัด ประสิทธิผลขององคก าร
อางทอง (4) แนวทางในการพฒั นาแรงจูงใจ ภาครฐั บาลในการบรหิ ารราชการไทย,”
ในการปฏิบัติงานของพนักงานเทศบาลในอําเภอวิเศษ วทิ ยานิพนธ คณะรัฐประศาสนศาสตร
ชยั ชาญ จงั หวดั อา งทอง คอื การพฒั นาปจจัย สาขาพฒั นบรหิ ารศาสตร ดุษฎีบณั ฑติ
ดานการจัดการไดแ ก ดานการบริหารทรัพยากรมนุษย สถาบันบัณฑิตพัฒนบรหิ ารศาสตร,
ควรมีวิธีการจูงใจใหพนักงานปฏิบัติงานจนบรรลุ กรงุ เทพมหานคร.
เปาหมาย เชน การเพิ่มพูนความรูและประสบการณ [6] กาญจนา ศริรัตน, (2557), “แจงจงู ใจใน
การพิจารณาความดี ความชอบดวยความยุติธรรม ดา น การปฏิบตั ิงานของบคุ ลากร สงั กดั ทที่ าํ การ
งบประมาณควรจัดเตรียมงบประมาณใหเพียงพอตอ ปกครองจังหวดั จนั ทบุร,ี ” วทิ ยานพิ นธ
การปฏิบัติงาน ดานการทํางานเปนทีมควรสราง สาขาวชิ าการจดั การภาครัฐและภาคเอกชน
บรรยากาศของบรรยากาศของการทํางานเปนทีม และ มหาวทิ ยาลยั บูรพา, กรุงเทพมหานคร.
ใหพ นักงานรูสกึ วา เปนสวนหนึ่งของทีมงาน [7] กานดา เตะขันหมาก, (2552), “ปจจัยที่
และดานภาวะผูนํา เชน ผูบังคับบัญชาควรมีภาวะใน สัมพนั ธกบั พฤติกรรมการดําเนนิ ชวี ิตตามหลัก
การควบคุมอารมณข องตนเอง รวมถงึ สรางบรรยากาศ ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งของครัวเรือน
ค ว า ม เ ป น กั น เ อ ง จ น รู สึ ก เ กิ ด ค ว า ม อ บ อุ น แ ล ะ มี สถาบันบณั ฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร, ”
แรงจงู ใจในการปฏิบัติงาน กรงุ เทพมหานคร.
8. เอกสารอา งอิง
[1] กระทรวงสาธารณสุข, “คมู ือบญั ชี

หนว ยบริการสงั กดั สาํ นักงาน
ปลดั กระทรวงสาธารณสุข,”
จาก https://bkpho.moph.go.th/,
สืบคนเมอ่ื วันที่ 2 มิถุนายน 2564.
[2] กระทรวงศึกษาธิการ, “การปฏริ ปู
ระบบบรหิ ารภาครัฐ,”
[3] กระทรวงศกึ ษาธิการ, “โครงสรา งของ
การเงินและบญั ชี,” จาก
https://www.egov.go.th/th/
government-agency/54/, สบื คนเมอ่ื วันท่ี
2 มิถุนายน 2564.
[4] กองกฎหมาย สํานักงานปลดั สาธารณสขุ ,
“ระเบยี บกระทรวงสาธารณสขุ วา ดวย
เงินบํารงุ ของหนว ย
บริการในสงั กดั กัดกระทรวงสาธารณะสุข


การประชุมวิชาการนาํ เสนอผลงานนักศึกษา
NCTechED-Student Workshop 2022 335

June 10,2022

คณุ ภาพการใหบ้ ริการทสี่ ่งผลตอ่ ความพงึ พอใจของผู้ใชบ้ ริการ
บรษิ ัท สถานตรวจสภาพรถลูกหมู จากัด

วรรณิษา พนั ธุเ์ อก,1* สหสั วรรษ สังกะสนิ ส่,ู 2 และ สุธติ า ผวิ บาง3

บทคัดย่อ

การวิจัยคร้ังนม้ี ีวตั ถุประสงค์ เพ่อื ศึกษาคุณภาพการใหบ้ รกิ ารที่ส่งผลต่อความพงึ พอใจของผูใ้ ช้บริการบรษิ ทั สถาน
ตรวจสภาพรถลูกหมู จากัด โดยผศู้ กึ ษาได้กาหนดกล่มุ ตวั อย่างซึง่ มีจานวนทัง้ ส้นิ 200 คน เครื่องมือท่ีใช้ในการเก็บ
ข้อมลู ประกอบดว้ ย แบบสอบถามคณุ ภาพการใหบ้ รกิ ารที่ส่งผลตอ่ ความพึงพอใจของผใู้ ชบ้ รกิ ารบริษทั สถานตรวจ
สภาพรถลูกหมู จากัด สถิตทิ ใี่ ช้ คา่ รอ้ ยละ คา่ เฉล่ีย และสว่ นเบยี่ งมาตรฐาน ความเช่ือมนั่ ของเคร่อื งมอื 0.80

พบวา่ คณุ ภาพการใหบ้ ริการของบริษทั สถานตรวจสภาพรถลกู หมู จากัดท้งั 5ด้านโดยรวมอยู่ในระดับมากท่ีสุด
(x̅ = 4.48, S.D. = 0.09) เม่ือพิจารณาเป็นรายด้านจากมากไปหาน้อย พบว่า ด้านการให้ความเช่ือมั่นต่อผู้รบั บริการ
อยู่ในระดับมากที่สุด (x̅ = 4.60, S.D. = 0.28) ด้านการตอบสนองต่อผู้รับบริการ (x̅ = 4.54, S.D. = 0.37)
ด้านความเชื่อถอื ไว้วางได้ (x̅ = 4.53, S.D.=0.26)

ด้านความพึงพอใจ ท้ัง 5 ด้าน ของคุณภาพการให้บริการของบรษิ ัท สถานตรวจสภาพรถลูกหมู จากัด โดยรวมอยู่
ในระดับมากที่สุด (x̅ = 4.46, S.D. = 0.17) เม่ือพิจารณาเป็นรายด้านจากมากไปหาน้อย พบว่า ด้านการให้บริการ
อยา่ งเพยี งพอ อยใู่ นระดับมากที่สุด (x̅ = 4.86, S.D. = 0.20)
คาสาคญั : คณุ ภาพการให้บริการ, ความพงึ พอใจ

1,2,3สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยอาชีวศึกษาหนองคาย สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื 1
* สุธิตา ผิวบาง โทร +925786940 อเี มล ; [email protected]


การประชุมวชิ าการนําเสนอผลงานนักศึกษา
336 NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

SERVICE QUALITY THAT AFFECTS CUSTOMER SATISFACTION
PIG CAR INSPECTION CENTER

Wannisa Phaneak1* Sahassawat Sangkasinsoo2 and Sutita Phiwbang 3

Abstract

The purpose of this study was to study the service quality that affects the satisfaction of service users of the
Piglet Vehicle Inspection Center Co., Ltd. A sample group, which totaled 200 people, was determined. The tool
was a questionnaire, and the statistics used were percentage, mean, and standard deviation, and the reliability was
0.80

The results found that the service quality of the Piglet Vehicle Inspection Center Co., Ltd. in all 5 aspects was
at the highest level (x̅ = 4.48, S.D. = 0.09). When considering each aspect from descending, it was found that the
confidence in the service recipients was at the highest level (x̅ = 4.60, S.D. = 0.2 8), the responding to service
recipients (x̅ = 4.54, S.D. = 0.37) and the credibility (x̅ = 4.53, S.D. = 0.26).

Satisfaction in all 5 aspects of the service quality of the Piglet Vehicle Inspection Center Co., Ltd. was at the
highest level ( x̅ = 4.4 6, S.D. = 0.17) . When considering each aspect from descending, it was found that
providing adequate services, was at the highest level (x̅ = 4.86, S.D. = 0.20).
Keywords : service quality, satisfaction

1,2,3Accounting Nongkhai Vocational College Nongkhai Province 43000
Institute of Vocational Education : Northeastern region 1
* Sutita Phiwbang Tel: +925786940 e-Mail; [email protected]

NCTechEd C06-2022


1. บทนา การประชมุ วิชาการนาํ เสนอผลงานนกั ศกึ ษา
[5] จากสถานการณ์การครอบครองยานพาหนะ NCTechED-Student Workshop 2022 337

ประเภทต่าง ๆ ในปัจจุบันรัฐบาลเห็นถึงอันตรายท่ี June 10,2022
อ าจ จ ะ เกิ ด ขึ้ น ต่ อ ม นุ ษ ย์ แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม จึ ง ไ ด้ มี
นโยบายและออกกฎหมายให้รถจักรยานยนต์ (รย.12) อ ย่ างต่ อ เนื่ อ ง ต ล อ ด จ น ก ารส ร้ างให้ ลู ก ค้ ามี
ทม่ี อี ายุเกนิ กว่า 5 ปี และรถยนตส์ ่วนบคุ คลที่มอี ายุเกิน ความสัมพันธ์ระยะยาวก่อให้เกิดความจงรักภักดีต่อ
กว่า 7 ปี นั่นคือรถยนต์นั่งส่วนบุคคลไม่เกิน 7 คน สินคา้ และบรกิ ารขององค์กรตลอดไป
หรือรถเกง (รย.1) รถยนต์น่ังส่วนบุคคลเกิน 7 คน
หรือรถตู้ (รย.2) รถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลหรือรถ [6] บริษัท สถานตรวจสภาพรถลูกหมู จากัด
กระบะ (รย.3) ต้องทาการตรวจเช็คสภาพรถในทกุ ๆ ปี เป็นบริษทั ทีใ่ ห้การบรกิ ารทางดา้ นการรบั ทาประกนั ภัย
เป็นต้น โดยต้องมีการตรวจสภาพรถจากสถานตรวจ รถยนต์ พรบ.รถยนต์และรถจักรยานยนต์ ตรวจสภาพรถ
สภาพรถเอกชน (ตรอ.) ก่อนชาระภาษีรถยนต์ ต่อทะเบยี น รับโอนรถทุกประเภท โดยบริษัทมีความ
ประจาปีการตรวจสภาพรถยนต์ตามเง่ือนไขของ มุง่ หวังในด้านการให้บรกิ ารให้เป็นมาตรฐานและให้
กรมการขนส่งทางบก คือ [3] การตรวจสอบสภาพ ลกู ค้าที่ได้รับบริการมีความประทับใจและกลับมาใช้
ความมั่นคง แข็งแรง ประสิทธิภาพการทางานของ บริการซ้าอีก
เคร่ืองยนต์การมีอุปกรณ์และส่วนควบถูกต้องตามที่
กาหนดในกฎกระทรวงหรือไม่ถ้ารถยนต์คันใดมี จากที่กล่าวมาข้างต้น ผู้วิจัยจึงทาการศึกษ า
สภาพที่ดีผ่านเกณฑ์ที่กาหนดไว้รถอยู่ในเกณฑ์ผ่าน “คุณภาพการให้บริการท่ีส่งผลต่อความพึงพอใจของ
การตรวจสภาพรถจากสถานตรวจสภาพรถเอกชน ผใู้ ช้บริการบริษัท สถานตรวจสภาพรถลูกหมู จากัด”
(ตรอ.) จะทาการออกใบรับรองการตรวจสภาพรถตาม เพื่ อให้ท ราบถึงความพึงพ อใจในคุณ ภาพ การ
แบบท่ีกรมการขนส่งทางบกกาหนดแต่หากผลการ ให้บริการ [1] ของบริษัท สถานตรวจสภาพรถลูกหมู
ตรวจสภาพรถปรากฏว่ารถอยู่ในเกณฑ์ไม่ผ่านการ จากดั และผลการวจิ ัยจะเป็นประโยชน์สาหรับองค์กร
ตรวจสภาพรถจากสถานตรวจสภาพรถเอกชน (ตรอ.) ท่ีเก่ียวข้องเพื่อนาผลไปใช้ปรับกลยุทธ์วางแผนการ
จะแจ้งข้อบกพร่องที่เป็นเหตุให้รถนั้นไม่ผ่านการ ด าเนิ น ง าน เพื่ อ ใ ห้ ป ร ะ ส บ ผ ล ส าเร็ จ ใ น ธุ ร กิ จ แ ล ะ
ตรวจสภาพให้เจ้าของรถทราบเพื่อนารถไปแก้ไข เพอ่ื ให้ ผ้มู สี ว่ นเก่ียวขอ้ งในธรุ กิจน้ีสามารถใชข้ อ้ มูลที่
ข้อบกพรอ่ งแล้วนามาตรวจใหม่ ไดน้ ามาเทียบเคยี งเพ่อื พฒั นาธุรกิจต่อไปในอนาคต

เนอื่ งจากธรุ กิจสถานตรวจสภาพรถเอกชน (ตรอ.) 2. วตั ถุประสงค์การศกึ ษา
มี ภ าว ะ ก าร ณ์ แ ข่ ง ขั น ที่ สู ง ปั จ จั ย ส าคั ญ ท่ี ส่ ง ผ ล ต่ อ 2.1 เพื่อศึกษาระดับคุณภาพการให้บริการของ
พฤติกรรมของผู้ใช้บริการ คือ คุณภาพการบริการซึ่ง
เป็น [2] การบริการท่ีผู้ให้บริการส่งมอบความ บรษิ ทั สถานตรวจสภาพรถลกู หมู จากดั
ประทบั ใจของการใหบ้ รกิ ารแกล่ ูกค้าเพอ่ื สรา้ งผลลัพธ์ 2.2 เพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ
ใหล้ ูกค้าเกิดความพึงพอใจและกอ่ ใหเ้ กดิ สัมพนั ธภาพ
ท่ีดีรวมท้ังกระตุ้นให้ลูกค้าเหล่านี้กลับมาใช้บริการ บรษิ ัท สถานตรวจสภาพรถลูกหมู จากัด
2.3 เพ่ือศึกษาคุณภาพการให้บริการที่ส่งผลต่อ

ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ บริษัท สถานตรวจ
สภาพรถลกู หมู จากัด

NCTechEd C06-2022


การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานนกั ศึกษา ตอนท่ี 2 เป็นแบบสอบถามเก่ียวกับคุณภาพการ
338 NCTechED-Student Workshop 2022 ให้บริการที่ส่งผลต่อความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ
บริษัทสถานตรวจสภาพรถลูกหมูจากัด ตามการรับรู้
June 10,2022 ของประชาชน ประกอบดว้ ยข้อคาถาม 5 ดา้ นได้แก่

3. กรอบแนวคิดของการวิจยั [4] 1) ดา้ นความเป็นรูปธรรมของบริการ (Tangibility)
2) ดา้ นความเชือ่ ถือไวว้ างใจได้ (reliability)
รปู ที่ 1 กรอบแนวคิดของการวจิ ัย 3) ด้านการตอบสนองตอ่ ลูกคา้ (responsiveness)
4) ด้านการใหค้ วามเชื่อมน่ั ใจต่อลกู คา้ (assurance)
4. วธิ ดี าเนินการวจิ ยั 5) ด้านการรูจ้ กั และเขา้ ใจลกู คา้ (empathy)
4.1 ประชากร (Population) ตอนที่ 3 แบบสอบถามเก่ียวกับความพึงพอใจของ
ประชากรกล่มุ ตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาคร้ังน้ี ผู้ใช้บริการที่ส่งผลต่อบริษัท สถานตรวจสภาพรถ
ลกู หมู จากดั ตามการรับรู้ของประชาชน ประกอบดว้ ย
คือ ลูกค้าท่ีมาใช้บริการ บริษัท สถานตรวจสภาพรถ ขอ้ คาถาม 5 ดา้ นได้แก่
ลูกหมู จากัด จานวน 400 คน (สถิติการใช้บริการ 1) ด้านการให้บริการอย่างเสมอภาค (Equitable
ประจาเดอื น ตลุ าคม 152 คน พฤศจิกายน จานวน 98 คน Service)
ธันวาคม จานวน 150 คน พ.ศ. 2564) 2) ด้าน การให้บ ริการอย่างทันเวลา (Timely
Service)
4.2 เครือ่ งมอื ท่ใี ชใ้ นการศกึ ษา 3) ด้าน การให้บ ริการอย่างเพียงพ อ (Ample
เค ร่ื อ งมื อ ที่ ใช้ ใน ก าร ศึ ก ษ าค ร้ั งน้ี เป็ น Service)
4) ด้านการให้บริการอย่างต่อเน่ือง (Continuou
แบบสอบถาม (Questionnaire) ที่สร้างข้ึนจากกรอบ Service)
แ น ว คิ ด ท ฤ ษ ฎี แ ล ะ งาน วิ จั ย ท่ี เกี่ ย ว ข้ อ งโ ด ย 5) ด้านการให้บริการท่ีก้าวหน้า (Progressive
แบบสอบถามทส่ี ร้างขึ้นแบง่ ออกเป็น 3 ตอน Service)
4.3 ข้ันตอนการสร้างเคร่อื งมือและหาคุณภาพของ
ตอนท่ี 1 เป็นแบบสอบถามข้อมูลเกี่ยวกบั ลกั ษณะ เครื่องมือ
ส่วนบคุ คลของผตู้ อบแบบสอบถามประกอบดว้ ย
4.3.1 ศึกษาความหมาย ทฤษฎี และงานวิจัยที่
1) เพศ เกีย่ วข้องถึงคุณภาพการให้บริการท่ีส่งผลต่อความพึง
2) อายุ พอใจของผู้ใช้บริการบริษัท ตรวจสภาพรถลูกหมู
3) สถานภาพ จากดั
4) ระดบั การศึกษา
5) อาชีพ 4.3.2 ก าห น ด ข อ บ เข ต ด้ าน เนื้ อ ห าข อ ง
6) รายไดเ้ ฉลยี่ ตอ่ เดอื น แบบสอบถามด้านคุณภาพการให้บริการท่ีส่งผลต่อ
ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการบริษัท ตรวจสภาพรถ
ลกู หมู จากดั

NCTechEd C06-2022


4.3.3 สร้างข้อคาถามในแบบสอบถามด้าน การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานนักศึกษา
ความพึงพอใจของบริษัท สถานตรวจสภาพรถลูกหมู NCTechED-Student Workshop 2022 339
จากัด และเสน อให้ ผู้เชี่ยวชาญ จาน วน 3 ท่ าน
เพื่อพิจารณาตรวจสอบความเท่ยี งตรงเชงิ เนอ้ื หาความ June 10,2022
เหมาะสมของข้อความเนื้อภาษาและสานวนที่ใช้ ได้
ค่าความสอดคล้องเท่ากับ 1โดยในแบบสอบถาม 1) ก ารต รวจส อ บ ข้ อ มู ล (Editing) ผู้ วิจั ย
สาหรบั ผู้เชี่ยวชาญ ผู้ศึกษากาหนดระดับความคิดเห็น จะตรวจสอบความสมบูรณ์ของแบบสอบถามแต่ละ
ของผู้เชย่ี วชาญ ดังนี้ ชดุ แยกแบบสอบถามที่ไมส่ มบูรณ์ออกไป คัดเลอื กไว้
เฉพาะชดุ ทสี่ มบูรณไ์ ว้ เพื่อนาไป วิเคราะห์ตอ่ ไป
+1 เมื่อแน่ใจว่าข้อคาถามตรงกับขอบข่ายใน
ประเดน็ หลกั ของเนอ้ื หา 2) การลงรหัส (Coding) นาแบบสอบถามที่
ถูกต้องเรียบรอ้ ยแล้วไปตรวจให้คะแนน และลงรหัส
0 เมื่อไมแ่ น่ใจว่าข้อคาถามตรงกับขอบข่ายใน ตามทไี่ ด้กาหนดไวล้ ่วงหนา้
ประเดน็ หลักของเนอ้ื หา
3) การป ระม วลผลข้อมูลท่ี ลงรหั สแล้ว
-1 เมือ่ แน่ใจว่าข้อคาถามไม่ตรงกับขอบขา่ ยใน ได้นามาบันทึกเข้า File โดยใช้โปรแกรม สถิติ
ประเดน็ หลักของเนอื้ หา สาเร็จรูปเพ่ือการวิจัยทางสังคมศาสตร์ โปรแกรม
ส า เ ร็ จ รู ป (Statistic Package for Social Science)
4.3.4 ปรับปรุงแก้ไขแบบสอบถามตามที่ รวม ทั้ งส ถิติอื่น ๆ ที่ เก่ียวข้องใน การท ดสอ บ
ผู้เช่ียวชาญเสนอ สมมตฐิ าน

4.3.5 นาแบบสอบถามท่ีได้ไปทดลองใช้กับ 4.5 การวเิ คราะหข์ อ้ มลู
ประชากรทีไ่ ม่ใช่กลุ่มตวั อย่าง แล้วนามาวิเคราะหเ์ พื่อ ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ ใช้แบบสอบถาม
หาค่าความเชื่อมั่น ของแบบสอบถาม โดยวิธีหาค่า
สัมประสิทธิ์แอลฟา (Alpha-Coefient) มีค่าเท่ากับ เป็นเคร่ืองมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้ศึกษานา
0.80 แ บ บ ส อ บ ถ าม ม าต ร ว จ ส อ บ ค ว าม ส ม บู ร ณ์ แ ล้ ว
ดาเนนิ การวเิ คราะหข์ อ้ มลู โดยใชโ้ ปรแกรมสาเร็จรูป
4.3.6 นาแบบสอบถามท่ีผ่านการตรวจสอบ ทางสถติ ิ ดังน้ี
คุณภาพ และปรับปรุงแก้ไขสมบูรณ์แล้ว นาไป
จัดพิมพ์เป็นแบบสอบถามฉบับจริง เพื่อนาไปใช้ใน 4.5.1 การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิง
การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล พรรณนา (Descriptive statistic)

4.4 การเก็บรวบรวมขอ้ มูล 4 .5.2 ห าค่ าร้ อ ย ล ะ (Percentage) ส าห รั บ
ในการดาเนนิ การเก็บรวบรวมขอ้ มลู ผูศ้ กึ ษาได้ วิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามตอนท่ี 1 ลักษณะ
ส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม ได้แก่ เพศ อายุ
ดาเนนิ การเก็บรวบรวมขอ้ มูลตามข้นั ตอน ดงั นี้ ระดับการศกึ ษา อาชพี และระดับรายได้
4.4.1 ก ารจัดกระท าข้ อมู ล เมื่ อผู้วิจัยได้
4.5.3 หาค่าเฉล่ีย (Mean : ) และ ค่าเบี่ยงเบน
รวบรวมแบบสอบถามกลับคืนมาจากกลุ่มตัวอย่าง มาตรฐาน (Standard deviation : S.D.) สาหรบั วเิ คราะห์
ผวู้ ิจัยจะนาข้อมูลท่ีไดจ้ ากแบบสอบถามมาดาเนนิ การ ข้อมูลจากแบบสอบถามตอนที่ 2 ปัจจัยคุณภาพการ
ตามข้ันตอน ดังน้ี ให้บริการของผู้ใช้บริการบริษัทสถานตรวจสภาพรถ
ลกู หมู จากัด และแบบสอบถามตอนที่ 3 ด้านความพึง
พอใจของผู้ใช้บริการ ตามการรับร้ขู องประชาชนแล้ว
นาเสนอในรปู ตาราง

NCTechEd C06-2022


การประชมุ วิชาการนําเสนอผลงานนกั ศึกษา ตารางท่ี 1 ผลการวิเคราะหข์ ้อมูลคุณภาพการใหบ้ ริการ
340 NCTechED-Student Workshop 2022 ของบรษิ ัท สถานตรวจสภาพรถลูกหมู จากดั

June 10,2022 7. เอกสารอา้ งองิ
[1] กันตเ์ ลค และเนลสนั , (2021), (Gundla chand
5. สรุปผล
ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เพศหญิง จานวน Nelson),ได้ศกึ ษาความพึงพอใจของประชาชน
หลังจากพบกับพฤตกิ รรมการบรกิ าร.
160 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 20.00ผู้ตอบแบบสอบถามส่วน [2] คูเปอร์ (Cooper), (2018), ได้ศกึ ษาถงึ ความ
ใหญ่ มีอายุ 18-30 ปี จานวน 112 คน คิดเป็นร้อยละ ต้องการทเ่ี ปน็ ส่ิงจูงใจให้มนุษยเ์ กิดความพงึ พอใจ
56.00อายุ 31-40 ปีผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มี ในการทางาน.
การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือ ปวช. [3] ณฐั วัชร์ กาญจนธนากลุ , (2557), ได้ศึกษาเรื่อง
จ า น ว น 64 ค น คิ ด เป็ น ร้ อ ย ล ะ 32.00 ผู้ ต อ บ ความพงึ พอใจของนักทอ่ งเทย่ี วต่อการใชบ้ รกิ าร
แบบสอบถามส่วนใหญ่มอี าชีพนักศึกษา จานวน63คน เรอื เฟอร์ร.่ี
คิดเป็นร้อยละ 31.50ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ [4] ดาเรศ เรียบรอ้ ย, (2562), ได้ศกึ ษากรอบแนวคิด
มีรายได้ต่อเดือน 10,001–20,000 จานวน 107 คน ของการวจิ ัย.
คดิ เปน็ รอ้ ยละ 53.50 [5] เทพศักด์ิ บุณยรตั พนั ธ์, (2557), ได้ศึกษาถงึ
6. อภปิ รายผล องค์ประกอบสาคัญที่บคุ คลกล่มุ บุคคลหรือ
หน่วยงานท่ีมีอานาจหนา้ ทีท่ ี่เกี่ยวข้องกับการ
6.1 การวิจัยเร่ือง คุณภาพการให้บริการท่ีสง่ ผลต่อ ให้บริการสาธารณะ.
ความพึงพอใจของผใู้ ชบ้ รกิ ารบริษทั สถานตรวจสภาพ [6] ธงชยั พงษ์วิชัย, (2555), ไดศ้ กึ ษาวจิ ัยเรือ่ ง
รถลูกหมูจากัด ท้ัง 5 ด้าน สามารถสรุปผลการวิจัย การศึกษาโครงข่ายระบบการขนสง่ โดยสารทาง
ได้ดังน้ี โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (x̅ = 4.48, เรือในแมน่ า้ เจา้ พระยาสาหรับกรงุ เทพมหานคร.
S.D. = 0.09) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านจากมากไปหา
นอ้ ย พบวา่ ดา้ นการใหค้ วามเชอ่ื ม่ันต่อผู้รบั บริการ อยู่
ในระดับมากที่สุด (x̅= 4.60, S.D. = 0.28) ด้านการ
ตอบสนองต่อผู้รับบริการ (x̅= 4.54, S.D. = 0.37)
ดา้ นความเชอ่ื ถือไว้วางได้ (x̅=4.53, S.D. = 0.26)

6.2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านความพึงพอใจ
ทั้ง 5 ด้าน ของคณุ ภาพการให้บรกิ ารของบรษิ ัทสถาน
ตรวจสภาพรถลูกหมู จากัด โดยรวมอยู่ในระดับมาก
ที่สุด (x̅ = 4.46, S.D. = 0.17) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน
จากมากไปหาน้อย พบว่า ด้านการให้บริการอย่าง
เพียงพอ อยู่ในระดบั มากท่สี ดุ (x̅= 4.86, S.D. = 0.20)

NCTechEd C06-2022


การประชมุ วิชาการนําเสนอผลงานนกั ศึกษา
NCTechED-Student Workshop 2022 341

June 10,2022

ปัจจยั ที่สง่ ผลตอ่ ประสิทธภิ าพในการจดั ทำบญั ชีกองทุนหม่บู ้าน กรณีศกึ ษากองทนุ หมู่บ้านในเขต
ตำบลพานพรา้ ว อำเภอศรีเชียงใหม่ จงั หวดั หนองคาย

วันนศิ า ตนุ กอ่ 1* สุดารตั น์ โคตรชมภู2และ อนิ ทอุ ร พลสุวรรณ์3

บทคดั ย่อ
การศกึ ษาในคร้ังน้ีมีวตั ถุประสงคเ์ พอ่ื เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อประสทิ ธิภาพในการจดั ทำบัญชีกองทุนหมูบ่ ้าน
ในเขตตำบลพานพร้าว อำเภอศรเี ชียงใหม่ จงั หวัดหนองคาย ผู้จดั ทำบัญชีกองทุนหมบู่ ้าน ในเขตตำบลพานพรา้ ว อำเภอ
ศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย รวม 56 คน เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัยคร้ังน้ีได้แก่แบบสอบถาม ตอนที่ 1ข้อมูลทั่วไป
เกี่ยวกับผู้ตอบแบบสอบถามตอนที่ 2 คำถามเกี่ยวกับปัจจัยการจัดทำบัญชีกองทุนหมู่บ้านประกอบด้วย ด้านความรู้
ความสามารถทางบัญชี ด้านการฝึกอบรม เก่ียวกับการจัดทำบัญชี ความเข้าใจในข้ันตอนการจัดทำบัญชี ด้าน
ประสบการณใ์ นการทำบัญชี และด้านจรรยาบรรณในการปฏิบัติงาน ตอนท่ี 3 คำถามเกี่ยวกับประสิทธิภาพในการจัดทำ
บัญชีผู้จัดทำบัญชี กองทุนหมู่บ้านในเขตตำบลพานพร้าว อำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย ค่าร้อยละ ค่าเฉล่ีย และ
สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน ความเช่ือมัน่ ของเครื่องมือ
ที่ 0.85
ผลการวิเคราะห์ข้อมลู เกยี่ วกบั ปจั จัยท่ีส่งผลตอ่ ประสทิ ธิภาพในการจัดทำบัญชกี องทุนหมู่บ้าน ในเขตตำบลพาน
พร้าว อำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย พบว่า ด้านจรรยาบรรณในการปฏิบัติงาน อยู่ในระดับมากที่สุด มี
ค่าเฉลย่ี 4.60 ด้านการฝึกอบรมเก่ียวกับการจัดทำบัญชีอยใู่ นระดับมากท่ีสดุ มคี ่าเฉลยี่ 4.54 ด้านความร้คู วามสามารถ
ทางบัญชี อยู่ในระดับมากท่ีสุด มีค่าเฉล่ีย 4.51 ด้านความเข้าใจ ในขั้นตอนการจัดทำบัญชีอยู่ในระดับมากที่สุด มี
ค่าเฉลยี่ 4.45 และด้านประสบการณ์ในการจัดทำบัญชี อยูใ่ นระดับมาก มคี ่าเฉล่ยี 4.41
คำสำคัญ : ปัจจัยทีส่ ง่ ผลต่อประสทิ ธภิ าพการจัดทำบัญช,ี กองทุนหมู่บา้ น

1,2,3 สาขาวิชาการบญั ชี วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษาหนองคาย สถาบนั การอาชีวศกึ ษา
ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ 1

*วนั นิศา ตนุ ก่อ 080 061 3696 E-mail : [email protected]

E-mail : [email protected]


การประชมุ วชิ าการนําเสนอผลงานนกั ศึกษา
342 NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

THE FACTORS AFFECTING VILLAGE FUND ACCOUNTING EFFICIENCY CASE
STUDY OF VILLAGE FUNG IN PHAN PHRAO SUBDISTRICT SI CHIANG MAI
DISTRICT NONG KHAI PROVINCE.

Wannisa Tunkor1 Sudarat Kotchompoo2 Ainthuoon Phonsuwan3

Abstract

The purpose of this study was to study the factors affecting efficiency in the preparation of accounting for
village funds. A case study of village funds was conducted in Phan Prao Sub District, Si Chiang Mai District,
Nong Khai Province. The populations were 56 village fund accountants. The tool was a questionnaire with 3
parts: Part 1 the general information, part 2 the factors affecting the preparation of accounting in the village fund
included competence, training, process understanding, experience, andwork ethics, and part 3 the accounting
preparation efficiency. The statistics used were Percentage, Mean, and Standard Deviation, and the reliability was
0.85.

The result of the analysis of data on factors affecting performance in the preparation of village fund accounts
was found to be that the work ethic was at the highest level, with an average of 4.60, the accounting training was
at the highest level, with an average of 4.54, the accounting knowledge and skills were at the highest level with an
average of 4.51, the understanding of accounting procedures was at the highest level, with an average of 4.45, and
the experience in bookkeeping is at an average level of 4.41.

The accounting preparation efficiency for village fund accountants was found to be at a high level, with an
average of 4.43. When considering each aspect from descending, it was found that they were able to complete the
accounting work according to the Village Fund Accounting Manual accurately and on time, at the highest level,
with an average of 4.54. In the same way, they were able to perform their accounting operations to achieve
financial statements consistent with the facts of the Village Fund at a high level, with an average of 4.50, and they
were able to record the accounts accurately according to the documentary evidence supporting the transaction at a
high level, with an average of 4.48.

NCTechED C07-2022


* การประชมุ วชิ าการนาํ เสนอผลงานนกั ศึกษา
NCTechED-Student Workshop 2022 343

June 10,2022

The correlation between the accounting factors was statistically related to the village fund accounting
efficiency at the 0.01 level. The correlation was at the highest level in understanding of the accounting process
(r=0.42**) and was statistically significant at the 0.05 level. The highest level of correlation was the accounting
experience (r=0.28*).
Keyword : Factors Affectin g Accounting Efficiency, village fund

1,2,A3 ccounting Nongkhai Vocational College Northeastern Vocational Education Institute
Wannisa Tunkor 080 061 3696 E-mail : [email protected]

NCTechED C07-2022


การประชุมวชิ าการนําเสนอผลงานนักศกึ ษา
344 NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

1. บทนำ หมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ พ.ศ.2547 โดย
กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติก่อต้ัง รัฐบาลจัดสรรเงินทุนให้แก่หมู่บ้านที่มีความพร้อม
ในการบริหารจัดการตนเอง มีโครงสร้างระบบการ
ข้ึนเมื่อปี พ.ศ.2544 เป็นโครงการหนึ่งภายใต้ บริหารจัดการกองทุน โดยจัดให้มีการเลือกตั้ง
น โ ย บ า ย ข อ ง รั ฐ บ า ล เพื่ อ พั ฒ น า แ ล ะ ขั บ เค ลื่ อ น คณะกรรมการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง เข้า
เศรษฐกิจฐานรากของประเทศสู่ความมั่นคง ม่ังค่ัง มาทำหน้าที่บริหารจัดการ และดูแลเงินกองทุน
ยั่งยืน โดยมีวัตถุประสงค์ของการจัดต้ังกองทุน 1 ควบคุมค่าใชจ้ า่ ย และรายงานผลการฃ
ล้านบาท เป็นแหล่งเงินทุนหมุนเวียน สำหรับการ
ลงทุน เพ่ือพัฒนาอาชีพสร้างงาน สร้างรายได้ ลด ดำเนินงานกองทุนเพื่อให้เกิดประโยชน์แก่สมาชิก
รายจ่าย บรรเทาความเดือดร้อนเร่งด่วน เพื่อการ ของกองทุนการจัดทำบัญชีกองทุนหมู่บ้านถือเป็น
ส่งเสริมและพัฒนาไปสู่การส่งเสริม สวัสดิภาพ ภ า ร กิ จ ที่ ส ำ คั ญ อ ย่ า ง ห น่ึ ง ที่ ทุ ก ก อ ง ทุ น ห มู่ บ้ า น
สวัสดิการหรือประโยชน์ส่วนรวมให้แก่ประชาชน จะต้องให้ความสนใจเพราะรายงานทางการเงินทไี่ ด้
ในหมู่บ้านและชุมชน ส่งเสริมและพัฒนาให้มี จากการจัดทำบญั ชีอย่างครบถ้วนและถูกต้องจะเป็น
ความสามารถในการจัดระบบการบริหารจัดการ เครื่องมือในการวัดผลการดำเนินงานทางการเงินท่ี
เงินทุนของตนเอง เสริมสร้างกระบวนการพ่ึงพา แ ท้ จ ริ ง ข อ ง แ ต่ ล ะ ก อ ง ทุ น ต า ม ร ะ เบี ย บ
ตนเองของหมู่บ้าน ในด้านการเรียนรู้ การสรา้ งและ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก อ งทุ น ห มู่ บ้ า น แ ล ะ ชุ ม ช น เมื อ ง
พัฒนาความคิดริเรม่ิ เพอื่ แก้ไขปญั หาและเสรมิ สรา้ ง แห่งชาติวา่ ด้วยการจัดต้งั และบรหิ ารกองทุนหมบู่ า้ น
ศักยภาพ และความเข้มแข็งทั้งทางเศรษฐกิจและ และชุมชนเมืองแห่งชาติ พ.ศ.2551 ข้อ 46 47 และ
สงั คมของประชาชนในหมบู่ ้าน โดยใช้หลกั ปรชั ญา 48 โดยว่าด้วยเร่ืองการทำบัญชี และการตรวจสอบ
ของเศรษฐกิจพอเพียงในการดำเนินการโครงการ จัดทำสรุปผลการดำเนินงานประจำปีรายงานต่อ
และเป็นการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางเศรษฐกิจและ คณะกรรมการ
สงั คมของประชาชน ส่งเสริมระบอบประชาธิปไตย
แบบมีส่วนร่วม ทำให้เกิดความสามัคคี ความเอื้อ กองทุนหมู่บ้านในเขตตำบลพานพร้าว อำเภอศรี
อาทร และการกระจายความเสมอภาคในชุมชน ทำ เชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย เป็นอีกตำบลหน่ึงท่ี
ให้ชุมชนมีความเข้มแข็ง สามารถช่วยเหลือตนเอง ได้รับการอนุมัติจัดต้ังกองทุนหมู่บ้าน โดยได้รับ
ได้ ส่งผลให้ความเป็นอยู่ของประชาชนในประเทศ จัดสรรเงินทุนเข้ากองทุน จากการดำเนินงาน
ดขี ึน้ (NationalVillageandUrbanCommunity Fund, office, กองทุนหมู่บ้านท่ีผ่านมา พบว่า คณะกรรมการ
2017, online) [1] กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง กองทุนหมบู่ ้านยังขาดความรคู้ วามเข้าใจในระเบียบ
แห่งชาติได้ถูกจัดตั้งขึ้นตามระเบียบคณะกรรมการ ปฏิบัติของกองทุนหมู่บ้าน รวมท้ังปัญหาท่ีเกิดจาก
กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติว่าด้วยการ การจัดทำบัญชีกองทุนหมู่บ้าน มีการบริหารท่ีขาด
จัดตั้งและบริหารกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง ความโปร่งใสการใช้ระบบอุปถัมภ์ในการปล่อยกู้
แห่งชาติ พ.ศ.2544 และต่อมาได้มีการจดทะเบียน แ ล ะ ปั ญ ห า ก า ร ติ ด ต า ม เร่ ง รั ด ก า ร คื น เงิ น กู้ ข อ ง
เป็นนิติบุคคลขึ้น ตามพระราชบัญญัติกองทุน สมาชกิ (Phobutdee,2012) [2]

NCTechED C07-2022


การประชุมวชิ าการนําเสนอผลงานนกั ศกึ ษา
NCTechED-Student Workshop 2022 345

June 10,2022

จากท่ีกล่าวมาข้างต้น การจัดทำบัญชีกองทุน พัฒนาการปฏิบัติงานด้านบัญชีของกองทุน ผู้มีส่วน
หมู่บ้านและชุมชนเมืองน้ัน มีความสำคัญกับทุก เกี่ยวข้องในการปฏิบัติงานบัญชีให้มีประสิทธิภาพ
ก อ งทุ น เพ ร าะ ต้ อ งถื อ ป ฏิ บั ติ ต าม ร ะ เบี ย บ และประโยชน์ต่อกองทนุ หม่บู ้านตอ่ ไป
คณะกรรมการของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง 2. วัตถุประสงคก์ ารศึกษา
แห่งชาติ ว่าด้วยการจัดตั้งและบริหารกองทุน
หมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ พ.ศ.2551 ต้อง เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการ
จัดทำบัญชีและรายงานการเงินให้ครบถ้วนถูกต้อง จัดทำบัญชีกองทุนหมู่บ้านในเขตตำบลพานพร้าว
แล้ว คณะกรรมการกองทุนผู้ทำหน้าที่จัดทำบัญชี อำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย
กองทุนต้องมี ความรู้ความสามารถทางด้านบัญชี
เกี่ยวกับหลักการบัญชีกองทุนหมู่บ้าน รวมถึงการ 3. กรอบแนวคดิ ของการวิจยั
พัฒนาตนเอง ศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับการจัดทำ
บญั ชี มีความเขา้ ใจในกระบวนการทำบัญชี มีการสั่ง ภาพที่ 1.1 กรอบแนวคิดท่ีใชใ้ นการศึกษา
สมความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะความชำนาญในการ
จัดทำบัญชีกองทุนหมู่บ้าน ก่อให้เกิดประสบการณ์ 4. วิธดี ำเนินการศึกษา
ในการปฏิบัติงานบัญชกี องทุน และปฏิบัติงานบัญชี 4.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาคร้ังนี้
ด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต เปิดเผย โปร่งใส เพื่อให้ คอื ผู้จัดทำบัญชีกองทุนหมู่บ้าน ในเขตตำบลพานพร้าว
ข้อมูลทางการเงินที่มีความเที่ยงตรง น่าเชื่อถือ เป็น อำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย จำนวน 14 แห่ง
ประโยชน์ผู้ท่ีเกี่ยวข้องกับกองทุนหมู่บ้าน เกิด รวม 56 แห่ง
ประสิทธิภาพในการจัดทำบัญชีกองทุน ซ่ึงการ 4.2 เครอ่ื งมือท่ีใช้ในการศกึ ษา เครื่องมอื ทใี่ ช้ในการวจิ ัย
จั ด ท ำบั ญ ชี ก อ งทุ น ให้ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ าพ นั้ น คร้ังน้ี ได้แก่ แบบสอบถาม ตอนที่ 1 ข้อมูลท่ัวไป
คณะกรรมการผู้จัดทำบัญชีกองทุนหมู่บ้านและ เก่ียวกับผู้ตอบแบบสอบถาม มีจำนวน 4 ข้อ มีลักษณะ
ชุมชนเมืองจะต้องมี 1) ความรู้ความสามารถ คำถามแบบปลายปิดเลือกคำตอบได้เพียงคำตอบเดียว
ทางด้านบัญชี 2) การเข้าฝึกอบรมเกี่ยวกับการจัดทำ (Check list) ตอนท่ี 2 คำถามเก่ียวกับปัจจัยการจัดทำ
บัญชี 3) ความเข้าใจข้ันตอนการจัดทำบัญชี 4) บัญ ชีกองทุนห มู่บ้านประกอบด้วย ด้านความรู้
ป ร ะ ส บ ก าร ณ์ ใ น ก าร จั ด ท ำบั ญ ชี แ ล ะ 5 ) ความสามารถทางบัญชี ด้านการฝึกอบรมเก่ียวกับการ
จรรยาบรรณในการปฏิบัติงาน ทั้ง 5 ด้าน เป็นปัจจัย จัดทำบัญชี ความเข้าใจในข้ันตอนการจัดทำบัญชี ด้าน
ของผู้จัดทำบัญชีกองทุนหมู่บ้านท่ีนำมาศึกษาใน ประสบการณ์ในการทำบัญชี และด้านจรรยาบรรณใน
งานวจิ ัย การปฏิบัติงาน ลักษณะของแบบสอบถามเป็นแบบ
ประมาณค่า (rating scale) มี 5 ระดับ ตอนที่ 3 คำถาม
ดังน้ันจึงทำให้ผู้วิจัยสนใจศึกษา ปัจจัยท่ีส่งผล เก่ียวกับประสิทธิภาพในการจัดทำบัญชีลักษณะของ
ต่อประสิทธิภาพในการจัดทำบัญชีกองทุนหมู่บ้าน แบบสอบถามเป็นแบบประมาณค่า (Rating scale) มี 5
ของผู้จัดทำบัญชีกองทุนหมู่บ้านท่ีมีต่อการจัดทำ
บัญชีกองทุนหมู่บ้านในเขตตำบลพานพร้าว อำเภอ
ศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย เพ่ือเป็นแนวทาง

NCTechED C07-2022


การประชมุ วิชาการนําเสนอผลงานนกั ศกึ ษา
346 NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

ระดับ และตอนท่ี 4 คำถามข้อเสนอแนะลักษณะ 4.4.2 เก็บข้อมูลจากผู้ทำบัญชีกองทุนหมู่บ้าน
แบบสอบถามเป็นแบบปลายเปิด (Open ended questions) ดว้ ยตนเอง

4.3 ก าร ส ร้ างแ ล ะ ก ารห าคุ ณ ภ าพ เค รื่อ งมื อ 4.4.3 ตรวจแบบสอบถามที่ได้รับคืนมา ซ่ึงเป็น
แบบสอบถามปัจจัยท่ีส่งผลต่อประสิทธิภาพในการ ฉบับท่ีสมบูรณ์ นำมาบันทึกลงในแบบลงรหัส
จัดทำบัญชีกองทุนหมู่บ้านกรณีศึกษาในเขตตำบล (Coding From) แล้วน ำม าวิเคราะห์ ข้ อมู ล ด้วย
พานพร้าว อำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย ผู้ คอมพิวเตอร์ โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ
ศึกษาได้ดำเนินการสร้างและหาคุณ ภาพตาม
ข้ันตอน ดงั น้ี ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ ใช้แบบสอบถามเป็นเคร่ืองมือ
ในการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทาง
3.3.1 ศึกษาความหมาย ทฤษฎีและงานวิจัยที่ สถิติ ดงั นี้
เก่ียวข้องถึงปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการ
จัดทำบัญชีกองทุนหมู่บ้านเพ่ือนำมาเป็นแนวทางใน 4.5.1 วิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
การคัดเลือกตัวแปร และสร้างแบบสอบถามปัจจัยท่ี โดยหาค่าความถี่ (Frequency) และค่าร้อยละ (Percentage)
ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการจัดทำบัญชีกองทุน แล้วนำเสนอในรูปแบบตารางประกอบคำบรรยาย
หมู่บ้านกรณีศึกษาในเขตตำบลพานพร้าว อำเภอศรี
เชยี งใหม่ จงั หวดั หนองคาย 4.5.2 วิเคราะห์ปัจจัยท่ีส่งผลต่อประสิทธิภาพในการจัดทำ
บัญชีกองทุนหมู่บ้าน ในเขตตำบลพานพร้าว อำเภอศรี
3.3 .2 ก ำห น ด ข อ บ เข ต ด้ าน เนื้ อ ห าข อ ง เชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย โดยใช้สถิติพื้นฐาน คำนวณหา
แ บ บ ส อ บ ถ า ม ใ ห้ ค ร อ บ ค ลุ ม ปั จ จั ย ที่ ส่ ง ผ ล ต่ อ ค่าเฉล่ีย (ArithmeticMean) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard
ประสิทธิภาพในการจัดทำบัญชีกองทุนหมู่บ้าน Deviation)
กรณี ศึกษาในเขตตำบลพานพร้าว อำเภอศรี 4.6 สถติ ิท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
เชยี งใหม่ จังหวัดหนองคาย
4.6.1 สถิติพ้ืนฐาน ได้แก่
3.3.3 สร้างข้อคำถามในแบบสอบถามแต่ละดา้ น 4.6.1.1 ร้อยละ (Percentage) ใช้ในการอธิบายข้อมูล
ให้ครอบคลุมปัจจัยท่ีส่งผลต่อประสิทธิภาพในการ
จัดทำบัญชีกองทุนหมู่บ้านกรณีศึกษาในเขตตำบล เกย่ี วกับข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม
พานพรา้ ว อำเภอศรีเชียงใหม่ จงั หวัดหนองคายและ 3.6.1.2 ค่าเฉลี่ย (Mean) ใช้ในการอธิบายการศึกษา
เสนอให้ผู้เช่ียวชาญจำนวน 3 ท่าน เพื่อพิจารณา
ตรวจสอบความเท่ียงตรงเชิงเนื้อหาความเหมาะสม สมรรถนะทางการบัญชีสมัยใหม่ท่ีมีผลต่อความสำเร็จใน
ของขอ้ ความเนอ้ื ภาษา และสำนวนทีใ่ ช้ การทำงานของผู้ปฏิบัติงานทางด้านการเงินและบัญชี
4.4 การเก็บรวบรวมข้อมูล สังกัดองค์การปกครองส่วนท้องถ่ิน ในอำเภอเมือง
หนองคาย จังหวัดหนองคาย โดยแบ่งออกเป็น5 ระดับ คือ
ในการดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้ศึกษาได้ ระดับมากท่ีสุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยท่ีสุด
ดำเนินการรวบรวมข้อมูลตามข้ันตอน ดังนี้
3.6.1.3 ส่ ว น เบี่ ย งเบ น ม าต รฐ าน (Standard
4.4.1 ทำหนังสือขออนุญาตเก็บรวบรวมข้อมูล Deviation) ใช้ในการอธิบายค่าความแปรปรวนของ
จากสำนกั งานพฒั นาชมุ ชนจังหวดั หนองคาย ขอ้ มูลท่ีไดร้ บั จากแบบสสอบถาม

NCTechED C07-2022


การประชุมวิชาการนาํ เสนอผลงานนักศึกษา
NCTechED-Student Workshop 2022 347

June 10,2022

5. สรปุ ผล บั ญ ชี ไ ด้ อ ย่ า ง ถู ก ต้ อ ง ต ร ง ต า ม เอ ก ส า ร ห ลั ก ฐ า น
5.2.1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบ ประกอบรายการ อยู่ในระดับมาก (μ=4.48, σ=0.69)
แบบสอบถาม พบว่า ท่านสามารถบันทึกรายการค้าท่ีเกิดขึ้นท้ังหมดของ
กองทุนหมู่บ้านได้ครบถ้วน อยู่ในระดับมาก
ผู้ ต อ บ แ บ บ ส อ บ ถ า ม ส่ ว น ให ญ่ เป็ น เพ ศ ห ญิ ง (μ=4.37, σ=0.70) และท่าน สามารถจัดทำและ
จำนวน 47 คน ( x̅ = 83.9) มีอายุ 31 – 40 ปี จำนวน นำเสนองบการเงินได้อย่างถูกต้องและมีความ
23 คน (x̅ = 41.1) มีการศึกษาระดับปริญญาตรี น่าเชื่อถือได้ อยใู่ นระดบั มาก (μ=4.25, σ=0.75)
จำนวน 22 คน (x̅ = 39.3) 5.2.4 ผลการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์
5.2.2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลความคิดเห็นเก่ียวกับ แบบเพียร์สัน ระหว่างปัจจัยการจัดทำบัญชีกองทุน
ปัจจัยที่ส่งผลต่อ กรณีศึกษากองทุนหมู่บ้านในเขต หมู่บ้าน ท้ัง 5 ด้านกับประสิทธิภาพในการจัดทำ
ตำบลพ านพ ร้าว อำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัด บัญชี พบว่า ปัจจัยการจัดทำบัญชีกองทุนหมู่บ้าน มี
หนองคาย พบว่า ความสัมพันธ์กับประสิทธิภาพในการจัดทำบัญชี
อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 โดยมี
5.2.2.1 ปัจจัยการจัดทำบัญชีกองทุนหมู่บ้าน ความสมั พันธอ์ ย่ใู นระดับสูงมากทส่ี ุด คือ ดา้ นความ
โดยภาพรวมท้งั 5 ด้านโดยรวมอยใู่ นระดับมากทส่ี ุด เข้าใจในขั้นตอนการจัดทำบัญชี (r=0.42**)
เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านจากมากไปหาน้อย พบว่า และมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยมี
จรรยาบรรณในการปฏิบัติงานอยู่ในระดับมากท่ีสุด ความสัมพันธ์อยู่ในระดับสูงมากที่สุด คือ ด้าน
(μ=4.60, σ=0.43) ด้านการฝึกอบรมเกี่ยวกับการจัดทำ ประสบการณ์ในการจดั ทำบัญชี (r=0.28*)
บัญชี อยู่ในระดับมากที่สุด (μ=4.54, σ=0.37) ด้าน 5.2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยการจัดทำบัญชี
ความรู้ความสามารถทางบัญชีอยู่ในระดับมากท่ีสุด กองทุนหมู่บ้าน ในเขตตำบลพานพร้าว อำเภอศรี
(μ=4.51, σ=0.42) เชยี งใหม่ จังหวดั หนองคาย
5.2.3 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลความคิดเห็นเก่ียวกับ
ปัจจัยท่ีส่งผลต่อประสิทธิภาพในการจัดทำบัญชี ตารางท่ี 4.4 คา่ เฉลี่ยและส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน
กองทุนหมู่บ้าน กรณีศึกษากองทุนหมู่บ้านในเขต ของระดับความคดิ เหน็ ดา้ นปัจจยั การจัดทำบัญชี
ตำบลพานพร้าว อำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัด กองทุนหมูบ่ ้าน โดยภาพรวม
หนองคาย พบว่า

5.2.3.1 ประสิทธิภาพในการจัดทำบัญชีกองทุน
หมู่บ้าน โดยภาพรวม โดยรวมอยู่ในระดับมากเม่ือ
พิจารณาเป็นรายด้านจากมากไปหาน้อย ท่าน
สามารถปฏิบัติงานทางบัญชีตามคู่มือบัญชีสำหรับ
กองทุนหมู่บ้านอย่างถูกต้องและเสร็จทันเวลาท่ี
กำหนดอยู่ในระดับมากที่สุด (μ=4.54, σ=0.74)
ท่านสามารถปฏิบัติงานทางบัญชีให้ได้งบการเงินท่ี
สอดคล้องกับข้อเท็จจริงของกองทุนหมู่บ้านอยู่ใน
ระดับมาก (μ=4.50, σ=0.66) ท่านสามารถบันทึก

NCTechED C07-2022


การประชมุ วชิ าการนําเสนอผลงานนักศกึ ษา
348 NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

จากตารางระดับความคิดเห็นด้านปัจจัยการ บัญชีให้กบั ผู้บริหารและผู้ที่เกี่ยวข้อง ซ่ึงจะกล่าวได้
จัดทำบัญชีกองทุนหมู่บ้านทั้ง 5 ด้าน โดยรวมอยู่ใน ว่าคุณภาพของผู้ทำบัญชสี ่งผลต่อคณุ ภาพของข้อมูล
ระดบั มากท่ีสุด (μ=4.50, σ=0.24) เม่ือพิจารณาเป็นราย ทางด้านบัญชีดังน้ันผู้ทำบัญชีจึงต้องมีความรู้ และ
ด้านจากมากไปหาน้อย พบว่าด้านจรรยาบรรณในการ ประสบการณ์ในการจัดทำบัญชี และสามารถ
ปฏบิ ัติงานอยู่ในระดบั มากทีส่ ดุ (μ=4.60, σ=0.43) ดา้ น นำเสนองบการเงินได้อย่างถูกต้องได้รับความ
การฝึกอบรมเก่ียวกับการจัดทำบัญชีอยู่ในระดับมาก เชื่อถือและความไว้วางใจจากบุคคลที่เกี่ยวข้องใน
ท่ีสุด (μ=4.54, σ=0.37) ด้านความรู้ความสามารถทาง องคก์ ร
บัญชี อยู่ในระดับมากที่สุด (μ=4.51, σ=0.42) ด้าน
ความเข้าใจในขั้นตอนการจัดทำบัญชี อยู่ในระดับมาก กติ ตกิ รรมประกาศ
ท่ีสุด (μ=4.45, σ=0.46) และด้านประสบการณ์ในการ การศึกษาโครงการฉบับน้ีสำเร็จลุล่วงไปด้วย
จัดทำบญั ชี อยใู่ นระดบั มาก (μ=4.41, σ=0.46)
ความกรุณา และความช่วยเหลือเป็นอย่างยิ่งจาก
6. อภิปรายผล อาจารย์เพทาย เพียรทอง อาจารย์ธราวรินทร์ เทือก
จากผลการศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพ ประเสริฐ และอาจารย์ปภาภัทร แสงแก้ว อาจารย์ท่ี
ปรึกษาโครงการ ขอขอบคณุ อยา่ งสูงยง่ิ
ในการจัดทำบัญชีกองทุนหมู่บ้าน กรณีศึกษา
กองทุนหมู่บ้านในเขตตำบลพานพร้าว อำเภอศรี ขอขอบคุณผู้เชี่ยวชาญทุกท่าน ท่ีให้ความ
เชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย เป็นรายด้านสามารถ อนุเคราะห์เป็นผู้เช่ียวชาญในการตรวจสอบและ
อภปิ รายผลได้ ดงั นี้ แก้ไขเครื่องมือท่ีใช้ในการศึกษา รวมท้ังผู้ใหญ่บ้าน
และคณะกรรมการหมู่บ้านที่ได้ให้ความอนุเคราะห์
ปัจจัยการจัดทำบัญชีกองทุนหมู่บ้านโดยรวม ในการเก็บข้อมูลทำการศึกษาในคร้ังน้ีจนสำเร็จ
และเป็นรายด้าน ผลปรากฏว่าด้านจรรยาบรรณใน ลลุ ว่ งดว้ ยดี
การปฏิบัติงานอยู่ในระดับมากท่ีสุด ด้านการ
ฝึกอบรมเก่ียวกับการจัดทำบัญชีอยู่ในระดับมาก ขอขอบคุณ คณะผู้บริหารวิทยาลัยอาชีวศึกษา
ท่สี ุด ดา้ นความรคู้ วามสามารถทางบัญชอี ยู่ในระดับ หนองคาย ที่อนุเคราะห์วัสดุและอุปกรณ์ ในการจัด
มากที่สุด ด้านความเขา้ ใจในขั้นตอนการจดั ทำบัญชี การศึกษาในครัง้ น้ีจนสำเรจ็ ลุลว่ งดว้ ยดี
อยู่ในระดับมาก และด้านประสบการณ์ในการจัดทำ
บัญชีอยู่ในระดับมาก เน่ืองจากผู้จัดทำบัญชี มี ขอขอบพระคุณบิดา มารดา ผู้ให้ชีวิตและเป็น
ความรู้ ความเข้าใจในพ้ืนฐานเกี่ยวกับ สาระสำคญั ท่ี กำลังใจให้ผู้ศึกษาตลอดมา ขอขอบคุณพี่และเพื่อน
เกี่ยวข้องกับวิชาชีพบัญชี ทำให้มีความเช่ียวชาญ ๆ ซ่ึงเปน็ ผูส้ นับสนนุ โครงการน้ีด้วยดี คุณงามความ
ทางด้านปัจจัยการจัดทำบัญชีกองทุนหมู่บ้าน อัน ดีอันพึงมาจากโครงการฉบับน้ีผู้ศึกษาขอมอบแด่
สง่ ผลให้เกิดประสทิ ธภิ าพในการจดั ทำบญั ชีกองทุน บิดา มารดา อันเป็นท่ีเคารพย่ิงและคณะอาจารย์ผู้
หมู่บ้าน ซ่ึงสอดคล้องกับงานวิจัย จิรานุช ยวงทอง ประสานวิชาความรู้ ตลอดจนทุก ๆ ท่านท่ีให้การ
(2556) [3] ได้กล่าวไว้ว่าผู้ทำบัญชีเป็นผู้ที่มีบทบาท สนับสนุนจนกระท่ังโครงการฉบับนี้สำเร็จลุลว่ งไป
สำคัญ ในการจัดทำและนำเสนอข้อมูลทางการ ดว้ ยดี

NCTechED C07-2022


การประชมุ วิชาการนําเสนอผลงานนกั ศกึ ษา
NCTechED-Student Workshop 2022 349

June 10,2022

เอกสารอา้ งองิ
[1] National Village and Urban Community Fund Office.

(2017).NationalVillageandUrbanCommunityFundAct
2004.Retrieved February 26, 2019, from
www.villagefund.or.th(InThai)
[2] Phobutdee,S.(2012).ProblemsofFundManagementin
Ban Prang Village, Hindat Subdistrict, Huai Thalaeng
district,NakhonRatchasimaProvince.IndependentStudy,
Master of Public Administration degree in Public
Administration Program, Rajabhat University, Buriram.
(InThai)
[3] จิรานุช ยวงทอง (2556) ได้กล่าวไว้ว่า
ผู้ทำบัญชีเป็นผู้ที่มีบทบาทสำคัญในการ
จัดทำ และนำเสนอข้อมูลทางการบัญชี
ให้กับผู้บริหารและผู้ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งจะ
กล่าวได้ว่าคุณภาพของผู้ทำบัญชีส่งผล
ต่ อ คุ ณ ภ า พ ข อ งข้ อ มู ล ท า ง ด้ า น บั ญ ชี
ดั ง นั้ น ผู้ ท ำ บั ญ ชี จึ ง ต้ อ ง มี ค ว า ม รู้ แ ล ะ
ประสบการณ์ในการจัดทำบัญชี

NCTechED C07-2022


การประชุมวชิ าการนําเสนอผลงานนกั ศึกษา
350 NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

สมรรถนะของนักบญั ชีในยุคดิจติ อลเพื่อพฒั นาคณุ ภาพการปฏิบัตงิ านในองค์กรธุรกจิ

นิลนา หงษฟ์ ้อน1*, รุ่งนภา บรุ ี2 และ สุภาพร สุขศรี3
บทคดั ย่อ

การศึกษาเรื่อง สมรรถนะของนกั บญั ชีในยุคดิจิตอลเพื่อพฒั นาคุณภาพการปฏิบตั ิงานในองค์กรธุรกิจ
มีวตั ถุประสงค์ของโครงการ เพ่ือศึกษาสมรรถนะของนกั บญั ชีในยุคดิจิตอลเพื่อพฒั นาคุณภาพการปฏิบตั ิงานใน
องค์กรธุรกิจ ประชากรที่ใชใ้ นการศึกษาคร้ังน้ี คือ พนักงานบญั ชีของธุรกิจนิติบุคคลที่จดั ต้งั ข้ึนใหม่ ในเขตพ้ืนที่
จงั หวดั หนองคาย จานวน 72 แห่ง และใชแ้ บบสอบถามเป็นเครื่องมือสถิติที่ใชใ้ นการวิเคราะห์ขอ้ มูล ไดแ้ ก่ ค่าร้อย
ละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)

ผลการศึกษา พบว่า ความคิดเห็นเกี่ยวกบั สมรรถนะของนกั บญั ชีในยุคดิจิทลั โดยภาพรวม อยใู่ นระดบั
มาก (x̅=3.62, S.D.=0.73) เม่ือพิจารณาเป็นรายดา้ น พบวา่ ดา้ นจรรยาบรรณและทศั นคติ (x̅=3.71, S.D.=0.69) ดา้ น
ทกั ษะการคน้ หาขอ้ มูลเกี่ยวกบั ธุรกิจเน้ือหาบญั ชี (x̅=3.70, S.D.=0.76) และดา้ นการเขา้ ใจเครื่องมือดิจิทลั ในการรักษา
ความปลอดภยั ขอ้ มูลทางบญั ชี (x̅=3.68, S.D.=0.69)
คาสาคัญ : ยคุ ดิจิตอล

1,2,3 สาขาวิชาการบญั ชี วิทยาลยั อาชีวศึกษาหนองคาย สถาบนั การอาชีวศกึ ษาภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ 1
*นิลนา หงษฟ์ ้อนโทร +6973265539 อเี มล; [email protected]

NCTechEd C08-2022


การประชุมวิชาการนาํ เสนอผลงานนักศกึ ษา
NCTechED-Student Workshop 2022 351

June 10,2022

COMPETENCY OF ACCOUNTANTS IN THE DIGITAL ERA TO IMPROVE THE
QUALITY IN BUSINESS ORGANIZATIONS

Ninlana Hongfon1*, Rungnapa Buree2 And Supaporn Suksri3
ABSTRACT

The purpose of this study was to study the competency of Accountants in the digital Era in order to
improve the working quality in Business Organizations. The populations were accountants of 72 newly established
juristic businesses in Nong Khai. The tool was a questionnaire and the statistics were using are Percentage, Mean
and Standard Deviation.

Overall, the study indicated that the opinions about the competence of accountants in the digital age were
at a high level (x̅=3.62, S.D.=0.73). When considered on a case-by-case basis, it was found that ethics and attitudes
(x̅=3.71, S.D.=0.69), business discovery skills about accounting content (x̅=3.70, S.D.=0.76), and understanding
of digital tools for securing accounting information (x̅=3.68, S.D.=0.69).
Keyword : Digital Era

1,2,3 Accounting Nongkhai Vocational College Nongkhai Province 43000
Institute of Vocational Education : Northeastern region 1
* Ninlana Hongfon Tel. +6973265539 E-Mail ; [email protected]

NCTechEd C08-2022


การประชุมวิชาการนาํ เสนอผลงานนักศึกษา นั ก บั ญ ชี น า น า ช า ติ ( International Federation of
352 NCTechED-Student Workshop 2022 Accountants: IFAC) ซ่ึงเป็นองคก์ รพฒั นาวิชาชีพบญั ชีมี
การดาเนินงานในรูปของ คณะกรรมการต่าง ๆ ประเทศ
June 10,2022 ไทยเป็นประเทศหน่ึงท่ีเป็นสมาชิกของสหพนั ธ์นกั บญั ชี
ระหว่างประเทศ ท้งั น้ีมีวตั ถุประสงค์ที่จะมีส่วนร่วมใน
1. บทนา การกาหนดมาตรฐานวิชาชีพ และแลกเปลี่ยนความ
ในปัจจุบนั ธุรกิจทว่ั โลกไดก้ า้ วเขา้ สู่ยุค “ดิจิทลั ” คิดเห็นเพ่ือประโยชน์ในการพฒั นามาตรฐานวิชาชีพ
บัญชีของประเทศไทยต่อไป สหพนั ธ์นักบญั ชีระหว่าง
เป็นยุคธุรกิจที่ขบั เคลื่อนดว้ ยนวตั กรรม และเทคโนโลยี ประเทศ ไดก้ าหนดมาตรฐานการศึกษาระหว่างประเทศ
ไดเ้ ขา้ มามีอทิ ธิพลต่อประชากรและสังคม มีทศั นคติดา้ น สาหรับผปู้ ระกอบวิชาชีพบญั ชี (International Education
การใช้ชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไป ในทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็ น Standard: IES) เพ่ือเป็นการเสริมสมรรถนะของนกั บญั ชี
ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านวัฒนธรรม ด้านการ และกาหนดความรู้ความสามารถเชิงเทคนิค [1]
ปกครอง ดา้ นการศึกษา ดา้ นส่ิงแวดลอ้ ม และดา้ นการคา้
ธุรกิจต่าง ๆ ทาให้ทุกอาชีพลว้ นตอ้ งปรับตวั ให้ทนั สมยั ดังน้ัน ผูว้ ิจัยจึงสนใจศึกษาสมรรถนะของนัก
ทุกธุรกิจจะต้องแข่งขันกันด้วยความรู้ ความคิด บญั ชีในยุคดิจิตอลเพื่อพฒั นาคุณภาพการปฏิบตั ิงานใน
สร้างสรรค์ และใชน้ วตั กรรมใหม่ๆ ในการติดต่อส่ือสาร องคก์ รธุรกิจ เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบตั ิงาน ลดปัจจยั
การค้นหาข้อมูลมาวิเคราะห์ ให้กา้ วทนั เหตุการณ์ ทุก เส่ียง และสามารถนาไปปฏิบตั ิให้เกิดประโยชนส์ ูงสุดแก่
อยา่ งตอ้ งรวดเร็ว และแม่นยามากข้นึ ผูป้ ระกอบการตอ้ ง องคก์ รธุรกิจ
มีความเช่ียวชาญดา้ นการพฒั นากลยทุ ธด์ ิจิทลั นามาสู่การ
ใช้ข้อมูลสารสนเทศเพ่ือ การตดั สินใจได้อย่างถูกตอ้ ง 2. วัตถปุ ระสงค์ของการวจิ ัย
และสร้ างความ ได้เป รี ยบท าง ธุ ร กิ จต้ ัง แต่ อดี ตจ น ถึ ง 2.1 เพือ่ ศึกษาสมรรถนะของนกั บญั ชีในยคุ
ปัจจบุ นั หนา้ ท่ีของนกั บญั ชีบริหาร คอื จดั เตรียม วเิ คราะห์
และนาเสนอขอ้ มูลเพ่ือใชใ้ นการตดั สินใจของผบู้ ริหาร ดิจิตอลเพอ่ื พฒั นาคณุ ภาพการปฏบิ ตั ิงานในองคก์ รธุรกิจ
หากไดล้ องพิจารณาดูแลว้ เรามกั พบว่าเราใช้เวลาส่วน
ใหญ่ไปกบั การจดั เตรียมขอ้ มูล และรายงานต่าง ๆ และ 3. กรอบแนวคิดของการวิจัย
เน้นการวิเคราะห์ผลการดาเนินงานในอดีต (Backward-
Looking) แต่สาหรับการเป็ นคู่คิดธุรกิจในยุคดิจิทลั น้ัน ตวั แปรตน้ ตวั แปรตาม
บทบาทของนกั บญั ชีจะเริ่มตน้ หลงั จากท่ีรายงานและการ
วิเคราะหแ์ บบมาตรฐานไดถ้ ูกสร้างออกมาแลว้ โดยระบบ สมรรถนะของนกั บญั ชี สมรรถนะของนกั
อัตโนมัติ และจะเน้นการวิเคราะห์และหา Business 1.ดา้ นความสามารถในการใชโ้ ปรแกรมบญั ชี บญั ชีในยคุ ดิจติ อล
Insight แบบมองไปขา้ งหนา้ (Forward-Looking) รวมท้งั และโปรแกรมทางธุรกิจ เพอ่ื พฒั นาคณุ ภาพ
ต้งั คาถามและวิเคราะห์ดว้ ยวิธีการท่ีหลากหลายเพื่อให้ 2.ดา้ นทกั ษะการคน้ หาขอ้ มูลเก่ียวกบั ธุรกิจ การปฏิบตั งิ านใน
ไดม้ ุมมองท่ีแตกต่าง โดยนกั บญั ชีจะตอ้ งทางานควบคไู่ ป เน้ือหาบญั ชี
กับ Business Function อ่ื น ๆ เ พ่ือ ต อ บ โ จ ท ย์แ ละ 3.ดา้ นทกั ษะในการสื่อสารเกี่ยวกบั ขอ้ มูล องคก์ รธุรกิจ
ขบั เคล่ือนธุรกิจใหม้ ีผลการดาเนินงานท่ีดีข้นึ การเงินและบญั ชี
4.ดา้ นความคิดสร้างสรรคน์ วตั กรรมใหม่
นักบัญชีมืออาชีพตอ้ งมีคุณค่า มีทศั นคติที่ดีต่อ ทางการจดั ทาบญั ชี
วิชาชีพอันอยู่บนพ้ืนฐานของจริยธรรม และสามารถ 5. ดา้ นการเขา้ ใจเคร่อื งมอื ดจิ ติ อลในการ
พฒั นาตนเองเป็นนกั บญั ชีมืออาชีพไดใ้ นอนาคต ใน IES
ฉบับที่ 2 โดยบัญชีบัณฑิตท่ีได้เรียนรู้ตามมาตรฐาน รกั ษาความปลอดภยั ขอ้ มลู ทางบญั ชี
การศึกษาระหว่างประเทศ ฉบับท่ี 2 (IES 2) เป็ นการ 6.ดา้ นทกั ษะความรูเ้ ก่ยี วกบั วชิ าชีพบญั ชี
เสริ มสมรรถนะของนักบัญชี และกาหนดความรู้ 7. ดา้ นจรรยาบรรณและทศั นคติ
ความสามารถเชิงเทคนิค ไดอ้ าศยั แนวคิดของ สหพนั ธ์ 8. ดา้ นทกั ษะความสามารถในการทางานจรงิ
9. ดา้ นคณุ ภาพการปฏบิ ตั ใิ นองคก์ รธุรกจิ
NCTechEd C08-2022


4. วิธีดาเนินการศึกษา การประชมุ วิชาการนําเสนอผลงานนกั ศกึ ษา
4.1 ประชากร (population) ท่ีใชใ้ นการศึกษาคร้ัง NCTechED-Student Workshop 2022 353

น้ี ได้แก่ พนักงานบญั ชีของธุรกิจนิติบุคคลที่จัดต้งั ข้ึน June 10,2022
ใหม่ ในเขตพ้ืนที่จังหวดั หนองคาย จานวน 232 แห่ง
(ขอ้ มูลการจดทะเบียนนิติบุคคล ณ วนั ท่ี 31 ธันวาคม 4.4 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
2563) [2] การศึกษาเรื่ องสมรรถนะของนักบัญชีในยุค

4.2 ก ลุ่ ม ตัว อ ย่ า ง ( Sample group) ที่ ใ ช้ ใ น ดิจิตอลเพือ่ พฒั นาคณุ ภาพการปฏิบตั ิงานในองคก์ รธุรกิจ
การศึกษาคร้ังน้ี ไดแ้ ก่ พนกั งานบญั ชีของธุรกิจนิติบคุ คล คร้ังน้ีผูว้ ิจยั ไดร้ วบรวมขอ้ มูลจากกลุ่มตวั อย่างดงั กล่าว
ที่จดั ต้งั ข้นึ ใหม่ ในเขตพ้ืนที่จงั หวดั หนองคาย ต้งั แต่เดือน ข้า ง ต้น เ พ่ื อ ใ ห้ ได้รั บ ค ว า มร่ ว มมื อ ใ น การ ต อ บ
มกราคม - มีนาคม 2563 จานวน 72 แห่ง ท้งั หมด 72 คน แบบสอบถามและได้ข้อมูลตามความเป็ นจริงผูว้ ิจัย
เ ลื อ ก ป ร ะ ช า ก ร แ ล ะ ก ลุ่ ม ตัว อ ย่ า ง โ ด ย ใ ช้ วิ ธี เ จ า ะ จ ง ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลตามข้นั ตอนดังต่อไปน้ี
(Purposive Sampling) [3]
1. ผูว้ ิจัยทาหนังสือถึงผูต้ อบแบบสอบถามเพ่ือ
4.3 เครื่องมือท่ีใชใ้ นการศึกษา อธิบายจดุ มุ่งหมายและความสาคญั ของการวิจยั
เคร่ืองมือที่ใชใ้ นการศึกษาคร้ังน้ี แบบสอบถาม
2. รวบรวมแบบสอบถาม และสรุ ปจานวน
ไดด้ าเนินการสร้างแบบสอบถาม แบ่งออกเป็ น 3 ตอน แบบสอบถามที่ไดร้ ับคนื
ตามรายละเอียดดงั น้ี
3. ตรวจความสมบูรณ์ และความถูกต้องของ
ส่วนที่ 1 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกบั ขอ้ มูลทั่วไป แบบสอบถามแต่ละชุด
ของผตู้ อบแบบสอบถาม จานวน 4 ขอ้ คาถาม ลกั ษณะขอ้
คาถามเป็ นแบบตรวจสอบรายการ (Check list) ได้แก่ 4.5 การวเิ คราะห์ขอ้ มลู
เพศ อายุ ระดบั การศึกษา ประสบการณ์ทางาน ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ข้ อ มู ล ท่ี ร ว บ ร ว ม ไ ด้ จ า ก

ส่วนที่ 2 เป็นแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกบั แบบสอบถามดว้ ยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สาเร็จรูปทาง
สมรรถนะของนกั บญั ชีในยุคดิจิตอล ประกอบดว้ ย ดา้ น สถิติ โดยแบง่ ไดด้ งั น้ี
ความสามารถในการใช้โปรแกรมบญั ชีและโปรแกรม
ทางธุรกิจ จานวน 4 ข้อ ด้านทักษะการค้นหาข้อมูล ตอนที่ 1 การวิเคราะห์ข้อมูลท่ัวไปของผูต้ อบ
เก่ียวกับธุรกิจเน้ือหาบญั ชี จานวน 4 ข้อ ดา้ นทักษะใน แบบสอบถาม โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive
การส่ือสารเก่ียวกบั ขอ้ มูลการเงินและบญั ชี จานวน 4 ขอ้ Statistics) ไดแ้ ก่ ร้อยละ (Percentage)
ด้านความคิดสร้างสรรค์นวตั กรรมใหม่ทางการจัดทา
บญั ชี จานวน 4 ขอ้ ด้านการเข้าใจเครื่องมือดิจิตอลใน ตอนที่ 2 การวิเคราะห์เกี่ยวกับความคิดเห็น
การรักษาความปลอดภยั ขอ้ มูลทางบัญชี จานวน 4 ขอ้ เก่ียวกับสมรรถนะของนักบัญชีในยุคดิจิทัล โดยใช้
ดา้ นทกั ษะความรู้เกี่ยวกบั วชิ าชีพบญั ชี จานวน 4 ขอ้ ดา้ น วิธีการประมวลผลหลกั ทางสถิติเชิงพรรณนา นาขอ้ มลู ที่
จรรยาบรรณและทัศนคติ จานวน 4 ข้อ ด้านทักษะ รวบรวมได้มาวิเคราะห์หาค่าทางสถิติ ได้แก่ ค่าเฉล่ีย
ความสามารถในการทางานจริง จานวน 4 ข้อ ด้าน (Descriptive Statistics) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
คุณภาพการปฏิบตั ิในองคก์ รธุรกิจ จานวน 4 ขอ้ ลกั ษณะ (Standard Deviation)
คาถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) โดย ช่วงคะแนนของระดบั ความคิดเห็นแปลความหมายได้
วิธีการวดั ระดับความคิดเห็นตามวิธีของลิเคิร์ทสเกล ดงั น้ี
(Likert Scale) คา่ ความเฉลี่ยระหวา่ ง 4.51 – 5.00 หมายถึง มากท่ีสุด

NCTechEd C08-2022 คา่ ความเฉล่ียระหว่าง 3.51 – 4.50 หมายถึง มาก
ค่าความเฉลี่ยระหว่าง 2.51 – 3.50 หมายถึง ปานกลาง
คา่ ความเฉล่ียระหวา่ ง 1.51 – 2.50 หมายถึง นอ้ ย
ค่าความเฉล่ียระหว่าง 1.00 – 1.50 หมายถึง นอ้ ยท่ีสุด


การประชุมวชิ าการนําเสนอผลงานนักศึกษา การรักษาความปลอดภยั
354 NCTechED-Student Workshop 2022 ขอ้ มลู ทางบญั ชี
6. ดา้ นทกั ษะความรู้ 3.66 0.79 มาก
June 10,2022
เก่ียวกบั วชิ าชีพบญั ชี
4.6 สถิติท่ีใชใ้ นการวเิ คราะหข์ อ้ มลู
ส ถิ ติ ที่ ใ ช้ ใ น ก า ร วิ จัย ค ร้ั ง น้ี ผู้วิ จัย ไ ด้ใ ช้ 7. ดา้ นจรรยาบรรณและ 3.71 0.69 มาก

คอมพิวเตอร์วิเคราะห์ขอ้ มูลโดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป ทศั นคติ
สาหรับคา่ สถิติดงั น้ี
1. สถิติท่ีใชใ้ นการพฒั นาเคร่ืองมือ 8. ดา้ นทกั ษะ 3.56 0.71 มาก

- ความเท่ียงตรงตามเน้ือหา(Index of ความสามารถในการ
Concurrence : IOC) [4]
ทางานจริง
2. คา่ สถิติพ้ืนฐาน
- คา่ ร้อยละ (Percentage) 9. ดา้ นคณุ ภาพการ 3.61 0.66 มาก
- ค่าเฉล่ีย (Mean)
- ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ปฏิบตั ิงานในองคก์ ร

(Standard Deviation) ธุรกิจ

รวมค่าเฉล่ีย 3.62 0.73 มาก

5. สรุปผลการวิจยั

ตารางท่ี 5.1 ระดบั ความคิดเห็นเกี่ยวกบั สมรรถนะของ 5.1 ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับสมรรถนะ
นกั บญั ชี ในยคุ ดิจิทลั ของนักบญั ชีในยุคดิจิตอล ดา้ นความสามารถในการใช้
โปรแกรมบญั ชีและโปรแกรมทางธุรกิจ ดา้ นทกั ษะการ
ความคิดเห็นเกย่ี วกับ ̅ S.D. แปล คน้ หาขอ้ มูลเกี่ยวกบั ธุรกิจเน้ือหาบญั ชี ดา้ นทกั ษะในการ
สมรรถนะของนกั บญั ชี ผล ส่ือสารเก่ียวกับข้อมูลการเงินและบัญชี ด้านความคิด
สร้างสรรค์นวตั กรรมใหม่ทางการจดั ทาบญั ชี ดา้ นการ
ยคุ ดิจทิ ลั เขา้ ใจเครื่องมือดิจิตอลในการรักษาความปลอดภยั ข้อมลู
ทางบญั ชี ดา้ นทกั ษะความรู้เก่ียวกับวิชาชีพบญั ชี ดา้ น
1. ดา้ นความสามารถใน 3.61 0.71 มาก จรรยาบรรณและทัศนคติ ด้านทักษะความสามารถใน
การทางานจริง และดา้ นคณุ ภาพการปฏิบตั ิงานในองคก์ ร
การใชโ้ ปรแกรมบญั ชี ธุรกิจ โดยภาพรวม อยใู่ นระดบั มาก (x̅=3.62, S.D.=0.73)
เมื่อพิจารณาเป็ นรายด้าน พบว่า ดา้ นจรรยาบรรณและ
และโปรแกรมทางธุรกิจ ทศั นคติ (x̅=3.71, S.D.=0.69) ดา้ นทกั ษะการคน้ หาขอ้ มูล
เกี่ยวกบั ธุรกิจเน้ือหาบญั ชี (x̅=3.70, S.D.=0.76) ดา้ นการ
2. ดา้ นทกั ษะการคน้ หา 3.70 0.76 มาก เขา้ ใจเครื่องมือดิจิตอลในการรักษาความปลอดภยั ขอ้ มลู
ทางบญั ชี (x̅=3.68, S.D.=0.69) ดา้ นทกั ษะความรู้เกี่ยวกบั
ขอ้ มลู เกี่ยวกบั ธุรกิจ วิชาชีพบญั ชี (x̅=3.66, S.D.=0.79) ดา้ นความสามารถใน
การใชโ้ ปรแกรมบญั ชีและโปรแกรมทางธุรกิจ (x̅=3.61,
เน้ือหาบญั ชี S.D.=0.71) ด้านคุณภาพการปฏิบัติในองค์กรธุรกิจ
(x̅=3.61, S.D.=0.66) ดา้ นความคิดสร้างสรรคน์ วตั กรรม
3. ดา้ นทกั ษะในการ 3.52 0.82 มาก ใหม่ทางการจดั ทาบญั ชี (x̅=3.57, S.D.=0.72) ดา้ นทกั ษะ
ความสามารถในการทางานจริง (x̅=3.56, S.D.=0.71)
สื่อสารเกี่ยวกบั ขอ้ มลู

การเงินและบญั ชี

4. ดา้ นความคดิ 3.57 0.72 มาก

สร้างสรรคน์ วตั กรรม

ใหม่ทางการจดั ทาบญั ชี

5. ดา้ นการเขา้ ใจ 3.68 0.69 มาก

เคร่ืองมือดิจิทลั ใน

NCTechEd C08-2022


และดา้ นทกั ษะในการส่ือสารเกี่ยวกบั ขอ้ มูลการเงินและ การประชมุ วชิ าการนําเสนอผลงานนกั ศกึ ษา
บญั ชี (x̅=3.52, S.D.=0.82) NCTechED-Student Workshop 2022 355

6. อภปิ รายผล June 10,2022
จากการศึกษาสมรรถนะของนกั บญั ชีในยคุ ดิจิทลั
เคร่ืองมือดิจิทัลในการรักษาความปลอดภยั ข้อมูลทาง
เ พ่ื อ พ ัฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร ป ฏิ บัติ ง า น ใ น อ ง ค์ ก ร ธุ ร กิ จ บญั ชี คือ ตระหนักถึงการต้งั รหัสผ่านในการเก็บขอ้ มูล
สามารถอภิปรายรายผลไดด้ งั น้ี ความลับ และตระหนักถึงการเข้าถึงข้อมูลของแต่ละ
ระดบั ความสาคญั ของขอ้ มูล ดา้ นทกั ษะความรู้เก่ียวกบั
ความคิดเห็นเก่ียวกบั สมรรถนะของนักบญั ชีใน วิชาชีพบัญชี คือ ทักษะความรู้เก่ียวกับวิชาชีพบัญชี
ยคุ ดิจิทลั ดา้ นความสามารถในการใชโ้ ปรแกรมบญั ชีและ สามารถช่วยจัดทางบการเงินได้อย่างถูกต้อง และให้
โปรแกรมทางธุรกิจ ดา้ นทกั ษะการคน้ หาขอ้ มูลเก่ียวกบั ความสาคัญต่อการรู้จักบริ หารตนเอง เปลี่ยนแปลง
ธุรกิจเน้ือหาบัญชี ด้านทักษะในการสื่อสารเกี่ยวกับ ปรับตวั ให้เขา้ กบั สถานการณ์ เพ่ือเป็นนกั วิชาชีพบญั ชีที่
ข้อมูลการเงินและบัญชี ด้านความคิดสร้างสรรค์ ดี ด้านจรรยาบรรณและทศั นคติ คือ ในการปฏิบตั ิงาน
นวัตกรรมใหม่ทางการจัดทาบัญชี ด้านการเข้าใจ ตระหนักถึงจรรยาบรรณวิชาชีพบัญชีอย่างสม่าเสมอ
เคร่ืองมือดิจิทัลในการรักษาความปลอดภยั ข้อมูลทาง และจรรยาบรรณและทัศนคติสามารถช่วยยกระดับ
บัญชี ด้านทักษะความรู้เกี่ยวกับวิชาชีพบัญชี ด้าน วิชาชีพบญั ชีให้ดีย่ิงข้ึน ดา้ นทกั ษะความสามารถในการ
จรรยาบรรณและทศั นคติ ด้านทักษะความสามารถใน ทางานจริง คอื มุ่งเนน้ การทางานท่ีมีประสบการณ์ทางาน
การทางานจริง และดา้ นคุณภาพการปฏิบตั ิงานในองคก์ ร ก่อนการปฏิบตั ิงานจริง และประสบการณ์ทางานจริงจะ
ธุรกิจ โดยภาพรวม อยู่ในระดบั มาก ดา้ นความสามารถ ทาให้การจัดทางบการเงินได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว
ในการใช้โปรแกรมบญั ชีและโปรแกรมทางธุรกิจ คือ ทนั เวลา ดา้ นคุณภาพการปฏิบตั ิงานในองค์กร คือ การ
การให้ความสาคญั กบั การศึกษาคู่มือการใช้โปรแกรม ปฏิบตั ิงานมงุ่ เนน้ ผลลพั ธ์ที่ไดค้ มุ้ ค่ากบั ทรัพยากรที่ใชไ้ ป
บัญชีและโปรแกรมธุรกิจก่อนปฏิบัติงานจริ ง และ และให้ความสาคญั กบั การจัดทางบการเงินได้รวดเร็ว
ปฏิบตั ิงานใชโ้ ปรแกรมทางธุรกิจ เช่น โปรแกรมคานวณ ทนั เวลากาหนดส่งงบการเงิน สอดคลอ้ งกบั งานวิจยั ของ
เงินเดือน Word ,Excel ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ด้าน [5]ไดศ้ ึกษาสมรรถนะของนักวิชาชีพบญั ชีในยุคดิจิทลั
ทักษะการค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับธุรกิจเน้ือหาบัญชี คือ เพื่อพฒั นาคุณภาพสานักงานบญั ชี พบว่า ทกั ษะในการ
สามารถตดั สินใจไดเ้ มื่อวเิ คราะห์ขอ้ มูลบญั ชี และธุรกิจท่ี ส่ื อสารเกี่ยวกับข้อมูลการเงินและบัญชี ความคิด
น่าเชื่อถือบนโลกออนไลน์ และเขา้ ใจและรู้จกั กลยทุ ธ์ใน สร้างสรรค์นวตั กรรมใหม่ทางการบัญชี การเข้าใจใน
การคน้ หาที่หลากหลายบนโลกออนไลน์ ดา้ นทกั ษะใน เครื่ องมือดิจิทัล ทักษะความรู้เก่ียวกับวิชาชีพบัญชี
การสื่อสารเก่ียวกับข้อมูลการเงินและบัญชี คือให้ จรรยาบรรณ และประสบการณ์ในการทางานจริ ง
ความสาคญั กบั การส่งต่อขอ้ มูลในการติดต่อส่ือสารได้ มีความสัมพนั ธ์กับคุณภาพสานักงานบัญชีด้านความ
หลากหลายช่องทางบนโลกออนไลน์ และทักษะการ ถกู ตอ้ ง ความรวดเร็ว ความประหยดั การบรรลเุ ป้าหมาย
ส่ือสารเกี่ยวกบั ขอ้ มลู การเงินและบญั ชีสามารถช่วยจดั ทา และการปฏิบตั ิงานใหเ้ กิดผลสาเร็จ
งบการเงินได้อย่างถูกต้อง ด้านความคิดสร้างสรรค์
นวตั กรรมใหม่ทางการจดั ทาบญั ชี คอื ให้ความสาคญั กบั 7. ข้อเสนอแนะ
วิธีการสร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ทางการบัญชี และ ผจู้ ดั ทาบญั ชี ควรมีการพฒั นาสมรรถนะทางการ
ตระหนักถึงความละเอียดรอบคอบต่อการวิเคราะห์
นาไปสู่การพฒั นาปรับปรุงเชิงสร้างสรรค์ ดา้ นการเขา้ ใจ บญั ชีอย่างต่อเน่ืองทุก ๆ ด้าน เพื่อให้การปฏิบัติงานมี
ประสิทธิภาพสอดคลอ้ งกับสถานการณ์ในปัจจุบนั ที่มี
NCTechEd C08-2022 การเปล่ียนแปลงไปอยา่ งรอบดา้ น


การประชุมวชิ าการนาํ เสนอผลงานนักศึกษา
356 NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

เอกสารอ้างองิ
[1] สุทธิดา การด, (2562), “ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์

ของนกั วิชาชีพบญั ชีในยคุ ดิจิทลั ของสถาน
ประกอบการในจงั หวดั เลย, หลกั สูตรบญั ชี
มหาบณั ฑิต มหาวิทยาลยั ธุรกิจบณั ฑิตย.์
[2] กรมพฒั นาธุรกิจการคา้ กระทรวงพาณิชย,์ (2562),
“ ขอ้ มูลการจดทะเบียนนิตบิ คุ คล, “[ออนไลน]์
https://www.dbd.go.th/.
(เขา้ ถึงเมื่อ : 26 พฤศจิกายน 2563).
[3] ปรีดาภรณ์ กาญจนสาราญวงศ,์ (2553),
“ หลกั สถิติเบ้ืองตน้ , คณะวทิ ยาศาสตร์และ
ศิลปศาสตร์ : มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคล
อีสาน.
[4] บญุ ชม ศรีสะอาด, (2553), “ การวิจยั เบ้ืองตน้ ,
พิมพค์ ร้ังที่ 7, กรุงเทพมหานคร : สิวรี ะยาสาสน.์
[5] อริยา สรศกั ดา, (2562), “ สมรรถนะของนกั วิชาชีพ
บญั ชีในยคุ ดิจิทลั เพอื่ พฒั นาคณุ ภาพ
สานกั งานบญั ชี, หลกั สูตรบญั ชีมหาบณั ฑิต
มหาวิทยาลยั ธุรกิจบณั ฑิตย.์

NCTechEd C08-2022


การประชุมวชิ าการนาํ เสนอผลงานนักศึกษา
NCTechED-Student Workshop 2022 357

June 10,2022

การศึกษาความต้องการพฒั นาความรู้ทางบญั ชีของบุคลากรส่วนการคลงั สังกดั สํานักงาน
ส่งเสริมการปกครองท้องถน่ิ ในจังหวัดหนองคาย

ปทุมพร ถิ่นสาํ ราญ1* สุภสั ตรา ถ่ินปากมาง2 และอนญั ญา บวั ภา3 มนตรี สูทธิเมธากลุ 1 ประภาภทั ร แสงแกว้ 1
พรทิพย์ เทือกประเสริฐ1

บทคดั ย่อ
การศึกษาเร่ือง การศึกษาความตอ้ งการพฒั นาความรู้ทางบญั ชีของบคุ ลากรส่วนการคลงั สังกดั สาํ นกั งานส่งเสริม
การปกครองทอ้ งถิ่นในจงั หวดั หนองคาย มีวตั ถุประสงคข์ องโครงการ เพื่อศึกษาความตอ้ งการพฒั นาความรู้ทาง
บญั ชีของบุคลากรส่วนการคลงั สงั กดั สาํ นกั งานส่งเสริมการปกครองทอ้ งถ่ินในจงั หวดั หนองคาย ประชากรท่ีใชใ้ น
การศึกษาคร้ังน้ี คือ หวั หนา้ ส่วนการคลงั และเจา้ พนกั งานการเงินและบญั ชี สังกดั สํานกั งานส่งเสริมการปกครอง
ทอ้ งถิ่นในจงั หวดั หนองคาย แห่งละ 2 คน จาํ นวน 68 แห่ง รวมท้งั หมด 136 สามารถเก็บแบบสอบถามไดจ้ าํ นวน
114 ชุด จากจาํ นวนแบบสอบถาม 136 ชุด คิดเป็นร้อยละ 83.82 และใชแ้ บบสอบถามเป็นเคร่ืองมือสถิติที่ใชใ้ นการ
วเิ คราะห์ขอ้ มูล ไดแ้ ก่ ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉล่ีย (Mean) และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
ผลการศึกษา พบวา่ ระดบั ความคดิ เห็นเก่ียวกบั ความตอ้ งการในการพฒั นาความรู้ทางบญั ชีของบุคลากรส่วนการ
คลงั สังกดั สํานักงานส่งเสริมการปกครองส่วนทอ้ งถ่ินในจงั หวดั หนองคาย โดยภาพรวมอยู่ในระดบั มากทุกดา้ น
เมื่อพจิ ารณาเป็นรายดา้ น พบวา่ ความรู้ที่ตอ้ งการพฒั นาระบบ e-LAAS ความรู้ท่ีตอ้ งการพฒั นาในการจดั ทาํ รายงาน
ความรู้ที่ตอ้ งการพฒั นาในการจดั ทาํ ทะเบียน และความรู้ที่ตอ้ งการพฒั นาในการบนั ทึกบญั ชี และมีความตอ้ งการ
พฒั นาดา้ นอ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวขอ้ ง เช่น การใชโ้ ปรแกรมสาํ เร็จรูปทางการบญั ชี และสนใจพฒั นาความรู้ดว้ ยวิธีการประชุม
เชิงปฏิบตั ิการ เพือ่ เพิ่มประสิทธิภาพในการทาํ งาน
คาํ สําคัญ: ความตอ้ งการพฒั นาความรู้ทางบญั ชี สาํ นกั งานส่งเสริมการปกครอง

1สาขาวชิ าการบญั ชี วิทยาลยั อาชีวศกึ ษาหนองคาย สถาบนั การอาชีวศกึ ษาภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ 1
*ปทุมพร ถ่นิ สาํ ราญ ผูน้ ิพนธ์ประสานงาน โทร +982629714 อีเมล; [email protected]


การประชมุ วิชาการนําเสนอผลงานนักศึกษา
358 NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

A STUDY ON THE NEED FOR ACCOUNTING KNOWLEDGE DEVELOPMENT
OF PERSONNAL IN THE FISCAL DIVISION OF NONG KHAI PROVINCE’S OFFICE

OF LOCAL ADMINISTRATION

Pathumporn Thinsamran1* Supattra Thinpakmang2 and Ananya Buapha3
*1,2,3 Accounting Nongkhal Vocational College Institute of Vocational Education Northeastern Region 1

Abstract
The purpose of this study was to study the need for accounting knowledge development of personnel in the
Fiscal Division of Nong KhaiProvince's Office of Local Administration. The populations were Directors of Finance
and Finance and Accounting Officers from Nong Khai Province's Office of Local Administration, 2 people in 68
places, totaling 136, were able to collect 114 questionnaires out of 136 questionnaires, representing 83.82 percent.
The tool was a questionnaire and the statistics were using are Percentage, Mean and Standard Deviation.
The result of the study showed that the overall degree of opinion among the personnel of the Finance
Division of Nong Khai Province's Office of Local Administration about the need to develop accounting expertise
was at a high level in all categories. When each aspect was considered, it was discovered that the knowledge
required to develop the e-LAAS system, the knowledge required in the preparation of reports, the knowledge
required in the registration process, and the knowledge required in accounting records and want to develop other
related areas such as the use of accounting software packages and interest in developing knowledge through
a workshop to increase work efficiency.
Keywords: Need for Accounting Knowledge Development Office of Local Administration.

1*Pathumporn Thinsamran Accounting Nongkhal Vocational College Institute of Vocational Education Northeastern Region 1
2Supattra Thinpakmang Accounting Nongkhal Vocational College Institute of Vocational Education Northeastern Region 1
3Ananya Buapha Accounting Nongkhal Vocational College Institute of Vocational Education Northeastern Region 1
*Pathumporn Thinsamran, Tel: +982629714 e-Mail; [email protected]


1. บทนาํ การประชุมวิชาการนาํ เสนอผลงานนักศกึ ษา
การปกครองท้องถิ่นมีความสําคัญอย่างย่ิงต่อการ NCTechED-Student Workshop 2022 359
พฒั นาประเทศ เพราะเป็นพ้ืนฐานของการปกครองใน
ระบอบประชาธิปไตย ที่ใกล้ชิดประชาชนและเปิ ด June 10,2022
โอกาสให้ประชาชนเขา้ มามีส่วนร่วมในการปกครอง
มากท่ีสุด ประกอบกับพระราชบัญญตั ิกาํ หนดแผน เป็ นการจาํ ลองรูปแบบการปกครองประเทศมาใช้ใน
และข้นั ตอนการกระจายอาํ นาจใหแ้ ก่องคก์ รปกครอง ทอ้ งถิ่น ปั จ จุ บั น เ ท ศ บ า ล จั ด ต้ั ง ข้ึ น ต า ม
ส่วนท้องถ่ิน พ.ศ. 2542 กาํ หนดให้มีคณะกรรมการ พระราชบญั ญตั ิเทศบาล พ.ศ. 2496 ซ่ึงไดก้ าํ หนดให้
กระจายอาํ นาจ มีหนา้ ที่ระหว่างรัฐกบั องคก์ รปกครอง การจดั ต้งั การเปล่ียนช่ือการเปล่ียนแปลงเขต หรือการ
ส่วนทอ้ งถิ่น และระหวา่ งองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน เปลี่ยนแปลงฐานะของเทศบาล ใหก้ ระทาํ เป็นพระราช
ด้วยกันเอง โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินใด มี กฤษฎีกา เทศบาลมีฐานะเป็นนิติบุคคล แบง่ ออกเป็น 3
ความพร้อมในการรับถ่ายโอนอาํ นาจหนา้ ที่ในภารกิจ ร ะ ดั บ คื อ เ ท ศ บ า ล ตํ า บ ล เ ท ศ บ า ล เ มื อ ง
ก็ให้ดําเนินการถ่ายโอนภายใน 4 ปี สําหรับองค์กร และเทศบาลนคร อย่างไรก็ตามเทศบาลท้งั 3 ระดบั มี
ปกครองที่ไม่สามารถรับการถ่ายโอนอาํ นาจหน้าที่ก็ โครงสร้างเหมือนกนั คือ ประกอบดว้ ย สภาเทศบาล
ให้ดําเนินการถ่ายโอนภายใน 10 ปี รวมท้ังได้ (ซ่ึงสมาชิกมาจากการเลือกต้งั ของประชาชนในเขต
กําหนดการจัดสรรภาษีและอากร เงินอุดหนุนและ เทศบาลน้นั ) และคณะเทศมนตรี (นายกเทศมนตรีและ
รายได้อื่นให้แก่องค์กรปกครองท้องถ่ินมีรายได้ เ ท ศ ม น ต รี อี ก จํา น ว น ห น่ึ ง ) จ ะ แ ต ก ต่ า ง กัน
เพิ่มข้ึนคิดเป็นสัดส่วนต่อรายไดร้ ัฐบาลภายในปี 2549 กเ็ ฉพาะที่ต้งั หรือจาํ นวนประชากรเท่าน้นั
คิดเป็ นร้อยละ 35 และยงั กําหนดอาํ นาจหน้าที่ให้
องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่ นจัดระบบบริ การ นโยบายการกระจายอาํ นาจของรัฐบาล ซ่ึง
สาธารณะ เพ่ือประโยชน์ของประชาชนไวใ้ นมาตรา พฒั นาจากหลกั การท่ีใหป้ ระชาชนเขา้ มามีบทบาทและ
16 [1] มีส่วนร่วมในการปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน เพือ่ ตอบสนอง
ต่อการปกครองในระบอบประชาธิปไตย จึงไดม้ ีการ
ใ น ปั จ จุ บัน น้ี อ ง ค์ป ก ค ร อ ง ส่ ว น ท้อ ง ถ่ิ น ใ น ตราพระราชบัญญัติสภาตาํ บลและองค์การบริหาร
ประเทศไทยได้แบ่งออกเป็ น 4 รูปแบบด้วยกันคือ ส่วนตาํ บล พ.ศ. 2537 (ปัจจุบนั มีการแกไ้ ขฉบบั ท่ี 6
กรุงเทพมหานคร องคก์ ารบริหารส่วนจงั หวดั เทศบาล พ.ศ. 2552) จดั ต้งั องค์การบริหารส่วนตาํ บล (อบต.)
และองคก์ ารบริหารส่วนตาํ บล ซ่ึงแต่ละรูปแบบน้นั มี ข้ึนเพ่ือใหเ้ ป็นองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ินอีกรูปแบบ
ลกั ษณะโครงสร้างและการบริหารงานแตกต่างกัน หน่ึง โดยให้ประชาชนไดเ้ ขา้ มามีบทบาทและมีส่วน
ออกไป [2] เทศบาลเป็ นการปกครองทอ้ งถิ่นรูปหน่ึง ร่วมในการปกครองท้องถิ่นของตน องค์การบริหาร
ของไทย ตามหลกั การกระจายอาํ นาจ กล่าวคือ ราชการ ส่วนตาํ บลมีฐานะเป็ นนิติบุคคลมีความเป็ นอิสระใน
บริหารส่วนกลาง กระจายอาํ นาจไปให้ประชาชนใน การดาํ เนินงานภายในขอบเขตท่ีกฎหมายกาํ หนด มี
ทอ้ งถ่ินมีอิสระท่ีจะดาํ เนินการปกครองตนเองภายใน รายได้ มีทรัพย์สิน มีรู ปแบบการปกครอง แบ่ง
ขอบเขตที่กฎหมายกําหนด เป็ นการปูพ้ืนฐานการ ออกเป็ น 2 ส่วน คือ ฝ่ ายการเมือง และฝ่ ายประจาํ
ปกครองระบอบประชาธิปไตย ระบบรัฐสภา เพราะ รูปแบบองคก์ รประกอบดว้ ย สภาองคก์ ารบริหารส่วน
ตาํ บลและนายกองคก์ ารบริหารส่วนตาํ บล มีหนา้ ที่คือ
พฒั นาตาํ บลท้งั ในดา้ นเศรษฐกิจ สงั คมและวฒั นธรรม
การจัดระบบการบริการสาธารณะ เป็ นต้น ภายใน
องค์การบริหารส่วนตาํ บลถูกจัดแบ่งออกเป็ นอย่าง
นอ้ ย 3 ส่วนงาน ประกอบดว้ ย


การประชมุ วชิ าการนาํ เสนอผลงานนกั ศกึ ษา เก่ียวกับการเงินและงบประมาณ การจัดเก็บรายได้
360 NCTechED-Student Workshop 2022 จดั ทาํ บญั ชี จดั ทาํ งบการเงินและงานอ่ืนที่เก่ียวขอ้ ง ซ่ึง
ส่วนการคลงั ได้แบ่ง ส่วนราชการภายในออกเป็ น 4
June 10,2022 ด้าน คือ ด้านงานการเงิน ด้านงานบัญชี ด้านงาน
พัฒนา และจัดเก็บรายได้ และด้านงานทะเบียน
1) สํานักปลดั องค์การบริหารส่วนตาํ บล ทาํ ทรัพยส์ ินและพสั ดุ
หนา้ ที่บริหารงานทวั่ ไป งานธุรการ งานเจา้ หนา้ ที่ งาน
สวสั ดิการ งานประชาสัมพนั ธ์ เป็นตน้ พระราชบญั ญตั ิกาํ หนดแผนและข้นั ตอน การ
กระจายอาํ นาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
2) ส่วนการคลงั ทาํ หน้าที่เก่ียวกบั การเงิน การ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ.2549 กาํ หนด ให้ปี งบประมาณ 2550
เบิกจ่าย การฝากเงิน การเก็บรักษาเงินการตรวจเงิน รัฐตอ้ งจดั สรรรายไดใ้ ห้องคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น
เป็ นตน้ ในสัดส่วนต่อรายไดข้ องรัฐบาลไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 25
และมีจุดมุ่งหมายให้มีรายไดเ้ พิ่มข้ึนไม่น้อยกว่าร้อย
3) ส่วนโยธา ทําหน้าที่เก่ียวกับงานสํารวจ ละ 35 โดย สัดส่วนของรายไดข้ ององค์กรปกครอง
ออกแบบ เขียนแบบงานประมาณค่าใช้จ่าย งาน ส่วนท้องถิ่นต่อรายได้ของ รัฐบาลในปี งบประมาณ
ควบคมุ อาคาร งานซ่อมบาํ รุง เป็นตน้ 2555 - 2557 มีสัดส่วนเท่ากับร้อยละ 26.77 ร้อยละ
27.27 และร้อยละ 27.77 ตามลําดับ ถ้าศึกษา
ทรัพยากรบุคคลเป็นปัจจยั หน่ึงท่ีมีความสาํ คญั รายละเอียดของรายได้ท่ีเพ่ิมข้ึนขององค์กรปกครอง
ใ น ก า ร พัฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร ใ ห้บ ริ ก า ร ข อ ง อ งค์กา ร ส่วนทอ้ งถ่ิน พบว่าแนวทางดังกล่าวทาํ ให้ความเป็ น
บริหารส่วนตําบล การพฒั นาทรัพยากรบุคคลเป็ น อิสระทางการคลังขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
หัวใจสําคญั ต่อการเปลี่ยนแปลงท้งั ในระดบั องค์กร ลดลง เน่ืองจากสัดส่วนรายไดท้ ี่องค์กรปกครองส่วน
และระดบั ประเทศ บุคคลจาํ เป็นตอ้ งไดร้ ับการพฒั นา ทอ้ งถ่ินจดั เก็บเอง มีจาํ นวนน้อย เม่ือเปรียบเทียบกับ
ตลอดเวลา เพื่อให้มีสมรรถนะท่ีเหมาะสมสาํ หรับการ รายไดอ้ ื่น เช่น สัดส่วนรายไดท้ ่ีองคก์ รปกครองส่วน
ปฏิบตั ิงานในปัจจุบันและอนาคต การท่ีบุคลากรมี ท้อ ง ถ่ิ นจัด ห า เ อ ง ต่ อ สั ด ส่ ว นร า ย ไ ด้เ งิ น อุ ด ห นุ นใ น
ความคิดริเร่ิมและสร้างสรรคส์ ิ่งใหม่ ๆ จะทาํ ให้เกิด ปี งบประมาณ 2555-2557 เท่ากบั ร้อยละ 8.78 จากบท
การเปล่ียนแปลงขององคก์ รในทิศทางท่ีสอดคลอ้ งกบั สะท้อนมุมมองของผู้บริ หารเทศบาลต่อการคลัง
กระแสการเปลี่ยนแปลงของสังคมบุคลากรประจํา ทอ้ งถ่ินไทย พบวา่
องค์การบริหารส่วนตาํ บล ได้แก่ ผูป้ ฏิบัติหน้าที่ใน
สํานักงานปลดั องค์การบริหารส่วนตาํ บล ส่วนการ 1) ปัญหาเชิงนโยบายของรัฐ ได้แก่ รายได้
คลงั และส่วนโยธา โดยอาจมีส่วนงานเพิ่มข้ึนตาม ทอ้ งถิ่นไม่เพียงพอกบั การพฒั นาทอ้ งถิ่น การกาํ หนด
ขนาดขององค์การบริ หารส่วนตําบล เช่น ส่วน นโยบาย ของรัฐบาล ความสัมพนั ธ์ระหว่างองค์กร
การศึกษา ส่วนสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ส่วน ปกครองส่ วนท้องถ่ินกับหน่ วยงานส่ วนกลาง
สวสั ดิการสังคม เป็ นต้น โดยบุคลากรในแต่ละส่วน กฎหมาย ระเบียบ และหนังสือสั่งการเก่ียวกับ การ
งานมีความรู้ความสามารถและความรับผิดชอบที่ จัดทํา งบประมาณ การจัดซ้ือจัดจ้าง และการเบิก
แตกต่างกัน สําหรับการบริ หารงานขององค์การ จ่ายเงิน ไม่ชดั เจนไม่สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของ
บริหารส่วนตาํ บลและการให้บริการแก่ประชาชนน้ัน
นอกจากปัจจยั ทางดา้ นบุคลากรแลว้ ยงั ตอ้ งอาศยั ปัจจยั
ทางดา้ นการเงินและงบประมาณท่ีตอ้ งมีเพียงพอและ
ตอ้ งบริหารดว้ ยความโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้
ตามหลกั ธรรมาภิบาล ดงั น้นั บุคลากรส่วนการคลงั จึง
เป็ นบุคลากรสายสนับสนุนที่มีความสําคญั ทาํ หน้าที่


ท้อ ง ถ่ิ น แ ล ะ ก า ร ต ร ว จ ส อ บ อ ง ค์ ก ร ป ก ค ร อ ง ส่ ว น การประชมุ วิชาการนําเสนอผลงานนกั ศึกษา
ทอ้ งถ่ิน NCTechED-Student Workshop 2022 361

2) ปัญหาการปฏิบตั ิงานขององค์กรปกครอง June 10,2022
ส่วนทอ้ งถิ่น ไดแ้ ก่ กฎระเบียบและวิธีการ ปฏิบตั ิงาน
ขอ้ จาํ กดั ดา้ นบคุ ลากร และภาพลกั ษณ์ของทอ้ งถิ่น การ ส่งเสริมการปกครองทอ้ งถิ่นในจงั หวดั
ทจุ ริตของเจา้ หนา้ ท่ี หนองคาย

3) ปัญหาดา้ นการหลีกเลี่ยงภาษีของประชาชน 2. กรอบแนวคดิ ของการวจิ ัย ตวั แปรตาม
ไดแ้ ก่ ความพยายามของประชาชนบางกลุม่ ที่เลี่ยงภาษี ตวั แปรตน้
การใช้สายสัมพันธ์ ทางการเมืองท้องถ่ินเพ่ือขอ
ลดหย่อนภาษี และการตรวจสอบ จากภาคประชาชน 4. วิธีดาํ เนินการศึกษา
[3] การเปล่ียนแปลงบุคลากรในการปฏิบตั ิงาน กรณี 4.1 ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง (Population) ท่ี
รับใหม่ โยกยา้ ยผูจ้ ดั ทาํ บญั ชีอยู่บ่อยคร้ัง ส่งผลทาํ ให้
เกิดปัญหาการดาํ เนินงานไม่ตอ่ เน่ืองในการจดั ทาํ บญั ชี ใชใ้ นการวิจยั คร้ังน้ี คือ หัวหน้าส่วนการคลงั และเจา้
เกิดข้อผิดพลาดในการดําเนินงาน เพราะในการ
ปฏิบตั ิงานดา้ นการเงินและบญั ชีมีความจาํ เป็นอยา่ งยง่ิ พนักงานการเงินและบญั ชี สังกัดสํานักงานส่งเสริม
ท่ีจะต้องอาศยั ผูป้ ฏิบัติงานท่ีมีความรู้ ความชํานาญ
เฉพาะดา้ นวชิ าชีพเพื่อท่ีจะรักษาผลประโยชนข์ องทาง การปกครองท้องถ่ินในจังหวดั หนองคาย แห่งละ 2
ราชการ
คน จาํ นวน 68 แห่ง รวมท้งั หมด 136 คน (ขอ้ มูล ณ
จากปัญหาของการบริหารการคลงั ขององคก์ ร
ปกครองส่วนทอ้ งถิ่นขา้ งตน้ ผูว้ ิจยั มีความสนใจท่ีจะ วนั ที่ 12 พฤศจิกายน 2563) [4] ผวู้ จิ ยั กาํ หนดประชากร
ศึกษาปัญหา การพฒั นาความรู้ทางบญั ชีของบุคลากร
ส่วนการคลงั สังกัดสํานักงานส่งเสริมการปกครอง ท้งั หมดเป็นกลุ่มตวั อยา่ งโดยการเจาะจง
ท้องถิ่นจังหวัดหนองคาย เพ่ือนําไปเป็ นข้อมูล
สารสนเทศในการวางแผนและพฒั นางาน และเป็ น 4.2 เคร่ืองมือท่ีใชใ้ นการศึกษา
แนวทางแกไ้ ขปัญหาต่อไป
เครื่ องมือท่ีใช้ในการศึกษาคร้ังน้ี ได้
1. วัตถปุ ระสงค์ของการวจิ ยั ดาํ เนินการสร้างแบสอบถามแบ่งออกเป็น 4 ส่วน คือ
1.1 เพื่อศึกษาความตอ้ งการพฒั นาความรู้ทางบญั ชี
ส่วนท่ี 1 เป็ นแบบสอบถามเก่ียวกับขอ้ มูล
ของบุคลากรส่วนการคลงั สังกดั สาํ นกั งาน ทวั่ ไปของผูต้ อบแบบสอบถาม จาํ นวน 7 ขอ้ คาํ ถาม
ลกั ษณะขอ้ คาํ ถามเป็นแบบตรวจสอบรายการ (Check
list) ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา ตาํ แหน่งงาน
ประสบการณ์ทาํ งาน รูปแบบขององคก์ รปกครองส่วน
ท้องถ่ินและในปี ท่ีผ่านมาท่านเคยได้รับการพฒั นา
ความรู้ทางบญั ชีก่ีคร้ัง

NCTechEd C09-2022


การประชุมวชิ าการนําเสนอผลงานนกั ศกึ ษา แบบสอบถามที่มีความสมบูรณ์ จากน้นั นาํ ไปวเิ คราะห์
362 NCTechED-Student Workshop 2022 แ ล ะ ท ํา ก า ร ป ร ะ ม ว ล ผ ล ข้อ มู ล โ ด ย ใ ช้ โ ป ร แ ก ร ม
สําเร็จรูปทางสถิติ ลกั ษณะและวิธีการวิเคราะห์ขอ้ มูล
June 10,2022 ดงั น้ี

ส่วนท่ี 2 ความคิดเห็นเก่ียวกบั ความตอ้ งการ 1) ข้อมูลเก่ียวกับสถานภาพทั่วไปของ
ในการพฒั นาความรู้ทางบญั ชี 3 ดา้ น ประกอบด้วย ผตู้ อบแบบสอบถามใชส้ ถิติเชิงพรรณนา (Descriptive
ความรู้ที่ต้องการพฒั นาในการบนั ทึกบญั ชี ความรู้ที่ Statistics) โดยแจกแจงความถี่ร้อยละ (Percentage)
ต้องการพฒั นาในการจัดทาํ ทะเบียน และความรู้ที่ และนาํ เสนอในรูปแบบร้อยละ เพื่อแจกแจงความถ่ี
ตอ้ งการพฒั นาในการจัดทาํ รายงาน ลกั ษณะคาํ ถาม ของประชากร
แบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale)
2) ข้อมูลเก่ียวกับความต้องการพัฒนา
ส่วนที่ 3 ขอ้ มูลเก่ียวกบั ความตอ้ งการพฒั นา ความรู้ทางบัญชีของบุคลากรส่วนการคลัง สังกัด
ด้านอ่ืน ๆ ลักษณะข้อคําถามเป็ นแบบตรวจสอบ สํานักงานส่ งเสริ มการปกครองท้องถ่ินจังหวัด
รายการ (Check list) หนองคาย ใช้การแจกแจงความถี่ในรูปของร้อยละ
(Percentage) ค่าเฉล่ีย (Mean) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ส่วนที่ 4 ขอ้ เสนอแนะอื่น ๆ (Standard Deviation)ช่วงคะแนนของระดับความ
4.3 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล คดิ เห็นแปลความหมายได้ ดงั น้ี
ค่าเฉลี่ยระหวา่ ง 4.51 – 5.00 หมายถึง มากท่ีสุด
การศึกษาความตอ้ งการพฒั นาความรู้ทาง คา่ เฉล่ียระหวา่ ง 3.51 – 4.50 หมายถึง มาก
บัญชีของบุคลากรส่วนการคลัง สังกัดสํานักงาน ค่าเฉลี่ยระหวา่ ง 2.51 – 3.50 หมายถึง ปานกลาง
ส่งเสริมการปกครองส่วนทอ้ งถ่ินในจงั หวดั หนองคาย คา่ เฉลี่ยระหวา่ ง 1.51 – 2.50 หมายถึง นอ้ ย
คร้ังน้ีผวู้ ิจยั ไดร้ วบรวมขอ้ มูลจากกลุ่มตวั อยา่ งดงั กล่าว คา่ เฉลี่ยระหวา่ ง 1.00 – 1.50 หมายถึง นอ้ ยท่ีสุด
ข้างต้นเพื่อให้ได้รับความร่ วมมือในการตอบ
แบบสอบถามและได้ขอ้ มูลตามความเป็ นจริงผูว้ ิจัย 4.5 สถิติที่ใชใ้ นการวิเคราะหข์ อ้ มูล
ดาํ เนินการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลตามข้นั ตอน ดงั ตอ่ ไปน้ี สถิติที่ใช้ในการวิจัยคร้ังน้ี ผู้วิจัยได้ใช้

4 . 3 . 1 ทํา ห นั ง สื อ ข อ อ นุ ญ า ต แ จ ก คอมพวิ เตอร์วิเคราะหข์ อ้ มูลโดยใชโ้ ปรแกรมสาํ เร็จรูป
แบบสอบถามจากวิทยาลยั อาชีวศึกษาหนองคาย สาํ หรับค่าสถิติดงั น้ี

4.3.2 ขอความอนุเคราะห์ในการเก็บ 1. สถิติที่ใชใ้ นการพฒั นาเครื่องมือ
รวบรวมข้อมูล จากหัวหน้าส่วนการคลัง และเจ้า - ความเท่ียงตรงตามเน้ือหา(Index of
พนักงานการเงินและบญั ชี สังกัดสํานักงานส่งเสริม
การปกครองทอ้ งถ่ินในจงั หวดั หนองคาย Consistency : IOC)
2. คา่ สถิติพ้ืนฐาน
4.3.3 ทาํ การส่งแบบสอบถามถึงหัวหน้า - คา่ ร้อยละ (Percentage)
ส่วนการคลงั และเจา้ พนกั งานการเงินและบญั ชี สังกดั - ค่าเฉล่ีย (Mean)
สํานักงานส่ งเสริ มการ ปกครองท้องถ่ิ นในจัง ห วัด - ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
หนองคาย โดยเก็บข้อมูลด้วยตนเอง สามารถเก็บ
แบบสอบถามได้จํานวน 114 ชุด จากจํานวน (Standard Deviation)
แบบสอบถาม 136 ชุด คดิ เป็นร้อยละ 83.82

4.4 การวิเคราะห์ขอ้ มูล
การวิเคราะห์ขอ้ มูล ท่ีได้ตรวจสอบความ

สมบูรณ์ของการตอบแบบสอบถาม และเลือก


5. สรุปผลการวิจัย การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานนักศกึ ษา
ตารางที่ 5.1 ระดบั ความคิดเห็นเก่ียวกบั ความตอ้ งการ NCTechED-Student Workshop 2022 363
ในการพฒั นาความรู้ทางบญั ชีของบุคลากรส่วนการ
คลงั สังกดั สาํ นกั งานส่งเสริมการปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน June 10,2022
ในจงั หวดั หนองคาย โดยภาพรวม
S.D.=0.62) และความรู้ที่ตอ้ งการพฒั นาในการบนั ทึก
ความคดิ เหน็ เกีย่ วกบั � S.D. แปล บญั ชี (x�=4.16, S.D.=0.61)
ความต้องการในการ ผล
6. อภิปรายผล
พฒั นาความรู้ 4.16 0.61 มาก จากการศึกษาความตอ้ งการพฒั นาความรู้ทาง
ทางบัญชี
4.23 0.62 มาก บัญชีของบุคลากรส่วนการคลัง สังกัดสํานักงาน
1. ความรู้ท่ีตอ้ งการ ส่งเสริมการปกครองส่วนทอ้ งถ่ินในจงั หวดั หนองคาย
พฒั นาในการบนั ทึก 4.41 0.63 มาก สามารถอภิปรายรายผลไดด้ งั น้ี
บญั ชี
2. ความรู้ท่ีตอ้ งการ 4.45 0.68 มาก ความคิดเห็นเก่ียวกับความต้องการในการ
พฒั นาในการจดั ทาํ พ ัฒ น า ค ว า ม รู ้ ท า ง บัญ ชี ข อ ง บุ ค ล า ก ร ส่ ว น ก า ร ค ลัง
ทะเบียน 4.31 0.54 มาก สังกดั สํานกั งานส่งเสริมการปกครองส่วนทอ้ งถิ่นใน
3. ความรู้ท่ีตอ้ งการ จังหวดั หนองคาย โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากทุก
พฒั นาในการจดั ทาํ ด้าน ความรู้ท่ีตอ้ งการพฒั นาในการบนั ทึกบญั ชี คือ
รายงาน การปิ ดบญั ชี การบนั ทึกรายการในบญั ชีแยกประเภท
4. ความรู้ที่ตอ้ งการ ต่าง ๆ การบนั ทึกบญั ชีการแกไ้ ขขอ้ ผิดพลาด และการ
พฒั นาระบบ e-LAAS บนั ทึกบญั ชีการเบิกตดั ปี ความรู้ท่ีตอ้ งการพฒั นาใน
การจดั ทาํ ทะเบียน คือ การจดั ทาํ ใบผ่านรายการบญั ชี
รวมค่าเฉล่ีย มาตรฐาน การจัดทาํ ใบผ่านรายการบญั ชีทว่ั ไป การ
จั ด ทํ า ท ะ เ บี ย น คุ ม ฎี ก า เ บิ ก เ งิ น
5.1 ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับความ ตามงบประมาณรายจ่าย และการจัดทาํ ทะเบียนคุม
ตอ้ งการในการพฒั นาความรู้ทางบญั ชีของบุคลากร พสั ดุครุภณั ฑ์ ความรู้ที่ต้องการพฒั นาในการจัดทํา
รายงาน คือ การจดั ทาํ งบแสดงฐานะการเงิน การจดั ทาํ
ส่วนการคลงั สังกัดสํานักงานส่งเสริมการปกครอง กระดาษทาํ การกระทบยอดรายจ่ายตามงบประมาณ
(จ่ายจากรายรับ) การจดั ทาํ งบทรัพยส์ ิน และการจดั ทาํ
ส่วนทอ้ งถ่ินในจงั หวดั หนองคาย โดยภาพรวมอยู่ใน รายงานรายจ่ายในการดาํ เนินงานที่จ่ายจากเงินรายรับ
ระดับมากทุกด้าน (x�=4.31, S.D.=0.54) เมื่อพิจารณา ตามแผนงาน ความรู้ที่ตอ้ งการพฒั นาระบบ e-LAAS
คือ รายจ่ายจริ งประกอบรายงานรับ-จ่ายเงิน งบ
เป็ นรายดา้ น พบว่า ความรู้ท่ีตอ้ งการพฒั นาระบบ e- แสดงผลการดาํ เนินงานจ่ายจากเงินรายรับ เงินสะสม
LAAS (x�=4.45, S.D.=0.68) ความรู้ที่ต้องการพฒั นา และเงินทุนสํารอง รายรับจริงประกอบรายงานรับ-
ในการจัดทาํ รายงาน (x�=4.41, S.D.=0.63) ความรู้ท่ี จ่ายเงิน และรายงานรับ-จ่าย ซ่ึงสอดคลอ้ งกบั งานวิจยั
ต้องการพัฒนาในการจัดทําทะเบียน (x�=4.23, ของ [5] ศึกษาเกี่ยวกบั ความตอ้ งการพฒั นาความรู้ทาง
บัญชีของบุคลากรส่ วนการคลังในพ้ืนที่จังหวัด
นนทบุรี พบว่า บุคลากรส่วนการคลงั มีความคิดเห็น

NCTechEd C09-2022


การประชมุ วชิ าการนําเสนอผลงานนักศกึ ษา [4] สาํ นกั งานส่งเสริมการปกครองทอ้ งถิ่นจงั หวดั
364 NCTechED-Student Workshop 2022 หนองคาย, (2562), “จาํ นวนผปู้ ฏิบตั ิงานหวั หนา้ ส่วน
การคลงั และเจา้ พนกั งานการเงินและบญั ชี”, เขา้ ถึงเมื่อ
June 10,2022 วนั ท่ี 12 พฤศจิกายน 2563, จาก
http://www.nongkhailocal.go.th/public/size/data/inde
เก่ียวกับความต้องการในการพฒั นาความรู้ทางบญั ชี x/menu/214
โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยต้องการพัฒนา [5] ธนิษฐา ชีวพฒั นพนั ธุ์. (2555), “ความตอ้ งการ
ความรู้ในการจัดทํารายงาน พัฒนาความรู้ในการ พฒั นาความรู้ทางบญั ชีของบคุ ลากรส่วนการคลงั
บันทึกบัญชีและการจัดทําทะเบียน และมีความ สังกดั องคก์ าร บริหารส่วนตาํ บลในพ้ืนที่จงั หวดั
ต้องการพัฒนาด้านอื่น ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง เช่น การใช้ นนทบุรี”, คณะบญั ชี วิทยาลยั ราชพฤกษ.์
โปรแกรมสาํ เร็จรูปทางการบญั ชี และการเขา้ รับอบรม
สัมมนา เพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพในการทาํ งานมากข้ึน
ตอ่ ไป

7. ข้อเสนอแนะ
ควรศึกษาความสมั พนั ธ์และปัจจยั ต่าง ๆ ที่มีผล

ต่อความตอ้ งการพฒั นาความรู้ทางบญั ชีของบุคลากร
ส่วนการคลังเพื่อนําผลท่ีได้ไปเป็ นแนวทางในการ
พ ัฒ น า ค ว า ม รู ้ ท า ง บัญ ชี ข อ ง บุ ค ล า ก ร ส่ ว น ก า ร ค ลัง
ต่อไป

บรรณานุกรม
[1] ลือศกั ด์ิ ธรรมโสภณ, (2547), “ปัญหาและอปุ สรรค
ในการวางแผนพฒั นาสามปี (2548-2550) ขององคก์ าร
บริหารส่วนตาํ บลในเขตอาํ เภอเมือง จงั หวดั ปัตตานี”,
สารนิพนธ์ รัฐประศาสนศาสตร์มหาบณั ฑิต, สาขารัฐ
ประศาสนศาสตร์, บณั ฑิตวทิ ยาลยั :หาวทิ ยาลยั สงขลา
นครินทร์.
[2] ชาญนิตย์ ชุ่มชื่น, (2550), “การมีส่วนร่วมของ
ประชาชนในการจดั ทาํ แผนพฒั นา 3 ปี ของเทศบาล
คอหงส์อาํ เภอหาดใหญ่ จงั หวดั สงขลา”, รายงาน
การศึกษาอิสระรัฐประศาสตร์มหาบณั ฑิต, สาขาการ
ปกครอง ทอ้ งถิ่น วิทยาลยั การปกครองทอ้ งถิ่น :
มหาวิทยาลยั ขอนแก่น.
[3] อชั กรณ์ วงศป์ รีดี, (2555), “ปัญหาการคลงั ทอ้ งถิ่น
ไทย :บทสะท้อนจากมุมของผู้บริ หารเทศบาล”,
วารสารการจดั การภาครัฐและภาคเอกชน.


การประชุมวิชาการนาํ เสนอผลงานนกั ศึกษา
NCTechED-Student Workshop 2022 365

June 10,2022

การศึกษาความรู้และคุณภาพในการจดั ทาํ บัญชีของเจ้าหน้าทบ่ี ัญชี
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลจงั หวดั หนองคาย

พรเทวา ชมภูนาวตั น์1*, ภณั ฑิรา แกว้ เนตร2 และ อจั ฉรา ยง่ั ยนื 3
บทคดั ย่อ

ผลการวิจยั ในคร้ังน้ีมีวตั ถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดบั ความรู้ของผจู้ ดั ทาํ บญั ชีในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
ตาํ บล จังหวดั หนองคาย 2) ศึกษาคุณภาพการจัดทาํ บญั ชีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาํ บล จังหวดั หนองคาย
ประชากรและกลุม่ ตวั อยา่ งที่ใชใ้ นการศึกษาคร้ังน้ี คือ เจา้ หน้าท่ีท่ีปฏิบตั ิงานในดา้ นการจดั ทาํ บญั ชีของโรงพยาบาล
ส่งเสริมสุขภาพตําบล จังหวดั หนองคาย จาํ นวน 74 แห่ง ท้ังหมด 74 คน กําหนดประชากรโดยใช้วิธีเจาะจง
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมขอ้ มูล ได้แก่ แบบวดั ระดบั ความรู้และแบบสอบถามของผูจ้ ัดทําบัญชี ใน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาํ บล จังหวดั หนองคาย ความเช่ือมนั่ ของเคร่ืองมือท่ี 0.94 วิเคราะห์ข้อมูลดว้ ยสถิติ
พ้ืนฐาน ค่าร้อยละ (percentage) คา่ เฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)

ผลการวิจยั พบว่า ระดบั ความรู้ของผจู้ ดั ทาํ บญั ชีในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาํ บล จงั หวดั หนองคาย
โดยภาพรวมมีความรู้อยใู่ นระดบั ปานกลางทุกดา้ น ผลการวิจยั เป็นรายดา้ นพบวา่ ดา้ นการบนั ทึกบญั ชีการเงิน
มีค่าคะแนนท่ีตอบถูกมากท่ีสุด (ร้อยละ 83.78) รองลงมาดา้ นโปรแกรมบญั ชี (ร้อยละ 75.68) และดา้ นการจดั ทาํ
รายงานการเงิน (ร้อยละ 70.27) คณุ ภาพของการจดั ทาํ บญั ชีในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาํ บล จงั หวดั หนองคาย
โดยภาพรวมอยใู่ นระดบั มากที่สุดทุกดา้ น พิจารณาเป็นรายดา้ น ดา้ นความครบถว้ น (μ = 4.65, σ = 0.71) รองลงมา
ดา้ นความทนั เวลา (μ= 4.52, σ = 0.68) และดา้ นความถกู ตอ้ ง (μ = 4.50, σ = 0.72)
คาํ สําคญั : ความรู้ของเจา้ หนา้ ท่ีบญั ชี คณุ ภาพในการจดั ทาํ บญั ชี

*1สาขาวชิ าการบญั ชี วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาหนองคาย สถาบนั การอาชวี ศึกษาภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ 1 จงั หวดั หนองคาย 43000
*พรเทวา ชมภูนาวตั น์ โทร. +6637149143 อเี มลl : [email protected]


การประชมุ วิชาการนาํ เสนอผลงานนกั ศกึ ษา
366 NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

STUDY OF KNOWLEDGE AND QUALITY IN ACCOUNTING PREPARATION
OF OFFICERS TAMBON HEALTH PROMRTING HOSPITAL NONG KHAI

PROVINCE

Phonthewa Chompoonawat1*, Phanthira Kaewnet2 and Atchara Yungyuen3
ABSTRACT

The purposes of this study were to 1 ) study the accountant's level of understanding in the hospital, and 2 )
study the hospital's accounting quality. The sample group used in this study consisted of 7 4 staff working in
accounting at Nong Khai Sub-District Health Promoting Hospital, with 74 locations. There was a determined
population using Purposive sampling. The tools used for data collection were the knowledge level test and the
questionnaire of the accountants in the sub-district health-promoting hospitals in Nong Khai. The tools used for
data collection were the knowledge level test and the questionnaire of the accountants in the sub-district health-
promoting hospitals in Nong Khai. The reliability of the tool was 0.94. Basic statistics, percentages, mean, and
standard deviation were used to analyze the data.

The results showed that the overall knowledge of the accountants in Nong Khai Province Health Promoting
Hospital was at a moderate level in all aspects. In the same way, the results of the research by each aspect found
that the financial accounting recording had the highest percentage of correct answers (83.78 percent), followed by
the accounting program (75.68 percent) and the financial reporting aspect (70.27 percent). Overall, the accounting
quality at Nong Khai Provincial Health Promoting Hospital was the highest in all areas. Consider each aspect as
follows: completeness (μ = 4.65, σ = 0.71), followed by timeliness (μ= 4.52, σ = 0.68) and accuracy (μ = 4.50,
σ = 0.72).
Keyword : Knowledge of accounting officers quality of accounting

*1Accounting, Nongkhai Vocational College, Institute of Vocational Education Northeastern Region 1 Nongkhai 43000
*Phonthewa Chompoonawat Tel. +6637149143 E-mail : [email protected]


การประชุมวชิ าการนาํ เสนอผลงานนักศกึ ษา
NCTechED-Student Workshop 2022 367

June 10,2022

1. บทนํา ทาํ งานที่ต่อเน่ืองในการจัดทําบัญชี เพราะในการ
สถานบริการสาธารณสุขภาครัฐ เป็ นหน่วยงาน ปฏิบตั ิงานดา้ นการเงินและบญั ชีมีความจาํ เป็ นอย่าง
ยิ่งท่ีจะตอ้ งอาศยั ผูป้ ฏิบตั ิงานที่มีความรู้ ความชาํ นาญ
ยอ่ ยท่ีสุดในการให้บริการประชาชนของประเทศ อยู่ เฉพาะด้านวิชาชีพเพ่ือท่ีจะรักษาผลประโยชน์ของ
ภายใต้กระทรวงสาธารณ สุ ขสังกัดสํานักงาน ทางราชการ
สาธารณสุขจงั หวดั และสาํ งานสาธารณสุขอาํ เภอ ซ่ึง
ได้ให้บริ การทางด้านการรักษาพยาบาล ด้านการ ดงั น้ัน ผูศ้ ึกษาในฐานะท่ีเป็ นนกั ศึกษาสาขาวิชา
ควบคุมโรค ดา้ นการส่งเสริมสุขภาพ ที่เก่ียวขอ้ งกบั การบญั ชี มีความสนใจท่ีจะศึกษาความรู้และคุณภาพ
ประชาชนในเขตที่รับผิดชอบ ท้ังในระดับบุคคล ในการจดั ทาํ บัญชีของเจ้าหน้าที่บญั ชี โรงพยาบาล
ครอบครัว ชุมชนและสังคม ต้งั แต่เกิดจนตาย แต่เดิม ส่งเสริ มสุขภาพตําบล จังหวัดหนองคาย ในด้าน
ทีเรียกว่า “สุขศาลา” มาเปล่ียนเป็ น “สถานีอนามยั ” ข้อมูลทั่วไปและความรู้ของเจ้าหน้าท่ีบัญชี ใน
และ “ศูนยส์ ุขภาพชุมชน” ปัจจุบนั ไดเ้ ปลี่ยนมาเป็ น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาํ บล จงั หวดั หนองคาย
“โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาํ บล” ซ่ึงตาํ บลๆ หน่ึง ส่งผลต่อคุณภาพของการจดั ทาํ บญั ชีในโรงพยาบาล
จะมีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประมาณ 1-2 แห่ง ส่งเสริ มสุขภาพตําบล จังหวัดหนองคายอย่างไร
ครอบคลุมทุกพ้ืนที่ของตําบลทั่วประเทศ มีขีด ผลการวิจัยในคร้ังน้ีจะนําไปเป็ นแนวทางในการ
ความสามารถระดบั ปฐมภูมิ (Primary Care) ท่ีมีความ พัฒนาการดําเนินงานด้านการเงินและบัญชี ของ
เช่ือมโยงกบั ระบบบริการแม่ข่ายท่ีเป็ นหน่วยบริการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบล ในเขตจังหวัด
หลกั ลกั ษณะเครือข่ายบริการน้ีเรียกอีกอยา่ งว่า CUP หนองคาย ให้มีประสิทธิภาพมากย่งิ ข้ึน
(Contracting Unit For Primary Care) ซ่ึ งใน แ ต่ ล ะ 2. วตั ถุประสงค์การวจิ ยั
CUP จ ะ มี ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร โ ด ย ค ณ ะ
กรรมการบริหารเครือข่ายหน่วยบริการ [1] 2.1 เพ่ือศึกษา ระดบั ความรู้และคุณภาพในการ
จดั ทาํ บญั ชีของเจา้ หนา้ ท่ีบญั ชี โรงพยาบาลส่งเสริม
โรงพยาบาลส่งเสริมตาํ บล ในเขตพ้ืนที่จังหวัด สุขภาพตาํ บล จงั หวดั หนองคาย
หนองคาย มีจํานวนท้ังส้ิ น 74 แห่ ง และในการ
ปฏิบตั ิงานด้านการเงินและบัญชีของโรงพยาบาล 2.2 เพื่ อศึกษ าคุณ ภาพ การจัดทําบัญ ชี ของ
ส่งเสริมสุขภาพตาํ บล จงั หวดั หนองคาย ใชก้ ารจดั ทาํ เจ้าหน้าท่ีบญั ชี โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาํ บล
บัญ ชี ระบบ บัญ ชีเกณ ฑ์ คงค้างของกระท รวง จงั หวดั หนองคาย
สาธารณสุขเป็ นหลกั ซ่ึงได้มีการกําหนดเกณฑ์ใน 3. กรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั
การให้คะแนนคุณภาพของงบการเงินแบ่งเป็ น 3
เกณฑ์ ได้แก่ ครบถ้วน/ทนั เวลา ถูกต้องตามหลัก ตวั แปรตน้ ตวั แปรตาม
บัญชี และปรับปรุงตามนโยบายบัญชี เน่ืองจาก
เจ้าหน้าท่ีปฏิบตั ิงานทางดา้ นการเงินและบญั ชีของ ความรู้ของเจา้ หน้าท่ีบญั ชี คณุ ภาพของการจดั ทาํ
โรงพยาบาลส่งเสริมตาํ บล ในเขตจงั หวดั หนองคาย 1. ดา้ นระเบียบการเงนิ และ บญั ชี
ส่วนใหญ่จะเป็ นเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุขดา้ นการดูแล บญั ชี
รักษาพยาบาล ไม่ได้มีความรู้ความชาํ นาญในสาขา 2. ดา้ นการบนั ทึกบญั ชี 1. ดา้ นความถกู ตอ้ ง
วิชาชีพในดา้ นน้ีโดยตรง จึงทาํ ให้การปฏิบตั ิงานดา้ น การเงนิ 2. ดา้ นความครบถว้ น
การเงินและบญั ชีเกิดขอ้ ผดิ พลาด เพราะยงั ขาดความรู้ 3. ดา้ นการจดั ทาํ รายงาน 3. ดา้ นความทนั เวลา
ทางดา้ นหลกั การบญั ชี การจดั ทาํ บญั ชีท่ีถูกตอ้ งและ ทางการเงินและบญั ชี
ระเบียบการเงินท่ีเก่ียวขอ้ ง อีกท้งั ยงั เกิดปัญหาในการ 4. ดา นโปรแกรมบญั ชี
โยกยา้ ยผูท้ ่ีจดั ทาํ บญั ชีอย่บู ่อยคร้ัง จึงทาํ ให้ขาดการ


การประชุมวชิ าการนําเสนอผลงานนกั ศกึ ษา Scale) ต ามวิ ธี ก ารข อ ง (LikertScale) โด ยมี ก าร
368 NCTechED-Student Workshop 2022 กาํ หนดคะแนนแบ่งเป็ น 5 ระดบั โดยกําหนดเกณฑ์
การแปลความหมายเพื่อจดั ระดบั ค่าเฉลี่ยออกเป็นชว่ ง
June 10,2022 [5] ดงั ตอ่ ไปน้ี

4. วธิ ีดําเนินงาน คา่ เฉลี่ย 4.50-5.00 อยใู่ นระดบั มากท่ีสุด
4.1 ประชากรและกลุม่ ตวั อยา่ ง ค่าเฉล่ีย 3.50-4.49 อยใู่ นระดบั มาก
ประชากร (Population) ที่ใช้ในการศึกษาคร้ังน้ี คา่ เฉลี่ย 2.50-3.49 อยใู่ นระดบั ปานกลาง
คา่ เฉล่ีย 1.50-2.49 อยใู่ นระดบั นอ้ ย
คือ เจา้ หน้าท่ีที่ปฏิบตั ิงานในดา้ นการจดั ทาํ บญั ชีของ ค่าเฉล่ีย 1.00-1.49 อยใู่ นระดบั นอ้ ยที่สุด
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาํ บล จงั หวดั หนองคาย 4.3 การสร้างและพฒั นาเครื่องมือ
จาํ นวน 74 แห่ง ท้งั หมด 74 คน [2] กาํ หนดประชากร ในการสร้างเครื่ องมือท่ีใช้ในการเก็บรวมรวบ
โดยใชว้ ิธีเจาะจง [3] ขอ้ มูล ผศู้ ึกษาไดด้ าํ เนินการตามข้นั ตอนต่อไปน้ี

4.2 เคร่ืองมือที่ใชใ้ นการวิจยั 4.3.1 ศึกษาเอกสารและงานวิจยั ที่เก่ียวขอ้ งกบั
การวิจัยเชิงปริ มาณใช้แบบสอบถามในการเก็บ ก าร ศึ ก ษ า ปั จ จัย ที่ มี ผ ล ต่ อ ก าร จ ะ ทําบัญ ชี อ ย่าง มี
ขอ้ มลู ของเจา้ หนา้ ที่ที่ปฏิบตั ิงานในการจดั ทาํ การเงิน คุณ ภาพ ของเจ้าห น้าที่ ผู้ป ฏิ บัติ งานด้านบัญ ชี
และบัญชีของโรงพยาบาลส่งเสริ มสุขภาพตําบล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาํ บล เพื่อนํามาเป็ น
จงั หวดั หนองคาย มีท้งั หมด 3 ตอน แนวทางในการสร้างแบบสอบถาม
ตอนท่ี 1 ขอ้ มูลทวั่ ไปของเจ้าหนา้ ที่บญั ชีเป็ นขอ้
คําถามที่เก่ียวกับ เพศ อายุ สถานภาพการสมรส 4.3.2 จดั ทาํ แบบสอบถามตามกรอบแนวคิดท่ี
ระดับการศึกษา และประสบการณ์ในด้านการเงิน กาํ หนด โดยพิจารณาเน้ือหาให้สอดคลอ้ งกบั กรอบ
และบญั ชี แนวคิดและความมุง่ หมายในการศึกษา
ตอนที่ 2 ข้อคาํ ถามเกี่ยวกับความรู้ของผูจ้ ัดทํา
บญั ชีส่งเสริมสุขภาพตาํ บลจงั หวดั หนองคายโดยเป็ น 4.3.3 นําแบบสอบถามที่สร้างข้ึนตามกรอบ
การตอบคาํ ถาม 3 ตวั เลือกคือ ใช่ ไม่ใช่ และไม่แน่ใจ แนวคิด นาํ เสนอให้ผูเ้ ช่ียวชาญพิจารณาเพื่อพิจารณา
ซ่ึงแบง่ ออกเป็น 4 หวั ขอ้ ดงั น้ี 1) ระเบียบการเงินและ ความครบถ้วน ความถูกต้องของการใช้ภาษาและ
บญั ชี 2) การบนั ทึกบญั ชีการเงิน 3) การจดั ทาํ รายงาน ครอบคลุมเน้ือหาของการศึกษาโดยในแบบสอบถาม
การเงินและบญั ชี 4) โปรแกรมบัญชีเกณฑ์การให้ สําหรับผูเ้ ชี่ยวชาญ ผูศ้ ึกษาไดก้ ําหนดระบบความ
คะแนนของแบบทดสอบความรู้ ดงั น้ี คิดเห็นของผเู้ ช่ียวชาญดงั น้ี

ขอ้ ถูก ขอ้ ลวง +1 เม่ือแน่ ใจว่าข้อคําถามตรงกับขอบข่าย
ไมแ่ น่ใจ 0 คะแนน 0 คะแนน ประเดน็ หลกั ของเน้ือหา
ไมใ่ ช่ 0 คะแนน 1 คะแนน
ใช่ 1 คะแนน 0 คะแนน 0 ไม่แน่ใจว่าขอ้ คาํ ถามตรงกบั ขอบข่ายประเดน็
หลกั ของเน้ือหา
โดยการแปลผลจะแบง่ ความรู้เป็น 3 ระดบั
ซ่ึงการแบ่งอนั ตรภาคช้นั [4] ดงั น้ี -1 เมื่อแน่ใจว่าข้อคําถามไม่ตรงกับขอบข่าย
ประเดน็ หลกั ของเน้ือหา มีคา่ เท่ากบั 1
ตอบถกู นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 40 อยใู่ นระดบั นอ้ ย
ตอบถกู ร้อยละ 41-79.9 อยใู่ นระดบั ปานกลาง 4.3.4 การหาความเช่ือมน่ั (Reliability) ของ
ตอบถกู ร้อยละ 80 ข้ึนไป อยใู่ นระดบั มาก แบบสอบถามโดยค่าสัมประสิทธ์ิแอลฟ่ า (Alpha
ตอนที่ 3 คณุ ภาพของผูจ้ ดั ทาํ บญั ชีในโรงพยาบาล Coefficient) ของครอนบาค (Cronbach) โดยการนํา
ส่ งเสริ มสุ ขภาพตําบล จังหวัดหนองคาย แบ่ง แบบสอบถามทดสอบการศึกษาความรู้และคุณภาพ
ออกเป็ น 3 ประเด็น ได้แก่ ความถูกต้อง ความ ในการจัดทําบญั ชีของเจ้าหน้าที่บญั ชี โรงพยาบาล
ครบ ถ้วน แล ะค วามทัน เวลา โดยลักษ ณ ะ ส่งเสริมสุขภาพตาํ บล จงั หวดั หนองคาย จาํ นวน 30
แบบสอบถาม เป็ นมาตราส่วนประมาณค่า (Rating คน ท่ี ไม่ใช่ก ลุ่มตัวอ ย่าง และนําผลการตอ บ


แบบสอบถามมาวิเคราะห์หาค่าความเช่ือม่นั ไดค้ ่า การประชมุ วิชาการนาํ เสนอผลงานนกั ศกึ ษา
0.94 ถือว่าผ่านเกณฑ์ที่กําหนดไว้ สามารถนํา NCTechED-Student Workshop 2022 369
แบบสอบถามฉบับน้ีใช้เป็ นเครื่ องมือในการเก็บ
รวบรวมขอ้ มูลได้ June 10,2022

4.3.5 นําแบบสอบถามที่ผ่านการตรวจสอบ 5 ระดับ และมีการแปลคะแนน ผู้ศึกษาได้มีการ
คุณภาพ และปรับปรุงแก้ไขสมบูรณ์แลว้ ไปจดั พิมพ์ จดั แบ่งคุณภาพในการจัดทาํ บญั ชีของโรงพยาบาล
เป็ นแบบสอบถามฉบบั จริง เพื่อนาํ ไปใชใ้ นการเก็บ ส่งเสริมสุขภาพตาํ บล จังหวดั หนองคายตามเกณฑ์
รวบรวมขอ้ มูล คะแนนเฉลี่ยเป็น 5 ระดบั โดยกาํ หนดเกณฑก์ ารแปล
ความหมายเพื่ อจัดระดับค่าเฉล่ียออกเป็ นช่วง
4.4 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ดงั ตอ่ ไปน้ี
ในการเก็บรวบรวมขอ้ มูลผูศ้ ึกษาได้ดาํ เนินการ
รวบรวมขอ้ มูลตามข้นั ตอนและวิธีการ ดงั น้ี ค่าเฉล่ีย 4.50-5.00 คุณภาพในการจดั ทาํ บญั ชี อยู่
ในระดบั มากที่สุด
4.4.1 ดําเนินการจัดทําแบบสอบถามตาม
จาํ นวนประชากรกลุ่มตวั อย่าง พร้อมกับตรวจสอบ ค่าเฉล่ีย 3.50-4.49 คุณภาพในการจดั ทาํ บญั ชี อยู่
ความถกู ตอ้ งครบถว้ นและความสมบรู ณ์ ของเอกสาร ในระดบั มาก
เพื่อเตรียมนาํ ส่งทางไปรษณีย์
ค่าเฉล่ีย 2.50-3.49 คุณภาพในการจดั ทาํ บญั ชี อยู่
4.4.2 ข อห นังสื อราชก ารจาก วิ ท ยาลัย ในระดบั ปานกลาง
อาชีวศึกษาหนองคาย สถาบันการอาชีวศึกษาภาค
ตะวนั ออก ค่าเฉลี่ย 1.50-2.49 คุณภาพในการจดั ทาํ บญั ชี อยู่
เฉียงเหนือ 1 โดยแนบพร้อมกบั แบบสอบถามส่งไปยงั ในระดบั นอ้ ย
ประชากรกลุ่มตวั อยา่ ง ได้แก่ เจ้าหน้าท่ีผปู้ ฏิบตั ิงาน
ดา้ นบญั ชีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาํ บล ในเขต ค่าเฉลี่ย 1.00-1.49 คุณภาพในการจดั ทาํ บญั ชี อยู่
จงั หวดั หนองคาย เพ่ือขอความอนุเคราะห์และความ ในระดบั นอ้ ยท่ีสุด
ร่วมมือในการตอบแบบสอบถาม
4.5.2 การวิเคราะห์เน้ือหา จะใช้สถิติวิเคราะห์
4 .4 .3 ต ร ว จ ส อ บ ค ว า ม ส ม บู ร ณ์ ข อ ง ขอ้ มูลเชิงคุณภาพ คือ การนาํ ข้อมูลท่ีไดม้ าวิเคราะห์
แบบสอบถามที่ตอบกลบั ดงั ต่อไปน้ี [6]

4.4.4 เมื่อได้รับแบบสอบถามครบถว้ นแล้ว 1) ระบบการจาํ แนกประเภทควรสอดคลอ้ ง
ดาํ เนินการเก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถามที่มี กนั กบั จุดมุ่งหมายของการวิจยั
ความสมบูรณ์ และนํามาวิเคราะห์ ข้อมูลด้วย
คอมพิวเตอร์โดยใชโ้ ปรแกรมสาํ เร็จรูปทางสถิติ 2) ระบบจาํ แนกประเภทควรมีการครอบคลุม
สามารถรองรับคาํ และขอ้ ความที่ถกู นาํ มาแจกแจงได้
4.5 การวิเคราะห์ขอ้ มลู เป็นอยา่ งดี มีการระบุรายละเอียด แนวคิด ตวั แปรให้
ในการวิเคราะห์ข้อมูลของแบบสอบถาม จะใช้ ชดั เจนท่ีสุดเทา่ ที่จะทาํ ได้
โปรแกรมสําเร็จรูปทางสถิติ มีลกั ษณะและวิธีการ
วิเคราะห์ขอ้ มลู ดงั น้ี 3) มีการใช้หลกั การเดียวกันในการจดั ระบบ
ตลอดงานวิจยั และการวิเคราะห์ขอ้ มลู
4.5.1 ขอ้ มลู ทวั่ ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม ใช้
สถิติเชิงพรรณนา โดยใช้ ค่าความถ่ี (Frequency) ค่า 4.6 สถิติที่ใชใ้ นการวิเคราะห์ขอ้ มูล
ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉล่ี ย (Mean) และส่ วน ส ถิ ติ ที่ ใช้ ใ น ก าร วิ จัย ค ร้ั ง น้ี ผู้วิ จัย ไ ด้ ใ ช้
เบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation : SD) โดย ค อ ม พิ ว เต อ ร์ วิ เค ร า ะ ห์ ข้อ มู ล โ ด ย ใ ช้ โ ป ร แ ก ร ม
เป็ นมาตราส่วนประมาณคา่ Rating Scale ตามวิธีการ สาํ เร็จรูปสาํ หรับค่าสถิติ ดงั น้ี
ของ Likert Scale โดยมีการกาํ หนดคะแนนแบ่งเป็ น
4.6.1 สถิติท่ีใชใ้ นการพฒั นาเคร่ืองมือความ
เท่ียงตรงตามเน้ือหา (Index of Congruence : IOC)

4.6.2 คา่ สถิติพ้ืนฐาน
1) คา่ ร้อยละ
2) คา่ เฉลี่ย
3) ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน


การประชมุ วชิ าการนาํ เสนอผลงานนักศกึ ษา ตารางที่ 2 แสดงค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน
370 NCTechED-Student Workshop 2022 คณุ ภาพของการจดั ทาํ บญั ชีในโรงพยาบาล
ส่งเสริมสุขภาพตาํ บล จงั หวดั หนองคาย
June 10,2022 โดยภาพรวม

5. สรุปผลการวจิ ยั

ตารางที่ 1 แสดงจาํ นวนร้อยละของระดบั ความรู้ของ คุณภาพการจดั ทาํ บญั ชี μ σ แปล
ผทู้ าํ 1. ดา้ นความถกู ตอ้ ง ความหมาย
2. ดา้ นความครบถว้ น
บญั ชีในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาํ บล 3. ดา้ นความทนั เวลา
ในเขตพ้ืนที่จงั หวดั หนองคาย ในภาพรวม
คา่ เฉล่ยี รวม
ความรู้ของ 4.50 0.72 มากทีส่ ุด
เจา้ หนา้ ที่ 4.56 0.71 มากทีส่ ุด
คะแ ระดบั ความรู้ จาํ นวน ร้อยละ 4.52 0.68 มากที่สุด
บญั ชี นน (คน) 4.52 0.70 มากทส่ี ุด

ดา้ นระเบียบ 8 มาก 3 4.05 จากตารางที่ 2 แสดงค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบน
การเงินและ 5-7 ปานกลาง 50 67.57 มาตรฐานคุณภาพของการจดั ทาํ บญั ชีในโรงพยาบาล
บญั ชี 1-4 น้อย 21 28.38 ส่งเสริมสุขภาพตาํ บล จงั หวดั หนองคายภาพรวม อยู่
ใน ระดับ มาก ที่ สุ ด (μ = 4.52, σ = 0.70) เม่ื อ
ดา้ นการ - มาก 00 เรี ยงลําดับจากมากไปหาน้อย พบว่า ด้านความ
บนั ทกึ ขอ้ มลู 2 ปานกลาง 62 83.78 ครบถ้วน (μ = 4.65, σ = 0.71) ด้านความทนั เวลา
ดา้ นการจดั ทาํ 0-1 12 16.22 (μ = 4.52, σ = 0.68) ดา้ นความถูกต้อง (μ = 4.50,
5-6 นอ้ ย 6 8.11 σ = 0.72)
รายงาน 3-4 มาก 52 70.27
การเงิน 0-2 ปานกลาง 16 21.62
นอ้ ย

ดา้ นโปรแกรม - มาก 00 6. อภปิ รายผล
บญั ชี 2-3 ปานกลาง 56 75.68 การศึกษาความรู้และคุณภาพในการจดั ทาํ บญั ชี
1 8 24.32
นอ้ ย ของเจ้าหน้าท่ีบัญชี โรงพยาบาลส่งเสริ มสุขภาพ
ตาํ บล จงั หวดั หนองคาย สามารถอภิปรายผล ดงั น้ี
จากตารางที่ 1 แสดงจํานวนร้อยละของระดับ
ความรู้ของผทู้ าํ บญั ชีในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ 6.1 ความรู้ของผู้จัดทําบัญชีในโรงพยาบาล
ตาํ บล ในเขตพ้ืนที่ จงั หวดั หนองคาย โดยภาพรวมอยู่ ส่งเสริ มสุขภาพตําบล จังหวัดหนองคาย ในด้าน
ในระดบั ปานกลาง จาํ แนกเป็นรายดา้ นท่ีถกู มากที่สุด ระเบียบการเงินและบัญชี ด้านการบันทึกบัญชี
ไปหาถูกนอ้ ยที่สุด พบว่าดา้ นการบนั ทึกบญั ชีการเงิน การเงิน ดา้ นการจดั ทาํ รายงานการเงินและบญั ชี และ
(ร้อยละ 83.78) ดา้ นโปรแกรมบญั ชี (ร้อยละ 75.68) ดา้ นโปรแกรมบญั ชี ในภาพรวม มีความรู้อยู่ในระดบั
ดา้ นการจดั ทาํ รายงานการเงิน (ร้อยละ 70.27) ปานกลางทุกด้าน ซ่ึ งสอดคล้องกับ ธมลวรรณ
ดา้ นระเบียบการเงินและบญั ชี (ร้อยละ 67.57) วงษ์ภูธร (2560) ได้ทําการศึกษาค้นคว้าเก่ียวกับ
คุณภาพ ปัญหาและแนวทางการแก้ไขในการจดั ทาํ
บญั ชีของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาํ บล จงั หวดั
สระแก้ว พบว่า ผูท้ าํ บญั ชีมีระดบั ความรู้การจัดทาํ
บญั ชีในภาพรวมอยใู่ นระดบั ปานกลาง ผลการศึกษา
เป็นรายดา้ น พบว่า คา่ คะแนนท่ีตอบถูกมากที่สุด คือ
ดา้ นการบนั ทึกบญั ชีการเงิน (ร้อยละ 83.78) พบว่า
บญั ชีการเงินของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาํ บล
ไดแ้ ก่ บญั ชีคุมเงินสดในมือ (401) บญั ชีคุมเงินนอก


งบประมาณ (404) และบญั ชีเงินคงเหลือประจําวนั การประชุมวชิ าการนําเสนอผลงานนกั ศกึ ษา
(407) (ร้อยละ 77.00) ดา้ นโปรแกรมบญั ชี (ร้อยละ NCTechED-Student Workshop 2022 371
75.68) พบว่า รหัสบญั ชีของโปรแกรมบัญชีท่ีใช้มี
ท้งั หมด 5 หมวด ไดแ้ ก่ 1) บญั ชีสินทรัพย์ 2) บญั ชี June 10,2022
หน้ีสิน 3) บญั ชีส่วนของเจา้ ของ 4) บญั ชีรายได้ และ
5) บญั ชีค่าใชจ้ ่าย (ร้อยละ 75.70) และดา้ นระเบียบ [2] ศูนยข์ อ้ มูลข่าวสารอิเลก็ ทรอนิกส์ของราชการ
การเงินและบญั ชี (ร้อยละ 67.57) พบว่า การรับเงิน สาํ นกั งานสาธารณสุขจงั หวดั หนองคาย,
จากผชู้ าํ ระตอ้ งมีการออกใบเสร็จรับเงินใหแ้ ก่ผชู้ าํ ระ [ออนไลน์],40 http://www.oic.go .th /infocenter4
ทกุ คร้ังที่มีการรับเงิน (ร้อยละ 91.90) 476/?fbclid =IwAR2uGGgk G2idgy-
y4S1xTaG7V6aPe9hkn f43GFu2vwF
6.2 คุณภาพของการจัดทําบญั ชีในโรงพยาบาล 8YbH7lAydesvGDO8.
ส่งเสริมสุขภาพตาํ บล จงั หวดั หนองคาย ในดา้ นความ (เขา้ ถึงเม่ือ : 25 กมุ ภาพนั ธ์ 2564).
ถูกตอ้ ง ความครบถว้ น และความทนั เวลา มีคุณภาพ
อยู่ในระดบั มากที่สุดทุกดา้ น ผลการศึกษาเป็ นราย [3] ธานินทร์ ศิลป์ จารุ, (2563), “การวิเคราะห์
ด้าน พบว่า ด้านความครบถ้วน (μ = 46.50, σ = ขอ้ มลู ทางสถิติดว้ ย SPSS และ AMOS,”
0.71) มีการจดั ทาํ รายงานค่าใชจ้ ่ายคา้ งจ่าย (μ = 4.61, (พิมพค์ ร้ังท่ี 18). นนทบรุ ี: เอส.อาร์.พร้ินติ้ง
σ = 0.68) ด้านความทนั เวลา (μ = 4.52, σ = 0.68) แมสโปรดกั ส์.
พบว่า ส่งงบทดลองข้ึนเว็บกลุ่มประกนั สุขภาพทนั
ภายในวันที่ 25 ของเดือนถัดไป (μ = 4.57, σ = [4] กานดา เต๊ะขนั หมาก, (2552), “ปัจจยั ที่สมั พนั ธ์
0.64) และด้านความถูกต้อง (μ = 4.50, σ = 0.72) กบั พฤติกรรมการดาํ เนินชีวิต ตามหลกั ปรัชญา
พบว่า ดา้ นความถูกตอ้ งอยู่ในระดบั มากท่ีสุดไดแ้ ก่ เศรษฐกิจพอเพียงของครัวเรือน,” กรุงเทพ
กรรมการเก็บรักษาเงินลงนามครบทุกคน (μ = 4.54, มหานคร: สถาบนั บณั ฑิตพฒั นบริหารศาสตร์.
σ = 0.71)
7. ข้อเสนอแนะ [5] นิสา แจ่มใส, (2555), “ความสัมพนั ธ์ระหวา่ ง
ความเชี่ยวชาญทางการบญั ชีกบั ผลการ
7.1 ความรู้ของเจ้าหน้าท่ีอยู่ในระดบั ปานกลาง ปฏิบตั ิงานของนกั บญั ชี โรงพยาบาลสงั กดั
คณุ ภาพการจดั ทาํ บญั ชีในระดบั มากที่สุดควรพฒั นา กระทรวงสาธารณะสุขในเขตภาคตะวนั ออก
ความรู้อยา่ งต่อเนื่อง เฉียงเหนือ,” มหาสารคาม:วิทยานิพนธ์
มหาวิทยาลยั มหาสารคาม.
7.2 ควรจดั การอบรมดา้ นโปรแกรมบญั ชีและดา้ น
การบนั ทึกบญั ชีการเงินให้ความรู้แก่เจา้ หน้าท่ีบญั ชี [6] ธิดารัตน์ คงบญุ , (2554), “ปัญหาและ
เพ่ือท่ีเจา้ หนา้ ที่จะไดม้ ีความรู้มากยิ่งข้ึน แนวทางการบริหารงบประมาณ
เอกสารอ้างอิง ของโรงเรียนสงั กดั เทศบาลเมืองปัตตานี,”
[1] ธมลวรรณ วงคภ์ ูธร, (2560), “คุณภาพ ปัญหา สารนิพนธ์ มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์.

และแนวทางแกไ้ ขในการจดั ทาํ บญั ชีของ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาํ บล
จงั หวดั สระแกว้ ,” ปริญญาบริหารธุรกิจ
มหาบณั ฑิต คณะบริหารธุรกิจ
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี.


การประชมุ วิชาการนําเสนอผลงานนักศกึ ษา
372 NCTechED-Student Workshop 2022

June 10,2022

วิเคราะหต์ ้นทนุ และผลตอบแทนธุรกิจพืชพันธ์ุ กรณศี ึกษาหม่บู ้านหนองแวง
ตำบลพานพร้าว อำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย

ภัสราภรณ์ ทะวงค์ศรี1*, รตั นาพร แก้วกันหา2 และอาทติ ยา รตั นวเิ ศษ3

บทคดั ย่อ

การวจิ ยั เร่อื ง วิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนธุรกจิ พชื พันธ์ุ กรณีศึกษาหมบู่ า้ นหนองแวง ตำบลพานพรา้ ว อำเภอศรี
เชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย มีวัตถุประสงค์ของโครงการเพื่อ 1) ศึกษาต้นทุนการผลิตและผลตอบแทนเชิงธุรกิจพืชพันธ์ุ
กรณีศึกษา หมู่บ้านหนองแวง ตำบลพานพร้าว อำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย 2) ศึกษาจุดคุ้มทุนจากการเพาะปลูก
พนั ธพุ์ ืช กรณศี กึ ษา หมบู่ ้านหนองแวง ตำบลพานพรา้ ว อำเภอศรเี ชียงใหม่ จังหวดั หนองคาย ประชากรทใี่ ชใ้ นการศกึ ษาครัง้
นี้ได้แก่ เกษตรกรหมูบ่ ้านหนองแวง ตำบลพานพร้าว อำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย ที่มีพื้นที่เพาะปลูก น้อยกว่า 1
ไร่ จำนวน 12 ครัวเรือน และ ไร่ขนาดกลางมีพื้นที่เพาะปลูก 1-3 ไร่ จำนวน 8 ครัวเรือน ใช้แบบสัมภาษณ์เป็นเครื่องมือใน
การวิจยั สถิตทิ ใ่ี ชใ้ นการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่ารอ้ ยละ(Percentage) ค่าเฉลยี่ (Mean) และสว่ นแบง่ เบนมาตรฐาน (Standard
Deviation)

ผลการวิจัย พบวา่ เกษตรกรในตำบลพานพร้าว อำเภอศรเี ชียงใหม่ จงั หวดั หนองคาย มตี ้นทนุ รวมในการผลิตทั้งส้ิน
ไร่ขนาดเล็ก 21,111.50 บาท ไร่ขนาดกลาง 21,321.50 บาท ต้นทุนการผลิต ต่อกิโลกรัม ไร่ขนาดเล็ก 2.03 บาท ไร่ขนาด
กลาง 2.13 บาท ดา้ นผลตอบแทน พบวา่ ไรข่ นาดเล็กมรี ายได้เฉลยี่ ตอ่ ปี 159,408 บาท มตี น้ ทุนผันแปร 20,400 บาท เกษตรกร
มีกำไรส่วนเกนิ 138,648 บาท ต้นทนุ คงท่ี 711.5 บาท กำไรสุทธเิ ฉล่ยี ต่อไร่ 137,936.5 บาท ไรข่ นาดกลางมรี ายได้เฉลี่ยต่อปี
152,280 บาท มตี ้นทนุ ผนั แปร 20,300 บาท เกษตรกรมกี ำไรส่วนกนิ 131,980 บาท ตน้ ทุนคงท่ี 1,021.5 บาท กำไรสุทธเิ ฉล่ีย
ตอ่ ไร่ 130,958.5 บาท ด้านผลตอบแทนจดุ คมุ้ ทนุ พบวา่ ไรข่ นาดเล็ก จดุ คมุ้ ทนุ 806.73 บาท ระยะเวลาคืนทนุ 1 เดือน 7 วัน
อัตราผลตอบแทนต่อต้นทุนการผลิตร้อยละ 67.61 อัตราผลตอบแทนต่อยอดขาย ร้อยละ 86.53 อัตราผลตอบแทนต่อการ
ลงทุนร้อยละ 65.33 ไร่ขนาดกลาง มีจุดคุ้มทุน 1,178.37 บาท ระยะเวลาคืนทุน 1 เดือน 10 วัน อัตราผลตอบแทนต่อตน้ ทนุ
การผลติ ร้อยละ 64.51 อตั ราผลตอบแทนต่อยอดขายร้อยละ 86.00 อัตราผลตอบแทนตอ่ การลงทนุ รอ้ ยละ 61.42
คำสำคัญ : วิเคราะห์ตน้ ทุน ผลตอบแทนธุรกจิ

1,2,3 สาขาวชิ าการบญั ชีพ วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาหนองคาย สถาบันการอาชวี ศกึ ษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1

*ภสั ราภรณ์ ทะวงค์ศรี โทร +6801648729 อเี มล; [email protected]

NCTechEd G12-2022


การประชุมวิชาการนาํ เสนอผลงานนกั ศึกษา
NCTechED-Student Workshop 2022 373

June 10,2022

MANUFACTURING AND RETURN ON CROP BUSINESS ANALYSIS :
A CASE STUDY OF MOO BAN NONG WANG, PHAN PRAO SUBDISTRIC,

SI CHIANG MAI DISTRIC, NONG HKAI PROVINCE

Patsaraporn Tawongsri1* , Rattanaporn Keawkanha2 and Arthitaya Rattanaawisat3

Abstract
The purposes of this study were to 1) Study the manufacture of production and return on crop Business Analysis,
and 2) Study the break-even point of plant cultivation. The populations were farmers in Nong Wang Village, Phan Prao
Sub-district, Si Chiang Mai District, Nong Khai Province, 12 households with a cultivation area of less than 1 rai and 8
households with medium-sized rais with 1–3 rai of cultivation area. The tool was an interview, and the statistics used were
Percentage, Mean, and Standard Deviation
The result of the study found that the farmers in Phan Phrao Subdistrict, Si Chiang Mai District, Nong Khai Province,
had a total cost of producing a small rai of 21,111.50 baht and a medium-sized rai of 21,321.50 baht. The cost of production
per kilogram was shown to be 2.03 baht for small rai and 2.13 baht for medium rai. In terms of yields, the small farms had
an average yearly income of 159,408 baht and variable costs of 20,400 baht. The farmers had an excess profit of 138,648
baht and fixed costs of 711.5 baht. They had an average net profit per rai of 137,936.5 baht. Similarly, medium-sized farms
earned an average of 152,280 baht per year, with variable expenditures of 20,300 baht. The farmer made 131,980 baht in
profit, with fixed costs of 1,021.5 baht. They made an average net profit of 130,958.5 baht per rai. In terms of the return-
break-even point, it was found that small farms had a break-even point of 806.73 baht in a payback period of 1 month and
7 days. The return on production cost was 67.61%, the return on sales was 86.53%, and the return on investment was
65.33%. The medium-sized rai had a break-even point of 1,178.37 baht, a payback period of 1 month, 10 days. The return
on the cost of production was 64.51%, the return on sales was 86.00 percent, and the return on investment was 61.42%
Keyword : Manufacturing and Return on Crop Business Analysis

1,2,3 Accounting Nongkhai Vocational College Instisute of Vocational Education Northeastern Region 1
* Patsaraporn Tawongsri1Tel: +6801648729 e-Mail; [email protected]

NCTechEd C11-2022


การประชมุ วชิ าการนําเสนอผลงานนกั ศกึ ษา ก็ประสบปัญหาเกี่ยวกับโรคแมลงระบาด เกษตรกรที่
374 NCTechED-Student Workshop 2022 ปลูกผักส่วนมากใช้บ่อน้ำตื้นในหมู่บ้าน และ ใช้น้ำใน
แม่น้ำโขงในฤดูแล้ง โดยใช้ปั๊มสูบจากแม่น้ำโขงเข้าใน
June 10,2022 พื้นที่เกษตรกร จะมีปัญหาการผลิตผัก ไม่เพียงพอกับ
ความต้องการของตลาดเนื่องจากฤดูฝนผลิตได้น้อยมาก
1. บทนำ ดังนั้น ผู้ศึกษาจึงเล็งเห็นปัญหาที่เกิดขึ้นจาก
ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีภูมิประเทศที่เหมาะ สภาพแวดล้อม สถานการณ์ที่ไม่แน่นอนต่อการประกอบ
อาชีพของเกษตรกรผู้ศึกษาจึงสนใจศึกษาในเรื่องของ
แก่การประกอบอาชีพเกษตรกรรมที่ถือว่า เป็นสินค้า ต้นทุนและผลตอบแทนของการเพาะพืชพันธุ์เพื่อ
เกษตรส่งออกอันดับหนึ่งที่สำคัญสามารถนำรายได้เข้า จำหน่ายและมีองค์ประกอบอะไรบ้างที่มีผลต่อการเพาะ
ประเทศ พืชผักก็เป็นสินค้าเกษตรชนิดหนึ่งที่ทั้งคนไทย พืชพันธุ์ ของหมู่บ้านหนองแวง อำเภอศรีเชียงใหม่
และคนต่างชาติต่างให้ความสำคัญและนำไปใช้ในการ จงั หวัดหนองคาย
บริโภคโดยเฉพาะในกลุ่มคนท่ีรักสุขภาพ นิยม
รับประทานผัก เพื่อรักษาสุขภาพ กรมวิชาการเกษตร 2. วัตถปุ ระสงคข์ องการวิจัย
(2555) ปัจจุบันภาวะเศรษฐกิจของทั่วโลกตกต่ำจึงทำให้ 2.1 เพือ่ ศกึ ษาต้นทนุ การผลติ และผลตอบแทนเชิง
มีผลต่อภาวะเศรษฐกิจในภูมิภาคต่าง ๆ เช่น เดียวกับ
ประเทศไทยที่ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ ธุรกิจพืชพันธุ์ กรณีศึกษาหมู่บ้านหนองแวง ตำบลพาน
เกษตรกรรม มีต้นทุนในการดำเนินงาน ทำให้เกิดปัญหา พรา้ ว อำเภอศรีเชยี งใหม่ จงั หวัดหนองคาย
มีรายได้น้อยกว่าค่าใช้จ่าย เกิดภาวะหนีส้ ินภาคครัวเรือน
มีผลทำให้กระทรวงเกษตร และสหกรณ์ มีการกำหนด 2.2 เพ่ือศึกษาจุดค้มุ ทุนจากการเพาะพันธุ์พืชพันธุ์
มาตรการรองรับในการแก้ไขปัญหาระยะยาว ได้แก่ การ ของธุรกิจพชื พันธุ์ กรณีศึกษาหมู่บ้านหนองแวง ตำบลพาน
พัฒนาศักยภาพ ของเกษตรกรในการเรียนรู้ โดยการทำ พรา้ ว อำเภอศรีเชยี งใหม่ จังหวัดหนองคาย
การเกษตรยุคใหม่ และให้การสนับสนุนข้อมูลและองค์
ความรู้ใน รูปแบบของการอบรมใหค้ วามรู้ผ่านเครือข่าย 3. กรอบแนวคิดของการวจิ ัย
ชุมชนต่าง ๆ พร้อมหาช่องทางการตลาดเพื่อเป็น การ
ส่งเสริมให้เกษตรกรได้มีการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมการ ตัวแปรต้น ตวั แปรตาม
ใช้จ่ายโดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง สร้างวินัยทาง
การเงิน โดยการทำบัญชีรายรับ - รายจ่ายครัวเรือน ทั้งน้ี รูปที่ 1 กรอบแนวคดิ ในการวจิ ัย
เพอื่ ลดการใชส้ ินคา้ ฟุ่มเฟือย รวมถงึ ได้ดำเนินการกำหนด
มาตรการระยะยาวอีกด้วย [1]

ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้า
เกษตร เลขที่ 64 หมู่ที่ 9 บ้านหนองแวง ตำบลพานพร้าว
อำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย มีพื้นที่ทั้งหมด
7,648 ไร่ พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ (S2) ชั้นความ
เหมาะสมปานกลาง พื้นที่ 5,261 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 68.79
ของพื้นที่เกษตรกร ส่วนใหญ่ปลูกข้าวเป็นอาชีพหลัก
ประมาณ 80 % ของพื้นท่ี และพืน้ ท่เี หมาะสมกบั การปลกู
ข้าวส่วนอาชีพรองของเกษตรกร คือการปลูกผักกินใบ
เช่น ผักบุ้ง คะน้า สลัด โหระพา กวางตุ้ง พริก มะเขือ
ข้าวโพดหวานก็จะมีพื้นที่ตะหลิ่งตามลำแม่น้ำโขง ซึ่ง
เป็นพื้นที่ที่เหมาะสมในการปลูกพืชผักเป็นอย่างมาก แต่

NCTechEd C11-2022


การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานนกั ศกึ ษา
NCTechED-Student Workshop 2022 375

June 10,2022

4. วธิ ีดำเนนิ การศึกษา จังหวัดหนองคาย ประกอบด้วย 1) การปลูกพืชพันธ์ุ
4.1 ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง
ประชากร (Population) ที่ใช้ในการศึกษาครงั้ ได้แก่ พันธุ์ สภาพดิน ส่วนที่ใช้ ปลูกระบบการปลูก 2)

นี้ ได้แก่ เกษตรกรรายย่อยที่ลงทุนปลูกพืชพันธุ์ ตำบล การดูแลรักษาและป้องกันกำจัดศัตรูพืช ได้แก่ ระบบน้ำ
พานพร้าว อำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย มี 6
หมู่บ้านจำนวนประชากร 5,366 คน จำนวน 1,292 การใช้ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ย สารเคมี การใช้สารเคมีป้องกัน
ครวั เรือน คอื
กำจัดศัตรูพืช 3) การเก็บเกีย่ วอายุในการเก็บเก่ียว 4) การ
หมู่ 1 บ้านโนนสงา่ มี 198 ครัวเรอื น
หมู่ 2 บ้านโนนสงา่ ใต้ มี 236 ครวั เรือน ขนส่ง ชอ่ งทาง ในการจดั จำหนา่ ย
หมู่ 3 บ้านหนองแวง มี 229 ครวั เรอื น
หมู่ 4 บา้ นหาดทรายทอง มี 232 ครัวเรือน ตอนที่ 3 ข้อมูลเกี่ยวกับต้นทุนการผลิตและ
หมู่ 5 บา้ นพานพร้าว มี 217 ครัวเรือน
หมู่ 6 บา้ นหวั ทราย มี 180 ครัวเรือน ผลตอบแทน ประกอบด้วยต้นทุนการผลิตของการ

รวม 1,292 ครวั เรอื น เพาะปลูกพืชพันธุ์ ของเกษตรกรรายย่อยในตำบลพาน
4.2 กลุ่มตัวอย่าง (Sample) ที่ใช้ในการศึกษาวิจัย
ในครั้งนี้ ได้แก่กำหนดกลุ่มตัวอย่างใช้วิธีเลือกแบบ พร้าว อำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย ใน
เฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) โดยมีหลักเกณฑ์
ดงั น้ี รายละเอยี ดที่สำคญั ปจั จัยดา้ นการเพาะปลูก ตน้ พันธ์ุ ปุ๋ย

1) เป็นเกษตรกรรายย่อย คอก ปยุ๋ เคมี คา่ นำ้ คา่ ไฟ คา่ น้ำมันเชอ้ื เพลิง น้ำมนั หล่อล่นื
2) พ้ืนที่เพาะปลกู
ค่าซ่อมแซมอุปกรณ์การเกษตร ค่าแรงงานรื้อไร่ การไถ
- ไร่ขนาดเล็กมีพื้นที่เพาะปลูก ระหว่าง 1-3
ไร่ จำนวน 20 ครวั เรอื น แรงงานปลกู ใส่ปุ๋ย เกบ็ เก่ียวขนสง่ รายได้ท่ีเกษตรกรขาย

4.3 เครอ่ื งมือที่ใชใ้ นการศกึ ษา ได้ ราคาทีจ่ ำหนา่ ยได้
สรา้ งแบบสมั ภาษณ์ แบบมโี ครงสร้างขอ้ มลู
ที่ต้องการจากวัตถุประสงค์การวิจัย แบ่งแบบสอบถาม ตอนท่ี 4 คำถามแบบปลายเปิด ให้แสดงความ
ออกเปน็ 4 ขั้นตอน ดังน้ี
ตอนที่ 1 ปัจจัยพื้นฐานทางด้านบุคคล สภาพ คิดเห็นถึงปัญหาและอุปสรรค ที่เกษตรกร ได้รับรวมถึง
เศรษฐกิจ สังคมบางประการของเกษตรกร ประกอบด้วย
เพศ อายุ ระดับการศกึ ษา ระยะเวลาในการประกอบอาชพี ข้อเสนอแนะ
การเพาะปลูก จำนวนสมาชิก ทั้งหมดในครัวเรือน
จำนวนแรงงานในครวั เรือนที่เปน็ แรงงานในการปลูกพืช 4.4 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
พันธุ์ พื้นที่ในการเพาะปลูก ลักษณะการถือครองที่ดิน
แหลง่ เงินกู้ยมื การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ท่ใี ช้ในการศึกษาครง้ั นี้

ตอนที่ 2 สภาพการเพาะปลูกพืชพันธุ์ของ จะประกอบด้วยขอ้ มูลปฐมภมู ิ และข้อมลู ทตุ ิยภมู ซิ ึ่งแยก
เกษตรกรรายย่อยตำบลพานพร้าว อำเภอศรีเชียงใหม่
ไดด้ งั นี้
NCTechEd C11-2022
4.4.1 ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) เป็นการ

รวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างเกษตรกรรายย่อยของผู้

ปลูกพืชพันธุ์ใน ตำบลพานพร้าว อำเภอศรีเชียงใหม่

จังหวัดหนองคาย โดยตรง ซึ่งรวมถึงข้อมูลที่ได้จาก

เจ้าหน้าที่องค์กรบริหารส่วนตำบลพานพร้าว ข้อมูล

เหล่านี้ได้มาจากการออกแบบสอบถามเชิงสัมพันธ์

เกษตรรายย่อยที่ปลูกพืชพันธุ์ โดยไร่ขนาดเล็กมีการ

เพาะปลูกระหว่าง 1-3 ไร่ เปน็ ต้น 4. 4. 2

ข้อมูลทตุ ยิ ภมู ิ (Secondary Data) เป็นข้อมลู ที่เพ่มิ เติมเพ่ือ

ใชใ้ นการสนบั สนุนการศึกษางานวิจยั ในคร้งั น้ีให้มีความ

สมบรู ณ์มากยงิ่ ข้ึน โดยผูว้ จิ ัยไดท้ ำการรวบรวมขอ้ มลู จาก

แหล่งต่าง ๆ อาทิ วรสาร เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

บทความที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนข้อมูลที่ได้รวบรวมมาจาก


การประชมุ วชิ าการนําเสนอผลงานนักศึกษา การวิเคราะห์ ไร่ขนาดเลก็ ไร่ขนาดกลาง
376 NCTechED-Student Workshop 2022
1. รายได้จากการจำหนา่ ย 159,408 152,280
June 10,2022 ผลผลติ รวมต่อไร่
2. ตน้ ทุนผนั แปรรวมเฉล่ยี 20,400 20,300
หน่วยงานราชการและเอกชน เช่น สำนักงานเกษตร ต่อไร่ (บาท)
อำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย กรมส่งเสริม 3. กำไรส่วนเกนิ เฉลี่ยตอ่ ไร 138,648 131,980
การเกษตร เปน็ ต้น (บาท) 711.5 1,021.5
4. ตน้ ทุนคงทรี่ วมเฉล่ยี ต่อไร่ 137,936.5 130,958.5
4.5 การวเิ คราะห์ข้อมูล (บาท) 806.73 1,178.37
วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลในการศึกษาครั้งนี้จะ 5. กำไรสทุ ธิเฉลย่ี ตอ่ ไร่ 1 เดอื น 7 1 เดือน 10
(บาท) วัน วัน645.12%
เป็นการศึกษาในเชิงเปรียบเทียบต้นทุนการผลิตและ 6. จุดคุ้มทนุ (บาท) 676.16% 86.00%
ผลตอบแทนทางการเงินการลงทุน ปลูกพืชพันธุ์ ของ 7. ระยะเวลาคนื ทนุ 86.53% 614.21%
เกษตรกรรายย่อย ตำบลพานพร้าวโดยผู้วิจัยจะวิเคราะห์ (วนั ,เดอื น,ปี) 653.37%
ข้อมูลข้อมูลในแบบเชิงพรรณนา (Descriptive analysis) 8. อัตราผลตอบแทนต่อ
ข้ันตอนในการดำเนนิ การวิเคราะหข์ ้อมลู ดังน้ี ตน้ ทุนผลิต
9. อตั ราผลตอบแทนตอ่
4.5.1 การวเิ คราะห์เชงิ พรรณนา ยอดขาย
(Descriptive Analysis) เปน็ การศกึ ษาถึง สภาพทวั่ ไป 10. อัตราผลตอบแทนต่อการ
และกระบวนการเพาะปลกู พชื พนั ธ์ุ การดแู ล การ ลงทุน
บำรงุ รกั ษา
5.1 แสดงใหเ้ ห็นว่าในการลงทุนปลูกพชื พันธุ์
4.5.2 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ต่อไร่ของเกษตรกรรายยอ่ ย โดยไรข่ นาดเล็กมีพื้นที่ 1 ไร่
( Quatitaive Analysis) เ ป ็ น ก า ร ว ิ เ ค ร า ะ ห ์ ข ้ อ มู ล ไร่ขนาดกลางมีพื้นที่ 3 ไร่ ไร่ขนาดเล็ก มีรายได้เฉลี่ยตอ่
ผลตอบแทนทางการเงิน โดยการศึกษาทฤษฎตี น้ ทุนและ ปี 159,408 บาท มีต้นทุนผันแปร 20,400 บาท เกษตรกร
ผลตอบแทนกัน มีกำไรส่วนกิน 138,648 บาท ต้นทุนคงที่ 711.5 บาท
กำไรสุทธิเฉลี่ยต่อไร่ 137,936.5 บาท ด้านผลตอบแทนมี
5. สรุปผลการวจิ ัย จุดคุ้มทุน 806.73 บาท ระยะเวลาคืนทุน 1 เดือน 7 วัน
อัตราผลตอบแทนตอ่ ต้นทุนการผลติ ร้อยละ 676.16 อตั รา
ตารางที่ 5.1 แสดงการสรปุ ต้นทนุ และผลตอบแทน ผลตอบแทนตอ่ ยอดขายร้อยละ 86.53 อัตราผลตอบแทน
ทางการเงนิ จากการลงทุนปลกู พชื พันธต์ุ อ่ ไร่ ต่อการลงทุนร้อยละ 653.37 ไร่ขนาดกลาง มีรายได้เฉลย่ี
ของเกษตรกรรายยอ่ ย หมูบ่ า้ นหนองแวง ต่อปี 152,280 บาท มีต้นทุนผันแปร 20,300 บาท
ตำบลพานพร้าว อำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย เกษตรกรมีกำไรส่วนกิน 131,980 บาท ต้นทุนคงท่ี

NCTechEd C11-2022


1,021.5 บาท กำไรสุทธิเฉลี่ยต่อไร่ 130,958.5 บาท ด้าน การประชุมวิชาการนาํ เสนอผลงานนกั ศกึ ษา
ผลตอบแทนมีจุดคุ้มทุน 1,178.37 บาท ระยะเวลาคืนทุน NCTechED-Student Workshop 2022 377
1 เดือน 10 วัน อัตราผลตอบแทนต่อต้นทุนการผลิตร้อย
ละ 645.12 อัตราผลตอบแทนต่อยอดขายร้อยละ 86.00 June 10,2022
อตั ราผลตอบแทนต่อการลงทุนร้อยละ 614.21
จังหวัดหนองคาย โดยมีกรอบแนวคิดของงานวิจัย
6. อภิปรายผล ประยุกต์จากแนวคิดต้นทุนการผลิตทั้งหมด และการ
จากการศึกษาเรื่องต้นทุนการผลิตและ ประหยัดจากขนาด วิธีค่าสำรวจ เก็บข้อมูลด้วยวิธีเลือก
กลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงจำนวน 20 ครัวเรอื น จาก
ผลตอบแทนเชิงธุรกิจพืชพันธุ์ กรณีศึกษา หมู่บ้านหนอง เกษตรกรรายย่อยผู้ปลูกพืชพันธุ์ ตำบลพานพร้าว อำเภอ
แวง ตำบลพานพร้าว อำเภอศรเี ชยี งใหม่ จงั หวดั หนองคาย ศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย เพื่อตอบคำถามเกี่ยวกับ
อภปิ รายผลได้ดังน้ี ขอ้ มูลการเงนิ ของปีเพาะปลกู 2560 -2563 ขอ้ มลู วิเคราะห์
โดยการวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนโดยใช้ข้อมูล
ด้านต้นทุนการปลูกพืชพันธุ์ พบว่าเกษตรกรใน ทางการเงิน โดยกำหนดอัตราคิดลดร้อยละ 7 ร้อยละ 12
ตำบลพานพร้าว อำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย มี ต่อปี ผลการวิจัยพบว่า 1) การลงทุนปลูกพืชพันธุ์ของ
ต้นทุนรวมในการผลิตทั้งสิ้น ไร่ขนาดเล็ก 21,111.50 บาท เกษตรกรรายย่อย ให้ผลตอบแทนที่คุ้มค่ากับการลงทุน
ไรข่ นาดกลาง 21,321.50 บาท ตน้ ทนุ การผลติ ตอ่ กิโลกรัม ในทุกขณะของการเพาะปลูก 2) ปัญหาหลักในการปลูก
ไร่ขนาดเล็ก 2.03 บาท ไร่ขนาดกลาง 2.13 บาท ด้าน พืชพันธุ์โดยส่วนใหญ่จะเกิดจากปัจจัยการผลิตได้แก่
ผลตอบแทน พบว่า ไร่ขนาดเล็ก มีรายได้เฉลี่ยต่อปี ปยุ๋ เคมีราคาสูง และนำ้ แลง 3) การผลิตของไรข่ นาดกลาง
159,408 บาท มีต้นทุนผันแปร 20,400 บาท เกษตรกรมี มีประสทิ ธภิ าพมากท่สี ุดเพราะมีระยะเวลาคนื ทุนเร็วและ
กำไรส่วนกนิ 138,648 บาท ตน้ ทนุ คงท่ี 711.5 บาท กำไร มีอัตราผลตอบแทนภายในโครงการสูง เป็นไปตามหลกั
สทุ ธเิ ฉล่ยี ตอ่ ไร่ 137,936.5 บาท ของการประหยัดขนาด และ 4) ผลจากวิเคราะห์ความ
ไร่ขนาดกลาง มีรายได้เฉลี่ยตอ่ ปี 152,280 บาท มีต้นทุน อ่อนไหว สะท้อนว่า ในกรณีที่มีรายได้ลดลง 10% หรือ
ผันแปร 20,300 บาท เกษตรกรมีกำไรส่วนเกิน 131,980 ต้นทุนเพิ่มขึ้น 10% การลงทุนก็ยังมีความคุ้มค่าต่อการ
บาท ต้นทุนคงที่ 1,021.5 บาท กำไรสุทธิเฉลี่ยต่อไร่ ลงทุนในทุกขนาดการเพาะปลูก ในขณะที่ไร่ขนาดกลาง
130,958.5 บาท ด้านผลตอบแทนจุดคมุ้ ทนุ พบว่า ไร่ขนาด ยังคงมีผลตอบแทนภายในโครงการสูงที่สุด คนดังกล่าว
เล็ก จุดคุ้มทุน 806.73 บาท ระยะเวลาคืนทุน 1 เดือน 7 ตีความได้ว่า เกษตรควรพิจารณาลงทุนในไร่ที่มีขนาด
วัน อัตราผลตอบแทนต่อต้นทุนการผลิตร้อยละ 676.16 กลางหรือรวมตวั กันทำแรกใหม้ ขี นาดใหญข่ ้นึ
อัตราผลตอบแทนต่อยอดขายร้อยละ 86.53 อัตรา
ผลตอบแทนต่อการลงทนุ ร้อยละ 653.37 ไร่ขนาดกลาง มี 7. ขอ้ เสนอแนะ
จดุ คุ้มทุน 1,178.37 บาท ระยะเวลาคนื ทุน 1 เดือน 10 วัน จากการวเิ คราะห์ตน้ ทุนและผลตอบแทนของการ
อัตราผลตอบแทนตอ่ ตน้ ทุนการผลิตรอ้ ยละ 645.12 อตั รา
ผลตอบแทนต่อยอดขายรอ้ ยละ 86.00 อัตราผลตอบแทน ลงทุนปลูกพืชพันธุ์ของเกษตรกรในตำบลพานพร้าว
ต่อการลงทุนร้อยละ 614.21 ซึ่งสอดคล้องกับ ธนยา อำเภอศรีเชยี งใหม่ จังหวดั หนองคาย พบว่าเป็นโครงการ
พร้อมมูล (2559) การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษา ที่น่าลงทุนเพราะให้อัตราผลตอบแทนที่คุ้มค่า ในช่วงท่ี
ต้นทุนและผลตอบแทน ในการลงทุนปลูกพืชพันธุ์ของ ราคารับซื้อพืชพันธุ์ของท้องตลาดให้ราคาที่สูง แต่หาก
เกษตรกรรายย่อย ตำบลพานพร้าวอำเภอศรีเชียงใหม่ เกดิ ราคาพชื พนั ธ์ขุ องทอ้ งตลาดตกต่ำก็จะทำให้เกษตรกร
ประสบปญั หารายไดล้ ดลง ดงั นนั้ หนว่ ยงานของรฐั ควรมี
NCTechEd C11-2022 การวางแผนโดยเป็นตัวกลางให้เกษตรกร มีส่วนร่วมใน
การวางแผนร่วมกันกับท้องตลาด เพื่อให้ผลผลิต
สอดคล้องกับความต้องการทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ


Click to View FlipBook Version