The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการดำเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน พ.ศ.2560 โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ หน้า 1-492

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kookkig.work42, 2021-10-14 02:37:54

คู่มือการดำเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน1

คู่มือการดำเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน พ.ศ.2560 โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ หน้า 1-492

Keywords: พฤษศาสตร์

137

ดอก ผล และเมล็ด พรอ้ มระบุมาตราส่วน

เสน้ กลำงใบ แผน่ ใบ
เสน้ ใบ

กำ้ นใบ

ใบประกอบแบบขนนก รูปไข่ กลมรี แผน่ ใบด้านบนผวิ เรียบ สีเขียวแกมเหลือง มีขนปกคลุมเล็กน้อย ด้านหลัง
แผ่นใบด้านล่างผิวหยาบ สีเขียนอ่อน ขนาดกว้าง 1 – 3 เซนติเมตร ยาว 2 – 5 เซนติเมตร ก้านใบทรงกลม
สีเขียว ขนาด 0.5 เซนติเมตร

ภาพที่ 3.108 ตัวอย่างผลการศึกษาลักษณะของใบ (รูปร่าง รปู ทรง สี ผวิ ขนาด ฯลฯ)

กำ้ นดอก กลีบดอก
กลีบเล้ียง

ดอก รูปกลมปลายเว้าเรยี ว สีมว่ ง กลบี สขี าวอมเหลอื งออ่ น ผวิ เรียบ ขอบเรียบเปน็ คลื่น ขนาดยาว 2.5 – 3.5
เซนตเิ มตร กว้าง 2 – 3 เซนติเมตร กลีบเลย้ี งเช่อื มตดิ กัน สีเขียว

ภาพที่ 3.109 ตัวอยา่ งผลการศกึ ษาลกั ษณะของดอก (รปู รา่ ง รูปทรง สี ผิว ขนาด ฯลฯ)

138
1.2) ศึกษาลักษณะภายใน

1.2.1) สังเกต บันทึก วาดภาพหรือถ่ายภาพลักษณะภายในของ แต่ละส่วนประกอบ ได้แก่ ราก
ลาต้น ใบ ดอก ผล และเมลด็ โดยบนั ทึกขอ้ มลู ท่สี งั เกตเหน็ ภายใต้กลอ้ งจลุ ทรรศน์ เชน่ รูปรา่ ง รูปทรง สี ขนาด
พรอ้ มระบุช่ือส่วนประกอบ และมาตราสว่ น

กาลังขยาย 40 เทา่ กาลงั ขยาย 100 เท่า

เซลล์ไซเล็มด้านนอกเรยี งตัวเปน็ วงกลมขนาดเล็กมากกว่า 5 เซลลข์ ึ้นไป รูปรา่ งกลม เซลลไ์ ซเล็มดา้ นในขนาด

ใหญ่ จานวน 5 เซลล์ รูปรา่ งวงกลม เซลล์โฟลเอมชนาดเลก็ รปู ร่างกลม เมอ่ื ยอ้ มเซลล์จะตดิ สีเขียว

ภาพท่ี 3.110 ตวั อยา่ งผลการศกึ ษาลกั ษณะโครงสรา้ งภายในของลาตน้ (รปู ร่าง รูปทรง สี ผวิ ขนาด ฯลฯ)

เซลลค์ ุม
ปากใบ

กาลงั ขยาย 100 เทา่

เซลลท์ บ่ี ริเวณผวิ ใบลกั ษณะเปน็ เหล่ียมมีผนังเซลล์ เซลล์คุม (Guard cell) รูปร่างคล้ายเมล็ดถั่วหันด้านเว้าเข้า
ประกบกันทาให้ตรงกลางเกิดเป็นช่องหรือรูเปิดเซลล์ และเรียกรวมทั้งเซลล์คุมและรูเปิดคือ ปากใบ ภายใน
เซลลค์ มุ มคี ลอโรพลาสต์ท่ีมีลักษณะกลมสเี ขียว

ภาพท่ี 3.111 ผลการศกึ ษาลกั ษณะโครงสร้างภายในของปากใบ

2) กาหนดเร่ืองทีจ่ ะเรยี นรูใ้ นแต่ละส่วนของพชื
2.1) วิเคราะห์ส่วนประกอบของพชื ทง้ั ภายนอกและภายในของพชื โดยแยกโคร

ใบ

แผ่นใบ ก้านใ
ด้านลา่ ง ตอนโคน ตอนก
ด้านบน ตอนโคน ตอนกลาง ตอนปลาย
ตอนโคน ตอนกลาง ตอนปลาย

สว่ นริม ส่วนรมิ ส่วนริมสว่ นรมิ ส่วนรมิ ส่วนรมิ ส่วนริมสว่ นริม สว่ นริมสว่ นริม สว่ นริม ส่วนริม
ซ้าย ขวา ซา้ ย ขวา ซา้ ย ขวา ซา้ ย ขวา ซา้ ย ขวา ซา้ ย ขวา

ภาพท่ี 3.112 ตัวอยา่ งผงั วเิ คราะ

รงสร้างทีส่ ังเกตเหน็ ในแต่ละสว่ นประกอบ (ราก ลาต้น ใบ ดอก ผล และเมล็ด)

ใบ หูใบ ระดบั ที่ 1
กลาง ตอนปลาย ด้านบน ด้านล่าง ระดับที่ 2
ระดับที่ 3
ระดับที่ 4 139

ะห์โครงสรา้ งสว่ นประกอบของใบ

ดอก

ตัวดอก

ฐานรองดอก กลบี เลีย้ ง กลีบดอก เกสร

ตอนโคน ตอนกลาง ตอนปลาย เพศผู้ เพศเ

ด้านนอก ดา้ นใน ด้านนอก ด้านใน ดา้ นนอก ด้านใน

ส่วนริมสว่ นรมิ สว่ นริมสว่ นรมิ ส่วนริมส่วนรมิ ส่วนริมส่วนริม ส่วนรมิ ส่วนรมิ ส่วนริมสว่ นริม
ซ้าย ขวา ซา้ ย ขวา ซา้ ย ขวา ซา้ ย ขวา ซา้ ย ขวา ซ้าย ขวา

ภาพท่ี 3.113 ตัวอย่างผงั วิเคราะ

ตอนโคน ก้านดอก ระดับที่ 1
เมีย ตอนกลาง ตอนปลาย ระดับท่ี 2
ระดบั ที่ 3
ระดบั ที่ 4 140
ระดบั ท่ี 5

ะหโ์ ครงสรา้ งส่วนประกอบของดอก

141
2.2) กาหนดเรื่องที่จะเรยี นรู้ เป็นการกาหนดหวั ข้อเร่ืองเรียนรู้ กับข้อมูลการสารวจโครงสร้างแต่ละ
ส่วนของพืชอย่างละเอียด

2.2.1) กาหนดเรอื่ งท่จี ะเรยี นรใู้ นแต่ละสว่ นประกอบยอ่ ยของพชื ไดแ้ ก่ รปู ร่าง รูปทรง
2.2.2) กาหนดเร่ืองให้ครบทุกส่วนของพืช ได้แก่ ราก ลาต้น ใบ ดอก ผล และเมล็ดสี ผิว เน้ือ
ขนาด ตวั อยา่ งเช่น รปู รา่ งแผ่นใบดา้ นบนตอนโคน
การศกึ ษาลักษณะภายนอก

ภาพท่ี 3.114 ตัวอยา่ งการกาหนดเรือ่ งทีจ่ ะเรยี นรใู้ นสว่ นประกอบของใบ ในระดับประถมศกึ ษา

142

ภาพท่ี 3.115 ตัวอยา่ งการกาหนดเรื่องที่จะเรยี นรู้ในสว่ นประกอบของใบ ในระดับมธั ยมศึกษา
การศึกษาลักษณะภายใน

กาหนดเรอื่ งที่จะเรียนรู้
1.การจดั เรียงตัวของทอ่ ลาเลยี งน้าของราก
2.การจดั เรียงตวั ของท่อลาเลียงอาหารของราก
3. ภายในใบ
3.3) วางแผน ออกแบบ การจัดการเรียนรู้
3.3.1) เตรียมปจั จัยต่างๆท่ีจะเรยี นรู้ เช่น ส่วนประกอบของพืช วสั ดุอปุ กรณ์
3.3.2) การวางแผนการเรยี นรโู้ ดย กาหนดจานวนตวั อย่างและจานวนซา้ ของสว่ นประกอบพืชท่ี
จะเรยี นรู้ให้เหมาะสม พรอ้ มระบุ อุปกรณ์ วิธกี ารข้ันตอนการเรยี นรู้ จากหวั ขอ้ เร่อื งท่ีเรยี นรตู้ ามกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์

143
4) การเรียนรู้แตล่ ะเรอ่ื ง แต่ละสว่ นขององค์ประกอบย่อย

4.1) เรยี นรแู้ ตล่ ะเร่ืองที่ได้วางแผน ออกแบบ การจดั การเรยี นรู้ตามขั้นตอน
4.2) บันทึกข้อมูลผลการเรียนรู้แต่ละเรื่อง โดยแสดงข้อมูลท่ีได้จากการเรียนรู้ เน้นความกระชับ
เข้าใจง่าย โดยบนั ทึกได้ทง้ั บรรยาย ตาราง กราฟ และรูปภาพ
4.3) สรปุ และเรียบเรียง ผลการเรียนรู้แตล่ ะเรือ่ ง และแต่ละส่วนประกอบของพืช คือ การนาผลการ
เรียนรู้ การสรุปสั้น ๆ โดยเนน้ ย้าถึงผลการเรียนรู้ท่ีสาคัญ เด่น และน่าสนใจ หรือผลการเรียนรู้ที่เกิดข้ึนแปลก
ใหม่ ควรเป็นข้อความที่ไม่ซา้ ไปซ้ามา

ตัวอย่างตารางบนั ทึก การเรียนรสู้ ีของแผน่ ใบ

ตน้ ที่ ใบที่ สที ี่สงั เกตเห็นดว้ ยตาเปล่า ภาพวาดหรอื ภาพถ่าย

1

2
1

3

4

5

1

2
2

3

4

5

1

2
33

4

5

144

ภาพท่ี 3.116 ตวั อย่างผลการเรียนรู้สขี องใบตอนปลาย
5) นาข้อมูลมาเปรียบเทียบความตา่ งในแตล่ ะเรื่อง ในชนิดเดียวกัน เป็นการเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ระหว่าง
ตวั อยา่ งท่ีนามาศกึ ษา (ส่วนประกอบพืชศกึ ษา) ที่นามาเรียนรู้ในเร่อื งเดียวกนั ซง่ึ เปน็ การระบุเหตุผลว่า ข้อมูลท่ี
ได้จากการเรยี นรูเ้ ปน็ ไปตามวตั ถุประสงคท์ ่ีต้ังไว้หรือไม่ ซึ่งเปน็ การอธบิ ายขยายความจากผลการเรียนรู้ที่แสดง
จดุ สนใจ เพอื่ ชีน้ าให้เข้าใจวัตถุประสงค์ โดยเนน้ แปลความหมาย

5.1) เปรยี บเทยี บเรื่องเดยี วกัน สว่ นประกอบย่อยเดยี วกนั หรอื ต่างสว่ นประกอบย่อย
5.2) สรปุ ผลการเปรียบเทียบวา่ เหมือนหรอื ตา่ งกนั อยา่ งไร

145
ภาพท่ี 3.117 ตวั อย่างการสรุปผลการเรยี นร้สู ขี องใบตอนปลายดา้ นบน

146
ผลท่ีคาดว่าจะไดร้ บั

ดา้ นวชิ าการ
1) สณั ฐานวิทยา เช่น โครงสร้างภายนอก
2) กายวิภาควิทยา เชน่ โครงสร้างภายใน
3) พฤกษศาสตร์ เชน่ ข้อมูลลักษณะพรรณไม้ ชื่อวิทยาศาสตร์ ชอ่ื วงศ์
4) วทิ ยาศาสตร์ เชน่ การวิเคราะห์ การบันทกึ สังเกต ทกั ษะการใช้เครื่องมือ
5) ภาษา เช่น การสือ่ สาร การใช้ภาษาในการเรียบเรียงข้อมลู การกาหนดคา
6) ศิลปะ เช่น การวาดภาพ

ด้านภมู ปิ ัญญา
1) การจดั เกบ็ ขอ้ มูลพืน้ บา้ น
2) การใช้เครอ่ื งมือในการศกึ ษาขอ้ มูล
3) การวางแผนการปฏิบตั ิงาน

คุณธรรมและจริยธรรม
1) ความรบั ผิดชอบในการปฏิบัตงิ านทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย
2) ความซ่ือตรง ในการศึกษาและรายงานผลทถ่ี ูกต้องเป็นจริง
3) ความมีระเบียบ รอบคอบ ละเอียด ถ่ถี ว้ น ในการปฏบิ ตั งิ าน
4) ความอดทนตอ่ สภาพแวดล้อมในการปฏิบตั ิงาน
5) ความสามัคคี
6) ความเอ้ือเฟอ้ื เผอื่ แผ่
7) มนุษยสมั พนั ธ์

147
3.2.4 องคป์ ระกอบที่ 4 การรายงานผลการเรยี นรู้

หลักการ รสู้ าระ ร้สู รปุ รสู้ ื่อ
สาระการเรยี นรู้

การรายงานผลการเรียนรู้ ที่ไดจ้ ากการรวบรวมผลการเรียนรู้ คัดแยกสาระสาคญั จัดหมวดหมู่ จัดระบบ
ข้อมูล และการเขียนรายงานในรูปแบบวิชาการและแบบบูรณา โดยใช้ภาษาส่ือที่กระชับ ได้ใจความ รวมถึง
วธิ กี ารรายงานในรูปแบบต่าง ๆ ท้งั แบบเอกสารแบบบรรยาย แบบศิลปะ และแบบนทิ รรศการ เป็นตน้
ลาดบั การเรียนรู้

1) รวบรวมผลการเรียนรู้
2) คดั แยกสาระสาคัญ และจดั ให้เปน็ หมวดหมู่

2.1) วเิ คราะห์ เรยี บเรียงสาระ
2.2) จัดระเบียบขอ้ มลู สาระแต่ละดา้ น
2.3) จดั ลาดบั สาระหรอื กล่มุ สาระ
3) สรุปและเรยี บเรยี ง
4) เรียนรู้รปู แบบการเขยี นรายงาน
4.1) แบบวชิ าการ
4.2) แบบบรู ณาการ
5) กาหนดรูปแบบการเขยี นรายงาน
6) เรยี นรูว้ ธิ กี ารรายงานผล
6.1) เอกสาร เช่น หนังสือ แผ่นพบั
6.2) บรรยาย เชน่ การเลา่ นิทาน อภปิ ราย สัมมนา
6.3) ศิลปะ เชน่ การแสดงศลิ ปะพ้ืนบ้าน ละคร รอ้ งเพลง ภาพวาดทางพฤกษศาสตร์
6.4) นทิ รรศการ
7) กาหนดวธิ กี ารรายงานผล

อธบิ ายลาดบั การเรียนรู้
ลาดบั การเรียนรู้ท่ี 1 รวบรวมผลการเรยี นรู้
วตั ถปุ ระสงค์

1) เพอ่ื รู้แหลง่ เรียนรู้และที่มาของผลการเรียนรู้
2) เพอื่ รู้วิธกี ารรวบรวมผลการเรยี นรู้
กระบวนการเรียนรู้
1) เรียนรู้แหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ภายในสถานศึกษา ตัวอย่างเช่น พื้นที่ศึกษา ห้องสวนพฤกษศาสตร์
โรงเรยี น หอ้ งสมุด เวบไซต์ ฯลฯ ท่รี วบรวมผลการเรยี นรู้จากงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

148 2

1 รวบรวมผลการเรยี นรจู้ ากหอ้ งสวน

พฤกษศาสตรโ์ รงเรียน หอ้ งสมุด

รวบรวมผลการเรียนรจู้ ากพ้นื ทศ่ี กึ ษา
และเว็บไซต์ ออนไลน์

ภาพท่ี 3.118 การเรียนรู้แหลง่ เรยี นร้ตู ่าง ๆ ภายในสถานศึกษา
1. รวบรวมแหลง่ เรยี นรูจ้ ากห้องสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น ห้องสมดุ
2. รวบรวมแหล่งเรียนรู้จากพ้ืนที่ศึกษาและเว็บไซต์ ออนไลน์

ภาพท่ี 3.119 การรวบรวมผลการเรยี นรู้ จากแหลง่ เรียนรู้ตา่ ง ๆ

2) เรียนรวู้ ิธีการรวบรวมผลการเรียนรู้
2.1) รวบรวมผลทไ่ี ดจ้ ากการเรยี นรใู้ นองค์ประกอบที่ 1, 2, 3 พชื ศกึ ษา และ 3 สาระการเรียนรู้
2.2) สรุปผลได้จากการเรียนรู้ เช่น ผลงาน ช้นิ งาน ฯลฯ

149

ภาพที่ 3.120 การรวบรวมผลการเรียนรจู้ าก องค์ประกอบท่ี 1 (เอกสาร ก.7 – 003)

ใบงานท่ี 1.2 การรวบรวมผลการเรียนรจู้ ากเอกสาร ก.7-003

คาชีแ้ จง รวบรวมผลการเรียนรจู้ ากเอกสาร ก.7-003 ในแต่ละหน้า (หน้าปก และหนา้ ท่ี 1-10 ให้ครบถว้ นและ

ชดั เจนย่งิ ขน้ึ

ตัวอย่าง

รายการ (หวั ข้อการเรียนร)ู้ ผลการเรยี นรู้

ส่วนท่ี 1 หนา้ ปก

1.1 ชอ่ื พนั ธ์ุไม้ มะขาม

1.2 รหสั พรรณไม้ 7-10150-009-007/2

1.3 ภาพวาดทางพฤกษศาสตร์ ภาพวาดลกั ษณะวสิ ัย (ท้งั ตน้ ) มาตราสว่ น 1:70

1.4 ............................................... ..........................................................

ภาพที่ 3.121 ตวั อย่างหน้าปก ใบงานที่ 1.2 การรวบรวมผลการเรียนรูจ้ ากเอกสาร ก.7 – 003

บนั ทกึ ผล ผลการเรยี นรู้
ชอื่ พชื .............................................
ขาม (ภาคใต้), มะขาม (ภาคกลาง)
รายการ (หวั ขอ้ การเรียนรู้) ใบและผลสุก มรี สเปรีย้ ว ใช้ปรุงอาหาร
สว่ นท่ี 2 หนา้ ที่ 1 ............................................................
1.1 ข้อมลู พนื้ บา้ น ............................................................
- ชือ่ พ้ืนเมือง
- การใช้ประโยชน์

อาหาร
ยารกั ษาโรค
............................................................
............................................................

ภาพที่ 3.122 ตวั อย่างหนา้ ที่ 1 บนั ทึกผล ใบงานการรวบรวมผลการเรียนรจู้ ากเอกสาร ก.7 – 003

150
ลาดบั การเรียนรทู้ ี่ 2 คัดแยกสาระสาคัญและจดั ให้เปน็ หมวดหมู่
วัตถุประสงค์

1) เพ่อื รู้วิธีการคัดแยกสาระสาคัญ
2) เพ่ือรู้วิธกี ารจดั หมวดหมู่
กระบวนการเรยี นรู้
1) เรยี นรู้วิธีการคัดแยกสาระสาคญั

1.1) วเิ คราะหผ์ ลการเรยี นรู้โดยพิจารณาสาระสาคัญ เป็นสาระหลัก สาระรอง สาระย่อย และสาระ
ประกอบ

1.1.1) สาระหลกั คือ ส่ิงที่จะรายงาน
1.1.2) สาระรอง คอื ส่งิ ท่จี ะหนุนให้สาระหลักมนี ้าหนัก นา่ เชือ่ ถอื มากข้นึ
1.1.3) สาระยอ่ ย คอื สง่ิ ทีท่ าให้ สาระหลัก สาระรอง มคี วามนา่ สนใจยิ่งขึน้
1.1.4) สาระประกอบ คอื สิ่งที่ทาให้ สาระหลัก สาระรอง และสาระยอ่ ย มคี วามนา่ สนใจยิง่ ขน้ึ
2) เรยี นรู้วธิ ีการจดั ให้เป็นหมวดหมู่
2.1) นาสาระสาคัญท่ีผ่านการวิเคราะห์มาจัดเป็นหมวดหมู่หรือกลุ่มข้อมูล เช่น หมวดช่ือ หมวด
รปู ลักษณะ หมวดนเิ วศน์วทิ ยา หมวดการขยายพันธุ์ หมวดการใชป้ ระโยชน์ ฯลฯ
2.2) จัดระเบียบหรือลาดบั ขอ้ มลู สาระแต่ละหมวดท่ีเรยี บเรยี งมาจัดเป็นกลุ่มขอ้ มลู แตล่ ะหมวด เชน่
หมวดช่ือพรรณไม้ ชื่อพ้นื เมือง ชื่อวทิ ยาศาสตร์ ชื่อวงศ์ ชอื่ สามัญ
หมวดรูปลกั ษณะ ลักษณะวสิ ยั ลาต้น ใบ ดอก ผล เมลด็
ตวั อย่าง การจดั ลาดบั สาระหรอื กลมุ่ สาระ
ลกั ษณะวิสัย ความสูง รูปรา่ งทรงพมุ่ ความกวา้ งทรงพุ่ม
ลาต้น ชนดิ ของลาต้น ผวิ ลาต้น การมยี าง สขี องลาต้น
ใบ ชนิดของใบ การเรียงตวั ของใบบนกิง่ รปู ร่างแผน่ ใบ ขนาดแผน่ ใบ

รูปรา่ งปลายใบ รูปร่างโคนใบ รูปรา่ งขอบใบ สีของใบ ลกั ษณะพิเศษของใบ
ดอก ชนิดของดอก ตาแหน่งที่ออกดอก รูปร่างของดอก สีของดอก การมีกล่นิ

ก้านดอก กลีบเลีย้ ง กลบี ดอก เกสรเพศผู้ ก้านชูอบั เรณู อบั เรณู
ละอองเรณู เกสรเพศเมีย ตาแหนง่ ของรังไข่ ก้านเกสรเพศเมยี
ยอดเกสรเพศเมีย
ผล ชนดิ ของผล รูปรา่ งของผล สีของผล ลักษณะพิเศษของผล
เมล็ด จานวนเมลด็ ต่อผล รูปรา่ งของเมลด็ การงอกของเมลด็

151
ลาดบั การเรยี นรู้ที่ 3 สรุปและเรียบเรียง
วัตถปุ ระสงค์

1) เพอ่ื รูว้ ิธกี ารสรุปและเรยี บเรียงขอ้ มูลในแตล่ ะหมวดหมู่
กระบวนการเรียนรู้

1) เรียนรู้วิธกี ารตรวจคาผิด ตัดคาซา้ คาซ้อน
2) เรยี นร้กู ารเชือ่ มโยงเนอื้ หา สาระใหไ้ ด้ภาษาที่กระชบั สั้น ได้ใจความ

การสรปุ และเรยี บเรียง

รหัสพรรณไม้ 7-94170-001-001/2

ชือ่ พน้ื เมอื ง ขาม (ภาคใต้) ตะลบู (ชาวบน-นครราชสีมา) ม่องโคล้ง (กะเหร่ยี ง-กาญจนบุร)ี อาเปยี ล

(เขมร-สุรนิ ทร์) หมากแกง (เง้ยี ว-แมฮ่ อ่ งสอน) ส่ามอเกล (กะเหรี่ยง-แมฮ่ อ่ งสอน)

ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Tamarindus indica L.

ชื่อวงศ์ FABACEAE

ชอื่ สามัญ Tamarind

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไม้ต้น ลาต้น ขรุขระและหนา สีน้าตาลอ่อน ใบ ใบประกอบ ใบเล็กออกตาม

ก่ิงก้านใบเป็นคู่ ใบยอ่ ยเป็นรูปขอบขนาน ปลายใบและโคนใบมน ดอก ออกเปน็ ช่อเลก็ ๆ ตามปลายกิ่ง หน่ึงช่อ

มี 10-15 ดอก ดอกย่อยขนาดเล็ก กลีบดอกสีเหลืองและมีจุดประสีแดงอยู่กลางดอก ผล เป็นฝักยาว รูปร่าง

ยาวหรือโค้ง ยาว 3-20 ซม. ฝักอ่อนมีเปลือกสีเขียวอมเทา สีน้าตาลเกรียม เน้ือในติดกับเปลือก เมื่อแก่ฝัก

เปล่ยี นเปน็ เปลอื กแขง็ กรอบหักง่าย สนี า้ ตาล เน้อื ในกลายเป็นสนี ้าตาลหุ้ม เมลด็ เน้ือมีรสเปร้ียว และหวาน

ภาพที่ 3.123 ตัวอย่างชิ้นงานสรุปเรียบเรยี งขอ้ มลู ทไ่ี ด้จากการคัดแยกสาระและจัดให้เป็นหมวดหมู่

152
ลาดบั การเรยี นรูท้ ี่ 4 รูปแบบการเขียนรายงาน
วตั ถปุ ระสงค์

1) เพือ่ รู้รูปแบบการเขียนรายงาน
2) เพ่ือรู้วธิ กี ารเขยี นรายงาน
กระบวนการเรยี นรู้
1) เรียนรู้รปู แบบการเขยี นรายงาน

1.1) รปู แบบการเขยี นรายงานแบบวิชาการ
1.1.1) การเขยี นรายงานวิชาการแบบสมบรู ณ์ ส่วนประกอบของรายงาน มีความถูกต้องเป็นไป

ตามมาตรฐานทางวิชาการ เชน่ รายงานวชิ าการ รายงานวจิ ยั
1.1.2) การเขียนรายงานวิชาการแบบสรุป ส่วนประกอบของรายงานไม่เต็มรูปแบบ เช่น

การรายงานเชิงวิชาการ
1.2) รูปแบบการเขียนรายงานแบบบูรณาการ
1.2.1) แบบบูรณการกลุ่มสาระ เช่น หนังสือเล่มเล็ก เพลง นิทาน กลอน การแสดง กราฟเส้น

กราฟวงกลม ฯลฯ
1.2.2) แบบบรู ณาการแห่งชีวิต ส่วนประกอบของรายงานแสดงบูรณาภาพแห่งชีวิต เช่น แรง

บนั ดาลใจ จนิ ตนาการ ปัจจัยและเปูาหมายการเรียนรู้ วิธีการท่ีใช้ในการเรียนรู้ จิต อารมณ์ พฤติกรรมของตน
และงานท่เี น่อื งต่อ

2) เรยี นรู้วธิ ีการเขียนรายงาน
2.1) วิธีการเขียนรายงานแบบวชิ าการ
2.1.1) การเขียนรายงานทางวชิ าการแบบสมบูรณ์

1. ส่วนประกอบของรายงานทางวชิ าการแบบสมบูรณ์ มีลกั ษณะ ดังนี้
1.1. สว่ นประกอบตอนตน้ มีสว่ นประกอบตามลาดบั ดังนี้
1.1.1. หน้าปก (ปกนอก)
1.1.2. หนา้ ช่อื เร่อื ง (ปกใน)
1.1.3. คานา (กิตติกรรมประกาศ)
1.1.4. สารบัญ
1.1.5. สารบญั ตาราง
1.1.6. สารบัญภาพประกอบ
1.2. สว่ นประกอบตอนกลาง (เนอ้ื เร่อื ง) เปน็ ส่วนสาคญั ท่สี ดุ ของรายงาน แบง่ แยกเนื้อหาท่ีเขียนเป็น

บทอยา่ งมรี ะบบระเบียบ ตามลาดบั เช่น รายงานทางวชิ าการมโี ครงสรา้ งมาตรฐาน 5 บท คอื
1.2.1. บทที่ 1 บทนา
1.2.2. บทที่ 2 เอกสารและรายงานการศกึ ษาทเ่ี กี่ยวข้อง
1.2.3. บทที่ 3 วธิ ดี าเนนิ การศึกษา

153
1.2.4 บทที่ 4 ผลการศกึ ษา
1.2.5 บทท่ี 5 สรปุ ผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ
นอกจากน้ี ยังมีส่วนประกอบ ที่สาคัญของเน้ือเร่ือง ได้แก่ การอ้างอิงจากการศึกษาค้นคว้า แบบ
เชงิ อรรถทา้ ยหนา้ หรืออ้างองิ แทรกในเน้อื หา (นามป)ี ข้อมูลสารสนเทศตารางประกอบ แผนภูมิ ภาพประกอบ
1.3. ส่วนประกอบตอนท้าย ได้แก่ บรรณานุกรม ภาคผนวก และอภิธานศัพท์ เป็นรายละเอียด
เพ่ิมเติมจากเนื้อเรื่อง เช่น การอ้างอิงที่ได้ระบุไว้ในเชิงอรรถ ก็นามาระบุไว้ในบรรณานุกรมท้ายเล่ม
รายละเอยี ดต่าง ๆ เชน่ ตารางขอ้ มลู แผนงานโครงการ บันทึกประจาวัน สาหรบั ผู้สนใจรายละเอียด
2. ลกั ษณะของรายงานวิชาการแบบสมบรู ณ์ทีด่ ี
2.1. มีการนาหลกั การและ / หรือทฤษฎมี าใช้อยา่ งเหมาะสมเน่ืองจากในการศึกษาค้นคว้า จะต้องมี
การวิเคราะห์เนื้อหา โดยมีหลกั การหรือทฤษฎีมารองรบั อยา่ งเหมาะสม หลักการหรือทฤษฎีดังกล่าวควรเป็นที่
ยอมรบั ในแวดวงสาขาวชิ าการนั้น ๆ พอควรและตรงกับเร่อื งทศี่ ึกษาคน้ คว้า
2.2. มกี ารแสดงความคิดริเริม่ สร้างสรรค์อย่างเหมาะสม เช่น เสนอแนวทางการแก้ปัญหาที่ไม่เคยมี
ผทู้ ามากอ่ น หรือเคยมผี ทู้ าแต่ไมช่ ัดเจนเพียงพอ
2.3. ความสมบูรณแ์ ละความถูกต้องของเนือ้ หาสาระ เน้อื หาสาระต้องสมบูรณ์ตามช่ือเรื่องท่ีกาหนด
และถูกต้องในข้อเท็จจริง การอ้างอิงที่มาหรือแหล่งค้นคว้าต้องถูกต้องเพื่อแสดงจรรยามารยาทของผู้เขียน
และเป็นแหลง่ ชี้แนะใหผ้ ูส้ นใจได้ตดิ ตามศกึ ษาคน้ คว้าตอ่ ไป การคน้ ควา้ ควรศกึ ษามาจากหลายแหล่ง
2.4. ความชัดเจนของการเขียนรายงานจะต้องมีความชัดเจนในด้านลาดับการเสนอเรื่องมี
ความสามารถในการใช้ภาษา และการนาเสนอตาราง แผนภูมิ / ภาพประกอบท้ังน้ีเพื่อให้การนาเสนอเนื้อหา
ชดั เจน เขา้ ใจง่าย เปน็ ระเบยี บไมซ่ า้ ซ้อนสับสน
3. การใช้ภาษาในการเขยี นรายงาน
3.1. ควรใชภ้ าษาหรอื สานวนโวหารเปน็ ของตนเองท่ีเข้าใจงา่ ยและถูกตอ้ ง
3.2. ใชป้ ระโยคสนั้ ๆ ใหไ้ ดใ้ จความชัดเจน สมบรู ณ์ ตรงไปตรงมาไมว่ กวน
3.3. ใช้ภาษาท่เี ป็นทางการไม่ใชภ้ าษาพูด คาผวน คาแสลง อักษรยอ่ คาย่อ
3.4. ใช้คาท่ีมีความหมายชดั เจน ละเวน้ การใช้ภาษาฟุมเฟอื ย การเลน่ สานวน
3.5. ระมดั ระวังในเรอ่ื งการสะกดคา การแบง่ วรรคตอน
3.6. ระมัดระวังการแยกคาด้วยเหตทุ ่ีเนอ้ื ทใ่ี นบรรทัดไม่พอหรือหมดเน้ือท่ีในหน้าที่นั้นเสียก่อน เช่น
ไม่แยกคาวา่ “ละเอียด” ออกเปน็ “ละ” ในบรรทดั หนงึ่ ส่วน “ละเอียด” อย่อู กี บรรทัดตอ่ ไปหรอื หนา้ ต่อไป
3.7. ให้เขียนเป็นภาษาไทยไม่ต้องมีคาภาษาอังกฤษกากับ ถ้าเป็นคาใหม่หรือศัพท์วิชาการในการ
เขียนคร้งั แรกใหก้ ากบั ภาษาองั กฤษไวใ้ นวงเล็บ คร้งั ตอ่ ๆ ไปไม่ต้องกากบั ภาษาอังกฤษ
มลี ักษณะต่อไปน้ี
3.7.1. เป็นงานเขียนทเี่ ป็นงานเป็นการ ค่อนข้างจริงจงั หนกั แน่น
3.7.2. การให้ความคดิ ความรู้ มากกว่าเรียงความท่วั ไป
3.7.3. เป็นความเรยี งร้อยแก้ว ใชภ้ าษาเขียนถกู ต้องตามหลักวิชาการ
3.7.4. มหี ลักฐาน ข้อเทจ็ จริงอา้ งอิงประกอบ

154
3.7.5. ไมต่ ้องใชส้ านวนโวหารให้ไพเราะเพราะไมใ่ ช่งานประพันธ์
3.7.6. มคี วามกระชบั รดั กมุ กะทัดรัด ชดั เจน ตามท่นี ยิ มกันตามปกติ
3.7.7. ไม่ใชค้ าทอ่ี าจมีความหมายได้หลายประการ
3.7.8. หลกี เลี่ยง การใช้ภาษาพูด ภาษาแสลง หรอื ภาษาตลาด
3.7.9. หลกี เลยี่ งการใชภ้ าษาทอ้ งถน่ิ
3.7.10. เลือกใชภ้ าษาสามัญท่ีเขา้ ใจง่าย
3.7.11. ตัวสะกดการันตถ์ ูกตอ้ งตามพจนานกุ รมฉบับราชบัณฑติ ยสถาน
3.7.12. การใชค้ าศพั ท์ เช่น การใช้คาสุภาพ คาราชาศัพท์ คาท่ีใช้กับภิกษุ ล้วนต้องเลือกใช้ให้
ถกู ตอ้ ง ตามหลักการใช้ภาษา และความนิยมในปจั จุบนั
ตัวอยา่ งการใช้คาศัพท์เชน่
- สไลด์ เปล่ียนเปน็ ภาพเล่อื น ใหถ้ กู ต้องตามศพั ท์บญั ญตั ิ
- ตรรกวิทยา (Logic) มีวงเล็บภาษาองั กฤษตอ่ ท้าย
- รอ้ ยละ ไม่ตอ้ งวงเล็บ (Percent) เพราะใชก้ นั แพร่หลายแล้ว
- ไม่ควรใช้ ศธ. หรอื เขียนยอ่ ว่า กระทรวงศึกษา ฯ แทน “กระทรวงศกึ ษาธกิ าร”
- ไมค่ วรใช้ ร.ร. แทน โรงเรยี น ยกเวน้ กรณที นี่ ิยมใช้แบบยอ่ กันแพรห่ ลายแล้ว เช่น พ.ศ.
- การใชค้ า กับ แด่ แต่ ต่อ ใหถ้ กู ต้อง
ตวั อย่างเชน่
- กับ ใชก้ บั ส่งิ ของหรอื คนทีท่ ากริยาเดียวกนั เช่น ครูกบั นักเรียนอา่ นเอกสาร เดก็ เล่นกบั ผู้ใหญ่
- แด่ ต่อ ใช้กบั กรยิ า ให้ รบั บอก ถวาย ต่อบคุ คลท่สี มควร เชน่ กลา่ วรายงานต่อประธานถวายของแด่
พระสงฆ์
- แก่ ใชเ้ ชน่ เดียวกบั แด่ ตอ่ แตใ่ ชก้ บั บคุ คลทว่ั ไป เชน่ พระราชทานแก่ ให้แก่ บอกแกแ่ จ้งแก่
- เขียนเน้ือหาให้แจ่มแจ้งชัดเจน มีการเน้น เน้ือหาที่สาคัญ โดยใช้ คา วลี และข้อความที่สาคัญ
ข้ึนตน้ ประโยค หรือจบประโยค กล่าวซ้า เพื่อใหค้ วามสาคญั กับคาทก่ี ลา่ วซา้ เปรียบเทยี บ
- เพ่ือให้ข้อความชัดเจน และให้รายละเอียดเป็นตัวอย่าง รูปภาพประกอบ ทาให้ชัดเจน เข้าใจง่าย
และถ้าตอ้ งการใหม้ ีผลในทางปฏิบัติ จะต้องใช้ ตัวอย่าง ข้อความ สนับสนุนหลักการแนวคิดท่ีเสนอ ให้ชัดเจน
อยา่ งมีศิลปะในการเขยี น
- มีเอกภาพ ในการเสนอเนอ้ื หาทุกส่วนของรายงาน เพอื่ ตอบสนองวัตถุประสงค์ของการเขียน
- มีสัมพนั ธภาพ ในการจัดลาดบั เนอ้ื หา คือเขียนให้สมั พันธ์กนั เชน่ ตามลาดับเวลา ตามลาดับเหตุและ
ผล จัดลาดับ ระหว่าง หัวข้อใหญ่ หัวข้อย่อย ระหว่างย่อหน้า เรียงตามความสาคัญ หัวข้อท่ีสาคัญเท่ากัน
หรอื ระดบั เดียวกัน เขียนให้ย่อหน้าเทา่ กนั ตรงกัน ยอ่ หน้าหนึง่ ควรมีใจความสาคญั เดยี ว
- รายงานทางวิชาการ เนน้ ความจรงิ ความถกู ตอ้ ง ไมค่ วรเขยี นเกนิ ความจรงิ ทป่ี รากฏ
- รายงานตามข้อมูลท่ีพบ ไม่ควรเขียนคาคุณศัพท์ เช่น ดีมาก ดีที่สุด เหมาะสม ดี โดยไม่มีข้อมูล
หลกั เกณฑ์ชัดเจน แสดงถึงการวินจิ ฉัย ประเมินค่าเกินจรงิ

155
- คุณสมบตั ขิ องผู้เขียนรายงาน ทีจ่ ะช่วยใหร้ ายงานมีคณุ คา่ ได้แกค่ วามรู้ทั่วไปในเร่ืองท่ีเขียน จะทาให้
เตรียมการอยา่ งรอบคอบ เขียนไดค้ รอบคลุม ตอ่ เน่อื ง ชัดเจน มีความสามารถในการวิเคราะห์ ให้คุณค่าข้อมูล
อย่างแม่นตรงมีวิจารณญาณในการเลือกเสนอส่ิงที่สาคัญ สามารถใช้เทคนิคผสมผสานความรู้ ประสบการณ์
ออกมาเปน็ ความคิด แลว้ ถา่ ยทอด ออกมาเป็นภาษาเขยี น

ภาพที่ 3.124 ผังแสดงตวั สว่ นประกอบของรายงานวชิ าการแบบสมบรู ณ์
2.1.2) การเขยี นรายงานแบบวิชาการ ประกอบด้วย
1. ปกนอก
2. ปกใน
3. คานา
4. สารบญั
5. วิธดี าเนินการเรยี นรู้
6. ผลการเรยี นรู้
7. สรปุ
8. บรรณานกุ รม / เอกสารอา้ งอิง

156
2.2) วธิ ีการเขียนรายงานแบบบรู ณาการ

2.2.1) การเขียนรายงานแบบบูรณาการกลุม่ สาระ
1. เรยี นรรู้ ปู แบบการเขยี นรายงานแบบบรู ณาการ
2. เขียนรายงานแบบบรู ณาการ
3. ตรวจสอบ แก้ไข และให้ขอ้ เสนอแนะการเขยี นรายงานแบบบรู ณาการ

2.2.2) การเขยี นรายงานแบบบูรณาการแหง่ ชีวิต
การเรียนรู้แบบบูรณาการเป็นการนาเอาวิชาต่างๆ มาผสมผสานเข้าด้วยกัน สาหรับการเขียนรายงาน
แบบบูรณาการได้จากการเรียนรู้สัมผัสปัจจัยชีวภาพ พร้อมให้อารมณ์ความรู้สึกท้ังก่อน ขณะ และหลัง
การศึกษา เพือ่ ให้รูต้ วั เองทุกเวลาแล้วจะส่งผลดีต่อตน
1. แรงบันดาลใจ เป็นเหตุท่ีเกิดมีขึ้นด้วยแรงอานาจของส่ิงใดสิ่งหนึ่ง ท่ีจุดประกายความคิดให้ริเร่ิมที่
นาไปสู่การเรียนรู้
2. จนิ ตนาการ เปน็ การสรา้ งภาพในจติ ใจกอ่ นท่ีจะสร้างสรรค์ออกมาเปน็ ผลงาน ซึ่งการจินตนาการน้ีใช้
พน้ื ฐานจากการได้สมั ผสั โดยใช้หู ตา จมูก ลิน้ ผวิ กาย และจติ ใจ รบั ร้พู ืชพรรณธรรมชาติ
3. ปจั จยั และเปาู หมายการเรียนรู้
4. วธิ กี ารท่ใี ชใ้ นการเรียนรู้ (เหต)ุ เปน็ วิธกี ารท่คี ิดขน้ึ เองหรือนาวิธกี ารของผอู้ ่นื มาประยกุ ต์ใช้
5. จิต อารมณ์ พฤติกรรมของตน (ก่อนศึกษา ขณะศึกษา และหลังศึกษา) ในการบันทึกจิต อารมณ์
พฤติกรรมของตน เพอื่ ใหร้ ้ตู วั ทกุ เวลาแล้วจะสง่ ผลดตี อ่ ตน
6. ผลการเรียนรู้ เป็นผลทส่ี รปุ จากการเรยี นร้ใู นทุกข้นั ตอน
7. งานท่เี น่ืองตอ่ เป็นการเรยี นรทู้ ม่ี ีความสัมพนั ธ์ และเกย่ี วขอ้ งกับองคค์ วามรู้เดิม

ลาดับการเรียนรทู้ ี่ 5 กาหนดรูปแบบการเขยี นรายงาน
วตั ถุประสงค์

1) เพ่ือรู้วิธกี ารกาหนดรปู แบบการเขียนรายงานท่เี หมาะสม
กระบวนการเรียนรู้

1) เรยี นรู้วิธกี ารกาหนดรูปแบบการเขยี นรายงานที่เหมาะสม
1.1) เลอื กรปู แบบการเขียนรายงานใหเ้ หมาะสม
1.2) นาขอ้ มลู ทีส่ รุปและเรยี บเรียงแลว้ มาเขียนรายงานตามรปู แบบที่กาหนด
1.3) จัดทาขอ้ มูลเพม่ิ เติมใหค้ รบตามรูปแบบรายงาน

เปน็ การพจิ ารณาเน้ือหา / ปริมาณ ข้อมูลท่ีได้จากการคัดแยกสาระให้เป็นหมวดหมู่จนสรุปได้เป็นองค์
ความรู้ และนาขอ้ มูลมากาหนดรปู แบบเขียนรายงานท่ีเหมาะสมและถูกต้อง โดยรูปแบบรายงานควรมีจุดเด่น
อา่ นเข้าใจงา่ ย และดงึ ดดู ความสนใจของอ่าน

157
ลาดับการเรยี นรทู้ ่ี 6 เรยี นรูว้ ิธีการรายงานผล
วตั ถปุ ระสงค์

1) เพอ่ื รู้รูปแบบและวธิ ีการรายงานผล
กระบวนการเรยี นรู้

1) เรียนรู้รูปแบบการรายงานผล
1.1) รูปแบบการรายงานแบบเอกสาร เชน่ หนังสือ แผ่นพบั ซดี ี
1.2) รปู แบบการรายงานแบบบรรยาย เช่น เชน่ การสนทนา เสวนา สัมมนา อภิปราย การเล่านิทาน
1.3) รูปแบบการรายงานแบบศิลปะ เช่น การแสดงศิลปะพ้ืนบ้าน ละคร ร้องเพลง ภาพวาดทาง

พฤกษศาสตร์ การถา่ ยภาพทางพฤกษศาสตร์
1.4) รูปแบบการรายงานแบบนิทรรศการ เช่น นิทรรศการ นิทรรศการประกอบการบรรยายสรุป

นทิ รรศการเฉพาะเรอ่ื ง เฉพาะประเภท และเว็บไซต์
2) เรียนรู้วิธีการรายงานผล
2.1) วิธกี ารรายงานแบบเอกสาร ใหแ้ สดงขัน้ ตอนวิธกี ารในแตล่ ะรปู แบบ เช่น หนงั สอื แผน่ พบั ซดี ี

ภาพท่ี 3.125 แสดงขนั้ ตอนการรายงานผล ดว้ ยวธิ ีการทาหนังสอื เลม่ เลก็

158

ภาพที่ 3.126 ข้ันตอนการใส่ขอ้ มลู ทีไ่ ด้จากการรวบรวมและคดั แยกสาระให้เป็นหมวดหมู่ การรายงานผลด้วย
วิธีการทาแผ่นพับ

2.2) วิธีการรายงานแบบบรรยาย ให้แสดงขั้นตอนวิธีการในแต่ละรูปแบบ เช่น การสนทนา เสวนา
สมั มนา อภปิ ราย การเล่านิทาน
การสนทนา คือ ส่วนหนึ่งของการพูด การสนทนามักมีลักษณะ เป็นการแลกเปลี่ยนระหว่างผู้พูดกับผู้ฟัง
การสนทนาอาจเป็นระหว่างคนสองคนหรือเป็นกลุ่มใหญ่กว่าน้ัน นักศึกษาพึ่งเรียนรู้มารยาทเกี่ยวกับการพูด
และการสนทนาในหวั ข้อท่ีจะไดก้ ล่าวต่อไปนี้

เนอื้ หา
1. ความหมายและความสาคญั ของการพูด
2. ประเภทของการพูด
3. ลกั ษณะการพดู ท่ดี ี
4. มารยาทในการพดู
5. การใชน้ ้าเสียงในการพูด
6. การใชภ้ าษาในการพดู
7. ความหมายและหลกั การสนทนา
8. หลกั การแนะนาตวั
9. ลกั ษณะของคู่สนทนาท่ีดี
10.มารยาทในการสนทนา
11.การสนทนาในทีป่ ระชุม

159
12.การพูดโทรศพั ท์
13.สรุป
การพูดคือ การถา่ ยทอดความรู้ ความคิด ตลอดจนความรสู้ ึกของผไู้ ปยงั ผู้ฟังคาพูดจึงมคี วามสาคญั

2.2.1) ลกั ษณะการพูดท่ีดี
1. ต้องมีคาจรงิ ใจและสุจรติ ใจในการพูด ซึ่งตรงกันข้ามกับการพูดที่โกหก ตลบแตลง เสียดสีการพูดท่ีดี
มี ลกั ษณะคอื คนพูดมีความซอ่ื สัตย์ต่อตนเองและไม่พูดในส่ิงท่ีขัดต่อความรสู้ ึกและความคิดเห็นของตนเอง
2. การพูดท่ีดีคือมีเน้อื หาสาระที่เปน็ ประโยชน์ ทาให้คมุ้ คา่ ท้ังแรงงานและเวลาทีเ่ สยี ไป
3. ผูฟ้ งั เกิดความพึงพอใจ โดยใช้ถ้อยคาสุขภาพ วาจาไพเราะให้เกียรติคนฟัง ไม่เหยียดหยามผู้อื่น ไม่
สบถสาบาน ไม่ประจบสอพลอ ไมส่ รรเสริญเยนิ ยอเกินความเป็นจริง
มารยาทในการพดู
1. คดิ ใหร้ อบคอบก่อนพูด คือพิจารณาถ้อยคาความเหมาะสมกบั ผ้ฟู งั สมควรหรือไม่
2. อารมณ์ ควรใชใ้ ห้ถกู กาลเทศะ ไม่ควรพดู เรอ่ื งงานร่ืนเริงกบั ผูท้ กี่ าลงั เจบ็ ปุวยหรือสูญผูเ้ ปน็ ทรี่ กั
3. ไม่ควรพดู กระทบหรอื เสียดสีผ้ฟู ัง แมว้ า่ อาจเป็นเพยี งเจตนา เพื่อหยอกลอ้ กต็ าม
4. ควรมีความตั้งใจพดู
5. ควรเตรยี มเนอื้ หาใหพ้ รอ้ ม
6. ต้องรับฟังความคดิ เหน็ ของผอู้ ืน่ ด้วย
7. ขณะพูดไมย่ กตนขม่ ทา่ น
8. ควรพดู ให้เหมาะกบั เวลา
9. พยายามแสดงออกดว้ ยบุคลิกภาพทด่ี ี
10.ควรรู้จักการกลา่ วขึ้นตน้ และการลงทา้ ย เช่น ขอบคณุ หรอื ขณะพูดมเี สียงปรบมอื
11.ไม่ผูกขาดการพดู เพยี งผูเ้ ดียว การพูดต้องเปิดโอกาสให้ผ้อู ่ืนพูดดว้ ย
การใช้นา้ เสียงในการพดู
1. ต้องมเี สยี งดงั พอสมควร
2. ทว่ งทานองของเสยี งตอ้ งมีระดับทแี่ ตกตา่ งกัน
3. ต้องเปน็ เสยี งแท้ของผ้พู ูดท่เี ปน็ ธรรมชาติ
4. เสียงทพ่ี ดู ตอ้ งเหมาะสมกบั โอกาส ปรมิ าณ อารมณแ์ ละองค์ประกอบผฟู้ ัง ตลอดจน
5. เสยี งจะต้องออกได้ถกู ตอ้ ง ชัดเจน
การใชภ้ าษาในการพูด
1. เลือกใช้คาง่าย ๆ เข้าใจได้แจ่มแจ้งชัดเจน ประโยคไม่ควรยาวนัก เพราะการใช้ประโยคยืดยาว
และวกวนทาใหผ้ ูฟ้ ังงนุ งง ตามไมท่ นั และอาจผดิ พลาดจดุ สาคญั ของเรอื่ ง
2. การใชส้ านวนโวหาร ไม่ควรใช้สานวนมากเกินไป หรือล้าสมัยนานโบราณมากไป หรือสานวนท่ีเป็น
ภาษาพูดแต่ไมค่ วร เขียน จึงควรใชส้ านวนโวหารน้ันให้ถ่องแท้เสียก่อนเพราะถ้าใช้ผิดพลาดจะทาให้เกิดความ
เสยี หายกับผู้พดู และงานนน้ั ได้
3. เลอื กระดับคาพูดให้เหมาะสมกบั ผ้ฟู งั และโอกาส

160
4. ไมใ่ ช้ถ้อยคาทไ่ี ม่สุภาพ ข้อนเ้ี ป็นข้อท่พี งึ ระวังมากที่สุด คือ คาแสลง คากากวม คาเกินจริง คาหยาบ
คายคาลอ้ เลยี นต่าง ๆ แม้บางคร้งั จะชว่ ยให้บรรยากาศในการพดู ครึกครืน้ หรือเป็นกันเองมากข้ึน แต่ก็พึงระวัง
ต้องเลอื กใชใ้ หด้ ี

4.1. เน้ือหาสาระในการพูด ต้องมีลักษณะ น่าสนใจ มีประโยชน์ มีคุณค่าควรแก่การฟัง
มคี วามสาคัญถึงร้อยละ 50

4.2. บุคลิกภาพทั่วไป ได้แก่ รูปร่างหน้าตา การแต่งกาย การปรากฏกาย การใช้ท่าทาง การใช้มือ
การใช้สายตา มคี วามสาคญั รอ้ ยละ 10

4.3. ศิลปะการแสดงออก หรือศิลปะการถ่ายทอด หมายถึงการเรียงลาดับเน้ือหา การยกตัวอย่าง
การอปุ มาอปุ มยั การแทรกอารมณ์ขนั การเนน้ เสียง การเน้นจังหวะจะโคนในการพูด ตลอดจนการสร้างความ
เป็นกันเองกับผู้ฟัง

หวั ใจของการพูด มี 3 อย่าง คอื
1. บคุ ลิกภาพ หมายถึง การแต่งกาย กรยิ าอาการตา่ ง ๆ ซ่ึงจะมีสว่ นช่วยให้การพดู นา่ ดู น่าฟงั นา่ นับถือ
น่าเชอื่ ถือ
2. เนือ้ เรอื่ ง ต้องมกี ารเตรียมมาเป็นอย่างดี ต้องพดู ในเร่อื งท่ีรู้ “ส่ิงใดไมร่ ู้ ทาใหร้ ูก้ ่อนแล้วจงึ พูด”
3. กลวิธกี ารเสนอเร่ือง เปน็ การใชศ้ ิลปะของการพดู พูดอย่างไรจึงจะทาให้เรื่องยากกลายเป็นเรื่องง่าย
คนฟังไมเ่ บ่ือ ไดค้ วามรตู้ รงตามท่ีผพู้ ูดตอ้ งการในเวลาอันรวดเรว็ แต่ละคนจะมกี ลวธิ ใี นการเสนอเร่อื งที่แตกต่าง
กันไป
ในการพดู แตล่ ะครง้ั “ผู้พูด” มคี วามสาคญั เปน็ อนั ดบั หน่ึง เพราะเปน็ ผู้กาหัวใจผู้ฟังไว้ในมือ ถ้าพูดด้วยอารมณ์
สนกุ สนาน ผ้ฟู ังจะสนุกสนานตาม พูดด้วยอารมณ์เศร้าสรอ้ ย ผฟู้ ังจะพลอยหดหู่เศร้าซึมตามไปด้วย ถ้าพูดด้วย
ความเรา่ รอ้ น เร่งระดม ผ้ฟู งั จะพลอยเร่าร้อน ขงึ ขังตามไปด้วย อย่างไรก็ตามถึงแม้จะพูดดี แต่เน้ือหาสาระไม่
นา่ สนใจ ไมเ่ หมาะกบั บรรยากาศและสภาพแวดล้อม แมผ้ ูพ้ ูดจะพูดดแี ละผู้ฟงั จะต้ังใจและให้ความร่วมมืออย่าง
ดี การพดู น้ันอาจลม้ เหลวได้
การเตรียมตัวพดู
1. กาหนดจดุ ม่งุ หมายในการพูด
2. วิเคราะหผ์ ู้ฟงั
3. กาหนดขอบเขตของเรอื่ งท่ีจะพดู
4. รวบรวมเน้ือหาท่ีจะพูด
5. ทาเคา้ โครงลาดับเรื่องท่ีจะพูด
6. เตรียมวธิ กี ารใชภ้ าษา
7. ซกั ซอ้ มการพูด
ในการพดู แต่ละครง้ั ตอ้ งวเิ คราะหส์ ิง่ ต่อไปน้ี

161
7.1. วเิ คราะหผ์ ้ฟู ัง ผู้ฟังจะแตกตา่ งกันในเร่ือง วัย เพศ ระดบั การศึกษา ศาสนาและ ความเชื่อ ฐานะ
และอาชีพ ความสนใจ
7.2. วเิ คราะหโ์ อกาสทพ่ี ดู เวลาที่กาหนดให้พดู
7.3. วเิ คราะห์ เทศะ คือ สถานท่ี เชน่ สถานท่เี ล็ก ๆ แคบ ๆ ใกล้ถนน ฯลฯ
หลักในการเลือกเร่อื งท่ีจะพูด
1. คานงึ ถึงจดุ ประสงคใ์ นการพูดแต่ละครงั้
2. คานงึ ถึงกาลเทศะ พูดในโอกาสใด ในฐานะอะไร
3. คานงึ ถงึ ผฟู้ งั พดู ใหใ้ ครฟัง ความแตกต่างของผู้ฟงั ในเร่อื ง วัย สถานภาพทางสังคม อายุ
4. คานงึ ถงึ เรื่องท่ีพูด ว่าตอ้ งพูดเรอ่ื งที่ตนถนัด แตเ่ ปน็ ประโยชน์ตอ่ ผ้ฟู ัง และผู้ฟังสนใจ
การเตรียมเน้ือเรอ่ื ง
เรือ่ งทเ่ี ราจะพูดไดด้ ีคือ “เรื่องท่เี รารดู้ ”ี ในการเตรียมเน้ือเรื่องต้องคานึงถึงว่า อะไรที่รู้แล้วบ้าง อะไรที่
ยังไม่รู้ ให้ทาโดยการแสวงหาความรู้เพ่ิมเติม เช่น โดยการ อ่าน ฟังข่าว สัมภาษณ์ สนทนา ทัศนศึกษา การ
เรยี งลาดับเน้ือเร่ืองต้องเตรยี มดงั นี้
1. ทักทายผู้ฟงั
2. พูดความนา
3. เนอื้ เร่ือง
4. สรุปจบ

2.2.2) การสนทนา มีขนั้ ตอนดงั น้ี เร่มิ สนทนา แนะนาตวั และจบสนทนา
การสนทนา คือ การแลกเปล่ียนความคิดเห็นในสิ่งที่มีความสนใจร่วมกัน ความคิดเห็นนั้นอาจจะเห็น
พอ้ งตอ้ งกนั คลอ้ ยตามกันหรืออาจขัดแย้งกนั ก็ได้ การสนทนาอาจเปน็ คน 2 คนหรืออาจมจี านวนเป็นกลุ่ม ย่ิงมี
จานวนคนมากขึ้นย่อมมีเรื่องราวต่าง ๆ มากข้ึนด้วย เพราะแต่ละคนย่อมมีความรู้กนึกคิดส่ว นตัวของตน
โดยเฉพาะถ้าเป็นการสนทนาอย่างไมเ่ ป็นทางการในระหวา่ งเพื่อนฝงู
หลกั สาคญั ในการสนทนา ทีพ่ งึ ระลกึ และปฏิบตั กิ ็คือ การสนทนาต้องสรา้ งมติ รภาพและเพ่ือประโยชน์ใน
การแสดงและรบั ฟงั ความคิดเหน็ ซงึ่ กนั และกันมใิ ชเ่ พ่อื เอาชนะหรือเพ่อื แสดงความเด่นเหนือผอู้ ื่น

2.2.3) การอภิปราย เป็นแบบการพูดซึ่งมีลักษณะคล้ายการสนทนา แต่การอภิปรายแตกต่าง
กับการสนทนาในลักษณะสาคัญ คือ การอภิปรายมีความมุ่งหมายที่กาหนดไว้ล่วงหน้าแน่นอน
เช่น การตดั สนิ ใจหรอื การแกป้ ัญหาในเรอื่ งใดเรือ่ งหน่ึง ส่วนการสนทนาโดยทัว่ ไปไม่ได้กาหนดเรื่องที่จะสนทนา
ไว้ก่อน และอาจเปลย่ี นเร่อื งไปได้ตา่ งๆ สดุ แตเ่ หตุการณ์

การอภิปรายประกอบดว้ ย
1. ผพู้ ูด
2. ผู้ฟงั
3. หัวขอ้ เรอื่ ง
4. สถานท่ี

162
แบบของการอภปิ ราย
การอภิปรายมหี ลายแบบ แบบทนี่ ิยมกันทวั่ ไป คือการอภิปรายแบบธรรมดา และการอภิปรายเปน็ คณะ
1. การอภิปรายแบบธรรมดา เป็นการร่วมประชุมของกลุ่มบุคคลซึ่งไม่มากนัก โดยมีผู้หน่ึงทาหน้าท่ี
ดาเนินการอภปิ ราย เพื่อปรึกษาหารอื หรอื แสดงความคิดเหน็ เกี่ยวกบั เรื่องใดเร่ืองหน่ึง โดยผู้เข้าร่วมประชุมคน
ใดจะอภิปรายก่อนหรือหลังก็ได้ มักใช้กับเร่ืองทางวิชาการในช้ันเรียน การประชุมสัมนาหรือการประชุมของ
สโมสร สมาคมและหนว่ ยงานต่าง ๆ
2. การอภิปรายเป็นคณะ เปน็ การประชมุ ใหค้ วามรูห้ รือแลกเปล่ยี นความคดิ เหน็ ในคณะผู้อภิปรายซ่ึงจัด
ข้ึนโดยเฉพาะประมาณ 5 คน และมีผู้หน่ึงทาหน้าที่ดาเนินการอภิปราย ผู้เข้าร่วมประชุมนอกน้ันเป็นผู้ฟัง
ผู้อภิปรายแตล่ ะคนไดร้ ับมอบหมายใหพ้ ดู ในเวลาต่าง ๆ กนั เปน็ การพูดและซักถามระหวา่ งคณะผู้อภิปรายเพื่อ
ผู้ฟังต่อหน้าผู้ฟัง แต่ไม่ได้พูดกับผู้ฟังโดยตรง แต่ก็ยังเปิดโอกาสให้ผู้ฟังซักถามผู้อภิปรายคนใดคนหนึ่งได้ใน
ตอนท้าย
ความม่งุ หมายของการอภิปราย
1. เพื่อเสนอปญั หาหรอื เรือ่ งบางอยา่ ง
2. ใหค้ นกลุ่มหน่งึ มาร่วมแสดงความคดิ เหน็ แลกเปล่ียนทรรศนะอยา่ งมีหลกั เกณฑแ์ ละมีเหตผุ ล
3. ผู้ร่วมอภิปรายเสนอข้อเท็จจริง ข้อเสนอแนะ และแสวงหาข้อแก้ไขท่ีดีที่สุด อาจมีความเห็น
สอดคลอ้ งกันหรอื โตแ้ ย้งกันกไ็ ด้
4. หาข้อยุติของปัญหาหรือเร่ืองดงั กล่าว
5. ใหข้ อ้ คดิ และเสนอแนะแนวทางในการแก้ปญั หาต่อไป
ประเภทของการอภิปราย
1. การอภิปรายกลุ่ม หมายถึง การอภิปรายท่ีบุคคลมาร่วมปรึกษาหารือกัน อาจมีจานวน 5 - 10 คน
หรอื มากกวา่ นีก้ ไ็ ด้ ทกุ คนมีส่วนในการพูด ผลัดกนั พูด ผลดั กนั ฟงั การอภปิ รายแบบนี้จะไม่มีผู้ฟัง เพราะทุกคน
เป็นทง้ั ผู้พูดและผู้ฟังน่ันเอง
2. การอภิปรายในที่ประชมุ หมายถึง การอภิปรายที่กาหนดวัตถุประสงค์ไว้แน่นอนว่าทุกคนจะมาร่วม
ประชุมเพ่ือแสดงความคิดเหน็ สาหรับหัวขอ้ ยุติในเรือ่ งใดเรื่องหนงึ่ การอภปิ รายแบบนม้ี ีประธานในการอภิปราย
ทาหน้าท่ีควบคุมการดาเนินการอภิปรายให้เป็นไปตามระเบียบวาระ และหลังจากท่ีสมาชิกมาร่วมประชุม
อภิปรายกนั เสร็จสน้ิ จนไดข้ อ้ ยุติ กอ่ นเสนอข้อยตุ ิน้ันสมาชิกจะต้องลงคะแนนเสียงกันก่อนเพ่ือให้แน่ใจว่าเป็น
มติของที่ประชุมจริง บางคร้ังอาจมีการคัดเลือกผูท้ ่มี ีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องนั้น ๆ ประมาณ 3 - 5 คน ร่วม
อภิปรายเป็นคณะ ส่วนคนทเี่ หลือก็เป็นผฟู้ งั และหลงั จากได้อภิปรายแล้วจะเปิดโอกาสให้ผู้ฟังซักถามข้อสงสัย
เมื่อทกุ คนเขา้ ใจกระจ่างดีแลว้ จึงสรุปข้อยุติท่ที กุ คนเหน็ พ้องตอ้ งกัน ถือเป็นมติของท่ีประชุม จากนั้นประธานก็
กล่าวปดิ อภปิ รายได้

163
หนา้ ท่ขี องผู้ดาเนนิ การอภปิ ราย
การอภิปรายจะประสบผลสาเร็จมากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับผู้ดาเนินการอภิปราย ซ่ึงหน้าที่ของ
ผู้ดาเนนิ การอภปิ ราย ไดแ้ ก่
1. กล่าวแนะนาผู้รว่ มอภิปรายให้ผู้ฟงั รู้จกั อยา่ งยอ่ ๆ
2. กลา่ วชอ่ื เร่อื งทจี่ ะอภิปรายและกาหนดเวลาการอภปิ ราย
3. เชญิ ผูอ้ ภิปรายพูดใหท้ ่ัวถงึ กัน คอยรักษาเวลาการพูดให้อยใู่ นกาหนด
4. เข้าใจเรื่องที่จะอภปิ รายอยา่ งดี ประชมุ ปรึกษาหารอื วางแผนการพูดไวล้ ่วงหนา้
5. ช่วยสรุปการพูดอภปิ รายของแต่ละคนและเช่อื มโยงไปยงั ผ้อู ภปิ รายแตล่ ะคน
6. คอยเพ่มิ เตมิ หรอื สรุปเร่ืองอภิปรายใหผ้ ู้ฟังเข้าใจดีย่งิ ขน้ึ
7. คอยแจกคาถามของผฟู้ งั ให้ผอู้ ภปิ ราย
ขอ้ ควรปฏบิ ัติของผูด้ าเนินการอภปิ ราย
การอภิปรายจะไดผ้ ลเพยี งใดขึ้นอยู่กบั ความสามารถของผดู้ าเนินการอภปิ ราย ผูด้ าเนินการอภิปรายควร
ถือหลักปฏิบตั ดิ งั น้ี
1. ตดิ ตามคาพดู ของผู้อภิปรายแต่ละคนอยา่ งใกล้ชิด โดยบนั ทกึ สาระสาคัญไว้
2. กล่าวซา้ หรืออภิปรายประเดน็ ทีผ่ ู้อภปิ รายไว้ไมช่ ดั เจน
3. พยายามให้การอภิปรายดาเนินไปโดยราบรื่น ถ้าหากการอภิปรายมีทีท่าจะชะงักลงต้องกระตุ้นให้
ดาเนนิ ตอ่ ไป
4. พยายามให้โอกาสแกท่ ุกคนไดม้ ีสว่ นร่วมในการอภิปราย
5. ควบคุมการอภิปรายให้อยู่ในประเดน็ ท่ีกาหนด โดยเตอื นผู้ทีอ่ ภิปรายนอกประเด็นอย่างสภุ าพ
6. กลา่ วสรปุ การอภิปราย
หน้าทีข่ องผ้อู ภปิ ราย
1. เข้าใจเนื้อเรื่องท่ีจะพดู เปน็ อย่างดี เตรยี มตัวมาอยา่ งดี เตรียมความรู้และความคิดเห็นตามหัวข้อเร่ือง
ให้ละเอียดและทาความเขา้ ใจใหช้ ดั เจน
2. เตรยี มอุปกรณห์ รอื สอ่ื ตา่ ง ๆ ที่จะใชป้ ระกอบการพูดใหพ้ ร้อม
3. ประชมุ ปรกึ ษาหารือกบั คณะผ้อู ภปิ ราย แบ่งหัวขอ้ ตามความถนัดของตน
4. อภปิ รายในประเด็น ปัญหา หรอื เรอ่ื งทผี่ ู้ดาเนินการอภิปรายกาหนดให้ โดยอภิปราย อยู่ในประเด็น
ปญั หา หรือเร่อื งอย่างละเอียดชัดเจน ไม่นอกเรือ่ ง
5. รักษาเวลาในการพูดให้เคร่งครดั เสมอและตรงต่อการนัดหมาย
6. ใชภ้ าษาพดู ท่กี ะทัดรดั ชัดเจน
7. รกั ษามรรยาทท่ดี ีในการพดู เช่น กิริยาท่าทาง สีหน้า และการควบคมุ อารมณ์
8. ผู้อภปิ รายควรเปดิ โอกาสใหผ้ ู้อนื่ พูดบา้ ง ไม่พูดมากเสียคนเดยี ว
9. เพ่ิมเตมิ เน้อื เรือ่ งบางตอนหากเหน็ วา่ ผ้อู ภิปรายยังพดู ไม่สมบูรณ์
10.คารวะผฟู้ งั เม่ือผ้ดู าเนินการอภิปรายแนะนาตวั ให้ผ้ฟู งั รู้จกั

164
ขอ้ ควรปฏบิ ัติของผู้ร่วมอภปิ ราย ควรปฏบิ ตั ิดงั น้ี
1. เตรยี มตัวที่จะพูดตามหัวขอ้ อภิปรายไวล้ ว่ งหน้า โดยศึกษาหาขอ้ มูลและเตรยี มข้อคิดเห็นในเรื่องท่ีจะ
อภิปรายไว้ให้เพยี งพอ
2. พยายามพดู ใหอ้ ยภู่ ายในหวั ข้อของการอภปิ ราย
3. พยายามฟงั และติดตามคาอภปิ รายของผู้ร่วมอภปิ ราย
4. พยายามพูดใหร้ วบรัดแตไ่ ด้ใจความสมบรู ณ์
5. ตอ้ งไม่ขดั จงั หวะหรือท้วงติงผู้ท่ีกาลังอภิปราย
6. ถึงแมจ้ ะมคี วามเห็นแยง้ กับผู้อน่ื กย็ ินดีรับฟงั และยอมรับสทิ ธิในการแสดงความคดิ เหน็ ของผูอ้ ่ืน
7. แสดงความสนใจในการอภิปราย
8. พูดให้ผ้ฟู ังได้ยินทวั่ ถึง
ปญั หาหรอื หวั ขอ้ เรือ่ งทีจ่ ะนามาอภปิ ราย
1. ไม่ควรเน้นปัญหาท่ีกวา้ งเกินไปจนสรปุ ผลไม่ได้ หรือตอ้ งใช้เวลายาวนาน
2. ควรเปน็ ปัญหาทมี่ ีสาระและเป็นประโยชน์แก่สว่ นรวม
3. ควรเป็นปญั หาท่คี นสว่ นใหญไ่ ด้ประสบและเป็นปญั หาท่พี บได้บ่อย ๆ
4. ควรเปน็ ปัญหาที่สังคมส่วนใหญ่เขา้ ใจยากหรอื เขา้ ใจไมถ่ ูกต้อง
หลักเกณฑ์สรปุ การอภปิ ราย
ผู้ดาเนนิ การอภปิ รายทาหนา้ ทีส่ รปุ ในตอนท้ายของการอภปิ ราย ควรปฏบิ ตั ดิ งั น้ี
1. กลา่ วถงึ จดุ ประสงค์ในการอภปิ ราย
2. กลา่ วถงึ ประเด็นสาคัญทมี่ ผี ู้อภปิ ราย
3. กล่าวถึงผลของการอภปิ ราย
4. สรปุ จากข้อเทจ็ จริงและความคดิ เห็นของผู้อภิปรายทุกคน ไม่สรปุ ตามความคิดเห็นของตนเอง
มารยาทการพดู อภปิ ราย
การพูดอภปิ รายเปน็ การส่อื สารท่เี ปน็ การแสดงแนวคิดเห็นแลกเปลี่ยนกัน แสดงข้อมูล ข้อเท็จจริง เพื่อ
แกป้ ัญหา หาแนวทางหรือข้อยุติ เปน็ สง่ิ ท่ใี ช้แทบทุกวงการ ดงั นนั้ จงึ ควรมีมารยาทการพดู ดงั ต่อไปนี้
1. วางแผนในการพูดให้แน่นอน พดู ให้ถกู ต้องชัดเจน เสียงดงั พอควร
2. พดู ด้วยน้าเสียงหนกั แน่น จรงิ จงั น่าเชอ่ื ถอื ไม่พดู เชิงดูหม่นิ ผฟู้ งั
3. ไมต่ อ้ งโอ้อวดตัวเอง ใชท้ ่าทางประกอบการพดู เปน็ ธรรมชาติ ไมม่ ากเกินไป
4. พูดดว้ ยใบหน้ายมิ้ น้อย ๆ นง่ั หรือยืนตวั ตรงสง่าผงึ่ ผายแตไ่ มว่ างท่าหยิง่
5. พดู ถงึ สาเหตุการอภปิ ราย เพือ่ ให้เห็นความจาเป็นที่ต้องมกี ารอภิปรายคร้ังนี้
6. ทาใหผ้ ู้ฟงั เกิดศรัทธาในการพูดอภปิ ราย โดยเล่าเรอ่ื งประสบการณท์ ่ีผ่านมา
7. เมื่อเหน็ ผู้ฟังเครยี ด หรอื เบอ่ื หน่ายในการฟงั อาจใสม่ ขุ ตลกบ้างเลก็ นอ้ ย
8. พดู ใหผ้ ้ฟู ังเกดิ สานกึ ถงึ หนา้ ทีค่ วามรบั ผิดชอบและเกดิ ความคิดรเิ รมิ่ ท่ีดี
9. ใชค้ าพูดเชงิ จงู ใจใหเ้ ห็นประโยชน์ของการพดู อภิปราย เพื่อการยอมรับและเต็มใจปฏิบัติตามเมื่อเกิด
เปน็ ข้อยุติ

165
10.ใชภ้ าษาสภุ าพ แต่งกายสภุ าพ อาจตอบคาถามโดยยกย่องว่าเป็นคาถามท่ีดีก่อนตอบให้ตรงประเด็น
และแสดงความปรารถนาดตี อ่ ผฟู้ ังทกุ คน

2.2.4) การเล่านิทาน (Storytelling) มีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างความสนุกสนานเพลิดเพลินให้แก่
ผู้ฟัง ฝกึ ผู้ฟังให้มีจินตนาการไปตามเรื่องที่ฟัง การสอดแทรกข้อคิด คติธรรม หรือเรื่องราวใด ๆ แฝงเข้าไปใน
เรื่อง จะทาใหผ้ ้ฟู ังซมึ ซับไปโดยไมร่ ตู้ ัว การเล่านทิ านจึงเปน็ กิจกรรมทีเ่ ดก็ ๆ ชืน่ ชอบมาก จงึ เป็นการกระตุ้นเร้า
ใหเ้ ดก็ รักการอา่ น และเป็นการปลูกฝังความรัก ความซาบซึ้งในวรรณกรรมและวรรณคดีต่าง ๆ การเล่านิทาน
บางครั้งจะใช้การเชิดหุ่น ประกอบกับการเล่านิทานด้วย องค์ประกอบสาคัญของนิทานและการเล่านิทาน
ประกอบด้วยโครงเรอ่ื ง ตวั ละคร และแงค่ ิดท่ีไดจ้ ากการเลา่ เรอื่ ง

การเตรยี มตัวกอ่ นเล่านิทาน
ผู้เล่านทิ านเมือ่ เลือกเรอื่ งของนิทานให้เหมาะสมกับกลุ่มผู้ฟังและพอใจกับเน้ือเร่ืองแล้ว ผู้เล่าจะต้องนา
นทิ านที่จะเลา่ มาจัดเตรียมใหพ้ รอ้ มกอ่ นจะดาเนินการเล่าดังน้ี
1. ผ้เู ล่าจะต้องอ่านทบทวนเรอ่ื งราวที่ผู้เล่าเลือกมา ให้เกิดความคุ้นเคย เข้าใจ และรู้จักเรืองท่ีเลือกมา
ไดเ้ ปน็ อย่างดี เพ่ือจะไดเ้ กดิ ความราบรืน่ ตลอดขณะดาเนนิ การเลา่ นทิ าน
2. ข้นั ตอนการเลา่ ผเู้ ล่าจะตอ้ งพิจารณาในการนาเสนอการข้นึ ต้นเรอ่ื ง การเล่าเรื่องต่อเน่ืองจนถึงกลาง
เรอื่ ง และการจบเรอ่ื งใหช้ ดั เจน และน่าสนใจตามลักษณะเฉพาะของผู้เลา่
3. สอื่ วัสดุอปุ กรณ์ที่ใช้ในการเล่า ผู้เล่าจะต้องเตรียม และทดลองใช้ให้เกิดความชานาญ และจัดระบบ
การใช้ตามลาดับก่อนหลัง
4. กจิ กรรมประกอบการเล่านิทาน ผู้เล่าจะต้องเตรียมให้พร้อมและจะต้องเหมาะสมกับกลุ่มผู้ฟัง เช่น
การรอ้ งเพลงซา้ ๆ และง่าย คาพดู ซ้า ๆ และง่าย การร้องขอให้ผู้ฟังมาช่วยร่วมแสดงหรือทากิจกรรมด้วยขณะ
ดาเนินการเล่า
5. สถานท่ีเลา่ ผเู้ ล่าตอ้ งพิจารณาตามความเหมาะสมให้พอดีกับกลุ่มผู้ฟังเพราะ ผู้เล่าจะต้องจัดเตรียม
ส่อื ให้พอเหมาะกับการมองเห็น และการฟังของผู้เลา่
นอกจากน้ีผู้เล่านิทานจาเป็นอย่างยิ่งท่ีจะต้องอ่านนิทานซ้าแล้วซ้าอีก โดยออกเสียงดัง ๆ และจะต้อง
อา่ นจนขน้ึ ใจในเรื่องราว ถ้อยคา และการดาเนินเรื่อง ถ้ากลัวติดขัดขณะทาการเล่า ผู้เล่าจะต้องบันทึกย่อเพ่ือ
กันลืม
วิธีเล่านิทาน แบง่ ได้ 5 วธิ ีได้แก่
1. เลา่ ปากเปล่า
เล่าปากเปล่า ผู้เล่าต้องเตรียมตัวให้พร้อมเสมอ เพราะจุดสนใจของผู้ฟังท่ีกาลังฟังนิทานจะอยู่ที่ผู้เล่า
เทา่ น้นั วิธเี ตรยี มตวั ในการเลา่ นทิ านมีดังน้ี

1.1 เตรียมตัวดา้ นเน้อื หาของนทิ าน
- อา่ นนทิ านท่จี ะเล่าและทาความเขา้ ใจกบั นทิ านเสยี กอ่ น
- จับประเดน็ นทิ านใหไ้ ด้ว่า นิทานท่จี ะเลา่ ใหอ้ ะไรแก่ผฟู้ ังท่ฟี ัง
- แบง่ ข้นั ตอนของนทิ านใหด้ ี
- การนาเสนอขัน้ ตอนของนทิ านในขณะท่เี ล่า ไม่จาเปน็ ต้องเหมอื นกบั ที่อา่ นเสมอไป

166
- เพม่ิ หรือลดตัวละครเพอ่ื ความเหมาะสมในการเล่า
ที่สาคัญผู้เล่าต้องสามารถปรับนิทานให้สอดคล้องกับความสนใจของผู้ฟังได้ด้วย เพราะถ้าเห็นว่าผู้ฟัง
กาลงั สนกุ สนานกเ็ พม่ิ เนือ้ หาเขา้ ไปได้

1.2 น้าเสยี งที่จะเลา่
ผู้เล่าต้องมีน้าเสียงที่น่าฟัง ซึ่งไม่จาเป็นต้องเป็นเสียงที่ไพเราะ และที่สาคัญที่สุดคือการเว้นจังหวะ
การเนน้ เสียงใหด้ นู ่าสนใจ ไม่ควรใหน้ ้าเสียงราบเรียบมากเกินไป เสียงเบา-เสียงหนัก พูดเร็ว-พูดช้า ก็เป็นการ
บ่งบอกอารมณข์ องนิทานไดเ้ ช่นกนั

1.3 บคุ ลิกของผู้เลา่ นทิ านต่อหนา้ ผู้ฟงั จานวนมาก ตอ้ งมบี คุ ลกิ ท่นี า่ สนใจสาหรบั ผู้ฟงั คือ
- ไม่น่งิ จนเกนิ ไป
- ไมห่ ลุกหลิกจนเกินไป
- ต้องมกี ารเคลอ่ื นไหวทเ่ี หมาะสมกับเนือ้ หาของนิทาน
- มีการแสดงทา่ ทางท่ีเหมาะสมกับเนื้อหาของนทิ านอย่างพอเหมาะพอเจาะ
- มที า่ ทผี่ อ่ นคลายและดูเปน็ กนั เองกับผู้ฟังๆ

1.4 เสอื้ ผ้าท่สี วมใส่ ต้องเปน็ เสือ้ ผ้าที่มั่นใจในการเคล่ือนไหว
1.5 บรรยากาศในการฟงั นทิ าน ต้องไม่วุ่นวายจนเกินไป อยู่ในสถานท่ีท่ีสามารถสร้างสมาธิสาหรับ
คนฟังและคนเลา่ ไดเ้ ป็นอยา่ งดี
2. เล่าโดยใช้หนังสือประกอบ
เล่าโดยใช้หนังสือประกอบการเล่า การใช้หนังสือประกอบการเล่านี้ หมายถึงการใช้หนังสือที่มี
ภาพประกอบ ผทู้ ่ีจะใช้หนังสือภาพตอ้ งมกี ารเตรียมตัวดงั นี้
2.1 อ่านนทิ านใหข้ ้ึนใจ เวลาเลา่ จะได้เปดิ หนงั สอื ภาพให้สมั พันธ์กบั เร่อื งท่ีเล่า
2.2 ศึกษาความหมายของสีที่ใช้ประกอบภาพ เพราะหนังสือสาหรับผู้ฟังมักจะใช้สีเป็นสื่ออารมณ์
ของเร่ืองด้วย
2.3 ศึกษาภาพประกอบทเี่ ป็นปกหน้าปกหลงั เพราะบางเรื่องตอนเริ่มเรอื่ งอยู่ท่หี น้าปก และตอนจบ
อยูท่ ีป่ กหลงั กม็ ี
2.4 การถอื หนังสือ ตอ้ งอยใู่ นตาแหนง่ ทผี่ ฟู้ งั สามารถมองเหน็ ภาพประกอบได้อย่างท่ัวถึง ถ้าผู้ฟังน่ัง
เปน็ รูปครง่ึ วงกลม ตอ้ งมกี ารยกภาพให้มองเหน็ ท่ัวท้งั หมด
3. เล่าโดยใชภ้ าพประกอบ
4. เล่าโดยใช้ส่ือใกล้ตวั
5. เล่าโดยใช้ศิลปะเขา้ ชว่ ย
2.3) วธิ กี ารรายงานแบบศิลปะ ให้แสดงขัน้ ตอนวธิ กี ารในแต่ละรปู แบบ เชน่ การแสดงศิลปะพื้นบ้าน
ละคร รอ้ งเพลง ภาพวาดทางพฤกษศาสตร์ การถ่ายภาพทางพฤกษศาสตร์
การแสดงพื้นเมือง เปน็ การแสดงทแี่ สดงออกถงึ การสืบทอดทางศิลปะและวัฒนธรรมของแต่ละท้องถิ่นท่ี
สืบทอดกนั ตอ่ ๆ มาอยา่ งช้านาน ตั้งแต่สมัยโบราณจนถึงปัจจุบัน การแสดงจะออกมาในรูปแบบใดนั้น ข้ึนอยู่
กับสภาพทางภูมศิ าสตร์ สิง่ แวดล้อม อาชีพ และความจาเป็นทางเศรษฐกิจ ตลอดจนอุปนิสัยของประชาชนใน

167
ท้องถ่ิน จึงทาให้การแสดงพื้นเมือง มีลีลาท่าทางที่แตกต่างกันออกไป แต่ก็มีจุดมุ่งหมายอย่างเดียวกัน เพื่อ
ความสนกุ สนานรืน่ เริง และพักผ่อนหย่อนใจ

ดนตรี (อังกฤษ: music) คือ เสียงและโครงสร้างท่ีจัดเรียงอย่างเป็นระเบียบแบบแผน ซึ่งมนุษย์ใช้
ประกอบกจิ กรรมศลิ ปะท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั เสียง โดยดนตรีนั้นแสดงออกมาในด้านระดับเสียง (ซึ่งรวมถึงท่วงทานอง
และเสียงประสาน) จงั หวะ และคณุ ภาพเสยี ง (ความตอ่ เน่อื งของเสยี ง พื้นผิวของเสียง ความดังค่อย) นอกจาก
ดนตรจี ะใชใ้ นด้านศิลปะได้แลว้ ยังสามารถใช้ในด้านสุนทรียศาสตร์ การส่ือสาร ความบันเทิง รวมถึงใช้ในงาน
พิธีการตา่ ง ๆ ได้

2.4) วธิ กี ารรายงานแบบนทิ รรศการ ใหแ้ สดงขัน้ ตอนวธิ ีการ การออกแบบนทิ รรศการ เชน่
นิทรรศการ การจดั บอรด์ โปสเตอร์ นทิ รรศการประกอบการบรรยายสรปุ นทิ รรศการเฉพาะเรือ่ ง เฉพาะ
ประเภท และเวบ็ ไซต์

ลาดับการเรยี นรทู้ ี่ 7 กาหนดวธิ กี ารรายงานผล
วตั ถุประสงค์

1) เพ่อื รู้วธิ ีการ กาหนดวธิ ีการรายงานผล
กระบวนการเรียนรู้

1) เรียนรู้วิธกี าร กาหนดวธิ ีการรายงานผลท่ีเหมาะสม
1.1) เลอื กรปู แบบวิธกี ารรายงานผลให้เหมาะสม
1.2) นาข้อมลู ทสี่ รปุ และเรียบเรยี งแลว้ มาแสดงขั้นตอนวิธกี ารรายงานผลตามรูปแบบทก่ี าหนด
1.3) จดั ทาข้อมูลเพ่มิ เติมใหค้ รบตามรูปแบบวิธีการรายงานผล

ภาพที่ 3.127 กจิ กรรมจดั ทาการรายงานผลตามทก่ี าหนด

168
ผลที่คาดว่าจะไดร้ บั

ดา้ นวิชาการ
1) ภาษา เช่น การวิเคราะห์สาระ การรวบรวมสาระ การจัดกลุ่มสาระ การเรียบเรียงสาระเป็นผล
การจดบันทึก การสรุปผลการการเรียนรทู้ กุ เรื่องทเ่ี กิดจากกระบวนการเรียนรู้
2) ศลิ ปะ เชน่ การแสดงศิลปะพ้นื บา้ น การเล่านทิ าน การเขยี นการ์ตนู การวาดภาพ
3) วิทยาศาสตร์ เช่น การค้นคว้าด้วยตัวเอง การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การจินตนาการบนฐานของ
ความเป็นจรงิ

ด้านภูมปิ ญั ญา
1) รวู้ ิธกี ารถา่ ยทอดความรู้
2) ฝกึ ความกลา้ แสดงออก
3) เกิดความคดิ สรา้ งสรรค์
4) รู้จกั ใช้และพฒั นาสื่อ

คณุ ธรรมและจรยิ ธรรม
1) รกู้ ารแบง่ ปัน
2) มีความซ่ือตรง
3) มสี มาธิ
4) เหน็ คุณคา่ ในตนเองและผ้อู ่ืน เชน่ การเข้าใจถึงแกน่ สาระของวชิ าการ
5) มคี วามรับผดิ ชอบ

169
3.2.5 องค์ประกอบที่ 5 การนาไปใช้ประโยชน์ทางการศกึ ษา

หลักการ นาองค์ความรู้ ท่ีเป็นวทิ ยาการ เผยแพรเ่ พ่ือให้เกิดองคค์ วามร้ใู หม่
สาระสาคัญ

การนาไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษาโดยการบูรณาการสู่การเรียนการสอน การใช้สวนพฤกษศาสตร์
โรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้ บันทึกข้อมูล รวบรวมเป็นพิพิธภัณฑ์เฉพาะเรื่อง พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา รวมถึง
การเผยแพรอ่ งคค์ วามรู้ การใชแ้ ละพฒั นาแหลง่ เรียนรอู้ ย่างต่อเน่อื ง
ลาดบั การเรียนรู้

1) นาสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนบูรณาการสกู่ ารเรียนการสอน
1.1) จัดทาหลกั สตู รและการเขยี นแผนการสอนให้สอดคลอ้ งกับหลกั สูตรแกน

กลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
1.2) จัดเกบ็ ผลการเรยี นรู้

2) เผยแพรอ่ งคค์ วามรู้
2.1) บรรยาย
2.1.1) สนทนา
2.1.2) เสวนา
2.1.3) สัมมนา/อภปิ ราย
2.2) จัดแสดง
2.2.1) จดั แสดงนทิ รรศการ
2.2.2) นทิ รรศการประกอบบรรยายสรปุ
2.2.3) จัดนทิ รรศการเฉพาะเรือ่ ง/ประเภท

3) จดั สร้างแหลง่ เรียนรู้
3.1) จดั แสดงพิพิธภัณฑ์
3.2) จดั แสดงพิพิธภัณฑเ์ ฉพาะเร่อื ง
3.3) จดั แสดงพพิ ิธภัณฑธ์ รรมชาตวิ ิทยา

(หมายเหตุ : จัดสร้างแหล่งเรยี นรู้ตามศกั ยภาพ)
4) ใช้ ดแู ลรักษา และพัฒนาแหล่งเรียนรู้

170
อธบิ ายลาดับการเรยี นรู้
ลาดับการเรียนรู้ท่ี 1 นาสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี นบูรณาการสู่การเรยี นการสอน
วัตถุประสงค์

1) เพ่อื รู้วิธีการนางานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี นบรู ณาการสกู่ ารเรยี นการสอน
กระบวนการเรยี นรู้

1) เรียนรู้วธิ ีการนางานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี นบรู ณาการสูก่ ารเรยี นการสอน
1.1) วิเคราะห์ความสอดคล้องงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน

พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
1.2) จัดทาแผนการจดั การเรยี นรู้ บรู ณาการทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้
1.3) จัดเก็บผลการเรียนรู้ ผลงาน จานวนช้ินงาน ที่ผู้เรียนแต่ละระดับ แต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้

ทไี่ ด้ดาเนินการตามแผนการจัดการเรียนรู้

ภาพที่ 3.128 ตวั อย่างผังแสดงหลกั การวิเคราะห์ความสอดคลอ้ ง งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนสู่
การเรียนการสอน ระดบั มธั ยมศกึ ษา

171

ภาพท่ี 3.129 ตัวอยา่ งการเขยี นแผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1 วชิ าภาษาไทย
ลาดบั การเรยี นรู้ท่ี 2 เผยแพรอ่ งค์ความรู้
วัตถุประสงค์

1) เพอ่ื รู้วิธกี ารเผยแพรอ่ งคค์ วามรู้ใหเ้ หมาะสม
กระบวนการเรยี นรู้

1) เรียนรู้วธิ ีการเผยแพรอ่ งค์ความรใู้ ห้เหมาะสม
1.1) การเผยแพร่องค์ความรู้แบบเอกสาร เช่น หนงั สือ แผน่ พับ ซดี ี
1.2) การเผยแพรอ่ งค์ความรู้ แบบบรรยาย เช่น การสนทนา เสวนา สัมมนา อภปิ ราย การเลา่ นิทาน
1.3) การเผยแพร่องค์ความรู้ แบบศิลปะ เช่น การแสดงศิลปะพื้นบ้าน ละคร ร้องเพลง ภาพวาดทาง

พฤกษศาสตร์ การถ่ายภาพทางพฤกษศาสตร์
1.4) การเผยแพร่องค์ความรู้ แบบนิทรรศการ เช่น นิทรรศการ นิทรรศการประกอบการบรรยาย

สรปุ นิทรรศการเฉพาะเร่ือง เฉพาะประเภท และเวบ็ ไซต์

172
ภาพท่ี 3.130 การเผยแพรอ่ งค์ความรู้แบบเสวนา
ภาพท่ี 3.131 การเผยแพรอ่ งค์ความรแู้ บบแสดงนิทรรศการผลงานทางวชิ าการ
ภาพท่ี 3.132 การเผยแพร่องคค์ วามรูแ้ บบแสดงนิทรรศการประกอบการบรรยายสรปุ

173
ลาดับการเรยี นรทู้ ่ี 3 จดั สรา้ งแหล่งเรยี นรู้
วัตถุประสงค์

1) เพ่ือเพ่มิ จานวนแหลง่ เรยี นรู้ในสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน
2) เพอ่ื อนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ
กระบวนการเรยี นรู้
1) หลกั การการจัดสรา้ งแหล่งเรยี นรู้ในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
2) เรยี นรวู้ ิธกี ารจดั สร้างแหล่งเรียนร้ใู นสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น
3) กาหนด และออกแบบ แหลง่ เรียนรูใ้ นสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน
4) รวบรวม องคค์ วามรู้จากงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น
5) คัดเลอื ก องคค์ วามรู้จากงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน
6) เตรียม วัสดุ อุปกรณ์ สาหรบั ใชจ้ ดั ทาแหลง่ เรียนรู้
7) จัดทาแหลง่ เรียนรู้ตามท่ีออกแบบไว้

ภาพท่ี 3.133 แสดงตวั อยา่ งการจดั แหล่งเรียนรู้ในรปู แบบหอ้ งเก็บตวั อย่างพรรณไม้

ภาพที่ 3.134 การจดั แหล่งเรียนรู้ในรปู แบบหอ้ งสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน

174
ภาพที่ 3.135 การจัดแหล่งเรียนรใู้ นรูปแบบสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนตามธรรมชาติ ภายในหอ้ งเรียน
ภาพที่ 3.136 การจัดแหลง่ เรยี นรู้ในรปู แบบสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี นตามธรรมชาติ ภายนอกหอ้ งเรียน

175
ลาดบั การเรียนรทู้ ี่ 4 ใช้ ดแู ลรักษา และพัฒนาแหลง่ เรยี นรู้
วตั ถุประสงค์

1) เพื่อรแู้ ละสรุป การใช้ การดแู ลรกั ษา และพัฒนาแหล่งเรียนรู้ในสวนพฤษศาสตรโ์ รงเรยี น
กระบวนการเรียนรู้

1) การใชแ้ หลง่ เรียนรู้
1.1) วางแผน และกาหนดการใชแ้ หล่งเรยี นรู้
1.2) เรยี นรตู้ ามแหลง่ เรียนรู้ทกี่ าหนด
1.3) สรปุ ความรู้ที่ไดร้ บั จานวนครั้ง และจานวนนักเรียนทีใ่ ชใ้ นรอบปี

ภาพที่ 3.137 การใช้สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียนเป็นแหลง่ เรยี นรู้ในกจิ กรรมตา่ งๆ

176
2) การดแู ลรกั ษาแหล่งเรียนรู้

2.1) วางแผน และกาหนดการดูแลรกั ษาแหล่งเรียนรู้
2.2) เรยี นรกู้ ารดูแลรกั ษาแหล่งเรียนรู้ตามทีก่ าหนด
2.3) สรปุ ความรู้ทไ่ี ด้รบั จานวนคร้ัง และจานวนนกั เรยี นที่ดแู ลรกั ษาแหลง่ เรียนรู้ในรอบปี

ภาพที่ 3.138 ตัวอย่างภาพกจิ กรรมการดแู ลรักษาแหล่งการเรยี นรู้สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น
3) การพฒั นาแหล่งเรยี นรู้

3.1) วางแผน และกาหนด การพัฒนาแหล่งเรยี นรู้
3.2) เรยี นรู้พฒั นาแหล่งเรียนรตู้ ามที่กาหนด
3.3) สรุปความรู้การพัฒนา และแนวทางการพัฒนาต่อไป จานวนคร้ัง และจานวนนักเรียนท่ีร่วม
พฒั นาแหล่งเรยี นรู้ในรอบปี

177
ภาพท่ี 3.139 ตวั อย่างภาพการพัฒนาแหลง่ การเรยี นร้สู วนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น ตา่ ง ๆ

178
ผลทค่ี าดวา่ จะได้รบั

ด้านวชิ าการ
1) การพฒั นาดา้ นการศกึ ษา เชน่ การจัดทาหลักสตู ร การเขยี นแผนจัดการเรยี นรู้
2) ศิลปะ เช่น การจดั แสดงผลงานทางวิชาการ การออกแบบแหล่งเรียนรู้
3) การส่ือสารทางการศึกษา เช่น การสนทนา เสวนา สัมมนา อภิปราย การจัดแสดงในรูปแบบต่าง ๆ
และเอกสาร

ดา้ นภูมิปญั ญา
1) การเรียนรูต้ ลอดชวี ิต
2) การสร้างองค์ความรขู้ ้นึ ใหม่
3) การใชอ้ งค์ความรู้

คุณธรรมและจริยธรรม
1) ความรบั ผิดชอบ
2) ความเอ้อื อาทร เอือ้ เฟือ้ เผ่อื แผ่
3) ความสามคั คี
4) มนุษยสมั พันธ์

179
3.2.6 สาระการเรยี นรธู้ รรมชาติแห่งชีวติ

หลกั การ รูก้ ารเปล่ยี นแปลง รู้ความแตกต่าง รู้ชวี ติ
สาระการเรยี นรู้

การเรียนรู้วงจรชีวิตของชีวภาพน้ัน ๆ ได้ข้อมูลการเปล่ียนแปลงและความแตกต่างด้านรูปลักษณ์
คุณสมบัติ และพฤติกรรม แล้วนามาเปรียบเทียบตนเองและผู้อ่ืนกับชีวภาพรอบกาย เพ่ือประยุกต์ใช้ในการ
ดาเนินชีวิต
ลาดับการเรียนรู้

1) สมั ผัสเรยี นรวู้ งจรชีวิตของชีวภาพ
1.1) ศกึ ษาด้านรปู ลกั ษณ์ ได้ขอ้ มลู การเปลี่ยนแปลงและความแตกต่างด้านรปู ลกั ษณ์
1.2) ศกึ ษาด้านคุณสมบัติ ไดข้ อ้ มูลการเปลย่ี นแปลงและความแตกตา่ งดา้ นคุณสมบตั ิ
1.3) ศึกษาดา้ นพฤตกิ รรม ได้ขอ้ มลู การเปล่ยี นแปลงและความแตกต่างด้านพฤติกรรม

2) เปรียบเทยี บการเปล่ียนแปลงและความแตกต่าง
2.1) รปู ลักษณก์ ับรูปกายตน
2.2) คุณสมบตั กิ ับสมรรถภาพของตน
2.3) พฤติกรรมกบั จติ อารมณ์ และพฤตกิ รรมของตน

3) สรุปองคค์ วามรทู้ ่ีได้จากการศกึ ษาธรรมชาติแห่งชีวติ
4) สรุปแนวทางเพื่อนาไปสู่การประยุกตใ์ ชใ้ นการดาเนินชวี ติ

อธบิ ายลาดับการเรียนรู้
ลาดบั การเรียนรทู้ ี่ 1 สัมผัสเรยี นรู้วงจรชีวิตของชวี ภาพ
วตั ถุประสงค์

1) เพื่อรู้วงจรชวี ติ ของชีวภาพ
กระบวนการเรียนรู้

1) เรียนร้วู งจรชีวติ ของชีวภาพ
1.1) เรียนรู้วงจรชวี ิตด้านรูปลักษณ์
1.1.1) เรียนรูด้ า้ นรูปลกั ษณ์

เปน็ การเรียนรู้ปจั จยั ชวี ภาพ (พืช) ในชว่ งทม่ี กี ารเจริญเติบโตเต็มท่ี และระบุอายุทกุ สว่ นประกอบของพืช
ราก ลาตน้ ใบ ดอก ผล เมลด็ โดยมกี ารเรยี นรูเ้ รือ่ ง รูปร่าง รูปทรง สี ผิว เน้อื ขนาด จานวน ฯลฯ

1. การกาหนดปัจจัยในการเรียนรู้
1.1. เลอื กพชื ศึกษาในระยะทีม่ ีการเจรญิ เติบโตเตม็ ท่ี ครบทกุ สว่ นประกอบและระบอุ ายุของพชื
1.2. กาหนดจานวนของพืชศึกษาให้เพียงพอกบั จานวนผู้เรียน โดยพิจารณาจากการจัดกลุ่มและการ

วางแผนการทดลอง ซ่ึงรวมถึงการเก็บข้อมูลซ้าเพื่อให้ได้ข้อมูลท่ีมีความแม่นยาและน่าเชื่อถือ เช่น ระดับ
ประถมศกึ ษา อย่างนอ้ ยจานวน 5 ซา้ ระดบั มธั ยมศึกษา อย่างนอ้ ยจานวน 10 ซา้

180
2. การกาหนดเรอื่ งที่จะเรียนรู้

2.1. เรอ่ื งท่ีจะเรียนรู้ เช่น รปู ร่าง รูปทรง สี ผิว เนื้อ ขนาด จานวน ฯลฯ
2.2. สว่ นประกอบของพชื เชน่ ราก ลาตน้ ใบ ดอก ผล เมลด็
2.3. นาส่วนประกอบของพชื มากาหนดเรอ่ื งท่จี ะเรียนรู้

วิธกี ารศกึ ษา ตวั แปรทศ่ี กึ ษา ขอบเขตการศึกษา

ภาพท่ี 3.140 สว่ นประกอบของปัจจัยหลกั ในระยะทเ่ี ตบิ โตเตม็ ท่ี

ตวั อยา่ งเร่ืองทจ่ี ะเรียนรู้ :
การเรียนรู้รูปร่างของแผน่ ใบหมอ่ น ในระยะทมี่ ีการเจริญเตบิ โตเต็มท่ี (ระบุอายุ)
วธิ ีการศึกษา : การเรยี นรู้
ตวั แปรที่ศกึ ษา : รูปร่างของแผน่ ใบหมอ่ น
ขอบเขตของการศึกษา : ในระยะทมี่ ีการเจริญเตบิ โตเต็มท่ี (ระบุอาย)ุ และสถานที่

3. เรียนรู้ดา้ นรูปลกั ษณ์
เป็นการเรียนรูเ้ รอ่ื งท่ีไดก้ าหนด โดยแสดงวัสดุ อุปกรณ์ วธิ กี ารเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ (ออกแบบตาราง

บนั ทึก) และสรปุ ผลการเรียนรู้

181
ตารางที่ 3.1 ตารางแสดงผลการเรียนรู้รูปร่างของแผน่ ใบหมอ่ น ในระยะท่มี กี ารเจรญิ เติบโตเต็มท่ี

ระยะ/วนั รูปรา่ งของแผ่นใบหมอ่ น ในระยะทม่ี ีการเจรญิ เติบโตเต็มที่

ระยะโตเตม็ ที่
(20 วัน)

1.1.2) เรยี นรกู้ ารเปลี่ยนแปลงดา้ นรูปลักษณ์
เปน็ การเรียนรูป้ จั จัยชีวภาพ (พืช) ในแต่ละช่วงอายุ อยา่ งน้อย 4 ช่วงอายุ ทุกส่วนประกอบของพืช ราก
ลาต้น ใบ ดอก ผล เมล็ด โดยมีการเรียนรูเ้ รอื่ ง รูปร่าง รปู ทรง สี ผวิ เนื้อ ขนาด จานวน ฯลฯ
1. การกาหนดปจั จยั ในการเรียนรู้

1.1 เลอื กพืชศึกษาในระยะทีม่ ีการเจรญิ เติบโตเต็มท่ี ครบทุกส่วนประกอบ
1.2 ระบอุ ายขุ องพืช อย่างน้อย 4 ชว่ งอายุ
1.3 กาหนดจานวนของพชื ศึกษาใหเ้ พยี งพอกบั จานวนผเู้ รยี น โดยพิจารณาจากการจัดกลุ่มและการ
วางแผนการทดลอง ซ่ึงรวมถึงการเก็บข้อมูลซ้าเพื่อให้ได้ข้อมูลที่มีความแม่นยาและน่ าเชื่อถือ เช่น ระดับ
ประถมศึกษา อย่างนอ้ ยจานวน 5 ซ้า ระดับมัธยมศกึ ษา อย่างน้อยจานวน 10 ซา้
2. การกาหนดเรอ่ื งท่จี ะเรยี นรู้
2.1 เรอื่ งท่จี ะเรียนรู้ เชน่ รูปร่าง รูปทรง สี ผิว เนอื้ ขนาด จานวน ฯลฯ
2.2 สว่ นประกอบของพชื เช่น ราก ลาตน้ ใบ ดอก ผล เมลด็
2.3 นาสว่ นประกอบของพชื มากาหนดเร่อื งที่จะเรียนรู้

วธิ กี ารศกึ ษา ตวั แปรที่ศกึ ษา ขอบเขตการศกึ ษา

ตัวอย่างเร่ืองที่จะเรยี นรู้ :
การเรียนร้รู ปู รา่ งของแผ่นใบหม่อน ในระยะทีม่ กี ารเจรญิ เตบิ โตในแตร่ ะยะชว่ งอายุ (ระบชุ ว่ งอายุ)
วธิ กี ารศึกษา : การเรียนรกู้ ารเปล่ยี นแปลง
ตัวแปรทีศ่ กึ ษา : รูปรา่ งของรากพริกข้หี นู
ขอบเขตของการศึกษา : ในแตร่ ะยะช่วงอายุ (ระบุชว่ งอายุ) และสถานท่ี
3. เรยี นรู้การเปลี่ยนแปลงดา้ นรปู ลกั ษณ์
เปน็ การเรียนรเู้ รือ่ งที่ไดก้ าหนด โดยแสดงวัสดุ อปุ กรณ์ วธิ ีการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ (ออกแบบตาราง

บันทึก) และสรปุ ผลการเรียนรู้

182
ตารางท่ี 3.2 ตารางแสดงผลการเรียนรู้รูปร่างของแผ่นใบหม่อน ในระยะท่ีมีการเจริญเติบโตในแต่ระยะช่วง
อายุ

ระยะ/วัน การเปลีย่ นแปลงดา้ นรูปลกั ษณ์

ระยะออ่ น (3 วนั )

ระยะกลาง (7 วนั )

ระยะโตเตม็ ที่ (20 วนั )

ระยะแก่ (30 วนั )

ระยะแก่เต็มที่ (45 วัน)

1.2) เรียนรู้วงจรชีวิตด้านคุณสมบตั ิ
1.2.1) เรียนรดู้ า้ นคณุ สมบตั ิ

เป็นการเรียนรปู้ ัจจยั ชีวภาพ (พืช) ในช่วงที่มีการเจริญเติบโตเต็มท่ีทุกส่วนประกอบของพืช ราก ลาต้น
ใบ ดอก ผล เมลด็ โดยมีการเรยี นรู้ด้านเคมี เช่น รสชาติ กลิ่น การติดสี สารต่าง ๆ ด้านฟิสิกส์ เช่น ความแข็ง
ความเหนียว การลอยน้า การยืดหยุ่น ฯลฯ

1. การกาหนดปัจจัยในการเรยี นรู้
1.1 เลอื กพืชศึกษาในระยะที่มีการเจรญิ เติบโตเต็มที่ ครบทุกส่วนประกอบ
1.2 กาหนดจานวนของพชื ศกึ ษาให้เพยี งพอกับจานวนผเู้ รยี น โดยพิจารณาจากการจัดกลุ่มและการ

วางแผนการทดลอง ซ่ึงรวมถึงการเก็บข้อมูลซ้าเพ่ือให้ได้ข้อมูลท่ีมีความแม่นยาและน่าเช่ือถือ เช่น ระดับ
ประถมศกึ ษา อยา่ งน้อยจานวน 5 ซา้ ระดบั มธั ยมศึกษา อยา่ งน้อยจานวน 10 ซ้า

183
2. การกาหนดเร่ืองทจ่ี ะเรยี นรู้

2.1 เรื่องท่ีจะเรียนรู้ เช่น รสชาติ กลิ่น การติดสี ความแข็ง ความเหนียว การลอยน้า การยืดหยุ่น
ฯลฯ

2.2 สว่ นประกอบของพืช เช่น ราก ลาต้น ใบ ดอก ผล เมลด็
2.3 นาส่วนประกอบของพชื มากาหนดเรื่องทจ่ี ะเรียนรู้

วิธกี ารศกึ ษา ตัวแปรท่ีศึกษา ขอบเขตการศึกษา

ตวั อยา่ งเรื่องทจี่ ะเรียนรู้ :
การเรียนรกู้ ารไดก้ ล่ินของผลหมอ่ นในระยะทม่ี ีการเจริญเตบิ โตเต็มท่ี (ระบุช่วงอายุ)
วิธีการศึกษา : การเรยี นรู้
ตัวแปรทีศ่ กึ ษา : การได้กลิน่ ของผลหม่อน
ขอบเขตของการศกึ ษา : ในระยะท่มี ีการเจริญเติบโตเต็มที่ (ระบชุ ว่ งอาย)ุ และสถานที่
3. เรยี นรูด้ า้ นคุณสมบตั ิ
เปน็ การเรียนรู้เรอื่ งที่ไดก้ าหนด โดยแสดงวสั ดุ อปุ กรณ์ วิธีการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ (ออกแบบตาราง

บนั ทกึ ) และสรปุ ผลการเรียนรู้

ภาพท่ี 3.141 การเรียนรกู้ ารเปลย่ี นแปลงการได้กลน่ิ ของผลหมอ่ นในแต่ละช่วงอายุ

ตารางท่ี 3.3 ตารางแสดงผลการเรียนรู้การไดก้ ลน่ิ ของผลหมอ่ นในระยะท่มี ีการเจรญิ เติบโตเตม็ ท่ี

ระยะ/วนั ผลหมอ่ นในระยะท่ีมกี ารเจริญเตบิ โตเตม็ ที่

ระยะโตเตม็ ท่ี (25 วัน)

184
1.2.3) เรียนรู้การเปลยี่ นแปลงด้านคณุ สมบตั ิ
เป็นการเรียนร้ปู จั จยั ชวี ภาพ (พชื ) ในแต่ละช่วงอายุ อย่างนอ้ ย 4 ชว่ งอายุ ทุกส่วนประกอบของพืช ราก
ลาต้น ใบ ดอก ผล เมล็ด โดยมีการเรียนรู้ด้านเคมี เช่น รสชาติ กลิ่น การติดสี สารต่าง ๆ ด้านฟิสิกส์ เช่น
ความแข็ง ความเหนียว การลอยน้า การยดื หยนุ่ ฯลฯ
1. การกาหนดปัจจัยในการเรยี นรู้
1.1 เลือกพืชศกึ ษาในระยะที่มีการเจรญิ เติบโตเตม็ ท่ี ครบทกุ ส่วนประกอบ
1.2 ระบุอายขุ องพืช อย่างนอ้ ย 4 ช่วงอายุ
1.3 กาหนดจานวนของพชื ศึกษาให้เพียงพอกับจานวนผู้เรยี น โดยพิจารณาจากการจัดกลุ่มและการ
วางแผนการทดลอง ซ่ึงรวมถึงการเก็บข้อมูลซ้าเพ่ือให้ได้ข้อมูลท่ีมีความแม่นยาและน่าเช่ือถือ เช่น ระดับ
ประถมศกึ ษา อยา่ งน้อยจานวน 5 ซา้ ระดบั มธั ยมศกึ ษา อยา่ งน้อยจานวน 10 ซ้า
2. การกาหนดเร่อื งท่ีจะเรยี นรู้
2.1 เร่ืองที่จะเรียนรู้ เช่น รสชาติ กล่ิน การติดสี ความแข็ง ความเหนียว การลอยน้า
การยดื หยนุ่ ฯลฯ
2.2 สว่ นประกอบของพชื เช่น ราก ลาตน้ ใบ ดอก ผล เมลด็
2.3 นาสว่ นประกอบของพืชมากาหนดเร่อื งที่จะเรียนรู้

วธิ ีการศกึ ษา ตวั แปรทีศ่ ึกษา ขอบเขตการศึกษา

ตัวอย่างเรือ่ งทีจ่ ะเรยี นรู้ด้านเคมี :
การเรยี นรู้การเปลยี่ นแปลงกล่นิ ของผลหมอ่ นในแต่ละช่วงอายุ (ระบชุ ว่ งอายุ)
วิธีการศกึ ษา : การเรยี นร้กู ารเปลีย่ นแปลง
ตวั แปรทศ่ี กึ ษา : กล่ินของผลหมอ่ น
ขอบเขตของการศึกษา : ในแตล่ ะชว่ งอายุ (ระบุช่วงอาย)ุ และสถานที่

ตวั อยา่ งเร่ืองทจี่ ะเรยี นรดู้ ้านฟสิ กิ ส์ :
การเรยี นรู้การเปลย่ี นแปลงการลอยนา้ ของผลหมอ่ นในแต่ละช่วงอายุ (ระบชุ ่วงอายุ)
วธิ กี ารศึกษา : การเรยี นรกู้ ารเปลย่ี นแปลง
ตัวแปรท่ศี กึ ษา : การลอยนา้ ของผลหมอ่ น
ขอบเขตของการศกึ ษา : ในแต่ละชว่ งอายุ (ระบุชว่ งอาย)ุ และสถานที่

3. เรียนรู้การเปลย่ี นแปลงดา้ นคณุ สมบตั ิ
เป็นการเรียนรู้เร่ืองท่ีได้กาหนด โดยแสดงวัสดุ อุปกรณ์ วิธีการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ (ออกแบบตาราง

บันทึก) และสรุปผลการเรยี นรู้


Click to View FlipBook Version