The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการดำเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน พ.ศ.2560 โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ หน้า 1-492

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kookkig.work42, 2021-10-14 02:37:54

คู่มือการดำเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน1

คู่มือการดำเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน พ.ศ.2560 โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ หน้า 1-492

Keywords: พฤษศาสตร์

โครงการอนรุ ักษ์พันธกุ รรมอนั เน่ืองมาจากพระราชดาริ
สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (อพ.สธ.)
คู่มอื การดาเนนิ งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น พุทธศักราช 2560

28 กรกฎาคม 2560


คำนำ

โครงการอนุรกั ษพ์ นั ธุกรรมพืชอนั เน่ืองมาจากพระราชดาริ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราช
กมุ ารี (อพ.สธ.) กรอบการสร้างจิตสานึก กิจกรรมท่ี 7 กิจกรรมสร้างจิตสานึกในการอนุรักษ์ทรัพยากร จัดทา
ค่มู ือการดาเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน พุทธศักราช 2560 เพื่อใช้เป็นแนวทางในการดาเนินงานให้ถูก
ตรงตามแนวพระราชดาริ

คู่มือการดาเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน พุทธศักราช 2560 แสดงถึงท่ีมาและความสาคัญ
เป้าหมายและวัตถุประสงค์ของโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ พระราชดาริ แนวทางการดาเนินงานสวน
พฤกษศาสตร์โรงเรียน ความหมายของงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน วัตถุประสงค์ของการดาเนินงานสวน
พฤกษศาสตร์โรงเรียน ปรัชญาการสร้างนักอนุรักษ์ บรรยากาศของงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน วิธีการ
ดาเนินงานและการบริหารจัดการเรียนรู้งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน การบริหารและการจัดการเรียนรู้
วิธีการดาเนินงาน 5 องคป์ ระกอบของสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน การเรียนรู้สาระ ธรรมชาติแห่งชีวิต สรรพสิ่ง
ลว้ นพนั เก่ียว และประโยชนแ์ ท้แกม่ หาชน การสารวจและการจดั ทาฐานทรัพยากรท้องถิ่น รวมทั้งการประเมิน
สถานศึกษา เพอ่ื ใหก้ ารเรยี นรู้นาไปสู่การพัฒนาตน องค์กร สงั คม ประเทศชาติต่อไป

โครงการอนรุ ักษ์พันธกุ รรมพชื อันเนอื่ งมาจากพระราชดาริฯ
28 กรกฎาคม 2560


กติ ติกรรมประกาศ

โครงการอนุรกั ษพ์ นั ธกุ รรมพชื อันเน่ืองมาจากพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช
กมุ ารี (อพ.สธ.) เปน็ โครงการทส่ี มเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงสืบสานพระราชปณิธาน
ในการอนุรักษ์ทรัพยากรของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ที่ทรงมีสายพระเนตรอัน
กว้างไกล โดยทรงให้ความสาคญั และเหน็ ถงึ ความสาคัญของการอนรุ ักษ์พันธุกรรมพืช ทรัพยากร และการสร้าง
จิตสานึก นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณล้นเกล้าล้นกระหม่อมแก่ปวงชนชาวไทยและประเทศไทยเป็นล้นพ้น
ท่ีได้รับพระราชทาน แนวพระราชดาริ พระราชกระแส และพระราชวินิจฉัย เพื่อเป็นกรอบในการดาเนินงาน
สวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น

คู่มือการดาเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน พุทธศักราช 2560 สาเร็จได้ด้วยความมุ่งมั่น
ในการเรียนรู้และพัฒนา วิทยาการ ปัญญา และภูมิปัญญาแห่งตนจากทุกภาคส่วน ในการดาเนินงานสนอง
พระราชดาริฯ งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน กิจกรรมท่ี 7 กิจกรรมสร้างจิตสานึกในการอนุรักษ์ทรัพยากร
โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริฯ (อพ.สธ.) ตามยุทธศาสตร์ แผนแม่บท อพ.สธ.
ระยะ 5 ปีท่ีหก (ตุลาคม พ.ศ. 2559 - กันยายน พ.ศ. 2564) ท้ังนี้ขอขอบพระคุณ คณะผู้บริหาร อพ.สธ. และ
คณะที่ปรึกษาประสานงาน อพ.สธ. ที่สละเวลาอันมีค่าให้ข้อเสนอแนะ ช้ีแนะแนวทางอันเป็นประโยชน์ต่อการ
แก้ไข ปรับปรุง พัฒนางานเปน็ อย่างดี

ขอขอบพระคุณ คณะเจ้าหน้าที่กรอบการสร้างจิตสานึก ท่ีร่วมคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้
และองค์ความรู้ จากการดาเนินงานและติดตามประสานงานสมาชิกสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน พร้อมทั้งคู่มือ
การดาเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน พุทธศักราช 2543 และ 2551 ซ่ึงนาไปสู่การสร้างความเข้าใจ
สนทนา และอภิปราย ตลอดจนแลกเปลี่ยนความคิดเห็น อันเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการจัดทาร่างและเสนอ
เพ่ือปรับปรุง พัฒนา ท้ังคุณภาพและมาตรฐาน ต้ังแต่เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2558 เป็นต้นมา เป็นคู่มือ
การดาเนินงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน พทุ ธศกั ราช 2560 จนสาเรจ็ สมบรู ณ์ ลลุ ่วงไปด้วยดี

ท้ายนี้ใคร่ขอขอบพระคุณทุกสรรพสิ่ง สรรพชีวิต สรรพการกระทา ที่ล้วนก่อให้เกิดกา รเรียนรู้
และองค์ความรู้ จากนามธรรม จนปรากฏเป็นรูปธรรม ซ่ึงเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการดาเนินงาน
สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น การดาเนินชวี ิตและการพัฒนาจิตใจ บนฐานปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

โครงการอนรุ ักษ์พันธกุ รรมพชื อันเนือ่ งมาจากพระราชดารฯิ
28 กรกฎาคม 2560

สารบัญ หนา้

คานา ข
สารบัญ จ
สารบัญตาราง ฉ
สารบญั ภาพ 1
บทที่ 1 บทนา 1
13
1.1 ที่มาและความสาคัญในการสนองพระราชดาริ
1.2 พระราชดารบิ างประการ (พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช 20
และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี) 34
1.3 กรอบการดาเนินงานและกจิ กรรมของ อพ.สธ.
1.4 เปูาหมายและวตั ถุประสงคข์ องโครงการอนุรักษ์พนั ธุกรรมพืชอนั เน่ืองมาจาก 35
พระราชดาริฯ 41
1.5 การกา้ วเข้าสู่แผนแมบ่ ทระยะ 5 ปที ี่หก (ตลุ าคม 2559 - กนั ยายน 2564) 41
บทที่ 2 แนวทางการดาเนนิ งานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน 42
2.1 ความหมายของงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน 42
2.2 วัตถปุ ระสงค์ของการดาเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น 42
2.3 ปรชั ญาการสร้างนกั อนุรักษ์ 43
2.4 บรรยากาศของงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น 43
บทท่ี 3 วธิ ีการดาเนนิ งานและการบริหารจัดการเรยี นรู้งานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน 43
3.1 ด้านการบรหิ ารและการจัดการงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน 45
51
3.1.1 งานที่ 1 ฝาุ ยบคุ ลากร 51
3.1.2 งานท่ี 1 ฝุายระบบ 117
3.2 ดา้ นการจดั การเรียนรู้ งานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน 133
3.2.1 องค์ประกอบที่ 1 การจดั ทาปูายชอ่ื พรรณไม้ 147
3.2.2 องค์ประกอบท่ี 2 การรวบรวมพรรณไมเ้ ข้าปลูกในโรงเรยี น 169
3.2.3 องค์ประกอบที่ 3 การศึกษาข้อมูลด้านตา่ งๆ 179
3.2.4 องคป์ ระกอบที่ 4 การรายงานผลการเรียนรู้ 193
3.2.5 องคป์ ระกอบท่ี 5 การนาไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา 207
3.2.6 สาระการเรยี นรู้ ธรรมชาติแห่งชวี ิต 211
3.2.7 สาระการเรยี นรู้ สรรพสิ่งลว้ นพันเก่ยี ว 223
3.2.8 สาระการเรียนรู้ ประโยชน์แท้แก่มหาชน 225
3.2.9 การสารวจและจัดทาฐานทรพั ยากรทอ้ งถ่ิน 229
บทท่ี 4 มาตรฐานการดาเนินงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น 249
4.1 มาตรฐานด้านการบรหิ ารและการจดั การ 255
4.2 มาตรฐานการจดั การเรยี นรู้ 255
4.3 มาตรฐานการฝกึ อบรมงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น
บทท่ี 5 การประเมนิ ผล
5.1 เกณฑ์การประเมินสถานศึกษา ขน้ั ตอนและวิธีการประเมนิ ผลการดาเนนิ งานสวน
พฤกษศาสตร์โรงเรียน

ค หนา้
261
สารบญั (ต่อ) 263

บรรณานุกรม
ภาคผนวก

ข้ันตอนการสมคั รสมาชิกสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น
แบบศึกษาพรรณไม้ในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน (ก.7-003)
ทะเบียนพรรณไม้ (ก.7-005)
คมู่ ือการทาทะเบยี นพรรณไม้
ทะเบียนทรัพยากรในชมุ ชน
ทะเบียนพรรณไม้ในชมุ ชน
ทะเบียนพันธุ์สัตว์ในชมุ ชน
ทะเบยี นชวี ภาพอืน่ ๆในชมุ ชน
ทะเบียนภมู ปิ ัญญาในชุมชน
ทะเบียนทรัพยากรในชุมชน
ทะเบยี นโบราณคดใี นชุมชน
ตัวอย่างใบงาน – ใบความรู้
ดา้ นท่ี 1 การบรหิ ารและการจดั การ
องค์ประกอบที่ 1 การจดั ทาปูายชอ่ื พรรณไม้
องคป์ ระกอบท่ี 2 การรวบรวมพรรณไมเ้ ข้าปลูกในโรงเรยี น
องค์ประกอบท่ี 3 การศึกษาข้อมลู ด้านตา่ งๆ
องคป์ ระกอบท่ี 4 การรายงายผลการเรยี นรู้
องค์ประกอบท่ี 5 การนาไปใช้ประโยชนท์ างการศึกษา
สาระการเรียนรู้ : ธรรมชาติแหง่ ชีวติ
สาระการเรยี นรู้ : สรรพสิ่งลว้ นพนั เก่ียว
สาระการเรียนรู้ : ประโยชนแ์ ทแ้ ก่มหาชน
ใบงานการสารวจและจัดทาฐานทรัพยากรทอ้ งถน่ิ (9 ใบงาน)
คู่มือการประเมินความถูกต้องทางวชิ าการ
แบบประเมินสถานศึกษา (ก.7-009)
ระดับปาู ยสนองพระราชดาริงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น

- เกยี รตบิ ัตรงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น ข้นที่ 1 เกยี รตบิ ัตรแหง่ ความมุ่งมั่น
อนรุ ักษ์ สรรพสิง่ สรรพชีวิต ด้วยจติ สานึกของครแู ละเยาวชน

- เกียรติบตั รงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น ขนั้ ที่ 2 เกียรติบตั รแหง่ การเขา้ สู่
สถานภาพ สถานศึกษาอบรมส่ังสอนเบ็ดเสรจ็ บนฐานงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น

- เกยี รติบตั รงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ขน้ั ท่ี 3 เกียรติบัตรแหง่ การเป็นสถาน
อบรมสงั่ สอนเบ็ดเสรจ็ บนฐานงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
คู่มอื การพจิ ารณาให้คะแนนสถานศึกษา (ก.7-008)
แนวทางการจัดทารายงาน

- รายงานผลการดาเนนิ งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
- รายงานผลการศกึ ษา พืชศึกษา
- รายงานผลการศกึ ษา ธรรมชาตแิ หง่ ชวี ติ



ภาคผนวก (ตอ่ )
- รายงานผลการศึกษา สรรพส่ิงล้วนเกีย่ วพนั เกย่ี ว
- รายงานผลการศกึ ษา ประโยชนแ์ ทแ้ ก่มหาชน
- รายงานผลการสารวจและจดั ทาฐานทรัพยากรท้องถน่ิ
คาอธิบายศพั ท์

คณะผจู้ ัดทา
ผบู้ ริหาร อพ.สธ.
ที่ปรกึ ษาประสานงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี นและงานฐานทรัพยากรทอ้ งถ่นิ
อพ.สธ.
เจา้ หน้าทก่ี รอบการสรา้ งจิตสานกึ

จ หน้า
181
สารบญั ตาราง 182
ตารางที่ 183
3.1 แสดงผลการเรียนรู้รูปร่างของแผน่ ในหม่อน ในระยะทม่ี ีการเจริญเตบิ โตเต็มที่ 185
3.2 แสดงผลการเรียนรรู้ ปู รา่ งของแผ่นใบหมอ่ น ในระยะท่ีมีการเจริญเติบโตในแตล่ ะช่วงอายุ 188
3.3 แสดงผลการเรยี นรู้การได้กล่ินของผลหม่อน ในระยะที่มีการเจริญเติบโตเต็มท่ี 188
3.4 แสดงผลการเรยี นรูก้ ารเปลี่ยนแปลงการไดก้ ล่นิ ของผลใบหม่อนในแต่ละชว่ งอายุ 189
3.5 แสดงการเปลีย่ นแปลงและความแตกต่างระหวา่ งพชื กับตน / คน 189
3.6 แสดงการเปลีย่ นแปลงและความแตกต่างของรูปกายตน / คน 213
3.7 แสดงการเปล่ียนแปลงและความแตกต่างของสรรถภาพ 215
3.8 แสดงการเปล่ียนแปลงและความแตกต่างของจติ อารมณ์ และพฤตกิ รรม
3.9 ตวั อยา่ งตารางสรุปการสารวจ
3.10 ตวั อยา่ งตารางสรปุ ขอ้ มลู การประกอบอาชีพในท้องถ่ิน

ฉ หนา้
7
สารบัญภาพ
ภาพที่ 7
1.1 พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช ทรงปลกู ยางนา ณ พระตาหนักเรือน
8
ตน้ สวนจิตรลดา พระราชวงั ดุสิต กรงุ เทพมหานคร เพ่อื การอนรุ กั ษ์พนั ธุกรรมพชื
1.2 สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงสบื สานพระราชปณธิ านของ 8
9
พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช
1.3 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงประทบั บนตน้ ไม้ เมือ่ ครั้งทรง 10
11
พระเยาวก์ ับพระสหาย 11
1.4 สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงสนพระทยั ในการศกึ ษาพรรณไม้ 41
1.5 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี เมื่อครงั้ ทรงพระเยาว์ ทรงสนพระทัย 46
48
ในธรรมชาติของสตั ว์ 50
1.6 พืชตระกลู หวาย หนึ่งในพืชที่มีพระราชดารใิ ห้อนุรักษแ์ ละขยายพันธ์ุ 52
1.7 พรรณไม้ในสวนสมุนไพร สวนจติ รลดา 52
1.8 ธนาคารพชื พรรณ โครงการอนรุ ักษ์พันธุกรรมพืชอันเนอื่ งมาจากพระราชดารฯิ (อพ.สธ.) 53
2.1 แผนภาพสรุปกระบวกการเรยี นรู้ งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น 54
3.1 ตารางแผนการดาเนินงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน
3.2 ตารางปฏิทนิ การปฏิบตั ิงาน งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน 55
3.3 ตารางการดาเนนิ งานด้านที่ 2 สาระการเรยี นรู้องค์ประกอบท่ี 1 56
3.4 ตัวอย่างผังพ้นื ทีท่ ้งั หมดของโรงเรียน 56
3.5 ตัวอย่างผงั บริเวณภายในโรงเรยี น 56
3.6 ตวั อยา่ งผังกาหนดขอบเขตพื้นที่ศกึ ษาภายในโรงเรียน 57
3.7 การสารวจพรรณไมใ้ นพนื้ ท่ศี ึกษา โดยมีครู บคุ ลากรในสถานศึกษาหรือผู้รู้ในท้องถน่ิ ให้ 57
58
ความร้เู กยี่ วกับพรรณไม้ได้ 59
3.8 ตวั อย่างตารางการสารวจพรรณไม้ในพน้ื ท่ีศกึ ษาในโรงเรยี น 60
3.9 รปู แบบปูายรหัสประจาต้น 60
3.10 ตวั อย่างวัสดุทน่ี ามาทาปูายรหสั ประจาต้น 61
3.11 ตัวอย่างวสั ดทุ นี่ ามาทาสายรัดปูายรหสั ประจาต้น 61
3.12 ตวั อยา่ งปูายรหสั ประจาต้นแบบตา่ งๆ 62
3.13 ตวั อยา่ งการติดปูายรหัสประจาต้นแบบผูก
3.14 ตัวอยา่ งการติดปูายรหสั ประจาต้นแบบปัก 63
3.15 แสดงการวดั ความสูงและความกว้างทรงพุ่มของลักษณะวิสัย ไมต้ น้ 63
3.16 แสดงการวัดความสูงและความกว้างทรงพุม่ ของลักษณะวสิ ัย ไม้พุ่ม
3.17 ลักษณะวิสยั ไมเ้ ล้ือย เลอ้ื ยไปตามเสา
3.18 ลักษณะวสิ ัยไม้เลื้อย เลือ้ ยไปตามพืน้ ดิน
3.19 ใบงานและผลงาน เอกสาร ก.7-003 หนา้ ปก
3.20 ใบงานและผลงาน เอกสาร ก.7-003 หนา้ ท่ี 1 ในการศึกษาขอ้ มูลพื้นบา้ นของพรรณไม้

ในโรงเรียน
3.21 ตัวอย่างตารางตาแหน่งพิกดั พรรณไม้
3.22 ตัวอยา่ งพิกัด ตาแหนง่ พรรณไม้ โดยวิธีคู่อนั ดับ

ช หน้า
64
สารบญั ภาพ (ต่อ)
ภาพท่ี 65
3.23 ตัวอยา่ งการวัดความกว้างทรงพุม่ มุมมองด้านบน ทงั้ 4 ทศิ คอื ทิศเหนอื ทิศใต้ 65
66
ทิศตะวนั ออก และทศิ ตะวันตก 66
3.24 แสดงตัวอยา่ งการบันทึก ตารางแสดงค่าความกว้างทรงพุ่มพรรณไม้ 68
3.25 ตวั อยา่ งผงั พรรณไม้ 68
3.26 ตัวอยา่ งผังพรรณไม้ย่อย ในเขตพนื้ ท่ีศึกษา 69
3.27 ตวั อยา่ งผงั พรรณไมร้ วม 69
3.28 ใบงานและผลงาน การศึกษาข้อมลู พรรณไม้ เอกสาร ก.7-003 หนา้ ที่ 2 70
3.29 ใบงานและผลงาน การศึกษาข้อมูลพรรณไม้ เอกสาร ก.7-003 หน้าที่ 3 70
3.30 ใบงานและผลงาน การศึกษาข้อมูลพรรณไม้ เอกสาร ก.7-003 หน้าท่ี 4 71
3.31 ใบงานและผลงาน การศึกษาขอ้ มูลพรรณไม้ เอกสาร ก.7-003 หน้าที่ 5 71
3.32 ใบงานและผลงาน การศึกษาขอ้ มลู พรรณไม้ เอกสาร ก.7-003 หนา้ ท่ี 6 72
3.33 ใบงานและผลงาน การศึกษาขอ้ มลู พรรณไม้ เอกสาร ก.7-003 หน้าที่ 7 73
3.34 ตัวอย่าง การหาความสูงแบบสามเหล่ยี มคล้าย
3.35 การวดั ความกวา้ งของทรงพ่มุ ตามแนวทิศ เหนือ-ใต้ หรือตะวันออก-ตะวันตก 74
3.36 ลาดับการวาดภาพทางพฤกษศาสตรส์ ว่ นตา่ งๆของพรรณไมใ้ นใบงาน ก.7-003 หนา้ ที่ 7 75
3.37 ภาพตัวอยา่ ง ลาดับการวาดภาพทางพฤกษศาสตร์แต่ละสว่ นประกอบของพรรณไม้ โดย 76
76
มีมาตราสว่ นกากบั ในเอกสาร ก.7-003 หน้าท่ี 7 79
3.38 ตัวอย่างภาพถา่ ยพรรณไม้ให้ครบทุกสว่ น ลกั ษณะวิสัย ไม้ต้น 80
3.39 ตัวอยา่ งการภาพถ่ายพรรณไม้แตล่ ะส่วนประกอบ ลาตน้ ใบ ดอก ผล และเมลด็
3.40 วิธีการจดั เกบ็ ภาพถ่ายพรรณไมล้ งในโฟลเดอร์ 80
3.41 วิธกี ารจดั เก็บและสบื ค้นข้อมูลภาพถ่ายด้วยระบบคอมพิวเตอร์
3.42 ข้นั ตอนการวาดภาพทางพฤกษศาสตร์ 81
3.43 การวาดภาพทางพฤกษศาสตร์ สว่ นประกอบต่างๆของพรรณไม้ โดยกรกาหนดสัดสว่ น 82
83
ในรปู แบบมาตราส่วน 84
3.44 การวาดภาพทางพฤกษศาสตร์ สว่ นประกอบต่างๆของพรรณไม้ โดยการกาหนดสัดสว่ น 84
85
ในรูปแบบเส้นขดี ระยะ
3.45 การจัดเก็บภาพวาดทางพฤกษศาสตรใ์ นรูปแบบภาพถ่ายในระบบคอมพิวเตอร์ 86
3.46 การเตรยี มวัสดุและอปุ กรณ์การทาตัวอย่างพรรณไม้แหง้ 86
3.47 ข้นั ตอนการทาตัวอย่างพรรณไม้แห้ง 87
3.48 การตากหรืออบตวั อยา่ งพรรณไม้แหง้ 88
3.49 อปุ กรณส์ าหรับใช้ในการเยบ็ ตัวอย่างพรรณไม้แห้ง
3.50 วิธกี ารเย็บตวั อยา่ งพรรณไมด้ ้านหนา้ และด้านหลงั ท่ีมีการมัดปมทกุ ครง้ั เมื่อเยบ็ ในจดุ

ถัดไปเพอ่ื ความแขง็ แรงของการยึดติดกบั กระดาษ และติดปาู นข้อมูลพรรณไม้ด้านมมุ
ล่างซ้ายของกระดาษเสมอ
3.51 ตัวอย่างระบบการจัดเก็บตัวอย่างพรรณไม้แห้ง
3.52 พรรณไมช้ นดิ ตา่ งๆ สาหรับทาตัวอย่างพรรณไมด้ อง
3.53 ตัวอยา่ งอปุ กรณส์ าหรบั ทาตวั อยา่ งพรรณไมด้ อง
3.54 ตัวอย่างการติดปาู ยข้อมูลพรรณไม้ ตามแบบ อพ.สธ.

ซ หนา้
89
สารบัญภาพ (ต่อ)
ภาพที่ 90
3.55 ตวั อย่างพรรณไม้ดองของผลมะเฟือง แบบตัดตามยาว แบบตดั ตามขวาง และทง้ั ผล
90
ภายในขวดเดยี วกัน 91

3.56 วิธีการและรปู แบบการจัดเกบ็ ตัวอย่างพรรณไม้ดองในระบบคอมพวิ เตอร์สามารถสบื คน้ 92
ได้ 93
94
3.57 แสดงตวั อยา่ งวธิ ีการและรูปแบบการจดั เก็บตัวอยา่ งพรรณไมด้ อง
3.58 ภาพตวั อย่าง จานหรือกลอ่ งเก็บตัวอยา่ ง (ข้ึนอยู่กับขนาดของตัวอยา่ ง และปูายข้อมลู 95

พรรณไม)้ 96
3.59 การเกบ็ ตวั อย่างไว้ในตหู้ รอื ช้ันวางตวั อยา่ ง
3.60 วธิ กี ารและรูปแบบการเขยี นเอกสาร ก.7-003 หนา้ ท่ี 8 97
3.61 ตวั อยา่ งส่อื อเิ ลก็ ทรอนิกส์การสืบค้นทีใ่ ช้สบื ค้นข้อมลู พรรณไม้ (โปรแกรมสืบค้นข้อมูล
98
พรรณไมใ้ นเมืองไทย TPN 2006) 99
3.62 ตัวอยา่ งสื่ออเิ ล็กทรอนิกส์การสืบค้นทีใ่ ช้สืบค้นข้อมลู พรรณไม้ (โปรแกรมสืบคน้ ชือ่
99
พรรณไมใ้ นเมืองไทย TPN 2006) 100
3.63 ตัวอย่างหนังสือทใ่ี ช้ในการสืบค้นขอ้ มลู พรรณไม้ ที่มแี หล่งท่ีมาและน่าเชื่อถือ 101
101
3.64 การเปรียบเทยี บรูปภาพจาการศกึ ษาในหน้าที่ 7 (เอกสาร ก.7-003) กับเอกสารที่ 102
นา่ เชื่อถือ 102
103
3.65 การเปรียบเทยี บขอ้ มูลหนา้ ที่ 8 (เอกสาร ก.7-003) กบั หนงั สือเอกสารหรือทีน่ า่ เชื่อถือ 104
3.66 การนาข้อมลู ที่ได้จากการเปรียบเทยี บและตรวจสอบความถกู ต้องแล้วจนมั่นใจว่าเป็น 105
106
พรรณไม้ชนิดเดียวกบั ท่ีศึกษา จงึ นาขอ้ มลู ตา่ งๆ ในหนงั สือทเ่ี ปรียบเทียบนามาใส่ ใน
หน้าท่ี 9 (ก.7–003) 106
3.67 การบนั ทกึ ขอ้ มลู เพ่ิมเตมิ (ก.7–003 หน้า 10) 107
3.68 รูปแบบหน้าปกทะเบยี นพรรณไม้ตามแบบ อพ.สธ. 107
3.69 รูปแบบทะเบยี นพรรณไม้ที่ถกู ต้องตามแบบ อพ.สธ. 108
3.70 ตัวอยา่ งเอกสาร ก.7–003 หนา้ ปก ถึง หน้าที่ 10 108
3.71 ตวั อย่างการบันทกึ ขอ้ มลู ลงในทะเบยี นพรรณไม้ ตามแบบ อพ.สธ.
3.72 ตวั อยา่ งทะเบียนพรรณไม้ รปู แบบ Microsoft Office Excel
3.73 รูปแบบร่างปูายชอื่ พรรณไม้สมบูรณ์
3.74 แหล่งขอ้ มูลจากเอกสาร ก.7–003 และทะเบียนพรรณไม้
3.75 ตวั อยา่ งการบนั ทกึ ข้อมูลรา่ งปาู ยช่ือพรรณไม้สมบูรณ์
3.76 ตัวอยา่ งการสรา้ งโฟลเดอร์หลักในการจดั เก็บข้อมลู เพือ่ ส่งตรวจความถกู ต้องทาง
วชิ าการดา้ นพฤกษศาสตร์
3.77 ตัวอยา่ งการสร้างโฟลเดอร์หลัก
3.78 การจัดเกบ็ ขอ้ มูลตวั อย่างพรรณไม้และการศกึ ษาพรรณไม้
3.79 การจัดโฟลเดอร์ตวั อย่างพรรณไม้แห้ง และ เอกสาร ก.7-003 หน้าที่ 8
3.80 การจัดโฟลเดอรต์ วั อย่างพรรณไม้ดอง และ เอกสาร ก.7-003 หน้าที่ 8
3.81 การจัดโฟลเดอร์ตัวอย่างพรรณไมเ้ ฉพาะส่วน และ เอกสาร ก.7-003 หน้าท่ี 8

ฌ หนา้
109
สารบัญภาพ (ต่อ) 110
ภาพที่
3.82 ขน้ั ตอนการสร้างโฟลเดอรท์ ะเบียนพรรณไม้และภาพถ่ายพรรณไม้ 111
3.83 การจัดโฟลเดอร์ ภาพถ่ายพรรณไม้ ทีป่ ระกอบไปด้วยภาพ 112
113
ลกั ษณะวิสยั ลาตน้ ใบ ดอก ผล และเมลด็ 113
3.84 ตวั อย่างการสรา้ งโฟลเดอร์การเกบ็ ข้อมูลปูายช่อื พรรณไม้ 114
3.85 แบบฟอรม์ นาสง่ ข้อมูลความถูกต้องทางวิชาการด้านพฤกษศาสตร์ 114
3.86 ปาู ยชื่อพรรณไม้สมบรู ณ์ 118
3.87 การติดตง้ั ปูายชื่อพรรณไมส้ มบรู ณแ์ บบผูก 118
3.88 การติดตั้งปูายช่ือพรรณไมส้ มบรู ณ์แบบปกั หลัก 120
3.89 ตวั อยา่ งตารางใบงานตรวจสอบรายละเอยี ดความถูกต้องปาู ยชอ่ื พรรณไมส้ มบรู ณ์ 120
3.90 ตัวอย่างผงั พรรณไมเ้ ฉพาะพน้ื ท่ี 120
3.91 ตัวอยา่ งผงั พรรณไมร้ วมท้งั โรงเรียน
3.92 กระดาษยูนเิ วอรเ์ ซลอินดเิ คเตอร์ อุปกรณใ์ นการเกบ็ ขอ้ มูลทางภูมิศาสตร์ 122
3.93 ไฮโกร - เทอร์โมมเิ ตอร์ อุปกรณใ์ นการเกบ็ ข้อมลู ทางภูมิศาสตร์ 122
3.94 EC-meter สาหรบั วดั ค่าพีเอช คา่ การนาไฟฟูา และอุณหภูมิ วัสดอุ ปุ กรณ์ในการเกบ็ 123
124
ขอ้ มลู ทางภูมิศาสตร์ 125
3.95 ตัวอย่างผงั สภาพภมู ศิ าสตร์ (ดนิ และน้า) ในพื้นที่ศกึ ษา (เฉพาะพน้ื ท่ี) 126
3.96 ตัวอยา่ งผังสภาพภูมิศาสตร์ (แสงและลม) ในพ้ืนท่ีศกึ ษา (เฉพาะพื้นที)่ 127
3.97 ตัวอยา่ งผงั สภาพมุมมอง ในพ้ืนทศี่ กึ ษา (เฉพาะพื้นที่) 128
3.98 ภาพความงามของธรรมชาติ 129
3.99 ตวั อยา่ งผงั กาหนดการใชป้ ระโยชน์ในพืน้ ที่ศกึ ษา (เฉพาะท่)ี 129
3.100 ตวั อยา่ งการบนั ทึกขอ้ มลู กาหนดชนดิ พรรณไมท้ ีจ่ ะปลูก 130
3.101 ตวั อย่างผังภมู ทิ ัศน์ของพ้ืนทศ่ี ึกษา (เฉพาะท)่ี 130
3.102 ตัวอยา่ งผงั ภูมิทัศนข์ องพน้ื ทีศ่ ึกษา (เฉพาะท)่ี 136
3.103 ขน้ั ตอนการขยายพันธ์พุ ชื ด้วยวิธตี อนกง่ิ 137
3.104 วสั ดทุ ใี่ ชใ้ นการปลูกพรรณไม้ 137
3.105 อุปกรณ์ในการปลูกพรรณไม้
3.106 นกั เรยี นปลูกพรรณไม้ตามจนิ ตนาการ ตรงตาแหน่งท่ปี รากฏในผงั ภูมิทัศน์ ในพ้นื ทศ่ี ึกษา
3.107 ภาพวาดทางพฤกษศาสตร์ของพรรณไม้ท้ังต้น
3.108 ตวั อย่างผลการศึกษาลักษณะของใบ (รูปร่าง รูปทรง สี ผวิ ขนาด ฯลฯ)
3.109 แสดงตัวอย่างผลการศกึ ษาลักษณะของดอก (รูปรา่ ง รูปทรง สี ผวิ ขนาด ฯลฯ)

ภาพที่ ญ หน้า
3.110 138
สารบัญภาพ (ต่อ)
3.111 138
แสดงตวั อย่างผลการศึกษาลกั ษณะโครงสร้างภายในของลาต้น
3.112 (รูปรา่ ง รปู ทรง สี ผวิ ขนาด ฯลฯ) 139
3.113 ผลการศึกษาลกั ษณะโครงสร้างภายในของปากใบ 140
3.114 (รูปรา่ ง รูปทรง สี ผวิ ขนาด ฯลฯ) 141
3.115 ตัวอยา่ งผงั วเิ คราะหโ์ ครงสรา้ งส่วนประกอบของใบ 142
3.116 ตัวอยา่ งผงั วิเคราะห์โครงสร้างสว่ นประกอบของดอก 144
3.117 ตัวอยา่ งการกาหนดเรื่องทจี่ ะเรียนรูใ้ นสว่ นประกอบของใบ ในระดับประถมศึกษา 145
3.118 ตวั อยา่ งการกาหนดเรื่องท่ีจะเรียนร้ใู นสว่ นประกอบของใบ ในระดบั มธั ยมศกึ ษา 148
ตัวอย่างผลการเรียนรูส้ ขี องใบตอนปลาย
3.119 ตวั อยา่ งสรปุ ผลการเรียนร้สู ขี องใบตอนปลายดา้ นบน 148
3.120 การเรยี นรู้แหล่งเรยี นรูต้ า่ งๆ ภายในสถานศกึ ษา 149
3.121 1.รวบรวมแหลง่ เรียนรู้จากหอ้ งสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ห้องสมุด 149
3.122 2.รวบรวมแหล่งเรียนรู้จากพ้ืนท่ศี กึ ษาและเว็บไซต์ออนไลน์ 149
3.123 การรวบรวมผลการเรียนรจู้ ากแหลง่ เรยี นร้ตู า่ งๆ 151
การรวบรวมผลการเรียนรู้จากองคป์ ระกอบท่ี 1 (เอกสาร ก.7-003)
3.124 ตวั อยา่ งหนา้ ปก ใบงานที่ 1.2 การรวบรวมผลการเรยี นรจู้ ากเอกสาร ก.7-003 155
3.125 ตวั อย่างหน้าที่ 1 บนั ทึกผลใบงานการรวบรวมผลการเรยี นรู้จากเอกสาร ก.7-003 157
3.126 ตัวอย่างชนิ้ งานสรุปเรียบเรียงข้อมูลที่ได้จากการคัดแยกสาระและจดั ใหเ้ ป็น 158
หมวดหมู่
3.127 ผงั แสดงตวั อยา่ งส่วนประกอบของรายงานวิชาการแบบสมบูรณ์ 167
3.128 แสดงข้นั ตอนการรายงานผล ดว้ ยวธิ ีการทาหนังสอื เล่มเล็ก 170
ขั้นตอนการใสข่ ้อมลู ที่ไดร้ บั จากการรวบรวมและคัดแยกสาระให้เปน็ หมวดหมู่
3.129 การรายงานผลดว้ ยวิธกี ารทาแผน่ พบั 171
3.130 กจิ กรรมจัดทาการรายงานผลตามท่ีกาหนด 172
3.131 ผังแสดงการวเิ คราะหค์ วามสอดคล้องงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียนสกู่ ารเรยี น 172
3.132 การสอน 172
3.133 ตวั อยา่ งการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 วชิ าภาษาไทย 173
3.134 การเผยแพร่องค์ความร้แู บบเสวนา 173
3.135 การเผยแพร่องค์ความรู้แบบแสดงนทิ รรศการผลงานทางวชิ าการ 174
การเผยแพร่องค์ความรูแ้ บบแสดงนทิ รรศการประกอบการบรรยายสรปุ
3.136 แสดงตัวอยา่ งการจดั แหลง่ เรียนรู้ในรปู แบบห้องเก็บตัวอย่างพรรณไม้ 174
การจัดแหล่งเรยี นรใู้ นรปู แบบห้องสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น
3.137 การจดั แหลง่ เรยี นรใู้ นรปู แบบสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี นตามธรรมชาติ 175
ภายในห้องเรียน
การจัดแหล่งเรยี นรู้ในรปู แบบสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียนตามธรรมชาติ
ภายนอกหอ้ งเรียน
การใชส้ วนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียนเป็นแหล่งเรียนรูใ้ นกิจกรรมต่างๆ

ฎ 176

สารบญั ภาพ (ต่อ) 177
3.138 แสดงตัวอย่างภาพกจิ กรรมการดแู ลรกั ษาแหล่งการเรยี นรสู้ วนพฤกษศาสตร์ 180
183
โรงเรยี น 194
3.139 การพฒั นาแหล่งการเรยี นรสู้ วนพฤกษศาสตร์โรงเรยี นตา่ งๆ 194
3.140 แสดงสว่ นประกอบของปจั จัยหลักในระยะท่ีเตบิ โตเต็มท่ี
3.141 การเรียนร้กู ารเปลี่ยนแปลงการได้กล่นิ ของผลหม่อนในแต่ละช่วงอายุ 196
3.142 แสดงธรรมชาตขิ องปจั จัยชวี ภาพอ่ืนๆ ท่เี ข้ามาเกยี่ วข้องกบั ปัจจยั หลกั 197
3.143 การแบ่งบริเวณการศึกษาธรรมชาติของปจั จยั ชีวภาพอน่ื ๆ ทเ่ี ขา้ มาเกย่ี วข้องกับ 198
199
ปจั จยั หลกั 202
3.144 แสดงการแบ่งส่วนอวยั วะของชีวภาพอื่น 203
3.145 แสดงการเดินของมดดาบนต้นหม่อน
3.146 ปจั จัยกายภาพ (แสง) ทเ่ี ข้ามาเกยี่ วข้องกบั ปัจจัยหลกั 207
3.147 ปัจจยั กายภาพ (ดนิ ) ทีเ่ ขา้ มาเกยี่ วข้องกับปจั จยั หลัก 209
3.148 แสดงความสัมพนั ธ์ระหวา่ งหม่อนกับชวี ภาพอน่ื แบบภาวะไม่ไดไ้ มเ่ สยี ประโยชน์ 212
3.149 แสดงความสมั พนั ธ์ระหวา่ งหมอ่ นกบั ชีวภาพอ่ืน แบบภาวะที่ไดป้ ระโยชน์ร่วมกนั 214
214
เรยี นร้คู วามผูกพัน 214
3.150 แสดงลาดับข้นั ตอนการสรรสรา้ งวิธีการ 215
3.151 แสดงลาดับขนั้ ตอนการเกดิ จินตนาการ 216
3.152 กจิ กรรมการสารวจการดาเนินงานสารวจเก็บรวบรวมทรัพยากรท้องถน่ิ 216
3.153 การถอนกลา้ ต้นขา้ ว และการปลูกยางพารา 217
3.154 การเลีย้ งหมู และการเลยี้ งไก่ไข่ในสภาพโรงเรยี น 217
3.155 การตัดหินทราย 218
3.156 การสารวจร้ายขายของชาและสถานบรกิ ารด้านรีสอรต์ 218
3.157 สภาพภูมศิ าสตร์ 220
3.158 แหลง่ นา้ ธรรมชาติ 220
3.159 การแสดงราตงชาติพันธกุ์ ระเหรี่ยง 221
3.160 การเก็บขอ้ มลู ประวัตหิ มู่บ้าน 221
3.161 การนาหญ้าคามาทาเป็นวสั ดุ 222
3.162 การนาพืชมาทาเปน็ ยาสมุนไพรรักษาโรค 224
3.163 การใชป้ ระโยชนข์ องเหด็ ปะการังสชี มพู
3.164 การใช้ประโยชนข์ องไลเคน Everniastrum
3.165 เก็บข้อมลู ประเพณีและวัฒนธรรมการแสดงราตงชาติพนั ธุ์กระเหร่ยี ง
3.166 เก็บข้อมูลภมู ปิ ัญญาท้องถนิ่ การทอผา้ ดว้ ยก่ีกระตุก
3.167 เก็บข้อมูลแหลง่ ทรัพยากรโบราณสถาน
4.1 มาตรฐานการดาเนินการสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน



บทที่ 1
บทนา

1.1 ทม่ี าและความสาคัญในการสนองพระราชดาริ
โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราช

กมุ ารี (อพ.สธ.) เป็นโครงการทส่ี มเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงสืบสานพระราชปณิธาน
ในการอนุรักษ์ทรัพยากรของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ซึ่งทรงมีสายพระเนตรยาวไกล โดยท่ี
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงใหค้ วามสาคัญและเหน็ ความสาคัญของการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช ตัวอย่างที่
เห็นได้ชัดดังในปี พ.ศ. 2503 ทรงอนุรักษ์ต้นยางนา ในปี พ.ศ. 2504 ทรงให้นาพรรณไม้จากภูมิภาคต่าง ๆ
มาปลูกไว้ในสวนจิตรลดา เพ่ือเป็นแหล่งศึกษา และทรงมีโครงการพระราชดาริท่ีเกี่ยวกับการอนุรักษ์พัฒนา
ทรัพยากร พัฒนาแหล่งน้า การอนุรักษ์และพัฒนาดิน อนุรักษ์ทรัพยากรปุาไม้ เป็นการอนุรักษ์และพัฒนา
ทรพั ยากรธรรมชาติ ต่อมาในปี พ.ศ. 2535 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้ทรงสืบสาน
พระราชปณิธานตอ่ โดยมีพระราชดาริกับ นายแกว้ ขวัญ วัชโรทัย เลขาธิการพระราชวัง ให้ดาเนินการอนุรักษ์พืช
พรรณของประเทศโดยพระราชทานใหโ้ ครงการสว่ นพระองค์ฯ สวนจิตรลดา ฝาุ ยวิชาการ เป็นผู้ดาเนินการจัดตั้ง
ธนาคารพืชพรรณข้ึน ในปี พ.ศ. 2536-2549 โดยรับทุนสนับสนุนจากสานักงานคณะกรรมการพิเศษเพ่ือ
ประสานงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ (กปร.) และเป็นหน่วยงานข้ึนตรงกับเลขาธิการพระราชวัง
ต้งั แตป่ ี พ.ศ. 2539 และต่อมาในปงี บประมาณ พ.ศ. 2550 สานักพระราชวังดาเนินการจัดสรรงบประมาณให้
และให้ อพ.สธ. ดาเนินการแยกส่วนอย่างชัดเจนจากโครงการส่วนพระองค์ฯ สวนจิตรลดา การดาเนินงาน
อพ.สธ. ดาเนินงานโดยอยู่ภายใต้แผนแม่บทซึ่งเป็นระยะ ๆ ละ ห้าปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2535 เป็นต้นมาจนมาถึง
แผนท่หี ก จึงเรยี กว่าแผนแม่บท อพ.สธ. ระยะ 5 ปที หี่ ก

การดาเนินงาน อพ.สธ. ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2535 จนถึงปัจจุบันมีหน่วยงานต่าง ๆ ร่วมสนองพระราชดาริ
เพ่ิมข้ึนมากกว่า 776 หน่วยงาน สมาชิกสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนซึ่งเป็นสถานศึกษาเป็นสมาชิกมากกว่า
3,028 โรงเรียน (ข้อมูล ณ วันที่ 4 กรกฎาคม 2560) ยิ่งไปกว่าน้ันในแผนแม่บทระยะ 5 ปีที่ห้า อพ.สธ. กรม
ส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นขอเข้าร่วมสนองพระราชดาริโดยพระราชานุญาตให้เป็นหน่วยงานท่ีร่วมสนอง
พระราชดาริ อพ.สธ. ในปงี บประมาณ 2558 โดยท่ที างกรมสง่ เสรมิ การปกครองท้องถ่ิน เป็นนโยบายสนับสนุน
ให้องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ ในการดาเนินงานฐานทรัพยากรทอ้ งถนิ่ ซ่งึ ดาเนินงานอยู่ภายใต้กรอบการสร้าง
จติ สานึก กจิ กรรมท่ี 8 กิจกรรมพเิ ศษสนบั สนุนการอนุรักษท์ รพั ยากร โดยให้มสี มาชิกฐานทรัพยากรท้องถิ่นใน
อาเภอละหนงึ่ ตาบล / หน่ึงเทศบาลเป็นอย่างน้อย โดยเร่ิมต้นการสารวจฐานทรัพยากรท้องถ่ินท่ีมีอยู่จริงว่ามี
อะไรอยู่ที่ไหน และเร่ิมการดูแลอนุรักษ์และใช้ประโยชน์อย่างย่ังยืนในทรัพยากรท้องถ่ินท่ีมีอยู่ นาไปสู่การ
วางแผนพัฒนาตาบลบนพ้ืนฐานของทรัพยากรที่มีอยู่จริง โดยเริ่มต้ังแต่การสารวจและการทาฐานข้อมูล
ทรัพยากรทอ้ งถ่ินซึง่ ประกอบด้วย 3 ฐานทรัพยากรไดแ้ ก่ ทรัพยากรชวี ภาพ (ส่งิ ทมี่ ีชวี ิต), ทรพั ยากรกายภาพ
(สิ่งท่ีไม่มีชีวิต) และทรัพยากรวัฒนธรรมและภูมิปัญญา ด้วยเหตุน้ีทาให้พื้นที่และกิจกรรมดาเนินงานของ
โครงการฯ กระจายออกไปในภูมิภาคต่าง ๆ และมีการดาเนินงานท่ีหลากหลายมากข้ึนการดาเนินงานในแผน
แม่บททกุ ระยะ 5 ปีที่ผ่านมาของ อพ.สธ. ได้ดาเนินการสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

2
มาโดยตลอด และในแผนแม่บทระยะ 5 ปีที่หกนี้ มีแนวทางดาเนินการท่ีสอดคล้องและสนับสนุนแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 12 (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 - 2564) ซ่ึงมีกรอบแนวคิดและหลักการใน
การวางแผนที่สาคัญได้แก่ (1) การน้อมนาและประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (2) คนเป็น
ศูนย์กลางของการพัฒนาอย่างมีส่วนร่วม (3) การสนับสนุนและส่งเสริมแนวคิดการปฏิรูปประเทศ และ (4)
การพฒั นาสู่ความมัน่ คง มัง่ คัง่ ย่ังยนื เพอ่ื ให้สงั คมอยรู่ ว่ มกนั อยา่ งมคี วามสขุ ซงึ่ กรอบแนวความคิดทั้งสี่นั้นล้วน
แต่ต้องดาเนนิ การภายใตก้ ารดูแลรกั ษาทรัพยากรและการนามาใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน ย่ิงไปกว่านั้น อพ.สธ.
ยงั มกี จิ กรรมตามกรอบแผนแม่บท อพ.สธ. ที่สอดคล้องกับแผนการขับเคลื่อนและปฏิรูประบบวิจัยแบบบูรณา
การของประเทศและกรอบยทุ ธศาสตร์การวิจยั แห่งชาติ 20 ปีทั้ง 7 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ (1) ด้านความมั่นคง (2)
ดา้ นการเกษตร (3) ดา้ นอุตสาหกรรม (4) ด้านสังคม (5) ด้านการแพทย์และสาธารณสุข (6) ด้านพลังงาน (7)
ด้านทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม เพอ่ื ให้สง่ ผลประโยชน์ตอ่ ประเทศชาติและประชาชนให้มากที่สุด เพ่ือ
การบริหารจัดการความรู้ผลงานวิจัย นวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ์ ทรัพยากร และภูมิปัญญาของประเทศ สู่การใช้
ประโยชนเ์ ชิงพาณชิ ย์และสาธารณะ ด้วยยทุ ธวธิ ที ี่เหมาะสมท่เี ขา้ ถึงประชาชนและประชาสงั คมอยา่ งแพร่หลาย

แผนแม่บท อพ.สธ. ระยะ 5 ปีที่หก (ตุลาคม พ.ศ. 2559-กันยายน พ.ศ. 2564) เป็นแผนแม่บทท่ีจัดทา
ข้นึ เพอื่ ใช้เปน็ กรอบในการดาเนินงานตามแนวทางพระราชดาริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช
กมุ ารี โดยมีหน่วยงานท่รี ว่ มสนองพระราชดารเิ ขา้ มามสี ว่ นรว่ มวางแผนงาน ทงั้ ในสว่ นกลางและส่วนภูมิภาคท่ัว
ประเทศไทย ทงั้ ภาครัฐและเอกชน ให้มแี นวทางดาเนนิ งานตอ่ เนอ่ื งตามกรอบแผนแม่บทโดยเน้นการทางานเข้า
ไปสร้างจิตสานึกในการรักษาทรัพยากรตั้งแต่ในสถานศึกษาดาเนินงานในระดับท้องถิ่นในการทาฐานข้อมูล
ทรัพยากรท้องถ่ินซึ่งประกอบด้วย 3 ฐานทรัพยากรได้แก่ ทรัพยากรชีวภาพ, ทรัพยากรกายภาพ และ
ทรัพยากรวัฒนธรรมและภูมิปญั ญา จากฐานข้อมลู ดงั กล่าวจะนาไปสู่การอนุรักษ์และใช้ประโยชน์อย่างย่ังยืน
บนพ้ืนฐานของการมีจติ สานึกในการอนรุ ักษ์ทรพั ยากรทม่ี ีอยใู่ นประเทศไทยตอ่ ไป

สถานการณ์ด้านทรัพยากรของประเทศไทย
ในปัจจุบนั ท่วั โลกที่เห็นตระหนักถึงภัยธรรมชาติท่ีมีมากข้ึน เน่ืองจากข่าวสารที่สามารถสื่อสารได้อย่าง
ฉับไว สามารถใหค้ วามกระจ่างและเหตกุ ารณ์ทเี่ กิดข้นึ อยา่ งรวดเร็ว ประเทศไทยมีแผนการปูองกันและบรรเทา
สาธารณภัยแหง่ ชาติ พ.ศ. 2553-2557 ตั้งแตว่ นั ที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 ซ่ึงแผนดังกล่าวได้ใช้เป็นกรอบ
แนวทางการดาเนินงานเกย่ี วกบั การจัดการภัยพิบัตขิ องประเทศ แต่ถึงแม้ประเทศไทยมีแผนฯ ดังกล่าว แต่นั่น
เป็นการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าต่อภัยธรรมชาติท่ีเกิดขึ้น สิ่งที่ควรตระหนักมากท่ีสุดคือสาเหตุของการเกิดส่ิง
เหล่านั้น อันได้แก่การดูแลทรัพยากรธรรมชาติที่กาลังถูกคุกคามในหลาย ๆ ลักษณะ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
ประชาคมโลกควรตระหนักและเห็นความสาคัญ ในเรื่องคุ้มครองและใช้ประโยชน์จากทรัพยากร และความ
หลากหลายทางชีวภาพอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน ตระหนักถึงความสมบูรณ์ทางด้านทรัพยากรธรรมชาติ
ในพนื้ ทตี่ า่ ง ๆ ตลอดจนรบั ทราบปญั หาและระดบั ความรนุ แรงท่ีเกดิ ข้ึนจากการท่ีทรัพยากรต่าง ๆ กาลังจะสูญ
สิน้ ไป ซงึ่ จะนาไปสู่การจดั การการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละการใชป้ ระโยชน์อย่างย่งั ยืน
ขอ้ มูลของกรมปุาไม้ และกรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ปุาและพันธุ์พืช พบว่าพื้นที่ปุาไม้ลดลงอย่างต่อเนื่อง
อย่างรวดเร็ว ส่งผลทาให้พรรณพืชหลากหลายชนิดที่ยังไม่ได้ศึกษาและบางชนิดที่ยังไม่สารวจพบสูญพันธ์ุไป

3
จากสิ่งเหล่าน้ีไม่ได้เพียงแต่ทรัพยากรชีวภาพท่ีประกอบด้วยสัตว์ พืช และจุลินทรีย์จะโดนทาลาย
แต่ทรัพยากรกายภาพ และทรพั ยากรวฒั นธรรมและภมู ิปญั ญา ทเ่ี กีย่ วข้องก็จะสญู หายไปด้วย

ปี พ.ศ. 2553 จากรายงานสถานการณค์ ุณภาพสง่ิ แวดล้อม พ.ศ. 2553 ซึ่งรวบรวมข้อมูลจากหน่วยงาน
ราชการท่ีเกย่ี วขอ้ งนบั แตเ่ ริม่ ปีงบประมาณ 2553 โดยคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติที่ต้องจัดทารายงาน
เพ่อื เสนอต่อคณะรัฐมนตรี และหน่วยงานที่เก่ียวข้องเพื่อนาไปปฏิบัติให้สอดคล้องกับสถานการณ์น้ันพบว่าใน
ส่วนของทรัพยากรปุาไม้ซ่ึงจัดให้เป็นสิ่งแวดล้อมบนบกนั้น มีพ้ืนที่ปุาท้ังหมด 107,615,181 ไร่ หรือคิดเป็น
33.56% ของพ้นื ท่ปี ระเทศ และเป็นพนื้ ที่ปุาอนรุ ักษ์ 64,826,658 ไร่ หรือคิดเป็น 20.22% ของพื้นท่ีประเทศ
และพบว่ายังคงถูกบุกรุก ลักลอบตัดไม้ และถูกทาลายโดยไฟปุาอย่างต่อเน่ืองทุกปี ในขณะที่กระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมีแผนเพิ่มพื้นที่ปุาของประเทศไทยเป็น 40% ของพ้ืนท่ีท้ังหมด ตั้งแต่ปี
พ.ศ. 2554–2563 หรือในอีก 9 ปี โดยแบ่งออกเป็นพื้นที่อนุรักษ์ 25% ทั้งการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกของชาติ
อุทยานแห่งชาติฯ หรือพื้นท่ีปุาสงวน เป็นต้น ส่วนอีก 15% จะผลักดันให้เป็นพ้ืนที่ปุาเศรษฐกิจต่อไปโดยมี
หลักการลดการคุกคามการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ ปลูกปุาเพื่อฟ้ืนฟูสภาพปุาที่เสื่อมโทรม
ตลอดจนทาให้ความหลากหลายทางชีวภาพเกิดมูลค่าเพ่ิม โดยเฉพาะพืชสมุนไพรท่ีมีอย่างหลากหลายมาทา
วิจัยและนาไปใช้ได้จริงในระบบสาธารณสุขและผลักดันสมุนไพรและตารับยาแผนไทยหรือยาสมุนไพรเข้าสู่
บัญชียาหลักแห่งชาติโดยกระทรวงสาธารณสุขมากกว่า 70 รายการซึ่งในจานวนยาเหล่าน้ันจาเป็นต้องใช้
สมุนไพรทเ่ี ป็นพืชวตั ถมุ ากกวา่ 200 ชนดิ ผนวกกับธาตวุ ตั ถุ สตั ว์วัตถุและภูมิปัญญาในด้านการแพทย์แผนไทย
ในการผลิตยาแผนไทยใหม้ คี ุณภาพและเป็นท่ียอมรบั ในการใชใ้ นโรงพยาบาลท่ัวไปในประเทศและต่างประเทศ
สงิ่ เหล่าน้ีจะเกิดขนึ้ ตอ่ เมอ่ื เรายงั มีทรัพยากร นนั้ ๆ อยู่ ไม่วา่ จะเปน็ ทรัพยากรกายภาพ ชีวภาพ และภูมิปัญญา
ในการใช้ทรพั ยากรน้ัน ๆ นั่นคือต้องทาให้เกิดการสื่อสาร การศึกษาเรื่องการอนุรักษ์ นาไปสู่ความมีสานึกต่อ
การอนรุ กั ษท์ รัพยากรทที่ ุกคนเกิดความตระหนักและหวงแหนทรพั ยากรท่มี ีอยู่

ในเรื่องของทรัพยากรทางทะเล ประเทศไทยมียุทธศาสตร์ความม่ันคงแห่งชาติทางทะเล (พ.ศ.2555 –
2559) ได้กาหนดให้มีความสอดคล้องกับความต้องการของชาติในการแสวงประโยชน์จากทะเลในห้วงเวลา
ดังกล่าว และมุ่งเน้นการสร้างเสถียรภาพ ความปลอดภัย เสรีภาพ และสภาวะแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการดาเนิน
กิจกรรมทางทะเลของทุกภาคส่วนอย่างย่ังยืน จึงได้ดาเนินการจัดตั้งคณะกรรมการนโยบายผลประโยชน์
แห่งชาติทางทะเล เพ่ือผลักดันให้เกิดกฎหมายเพื่อรักษาผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลโดยมีหน่วยงานท่ี
เกยี่ วขอ้ งซงึ่ ล้วนเป็นหน่วยงานท่รี ่วมสนองพระราชดาริ อพ.สธ. เป็นส่วนใหญ่เช่น กองทัพเรือ กรมทรัพยากร
ทางทะเลและชายฝัง่ กรมประมง กรมปาุ ไม้ กรมอทุ ยานฯ และอีกหลายหนว่ ยงาน ซึ่งตระหนักในปัญหาต่าง ๆ
ที่เกี่ยวข้องกับการดูแลรักษาทรัพยากรและนาไปสู่การใช้ประโยชน์ เช่น ปัญหาการทาลายส่ิงแวดล้อมโดย
มนุษย์ ปัญหาอุตสาหกรรมท่ีเก่ียวข้องกับทางทะเล ปัญหาทรัพยากรและการทาประมง การบริหารและการ
จดั การผลประโยชน์แห่งชาตทิ างทะเล การแย่งชิงทรัพยากรในทะเลระหว่างกลุ่มผลประโยชน์ภายในชาติและ
ระหว่างประเทศ รวมทั้งปัญหาอื่น ๆ ท่ีจะนาไปสู่การทาลายทรัพยากรทางทะเลที่เป็นแหล่งรวมทรัพยากร
กายภาพ ทรัพยากรชีวภาพ รวมถึงทรัพยากรวัฒนธรรมและภูมิปัญญาของประเทศไทย และเก่ียวพันกับ
ประเทศเพอื่ นบ้านอีกดว้ ย

4
จากคาสัง่ คณะหัวหนา้ คณะรักษาและความสงบแห่งชาติ ที่ 62/2559 มผี ลบังคับใช้ต้ังแต่วันท่ี 6 ตุลาคม
2559 เร่อื ง “การปฏิรปู ระบบวิจยั และนวัตกรรมของประเทศ” โดยกาหนดให้มสี ภานโยบายวจิ ัยและนวัตกรรม
แห่งชาติ เพ่ือทาหนา้ ทีใ่ นการกาหนดทิศทางนโยบาย ยุทธศาสตร์ รวมทั้งปรบั ปรุงระบบวิจัยและนวัตกรรมของ
ประเทศ ตลอดจนกากับและติดตามการบริหารจดั การ การจัดสรรงบประมาณ และประเมินผลการดาเนินการ
ใหเ้ ป็นไปอย่างเหมาะสมและมีเอกภาพ อันเป็นประโยชน์ต่อการแก้ไขปัญหาการวิจัยของประเทศ และปฏิรูป
การบรหิ ารราชการ และกาหนดกรอบยุทธศาสตร์การวิจัยแห่งชาติ 20 ปี ทั้ง 7 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ ความม่ันคง
การเกษตร อุตสาหกรรม สงั คม การแพทย์และสาธารณสขุ พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม
ซง่ึ เปน็ นโยบายและกาหนดยทุ ธศาสตร์ ท่ตี ้องใชท้ นุ ทางทรัพยากรเป็นพน้ื ฐานท้งั สน้ิ
อพ.สธ. จงึ ติดตามและประสานงานในมติ ิการดูแลรักษาทรพั ยากรของประเทศ ในแง่ของการสร้างความ
ตระหนักนาไปสู่การสร้างจิตสานึกในการรักษาทรัพยากรของประเทศท่ีนาไปสู่ความม่ันคง มั่งคั่ง และยั่งยืน
ทต่ี ้ังอยู่บนพนื้ ฐานของทรัพยากรของประเทศที่มีอยู่ ณ ตอนนี้ ช่วยกันอนุรักษ์รักษา ฟ้ืนฟู พัฒนา และนาไปสู่
การใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนให้กับประเทศไทย ซึ่งตรงกับเปูาหมายและวัตถุประสงค์ของ อพ.สธ. และภายใต้
การน้อมนา พระราชกระแส “การรกั ทรัพยากร คือการรักชาติ รกั แผ่นดนิ ” มาสู่การปฏบิ ตั ิโดยแทจ้ รงิ
จากสถานการณข์ องการเปลย่ี นแปลงบรรยากาศ (climate change) ที่หน่วยงานภาครัฐและเอกชนให้
ความสาคัญ นนั่ เปน็ สง่ิ ยนื ยนั ของพระราชดาริท่ีสอดคลอ้ งกับสถานการณ์โลก ก่อนที่ทั่วโลกเร่ิมจะตื่นตัวอันผล
สบื เน่อื งมาจากการไมร่ ักษาทรพั ยากรธรรมชาติ นน่ั คอื ความหลากหลายทางชีวภาพที่ทั่วโลก ณ ปัจจุบันน้ีล้วน
ตระหนกั ถงึ การอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์อย่างย่ังยืน นอกจากกฎหมายภายในของแต่ละประเทศที่เข้ามามี
ส่วนบังคับใช้ ยังมีกฎหมายและอนุสัญญาระหว่างประเทศ ซึ่งเกี่ยวข้องในเรื่องทรัพยากรชีวภาพต่าง ๆ
โดยเฉพาะอนุสัญญาความหลากหลายทางชีวภาพ หรือ CBD (Convention on Biological Diversity)
ซ่งึ ประเทศไทยได้มอบสตั ยาบนั สารเพื่อเข้าเป็นภาคอี นุสญั ญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ เมื่อวันที่ 31
ตุลาคม พ.ศ. 2546 มีผลให้อนุสัญญาฯ มีผลบังคับใช้กับประเทศไทยในฐานะภาคีลาดับท่ี 188 เมื่อวันที่ 29
มกราคม พ.ศ. 2547 โดยเนอื้ หาของอนวุ ัตถปุ ระสงค์ของอนุสัญญาฯ คือ อนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ
ใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพ และ แบ่งปันผลประโยชน์ที่เกิดจากการใช้ทรัพยากรทางชีวภาพ
อยา่ งยตุ ธิ รรมและเท่าเทยี ม ดงั นั้นประเทศไทยในฐานะที่เปน็ ภาคจี ึงตอ้ งจดั ทานโยบาย มาตรการ และแผนการ
ดาเนนิ งานข้ึนเอง ณ ขณะนปี้ ระเทศไทยกาลงั ดาเนนิ การอย่โู ดยเรง่ ดว่ นในทุก ๆ ดา้ น
การท่ีประเทศไทยกาลังพิจารณาการให้สัตยาบันเข้าเป็นภาคีในสนธิสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วย
ทรัพยากรพันธุกรรมพืชเพื่ออาหารและการเกษตร ค.ศ.2001 (2544) (International Treaty on Plant
Genetic Resources for Food and Agriculture 2001, ITPGR) ซ่ึงเกี่ยวข้องกับทรัพยากรของประเทศ
มีสาระสาคัญคอื ทรัพยากรพชื อาหารและการเกษตร 64 รายการ (items) จานวน 79 สกุล (genus) ประมาณ
3,300 ชนิด (species) ที่แนบทา้ ยสนธิสัญญาฯ ซ่ึงเป็นของหน่วยงานภาครัฐจะตกเป็นของพหุภาคี ซึ่งรวมไป
ถึงข้อมูลต่าง ๆ ท่ีอยู่ในหน่วยงานของรัฐ ด้วยเหตุนี้เราอาจสูญเสียทรัพยากรของประเทศ เน่ืองมาจากเม่ือ
ตา่ งชาติไดน้ าไปศึกษาวิจัยและพัฒนา แล้วนา ไปจดสิทธิบัตรเป็นพืชพันธุ์ใหม่ อาจส่งผลให้ประเทศไทยไม่ได้
เป็นเจ้าของสิทธิในการใช้ทรพั ยากรนั้น ๆ เนอ่ื งจากอาจถกู จดสิทธิบตั รโดยตา่ งชาติไปแลว้ จงึ เปน็ อนั ตรายอย่าง
ยิ่งในเรอื่ งของการสญู เสียความร้แู ละภูมปิ ัญญาพน้ื บ้านใหก้ ับต่างประเทศ โดยทป่ี ระเทศไทยยังไม่มีความพร้อม

5
ของมาตรการเพื่ออนุรักษ์และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพอย่างย่ังยืน การเข้าถึงและแบ่งปัน
ผลประโยชน์ทรพั ยากรพันธุกรรมพชื จะเห็นไดว้ ่าการเป็นเจ้าของทรัพยากร แต่ไม่สามารถใช้ประโยชน์ได้อย่าง
เต็มที่ จงึ เป็นอนั ตรายอย่างย่งิ ในอนาคต การนี้ อพ.สธ. ได้เสนอกับคณะผู้วิจัยการศึกษาผลกระทบสนธิสัญญา
ระหวา่ งประเทศว่าด้วยพนั ธุกรรมพืชเพ่ืออาหารและการเกษตร และคณะกรรม การพิจารณากระบวนการให้
สัตยาบันสนธิสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยพันธุกรรมพืชเพื่ออาหารและการเกษตรที่มี กรมวิชาการเกษตร
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ตลอดจนหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง คือให้ประเทศไทยมี 3 สถานะคือ ภาครัฐ,
ภาคเอกชน และ สว่ นพระองค์ โดยท่ี อพ.สธ. และหนว่ ยงานที่เข้ารว่ มสนองพระราชดาริ จัดเป็นหน่วยงานส่วน
พระองค์ ดังน้ันหากต่างประเทศจะนาข้อมูลหรือพันธุกรรมใด ๆ ไปใช้ ต้องขอพระราชทานข้อมูลหรือ
พันธกุ รรมนัน้ ๆ กอ่ น และขน้ึ อยู่กับพระราชวนิ ิจฉัยและเม่ือเดือนตุลาคม 2553 จาก CBD ทาให้เกิด “พิธีสาร
นาโงยา" ว่าด้วยการเข้าถึงทรัพยากรพันธุกรรมและการแบ่งปันผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นจากการใช้ประโยชน์
ทรัพยากรพันธุกรรมอย่างเท่าเทียมและยุติธรรม” เป็นพิธีสารภายใต้อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทาง
ชีวภาพได้รับการรบั รองจากภาคี CBD ในการประชุมสมัชชาภาคี CBD สมัยท่ี 10 สืบเน่ืองจากวัตถุประสงค์ข้อ
ท่ี 3 คอื การแบง่ ปนั ผลประโยชน์ทเี่ กดิ จากการใช้ทรัพยากรทางชีวภาพอยา่ งยุตธิ รรมและเทา่ เทียม

พธิ สี ารนาโงยาได้รับการพฒั นาขนึ้ บนพื้นฐานแนวคดิ ทว่ี า่ ประเทศมีสิทธิอธิปไตยในทรัพยากรธรรมชาติ
ท่ีอยู่ในขอบเขตอานาจของตน ดังน้ันการเข้าถึงทรัพยากรพันธุกรรมในประเทศใดจะต้องได้รับ อนุญาตตาม
กฎหมายภายในประเทศนัน้ ๆ เม่ือได้รับอนุญาตให้เข้าถึงทรัพยากรในประเทศน้ัน ๆ แล้ว จะต้องมีการเจรจา
ต่อรองเพอื่ ทาข้อตกลงในการแบ่งปนั ผลประโยชน์ทีเ่ กิดขึ้นจากการใชร้ ว่ มกัน โดยผลประโยชน์ท่ีแบ่งปันเป็นได้
ท้ังผลประโยชน์ทเ่ี ป็นตวั เงินเช่น ค่าธรรมเนียม ค่าสิทธิ เงินทุนการวิจัย และผลประโยชน์ท่ีไม่เป็นตัวเงิน เช่น
การทาวิจัยร่วม การถ่ายทอดเทคโนโลยี และการเป็นเจ้าของร่วมในสิทธิบัตรพิธีสารฉบับน้ี นอกจากจะ
ครอบคลุมการใชท้ รพั ยากรพันธกุ รรมหรือทรัพยากรชีวภาพไม่ว่าจะเป็นพืช สัตว์ จุลินทรีย์ และส่วนประกอบ
ของสิ่งมีชวี ติ จากพิธีสารนี้ประเทศที่ลงนามและให้สัตยาบันนั้นก็เพื่อแสดงเจตนารมณ์ว่าจะมีส่วนร่วมในการ
ดาเนินการให้มกี ารแบง่ ปันผลประโยชนท์ ่เี กิดข้ึน จากการใชท้ รัพยากรพันธุกรรมใหเ้ ปน็ ผู้เป็นเจ้าของทรัพยากร
เทา่ นนั้

โดยท่ัวไปจะมีการเข้าถึงทรัพยากรต่าง ๆ (พืช สัตว์ จุลินทรีย์) เพื่อนาไปใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ ไม่ว่าจะ
เป็นการวิจัยพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ หรือใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร การเกษตร ยา หรือเคร่ืองสาอาง และยัง
ครอบคลุมถึงภูมิปัญญาท้องถ่ินหรือองค์ความรู้ในการนาทรัพยากรชีวภาพน้ันไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ประเทศ
ไทยได้ลงนามไปแล้ว และกาลังอยู่ในกระบวนการให้สัตยาบันอยู่ แต่ถึงแม้ประเทศไทยจะไม่ลงสัตยาบัน
สมาชิก CBD กาหนดว่าถ้ามีการให้สัตยาบันในพิธีสารน้ี แค่ 50 ประเทศ พิธีสารนี้จะมีผลใช้กับผู้ท่ีลงนามไป
แล้วทนั ที

ถึงแม้พิธีสารนาโงยาบอกว่าจะให้สิทธิกบั ประเทศในการกาหนดกฎเกณฑ์ในการเข้าถึงทรัพยากรของแต่
ละประเทศเอง ซงึ่ อาจยงั มชี ่องโหว่ในการเขา้ ถงึ ทรัพยากรในประเทศไทย โดยเฉพาะการเข้ามาในรูปแบบของ
นกั ท่องเที่ยวแลว้ สกดั ดเี อ็นเอหรือสารพนั ธกุ รรมและนากลบั ไปใช้ประโยชน์ไดเ้ ลย ทาใหก้ ารอา้ งสทิ ธิในการเป็น
เจ้าของทรัพยากรท้องถ่ินเดิมน้ันสาคัญ ดังน้ัน ก่อนการเปิดประเทศเข้าสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN
COMMUNITY) หนึ่งในมาตรการเตรยี มพรอ้ มนนั่ คอื เร่อื งของการข้ึนทะเบยี นทรัพยากรท้องถิ่นโดย อพ.สธ.ได้

6
เชิญชวน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ให้มาเข้าร่วมสนองพระราชดาริในเร่ืองของงานสารวจและจัดทาฐาน
ทรพั ยากรทอ้ งถ่ิน (ทรพั ยากรกายภาพ ทรัพยากรชวี ภาพ ทรัพยากรวัฒนธรรมและภูมิปัญญา) เพ่ือบันทึกและ
ขนึ้ ทะเบยี นทรัพยากรท้องถนิ่ ของชุมชนใน องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ นั้น ๆ เพื่อบันทึกความเป็นเจ้าของและ
มสี ทิ ธเิ์ จรจาต่อรองผลประโยชน์เน่ืองจากการใช้ทรัพยากรท้องถิ่นที่เป็นเจ้าของ ซึ่งงานสารวจและจัดทาฐาน
ทรพั ยากรทอ้ งถน่ิ ถอื เปน็ ภาระหนา้ ที่ทอี่ บต. ต้องทราบในเร่อื งข้อมลู เหลา่ นี้

ในปีงบประมาณ 2560 (ตุลาคม 2559–กนั ยายน 2560) อพ.สธ. ได้ดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้สอดคล้อง
กบั งบประมาณที่ได้รับการสนับสนุนจากสานักพระราชวัง โดยดาเนินการต่อเน่ืองจากปีงบประมาณท่ีผ่านมา
รวมทง้ั การแนะนาและประสานงานกับหนว่ ยงานท่ีร่วมสนองพระราชดาริถึงงบประมาณและการดาเนินงานใน
ปี 2560 ให้เป็นไปตามกรอบแผนแม่บทระยะ 5 ปีท่ีหกของ อพ.สธ. โดยเน้นในเรื่องการทาฐานทรัพยากร
ท้องถน่ิ โดยประสานองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน สามารถสมัครมาร่วมสนองพระราชดารไิ ดโ้ ดยตรงกับ อพ.สธ.
และร่วมจดั ทาโครงการฐานทรัพยากรทอ้ งถ่ิน เพอื่ ให้บรรลุวัตถุประสงค์และเปูาหมายที่กาหนดไว้ข้างต้น โดยที่
อพ.สธ.สนับสนุนและร่วมมือกับหน่วยงานที่ร่วมสนองพระราชดาริจัดทาแผนปฏิบัติงานในกิจกรรมต่าง ๆ
ภายใต้ภายแม่บทในแต่ละปีงบประมาณตลอดระยะเวลา 5 ปี ให้สอดคล้องกับแนวทางการดาเนินงานตาม
กรอบแผนแม่บทของ อพ.สธ. หน่วยงานท่ีร่วมสนองพระราชดาริจัดทาแผนปฏิบัติงานประจาปีเฉพาะในส่วน
ของหน่วยงานของตนให้ชัดเจน โดยระบุสาระสาคัญในการดาเนินงาน เช่น พ้ืนท่ีเปูาหมายในการดาเนินงาน
วิธีการและขั้นตอนการดาเนินงาน และการบริหารจัดการ โดยเฉพาะเร่ืองผู้รับผิดชอบในการปฏิบัติและ
งบประมาณในการดาเนินงาน โดยมี อพ.สธ. เป็นผู้สนับสนุนแผนปฏิบัติงานประจาปี / โครงการ ภายใต้แผน
แมบ่ ทของ อพ.สธ. ไปยงั แหลง่ ทนุ ตา่ ง ๆ ตอ่ ไป

พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชกับการอนุรกั ษ์พันธกุ รรมพืช

พ.ศ. 2503 ทรงพยายามปกปกั ยางนา
ในฤดูร้อนเกือบทุกปี พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จแปรพระราชฐานไป

ประทับแรม ณ วังไกลกังวล อาเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ในระยะแรกเสด็จพระราชดาเนินโดยรถไฟ
ตอ่ มาเสดจ็ ฯ โดยรถยนต์ เมือ่ เสด็จฯ ผา่ นอาเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี สองข้างทางมีต้นยางขนาดใหญ่ข้ึนอยู่
มาก มีพระราชดาริที่จะสงวนบริเวณปุาต้นยางน้ีไว้เป็นสวนสาธารณะ ด้วยพระราชทรัพย์ แต่ไม่สามารถจัด
ถวายตามพระราชประสงค์เพราะมีราษฎรเข้ามาทาไร่ทาสวนในบริเวณนั้นมาก จะต้องจ่ายเงินทดแทนในการ
จัดหาทใ่ี หมใ่ นอตั ราท่ไี ม่สามารถจดั ได้

7

ภาพที่ 1.1 พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช ทรงปลูกยางนา ณ พระตาหนกั เรือนต้น
สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต กรุงเทพมหานคร เพ่อื การอนรุ ักษ์พนั ธุกรรมพืช

ภาพที่ 1.2 สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงสบื สานพระราชปณธิ านของ
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช

8

ภาพท่ี 1.3 สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงประทับบนตน้ ไม้ เมือ่ ครัง้ ทรงพระเยาวก์ ับ
พระสหาย

ภาพท่ี 1.4 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงสนพระทัยในการศกึ ษาพรรณไม้

9

ภาพที่ 1.5 สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงสนพระทัยในธรรมชาติของสัตว์
เมอ่ื ครัง้ ทรงพระเยาว์

พ.ศ. 2504 ปา่ สาธิตทดลอง
เมื่อไม่สามารถดาเนินการปกปักรักษาต้นยางนาท่ีอาเภอท่ายางได้ จึงทรงทดลองปลูกต้นยางเอง

โดยทรงเพาะเมล็ดที่เก็บจากต้นยางนาในเขตอาเภอท่ายาง ในกระถางบนพระตาหนักเปี่ยมสุข วังไกลกังวล
หัวหิน และทรงปลูกต้นยางนาเหล่าน้ัน ในแปลงทดลองปุาสาธิตใกล้พระตาหนักเรือนต้น สวนจิตรลดา
พร้อมข้าราชบริพาร เมื่อวันท่ี 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2504 จานวน 1,250 ต้น ต้นยางที่ท่ายางสูญสิ้นแต่
พันธุกรรมของยางนาเหล่านน้ั ยงั อนุรกั ษไ์ วไ้ ดท้ ี่สวนจิตรลดา

ต่อมาทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้นาพรรณไมจ้ ากภาคตา่ ง ๆ ท่วั ประเทศมาปลูกในบริเวณท่ีประทับ
สวนจิตรลดา เพ่ือให้เป็นทศ่ี ึกษาพรรณไมข้ องนสิ ติ นักศกึ ษาแทนท่ีจะต้องเดนิ ทางไปทวั่ ประเทศ

พ.ศ. 2528 ทรงให้ใช้เทคโนโลยีเพาะเลี้ยงเนอื้ เยือ่ อนรุ กั ษ์พืช
ในวันพืชมงคล วันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2528 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

พร้อมด้วยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดาเนินไปทรงเปิดอาคาร
ห้องปฏิบัติการเพาะเล้ียงเน้ือเยื่อพืชทโ่ี ครงการสว่ นพระองค์ฯ สวนจิตรลดา และมพี ระราชกระแสให้อนุรักษ์ต้น
ขนนุ หลงั พระท่ีนง่ั ไพศาลทกั ษณิ ในพระบรมมหาราชวงั

ความสาเร็จของการใช้วธิ กี ารเพาะเลี้ยงเนือ้ เย่ือพชื ขยายพันธ์ขุ นนุ ไพศาลทักษิณนาไปสู่การขยายพันธ์ุ
ต้นไมท้ ่ีมลี กั ษณะพิเศษ ซ่ึงเปน็ พืชเอกลักษณ์ของพระราชวงั ต่าง ๆ แลว้ อนรุ ักษไ์ ว้อกี หลายชนิด ได้แก่ พุดสวน
มณฑา ยี่หบุ ทอ่ี ยใู่ นพระบรมมหาราชวัง และสมอไทยในพระที่นั่งอัมพรสถานมงคล ในขณะเดียวกันก็ได้มีการ
พัฒนาเทคโนโลยีการเก็บรักษาพันธุกรรมของพืชเอกลักษณ์ในสภาวะปลอดเช้ือในอุณหภูมิต่า เพื่อให้สามารถ

10
นามาใชป้ ระโยชน์ได้ในอนาคต จนทาใหเ้ กบ็ รกั ษาเนอ้ื เยื่อขนนุ ท่ีอณุ หภูมิ - 196 องศาเซลเซียส ในไนโตรเจนเหลว
มเี นอื้ เยอ่ื ขนุนท่ีรอดชีวิตอย่ไู ด้ 23 เปอร์เซน็ ต์

พ.ศ. 2529 ทรงใหอ้ นรุ กั ษ์พันธุกรรมหวาย
มีพระราชดารใิ ห้อนรุ ักษแ์ ละขยายพนั ธ์หุ วายชนดิ ตา่ ง ๆ โดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเตรียมการแก้ปัญหา

การขาดแคลนหวายในอนาคต หวายที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจและเป็นเปูาหมายคือ หวายข้อดา หวายน้าผึ้ง
หวายตะคา้ ทอง หวายหอม หวายแดง หวายโปุง หวายกาพวน หวายงวย และหวายข้ีเสี้ยน เมื่อขยายพันธุ์ได้
ต้นที่สมบรู ณ์ของหวายข้อดา และหวายตะคา้ ทองแล้ว ก็ได้พระราชทานพระบรมราชานุญาติให้ทาการทดลอง
ปลกู ต้นหวายเหล่าน้ันในปุายางนาใกล้พระตาหนักเรือนต้น สวนจิตรลดา และมีพระราชดาริให้ทดลองปลูกที่
ศูนยศ์ กึ ษาการพฒั นาห้วยฮอ่ งไคร้อันเนื่องมาจากพระราชดาริ จังหวัดเชียงใหม่ และท่ีศูนย์ศึกษาการพัฒนาภู
พานอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาริ จังหวัดสกลนคร อกี ดว้ ย

การดาเนินงานเก่ียวกบั หวายได้มกี ารขยายผลไปสคู่ วามรว่ มมอื ระหว่างโครงการส่วนพระองค์ฯ สวนจิตรลดา
สานักพระราชวัง กับส่วนราชการจังหวัดตรัง จัดทาแปลงรวบรวมพันธ์ุหวายขึ้นในพ้ืนที่ 1,000 ไร่ ที่ตาบล
ปะเหลียน อาเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง เมื่อปี พ.ศ. 2532 และได้น้อมเกล้าฯถวายเป็นสวนหวายเฉลิมพระ
เกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ซึ่งนอกจากจะเป็นสถานที่อนุรักษ์พันธุ์หวายชนิด
ตา่ ง ๆ ของประเทศไทยแล้ว ยงั ได้ใชเ้ ปน็ สถานศึกษา วิจัย และขยายพันธุ์หวายเศรษฐกิจ เพ่ือให้ผลประโยชน์ถึง
ประชาชนอย่างกว้างขวางดว้ ย

ภาพที่ 1.6 พชื ตระกลู หวาย หนึง่ ในพชื ท่ีมีพระราชดารใิ หอ้ นรุ กั ษแ์ ละขยายพันธ์ุ

พ.ศ. 2529 สวนพืชสมนุ ไพร
ในปี พ.ศ. 2529 นอกจากมีพระราชดาริให้มีการอนุรักษ์พันธุกรรมหวายแล้ว ยังได้ให้จัดทาสวนพืช

สมุนไพรข้ึนในโครงการส่วนพระองค์ฯ สวนจิตรลดา เพ่ือรวบรวมพืชสมุนไพรมาปลูกเป็น แปลงสาธิต
และรวบรวมข้อมูล สรรพคุณ ตลอดจนการนาไปใช้ประโยชน์ กับทั้งให้มีการศึกษาขยายพันธ์ุสมุนไพร โดยการ
เพาะเลีย้ งเนือ้ เยื่อและเผยแพรค่ วามรทู้ ไ่ี ด้สู่ประชาชน

11

ภาพที่ 1.7 พรรณไม้ในสวนสมุนไพร สวนจิตรลดา
พ.ศ. 2531 ทรงให้พฒั นาพนั ธผ์ุ ักโดยการผสมสองชั้น

เมอื่ วนั ที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิ
พลอดุลยเดช มีพระราชกระแสกับหม่อมเจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ จักรพันธุ์ ให้ดาเนินการผสมพันธุ์ผักสองชั้น
(double hybridization) พรอ้ มกันไปทง้ั ศนู ยศ์ ึกษาการพฒั นาอนั เน่ืองมาจากพระราชดาริ และในห้องปฏิบัติการ
เพาะเลีย้ งเนือ้ เยอ่ื พืชของโครงการสว่ นพระองค์ฯ สวนจติ รลดา

ภาพท่ี 1.8 ธนาคารพชื พรรณ โครงการอนุรกั ษพ์ นั ธกุ รรมพชื อันเนอื่ งมาจากพระราชดารฯิ (อพ.สธ.)
เม่อื เดอื น มถิ นุ ายน พ.ศ.2535 สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงมีพระราชดาริกับ
นายแก้วขวัญ วัชโรทัย เลขาธิการพระราชวังและผู้อานวยการโครงการส่วนพระองค์ฯ สวนจิตรลดา
ให้ดาเนินการอนุรักษ์พืชพรรณของประเทศ โดยพระราชทานให้โครงการส่วนพระองค์ฯ สวนจิตรลดา
ฝุายวิชาการ สานักพระราชวัง เป็นผู้ดาเนินการสาหรับงบประมาณดาเนินงานนั้น สานักงานคณะกรรมการ
พเิ ศษเพ่ือประสานงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ ได้สนับสนุนให้กับโครงการส่วนพระองค์ สมเด็จ
พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ในงาน อพ.สธ. โดยจัดสร้างธนาคารพืชพรรณข้ึนในปี พ.ศ. 2536

12
สาหรับการเก็บรักษาพันธุกรรมพืชที่เป็นเมล็ดและเน้ือเย่ือ และสนับสนุนงบประมาณดาเนินงานทุกกิจกรรม
ตามกรอบของแผนแม่บทของ อพ.สธ.จนกระทั่งปี พ.ศ. 2554 อพ.สธ. จึงได้รับงบประมาณจากสานัก
พระราชวังเพ่ือดาเนินงานในกิจกรรมต่าง ๆ ของอพ.สธ. ตามกรอบแผนแม่บทระยะ 5 ปีที่ห้า (ตุลาคม พ.ศ.
2554 – กนั ยายน พ.ศ. 2559) ในฐานะหน่วยงานหนึ่งของสานกั พระราชวัง

จากความชัดเจนในการดาเนินงานตามแนวทางพระราชดาริ ในเรื่องของการอนุรกั ษ์ทรพั ยากรในระยะ
25 ปีท่ีผ่านมาของ อพ.สธ. ทาให้ อพ.สธ. ขอพระราชทานพระราชานุญาติในการเปล่ียนชื่อกิจกรรมท้ัง 8
กิจกรรมของ อพ.สธ. ท่อี ยู่ภายใตก้ รอบการดาเนนิ งานท้ัง 3 ฐานทรัพยากร เพ่ือให้ชื่อของกิจกรรมได้สื่อถึงงาน
ท่ีดาเนินงานในกิจกรรมได้ชดั เจนมากย่ิงข้นึ ดงั นี้

1. กิจกรรมท่ี 1 กิจกรรมปกปกั ทรัพยากร

2. กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมสารวจเก็บรวบรวมทรัพยากร

3. กจิ กรรมท่ี 3 กจิ กรรมปลกู รกั ษาทรัพยากร

4. กิจกรรมท่ี 4 กจิ กรรมอนุรกั ษแ์ ละใชป้ ระโยชน์ทรัพยากร

5. กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมศนู ยข์ อ้ มูลทรพั ยากร

6. กจิ กรรมที่ 6 กจิ กรรมวางแผนพฒั นาทรัพยากร

7. กจิ กรรมที่ 7 กิจกรรมสรา้ งจิตสานกึ ในการอนุรักษ์ทรัพยากร

8. กิจกรรมท่ี 8 กิจกรรมพิเศษสนบั สนุนการอนรุ ักษ์ทรพั ยากร

ปัจจุบัน อพ.สธ. มีการดาเนินงานใน 8 กิจกรรม โดยแบ่งตามกรอบการดาเนินงาน 3 กรอบการ
ดาเนินงาน ไดแ้ ก่ กรอบการเรยี นรทู้ รพั ยากร (กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมปกปักทรัพยากร, กิจกรรมที่ 2 กิจกรรม
สารวจเก็บรวบรวมทรัพยากร และกิจกรรมท่ี 3 กิจกรรมปลูกรักษาทรัพยากร), กรอบการใช้ประโยชน์
(กิจกรรมท่ี 4 กิจกรรมอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ทรัพยากร, กิจกรรมท่ี 5 กิจกรรมศูนย์ข้อมูลทรัพยากร และ
กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมวางแผนพัฒนาทรัพยากร) กรอบการสร้างจิตสานึก (กิจกรรมที่ 7 กิจกรรมสร้าง
จิตสานึกในการอนุรักษ์ทรัพยากร และกิจกรรมท่ี 8 กิจกรรมพิเศษสนับสนุนการอนุรักษ์ทรัพยากร)
ได้ดาเนนิ งานเข้าสู่แผนแมบ่ ทระยะ 5 ปีที่หก (ตลุ าคม 2559 - กันยายน 2564)

ตั้งแต่ปี 2535 จนถึงปีงบประมาณ 2560 มีหน่วยงานท่ีเข้าร่วมสนองพระราชดาริ จานวน 150
หน่วยงาน โดยในปีงบประมาณ 2560 มีสมาชิกสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน 3,028 สถานศึกษา และจานวน
สมาชิกฐานทรพั ยากรทอ้ งถิ่น 776 หนว่ ยงาน (ขอ้ มลู ณ วนั ท่ี 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2560)

13
1.2 พระราชดาริบางประการ (พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระเทพ
รตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี)

พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช
“ข้าพเจ้ามโี อกาสได้ศึกษาและทดลองทานามาบ้าง และทราบดีว่าการทานานั้นมีความยากลาบากเป็น
อุปสรรคอยู่มิใช่น้อย จาเป็นต้องอาศัยพันธุ์ข้าวที่ดี และต้องใช้วิชาการต่าง ๆ ด้วย จึงจะได้ผลเป็นล่าสัน อีก
ประการหนงึ่ ทน่ี านั้น เม่ือสิน้ ฤดทู านาแลว้ ควรปลกู พชื อ่นื ๆ บ้าง เพราะจะเพิ่มรายได้ให้อีกไม่น้อย ทั้งจะช่วย
ใหด้ นิ รว่ น ช่วยเพิ่มปุย๋ กากพืช ทาใหล้ กั ษณะเนอื้ ดนิ ดีข้ึน เหมาะสาหรับจะทานาในฤดูต่อไป”

“การทาการเกษตรกรรมน้ันจะต้องมีวชิ าการ วิชาการแผนใหม่ สมยั ใหม่ ที่กา้ วหน้า เช่น ใช้ปุ๋ย วิธีใช้ปุ๋ย
วธิ ีใชย้ าต่าง ๆ วิธีใช้เคร่อื งกลต่าง ๆ อันนี้ทุกคนก็ปรารถนาที่จะก้าวหน้าเป็นคนสมัยใหม่ เป็นคนที่ใช้วิชาการ
วิทยาการแผนใหม่ คือ หมายความว่าอะไร เครื่องจักรกลทุกส่ิงทุกอย่างท่ีได้ค้นคว้ามาก็ได้ใช้ ในข้อนี้ต้องคิด
ดี ๆ บางคนมงุ่ ทจ่ี ะเปน็ คนสมยั ใหม่ มุง่ จะเป็นคนกา้ วหน้า ใช้วชิ าการ ใช้วิทยาการ ใช้ท่ีเรียกว่าเทคโนโลยี คาน้ี
ก็คงจะเขา้ ใจ เทคโนโลยกี ็หมายความถึงเคร่ืองกลต่าง ๆ ที่เขาค้นคว้ามา เขาเอามาขายเราในราคาแพง แล้วก็
เวลาปฏิบัติก็ต้องมีความรู้ช่างกล มีความรู้ในทางวิชาการมากข้ึน ข้อนี้เป็นข้อดีเหมือนกันที่จะก้าวหน้า
แต่หมายความวา่ ทุกคน สมาชิกทุกคนต้องเรียนรวู้ ชิ าการให้ใชว้ ทิ ยาการต่าง ๆ น้ีให้ถูกต้อง ถ้าใช้ไม่ถูกต้องก็จะ
เกิดผลเสียหายได้”

“เกษตรมีความสาคัญจริง ถ้าไม่มีการเกษตรก็เกือบจะพูดได้ว่าเราจะต้องตายกันหมด
เพราะจะไปอาศยั อาหารวิทยาศาสตรก์ ็ร้สู กึ วา่ ลาบากอยู่และกินไม่อ่ิม แต่ว่าทาไมคนถึงนึกว่าการเกษตรนี่เป็น
สิ่งที่ต่าต้อยท่ีไม่สาคัญทั้ง ๆ ท่ีความจริงเราต้องอาศัยการเกษตรเพื่อชีวิตของเรา ไม่ใช่เฉพาะสาหรับอาหาร
เท่านน้ั สาหรับสิ่งอ่นื ทง้ั หลายด้วยที่เราต้องอาศัยการเกษตร อันน้ีเป็นสิ่งหนึ่งท่ีน่าประหลาด ยังมีอีกส่ิงหนึ่งท่ี
นา่ ประหลาดเหมือนกันคือ ได้พบว่า การเกษตรนั้นน่ะไม่ใช่เฉพาะการเอาเมล็ดผักไปหยอดในร่อง แล้วมันจะ
ขน้ึ มาเปน็ ผลผลิตท่เี หมาะสมได้ หากแต่ต้องอาศัยวิชาการอย่างอื่นทุกด้าน ตั้งแต่การหยอดเมล็ดพันธ์ุลงไปใน
ร่อง จนกระทง่ั ให้ฝักหรือส่ิงน้ันงอกขึ้นมาเป็นประโยชน์ได้ ต้องอาศัยทุกอย่างในชีวิตของคน คือทุกสาขาของ
ความร้ทู ต่ี อ้ งผ่านมา”
ขอ้ มลู จาก หนังสอื “พระบดิ าของแผน่ ดนิ ” ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในงานวนั เกษตรแห่งชาติ ประจาปี
2540

“ในปัจจบุ ัน การศึกษาวจิ ยั ดา้ นพันธุศาสตร์มีความเจริญก้าวหน้ามาก และมีการนาผลที่ได้ไปปรับใช้ใน
กิจการด้านต่าง ๆ อย่างกว้างขวาง ในโอกาสนี้ข้าพเจ้าจึงใคร่จะปรารภกับทุกท่านว่า ความรู้ต่าง ๆ เหล่าน้ัน
แม้จะมีประโยชน์มากก็จริง แต่ถ้าใช้ไม่ถูกเรื่องถูกทางโดยไม่พิจารณาให้ดีให้รอบคอบแล้ว ก็อาจก่อให้เกิด
ผลกระทบเสียหายแก่ชีวิตความเป็นอยู่และส่ิงแวดล้อมอย่างร้ายแรงได้เช่นกัน. เหตุนี้ ประเทศต่าง ๆ
โดยเฉพาะประเทศที่กาลังพัฒนาจาเป็นจะต้องศึกษาให้รู้เท่าและรู้ทัน. จึงเป็นที่น่ายินดีอย่างยิ่ง ที่ได้เห็น

14
ผเู้ ชยี่ วชาญจากประเทศต่าง ๆ มาประชุมปรกึ ษาหารือกัน ร่วมกันนาเสนอผลงานการศึกษาวิจัย เก่ียวกับเรื่อง
ววิ ฒั นาการของพันธุศาสตร์และผลกระทบต่อโลก ทาให้หวังได้ว่า การนาความรู้ด้านพันธุศาสตร์ไปปรับใช้ใน
กิจการด้านต่าง ๆ จะเป็นไปด้วยความระมัดระวังรอบคอบ เพ่ือให้เกิดประโยชน์และความปลอดภัยสูงสุดแก่
มวลมนษุ ยชาติ”
จากพระราชดารัส ในพธิ ีการเปิดประชมุ วทิ ยาศาสตร์นานาชาติ เจ้าฟูาจุฬาภรณ์ ครั้งท่ี 5 เร่ืองวิวัฒนาการของ
พนั ธศุ าสตรแ์ ละผลกระทบตอ่ โลก วันที่ 16 สงิ หาคม 2547 ณ โรงแรมแชงกรีลา

1. ประโยชน์แท้
“ประโยชน์ที่แท้น้ันมีอยู่ ๒ อย่าง คือ ประโยชน์ส่วนตัวที่ ทุกคนมีสิทธิจะแสวงหาและได้รับ
แตต่ อ้ งดว้ ยวิถที างที่สจุ ริตและเป็นธรรมกับประโยชน์ส่วนรวม ซึ่งเป็นประโยชน์ของชาติท่ีแต่ละคนมีส่วนร่วม
อยู่ การทางานทุกอย่างจะต้องได้ประโยชน์แท้ท้ังส่วนตัวและส่วนรวม ประโยชน์นั้นจึงจะสมบูรณ์และม่ันคง
ถาวร เป็นผลดแี กช่ าตบิ า้ นเมืองอย่างแทจ้ รงิ ”
คัดตัดตอนจากพระราชดารัสในการเสด็จออกมหาสมาคมในพระราช พิธีเฉลิมพระชนมพรรษา พุทธศักราช
2540 วนั พฤหสั บดีที่ 4 ธนั วาคม พ.ศ. 2540
2. ความศรัทธา
“จะพดู ถงึ วธิ ีปฏิบตั ิงานโดยแยบคายต่อไป ข้อแรก จะต้องสร้างศรัทธาให้มีขึ้นก่อน เพราะศรัทธา หรือ
ความเชื่อมั่นในประโยชน์ของงานน้ัน เป็นจุดเริ่มต้นของการปฏิบัติ คือทาให้มีการปฏิบัติด้วยใจในทันที แม้
ก่อนทจ่ี ะลงมือทา ดังนนั้ ไมว่ ่าจะทาการใด ๆ จึงต้องสร้างศรัทธาข้ึนก่อน และการสร้างศรัทธานั้น จาเป็นต้อง
ทาให้ถูกต้องด้วย ศรัทธาที่พึงประสงค์ จะต้องไม่เกิดจากความเช่ือง่าย ใจอ่อนปราศจากเหตุผล หากจะต้อง
เกิดขึ้นจากความเพ่งพินิจ พิจารณา ใคร่ครวญแล้วด้วยความคิดจิตใจที่หนักแน่นสมบูรณ์ด้วยเหตุผล จนเห็น
ถอ่ งแทถ้ งึ คณุ ค่าและประโยชน์อันแทจ้ ริง ในผลของการปฏิบัติท่ีจะบังเกิดตามมา ศรัทธาลักษณะนี้ เมื่อบังเกิด
ขึ้นแลว้ ยอ่ มน้อมนาฉนั ทะความพอใจ ความกระตอื รอื ร้น ความพากเพยี รขวนขวาย ตลอดจนความฉลาดริเร่ิม
ใหเ้ กดิ ขน้ึ เกือ้ กลู กนั อย่างพรอ้ มเพรียง แลว้ สนับสนนุ สง่ เสรมิ ให้การปฏิบัติงานดาเนินก้าวหน้าไปโดยราบรื่นจน
สัมฤทธ์ิผล”
คดั ตัดตอนจากพระบรมราโชวาท ในพิธพี ระราชทานปริญญาของมหาวิทยาลยั รามคาแหง
วนั ที่ 12 มนี าคม พ.ศ. 2524

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ทรงเห็นว่าสวนเก่าในแถบนนทบรุ ี มีพันธุ์ไมเ้ กา่ ๆ อยู่มาก เช่น ทุเรียนบางพนั ธ์ุ อาจยงั คงมีลักษณะดีอยู่
แตส่ วนเหลา่ น้ีจะเปลยี่ นสภาพไป จงึ ทรงห่วงวา่ พันธ์ไุ ม้เหลา่ น้นั จะหมดไป

“การอนุรักษ์พันธ์ุพืช ควรอนุรักษ์พันธุ์ท่ีไม่ใช่พืชเศรษฐกิจไว้ด้วย น่าจะมีการสารวจพืชพรรณไม้ตาม
เกาะตา่ ง ๆ เพราะยงั ไม่มผี ้สู นใจเท่าไร การสอนและอบรมให้เดก็ มีจิตสานกึ ในการอนุรกั ษ์พืชพรรณน้ัน ควรใช้
วิธีการปลกู ฝังให้เด็กเหน็ ความงดงาม ความน่าสนใจ และเกิดความปิติท่ีจะทาการศึกษาและอนุรักษ์พืชพรรณ

15
ต่อไปการใช้วิธีการสอนการอบรมที่ให้เกิดความรู้สึกกลัวว่าหากไม่อนุรักษ์แล้ว จะเกิดผลเสียเกิดอันตรายแก่
ตนเองจะทาให้เดก็ เกดิ ความเครยี ดซ่งึ จะเป็นผลเสยี ตอ่ ประเทศระยะยาว”

“การทาศูนย์ข้อมูลพันธกุ รรมพชื โดยมีคอมพิวเตอร์ นั้นควรให้มีโปรแกรมที่สามารถแสดงลักษณะของ
พชื ออกมาเปน็ ภาพสไี ดเ้ พอ่ื สะดวกในการอ้างองิ คน้ คว้า”

วันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2540 ณ อาคารชยั พัฒนา สวนจิตรลดา
“ทรงให้หาวิธีการท่ีจะทาให้เด็กสนใจพืชพรรณต่าง ๆ เกิดความสงสัย ต้ังคาถามตนเองเกี่ยวกับพืช

พรรณท่ีตนสนใจ จะนาไปสู่การศึกษาทดลองค้นคว้าวิจัยอย่างง่าย ๆ สาหรับโรงเรียนท่ีไม่มีห้องปฏิบัติการ
วทิ ยาศาสตร์ท่ดี ีนักหากอาจารย์โรงเรยี นตา่ ง ๆ ทาได้ดังนี้ กจ็ ะช่วยใหเ้ ดก็ เป็นคนฉลาด”
วันท่ี 14 สิงหาคม พ.ศ. 2540 ณ ศาลาดสุ ดิ าลัย สวนจิตรลดา

“การรักในทรัพยากร คือการรักชาติรักแผ่นดิน รักส่ิงที่เป็นสมบัติของตัวเรา การที่จะให้เขารัก
ประเทศชาติหรือรักษาสมบัติของเขานั้น ทาได้โดยก่อให้เกิดความรักความเข้าใจ ถ้าใครไม่รู้จักกัน
เราก็ไม่มีความสัมพันธ์ไม่มีความผูกพันต่อกัน แต่ว่าถ้าให้รู้จักส่ิงน้ันว่าคืออะไรหรือว่าทางาน ก็จะรู้สึกชื่นชม
และรกั หวงแหนสง่ิ น้นั ว่าเป็นของตน และจะทาใหเ้ กดิ ประโยชน์ได้”

“เคยแนะนาโรงเรียนต่าง ๆ นอกจากพืชพรรณแล้วส่ิงท่ีมีในธรรมชาติ ส่ิงท่ีหาได้ง่าย อาจเป็นอุปกรณ์
สอนได้หลายอย่าง แม้แต่วิชาศิลปะก็ให้มาวาด รูปต้นไม้ ก็ไม่ต้องหาของอื่นมาเป็นแบบหรือเรื่องภาษาไทย
การเรยี งความ ก็อาจทาให้เร่ืองของการเขียนรายงานทาให้หัดเขียนหนังสือ หรืออาจแต่งคาประพันธ์ ในเร่ือง
พืชเหล่าน้ี เป็นตัวอย่างงานศึกษา งานวิทยาศาสตร์ และวิชาอื่น ๆ ดังที่ได้กล่าวมา นอกจากน้ันในวิชา
พฤกษศาสตร์โดยเฉพาะ ซ่ึงอาจช่วยได้ ในที่น้ียังไม่เคยกล่าว คือเร่ืองวิชาการท้องถิ่น ซึ่งก็เป็นนโยบายของ
กระทรวงศึกษาธิการ การอนุรักษ์ทรัพยากร ไม่ใช่เฉพาะให้นักเรียนปลูกป่าหรือให้อนุรักษ์ดิน ปลูกหญ้าแฝก
อยา่ งเดียว ก็พยายามจะให้ออกไปดูข้าง ๆ โรงเรียน วา่ ที่นนั่ มอี ะไรอยู่ และตน้ ไมช้ อ่ื อะไร เป็นอะไร”

ทรงพระราชทานพระราชวนิ จิ ฉยั เมือ่ วันที่ 25 มนี าคม พ.ศ. 2548
“ได้ไปกับ สมศ. มา เห็นว่าโรงเรียนยังสัมพันธ์กับชุมชนน้อย ทาอย่างไร ให้ชุมชนมาให้โรงเรียน

โดยเฉพาะนักเรยี น ช่วยในการอนุรกั ษพ์ ันธุกรรมพืชและให้มกี ารทา DNA Fingerprint ในโรงเรยี น”

วันท่ี 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2536 ณ อาคารที่ประทับในสานักงานชลประทาน เขต 1 จังหวัดเชียงใหม่
“การสอนและอบรมให้เดก็ มีจิตสานกึ ในการอนุรักษ์พืชพรรณน้ัน ควรใช้วิธีการปลูกฝังให้เด็กเห็นความ

งดงาม ความน่าสนใจ และเกิดความปิติท่ีจะทาการศึกษาและอนุรักษ์พืชพรรณต่อไป การใช้วิธีการสอนการ
อบรมท่ีให้เกิดความรู้สึกกลัวว่า หากไม่อนุรักษ์แล้วจะเกิดผลเสีย เกิดอันตรายแก่ตนเอง จะทาให้เด็กเกิด
ความเครยี ดซึ่งจะเป็นผลเสยี แกป่ ระเทศในระยะยาว”

16
วนั ท่ี 28 ธันวาคม พ.ศ. 2538 ณ โรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะห์ตาก จงั หวัดตาก พระราชทานแนว

- ทางการดาเนินงานเก่ยี วกบั สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น
- การนาต้นไม้มาปลกู เพม่ิ เตมิ ให้เดก็ รจู้ ักนัน้ ตอ้ งไม่มีพืชเสพติด
- ควรใหเ้ ด็กหัดเขียนตารา จากสง่ิ ทเี่ รียนในสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน
- ควรนาตัวอยา่ งดิน หนิ แร่ มาแสดงไวใ้ นห้องพิพิธภัณฑ์พืชด้วยเพราะในจังหวัดตาก มีหิน แร่ อยู่มาก
ชนดิ

วันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2540 ณ อาคารชยั พฒั นา พระราชวงั ดุสิต สวนจิตรลดา กรุงเทพฯ
ทรงให้หาวิธกี ารท่ีจะทาให้เด็กสนใจพืชพรรณตา่ ง ๆ เกดิ ความสงสัย ตั้งคาถามตนเองเก่ียวกับพืชพรรณ

ที่ตนสนใจ จะนาไปสู่การศึกษา ทดลอง ค้นคว้าวิจัย อย่างง่าย ๆ สาหรับโรงเรียนที่ไม่มีห้องปฏิบัติการ
วิทยาศาสตร์ท่ีดีนกั หากอาจารยโ์ รงเรียนตา่ ง ๆ ทาได้ดงั น้ี ก็จะช่วยใหเ้ ดก็ เป็นคนฉลาด

วนั ท่ี 14 สงิ หาคม พ.ศ. 2540 ณ ศาลาดสุ ดิ าลัย สวนจิตรลดา กรงุ เทพฯ
พระราชทานพระราโชวาทให้คณะกรรมการอานวยการ คณะกรรมการบริหารผู้ร่วมสนองพระราชดาริและ

ผู้ทูลเกลา้ ฯ ถวาย ทเี่ ฝาู ทลู ละอองพระบาทในการประชุมประจาปี โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจาก
พระราชดาริฯ

“ข้าพเจ้ายนิ ดีและขอบคุณที่ทุกคนเข้ามาประชุมกันพร้อมหน้าในวันนี้ ดังที่ได้กล่าวมาแล้วว่า โครงการ
อนรุ ักษ์พันธกุ รรมพืชฯ น้ี ไดด้ าเนนิ การมาเป็นเวลาถึง 5 ปีแล้ว และคิดกันว่าจะทาต่อไปในช่วงที่สองอีก 5 ปี
และคิดมาใหม่ว่าในข้ันที่สองนี้จะทาในลักษณะไหน ท่ีจริงในเบื้องต้นน้ัน ข้าพเจ้าก็มิได้เป็นนักพฤกษศาสตร์
หรือศึกษาทางน้ีมาโดยตรง ถึงแม้ศึกษาตอนน้ีก็คงจะสายไปเสียแล้วเพราะว่าขณะน้ีไม่สามารถท่ีจะจาช่ือคน
สัตว์ ส่ิงของได้มากเท่าที่ควร แต่ว่าเหตุท่ีสนใจในพืชพรรณหรือทรัพยากรต่าง ๆ ของประเทศเรามานานแล้ว
โดยเฉพาะอย่างยิ่งทางพืช เหตุผลที่ศึกษาเพราะถือว่าง่ายต่อการศึกษาอย่างอ่ืน เวลาไปไหนท่ีมีคนตามกัน
เยอะแยะ ถ้าศึกษาสัตว์ สัตว์ก็วิ่งหนีหมด แต่พืชนั้นเขาอยู่ให้ศึกษาได้ พอศึกษาไปสักพักก็เกิดความสนใจว่า
นอกจากทางกรมปา่ ไม้ซ่ึงได้ติดต่อกันในครั้งแรก เบ้ืองต้นเพราะว่าชอบไปท่องเที่ยวในท่ีต่าง ๆ ตามป่าเขา ดูว่า
ในเมืองไทยมีสภาพภมู ปิ ระเทศ ภูมศิ าสตร์อย่างไร และกไ็ ด้ศกึ ษาเร่ืองตน้ ไม้ต่าง ๆ ตามท่กี ลา่ วมาแล้วน้ี ก็ยังเห็นว่ามี
หน่วยงานของรัฐ ของเอกชน ท้ังเป็นหน่วยงานของราชการ เช่น กรมป่าไม้ กรมวิชาการเกษตรและ
สถาบันการศึกษาท่ีทางานเกี่ยวกับเรื่องของพืช ศึกษาว่าพืชก่ีชนิด ท้ังเร่ืองชื่อของพืชชนิดต่าง ๆ เรื่องการ
อนุกรมวิธาน เป็นต้น ก็ศึกษากันหลายแห่ง จึงเกิดความคิดขึ้นมาว่าน่าจะมีการรวบรวมว่าแต่ละสถาบันน้ัน
ได้ทางานในส่วนของตนอย่างไร ยกตัวอยา่ งเช่น พชื ก็ไดศ้ ึกษาพืชแตล่ ะแห่ง ท่ีได้รวบรวมน้ันชื่อต่างกันหรือซ้า
กนั อยา่ งไร เพือ่ ทจ่ี ะให้รวมกันวา่ ทง้ั ประเทศนน้ั เรามีอะไรกันบ้าง ที่จริงแล้วงานที่จะศึกษาพืชหลายชนิดน้ีเป็น
เร่ืองที่ทาได้ยากและทาได้ช้า คน ๆ เดียวหรือสถาบัน ๆ เดียวน้ันครอบคลุมไม่ได้ท้ังหมด ถ้ามีหลาย ๆ
หน่วยงานช่วยกันครอบคลุมก็อาจจะได้มาก ถ้าต่างคนต่างไม่รู้กัน ก็อาจจะเกิดเป็นท่ีน่าเสียดายว่าจะไม่ได้
ข้อมูลเต็มท่ี จึงคิดว่าอยากจะทาฐานข้อมูลที่นักวิชาการทุกคนจะใช้ในการ ค้นคว้ารวมไว้ด้วยกัน ในวังมี
ความรสู้ กึ วา่ 1 ตารางกิโลเมตร ของวงั น้ีกใ็ หญ่โตพอสมควร แต่ว่าที่จริงแล้วถ้าจะเอางานทุกสิ่งทุกอย่างมาสุมกัน

17
ย่อมจะไม่พอ พื้นที่ไม่ได้ ก็ต้องทางานอะไรที่จะประหยัดท่ีดินที่สุด ในตอนนั้นก็เลยคิดว่าทาฐาน
ขอ้ มลู คอมพิวเตอร์ ซึ่งใช้การเรียกช่อื พชื ทีท่ ุกคนจะเขา้ ถงึ ได้ จึงพัฒนาจากจุดนั้นมาเป็นงานต่าง ๆ ท่ี ดร.พิศิษฐ์
ฯ ได้กล่าวเมอื่ สักคร่นู ้ี ซ่ึงงานท่ีกล่าวถงึ นี้ก็เป็นงานทห่ี นว่ ยงานราชการต่าง ๆ ได้ทามาแล้วเป็นจานวนมาก และ
หลงั จากโครงการฯ นี้ก็มกี ารตงั้ ขนึ้ ใหม่ เพราะฉะนั้นก็ยังคิดว่าถ้ามีการได้ประชุมกันพร้อมกันอย่างน้ี จะได้มา
ตกลงกันแน่นอนวา่ ใครทาอะไร และในสว่ นท่ีเหมอื นกัน ถา้ ซ้ากันโดยไม่จาเป็นก็อาจจะตกลงกัน แบ่งกันว่าอัน
นี้งานนใี้ ครจะทา หรืองานท่ีหน่วยโครงการทางด้านสานักพระราชวังเคยทาอยู่ แต่ว่าเม่ือมีหน่วยงานที่เข้ามา
รบั ผิดชอบโดยตรงรบั ไปทาแลว้ ทางสานกั พระราชวงั ก็คดิ วา่ น่าจะตัดได้ในส่วนนั้นและก็หันมาทางานทางด้าน
การประสานงานหรอื ความร่วมมอื อย่างนเี้ ป็นต้น ซึ่งเข้าใจว่าก็เป็นการทันสมัยในปัจจุบัน ซ่ึงประเทศค่อนข้าง
จะฝืดเคือง เพราะฉะนน้ั ทางานอะไร ถงึ แมจ้ ะเปน็ งานทีด่ ี ถา้ ตกลงกนั ไดแ้ ลว้ ก็จะเป็นการประหยัดพลังคนหรือ
พลงั เงนิ งบประมาณในสว่ นน้ี ไม่จาเปน็ ตอ้ งให้ในหน่วยงานอืน่ หรือถ้าให้หนว่ ยงานอ่ืนทาก็ต้องให้ทาไป และงาน
นี้เราอาจจะต้องมาน่ังพิจารณาคิดดูว่าจะทางานได้โดยประหยัดอย่างไร บางส่วนที่อาจจะยังไม่จาเป็นในขั้นนี้
หรือว่าทาได้ไม่ต้องเน้นเรื่องความหรูหราหรือความสวยงามมากนัก เอาเฉพาะที่ใช้จริง ๆ และก็ประหยัดไปได้
เปน็ บางส่วนก็ดี

สว่ นสาหรับเรอ่ื งของโรงเรยี นนน้ั ก็ได้มปี ระสบการณ์ในการท่ีไปเยี่ยมโรงเรียนในภาคต่าง ๆ มาหลายแห่ง
กเ็ หน็ วา่ เรือ่ งท่ีจะสอนให้ผเู้ รียนหรือใหเ้ ดก็ มคี วามรู้ และมคี วามรักในทรัพยากร คือความรักชาติ รักแผ่นดินน้ีก็
คือ รักสิ่งท่ีเป็นสมบัติของตัวเขา การท่ีให้เขารักษาประเทศชาติหรือรักษาสมบัติของเขาน้ัน ทาได้โดยสร้าง
ความรักความเขา้ ใจ ถ้าใครไม่รู้จักกัน เราก็ไม่มีความสัมพันธ์ ไม่มีความผูกพันต่อกัน แต่ว่าถ้าให้เขารู้จักว่าส่ิง
น้ันคืออะไร เขาจะรู้สึกช่ืนชมและรักหวงแหนในสิ่งน้ันว่าเป็นของตนและจะทาให้เกิดประโยชน์ได้ เคยได้
แนะนาโรงเรียนต่าง ๆ ที่ได้ไปเย่ียมไม่เฉพาะแต่โรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ นี้ โรงเรียนท่ัว ๆ ไปด้วยว่า
นอกจากพืชพรรณแล้ว สิ่งทมี่ ีในธรรมชาติหรือสิ่งท่ีหาได้ง่าย ๆ นั้นก็อาจจะเป็นอุปกรณ์การสอนในวิชาต่าง ๆ
ไดห้ ลายอย่างแม้แต่วชิ าศิลปะก็ให้มาวาดรูปต้นไม้ ไม่ต้องหาของอ่ืนให้เป็นตัวแบบ หรือในเรื่องภาษาไทยการ
เรียงความกอ็ าจช่วยในการเขียนรายงานทาใหห้ ัดเขยี นหนงั สอื หรอื แต่งคาประพันธใ์ นเร่ืองของพืชเหล่าน้ีได้ หรือ
เป็นตัวอยา่ งงานศึกษา งานวทิ ยาศาสตร์ หรือวชิ าอ่นื ๆ ดงั ท่ี ดร.พิศิษฐ์ฯ ได้กล่าวมา ในท่ีนี้ท่ียังไม่เคยกล่าวคือ
เรื่องของวิชาการท้องถิ่น ซึ่งเป็นนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการอยู่แล้ว ท่ีว่าจะให้ผู้เรียนได้ศึกษาความ รู้
ท้องถ่ิน นอกจากความรทู้ ี่เป็นมาตรฐานจากส่วนกลางมาแลว้ แม้แต่ตาราก็มีการส่งเสริมให้ครู อาจารย์ในท้องถิ่น
นั้นได้รวบรวมความรูห้ รือไดแ้ ตง่ ข้นึ โดยเฉพาะการศกึ ษาวิชาการทางด้านศิลปวัฒนธรรม อาชีพท้องถิ่น แต่ใน
ด้านของธรรมชาตนิ ้ันยังมคี อ่ นขา้ งน้อย เทา่ ทไี่ ปแนะนามาในเร่ืองของการอนุรกั ษท์ รัพยากรนนั้ ได้เสนอวา่ ไมใ่ ช่
เปน็ เฉพาะที่ว่าจะให้เด็กผ้เู รยี นปลกู ป่า หรอื ว่าให้อนุรกั ษ์ดนิ ปลกู หญา้ แฝกอยา่ งเดียวก็จะพยายามจะให้ออกไป
ดขู ้าง ๆ โรงเรียนว่าทีน่ ่ันมีอะไรอยู่ และตน้ ไมน้ นั้ ชือ่ อะไร เปน็ อะไร พอดีมีประสบการณจ์ ากการทไ่ี ด้เคยออกไป
สง่ เสรมิ ในเร่อื งของโภชนาการ ในระยะแรก ๆ ท่ีเร่ิมทางานเม่ือ พ.ศ. 2523 ในช่วงนั้นออกไปทางานก็ทางาน
อย่างคอ่ นข้างจะเบ้ยี น้อยหอยน้อย คือเงินไม่ค่อยมีต้องออกเองบ้าง ทาให้ไม่มีเงินที่จะส่งเสริมเร่ืองเมล็ดพันธ์ุ
ผกั หรอื อุปกรณเ์ ครือ่ งใชม้ ากนกั ไดค้ รบทุกแห่งก็ใหใ้ ช้พชื ผกั ในท้องถ่ินน้ัน เขาก็รู้และก็มีชื่อพื้นเมือง แต่ว่าพอ
เอาเข้าจริง แม้แต่ช่ือวิทยาศาสตร์ยังไม่มีใครแน่ใจว่าช่ืออะไร ก็นามาศึกษา และเวลาน้ีก็ได้เห็นว่ามีการศึกษา
อย่างกว้างขวาง คอื ไดศ้ ึกษาวา่ คุณค่าทางอาหารของผักพ้ืนเมืองเหล่าน้ันมีอะไรบ้าง และได้มีการวิเคราะห์พิษ

18
ภยั ของพชื เหลา่ นัน้ ไว้ดว้ ย เดมิ เท่าทค่ี ิดก็ยอมรับว่าไมไ่ ด้คิดเร่อื งพษิ ภยั เพราะเห็นว่าคนรับประทานกันอยู่ประจา
กย็ งั มอี ายยุ ืน แตเ่ ห็นว่าจากการวจิ ัยของนักวชิ าการก็ได้ทราบว่ามพี ชื พืน้ บ้านบางอย่างท่ีรับประทานกันอยู่มีพิษบ้าง
ทาใหเ้ กดิ ความคดิ ที่วา่ ถา้ บรโิ ภคกนั ในส่วนที่เป็นทอ้ งถ่นิ ก็อาจจะไม่เป็นพิษเป็นภัยมาก เพราะว่าในวันนั้นเก็บผัก
ชนิดน้ีไดก้ น็ ามาบริโภค อีกวันก็เก็บได้อีกอย่างก็นามาบริโภค แต่ถ้าสมมติว่าเป็นการส่งเสริมเป็นโครงการขึ้น
มาแล้ว ก็จะมีการขยายพันธุ์เป็นจานวนมาก และก็รับประทานอย่างนี้ซ้า ๆ ซาก ๆ จะมีอันตรายต่อร่างกาย
เป็นอย่างย่ิงก็อาจจะเป็นได้ อันน้ีท่ียกตัวอย่างแสดงว่าวิชาการน้ีแตกแขนงไปหลายอย่าง และมีการศึกษาได้
หลายอย่าง และก็มบี คุ คลหลายคนท่ีชว่ ยกันคดิ ชว่ ยกันทา ถ้าจะช่วยกนั จริง ๆ น้ี กอ็ าจจะต้องแบ่งหน้าท่ี ถึงข้ัน
ตอนนี้กต็ ้องแบ่งหน้าที่กันเพื่อที่จะแบ่งในด้านปริมาณงานท่ีทาหรืองบประมาณท่ีทา ก็ได้รับการสั่งสอนจากผู้
หลักผู้ใหญ่อยู่เสมอว่า ถ้าคนเรามีความคิดพุ่งแล่นอะไรต่าง ๆ นานา ก็คิดได้ แต่ถึงตอนทาจริง มีข้ันตอน
เหมือนกัน การใช้คนให้ทาอะไรนี่ ก็ต้องคิดถึงกระบวนการว่า จะไปถึงเป้าหมายท่ีเราต้องการนั้น จะต้องใช้ท้ัง
เงินใช้ท้งั เวลา ใชท้ ัง้ ความคดิ ความอ่านต่าง ๆ ซึง่ จะไปใช้ใครทาก็ต้องให้แน่ใจว่า เขาเต็มใจหรืออาจเต็มใจแต่ว่า
ภารกิจมากมีเวลาจะทาใหเ้ ท่าใด หรอื เขาอาจทาให้ด้วยความเกรงใจเราแล้วว่าทีหลัง อย่างนี้เป็นต้น ก็บอกว่า
ไม่เป็นไร เพราะว่าเวลาทาอะไรก็มิได้บังคับ ก็ขอเชิญเข้าร่วมช่วยกัน แต่ถ้าคนใดมีข้อขัดข้องหรือมีข้อสงสัย
ประการใด กไ็ ถถ่ ามกนั ไดไ้ ม่ต้องเกรงใจ เพราะถือว่าทางานวิชาการแบบน้ีไม่เคยจะคิดว่าโกรธเคือง ถ้าใครทา
ไมไ่ ด้ ไม่ไดก้ แ็ ล้วไป ก็ทาอยา่ งอ่นื ทาอยา่ งน้ีไม่ได้ ก็ตอ้ งทาได้สกั อยา่ ง คิดว่าโครงการนี้ข้นั ตอนต่อไป อาจจะต้องดู
เร่อื งเหล่านใี้ ห้ละเอยี ดยิง่ ขึ้น ใครทาอะไรได้ และประโยชนอ์ าจจะมอี กี หลายอยา่ ง เช่น งานบางอย่างหรืออย่าง
พืชน้ีจะมีประโยชน์ในเชิงธุรกิจได้อีกก็มีด้วยซ้า ถ้าเราทราบสรรพคุณของเขาและนามาใช้ ในส่วนท่ีว่าถ้า
ขยายพันธุแ์ ล้วอันตราย คือ การขยายพนั ธุเ์ หล่าน้กี อ็ าจจะเปน็ การชว่ ยในเรอื่ งของการสง่ เสรมิ อาชพี ให้แก่ราษฎร
เพมิ่ ข้ึนอกี กอ็ าจเปน็ ได้ ท้ังนี้ก็ตอ้ งไมล่ ะเลยในเรื่องของวิชาการ ส่ิงท่ถี ูกตอ้ ง อะไรที่เป็นคุณ อะไรท่ีเป็นโทษ และ
ยงั มีเร่อื งท่ีเกี่ยวข้องในเรื่องของงาน ของเงิน ในที่นี้ยังมีเรื่องเพิ่มอีกเร่ืองหน่ึงคือ เรื่องของท่ีดิน อาจจะต้องมี
การกาหนดแน่นอนว่าที่ดินนั้นอยู่ในสภาพไหน สภาพการถือครองในลักษณะใด ศึกษาในเร่ืองของกฎหมายให้
ถูกต้องว่าใครมีสิทธ์ิหรือหน้าที่ทาอะไรบ้าง ใครทาอะไรไม่ได้ เร่ืองเหล่านี้เป็นเร่ืองที่จะต้องศึกษา เป็นเรื่องท่ี
จะต้องจุกจิกมากอีกหลายอย่าง ท่ีพูดนี้มิได้หมายความถึงว่าจะเป็นการจะจับผิดว่าใครทาผิดใครทาถูก แต่ว่า
งานโลกปจั จบุ นั นี้ ทาอะไรก็รู้สึกว่าเรื่องการรกั ษามาตรฐานนั้นเป็นเร่ืองสาคัญ เพราะว่าต่อไปงานน้ีเราอาจจะ
ไม่ใชจ่ ากัดอยู่แต่ภายในประเทศ อาจจะต้องมีการติดต่อไปถึงประเทศอ่ืนด้วย เป็นการสร้างความเจริญให้แก่
ประเทศ เพราะฉะนัน้ จะตอ้ งมีการทางานในลกั ษณะท่คี นอื่นยอมรบั ได้ นก่ี ็เปน็ ความคดิ เกยี่ วกับโครงการนี้”

วันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2543 ณ ห้องประชมุ สธุ รรมอารีกุล อาคารสารนิเทศ 50 ปี มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์
พระราชทานพระราโชวาทให้ผ้เู ขา้ รว่ มประชุมในการประชุมสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น

“โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเน่ืองมาจากพระราชดาริฯ ได้เร่ิมต้นขึ้นราวปี พ.ศ. 2535 เพ่ือเป็น
การส่งเสรมิ ใหส้ ถาบนั ตา่ ง ๆ ท่ีมีหน้าท่ีในการศึกษาพืชพรรณต่าง ๆ และบุคคลท่ีสนใจได้มีโอกาสปฏิบัติงานที่
ศึกษาพืชพรรณต่าง ๆ ท่ีมีอยู่จานวนมากในประเทศไทย ได้ศึกษาวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ได้รวบรวมเป็น
หลักฐานไว้และเพื่อเป็นสื่อในระหว่างสถาบันต่าง ๆ บุคคลต่างๆ ที่ทาการศึกษาให้สามารถร่วมใช้ฐานข้อมูล
เดยี วกัน เพอื่ ให้การศึกษาไม่ซ้าซ้อน สามารถท่ีจะดาเนินการไปก้าวหน้าเป็นประโยชน์ในทางวิชาการได้ ส่วน

19
โครงการสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียนนนั้ ก็เป็นงานท่ีสบื เนือ่ งตอ่ จากงานอนุรักษ์พันธุกรรมพืช เพ่ิงจะได้เดินทาง
ไปเยี่ยมดูโรงเรียนทง้ั ในระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษาในภาคต่าง ๆ ทั่วประเทศ ได้เห็นว่าโรงเรียนบาง
แห่งนน้ั มีภูมิทศั นท์ ่รี ม่ ร่ืนมีพืชพันธห์ุ ลายชนดิ ในวชิ าเรยี นของผูเ้ รยี นทจ่ี รงิ ตัง้ แต่เป็นเดก็ เลก็ ๆ ชั้นอนบุ าลถึงช้ัน
ประถม มธั ยม ทางครูอาจารย์ก็มักจะสอนใหผ้ ู้เรียนศึกษาถงึ โลกของเรา เร่ืองของธรรมชาติ ฉะนั้นการท่ีศึกษา
ของใกล้ตัวได้แก่ พืชพรรณที่มีอยู่ในธรรมชาติน้ัน ก็เป็นสิ่งท่ีง่าย ไม่เสียค่าใช้จ่ายสูง และมีประโยชน์เพ่ิม
ประสบการณ์แกผ่ ูเ้ รยี นในด้านต่าง ๆ ได้ จึงเหน็ วา่ งานที่คนในระดับท่ีเป็นผู้ใหญ่ได้ทาได้ศึกษาในพืชพรรณต่าง
ๆ แม้แตเ่ ด็กระดับเล็กกน็ ่าจะไดป้ ระโยชน์ด้วย โรงเรียนบางแห่งก็ต้ังอยู่ในท่ีทุรกันดาร แต่ก็ยังมีพืชพรรณต่าง ๆ
ขึ้นอยู่ ที่คนอ่ืน ๆ นอกพ้ืนท่ีจะเข้าไปศึกษาได้ยาก ท้ังผู้เรียนและผู้ปกครองก็อาจจะมีความรู้นั้นมากกว่าคนอ่ืน ๆ
ผเู้ รียนก็อาจจะเรียนจากผู้ปกครองของผู้เรียน เป็นเร่ืองของภูมิประเทศท้องถ่ินว่าพืชชนิดน้ีคืออะไร แล้วก็ได้
ศึกษาเปรยี บเทยี บกบั วิทยาการสมยั ใหม่ทคี่ รบู าอาจารยส์ ัง่ สอน หรือมปี รากฏในหนังสือ นอกจากนั้นการศึกษา
เรอื่ งพชื พรรณ น่าจะเป็นประโยชนต์ อ่ ผ้เู รยี นในแง่ต่าง ๆ ได้ คนท่ีศึกษาเรื่องพืชน้ันก็ได้รับความสุขความสบาย
ใจ มคี วามคิดในด้านสนุ ทรีย์ ด้านศลิ ปะในแง่ต่าง ๆ อาจจะศึกษาหรอื ใช้เปน็ อุปกรณ์การศึกษาในหมวดวิชาต่าง
ๆ ทั้งในเร่ืองของวิทยาศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ซึ่งครูและผู้เรียนโรงเรียนได้นามาปฏิบัติ แต่ละโรงเรียนก็มี
ความคิดแตกต่างกันไป หรือว่าบางอย่างก็เหมือนกัน บางอย่างก็แตกต่างกัน ก็เป็นเรื่องท่ีดี ถ้าทุกโรงเรียน
สามารถท่ีจะแลกเปล่ียนความคิดเห็น โดยการมาเสนอผลงาน หรือว่านาผลงานมาบันทึกลงในส่ือต่าง ๆ ท่ีจะ
สามารถนามาแลกเปล่ียนกันได้ จึงเห็นว่าในการจัดงานในลักษณะน้ีน่าจะเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียนท่ีเข้าร่วม
โครงการ และผู้เรียนในโรงเรียนอ่ืน ๆ ท่ียังไม่ได้เข้าร่วมโครงการ ขอแสดงความยินดีด้วยกับโรงเรียนท่ีได้รับ
รางวัล และโรงเรียนที่สามารถรกั ษามาตรฐานของสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนเอาไว้ได้ พวกท่ีรักษามาตรฐานไว้
ไมไ่ ด้ ก็ไมต่ อ้ งเสียอกเสยี ใจไป เพราะการทจี่ ะจัดกิจกรรมต่าง ๆ ให้เป็นไปตามมาตรฐานก็ไม่ใช่ของที่ง่าย และ
โรงเรียนที่อยู่ในลักษณะต่าง ๆ ก็อาจจะไม่สามารถท่ีจะปฏิบัติงานในด้านน้ีได้อย่างเต็มท่ีทุกแห่ง ก็ถ้ามีความ
พยายามก็ขอให้พยายามต่อไป แต่วา่ ถ้ามกี จิ กรรมในด้านอ่ืนทเ่ี รง่ ดว่ นกว่า ทาไมไ่ ด้ กไ็ ม่ต้องเสียใจท่ีไม่ได้รางวัล
หวังว่าการศกึ ษาเทา่ ที่ปฏิบัตมิ ากจ็ ะปฏบิ ตั ิตอ่ ไปในอนาคต มปี ระโยชน์ ในการทจ่ี ะได้เพิ่มพูนความรู้ทางวิชาการ
ท่ีผู้เรียนจะต้องศึกษาต่อไปในระดับสูง หรือว่าเพ่ิมพูนความรู้ต่าง ๆ ในด้านวิชาชีพ ซึ่งผู้เรียนก็อาจจะนาไป
ประกอบอาชพี ได้ต่อไป ยกตวั อย่างเชน่ มผี ูเ้ รยี นบางโรงเรยี นทีศ่ ึกษาในดา้ นของการเขียนภาพทางวิทยาศาสตร์
นั่นก็จะใช้เป็นอาชีพในอนาคตเป็นต้น หวังว่าทุกคนคงได้รับประโยชน์ในการมาร่วมประชุมในคร้ังน้ี ท้ังครู
ผเู้ รียนและผูเ้ กย่ี วข้องมีความสุขสวสั ดีทั่วกนั ”

วนั ที่ 25 มนี าคม พ.ศ. 2548 ในเรอ่ื ง DNA Fingerprint
ทรงมีพระราชกระแส ในเร่ือง “การดาเนนิ การ ให้มีการทา DNA Fingerprint”

ณ ศาลาดุสิดาลยั สวนจิตรลดา กรงุ เทพมหานคร เวลาประมาณ 16.00น. กบั นายพรชัย จุฑามาศ ความวา่
“ได้ไปกับ สมศ. (สานักมาตรฐานการศึกษา) มา เห็นว่าโรงเรียนยังสัมพันธ์กับชุมชนน้อย ทาอย่างไร

ให้ชุมชนมาให้โรงเรียน โดยเฉพาะนักเรียน ช่วยในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช และให้มีการทา
DNA Fingerprint ในโรงเรยี น”

20
1.3 กรอบการดาเนนิ งานและกจิ กรรมของ อพ.สธ.

เพอ่ื ใหบ้ รรลวุ ตั ถปุ ระสงค์และเปูาหมายท่ีกาหนดไว้ข้างต้น จึงกาหนดแนวทางและแผนการดาเนินงาน
ตามแผนแม่บท อพ.สธ. ระยะ 5 ปีที่หก (1 ตุลาคม พ.ศ. 2559 – 30 กันยายน พ.ศ. 2564) โดยมีกิจกรรม
8 กิจกรรมที่อยู่ภายใต้ 3 กรอบการดาเนินงานและ 3 ฐานทรัพยากร ได้แก่ ทรัพยากรกายภาพ ทรัพยากร
ชีวภาพ และทรัพยากรวฒั นธรรมและภูมปิ ญั ญา

โดยที่ อพ.สธ.สนับสนุนและร่วมมือกับหน่วยงานที่ร่วมสนองพระราชดาริจัดทาแผนปฏิบัติงานใน
กิจกรรมต่าง ๆ ภายใต้ภายแม่บทในแต่ละปีงบประมาณตลอดระยะเวลา 5 ปี ให้สอดคล้องกับแนวทางการ
ดาเนนิ งานตามกรอบแผนแมบ่ ทของ อพ.สธ. หนว่ ยงานท่ีร่วมสนองพระราชดาริจัดทาแผนปฏิบัติงานประจาปี
เฉพาะในส่วนของหนว่ ยงานของตนใหช้ ัดเจน โดยระบสุ าระสาคัญในการดาเนินงาน เช่น พ้ืนที่เปูาหมายในการ
ดาเนินงาน วธิ กี ารและขัน้ ตอนการดาเนนิ งาน และการบรหิ ารจัดการ โดยเฉพาะเรื่องผู้รับผิดชอบในการปฏิบัติ
และงบประมาณในการดาเนินงาน โดยมี อพ.สธ. เป็นผู้สนับสนุนแผนปฏิบัติงานประจาปี / โครงการ ภายใต้
แผนแมบ่ ทของ อพ.สธ.ไปยงั แหลง่ ทนุ ต่าง ๆ ต่อไป

1. กรอบการเรยี นรทู้ รัพยากร
เพ่ือพัฒนาและเพ่ิมประสิทธิภาพการดาเนินงานด้านการพัฒนาและด้านการบริหารจัดการด้านปกปัก
ทรัพยากรของประเทศ จงึ ตอ้ งมกี ารเรียนรู้ทรพั ยากรในพ้นื ท่ปี าุ ธรรมชาติดงั้ เดมิ ทปี่ กปกั รักษาไว้ โดยมีกิจกรรม
ท่ีดาเนินงานได้แก่ กจิ กรรมที่ 1 กจิ กรรมปกปกั ทรัพยากร กจิ กรรมที่ 2 กิจกรรมสารวจเก็บรวบรวมทรัพยากร
และกจิ กรรมท่ี 3 กจิ กรรมปลูกรักษาทรพั ยากร

กจิ กรรมท่ี 1 กิจกรรมปกปกั ทรัพยากร
เปูาหมาย

1. เพอื่ ปกปักรักษาพื้นท่ีปุาธรรมชาติของหน่วยงานท่ีร่วมสนองพระราชดาริ ท้ังหน่วยงานภาครัฐและ
เอกชนที่มพี ้ืนท่ปี าุ ด้ังเดมิ อยู่ในความรับผิดชอบ โดยไมม่ ีนโยบายจะเปลี่ยนแปลงสภาพพ้ืนท่ี แตจ่ ะต้องเป็นพื้นท่ี
นอกเหนือจากพ้ืนท่ีของกรมปุาไม้และกรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ปุาและพันธ์ุพืช หรือจะต้องไม่เป็นพื้นท่ีท่ีมี
ปญั หากับราษฎรโดยเด็ดขาด

2. เพ่ือรว่ มมือกับกรมปาุ ไมแ้ ละกรมอุทยานแหง่ ชาติสัตวป์ ุาและพนั ธ์พุ ืช โดยที่กรมฯ นาพื้นที่ของกรมฯ
มาสนองพระราชดาริ ตามความเหมาะสม

ตัวอย่างพ้ืนที่ของหน่วยงานที่ร่วมสนองพระราชดาริ เช่น พื้นท่ีปุาในศูนย์ศึกษาการพัฒนาอัน
เน่อื งมาจากพระราชดาริ พืน้ ทป่ี าุ ทีช่ าวบา้ นรว่ มใจปกปักรักษา พื้นท่ีปาุ ของสถาบันการศึกษา พ้ืนท่ีปุาของสวน
สตั ว์ พน้ื ที่ปุาของเขือ่ นต่าง ๆ ภายใต้การดูแลของการไฟฟาู ฝุายผลติ แหง่ ประเทศไทย พน้ื ที่ปาุ ของภาคเอกชนท่ี
รว่ มสนองพระราชดาริ เป็นต้น

โดยการดาเนินงานในพ้ืนท่ีปกปักทรัพยากร ซึ่งท้ังนี้มีการประชุมคณะกรรมการดาเนินงาน /
คณะอนุกรรมการ / คณะทางาน อพ.สธ. ของหน่วยงานท่ีร่วมสนองพระราชดารินั้นๆ โดย อพ.สธ. สามารถ

21
เป็นผู้สนับสนุนด้านวิชาการ / บุคลากร และสถาบันการศึกษาต่าง ๆ ที่ร่วมสนองพระราชดาริ สนับสนุน
บุคลากร / นกั วิจัยในการปฏิบัตงิ านในพน้ื ที่

แนวทางการดาเนินกจิ กรรมปกปักทรพั ยากรในพืน้ ท่ปี กปกั ทรพั ยากร
1. การทาขอบเขตพ้นื ทป่ี กปักทรัพยากร
2. การสารวจ ทารหัสประจาต้นไม้ ทารหัสพิกัด เพื่อรวบรวมเป็นฐานข้อมูลในพ้ืนที่ของ หน่วยงานที่

รว่ มสนองพระราชดาริ
3. การสารวจ ทารหัสพิกัด และค่าพิกัดของทรัพยากรชีวภาพอ่ืน ๆ นอกเหนือจากพันธุกรรมพืช เช่น

สตั ว์ จุลินทรีย์
4. การสารวจ ทารหัสพิกัด และค่าพิกัดของทรัพยากรกายภาพ เช่นดิน หิน แร่ธาตุต่าง ๆ คุณภาพน้า

คุณภาพอากาศ เป็นตน้
5. การสารวจเก็บข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น วัฒนธรรมต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับการใช้ทรัพยากรกายภาพ

และทรัพยากรชวี ภาพในพ้นื ที่
6. สนับสนุนให้มีอาสาสมัครปกปักรักษาทรัพยากรในพื้นที่สถานศึกษา เช่นนักศึกษาในมหาวิทยาลัย

ในระดับหม่บู า้ น ตาบล สนับสนุนให้ประชาชนท่ีอยู่รอบ ๆ พื้นที่ปกปักทรัพยากร เช่นมีกิจกรรมปูองกันไฟปุา
กิจกรรมร่วมมือรว่ มใจรักษาทรพั ยากรในพืน้ ท่ปี กปกั ทรพั ยากร เป็นตน้

ข้อมูลที่ได้นามารวบรวมเป็นฐานข้อมูลในพื้นท่ีขององค์กรต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานราชการ
หรือเอกชนทเ่ี ข้ารว่ มสนองพระราชดารเิ พือ่ การนาไปใช้ประโยชน์ตอ่ ไป

หมายเหตุ
1. ข้อมลู ทไ่ี ด้จากกิจกรรมปกปักทรัพยากร สามารถนาไปจัดการและเก็บเขา้ สู่งานฐานข้อมูลในกิจกรรม

ที่ 5 กิจกรรมศนู ย์ข้อมลู ทรพั ยากร
2. กจิ กรรมปกปักทรพั ยากร ใช้พนื้ ทเี่ ป็นเปาู หมายในการดาเนนิ งานในกิจกรรมน้ี
3. พ้นื ทีท่ ีน่ ามาสนองพระราชดาริในกจิ กรรมนี้ ไมไ่ ด้หมายความวา่ เปน็ การนาพื้นท่ีนน้ั เขา้ มาน้อมเกล้าฯ

ถวาย เพ่อื ให้เปน็ ทรัพย์สนิ ของ อพ.สธ. สานักพระราชวงั แตห่ มายถึงเปน็ พื้นทที่ ี่ดาเนินการโดยหน่วยงานนั้น ๆ
ที่เป็นเจ้าของ แต่ใช้แนวทางการดาเนินงานในกิจกรรมปกปักทรัพยากร และในอนาคตถ้าหน่วยงานน้ัน ๆ มี
นโยบายในการดาเนินการปรบั ปรงุ หรือต้องการใชพ้ ื้นทป่ี กปกั ทรพั ยากร เพ่อื ใชใ้ นกจิ กรรมอนื่ ๆ ทางหน่วยงาน
สนองพระราชดาริฯ นัน้ ๆ สามารถดาเนนิ การแจง้ ความประสงค์มายัง อพ.สธ. แต่ในกรณีท่ีเป็นพื้นที่ล่อแหลม
ตอ่ การสูญเสียทรัพยากรทมี่ ีคา่ อาจต้องมกี ารขอพระราชวินิจฉัยกอ่ นดาเนนิ การเปลีย่ นแปลง

สาหรับเรื่องการอบรมอาสาสมัคร / ประชาชน / นักศึกษา / นักเรียนในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ชุมชน หมบู่ า้ น ในพน้ื ทป่ี กปักทรัพยากร ใหอ้ ยใู่ นกิจกรรมที่ 8 กิจกรรมพเิ ศษสนับสนนุ การอนุรักษ์ทรพั ยากร

22
กจิ กรรมที่ 2 กจิ กรรมสารวจเก็บรวบรวมทรพั ยากร
เปาู หมาย

1. เพ่ือสารวจและเก็บรวบรวมทรัพยากรในพื้นท่ี ได้แก่ทรัพยากรกายภาพ ทรัพยากรชีวภาพ และ
ทรัพยากรวัฒนธรรมและภูมิปัญญา ในพื้นที่ที่ทราบแน่ชัดว่ากาลังจะเปลี่ยนแปลงจากสภาพเดิม เช่นจากปุา
กลายเป็นสวน พื้นที่ตามเกาะต่าง ๆ ท่ีจะกลายสภาพเป็นพื้นท่ีท่องเที่ยว พ้ืนที่ที่เร่งในการสร้างถนนและ
ส่ิงก่อสรา้ งต่าง ๆ ภายใต้รศั มอี ย่างนอ้ ย 50 กโิ ลเมตร ของหนว่ ยงานทร่ี ว่ มสนองพระราชดาริ ให้พิจารณาความ
พรอ้ มและศกั ยภาพของหน่วยงานท่ีเปน็ แกนกลางดาเนินงานในแตล่ ะพ้ืนที่เป็นสาคญั

2. เพื่อสารวจและเก็บรวบรวมทรัพยากรในพื้นที่ ได้แก่ทรัพยากรกายภาพ ทรัพยากรชีวภาพ และ
ทรพั ยากรวฒั นธรรมและภูมปิ ัญญาภายใตร้ ัศมีอย่างน้อย 50 กิโลเมตร ของหน่วยงานที่ร่วมสนองพระราชดาริ
อาจจะกาลังเปลี่ยนแปลงหรือไมก่ ็ได้ แต่เป็นคนละกับพน้ื ทปี่ กปกั พนั ธุกรรมพืช / ทรัพยากรดงั ในกิจกรรมท่ี 1

โดยที่ อพ.สธ. ประสานและร่วมมือกับหน่วยงานที่ร่วมสนองพระราชดาริ เช่น จังหวัด องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถ่นิ สถานศึกษาต่าง ๆ ในการร่วมสารวจในงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น กองบัญชาการตารวจตระเวน
ชายแดน หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา กรมวิชาการเกษตร สถาบันการศึกษาต่างๆ ฯลฯ กาหนดพื้นท่ี
เปูาหมายในการดาเนินงานสารวจเก็บรวบรวมทรัพยากร ให้สอดคล้องกับแนวทางการดาเนินงานตามกรอบ
แผนแม่บทของ อพ.สธ. และจัดทาแผนประจาปีเฉพาะในส่วนของหน่วยของตนให้ชัดเจน พร้อมท้ังวางแผน
ปฏิบัติงานร่วมกนั ทั้งในเร่ืองวิธีการและขั้นตอนการดาเนินงานและการบริหารจัดการ โดยเน้นการดาเนินงาน
ในพื้นที่เปูาหมายเดิมให้แล้วเสร็จเป็นลาดับแรก ก่อนพิจารณาขยายผลออกไป โดยแต่ละหน่วยงานเป็น
ผู้รับผิดชอบและเป็นแกนกลางดาเนินงานในพ้ืนที่รับผิดชอบของหน่วยในแต่ละพ้ืนท่ี ซึ่งท้ั งน้ีมีการประชุม
คณะกรรมการดาเนินงาน อพ.สธ. ของหน่วยงานนั้น ๆ โดยมี อพ.สธ. เป็นผู้สนับสนุนด้านวิชาการ / บุคลากร
และสถาบนั การศึกษาตา่ ง ๆ ท่ีรว่ มสนองพระราชดาริ สนบั สนุนบคุ ลากร/นกั วิจยั ในการปฏิบัติงานในพ้ืนท่ี

แนวทางการดาเนนิ กิจกรรมสารวจเกบ็ รวบรวมทรพั ยากร
1. การสารวจเกบ็ รวบรวมตัวอยา่ ง ทรพั ยากรกายภาพ ทรัพยากรชวี ภาพ และทรพั ยากรวัฒนธรรมและ

ภูมิปญั ญา ในบรเิ วณรัศมอี ยา่ งน้อย 50 กิโลเมตร ของหนว่ ยงานนนั้ ๆ ท้ังพน้ื ท่ี แต่อาจเริ่มตน้ ในพน้ื ทท่ี จี่ ะมกี าร
เปลี่ยนแปลงจากการพัฒนาหรือล่อแหลมต่อการเปล่ียนแปลงก่อนเช่น พื้นที่กาลังจะสร้างอ่างเก็บน้า สร้าง
ศูนย์การค้า พืน้ ท่ีสร้างถนน การขยายทางหลวงหรอื เส้นทางต่าง ๆ พืน้ ที่สร้างสายไฟฟูาแรงสูง พ้ืนท่ีท่ีกาลังถูก
บุกรกุ และในพนื้ ที่อน่ื ๆ ทีจ่ ะถกู พัฒนาเปลย่ี นแปลงจากสภาพเดมิ

2. การเก็บรวบรวมทรัพยากรชีวภาพเพ่ือเป็นตัวอย่างแห้ง และตัวอย่างดอง รวมถึงการเก็บตัวอย่าง
ทรพั ยากรกายภาพ เพ่อื เป็นตวั อย่างในการศึกษาหรอื เกบ็ ในพิพธิ ภัณฑ์พชื พิพธิ ภณั ฑ์ธรรมชาตวิ ทิ ยา

3. การเกบ็ พันธุกรรมทรัพยากร สาหรบั พชื สามารถเก็บเพอ่ื เป็นตัวอย่างเพ่ือการศึกษาหรือมีการเก็บใน
รูปเมล็ดในหอ้ งเก็บรักษาเมลด็ พันธุ์ การเกบ็ ต้นพืชมีชีวิตเพ่ือไปปลูกในท่ีปลอดภัย การเก็บ ชิ้นส่วนพืชที่มีชีวิต
(เพื่อนามาเก็บรักษาในสภาพเพาะเลี้ยงเน้ือเย่ือ)และสาหรับทรัพยากรอ่ืน ๆ (สัตว์ จุลินทรีย์ เห็ด รา ฯลฯ)
สามารถเกบ็ ตวั อย่างมาศกึ ษาและขยายพันธุ์ต่อไปได้ ในกิจกรรมท่ี 3 กิจกรรมปลูกรักษาทรัพยากร

23
หมายเหตุ

ข้อมูลท่ีได้จากกิจกรรมสารวจเก็บรวบรวมทรพั ยากรน้ี สามารถนาไปจัดการและเก็บเข้าสู่งานฐานข้อมูล
ในกิจกรรมท่ี 5 กิจกรรมศูนย์ข้อมูลทรัพยากรและนาทรัพยากรท่ีเก็บรวบรวมได้ไปดาเนินงานในกิจกรรมที่
3 กิจกรรมปลูกรักษาทรพั ยากร และนาไปส่กู ารดาเนนิ งานในกิจกรรมอน่ื ๆ ตอ่ ไป

กิจกรรมท่ี 3 กจิ กรรมปลกู รกั ษาทรัพยากร
เปูาหมาย

1. เพ่ือนาทรัพยากรท่ีมีค่า ใกล้สูญพันธ์ุ หรือต้องการเพิ่มปริมาณเพื่อนามาใช้ประโยชน์ จากพื้นที่ใน
กิจกรรมท่ี 1 และกิจกรรมที่ 2 ทาการคัดเลือกมาเพื่อดาเนินงานเป็นกิจกรรมต่อเน่ืองโดยการนาพันธุกรรม
ทรพั ยากรชวี ภาพต่าง ๆ ไปเพาะพนั ธุ์ ปลกู เล้ียง และขยายพันธุ์เพ่ิมในพ้ืนท่ีท่ีปลอดภัยเรียกว่าพ้ืนท่ีปลูกรักษา
ทรพั ยากร

2. ส่งเสริมให้เพิ่มพื้นที่แหล่งรวบรวมพันธุ์ทรัพยากรตามพื้นที่ของหน่วยงานต่าง ๆ (ex situ) ทั้งใน
แปลงเพาะขยายพันธ์ุ ห้องปฏิบัติการฯ แหล่งเพาะพันธ์ุสัตว์ เช่น ในศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจาก
พระราชดารทิ ่มี ีอยู่ 6 ศนู ย์ทวั่ ประเทศพน้ื ที่ศูนย์วิจัยและสถานีทดลองของกรมวิชาการเกษตรสวนสัตว์ฯ พื้นท่ี
จังหวัด พ้ืนท่ีสถาบนั การศึกษาทน่ี าเข้ารว่ มสนองพระราชดาริเป็นลักษณะของสวนพฤกษศาสตร์ สวนรุกขชาติ
ปุาชุมชนที่ร่วมสนองพระราชดาริและยังมีการเก็บรักษาในรูปเมล็ด เน้ือเยื่อ และสารพันธุกรรมใน
ห้องปฏิบัติการฯ ในหนว่ ยงานต่าง ๆ รวมถงึ การเกบ็ รกั ษาพันธุกรรมต่าง ๆ ในธนาคารพืชพรรณ อพ.สธ. สวน
จติ รลดาเกบ็ ในรปู สารพันธกุ รรมหรอื ดเี อ็นเอและศูนย์อนรุ ักษ์พันธกุ รรมพชื อพ.สธ. คลองไผ่

โดยที่ อพ.สธ. ดาเนนิ การประสานงาน สนบั สนนุ ดา้ นวิชาการร่วมกับหน่วยงานที่ร่วมสนองพระราชดาริ
เชน่ จงั หวดั ต่าง ๆ กองบัญชาการตารวจตระเวนชายแดน หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา กองทัพอากาศ กรม
วิชาการเกษตร สถาบันการศึกษาต่างๆ ฯลฯ กาหนดพ้ืนที่เปูาหมายในการดาเนินงานสารวจเก็บรวบรวม
ทรัพยากร ให้สอดคลอ้ งกบั แนวทางการดาเนินงานตามกรอบแผนแม่บทของ อพ.สธ. และจัดทาแผนประจาปี
เฉพาะในส่วนของหนว่ ยงานของตนให้ชัดเจน พร้อมท้ังวางแผนปฏิบัติงานร่วมกันให้ชัดเจน ท้ังในเร่ืองวิธีการ
และขั้นตอนการดาเนินงานและการบริหารจัดการ โดยเนน้ การดาเนินงานในพ้นื ทเี่ ปูาหมายเดิมให้แล้วเสร็จเป็น
ลาดับแรกกอ่ นพิจารณาขยายผลออกไป โดยแต่ละหน่วยงานเป็นผู้รับผิดชอบและเป็นแกนกลางดาเนินงานใน
พ้นื ท่รี ับผดิ ชอบของหนว่ ยในแต่ละพนื้ ที่ ซง่ึ ทง้ั น้ีมกี ารประชุมคณะกรรมการดาเนินงาน อพ.สธ. ของหน่วยงาน
นั้น ๆ

แนวทางการดาเนินกจิ กรรมปลกู รักษาทรพั ยากร
ทรัพยากรพนั ธกุ รรมพชื

1. การปลูกรักษาต้นพันธุกรรมพืชในแปลงปลูก การปลูกรักษาต้นพืชมีชีวิตลักษณะปุาพันธุกรรมพืช
มแี นวทางดาเนนิ งานคือ สารวจสภาพพืน้ ทแ่ี ละสรา้ งสิ่งอานวยความสะดวกในการปฏิบตั ิงาน งานขยายพันธุ์พืช
งานปลูกพนั ธุกรรมพชื และบนั ทึกผลการเจรญิ เติบโต งานจดั ทาแผนทตี่ ้นพนั ธุกรรมและทาพิกัดต้นพนั ธกุ รรม

2. การตรวจสอบพืชปราศจากโรคกอ่ นการเก็บรกั ษาพันธกุ รรมพืชในรปู แบบต่าง ๆ

24
3. การเกบ็ รักษาทง้ั ในรูปของเมลด็ ในระยะสน้ั ระยะกลาง และระยะยาวในรูปของธนาคารพันธุกรรม
ศึกษาหาวธิ ีการเกบ็ เมล็ดพนั ธุ์ และทดสอบการงอกของเมล็ดพนั ธุ์
4. การเกบ็ รกั ษาโดยศกึ ษาเทคโนโลยกี ารเพาะเล้ียงเนื้อเย่ือพืชแต่ละชนิด ศึกษาการฟอกฆ่าเชื้อ ศึกษา
สตู รอาหารท่เี หมาะสม ศกึ ษาการเก็บรักษาโดยการเพาะเลีย้ งเน้ือเย่อื ในระยะสัน้ ระยะกลาง ระยะยาว และใน
ไนโตรเจนเหลว (cryopreservation) และการขยายพันธุ์โดยการเพาะเลีย้ งเน้ือเยอ่ื
5. การเกบ็ รกั ษาในรปู สารพนั ธกุ รรม (DNA) เพอ่ื การนาไปใชป้ ระโยชน์เช่นการวิเคราะห์ลายพิมพ์ดีเอ็น
เอ การปรบั ปรุงพันธุพ์ ืช เปน็ ตน้
6. การดาเนินงานในรูปของสวนพฤกษศาสตร์ สวนรุกขชาติ สวนสาธารณะต่าง ๆ การปลูกพืชใน
สถานศึกษา โดยมรี ะบบฐานขอ้ มลู ที่สามารถใชป้ ระโยชน์ได้ในอนาคต

ทรัพยากรพนั ธุกรรมสัตวแ์ ละทรัพยากรพนั ธกุ รรมอืน่ ๆ
ให้ดาเนินการให้มีสถานท่ีเพาะเล้ียงหรือห้องปฏิบัติการท่ีจะเก็บรักษา เพาะพันธ์ุ / ขยายพันธุ์ตาม

มาตรฐานความปลอดภัย โดยมีแนวทางการดาเนินงานคล้ายคลึงกับการดาเนินงานในทรัพยากรพันธุกรรมพืช
ขา้ งตน้
หมายเหตุ

ขอ้ มูลท่ีไดจ้ ากกจิ กรรมปลกู รักษาทรัพยากร สามารถนาไปจัดการและเก็บเข้าสงู่ านฐานขอ้ มูลในกิจกรรม
ท่ี 5 กจิ กรรมศนู ย์ข้อมูลทรพั ยากรและนาไปสกู่ ารดาเนนิ งานในกจิ กรรมอื่น ๆ ตอ่ ไป

2. กรอบการใช้ประโยชน์
เพอื่ พัฒนาและเพมิ่ ประสิทธิภาพการดาเนนิ งานศึกษาวิจยั และประเมินศกั ยภาพของทรพั ยากรตา่ ง ๆ ใน
อพ.สธ. ท้งั ในดา้ นการพฒั นาและการบรหิ ารจัดการให้การดาเนินงานเป็นไปในทิศทางเดียวกันและเอ้ืออานวย
ประโยชนต์ ่อกนั รวมท้ังพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ อพ.สธ. ให้เป็นเอกภาพ สมบูรณ์และเป็นปัจจุบัน โดย
บรรลุจุดมุ่งหมายตามแนวพระราชดาริ โดยมกี จิ กรรมทด่ี าเนินงานได้แก่ กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมอนุรักษ์และใช้
ประโยชน์ทรัพยากรกิจกรรมที่ 5 กิจกรรมศูนย์ข้อมูลทรัพยากรและกิจกรรมท่ี 6 กิจกรรมวางแผนพัฒนา
ทรัพยากร

กจิ กรรมที่ 4 กิจกรรมอนุรกั ษแ์ ละใชป้ ระโยชน์ทรพั ยากร
เปูาหมาย

1. เพ่ือศึกษาและประเมินศักยภาพพันธุกรรมพืชและทรัพยากรอื่น ๆ ที่สารวจเก็บรวบรวมและปลูก
รกั ษาไวจ้ ากกิจกรรมที่ 1-3

2. เพื่อการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ทรัพยากรทั้งสามฐานทรัพยากร ได้แก่ ทรัพยากรกายภาพ
ทรัพยากรชีวภาพ และทรัพยากรวัฒนธรรมและภูมิปัญญา มีการวางแผนและดาเนินการวิจัยศักยภาพข อง
ทรัพยากรตา่ ง ๆ นาไปสู่การพัฒนาพันธ์พุ ืช พันธส์ุ ัตว์ สายพันธุ์จุลินทรีย์ ตามแนวพระราชดาริ และมีแนวทาง
นาไปส่กู ารอนรุ กั ษแ์ ละใชป้ ระโยชนไ์ ด้อย่างยงั่ ยืน

25
โดยที่ อพ.สธ. เป็นท่ีปรึกษา ประสานงาน ร่วมมือ ส่งเสริม และทาหน้าท่ีเป็นแกนกลางในการ
ดาเนินงานด้านวิชาการและการวิจัย ร่วมกับหน่วยงานที่ร่วมสนองพระราชดาริ เช่น มหาวิทยาลัยต่าง ๆ
กรมวิชาการเกษตร กรมประมง กรมปุาไม้ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ สถาบันวิจัย
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ฯลฯ
โดยกาหนดพื้นท่ีเปูาหมายและทรัพยากรต่าง ๆ ในการดาเนินงานอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ ให้สอดคล้องกับ
แนวทางการดาเนนิ งานตามกรอบแผนแม่บทของ อพ.สธ. และจดั ทาแผนประจาปีเฉพาะในส่วนของหน่วยของ
ตนให้ชดั เจน พรอ้ มทัง้ วางแผนปฏบิ ัตงิ านร่วมกันให้ชัดเจน ผ่านการประชุมคณะกรรมการดาเนินงาน อพ.สธ.
ของหน่วยงานน้ัน ๆ

แนวทางการดาเนนิ กิจกรรมอนุรกั ษแ์ ละใช้ประโยชน์ทรัพยากร
1. การวิเคราะห์ทางกายภาพ เช่น แร่ธาตุในดิน คุณสมบัติของน้า ฯลฯ จากแหล่งกาเนิดพันธุกรรม

ดั้งเดิมของพืชน้ัน ๆ
2. การศึกษาทางด้านชีววทิ ยา สัณฐานวทิ ยา สรรี วทิ ยา ชีวเคมี พนั ธุศาสตร์ ฯลฯ ของทรัพยากรชีวภาพ

ทคี่ ดั เลือกมาศกึ ษา
3. การศึกษาด้านโภชนาการ องค์ประกอบของสารสาคัญ เช่น รงควัตถุ กล่ิน สารสาคัญต่าง ๆ

ในพันธุกรรมพืชและทรพั ยากรชวี ภาพอืน่ ๆ ที่เป็นเปูาหมาย
4. การศึกษาการปลูก การเขตกรรมและขยายพนั ธพ์ุ ชื ด้วยการขยายพันธุ์ตามปกติในพันธุกรรมพืชที่ไม่

เคยศึกษามาก่อน และการขยายพันธ์ุโดยการเพาะเลี้ยงเน้ือเย่ือในพันธุกรรมพืชที่ไม่เคยศึกษามาก่อน รวมถึง
การศึกษาการเลี้ยงและการขยายพันธุท์ รพั ยากรชีวภาพอ่ืน ๆ เพื่อใหไ้ ดผ้ ลผลติ ตามทตี่ อ้ งการ

5. การศกึ ษาการจาแนกสายพันธ์ุโดยวธิ ีทางชวี โมเลกุลเพื่อนาไปส่กู ารพัฒนาพันธพุ์ ชื สัตว์ และจุลินทรีย์
เพอ่ื เก็บเป็นลายพิมพ์ดีเอ็นเอของทรัพยากรชนดิ นน้ั ๆ ไวเ้ พอ่ื นาไปใช้ประโยชนต์ อ่ ไป

6. การจัดการพน้ื ที่ท่ีกาหนดเพ่ือการอนุรักษ์และพัฒนา เช่น ศูนย์เรียนรู้ต่าง ๆ ซึ่งเป็นศูนย์ฯ ตัวอย่าง
เพื่อการเรียนรู้การใช้ประโยชน์ทรัพยากรอย่างย่ังยืน ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อีกทั้งศูนย์ฯ เหล่านี้
สามารถใช้ประโยชน์ให้เป็นศนู ยฝ์ ึกอบรมของ อพ.สธ. สนบั สนนุ ในกิจกรรมต่าง ๆ ของ อพ.สธ.

ตัวอย่างเช่น อพ.สธ. ได้จัดต้ังศูนย์เรียนรู้ อนุรักษ์ พัฒนา และใช้ประโยชน์ทรัพยากรอย่างยั่งยืน
สูเ่ ศรษฐกิจพอเพียง เพื่อให้บรรลุเปูาหมายและวัตถุประสงค์ในการดาเนินงานของ อพ.สธ. เริ่มดาเนินการใน
6 ศนู ย์ ของ อพ.สธ. และหน่วยงานที่รว่ มสนองพระราชดาริที่กระจายอยู่ตามภูมภิ าคตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่

1) ศูนย์เรียนรู้อนุรักษ์ พัฒนา และใช้ประโยชน์ทรัพยากรอย่างย่ังยืน สู่เศรษฐกิจพอเพียง อพ.สธ.
ต.คลองไผ่ อ.สีควิ้ จ.นครราชสีมา

2) ศูนย์เรียนรู้อนุรักษ์ พัฒนา และใช้ประโยชน์ทรัพยากรอย่างย่ังยืน สู่เศรษฐกิจพอเพียง อพ.สธ.
อ.วงั มว่ ง จ.สระบรุ ี

3) ศูนย์เรียนรู้อนุรักษ์ พัฒนา และใช้ประโยชน์ทรัพยากรอย่างย่ังยืน สู่เศรษฐกิจพอเพียง อพ.สธ.
อ.ตากฟูา จ.นครสวรรค์

26
4) ศูนย์เรียนรู้อนุรักษ์ พัฒนา และใช้ประโยชน์ทรัพยากรอย่างยั่งยืน สู่เศรษฐกิจพอเพียง อพ.สธ.
อ.ไทรโยค จ.กาญจนบรุ ี (พนื้ ท่ีสนองพระราชดาริของหน่วยบัญชาการทหารพฒั นา กองบัญชาการกองทพั ไทย)
5) ศูนย์อนุรกั ษแ์ ละพัฒนาทรพั ยากรภาคตะวันตก (พ้ืนที่สนองพระราชดาริของหน่วยบัญชาการทหาร
พัฒนา กองบญั ชาการกองทัพไทย)
6) ศูนยว์ ิจยั อนรุ กั ษ์ พัฒนา ใช้ประโยชน์ทรัพยากรทะเล อพ.สธ. เกาะทะลุ จ.ประจวบคีรีขันธ์ (พ้ืนท่ี
สนองพระราชดาริของมูลนิธิฟ้ืนฟูทรัพยากร ทะเลสยาม และพ้ืนที่สนองพระราชดาริของจังหวัด
ประจวบคีรีขันธ์)

กิจกรรมท่ี 5 กิจกรรมศนู ย์ข้อมูลทรพั ยากร
เปาู หมาย

1. เพ่อื ให้เกิดฐานข้อมูลทรัพยากรของประเทศโดยศูนย์ข้อมูลทรัพยากร อพ.สธ. สวนจิตรลดาร่วมกับ
หน่วยงานท่ีร่วมสนองพระราชดาริ บันทึกข้อมูลของการสารวจเก็บรวบรวมการศึกษาประเมินการอนุรักษ์
และการใช้ประโยชนท์ รพั ยากรท้ังสามฐาน ตัวอย่างเช่นฐานข้อมูลพรรณไม้แห้งฐานข้อมูลงานวิจัย ฐานข้อมูล
ทรพั ยากรทอ้ งถ่นิ ฐานขอ้ มลู สัตว์ทะเล และฐานข้อมูลจลุ ินทรยี ์ ข้อมูลต่าง ๆ จากการทางานในกิจกรรมต่าง ๆ
ของ อพ.สธ. โดยทาการบันทึกลงในระบบฐานข้อมูล เพ่ือเป็นฐานข้อมูลและมีระบบที่เชื่อมต่อถึงกันได้ทั่ว
ประเทศโดยเชื่อมโยงกบั ฐานขอ้ มูลทรพั ยากรของหน่วยงานท่รี ว่ มสนองพระราชดาริ อพ.สธ.

2. เพื่อให้ฐานขอ้ มูลทรัพยากรนน้ั เป็นขอ้ มูลเพอื่ นาไปสู่การวางแผนพัฒนาพันธุ์พืช และทรัพยากรต่าง
ๆ โดยที่ อพ.สธ. เป็นท่ีปรึกษา แต่งตั้งคณะทางาน ประสานงาน ร่วมมือ พัฒนาการทาศูนย์ข้อมูลฯ กาหนด
รูปแบบในการทาฐานขอ้ มลู โดยกาหนดเปูาหมายในการดาเนินงานใหส้ อดคลอ้ งกบั แนวทางการดาเนินงานตาม
กรอบแผนแม่บทของ อพ.สธ. และจัดทาแผนประจาปีเฉพาะในส่วนของหน่วยของตนให้ชัดเจน พร้อมทั้ง
วางแผนปฏิบตั งิ านร่วมกันให้ชดั เจน ผ่านการประชุมคณะกรรมการดาเนนิ งาน อพ.สธ. ของหน่วยงานนน้ั ๆ

แนวทางการดาเนินกจิ กรรมศูนยข์ อ้ มลู ทรัพยากร
1. อพ.สธ. ร่วมกับหน่วยงานท่ีร่วมสนองพระราชดาริ จัดทาฐานข้อมูลระบบดิจิตอลและพัฒนา

โปรแกรมสาหรับระบบศูนย์ข้อมูลทรัพยากรต่าง ๆ ร่วมกัน เช่นโปรแกรมการจัดการฐานข้อมูลทรัพยากร
ทอ้ งถน่ิ ด้านการสารวจเกบ็ รวบรวม การอนุรักษ์ การประเมนิ คุณคา่ พนั ธุกรรมทรัพยากร และการใชป้ ระโยชน์

2. นาข้อมลู ของตัวอย่างพืชท่ีเก็บรวบรวมไว้เดิมโดยหน่วยงานที่ร่วมสนองพระราชดาริองค์กรอ่ืน เช่น
กรมปุาไม้ กรมวิชาการเกษตร และมหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ เป็นต้น เข้าเก็บไวใ้ นระบบฐานข้อมูลของศูนย์
ข้อมูลพนั ธุกรรมพชื อพ.สธ.

3. นาข้อมูลท่ีได้จากการสารวจเก็บรวบรวมพันธุกรรมพืช และทรัพยากรต่าง ๆ เช่น ข้อมูลการปลูก
รกั ษา ข้อมลู การใชป้ ระโยชนจ์ ากทรัพยากร ขอ้ มลู วัฒนธรรมและภูมิปัญญา ข้อมูลพันธุ์ไม้จากโรงเรียนสมาชิก
สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน เข้าเก็บไว้ในศูนย์ข้อมูลทรัพยากรเพื่อการประเมินคุณค่าและนาไปสู่การวางแผน
พฒั นาพนั ธพุ์ ชื และทรัพยากรอน่ื ๆ

27
4. พัฒนาการบริหารจัดการฐานข้อมูลของศูนย์ข้อมูลทรัพยากร อพ.สธ. ให้มีเอกภาพ มีความสมบูรณ์
และเป็นปัจจุบัน ซ่ึงหน่วยงานต่าง ๆ สามารถใช้ประโยชน์ร่วมกันได้ โดยเฉพาะฐานข้อมูลพืชจากการสารวจ
เกบ็ รวบรวม ฐานข้อมลู พรรณไม้แห้ง ฐานข้อมูลสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน โดยมี อพ.สธ. เป็นศูนย์กลางและ
วางแผนดาเนนิ งานพัฒนาเครือข่ายระบบขอ้ มูลสารสนเทศ อพ.สธ. ร่วมกับหน่วยงานที่ร่วมสนองพระราชดาริ
เพ่ือให้สามารถเชื่อมโยงและใช้ร่วมกันได้อย่างกว้างขวางอาจผ่านทางเว็บไซต์ ที่มีระบบปูองกันการเข้าถึง
ฐานข้อมูล
5. หนว่ ยงานร่วมสนองพระราชดาริ มีความประสงค์ท่ีจะดาเนินการแบ่งปันหรือเผยแพร่ข้อมูลใด ๆ ที่
เกี่ยวข้องในงาน อพ.สธ. จาเป็นต้องขออนุญาตผ่านทาง อพ.สธ. ก่อน เพ่ือขอพระราชทานข้อมูลน้ัน ๆ และ
ข้ึนอยกู่ บั พระราชวินจิ ฉยั สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (การขอพระราชทานพระราชานุ
ญาติ ใหด้ าเนินการทาหนงั สอื แจง้ ความประสงค์มายงั ผอู้ านวยการ อพ.สธ. ล่วงหน้าอยา่ งนอ้ ย 1 เดอื น)

กจิ กรรมที่ 6 กจิ กรรมวางแผนทรัพยากร
เปูาหมาย

เปน็ กิจกรรมท่ีนาฐานขอ้ มูลจากกิจกรรมที่ 5 มาใช้ในการพิจารณาศักยภาพของพันธุ์พืช พันธ์ุสัตว์ พันธุ์
จุลนิ ทรยี ์ ฯลฯ

โดยท่ี อพ.สธ. มีหน้าท่ีประสานกับนักวิชาการผู้ทรงคุณวุฒิของหน่วยงานและสถาบันการศึกษาต่าง ๆ
เชน่ ในเรอ่ื งของพืช มีการวิเคราะห์ข้อมูลและคัดเลือกสายต้นเพื่อเป็นพ่อแม่พันธ์ุพืช พร้อมกับวางแผนพัฒนา
พันธุ์ระยะยาวและนาแผนพัฒนาพันธุ์ข้ึนทูลเกล้าฯ ถวายสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
เพอื่ มพี ระราชวินิจฉัยและพระราชทานแผนพัฒนาพันธุ์และพันธุกรรมท่ีคัดเลือก ให้หน่วยงานท่ีมีความพร้อม
นาไปปฏิบัติพันธุ์พืช / สัตว์ / ชีวภาพอื่น ๆ ที่อยู่ในเปูาหมาย ได้แก่พันธ์ุพืชสมุนไพร พันธ์ุพืชพื้นเมืองต่างๆ
ที่สามารถวางแผนนาไปสู่การพัฒนาให้ดียิ่งขึ้นเหมาะสมต่อการปลูกในพื้นที่ต่างๆ ในประเทศไทย โดยที่
อพ.สธ. เปน็ ท่ีปรึกษา ประสานงาน ร่วมมือ ในการวางแผนพัฒนา โดยกาหนดเปูาหมายในการดาเนินงานให้
สอดคล้องกับแนวทางการดาเนนิ งานตามกรอบแผนแม่บทของ อพ.สธ. และจัดทาแผนประจาปีเฉพาะในส่วน
ของหน่วยของตนให้ชัดเจน พร้อมทั้งวางแผนปฏิบัติงานร่วมกันให้ชัดเจน ผ่านการประชุมคณะกรรมการ
ดาเนินงาน อพ.สธ. ของหนว่ ยงานนน้ั ๆ

แนวทางการดาเนนิ กจิ กรรมวางแผนพฒั นาทรัพยากร
ทรพั ยากรพนั ธุกรรมพชื

1. จัดประชุมคณะทางานทรัพยากรต่างๆ คัดเลือกพันธ์ุพืชที่ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาแล้วว่าควรมีการ
วางแผนพัฒนาพนั ธเ์ุ พอื่ การใชป้ ระโยชนต์ ่อไปในอนาคต

2. ดาเนินการทูลเกล้าฯ ถวายแผนการพัฒนาทรัพยากรที่คัดเลือกแล้ว เพ่ือให้สมเด็จพระเทพ
รตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงมพี ระราชวินิจฉัยและพระราชทานให้กับหน่วยงานท่ีมีศักยภาพในการ
พฒั นาปรบั ปรุงพนั ธุกรรมทรพั ยากรชนดิ น้ันๆ ใหเ้ ป็นไปตามเปูาหมาย

28
3. ประสานงานเพื่อให้หน่วยงานที่มีความพร้อม ในการพัฒนาพันธ์ุทรัพยากรต่าง ๆ เช่นพัฒนา
พันธุกรรมพชื ดาเนินการพฒั นาพันธ์ุพชื และนาออกไปส่ปู ระชาชน และอาจนาไปปลูกเพื่อเป็นการค้าตอ่ ไป
4. ดาเนินการข้ึนทะเบียนรับรองพันธ์ุพืชใหม่ท่ีได้มาจากการพัฒนาพันธุ์พืชดั้งเดิม เพื่อประโยชน์ของ
มหาชนชาวไทย
ทรพั ยากรพันธุกรรมสตั ว์และทรัพยากรพันธกุ รรมอน่ื ๆ
มีแนวทางการดาเนนิ งานคล้ายคลงึ กับการดาเนนิ งานในทรพั ยากรพันธุกรรมพชื ขา้ งต้น

3. กรอบการสรา้ งจติ สานึก
เพ่อื ให้ประชาชนกลุ่มเปาู หมายต่าง ๆ โดยเฉพาะเยาวชน นักเรียน นิสิตนักศึกษาและบุคคลทั่วไป ได้มี
ความร้คู วามเข้าใจเกยี่ วกบั พืชพรรณไม้ และการอนุรักษพ์ นั ธุกรรมพืชของประเทศ จนตระหนักถึงความสาคัญ
และประโยชน์ของการอนุรักษ์ทรัพยากรที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อมหาชนชาวไทย โดยมีกิจกรรมท่ีดาเนินงาน
ไดแ้ ก่ กิจกรรมท่ี 7 กจิ กรรมสร้างจิตสานึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรและกิจกรรมที่ 8 กิจกรรมพิเศษสนับสนุน
การอนรุ กั ษท์ รัพยากร

กิจกรรมท่ี 7 กจิ กรรมสร้างจติ สานกึ ในการอนรุ ักษ์ทรพั ยากร
เปูาหมาย

1. เพื่อให้เยาวชนประชาชนชาวไทย ให้เข้าใจถึงความสาคัญและประโยชน์ของทรัพยากรท้ังสามฐาน
ให้รู้จักหวงแหนรู้จักการนาไปใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนซ่ึงมีความสาคัญต่อการจัดการการอนุรักษ์และใช้
ทรัพยากรของประเทศอยา่ งยัง่ ยืน

2. เพอื่ ให้หนว่ ยงานที่รว่ มสนองพระราชดาริ วางแผนและขยายผลเพื่อนาแนวทางการสร้างจิตสานึกใน
การรกั ทรัพยากรของ อพ.สธ. ไปดาเนินงานตามยทุ ธศาสตรข์ องหนว่ ยงานนัน้ ๆ

โดยที่ อพ.สธ. เป็นที่ปรึกษา ประสานงาน ร่วมมือ สนับสนุนให้โรงเรียนและสถาบันการศึกษา
เปน็ สมาชิกสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น อพ.สธ. ประสานงานหนว่ ยงานท่รี ว่ มสนองพระราชดาริให้ดาเนินการใน
กจิ กรรมนี้ โดยกาหนดเปูาหมายในการดาเนนิ งานให้สอดคลอ้ งกบั แนวทางการดาเนนิ งานตามกรอบแผนแม่บท
ของ อพ.สธ. และจัดทาแผนประจาปีเฉพาะในส่วนของหน่วยของตนให้ชัดเจน พร้อมท้ังวางแผนปฏิบัติงาน
รว่ มกนั ให้ชดั เจน ผ่านการประชุมคณะกรรมการดาเนนิ งาน อพ.สธ. ของหนว่ ยงานนนั้ ๆ

แนวทางการดาเนนิ กิจกรรมสร้างจิตสานกึ ในการอนุรักษ์ทรัพยากร
1 งานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน
เปน็ นวตั กรรมของการเรยี นรู้เพ่ือนาไปสู่การสร้างจิตสานกึ ในการอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ วัฒนธรรม

และภูมปิ ัญญาของประเทศไทย นาไปสู่การพัฒนาคนให้เข้มแข็งรู้เท่าทันพร้อมรับกับกระแสการเปลี่ยนแปลง
ของโลก

1.1 อพ.สธ. กาหนดจุดมุ่งหมายในการดาเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน โดยสร้างจิตสานึกให้
เยาวชน นักเรียนเข้าใจถึงความสาคัญและประโยชน์ของทรัพยากร ให้รู้จักหวงแหนและรู้จักการนาไปใช้

29
ประโยชนอ์ ย่างยงั่ ยนื โดยมีคู่มือการดาเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนสถาบันการศึกษาสามารถสมัครเป็น
สมาชิกงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนโดยตรงมาท่ี อพ.สธ. โดยสามารถติดต่อขอใบสมัครและตัวอย่างการ
สมัครไดท้ ี่

สานกั งาน อพ.สธ. สนามเสอื ปาุ พระราชวังดสุ ติ เขตดุสิต กทม. 10300
โทร. : 0-2280-8710, 0-2281-7999, 0-2281-8422 ต่อ 2219, 2220-22
โทรสาร : 0-2280-8710, 0-2281-7999, 0-2281-8422 ตอ่ 2221
E-mail : [email protected]
ดาวนโ์ หลดใบสมคั รไดจ้ ากเว็บไซต์ อพ.สธ. (www.rspg.or.th)
http://www.rspg.or.th/botanical_school/school_bot_2.htm
1.2 อพ.สธ. กาหนดแนวทางและหลกั เกณฑก์ ารดาเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน คอื การท่ี
สถานศึกษาสมัครเข้ามาเปน็ สมาชกิ ในงานสวนพฤกษศาสตร์ และคุณครู / อาจารย์ นาพรรณไม้ทมี่ อี ยู่ใน
โรงเรยี นไปเป็นสือ่ ในการเรียนการสอนในวิชาตา่ ง ๆ ทีอ่ ยู่ในหลักสตู ร และสถานศกึ ษา
ถ้าสถานศกึ ษามพี นื้ ทส่ี ามารถใช้พ้นื ที่ในสถานศกึ ษาเปน็ ท่ีรวบรวมพืชพรรณไม้ทอ้ งถ่ินและรวบรวมภูมิปญั ญา
ท้องถ่ิน เป็นทเี่ ก็บพรรณไม้แห้ง พรรณไมด้ อง มีห้องสมดุ สาหรับคน้ คว้าและนางานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น
ใช้เปน็ สอ่ื การเรียนการสอนในวชิ าต่างๆ ใช้ปัจจยั พืชเปน็ ปัจจยั หลักในการเรยี นรู้ถ้าในกรณีทีส่ ถานศึกษาไม่มี
พืน้ ที่ในการสารวจหรอื เกบ็ รวบรวมพรรณพืช ใหใ้ ช้พนื้ ท่ีท่ีอยู่รอบๆ โรงเรยี นและประสานกบั องค์กรปกครอง
ส่วนทอ้ งถน่ิ ที่สถานศกึ ษาตงั้ อย่เู พือ่ ใชพ้ นื้ ท่นี อกสถานศกึ ษา
1.3 สมาชกิ สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนร่วมกับองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นและชุมชน ในการสารวจ
จดั ทาฐานทรัพยากรท้องถิ่น นาไปสกู่ ารจดั ทาหลกั สตู รทอ้ งถน่ิ
1.4 สมาชิกงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ทบทวนและปรับปรุงการดาเนินงานสวนพฤกษศาสตร์
โรงเรียนท่ีทาอยเู่ ดมิ ให้ครบถ้วนตามคุณสมบัติและเกณฑ์มาตรฐานที่ อพ.สธ. กาหนดและนาไปสู่การประเมิน
เพอ่ื รบั ปาู ยพระราชทานและเกยี รตบิ ัตรฯ
1.5 การดาเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนของสมาชิกใหม่ ควรดาเนินงานให้เป็นไปตาม
คุณสมบัติและเกณฑ์มาตรฐานท่ี อพ.สธ. กาหนดขึ้น และรับคาแนะนาจากคณะผู้ทรงคุณวุฒิและที่ปรึกษา
อพ.สธ. ในงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น
1.6 อพ.สธ. ประสานร่วมมือกับหน่วยงานหลักที่เก่ียวข้องดาเนินการจัดนิทรรศการแสดงผลการ
ดาเนินงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียนตามแนวพระราชดาริฯ โดยคัดเลือกจากโรงเรียนสมาชิกในระดับจังหวัด
ระดบั ภาค และระดับประเทศ โดยเน้นและใหค้ วามสาคัญในเร่ืองกระบวนการ และผลลัพธ์การดาเนินงานเป็น
หลักอย่างนอ้ ยปีละหนึง่ ครั้ง
1.7 สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ สานักงานสภาการศึกษา สานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ และสานักมาตรฐานการศึกษา สนับสนุนในการดาเนินงานร่วมกับ อพ.สธ. ร่วมกัน
พิจารณาและวางแผน เพื่อนาแนวทางดาเนิน งาน อพ.สธ.บรรจุไว้ในหลักสูตรการเรียนการสอนระดับต่าง ๆ
โดยเฉพาะในระบบโรงเรียน

30
2. งานพพิ ิธภณั ฑ์
เป็นการขยายผลการดาเนินงานเพื่อเสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้ ไปสู่ประชาชน กลุ่มเปูาหมายต่าง ๆ
ใหก้ ว้างขวางย่งิ ขึน้ โดยใช้การนาเสนอในรูปของพพิ ิธภณั ฑ์ ซ่ึงเป็นสอื่ เข้าถึงประชาชนทัว่ ไป ตัวอย่างเชน่

2.1 งานพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติที่มีชีวิตดาเนินการโดยศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเน่ืองมาจาก
พระราชดาริ และจังหวัดต่าง ๆ จัดทาแปลงสาธิตการปลูกรักษาเพ่ืออนุรักษ์พันธุกรรมพืชในลักษณะโดยมี
กจิ กรรมตา่ ง ๆ ท่ถี กู ต้องและครบถ้วนตามเกณฑ์มาตรฐานทก่ี าหนดไว้ในพนื้ ท่ีศนู ย์ศกึ ษาการพัฒนาฯ และพื้นท่ี
อื่น ๆ ตามความเหมาะสม

2.2 งานพิพิธภัณฑ์พืชดาเนินการโดยหน่วยงานที่ร่วมสนองพระราชดาริ เช่นกรมอุทยานแห่งชาติ
สัตว์ปุาและพันธ์ุพืช กรมปุาไม้ กรมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยต่าง ๆ หน่วยงานเหล่านี้มีผู้เช่ียวชาญ นัก
พฤกษศาสตร์ ดแู ลอยู่

2.3 งานพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาดาเนินการโดยหน่วยงานที่ร่วมสนองพระราช ดาริ เช่น
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลอสี าน จงั หวดั นครราชสมี าและมหาวิทยาลยั ขอนแก่น จ.ขอนแกน่ เปน็ ต้น

2.4 งานพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาเกาะและทะเลไทย เช่น พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาเกาะ
และทะเลไทย เขาหมาจอ ตาบลแสมสาร อาเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี สนองพระราชดาริ อพ.สธ.
โดยกองทพั เรือ

2.5 งานพิพธิ ภณั ฑ์ท้องถิ่น หอศิลปวัฒนธรรม ของจังหวัดและหน่วยงานทีร่ ว่ มสนองพระราชดาริ
2.6 นทิ รรศการถาวรต่าง ๆ ท่เี ก่ียวขอ้ งกับทรพั ยากรตา่ ง ๆ
2.7 ศูนย์การเรียนรู้

3 งานอบรม
อพ.สธ. ดาเนนิ งานอบรมเรื่องงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน, งานฝึกอบรมปฏิบัติการสารวจและจัดทา
ฐานทรพั ยากรท้องถ่ิน หรืองานที่เกี่ยวข้องกับการสร้างจิตสานึกในการอนุรักษ์ทรัพยากร โดยอาจจัด ณ ศูนย์
ฝึกอบรมของ อพ.สธ. ร่วมกบั หนว่ ยงานท่รี ว่ มสนองพระราชดาริ ท่ีกระจายอยตู่ ามภูมภิ าคตา่ ง ๆ ตัวอย่างเชน่
1) ศนู ย์เรียนร้ฯู สู่เศรษฐกิจพอเพียง อพ.สธ. ต.คลองไผ่ อ.สีควิ้ จ.นครราชสมี า
2) ศูนยเ์ รยี นรู้ฯ ส่เู ศรษฐกจิ พอเพียง อพ.สธ. อ.ไทรโยค จ.กาญจนบุรี
3) ศนู ยเ์ รียนรู้ฯ สเู่ ศรษฐกจิ พอเพยี ง อพ.สธ. อ.ตากฟูา จ.นครสวรรค์
4) ศูนย์เรียนรฯู้ สู่เศรษฐกิจพอเพยี ง อพ.สธ. อ.วงั ม่วง จ.สระบุรี
5) ศูนย์ฝึกอบรม อพ.สธ. ลาตะคอง ต.คลองไผ่ อ.สคี ้ิว จ.นครราชสมี า
6) ศูนย์ฝกึ อบรม อพ.สธ. เขาหมาจอ ต.แสมสาร อ.สตั หบี จ.ชลบรุ ี
(พิพธิ ภณั ฑธ์ รรมชาตวิ ิทยาเกาะและทะเลไทย) เขาหมาจอ อ.สตั หบี จ.ชลบรุ ี โดย อพ.สธ.-ทร.
7) ศูนย์ฝึกอบรม อพ.สธ. สวนสัตวเ์ ปดิ เขาเขยี ว อ.ศรีราชา จ.ชลบรุ ี โดย อพ.สธ.-อสส.
8) ศนู ย์วิจัย อนุรกั ษ์ พฒั นา ใช้ประโยชนท์ รัพยากรทะเล อพ.สธ. เกาะทะลุ จ.ประจวบคีรีขันธ์ (พื้นท่ี
สนองพระราชดาริของมูลนิธิฟื้นฟูทรัพยากร ทะเลสยาม และพื้นที่สนองพระราชดาริของจังหวั ด
ประจวบครี ีขันธ์)

31
9) ศูนยป์ ระสานงาน อพ.สธ. ภาคเหนอื มหาวทิ ยาลัยแมโ่ จ้ จ.เชยี งใหม่ โดย อพ.สธ.-มจ.
10) ศูนยป์ ระสานงาน อพ.สธ. มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ วทิ ยาเขตสรุ าษฎร์ธานี
จ.สุราษฎร์ธานี โดย อพ.สธ.-มอ.
11) ศนู ย์ประสานงาน อพ.สธ. ภาคใตฝ้ ัง่ อนั ดามัน มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลศรีวชิ ัย
จ.ตรัง โดย อพ.สธ.- มทร.ศรีวิชยั
12) ศูนย์ประสานงาน อพ.สธ. ภาคกลางตอนบน ศูนย์เครือข่ายการเรียนรู้เพ่ือภูมิภาค จุฬาลงกรณ์
มหาวทิ ยาลยั จ.สระบรุ ี โดย อพ.สธ.-จฬ.
13) ศนู ย์ประสานงาน อพ.สธ. มหาวิทยาลัยมหดิ ล วทิ ยาเขตศาลายา จ.นครปฐม โดย อพ.สธ.-ม.มหดิ ล
14) ศูนย์ประสานงาน อพ.สธ. มหาวิทยาลยั มหิดล วทิ ยาเขตอานาจเจรญิ จ.อานาจเจริญ โดย อพ.สธ.-
ม.มหิดล
15) ศูนย์ประสานงาน อพ.สธ. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน จ.นครราชสีมา โดย อพ.สธ.-
มทร.อสี าน
16) ศนู ยป์ ระสานงาน อพ.สธ. มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น จ.ขอนแกน่ โดย อพ.สธ.-มข.
17) ศูนยป์ ระสานงาน อพ.สธ. มหาวทิ ยาลยั อุบลราชธานี จ.อบุ ลราชธานี โดย อพ.สธ.- มอบ.
18) ศนู ยป์ ระสานงาน อพ.สธ. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มหาวิทยาลัยราชภฏั อุบลราชธานี
จ.อบุ ลราชธานี โดย อพ.สธ.-มรภ.อบุ ลราชธานี
19) ศูนย์ประสานงาน อพ.สธ. ภาคเหนือตอนล่าง มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ จ.อุตรดิตถ์
โดย อพ.สธ.-มรภ.อตุ รดติ ถ์

หมายเหตุ
ถ้าหน่วยงานอื่นเป็นผู้ดาเนินงานจัดฝึกอบรม จัดค่ายต่าง ๆ ภายใต้แนวทางการดาเนินงานและ

สนบั สนนุ งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนและงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นในลักษณะเดียวกัน ให้อยู่ในกิจกรรมที่
8 กิจกรรมพิเศษสนบั สนุนการอนุรกั ษ์ทรัพยากร

กิจกรรมท่ี 8 กิจกรรมพเิ ศษสนับสนนุ การอนรุ ักษ์ทรัพยากร
เปาู หมาย

1. เพ่ือเปิดโอกาสให้หน่วยงานต่าง ๆ ท้ังภาครัฐและเอกชน เข้าร่วมสนับสนุนงานของ อพ.สธ. ใน
รูปแบบตา่ ง ๆ ไม่ว่าจะเป็นในรปู ของทุนสนับสนนุ หรอื ดาเนนิ งานที่เก่ียวข้องและสนับสนนุ กิจกรรมต่าง ๆ ของ
อพ.สธ. โดยอยใู่ นกรอบของแผนแม่บท อพ.สธ.

2. เพื่อเปิดโอกาสให้เยาวชนและประชาชนได้สมัครเข้ามาศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติ
ในสาขาต่าง ๆ ตามความถนัดและสนใจ โดยมคี ณาจารย์ผเู้ ชย่ี วชาญในแตล่ ะสาขาใหค้ าแนะนา และให้แนวทาง
การศึกษา โดยจดั ต้ังเป็นชมรมนกั ชีววทิ ยา อพ.สธ.

3. เพ่ือรวบรวมนักวิจัย นักวิชาการคณาจารย์ผู้เช่ียวชาญจากทั้งภาครัฐและเอกชน เป็นอาสาสมัคร
และเข้ามาทางานตามแนวทางการดาเนินงานในกิจกรรมของ อพ.สธ. ท้ังส่วนตัวและผ่านทางหน่วยงานที่

32
ตนเองสังกัดอยู่ โดยจัดต้งั เป็นชมรมคณะปฏบิ ัตงิ านวิทยาการ อพ.สธ. ซ่งึ จะเปน็ ผู้นาในการถา่ ยทอดความรู้และ
สร้างจติ สานึกในการอนุรกั ษ์ทรพั ยากรของประเทศใหแ้ กเ่ ยาวชนและประชาชนชาวไทยต่อไป

4. เพอ่ื สนับสนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เทศบาลตาบล เทศบาลเมือง ให้ดาเนินงานสมัครสมาชิก
เขา้ มาในงานฐานทรัพยากรทอ้ งถ่ิน

โดยอพ.สธ. ร่วมกับหน่วยงานท่ีร่วมสนองพระราชดาริ กาหนดเปูาหมายในการดาเนินงานปี
ให้สอดคล้องกับแนวทางการดาเนินงานตามกรอบแผนแม่บทของ อพ.สธ. และจัดทาแผนประจาปีเฉพาะใน
ส่วนของหนว่ ยของตนให้ชัดเจน พร้อมทั้งวางแผนปฏิบัติงานร่วมกันให้ชัดเจน ผ่านการประชุมคณะกรรมการ
ดาเนินงาน อพ.สธ. ของหน่วยงานนั้น ๆ

แนวทางการดาเนินกิจกรรมพเิ ศษสนับสนุนการอนรุ กั ษ์ทรพั ยากร
1. อพ.สธ. เป็นเจ้าภาพร่วมกับหน่วยงานท่ีร่วมสนองพระราชดาริท่ีมีความพร้อมในการดาเนินการ

จัดการประชุมวิชาการและนิทรรศการ อพ.สธ. จัดการประชุมใหญ่ทุก ๆ 2 ปี ตามท่ีได้พระราชทานพระราช
วนิ จิ ฉัย โดยมกี ารร่วมจดั แสดงนิทรรศการกบั หนว่ ยงานที่ร่วมสนองพระราชดาริทุกหน่วยงาน นอกจากนั้นยังมี
การจัดการประชมุ วชิ าการและนทิ รรศการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น และฐานทรพั ยากรท้องถิ่น ระดับภูมิภาค
ร่วมกับสมาชกิ งานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี นและสมาชิกงานฐานทรัพยากรท้องถ่ิน โดยมีกาหนดการประชุมฯ
สาหรบั ในระยะ 5 ปที หี่ กดังนี้

พ.ศ. 2560 การประชุมวชิ าการและนทิ รรศการ ทรัพยากรไทย : ศกั ยภาพมากล้นมีใหเ้ หน็
28 พฤศจกิ ายน - 4 ธนั วาคม 2560
พ.ศ. 2561 ณ ศนู ยเ์ ครอื ขา่ ยการเรียนรเู้ พ่ือภูมิภาค จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั จ.สระบุรี
พ.ศ. 2562 การประชุมวชิ าการและนทิ รรศการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนและ
พ.ศ. 2563 งานฐานทรัพยากรทอ้ งถิ่น ระดับภมู ิภาค ครงั้ ท่ี 5
พ.ศ. 2564 การประชมุ วิชาการและนิทรรศการ ทรัพยากรไทย : ชาวบ้านไทยไดป้ ระโยชน์
การประชุมวิชาการและนิทรรศการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี นและงานฐาน
ทรพั ยากรทอ้ งถ่ิน ระดับภูมิภาค ครัง้ ที่ 6
การประชุมวชิ าการและนิทรรศการ ทรพั ยากรไทย : ประโยชนแ์ ท้แกม่ หาชน

2. อพ.สธ. สนับสนุนให้มีการนาเสนอผลงานวิจัยของเจ้าหน้าที่และนักวิจัย อพ.สธ. รวมถึงงานของ
หนว่ ยงานทร่ี ่วมสนองพระราชดาริ ในงานประชมุ วิชาการตา่ ง ๆ ระดับประเทศ และต่างประเทศ และให้มีการ
ขออนุญาตในการนาเสนอผลงานทุกครั้ง

3. หน่วยงานภาครัฐ เอกชน และผู้มีจิตศรัทธาสนับสนุนเงินทุนให้ อพ.สธ. (โดยการทูลเกล้าฯ ถวาย
โดยผ่านทางมลู นิธิ อพ.สธ. เพอื่ ใชใ้ นกิจกรรม อพ.สธ.)

4. การดาเนินงานของชมรมนักชีววิทยา อพ.สธ. และชมรมคณะปฏิบัติงานวิทยาการ อพ.สธ. โดยที่
อพ.สธ. สนบั สนุนให้มผี ู้สมคั รเปน็ สมาชิกชมรมฯ ตามเงื่อนไขของชมรมฯ โดยท่ีชมรมทั้งสอง มีการดาเนินงาน

33
สนับสนุนงานในกิจกรรมท่ี 1-7 ตามแผนแม่บทของ อพ.สธ. เช่นเข้าไปศึกษาทางานวิจัยในพ้ืนที่ปกปัก
ทรัพยากร อพ.สธ. รว่ มในกิจกรรมสารวจทรัพยากรต่าง ๆ ในพนื้ ท่ที ่ี อพ.สธ. กาหนด

5. หนว่ ยงานทีร่ ่วมสนองพระราชดาริ สามารถดาเนินการฝึกอบรมในการสร้างจิตสานึกในการอนุรักษ์
พนั ธกุ รรมพชื และทรพั ยากรตา่ ง ๆ เพ่ือสนองพระราชดาริตามแผนแม่บท อพ.สธ. เพ่ือสนับสนุนในกิจกรรมที่
1-7 ตามแผนแมบ่ ทของ อพ.สธ. โดยอาจมกี ารฝกึ อบรมตามสถานที่ต่าง ๆ ของหน่วยงานน้ัน ๆ เอง หรือ ขอใช้
สถานทข่ี อง อพ.สธ. โดยร่วมกบั วทิ ยากรของ อพ.สธ. หรือเป็นวิทยากรของหน่วยงานที่ร่วมสนองพระราชดาริ
เอง แต่ผ่านการวางแผนและเห็นชอบจาก อพ.สธ. และอบรมให้กับเครือข่าย อพ.สธ. เช่น สมาชิกงานสวน
พฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น และสมาชิกงานฐานทรพั ยากรทอ้ งถิ่น

6. การทาหลักสูตรท้องถ่ินของมหาวิทยาลยั ต่าง ๆ ตามแผนแม่บทของ อพ.สธ.
7. การเผยแพร่โดยสื่อต่าง ๆ เช่น การทาหนังสือ วีดีทัศน์ เอกสารเผยแพร่ เว็บไซต์ประชาสัมพันธ์
ท่ีได้รับความเห็นชอบจาก อพ.สธ. เพ่ือสนับสนุนงานกิจกรรมต่าง ๆ ของ อพ.สธ. สามารถใช้สัญลักษณ์ของ
อพ.สธ. ไดเ้ มอ่ื ไดร้ บั การพจิ ารณาและเหน็ ชอบจาก อพ.สธ.
8. การจัดงานประชุมวชิ าการและนิทรรศการต่าง ๆ ของหน่วยงานท่ีร่วมสนองพระราช ดาริ ในส่วนที่
เผยแพรง่ านของ อพ.สธ. และไดร้ ับความเห็นชอบจาก อพ.สธ.
9. หนว่ ยงานเอกชน หรอื บุคคลท่วั ไป สมัครเปน็ อาสาสมัครในการรว่ มงานกบั อพ.สธ.
10.การดาเนินงานอืน่ ๆ เพื่อเป็นการสนบั สนุนงานตามกรอบแผนแม่บทของ อพ.สธ.
11.องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น สมคั รเข้ามางานฐานทรพั ยากรท้องถ่นิ
องคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่ เทศบาลตาบล เทศบาลเมือง สามารถสนองพระราชดาริ โดยการสมัครเข้า
มาเป็นสมาชกิ และดาเนนิ งานฐานทรัพยากรท้องถิ่นโดยตรงกับ อพ.สธ. สามารถดาเนินงานครอบคลุมท้ังสาม
ฐานทรัพยากร (ทรัพยากรกายภาพ ทรัพยากรชีวภาพ และทรัพยากรวัฒนธรรมและภูมิปัญญา) โดยท่ีมี
คณะกรรมการดาเนินงานฐานทรพั ยากรท้องถิน่ อพ.สธ.-ตาบล ทีส่ นองพระราชดาริ มี 3 ดา้ น ไดแ้ ก่
1. ดา้ นบรหิ ารและด้านจดั การ
2. ด้านการดาเนนิ งาน ซ่ึงแบง่ เป็นอีก 6 งาน ได้แก่

1) งานปกปักทรัพยากรทอ้ งถนิ่
2) งานสารวจเก็บรวบรวมทรพั ยากรท้องถ่ิน
3) งานปลกู รกั ษาทรัพยากรทอ้ งถ่ิน
4) งานอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ทรัพยากรทอ้ งถ่ิน
5) งานศนู ยข์ อ้ มลู ทรพั ยากรท้องถ่ิน
6) งานสนับสนนุ ในการอนุรักษแ์ ละจัดทาฐานทรพั ยากรท้องถน่ิ
3. ด้านผลการดาเนนิ งาน
โดยที่ทางองค์การบริหารส่วนตาบล เทศบาลตาบล เทศบาลเมือง สามารถทาหนังสือเข้ามาสนอง
พระราชดาริโดยตรง การแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น อพ.สธ.-ตาบลที่ร่วมสนอง
พระราชดาริ จัดทาแผนแม่บทโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริ สมเด็จพระเทพ

34
รตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ฐานทรัพยากรท้องถิ่น ตาบลท่ีสนองพระราชดาริ และนาไปสู่การประเมิน
เพอ่ื รับการประเมินรับปาู ยพระราชทานในการสนองพระราชดาริในงานฐานทรัพยากรทอ้ งถ่นิ

ประโยชนจ์ ากการเป็นสมาชิกงานฐานทรัพยากรทอ้ งถิ่น
1. สนับสนุนงานปกติท่ีองค์การบริหารส่วนตาบล / เทศบาล มีหน้าที่ความรับผิดชอบท่ีต้องทราบใน

เร่ืองข้อมูลทางกายภาพ ข้อมูลชีวภาพ เศรษฐกิจสังคม ศักยภาพชุมชน และภูมิปัญญาท้องถ่ิน เพื่อนาภูมิ
ปญั ญานนั้ ไปพัฒนาตอ่ ยอด เปน็ ผลติ ภณั ฑ์ตา่ ง ๆ ท่ีทาให้เป็นมาตรฐานสากล

2. สนับสนนุ ให้องค์การบรหิ ารส่วนตาบล (อบต.) / เทศบาล ทางานใกล้ชิดกับสถานศึกษาที่อยู่ในพื้นที่
ประสานกับชุมชนและโรงเรียน เพื่อมาเป็นกาลังในการร่วมสารวจและจัดทาฐานทรัพยากรท้องถ่ินระดับ
ตาบล / เทศบาล เกดิ การสร้างจิตสานึกในการรักท้องถิ่นให้กับนักเรียนและประชาชนในท้องถิ่นน้ัน ๆ เพราะ
สถานศึกษามีหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ปี พ.ศ.2551 ซึ่งบ่งชี้ว่าในสาระวิทยาศาสตร์ นักเรียน
จะต้องทราบในเรื่องทรัพยากรในท้องถ่ิน และการใช้ทรัพยากรในท้องถิ่น น่ันคือจะต้องมีภูมิปัญญามากากับ
การใชป้ ระโยชน์ เชน่ พชื ผักพื้นเมือง พืชสมุนไพร และยังสามารถบูรณาการไปยังกลุ่มสาระสังคมสิ่งแวดล้อม
เมื่อมีการทางานร่วมกัน อบต./เทศบาล จะได้ข้อมูลทรัพยากรท่ีเป็นปัจจุบันในการวางแผนพัฒนา
อบต. / เทศบาล

3. อบต./ เทศบาล ได้ข้ึนทะเบียนทรัพยากรท้องถิ่นตามรูปแบบการทาทะเบียนทรัพยากรต่าง ๆ
ของ อพ.สธ. ใหก้ ับทอ้ งถ่ินของตนเอง เพ่ือนาไปสู่การยืนยันสิทธ์ิในการเป็นเจ้าของทรัพยากร นาไปสู่การเป็น
หลักฐานในการขึ้นทะเบียนสิ่งบ่งช้ีทางภูมิศาสตร์ (Geographical Indication) และการข้ึนทะเบียน
อืน่ ๆ ต่อไป และเป็นการยนื ยันสิทธิค์ วามเปน็ เจา้ ของทรัพยากรต่าง ๆ เพ่ือเตรียมพร้อมสาหรับการเข้าถึงและ
แบ่งปันผลประโยชน์จากการใช้ทรัพยากรน้ัน ๆ ที่มีอยใู่ นทอ้ งถิ่น ตามพธิ ีสารนาโงย่า (Nagoya protocol)

1.4 เป้าหมายและวัตถุประสงคข์ องโครงการอนรุ กั ษพ์ ันธุกรรมพชื อนั เน่อื งมาจากพระราชดารฯิ
เปา้ หมาย
เพ่ือพัฒนาบคุ ลากร
อนรุ กั ษแ์ ละพฒั นาทรพั ยากรพันธุกรรมพืชและทรพั ยากร
ให้เกิดประโยชนถ์ งึ มหาชนชาวไทย
วตั ถุประสงค์
- ใหเ้ ข้าใจและเห็นความสาคัญของพันธุกรรมพชื และทรพั ยากร
- ให้ร่วมคิด ร่วมปฏบิ ัติ จนเกิดประโยชนถ์ งึ มหาชนชาวไทย
- ให้มรี ะบบข้อมูลพนั ธกุ รรมพืชและทรพั ยากร ส่ือถึงกนั ได้ท่ัวประเทศ
แผนแมบ่ ทของ อพ.สธ. ดาเนินงานใน 3 ฐานทรพั ยากร ไดแ้ ก่
1. ทรัพยากรกายภาพ
2. ทรัพยากรชวี ภาพ
3. ทรพั ยากรวัฒนธรรมและภูมิปัญญา

35

1.5 การก้าวเข้าสแู่ ผนแม่บทระยะ 5 ปที ี่หก (ตลุ าคม 2559 - กนั ยายน 2564)

แผนแมบ่ ท โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริฯ ในระยะ 5 ปีท่ีหก (ตุลาคม
2559 – กันยายน 2564) ได้ศึกษาวิเคราะห์ ร่างแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนท่ี 11 (2555 –
2559) ร่างนโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ (2555-2559) ร่างแผนวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและ
นวัตกรรมแห่งชาติ (2555-2564) ของสานกั งานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรม
แห่งชาติ (สวทน.) แผนยุทธศาสตร์ของหน่วยงานที่ร่วมสนองพระราชดาริ และขอให้หน่วยงานที่ร่วมสนอง
พระราชดาริ จัดทาแผนแม่บทของหน่วยงาน สอดคล้องกับแผนแม่บทของ อพ.สธ. โดยศึกษาจากวิสัยทัศน์
พันธกิจ ยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน และโครงการท่ีมีอยู่ ปรับเข้าร่วมสนองพระราชดาริ โดยในส่วนของ
มหาวิทยาลยั ในกิจกรรมพเิ ศษสนับสนนุ การอนุรกั ษพ์ นั ธกุ รรมพชื (ก.8) ใหม้ งี านสนับสนุนวิชาการในการจัดทา
ฐานทรัพยากรท้องถนิ่ ขององค์การบรหิ ารสว่ นทอ้ งถิ่น

ในระยะ 5 ปีที่หก (ตุลาคม 2559 – กันยายน 2564) ท่ีจะเน้นในเรื่องมาตรฐานและคุณภาพ การ
ดาเนินงานสนองพระราชดาริ แล้ว อพ.สธ. ยงั วเิ คราะห์จดุ ออ่ นจุดแขง็ การดาเนินงานทผ่ี ่านมาตลอด 20 ปีเศษ
และการหวนดทู รัพย์สิง่ สินตน

สมาชิกสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน
จากการท่ีมีโรงเรียนสมาชิกมากกว่า 3,028 (ข้อมูล ณ วันที่ 4 กรกฎาคม 2560) โรงเรียนและจะมีเพ่ิม
มากขึ้นจากการท่ตี าบลเขา้ ร่วมสนองพระราชดารงิ านสวนพฤกษศาสตร์ เป็นเร่ืองเช่นเดียวกันท่ีโรงเรียนต้องมี
ความเขา้ ใจ เขา้ ถงึ อพ.สธ. เปิดใจกว้างและมองเห็นการเข้าร่วมสนองพระราชดาริไม่เป็นภาระท่ีเพ่ิมข้ึน เป็น
เร่อื งการเรยี นการสอน การรวเิ คราะห์งานในแต่ละกลุ่มสาระหรอื การสอนตามนโยบายการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ใน
เร่อื ง STEM กส็ ามารถบูรณาการในการเรียนการสอนตามปกติเข้ากับการดาเนินงาน 5 องค์ประกอบงานสวน
พฤกษศาสตร์โรงเรียน สาระธรรมชาติแห่งชีวิต สรรพส่ิงล้วนพันเกี่ยว ประโยชน์แท้แก่มหาชน ที่สามารถ
ดาเนินการสนองนโยบายและตามมาตรฐาน สานกั มาตรฐานการศกึ ษา (สมศ.) โดยการใช้งานสวนพฤกษศาสตร์
โรงเรียนเปน็ ฐาน ไปสู่โรงเรียนเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนส่ิงแวดล้อม โรงเรียนสีเขียว เพียงแต่ต้องวิเคราะห์
ซงึ่ อพ.สธ. ไดว้ ิเคราะหง์ านสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น ท้ัง 8 กลมุ่ สาระ ต้งั แต่ชัน้ ประถมศึกษาชน้ั ปีท่ี 1 ถึง ชั้น
มัธยมศกึ ษาชน้ั ปีที่ 6 และอาชีวศกึ ษา และในแผนแม่บทระยะ 5 ปีที่หก จะมีการดาเนินงานสวนพฤกษศาสตร์
โรงเรียนในระดับอุดมศกึ ษา โดยเฉพาะการเรียนการสอนในวิชาทั่วไป และการเรยี นหลักสตู รสวนพฤกษศาสตร์
โรงเรียนสาหรับคณะครุศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ ที่ผลติ ครูทสี่ ามารถออกไปทางานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
ได้ ซึ่งโรงเรยี นที่เปน็ สมาชิกจาเปน็ ต้องมกี ารฝกึ อบรม ทบทวนติดตามความก้าวหน้าการพัฒนาการดาเนินงาน
สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน การประชุมกลุ่มงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ซ่ึงในแผนแม่บทระยะ 5 ปีท่ีหก
ก็ตอ้ งมกี ารรกั ษามาตรฐานการดาเนนิ งานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ได้มีการประชุมนโยบายกับท่านที่ปรึกษา
ประสานงานฯ อพ.สธ. และผู้อานวยการโรงเรียนที่รับพระราชทานปูาย เกียรติบัตร ในการประชุมวิชาการ
นิทรรศการ ทรัพยากรไทย: นาสิ่งดีงามสู่ตาโลก ที่เขื่อนศรีนครินทร์ จังหวัดกาญจนบุรี เมื่อเดือนธันวาคม

36
2556 และมอบนโยบายสาหรบั การไปประชมุ กลุ่มสมาชกิ สวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น ในการรกั ษามาตรฐานของ
ปูาย และเกียรติบัตรพระราชทานงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ลาดับ 1 และลาดับท่ี 2 การติดตาม
ความก้าวหนา้ การดาเนินงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียนทาง website ของโรงเรียน เน่ืองจากโรงเรียนท่ีได้รับ
พระราชทานปูายเกียรติบัตรเป็นเวลานาน รุ่นแรก ๆ และมีการเปลี่ยนผู้บริหารโรงเรียน ซึ่งบางโรงเรียนได้มี
การพัฒนาติดตามการดาเนินงาน บางโรงเรียนอาจไม่ดาเนินการและไม่มีส่วนร่วม อาจมีการติดตามจาก
website รายงานประจาปีในเร่อื งการบริหารจดั การ แล้วมีการใหร้ ะยะเวลาหากไม่มีการดาเนินการ อาจมีการ
ลดขั้นในการรับเกียรติบัตร ปูายสนองพระราชดาริ จนถึงการพักเป็นสมาชิกสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน และ
การพักสมาชิกฯ ซึ่งหวังว่าจะทาการการดาเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ในแผนแม่บทระ 5 ปีที่หก
เขม้ ขน้ และเข้มแข็ง เป็นกาลงั ในการสร้างประเทศชาตติ ่อไป

วิสัยทศั น์
“พัฒนาบุคลากร อนรุ กั ษแ์ ละพัฒนาทรพั ยากรพันธกุ รรมพืชและทรพั ยากร ให้เกดิ ประโยชนแ์ ก่
มหาชนชาวไทย”

พนั ธกจิ
1. ใหค้ วามเข้าใจและเห็นความสาคัญของพันธกุ รรมพืชและทรัพยากร ทัง้ 3 ฐาน (ทรัพยากรกายภาพ
ทรัพยากรชวี ภาพ ทรัพยากรวัฒนธรรมและภูมปิ ญั ญา) ของประเทศไทย
2. ใหร้ ว่ มคิด ร่วมปฏบิ ัติ จนเกดิ ผลประโยชน์ถงึ มหาชนชาวไทย
3. ให้มรี ะบบขอ้ มูลทรัพยากรทั้ง 3 ฐาน เพื่อให้เชื่อมตอ่ และสื่อถึงกันทว่ั ประเทศ

วัตถปุ ระสงค์
1. เพ่อื อนุรกั ษท์ รัพยากรของประเทศไดแ้ ก่ ทรัพยากรชีวภาพ ทรัพยากรกายภาพ ทรัพยากรวัฒนธรรมและภูมิ
ปญั ญา
2. เพื่อนาพืชท่ีได้สารวจข้ึนทะเบียนรหัสต้นของพืชที่มีอยู่เดิมและหายากใกล้ศูนย์พันธ์ุ เพ่ือไปปลูกรักษ า
พันธกุ รรมไวใ้ นพื้นทปี่ ลอดภัยในหน่วยงานทร่ี ว่ มสนองพระราชดาริ และธนาคารพชื พรรณ อพ.สธ. สวนจติ ลดา
3. เพ่ือนาความรู้จาการศึกษาวิจัยพรรณพืชและความหลากหลายทางชีวภาพ การศึกษาทรัพยากรกายภาพ
การสารวจและบันทึกวัฒนธรรมและภมู ิปญั ญาของประเทศไทย เพือ่ สรา้ งองคค์ วามรทู้ างวทิ ยาการ ท่ีจะนาไปสู่
การอนุรักษแ์ ละพฒั นาอยา่ งยง่ั ยืนสู่เศรษฐกิจพอเพียง
4. เพ่ือจัดทาศูนย์ขอ้ มลู พนั ธุกรรมพืชรวมทั้งทรพั ยากรอน่ื ๆ ไดแ้ ก่ ทรพั ยากรกายภาพ ทรัพยากรชีวภาพ และ
ทรัพยากรวัฒนธรรมและภูมิปัญญา โดยเช่ือมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยงานท่ีร่วมสนองพระราชดาริ เช่น ศูนย์
ข้อมูลพรรณพฤกกษชาติ หอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ปุาและพันธ์ุพืช กับศูนย์ข้อมูลทรัพยากร
สวนจิตลดา และขอ้ มูลเกยี่ วกบั พนั ธุกรรมพชื ของหนว่ ยงานต่าง ๆ สอื่ กันในระบบเดียวกัน
5. เพื่อสร้างเด็กและเยาวชนให้มีจิตสานึกในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช และทรัพยากรธรรมชาติ รักษา
วัฒนธรรมและภมู ปิ ญั ญาไทย
6. เสริมสรา้ งสนบั สนุนใหเ้ กดิ เครือข่ายระดับต่าง ๆ ในการดาเนินงานเก่ียวกบั การอนุรกั ษแ์ ละพฒั นาทรัพยากร


Click to View FlipBook Version